Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือธรรมศึกษาชั้นเอกปี2561

คู่มือธรรมศึกษาชั้นเอกปี2561

Published by suttasilo, 2021-06-27 08:58:06

Description: คู่มือธรรมศึกษาชั้นเอกปี2561

Keywords: คู่มือธรรมศึกษา,ธรรมศึกษาชั้นเอก,2561

Search

Read the Text Version

272 ¤Ù‹Á×͸ÃÃÁÈ¡Ö ÉÒªÑé¹àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก ๔. กิเลสหรือเจตนา มีกิเลสหรือเจตนาแรงก็มีโทษมาก มีกิเลส หรือ เจตนาออนก็มีโทษนอย เชน ฆาดวยโทสะ หรือจงใจเกลียดชัง มีโทษมากกวาฆา เพ่อื ปองกันตัว เปนตน เจตนาในการฆาดวยอํานาจโลภะ โทสะ โมหะ หากมีเจตนาแรงกลายอมมี บาปมาก หากเจตนาออ นยอ มมบี าปนอ ย เชน การฆา ดว ยการเหน็ แกอ ามสิ สนิ จา งรางวลั การฆา ดว ยความอาํ มหติ โหดเหย้ี มเคยี ดแคน พยาบาท การฆา ดว ยความเปน มจิ ฉาทฏิ ฐิ การฆาโดยไมมีเหตุผล หรือการฆาเพื่อความสนุกสนาน ยอมมีบาปมากนอยลดหล่ัน กนั ไป ในกรณที ่ีไมม ีเจตนากไ็ มบาป ดังเร่ืองพระจกั ขุบาลเถระซ่งึ จกั ษุบอดท้ังสองขา ง เดนิ จงกรมเหยยี บแมลงเมา ตายเปน จาํ นวนมาก แตไ มม เี จตนาทจ่ี ะฆา ดงั ทพี่ ระพทุ ธเจา ตรัสวา “ภิกษุท้ังหลาย ข้ึนช่ือวาเจตนาเปนเหตุใหตายของพระขีณาสพทั้งหลาย มิไดมี” ในการฆาสัตวน ้นั ผูฆ า ยอมไดร บั กรรมวิบาก ๕ สถาน คอื ๑. ยอมเกดิ ในนรก ๒. ยอ มเกิดในกําเนิดสตั วเดรจั ฉาน ๓. ยอมเกดิ ในกําเนิดเปรตวสิ ัย ๔. ยอมเปนผมู อี วยั วะพิการ ๕. โทษเบาทีส่ ดุ หากเกดิ เปน มนุษย ยอมเปน ผูมอี ายุสน้ั ตวั อยา งโทษของปาณาตบิ าต เร่อื งนายโคฆาตก มีเร่ืองเลา วา ในคร้ังพทุ ธกาล ในพระนครสาวัตถี มีชายคนหน่งึ ชอื่ โคฆาตก มีอาชีพฆาโคขายเน้ือเล้ียงชีวิต เปนเวลา ๕๕ ป ตลอดเวลาท่ีเขาทําอาชีพน้ี ไมเคย บรจิ าคทานและรกั ษาศลี เลย ถา วนั ใดขาดเนอ้ื จะไมย อมรบั ประทานอาหาร วนั หนึ่ง นายโคฆาตกข ายเนือ้ ตอนกลางวนั แลว มอบเนื้อสว นหนึง่ ใหภ รรยา ไวทํากับขาว เสร็จแลวไปอาบนํ้า ขณะน้ัน เพ่ือนของเขาคนหน่ึงมีแขกมาท่ีบาน ไมมี กับขาวตอนรับจึงมายังบานของนายโคฆาตก ขอซื้อเนื้อกับภรรยานายโคฆาตกเพ่ือนํา ไปทําอาหารตอนรับแขก ภรรยานายโคฆาตกไมยอมขายใหเพราะไมมีเนื้อสําหรับขาย 272

ÇÔªÒÇԹѠ(¡ÃÃÁº¶) 273 มีแตเนื้อท่ีเกบ็ ไวท าํ อาหารใหส ามเี ทา นั้น เพราะทราบดีวา นายโคฆาตกข าดเนอ้ื เสยี แลว จะไมย อมรบั ประทานอาหาร แตเ พอ่ื นของนายโคฆาตกก ไ็ มย อมฟง ไดห ยบิ ฉวยเอาเนอ้ื น้ันไปโดยพลการ นายโคฆาตกอาบน้ําเสร็จแลวรีบกลับมา ภรรยาจึงคดขาวมาเพ่ือใหเขากิน กับผักตมและไดเลาเหตุการณท่ีเกิดข้ึนใหเขาฟง เขาไมยอมรับประทานอาหาร ไดหยิบฉวยมีดที่คมกริบเดินเขาไปหาโคตัวหน่ึง สอดมือเขาไปในปาก ดึงล้ินออก มาแลวเอามีดตดั จนขาด นํามาใหภรรยาทาํ กบั ขา ว โคตัวนนั้ กส็ ้ินใจตายดว ยความเจบ็ ปวดทรมาน เมอ่ื กบั ขา วเสรจ็ แลว เขากเ็ รมิ่ รบั ประทานอาหาร ทนั ทที เี่ ขาใสช น้ิ เนอ้ื เขา ไป ในปาก ล้ินของเขากไ็ ดข าดตกลงไปในชามขา ว ไดรับผลกรรมทนั ตาเหน็ เพราะการทํา ปาณาตบิ าตดว ยจติ ใจทเ่ี หยี้ มโหด เลอื ดไหลออกจากปาก เขาเทย่ี วคลานไปในบา นและ รอ งครวญครางดวยความเจ็บปวดเหมือนโค ครน้ั ตายแลว กไ็ ปเกดิ ในอเวจีนรก ๒. อทินนาทาน การลกั ทรพั ย ความเสยี หายของอทนิ นาทาน ทรพั ยส มบตั ทิ ห่ี ามาไดด ว ยความชอบธรรม เปน สทิ ธขิ องบคุ คลทเ่ี ปน เจา ของ เพื่อใชเล้ียงชีพของตนและครอบครัวใหมีความสุขตามอัตภาพ กอใหเกิดความภาค ภูมิใจความรักและหวงแหน ไมตองการใหใครมาลวงละเมิดในกรรมสิทธ์ิของตนเอง การลักขโมย เปนการลวงละเมิดอยางรายแรงตอทรัพยสินอันเปนกรรมสิทธ์ิของผูอ่ืน ปญหาทุจริตคดโกงลวนแลวแตเกิดมาจากอทินนาทานท้ังส้ิน สงผลใหไมไดรับความ เชื่อถือไววางใจทั้งในระดับบุคคลและระดับนานาชาติ นอกจากนี้ ยังกอใหเกิดปญหา อาชญากรรมทางดานทรัพยสินอีกดว ย อทนิ นาทาน การลกั ทรัพย คือการกระทาํ โจรกรรมโดยตรง หมายถงึ การถอื เอาสิ่งของที่เจาของไมไดใหท้ังท่ีเปนสวิญญาณกทรัพย หมายถึง ทรัพยที่มีวิญญาณ เชน โค กระบอื เปน ตน และอวญิ ญาณกทรพั ย หมายถงึ ทรพั ยท ไ่ี มม วี ญิ ญาณ เชน แกว แหวน เงนิ ทอง เปน ตน สง่ิ ของทม่ี ใิ ชข องใครแตม ผี รู กั ษาหวงแหน ไดแ ก สง่ิ ของทอี่ ทุ ศิ บูชาปูชนยี วัตถุ สง่ิ ของท่เี ปน สมบัตขิ องสว นรวม ถือเอาดวยอาการเปน โจร นอกจากน้ี ยังรวมถึงกิรยิ าที่กาวลว งทรัพยส มบัตขิ องผูอืน่ ๓ ประการ คือ คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 273

274 ¤ÁÙ‹ Í× ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒª¹éÑ àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก ๑. โจรกรรม ๒. อนโุ ลมโจรกรรม ๓. ฉายาโจรกรรม เฉพาะอนุโลมโจรกรรมกับฉายาโจรกรรมนั้น ตองพิจารณาถึงเจตนาของ ผกู ระทําดวย ถา เจตนากระทาํ ใหเ ขาเสียกรรมสทิ ธิ์ ก็ถือวาเปน การลักทรัพย ๑.โจรกรรม หมายถงึ การลกั การขโมย การปลน หรอื กริ ิยาท่ีถอื เอาสงิ่ ของ ทเี่ จาของเขาไมไดใ หดว ยอาการเปน โจร มหี ลายประเภท ดงั นี้ ๑) ลัก ไดแก ถือเอาส่งิ ของทเ่ี ขาไมไ ดใ หดว ยการซอนเรน คือกิริยาทถ่ี ือเอา สงิ่ ของผอู ่นื ดว ยอาการเปนโจร ๒) ฉก ไดแ ก ฉวยหรอื ชงิ เอาโดยเรว็ คอื กริ ยิ าทถี่ อื เอาสง่ิ ของในเวลาทเ่ี จา ของ เผลอหรอื ชิงเอาทรัพยต อ หนา เจาของ ๓) กรรโชก ไดแก ขูเ อาดว ยกิริยาหรอื วาจาใหก ลวั คอื กริ ิยาท่ีแสดงอํานาจ ใหเ จาของตกใจกลวั แลว ยอมใหสิง่ ของของตน หรือใชอ าชญาเรง รดั เอา ๔) ปลน ไดแก ใชก ําลงั ลอบมาหกั โหมแยงชงิ เอาโดยไมรูตัว คือกริ ยิ าทีย่ ก พวกไปถือเอาสิ่งของของคนอ่ืนดวยใชอ าวธุ ๕) ตู ไดแก กลาวอางหรอื ทึกทักเอาของผอู ่นื วาเปน ของตวั คอื กิรยิ าท่ีรอ ง เอาของผูอ่ืนซ่ึงมิไดตกอยูในมือตน คือมิใหไดครอบครองดูแลอยู หรืออางหลักฐาน พยานเทจ็ หกั ลางกรรมสิทธ์ขิ องผอู ื่น ๖) ฉอ ไดแก โกง คือกิริยาท่ีถือเอาของของผูอื่นใหตกอยูในมือตน คือ ตนครอบครองดแู ลอยู หรอื โกงเอาทรัพยของผูอ ่ืน ๗) หลอก ไดแ ก ทาํ ใหเขาใจผดิ สําคัญผิด คือกริ ิยาพูดปดเพอ่ื ถอื เอาของ ผอู ่นื หรือปนเร่อื งใหเ ขาเช่อื เพอ่ื จะใหเ ขามอบทรพั ยใหแ กตน ๘) ลวง ไดแ ก ทาํ ใหหลงผดิ คือกิริยาทถ่ี อื เอาของของผูอืน่ ดวยแสดงของ อยา งใดอยา งหนง่ึ เพอื่ ใหเ ขาเขา ใจผดิ หรอื ใชเ ลห เ อาทรพั ยด ว ยเครอ่ื งมอื ลวงใหเ ขาเชอื่ เชน การใชต ราชัง่ ทไ่ี มไ ดมาตรฐาน เปนตน ๙) ปลอม ไดแก ทําใหเ หมือนคนอื่นหรือสิ่งอืน่ เพอื่ ใหหลงผิดวา เปนคนนนั้ หรือสง่ิ นน้ั คอื กริ ิยาท่ที าํ ของไมแทใ หเห็นวา เปนของแท 274

ÇªÔ ÒÇԹѠ(¡ÃÃÁº¶) 275 ๑๐) ตระบดั ไดแก ฉอ โกง คือกริ ิยาท่ยี มื ของเขาไปแลวเอาเสียไมค นื ให ๑๑) เบียดบงั ไดแก ยกั เอาไวเ ปนประโยชนของตวั คอื กริ ยิ ากินเศษกินเลย ๑๒) สบั เปลี่ยน ไดแ ก เปลี่ยนแทนทกี่ นั คอื กริ ิยาที่ถอื เอาสิ่งของของตนที่ เปนของไมดีเขาไวแทน และเอาสิ่งของของผูอื่นที่ดีกวา หรือแอบสลับเอาของผูอื่นที่มี คามากกวา ๑๓) ลักลอบ ไดแก ลอบกระทําการบางอยาง คอื กริ ยิ าท่เี อาของซึ่งผูอื่นจะ ตอ งเสียภาษซี อนเขามาโดยไมเ สยี ภาษี หรือหลบหนภี าษขี องหลวง ๑๔) ยักยอก ไดแก ถือเอาทรัพยของผูอ่ืนหรือทรัพยของตนซ่ึงผูอ่ืนเปน เจาของรว มอยูดว ยทอี่ ยูในความดแู ลรกั ษาของตนไปโดยทจุ รติ คอื ใชอ ํานาจหนา ทท่ี ่ีมี อยถู อื เอาทรพั ยโ ดยไมส จุ รติ หรอื กริ ยิ าทยี่ กั ยอกทรพั ยข องตนทจ่ี ะถกู ยดึ เอาไปเสยี ทอี่ น่ื ๒. อนุโลมโจรกรรม หมายถึง กิริยาที่แสวงหาทรัพยในทางท่ีไมบริสุทธิ์ ยังไมถงึ ข้ันเปน โจรกรรม มปี ระเภทจะพรรณนาพอเปนตัวอยา ง ดงั น้ี ๑) สมโจร ไดแก กริ ิยาที่อุดหนุนโจรกรรม เชน การรับซื้อของโจร ๒) ปอกลอก ไดแก ทาํ ใหเขาหลงเช่ือแลว ลอ ลวงเอาทรัพยเ ขาไป หรือกริ ิยาที่ คบคนดวยอาการไมซ่อื สัตย มงุ จะเอาแตทรพั ยสมบตั ิของเขาฝายเดียว เมือ่ เขาสิน้ เน้อื ประดาตัวกล็ ะทิ้งเขาเสีย ๓) รับสินบน ไดแก รับสินจางเพ่ือกระทําผิดหนาท่ี คือการถือเอาทรัพยท่ี เขาใหเพ่ือชวยทําธุระใหในทางท่ีผิด การรับสินบนนี้ หากผูรับมีเจตนารวมกับผูใหใน การทําลายกรรมสิทธิ์ของผูอ่ืน ก็ถือวาเปนการกระทําโจรกรรมรวมกันโดยตรง ถือวา เปนการลักทรพั ย ๓. ฉายาโจรกรรม หมายถึง กิริยาท่ีทําคลายคลึงกับโจรกรรม หรือกิริยา ที่ทําทรัพยของผูอ่ืนใหสูญเสียและเปนสินใชตกอยูแกตน ประกอบดวยลักษณะ ๒ อยาง คอื ๑) ผลาญ ไดแ ก ทําลายใหหมดสิ้นไป คือกิริยาท่ที ําความเสยี หายแกท รพั ย ท่ีทาํ ทรัพยของผอู ื่น ๒) หยบิ ฉวย ไดแก กิรยิ าที่ถือเอาทรัพยของผอู น่ื ดวยความมักงาย โดยมิได บอกใหเจาของรู คอื การถอื เอาดว ยวิสาสะเกนิ ขอบเขต คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 275

276 ¤ÁÙ‹ Í× ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒªÑé¹àÍ¡ ฉายาโจรกรรมนี้ ถามีเจตนาในทางทําลายกรรมสิทธิ์ของผูอ่ืนรวมอยูดวย กถ็ อื วา เปน การกระทําโจรกรรมโดยตรง ถือวาเปน การลักทรพั ย หลักวินจิ ฉยั การลักทรัพยที่สําเร็จเปนอทินนาทาน ถึงความเปนอกุศลกรรมบถ มีองค ๕ คอื ๑. ปรปรคิ ฺคหิตํ ของนั้นมีเจา ของ ๒. ปรปริคคฺ หติ สฺิตํ รูว าของน้ันมีเจาของ ๓. เถยฺยจติ ตฺ ํ จิตคดิ จะลัก ๔. อุปกกฺ โม พยายามลัก ๕. เตน หรณํ ไดข องมาดว ยความพยายามนัน้ โทษของอทินนาทาน ผูประพฤติอทินนาทาน ถือเอาสิ่งของที่เจาของไมไดใหดวยอาการแหงขโมย หรือลักทรัพย จะมีโทษมากหรือนอย ตามคุณคาของสิ่งของ คุณความดีของเจาของ และความพยายามในการลักขโมย นอกจากน้ี ผูลักทรัพยยอมไดรับกรรมวิบาก ๕ สถาน คอื ๑. ยอ มเกิดในนรก ๒. ยอมเกิดในกาํ เนดิ สัตวเดรจั ฉาน ๓. ยอ มเกิดในกาํ เนดิ เปรตวิสัย ๔. ยอ มเปนผยู ากจนเขญ็ ใจไรท ่พี งึ่ ๕. โทษเบาที่สุด หากเกิดเปนมนุษย ทรัพยยอ มฉิบหาย คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก 276

ÇªÔ ÒÇԹѠ(¡ÃÃÁº¶) 277 ตัวอยา งโทษของอทินนาทาน เรอื่ ง เวมานกิ เปรต เมอื่ ครงั้ พระพทุ ธเจา ทรงประกาศพระศาสนาอยู ณ กรงุ สาวตั ถี หวั หนา พอ คา ชาวสาวตั ถคี นหนงึ่ พาพอ คา ๗๐๐ คน ลอ งเรือไปคาขายในดินแดนสุวรรณภูมิ ระหวาง เดินทางเรือไดถูกลมพัดหลงไปถึงวิมานทองซึ่งอยูกลางทะเล ภายในวิมานทองนั้นมี เทพธิดาแสนสวยอาศัยอยู หัวหนาพอคาเห็นเทพธิดาจึงถามวา “นองรูปงามท่ีอยูใน วมิ านนีเ้ ปน ใครกนั หนอ ขอเชิญนองออกมาขางนอกเถดิ พ่ีจะขอชมความงามของนอง ใหเต็มตา” เทพธดิ าตอบวา “ดิฉันเปน เวมานิกเปรต เพราะทาํ บุญไวนอยมาก แมจ ะมี รูปสวย มวี มิ าน แตด ฉิ ันตอ งเปลือยกายไรอาภรณ มเี พยี งเสนผมปด บงั กายไวเ ทา นั้น ดฉิ ันอายเหลือเกินทจ่ี ะออกไปขางนอก” หัวหนาพอคา บอกวา “นองนางผรู ูปงาม พ่จี ะ ใหผาเน้ือดี นองจงนุงผาแลวออกมาเถิด” เวมานิกเปรตตอบวา “ทานไมอาจใหผานั้น แกดิฉันไดดวยมือทานไดโดยตรง แตถาในหมูพวกทานมีอุบาสกสาวกของพระสัมมา สัมพุทธเจา ขอทานจงใหทานผาน้ันแกอุบาสกแลวอุทิศสวนกุศลใหแกดิฉัน เม่ือน้ัน ดฉิ นั จะไดผ านั้นตามปรารถนา” ในเรือน้ันมีอุบาสกผูมีศีลคนหน่ึง หัวหนาพอคาจึงบอกใหเขาอาบนํ้าแลวได มอบผา นุงผา หม ให และอุทิศสวนกศุ ลไปใหเวมานกิ เปรต ทนั ใดนั้น เวมานิกเปรตก็มี อาภรณท พิ ยส วมใส เดนิ ยมิ้ ออกมาจากวมิ าน พรอ มทง้ั ไดอ าหารทพิ ยอ นั เกดิ จากการให ทานของหัวหนาพอคา เพียงครัง้ เดยี ว พวกพอ คาอศั จรรยใจ เกคิ วามเคารพในอุบาสก จึงพากันเขาไปไหวอุบาสกคนน้ัน อุบาสกน้ันจึงไดแสดงธรรมใหพวกพอคาฟงตาม สมควร พวกพอคาถามเวมานิกเปรตวา “ทําบุญกรรมอะไรไว จึงมาเกิดเปนเวมานิก เปรตอยกู ลางทะเล” เวมานิกเปรตตอบวา “ในพุทธกาลที่ลวงมาแลว ดฉิ ันเกิดในเมือง พาราณสี อาศยั รปู รา งเลย้ี งชพี ตอ มาวนั หนงึ่ มผี หู ญงิ คนหนง่ึ แกลง เอายาบาํ รงุ ผมมาให แตพอใชแลวผมกลบั รวงหมดศรี ษะ ดิฉนั อายจึงหนีออกไปอยูนอกเมือง เปลี่ยนอาชีพ ไปค้ันนํ้ามันงาขาย พรอมทั้งเปดรานขายสุรา วันหน่ึง มีลูกคามาดื่มสุราแลวเมานอน หลบั สนทิ อยทู รี่ า น ดฉิ นั ฉวยโอกาสนนั้ ลกั ผา ทล่ี กู คา คนนนั้ นงุ ไวห ลวมๆ ดว ยกรรมนนั้ ดิฉนั จงึ ไมม ีอาภรณส วมใส” คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 277

278 ¤‹ÁÙ ×͸ÃÃÁÈ¡Ö ÉÒªéѹàÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก ตอ มาอีกวนั หนึ่ง ดฉิ ันเห็นพระขีณาสพรูปหนึ่งเทีย่ วบิณฑบาตอยู จงึ นิมนต ทานเขาไปในเรือนแลวถวายแปงเค่ียวเจือนํ้ามันงา ดวยกุศลกรรมเพียงเทานี้ ดิฉัน จึงเกิดเปนเทพธิดารูปงาม และไดวิมานทอง ดิฉันอยูในวิมานทองนี้สิ้นระยะเวลา ๑ พุทธันดร แตดิฉันก็เปนทุกขมาก เพราะอีก ๔ เดือนกุศลกรรมเหลานั้นจะหมดลง วิบากกรรมช่ัวอยางอื่นของดิฉันจะนําดิฉันไปหมกไหมอยูในนรก ไดรับทุกขทรมาน แสนสาหสั เปน เวลานาน อบุ าสกผมู ศี ลี จงึ กลา วเตอื นสตเิ ทพธดิ าวา ดกู รเทพธดิ า เธอไดเ สอื้ ผา อาภรณ และอาหารทพิ ยเพราะผลของทานท่ีพอ คา ใหแกเ รา หากเธอใหทานแกพอ คา เหลา นบี้ าง ผลทานก็จะเกิดแกเ ธอ และยงิ่ หากเธอไดถวายทานแดพระศาสดา ผลของทานก็จะยิ่ง เกิดแกเ ธอมากยิง่ ขน้ึ เวมานิกเปรตไดฟงแลวก็มีจิตยินดี นําขาวและน้ําอันเปนทิพยมาเล้ียงพวก พอคาและฝากผาทิพย คูหน่ึงใหหัวหนาพอคานําไปถวายพระศาสดาดวย พวกพอคา เหลาน้ันเดินทางตอไป คร้ังกลับมาถึงกรุงสาวัตถีแลว หัวหนาพอคาไดนําผาทิพยของ เธอไปถวายแดพระศาสดาแลว อุทิศสว นกศุ ลใหเ วมานกิ เปรต เมือ่ นางไดรบั ผลบญุ นั้น จงึ จุตไิ ปเกดิ เปน เทพธิดาในสวรรคช ั้นดาวดึงส มเี ทพธดิ า ๑,๐๐๐ นางเปนบรวิ าร เรอื่ งเวมานกิ เปรตน้ี แสดงใหเ หน็ โทษของการลกั ขโมย ทาํ ใหเ กดิ ความขดั สน หมกไหมอ ยใู นนรก ไดร บั ความทกุ ขท รมานอยา งแสนสาหสั ไมม เี สอ้ื ผา อาภรณแ ละไมม ี อาหารรับประทาน และยงั แสดงใหเ หน็ ถงึ อานิสงสของการเสยี สละใหทาน สง ผลใหพ น จากอบายไปเกดิ ในสวรรค ๓. กาเมสมุ จิ ฉาจาร การประพฤติผิดในกาม ความเสยี หายของกาเมสุมิจฉาจาร การประพฤติผิดในสามีภรรยาและบุคคลอันเปนท่ีรักที่หวงแหนของคนอ่ืน ยอ มเปน การทาํ ลายความรกั ความอบอนุ ในครอบครวั เปน การทาํ ลายสถาบนั ครอบครวั ทาํ ใหข าดความเคารพนบั ถอื จนถึงข้นั ประหัดประหารซงึ่ กันและกัน กาเมสมุ จิ ฉาจาร คอื การประพฤตผิ ดิ ในกาม หมายถงึ การลว งละเมดิ ทางเพศ ตอบคุ คลตองหา ม ๒ ประเภท คอื หญงิ ตองหา ม และชายตองหา ม หากผใู ดประพฤติ 278

ÇÔªÒÇÔ¹ÂÑ (¡ÃÃÁº¶) 279 ผิดกับหญิงหรือชายตองหาม ผูน้ันช่ือวาประพฤติกาเมสุมิจฉาจาร ถาทั้งสองประเภท เปนผูตองหามดวยกัน ประพฤติผิดรวมกัน ก็ชื่อวากระทําผิดดวยกันท้ังสองประเภท บุคคลที่เปนหญิงแตมีจิตใจเปนชายและบุคคลที่เปนชายแตจิตใจเปนหญิงก็อนุโลมใน บุคคลตองหา มตามขอกาเมสมุ จิ ฉาจารน้ี หญิงตอ งหา ม หญงิ ตอ งหาม หมายถงึ บุคคลตองหา มสําหรบั ชาย มี ๓ ประเภทใหญๆ คือ ๑. สสสฺ ามิกา หญิงมสี ามี หมายถงึ หญงิ ทอี่ ยกู นิ กบั ชายฉันทสามภี รรยา ทั้ง ท่ีแตงงานหรือไมไดแตงงาน รวมถึงหญิงที่รับสิ่งของมีทรัพยเปนตนของชายแลวยอม อยกู นิ กบั ชายนน้ั ตลอดถึงหญิงท่ีชายรับเลี้ยงดเู ปน ภรรยา จะไดจดทะเบียนสมรสกนั ตามกฎหมายหรอื ไมก ็ตาม หญิงประเภทน้ี จะหมดภาวะท่ีเปนหญิงตองหามก็ตอเม่ือหยาขาดจากสามี หรือสามีตายแลว แมห ญงิ ทส่ี ามีถกู กักขงั เชน ถกู จาํ คกุ หากยังไมไดหยา ขาดจากกนั ก็ถือวาเปนหญิงตองหาม หรือสามีตองโทษจําคุกตลอดชีวิต หญิงน้ันก็ยังอยูในฐานะ ตอ งหา มตราบเทา ทสี่ ามยี งั ตอ งโทษอยู ชายใดประพฤตผิ ดิ ตอ หญงิ มสี ามี ถอื วา ประพฤติ กาเมสมุ ิจฉาจาร ๒. าติรกฺขิตา หญิงท่ีญาติรักษา หมายถึง หญิงที่มีญาติเปนผูปกครอง ไมเ ปน อสิ ระแกต น เพราะอยใู นการปกครองดแู ลพทิ กั ษร กั ษาของบดิ ามารดา ญาตพิ นี่ อ ง หรอื วงศต ระกลู ชายใดประพฤตผิ ดิ ตอ หญงิ ทญี่ าตริ กั ษา ถอื วา ประพฤตกิ าเมสมุ จิ ฉาจาร หญิงท่ีญาติรักษาน้ัน เม่ือรับของหม้ันจากฝายชายและตกลงจะแตงงานกัน นับแตรับของหมั้นแลว หญิงน้ันช่ือวาอยูในการรักษาของญาติและของคูหม้ัน จะพน จากการรกั ษาของคหู มัน้ กต็ อเม่อื ไดคนื ของหม้นั หรอื บอกเลิกการหมัน้ นน้ั แลว ๓. ธมฺมรกฺขติ า หญงิ ทธ่ี รรมรกั ษา หมายถึง หญงิ ทม่ี ศี ีลธรรม กฎหมาย หรอื จารีตคมุ ครองรกั ษา มี ๒ ประเภท คอื หญิงผูเปน เทือกเถาเหลา กอของตน และหญิงมี ขอหา ม หญงิ ตอ งหา มโดยพิสดาร มี ๒๐ ประเภท คือ ๑. มาตุรกขฺ ิตา หญิงทม่ี ารดารักษา ๒. ปตุรกฺขติ า หญงิ ท่บี ิดารกั ษา คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 279

280 ¤Á‹Ù Í× ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒªé¹Ñ àÍ¡ ๓. มาตาปตุรกฺขติ า หญิงท่ีมารดาบดิ ารักษา ๔. ภาตรุ กขฺ ติ า หญงิ ที่พ่ีชายนอ งชายรกั ษา ๕. ภคนิ ีรกฺขิตา หญิงที่พส่ี าวนอ งสาวรักษา ๖. าติรกขฺ ติ า หญิงท่ีญาติรกั ษา ๗. โคตฺตรกฺขิตา หญิงทชี่ นมีสกุลหรอื แซร ักษา ๘. ธมฺมรกขฺ ิตา หญิงทธี่ รรมรักษา ๙. สามริ กขฺ ติ า หญิงทสี่ ามีรักษา ๑๐. สปริทณฑฺ า หญงิ ท่ีกฎหมายคุมครอง ๑๑. ธนกีตา หญิงทช่ี ายซอ้ื มาเปน ภรรยา ๑๒. ฉนทฺ วาสินี หญิงทอ่ี ยูกบั ชายดวยความรกั ใครกันเอง ๑๓. โภควาสินี หญงิ ที่อยูเปน ภรรยาชายดว ยโภคสมบัติ ๑๔. ปฏวาสินี หญงิ เขญ็ ใจไดผานุงผาหม แลว อยูเ ปน ภรรยา ๑๕. โอทปตตฺ กนิ ี หญิงที่ชายขอเปน ภรรยาดว ยพธิ แี ตงงาน ๑๖. โอภตจมุ ฺพตา หญิงทช่ี ายชว ยปลงภาระอนั หนักลงจากศีรษะแลว อยูเปน ภรรยา ๑๗. ทาสีภริยา หญิงคนใชท เ่ี ปน ภรรยา ๑๘. กมมฺ การินีภริยา หญิงรับจางทาํ การงานทเ่ี ปน ภรรยา ๑๙. ธชาหฏา หญิงเชลยท่เี ปนภรรยา ๒๐. มหุ ตุ ฺตกิ า หญิงที่ชายอยูดวยชั่วคราว ถาชายลวงละเมิดในหญิง ๒๐ จําพวกน้ี แมจําพวกใดจําพวกหนึ่งถือวา ประพฤตกิ าเมสุมิจฉาจาร หญิงผูเปนเทือกเถาเหลากอของตน เทือกเถา หมายถึง หญิงซึ่งเปนญาติ ผูใ หญน ับยอ นหลงั ขน้ึ ไปทางบรรพบุรุษ ๓ ชน้ั คอื ยา ทวด ยายทวด ๑ ยา ยาย ๑ มารดาของตน ๑ เหลากอ หมายถึง หญิงผูสืบสันดานจากตน นับลงไป ๓ ช้ัน คือ ลูก ๑ หลาน ๑ เหลน ๑ ชายใดประพฤติผิดตอหญิงผูเปนเทือกเถาเหลากอของตน ถือวาประพฤตกิ าเมสุมิจฉาจาร คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก 280

ÇÔªÒÇÔ¹ÂÑ (¡ÃÃÁº¶) 281 หญงิ มขี อหาม มี ๒ ประเภท คือ ๑. หญงิ ประพฤตพิ รหมจรรย ไดแก ภิกษณุ ี สามเณรี สิกขมานา แมช ี และ อบุ าสกิ าผูรักษาศลี ๘ หรืออุโบสถศีล ๒. หญงิ ทกี่ ฎหมายจารตี ประเพณรี กั ษา ไดแ ก หญงิ ทกี่ ฎหมายจารตี ประเพณี หา มมิใหลวงละเมิด เชน หญิงทีย่ ังไมบรรลนุ ติ ิภาวะ หญิงพิการ ทุพพลภาพ เปน ตน ชายตองหาม ชายตอ งหา ม หมายถงึ บคุ คลตองหา มสาํ หรับหญงิ มี ๒ ประเภท คอื ชายอนื่ นอกจากสามีของตนสาํ หรับหญิงท่ีมสี ามี และชายท่ีจารตี หามสาํ หรบั หญงิ ท่วั ไป ๑. ชายอนื่ นอกจากสามตี น เปน บคุ คลตองหามสําหรับหญงิ ท่มี ีสามี ๒. ชายทจ่ี ารตี หา ม ไดแ ก นกั บวชในศาสนาทหี่ า มเสพเมถนุ เชน ภกิ ษุ สามเณร เปน ตน เปน บคุ คลตอ งหา มสาํ หรบั หญงิ ทว่ั ไป ทงั้ ทมี่ สี ามแี ละไมม สี ามี หญงิ ใดประพฤติ ผดิ ตอ ชายตอ งหา ม ถอื วา ประพฤตกิ าเมสมุ จิ ฉาจาร หากมคี วามยนิ ดพี รอ มใจในการลว ง ประเวณกี ผ็ ดิ ท้ังสอง กาเมสุมิจฉาจารนี้ ผูใดประพฤติผิดตอบุคคลตองหามดังกลาวมาทั้งหมด ถอื วา กระทาํ ผดิ หากทั้งสองมคี วามยนิ ดพี รอมใจในการลวงประเวณี กถ็ อื วา กระทาํ ผดิ ทงั้ สอง อนึ่ง ในเรื่องประเวณีน้ี หามการกระทําในสถานที่อันเปนศาสนสถาน เชน โบสถ วหิ าร ลานเจดีย เปนตน แมแตการผูกสมคั รรกั ใครฉ ันชูส าว การเก่ียวพาราสี การพูดแคะ การเลนหูเลนตา การใชส่ือสารสนเทศกับบุคคลตองหามในเชิงชูสาว กไ็ มค วรทาํ เพราะเปนเหตุเบอ้ื งตน ของกาเมสมุ ิจฉาจารเชนกนั หลักวินจิ ฉัย การประพฤติผิดในกามที่สําเร็จเปนกาเมสุมิจฉาจาร ถึงความเปน อกุศลกรรมบถ มีองค ๔ คอื ๑. อคมนยี วตถฺ ุ หญงิ หรือชายน้นั เปนบคุ คลตองหา ม ๒. ตสมฺ ึ เสวนจิตตฺ ํ จติ คิดจะเสพ ๓. เสวนปปฺ โยโค พยายามเสพ ๔. มคฺเคน มคคฺ ปฺปฏปิ ตฺตอิ ธวิ าสนํ อวัยวะเพศจรดถงึ กนั คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 281

282 ¤Á‹Ù Í× ¸ÃÃÁÈ¡Ö ÉҪѹé àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก โทษของกาเมสมุ จิ ฉาจาร การประพฤติผิดในกาม จะมีโทษมากหรือนอย ขึ้นอยูกับคุณความดีของ คนที่ถูกลวงละเมิด ความแรงของกิเลสและความพยายาม นอกจากนั้น ผูประพฤติ ผิดในกาม ยอ มไดรับกรรมวบิ าก ๕ สถาน คอื ๑. ยอมเกิดในนรก ๒. ยอ มเกิดในกาํ เนิดสตั วเ ดรัจฉาน ๓. ยอมเกิดในกําเนิดเปรตวิสยั ๔. ยอมเปนผูม ีรางกายทพุ พลภาพ ขเ้ี หร มากไปดวยโรค ๕. โทษเบาท่สี ุด หากเกดิ เปน มนุษย ยอมเปนผมู ศี ัตรูรอบดา น ตวั อยางโทษของกาเมสุมจิ ฉาจาร เรือ่ ง นางกินนรีเทวี ในอดตี กาล มพี ระราชาพระองคห นง่ึ ทรงพระนามวา กินนร เสวยราชยอ ยู ในเมืองพาราณสี มีพระรูปโฉมงามย่ิงนัก อํามาตยหนึ่งพันนําหีบเครื่องหอมมาถวาย ทกุ ๆ วัน เมอื่ ประพรมเครือ่ งหอมใน พระราชนเิ วศนท ่วั แลว กผ็ า หบี ทําเปนไมฟนหอม หุงพระกระยาหารถวายพระเจากินนร มีปุโรหิตผูมีปญญาหลักแหลมคนหนึ่งช่ือ ปญจาลจัณฑะ มีอายุเทา กบั พระองค ก็ปราสาทของพระเจากินนรนัน้ มีตน หวา ตนหนึง่ อยูในกําแพงวัง ก่ิงหวาทอดขามกําแพงออกไป บุรุษเปล้ียคนหน่ึง รูปรางอัปลักษณ นา เกลยี ด อาศยั อยทู รี่ ม ไมห วา นน้ั อยมู าวนั หนง่ึ นางกนิ นรี มองออกไปตามชอ งหนา ตา ง เห็นบุรษุ เปลีย้ นนั้ แลวกเ็ กิดความรกั ใคร ในเวลาราตรี ทรงบําเรอพระเจา กินนรใหทรง ยินดีดวยกิเลสแลวบรรทมหลับไป จึงคอยๆ ลุกข้ึนจัดอาหารอันประณีตมีรสอรอย ใสขันทองหอไวที่ชายพกแลวไตเชือกลงทางหนาตาง ปนข้ึนบนตนไมไตลงมาตามก่ิง เชญิ บรุ ษุ เปลยี้ ใหก นิ อาหารแลว ทาํ การอนั ลามกกบั บรุ ษุ เปลยี้ สาํ เรจ็ แลว กก็ ลบั ขน้ึ ปราสาท ตามทางเดมิ ประพรมสรีระกายดว ยของหอมแลว กไ็ ปนอนกบั พระเจา กินนร ประพฤติ ลามกอยา งนี้เสมอมา พระเจา กนิ นรก็มไิ ดท รงทราบ อยมู าวนั หนง่ึ พระเจา กนิ นรเสดจ็ ประทกั ษณิ พระนคร เวลาเสดจ็ กลบั พระราช นิเวศน ไดท อดพระเนตรเห็นบรุ ุษเปลี้ยมอี าการนากรุณาอยางยิ่ง จึงตรัสถามปโุ รหติ วา 282

ÇªÔ ÒÇ¹Ô Ñ (¡ÃÃÁº¶) 283 เหน็ มนษุ ยเ ปรตนนั้ หรอื ไม ครนั้ ปโุ รหติ รบั พระรบั วา เหน็ พระเจา ขา จงึ ตรสั ถามตอ ไปวา บุรุษที่มีรูปรางนาเกลียดอยางนี้ จะมีหญิงคบหาดวยอํานาจฉันทราคะบางหรือไม บุรษุ เปลย้ี ไดฟ ง พระราชดาํ รัสดงั นน้ั กเ็ กิดมานะขน้ึ มาวา พระเจา แผนดินพูดอะไรเชน นี้ ชะรอยจะไมรูวา พระเทวีของพระองคมาหาเรา คิดแลวก็ประนมมือไหวตนหวา กลาววาจาคอยๆวา ขอเชิญเทพยดาซึ่งเปนเจาสิงอยูท่ีตนหวาฟงเราเถิด คนอื่นๆ นอกจากทา นแลว กไ็ มม ใี ครรู ปโุ รหิตเหน็ กิรยิ าของบุรุษเปล้ียจงึ คดิ วา พระอคั รมเหสขี องพระราชาคงไดไต ตน หวา มาทาํ ลามกกบั บรุ ษุ เปลย้ี นเี้ ปน แนแ ท คดิ แลว จงึ ทลู ถามวา ในเวลาราตรี พระองค ทรงสมั ผสั สรรี ะกายแหง พระเทวเี ปน เชน ไรบา ง พระเจา กนิ นรตรสั ตอบวา สงิ่ อนื่ กไ็ มแ ลเหน็ เปน แตเ วลาเทยี่ งคนื สรรี ะกายของนางเยน็ ปโุ รหติ จงึ ทลู ถามวา ถา กระนน้ั หญงิ อนื่ ยกไว กอ นเถดิ พระนางกนิ นรอี คั รมเหสขี องพระองคไ ดป ระพฤตกิ รรมอนั ลามกกบั บรุ ษุ เปลย้ี น้ี พระเจากินนรตรสั วา สหายพูดอะไรกัน นางกินนรสี มบูรณดวยรปู รางอันอุดมปาน นั้น จะมารวมอภิรมยกับบุรุษเปลี้ยอันนาเกลียดอยางนี้ไดอยางไร ปุโรหิตกราบทูลวา ถาอยางน้ัน ขอพระองคจงสะกดรอยตามคอยจับดูเถิด พระเจากินนรก็ทรงรับ ครนั้ เสวยอาหารเยน็ ก็เขา บรรทมกับนางกินนรี ต้งั พระหฤทัยคอยสะกดจับ พอถึงเวลา บรรทมหลับตามปกติก็ทรงแสรงทําเหมือนหลับไป ฝายนางกินนรีก็ลุกข้ึนตามเคย พระเจากินนรก็สะกดรอยตามไปยืนอยูท่ีเงาตนหวา วันน้ันบุรุษเปล้ียโกรธขูตะคอกวา ทาํ ไมถงึ มาชา แลว เอามอื ตบเขา ทก่ี กหนู างเทวี นางเทวกี ร็ อ งขอโทษวา นายอยา เพง่ิ โกรธ เลย ขาพเจารอใหพระราชาหลับจึงมาได วา แลวกป็ ระพฤติปฏิบตั ิกับบรุ ษุ เปลยี้ เหมอื น หญิงบําเรอในเรือน เม่ือบุรุษเปลี้ยตบหูนางกินนรีนั้น กุณฑลหนาราชสีหหลุดจากหู กระเดน็ ไปอยใู กลพ ระบาทพระเจา กนิ นร พระเจา กนิ นรจงึ เกบ็ เอาไปเปน พยาน ฝา ยนาง กนิ นรรี บี ประพฤตอิ นาจารกบั บรุ ษุ เปลย้ี นน้ั แลว กก็ ลบั ไปเรม่ิ จะนอนกบั พระราชา พระเจา กนิ นรกท็ รงหา มเสยี พอรงุ ขนึ้ รบั สง่ั ใหค นไปบอกใหน างกนิ นรเี ทวปี ระดบั เครอื่ งประดบั ที่พระองคใหท ้งั หมดเขามาเฝา นางกินนรีก็สง่ั ใหท ลู วา กณุ ฑลหนา ราชสีหส งไปไวทช่ี าง ทองเสียแลวนางก็ไมไดมาเฝา คร้ันพระเจากินนรรับสั่งใหหาอีกนางก็ประดับกุณฑล ขา งเดียวเขา ไปเฝา พระเจา กินนรีตรัสถามวา กณุ ฑลไปไหน นางก็ทลู วา สงไปท่ีชางทอง พระเจากินนรจึงรับส่ังใหหาชางทองมาแลวตรัสถามวา ทําไมเจาจึงไมใหกุณฑลแก คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 283

284 ¤ÙÁ‹ Í× ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉҪѹé àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก นางกนิ นรี ชา งทองกท็ ลู วา มไิ ดร บั เอาไวเ ลย พระเจา กนิ นร กท็ รงทาํ เปน พโิ รธตรสั วา เฮย นางจณั ฑาล คนอยา งขา นแี้ หละจะเปน ชา งทองเอง ตรสั แลว กข็ วา งกณุ ฑลไปตรงหนา นาง กนิ นรแี ลว หนั มาตรสั กบั ปโุ รหติ วา สหายพดู จรงิ ทเี ดยี ว จงไปสงั่ ตดั หวั นางจณั ฑาลนเ้ี สยี ปโุ รหติ ไดพ านางกนิ นรไี ปซอ นไวใ นทแี่ หง หนง่ึ ภายในพระราชวงั นนั้ แลว กราบทลู พระเจา กินนรวา ธรรมดาหญิงท้ังหลายยอมเปนเชนนี้ การกระทําอยางนี้เปนปกติของหญิง ท้ังหลาย ขอพระองคจงงดโทษนางกินนรีเสียเถิด พระเจากินนรก็ทรงยกโทษใหรับสั่ง ใหไลไปเสียจากพระราชนิเวศน เม่ือทรงขับไลจากตําแหนงแลว ก็ทรงตั้งหญิงอื่นเปน อคั รมเหสีแลว รับสัง่ ใหไลบุรษุ เปลี้ยออกไปเสยี จากที่นั้น และทรงใหต ดั กงิ่ ตน หวา ออก เรอ่ื งนางกนิ นรเี ทวี ประพฤตกิ าเมสมุ จิ ฉาจารน้ี หากพระราชาไมท รงงดโทษให นางจะตองไดรับโทษฑัณฑถึงตาย กาเมสุมิจฉาจาร จึงถือวามีโทษรายแรงมาก ทั้งโลกนแี้ ละโลกหนา วจีกรรม ๔ วจีกรรม คือ การกระทําทางวาจา หมายถึง การพูดออกมาเปนถอยคํา ทัง้ ทางดีและทางชวั่ วจีกรรมทางช่ัวมี ๔ อยา ง คือ มสุ าวาท การพดู เทจ็ ปสุณวาจา การพดู สอเสียด ผรุสวาจา การพูดคาํ หยาบ และสมั ผปั ปลาปะ การพูดเพอเจอ ๑. มุสาวาท การพูดเทจ็ ความเสียหายของมสุ าวาท มีพระบาลี ท่ีกลาวถึงลักษณะของคนชอบพูดเท็จไววา “นตฺถิ อการิยํ ปาป มุสาวาทิสฺส ชนฺตุโน” แปลวา ไมมีความชั่วอะไรที่คนชอบพูดเท็จจะทําไมได เพราะคนชอบพดู เท็จ พูดโกหกหลอกลวง หรอื พูดมีเลศนยั ในแงม ุมตา ง ๆ นน้ั ไดชอ่ื วา ทาํ ลายคณุ ธรรมในจติ ใจของตนเอง และทาํ ลายประโยชนข องผอู น่ื ในการพดู เทจ็ นนั้ คนโกหกเปน ผเู สยี หายรา ยแรงกวา เพราะกลายเปน คนเหลาะแหละ ขาดความนา เชอื่ ถอื มสุ าวาท การพดู เทจ็ คือการพดู มงุ ใหผดิ จากความเปน จรงิ มี ๓ อยาง คือ ๑.มุสา ๒.อนุโลมมุสา ๓.ปฏิสสวะ ๑. มุสา แปลวา เท็จ ไดแก โกหก หมายถึง การทําอันเปนเท็จทุกอยาง การแสดงความเท็จเพ่อื ใหผูอนื่ เขาใจผิดนน้ั ทาํ ไดท้งั ทางวาจาและทางกาย ดังนี้ 284

ÇªÔ ÒÇ¹Ô Ñ (¡ÃÃÁº¶) 285 ทางวาจา คือ พูดออกมาเปนคําเทจ็ ตรงกับคําวา โกหก ซ่งึ เปน ท่ีเขาใจกนั อยแู ลว ทางกาย คอื การแสดงกิริยาอาการทเ่ี ปนเท็จ เชน การเขียนจดหมายโกหก การเขียนรายงานเท็จ การทําหลักฐานปลอม การตีพิมพขาวสารอันเปนเท็จ การเผย แพรขาวสารทางส่ือสารสนเทศอันเปนเท็จ การทําเครื่องหมายปลอมใหคนอื่นหลงเชื่อ รวมถึงการใบใหคนอน่ื เขา ใจผดิ เชน ส่นั ศีรษะปฏเิ สธในเร่อื งควรรับ หรอื พยักหนา รับ ในเรอ่ื งทค่ี วรปฏเิ สธ มุสา มปี ระเภททีจ่ ะพงึ พรรณนาเปนตัวอยาง ดังนี้ ปด ไดแ ก มสุ าตรงๆ โดยไมอ าศยั มลู เลย เชน ไมเ หน็ บอกวา เหน็ ไมร บู อกวา รู ไมมบี อกวา มี เปนตน สอ เสยี ด คอื พดู ยแุ ยงเพอ่ื ใหเขาแตกกนั หลอก คอื พูดเพือ่ จะโกงเขา พูดใหเขาเช่อื พูดใหผ ูอ่ืนเสียของใหตน ยอ คอื พูดเพ่อื จะยกยอ งเขา พูดใหเ ขาลืมตวั และหลงตัวผิด กลับคํา คือ พดู ไวแ ลวแตต อนหลงั ไมยอมรบั ปฏเิ สธวา ไมไ ดพดู ทนสาบาน ไดแ ก กริ ยิ าทเ่ี สย่ี งสตั ยว า จะพดู ความจรงิ หรอื จะทาํ ตามคาํ สาบาน แตไมไ ดพูดหรือทาํ ตามน้ัน เชน พยานทนสาบานแลวเบกิ คําเท็จ เปนตน ทาํ เลหกระเทห ไดแก กริ ยิ าที่อวดอางความศกั ดิ์สิทธิ์อนั ไมเ ปน จรงิ เพอ่ื ให คนหลงเชอ่ื นิยมยกยอ ง และเปนอบุ ายหาลาภแสวงหาผลประโยชนสว นตวั เชน อวดรู วิชาคงกระพันวา ฟนไมเ ขายงิ ไมอ อก เปนตน มารยาท ไดแ ก กิรยิ าทแี่ สดงอาการใหเ ขาเหน็ ผดิ จากทีเ่ ปนจรงิ เชน เปนคน ทุศีล ทําทา ทางเครงครดั ใหเ ขาเหน็ วา เปน คนมีศลี ทําเลศ ไดแก พูดมุสาเลนสํานวน พูดคลุมเครือใหผูฟงเขาใจผิด เชน เห็นคนวงิ่ หนีเขา มา เมือ่ ผไู ลตดิ ตามมาถาม จึงยายไปยืนท่ีอน่ื แลวพูดวา ตงั้ แตม ายืน ที่น้ี ไมเ ห็นใครเลย เสรมิ ความ ไดแก พดู มสุ าอาศัยมลู เดมิ แตเสริมความใหม ากกวาทเี่ ปนจรงิ เชน โฆษณาสรรพคณุ สนิ คาเกนิ ความเปน จรงิ เปน ตน อาํ ความ ไดแ ก พดู มสุ าอาศยั มลู เดมิ โดยตดั ขอ ความทไ่ี มป ระสงคจ ะใหร อู อก เสยี เพอื่ ใหผ ฟู ง เขา ใจเปน อยา งอนื่ เชน เรอื่ งมากพดู ใหเ หลอื นอ ยเพอ่ื ปด ความบกพรอ ง คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 285

286 ¤ÁÙ‹ Í× ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒªé¹Ñ àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก บุคคลพูดดวยวาจาหรือทํากิริยาแสดงกิริยาทาทางอยางใดอยางหน่ึง ผูอ่ืน รูแลวเขาจะเช่ือหรือไมเชื่อไมเปนประมาณ บุคคลผูพูดหรือแสดงอาการนั้นไดช่ือวา พูดมุสาในสิกขาบทน้ี ๒. อนุโลมมุสา คือการพูดเร่ืองไมเปนจริง แตมิไดมีเจตนาจะทําใหผูฟง เขา ใจผดิ หรอื หลงเชอื่ เพยี งแตพ ดู เพอื่ ใหเ จบ็ ใจ มปี ระเภททจ่ี ะพงึ พรรณนาเปน ตวั อยา ง ดงั น้ี เสียดแทง ไดแก กิริยาที่พูดใหผูอื่นเจ็บใจ ดวยอางเร่ืองท่ีไมเปนความจริง เชน ประชด คอื การกลา วแดกดนั ยกใหส งู กวา พน้ื เพเดมิ ของเขา หรอื ดา คอื การกลา ว ถอยคําหยาบชา เลวทราม กดใหตํ่ากวาพน้ื เพเดมิ ของเขา สับปลบั ไดแ ก พดู กลับกลอกเช่อื ไมได พูดดวยความคะนองปาก แตผพู ูด ไมไ ดจงใจจะใหค นอืน่ เขาใจผดิ เชน รบั ปากแลวไมท าํ ตามทร่ี ับนั้น อนุโลมมุสานี้ แมจะมิไดเปนคําเท็จโดยตรง แตก็นับเขาในมุสา ไมควรพูด พดู แลว มโี ทษ ผนู ยิ มความสภุ าพ แมจ ะวา กลา วลกู หลาน กไ็ มค วรใชค าํ ดา คาํ เสยี ดแทง ควรใชคําสุภาพ แสดงโทษผดิ ใหร สู กึ ตวั แลวหา มปรามมใิ หก ระทาํ ตอไป ๓. ปฏสิ สวะ ไดแก การรับคาํ ของคนอ่ืนดว ยความตง้ั ใจจะทาํ ตามท่ีรบั คําน้ัน ไวจ ริง แตภ ายหลังเกดิ กลับใจไมท าํ ตามท่รี บั คาํ นั้น ท้ังที่ตนพอจะทาํ ตามที่รบั คํานน้ั ได มปี ระเภททจ่ี ะพึงพรรณนาเปน ตัวอยา งดังนี้ ผดิ สัญญา หมายถึง การไมท าํ ตามที่ตกลงกันไว เชน ตกลงกันวาจะเลกิ คา สิ่งเสพตดิ แตพอไดโ อกาสก็กลับมาคาอกี คนื คํา หมายถึง การไมท ําตามท่ีรบั ปากไว เชน รบั ปากจะใหส่ิงของแลว ไมไ ด ใหตามทีไ่ ดร บั ปากไวน น้ั ถอยคาํ ท่ีไมจดั เปน มสุ าวาท ถอยคําท่ีผูพูดพูดตามความสําคัญของตน เรียกวา ยถาสัญญา หรือตาม วรรณกรรม ซึ่งเปนคําพูดไมจริง แตไมมีความประสงคจะใหผูฟงเช่ือ ไมเขาขาย มุสาวาท มีประเภทที่จะพึงพรรณนาเปนตัวอยา ง ดงั น้ี โวหาร ไดแก ถอยคําที่ใชเปนธรรมเนียม เพื่อความไพเราะของภาษา เชน การเขียนจดหมายที่ลงทายวา ดวยความเคารพยางสูง เปนโวหารการเขียนตามแบบ 286

ÇªÔ ÒÇÔ¹ÂÑ (¡ÃÃÁº¶) 287 ธรรมเนียมสารบรรณ ซ่ึงในความเปนจริงผูเขียนไมไดเคารพอยางสูง หรืออาจไมไดมี ความเคารพเชน นัน้ เลย นยิ าย ไดแ ก เรอ่ื งทแี่ ตง ขนึ้ เรอ่ื งทเี่ ลา กนั มา เรอ่ื งทนี่ าํ มาอา งเพอ่ื เปรยี บเทยี บให ไดใ จความเปน หลกั เชน นทิ าน ละคร ลเิ ก ซง่ึ ในทอ งเรอื่ งอาจมเี นอ้ื หาทไี่ มเ ปน ความจรงิ แตผ แู ตงไมไ ดต้ังใจใหคนหลงเชื่อ เพียงแตแสดงเนื้อหาไปตามทองเรือ่ ง สําคัญผดิ ไดแ ก คาํ พูดท่ผี ูพดู สาํ คัญผดิ วา เปน อยางน้นั ท้ังทีค่ วามจรงิ มไิ ด เปนเชนน้ัน คือ ผูพูดพูดไปตามความเขาใจของตนเอง เชน ผูพูดจําวันผิด จึงบอก ผูถามไปตามวันที่จาํ ผดิ นั้น เปน ตน พล้ัง ไดแ ก คําพดู ท่ีพลาดไปโดยทไ่ี มไ ดตง้ั ใจหรอื ไมทันคดิ เชน ผูพ ดู ต้ังใจ จะพูดอยา งหนงึ่ แตก ลบั พลาดไปพูดเสยี อกี อยางหน่ึง หลักวนิ ิจฉยั การพูดเท็จทีส่ ําเร็จเปน มสุ าวาท ถึงความเปน อกุศลกรรมบถ มอี งค ๔ คอื ๑. อตถํ วตถฺ ุ เร่ืองไมจ ริง ๒. วสิ ํ วาทนจติ ฺตํ จิตคดิ จะพดู ใหผ ิด ๓. ตชฺโช วายาโม พยายามพดู ออกไป ๔. ปรสฺส ตทตฺถวชิ านนํ ผูฟง เขา ใจตามเนื้อความนนั้ มีคําอธิบายองคของมุสาวาท ดังน้ี องคท ี่ ๑ เรอื่ งไมจ รงิ คอื เรอ่ื งทพ่ี ดู นน้ั ไมม คี วามจรงิ ไมเ ปน จรงิ เชน ฝนไมต ก แตก ลับพดู วา ฝนตก องคที่ ๒ จิตคิดจะพูดใหผ ดิ คอื ผูพูดจงใจจะพูดใหผิดจากความเปนจรงิ องคที่ ๓ พยายามพูดออกไป คอื ผพู ดู ไดพ ูดคําไมจ รงิ นั้นๆ ออกไป หรอื ได กระทําเท็จดว ยความจงใจ ซงึ่ มใิ ชเ ปนเพียงความคดิ ทีอ่ ยใู นใจ องคที่ ๔ ผูฟงเขาใจเนื้อความน้ัน คือผูฟงเขาใจความหมายเหมือนอยางที่ ผพู ดู พดู ออกไป สวนผูฟง จะเช่อื หรอื ไมน้นั ไมเ ปนสําคญั คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 287

288 ¤ÁÙ‹ Í× ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒª¹Ñé àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก โทษของมสุ าวาท ผปู ระพฤตมิ สุ าวาท จะมโี ทษมากหรอื นอ ย ขนึ้ อยกู บั ประโยชนท จี่ ะถกู ตดั รอน หมายความวา ถาการพูดเท็จน้ันทําใหเสียประโยชนมากก็มีโทษมาก เชน บุคคลที่ไม ตองการใหข องๆ ตน พดู ออกไปวา ไมมี ก็ยังมโี ทษนอย แตถาเปน พยานเท็จ กอให เกิดความเสียหายมากก็มีโทษมาก เปนตน ในอรรถกถาอัฏฐกนิบาต อังคุตตรนิกาย ไดก ลา วถึงกรรมวิบากของผปู ระพฤตมิ สุ าวาท ดังน้ี ๑. ยอมเกิดในนรก ๒. ยอมเกิดในกําเนดิ สัตวเดรัจฉาน ๓. ยอมเกดิ ในกาํ เนดิ เปรตวิสยั ๔. โทษเบาที่สดุ หากเกดิ เปน มนษุ ย จะถูกกลา วตูอยูเสมอ ตัวอยางโทษของมุสาวาท เรือ่ ง กักการชาดก ในอดีตกาล พระเจาพรหมทัตครองราชยสมบัติอยูในพระนครพาราณสี พระโพธิสัตวเปนเทพบตุ รในสวรรคช้ันดาวดึงส ในสมัยนัน้ พระนครพาราณสไี ดจดั ให มมี หรสพเปนการใหญ พวกนาค ครุฑ และภมุ มฏั ฐกเทวดาเปนจาํ นวนมาก ก็พากันมา ดูมหรสพ มีเทพบุตร ๔ องคจ ากสวรรคช้ันดาวดึงสพากันมาดูการเลน มหรสพ โดยได ประดบั เทริดซงึ่ ทําดวยดอกไมท ิพยช ื่อกกั การุ ซึง่ เปน ผักจาํ พวกบวบ ฟก แฟง พน้ื ทข่ี องพระนครประมาณ ๑๒ โยชน ไดห อมตลบอบอวลไปดว ยกลนิ่ ดอกไม ทพิ ยนน้ั มหาชน จึงเทย่ี วคน หาวา ใครเปนคนประดับดอกไมเ หลา นี้ เทพบุตรเหลา นั้น รวู า มหาชนกาํ ลงั คน หาตนเองอยู จงึ เหาะขน้ึ ทพ่ี ระลานหลวง ยนื ปรากฏกายอยใู นอากาศ ดว ยเทวานภุ าพอนั ยง่ิ ใหญท ง้ั หมาชน พระราชา เศรษฐแี ละอปุ ราชเปน ตน ตา งกม็ าชมุ นมุ กันถามเทพบุตรเหลา นัน้ จงึ รูว า เปนเทพบุตรมาจากสวรรคช ้ันดาวดงึ ส เพ่อื ตองการดู มหรสพและประดบั ดวยเทรดิ ดอกไมทพิ ย จึงรองขอเทริดดอกไมท พิ ยน ัน้ เทพบุตรโพธิสัตวผูเปนหัวหนาบอกวา ดอกไมทิพยเหลาน้ีมีอานุภาพมาก เหมาะสมกับเทวดาเทาน้ัน ไมเหมาะสมกับคนเลวทราม ไรปญญา มอี ัธยาศัยนอมไป ในทางตํ่าทราม เปนคนทุศีลในมนุษยโลก แตก็เหมาะสมกับมนุษยผูประกอบดวย 288

ÇªÔ ÒÇԹѠ(¡ÃÃÁº¶) 289 คณุ ธรรมคือไมล กั ขโมย แมกระทงั้ เสน หญา ไมพดู เท็จแมจะแลกดวยชีวิต และไดยศ แลว ไมม วั เมา ผนู น้ั แลยอ มควรประดบั ดอกฟก ทพิ ย และเทพบตุ รจะใหด อกไมท พิ ยแ ก บุคคลน้นั ปุโรหติ คนหน่งึ ไดฟง ดงั น้ันจึงคดิ วา “แมเราจะไมมคี ุณสมบัตเิ ชนนน้ั แตเรา จะกลาวมุสาเพ่ือใหไดดอกไมเหลานี้มาประดับตน และมหาชนก็จะเขาใจวาเรามี คุณสมบัติเชนน้ันจริงๆ จึงไดดอกไมมาประดับ” จึงออนวอนขอดอกฟกทิพยจาก เทพบุตรองคที่ ๑ มาประดับ จากนั้นก็ไดออนวอนขอดอกไมทิพยกะเทพบุตรองคที่ ๒ เทพบตุ รองคท ี่ ๒ กลาววา ผูท ีแ่ สวงหาทรพั ยส มบตั ไิ ดม าโดยบริสุทธิ์ชอบธรรม ไม ลอลวงเอาทรัพยผ ูอ น่ื ไดโภคทรพั ยแ ลว กไ็ มม วั เมา จงึ จะเหมาะสมท่จี ะประดับดอกฟก ทพิ ย ปโุ รหิตนัน้ ก็บอกวา ตนเองมีคณุ สมบตั ิเชน นน้ั จงึ ไดดอกไมท ิพยมาประดบั และ ยังออนวอนขอดอกไมทิพยกะเทพบุตรองคท่ี ๓ เทพบุตรองคท่ี ๓ จึงบอกวา ผูท่ีมี จิตไมจืดจางเร็วเหมือนยอมดวยขมิ้นและมีศรัทธาไมคลายงายๆ ไมบริโภคของดีแต เพียงผูเดียว แตยังแบง ปน ใหยาจกและบคุ คลท่ีควรให จึงจะเหมาะสมประดับดอกฟก ทิพย ปุโรหิตก็บอกวา ตนเองมีคุณสมบัติเชนนั้น จึงไดดอกไมทิพยมาประดับ และ ยังออนวอนขอกะเทพบุตรองค ๔ อีก เทพบุตรองคท่ี ๔ จึงบอกวา ผูที่ไมบริภาษ ดาสัตวบรุ ุษคนดี ผูประกอบดว ยคุณมศี ีลเปน ตน ทัง้ ตอ หนา หรือลับหลัง พดู อยา งทาํ อยางนนั้ ผนู ั้นแลยอมควรซง่ึ ดอกฟก ทิพย ปโุ รหิตก็บอกวา ตนเองมคี ุณสมบัตเิ ชน นน้ั จึงไดดอกไมท ิพยมาประดับอกี เทพบตุ รทัง้ ๔ องค ไดใ หเ ทรดิ ดอกไมท ิพยท้ัง ๔ เทรดิ แกปุโรหิตนน้ั แลวก็ พากันกลับไปยังเทวโลก ในเวลาทเี่ ทพบุตรเหลานั้นไปแลว ทกุ ขเวทนาอนั แรงกลา เกดิ ขึ้นท่ีศีรษะของปุโรหิต ศีรษะของเขาเปนเหมือนถูกยอดเขาอันแหลมทิ่มแทง และเปน เหมอื นถกู แผนเหล็กบีบรดั ปุโรหิตนนั้ เสวยทกุ ขเวทนา นอนกลงิ้ ไปกลิ้งมา รองลัน่ เม่อื มหาชนซักถาม วาเกิดอะไรขึ้น เขาจึงไดบอกวา ตนไดโกหกเหลาเทพบุตร เพ่ือใหไดเทริดดอกไมมา ประดับ ความจริงตนไมมีคุณสมบัติเหลาน้ันเลย แลวขอรองใหมหาชนชวยดึงเทริด ออกจากศรี ษะของตน มหาชนชวยกันดงึ กไ็ มหลุดจากศีรษะ เหมอื นเอาแผนเหล็กผกู รดั ดอกไมน น้ั ไว จงึ พากนั หามเขากลับบา น เขาตอ งเจ็บปวดรอ งลน่ั อยูในบา นถงึ ๗ วัน คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 289

290 ¤ÁÙ‹ Í× ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒª¹Ñé àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก พระราชา รับส่ังเรียกประชุมมุขอํามาตยวาจะชวยปุโรหิตผูทุศีลที่กําลังจะ ตายไดอยา งไร พวกอํามาตยจ งึ กราบทูลวา ตองจดั มหรสพข้นึ อกี ครง้ั เพือ่ ใหเ ทพบตุ ร เหลานนั้ กลับมาชม พระราชาจึงใหจดั มหรสพอกี เทพบุตรท้งั หลายก็มาชมมหรสพอีก และไดป ระดบั เทริดดอกไมท ิพยส งกล่นิ หอมฟงุ ไปท่ัว พระนคร ปรากฏตอ หนา มหาชน ณ พระลานหลวงเหมือนเดิม มหาชนไดหามปุโรหิตมาใหนอนหงายอยูขางหนาของ เทพบุตรเหลา น้นั ปุโรหิตน้ัน ออนวอนขอใหเทพบุตรชวยชีวิตเขาดวย เทพบุตรกลาวตําหนิ ติเตียนปุโรหิตในทามกลางมหาชนวา ดอกไมเหลานี้ไมเหมาะสมกับทานซึ่งเปนคน เลวทราม ไมมีศีล มีบาป แตทานไดอวดเกงวาจะหลอกลวงเทพบุตร นาอนาถใจแท ทานไดรับผลแหงมุสาวาทของตนแลว เม่ือตําหนิแลวก็ชวยปลดเทริดดอกไมออกจาก ศีรษะปโุ รหติ พรอ มทง้ั ไดใหโอวาทแกมหาชนและไดก ลับไปยังเทวโลกของตน ชาดกเรอ่ื งนี้ แสดงใหเ หน็ วา คนชวั่ ทก่ี ลา วมสุ าวาท เพราะถกู ความโลภครอบงาํ นั้นสามารถจะกระทําความช่ัวอื่นๆ เพียงเพ่ือใหไดส่ิงที่ตนตองการ โดยไมคํานึงถึงวา ตนมคี ณุ ธรรมเชน นน้ั หรอื ไม วบิ ากกรรมชว่ั นนั้ สง ผลทาํ ใหส ง่ิ ทเ่ี ปน คณุ กลบั เปน โทษได ดงั เชน ดอกไมท พิ ยก ลบั กลายเปน ของแหลมคมทมิ่ แทง และกลายเปน แผน เหลก็ บบี รดั ศีรษะของปโุ รหติ กอใหเ กดิ ทกุ ขเวทนาอยา งแสนสาหสั ๒. ปสณุ วาจา การพูดสอเสยี ด ความเสียหายของปสุณวาจา การพูดสอเสียดยุยงใหผูอื่นเกิดความแตกแยก ไมไววางใจซึ่งกันและกัน ทําใหสงั คมแตกรา วขาดความสามัคคี เปนการทําลายประโยชนสขุ ของหมูคณะ สงั คม และประเทศชาติ ยิ่งไปกวาน้ัน ผลของการพูดสอเสียดที่ทําใหสงฆแตกแยกกัน จดั เปน อนนั ตริยกรรม เปนกรรมหนกั หามสวรรค หา มนิพพาน ปสณุ วาจา การพดู สอเสียด คอื การพดู ยุยงใหผอู น่ื แตกแยกกัน โดยมีความ ประสงค ๒ ประการ คือ ๑. ใหท ัง้ สองฝา ยเกิดเขาใจผิดกนั แตกสามัคคกี ัน ๒. ใหผ อู ื่นรกั ตน และรงั เกียจอกี ฝา ยหน่ึง 290

ÇªÔ ÒÇԹѠ(¡ÃÃÁº¶) 291 หลกั วนิ ิจฉยั การพูดสอเสียดที่สําเร็จเปนปสุณวาจา ถึงความเปนอกุศลกรรมบถ มอี งค ๔ คือ ๑. ภนฺทติ พโฺ พ ปโร คนอื่นท่จี ะพึงถูกทาํ ลาย ๒. เภทปุเรกฺขารตา วา ปยกมฺยตา วา มีจิตคิดจะพูดใหแตกแยกกัน หรือพดู ประสงคจ ะใหเ ขารกั กนั ๓. ตชฺโช วายาโม พยายามพูดออกไป ๔. ตทตถฺ วชิ านนํ ผูฟ ง เขา ใจเนอื้ ความนน้ั ถาขาดองคใดองคหนึ่ง กรรมบถไมขาดและโทษจะเบาลง โทษของปส ณุ วาจา ปส ณุ วาจาจะมโี ทษมากหรือนอย ขน้ึ อยูกับเหตดุ ังตอ ไปน้ี ๑. คุณ ผูถูกทําใหแตกแยกมีคุณมากก็มีโทษมาก ผูถูกทําใหแตกแยก มคี ณุ นอยก็มีโทษนอย ๒. ความแตกแยก ถา พดู แลว เขาแตกแยกกนั กม็ โี ทษมาก ถา ไมแ ตกแยกกนั กม็ ีโทษนอย ๓. กเิ ลส ถาผูพดู มีกิเลสแรงกลา กม็ ีโทษมาก ถา มีกเิ ลสออ นกม็ ีโทษนอ ย ในอรรถกถาอฏั ฐกนิบาต อังคตุ ตรนกิ าย ไดกลาวกรรมวบิ ากของผปู ระพฤติ ปส ุณวาจา ดังน้ี ๑. ยอ มเกดิ ในนรก ๒. ยอ มเกดิ ในกําเนิดสตั วเ ดรจั ฉาน ๓. ยอมเกิดในกําเนดิ เปรตวสิ ยั ๔. โทษเบาทส่ี ดุ หากเกิดเปนมนุษย ยอมทาํ ใหเ กิดความแตกแยกจากมติ ร คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 291

292 ¤‹ÙÁÍ× ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒªé¹Ñ àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก ตวั อยางโทษของปสณุ วาจา เรื่อง วัสสการพราหมณ พระเจาอชาตศัตรู ทรงครองแควนมคธ มีกรุงราชคฤหเปนเมืองหลวง ตองการขยายอาณาจักรไปยังแควนวัชชีอันมีพวกกษัตริยลัจฉวีปกครอง แตพระองค ทรงทราบวา กษตั รยิ ล จิ ฉวที กุ องคล ว นทรงมนั่ อยใู นธรรมทเ่ี รยี กวา “อปรหิ านยิ ธรรม ๗” คือ ธรรมอันเปนไปเพื่อเหตุแหงความเจริญ พระองคจึงวางแผนใหวัสสการพราหมณ ท่ีเปนอํามาตยคนสนิทไปเปนไสศึก วัสสการพราหมณทําเหมือนไดรับพระราชอาญา ดวยทุกขเวทนาแสนสาหัสถึงกับสลบ แลวถูกเนรเทศออกจากแควนมคธก็เดินทาง มงุ ตรงไปเมอื งเวสาลี กษตั รยิ ล จิ ฉวที รงตงั้ ใหเ ปน ครสู อนศลิ ปวทิ ยาแกบ รรดาราชกมุ าร วัสสการพราหมณปฏิบัติหนาท่ีดวยความเต็มใจและเอาใจใส เปนท่ีไววางพระทัยใน หมกู ษตั รยิ ล ิจฉวี หลังจากนั้น วัสสการพราหมณจึงไดดําเนินอุบายเพื่อทําลายความพรอม เพรยี งและความสามคั คกี นั ของกษตั รยิ ล จิ ฉวี โดยวสั สการพราหมณค อยยแุ หยส ง เสรมิ เหตแุ หง การทะเลาะววิ าทใหบ งั เกดิ ขนึ้ ในหมรู าชกมุ ารอยเู นอื งนติ ย จนกระทง่ั ราชกมุ าร ทุกพระองคแตกสามัคคีเปนเหตุใหวิวาทกัน ความแตกราวก็ลามไปถึงบรรดาพระราช บดิ าผซู งึ่ เชอื่ ถอ ยคาํ โอรสของตน หลงั จากเวลาผา นไป ๓ ป ความสามคั คกี ถ็ กู ทาํ ลายสน้ิ วัสสการพราหมณจึงใหคนลอบไปกราบทูลพระเจา อชาตศัตรู พระเจาอชาตศัตรูก็กรีฑาทัพสูเมืองเวสาลี เมื่อพวกชาวเมืองเวสาลีตกใจ กลัวภัย มุขมนตรีจึงไดตีกลองใหบรรดากษัตริยลิจฉวีมาประชุมเพ่ือยกทัพมาตอสู ขาศึก แตเหลากษัตริยลิจฉวีไมมีผูใดเขาท่ีประชุมแมแตคนเดียว อีกทั้งประตูเมืองก็ ไมม ใี ครสงั่ ใหป ด พระเจา อชาตศตั รจู งึ สามารถยดึ ครองเมอื งเวสาลีไดโดยงาย ปสุณวาจานี้ นอกจากเปนโทษแกผูพูดแลว ยังสงผลใหผูรับฟงเกิดความ แตกแยกจนถงึ เสียบา นเสียเมอื ง ดังที่ กษตั รยิ ล ิจฉวีเสียเมอื งใหแกพ ระเจา อชาตศตั รู เปน ตน 292

ÇÔªÒÇԹѠ(¡ÃÃÁº¶) 293 ๓. ผรสุ วาจา การพดู คําหยาบ ความเสยี หายของผรุสวาจา การพูดคําหยาบหรือคําดา ยอมกอใหเกิดความเจ็บชํ้าน้ําใจแกผูฟง เปน เหตใุ หกอ เวรผกู พยาบาท ถึงข้ันประหตั ประหารชีวติ กันได ทาํ ใหผ ูฟง เกดิ ความทอแท ขาดกําลงั ใจสง ผลใหส ญู เสียประโยชนทจี่ ะพงึ ไดร บั คําวา ผรุสา หมายถึง เจตนาแผไปเผาพลาญจิตของผูฟง ผรุสวาจา จึงหมายถึง การพูดท่ีมีเจตนามุงทําลายแผไปเผาผลาญจิตใจของผูฟง เกิดจากความ พยายามทางกายและทางวาจา อันเปนเหตุทําลายไมตรีของผูอ่ืน และอีกนัยหนึ่ง ผรสุ วาจา แปลวา คาํ หยาบ หมายถึง คาํ ดา คาํ รนุ แรง คาํ กระดา ง ผรุสวาจานั้น ข้ึนอยูกับเจตนาท่ีมุงประทุษรายและพูดตอหนาจึงจัดเปน อกุศลกรรมบถ สวนคําดาที่พูดดวยเจตนาดี เหมือนบิดามารดา และครูอาจารย พดู ดดุ า บุตร ธิดา และศษิ ย เปน ตน เพอื่ คณุ ความดี ไมจัดเปน ผรุสวาจา ไมถ ึงความ เปน อกุศลกรรมบถ การพูดทีม่ จี ิตออนโยน แมจ ะเปนคาํ ดา ก็ไมชอื่ วาเปนผรสุ วาจา ดังตัวอยา ง เรื่องปากรา ยใจดี ความวา เด็กคนหนง่ึ ไมเชื่อฟง คําของมารดาเขาไปในปา มารดาเม่อื ไมส ามารถจะหามไดจ งึ พูดวา “ขอแมกระบอื ดุ จงไลต ามมนั ” คร้นั เดก็ เขา ไปในปา แม กระบือไดปรากฏตัวอยางท่ีมารดาพูดไว เด็กไดทําสัจจกิริยาวา มารดาของขาพูดเร่ือง ใดดว ยปาก ขอเรือ่ งนัน้ จงอยามี มารดาคดิ เร่อื งใดดว ยจติ ขอเร่ืองนน้ั จงม”ี แมก ระบอื ไดห ยดุ เหมอื นถูกผกู อยูก ับที่ เร่อื งนี้แสดงใหเ ห็นวา มารดาพดู อยางน้ันก็จรงิ แตไมม ี เจตนารา ย จึงไมเ ปน ผรสุ วาจา สว นการพูดทมี่ ีจติ หยาบ มีเจตนาประสงคร าย แมจะเปนคาํ พดู ท่ีออ นหวาน ก็ช่ือวาเปนผรุสวาจา เชน คําพูดท่ีประสงคจะใหฆาคนอื่นดวยคําวา “ทานท้ังหลายจง ใหคนนน้ี อนเปน สุขเถดิ ” คําพูดเชนน้ี จดั เปน ผรสุ วาจาโดยแท หลักวนิ ิจฉัย การพูดคําหยาบ ที่จะสําเร็จเปนผรุสวาจา ถึงความเปนอกุศลกรรมบถ มอี งค ๓ คอื คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 293

294 ¤‹ÁÙ Í× ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒª¹Ñé àÍ¡ ๑. อกฺโกสิตพโฺ พ ปโร คนอ่ืนท่ีจะตองถูกดา ๒. กุปตจิตฺตํ จิตโกรธ ๓. อกโฺ กสนา พูดดา ออกไป บรรดาองค ๓ ประการน้ี คาํ วา จติ โกรธ ทานมุงหมายถึงจิตโกรธดวยความ ประสงคใ นการดา ไมไ ดม ุงหมายถงึ จติ โกรธดวยประสงคจ ะใหตาย เพราะเมอ่ื จติ โกรธ ดวยความประสงคจ ะใหตาย ยอ มเปน พยาบาท อักโกสวัตถุ พระสุตตันตปฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค ไดกลาวถึงเร่ืองสําหรับใชดา เรียกวา อักโกสวัตถุ มี ๑๐ อยาง คือ เจาเปนโจร เจาเปนคนพาล เจาเปนคนหลง เจาเปน อฐู เจาเปนโค เจาเปน ลา เจา เปนสตั วน รก เจาเปนสตั วเดรจั ฉาน เจา ไมม ีสคุ ติ เจา หวงั แตทุคติ ดงั เรอื่ งพระนางมาคนั ธิยาท่ใี ชใหคนไปดาบรภิ าษพระพทุ ธเจาความวา ครง้ั หนง่ึ พระผมู พี ระภาคเจา ประทบั อยู ณ โฆสติ าราม เมอื งโกสมั พี พระนางมา คนั ธิยา ผเู ปน มเหสีของพระเจาอเุ ทน ไดผ ูกโกรธพระผูมีพระภาคเจาจงึ ไดจ า งชาวเมือง ใหไปดาพระผูมีพระภาคเจา ชาวเมืองผูเปนมิจฉาทิฏฐิไมเลื่อมใสในพระรัตนตรัย ได ตดิ ตามพระผมู พี ระภาคเจา ผเู สดจ็ เขา ไปภายในพระนครดา บรภิ าษดว ยอกั โกสวตั ถุ ๑๐ อยา งวา “เจาเปนโจร เจาเปนคนพาล เจาเปน คนหลง เจาเปนอฐู เจาเปนโค เจาเปนลา เจาเปน สัตวนรก เจาเปนสัตวเดรัจฉาน เจา ไมม ีสคุ ติ เจา หวังแตท คุ ติไดอ ยา งเดียว” พระอานนทฟ งคาํ น้ันแลว ไดก ราบทูลพระศาสดาใหเ สดจ็ ไปเมืองอนื่ พระผูม ี พระภาคเจา ตรสั วา “อานนท การทําอยางนีไ้ มค วร อธกิ รณเ กิดขน้ึ ในทใี่ ด เมอื่ อธกิ รณ นนั้ สงบระงบั แลว ในทน่ี นั้ แล จงึ ควรไปในทอี่ น่ื ” และตรสั วา “อานนท เราเปน เชน กบั ชา ง ตวั กา วลงสสู งคราม กก็ ารอดทนตอ ลกู ศรอนั มาจาก ๔ ทศิ ยอ มเปน ภาระของชา งซงึ่ กา ว ลงสูสงคราม ฉนั ใด ชือ่ วา การอดทนตอถอ ยคาํ อันคนทุศีลเปนอันมากกลาวแลว ก็เปน ภาระของเรา ฉันน้ันเหมือนกนั ” พระผูมีพระภาคเจาตรัสวา “อานนท เธออยาคิดไปเลย พวกน้ันจักดาได ไมเกนิ ๗ วนั เร่ืองกจ็ ะสงบไปเอง เพราะวา อธิกรณท เี่ กิดข้นึ แกพ ระพุทธเจาทงั้ หลาย ยอมไมเ กนิ ๗ วนั ” คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก 294

ÇªÔ ÒÇÔ¹ÂÑ (¡ÃÃÁº¶) 295 โทษของผรุสวาจา ผรสุ วาจาจะมีโทษมากหรอื นอ ย ขนึ้ อยกู ับเหตุ ๓ ประการ คอื ๑. ผรุสวาจานัน้ ถึงความเปนกรรมบถ คือประกอบดว ยองค ๓ มีโทษมาก ไมครบองคมีโทษนอ ย ๒. คนทีถ่ ูกดา มคี ณุ ธรรมมากก็มีโทษมาก มคี ุณนอ ยกม็ ีโทษนอย ๓. ผพู ูดมกี ิเลสแรงกลามโี ทษมาก มีกเิ ลสนอยกม็ โี ทษนอย ในอรรถกถาอฏั ฐกนบิ าต อังคตุ ตรนิกาย ไดก ลาวกรรมวบิ ากของผูประพฤติ ผรสุ วาจา ดงั นี้ ๑. ยอมเกิดในนรก ๒. ยอมเกดิ ในกาํ เนิดสัตวเดรัจฉาน ๓. ยอ มเกิดในกําเนิดเปรตวสิ ยั ๔. โทษเบาที่สดุ หากเกดิ เปน มนุษย จะไดฟงเสยี งไมนาพอใจ ตัวอยางโทษของผรสุ วาจา เรื่อง โคนนั ทิวิสาล ในสมยั ของพระเจา คนั ธาระครองเมอื งตกั กศลิ า แควน คนั ธาระ พระโพธสิ ตั ว เกิดเปนโคนามวา นันทิวิสาล เปนโคมีรูปรางสวยงาม มีพละกําลังมาก มีพราหมณ คนหนง่ึ ไดเ ลย้ี งและรกั โคนนั้ เหมอื นลกู ชาย โคนน้ั คดิ จะตอบแทนบญุ คณุ การเลยี้ งดขู อง พราหมณ ในวนั หนึง่ ไดพ ูดกะพราหมณว า “พอ จงไปทาพนันกับโควินทกเศรษฐีวา โคของเราสามารถลากเกวียนหน่ึง รอยเลมทผี่ ูกตดิ กนั ใหเ คลือ่ นไหวได พนนั ดว ยเงนิ หนึ่งกหาปณะเถิด” พราหมณไดไ ปทบี่ านเศรษฐีและตกลงกนั ตามนัน้ นัดเดมิ พนั กนั ในวนั รงุ ข้ึน ในวันเดิมพัน พราหมณไดเ ทียมโคนนั ทิวสิ าลเขา ที่เกวยี นเลม แรก เพ่ือลากเกวียนหน่ึง รอ ยเลม ผกู ติดกันซง่ึ บรรทุกทราย กรวดและหินเต็มลําเกวียน แลว ขนึ้ ไปน่ังบนเกวียน เงอื้ ปฏกั ข้นึ พรอ มกบั ตวาดวา “ไอโคโกง โคโง เจา จงลากเกวียนไปเดย๋ี วน”้ี ฝายโคนันทิวิสาล เม่ือไดยินพราหมณพูดเชนนั้น ก็นอยใจวา “พราหมณ เรียกเราผไู มโ กงวาโกง ผูไมโงวาโง” จงึ ยืนน่ิงไมเ คล่ือนไหว โควินทกเศรษฐีจึงเรียกให คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 295

296 ¤Ù‹Á×͸ÃÃÁÈÖ¡ÉҪѹé àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก พราหมณนําเงินหนึ่งพันกหาปณะมาใหแลวกลับบานไป ฝายพราหมณผูแพพนันเงิน หน่ึงพันกหาปณะปลดโคแลวก็เขาไปนอนเศราโศกเสียใจอยูในบาน สวนโคนันทิวิสาล เหน็ พราหมณเศราโศกเสียใจเชนนัน้ จงึ เขา ไปปลอบและกลาววา “พอ ฉนั อยใู นเรอื นของทา นมาตลอด เคยทาํ ภาชนะอะไรแตกไหม เคยเหยยี บ ใครๆ เคยถา ยอจุ จาระ ปสสาวะในที่อนั ไมควรหรือไม เพราะเหตใุ ด ทานจึงเรยี กเราวา โคโกง โคโง ครง้ั น้ี เปนความผิดของทานเอง ไมใชค วามผดิ ของฉนั บัดนี้ ขอใหทาน ไปเดมิ พนั กบั โควินทกเศรษฐีใหมด วยเงินสองพนั กหาปณะ ขออยา งเดยี ว ทา นอยา ได เรียกฉันวา โคโกง โคโง ทา นจะไดทรัพยตามที่ทานปรารถนา ฉนั จะไมท ําใหท านตอง ผดิ หวังเสียใจ” พราหมณไ ดท าํ ตามทโี่ คนนั ทวิ สิ าลบอก ในวนั เดมิ พนั พราหมณจ งึ พดู หวานวา “นนั ทิวิสาลลกู รัก เจา จงลากเกวยี นท้งั หน่งึ รอยเลมน้ําไปเถดิ ” โคนันทิวิสาลไดลากเกวียนรอยเลมท่ีผูกติดกัน ดวยการออกแรงลากเพียง คร้งั เดยี วเทา น้นั ทําใหเ กวยี นเลมสุดทา ยไปต้งั อยทู ่เี กวียนเลม แรกอยู ทําใหพราหมณ ชนะพนนั ดว ยเงนิ สองพนั กหาปณะ พระพทุ ธองค เมอื่ นาํ อดตี นทิ านมาสาธกแลว ตรสั วา “ภิกษุท้ังหลาย ชื่อวา คําหยาบ ไมเปนที่ชอบใจของใครๆ แมกระทั้งสัตว เดรัจฉาน” แลว ไดต รัสพระคาถาวา “บุคคลควรพดู แตค ําทีน่ าพอใจเทา นนั้ ไมค วรพดู คําทไ่ี มนา พอใจในกาลใด เมื่อพราหมณพ ูดคําทีน่ า พอใจ โคนันทวิ สิ าลไดลากสัมภาระ อันหนักได ท้ังยังทําใหพราหมณผูนั้นไดทรัพยอีกดวย สวนตนเองก็เปนผูปล้ืมใจ เพราะการชวยเหลอื น้ันดว ย” ๔. สมั ผัปปลาปะ การพูดเพอ เจอ ความเสียหายของสมั ผปั ปลาปะ คาํ พดู เพอ เจอ เปน คาํ พดู ทไ่ี รส าระ ไมเ ปน ประโยชนแ กท ง้ั ๒ ฝา ย คอื ทง้ั ผพู ดู และผูฟง ทําใหเสยี เวลาไปโดยเปลา ประโยชน ผพู ูดก็ไมมีใครเชอื่ ถอื ถอยคํา ผฟู งก็ไม ไดประโยชนอ ะไร สัมผัปปลาปะ หมายถึง อกุศลกรรมบถท่ีพยายามแสดงออกทางกายและ วาจาใหผอู ื่นรูเ รื่องทม่ี ปี ระโยชน 296

ÇªÔ ÒÇÔ¹ÂÑ (¡ÃÃÁº¶) 297 สมั ผปั ปลาปะ เปน ถอ ยคาํ ทไี่ รส าระ ปราศจากอรรถ ธรรม และวนิ ยั ทาํ ใหค นอน่ื หลงเช่ือวาเปนเรื่องที่มีสาระ จัดเปนอกุศลกรรมบถ สวนถอยคําที่เปนติรัจฉานกถา ไดแ ก เรื่องราวทไี่ มควรนาํ มาถกเถียงสนทนากนั เชน เร่อื งการนาํ นางสีดามา และมหา ภารตยุทธ เปน ตน เพราะทําใหเ กดิ ความฟงุ ซานและเสียเวลา แมจ ะจัดอยูในประเภท สัมผัปปลาปะ แตกเ็ ปนเพยี งกรรมเทาน้นั ไมเ ปนอกุศลกรรมบถ สมั ผปั ปลาปะ ตา งจากมสุ าวาท คือ มสุ าวาทนนั้ ผูพูดมีเจตนามุงจะใหค นอน่ื เชอื่ ในเรือ่ งท่ีไมจ ริงวาจรงิ เรื่องจรงิ วา ไมจ ริง สวนสัมผปั ปลาปะ ผูพ ูดมีเจตนาทม่ี ุง ให คนอื่นเชอื่ ในเรือ่ งท่ีไรส าระวาเปนเรอ่ื งทมี่ ีสาระ หลกั วินิจฉัย การพูดเพอเจอ ท่ีสําเร็จเปนสัมผัปปลาปะถุงความเปนอกุศลกรรมบถ มอี งค ๒ คือ ๑.นิรตฺถกกถาปุเรกขฺ ารตา ความเปน ผมู จี ติ มงุ จะพดู เร่อื งเพอเจอ ๒.ตถารูปยกถากถนํ พูดเรือ่ งเชน นั้นออกไป การพูดเพอเจอน้ัน เมื่อผูอ่ืนเชื่อถือเรื่องนั้นเปนอกุศลกรรมบถ ถาผูอ่ืน ไมเช่อื ถือไมเปน อกุศลกรรมบถ โทษของสัมผัปปลาปะ สัมผปั ปลาปะ จะมีโทษมากหรือนอ ย ขึน้ อยกู ับเหตุ ๓ ประการ คือ ๑. ผูพูดมีอาเสวนะ คือความเสพคนุ ไดแก พูดบอยๆ จนชินปากมโี ทษมาก มีอาเสวนะนอ ยมีโทษนอย ๒. ผฟู ง เช่อื วา เปน เร่ืองจริงมโี ทษมาก ถาไมเช่อื มีโทษนอย ๓. ผูพูดมีกิเลสแรงกลา คือ พูดดวยอํานาจกิเลสมีโทษมาก มีกิเลสออนมี โทษนอ ย ในอรรถกถาอัฏฐกนบิ าต องั คตุ ตรนกิ าย ไดกลา วกรรมวิบากของผปู ระพฤติ สัมผปั ปลาปะ ดังนี้ ๑. ยอมเกดิ ในนรก ๒. ยอมเกดิ ในกาํ เนดิ สตั วเ ดรัจฉาน คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 297

298 ¤Ù‹ÁÍ× ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒª¹éÑ àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก ๓. ยอ มเกิดในกําเนิดเปรตวิสยั ๔. โทษเบาทสี่ ุด หากเกดิ เปน มนุษย ไมม ใี ครเช่อื ถอื ถอ ยคาํ ตวั อยางโทษของสัมผัปปลาปะ เร่อื ง บุรุษเปลย้ี ในอดีตกาล ในกรงุ พาราณสี บรุ ษุ เปลย้ี คนหน่ึงมีความชาํ นาญในศลิ ปะการ ดดี กอ นกรวด สามารถดดี กอ นกรวดใสใ บไมท าํ เปน รปู สตั วต า งๆ ได บรุ ษุ เปลย้ี นน้ั ชอบ มานงั่ ใตต น ไทรยอ ยใกลป ระตพู ระนคร เปน ประจาํ พวกเดก็ ๆ ชาวบา นพากนั มาใหบ รุ ษุ เปลยี้ ดดี กอ นกรวดไปเจาะใบไทรทาํ เปน รปู ชา ง รปู มา เปน ตน บรุ ษุ เปลย้ี กท็ าํ ตามความ ตอ งการของพวกเดก็ ๆ พวกเดก็ ๆ กต็ อบแทนดว ยของกนิ และของขบเคยี้ วเปน ตน อยมู า วนั หนง่ึ พระราชาเสดจ็ ไปสูพระราชอุทยานเสด็จไปถึงท่ีนัน้ พวกเดก็ ๆ ไดนาํ บุรษุ เปลยี้ ไปหลบซอ นไวใ นระหวา งยา นไทรแลว พากนั หนไี ป เมอื่ พระราชาเสดจ็ เขา ไปสโู คนตน ไม ในเวลาเท่ยี งตรงเงาของชอ งสอ งตอ งพระสรรี ะ พระองคฉงนพระทัย ทรงตรวจดา นบน ไดท อดพระเนตรเหน็ รปู ชา ง รปู มา เปน ตน ทใ่ี บไมท ง้ั หลาย ทรงทราบวา บรุ ษุ เปลยี้ ทาํ ไว จงึ รบั สง่ั ใหน าํ บรุ ษุ เปลย้ี นน้ั มาเฝา แลว ตรสั วา “ปโุ รหติ ของเราพดู มากนกั เมอื่ เราพดู เพยี ง นดิ หนอ ย กพ็ ดู มากเกนิ จนเราราญ เจา สามารถดดี มลู แพะประมาณทะนานหนง่ึ เขา ปาก ของปโุ รหิตนนั้ ไดห รือไมบ ุรุษเปลย้ี กราบทลู วา “ไดพระเจาขา ขอพระองคจ งใหค นนํา มลู แพะมาแลว ประทับน่งั ภายในมา นกบั ปุโรหิต ขา พระองคจ ักทาํ ตามพระประสงค” พระราชาไดทรงรับสั่งใหทําอยางนั้นแลว บุรุษเปลี้ยใหเจาะชองไวท่ีมาน เม่ือปุโรหิตพูดกับพระราชาพออาปากก็ดีดมูลแพะไปทีละกอนๆ ปุโรหิตกลืนมูล แพะท่ีเขาปากแลวก็พูดตอเม่ือมูลแพะหมดบุรุษเปล้ียจึงส่ันมาน พระราชาทรงทราบ จงึ ตรสั กบั ปโุ รหติ วา “อาจารย เราพดู กบั ทา นจาํ คาํ พดู ไมไ ดเ ลย ทา นแมก ลนื กนิ มลู แพะ ประมาณทะนานหนึ่งแลวก็ยังไมหยุดพูดเพราะทานพูดมากเกินไป” พราหมณไดเปน ผูเกอ ตั้งแตน้ันมาก็ไมกลาอาปากเจรจากับพระราชาได พระราชารับสั่งใหเรียกบุรุษ เปล้ียมาแลวตรัสวา “เราไดความสุขก็เพราะเจา” ทรงพอพระทัยจึงพระราชทานวัตถุ สิ่งของใหจํานวนมาก พรอมท้ังไดพระราชทานบานสวย ๔ ตําบลซึ่งต้ังอยูในทิศทั้ง ๔ แหง พระนครแกบรุ ษุ เปล้ยี 298

ÇÔªÒÇÔ¹ÂÑ (¡ÃÃÁº¶) 299 วจีกรรมแสดงออกได ๒ ทาง วจีกรรม ๔ อยาง คือ มุสาวาท การพูดเท็จ ปสุณวาจา การพูดสอเสียด ผรุสวาจา การพูดคาํ หยาบ และสมั ผปั ปลาปะ การพูดเพอเจอ แสดงออกได ๒ ทาง คือ ๑. ทางกาย เรียกวา กายประโยค หมายถึง การแสดงกิริยาทาทางเพื่อให อีกฝายรูความหมายของตนเปนกิริยาที่กระทําผานทางกาย เชน โบกมือ ผงกศีรษะ เขียนหนงั สอื เปนตน จดั เปน วจกี รรมท่ีเปน ไปทางกายทวาร ๒. ทางวาจา เรียกวา วจีประโยค หมายถึง การพูดออกมาเปนถอยคํา จัดเปนวจีกรรมทเ่ี ปนไปทางวจีทวาร มโนกรรม ๓ มโนกรรม หมายถึง การกระทาํ ทางใจ คือ ทํากรรมดวยการคิด ไมวา จะคิด ทําช่ัวหรอื คดิ ทาํ ดี มโนกรรมฝายอกุศล คือการคิดทําช่ัว มี ๓ อยาง ไดแก อภิชฌา การเพง เลง็ อยากไดของผูอ ่ืน พยาบาท การคิดปองรา ยผูอ่ืน และมจิ ฉาทฏิ ฐิ การเหน็ ผิดจากคลองธรรม ๑.อภิชฌา การเพงเลง็ อยากไดข องผูอ ่ืน ความเสยี หายของอภชิ ฌา การเพงเล็งอยากไดของผูอ่ืน คือ การมีเจตนาเปนเหตุใหละโมบ อยากได ของของผอู น่ื เปน สาเหตุสําคญั ท่ีนาํ ไปสูอ ทนิ นาทาน มีการลักขโมย การปลน เปนตน เปน การทาํ ลายคณุ ธรรมภายในตน เชน ทาํ ใหจ ติ ไมต ั้งม่นั ไมเปนสมาธิ เปน ตน อภชิ ฌา แปลวา การเพง เลง็ อยากไดข องผอู ่ืนมาเปนของตน ดว ยเจตนาเปน เหตลุ ะโมบคดิ อยากไดท รพั ยของผอู ื่นมาเปน ของตน โดยองคธ รรม ไดแ ก โลภเจตสิก โลภะมี ๒ อยาง คอื ๑.ธัมมิยโลภะ ความโลภอยากไดประกอบดวยธรรม เม่ือเกิดความอยาก ไดส ่งิ ตางๆ กเ็ สาะแสวงหามาโดยสุจริต ไมผ ิดศลี ธรรม เชน การซ้อื ขาย แลกเปลยี่ น หรือ การขอ เปน ตน คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 299

300 ¤‹ÙÁÍ× ¸ÃÃÁÈ¡Ö ÉÒª¹éÑ àÍ¡ ๒. อธมั มยิ โลภะ ความอยากไดไ มป ระกอบดว ยธรรม เมอ่ื เกดิ ความอยากได กค็ ดิ หาทางทจี่ ะขโมย ฉอ โกง จ้ี ปลน หรอื ใชก ลวธิ ตี า งๆ เพอื่ ทจี่ ะใหไ ดม าซง่ึ สง่ิ เหลา นน้ั ในทางมชิ อบ หลักวนิ ิจฉัย การเพงเล็งอยากไดของผูอ่ืนท่ีจะสําเร็จเปนอภิชฌา ถึงความเปนอกุศล กรรมบถมอี งค ๒ คือ ๑. ปรภณฑฺ ํ ส่งิ ของของผูอนื่ ๒. อตฺตโน ปริฌามนํ การนอ มมาเพอ่ื เปนของตน คําวา ส่ิงของของผูอ่ืน หมายถึง อวิญญาณกทรัพย เชน ท่ีดิน บานเรือน แกว แหวน เงนิ ทอง และสวิญญาณกทรพั ย เชน สตั วเลีย้ งตาง ๆ รวมทงั้ มนุษยหญงิ ชาย ท่ีมีเจาของ หรอื คูหมั้นคูหมายทจ่ี องตวั ไวแ ลว สวนคนอืน่ นอกจากท่ีไมมเี จา ของ หรือผูจองตวั ไมจัดวาเปน สง่ิ ของของผอู น่ื คาํ วา “ การนอ มมาเพ่อื เปนของของตน” ในฎกี าสงั คีติสตู รกลาววา “การนอ ม เขามาเพอื่ เปนของของตน มีไดดวยจติ เทา น้นั ” เจตนาเปนเหตุละโมบ ในเม่ือเห็นสิ่งของของผูอื่นแลว เพงเล็งโดยนอม เขามาหาตนวาทําอยางไรหนอ ของน้ีจะพึงเปนของเรา ช่ือวา อภิชฌา ที่ถึงความ เปนอกุศลกรรมบถ แตถาเห็นสมบัติของคนอื่นแลว ไมคิดเอามาเปนของตน เพียง แตยินดีวา ผูใชสอยสมบัติเชนนี้มีบุญหนอ เราควรไดใชสอยสักชั่วคราว หรือวาเรา ควรไดรับของเชนนี้บาง การคิดอยางน้ีเปนเพียงกรรมเทาน้ัน ไมเปนอกุศลกรรมบถ ดังคําของพระอรรถกถาจารยที่วา “แมความโลภจะเกิดในสมบัติของผูอื่นก็ยังไมจัด เปนอกศุ ลกรรมบถ ตลอดเวลาทยี่ งั ไมนอ มเขามาเปน ของตนวา ไฉนหนอของนีพ้ งึ เปน ของเรา” โทษของอภชิ ฌา อภิชฌาจะมโี ทษมากหรอื นอย ขึ้นอยูกบั เหตุ ๓ ประการ คอื ๑. ส่งิ ของทเ่ี พง เลง็ มีคา มากกม็ โี ทษมาก มีคานอยกม็ โี ทษานอ ย ๒. เจา ของสง่ิ ของมคี ุณมากก็มโี ทษมาก มคี ุณนอ ยกม็ ีโทษนอ ย ๓. ผูเ พงเลง็ มกี เิ ลสแรงกลา ก็มโี ทษมาก มกี ิเลสนอ ยก็มโี ทษนอย คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก 300

ÇÔªÒÇÔ¹ÂÑ (¡ÃÃÁº¶) 301 ตัวอยา งโทษของอภชิ ฌา เรือ่ ง นายภัตตภติกะ มเี ศรษฐคี นหนงึ่ ไดร บั มรดกหลงั จากบดิ ามารดาถงึ แกก รรม ผรู กั ษาเรอื นคลงั ของเศรษฐนี นั้ ไดเ ปด หอ งสาํ หรบั เกบ็ ทรพั ยแ ลว แจง จาํ นวนทรพั ยใ หท ราบวา ทรพั ยข อง บรรพบรุ ษุ มปี ู เปน ตน มจี าํ นวนเทา น้ี ของบดิ ามจี าํ นวนเทา น้ี เศรษฐี ดทู รพั ยเ หลา นน้ั แลว ถามวา ทําไมบรรพบุรุษของเราจึงไมเอาทรัพยเหลาน้ีไปดวย ผูรักษาเรือนคลังบอกวา เจานาย ไมม ใี ครถอื เอาทรพั ยไปปรโลกไดห รอก สตั วทั้งหลาย พาเอาไปไดแ ตบุญกบั บาปที่ตนทําไวเทา น้นั เศรษฐคี ดิ วา บรรพบรุ ษุ ของเรา สะสมทรพั ยส นิ เงนิ ทองเอาไวม ากมายมหาศาล ท่ีสุดก็เอาไวใหคนอ่ืน เพราะความโงแทๆ สวนเราจะเอาทรัพยสินเงินทองเหลาน้ันไป ใหหมด จึงสั่งใหสรางคฤหาสนหรูหราราคาแพง สรางรานสําหรับรับประทานอาหาร เพื่อประกาศความร่ํารวย ใหชาวเมืองไดเห็นการรับประทานอาหารแตละม้ือที่ตองใช จายทรัพยมาก มีท้ังอาหาร หญิงสาวมาคอยปรนนิบัติขับกลอม โดยเฉพาะวันเพ็ญ ไดจ า ยทรพั ย เปน จาํ นวนมาก เพอื่ เปน คา อาหาร จา งคนไปประกาศใหช าวเมอื งมาดกู าร รบั ประทานอาหารของตน ประชาชนไดพ ากันมาดูเปน จาํ นวนมาก ในที่น้นั มีคนยากจน ๒ คนเปนเพือ่ นกนั คนหนง่ึ อยใู นเมืองคนหน่ึงอยูนอก เมอื ง มอี าชพี หาฟน ขาย พอเศรษฐเี ปด ภาชนะบรรจอุ าหาร กลนิ่ ของอาหาร หอมฟงุ ตลบ ไปทว่ั คนหาฟน เกดิ ความอยากทจี่ ะรบั ประทานอาหารนนั้ อดใจไมอ ยู เพราะตงั้ แตเ กดิ มา อยาวาแตไดรับประทานเลย แมแตกลิ่นอยางน้ี ก็ไมเคยไดรับ จึงบอกแกเพ่ือนวา เพื่อนเอย เราอยากกินอาหารนั้นเหลือเกิน เพื่อนจึงตอบวา อยาปรารถนาเลยเพ่ือน เราทาํ งานตลอดชวี ติ กไ็ มม โี อกาสไดล ม้ิ รสอาหารอยา งน้ี เขาขอรอ งวา เพอื่ นเอย ถา ไมไ ด กินอาหารน้ีตองตายแน เม่ือไมสามารถหามไดจึงตะโกนดวยเสียงอันดังวา นายครับ ผมไหวทาน ขออาหารในถาดใหเพื่อนผมกินสักคําเถิด เศรษฐีตอบวาไมได จึงหันมา ถามเพอ่ื นวา ทา นไดย นิ เศรษฐีพดู ไหม เขาตอบวา ไดย นิ แลว แตย ังยนื ยนั วา ถา ไมได รบั ประทานอาหารนตี้ อ งตายแน เพอื่ นทอ่ี ยใู นเมอื งไดพ ดู กบั เศรษฐวี า ทา นขอรบั เพอ่ื น ของผมบอกวา ถาเขาไมไดอาหาร ชีวิตเขาตองตายแนนอน จึงขอรองเศรษฐีวา ขอทา น โปรดใหช วี ติ เขาดวยเถดิ เศรษฐตี อบวา อาหารน้รี าคาแพงมาก ถาทกุ คนมาอางเหมือน คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 301

302 ¤‹ÁÙ Í× ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒª¹Ñé àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก เพ่ือนของแก จะเอาที่ไหนมาให ถาเพื่อนแกอยากกินอาหารจานนี้จริง ๆ ตองทํางาน ๓ ป เพือ่ แลกขา วจานเดียวน้ี เรอ่ื งน้ี แสดงใหเ หน็ วา อภชิ ฌา ความเพง เลง็ อยากไดอ ยา งรนุ แรงเกดิ ขนึ้ จาก สิ่งลอใจภายนอกกไ็ ด ชาวบานนอกคนน้นั มีชวี ติ อยใู นโลกดวยความอดอยากยากจน มานานแลว เม่อื ไมไดเ ห็นความหรูหรา ไมไดก ล่นิ อาหารดี ก็ไมมปี ญ หาอะไร แตเมื่อได เห็นความหรหู ราและไดก ล่นิ อาหารดีๆ ของเศรษฐจี นเกดิ ความอยากไดอ ยา งรนุ แรงถึง กับเอาชีวติ เขา ไปแลก ๒. พยาบาท การคดิ ปองรายผอู นื่ ความเสียหายของพยาบาท ผคู ดิ ปองรา ยผอู น่ื ชอื่ วา ไดท าํ ลายประโยชนส ขุ ใหพ นิ าศไป เพราะมจี ติ ใจแคน เคืองเกลยี ดชงั ผกู ใจเจ็บ มองโลกในแงราย หงุดหงิด ฉนุ เฉยี ว ไมเหน็ อรรถ ไมเ ห็น ธรรม เปนเหตุนาํ ไปสกู ารทําปาณาติบาต คือการทาํ ลายชวี ติ สัตวใหต กลว งไป พยาบาท หมายถงึ ความคดิ ปองรา ยผอู น่ื ใหไ ดร บั ความพนิ าศ โดยองคธ รรม ไดแก โทสเจตสิก ความพยาบาทเกดิ เพราะความคดิ ๑๐ ประการ คอื ๑. คดิ วา เขาไดทําความพนิ าศแกเ รา ๒. คดิ วาเขากาํ ลงั ทาํ ความพนิ าศแกเรา ๓. คดิ วาเขาจะทาํ ความพนิ าศแกเ รา ๔. คดิ วาเขาไดทาํ ความพนิ าศแกคนทเี่ รารกั และพอใจ ๕. คิดวา เขากําลังทําความพนิ าศแกคนท่ีเรารักและพอใจ ๖. คิดวา เขาจะทําความพินาศแกคนทเ่ี รารักและพอใจ ๗. คดิ วา เขาไดป ระโยชนแ กคนที่ไมเ ปนท่ีรกั ไมเ ปน ทีพ่ อใจของเรา ๘. คดิ วา เขากําลงั ทาํ ประโยชนแกคนท่ีไมเ ปนที่รักไมเปน ท่พี อใจของเรา ๙. คดิ วา เขาจะทาํ ประโยชนแกค นท่ไี มเปนทีร่ กั ไมเ ปนทพ่ี อใจของเรา ๑๐. คดิ พยาบาทโดยไมมีเหตผุ ล 302

ÇÔªÒÇ¹Ô Ñ (¡ÃÃÁº¶) 303 ความคิดท่ีเปนพยาบาทนี้ นอกจากจะทําลายประโยชนสุขของผูอ่ืนแลว ยังทําลายประโยชนสุขของตนดวย ฉะน้ัน จึงควรมีเมตตากรุณา รักใคร ชวยเหลือ ซึง่ กันและกนั เพ่ือใหสงั คมมนุษยอยูรว มกันอยา งสนั ติสุข หลกั วนิ จิ ฉยั การคิดปองรายผูอ่ืน ที่จะสําเร็จเปนพยาบาท ถึงความเปนอกุศลกรรมบถ มอี งค ๒ คอื ๑. ปรสตโฺ ต สตั วอน่ื ๒. ตสฺส วินาสจนิ ตฺ า คิดจะใหส ัตวน้นั ถงึ ความพินาศ ความคิดปองรายของผูมุงจะทํารายชีวิตของสัตวอื่นวา ขอใหสัตวเหลาน้ี จงพนิ าศ จงวบิ ตั ิ ทําอยา งไร สตั วเ หลานจี้ งึ จะพนิ าศ วบิ ตั ิ ไมเ จรญิ รงุ เรอื ง มีชีวิตอยูได ไมน าน ดังนี้ จัดเปน อกุศลกรรมบถ สวนความโกรธทไี่ มคิดรา ยผอู ืน่ เปนเพยี งกรรม เทา นน้ั ดังคําพระอรรถกถาจารยวา แมความโกรธที่เกดิ ข้ึนเพราะมีสตั วอ นื่ เปน ตนเหตุ ไมจ ัดเปนอกุศลกรรมบถ ตราบใดท่ียงั ไมค ิดรายเขาวา ทําอยางไรหนอผูน ี้จะพึงพนิ าศ ตายไปเสีย โทษของพยาบาท พยาบาท จะมีโทษมากหรอื นอ ยขนึ้ อยูกับเหตุ ๒ ประการ คอื ๑. ผทู ี่ถกู ปองรายมคี ุณมากกม็ ีโทษมาก มีคณุ นอยกม็ โี ทษนอ ย ๒. ผูคิดรายมกี เิ ลสรุนแรงก็มโี ทษมาก มกี เิ ลสออ นกม็ โี ทษนอย ตวั อยางโทษของพยาบาท เรือ่ ง อชครเปรต ดังไดสดับมา ในกาลแหงพระพุทธเจาทรงพระนามวากัสสปะ เศรษฐีช่ือวา สุสมัคละ ใหสราง พระคันธกุฎี ปูพื้นดวยแผนอิฐทองคํา ในท่ีประมาณ ๒๐ อุสภะ และใหท าํ การฉลองดว ยทรพั ยป ระมาณเทา นน้ั เหมอื นกนั วนั หนงึ่ ทา นเศรษฐไี ปสสู าํ นกั พระศาสดาแตเ ชา ตรู เหน็ โจรคนหนง่ึ นอนเอาผา กาสาวะคลมุ รา งตลอดถงึ ศรี ษะ ทง้ั ทม่ี ี คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 303

304 ¤‹ÙÁ×͸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒª¹Ñé àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก เทาเปอนโคลนอยูในศาลาหลงั หน่ึงใกลประตพู ระนคร จงึ กลา ววา “เจา คนน้ี มเี ทาเปอน โคลน คงจกั เปน มนษุ ยทเ่ี ทย่ี วเตรใ นเวลากลางคืนแลว มานอน” โจรเปด หนา เหน็ เศรษฐแี ลว คดิ ในใจวา เราจะทาํ กรรมใหส าสมกบั ทเ่ี ศรษฐไี ด กลาววา เรา ไดผกู อาฆาตในเศรษฐีไว ไดเ ผานาของเศรษฐี ๗ คร้ัง ตดั เทา โคทงั้ หลาย ในคอก ๗ ครงั้ เผาเรอื น ๗ ครง้ั ถงึ อยา งนน้ั กย็ งั ไมห ายแคน จงึ เขา ไปทาํ ความสนทิ ชดิ เชอ้ื กบั คนใชของเศรษฐนี ้ันแลวถามวา “อะไรเปน ที่รกั ของเศรษฐีนายของทา น” ไดทราบวา พระคันธกุฎีเปนที่รักย่ิงของเศรษฐี จึงคิดวา เราจะแกแคนใหหายแคนดวยการเผา พระคันธกุฎี เม่ือพระศาสดาเสด็จเขาไปบิณฑบาต จึงทุบหมอน้ําสําหรับดื่ม และ นํ้าสาํ หรบั ใชไดจ ุดไฟท่ี พระคนั ธกฎุ แี ลว เศรษฐีไดทราบวาพระคันธกุฎีถูกไฟไหม จึงเดินทางมาดูเห็นขณะที่ไฟกําลัง ไหมก็มิไดมีความเสียใจเลย แตไดปรบมือเปนการใหญ ขณะน้ันประชาชนยืนอยู ณ ทใี่ กลถามทานเศรษฐวี า “ทําไมทานจึงปรบมอื เมื่อเห็นพระคันธกุฎีท่ีทานสละทรัพย จํานวนมากสรางไวถกู ไฟไหม” เศรษฐีตอบวา “ขาพเจาบริจาคทรัพยประมาณเทานี้ ไดฝงทรัพยไวใน พระศาสนาทไ่ี มส าธารณะแกอ นั ตรายมไี ฟเปน ตน ขา พเจา จงึ มใี จยนิ ดปี รบมอื ดว ยคดิ วา จักไดส ละทรพั ยป ระมาณเทาน้ี สรา งพระคันธกุฎถี วายพระศาสดาใหม” เศรษฐีไดสละทรัพยประมาณเทาน้ัน สรางพระคันธกุฎีอีก ไดถวายแด พระศาสดาซึ่งมีภกิ ษุ ๒ หม่ืนรปู เปนบรวิ าร โจรเหน็ กิรยิ านนั้ แลวจงึ คิดที่จะฆาเศรษฐี ไดซ อนกฤชไวในระหวางผานุง แมเ ดนิ เตรอยูใ นวิหารถงึ ๗ วันก็ไมไ ดโอกาส ฝา ยมหาเศรษฐี ถวายทานแดภ กิ ษสุ งฆมีพระพุทธเจา เปน ประมขุ สิ้น ๗ วัน ถวายบังคมพระศาสดาแลวกราบทูลวา “ขาแตพระองคผูเจริญ บุรุษผูหนึ่งเผานาของ ขาพระองค ๗ คร้งั ตดั เทา โคในคอก ๗ ครง้ั เผาเรอื น ๗ ครง้ั บัดนี้ แมพระคันธกฎุ กี ็ จกั เปน เจาคนน้นั แหละเผา ขาพระองคข อใหสวนบญุ ในทานน้ี แกเ ขากอน” โจรไดย นิ คาํ นนั้ ระทมทกุ ขวา “ เราทํากรรมหนักหนอ ถึงอยางน้นั เศรษฐนี ี้ก็ มไิ ดม แี มเ พยี งความแคน เคอื งในตวั เราผทู าํ ผดิ กลบั ใหส ว นบญุ ในทานนแ้ี กเ รากอ น เรา คดิ ประทษุ รา ยในเศรษฐนี ี้ ไมส มควรเลยแมเ ทวทณั ฑพ งึ ตกลงบนกระหมอ มของเราผไู ม ใหบ รุ ษุ เหน็ ปานนอ้ี ดโทษให” จงึ ไปหมอบลงทใี่ กลเ ทา ของเศรษฐขี อใหเ ศรษฐยี กโทษให 304

ÇÔªÒÇ¹Ô ÂÑ (¡ÃÃÁº¶) 305 เศรษฐีระลึกถึงถอยคําท่ีตนเคยพูดปรารภโจรอดโทษใหแลว กลาวยกโทษ ใหโจรนั้น ในกาลส้ินอายุโจรนั้นไดบังเกิดในอเวจี เสวยทุกขเวทนาสิ้นกาลนาน บัดนี้ ไดเ กดิ เปนอชครเปรต ถูกไฟไหมอยทู ี่เขาคิชฌกฏู ดว ยวิบากแหง กรรมท่ียงั เหลอื พระศาสดาตรัสวา “ภิกษุท้ังหลาย ธรรมดาคนพาลทํากรรมอันลามกอยู ยอมไมรูแตภายหลังเรารอนอยู เพราะกรรมอันตนทําแลว ยอมเปนเชนกับไฟไหมปา ดว ยตนของตนเอง” ความพยาบาทปองราย เปนเหตุนําทุกขภยันตรายมาสูตนและคนอ่ืน ดังกลา วมา ฉะนน้ั จงึ ควรมเี มตตากรุณา ชวยเหลอื ซ่ึงกนั และกนั ดกี วา เพอื่ ใหโ ลกของ เราอยรู วมกันอยางสนั ติสุข และพ่ึงพาอาศยั กันไดตอไป ๓. มจิ ฉาทฏิ ฐิ การเห็นผดิ จากคลองธรรม ความเสยี หายของมิจฉาทฏิ ฐิ บคุ คลผเู ปน มจิ ฉาทฏิ ฐิ ยอ มไมเ หน็ ธรรม สามารถกระทาํ ความชวั่ ไดท กุ อยา ง ถึงข้นั ทําอนันตริยกรรม ซึ่งเปนกรรมหนกั หา มสวรรคห ามนิพพาน มิจฉาทิฏฐิ แปลวา การเห็นผิดจากคลองธรรม เชน เห็นวา ทําดีไดชั้ว ทําช่ัวไดดี บาปไมมี บุญไมมี มารดาบิดาไมมีคุณ เปนตน เจตนาเปนเหตุใหเห็นผิด เพราะไมมีการถือเอาความเปนจริง คัดคานขอประพฤติปฏิบัติของสัตบุรุษท้ังหมด โดยนยั เปนตนวาทานท่ใี หแลว ไมม ผี ล ช่อื วา มจิ ฉาทิฏฐิ มจิ ฉาทิฏฐนิ ้ี มหี ลายประเภท ๒ ประเภทบา ง ๓ ประเภทบา ง ๖๒ ประเภท บาง ดงั น้ี ทิฏฐิ ๒ ๑. สัสสตทิฏฐิ ความเห็นวาเที่ยง ความเห็นวามีอัตตาและโลกซึ่งเท่ียงแท ยงั่ ยืนคงอยตู ลอดไป ๒. อจุ เฉททฏิ ฐิ ความเหน็ วา ขาดสญู ความเหน็ วา มอี ตั ตาและโลกซง่ึ จกั พนิ าศ ขาดสญู หมดส้นิ ไป คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 305

306 ¤‹ÙÁÍ× ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒª¹Ñé àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก ทฏิ ฐิ ๓ ๑. อกริ ยิ ทฏิ ฐิ ความเห็นวาไมเ ปนอันทํา ๒. อเหตุกทฏิ ฐิ ความเหน็ วาไมม เี หตุ ๓. นตั ถกิ ทิฏฐิ ความเหน็ วาไมมี ทิฏฐิ ๖๒ มคี วามเห็นวา ขนั ธ ๕ คอื รปู เวทนา สญั ญา สังขาร วิญญาณ เปนตวั ตน เปน ตน ในมโนทุจริตนี้จะกลาวเฉพาะทิฏฐิ ๓ ประการ ท่ีเรียกวา นิยตมิจฉาทิฏฐิ ซง่ึ เปน ทฏิ ฐทิ มี่ โี ทษรา ยแรง เปน มจิ ฉาทฏิ ฐทิ ด่ี งิ่ ลงไปสอู บุ าย ถงึ ความเปน อกศุ ลกรรมบถ สวนมจิ ฉาทฏิ ฐอิ ยางอนื่ ไมถงึ ความเปนอกุศลกรรมบถ นิยตมิจฉาทฏิ ฐิ ๓ ๑. อกิริยาทิฏฐิ ความเห็นวาไมเปนอันทํา คือ เห็นวากรรมท่ีทําแลวไม เปนอันทําสักวาเปนเพียงกิริยาเทานั้น จะทําความดีหรือความช่ัวก็ไมเห็นอันทําทั้งส้ิน หมายความวาเม่อื คนทาํ บาปมีการฆา สตั ว ลักทรัพย เปนตน กไ็ มจ ดั วา เปน การทําบาป เมอ่ื คนใหทานรกั ษาศีล เปน ตน ก็ไมจ ัดวาเปนการทําบญุ อกริ ยิ ทฏิ ฐดิ งั กลา วมาน้ี ผดิ จากหลกั พระพทุ ธศาสนาทส่ี อนวา การกระทาํ ของ บุคคลนัน้ เมอ่ื มีเจตนาจงใจทาํ ก็จดั เปนกรรม การกระทาํ ชว่ั การกระทาํ ดีก็เปน กรรมดี ๒. อเหตุกทิฏฐิ ความเห็นวาไมมีเหตุ คือ เห็นวาเหตุแหงความเศราหมอง ความบริสุทธ์ขิ องสัตวทง้ั หลายไมมี สัตวท ั้งหลายเศรา หมองเอง บริสุทธิ์ ทกุ ขเอง ไมมี อํานาจ กําลงั หรือเหตุอะไรท่จี ะทําใหสัตวท ั้งหลายเศรา หมอง และบรสิ ุทธิ์ หรอื เห็นวา สตั วท ง้ั หลายทกี่ าํ ลงั ไดร บั ความลาํ บากหรอื สบาย ไมไ ดอ าศยั อะไรเปน เหตใุ หเ กดิ ขนึ้ เลย เปน ไปเองทงั้ น้ัน ๓. นตั ถิกทิฏฐิ ความเห็นวา ไมมี คือ เห็นวาทาํ อะไรก็ตาม ผลทีพ่ งึ ไดรบั น้นั ไมมีความเห็นผิดชนิดน้ีจัดเปนอุจเฉททิฏฐิดวย คือเห็นวา สัตวท้ังหลายตายแลวสูญ ไมม ีการเกิดอกี ในสามัญผลสตู ร แสดงนัตถกิ ทฏิ ฐิไว ๑๐ ประการ คอื ๓.๑ นิตฺถิ ทินนฺ ํ ทานท่ีใหแ ลว ไมมผี ล ๓.๒ นตถฺ ิ ยิฏํ การบชู าไมมีผล 306

ÇÔªÒÇ¹Ô Ñ (¡ÃÃÁº¶) 307 ๓.๓ นตถฺ ิหตุ ํ การเชอ้ื เชญิ ตอนรับไมมีผล ๓.๔ นตฺถิ สุกตทุกฌกฏานํ กมมฺ านํ ผลํ วิปาโก ผลวิบากของกรรมดีและ กรรมชั่วไมมี ๓.๕ นตฺถิ อยํ โลโก โลกน้ไี มม ี ๓.๖ นตฺถิ ปโร โลโก โลกหนา ไมมี ๓.๗ นตถฺ ิ มาตา มารดาไมม ี ๓.๘ นตฺถิ ปต า บิดาไมมี ๓.๙ นตถฺ ิ สตฺตา โอปปาตกิ า สัตวท ่ีผดุ เกดิ ขึ้นเองไมม ี ๓.๑๐. นตถฺ ิ โลเก สมณพรฺ าหมฺ ณา สมมฺ คคฺ ตา สมมฺ าปฏปิ นนฺ า เย อมิ จฺ โลกํ ปรจฺ โลกํ สยํ อภิ ญฺ า สจฉฺ กิ ตวฺ า เวทนตฺ ิ สมณพราหมณท รี่ แู จง โลกนโ้ี ลกหนา ท่ี สามารถชแี้ จงแนะนําใหเขาใจ ท่ถี งึ พรอมดว ยความสามัคคีและปฏิบัตชิ อบไมมี นยิ ตมิจฉาทิฏฐิท้งั ๓ ประการนี้ อยา งใดอยางหนึง่ ก็ลว นปฏเิ สธกรรม และ ผลของกรรมทง้ั สนิ้ จดั เปน อกศุ ลกรรมบถ บคุ คลทตี่ กอยใู นมจิ ฉาทฏิ ฐิ ๓ ประการนแ้ี ลว พระพทุ ธองคต รสั วา เปน ดงั ตอในวฏั ฏะ คอื เปน บคุ คลทถี่ กู มจิ ฉาทฏิ ฐคิ รอบงาํ ฝง แนน ในจติ ใจ เปน เหตใุ หก ระทาํ อกศุ ลกรรมตา งๆ ขา มภพขา มชาติ เวยี นวา ยตายเกดิ ในวฏั ฏะ สงสารไมมที ี่สนิ้ สุด ไมมใี ครท่จี ะถอนความเปน มจิ ฉาทิฏฐขิ องเขาได ทงั้ ตนเองกไ็ มค ดิ ทจี่ ะละหรอื กลบั ใจ จงึ กลายเปน บคุ คลผเู ฝา แผน ดนิ ดงั ตอในวฏั ฏะไมม โี อกาสไดบ รรลุ มรรคผลนพิ พาน ในทิฏฐิ ๓ อยาง เหลาน้ี อกิริยทิฏฐิ หามกรรม คือ ปฏิเสธกรรม นัตถิกทิฏฐิ หามวิบาก คือ ปฏิเสธผลของกรรม อเหตุกทิฏฐิ หามท้ัง ๒ อยาง คือ ปฏิเสธทัง้ กรรมและผลของกรรม หลกั วนิ จิ ฉยั มจิ ฉาทฏิ ฐิ ท่ีถึงความเปน อกุศลกรรมบถ มีองค ๒ คอื ๑. วตถฺ ุโน คหติ าการวปิ รตี ตา เรื่องท่ยี ึดถือน้ันผดิ จากความเปน จริง ๒. ยถา ตํ คณฺหาติ ตถาภาเวน ตสฺสปุ ฏ านํ มคี วามเห็นยึดมัน่ ในเรือ่ งท่ีผิด จากความเปน จรงิ นนั้ วา ถูกตอง คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 307

308 ¤ÁÙ‹ ×͸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒªéѹàÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก ในอรรถกถาอัฏฐสาลนิ ี กลาวไวว า “ในมิจฉาทฏิ ฐินัน้ กรรมบถยอ มขาดดวย นัตถิกทฏิ ฐิ อเหตกุ ทิฏฐิ และอกิรยิ ทิฏฐเิ ทานั้น หาขาดดวยทิฏฐิเหลาอนื่ ไม” มิจฉาทิฏฐมิ โี ทษมาก เพราะเหตุ ๒ ประการคือ ๑. มีอาเสวนะมาก คือความเสพคุนมาก หมายถงึ ทาํ มากหรือทําบอ ยกม็ ี โทษมากมีอาเสวนะนอยก็มีโทษนอ ย ๒. มนี ิยตมจิ ฉาทิฏฐิ คอื มคี วามยึดม่ันความเห็นผิดแบบฝงรากลกึ ก็มีโทษ มากมมี จิ ฉาทฏิ ฐินอกจากน้กี ็มีโทษนอ ย นิยตมิจฉาทิฏฐิทั้ง ๓ นี้ เปนความเห็นผิดท่ีสงผลใหเกิดในนิรยภูมิ(นรก) หลงั จากตายแลว อยา งแนน อนบคุ คลผเู ปน นยิ ตมฉิ าทฏิ ฐิ แมพ ระพทุ ธองคจ ะทรงโปรด อยางไรก็ตาม กไ็ มอ าจใหสาํ เรจ็ คุณธรรมใดๆ ได สําหรบั มโนกรรมทงั้ ๓ มอี ภชิ ฌาเปนตน เหลานี้ เกดิ ข้ึนโดยไมเกี่ยวขอ งกบั วญิ ญตั ทิ ง้ั ๒ คอื กายทวารและวจที วารแตอ ยา งใด คงเกดิ ขนึ้ เฉพาะในมโนทวารเทา นน้ั ฉะนั้นทานพระอนุรุทธาจารย จึงแสดงวาเมื่อเวนจากกายวิญญัติ และวจีวิญญัติแลว ยอมเกิดในมโนทวารเปน สวนมาก ตวั อยา งโทษของมิจฉาทิฏฐิ เรือ่ งปรู ณกสั สปะ เจา ลัทธผิ ูถืออกริ ิยทฏิ ฐิ ดงั ไดสดบั มา ตระกูลน่งึ มีทาส ๙๙ คน ทาสคนหนึ่งเกิดมากค็ รบ ๑๐๐ คน พอดีดวยเหตุนี้ พวกเจานายจึงต้ังชื่อเขาวา “ปูรณะ” การงานที่นายปูรณะนั้น จะทําดี ทําไมไดย งั ไมท าํ หรอื ทาํ แลว พวกเจานายจะไมว ากลา วเขาเลย เพราะถือวาเขาเปนทาส ผเู ปนมงคลเม่ือเปนเชนนี้ เขาคิดวา เขาอยไู ปก็ไมมปี ระโยชนอะไร จงึ หลบหนไี ป ตอ มา พวกโจรไดชงิ เอาผา นงุ ของเขาไป เขาไมร จู ะปกปด รางกายดวยหญา และใบไม จึงเปลือยกายเขาไปสูหมูบานตําบลหนึ่ง พวกชาวบานเห็นเขาแลวเขาใจวา “บรุ ษุ นีเ้ ปนสมณะ เปนพระอรหนั ต มคี วามมักนอ ยไมมีบคุ คลอืน่ ทเ่ี ปน เหมือนบุรุษน้ี” จงึ ไดใหขนมและขาวเปนตน 308

ÇÔªÒÇ¹Ô Ñ (¡ÃÃÁº¶) 309 เขาคดิ วา “ขนมและขา วเปน ตน นี้ เกดิ ขน้ึ เพราะความทเ่ี ราไมน งุ ผา ” ตง้ั แตน น้ั มา เขาแมจะไดผา ก็ไมน ุง ไดถอื เพศเปลือยกายเชน นัน้ เปนการบวช พวกมนษุ ย ๕๐๐ คน พากันบวชในสาํ นักของเขา นายปรู ณะนน้ั ไดชอ่ื ตามโคตรวา “กสั สปะ” เขาไดตัง้ ตนเปน เจา ลัทธิ ชือ่ วา ปูรณกัสสปะ ยึดถอื อกิริยทิฏฐซิ ่งึ มคี าํ สอน วาเม่อื บคุ คลทาํ เองหรือใชใ หผอู ืน่ ทํา ตัดเอง หรือใชใ หผ อู น่ื ดดั เบยี ดเบียนเอง หรือใช ใหผอู น่ื เบยี ดเบยี น เศราโศกเอง หรือทําใหผูอ่นื ลาํ บาก ดิ้นรนเองหรอื ทําผูอ ่นื ใหด ิน้ รน ฆาสตั ว ลักทรัพย งัดแงะ ปลน สะดม ปลนบา น ดักอยทู ท่ี างเปล่ยี ว เปน ชกู บั ภรยิ าของ ผูอน่ื พูดเท็จ เมือ่ บุคคลกระทาํ อยา งน้ี บาป ชอื่ วาไมเ ปน อนั ทํา สรปุ วา เจาลทั ธปิ ูรณ กัสสปะน้ันเปน ผูมีวาทะวา ไมเปนอนั ทํา ความเปนเชน นี้ พระพทุ ธศาสนาเรียกวา มิจฉา ทิฏฐิ บุคคลผูเ ปน มจิ ฉาทฏิ ฐิ ครั้นตายแลวยอมไปสอู บาย เรือ่ ง มกั ขลิโคสาล เจา ลทั ธผิ ถู ืออเหตกุ ทิฏฐิ บุรุษอีกคนหน่ึงเปนทาส เจานายใชใหแบกหมอนํ้ามันเดินไปบนพ้ืนท่ีเปน โคลนแลวกาํ ชบั ใหเขาระวังอยา ใหล ืน่ แตเขากล็ น่ื ลงดวยความปรามาส ดวยความกลวั เจานายจึงเร่ิมจะหนีไป เจานายจึงว่ิงไปฉุดที่ชายผาเขาจึงท้ิงผาน้ันเสียแลวเปลือยกาย วิ่งหนไี ป พวกชาวบานเกดิ ความเลอ่ื มใสในการถือเพศเปลอื ยกายของเขา เชนเดยี วกับ เรือ่ งปรู ณกัสสปะ นายมกั ขลินนั้ คนท่วั ไปมักจะเรียกเขาวา “โคสาละ” เพราะเขาเกิดในคอกโค จงึ เรียกรวมวา นายมกั ขลิโคสาล เปนเจาลัทธผิ ูถ ืออเหตกุ ทิฏฐิ เจาลัทธิมักขลิโคสาล ยึดถืออเหตุกทิฏฐิ ซ่ึงไมสอนวา ความเศราหมอง ของสัตวท้งั หลายไมมเี หตุ ไมม ีปจจัย สตั วท้ังหลายเศรา หมองเอง บรสิ ทุ ธเ์ิ อง สรุปวา เจาลัทธิมักขลิโคสาลเปนผูมีวาทะวา ไมมีเหตุ คือ ปฏิเสธเหตุ หมายถึงปฏิเสธกรรม เปนมจิ ฉาทิฏฐิ ผูยึดถือเชน นีต้ ายแลวไปเกดิ ในอบาย เรือ่ ง อชิตเกสกัมพล เจา ลทั ธิผูถ ือนตั ถิกทิฏฐิ บรุ ษุ อีกคนหน่ึง มชี อ่ื วา “อชติ ะ” และคนมักจะเรยี กวา “เกสกมั พล” เพราะ เขานุงหมผากัมพลท่ีทําดวยผมมนุษย เจาลัทธิอชิตเกสกัมพลน้ัน ยึดถือนัตถิกทิฏฐิ คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 309

310 ¤ÙÁ‹ ×͸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒª¹Ñé àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก ซง่ึ มคี าํ สอนวา “ทานทใี่ หแ ลว ไมม ผี ล” สรปุ วา เจา ลทั ธอิ ชติ เกสกมั พลนนั้ เปน ผมู วี าทะวา ไมมีบา ง ขาดศูนยบ า ง โดยมีวาทะในเรื่องความขาดศูนยวา “สัตวทง้ั หลายหลงั จากตาย แลวยอ มขาดศนู ย ยอมหายไป ยอมไมมอี ีก” เจา ลทั ธทิ ง้ั ๓ นี้ นอกจากทาํ ตนใหฉ บิ หายแลว ยงั ทาํ หมชู นผกู ระทาํ ตามลทั ธิ ของตนใหฉ บิ หายไปดว ย เพราะลทั ธทิ ต่ี นยดึ ถอื นน้ั เปน นยิ ตมจิ ฉาทฏิ ฐิ สง ผลใหเ กดิ ใน นริ ยภมู ิ (นรก) หลงั จากการตายแลว อยา งแนน อน แมพ ระพทุ ธองคจ ะทรงโปรดอยา งไร กต็ าม กไ็ มอาจใหสาํ เรจ็ คุณธรรมใดๆ ไดใ นชาติน้นั มโนกรรมเปน ไปทางทวาร ๓ อภิชฌา พยาบาท และมิจฉาทิฏฐิ ทั้ง ๓ นี้เปนมโนกรรมยอมเปนไปทาง มโนทวารโดยมาก แมไ มม ีการเคลอ่ื นไหวทางกาย ทางวาจา เพียงแตค ดิ ในใจกส็ าํ เร็จ เปนอกศุ ลกรรมบถได แตบ างครั้งอกศุ ลธรรม ท้งั ๓ อยา งนี้ ยอ มเกิดข้นึ ทางกายทวาร และวจที วาร ก็ได เชน บางคนมีใจละโมบอยากไดข องคนอื่น จึงยน่ื มอื ไปหยิบของนั้น มใี จโกรธแคน หยิบมดี หยิบไม เพอ่ื ทาํ รายเขา หรอื มคี วามเห็นผดิ ไปไหวก ระบือ ๕ ขา เพ่อื ขอเลข เปนตน กรรมนนั้ ของเขาจัดเปนมโนกรรม สว นทวารจัดเปนกายทวาร ถาม วาทาํ ไม ถงึ ไมจ ดั เปนกายกรรม แกว า เพราะตรงน้ี ทา นมงุ ถึงอภชิ ฌา พยาบาท และ มิจฉาทิฏฐิเปนใหญ ไมไดมุงเจตนาเปนใหญ ถามุงเจตนาที่เปนเหตุกระทําทางกาย กจ็ ดั เปน กายกรรมได บางคนมใี จละโมบพูดออกมาวา ทาํ อยางไรหนอ ของสิง่ นัน้ จะพึงเปน ของเรา มีใจโกรธแคน พูดแชง วา ทาํ อยา งไรหนอ คนน้ีจะพึงตายเสียที มคี วามเห็นผิดพดู วา ผลของกรรมดกี รรมชัว่ ไมมี กรรมของเขา จัดเปน มโนกรรม สวนทวารจัดเปน วจีทวาร บางคนไมมีการกระทําทางกาย หรือพูดทางวาจาคิดละโมบอยากได คดิ พยาบาทปองรา ยและเหน็ ผดิ จากทาํ นองคลองธรรมอยา งเดยี ว กรรมของเขาจดั เปน มโนกรรม แมท วารกจ็ ดั เปน มโนทวาร มโนกรรมทเ่ี ปน อกศุ ลยอ มเกดิ ไดท างทวารทงั้ ๓ ดังพรรณนาฉะน้ี อยางไรก็ตามในอกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการน้ี อกุศลกรรมบถท่ีเกิดทาง มโนทวารมีความสําคัญกวาทางกายทวารและวจีทวาร เนื่องจากกายและวาจาสั่งใหใจ 310

ÇªÔ ÒÇ¹Ô ÂÑ (¡ÃÃÁº¶) 311 กระทาํ บาปไมไ ด แตใ จสง่ั ใหก ายและวาจาทาํ บาปได สมดงั พระพทุ ธองคต รสั วา ธรรมทงั้ หลาย มใี จเปน ใหญ มใี จเปน หวั หนา มีใจประเสรฐิ สดุ สาํ เรจ็ มาจากใจ ถา ใจคดิ ช่วั แลว กจ็ ะ กระทําชั่ว พูดชั่วตามมาและในบรรดาอกุศลกรรมบถที่เกิดทางมโนทวาร มิจฉาทิฏฐิ ถือวารายแรงกวาอกุศลกรรมบถขออ่ืน ๆ เพราะถามีความเห็นผิดแลวก็จะเกิดอกุศล บถขออ่นื ๆ ได ดังนน้ั ควรจะระวังอกศุ ลกรรมบถขอ มิจฉาทิฏฐนิ ใ้ี หมาก โทษของอกุศลกรรมบถ บคุ คลผปู ระพฤตหิ รอื กระทาํ อกศุ ลกรรมบถ ๑๐ อยา งนี้ ยอ มตกนรกเหมอื น กับถกู จับเอาไปวางไว ดงั พระพุทธองคต รัสไวในปฐมนิรยสคั คสูตร ปญจมปณณาสก ทสกนิบาต อังคุตตรนิกายวา ดูกอนภิกษุท้ังหลาย บุคคลผูประกอบดวยธรรม ๑๐ ประการ ยอมตกนรก เหมือนถูกจบั เอาไปวางไว ธรรม ๑๐ ประการ คอื บคุ คล บางคนในโลกน้ี ๑. เปน ผมู กั ฆา สตั ว มมี อื เปอ นเลอื ด คดิ แตป ระหตั ประหาร ไมม คี วามเมตตา กรุณาตอสตั วท ั้งปวง ๒. เปน ผมู กั ถอื เอาสง่ิ ของทเี่ จา ของไมไ ดใ ห ไมว า ของนนั้ จะอยใู นบา นของเขา หรอื ทไ่ี หนๆ กต็ าม เปน ผูถือเอาส่ิงนั้นดว ยจิตคิดขโมย ๓. เปนผูมักประพฤติผิดในกาม ผิดเพราะการนอกใจคูครองของตน ผิดเพราะลวงละเมิดคูครองของผูอื่น หรือผิดเพราะลวงละเมิดตอบุคคลที่ตนเอง ไมมสี ทิ ธิจ์ ะทาํ เชนน้ัน ๔. เปน ผมู กั กลา วคาํ เทจ็ คอื ไมร บู อกวา รู ไมเ หน็ บอกวา เหน็ หรอื รบู อกวา ไมร ู เหน็ บอกวา ไมเ หน็ เปน ผกู ลา วเทจ็ จรงิ ๆ ทร่ี ู เพราะเหตแุ หง ตน เพราะเหตแุ หง บคุ คลนน้ั หรอื เพราะเห็นแกอ ามิสสนิ จา ง ๕. เปนผพู ูดทําลายความสามัคคี ฟงจากฝา ยน้ีไปบอกฝายโนน หรือฟง จาก ฝา ยโนน มาบอกฝา ยน้ี เพอ่ื ใหเ ขาแตกความสามคั คกี นั หรอื เพอื่ จะทาํ ตนใหเ ปน ทรี่ กั ของ ฝายใดฝายหนึ่ง ชอบความแตกแยก หรือสงเสริมใหคนแตกแยก ชอบต้ังพรรคพวก พูดแตถ อยคําทจี่ ะทาํ ใหแบง พรรคแบง พวก คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 311

312 ¤Ù‹ÁÍ× ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒª¹Ñé àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก ๖. เปน ผพู ดู วาจาทแ่ี ผไ ปเผาพลาญจติ ใจของผฟู ง เปน คาํ พดู บาดหหู ยาบคาย เผ็ดรอนกระทบกระเทียบเปรยี บเปรยใหผ ูฟง เกดิ ความโกรธและฟงุ ซาน ๗. เปน ผทู าํ ลายความสขุ และประโยชนท สี่ ตั บรุ ษุ ไดร บั พดู คาํ ทก่ี าํ จดั ทางแหง ประโยชนแ ละความสุขน้ัน ไมร ูกาลเทศะ พูดปราศจากอรรถ ธรรม หรอื วนิ ยั อยางใด อยางหน่ึงซ่ึงเปนเครื่องแสดงเหตุผลเพ่ือใหเขาใจประโยชนในโลกน้ีและประโยชนใน โลกหนา ๘. เปน ผูมากไปดวยความละโมบ จองหาทางเอาของคนอืน่ มาเปนของตน ๙. เปนผูมีใจพยาบาท มีความคิดประทุษรายวา ขอสัตวเหลานี้ จงถูกฆา จงถูกจองจําจงหายสาบสูญ จงพินาศ จงอยา อยใู นโลกน้ี ๑๐. เปน ผมู คี วามคดิ ผดิ มที ศั นะทว่ี ปิ รติ วา การใหท านไมม ผี ล การบชู าไมม ผี ล การเซนสรวงไมมีผล ผลวิบากของกรรมดีและกรรมชั่วไมมี โลกนี้ไมมี โลกหนา ไมมี มารดาไมมีคุณ บดิ าไมม ีคุณ โอปปาติกสตั วไมมี สมณพราหมณ ผูปฏิบตั ิชอบ รูแจงเองแลว แสดงโลกนี้ และโลกหนา ไดแ จม แจง ไมม ี ดูกอนภิกษุท้ังหลาย บุคคลผูประกอบดวยธรรม ๑๐ ประการเหลานี้ ยอมตกนรกเหมอื นถูกจบั เอาไปขังไว พฤตกิ รรมที่เปน บาป ๔ อยา ง บุคคลผูกระทําอกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการ ยอมไดรับผลวิบากทําใหไป ตกนรกแนนอน แมผ ูชักชวน ผูย นิ ดี ผยู กยองสรรเสริญอกศุ ลหรือบคุ คลผูป ระพฤติ อกุศลกรรมเหลาน้ัน ก็ลวนทําใหไปตกนรกไดเหมือนกัน ดังน้ัน ตามหลักพระธรรม คําสอนในพระพุทธศาสนาไดกลาวถึงพฤติกรรมท่ีเปนบาปนําไปสูนรก ๔ อยาง ดังพระพทุ ธองคใ นกรรมปถวรรค อังคุตตรนกิ าย ความวา ดูกอนภิกษุทง้ั หลาย บคุ คล ผูประกอบดว ยธรรม ๔ ประการ ยอมตกนรก เหมือนถกู เขาจับเอาไปวางไว ธรรม ๔ ประการ คอื ๑. เปนผทู ําเอง พูดเอง คิดเอง ในอกศุ ลกรรมบถ ๒. เปนผูชักชวนผูอ นื่ ใหท าํ ใหพ ดู ใหคิด ในอกุศลกรรมบถ ๓. เปนผูยนิ ดกี บั บคุ คลผูท ํา ผูพูด ผคู ิด ในอกศุ ลกรรมบถ ๔. เปน ผพู ดู สรรเสรญิ อกุศลกรรมบถ 312

ÇÔªÒÇÔ¹ÂÑ (¡ÃÃÁº¶) 313 กุศลกรรมบถ ๑๐ กุศลกรรมบถ หมายถึง ทางแหงกุศลกรรม ทางทําความดี หรือกรรมดีท่ี เปนเหตุนําสัตวไปสูสุคติ กุศลกรรมบถนี้สงผลใหเกิดในปฏิสนธิกาลคือในภพหนามี ๑๐ อยาง จาํ แนกเปน กายกรรม ๓ วจกี รรม และมโนกรรม ๓ ดังนี้ กายกรรม ๓ ไดแ ก ๑. ปาณาตปิ าตา เวรมณี เจตนางดเวน จากการฆา สตั ว ๒. อทินฺนาทานา เวรมณี เจตนางดเวนจากการลกั ทรพั ย ๓. กาเมสุ มิจฺฉาจารา เวรมณี เจตนางดเวน จากการประพฤตผิ ดิ ในกาม วจกี รรม ๔ ไดแ ก ๑. มสุ าวาทา เวรมณี เจตนางดเวน จากการพดู เทจ็ ๒. ปส ุณาย วาจาย เวรมณี เจตนางดเวนจากการพดู สอ เสยี ด ๓. ผรสุ าย วาจาย เวรมณี เจตนางดเวนจากการพดู คาํ หยาบ ๔. สมผฺ ปปฺ ลาปา เวรมณี เจตนางดเวน จากการพดู เพอเจอ มโนกรรม ๓ ไดแ ก ๑. อนภิชฺฌา การไมเ พงเลง็ อยากไดของคนอื่น ๒. อพฺยาปาท การไมค ิดรายผอู ืน่ ๓. สมมฺ าทิฏ ิ การเห็นชอบตามคลองธรรม ธรรมจริยสมจรยิ าทางกายกรรม ๓ ๑. เปนผูล ะปาณาตบิ าต คอื เวน จากการยงั สัตวมีชีวติ ใหตกลา งไป เปนผูมี ทอนไมและศัสตราอันวางแลว มีความละอายประกอบดวยความเอ็นดู เปนผูเก้ือกูล อนเุ คราะหสตั วทุกจําพวก ๒. เปนผูล ะอทนิ นาทาน ขนึ้ ช่ือวา ทรัพยข องผูอ ืน่ จะอยใู นบาน หรืออยใู น ปา ก็ตาม ยอมเปน ผูไมถอื เอาทรัพยน ้ันทเ่ี จา ของไมไ ดใ หด วยจติ คดิ ขโมย ๓. เปนผูละกาเมสุมิจฉาจาร เวนขาดจากกาเมสมุ ิจฉาจาร คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 313

314 ¤ÙÁ‹ ×͸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒª¹éÑ àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก ธรรมจรยิ สมจรยิ าทางวจกี รรม ๔ ๑. เปนผูละมุสาวาท เวนขาดจากมุสาวาท ไปในสภาก็ดี ในบริษัทก็ดี ใน ทามกลาง หมูญาติก็ดี ในทามกลางเสนาก็ดี ในทามกลางแหงราชตระกูลก็ดี ถูกอาง เปนพยาน ซักถามแนะพอชาย ทานจงมา ทานรูอยางไร จงบอกอยางน้ัน บุคคลน้ัน เมอื่ ไมร ู ก็บอกวา ขา พเจาไมร หู รือรูอยูกบ็ อกวา ขาพเจา รู เมือ่ ไมเหน็ ก็บอกวา ขา พเจา ไมเ หน็ หรือเหน็ กบ็ อกวา ขาพเจา เห็น ยอมไมก ลา วเทจ็ ท้ังท่ีรู เพราะเหตุแหง ตน เพราะ เหตแุ หงคนอ่ืน หรือเพราะเหตุแหงอามิสสินจา ง ๒. เปนผูละคําสอเสียด เวนขาดจากกลาวสอเสียด ฟงขางน้ีแลวไมไปบอก ขางโนนเพื่อทําลายคนหมนู ้ี หรือฟงจากขางโนนแลวไมมาบอกคนหมูน ้ี เพ่ือทําลายคน หมโู นน เปน ผสู มานคนทงั้ ทแ่ี ตกกนั แลว หรอื สนบั สนนุ หมคู นทส่ี ามคั คกี นั อยแู ลว เปน ผมู คี วามช่นื ชมยนิ ดีในหมูค นผูสามคั คีกัน เปน ผกู ลาววาจาทีท่ าํ ใหคนสามัคคกี นั ๓. เปนผูละคําหยาบ เวนขาดจากการกลาวคําหยาบ เปนผูกลาววาจาไมมี โทษเสนาะโสต เปน ทร่ี ักจับใจ เปน คาํ สภุ าพ เปนทีช่ อบใจ พอใจของคนจํานวนมาก ๔. เปนผูละการกลาวเพอเจอ เวนขาดจากการกลาวเพอเจอ พูดในเวลาท่ี ควรพูด พูดคําจริง พูดอิงอรรถ อิงธรรม อิงวินัย มีหลักฐาน มีที่อางอิง ไมพูดมาก พดู แตค าํ ท่มี ปี ระโยชน ธรรมจริยสมจรยิ าทางมโนกรรม ๓ ๑. เปนผูไ มเพงเล็ง ไมละโมบอยากไดทรัพยข องผอู ื่นมาเปนของตน ๒. เปน ผมู ใี จไมพ ยาบาท ไมคิดรายตอผูอ นื่ คดิ แตในทางท่ีดกี วา ขอสัตว ท้งั หลายจงมีความสุข อยูร อดปลอดภยั เถิด ๓. เปน ผมู คี วามเหน็ ชอบ มคี วามเหน็ ไมว ปิ รติ วา ทานทใ่ี หแ ลว มผี ล การบชู า มผี ลบุญคุณ โอปปาติกะมจี ริง สมณพราหมณผูรูแ จง โลกนแี้ ละโลกหนามีจริง ดูกอนพราหมณแ ละคฤหบดีทั้งหลาย สตั วบ างพวกในโลกนี้ หลังจากตายไป แลว ยอ มเขาถงึ สคุ ติโลกสวรรค เพราะประพฤติธรรมจรยิ สมจริยานี้ ดกู อ นพราหมณแ ละคฤหบดที งั้ หลาย ถา บคุ คลผปู ระพฤตธิ รรมและประพฤติ ท่ีถูกตอ ง พึงหวังไดวา หลงั จากท่ีเราตายแลว พึงไดมนษุ ยสมบัติ สวรรคส มบตั ิ และ นพิ พานสมบัติ 314

ÇÔªÒÇ¹Ô Ñ (¡ÃÃÁº¶) 315 มนษุ ยส มบตั ิ หมายถงึ เกิดเปน กษตั รยิ ม หาศาลและพราหมณมหาศาล สวรรคส มบตั ิ หมายถงึ เกดิ เปน เทวดาตงั้ แตช นั้ จาตมุ มหาราชถงึ ชน้ั เนวสญั ญา นาสญั ญายตนะ นพิ พานสมบัติ หมายถึง สมบตั คิ อื พระนพิ พาน อานิสงสของกุศลกรรมบถ กุศลกรรมบถ ๑๐ ประการน้ี จัดวาเปนศีล บุคคลผูรักษาศีล ใหบริสุทธ์ิ บริบูรณยอมไดรับอานิสงส ๓ ประการคือมนุษยสมบัติ สวรรคสมบัติ และนิพพาน สมบัติ ดงั คําสรุปของศลี ดงั น้ี ๑. สีเลน สคุ ตึ ยนฺติ คนทง้ั หลายไปสสู ุคติไดเ พราะศีล ๒. สเี ลน โภคสมฺปทา คนทง้ั หลายถงึ พรอ มดว ยโภคทรพั ยเ พราะศีล ๓. สีเลน นพิ พฺ ุตึ ยนตฺ ิ คนทง้ั หลายบรรลุนิพพานไดเพราะศีล ศีลเปนเหตุใหไดไปสูสุคติเพราะผลของกุศลกรรมบถ ๑๐ โดยเปนอุปนิสัย ปจ จัยโดยตรง ใหไ ดเกดิ เปน มนุษย ๑ กามาวจรสวรรค ๖ ช้ัน และพรหมโลก ๒๐ ช้ัน อุปนิสยั อุปนิสัย คอื ความประพฤติทีเ่ คยชินเปนพนื้ มาในสนั ดาน หรอื ความดที ีเ่ ปน ทฐี่ านของจติ มี ๓ ประการ คอื ๑. ทานูปนิสัย อปุ นสิ ยั คือทาน การเสียสละ คนผมู ีอุปนสิ ยั เชนนี้ ยอ มกําจัด ความโลภหรอื ทําความโลภใหเ บาบางลงได ๒. สลี ปู นสิ ยั อปุ นสิ ยั คอื ศลี การเวน จากการเบยี ดเบยี นสตั วอ น่ื คนผมู อี ปุ นสิ ยั เชนน้ี ยอ มไมมกี ารเบียดเบียนสตั วอนื่ ๓. ภาวนูปนิสัย อุปนิสัยคือภาวนา การส่ังสมความดี คนผูมีอุปนิสัยเชนน้ี ยอมเพยี รพยายามเพือ่ ทําความดีใหส ูงยงิ่ ๆ ขนึ้ ไป กุศลกรรมบถ ๑๐ น้ีจัดเปน ศลี ดงั นั้น จึงเปนสลี ปู นสิ ยั ทีจ่ ะชว ยสนับสนนุ ใหไดบ รรลสุ มาธิ ปญ ญา และวมิ ตุ ติ ตามพระบาลวี า สีลปริภาวิโต สมาธิ มหปผฺ โล โหติ มหานิสํโส แปลวา สมาธทิ ถี่ กู บมดวยศีล ยอมมผี ลมากมีอานสิ งสมาก อธิบายวา บุคคลผูที่มีศีลบริสุทธิ์เม่ือบําเพ็ญสมาธิ ยอมสามารถทําฌานใหเกิดไดงาย คร้ันได คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 315

316 ¤ÙÁ‹ ×͸ÃÃÁÈ¡Ö ÉÒª¹éÑ àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก ฌานแลว ตายไปยอมเกดิ เปน พรหม อยางน้ชี ื่อวา กุศลกรรมบถ เปนเหตใุ หไ ดไ ปเกิด ในพรหมโลก สวนผูไดฌานบางทานทําฌานใหเปนบาทแหงการเจริญวิปสสนา ยอมรู แจงเหน็ จรงิ ไดง าย ตามพระบาลวี า สมาธปิ ริภาวิตา ปญฺ า มหปฺผลา โหติ มหนสิ ํสา แปลวา ปญญาท่ีถูกบมดวยสมาธิ ยอมมีผลมากมีอานิสงสมาก จิตของบุคคลผูมี ปญญารูแจงเห็นจริง ยอมหลุดพนจากกิเลสทั้งปวงตามพระบาลีวา ปฺญาปริภาวิตํ จิตฺตํ สมฺมเทว อาสเวหิ วิมุจฺจติ เสยฺยถีทํ กามาสวา ภวาสวา อวิชฺชาสวา แปลวา จิตท่ีถูกอบรมดวยปญญา ยอมหลุดพนโดยชอบจากกามมาสวะภวาสวะ อิชชาสวะ อยา งนชี้ ่ือวา กุศลกรรมบถ เปน เหตใุ หไดบรรลุเจโตวิมุตตแิ ละปญ ญาวมิ ตุ ติ สีลูปนิสัย คือ กุศลกรรมบถ ๑๐ ที่สนับสนุนใหไดบรรลุสมาธิ ปญญา และวิมุตติ ดังกลาวแลว เปรียบไดกับสวนของตนไม สีลูปนิสัยเปนเสมือนรากไม สมาธิเปนเสมือนลําตน ปญญาเปนเสมือนก่ิงกานและใบ วิมุตติเปนเสมือนดอกและ ผลของตนไม กศุ ลกรรมบถโดยอาการ ๕ กุศลกรรมบถ ๑๐ ประการน้ี พงึ ทราบวินิจฉัยโดยอาการ ๕ คือ โดยธรรม โดยโกฏฐาสะ โดยอารมณ โดยเวทนา และโดยมลู ดงั นี้ ๑. โดยธรรม คอื โดยสภาวธรรม กุศลกรรมบถ ๗ ขอแรก คือ กายกรรม ๓ และวจีกรรม ๔ เม่ือวาโดย สภาวธรรม ไดแ ก เจตนาหรอื วิรตั ิ หมายความวา ถาไมตั้งใจจะงดเวน หรอื ไมม เี จตนา งดเวน ยอ มสําเร็จเปน กุศลกรรมบถไมได มโนกรรม ๓ คอื อนภิชฌา โดยสภาวธรรม ไดแก อโลภะ อพยาบาท โดยสภาวธรรม ไดแ ก อโทสะ สัมมาทฏิ ฐิ โดยสภาวธรรม ไดแ ก อโมหะท่ีประกอบดวยเจตนา ๒. โดยโกฏฐาสะ คือ โดยสวนแหง ธรรมตา ง ๆ กุศลกรรมบถ ๗ คือ กายกรรม ๓ วจีกรรม ๔ เปนกรรมบถอยางเดียว ไมเปน รากเหงาของกศุ ลเหลาอ่นื 316

ÇÔªÒÇÔ¹ÂÑ (¡ÃÃÁº¶) 317 สวนมโนกรรม ๓ อยา ง คอื อนภชิ ฌา อพยาบาท และสมั มาทฏิ ฐิ เปนท้ัง กศุ ลกรรมบถ เปนทง้ั รากเหงา ของกศุ ลอื่น เพราะทัง้ ๓ นี้ ก็คอื อโลภะ อโทสะ อโมหะ ที่เปน กศุ ลมลู นัน่ เอง ๓. โดยอารมณ คอื สงิ่ ทใ่ี จเขา ไปยดึ แลว เปน เหตใุ หง ดเวน จากอกศุ ลกรรมบถ ๑๐ ประการ พระอรรถกถาจารย อธบิ ายวา อารมณแ หงอกศุ ลกรรมบถ ๑๐ น่นั แหละ เปนอารมณแหง กศุ ลกรรมทั้ง ๑๐ ประการ เปรียบเหมือนนา้ํ ทีส่ ามารถทําใหเรือลอยได ทาํ ใหจ มลงกไ็ ด ๔. โดยเวทนา คอื ความรสู กึ เปน สขุ และเฉยๆ พระอรรถกถาจารย อธบิ ายวา ในขณะทาํ กุศล ทกุ ขเวทนา คือ ความเสยี ใจ ความไมส บายใจ ยอ มไมมี เพราะฉะน้นั ในขณะประพฤตกิ ศุ ลกรรมบถ จงึ มเี พียงเวทนา ๒ คือ สุขเวทนา และอเุ บกขาเวทนา ๕. โดยมลู คอื โดยกศุ ลมลู ๓ อยา ง ไดแ ก อโลภมลู ๑ อโทสมลู ๑ อโมหมลู ๑ กศุ ลกรรมบถ ๗ คอื กายกรรม ๓ วจกี รรม ๔ ทีบ่ ุคคลประพฤตดิ ว ยปญญา มมี ูล ๓ คอื อโลภมูล ๑ อโทสมูล ๑ อโมหมูล ๑ ท่ีประพฤติโดยขาดปญญามมี ูล ๒ คือ อโลภมูล อโทสมูล อนภชิ ฌาทป่ี ระพฤติดวยปญ ญา มีมลู ๒ คอื อโลภมลู อโมหมูล ทปี่ ระพฤติ โดยขาดปญญามมี ลู เดยี ว คอื อโลภมูล อพยาบาทท่ีประพฤติดวยปญญา มีมูล ๒ คือ อโทสมูล ๑ อโมหมูล ๑ ท่ปี ระพฤติโดยขาดปญ ญามมี ลู เดยี ว คอื อโทสมูล สมั มาทฏิ ฐิ มีมูล ๒ คอื อโทสมลู อโมหมูล กรรมบถ ๒ อยา งนนั้ กุศลกรรมบถ เรยี กวา สุจริต อกุศลกรรมบถ เรยี กวา ทุจริต ในสุจริตและทุจรติ ทง้ั ๒ อยางน้ี ทุจริต บคุ คลไมควรทําเพราะเปน อกรณียกจิ สจุ รติ บุคคลควรทําเพราะเปนกรณียกิจ บคุ คลเม่อื ทาํ กรณียกจิ ยอมไมถึงอาทนี พ คือ ไดรับโทษ มีการติเตียนตนเอง เปนตน ดังท่ีพระผูพระภาคเจาตรัสไวในอานันทสูตร ทุกนบิ าต อังคตุ ตรนกิ ายวา อานนท เรากลา วกายทจุ รติ วจีทจุ ริต มโนทจุ รติ วาเปน อกรณยี กจิ โดยสว นเดยี ว อานนท เมอื่ บคุ คลทํากายทจุ รติ วจที ุจริต มโนทจุ รติ ทเ่ี รา กลา ววา เปนอกรณียกจิ โดยสว นเดยี ว โทษดงั ตอไปน้ีอันผูนัน้ พึงไดร บั คือ คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 317

318 ¤Ù‹ÁÍ× ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒªéѹàÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก ๑. แมต นเองยอมติเตียนตนได ๒. ผรู ูใครครวญแลว ยอมตเิ ตียน ๓. ชอ่ื เสียงอันชวั่ ยอมกระฉอนไป ๔. ยอ มหลงทํากาลกิรยิ าคอื ตายโดยขาดสติ ๕. หลงั จากตายแลว ยอมเขา ถงึ อบาย ทคุ ติ วนิ ิบาต นรก และตรสั อกี วา อานนท เรากลา วกายสจุ รติ วจสี จุ รติ มโนสจุ รติ วา เปน กรณยี กจิ โดยสวนเดียว อานนท เมื่อบุคคลทํากายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต ท่ีเรากลาววา เปนกรณียกิจโดยสว นเดยี ว อานิสงสด ังตอ ไปนี้อันผนู ้ันพึงไดร บั คอื ๑. แมตนเองยอมติเตียนตนเองได ๒. ผูรใู ครค รวญแลว ยอ มสรรเสริญ ๓. ชือ่ เสยี งอนั ดียอ มขจรไป ๔. ยอมไมห ลงทาํ กาลกิริยาคอื ตายอยางมสี ติ ๕. หลังจากตายแลว ยอมเขา ถงึ สุคติโลกสวรรค พุทธศาสนิกชนควรละเวนอกุศลกรรมบถ ประพฤติแตกุศลกรรมบถสมกับ พระพทุ ธโอวาททที่ รงประทานไวเ ปน หลกั ปฏบิ ตั สิ าํ คญั คอื การไมก ระทาํ ความชวั่ ทง้ั ปวง การประกอบกศุ ลคอื คณุ งามความดใี หถ งึ พรอ ม และการฝก อบรมจติ ของตนใหส ะอาด ผองแผว ยอมไดชอ่ื วา เปน พุทธศาสนิกชนทีด่ ี เปน ศาสนทายาททม่ี ีคุณภาพอันจะเปน กาํ ลังสําคัญในการเผยแผพ ระศาสนาใหเ จริญรงุ เรอื งและม่ันคงสืบไป จบ วชิ าวนิ ัย (กรรมบถ) ธรรมศึกษาชน้ั เอก 318

ÇÔªÒÇ¹Ô Ñ (¡ÃÃÁº¶) 319 ¢ŒÍÊͺ¸ÃÃÁʹÒÁËÅǧ ËÅÑ¡ÊÙμøÃÃÁÈÖ¡ÉÒªéѹàÍ¡ ÇªÔ ÒÇ¹Ô Ñ (¡ÃÃÁº¶) ¾.È. òõõ÷ - òõõø คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 319

320 ¤ÙÁ‹ Í× ¸ÃÃÁÈ¡Ö ÉÒªéѹàÍ¡ ปญหาและเฉลยวิชากรรมบถ (วินัย) ธรรมศกึ ษาชน้ั เอก สอบในสนามหลวง วันพธุ ที่ ๑๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๗ ******************** คําส่ัง : จงเลือกคําตอบท่ีถูกท่ีสุดเพียงคําตอบเดียว แลวกากบาทลงในชอง ของขอท่ี ตองการในกระดาษคาํ ตอบใหเวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน) ๑. สตั วโ ลกมีทัง้ สุขและทกุ ข ดวยอาํ นาจ ๕. อกุศลกรรมบถขอใด เกดิ ทางกายทวาร อะไร ? อยา งเดียว ? ก. บญุ ข. บาป ก. ปาณาติบาต ข. อทินนาทาน ค. กรรม ง. เวร ค. กาเมสมุ จิ ฉาจาร ง. มสุ าวาท เฉลยขอ ค. เฉลยขอ . ก. ข. ค. ๒. สิง่ ใด พระสมั มาสมั พทุ ธเจา ตรัสวา ๖. สุคติเปนภมู ิเกดิ ของสัตวจําพวกใด ? เปน กรรม ? ก. มนุษย ข. เดยี รัจฉาน ก. เจตนา ข. อารมณ ค. เปรต ง. อสุรกาย ค. สังขาร ง. มลู เฉลยขอ ก. เฉลยขอ ก. ๗. ส่ิงที่ใจเขาไปยดึ แลวเปน เหตุใหท ํากรรม ๓. การกระทาํ ทางใจ เรยี กวา อะไร ? เรยี กวา อะไร ? ก. กายกรรม ข. วจีกรรม ก. อารมณ ข. เวทนา ค. มโนกรรม ง. ผลกรรม ค. สญั ญา ง. เจตนา เฉลยขอ ค. เฉลยขอ ก. ๔. ทางแหง การทาํ ความดี เรยี กวา อะไร ? ๘. อะไรเปน มูลเหตใุ หก ระทํากรรมชั่ว ? ก. กศุ ลกรรมบถ ก. กุศลมลู ข. อกศุ ลมูล ข. อกศุ ลกรรมบถ ค. กุศลกรรม ง. อกศุ ลกรรม ค. กศุ ลมูล เฉลยขอ ข. ง. อกศุ ลมลู ๙. ความรูสกึ ในอารมณว าเปนสขุ ทกุ ข เฉลยขอ ก. เรยี กวา อะไร ? ก. เจตนา ข. เวทนา คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก 320

ÇªÔ ÒÇ¹Ô ÂÑ (¡ÃÃÁº¶) 321 ค. อารมณ ง. สงั ขาร ค. คนนนิ ทา ง. ถูกใสร าย เฉลยขอ ข. เฉลยขอ ก. ๑๐. ขอ ใด เปน ปาณาติบาตเกดิ ทาง ๑๕. จิตคิดจะฆา เปนองคแ หง อกศุ ลกรรมบถ วจีทวาร ? ขอ ใด ? ก. ฆาเอง ข. สั่งใหฆา ก. ปาณาติบาต ข. อทนิ นาทาน ค. คดิ จะฆา ง. พยายามฆา ค. ผรสุ วาจา ง. มีบริวาร เฉลยขอ ข. เฉลยขอ ก. ๑๑. ขอ ใดเปนอารมณแหงปาณาติบาต ? ๑๖. ขอ ใดจดั เปน การทําความดที างกายทวาร ? ก. ดินสอ ข. หนังสอื ก. ไมโ ลภ ข. ไมป องรา ย ค. ที่ดิน ง. สนุ ขั ค. ไมล กั ง. ไมเ หน็ ผดิ เฉลยขอ ง. เฉลยขอ ค. ๑๒. กุศลกรรมบถขอใดมุงสอนใหมี ๑๗. สัง่ คนอ่ืนไปลกั ทรพั ย เปน การละเมิด ไมตรีจติ ตอ กนั ? อกศุ ลกรรมบถขอใด ? ก. ไมฆาสตั ว ก. ปาณาตบิ าต ข. ไมลกั ทรัพย ข. อทินนาทาน ค. ไมพ ูดเทจ็ ค. กาเมสุมจิ ฉาจาร ง. ไมสอเสียด ง. มุสาวาท เฉลยขอ ก. เฉลยขอ ข. ๑๓. คําวา ปาณะ ในปาณาตบิ าต ๑๘. ผลกรรมของผกู ระทาํ อทินนาทาน โดยปรมัตถไดแกอ ะไร ? ตรงกับขอใด ? ก. จักขนุ ทรีย ก. พิการ ข. ขดั สน ข. โสตินทรยี  ค. มที รพั ย ง. คนนบั ถอื ค. ฆานนิ ทรยี  เฉลยขอ ข. ง. ชีวติ ินทรีย ๑๙. จิตคิดจะลัก เปน องคแ หงอกศุ ลกรรมบถ เฉลยขอ ง. ขอใด ? ๑๔. ขอใดเปน ผลกรรมของผกู ระทาํ ก. ปาณาตบิ าต ข. อทนิ นาทาน ปาณาติบาต ? ค. ผรสุ วาจา ง. พยาบาท ก. โรคมาก ข. ยากจน เฉลยขอ ข. คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 321


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook