Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือธรรมศึกษาชั้นเอกปี2561

คู่มือธรรมศึกษาชั้นเอกปี2561

Published by suttasilo, 2021-06-27 08:58:06

Description: คู่มือธรรมศึกษาชั้นเอกปี2561

Keywords: คู่มือธรรมศึกษา,ธรรมศึกษาชั้นเอก,2561

Search

Read the Text Version

72 ¤ÙÁ‹ ×͸ÃÃÁÈ¡Ö ÉÒªéѹàÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก ๓) จําพวกเกิดตายในท่ีมืด ไดแก ตั๊กแตน บุง มอด ไสเดือน หรือ แมจ ําพวกสัตวอ่นื ๆ ทเ่ี กิดตายในท่มี ืด ๔) จําพวกเกิดแกตายในน้ํา ไดแก ปลา เตา หรือแมจําพวกสัตวอ่ืนๆ ท่เี กิดแกต ายในนา้ํ ๕) จําพวกเกดิ แกต ายในของโสโครก ไดแ ก สตั วจาํ พวกท่ีเกดิ แกตายในปลา เนาในศพเนา ในขนมบดู ในแอง น้ําครํา่ ในหลมุ โสโครก หรอื แมจ าํ พวกสตั วอ ่นื ๆ ที่เกดิ ตายในของโสโครก ๓) ปตตวิ ิสัย แดนแหงเปรต ปตติวิสัย เปรตวิสัย ในศาสนาพราหมณ มีธรรมเนียมเซนและ ทําทักษิณาเพื่ออุทิศใหบุรพชนท่ีลวงลับไป เรียกพิธีน้ีวา ศราทธะ ในพระพุทธศาสนา พระพทุ ธองคท รงอนญุ าตการกระทาํ เชน น้ี และตรสั เรยี กวา ปพุ เพเปตพลี ดงั มปี รากฏ ในอาทติ ตสูตร อังคตุ ตรนกิ าย ปญจกนิบาติ (พระไตรปฎก เลมที่ ๒๒) โดยทรงแสดง วาเปนหนาท่ขี องพทุ ธบริษัทพึงกระทํา อน่ึง คาํ วา เปต หรอื เปรต มคี วามหมาย ๒ ประการ คือ (๑) ความหมายทั่วไป หมายถึง สตั วผูละโลกนไี้ ปแลว คอื ผตู ายจากโลกน้ี ไปแลว เชน การทําบญุ อทุ ศิ สวนกศุ ลใหเปตชน ท่ีเรียกวาเปตพลี ดงั น้ัน แมพวกที่ตาย ไปเกดิ เปนเทวดา กเ็ รยี กวาเปตะหรือเปรตไดในความหมายน้ี (๒) ความหมายโดยเฉพาะ หมายถงึ สตั วจ าํ พวกหนง่ึ ซ่ึงเกดิ อยูใ นอบายชน้ั ท่ีเรยี กวา ปตตวิ ิสัย หรือเปรตวสิ ัย ซงึ่ แปลวา แดนเปรต เปนสตั วทีไ่ ดรบั ทุกขเวทนา ตา งๆ ตามผลแหง กรรมช่วั ทไี่ ดท ําไว เชน อดอยาก ผอมโซเพราะไมม อี าหารจะกิน แม เม่อื มี กก็ นิ ไมไ ด หรือกินได กก็ ินอยา งลําบาก เพราะปากเทารูเข็ม หรอื กินเขาไปไดแต ก็กลายเปนเลอื ดเปนหนอง เปน มูตร เปน คูถ และยังหมายถึงเปรตจําพวกหน่งึ ซึ่งเสวย ผลแหงกรรมดีและกรรมชัว่ ในอัตภาพเดยี วสลับกนั ไป โดยเรียกวา เวมานกิ เปรต คอื เปรตท่ีมมิ านอยเู ปนของตนเอง มีความสขุ เหมือนพวกเทวดา ในเวลาหน่งึ แตอีกเวลา หน่ึงก็ไดรับทุกขเวทนาแสนสาหัสเหมอื นเปรตพวกอืน่ และสัตวน รกทว่ั ไป 72

ÇÔªÒ¸ÃÃÁ 73 รปู ลกั ษณะของสตั วผ ูเ กิดในปตตวิ สิ ยะ สตั วที่เกดิ เปนเปรตมีรปู รา งตางกัน ๔ ชนิด ดังน้ี (๑) ชนดิ มรี ูปรา งไมสมประกอบ ซบู ผอม อดโซ (๒) ชนิดมีรูปรางวิการ คือกายเปนอยางมนุษย แตศีรษะเปนอยางสัตว เดรจั ฉาน เชน เปน กา เปน สุกร หรอื เปนงู (๓) ชนิดมีรูปรางพิกล ไดรบั การลงโทษอยูตามลาํ พงั ดวยอํานาจบาปกรรม (๔) ชนิดมีรูปรางอยางมนุษยปกติ ที่สวยงามก็มี โดยมีวิมานเปนท่ีอยู เรยี กวาเวมานิกเปรต ๔) อสูรกาย พวกอสรู อสูรกาย มี ๒ ประเภท คอื (๑) สัตวท่ีเกิดในอบายจําพวกหน่ึงซ่ึงสะดุงหวาดหวั่น ไรความสุข เชน หมอู สรู ชอ่ื กาลกญั ชกิ า คอื อสูรหมหู น่ึงซ่งึ มอี ตั ภาพยาว ๓ คาวตุ (เกอื บ ๑ โยชน ๔ คาวตุ เทา กับ ๑ โยชน) มเี ลอื ดเน้ือนอย คลา ยใบไมเห่ียว มนี ัยนตาทะลกั ออกมาอยูบ น หัวคลา ยตาปู ปากเทา รูเขม็ อยูบนหัวเหมอื นกัน ตองกม กลืนกินอาหารอยางยากลําบาก ในอรรถกถาทีฆนกิ ยาย ปาฏกิ วรรค จัดพวกอสรู ในอบายภูมิ เปรยี บกับคนในโลกน้กี ็ เหมอื นคนอดอยาก เทยี่ วกอ โจรกรรมในเวลาคา่ํ คนื หลอกหลวงฉกชงิ เอาทรพั ยข องผอู น่ื (๒) เทพชนั้ ตาํ่ พวกหนง่ึ ซงึ่ ทท่ี า วเวปจติ ตแิ ละทา วปหาราทะเปน ตน เปน หวั หนา ปกครอง มภี พอยภู ายใตเ ขาพระสเุ มรุ ชอื่ วา อสรู เพราะไมม คี วามอาจหาญ ไมเ ปน อสิ ระ และไมร ุงเรืองเหมอื นพวกเทพท่วั ไป ๒. สคุ ติ สุคติ คอื ภมู อิ ันเปนที่เกิดของผูป ระกอบกศุ ลกรรม มี ๒ อยาง คอื ๑) มนุษยโลก โลกของมนุษย หมายถึง ภูมิที่อยูของสัตวท่ีจิตใจสูง เปน ผูร ูจักใชเ หตผุ ล ๒) เทวโลก โลกของเทวดา และพรหม หมายถงึ ภมู ทิ อ่ี ยขู องเทวดาในสวรรค ชั้นกามาพจร ๖ และพรหมผสู ถิตอยใู นพรหมโลก คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 73

74 ¤‹ÁÙ Í× ¸ÃÃÁÈ¡Ö ÉÒªéѹàÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก สวรรคชั้นกามาพจร ไดแก โลกสวรรคอันเปนท่ีอยูของเทวดาที่ยังของ อยูในกามคุณ ๕ เปนภูมิท่ีมีแตความสุขสบาย สมบูรณดวยโภคสมบัติ หรือเรียกวา สคุ ตโิ ลกสวรรค มี ๖ ชน้ั คอื (๑) จาตุมมหาราชิกา สวรรคท ีท่ า วมหาราชทงั้ ๔ คือ ทา วธตรฐ ทาววิรุฬหก ทาววิรูปก ษ ทาวกุเวร เปนผปู กครอง (๒) ดาวดึงส สวรรคเปน ท่อี ยูของเทวดาสหาย ๓๓ องค มีทา วสกั กเทวราช เปน ผูปกครอง (๓) ยามา สวรรคเ ปน ทีอ่ ยขู องเทวดาผูปราศจากทุกข (๔) ดุสิต สวรรคเปนท่ีอยูของเทวดาผูเอิบอิ่มดวยทิพยสมบัติอันเปนของ เฉพาะตน (๕) นิมมานรดี สวรรคเปนท่ีอยูของเทวดาผูยินดีในกามสุขที่ตนเนรมิตข้ึน (๖) ปรนมิ มติ สวตั ดี สวรรคเ ปน ทอี่ ยขู องเทวดาผยู นิ ดใี นกามสขุ ทผ่ี อู นื่ เนรมติ ให พรหมโลก ไดแก ภูมิอันเปนท่ีอยูของพรหมผูประเสริฐและบริสุทธ์ิ คือ ผบู าํ เพญ็ สมาธจิ ติ แนว แนจ นไดบ รรลฌุ านสมาบตั หิ รอื สาํ เรจ็ เปน อรยิ บคุ คลชน้ั อนาคามี ในโลกมนษุ ย เมอ่ื สน้ิ ชวี ติ จงึ ไปบงั เกดิ ในพรหมโลกตามลาํ ดบั ชนั้ แหง คณุ ธรรมทไี่ ดบ รรลุ พรหมโลก มี ๒๐ ชน้ั จดั เปน ๒ อยา ง คอื ๑. รูปพรหม หรือ รูปภูมิ ไดแก พรหมที่มีรูปขันธหรือพรหมผูไดรูปฌาน แบง เปน ๑๖ ชน้ั คอื ปฐมฌานภมู ิ ๓ ชนั้ ทตุ ยิ ฌานภมู มิ ี ๓ ชน้ั และจตตุ ถฌานภมู ิ ๗ ชนั้ มีดงั น้ี ๑) ปฐมฌานภูมิ ผูไดบรรลุปฐมฌานแลวส้ินชีวิตไปเกิดในพรหมโลก ๓ ช้ัน คอื (๑) พรหมปาริสชั ชา (๒) พรหมปโุ รหติ า (๓) มหาพรหมา ๒) ทุติยฌานภูมิ ผูไดบรรลุทุติยฌานแลวส้ินชีวิตไปเกิดในพรหมโลก ๓ ชั้น คือ (๔) ปรติ รตาภา (๕) อปั ปมาณาภา (๖) อภัสสรา ๓) ตตยิ ฌานภมู ิ ไดแ ก ผไู ดบ รรลตุ ตยิ ฌานแลว สน้ิ ชวี ติ ไปเกดิ ในพรหมโลก ๓ ช้ัน คือ (๗) ปรติ ตสุภา (๘) อปั ปมาณสภุ า (๙) สุภกิณหกา 74

ÇªÔ Ò¸ÃÃÁ 75 ๔) จตุตถฌาน ผูไดบรรลุจตุตถฌานแลวสิ้นชีวิตไปเกิดในพรหมโลก ๗ ช้ัน คือ (๑๐) เวหัปผลา (๑๑) อสัญญีสัตตา (๑๒) อวิหา (๑๓) อตัปปา (๑๔) สทุ ัสสา (๑๕) สุทสั สี (๑๖) อกนิฏฐกา พรหมโลก ๕ ชั้น ต้ังแตช้ันอวิหาถึงช้ันอกนิฏฐกา เรียกวา ชั้นสุทธาวาส หมายถึง ภูมเิ ปนทีอ่ ยูหรอื ทีเ่ กดิ ของทา นผบู รสิ ุทธคิ์ ือพระอนาคามี ซงึ่ เปนผูไมกลบั มา เกิดในโลกมนุษยอีก แตจ ะนิพพานในพรหมโลกชั้นสทุ ธาวาสนี้ ๒. อรูปพรหม หรืออรูปภูมิ ไดแ ก พรหมทีไ่ มมีรปู ขันธ หรอื พรหมผูไดอ รูป ฌานแบงเปน ๔ ชนั้ คอื ๑) อากาสานัญจายตนภมู ิ ช้นั ทเ่ี ขา ถงึ ภาวะมอี ากาศไมมที ่ีสุด ๒) วิญญาณัญจายตนภูมิ ชัน้ ทเ่ี ขาถึงภาวะมีวิญญาณไมม ีทีส่ ุด ๓) อากิญจัญายตนภมู ิ ชน้ั ท่เี ขา ถงึ ภาวะไมมีอะไร ๔) เนวสญั ญานาสญั ญายตนภมู ิ ชน้ั ทเ่ี ขา ภาวะทกี่ ลา วไมไ ดว า มสี ญั ญาหรอื ไมม ี สรุปความ สงั สารวัฏ คือการเวยี นวา ยตายเกดิ ในภพภูมิกาํ เนิดตา งๆ ท้ังทคุ ตแิ ละสุคติ ในเทวทูตสูตรพระพุทธองคทรงแสดงกรรมที่เปนเหตุใหไปเกิดในสุคติและทุคติไววา “ภกิ ษทุ งั้ หลายเรายอ มมองเหน็ หมสู ตั วผ กู าํ ลงั จตุ ิ กาํ ลงั อบุ ตั ิ เลว ประณตี มผี วิ พรรณดี มีผวิ พรรณทราม ไดดี ตกยาก ดว ยทิพยจักษุอนั บรสิ ุทธลิ์ ว งจักษุวสิ ัยของมนษุ ยไ ดวา หมสู ัตวเหลา นี้ประกอบดวยกายสจุ ริต วจีสจุ รติ มโนสจุ รติ ไมว ารา ยพระอรยิ เจา เปน สัมมาทิฏฐิ ยึดถือการกระทําดวยอํานาจสัมมาทิฏฐิ หมูสัตวเหลาน้ันหลังจากตายไป จึงเขาถึงสคุ ติโลกสวรรค. ...หมูสตั วเ หลาน้ปี ระกอบดว ยกายทุจรติ วจีทุจริต มโนทจุ ริต วา รา ยพระอรยิ เจา เปน มจิ ฉาทฏิ ฐิ ยดึ ถอื การกระทาํ ดว ยอาํ นาจมจิ ฉาทฏิ ฐิ หมสู ตั วเ หลา นน้ั หลังจากตายไปจึงเขา ถึงเปรตวิสยั ....กําเนดิ สัตวเ ดรจั ฉาน อบาย ทคุ ติ วนิ บิ าต นรก” จบ ธรรมวจิ ารณ สวนสงั สารวฏั คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 75

76 ¤ÁÙ‹ Í× ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒªÑé¹àÍ¡ กรรม ๑๒ อุทเทส หมวดที่ ๑ ใหผ ลตามคราว ๑. ทฏิ ฐธิ รรมเวทนยี กรรม กรรมใหผ ลในภพน้ี ๒. อปุ ปชชเวทนยี กรรม กรรมใหผ ลเม่ือเกิดแลวในภพหนา ๓. อปราปรเวทนียกรรม กรรมใหผลในภพสืบๆ ๔. อโหสกิ รรม กรรมใหผ ลสาํ เร็จแลว หมวดท่ี ๒ ใหผ ลตามกจิ ๕. ชนกกรรม กรรมแตง ใหเ กดิ ๖. อปุ ต ถัมภกกรรม กรรมสนบั สนุน ๗. อุปปฬ กกรรม กรรมบีบค้นั ๘. อุปฆาตกกรรม กรรมตดั รอน หมวดท่ี ๓ ใหผลตามลาํ ดับ ๙. ครุกรรม กรรมหนัก ๑๐. พหุลกรรม กรรมชิน ๑๑. อาสันนกกรรม กรรมเม่อื จวนเจยี น ๑๒. กตัตตากรรม กรรมสกั วาทาํ อธบิ าย กรรม แปลวา การกระทาํ คําวา กรรม เปนคํากลางๆ ถา เปน สวนดี เรยี กวา กุศลกรรม สวนไมดี เรียกวา อกุศลกรรม เมื่อจําแนกตามใหผลทั้งฝายกุศลและ อกุศล พระอรรถกถาจารยไดแสดงไวเปน ๓ หมวด หมวดละ ๔ ประเภท รวมเรยี กวา กรรม ๑๒ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก 76

ÇÔªÒ¸ÃÃÁ 77 หมวดที่ ๑ จาํ แนกโดยใหผ ลตามคราว (เวลาทใี่ หผ ล) ๔ อยาง คือ ๑. ทฏิ ฐธิ รรมเวทนียกรรม กรรมใหผลในภพนี้ หมายถงึ กรรมใหผลในชาติ ปจจบุ ันนี้ เปนกรรมแรง ใหผ ลทนั ตาเห็น คือใหผ ลกอ นกรรมอืน่ ทั้งหมด โดยผูทาํ ยอ ม เสวยผลกรรมท่ตี นทําใหในชาติน้นี ่ันเอง ๒. อุปปชชเวทนียกรรม กรรมใหผลเมื่อเกิดแลวในภพหนา หมายถึง กรรมใหผลในภพตอไป หรือเสวยผลกรรมในชาติหนา กรรมน้ีจัดวาเปนกรรมที่เบา กวา กรรมท่ี ๑ คือผูน้นั ไมไดร บั ผลของกรรมนี้ในทนั ทที ันใด ตอเมื่อลวงลับไปแลว เกดิ ในภพใหม กรรมนจี้ ึงจะใหผ ล ๓. อปราปรเวทนียกรรม กรรมใหผลในเมื่อพนภพหนาไปแลว หมายถึง กรรมใหผลในภพตอๆ ไป ไดโ อกาสเมอื่ ใด ใหผลเมือ่ น้นั จนกวาจะเลิกใหผ ล กรรมนี้ เปน กรรมทเี่ บากวา กรรมท่ี ๒ จะใหผ ลกต็ อ เมอ่ื พน ภพหนา ไปแลว จะเปน ภพใดภพหนงึ่ น้ันกาํ หนดแนไ มไ ด เปรียบเหมือนสนุ ัขลา สตั ว ตามทันสตั วใ นที่ใด ก็กดั เอาไดในท่นี น้ั ๔. อโหสิกรรม กรรมใหผ ลสาํ เรจ็ แลว หมายถงึ กรรมเลกิ ใหผ ล ไมม ผี ลอกี หมดโอกาสทีจ่ ะใหผ ลตอ ไป เปรยี บเหมอื นพชื สิ้นยางแลว เพาะปลูกไมข ึ้น หมวดที่ ๒ จาํ แนกโดยใหผลตามกิจ (หนาท่)ี มี ๔ อยาง คือ ๕. ชนกกรรม กรรมแตง ใหเกิด หมายถึง กรรมทีเ่ ปนตัวนําไปเกิด ทําหนาท่ี ใหผลแกผูทํากรรมท่ีตายจากภาพหน่ึงแลวไปถือปฏิสนธิในภพหน่ึง กรรมดีก็จะนําไป เกิดในสคุ ติ ถาเปนกรรมชวั่ ก็นาํ ไปเกดิ ในทุคติ ตามความหนักเบาของกรรมทท่ี ํา กรรม น้ีในทีอ่ น่ื เรยี กวา กมฺมโยนิ (กรรมเปน กาํ เนดิ ) ทําหนา ที่เพยี งใหป ฏสิ นธิ ตอ จากนนั้ ก็ เปน อนั หมดทนั ที เปรียบเหมอื นบิดามารดาเพยี งเปน ผกู ําเนดิ บุตร ๖. อุปต ถัมภกกรรม กรรมสนับสนุน หมายถงึ กรรมไมส ามารถใหป ฏิสนธิ ไดเ อง ตอ เม่อื ชนกกรรมใหป ฏสิ นธแิ ลว จงึ เขา สนับสนนุ สงเสริมใหด ีขน้ึ บา ง ใหเลวบา ง ตามอํานาจของกรรมดีหรือกรรมช่ัว เปรียบเหมือนแมนมผูเล้ียงทารกที่คนอ่ืนให กาํ เนิดแลว กรรมน้ีสอดคลองกับชนกกรรม ถาชนกกรรมเปนกุศลใหปฏิสนธิฝายดี ยอ มเขา สนบั สนนุ ทารกผูเกิดแลวใหไดร ับความสขุ ความเจริญรงุ เรืองตลอดไป ตรงกบั คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 77

78 ¤Ù‹ÁÍ× ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒªé¹Ñ àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก บาลที ่วี า โชติ โชตปิ รายโน รงุ เรอื งมาแลว รงุ เรืองไปภายหนา ถาชนกรรมเปนอกศุ ลให ปฏสิ นธฝิ า ยเลว กรรมนยี้ อ มกระหนาํ่ ซา้ํ เตมิ ทารกผกู าํ เนดิ แลว ใหช วี ติ ตกตา่ํ ลง ตรงกบั บาลวี า ตโม ตมปรายโน มืดมาแลว มดื ไปภายหนา ๗. อปุ ปฬ กกรรม กรรมบบี คน้ั กรรมนข้ี ดั แยง หรอื ตรงกนั ขา มกบั ชนกกรรม คอยเขาบีบคั้นเบียดเบียนชนกกรรมไมใหเผล็ดผลเต็มที่ ถาชนกกรรมเปนกุศลให ปฏิสนธฝิ ายดี ยอ มเขาขดั ขวางใหเ ส่ือมลง ตรงกบั บาลี โชติ ตมปรายโน รุงเรอื งมาแลว มดื ไปภายหนา ถา ชนกกรรมเปน อกศุ ลใหป ฏสิ นธฝิ า ยเลว คอื ใหเ กดิ ในทคุ ตภิ มู ิ เกดิ ใน ตระกลู หรือในถ่ินท่ไี มเจรญิ ยอ มเขา บ่นั ทอนวบิ ากของอกศุ ลกรรมใหทเุ ลาลง ตรงกับ บาลวี า ตโม โชตปิ รายโน มดื มาแลว รุงเรืองไปภายหนา ๘. อปุ ฆาตกกรรม กรรมตดั รอน กรรมน้ีเหมือนกับอุปปฬกกรรม แตใหผ ล ท่ีรุนแรงกวาสามารถที่จะตัดรอนผลแหงชนกกรรมและอุปตถัมภกกรรมท้ังฝายดี และไมดีใหขาดลงแลวเขาไปใหผลแทนท่ี กรรมนี้จึงตรงกันขามกับชนกกรรมและ อปุ ตถัมภกกรรม หมวดท่ี ๓ จาํ แนกโดยการใหผ ลตามลาํ ดบั มี ๔ อยา ง คอื ๙. ครกุ รรม กรรมหนกั หมายถึง กรรมหนกั ทีส่ ดุ กวากรรมอ่นื ในลาํ ดับแหง การใหผ ล ในฝายอกศุ ล ไดแก อนันตรยิ กรรม ๕ สวนในฝายกศุ ล ไดแ ก สมาบตั ิ ๘ ครุกรรมน้ียอมใหผลกอนกวากรรมอื่นๆ เปรียบเหมือนบุคคลทิ้งส่ิงของตางๆ เชน เหลก็ ศิลา หญา ขนนก เปน ตน จากทีส่ งู ลงพรอ มกนั สิ่งใดหนกั กวา สง่ิ น้ันยอ มตกถึง พน้ื ดนิ กอ น ส่ิงอ่ืนๆ ยอมตกถึงพ้ืนตามลําดบั หนักเบาฉะนั้น ๑๐. พหุลกรรม กรรมชิน หรือเรียกวา อาจิณณกรรม หมายถึง กรรมท่ี ทําบอยๆ เปนอาจิณ ใหผลรองจากครุกรรม เม่ือครุกรรมไมมี กรรมนี้ยอมใหผล กอนกรรมประเภทอน่ื ๆ เปรยี บเหมือนนักมวยปลา้ํ คนทีม่ ีแรงมากกวา หรอื วอ งไวกวา ยอมชนะไดเปนธรรมดา หรือเปรียบเหมือนเกิดจากท่ีทําการปลนฆาเปนอาจิณ แตไม ไดทําอนนั ตริยกรรมอยา งใดอยา งหนึ่ง กรรมท่เี กดิ จากการปลน ฆา ยอ มใหผ ลในทนั ที ที่เขาตาย ๑๑. อาสันนกรรม กรรมเม่ือจวนเจียน หมายถึง กรรมท่ีทําในขณะใกล จะส้ินใจตาย กรรมน้ีแมจะมีกําลังออน ถาไมมีครุกรรมและพหุลกรรม ยอมให 78

ÇÔªÒ¸ÃÃÁ 79 กอนกรรมอื่น เปรียบเหมือนโคท่ีถูกขังแออัดในคอก พอคนเลี้ยงโคเปดประตูคอก ยอมใหผลกอนกรรมอ่ืนๆ เปรียบเหมือนโคท่ีถูกขังแออัดในคอก พอคนเลี้ยงโคเปด ประตคู อก โคตวั ใดทอี่ ยรู มิ ประตถู งึ จะเปน โคแกม กี าํ ลงั นอ ย โคตวั นน้ั ยอ มออกไดก อ น โคตวั อืน่ ทีม่ กี าํ ลงั มากกวา ๑๒. กตตั ตากรรม กรรมสกั วา ทํา หมายถึง กรรมที่ทําโดยไมม เี จตนา เชน คนเดนิ เหยียบมดตายโดยไมม ีเจตนา โดยไมร วู าเปนบญุ หรอื เปนบาป ตอเมื่อกรรมอืน่ ไมม ี กรรมนจี้ งึ ถงึ คราวใหผ ล เปรยี บเหมอื นลกู ศรทค่ี นยงิ ไปโดยไมม เี ปา หมายแนน อน ถูกบาง ผดิ บาง หนักบา ง เบาบา ง เพราะคนยิงไมม คี วามต้ังใจ สรุปความ กรรม ๑๒ นี้ แสดงใหรูวา คนบางคนทํากรรมชั่ว แตยังคงไดรับความสุข ความเจริญอยูในปจจุบัน ก็เพราะกรรมดีท่ีเคยทําไวในอดีตกําลังใหผล หรือ เพราะกรรมชั่วที่ทําในปจจุบันยังไมไดใหโอกาสใหผล อน่ึง พึงทราบวากรรม ๑๒ นี้ ไมม ปี รากฏในพระไตรปฎ ก แตพ ระอรรถกถาจารย มพี ระพทุ ธโฆสาจารยเ ปน ตน ไดจ ดั รวบรวมไวในภายหลัง ดังทป่ี รากฏในคมั ภรี ว สิ ทุ ธิมรรค และคัมภีรอ ภิธัมมตั ถสังคหะ ปรเิ ฉทท่ี ๕ จบ กรรม ๑๒ คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 79

80 ¤ÁÙ‹ Í× ¸ÃÃÁÈ¡Ö ÉÒªéѹàÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก หวั ใจสมถกัมมฏั ฐาน อทุ เทส สมาธึ ภกิ ขฺ เว ภาเวถ, สมาหโิ ต ยถาภูตํ ปชานาติ. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย พวกเธอจงยงั สมาธิใหเ กดิ ชนผมู ีจติ เปน สมาธิแลว ยอ มรูตาม ความเปนจรงิ . สังยตุ ตนกิ าย สฬายตนวรรค อธบิ าย อาการของกายและวาจาจะเปนอยางไร ยอมสําเร็จมาจากใจเปนผูบัญชา ถาใจไดร บั การอบรมดี ก็บังคับบัญชากายและวาจาใหดไี ปดว ย (ดังคาํ วาใจเปน “นาย” กายเปน “บาว”) ถา ใจชั่ว กบ็ งั คับบญั ชาใหกายและวาจาช่ัวไปดว ย ดังนั้น พระพทุ ธองค จงึ ทรงสอนภกิ ษทุ ําใจใหเ ปนสมาธิ เมอื่ ใจเปน สมาธิแมจ ะนาํ ไปใชน ึกคดิ อะไรกล็ ะเอยี ด สุขุม ยอมรจู กั ความเปนจริงไดดีกวา ผูม ีใจไมเ ปน สมาธิ ใจทีไ่ มเปนสมาธิ บางคราวอาจ ทาํ ใหเปน คนเสยี สติ เพราะไมมอี ะไรเปนเครื่องควบคมุ กมั มัฏฐาน คาํ วา กมั มฏั ฐาน แปลวา ที่ตัง้ แหง การกระทํา หมายถึงอารมณอ ันเปน ทต่ี ั้ง แหง การงาน หรือเรยี กวา ภาวนา แปลวา ทาํ ใหมใี หเ ปน ข้นึ แบง เปน ๒ อยา งคอื ๑. สมถกัมมัฏฐาน กัมมัฏฐานเปนอุบายสงบใจ หมายถึง กัมมัฏฐานที่ เนอื่ งดว ยบรกิ รรมอยา งเดยี ว เปน การบาํ เพญ็ เพยี รทางจติ โดยใชส ตเิ ปน หลกั เปน อบุ าย ทําใหน ิวรณธรรมระงับไป ไมเ กี่ยวกบั การใชปญญา ๒. วปิ ส สนากมั มฏั ฐาน กมั มฏั ฐานเปน อบุ ายเรอื งปญ ญา หมายถงึ กมั มฏั ฐาน ท่ีใชปญญาพิจารณาอยางเดียว โดยปรารภสภาวธรรม คือ ขันธ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ อินทรีย ๒๒ แยกออกพิจารณาใหรูตามสภาพความเปนจริง ตามหลักไตรลกั ษณ หรือสามญั ญลักษณะวา เปนอนิจจัง ทุกขัง และอนตั ตา 80

ÇÔªÒ¸ÃÃÁ 81 หัวใจสมถกมั มฏั ฐาน หัวใจสมถกัมมัฏฐานนี้ หมายถึง กัมมัฏฐานหลักสําคัญ ท่ีเปนอุบาย เคร่ืองอบรมจิตใหเ ปน สมาธิ มี ๕ อยาง คือ ๑. กายคตาสติ ๒. เมตตา ๓. พุทธานสุ ติ ๔. กสณิ ๕. จตธุ าตวุ วตั ถาน ๑. กายคตาสติ กายคตาสติ หมายถงึ การใชส ตกิ าํ หนดพจิ ารณากายวา เปน ของไมส วยงาม คอื กาํ หนดพิจารณาแตป ลายผมลงมาถงึ ปลายเทา อันประกอบดวยผม ขน เลบ็ ฟน หนงั เปน ตน กําหนดพิจารณาสี สัณฐาน กลนิ่ ท่เี กิด ทีอ่ ยูของสวนตางๆ เหลา น้ัน จึงเรียกวา “อาการ ๓๒” จนเห็นวา แตละอยางลวนเปนสิ่งปฏิกูลนาเกลียด เหมือนหมอน้ํา ใสอ จุ จาระและสง่ิ ปฏกิ ลู ตา ง ๆ ภายนอกอาจดสู วยงาม แตภ ายในเตม็ ไปดว ยสงิ่ สกปรก โสโครกนานปั การ ๒. เมตตา เมตตา ความปรารถนาจะใหผูอื่นเปนสุข คือความมีจิตอันแผไมตรีและ คิดทําประโยชนแกมนุษยและสัตวท่ัวหนา ผูเจริญเมตตากัมมัฏฐานนี้ เบื้องตนควร นึกถึงคนอ่ืนเทียบกับตนวา “เรารักสุข เกลียดทุกขฉันใด คนอื่นก็รักสุข เกลียดทุกข ฉนั นน้ั สงิ่ ทช่ี อบใจของเรา ยอ มเปน ของทชี่ อบใจของคนอนื่ สง่ิ ทไี่ มเ ปน ทชี่ อบใจของเรา ยอ มไมเ ปน ที่ชอบใจของคนอนื่ ดวยเหมือนกัน” ผูเจริญเมตตา พึงแผโดยเจาะจงกอน เริ่มแตคนท่ีใกลชิดสนิทกัน เชน มารดาบิดา สามภี รรยา บุตรธดิ า ครูอาจารยเ ปนตน หลงั จากนัน้ พงึ แผโ ดยไมเ จาะจง คือ สรางความปรารถนาดีในคนทั่วไป หรือเพื่อนมนุษยท่ัวโลก ตลอดถึงสรรพสัตว คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 81

82 ¤ÁÙ‹ ×͸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒªéѹàÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก การแผเ มตตาโดยเจาะจง ทาํ ใหจ ติ มพี ลงั แรง แตข อบเขตแหง ความไมม ภี ยั ไมม เี วรและ ความสาํ เรจ็ ประโยชนแ กผูอ่นื เปนไปในวงแคบ สว นการแผเมตตาโดยไมเจาะจง แมว า จติ จะมีพลงั ออน แตเ ปน ไปในวงกวา ง ผูเจริญเมตตา พึงแผโดยเจาะจงกอน เร่ิมตนแกคนท่ีใกลชิดสนิทกัน เชน มารดาบดิ า สามภี รรยา บุตรธดิ า ครอู าจารยเปน ตน หลังจากนั้น พึงแผโดยไมเจาะจง คือ สรางความปรารถนาดีในคนทั่วไป หรือเพื่อนมนุษยท่ัวโลก ตลอดถึงสรรพสัตว การแผเมตตาโดยเจาะจง ทําใหจิตมีพลังแรง แตขอบเขตแหงความไมมีภัยไมมีเวร และความสําเร็จประโยชนแกผูอื่นเปนไปในวงแคบ สวนการแผเมตตาโดยไมเจาะจง แมวาจิตจะมีพลังออน แตเปนไปในวงกวาง สามารถทําใหคนในสังคมมีความรักใคร ปรองดองชวยเหลือกัน และไดสุขโดยทั่วถึงกัน ในการเจริญเมตตากัมมัฏฐานนิยม บรกิ รรมตามบทบาลวี า “สพเฺ พ สตตฺ า อเวรา อพยฺ าปชฌฺ า อนฆี า สขุ ี อตตฺ านํ ปรหิ รนตฺ ”ุ แปลวา “ขอสัตวท ้ังหลายทัง้ ปวง เปนผไู มม ีเวร ไมม ีความลําบาก ไมม ที กุ ข จงมีทกุ ข จงมสี ขุ รักษาตนเถดิ ” บุคคลผูเจริญเมตตายอมไดรับอานิสงส ๑๑ อยาง คือ (๑) หลับเปนสุข (๒) ตื่นเปนสุข (๓) ไมฝนราย (๔) เปนท่ีรักของมนุษย (๕) เปนท่ีรักของอมนุษย (๖) เทวดารักษา (๗) ไฟ ยาพษิ ศัตราวุธ ไมกล้าํ กราย (๘) จติ สงบเปนสมาธิไดเรว็ (๙) สหี นาผองใส (๑๐) ตายอยางมีสติ (๑๑) เมอ่ื ยงั ไมบรรลธุ รรมชนั้ สูง ยอ มเขา ถึง พรหมโลก ๓. พทุ ธานสุ สติ พุทธานุสสติ ระลึกถึงพระพุทธเจา หมายถึง การระลึกถึงพระพุทธเจา โดยปรารภถึงพระคุณความดีของพระองค ไมใชระลึกถึงเพราะตองการจะกลาวโทษ โดยประการตา งๆ ผูเจริญพุทธานุสสติ พึงบริกรรมระลึกถึงพระพุทธคุณ ๙ บท คือ อรหํ, สมฺมาสมฺพุทฺโธ, วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน, สุคโต, โลกวิทู, อนุตฺตโร, ปริสทมฺมสารถิ, สตฺถา เทวมนุสฺสานํ, พุทฺโธ, ภควา โดยลําดับ หรือจะกําหนดเฉพาะพระคุณบทใด บทหน่งึ กไ็ ด เชน บทท่นี ิยมกันมากคือบทวา อรหํ หรือ พุทฺโธ 82

ÇªÔ Ò¸ÃÃÁ 83 ๔. กสณิ กสิณ แปลวา วัตถอุ ันจูงใจ หมายถงึ วัตถอุ นั จงู ใจใหเขา ไปผูกอยสู ําหรบั เพง เพื่อใหจิตเปนสมาธิ โดยกําหนดเอาวัตถุจูงใจ ๑๐ อยางมาเพงเปนอารมณ คือ (๑) ปฐวี ดนิ (๒) อาโป น้าํ (๓) เตโช ไฟ (๔) วาโย ลม (๕) นลี ํ สีเขียว (๖) ปตํ เหลือง (๗) โลหติ ํ สีแดง (๘) โอทานํ สขี าว (๙) อาโลโก แสงสวาง (๑๐) โอกาโส ทวี่ า ง ขอ ๑-๔ เรยี กรวมกนั วา ภตู กสณิ กสณิ มหาภตู ริ ปู ๔ คือ ดิน น้าํ ไฟ ลม สว นขอท่ี ๕-๘ เรียกรวมกันวา วัณณกสิณ กสิณสี ๔ คือ สเี ขยี ว เหลอื ง แดง และขาว ๕. จตธุ าตวุ วัตถาน จตุธาตวุ วัตถาน แปลวา การกําหนดธาตุ ๔ หมายถึง กมั มัฏฐานท่ีกาํ หนด พจิ ารณาใหเ หน็ วา รา งกายของคนเรา เปน เพยี งธาตุ ๔ คอื ดนิ ไฟ ลม มาประชมุ รวมกนั เทา นน้ั ท้งั น้เี พือ่ ถายถอนความรูสึกวา เปน สัตว บคุ คล ตวั ตน เรา เขาออกไปจากจิตใจ เสยี ได เรยี กอีกอยา งวา ธาตมุ นสกิ าร หรือ ธาตกุ มั มฏั ฐาน ทานจัดหัวใจสมถกัมมัฏฐานไว ๕ อยาง เพื่อเปนคูปรับกับนิวรณ ๕ โดยตรง คอื ๑. กายคตาสติ เปนคูปรับกบั กามฉันทะ ๒. เมตตา เปนคูปรับกับ พยาบาท ๓. พทุ ธานุสสติ เปน คปู รับกับ ถีนมทิ ธะ ๔. กสณิ เปนคูป รับกับ อุทธจั จกกุ กุจจะ ๕. จตธุ าตวุ วตั ถาน เปน คปู รบั กบั วิจิกจิ ฉา นวิ รณ ๕ นิวรณ แปลวา เครื่องกีดกั้น เคร่ืองขัดขวาง หมายความวา สิ่งท่ีกีดก้ัน การทํางานของจิต สิ่งที่ขัดขวางความดีความงามของจิต ส่ิงท่ีทอนกําลังปญญา หรือ ส่งิ ท่กี ัน้ จิตไมใหก าวหนาในกุศลธรรม อนั เปนสนิมกัดกรอนใจของคน มี ๕ อยา ง คือ คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 83

84 ¤‹ÁÙ Í× ¸ÃÃÁÈ¡Ö ÉҪѹé àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก ๑. กามฉันธทะ ความพอใจรักใครในกาม หมายถึง ความท่ีจิตยินดี ลมุ หลงในกามคุณ ๕ อยา ง คอื รปู เสยี ง กล่นิ รส โผฏฐัพพะ ที่นา ปรารถนานา พอใจ กามฉนั ทะมีเหตุเกดิ มาจาก สุภสัญญา คอื ความกําหนดหมายวา สวยงาม ๒. พยาบาท ความคิดปองรายผูอื่น หมายถึง ความท่ีจิตพยาบาทคิดแคน ผอู ่นื ไดแก ความขัดใจ แคนเคอื ง เกลียดชงั ผูกใจเจ็บ มองในแงร ายคดิ ราย เปน ตน พยาบาทนม้ี สี าเหตมุ าจาก ปฏฆิ ะ คอื ความกระทบกระทงั่ แหง จติ หรอื ความหงดุ หงดิ ใจ ๓. ถีนมิทธะ ความทอแทงวงเหงา หมายถึง ความที่จิตทอแทเซื่องซึม แยกอธิบายเปน ๒ คาํ คือ ถนี ะ แปลวา ความทอแท ไดแก ความหดหหู อเหี่ยว ซบเซา เหงาหงอยแหง จติ และ มทิ ธะ แปลวา ความงวงเหงา ไดแ ก ความงวงเหงาหาวนอน หรืออาการซึมเซาแหงกาย ถีนมิทธะนี้มีสาเหตุมาจาก อรติ คือความไมเพลิดเพลิน หรอื ความไมย นิ ดี ๔. อุทธัจจกุกกุจจะ ความฟุงซานรําคาญ หมายถึง ความที่จิตกลัดกลุม เดือดรอนแยกอธิบายเปน ๒ คํา อทุ ธัจจะ แปลวา ความฟุงซาน ไดแ ก ความที่จิตคดิ พลา นไปไมส งบ กระสบั กระสา ยไปในอารมณต า ง ๆ และ กกุ กจุ จะ แปลวา ความราํ คาญ ไดแ ก ความวุน วายใจ ความเดอื ดรอนใจ ความกลดั กลมุ ใจ อทุ ธัจจกกุ กจุ จะนีม้ สี าเหตุ มาจาก เจตโสอวูปมะ คือความไมส งบแหงจิต ๕. วิจิกิจฉา ความลังเลสงสัย หมายถึง ความท่ีจิตเคลือบแคลง ไมแนใจ เชน มคี วามสงสยั เกยี่ วกบั พระรัตนตรัย ไมเ ชอื่ ผมของบญุ และบาป เปนตน วจิ กิ จิ ฉา นม้ี ีสาเหตุเกิดมาจาก อโยนิโสมนสกิ าร ความทาํ ไวใ นใจโดยไมแ ยบคาย คือ ความคิด ทไ่ี มฉ ลาดรอบคอบ ความคิดท่ีไมถกู ทาง องคฌานท่ีเปน คูป รบั กบั นวิ รณ ฌาน แปลวา ความเพง หรือ คณุ ธรรมเครื่องเผากเิ ลส เปนชื่อของคุณวิเศษ ทีเ่ กิดจากการฝกอบรมจิตใหเ ปนสมาธิ มี ๒ ประเภท คอื รูปฌานและอรูปฌาน ๑. รูปฌาน ฌานท่ีมอี ารมณกัมมฏั ฐานเปนรูปธรรม มี ๔ ขั้น คอื ๑) ปฐมฌาน ฌานข้ันท่ี ๑ มอี งคธรรม ๕ คอื วิตก วจิ าร ปติ สุข และ เอกคั คตา 84

ÇªÔ Ò¸ÃÃÁ 85 ๒) ทุติยฌาน ฌานขน้ั ท่ี ๒ มอี งคธ รรม ๓ คือ ปติ สุข เอกัคคตา ๓) ตตยิ ฌาน ฌานข้นั ที่ ๓ มอี งคธ รรม ๒ คอื สุข เอกัคคตา ๔) จตตุ ถฌาน ฌานข้ันที่ ๔ มอี งคธรรม ๒ คอื เอกัคคตา และอเุ บกขา ๒. อรูปฌาน ฌานที่มีอารมณกัมมัฏฐานเปนอรูปฌานหรือนามธรรม ซงึ่ ผสู าํ เรจ็ ฌานประเภทนี้ เมอ่ื สนิ้ ชวี ติ แลว จะมคี ตทิ แ่ี นน อน คอื ไปบงั เกดิ เปน พรหมอยู ในอรูปภพ หรอื อรปู พรหม ๔ ชั้น ชน้ั ใดชน้ั หนึง่ องคฌานท่ีเปนคูปรบั กับนวิ รณ ๕ ๑) เอกัคคตา เปนคปู รบั กับ กามฉันทะ ๒) ปต ิ เปนคปู รับกบั พยาบาท ๓) วติ ก เปน คูป รบั กบั ถีนมิทธะ ๔) สขุ เปนคูปรับกบั อุทธจั จกกุ กจุ จะ ๕) วจิ าร เปน คูปรับกับ วิจิกิจฉา อเุ บกขานนั้ ประกอบรว มในทกุ ขอ งคฌ าน ทา นจงึ ไมน าํ มาจบั คปู รบั กบั นวิ รณ ๕ สรุปความ การฝกจิตใหเปนสมาธิน้ัน ทานกําหนดสมถกัมมัฏฐานท่ีเปนหัวใจ เพ่ือเปน พ้ืนฐานแหงการศกึ ษาในเบ้อื งตน ๕ อยา ง กายคตาสติ เมตตา พุทธานสุ สติ กสณิ และ จตธุ าตุววัตถาน และกําหนดนิวรณทเ่ี ปน คูปรบั กันไว ๕ อยา ง คอื กามฉนั ทะ พยาบาท ถนี มทิ ธะ อทุ ธจั จกกุ กจุ จะ และวจิ ิกจิ ฉา การเจรญิ สมถกมั มฏั ฐาน เพอื่ ฝก จนจติ เปน สมาธแิ นว แนแ ละสามารถขม กเิ ลส คือ นิวรณ ๕ ได เรยี กวา บรรลฌุ าน อันจัดเปน ผลสงู สุดของการเจริญสมถกมั มัฏฐาน ฌานมี ๒ ประเภท คือ รูปฌานกับอรูปฌาน รูปฌานมี ๔ ขั้น แตละขั้นมี องคธ รรมทเ่ี ปนคูป รบั กบั นวิ รณ ๕ เรยี กวา องคฌ าน ๕ คือ (๑) เอกคั คตา ภาวะทจี่ ติ มอี ารมณเ ปน หนง่ึ หรอื ตวั สมาธิ เปน คปู รบั กบั กามฉนั ทะ (๒) ปต ิ ความอมิ่ ใจ เปน คปู รบั กับพยาบาท (๓) วติ ก ความตรึกอารมณ เปนคูป รับกบั ถนี มิทธะ (๔) สุข ความสงบใจ เปนคูปรับกับอุทธัทจกุกกุจจะ (๕) วิจาร ความตรองอารมณ เปนคูปรับกับวิจิกิจฉา โดยมีองคธ รรม คือ อุเบกขา ความวางเฉย ประกอบรว มในทุกองคฌ าน คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 85

86 ¤ÁÙ‹ ×͸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒª¹éÑ àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก สมถกมั มัฏฐาน อุทเทส ๑. กลุ บตุ รมศี รทั ธามาเจรญิ สมถะ ทาํ ใหเ กดิ ขน้ึ ดว ยเจตนาอนั ใด เจตนาอนั นน้ั ชื่อวา สมถภาวนา ๒. กลุ บตุ รผมู ศี รทั ธายงั สมถะอนั เปน อบุ ายเครอ่ื งสงบระงบั ของจติ ใหเ กดิ มขี นึ้ ชื่อวา สมถภาวนา ๓. เจตนาอนั เปนไปในสมถกัมมฏั ฐานท้งั หมดทัง้ สนิ้ ชือ่ วา สมถภาวนา อธิบาย สมถกมั มฏั ฐาน หมายถงึ หลกั การเจรญิ สมถะ เปน อบุ ายเครอ่ื งปด กนั้ นวิ รณ กเิ ลสมิใหครอบงาํ จิตสันดานได เปรียบเหมอื นบุคคลสรางทํานบกั้นน้าํ มใิ หไหลไป ทง้ั ยังเปนอุบายขมจิตมิใหฟุงซาน เปรียบเหมือนนายสารถีฝกมาใหพรอมใชงานเปนราช พาหนะได ธรรมท่ีเปนอารมณของสมถกัมมัฏฐานตามนยั พระบาลี ธรรมท่ีนิยมนํามากําหนดเพ่ือใหจิตสงบเปนสมาธิ กลาวตามพระบาลี (พระไตรปฎก) มี ๒ คอื อภณิ หปจเวกขณะ ๕ และ สติปฏ ฐาน ๔ มอี ธิบายดังนี้ ๑. อภิณหปจเวกขณะ หมายถึง หลักธรรมสําหรับกําหนดพิจารณาใน ชวี ติ ประจาํ วัน หรอื หัวขอธรรมทค่ี วรพจิ ารณาทุกๆ วัน มี ๕ อยา ง คือ ๑) ชราธัมมตา การพิจารณาถึงความแกเนืองๆ เปนอุบายบรรเทา ความประมาทในวัย ๒) พยาธธิ มั มตา การพจิ ารณาถงึ ความเจบ็ ปว ยเนอื ง ๆ เปน อบุ ายบรรเทา ความประมาทในความไมมโี รค ๓) มรณธัมมตา การพิจารณาถึงความตายเนืองๆ เปนอุบายบรรเทา ความประมาทในชีวิต 86

ÇªÔ Ò¸ÃÃÁ 87 ๔) ปยวินาภาวตา การพิจารณาถึงความพลัดพรากจากส่ิงท่ีรักเนืองๆ เปนอบุ ายบรรเทาความเศรา โศกเสยี ใจ ความคบั แคนใจ ๕) กัมมสั สกตา การพจิ ารณาวาตนมีกรรมเปน ของตนเนืองๆ เปนอบุ าย เตือนใจใหรูว า ทุกคนมกี รรมเปน ของตน ทาํ ดไี ดด ี ทําช่ัวไดช วั่ ๒. สตปิ ฏฐาน หมายถงึ การตั้งสติกาํ หนดพจิ ารณาส่ิงท้งั หลายใหร ูเห็นตาม ความเปนจรงิ โดยกําหนดพิจารณาสิง่ สําคัญในชวี ิต มี ๔ อยา ง คอื ๑) กายานุปสสนาสติปฏฐาน หมายถึง การตั้งสติกําหนดพิจารณากาย ใหร เู ห็นตามความจริง ซึง่ แบง เปน ๖ บรรพ (หมวด) คือ (๑) อานาปานบรรพ หมวดกําหนดรูล มหายใจเขา-ออก สัน้ หยาบ ละเอยี ดเปน ตน (๒) อิริยาปถบรรพ หมวดกําหนดรูอิริยาบถใหญของคนเรา ๔ อริ ิยาบถ คือ เดิน ยนื น่งั นอน วาสําเร็จเปนไปไดเพราะลมและจิตทคี่ ดิ (๓) สัมปชัญญบรรพ หมวดกําหนดรูรอบคอบในการเคลื่อนไหว ของรา งกายมกี าวไปขางหนาและถอยกลับมาขางหลังเปน ตน มใิ หหลงลืมพล้งั เผลอสติ ทุกขณะของการเคลอื่ นไหวไปมาใดๆ (๔) ปฏิกูลบรรพ หมวดกําหนดพิจารณาอวัยวะหรือสวนตางๆ ภายในกายตนมีผม ขน เล็บ ฟน หนัง เปนตน และเปรียบเทยี บกบั กายผูอ่นื ใหเปน ของปฏิกลู คอื ไมง าม ไมส ะอาด เต็มไปดว ยสงิ่ ปฏิกูลโสโครกนา เกลยี ด (๕) ธาตุบรรพ หมวดกําหนดพิจารณากายตนและกายผูอ่ืน โดยเปนสักแตวาธาตุ ๔ มารวมกัน คือ สิ่งที่แข็งที่กระดาง กําหนดวาเปนธาตุดิน ส่ิงที่ออ นท่เี หลวซึมซาบไปในดนิ ทําดนิ ใหเ หนียวเปนกอนอยไู ด กาํ หนดวา เปนธาตนุ า้ํ ส่ิงที่ทําดินและนํ้าใหอุนใหรอนใหแหงเกรียมไป กําหนดวาเปนธาตุไฟ ส่ิงท่ีอุปถัมภ พยุงดินและนํ้าไวและทําใหไหวติงไปมาและรักษาไฟไวมิใหดับไปได กําหนดวาเปน ธาตลุ ม (๖) นวสวี ถกิ าบรรพ หมวดกาํ หนดพจิ ารณากายทเี่ ปน ซากศพซงึ่ เขา ท้ิงไวในปาชาเปนตนอันนากลายเปนอสุภะเปล่ียนสภาพไปตามระยะกาลท่ีถูกท้ิงไว ๙ ระยะกาล เริม่ ตงั้ แตซากศพทีเ่ ขาท้ิงไวห น่งึ วัน สองวนั หรอื สามวัน จนกลายเปน อสุภะ คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 87

88 ¤‹ÁÙ ×͸ÃÃÁÈÖ¡ÉҪѹé àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก ขึน้ อดื พองมสี ีเขยี ว มหี นองไหลเยม้ิ ออก เปน ตน จนถึงซากศพท่ีเขาทง้ิ ไวนานจนกลาย เปน กระดกู ผุยยอยปนละเอียดเปนจณุ ไป เมื่อต้ังสติกําหนดพิจารณากาย ๖ หมวด หมวดใดหมวดหน่ึงดังกลาวมานี้ จนภาวะจิตสงบแนวแนเ ปนสมาธิสามารถละนวิ รณก ิเลสได เรยี กวา สมถกมั มัฏฐาน ๒) เวทนานปุ ส สนาสตปิ ฏ ฐาน หมายถงึ การตงั้ สตกิ าํ หนดพจิ ารณาเวทนาคอื ความรูสึกเปน สุข เปนทุกข หรือไมส ขุ ไมทุกข (เปน กลางๆ) เมอ่ื เสวยสขุ เวทนา กม็ สี ติ กาํ หนดรูวา เสวยสขุ เวทนาเปน จนกระท่ังจติ สงบเปนสมาธสิ ามารถละนิวรณก ิเลสได ๓) จิตตานุปสสนาสติปฏฐาน หมายถึง การต้ังสติกําหนดพิจารณาจิตของ ตนตามเปนจริง คือ จิตมีราคะ จิตปราศจากราคะ ก็รูวาจิตปราศจากราคะ เปนตน จนกระทงั่ จิตสงบเปนสมาธิสามารถละนวิ รณกเิ ลสได ๔) ธมั มานปุ ส สนาสตปิ ฏ ฐาน หมายถงึ การตงั้ สตกิ าํ หนดพจิ ารณาสภาวธรรม ตา ง ๆ ทง้ั ทเี่ ปน กศุ ล อกศุ ล อพั ยากฤต ทมี่ อี ยใู นจติ สนั ดาน เชน กามฉนั ทะมอี ยภู ายใน จติ ก็รวู ามอี ยู หรอื กามฉนั ทะไมม ีอยภู ายในจิต ก็รวู าไมมอี ยู เปนตน จนกระทั่งจติ สงบ เปนสมาธสิ ามารถละนวิ รณกเิ ลสได แมธรรมที่เปนอารมณของสมถกัมมัฏฐานจะมีหลายประการ ถึงกระน้ัน ก็ควรกําหนดวา ธรรมที่เปนอารมณ ซึ่งสามารถทําใหจิตสงบระงับนิวรณกิเลสได จดั เปน อารมณของสมถกัมมัฏฐานไดท ้งั สิ้น ธรรมท่ีเปน อารมณข องสมถกมั มฏั ฐานตามนัยอรรถกถา ในคัมภีรอรรถกถาและคัมภีรวิสุทธิมรรค ทานไดประมวลหมวดธรรมอัน เปน อารมณก มั มฏั ฐานไว ๔๐ อยาง จัดเปนหมวดธรรมได ๗ หมวด ดงั น้ี หมวดท่ี ๑ กสิณ ๑๐ ๑. ปฐวกี สิณ กสิณมีดินเปนอารมณ ๒. อโปกสิณ กสิณมนี ํา้ เปน อารมณ ๓. เตโชกสิณ กสณิ มีไฟเปน อารมณ ๔. วาโยกสิณ กสิณมลี มเปนอารมณ ๕. นีลกสิณ กสิณมีสเี ขยี วเปน อารมณ 88

ÇÔªÒ¸ÃÃÁ 89 ๖. ปต กสิณ กสณิ มสี เี หลอื งเปน อารมณ ๗. โลหติ กสณิ กสิณมสี แี ดงเปน อารมณ ๘. โอทาตกสิณ กสิณมสี ีขาวเปนอารมณ ๙. อาโลกกสิณ กสณิ มีแสงสวา งเปนอารมณ ๑๐. ปริจฉินนากาสกสณิ กสณิ มอี ากาศคือชองวางเปนอารมณ กสิณ แปลวา วัตถอุ นั จูงใจ หมายถึง วตั ถุสําหรบั เพงเพือ่ จงู ใจใหเ ปน สมาธิ ๔ ขอ แรก เรียกวา ภูตกสณิ (มหาภูตรปู ๔ คือ ดนิ น้ํา ไฟ ลม) ๔ ขอหลงั (ขอ ๕-๘) เรยี กวา วณั ณกสิณ (เขียว เหลือง แดง ขาว) การเจริญกสิณ มีปฐวีกสิณเปนตน ควรทําดวงกสิณตามประเภทของกสิณ นั้นๆ ใหกวางประมาณ ๑ คืบกับ ๔ น้ิวเปนอยางใหญ แตไมควรเล็กกวาขันนํ้า พึง กําหนดจิตบริกรรมวา “ปฐวี ปฐวี ปฐว”ี หรอื “ดนิ ดนิ ดิน” ดว ยการหลับตาบา ง ลืมตา บาง ความสงบแหงจิตจะดําเนินไปตามลําดับ เรียกวานิมิต ในขณะที่เพงดูดวงกสิณ พรอ มกับบริกรรมไปน้ัน ทานเรียกวา บรกิ รรมกสณิ หรือ บริกรรมภาวนา เมอ่ื บรกิ รรม ไปจนเกิดนิมิตติดตา เรียกวา อุคคหนิมิต ถึงจุดแลวนิวรณธรรม จะเริ่มสงบลงตาม ลําดบั จิตจะเปนอุปจารสมาธิ (สมาธเิ ฉยี ดใกลความสงบเขา ไปทุกที) จนปฏคิ ภาคนิมติ (นิมิตเทียบเคยี งสามารถยอหรอื ขยายนิมิตได) ปรากฏข้ึน ดวงนมิ ิตจะปรากฏสวยงาม ผองใส จิตจะเขาสูความสงบประณีตข้ึนไปถึงขั้นอัปปนาสมาธิ (สมาธิอันแนวแน) ไดบ รรลฌุ านในท่สี ดุ หมวดท่ี ๒ อสภุ ะ ๑๐ ๑. อทุ ธุมาตกะ ซากศพท่เี นาพองอืดข้ึน ๒. วนิ ลี กะ ซากศพทีม่ สี เี ขยี วคล้าํ คละดว ยสตี า งๆ ๓. วปิ ุพพกะ ซากศพทม่ี ีนํา้ เหลอื งไหลเย้ิมอยตู ามทแ่ี ตกปริออก ๔. วจิ ฉทิ ทกะ ซากศพที่ขาดจากกันเปนสองทอน ๕. วิกขายิตกะ ซากศพทถ่ี กู สตั ว เชน แรง กา สุนัขจกิ กัดกนิ แลว ๖. วิกขิตตกะ ซากศพท่ีกระจุยกระจาย มีอวยั วะหลดุ ออกไปขางๆ ๗. หตวิกขติ ตกะ ซากศพทถ่ี กู สับฟนบนั่ เปนทอนๆ กระจายออกไป ๘. โลหิตกะ ซากศพทม่ี ีโลหติ ไหลอาบเร่ียราดอยู คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 89

90 ¤‹ÙÁ×͸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒª¹Ñé àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก ๙. ปุฬวุ กะ ซากศพทม่ี ีหนอนคลานคล่ําเตม็ ไปหมด ๑๐.อัฏฐิกะ ซากศพทีย่ งั เหลอื อยแู ตรา งกระดกู หรือกระดูกทา น อสุภะ แปลวา สภาพอนั ไมง าม หมายถึง ซากศพในสภาพตาง ๆ ซ่ึงใชเ ปน อารมณของสมถกัมมัฏฐาน โดยการพิจารณาซากศพในระยะเวลาตาง ๆ กัน รวม ๑๐ ระยะ เริม่ ตงั้ แตซากศพขึน้ อดื ไปจนถงึ ซากศพท่เี หลือแตโ ครงกระดูก การเจรญิ อสภุ ะ การเจรญิ อสภุ กมั มฏั ฐานจาํ เปน ตอ งอาศยั ซากศพในลกั ษณะ ตาง ๆ เม่ือจะพิจารณา อยายืนเหนือลม ใตลม หรือใกล-ไกลเกินไป แตใหยืนในที่ ซึ่งอาจเห็นซากศพที่ยังคงรูปรางสมบูรณอยู ไมพึงพิจารณาซากศพของเพศตรงขาม กบั ตน (เพราะจะทําใหเกดิ ราคะได) โดยกาํ หนดพิจารณา ๖ สวน คือ ๑) สขี องซากศพ พจิ ารณาดวู า เปนมีดําหรือขาว เปน ตน ๒) เพศหรืออวัยวะของซากศพ พิจารณาใหรูวาอยูในปฐมวันหรือมัชฌิมวัย แตหา มกาํ หนดวาเปนเพศหญงิ หรอื เพศชาย ๓) สณั ฐานของซากศพ พิจารณาดวู า เปน สวนใดของซากศพ ๔) ทิศที่อยูข องซากศพ พจิ ารณาดูอวัยวะตา ง ๆ ของซากศพอยูในทิศใดบาง ๕) โอกาสทต่ี ัง้ ของซากศพ พิจารณาดวู า อวัยวะตาง ๆ ของซากศพตง้ั อยใู น ทศิ ทางใดบาง ๖) ภาพรวมของซากศพ พจิ ารณาดูโดยรวม ตง้ั แตปลายผมถึงปลายเทา ของ ซากศพนนั้ วา ประกอบดว ยอาการ ๓๒ มี ผม ขน เลบ็ ฟน หนงั เนอ้ื เอน็ กระดกู เปน ตน จนถึงมันสมองเปน ทสี่ ุด เปน ของปฏิกลู นาเกลียดทง้ั โดยสี กล่ินเปนตน เมื่อกําหนดพิจารณาอสุภะดังกลาวแลว นิมิตท้ัง ๓ คือ บริกรรมนิมิต อุคคนิมิต และปฏิภาคนิมิต ยอมปรากฏข้ึนตามลําดับจนถึงบรรลุฌาน เชนเดียวกับ การเจริญกสิณ หมวดที่ ๓ อนสุ สติ ๑๐ ๑. พทุ ธานุสสติ ระลึกถึงพระพุทธเจา คือนอมจิตระลึกถึงและพิจารณาคุณ ของพระองค ๒. ธมั มานสุ สติ ระลึกถึงพระธรรม คือนอมจิตระลึกถึงและพิจารณาคุณ ของพระธรรม 90

ÇÔªÒ¸ÃÃÁ 91 ๓. สงั ฆานสุ สติ ระลึกถึงพระสงฆ คือนอมจิตระลึกถึงและพิจารณาคุณ ของพระสงฆ ๔. สลี านสุ สติ ระลึกถึงศีล คือนอมจิตพิจารณาศีลของตนที่บริสุทธิ์ ไมดางพรอย ๕. จาคานสุ สติ ระลึกถึงการบริจาค คือนอมจติ ระลึกถงึ ทานท่ตี นไดบรจิ าค แลว และพจิ ารณาคณุ ธรรมคอื ความเผอ่ื แผเ สยี สละทม่ี ใี นตน ๖. เทวตานุสสติ ระลึกถึงเทวดา คือนอมจิตระลึกถึงเทวดาทั้งหลายท่ีตน เคยรู และพิจารณาคุณธรรมอันทําบุคคลใหเปนเทวดา ๗. อุปสมานุสสติ* ระลึกถึงธรรมเปนท่ีสงบ คือระลึกถึงและพิจารณาคุณ ของนพิ านอนั เปนท่ีดบั กิเลสและกองทุกข (*ในคมั ภรี วิสุทธิมรรค จดั เรียง อปุ สมานสุ สติ ไวใ นลาํ ดับท่ี ๑๐) ๘. มรณัสสติ ระลึกถึงความตาย คือระลึกถึงและพิจารณาถึงความตาย อนั จะตอ งมมี าถงึ ตนเปน ธรรมดา เพอื่ ไมใ หเ กดิ ความประมาท ๙. กายคตาสติ สตอิ นั ไปในกาย คอื กาํ หนดพิจารณากายนีใ้ หเหน็ วา ประกอบดวยสวนตา งๆ อันไมสะอาด ไมง าม นา รังเกยี จ ๑๐. อานาปานสั สติ สติกาํ หนดลมหายใจเขา -ออก อนุสสติ แปลวา ความตามระลึก นอมจิตระลึกนึกถึงอารมณกัมมัฏฐาน อยเู นอื งๆ ๑.-๓. ใหกําหนดระลึกพจิ ารณาถึงความสําคัญของพระรัตนตรยั ตามคุณบท ท่ีวา อิติปโส ภควา อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ...สฺวากฺขาโต ภควตา ธมฺโม...สุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ... โดยมีวธิ กี ารเจริญ ๓ อยาง คือ (๑) สาธยาย คือการสวดสรรเสริญคุณของพระรัตนตรัยตามที่นิยมกัน จนจติ สงบไมซ ัดสายไปในอารมณอ ่นื ๆ (๒) นอมรําลึก คือการนอมนําเอาคุณของพระรัตนตรัยบทใดบทหน่ึงมา กาํ หนดบริกรรมวา พุทโธ, ธัมโม, สงั โฆ โดยตั้งสตริ ะลกึ ตามบทนน้ั ๆ ใหส ัมพันธกับ การหายใจเขา-ออก เชน หายใจเขาวา พุท หายใจออกวา โธ เปน ตน (๓) พิจารณา คือการยกคุณของพระรัตนตรัยแตละบทข้ึนพิจารณา เมอื่ พจิ ารณาเหน็ ชัดในบทใด กพ็ จิ ารณาอยทู บี่ ทนนั้ จนจติ สงบ คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 91

92 ¤ÁÙ‹ Í× ¸ÃÃÁÈ¡Ö ÉÒª¹éÑ àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก ๔. การเจริญสีลานุสสติ ผูเจริญสีลานุสสติ พึงชําระศีลของตนใหบริสุทธิ์ อยา ใหเปน ทอน คอื อยาใหข าด อยาใหดา ง อยา ใหพรอย เมือ่ ทําศลี ของตนใหบ ริสุทธิ์ ดวยดแี ลวพึงเขาไปสูที่สงดั พจิ ารณาศีลของตนวา ศลี ของเรานี้ไมข าด ไมด าง ไมพรอย เปน ศลี ทพ่ี ระอรยิ ะชอบในนกั ปราชญส รรเสรญิ เมอ่ื ระลกึ ถงึ ศลี ของตนอยอู ยา งนี้ นวิ รณ กจ็ ะสงบระงบั จิตยอ มต้ังม่ันเปน ขณกิ สมาธิและอปุ จารสมาธโิ ดยลําดับ ๕. การเจริญจาคานสุ สติ ผูเ จริญจาคานุสสติ พึงทาํ จิตใหยินดีในการบรจิ าค ทาน โดยตง้ั ใจวา “ตอ แตน ไ้ี ป เมอ่ื มผี รู บั ทานอยู หากเรายงั ไมไ ดใ หท าน เราจะไมบ รโิ ภค เลยเปน อนั ขาด” จากนน้ั พงึ กาํ หนดอาการทตี่ นบรจิ าคทานดว ยเจตนาอนั บรสิ ทุ ธใิ์ หเ ปน นิมิตอารมณ แลวเขาไปสูที่อันสงัดพิจารณาวา “เปนลาภของเราแลวหนอ เราไดเกิด มาเปน มนษุ ยพบพระพทุ ธศาสนา” เมอ่ื ระลึกถึงทานท่ตี นบริจาค นวิ รณก จ็ ะสงบระงบั จิตยอมตง้ั ม่นั เปนขณิกสมาธแิ ละอุปจารสมาธิโดยลาํ ดับ ๖. การเจรญิ เทวตานุสสติ ผูเจรญิ เทวตานุสสติ พงึ ระลกึ ถึงคุณธรรมทที่ าํ บุคคลใหเปนเทวดา จากนั้นแลวพึงพิจารณาวา “เหลาเทวดาท่ีเกิดในสุคติ บริบูรณ ดวยสุขสมบัติอันเปนทิพย เพราะเม่ือชาติกอน เทวดาเหลาน้ันประกอบดวยคุณธรรม คือ ศรทั ธา ศลี สุตะ จาคะ ปญ ญา แมเ ราก็มคี ุณธรรมเชนนนั้ เหมอื นกัน” เม่ือระลึกถงึ อยา งนแี้ ลว ยอมเกดิ ปตปิ ราโมทย นิวรณก ็จะสงบระงบั จิตยอมตง้ั มัน่ เปนขณกิ สมาธิ และอุปจาสมาธโิ ดยลาํ ดบั ๗. การเจรญิ อปุ สมานสุ สติ ผเู จรญิ อปุ สมานสุ สติ พงึ เขา ไปสอู นั ทสี่ งดั ระลกึ ถึงไดคุณของนิพพานเปนอารมณวา “พระนิพพานน้ี เปนที่ส้ินตัณหา เปนท่ีปราศจาก กเิ ลสเครื่องยอมใจ เปนทีด่ บั ราคะ โทสะ โมหะโดยไมเหลือ เปน ทีด่ บั เพลิงกิเลสและ กองทุกขโ ดยสน้ิ เชิงเปนสขุ อยา งยง่ิ ” เมือ่ ระลึกอยูอยา งน้ี นวิ รณก ็จะสงบระงบั จติ ยอ ม ตั้งม่นั เปน ขณกิ สมาธิและอปุ จารสมาธิโดยลําดบั ๘. การเจริญมรณัสสติ ผูเจริญมรณัสสติ พึงไปยังที่สงัดแลวบริกรรมวา “ความตายจักมีแกเรา เราจักตองตาย ชีวิตของเราจะตองขาดสิ้นลงแนนอน เรามคี วามตายเปน ธรรมดา ลว งพน ความตายไปไมไ ด” การระลกึ ถงึ ความตายโดยอบุ าย ทชี่ อบ พึงประกอบดว ยองค ๓ คือ (๑) สติ ระลึกถงึ ความตายอยู (๒) ญาณ รูวาความ ตายจะมเี ปน แน ตวั จะตอ งตายเปน แท (๓) เกดิ สงั เวชสลดใจ เมอ่ื ระลกึ อยอู ยา งนี้ นวิ รณ ก็จะสงบระงับ จติ ยอมตงั้ มั่นเปน ขณิกสมาธิและอุปจารสมาธิโดยลําดับ 92

ÇªÔ Ò¸ÃÃÁ 93 ๙. การเจรญิ กายคตาสติ ผูเจริญกายคตาสติ พงึ ตั้งสตกิ ําหนดพิจารณากาย อนั เปนที่ประชุมแหง สว นปฏกิ ลู นาเกลียด ต้ังแตปลายผมมาถึงปลายเทา มีหนังหุมอยู โดยรอบใหเห็นวา เต็มไปดวยของไมสะอาดมปี ระการตางๆ ซึง่ นบั ไดจํานวน ๓๒ สว น คือ ผม ขน เล็บ ฟน หนงั , เน้อื เอ็น กระดกู เยื่อในกระดกู มาม, หวั ใจ ตับ พงั ผดื ไต ปอด, ไสใหญ ไสนอย อาหารใหม อาหารเกา ด,ี เสลด หนอง (นํา้ เหลือง) เลอื ด เหง่ือ มันขน, นํ้าตา มนั เหลว นา้ํ ลาย นา้ํ มกู ไขขอ , นา้ํ มูตร (น้ําปส สาวะ) มันสมอง พึงพิจารณาโดยสี สัณฐาน กล่ิน ท่ีเกิดท่ีอยูของสวนตางๆ เหลานั้น จนเห็นวา เปน ของไมส วยไมงาม เปน ของปฏกิ ลู นาเกลยี ด นิวรณ ก็จะสงบระงบั จิตยอมตั้งม่นั เปน ขณกิ สมาธิ อุปจารสมาธิ และอปั ปนาสมาธโิ ดยลาํ ดับ ๑๐. การเจริญอานาปานสั สติ ผูเ จรญิ อานาปานัสสติ พงึ เขา ไปสทู ส่ี งดั เชน ปาไม เรือนวาง โรงศาล เปนตน ซึ่งเหมาะแกการเจริญจิตตภาวนา แลวน่ังขัดสมาธิ เทา ขวาทบั เทา ซา ย มอื ขวาทบั มอื ซา ย ตงั้ กายใหต รง ดาํ รงสตใิ หม น่ั กาํ หนดรลู มหายใจเขา ลมหายใจออกอยาใหหลงลืม เม่ือหายใจเขาพึงกําหนดรูวาหายใจเขา เม่ือหายใจ ออกพึงกําหนดรูวาหายใจออกเม่ือหายใจเขาและออกยาวหรือส้ัน ก็พึงมีสติกําหนดรู โดยประจกั ษชัดทุกขณะไปโดยมิใหห ลงลืมเพ่อื ใหจติ ตั้งม่นั เปนสมาธโิ ดยเรว็ หมวดที่ ๔ พรหมวหิ าร ๔ ๑. เมตตา ความรักใครปรารถนาดอี ยากใหผูอนื่ มคี วามสุข ๒. กรุณา ความสงสาร คิดชวยใหพนทุกข ไดแก ความใฝใจในอันจะ ปลดเปล้อื งความทกุ ขย ากเดือดรอ นของปวงสตั ว ๓. มุทิตา ความพลอยยินดี ไดแก ความเปนผูมีจิตแชมช่ืนเบิกบาน ในเมอื่ เหน็ ผอู นื่ อยดู ีมีสุขเจริญรุงเรอื ง และประสบความสําเร็จยิ่งข้นึ ไป ๔. อเุ บกขา ความวางใจเปน กลางในสตั วท งั้ หลาย ไดแ ก ความไมเ อนเอยี งไป ดวยความชอบหรือความชัง เท่ียงตรงดุจตราช่ัง โดยพิจารณาเห็นวา สัตวท้ังหลายมี กรรมเปน ของตน ทํากรรมใดไว ยอมไดรบั ผลกรรมน้ัน พรหมวหิ าร หมายถงึ หลกั ความประพฤตอิ นั ประเสรฐิ หรอื หลกั การดาํ เนนิ ชวี ติ อนั บรสิ ทุ ธห์ิ มดจด และหลกั การปฏบิ ตั ติ อ มนษุ ยแ ละสตั วท ง้ั หลายโดยชอบ พรหมวหิ ารน้ี คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 93

94 ¤ÙÁ‹ Í× ¸ÃÃÁÈ¡Ö ÉÒª¹éÑ àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก เรียกอีกอยางวา อัปปมัญญา เพราะเปนธรรมท่ีแผไปในมนุษยหรือสัตวท้ังหลาย โดยไมเ จาะจงไมป ระมาณ ไมม ขี อบเขต มวี ธิ เี จรญิ ดังน้ี เมตตา เมื่อเห็นโทษของโทสะและอานิสงสของขันติ พึงแผเมตตาจิตไป ในตนกอนวา “ขอเราจงเปนสุข อยาไดมีทุกข มีเวรมีภัยแกใครๆ เลย อยาไดมี ความทุกขกายทุกขใจจงเปนสุขๆ รักษาตนใหพนจากทุกขภัยท้ังสิ้นเถิด” โดยเปรียบ เทียบวา เรารักสุข เกลียดทุกขฉันใด ผูอื่นหรือสัตวอ่ืนก็รักสุข เกลียดทุกข ฉันนั้น จากนั้น พึงแผไปในสรรพสัตวไมมีประมาณ ไมมีขอบเขต โดยทํานองเดียวกันวา “ขอสัตวท ้ังปวง อยา มเี วร อยามคี วามพยาบาทตอกันและกันเลย อยามคี วามทุกขก าย ทุกขใ จ จงเปน สุขๆ รกั ษาตนใหพนจากทุกขภ ัยทง้ั สิ้นเถดิ ” เมตตานเี้ ปน ขา ศกึ แกโ ทสะและพยาบาทโดยตรง เมอื่ บคุ คลเจรญิ เมตตายอ ม ละโทสะและพยาบาทได จิตก็ตั้งม่ันเปนขณิกสมาธิ อุปจารสมาธิ และอัปปนาสมาธิ โดยลาํ ดบั บคุ คลทเี่ จริญเมตตายอ มไดรบั อานสิ งส ๑๑ อยาง คือ (๑) หลับเปนสขุ (๒) ตน่ื เปน สขุ (๓) ไมฝ น รา ย (๔) เปน ทรี่ กั ของมนษุ ย (๖) เทวดารกั ษา (๗) ไฟ ยาพษิ ศสั ตราวธุ ไมก ล้ํากราย (๘) จติ สงบเปนสมาธไิ ดเ รว็ (๙) สีหนาผองใส (๑๐) ตายอยา งมีสติ (๑๑) เมือ่ ยังไมบรรลุธรรมข้นั สูง ยอ มเขา ถึงพรหมโลก กรุณา เมื่อเห็นสรรพสตั วผไู ดรบั ความทกุ ขย ากลําบากแลวทําใหเ ปน อารมณ แผกรุณาจติ ไปวา “ขอสัตวผูประสบทุกข จงพน จากทกุ ขเ ถดิ ” เมือ่ แผไ ปอยา งนี้บอ ยๆ จะกาํ จดั วหิ งิ สาความเบยี ดเบยี น และนวิ รณก จ็ ะสงบระงบั จติ กจ็ ะตงั้ มน่ั เปน ขณกิ สมาธิ อปุ จารสมาธแิ ละอปั ปนาสมาธิโดยลาํ ดบั สาํ เร็จเปนกามาวจรกุศลและรูปาวจรกุศล มุทิตา เม่ือไดเห็นหรือไดยินมนุษยหรือสัตวอ่ืนๆ ที่อยูสุขสบาย ก็พึงทําจิต ใหช่ืนชมยินดี แผมุทิตาจิตไปวา “ขอสัตวท้ังหลาย อยาไดเส่ือมจากสมบัติที่ตนได แลว เลย” หรอื “ขอสตั วเหลาน้นั ยงั่ ยนื อยใู นสุขสมบัติของตนๆ เถิด” เมอ่ื บรกิ รรมนกึ อยอู ยา งนยี้ อ มละอรติ คอื ความไมย นิ ดใี นความสขุ และสมบตั ขิ องผอู นื่ ลงไปได จติ กจ็ ะ ตง้ั ม่นั เปนขณิกสมาธิ อปุ จารสมาธิ และอปั ปนาสมาธโิ ดยลําดับ อุเบกขา พึงแผไปในสรรพสัตว โดยทําจิตใหเปนกลางๆ อยาดีใจเสียใจใน เหตุสุขทุกข ของสรรพสัตวแลวบริกรรมนึกไปวา “สัตวทั้งหลายทั้งปวง มีกรรมเปน ของของตน เปนอยูเชนใด ก็จงเปนอยูเชนน้ันเถิด” เม่ือนึกบริกรรมอยางนี้เร่ือยไป 94

ÇÔªÒ¸ÃÃÁ 95 จิตก็จะละราคะและปฏิฆะ คือความกําหนดขัดเคืองในสุขทุกขของผูอื่นลงไปได อเุ บกขานีม้ ีอานุภาพสามารถทาํ ใหผเู จริญไดบ รรลุฌานขนั้ สงู สดุ หมวดท่ี ๕ อาหาเรปฏิกลู สัญญา ๑ อาหาเรปฏิกูลสัญญา ความสําคัญวาเปนของปฏิกูลในอาหาร หมายถึง การพิจารณาอาหารใหเห็นเปนของนารังเกียจ เพ่ือไมใหเกิดความติดใจในรสอาหาร มีวิธีการพิจารณาความปฏิกูลในอาหารโดยอาการ ๑๐ อยาง คือ ๑) โดยการไป ๒) โดยการแสวงหา ๓)โดยการบรโิ ภค ๔)โดยท่อี ยู ๕)โดยการหมกั หมม ๖)โดยยังไมยอย ๗)โดยยอ ยแลว ๘)โดยผลจากการยอย ๙)โดยการหล่ังไหลขับถายออก ๑๐) โดยทาํ ให แปดเปอน แตพระมตขิ องสมเดจ็ พระมหาสมณเจา ฯ มี ๘ อยา ง ตัดขอ ๑ ขอ ๒ ออก เม่ือผูเจริญอาหาเรปฏิกูลสัญญาพิจารณาโดยอาการอยางนี้ นิวรณยอมสงบ ระงับจิตก็จะต้ังมั่นเปนอุปจารสมาธิ ใหสําเร็จกิจเปนกามาวจรกุศล และเปนอุปนิสัย ปจจัยแหงมรรคผลนพิ พานตอ ไป หมวดที่ ๖ จตุธาตุววัตถาน ๑ จตุธาตุววัตถาน การกําหนดธาตุ ๔ หมายถึง การกําหนดพิจารณาใหเห็น วารา งกายเราน้ันเปน แตเ พยี งธาตุ ๔ คือ ดนิ นํา้ ไฟ ลม มาประชุมกนั เทาน้นั ท้ังนี้ เพ่ือใหเกิดความเบื่อหนาย ถอนความรูสึกวาเปนสัตว บุคคล ตัวตน เราเขา ออกไป จากจิต เรียกอีกอยางวา ธาตุมนสกิ าร หรอื ธาตกุ ัมมัฏฐาน ในการกําหนดนั้น ผูจะเจริญจตุธาตุววัตถานน้ี พึงตัดความกังวลหวงใย ท้ังหมด เขาไปสูสถานท่ีสงัด แลวต้ังสติพิจารณารางกายน้ี โดยแยกสวนตางๆ ออกเปนธาตุ ๔ คือ ดนิ นํ้า ไฟ ลม ดงั น้ี สงิ่ ที่แขง็ กระดาง มีอยูในกาย เชน ผม ขน เล็บ ฟน หนัง เนือ้ เอ็น กระดูก เปน ตน จัดเปน ปฐวีธาตุ ธาตดุ ิน ส่ิงท่ีเหลวเอบิ อาบซาบซมึ ไป มอี ยูในกาย เชน นํา้ ลาย น้ํามกู น้าํ ตา มนั เปลว เหง่ือ เลือด เปนตน จัดเปน อาโปธาตุ ธาตนุ ํ้า คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 95

96 ¤‹ÁÙ ×͸ÃÃÁÈ¡Ö ÉÒª¹Ñé àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก สง่ิ ทท่ี าํ ใหก ายอบอนุ ทาํ ใหก ายทรดุ โทรมเหย่ี วแหง ปราศจากความงาม ทาํ ให กายเรา รอ นกระวนกระวายจนทนไมไ ด และทาํ อาหารในกายใหย อ ยแปรปรวนไป จดั เปน เตโชธาตุ ธาตุไฟ สิ่งท่ีอุปถมั ภค้ําชกู ายใหส าํ เร็จกจิ มีสั่นไหว ลุก เดิน ยนื นง่ั นอนได เปน ตน จดั เปน วาโยธาตุ ธาตลุ ม ธาตุลมนี้ มอี าการ ๖ อยาง คอื (๑) ลมพดั ข้ึนเบือ้ งบน (๒) ลมพัดลงเบ้อื งต่ํา (๓) ลมในทอ งนอกไส (๔) ลมในไสใหญ (๕) ลมซา นไปท่วั อวัยวะใน รา งกาย และ (๖) ลมหายใจเขา -ออก เม่ือกําหนดพิจารณาธาตุ ๔ เชนนีเ้ ร่อื ยไป จิตก็จะตัง้ มนั่ เปน ขณิกสมาธิและ อุปจารสมาธิโดยลําดับ นิวรณก็จะสงบระงับไป จิตยอมหย่ังลงสูสุญญตารมณ คือ เหน็ วา รา งกายนว้ี า งเปลา จากสตั ว บคุ คล ตวั ตน เราเขา จากนน้ั จติ จะเพกิ เฉยเปน กลางๆ ไมย ินดยี นิ รายในอิฏฐารมณอ นฏิ ฐารมณ และอาจสําเรจ็ มรรคผลนพิ พานไดใ นทีส่ ุด หมวดที่ ๗ อรปู ๔ ๑. อากาสานัญจายตนะ ฌานทกี่ าํ หนดอากาศอนั ไมม ที สี่ นิ้ สดุ เปน อารมณ ๒. วญิ ญาณัญจายตนะ ฌานทก่ี าํ หนดวญิ ญาณอนั ไมม ที ส่ี น้ิ สดุ เปน อารมณ ๓. อากญิ จัญญายตนะ ฌานท่กี ําหนดภาวะไมมีอะไรๆ เปน อารมณ ๔. เนวสญั ญานาสญั ญายตนะ ฌานท่ีกาํ หนดภาวะมีสญั ญากไ็ มใ ช ไมมีสญั ญาก็ไมใ ชเปน อารมณ อรปู หมายถึง ฌานทมี่ ีอรูปธรรมเปน อารมณ ภพของสัตวผูเขา ถงึ อรูปฌาน มีดงั น้ี ๑. อากาสานญั จายตนะ หมายถึง ฌานท่เี ลิกเพง กสณิ แลว มากาํ หนดอากาศ คือที่วาง เปนอารมณ โดยพิจารณาใหเห็นวา อากาศไมมีท่ีสุดแลวทําบริกรรมวา อนนฺโต อากาโส อากาศไมมีท่ีสุดๆ ดังนี้เนืองๆ จิตยอมต้ังม่ันเปนอุปจารสมาธิ ตลอด จนถึงอปั ปนาสมาธโิ ดยลําดบั ๒. วญิ ญาณญั จายตนะ หมายถึง ฌานท่เี ลกิ เพง อากาศหรอื ทว่ี า งน้ันแลวมา กําหนดเพงดวู ญิ ญาณ ความรับรเู ปน อารมณ โดยพจิ ารณาใหเห็นวาวิญญาณไมมีทสี่ ิ้น สุดแลว ทาํ บริกรรมวา อนนฺตํ วิ ฺาณํ วญิ ญาณไมมที ีส่ ุดๆ ดังนี้เนอื งๆ จิตยอ มตั้งมั่น เปน อปั ปนาสมาธิ 96

ÇªÔ Ò¸ÃÃÁ 97 ๓. อากิญจัญญายตนะ หมายถึง ท่ีเลิกกําหนดเพงวิญญาณเปนอารมณ ของอรูปฌานที่ ๒ แลวมายึดหนวงเอาความไมมีของอรูปฌานท่ี ๑ เปนอารมณแลว ทําบรกิ รรมวา นตฺถิ กิจฺ ิ อรูปวิญญาณที่ ๑ นิดหนึง่ ไมม ี มไิ ดเ หลอื ติดอยูในอากาศ ดังนเี้ นอื งๆ จิตยอมตง้ั มั่นเปนอปั ปนาสมาธิ ๔. เนวสัญญานาสัญญายตนะ หมายถึง ฌานที่เลิกกําหนดคือปลอยวาง อารมณข องอรปู ฌานท่ี ๓ แลว กาํ หนดเอาแตภาวะทีล่ ะเอียดประณตี ของอรปู ฌานท่ี ๔ เปนอารมณแลว ทาํ บรกิ รรมวา สนฺตเมตํ ปณีตเมตํ อรปู ฌานนี้ละเอยี ดนกั ประณตี นกั จะมีสญั ญาก็ไมใช ไมมสี ญั ญากไ็ มใช ดังนเี้ นอื งๆ จิตยอมตง้ั มน่ั เปนอปั ปนาสมาธิ จรติ ๖ การที่ทานจัดอารมณกัมมัฏฐานไวถึง ๔๐ อยาง เพราะกําหนดตาม ความเหมาะสมแก จรติ ของบคุ คล เพอ่ื ใหผ ปู ฏบิ ตั สิ ามารถเลอื กใชต ามทเี่ หมาะแกจ รติ ของตน ถา เลือกอารมณก ัมมฏั ฐานไดเ หมาะสมกบั จริต การปฏบิ ัติก็จะไดผ ลดี คําวา จริต แปลวา ความประพฤติ หมายถึง พื้นเพของจิต หรืออุปนิสัย ท่ีหนักไปทางใดทางหนึ่ง อันเปนปกติประจําอยูในสันดาน เรียกอีกอยางวา จริยา จรติ ของบคุ คลในโลก มี ๖ ประเภท คือ ๑. ราคจติ หมายถงึ ผมู รี าคะเปน ความประพฤตปิ กติ หรอื มรี าคะเปน เจา เรอื น คือมีลักษณะนิสัยรักสวยรักงาม ชอบเร่ืองบันเทิงเจริญใจ เรียบรอย ทํางานละเอียด ประณีตเปนคนเจาเลห โออวด ถือตัว มีความตองการทางกามและเกียรติมาก และ นยิ มรสอาหารท่กี ลมกลอม เปน ตน ๒. โทสจริต หมายถึง ผูท่มี โี ทสะเปนความประพฤติปกติ หรือ มีโทสะเปน เจา บา นเจา เรอื น คอื มลี กั ษณะนสิ ยั ใจรอ น หงดุ หงดิ รนุ แรง ฉนุ เฉยี ว โกรธงา ย ชอบการ ตอ สู เอาชนะผอู น่ื พรวดพราด รบี รอ น กระดา ง ทาํ การงานรวดเรว็ แตไ มค อ ยเรยี บรอ ย ลบหลูคุณทาน ตตี นเสมอ มักรษิ ยา และชอบบริโภคอาหารรสจดั เปนตน ๓. โมหจริต หมายถึง ผูมีโมหะเปนความประพฤติปกติ หรือ มีโมหะเปน เจาเรอื น คอื มลี ักษณะนสิ ัยโงเ ขลา ข้ีหลงข้ีลมื เล่อื นลอย ขาดเหตุผล ชอบเรื่องไรส าระ ทาํ การงานหยาบขาดความเรยี บรอ ย มกั มคี วามเหน็ คลอ ยตามคนอน่ื งา ย ใครวา อยา งไร กว็ า ตามเขา ข้เี กยี จ ขส้ี งสยั เขา ใจอะไรยาก เปนตน คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 97

98 ¤Ù‹Á×͸ÃÃÁÈÖ¡ÉҪѹé àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก ๔. สัทธาจริต หมายถึง ผูมีศรัทธาเปนความประพฤติปกติ หรือ มีศรัทธา เปนเจาเรือน คือมีลักษณะนิสัยเช่ืองาย ทุมเทใจใหผูอื่นไดงาย เช่ือเร่ืองไสยศาสตร ทําการงานเรียบรอ ย ชอบสวยงามแบบเรียบๆ ไมฉ ูดฉาดโลดโผน มจี ิตใจเบิกบานใน เรื่องบุญกศุ ลไมช อบโออวด เปนตน ๕. พุทธจิ ริต หมายถงึ ผมู ีความรูเปน ความประพฤติ หรือ มีพทุ ธิปญ ญาเปน เจา เรอื น คอื มลี กั ษณะนสิ ยั ชอบคดิ พจิ ารณาตามความจรงิ มปี ญ ญาเฉยี บแหลมวอ งไว ไดยนิ ไดฟงอะไรมามักจดจาํ ไดเ รว็ มักทํากจิ กรรมทเ่ี ปน ประโยชน เรยี บรอย สวยงาม มีระเบียบชอบพินิจพิเคราะห เปน ตน ๖. วติ กจรติ หมายถงึ ผมู คี วามวติ กเปน ความประพฤตปิ กติ หรอื มคี วามวติ ก เปนเจาเรอื น คือมีลกั ษณะนสิ ัยคดิ วกวน ฟงุ ซา น ขาดความม่นั ใจ วติ กกังวลในเรื่องไม เปนเรื่องทาํ งานจับจด มกั เห็นคลอ ยตามคนหมูมาก ประเภทพวกมากลากไป เปนตน อารมณก มั มัฏฐานที่เหมาะกบั จริต ๖ กัมมัฏฐาน ๑๑ อยาง คือ อสุภะ ๑๐ และกายคตาสติ ๑ เหมาะกับ คนราคจรติ กมั มฏั ฐาน ๘ อยาง คอื วณั ณกสณิ ๔ ไดแก นลี กสณิ ปตกสิณ โลหิตกสณิ และโอทาตกสิณ และพรหมวิหาร ๔ ไดแก เมตตา กรณุ า มทุ ติ า และอเุ บกขา เหมาะกับ คนโทสจริต อานาปานัสสตกิ มั มฏั ฐาน เหมาะกับคนโมหจริตและคนวิตกจรติ กัมมัฏฐาน ๖ อยาง คือ อนุสสติ ๖ ไดแก พุทธานุสสติ ธัมมานุสสติ สังฆานสุ สติ สีลานสุ สติ จาคานสุ สติ และเทวดตานสุ สติ เหมาะกบั คนศรัทธาจรติ กมั มัฏฐาน ๔ อยา ง คือ มรณสั สติ อปุ สมานุสสติ อาหาเรปฏกิ ลู สัญญา และ จตุธาตวุ วัตถาน เหมาะกับคนพุทธจิ ริต ภูตกสิณ ๔ และอรูป ๔ เหมาะกับคนทุกจริต 98

ÇªÔ Ò¸ÃÃÁ 99 นมิ ติ ๓ นิมิต หมายถึง เครื่องหมายสําหรับใหจิตกําหนดในการเจริญกัมมัฏฐาน มี ๓ อยาง คอื ๑. บริกรรมนิมิต นิมิตขั้นเริ่มตน ไดแก ส่ิงกําหนดเปนอารมณใน การเจริญกัมมัฏฐาน เชน ดวงกสิณที่เพงดู ลมหายใจที่กําหนด หรือพระพุทธคุณ ทีก่ าํ หนดนกึ เปนอารมณ เปน ตน ๒. อคุ คหนมิ ติ นมิ ติ ตดิ ตา ไดแ ก บรกิ รรมนมิ ติ ทเ่ี พง หรอื กาํ หนดจนเหน็ เปน ภาพติดตาตดิ ใจ เชน ดวงกสิณท่เี พงจนตดิ ตา หลับตาแลว ยังเห็น เปน ตน ๓. ปฏภิ าคนมิ ติ นมิ ติ เทยี บเคยี ง ไดแ ก นมิ ติ ทเี่ ปน ภาพเหมอื นของอคุ คหนมิ ติ แตต ดิ ลกึ เขา ไปอกี จนเปน ภาพทเ่ี กดิ จากสญั ญาของผทู ไี่ ดส มาธิ จงึ บรสิ ทุ ธจ์ิ นปราศจากสี เปนตน และไมม ีมลทนิ ใดๆ ทั้งสามารถนึกขยายหรือยอ สว นไดตามปรารถนา ภาวนา ภาวนา หมายถึง การเจริญกัมมฏั ฐานหรอื ฝก สมาธติ ามลาํ ดบั ขัน้ มี ๓ คอื ๑. บรกิ รรมภาวนา การเจรญิ สมาธขิ นั้ เรม่ิ ตน ไดแ ก การกาํ หนดเอานมิ ติ ในสงิ่ ทก่ี าํ หนดเปน อารมณก มั มฏั ฐาน เชน เพง ดวงกสณิ กาํ หนดลมหายใจเขา -ออกทก่ี ระทบ ปลายจมูก หรอื นึกถึงพทุ ธคุณเปนอารมณเ ปน ตน คือการกําหนดบริกรรมนิมิตนน่ั เอง ๒. อปุ จารภาวนา การเจรญิ สมาธขิ นั้ อปุ จาร ไดแ ก การเจรญิ กมั มฏั ฐานทอ่ี าศยั บริกรรมภาวนาโดยกาํ หนดอุคคหนมิ ติ เรอื่ ยไปจนแนบสนทิ ในใจ เกิดเปน ปฏิภาคนมิ ติ ขนึ้ และนิวรณสงบระงับ จิตกต็ ้ังมนั่ เปนอุปจารสมาธิ ๓. อปั ปนาภาวนา การเจริญสมาธิขั้นอปั ปนา ไดแก การเจริญกัมมัฏฐานที่ อาศยั ปฏภิ าคนิมติ ซึง่ เกิดขนึ้ สม่าํ เสมอดวยอปุ จารสมาธิ ในทส่ี ุดก็เกิดอปั ปนาสมาธิ คอื สมาธทิ ่แี นว แนถงึ ข้ันทเ่ี รียกวา บรรลุปฐมฌาน ฌานสมาบตั ิ : คุณวเิ ศษของสมถกมั มัฏฐาน สมาบัติ หมายถึง คุณวิเศษที่ผูปฏิบัติพึงเขาถึงบรรลุถึง ไดแก รูปฌาน ๔ อรูปฌาน ๔ เรียกบุคคลผูบรรลุวา ฌานลาภีบุคคล (ผูไดบรรลุฌาน) ผูไดฌานตอง คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 99

100 ¤ÙÁ‹ Í× ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒªéѹàÍ¡ มีความชํานาญคลองแคลวในฌานสมาบัติที่ไดบรรลุ เรียกวา วสี จึงจะสามารถทําให ฌานสมาบัติดาํ รงอยูอ ยางม่ันคง มี ๕ อยาง คือ ๑. อาวชั ชนวสี ความชํานาญในการนึกตรกึ ถึงองคฌ าน ๒. สมาปช ชนวสี ความชาํ นาญในการเขา ฌาน ๓. อธษิ ฐานวสี ความชาํ นาญในการรักษาฌานไวต ามทีก่ าํ หนด ๔. วุฏฐานวสี ความชาํ นาญในการออกจากฌานตามที่กําหนด ๕. ปจ จเวกขณวสี ความชาํ นาญในการพิจารณาองคฌานท่ไี ดบรรลุ นักบวชนอกพระพุทธศาสนาสามารถบรรลุสมาบัติ ๘ ได แตไมสามารถละ กเิ ลสบรรลพุ ระนพิ พานได เพยี งสง ผลใหบ งั เกดิ ในพรหมโลกเทา นนั้ ดงั เชน อาฬารดาบส และอทุ กดาบส เปน ตน ในพระพทุ ธศาสนา สมาบัติ ๘ จัดเปนทฏิ ฐธรรมสุขวหิ าร คือธรรมเครื่องอยู เปนสุขในปจจุบันของพระอริยบุคคล ยอมเปนไปเพ่ือดับกิเลสทําใหแจงพระนิพพาน มี ๒ ประเภท คอื (๑) ผลสมาบตั ิ การเขา ถึงผล ยอมมีท่ัวไปแกพ ระอริยบุคคลท่ีได สมาบตั เิ ทา นน้ั (๒) นโิ รธสมาบตั ิ มไี ดเ ฉพาะพระอรยิ บคุ คล ๒ จาํ พวก คอื พระอนาคามี และพระอรหนั ต ที่ไดสมาบัติ ๘ เทา นั้น รูปฌาน ๔ อรูปฌาน ๔ และ สัญญาเวทยิตนิโรธ ๑ เรียกวา อนปุ พุ พวิหาร ๙ คอื ๑) ปฐมฌาน ๒) ทตุ ยิ ฌาน ๓) ตติยฌาน ๔) จตุตถฌาน ๕) อากาสานัญจายตนฌาน ๖) วญิ ญาณัญจายตนฌาน ๗) อากิญจัญญายตนฌาน ๘) เนวสญั ญานาสญั ญายตนฌาน ๙) สัญญาเวทยิตนโิ รธ การท่ีทานกําหนดอารมณสมถกัมมัฏฐานไวหลายวิธี ก็เพ่ือเหมาะแก จรติ บคุ คลเพือ่ เปน อุบายระงับนวิ รณ ๕ และเพ่อื ใหบรรลุฌานสมาบัตติ ามลําดับ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก 100

ÇªÔ Ò¸ÃÃÁ 101 พุทธคุณกถา อทุ เทส พทุ ธคุณ ๙ ๑. อรหํ ผเู ปน พระอรหันต ๒. สมมฺ าสมฺพทุ โฺ ธ ผูตรสั รเู องโดยชอบ ๓. วิชชฺ าจรณสมปฺ นฺโน ผถู ึงพรอ มดว ยวชิ ชาและจรณะ ๔. สุคโต ผเู สด็จไปดแี ลว ๕. โลกวทิ ู ผูรูแจงโลก ๖. อนตุ ตฺ โร ปุรสิ ทมฺมสารถิ ผูเ ปน สารถฝี ก คนที่ฝก ได ไมม ีผูอน่ื ยิง่ กวา ๗. สตถฺ า เทวมนสุ สฺ านํ ผเู ปน พระศาสดาของเทวดาและมนษุ ยท ้ังหลาย ๘. พทุ โฺ ธ ผรู ู ผูตน่ื ผูเบกิ บานแลว ๙. ภควา ผูทรงจาํ แนกพระธรรม ผมู ีโชค อธิบาย พุทธคณุ คือ พระคุณของพระพุทธเจา ท้งั ทเี่ ปนพระคณุ สมบัติสวนพระองค และพระคุณท่ีทรงบาํ เพญ็ เพ่ือประโยชนเ ก้ือกูลแกผอู ืน่ มี ๙ ประการ ดงั นี้ ๑. อรหํ ผูเปนพระอรหันต หมายถึง ผูบริสุทธิ์ปราศจากกิเลสโดยสิ้นเชิง ในอรรถกถาและคมั ภีรวสิ ุทธมิ รรค ไดนิยามความหมายของคําวา อรหํ ไว ๕ ประการ ๑) เปนผูไกลกิเลส คือ ทรงดํารงอยูไกลแสนไกลจากกิเลสท้ังหลาย เพราะทรงกําจัดกเิ ลสทัง้ หลายพรอ มท้ังวาสนาดวยอริยมรรคจนหมดส้นิ ๒) เปนผูกําจัดอริท้ังหลาย คือ ทรงกําจัดขาศึกคือกิเลสท้ังหลาย ดว ยอริยมรรค ๓) เปน ผูหักกําแหง สังสารจกั ร คือ ทรงหักกงลอแหง การเวยี นวา ยตาย เกดิ ในภพภูมิตา งๆ ๔) เปนผูควรแกปจจัย ๔ เปนตน คือทรงเปนผูควรแกการบูชาพิเศษ คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 101

102 ¤ÙÁ‹ ×͸ÃÃÁÈ¡Ö ÉÒªéѹàÍ¡ เพราะวาพระองคทรงเปนทักขิไณยบุคคลช้ันยอด เทวดาและมนุษยทั้งหลายตางบูชา พระองคดวยการบูชาอยางยิง่ ๕) เปนผูไมมที ี่ลบั ในการทาํ บาป คอื ไมท รงทาํ บาปทจุ ริตท้งั ในท่ีลบั และ ในที่แจง ๒. สมมฺ าสมพฺ ทุ โฺ ธ ผตู รสั รเู องโดยชอบ หมายถงึ เปน ผตู รสั รสู รรพสง่ิ ทคี่ วรรยู ง่ิ ที่ควรกําหนดรู ท่ีควรละ ท่ีควรทําใหแจง และท่ีควรเจริญใหเกิดมีไดอยางถูกตอง โดยชอบดว ยพระองคเ อง โดยไมมีผูใดแนะนําสั่งสอน ๓. วิชชฺ าจรณสมฺปนโฺ น ผูถึงพรอ มดว ยวชิ ชาและจรณะ หมายถงึ ทรงเพียบ พรอ มดว ยวิชชา ๓ วชิ ชา ๘ และจรณะ ๑๕ วชิ ชา ๓ คือ ๑) ปพุ เพนวิ าสานสุ สตญิ าณ ญาณหย่ังรูร ะลกึ ชาติหนหลังได ๒) จตุ ปู ปาตญาณ ญาณหยงั่ รจู ตุ แิ ละอบุ ตั ขิ องสตั วท ง้ั หลาย ๓) อาสาวักขยญาณ ญาณหยงั่ รคู วามสนิ้ ไปแหงอาสวกเิ ลส วิชชา ๘ คอื ๑) วิปสสนาญาณ ปญญาทพ่ี ิจารณาเห็นรูปนาม คือขนั ธ ๕ เปน สวนๆ ตา งอาศยั กนั ๒) มโนมยิทธิ ฤทธ์ิทางใจ เชน เนรมติ กายไดหลากหลายอยา ง เปน ตน ๓) อิทธิวธิ ิ แสดงฤทธ์ิได เชน เหาะเหินเดินอากาศได เดนิ บนนาํ้ ดําลงไป ในนํา้ แผน ดินได เปน ตน ๔) ทพิ พโสต หูทพิ ย คอื ฟง เสียงท่ีอยไู กลแสนไกลไดย นิ ๕) เจโตปรยิ ญาณ กาํ หนดรใู จผอู นื่ ได เชน รคู วามคดิ คนอน่ื วา คดิ อยา งไร ๖) ปพุ เพนวิ าสานสุ สติญาณ ญาณระลึกชาติหนหลงั ของตนได ๗) ทพิ พจักขุ ตาทพิ ย เห็นการเกิดการตายของเหลา สัตว ๘) อาสวักขยญาณ รูจกั ทําอาสวะใหส นิ้ ไปไมมเี หลอื จรณะ ๑๕ คอื ๑) สีลสงั วร ความสํารวมในศลี ๒) อนิ ทรยี สังวร ความสาํ รวมอินทรีย คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก 102

ÇÔªÒ¸ÃÃÁ 103 ๓) โภชเน มัตตัญตุ า ความเปน ผรู จู ักประมาณในการบรโิ ภค ๔) ชาครยิ านโุ ยค ความหม่นั ประกอบความเพยี ร ๕) สทั ธา ความเชือ่ กรรมและผลของกรรม ๖) หริ ิ ความละอายตอ บาปทจุ ริต ๗) โอตตัปปะ ความสะดงุ กลวั ตอบาปทจุ รติ ๘) พาหสุ ัจจะ ความเปนผไู ดส ดับมาก ๙) วริ ยิ ารมั ภะ การปรารภความเพียร ๑๐) สติ ความระลกึ ได ๑๑) ปญ ญา ความรอบรูต ามเปนจริง ๑๒) ปฐมฌาน ฌานท่ี ๑ ๑๓) ทุตยิ ฌาน ฌานท่ี ๒ ๑๔) ตตฌิ าน ฌานท่ี ๓ ๑๕) จตตุ ถฌาน ฌานท่ี ๔ ๔. สคุ โต ผเู สดจ็ ไปดแี ลว หรือผูก ลา วดีแลว ในอรรถกถานยิ ามความหมาย ไว ๔ ประการ ๑) ทรงพระนามวา สคุ โต เพราะมกี ารเสดจ็ ดาํ เนนิ ไปอยา งบรสิ ทุ ธ์ิ หาโทษ มิไดด วยอรยิ มรรค ๒) ทรงพระนามวา สคุ โต เพราะเสดจ็ ไปสูอมตสถานคือพระนพิ พาน ๓) ทรงพระนามวา สุคโต เพราะเสด็จไปโดยชอบ ไมทรงหวนกลับมา สกู ิเลสทีล่ ะไดแลว ๔) ทรงพระนามวา สคุ โต เพราะตรัสวาจาชอบ ตรสั คําจริง ประกอบดว ย ประโยชน ๕. โลกวิทู ผทู รงรแู จง โลก มีความหมาย ๒ ประการ ดังน้ี ๑) ทรงพระนามวา โลกวิทู เพราะทรงรูแจงโลกภายในคือรางกาย คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 103

104 ¤‹ÁÙ ×͸ÃÃÁÈ¡Ö ÉÒªé¹Ñ àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก ซ่งึ มีสัญญามใี จครองน้ี โดยทรงรูถึงสภาวะ เหตุเกิดข้ึน ความดับ และวธิ ีปฏิบัตใิ หล ุถึง ความดบั อยางถอ งแท ๒) ทรงพระนามวา โลกวิทู เพราะทรงรูแจงโลกภายนอก ๓ คือ (๑) สงั ขารโลก โลกคอื สงั ขารทม่ี กี ารปรงุ แตง ตามเหตปุ จ จยั เชน สรรพสตั วด าํ รงอยไู ดเ พราะ อาหาร (๒) สตั วโ ลก โลกคอื หมูสตั วซ ึ่งแยกเปนมนษุ ย เทวดา พรหม (๓) โอกาสโลก โลกคือแผนดินหรือโลกตา งๆ ทม่ี ีในจกั รวาล ๖. อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ ผูเปน สารถีฝกคนที่ฝก ได ไมม ผี ูอ่นื ย่ิงกวา คือ ทรงทําหนาท่ีดุจสารถี ฝกเทวดา มนุษย อมนุษย และสัตวเดรัจฉานท่ีสมควรฝกได ดวยอบุ ายวธิ ีตางๆ ตามสมควรแกอัธยาศยั ของแตละบคุ คลไดอ ยางไมมผี ูอ ่ืนยิง่ กวา ๗. สตฺถา เทวมนุสฺสานํ ผูเปน พระศาสดาของเทวดาและมนษุ ยทงั้ หลาย คือ ทรงเปน บรมครสู ่ังสอนบคุ คลทุกระดบั ชัน้ ดว ยพระมหากรุณา โดยมุง ประโยชนส ูงสุด คือพระนพิ พาน ๘. พุทฺโธ ผูรู ผูตื่น ผูเบิกบานแลว คือทรงเปนพระพุทธเจาอยางสมบูรณ เพราะตรสั รสู รรพสง่ิ ทค่ี วรรแู ละทรงสอนผอู นื่ ใหร ตู าม พระองคท รงตน่ื จากความเชอื่ ถอื และขอปฏิบัติหลายท่ีนับถือกันมาผิดๆ และทรงปลุกผูอ่ืนใหตื่นจากความหลงงมงาย ทรงมีพระหฤทัยเบิกบานบาํ เพ็ญพทุ ธกิจ ไดบ ริสทุ ธบ์ิ รบิ ูรณ ๙. ภควา ผทู รงจาํ แนกพระธรรม ผมู โี ชค ในอรรถกถาและคมั ภรี ว สิ ทุ ธมิ รรค ใหน ิยามหมายไว ๖ ประการดงั น้ี ๑) ทรงเปนผูมีโชค คือทรงหวังพระโพธิญาณกไ็ ดสมหวัง ซ่ึงเปน ผลจาก พระบารมที ่ที รงบําเพญ็ มานานถงึ ๔ อสงไขย ๑ แสนกปั ๒) ทรงเปนผูทําลายกิเลสและหมูมารท้ังมวลไดอยางราบคาบ คือ ทรงชนะกเิ ลสทัง้ ปวงและหมมู ารไดหมดส้นิ ๓) ทรงมีภคธรรม ๖ ประการ คือ (๑) ความมีอํานาจเหนือจิต (๒) โลกุตตรธรรม (๓) พระเกียรติยศที่ปรากฏทั่วในโลก ๓ (๔) พระสิริรูปสงางามครบ ทกุ สว น (๕) ความสาํ เร็จประโยชนตามที่ทรงมุง หวัง (๖) ความเพยี รชอบเปน เหตุใหได รับความเคารพจากชาวโลก 104

ÇªÔ Ò¸ÃÃÁ 105 ๔) ทรงจําแนกแจกธรรม คือ ทรงเปน วิภัชชวาที ในการแสดงธรรม โดยทรงแยกแยะจาํ แนกแจกแจงประเภทแหงธรรมออกไปอยางละเอยี ดวิจิตรพิสดาร ๕) ทรงเสพอริยธรรม คือ ทรงยินดีในอริยวิหารธรรม (ธรรมเปน เคร่ืองอยูของพระอริยเจา) วิเวก (ความสงัดกายและจิต) วิโมกข (ความหลุดพนจาก กเิ ลส) และอตุ ตริมนุสสธรรม (ธรรมของมนษุ ยอันยวดย่ิง มฌี านสมบตั ิ เปน ตน) ๖) ทรงสลัดตัณหาในภพ ๓ ไดแลว คือทรงปราศจากกิเลสตัณหา อันทาํ ใหเ วยี นวายตายเกดิ ในภพ ๓ คอื กามภพ รูปภพ และอรปู ภพ สรปุ พระพทุ ธคณุ พระพทุ ธคุณ ๙ ตงั้ แต อรหํ ถึง ภควา เปน เนมิตกนาม เกดิ โดยนมิ ิตคือ อรหัตตคุณ และ อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ ไมมีผูใดในมนุษยโลกและเทวดาโลก แตงต้ังถวาย พระมติของสมเด็จพระมหาสมณเจาฯ ทรงจัดพระพุทธคุณ ๙ ไว โดยยอ ๒ ประการ คอื พระปญ ญาคณุ กบั พระกรณุ าคณุ พระฎกี าจารยท งั้ หลาย จดั ไว ๓ ประการ คือ พระปญญาคุณ พระวิสุทธคิ ุณ และพระกรุณาคณุ ในพระคุณท้งั ๓ น้ี ขอ ที่เปน หลักและกลา วถงึ ทว่ั ไปในคัมภรี ตาง ๆ มี ๓ คอื ปญญา และ กรณุ า สว นวิสุทธิ เปน พระคุณเน่อื งอยูในพระปญญาอยแู ลวเพราะเปนผลเกิดเองจากการตรสั รู จงึ ไมแยกไว เปน ขอหนึ่งตางหาก พระพทุ ธคณุ บทวา อรห,ํ สมมฺ าสมพฺ ทุ โฺ ธ, วธิ ชฺ าจรณสมปฺ นโฺ น, สคุ โต, โลกวทิ ู จัดเขาในพระปญญาคุณ, บทวา อนุตฺตโร ปริสทมฺมสารถิ และสตฺถา เทวมนุสฺสานํ จดั เขาในพระกรุณาคุณ, บทวา พุทฺโธ และ ภควา จดั เขา ไดทั้งใน พระปญ ญาคณุ และ พระกรณุ าคณุ อีกอยางหนึ่ง บทวา อรหํ, สมฺมาสมฺพุทฺโธ, วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน, สุคโต, โลกวิทู แสดงคุณสมบัติสวนพระองค เรียกวา อัตตหาตคุณ, บทวา อนุตฺตโร ปริสทมฺมสารถิ และ สตฺถาเทวมสุสฺสานํ แสดงคุณสมบัติเปนประโยชนแกผูอ่ืน เรียกวา ปรหิตคุณ, บทวา พุทฺโธ และภควา แสดงคุณสมบัติสวนพระองคและ เปน ประโยชนแกผ อู ื่นเรยี กวา อตั ตปรหติ คุณ คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 105

106 ¤‹ÙÁÍ× ¸ÃÃÁÈ¡Ö ÉÒªÑé¹àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก วิปส สนากัมมัฏฐาน อทุ เทส สาธุชนมาทาํ วปิ สสนาปญ ญาที่เหน็ แจงชดั ในอารมณใ หเ กิดมขี ึ้นในจิต ดวยเจตนาอันใด เจตนาอันน้นั ชื่อวา วปิ สสนาภาวนา อธิบาย วิปสสนากัมมัฏฐาน (วิปสสนาภาวนา) หมายถึง กัมมัฏฐานอันเปนอุบายท่ี ทําใหเกิดปญญารูเห็นสภาวธรรมตามเปนจริง โดยความเปนไตรลักษณ คือ ไมเท่ียง เปน ทกุ ข เปนอนัตตา ธรรมเปนอารมณเ ปนภูมขิ องวิปส สนา ในการเจรญิ วิปสสนากัมมัฏฐาน ตองรจู ักอารมณของวิปส สนา อปุ มาเหมอื น การปลูกพืชพันธุ ธัญญาหารตองมีพ้ืนที่ ถาไมมีพ้ืนที่สําหรับปลูกแลว พืชก็เกิดไมได ธรรมอันเปนอารมณเปนภูมิของวิปสสนา คือส่ิงท่ียึดหนวงจิตใหเกิดวิปสสนาปญญา ท่อี ยู ๖ หมวด คอื ขันธ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ อินทรยี  ๒๒ อริยสัจ ๔ และ ปฏจิ จสมุปบาท ๑๒ ธรรมท้งั หมวดนี้ ยอ เปน รูปและนาม ๑. ขนั ๕ คือ รูป เวทนา สญั ญา สังขาร และ วิญญาณ อธบิ ายดังน้ี ๑) รปู คือ รางกายอนั สงเคราะหด วยธาตุ ๔ คอื ดนิ นํา้ ไฟ ลม ๒) เวทนา คือ ความเสวยอารมณส ขุ ทุกข อุเบกขา ๓) สัญญา คอื ความจําไดหมายรอู ารมณหรอื ส่งิ ท่มี ากระทบกับอายตนะ ภายในคอื ตา หู จมกู ลิน้ กาย และใจ ๔) สงั ขาร คือ อารมณอนั เกิดกบั จติ เจตนาความคดิ อานทีป่ รงุ แตงจติ ใหด ีหรือช่ัวหรอื เปนกลางๆ ๕) วิญญาณ คอื ความรูแ จง อารมณท างทวาร ๖ คอื ตา หู จมูก ลน้ิ กาย และใจ 106

ÇÔªÒ¸ÃÃÁ 107 ๒. อายตนะ ๑๒ คําวา อายตนะ แปลวา ที่ตอ เคร่ืองตอ หมายถึง เคร่ืองรับรูอารมณของจิต แบงเปนอายตนะภายใน ๖ และอายตนะภายนอก ๖ คือ อายตนะภายใน ๖ คือ อายตนะภายใน ๖ ไดแก ตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ อายตนะ ภายนอก ๖ ไดแก รปู เสียง กล่ิน รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ ๓. ธาตุ ๑๘ คาํ วา ธาตุ แปลวา สภาพทรงไว หมายถงึ ส่ิงทีท่ รงสภาวะของ ตนอยูเองตามท่ีเหตุปจจัยปรุงแตงขึ้น เปนไปตามธรรมดา ไมมีผูสราง ไมมีผูบันดาล มี ๑๘ อยาง คอื ๑) จักขธุ าตู ธาตุคือจักขปุ ระสาท (ตา) ๒) รปู ธาตุ ธาตุคอื รปู ๓) จกั ขวุ ิญญาณธาตุ ธาตคุ ือสภาวะทีร่ บั รรู ูปทางตา ๔) โสตธาตุ ธาตุคอื โสตประสาท (หู) ๕) สัททธาตุ ธาตุคอื เสียง ๖) โสตวญิ ญาณธาตุ ธาตคุ อื สภาวะทร่ี ับรูเสยี งทางหู ๗) ฆานธาตุ ธาตคุ อื ฆานประสาท (จมูก) ๘) คนั ธธาตุ ธาตคุ อื กลนิ่ ๙) ฆานวิญญาณธาตุ ธาตคุ ือสภาวะท่ีรบั รกู ลนิ่ ทางจมูก ๑๐) ชวิ หาธาตุ ธาตคุ อื ชวิ หาประสาท (ลิ้น) ๑๑) รสธาตุ ธาตุคอื รส ๑๒) ชวิ หาวญิ ญาณธาตุ ธาตุคอื สภาวะทรี่ บั รรู สทางลน้ิ ๑๓) กายธาตุ ธาตคุ ือกายประสาท ๑๔) โผฏฐพั พธาตุ ธาตคุ อื โผฏฐัพพะ (สง่ิ สมั ผัส) ๑๕) กายวิญญาณธาตุ ธาตุคือสภาวะทรี่ บั รสู มั ผัสทางกาย ๑๖) มโนธาตุ ธาตุคือมโน (จติ ) ๑๗) ธัมมธาตุ ธาตคุ อื ธมั มะ (ส่งิ ที่ใจนกึ คิด,อารมณ) ๑๘) มโนวญิ ญาณธาตุ ธาตคุ อื สภาวะท่ีรบั รูอ ารมณท างจติ ๔. อินทรีย ๒๒ คาํ วา อนิ ทรยี  แปลวา สิง่ ท่เี ปน ใหญ หมายถึง อายตนะที่ เปน ใหญใ นการทาํ กิจของตน เชน ตาเปนใหญใ นการเหน็ เปนตน มี ๒๒ อยา ง คือ คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 107

108 ¤‹ÁÙ Í× ¸ÃÃÁÈ¡Ö ÉÒªé¹Ñ àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก ๑) จกั ขนุ ทรยี  อินทรยี คอื จกั ษุประสาท (ตา) ๒) โสติทรีย อนิ ทรยี คือโสตประสาท (หู) ๓) ฆานนิ ทรีย อินทรยี คือฆานประสาท (จมกู ) ๔) ชวิ หินทรยี  อนิ ทรียคอื ชิวหาประสาท (ล้นิ ) ๕) กายนิ ทรยี  อินทรยี ค ือกายประสาท (กาย) ๖) มนนิ ทรีย อนิ ทรียค ือมโน (จิต ๘๙ ดวง หรือ ๑๒๑ ดวง) ๗) อิตถนิ ทรีย อนิ ทรียอิตถีภาวะ (ความเปน หญงิ ) ๘) ปุริสนิ ทรยี  อินทรยี ค ือปรุ ิสภาวะ (ความเปน ชาย) ๙) ชีวิตินทรีย อินทรยี คือชีวติ ๑๐) สุขินทรีย อินทรยี ค ือสุขเวทนา (ความรสู ึกเปนสุข) ๑๑) ทกุ ขนิ ทรีย อินทรยี คอื ทกุ ขเวทนา (ความรสู ึกเปน ทกุ ข) ๑๒) โสมนสั สินทรยี  อนิ ทรียคือโสมนัสสเวทนา (ความรูสกึ ดใี จ) ๑๓) โทมนสั สินทรยี  อนิ ทรยี คอื โทมนัสสเวทนา (ความรสู กึ เสียใจ) ๑๔) อเุ ปกขินทรยี  อนิ ทรยี คืออเุ บกขาเวทนา (ความรสู กึ เปน กลาง) ๑๕) สัทธินทรีย อินทรียค ือศรัทธา มหี นา ทเ่ี ดน ดา นความเชอื่ ๑๖) วริ ยิ นิ ทรีย อนิ ทรยี คือวริ ยิ ะ มีหนา ทีเ่ ดน ดา นความเพยี ร ๑๗) สตินทรีย อินทรียค ือสติ มีหนาทเี่ ดน ดา นความระลกึ ชอบ ๑๘) สมาธนิ ทรยี  อนิ ทรยี คอื สมาธิ มหี นา ทเ่ี ดนดานความตัง้ ใจม่ัน ๑๙) ปญญนิ ทรยี  อนิ ทรียคือปญญา มหี นาทเ่ี ดน ดา นความรชู ดั ๒๐) อนัญญตัญญัสสามีตินทรีย อินทรียของผูปฏิบัติดวยมุงโสดาปตติ มคั คญาณ ๒๑) อญั ญนิ ทรยี  คือปญญาอันรูทั่วถึงโสดาปตติผลญาณถึงอรหันต- มคั คญาณ ๒๒) อัญญาตาวินทรีย อนิ ทรียแหงทา นผรู ทู ั่วถึงอรหนั ตผลญาณ ๕. อรยิ สจั ๔ คําวา อริยสจั แปลวา ความจรงิ อันประเสรฐิ ความจริงท่ที ําให เขา ถงึ ความเปน พระอริยะ คอื ทกุ ข สมุทยั นิโรธ มรรค 108

ÇªÔ Ò¸ÃÃÁ 109 ๖. ปฏจิ จสมปุ บาท ๑๒ คําวา ปฏิจจสมปุ บาท แปลวา ธรรมทอี่ าศยั กันและ กันเกดิ ขน้ึ พรอ มกนั เรียกอกี อยางวา ปจ จยาการ คืออาการทเี่ ปน ปจ จัยแกก ันและกัน ไดแก อวิชชา สงั ขาร วญิ ญาณ นามรูป สฬายตนะ ผสั สะ เวทนา ตณั หา อปุ าทาน ภพ ชาติ ชรามรณะ ธรรมทเี่ ปนเหตุเกิดข้นึ ตง้ั อยแู หง วิปสสนา ในวสิ ุทธิ ๗ ธรรมที่เปน เหตุเกิดขน้ึ ต้งั อยขู องวปิ ส สนา ไดแก วสิ ทุ ธิ ๒ ขอ ขางตน คอื ๑) สีลวสิ ุทธิ ความหมดจดแหงศีล ๒) จิตตวสิ ุทธิ ความหมดจดแหง จิต ผทู เ่ี จรญิ วปิ ส สนาเบอ้ื งตน ตอ งปฏบิ ตั ติ นใหม ศี ลี บรสิ ทุ ธแ์ิ ละมจี ติ บรสิ ทุ ธกิ์ อ น จงึ จะเจรญิ วปิ ส สนาตอ ไปได ถาเปน ผมู ศี ลี ไมบริสุทธ์ิ ยังมีจิตฟุง ซา น ไมเ ปน สมาธิ กไ็ ม ควรท่จี ะเจรญิ วิปส สนา ธรรมท่เี ปนตัววปิ ส สนา ในวิสุทธิ ๗ ธรรมท่ีเปน ตัววิปส สนา ไดแก วสิ ทุ ธิ ๕ ขอขา งทา ย คอื ๑) ทิฏฐิวิสทุ ธิ ความหมดจดแหงทฏิ ฐิ ๒) กงั ขาวิตรณวิสทุ ธิ ความหมดจดแหง ญาณเปน เคร่ืองขามพน ความสงสัย ๓) มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแหงญาณเปนเครื่องเห็นวา ทางหรอื มใิ ชทาง ๔) ปฏปิ ทาญาณทสั สนวสิ ทุ ธิ ความหมดจดแหง ญาณเปน เครอื่ งเหน็ ทางปฏบิ ตั ิ ๕) ญาณทัสสนวิสทุ ธิ ความหมดจดแหง ญาณทัสสนะ คืออริยมรรค ๔ อกี นยั หนึ่ง ธรรมทเ่ี ปน ตัววิปสสนา ไดแ ก ไตรลักษณ หรอื สามัญญลักษณะ ๓ คือ ๑) อนจิ จฺ ตา ความเปน ของไมเที่ยง ๒) ทุกขฺ ตา ความเปนทุกข ๓) อนตตฺ ตา ความเปนของมใิ ชตวั ตน คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 109

110 ¤‹ÁÙ Í× ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒª¹éÑ àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก ลักษณะ กจิ ผล และเหตขุ องวปิ สสนา ลกั ษณะ คือ เครอ่ื งหมายของวิปสสนา ไดแก ความรูความเห็นวาสงั ขารเปน ของไมเทย่ี ง เปน ทุกข เปน อนตั ตา อยางแจง ชัดตามความเปนจริง กิจ คอื หนาท่ีของวปิ สสนา ไดแ ก ความขจัดมืดคือโมหะอนั ปด บงั ปญ ญาไว ไมใ หเหน็ ตามความเปนจริงของสงั ขารวา เปน ของไมเ ทย่ี ง เปน ทกุ ข เปน อนัตตา ผล คอื ประโยชนที่ไดรับจากการเจริญวิปสสนา ไดแก ความรูแจง เหน็ จรงิ ในสงั ขารวา เปน ของไมเ ที่ยง เปนทกุ ข เปน อนตั ตา ปรากฏเฉพาะหนา ดุจประทีปสอ ง สวา งอยูฉะน้ัน เหตุ คอื สง่ิ ท่สี นบั สนนุ ใหว ปิ สสนาเกดิ ขึน้ และดาํ รงอยู ไดแก ความท่จี ติ ไม ฟุง ซา น ต้ังมนั่ เปน สมาธิ วภิ าคของวปิ สสนา วภิ าค หมายถงึ การแยกสว นพจิ ารณาอารมณว ิปส สนา ๖ สวน คอื ๑) อนจิ จฺ ํ สว นท่ีไมเ ทีย่ ง คือสังขารท่ปี จ จัยปรงุ แตงสรา งข้ึน เปน ของไมเ ทีย่ ง เพราะเกดิ ข้ึนแลว แปรปรวนเปน อยางอืน่ ไป ไมค งอยอู ยางเดมิ ๒) อนจิ จฺ ลกขฺ ณํ สว นทเ่ี ปน ลกั ษณะของความไมเ ทย่ี ง คอื เครอ่ื งหมายกาํ หนด ใหรูวา สงั ขารเปน ของไมเ ท่ียง มีความเกดิ ขึน้ แลว แปรปรวนเปนอยางอ่ืนไป ไมค งอยู อยา งเดิม ๓) ทกุ ขฺ ํ สวนทเี่ ปน ทุกข คือสังขารที่เปน ตัวทุกข เพราะมีความเกดิ -ดับ และ มีความเปล่ียนแปลงเปน อยา งอื่นดวยทกุ ขท ่ีเกดิ จากชรา พยาธิ มรณะอยเู ปนนติ ย ๔) ทุกฺขลกฺขณํ สวนท่ีเปนลักษณะของความทุกข คือเคร่ืองหมายกําหนด ใหร วู า สังขารเปนทกุ ข เพราะถูกชรา พยาธิ มรณะ บบี ค้นั เบยี ดเบียนเผาผลาญทําลาย ใหเ ปน ทกุ ขอ ยูเปน นิตย ๕) อนตฺตา สวนทเ่ี ปนอนตั ตา คอื ความท่สี งั ขารและวิสงั ขารเปน อนัตตา เปน สภาพวา งจากตวั ตน มิใชส ัตว บุคคล ตวั ตน เราเขา ๖) อนตฺตลกขฺ ณํ สว นทีเ่ ปน ลกั ษณะของอนัตตา คอื เคร่อื งหมายกําหนดใหร ู วา สังขารและวสิ ังขารเปนสภาพทีไ่ มม ตี วั ตน มิใชสัตว บคุ คล ตัวตน เราเขา 110

ÇªÔ Ò¸ÃÃÁ 111 ผูเ จริญวปิ ส สนามี ๒ ประเภท ๑) สมถยานิก ผูมีสมถะเปนยาน หมายถึง ผูเจริญสมถะจนไดบรรลุฌาน สมาบตั แิ ลว จงึ อาศยั สมถะนน้ั เปน พน้ื ฐานเจรญิ วปิ ส สนาตอ ไป เมอ่ื บรรลเุ ปน พระอรหนั ต แลว เปน ผมู คี ณุ วิเศษตางๆ เชน สามเณรแสดงฤทธ์ไิ ด เปน ตน ๒) วิปส สนายานิก ผมู ีวปิ ส สนายาน หมายถงึ ผูเ จรญิ วิปสสนาอยา งเดียวไป จนบรรลุเปนพระอรหันต โดยมิไดเจริญสมถะ ไมไดฌานสมาบัติมากอน เม่ือเจริญวิปสสนาก็กําหนดนามรูปเปนอารมณ ยกข้ึนสูไตรลักษณ เม่ือบรรลุเปน พระอรหนั ตแ ลวไมสามารถแสดงฤทธไ์ิ ด เรียกวา สกุ ขวิปส สกะ (ผเู จริญวิปส สนาลวน) วปิ ส สนปู กเิ ลส ๑๐ อยา ง ผูเจริญวิปสสนา อาจมีส่ิงท่ีมาทําใหจิตเศราหมองในระหวางเจริญวิปสสนา เรียกวา วปิ ส สนปู กเิ ลส เครือ่ งเศราหมองแหง วิปสสนา คอื ธรรมารมณท ่เี กิดแกผ ไู ด วปิ ส สนาออ นๆ จนทาํ ใหส าํ คญั วา ตนบรรลมุ รรคผลแลว เปน เหตขุ ดั ขวางใหไ มก า วหนา ตอ ไปในวปิ ส สนาญาณ มี ๑๐ อยา ง คอื ๑) โอภาส แสงสวา งเกดิ แตว ปิ ส สนาจติ ซานออกจากสรีระ ๒) ญาณ ความหยั่งรู หรอื วิปสสนาญาณทเี่ ห็นนามรูปแจง ชดั ๓) ปติ ความอ่ิมใจทแ่ี ผซานไปทั่วรา งกาย ๔) ปส สัทธิ ความสงบกายและจติ ระงับความกระวนกระวายได ๕) สขุ ความสุขกายและจติ ทเี่ ย็นประณตี ๖) อธโิ มกข ความนอ มใจเชอ่ื มศี รทั ธากลา เปน ทผ่ี อ งใสของจติ และเจตสกิ ๗) ปค คาหะ ความเพียรสมํา่ เสมอประคองจติ ไวด วยดีในอารมณ ๘) อุปฏ ฐาน ความท่สี ตติ ้งั มัน่ ปรากฏชัด ความมสี ติแกกลา ๙) อุเบกขา ความมีจิตเปน กลางในสงั ขารทัง้ ส้ินอยางแรงกลา ๑๐) นิกนั ติ ความพอใจอาลยั ในวปิ ส สนาทสี่ ขุ มุ ละเอยี ด ผเู จรญิ วปิ ส สนา เมอ่ื วปิ ส สนปู กเิ ลส ๑๐ อยา งใดอยา งหนง่ึ เกดิ ขนึ้ พงึ พจิ ารณา รูเทาทันวา “ธรรมดังกลาวไมใชวิปสสนา หากแตเปนอุปกิเลสแหงวิปสสนา ไมใชทาง มรรคผล” แลวไมยินดี ไมหลงในธรรมท่ีเปนอุปกิเลสนั้น โดยไมหยุดความเพียรใน การเจริญวิปสสนากจ็ ะสามารถยกจติ ขนึ้ สูว ปิ ส สนาญาณขนั้ สงู ได คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 111

112 ¤‹ÁÙ ×͸ÃÃÁÈÖ¡ÉҪѹé àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก สรุปความ ผเู จรญิ วปิ ส สนาจนไดว ปิ ส สนาญาณ ยอ มเหน็ นามรปู โดยความเปน ไตรลกั ษณ คือ ไมเท่ียง เปนทุกข เปนอนัตตา ตามความเปนจริง จะไดรับอานิสงสมากกวา การบําเพ็ญทาน และการรักษาศีล โดยมอี านสิ งส ๔ อยา ง คอื (๑) มสี ตมิ ัน่ คง ไมห ลงตาย (ตายอยางมสี ต)ิ (๒) เกิดในสุคตภิ พ คือ โลกมนษุ ยและโลกสวรรค (๓) เปนอปุ นสิ ยั แหง มรรค ผล นพิ พาน ตอ ไปในเบอ้ื งหนา (๔) ถา มอี ุปนิสยั แหง มรรค ผล นิพพาน ก็สามารถบรรลไุ ดในชาติน้ี การเจริญวิปสสนา จัดเปนปฏิบัติบูชาอันเลิศ อันประเสริฐที่สุดใน พระพุทธศาสนา เพราะสามารถทําใหพนจากกิเลสและกองทุกข ปดประตูอบายภูมิได ฉะนัน้ พุทธศาสนกิ ชนไมพ งึ ประมาท ควรหาโอกาสบาํ เพ็ญวิปส สนาโดยทวั่ กันเถิด จบ วชิ าธรรม ธรรมศึกษาชน้ั เอก 112

ÇªÔ Ò¸ÃÃÁ 113 ¢ŒÍÊͺ¸ÃÃÁʹÒÁËÅǧ ËÅ¡Ñ Êμ٠øÃÃÁÈ¡Ö ÉÒª¹Ñé àÍ¡ ÇªÔ Ò ¸ÃÃÁÇÔ¨Òó ¾.È. òõõ÷ - òõõø คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 113

114 ¤Ù‹Á×͸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒªéѹàÍ¡ ปญ หาและเฉลยวิชาธรรม ธรรมศกึ ษาชัน้ เอก สอบในสนามหลวง วันพุธที่ ๑๒ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๕๗ ******************** คําส่ัง : จงเลือกคําตอบท่ีถูกที่สุดเพียงคําตอบเดียว แลวกากบาทลงในชอง ของขอที่ ตอ งการในกระดาษคําตอบใหเวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน) ๑. นพิ พทิ า มคี วามหมายตรงกบั ขอ ใด ? เฉลยขอ ก. ก. ความดบั ทกุ ข ๕. รปู เสียง กลนิ่ รส ที่นาปรารถนา ข. ความหนายในทกุ ข จดั เปนอะไร ? ค. ความหนายอตั ภาพ ก. กเิ ลสกาม ข. วตั ถุกาม ง. ความหนา ยในอาหาร ค. มาร ง. กิเลสตัณหา เฉลยขอ ข. เฉลยขอ ข. ๒. สทู ง้ั หลายจงมาดโู ลกนี้ คาํ วา สทู งั้ หลาย ๖. เสยี งประเภทใด จดั เปนบว งแหง มาร ? หมายถงึ ใคร ? ก. เสียงสรรเสริญ ข. เสยี งผรุสวาท ก. หมูสตั ว ข. หมูพุทธบริษทั ค. เสยี งนนิ ทา ง. เสยี งมสุ าวาท ค. หมูฆราวาส ง. หมูพระภกิ ษุ เฉลยขอ ก. เฉลยขอ ข. ๗. การสาํ รวมอนิ ทรีย ตองเริ่มท่ีใคร ? ๓. พวกผูร ูหาขอ งอยไู ม คาํ วา ผรู ู ก. พระสงฆ ข. ครอู าจารย หมายถึงใคร ? ค. ตนเอง ง. นกั เรยี น ก. คนมกี ารศึกษา เฉลยขอ ค. ข. คนมีวสิ ยั ทศั น ๘. เหน็ สงั ขารอยา งไร จึงหนายในทุกข ? ค. คนมีสติ ก. เห็นดว ยตา ข. เหน็ ดว ยสมาธิ ง. คนเห็นโลกตามจรงิ ค. เห็นดว ยปญญา ง. เหน็ ดวยฌาน เฉลยขอ ง. เฉลยขอ ค. ๔. ผขู องอยใู นโลก มีอาการเชน ใด ? ๙. อนิจฺจตา กําหนดรูไดดว ยอาการอยา งไร ? ก. ติดสิ่งลอใจ ข. ติดขาวสาร ก. เกิดข้ึนแลวดบั ไป ค. ตดิ ส่ิงเสพติด ง. ติดเพอ่ื น ข. ไมอ ยูในอํานาจ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก 114

ÇÔªÒ¸ÃÃÁ 115 ค. ทนไดย าก ง. เปนสภาพคงที่ ค. สหคตทกุ ข ง. ววิ าทมูลกทุกข เฉลยขอ ก. เฉลยขอ ค. ๑๐. ทุกขฺ ตา มลี กั ษณะเชนไร ? ๑๗. อนตั ตลักขณะ ตรงกบั ขอ ใด ? ก. หาเจาของมไิ ด ข. ไมใชต ัวตน ก. ไมอ ยใู นอํานาจ ค. ไมเ ท่ยี ง ง. ทนไดยาก ข. หาเจา ของมไิ ด เฉลยขอ ง. ค. แยง ตอ อตั ตา ๑๑. ขอใดจดั เปน ทุกขประจาํ สงั ขาร ? ง. ถูกทกุ ขอ ก. เกดิ แกตาย ข. โศกเศรา เฉลยขอ ง. ค. หิวกระหาย ง. เจบ็ ไข ๑๘. การไมเ ห็นสังขารเปน อนตั ตา เฉลยขอ ก. เพราะอะไรปด บงั ไว ? ๑๒. ปกณิ ณกทกุ ข ไดแกขอใด ? ก. นจิ จสัญญา ข. ฆนสัญญา ก. เกิดแกต าย ข. เสยี ใจ ค. สันตติ ง. อิรยิ าบถ ค. หนาวรอน ง. เจบ็ ไข เฉลยขอ ข. เฉลยขอ ข. ๑๙. เหน็ สังขารเปนอนตั ตามปี ระโยชนอ ยา งไร ? ๑๓. ขอ ใด จดั เปน นพิ ทั ธทุกข ? ก. ละความอยาก ข. ละความถอื ม่ัน ก. กังวลใจ ข. กลวั แพคดี ค. ละความโกรธ ง. ละความโลภ ค. คบั แคนใจ ง. ปวดปส สาวะ เฉลยขอ ข. เฉลยขอ ง. ๒๐. วิราคะตรงกบั ขอ ใด ? ๑๔. ขอใด จัดเปน สนั ตาปทุกข ? ก. สน้ิ กิเลส ข. สน้ิ วฏั ฏะ ก. ถูกแดดเผา ข. ถกู กเิ ลสเผา ค. สิ้นอาลัย ง. สิน้ กาํ หนัด ค. ถูกไฟเผา ง. ถกู ความหิวเผา เฉลยขอ ง. เฉลยขอ ข. ๒๑. คาํ วา ธรรมยงั ความเมาใหส รางนัน้ ๑๕. ขอ ใด จัดเปนวิปากทกุ ข ? หมายถงึ เมาในอะไร ? ก. คาความ ข. แจง ความ ก. ลาภยศสรรเสริญ ค. กลัวแพคดี ง. ถูกจองจาํ ข. สรุ าเมรยั เฉลยขอ ง. ค. ความรกั ๑๖. เสอ่ื มยศ จัดเขา ในทกุ ขประเภทใด ? ง. ส่งิ เสพติดใหโทษ ก. สันตาปทกุ ข ข. นิพัทธทุกข เฉลยขอ ก. คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 115

116 ¤Ù‹Á×͸ÃÃÁÈÖ¡ÉҪѹé àÍ¡ ๒๒. ขอใด ไมใ ชไ วพจนแหงวิราคะ ? ๒๗. พจิ ารณาเห็นสังขารเปน ทกุ ข ก. นพิ พาน ข. นโิ รธ จดั เปนญาณใด? ค. อโลภะ ง. ตัณหกั ขยะ ก. อาทีนวญาณ เฉลยขอ ค. ข. อุทยพั พยญาณ ค. ภยตปู ฏ ฐานญาณ ๒๓. เพราะส้นิ กําหนดั จติ ยอมหลดุ พน ง. นพิ พิทาญาณ จากอะไร ? เฉลยขอ ก. ก. ตณั หา ข. อาสวะ ค. ราคะ ง. นวิ รณ ๒๘. พจิ ารณาเห็นสงั ขารอยางไร เฉลยขอ ข. จดั เปน ภยตูปฏฐานญาณ ? ก. เห็นเปนทกุ ข ๒๔. วิมตุ ตขิ อใดจัดเปนโลกิยะ ? ข. เหน็ เปนของยอยยบั ก. ตทงั ควมิ ตุ ติ ค. เหน็ ความเกดิ ดบั ข. สมุจเฉทวิมตุ ติ ง. เห็นเปนของนา กลัว ค. ปฏปิ ส สัทธิวมิ ุตติ เฉลยขอ ง. ง. นสิ สรณวมิ ตุ ติ เฉลยขอ ก. ๒๙. อรยิ มรรคขอ ใด จดั เขาในสลี วสิ ุทธิ ? ก. สัมมาวาจา ข. สมั มาวายามะ ๒๕. วมิ ตุ ตขิ อ ใด จัดเปน โลกตุ ตระ ? ค. สมั มาสติ ง. สัมมาสมาธิ ก. สมุจเฉทวิมตุ ติ เฉลยขอ ก. ข. ปฏิปส สทั ธิวิมตุ ติ ค. นิสสรณวมิ ตุ ติ ง. ถกู ทกุ ขอ ๓๐. อรยิ มรรคขอ ใด จดั เขาในจิตตวิสทุ ธิ ? เฉลยขอ ง. ก. สมั มาวาจา ข. สัมมากมั มนั ตะ ค. สัมมาอาชวี ะ ง. สมั มาวายามะ ๒๖. หลุดพน ดว ยอรยิ มรรค จัดเปน เฉลยขอ ง. วมิ ตุ ตใิ ด ? ก. ตทังควมิ ตุ ติ ๓๑. พิจารณาเหน็ สงั ขารเปนไตรลกั ษณ ข. สมุจเฉทวิมุตติ จดั เปนวสิ ทุ ธิใด ? ค. ปฏิปสสัทธวิ ิมตุ ติ ก. สลี วสิ ุทธิ ง. นิสสรณวิมุตติ ข. จติ ตวิสทุ ธิ เฉลยขอ ข. ค. ทิฏฐิวสิ ทุ ธิ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก 116

ÇÔªÒ¸ÃÃÁ 117 ง. กงั ขาวติ รณวสิ ุทธิ ค. เขาถงึ นพิ พาน เฉลยขอ ค. ง. เขาเฝาพระพุทธเจา ๓๒. ความหมดจดแหงญาณเปน เคร่ืองขาม เฉลยขอ ค. ความสงสัย จดั เปนวสิ ทุ ธิใด ? ๓๗. บาลวี า สพเฺ พ ธมมฺ า อนตตฺ าติ ก. สลี วสิ ทุ ธิ ยนื ยัน นพิ พานวา...? ข. จติ ตวิสุทธิ ก. เปนอนัตตา ค. ทฏิ ฐิวสิ ุทธิ ข. เปนอตั ตา ง. กงั ขาวติ รณวิสทุ ธิ ค. เปนสภาวะสญู เฉลยขอ ง. ง. เปน สภาวะเที่ยง ๓๓. สุขอ่ืนย่ิงกวา ความสงบยอมไมม ี เฉลยขอ ก. หมายถงึ สงบจากอะไร ? ๓๘. ปฏิบตั ิอยางไร ช่อื วา เขาใกลนพิ พาน ? ก. เวรภยั ข. กิเลส ก. รกั ษาศลี ประจาํ ค. ความวุนวาย ง. สงคราม ข. ฟง ธรรมเปนนิตย เฉลยขอ ข. ค. ฝกจติ สมํ่าเสมอ ๓๔. ผูเ พงความสงบพงึ ละโลกามสิ เสีย ง. เหน็ ภยั ในความประมาท คําวา โลกามิส หมายถึงอะไร ? เฉลยขอ ง. ก. กามคณุ ข. กามกเิ ลส ๓๙. คําวา นพิ พานมิใชโลกนี้หรอื โลกอนื่ นั้น ค. กามฉันทะ ง. กามราคะ สองความวา นพิ พานเปน... ? เฉลยขอ ก. ก. โลกทพิ ย ข. โลกพเิ ศษ ๓๕. ขอใด ทําใหเกดิ สนั ตภิ ายนอก ? ค. โลกสมมติ ง. ไมม ีขอถูก ก. ใหท าน ข. รกั ษาศลี เฉลยขอ ง. ค. เจรญิ ภาวนา ง. เจริญเมตตา ๔๐. ขอใด กลาวถึงสอปุ าทิเสสนิพพาน เฉลยขอ ข. ไดถูกตอง ? ๓๖. จุดมุงหมายสงู สดุ ของพระพุทธศาสนา ก. ปฏบิ ัติเพอื่ ละกเิ ลส คอื อะไร ? ข. สิ้นกเิ ลส ส้ินชีวติ ก. เกิดในสวรรค ค. สน้ิ กิเลส มีชีวิตอยู ข. เกดิ ในพรหมโลก ง. มีกเิ ลส มีชวี ติ คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 117

118 ¤Á‹Ù ×͸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒª¹Ñé àÍ¡ เฉลยขอ ค. ง. อานาปานัสสติ ๔๑. การบรรลุนพิ พานมีผลอยางไร ? เฉลยขอ ค. ก. เพลิดเพลนิ อยางยิ่ง ๔๖. คนรกั งายหนายเรว็ ควรเจริญกัมมฏั ฐาน ข. เปนสขุ อยา งย่ิง ขอใด ? ค. ยนิ ดอี ยางยง่ิ ก. สลี านสุ สติ ง. ร่นื รมยอ ยา งยิ่ง ข. อสุภกมั มฏั ฐาน เฉลยขอ ข. ค. เมตตาพรหมวหิ าร ง. กสิณ ๔๒. สมถกมั มฏั ฐาน มคี วามหมาย เฉลยขอ ข. ตรงกบั ขอ ใด ? ๔๗. การเจริญมรณสั สติ มปี ระโยชนอ ยางไร ? ก. การกําจัดกเิ ลส ก. เกดิ ความไมประมาท ข. การละสงั โยชน ข. เกดิ ความทกุ ข ค. การรแู จง เหน็ จริง ค. เกดิ ความวางเฉย ง. การทาํ ใจใหส งบ ง. เกดิ ความสลดใจ เฉลยขอ ง. เฉลยขอ ก. ๔๓. ขอ ใด เปนมลู กัมมฏั ฐาน ? ๔๘. เหน็ แจง อะไร จัดเปน วปิ ส สนา ? ก. ดนิ นํา้ ลม ไฟ ก. รปู ข. นาม ข. รูป เสียง กลน่ิ รส ค. เวทนา ง. นามรปู ค. ผม ขน เลบ็ ฟน หนงั เฉลยขอ ง. ง. ตา หู จมกู ลน้ิ กาย ๔๙. ขอ ใด เปน อารมณข องวปิ สสนา ? เฉลยขอ ค. ก. พรหมวหิ าร ข. นามรูป ๔๔. การเจริญมูลกัมมัฏฐาน กาํ จดั นิวรณใ ด ? ค. อสภุ ะ ง. กสณิ ก. กามฉันทะ ข. พยาบาท เฉลยขอ ข. ค. ถนี มทิ ธะ ง. วิจกิ ิจฉา ๕๐. พจิ ารณากายอยางไร จงึ จัดเปน เฉลยขอ ก. วิปสสนา ? ๔๕. คนโกรธงาย ควรเจรญิ กัมมัฏฐานขอใด ? ก. ปฏกิ ูล ข. ไมสะอาด ก. กายคตาสติ ค. นา เกลียด ง. ไมเทีย่ ง ข. อสภุ กัมมฏั ฐาน เฉลยขอ ง. ค. เมตตาพรหมวหิ าร คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก 118

ÇªÔ Ò¸ÃÃÁ 119 ปญ หาและเฉลยวชิ าธรรม ธรรมศึกษาชั้นเอก สอบในสนามหลวง วนั องั คารที่ ๑ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ******************** คําสั่ง : จงเลือกคําตอบที่ถูกท่ีสุดเพียงคําตอบเดียว แลวกากบาทลงในชอง ของขอท่ี ตองการในกระดาษคาํ ตอบใหเวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน) ๑. ความหนายในทุกข ตรงกบั ขอ ใด ? ๕. ผใู ดระวังจติ ผนู นั้ จกั พนจากบว งแหงมาร ก. วริ าคะ ข. นพิ พทิ า คาํ วา มาร ไดแกอ ะไร ? ค. วิมตุ ติ ง. วสิ ุทธิ ก. กเิ ลสกาม ข. วัตถกุ าม เฉลยขอ ข. ค. รปู เสียง ง. กล่ินรส ๒. สูทัง้ หลายจงมาดูโลกน้ี คําวา โลก เฉลยขอ ก. หมายถึงอะไร ? ๖. วตั ถกุ าม ไดช่อื วาเปน บว งแหง มาร ก. หมสู ตั ว ข. แผนดิน เพราะเหตุใด ? ค. น้าํ ง. อากาศ ก. ผกู ใจใหห ลงตดิ ข. ใหร อนใจ เฉลยขอ ก. ค. ใหห มองใจ ง. ใหเ ศรา ใจ ๓. คนเขลา ในคาํ วา พวกคนเขลาหมกอยู เฉลยขอ ก. หมายถึงใคร ? ๗. ปฏบิ ตั ิอยางไร จงึ จกั พน จากบว งแหง มาร ? ก. คนเหน็ ผิด ก. ใหท าน ข. รักษาศลี ข. คนดอื้ ค. ฟงธรรม ง. สาํ รวมจติ ค. คนเสียสติ เฉลยขอ ง. ง. คนไรค วามสามารถ ๘. อารมณท ม่ี ากระทบทางกาย เรยี กวา อะไร ? เฉลยขอ ก. ก. รูป ข. เสียง ๔. ผรู ู ในคาํ วา ผรู หู าขอ งอยไู ม หมายถงึ ค. รส ง. โผฏฐัพพะ รูอะไร ? เฉลยขอ ง. ก. ขาวสาร ข. สถานการณ ๙. รูป เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ ค. จักรวาล ง. โลกตามเปน จรงิ รวมเรียกวา อะไร ? เฉลยขอ ง. ก. อินทรยี  ๕ ข. กามคุณ ๕ คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 119

120 ¤‹ÁÙ Í× ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉҪѹé àÍ¡ ค. ขันธ ๕ ง. พละ ๕ ๑๖. การสคู ดีความเพราะทะเลาะกนั เฉลยขอ ค. จดั เขาในทกุ ขใ ด ? ๑๐. ความเกิดขน้ึ ในเบื้องตนและดบั ไป ก. สนั ตาปทุกข ข. วิปากทกุ ข ในทีส่ ดุ เปนลกั ษณะของอะไร ? ค. สหคตทุกข ง. ววิ าทมลู กทุกข ก. อนิจจฺ ตา ข. ทกุ ขตา เฉลยขอ ง. ค. อนัตตตา ง. สญุ ญตา ๑๗. ความไมอ ยูในอาํ นาจ เปนอาการ เฉลยขอ ก. ของอะไร ? ๑๑. ความทนไดย าก เปนลักษณะของอะไร ? ก. อนิจจตา ข. ทุกขตา ก. อนิจจฺ ตา ข. ทกุ ขตา ค. อนตั ตตา ง. ถกู ทุกขอ ค. อนัตตตา ง. สุญญตา เฉลยขอ ค. เฉลยขอ ข. ๑๘. ความหนายในขันธ ๕ ทเ่ี กดิ ดว ยปญ ญา ๑๒. ความเกดิ แกต าย จัดเปน ทกุ ขป ระเภทใด ? จดั เปน อะไร ? ก. สภาวทุกข ข. ปกิณณกทุกข ก. นพิ พิทาญาณ ข. วริ าคะ ค. นิพทั ธทกุ ข ง. พยาธิทกุ ข ค. วิมุตติ ง. วสิ ุทธิ เฉลยขอ ก. เฉลยขอ ก. ๑๓. หวิ ขา วหวิ นํ้า จัดเปนทุกขอ ะไร ? ๑๙. ธรรมเปนยอดแหงธรรมทั้งปวง ก. นพิ ัทธทุกข ข. พยาธทิ กุ ข ไดแกข อใด ? ค. สนั ตาปทุกข ง. วปิ ากทุกข ก. วริ าคะ ข. วมิ ุตติ เฉลยขอ ก. ค. วสิ ุทธิ ง. สนั ติ ๑๔. กระวนกระวายใจเพราะถกู ไฟกิเลส เฉลยขอ ก. แผดเผาจดั เปนทกุ ขอะไร ? ๒๐. ความนาํ เสยี ซงึ่ ความระหาย ก. นพิ ทั ธทกุ ข ข. พยาธิทุกข ตรงกบั ไวพจนของวริ าคะขอใด ? ค. สันตาปทุกข ง. วิปากทุกข ก. มทนิมมทโน ข. ปป าสวินโย เฉลยขอ ค. ค. วฏั ฏป จเฉโท ง. ตณั หกั ขโย ๑๕. ขอ ใด จดั เปน สหคตทกุ ข ? เฉลยขอ ข. ก. ถูกจองจํา ข. หิวกระหาย ๒๑. การตัดขาดกเิ ลสกรรมวบิ ากตรงกบั ค. เสือ่ มยศ ง. เจ็บปวย ไวพจนของวิราคะขอ ใด ? เฉลยขอ ค. ก. มทนิมมทโน ข. ปป าสวินโย คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก 120

ÇÔªÒ¸ÃÃÁ 121 ค. อาลยสมุคฆาโต ง. วัฏฏป จ เฉโท ๒๖. ความบริสทุ ธ์หิ มดจดจากกิเลส เฉลยขอ ง. โดยสิน้ เชิงยอมมีไดด ว ยอะไร ? ๒๒. การออ นวอนบวงสรวง สงเคราะห ก. ทาน ข. ศีล เขา ในอาสวะใด ? ค. สมาธิ ง. ปญญา ก. กามาสวะ ข. ภวาสวะ เฉลยขอ ง. ค. ทิฏฐาสวะ ง. อวชิ ชาสวะ ๒๗. สทุ ธฺ ิอสุทธฺ ปิ จจฺ ตฺตํ มคี วามหมาย เฉลยขอ ง. ตรงกับขอใด ? ๒๓. การระงับอกุศลเจตสกิ ไดเปน ครง้ั คราว ก. ดีช่วั อยทู ี่ตัวทํา ข. บญุ บาปไมมี จดั เปน วิมุตติใด ? ค. เทพบันดาล ง. พรหมลขิ ิต ก. ตทังควมิ ตุ ติ เฉลยขอ ก. ข. สมุจเฉทวิมตุ ติ ๒๘. พิจารณาเหน็ สงั ขารวา ไมเ ทีย่ ง ค. วกิ ขมั ภนวิมตุ ติ จดั เปนญาณใด ? ง. นิสสรณวมิ ุตติ ก. อุทยพั พยญาณ ข. ภังคญาณ เฉลยขอ ก. ข. อาทีนวญาณ ง. นพิ พทาญาณ ๒๔. ความหลุดพนเพราะขมไวดว ยกาํ ลงั ฌาน เฉลยขอ ก. จัดเปนวิมตุ ติใด ? ๒๙. พิจารณาเห็นสงั ขารอยา งไร ก. ตทงั ควมิ ุตติ จดั เปนภังคญาณ ? ข. สมจุ เฉทวมิ ุตติ ก. เห็นวาเปน ทุกข ข. เห็นวายอยยบั ค. วิกขมั ภนวิมตุ ติ ค. เห็นวา เกดิ ดับ ง. เหน็ วา นากลวั ง. นสิ สรณวิมุตติ เฉลยขอ ข. เฉลยขอ ค. ๓๐. พิจารณาเห็นสงั ขารอยา งไร ๒๕. ความหลุดพน ดวยความสงบราบ จดั เปน อาทีนวญาณ ? จัดเปน วิมุตตใิ ด ? ก. เหน็ วาเปนทกุ ข ข. เหน็ วา ยอ ยยบั ก. ตทงั ควิมุตติ ค. เห็นวาเกดิ ดับ ง. เห็นวา นา กลัว ข. สมุจเฉทวิมตุ ติ เฉลยขอ ก. ค. วกิ ขัมภนวมิ ตุ ติ ๓๑. สมั มาสติ ในอริยมรรคมีองค ๘ ง. ปฏปิ ส สทั ธวิ มิ ุตติ จดั เขาในอริยมรรคขอใด ? เฉลยขอ ง. ก. สีลวิสุทธิ ข. จิตตวิสทุ ธิ คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 121


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook