Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือธรรมศึกษาชั้นเอกปี2561

คู่มือธรรมศึกษาชั้นเอกปี2561

Published by suttasilo, 2021-06-27 08:58:06

Description: คู่มือธรรมศึกษาชั้นเอกปี2561

Keywords: คู่มือธรรมศึกษา,ธรรมศึกษาชั้นเอก,2561

Search

Read the Text Version

122 ¤‹ÁÙ ×͸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒªé¹Ñ àÍ¡ ค. ทิฏฐวิ สิ ทุ ธิ ๓๗. ขอ ใด กลา วถงึ อนุปาทิเสสนิพพาน ง. ญาณทัสสนวิสุทธิ ไดถ กู ตอ ง ? เฉลยขอ ข. ก. ส้ินกิเลส ๓๒. เห็นวา ทําดไี ดดี ทําชั่วไดชัว่ ข. สน้ิ กิเลสสิ้นชวี ติ จดั เขาในอริยมรรคขอ ใด ? ค. สิน้ กเิ ลสมีชีวติ ก. สัมมาทิฏฐิ ข. สัมมาสังกปั ปะ ง. มีกิเลสมชี ีวติ ค. สัมมาสติ ง. สมั มาสมาธิ เฉลยขอ ข. เฉลยขอ ก. ๓๘. การทําจติ ใหสงบจากนิวรณต รงกับ ๓๓. ทาง ในคาํ วา จงพนู ทางแหงสนั ติ กัมมฏั ฐานใด ? หมายถงึ อะไร ? ก. สมถกัมมัฏฐาน ก. ทวาร ๓ ข. วิชชา ๓ ข. วปิ สสนา ค. สุจรติ ๓ ง. กุศลมลู ๓ ค. กายานุปสสนา เฉลยขอ ก. ง. จิตตานุปสสนา ๓๔. ผเู พง ความสงบพงึ ละโลกามิสเสีย เฉลยขอ ก. โลกามสิ ไดแ กอะไร ? ๓๙. จติ ที่เปนสมาธิตงั้ มัน่ ดแี ลว ก. กามคุณ ข. ตัณหา เปน พนื้ ฐานของกมั มัฏฐาน ? ค. กเิ ลสกาม ง. นวิ รณ ก. วิปสสนากัมมฏั ฐาน เฉลยขอ ก. ข. กสิณ ๓๕. ขอใดเปนวธิ ีปฏิบตั ิทาํ ใหเ กดิ สนั ตภิ ายใน ? ค. อสภุ ะ ก. เวนกายทุจรติ ข. เวน วจีทจุ ริต ง. กายคตาสติ ค. เจรญิ ภาวนา ง. รักษาศลี เฉลยขอ ก. เฉลยขอ ค. ๔๐. การเจรญิ กายคตาสติกัมมัฏฐาน ๓๖. คาํ วา พึงรบี รัดชาํ ระทางไปนิพพาน เพื่อใชแ กนิวรณใด ? อะไรจดั เปน ทาง ? ก. กามฉันท ก. โพชฌงค ๗ ข. อรยิ ทรัพย ๗ ข. พยาบาท ค. อรยิ มรรค ๘ ง. สมาบตั ิ ๘ ค. ถีนมทิ ธะ เฉลยขอ ค. ง. วิจิกิจฉา คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก 122

ÇÔªÒ¸ÃÃÁ 123 เฉลยขอ ก. ก. หลงลมื งา ย ข. เช่ืองาย ๔๑. กายคตาสตกิ มั มฏั ฐานมอี ะไร ค. ลงั เลสงสยั ง. โกรธงา ย เปน อารมณ ? เฉลยขอ ก. ก. ธาตุ ๔ ข. อาการ ๓๒ ๔๗. คําวา วปิ สสนา มีความหมาย ค. ซากศพ ง. ลมหายใจ ตรงกับขอ ใด ? เฉลยขอ ข ก. จติ สงบ ๔๒. คนคิดลังเลสงสัยตัดสนิ ใจไมได ข. จิตแนวแน ควรเจริญกมั มฏั ฐานใด ? ค. จิตเปน สมาธิ ก. กายคตาสติ ง. ปญ ญาเหน็ แจง ข. พุทธานสุ สติ เฉลยขอ ง. ค. กสิณ ๔๘. การเจริญวปิ สสนากมั มัฏฐาน ง. จตธุ าตวุ วตั ถาน เพือ่ ประโยชนอ ะไร ? เฉลยขอ ง. ก. สงบกาย ๔๓. คนคดิ ฟงุ ซา นหงุดหงดิ งา ย ข. สงบใจ ควรเจรญิ กัมมัฏฐานใด ? ค. ถอนความถือม่ัน ก. กายคตาสติ ข. เมตตา ง. ระงับนิวรณ ค. พุทธานสุ สติ ง. กสณิ เฉลยขอ ค. เฉลยขอ ง. ๔๙. ความกาํ จัดโมหะ เปน อะไร ๔๔. ขอ ใด เปนลักษณะของคนโทสจริต ? ของวปิ ส สนา ? ก. โกรธงาย ข. หลงลมื ก. ลกั ษณะ ข. กจิ ค. เจาระเบยี บ ง. เชือ่ งา ย ค. ผล ง. เหตุ เฉลยขอ ก. เฉลยขอ ข. ๔๕. คนโทสจริตควรเจรญิ กัมมฏั ฐานใด ? ๕๐. การเหน็ สงั ขารตามความเปน จริง ก. อสภุ ะ ข. อนสุ สติ เปนอะไรของวิปสสนา ? ค. พรหมวหิ าร ง. มรณัสสติ ก. ลกั ษณะ ข. กจิ เฉลยขอ ค. ค. ผล ง. เหตุ ๔๖. ขอ ใด เปนลักษณะของคนโมหจรติ ? เฉลยขอ ค. คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 123

124 ¤‹ÁÙ ×͸ÃÃÁÈ¡Ö ÉÒªé¹Ñ àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก 124

ÇԪҾط¸Ò¹¾Ø ·Ø ¸»ÃÐÇμÑ Ô 125 ÇªÔ Ò ¾Ø·¸Ò¹¾Ø Ø·¸»ÃÐÇμÑ Ô ¸ÃÃÁÈ¡Ö ÉÒªéѹàÍ¡ (©ºÑº»ÃºÑ »Ã§Ø ¾.È. òõõù) คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 125

126 ¤‹ÁÙ Í× ¸ÃÃÁÈ¡Ö ÉÒª¹Ñé àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก ÇԪҾط¸Ò¹¾Ø ·Ø ¸»ÃÐÇμÑ Ô ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒªÑé¹àÍ¡ »ÃàÔ ©··Õè ñ ªÒμ¡Ô ¶Ò จตุ ลิ งสูพระครรภ พระประวัติของพระสัมมาสัมพุทธเจาผูทรงพระกรุณาโปรดสัตวให พนทุกข ทรงพระนามวา สิทธัตถะ หมายถึง ผูมีความตองการสําเร็จ ไมมีผูใด จะเสมอเหมือน เปนท่ีเคารพบูชาของเทวดาและมนุษยทั้งหลาย ทรงพระคุณ อยางประเสริฐ ตรัสรูธรรมวิเศษ ทรงเปนผูสั่งสอนชี้ทางพระนิพพาน โดยกอน จะเสดจ็ อบุ ัติมาเพือ่ โปรดมนษุ ยโลกทัง้ หลายน้นั มีเรอ่ื งราวดังตอ ไปน้ี พระบรมโพธิสัตว ไดบําเพ็ญบารมีท้ัง ๓๐ ประการบริบูรณในชาติท่ีเปน พระเวสสันดร ครั้งทิวงคตแลว ไดอุบัติเปนสันดุสิตเทวราช เสวยสมบัติอยูในดุสิต เทวโลก เมื่อพระบารมีแกกลาอันจะหนุนนําใหสําเร็จพระโพธิญาณแลว จึงเปนเหตุให เกดิ ปญจบุพนมิ ติ เหตทุ ่ีทาํ ใหเ ทวดาจตุ ิจากเทวโลก ๕ ประการ คอื ๑. ทพิ ยบุปผาทป่ี ระดับพระวรกายเหย่ี วแหง ๒. ทพิ ยภษู าท่ีทรงเศรา หมอง ๓. พระเสโท (เหงื่อ) บังเกดิ ไหลออกทางชอ งพระกัจฉะ (รกั แร) ๔. พระสรีระมอี าการเศรา หมองปรากฏ ๕. มีพระทยั กระสนั เปน ทกุ ขเบ่อื หนา ยเทวโลก เม่ือปญจบุพนิมิตปรากฏดังน้ี เทวดาท้ังหลายก็รูประจักษวา สันดุสิตเทว- ราชองคน้ี คือ องคพระสัพพัญูโพธิสัตวในอนาคตกาลแนนอน จึงพากันทราบทูล อาราธนาเพื่อใหจ ตุ ลิ งมาบังเกิดในโลกมนุษย ลําดับนั้น พระบรมโพธิสัตว ยังมิไดรับอาราธนาของเหลาเทวดา แตทรง พิจารณาปญจมหาวโิ ลกนะ ๕ ประการ 126

ÇªÔ Ò¾·Ø ¸Ò¹¾Ø Ø·¸»ÃÐÇÑμÔ 127 ๑. กาล พระพทุ ธเจา จะอบุ ตั ขิ น้ึ ในโลก เฉพาะในกาลทม่ี นษุ ยมอี ายรุ ะหวา ง ๑๐๐ ปถงึ ๑๐๐๐,๐๐๐ ป ๒. ทวปี ในทวปี ทัง้ ๔ จะอุบตั ขิ ึ้นเฉพาะในชมพูทวีปเทานน้ั ๓. ประเทศ จะอบุ ตั เิ ฉพาะในมชั ฌมิ ประเทศเทานั้น ๔. สกลุ ในระหวา งสกลุ กษตั รยิ ก บั สกลุ พราหมณ ในกาลใดทชี่ าวโลกยกยอ ง สกุลใดวา สูงสดุ กจ็ ะอบุ ตั ใิ นสกลุ นนั้ ๕. มารดา ธรรมดาสตรที จ่ี ะเปน พุทธมารดาน้นั ต้ังแตเ กดิ มารักษาเบญจศีล เปน ประจาํ และบาํ เพ็ญบารมีมาถงึ แสนกปั กอนพระสัมมาสัมพุทธเจาจะอุบัติข้ึนในโลก ทาวมหาพรหมท้ังหลาย ในชนั้ สทุ ธาวาสทงั้ ๕ คือ อวหิ า อตัปปา สุทสั สา สุทัสสี และอกนิษฐา ลงมาโฆษณา ทว่ั หมน่ื โลกธาตอุ นั เปน เหตแุ หง พทุ ธโกลาหลวา ตอ ไปนอ้ี กี แสนป พระสมั มาสมั พทุ ธเจา จะบงั เกดิ ข้ึนในโลก ถาผูใ ดปรารถนาจะพบเห็น จงบําเพญ็ ทาน รักษาศีล เจรญิ ภาวนา และบําเพญ็ กุศลตา งๆ ใหถงึ พรอม กพ็ ุทธโกลาหลน้นั เปน โกลาหลขอ หนึ่งในโกลาหล ทง้ั ๕ แหง เหตุท่ที าํ ใหพรหมโลกเกดิ โกลาหล คอื ๑. พุทธโกลาหล เกิดกอนพระพุทธเจา อุบัติ ๑๐๐,๐๐๐ ป ๒. กปั ปโกลาหล เกดิ กอ นกปั พนิ าศ ๑๐,๐๐๐ ป ๓. จกั กวัตติโกลาหล เกดิ กอ นพระเจาจกั รพรรดิอุบตั ิ ๑๐๐ ป ๔. มงคลโกลาหล เกดิ กอนพระพุทธองคแสดงมงคล ๑๒ ป ๕. โมเนยยโกลาหล เกดิ กอนคนทูลถามถงึ โมเนยยปฏบิ ตั ิ ๗ ป ครง้ั ทรงพจิ ารณาเหน็ บรบิ รู ณ จงึ รบั อาราธนาแลว จตุ ลิ งมาปฏสิ นธใิ นพระครรภ แหง พระนางสริ มิ หามายาเทวี อคั รมเหสแี หง พระเจา สทุ โธทนะในกรงุ กบลิ พสั ดมุ หานคร ประวตั ชิ มพทู วปี และประชาชน ชมพูทวีปหรือดินแดนประเทศอินเดียในปจจุบัน ซ่ึงตั้งอยูทางทิศพายัพ (ทศิ ตะวนั ตกเฉยี งเหนอื ) ของประเทศไทย เปน ประเทศทเี่ จรญิ สมบรู ณก วา ประเทศอน่ื ๆ มีพระเจาแผนดินเปนผูปกครองอาณาเขตเปนสัดสวน ไมไดรวมอยูในความปกครอง อนั เดยี วกนั เชน แควน โกศลและแควนมคธ เปน ตน ลวนเปน เอกราชดว ยกันทั้งสิ้น คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 127

128 ¤Ù‹Á×͸ÃÃÁÈÖ¡ÉҪѹé àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก ความเชอื่ ของคนในยุคน้ัน มชั ฌมิ ประเทศหรอื เขตทา มกลางนน้ั เปน ทน่ี ยิ มของคนในครง้ั นนั้ เพราะเปน ทามกลาง เปนท่ีตั้งแหงพระนครใหญๆ และเปนท่ีชุมนุมแหงนักปราชญผูมีความรู คนในชมพูทวีปนั้นสวนใหญนับถือศาสนาพราหมณ เปนคนท่ีทิฏฐิมานะแรงกลา รังเกยี จกนั ดว ยเชือ้ ชาติและโคตรเปนอยา งย่ิง ในสวนทิฏฐิ คือ ความเห็นของคนเหลานั้น ที่ปรารภความตาย ความเกิด และสขุ ทุกขก ็เปน ตา งๆ กนั แตยน ลงก็คงเปน ๒ อยาง คือ ที่เชื่อถอื ศาสนาพราหมณ และโดยบางกลุมถือวาตายแลวเกิดบางกลุมถือวา ตายแลวสูญบางกลุม เหน็ วา เกิดแลว เปน อะไร กเ็ ปนอยอู ยา งนน้ั ไมจตุ ิแปรผันตอ ไป บางกลมุ เห็นวาเกิดแลว จุติแปรผันได ตอ ไป สว นมานะ คือ ความถือตวั คนเหลา นัน้ ถอื หมูและชาตโิ คตรของตนๆ ในหมู คนท่เี ขานยิ มวาสูง เชน หมูอริยกะ กร็ ังเกียจคนในหมูท่เี ขาไมน ยิ ม หมมู ลิ ักขะ แมใน หมเู ดยี วกนั คนมชี าตสิ งู เชน กษตั รยิ แ ละพราหมณ กร็ งั เกยี จคนมชี าตติ า่ํ เชน จณั ฑาล ศทู ร ปกุ กสุ ะ แมใ นหมทู ม่ี ชี าตเิ ดยี วกนั คนมโี คตรทเ่ี ขานบั ถอื เชน โคตมโคตร กร็ งั เกยี จ คนที่มีโคตรที่เขาไมนับถือ เชน ภารทวาชโคตร โกสิยโคตร มานะความถือตัวของ เหลาน้ันเปนอยางไร การสรางเมืองกบิลพัสดุและตงั้ ศากยวงศ พระเจาโอกกากราช ดํารงราชสมบัติในพระมหานครแหงหน่ึง พระองค มีพระราชบุตร ๔ พระองค พระราชบุตรี ๕ พระองค ซ่ึงประสูติจากพระครรภ พระมเหสีท่ีเปนพระราชภคินีของพระองค คร้ันพระมเหสีน้ันทิวงคตแลว พระเจาโอก กากราชไดพระมเหสีใหม ประสูติพระราชโอรสพระองคหนึ่ง พระเจาโอกกากราช- ทรงยินดียิ่งพลั้งพระราชทานพรใหนางเลือกสิ่งที่ตองประสงค พระนางจึงทูลขอราช สมบัติใหแกพระโอรส พระเจาโอกกากราชก็พระราชทานใหตามประสงค หากจะ ไมพระราชทานก็จะเสียสัตย โดยโปรดใหพระราชบุตร ๔ พระองค ซึ่งประสูติจาก พระครรภอ งคเดมิ พระมเหสีใหพ าพระภคนิ ีซง่ึ รวมพระมารดาเดยี วกัน ๕ พระองคน ้ัน ยกจตุรงคเสนาออกจากพระนครไปสรางพระนครใกลปาหิมวันต อยูในเขตมัชฌิม ประเทศ ซ่ึงกบลิ ดาบสอาศัยอยูในท่อี ยพู ระนครทส่ี รา งใหมน ้จี งึ ไดชือ่ วา กบลิ พสั ดุ 128

ÇÔªÒ¾·Ø ¸Ò¹Ø¾·Ø ¸»ÃÐÇÑμÔ 129 ลาํ ดับพระวงศ ครั้นการสถาปนาพระนครใหมเสร็จแลว อํามาตยท้ังหลายปรึกษากันคิด จะทาํ อาวาหะวิวาหะแกพระราชบุตรท้งั ๔ แตพระองคท รงเกรงวา ถาจะทาํ อาวาหะดวย สตรอี นื่ จากพระภคินีของพระองค พระโอรสพระธดิ าทปี่ ระสตู ใิ นภายหลังจะไมบริสทุ ธิ์ ทางฝายพระมารดาจะมีพระชาติเจือคละกัน จึงแสดงพระอัธยาศัยใครจะทําอาวาหะ ววิ าหะดว ยพระภคนิ ขี องพระองคเ อง อาํ มาตยท งั้ หลายกอ็ นมุ ตั ติ าม พระราชบตุ รทง้ั ๔ นนั้ จงึ ทรงทาํ อาวาหะววิ าหะกบั พระภคนิ เี ปน คๆู ตง้ั ศากยวงศส บื มา เวน ไวแ ตพ ระเชฏฐภคนิ ี พระองคเ ดยี ว ภายหลงั มพี ระหฤทยั ปฏพิ ทั ธก บั เจา เมอื งเทวทหะ ไดท าํ การอาวาหะววิ าหะ ดวยกันแลว ต้ังโกลิยวงศสืบมา กษัตริยสองพระวงศนั้น จึงนับวาเปนพระญาติ เกยี่ วเนอื่ งกนั ตง้ั แตก าลนน้ั กษตั รยิ ใ นวงศศ ากยะ ไดเ ปน ใหญป กครองสกั กชนบท ดาํ รงวงศ สืบมาโดยลําดับ จนถึงพระเจาชยเสนะ พระองคมีพระราชบุตร มีพระนามวาสีหหนุ พระราชบตุ รี มพี ระนามวา ยโสธรา ครัน้ พระเจาชยเสนะทวิ งคตแลว สีหหนรุ าชกุมาร ไดเสวยราชสมบัติสืบพระวงศ พระเจาสีหหนุมีพระมเหสีพระนามวากัญจนา ซ่ึงเปน พระกนฏิ ฐภคนิ ขี องพระเจา อญั ชนะในเมอื งเทวทหะมพี ระราชบตุ ร พระราชบตุ รปี ระสตู ิ แตพระมเหสนี ัน้ ๗ พระองค คือ พระราชบุตร ๕ พระองค ไดแก สุทโธทนะ สุกโกทนะ อมโิ ตทนะ โธโตทนะ และ ฆนิโตทนะ พระราชบตุ รี ๒ พระองค ไดแ ก ปมติ า และอมติ า สวนพระนางยโสธรา ซ่ึงเปนพระราชบุตรีของพระเจาชยเสนะน้ัน ไดเปนพระมเหสี ของพระเจาอัญชนะในเมอื งเทวทหะ มีพระราชบุตร พระราชบตุ รีรวม ๔ พระองค คอื พระราชบตุ ร ๒ พระองค ไดแ ก สปุ ปพุทธะและทัณฑปาณิ พระราชบุตรี ๒ พระองค คือ มายา และปชาบดี (อีกอยา งหน่ึงเรียกโคตมี) เม่ือสุทโธทนราชกุมารมีพระชนมายุเจริญวัย ควรจะมีพระมเหสีไดแลว พระเจา สีหหนุจึงไดส ง พราหมณ ๘ คน ไปสูขอพระนางสริ ิมหามายา พระราชธิดาของ พระเจาอัญชนะกับพระนางยโสธราแหงเมืองเทวทหะ ผูเปนเบญจกัลยาณี ประกอบ ดวยความงาม ๕ ประการ คือ (๑) เกสกัลยาณี ผมงาม (๒) ฉวิกัลยาณัง ผิวงาม (๓) มังสกัลยาณัง เนอ้ื งาม (๔) อัฐกิ ลั ยาณงั ฟน งาม (กระดูก) และ (๕) วยกัลยาณัง วัยงาม พระเจาอัญชนะก็ทรงยกใหเพ่ืออภิเษกสมรสกับพระเจาสุทโธทนะ คร้ันได ศภุ วารฤกษ เจา เมอื ง ทง้ั ๒ กไ็ ดท าํ อาวาหะววิ าหมงคลแกพ ระราชบตุ รและพระราชบตุ รี คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 129

130 ¤‹ÙÁÍ× ¸ÃÃÁÈ¡Ö ÉÒªéѹàÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก ท่ีเมืองเทวทหะแลวเสด็จกลับมาอยูเมืองกบิลพัสดุ พระเจาสุทโธทนะไดครองราชย สมบัติสืบมา พระมารดาทรงพระสบุ ินนมิ ิต หลังจากอภิเษกสมรสแลว พระนางสิริมหามายากําลังบรรทมอยู ไดทรง พระสุบินนิมิตแปลกประหลาดอยางหนึ่งวา มีดวงลอยเดนเปลงปลั่งอยูกลางเวหา ดวงหนง่ึ มรี ศั มี ๖ อยา ง ดจุ ไขม กุ สดี อกกหุ ลาบ ณ เบอ้ื งบนรศั มอี นั วจิ ติ รนน้ั ปรากฏวา มีชางเผือกเชอื กหนง่ึ มีงา ๖ งา คอยๆ เล่อื นเคลื่อนจากอากาศตํา่ มาทกุ ที ก็ยรุ ยาตรเขา สูพระครรภเ บ้อื งขวาของพระนาง เมื่อพระนางตืน่ บรรทม ใหเ กิดความปรีดาปราโมทย อยา งเหลอื ลน พอดวงอาทติ ยอ ทุ ยั ไขแสงขน้ึ รศั มแี จม จรสั รงุ โรจนไ ปครง่ึ หนงึ่ ของพภิ พ พระราชเทวีจึงกราบทูลพระสุบินนิมิตใหพระราชสวามีทรงทราบ พระเจาสุทโธทนะจึง ตรสั ใหหาพราหมณโ หราจารยมาทาํ นายไดรบั คาํ พยากรณวา พระราชโอรสในครรภนั้น จะเปนอคั รบุรษุ มีอานุภาพมากถา ดํารงอยใู นฆราวาสวิสัยจะไดเ ปนพระบรมจกั รพรรดิ์ ถา ออกบรรพชาจะไดต รัสรูเ ปน พระสมั มาสมั พทุ ธเจาแนแ ท พระโพธสิ ตั วประสตู ิ คร้ันถึงเวลาพระโพธิสัตวจะเสด็จสมภพ เกิดนิมิตดังนี้ คือ เวลาบายแหง วนั ประสตู ิ พระนางสิริมหามายาเสดจ็ ประพาสพระอุทยาน ประทบั อยภู ายใตต นสาละ มีก่ิงสาขาอุดมดกด่ืนไปดวยใบอันสดใสและดอกอันมีกลิ่นหอม เมื่อจวนจะถึงกาล ประสูติ ตนสาละก็นอมก่ิงสาขานั้นมาปกปองเหนือพระนาง ที่พ้ืนธรณี มีบุปผชาติ งอกข้ึนรองรับ ธาราอันใสดจุ แกว เจยี ระไนหล่งั ออกมาเพอ่ื สระสรง ในท่สี ดุ พระนางก็ ประสูติพระโอรสซึ่งประกอบดวยมหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการและอนุพยัญชนะ ๘๐ ประการ มหาปรุ สิ ลกั ษณะ ๓๒ มหาปุริสลักษณะ หมายถึง ลักษณะของมหาบุรุษ ไดแก ลักษณะของผูมี บุญญาธกิ ารเกิดจากการรกั ษาศลี และส่ังสมบารมีมาชานาน มี ๓๒ ประการ คือ 130

ÇԪҾط¸Ò¹Ø¾·Ø ¸»ÃÐÇμÑ Ô 131 ๑. พระบาทประดิษฐานต้ังลงดวยดี เม่ือทรงเหยียบพระบาทจรดพื้น ฝา พระบาททกุ สวนเสมอกนั เมอื่ ทรงยกพระบาทขึน้ กเ็ สมอกนั ๒. ใตฝ า พระบาททัง้ สองมีลายจักร ประกอบดว ยมงคล ๑๐๘ ประการ ๓. สนพระบาทยาว พระบาทแบงออกเปนส่ีสวน ปลายพระบาทสองสวน ลําพระชงฆ (แขง ) ต้งั ในสว นท่สี ามและสี่ สน พระบาทนั้นสแี ดงงาม ๔. นว้ิ พระหัตถ ฝาพระบาท กลมงามเรียวยาวเสมอกัน ๕. ฝา พระหตั ถ ฝาพระบาท ออ นนุม เปนนิตย ๖. ฝาพระหตั ถ ฝาพระบาทมีลายดงั ตาขา ย ๗. หลังพระบาทนนู ดจุ สังขค ว่ําและมขี อ พระบาทอยเู บอื้ งบน ๘. พระชงฆเรียวดังแขงเน้ือทราย ๙. ขณะประทับยืนพระวรกายต้ังพระหัตถยาวจรดพระชานุโดยไมตองนอม พระวรกายลง ๑๐. พระคุยหะ เรนอยใู นฝก คอื องคก าํ เนดิ หดเรน เขา ขางใน ๑๑. พระวรรณะ เหลอื งงามดงั ทองคาํ ๑๒. พระฉววี รรณละเอยี ด ธุลีละอองมติ ิดตองพระวรกายได ๑๓. พระโลมชาติ (ขน) มขี ุมละเสน ๆ ๑๔. พระโลมชาติ มีสีเขียวสนิทขดเปนทักษิณาวรรต (เวียนขวา) ๓ รอบ และมีปลายชอ นขน้ึ ๑๕. พระวรกายตรงดจุ กายพรหม สงางาม สมบูรณ สมสวน ๑๖. พระมังสะ (เนื้อ) เต็มในท่ี ๗ แหง ไดแก หลังพระหัตถทั้งสอง หลังพระบาทท้ังสอง พระอังสา (บา) ทั้งสอง ลําพระศอ (คอ) มิได เห็นเสน ปรากฏออกมาภายนอก ๑๗. พระวรกายสวนหนาสมสวนบริบูรณ สงางามดุจราชสหี  ๑๘. พระปฤษฎางค (หลัง) เต็มเสมอกันตั้งแตบั้นพระองค (เอว) ข้ึนไป ถงึ ตนพระศอ (คอ) ๑๙. พระวรกายกับวาของพระองคเทา กัน เหมือนมณฑลตนนโิ ครธ ๒๐. ลาํ พระศอกลมเสมอกัน คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 131

132 ¤ÁÙ‹ ×͸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒª¹éÑ àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก ๒๑. เสนประสาทสําหรับรสอาหารดเี ลศิ ๒๒. พระหนุ (คาง) ดุจคางราชสีห ๒๓. พระทนตม ี ๔๐ ซ่ี เบ้อื งบน ๒๐ ซ่ี เบ้อื งลา ง ๒๐ ซ่ี ๒๔. พระทนตเรยี งเรยี บเสมอกัน ๒๕. พระทนตส นิทกันดี มิไดหา ง ๒๖. พระทาฐะ (เขี้ยว) ทง้ั ๔ ขาวงามบรสิ ทุ ธ์ิ ๒๗. พระชวิ หาออน กวา ง ยาวกวาชนทงั้ ปวง ๒๘. พระสุรเสียงกองกังวานดุจเสียงทาวมหาพรหม และไพเราะดุจเสียง นกการเวก ๒๙. พระเนตรเขียวสนิท ๓๐. ดวงพระเนตรสดใสดงั ตาโค ๓๑. พระอณุ าโลมสขี าวนวลเหมือนปุยฝาย บงั เกดิ ระหวางพระโขนง (ค้วิ ) ๓๒. พระเศยี รกลมงาม พระพกั ตรม อี ณุ หสิ คอื ลกั ษณะเหมอื นมกี รอบหนา อนพุ ยัญชนะ ๘๐ อนุพยัญชนะ หมายถึง ลักษณะขอปลีกยอย หรือสวนประกอบเสริมของ พระมหาบรุ ษุ ลกั ษณะ มี ๘๐ ประการ คือ ๑. มีน้ิวพระหตั ถและน้ิวพระบาทเหลืองงาม ๒. นิว้ พระหตั ถและน้ิวพระบาทเรยี วออกไปโดยลาํ ดบั แตตนจนปลาย ๓. นวิ้ พระหัตถและนิ้วพระบาทกลมดจุ นายชางกลึงไวอยา งดี ๔. พระนขา ทัง้ ๒๐ มสี ีแดง ๕. พระนขา ท้ัง ๒๐ น้ัน งอนงามชอ นข้ึนเบื้องบนมิไดค อมลงเบ้อื งต่ํา ๖. พระนขา เกล้ยี งกลมสนิทมิไดเปนริ้วรอย ๗. ขอพระหัตถและขอพระบาท ซอนอยูในพระมังสะมิไดสูงขึ้นออกมา ภายนอก ๘. พระบาททง้ั สองเสมอกนั มไิ ดเ ล็กหรือใหญก วา กัน ๙. พระดาํ เนินงาม ดจุ การเดินแหงชา ง 132

ÇԪҾط¸Ò¹Ø¾·Ø ¸»ÃÐÇÑμÔ 133 ๑๐. พระดาํ เนินงาม ดุจการเดินแหงสีหราช ๑๑. พระดาํ เนนิ งาม ดุจการเดนิ แหง หงส ๑๒. พระดาํ เนนิ งาม ดุจการเดินแหง โคอุสภราช ๑๓. ขณะยืนจะยา งพระบาทนั้น ยกพระบาทเบื้องขวายา งไปกอ น พระกาย เย้อื งไปเบื้องขวากอ น ๑๔. พระชานุมณฑลเกล้ียงกลมงามบริบูรณ มิไดเห็นอัฐิสะบาปรากฏ ออกมาภายนอก ๑๕. มีกริ ยิ าของบุรษุ บริบูรณ คอื มิไดม ีกิริยามารยาทคลา ยสตรี ๑๖. พระนาภมี ิไดบ กพรอ ง กลมงาม มไิ ดผดิ ปกตใิ นทีใ่ ดที่หนึง่ ๑๗. พระอุทรมีสณั ฐานอันลึก ๑๘. ภายในพระอทุ รมรี ายเวยี นเปนทักขิณาวัฏ ๑๙. ลําพระเพลาทั้งสองกลมงามดจุ ลาํ สวุ รรณกทั ทลี ๒๐. ลําพระกรทงั้ สองงามดจุ งวงแหงชางเอราวัณ ๒๑. พระอังคาพยพใหญนอยท้ังปวงจําแนกเปนอันดี คือ งามพรอมทุก สง่ิ หาที่ตาํ หนมิ ิได ๒๒. พระมังสะทคี่ วรจะหนาก็หนา ท่คี วรจะบางกบ็ างท่ัวทง้ั พระวรกาย ๒๓. พระมังสะมิไดเ หี่ยวยน ในท่ีใดทหี่ นง่ึ ๒๔. พระวรกายท้งั ปวงปราศจากตอม ไฝปาน และมลู แมลงวัน ๒๕. พระวรกายงามบรสิ ทุ ธ์ิ เสมอกันทง้ั สว นบนและสวนลา ง ๒๖. พระวรกายงามบรสิ ทุ ธิ์ ปราศจากมลทนิ ท้งั ปวง ๒๗. ทรงพระกําลังมาก เทา กับกาํ ลังชางพันโกฏิ ๒๘. มีพระนาสกิ โดง ๒๙. สัณฐานพระนาสิกงามแฉลม ๓๐. มพี ระโอษฐท ั้งสองสวนเสมอกนั มสี แี ดงงามดุจผลตาํ ลงึ สกุ ๓๑. พระทนตบริสทุ ธิ์ปราศจากมูลมลทนิ ๓๒. พระทนตข าวดจุ ดงั สสี ังข ๓๓. พระทนตเ กล้ยี งสนิทมไิ ดเ ปนร้วิ รอย คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 133

134 ¤‹ÁÙ Í× ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒªÑé¹àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก ๓๔. พระอินทรียท งั้ ๕ งามบรสิ ทุ ธ์ิ ๓๕. พระเขี้ยวทง้ั ๔ กลมบริบูรณ ๓๖. ดวงพระพักตรม สี ัณฐานยาวสวย ๓๗. พระปรางทัง้ สองดเู ปลงงามเสมอกนั ๓๘. กระพุง พระปรางทัง้ สองเตม็ บริบูรณ ๓๙. ลายพระหัตถม รี อยอนั ลึก ๔๐. ลายพระหตั ถมีรอยอนั ยาว ๔๑. ลายพระหตั ถมรี อยตรง ๔๒. ลายพระหตั ถม ีรอยสีแดงสดใส ๔๓. รัศมีพระวรกายเปน ปริมณฑลโดยรอบ ๔๔. กระบอกพระเนตรกวา งและยาวงามสมกัน ๔๕. ดวงพระเนตรประกอบดว ยประสาททัง้ ๕ ผองใสบรสิ ุทธ์ิ ๔๖. ปลายเสนพระโลมชาติทั้งหลายเหยยี ดตรง ๔๗. พระชวิ หามีสณั ฐานงาม ๔๘. พระชิวหาออนมิไดก ระดา ง มีสแี ดงเขม ๔๙. พระกรรณทั้งสองมีสณั ฐานยาวดุจกลบี ปทุมชาติ ๕๐. ชอ งพระกรรณมีสัณฐานกลมงาม ๕๑. พระเสน เอ็นท้ังปวง เปนระเบียบสละสลวย ๕๒. แถวพระเสน เอ็นทง้ั หลายซอนอยูในพระมงั สะ มไิ ดนนู ขึ้น ๕๓. พระเศียรมีสัณฐานงามเหมอื นฉตั รแกว ๕๔. ปริมณฑลพระนลาฎโดยกวา งยาวสมกนั ๕๕. พระนลาฎมสี ณั ฐานงาม ๕๖. พระโขนงมสี ัณฐานงาม ดุจคันธนูทโ่ี กงไว ๕๗. พระโลมชาตทิ ่ีพระโขนงมเี สนละเอียด ๕๘. เสนพระโลมชาติทีพ่ ระโขนงลมราบไปทางเดยี วกนั ๕๙. พระโขนงใหญ ๖๐. พระโขนงยาวสดุ หางพระเนตร ๖๑. ผิวพระมงั สะละเอยี ดทัว่ ท้ังพระวรกาย 134

ÇÔªÒ¾·Ø ¸Ò¹¾Ø ·Ø ¸»ÃÐÇÑμÔ 135 ๖๒. พระวรกายรุง เรืองไปดว ยสริ ิ ๖๓. พระวรกายไมม ัวหมอง ผอ งใสอยเู ปนนิตย ๖๔. พระวรกายสดชนื่ ดุจดวงดอกปทุมชาติ ๖๕. พระวรกายมีสัมผสั ออนนมุ สนทิ ไมกระดาง ๖๖. กล่ินพระวรกายหอมฟงุ ดุจกล่นิ กฤษณา ๖๗. พระโลมชาตมิ ีเสนเสมอกัน ๖๘. พระโลมชาติมเี สนละเอยี ด ๖๙. ลมอสั สาสะปส สาสะ เดินละเอยี ด ๗๐. พระโอษฐมีสัณฐานงามดจุ แยม ๗๑. กล่นิ พระโอษฐหอม ดุจกล่ินอบุ ล ๗๒. พระเกศาดําเปนแสง ๗๓. กลิน่ พระเกศาหอมฟุง ขจรตลบ ๗๔. กลนิ่ พระเกศาหอม ดุจกล่นิ โกมล ๗๕. พระเกศาทกุ เสนมสี ัณฐานกลมสลวย ๗๖. พระเกศาดําสนิท ๗๗. พระเกศามีเสน ละเอยี ด ๗๘. เสนพระเกศาไมยงุ เหยิง ๗๙. เสนพระเกศาเวียนเปนทักขณิ าวัฏ ๘๐. พระเกตมุ าลาเปนระเบียบขน้ึ ณ สวนบนพระเศียร ฯ อาสภวิ าจา พระบรมโพธิสัตว เมื่อประสูติแลว ทรงทอดพระเนตรทิศท้ัง ๑๐ มิทรง เห็นผูใดจะเสมอเหมือนพระองค จึงบายพระพักตรสูทิศอุดร เสด็จดําเนินไป ๗ กาว ทรงเปลงพระสุรเสียงดุจเสียงทาวมหาพรหมวา อคฺโคหมสฺมิ โลกสฺส เชฏโหมสฺมิ โลกสฺส เสฏโ หมสฺมิ โลกสฺส อยมนตฺ ิมา ชาติ นตฺถิทานิ ปรุ พฺภโว. แปลวา เราเปน ผูเลิศแหงโลก เราเปนผูเจริญแหงโลก เราเปนผูประเสริฐแหงโลก ชาติน้ีเปนชาติ สุดทาย บัดน้ีไป ไมมีการเกิดอีก ดังน้ี ขณะน้ันหม่ืนโลกธาตุก็หว่ันไหวเกิดโอภาส สวางไปท่ัว คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 135

136 ¤‹ÙÁÍ× ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒªÑé¹àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก ธรรมดาพระบรมโพธิสัตว พอประสูติจากพระครรภของพระมารดาแลว เปลง สีหนาทวาจาไดน้นั มอี ยู ๓ ชาติ คอื ๑ ชาตทิ ี่อุบตั เิ ปน พระมโหสถ ๒ ชาติทอี่ ุบตั ิ เปนพระเวสสันดร ๓ ชาติสุดทายท่ีอุบัติเปนสิทธัตถกุมารน้ี อาสภิวาจาน้ีประกอบ ดวยองค ๘ ประการ คอื ๑ แจมใส ๒ ชัดถอยชัดคํา ๓ หวานกลอมใจ ๔ เสนาะโสต ๕ หยดยอ ย ๖ ไมเ ครือไมพรา ไมแ หบ ๗ ซ้งึ ๘ มเี สียงกังวาน สหชาติ สิง่ ที่อบุ ตั ใิ นวนั เดียวกบั พระโพธสิ ตั ว ในวันที่พระบรมโพธสิ ัตวป ระสตู ิ มสี หชาตทิ ี่บังเกิดขนึ้ ในวันเดยี วกนั ๗ สงิ่ คอื (๑) พระนางพมิ พา (๒) พระอานนท (๓) กาฬุทายีอํามาตย (๔) นายฉันนะ (๕) มา กณั ฐกะ (๖) ตน พระศรีมหาโพธ์ิ (๗) ขมุ ทองทัง้ สีม่ มุ เมอื ง พระเจา สทุ โธทนะทรงทราบขา วประสตู ิ จงึ ตรสั สงั่ ใหเ ชญิ เสดจ็ กลบั พระราชวงั ฝายอสิตดาบส เรียกอีกช่ือหน่ึงวา กาฬเทวิลดาบส ผูมีความคุนเคยและเปนที่นับถือ ของราชสกุล อาศัยอยูเชิงเขาหิมวันต ไดทราบขาวจึงเขาไปเยี่ยม พระเจาสุทโธทนะ ทรงเชญิ ใหเขา ไปนงั่ ณ อาสนะ อภิวาท สนทนาตามสมควรแลวทรงอมุ พระราชโอรส ออกมา เพ่ือนมัสการพระดาบส ฝายพระดาบสเห็นลักษณะของพระโอรสตองตาม ตํารับมหาบุรุษลักษณะพยากรณศาสตร จึงทํานายลักษณะของพระมหาบุรุษเปน ๒ อยา งวา ถา ดาํ รงในฆราวาสวสิ ยั จกั เปน พระเจา จกั รพรรดริ าช ปราบปรามชนะทว่ั ปฐพี มมี หาสมทุ ร ๔ เปนขอบเขต ถาออกบรรพชา ประพฤติพรตพรหมจรรย จักเปนศาสดา เอกในโลก ครั้นเหน็ อศั จรรยอยางนั้นแลว เกิดความเคารพนบั ถอื ในพระราชโอรสเปน อยางมาก จึงลุกขึ้นกราบลงท่ีพระบาททั้งสองของพระราชโอรสดวยศีรษะของตน พระเจา สทุ โธทนะทอดพระเนตรเหน็ ดงั นน้ั จงึ ยกพระหตั ถข นึ้ อภวิ นั ทนาการ ฝา ยพระดาบส ถวายพระพรลากลับไปที่อยูแหงตนและดําริวา อาตมามีชีวิตอยูไมทันที่จะไดเห็น พระราชกุมารนี้ตรัสรูเปนพระสัพพัญูเจาแน นาลกะผูเปนหลานจะไดทันเห็น จงึ ตรงไปยงั บา นนอ งสาวแลว เรยี กนาลกะผเู ปน หลานมาบอกเนอ้ื ความใหฟ ง ทกุ ประการ แลว แนะนําใหบ วชอยูคอยทา ต้งั แตว ันนัน้ ฝายนาลกะ ผไู ดส ่งั สมกศุ ลบารมมี าเปนอัน มากก็เชื่อคําของลุง ปลงผมโกนหนวดนุงหมผากาสาวพัสตร อธิษฐานเพศบรรพชาวา ทา นผใู ดเปน อดุ มบคุ คลในโลก ขา พเจา ขอบรรพชาเฉพาะสาํ นกั ทา นผนู น้ั แลว บา ยหนา ไป 136

ÇªÔ Ò¾Ø·¸Ò¹¾Ø ·Ø ¸»ÃÐÇÑμÔ 137 ยังทิศอันเปนท่ีสถิตแหงพระบรมโพธิสัตว ถวายนมัสการดวยเบญจางคประดิษฐ แลว สะพายบาตรออกจากเคหสถาน ไปเจริญสมณธรรมยงั ปาหมิ พานต ฝา ยราชสกุลเมื่อเห็นดาบสซ่ึงเปนที่นับถือของตน กราบท่ีพระบาทของ พระราชโอรสแสดงความนับถือและไดฟงพยากรณอยางนั้น ก็มีจิตนับถือใน พระราชโอรสนน้ั ยง่ิ นกั และถวายโอรสของตน ๆ เปน บรวิ าร ตระกลู ละ ๑ คน สว นพระเจา สทุ โธทนะ กโ็ ปรดใหมม พี ระพเี่ ลี้ยงนางนมคอยปฏิบตั ิพระราชโอรสอยูเ ปน นติ ย ขนานพระนาม เมื่อประสูติได ๕ วัน พระเจาสุทโธทนะ โปรดใหประชุมพระญาติวงศ และเสนามาตยพรอมกัน เชิญพราหมณ ๑๐๘ คน มาฉันโภชนาหารแลว ทํามงคล ขนานพระนามวา “สิทธัตถ” แปลวา ส่ิงท่ีตองการสําเร็จตามปรารถนา แตชาวเมือง มักเรียกตามพระโคตรวา โคตมะ อีกประการหนึ่ง พระบรมโพธสิ ตั ว มพี ระรศั มีโอภาส จากพระสรรี กาย เหตุนั้นพราหมณท ั้งหลายจงึ ถวายพระนามวา “องั ครี สราชกมุ าร” พราหมณ ๘ คน ทาํ นายพระลกั ษณะ พราหมณาจารย ๑๐๘ คน ทสี่ ําเรจ็ ไตรเวท คอื ๑ ฤคเวท ๒ สามเวท ๓ ยชรุ เวท บรโิ ภคโภชนาหารแลว ไดค ดั เลอื กพราหมณท มี่ คี วามรเู กยี่ วกบั ทาํ นายลกั ษณะ ๘ คน คือ ๑ รามพราหมณ ๒ ลักษณพราหมณ ๓ ยัญญพราหมณ ๔ ธุรพราหมณ ๕ โภชนพราหมณ ๖ สทุ ัตตพราหมณ ๗ สยามพราหมณ และ ๘ โกณฑัญญพราหมณ เมอ่ื พราหมณท ้ัง ๗ คนแรก ไดเหน็ มหาปรุ ิสลักษณะ ๓๒ ประการ กับอนพุ ยัญชนะ ๘๐ ประการของพระโพธสิ ตั วแ ลวไดย กนว้ิ มือชูขึ้น ๒ น้ิว ทลู ทํานายวา พระราชกมุ าน้ี มคี ติเปน ๒ คอื ถาดาํ รงเพศฆราวาสจะไดเ ปนพระเจา จกั รพรรดิ ถา เสดจ็ ออกผนวช จะไดต รสั รูเปน พระสมั มาสัมพทุ ธเจา สวนโกณฑัญญพราหมณ ผูมีอายุนอยกวาพราหมณท้ังหมด เม่ือพิจารณา โดยถี่ถวนแลว จึงยกชูนิ้วมือข้ึนเพียงน้ิวเดียว โดยทํานายวา พระราชกุมาจะสถิต อยฆู ราวาสวสิ ัยหามิได จะทรงออกผนวช ตรัสรเู ปนพระสมั มาสัมพุทธเจา โดยแนแ ท คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 137

138 ¤Á‹Ù ×͸ÃÃÁÈÖ¡ÉҪѹé àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก พระนางสิริมหามายาทิวงคต ฝา ยพระนางสริ มิ หามายาเทวี เมอ่ื ประสตู พิ ระโอรสได ๗ วนั ทวิ งคตไปบงั เกดิ ในดสุ ติ เทวโลก พระเจา สทุ โธทนะจงึ จดั พระพเี่ ลยี้ งนางนมมาใหค อยอภบิ าลบาํ รงุ รกั ษา และทรงมอบพระราชกุมารนั้นใหพระนางปชาบดีโคตมี มีพระราชบุตรพระองคหน่ึง พระนามวา นนั ทกมุ ารมี พระราชบตุ รพี ระองคห นง่ึ พระนามวา รูปนนั ทา เมื่อสิทธัตถราชกุมารทรงพระเจริญขึ้นโดยลําดับ มีพระชนมายุได ๗ ป พระราชบดิ าโปรดใหข ดุ สระโบกขรณใี นพระราชนเิ วศน ๓ สระ ปลกู อบุ ลบวั เขยี วสระหนง่ึ ปลกู ปทมุ บวั หลวงสระหนง่ึ ปลกู บณุ ฑรกิ บวั ขาวสระหนงึ่ แลว ตกแตง ใหเ ปน ทเี่ ลน สาํ ราญ พระหฤทัยและจัดเครื่องทรง คือ จันทนสําหรับทา ผาโพกพระเศียร ฉลองพระองค ผา ทรงสะพกั พระภษู าลว นเปน ของมาแตแ วน แควน กาสี มคี นคอยอภบิ าลกน้ั เศวตฉตั ร (พระกลดขาวซึ่งนับวาเปนของสูง) ท้ังกลางวันกลางคืน เพื่อจะมิใหเย็นรอนธุลีละออง แดดนํ้าคางมาถูกตองพระกายได คร้ันพระราชกุมารมีพระชนมเจริญ ควรจะศึกษา ศลิ ปศาสตรว ิทยาได พระราชบิดา จงึ ทรงพาไปมอบไวในสาํ นักครวู ิศวามิตร พระราช กมุ ารทรงเรียนไดวอ งไวจนส้นิ ความรูอาจารย พระราชพิธีวัปปมงคล สมัยหนึ่ง ในสันทําพิธีวัปปมงคลแรกนาขวัญ พระเจาสุทโธทนะ ตรัสให ประดับตกแตงพระนคร พระองคมีหมูอํามาตย พราหมณ คฤหบดีแวดลอม เสด็จสู สถานที่กระทําการแรกนาขวัญ ตรัสใหเชิญพระโพธิสัตวเสด็จไป ณ ท่ีน้ันดวย และ ใหป ระทบั อยภู ายใตต น หวา ตน หนง่ึ สว นพระองคพ รอ มดว ยมขุ มนตรี ทรงแรกนาขวญั ดวยพระองคเอง ขณะนั้นพวกพี่เล้ียงนางนมทั้งหลายละท้ิงพระโพธิสัตวไวแตลําพัง พระองคเ ดยี ว ชวนกนั มาดกู ารแรกนาขวญั พระโพธสิ ตั วก เ็ สดจ็ ลกุ ขน้ึ ขดั บลั ลงั กน ง่ั สมาธิ เจริญอานาปานสติกัมมัฏฐาน ทําปฐมฌานใหเกิดข้ึน เวลานั้นเปนเวลาบาย เงารมไม ทง้ั หลายกช็ ายไปตามตะวนั ทง้ั สน้ิ แตเ งาไมห วา นนั้ ปรากฏเปน ปรมิ ณฑลตรงอยดู จุ เวลา เทยี่ งวัน พ่ีเลย้ี งนางนมท้งั หลายกลบั มาเหน็ ปรากฏการณเชนน้ัน จงึ ไปกราบทลู พระเจา สุทโธทนะใหทรงทราบ พระองครีบเสด็จมาทอดพระเนตรเห็นความมหัศจรรยเชนน้ัน กย็ กหตั ถน มสั การและดาํ รสั วา กาลเมอื่ ประสตู ใิ หมๆ ใครจ ะใหถ วายนมสั การพระดาบส 138

ÇÔªÒ¾·Ø ¸Ò¹Ø¾·Ø ¸»ÃÐÇμÑ Ô 139 กลบั กระทาํ ปาฏหิ ารยิ ข น้ึ ไปยนื บนชฎา เรากป็ ระณตไหวเ ปน ครง้ั แรกและครงั้ นก้ี อ็ ญั ชลี เปน คํารบสองแลวใหเชิญเสดจ็ กลบั พระนคร ทรงอภเิ ษกสมรส เมื่อพระราชกุมารทรงพระเจริญวัย มีพระชนมายุได ๑๖ ป ควรมีพระเทวี ไดแลวพระราชบิดาจึงตรัสส่ังใหสรางปราสาท ๓ หลัง เพ่ือเปนที่เสด็จอยูแหง พระราชโอรสใน ๓ ฤดู คือ ฤดูหนาว ฤดูรอ น ฤดฝู น ตกแตง ปราสาท ๓ หลังน้ัน ตาม สมควรเปนที่สบายในฤดูนั้นๆ แลว สงทูตเชิญพระราชสาสนไปขอพระนางยโสธรา (บางแหงเรียกนางพิมพา)ซึ่งเปนพระราชบุตรีพระเจาสุปปพุทธะในกรุงเทวทหะ อันประสูติแตพระนางอมิตา ซ่ึงเปนพระกนิฏฐภคินีของพระองค มาอภิเษกเปน พระเทวี สิทธัตถราชกุมารน้ันเสด็จอยูบนปราสาททั้ง ๓ น้ันตามฤดูกาล บําเรอดวย ดนตรีผูประโคมดนตรีมีแตสตรีลวน ไมมีบุรุษเจือปน เสวยสุขสมบัติทั้งกลางวัน กลางคนื จนมีพระชนมายุได ๒๙ ป คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 139

140 ¤‹ÁÙ ×͸ÃÃÁÈ¡Ö ÉÒªé¹Ñ àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก 140

ÇªÔ Ò¾Ø·¸Ò¹Ø¾Ø·¸»ÃÐÇÑμÔ 141 »ÃÔà©··Õè ò ºÃþªÒ ประพาสอุทยาน สิทธัตถราชกุมาร บริบูรณดวยสุขต้ังแตทรงพระเยาวจนทรงพระเจริญวัย เปนพระราชโอรสผูสุขุมาลชาติ (ผูละเอียดออน) ท้ังพระราชบิดาและพระราชวงศ ไดทรงฟงคําทํานายของอสิตดาบสวา ทานผูมีลักษณะเห็นปานน้ี มีคติเปน ๒ อยาง คอื ถาอยูครองราชยส มบตั จิ กั เปนพระเจา จกั รพรรดิ ปราบปรามชํานะทวั่ ปฐพีมณฑล ถาออกบรรพชาจักเปนศาสดาเอกในโลก ไมมีศาสดาอื่นจะย่ิงกวา พระเจาสุทโธทนะ จงึ ทรงดาํ รทิ จี่ ะใหส ทิ ธตั ถกมุ ารอยคู รองราชสมบตั มิ ากกวา ทจี่ ะยอมใหบ รรพชา จงึ ตอ ง คดิ รกั ษาผกู พนั ใหเ พลดิ เพลนิ อยใู นกามสขุ อยา งนี้ พระมหาบรุ ษุ เสดจ็ ประพาสพระราช อทุ ยานถงึ ๓ วาระ ไดพ บคนแกช ราคนเจบ็ ปว ย และคนตายซงึ่ เทวดาเนรมติ ในระหวา ง ทางก็เกิดความสังเวชสลดใจวา ตัวเราน้ีก็ไมสามารถจะพนเสียจากสภาพเหลาน้ีไปได ก็เสด็จกลับพระราชวัง ยังมิทันถึงพระราชอุทยานในวาระที่ ๔ ทอดพระเนตรเห็น บรรพชติ ทรงดาํ ริวา การประพฤตเิ ปนสมณเพศเปน บุญพธิ อี นั ประเสรฐิ ควรทีเ่ ราจะถอื เอาอดุ มเพศอยา งนี้ กม็ พี ระทยั พอใจในบรรพชา ในเวลานนั้ เสดจ็ ออกไปถงึ พระอทุ ยาน ทรงสําราญอยูทงั้ วัน พอเวลาเย็นเสดจ็ กลบั ราหุลประสูติ ในขณะที่เสดจ็ อยู ณ พระอุทยานนนั้ ราชบรุ ุษไดน าํ ขาวไปกราบทลู วา บัดนี้ พระนางพิมพาเทวี ประสูติพระโอรสแลว พระมหาบุรุษไดทรงทราบจึงออกพระโอษฐ ตรสั วา “ราหลุ ํ ชาตํ พนธฺ นํ ชาต.ํ บว งเกดิ แลว เครอ่ื งพนั ธนาการเกดิ แลว แกเ รา” จาํ เดมิ แตน้ัน พระกมุ ารนจ้ี ึงไดพระนามวา ราหุล กีสาโคตมีชมโฉม ขณะเสด็จกลับพระราชนิเวศน้ัน นางขัตติยกัญญาองคหนึ่ง พระนามวา กีสาโคตมีเสด็จเย่ียมสีหบัญชร ไดทอดพระเนตรเห็นพระมหาบุรุษ ก็ทรงปติโสมนัส จงึ ตรสั ชมวา พระราชกมุ ารน้ี เปน บตุ รของพระราชมารดาบดิ าพระองคใ ด พระราชมารดา คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 141

142 ¤‹ÁÙ Í× ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒªé¹Ñ àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก บิดาพระองคนัน้ ก็อาจดับเสียไดซ ่ึงหฤทัยทุกข อน่ึง ถา วา เปน ภัสดาของนารีใด นารีนน้ั ก็อาจดับเสียไดซ่ึงหฤทัยทุกข พระโพธิสัตวทรงสดับถึงความดับทุกข ทรงพอพระทัย ในการแสวงหาความดับทุกข จึงเปลื้องสรอยพระศออันประดับดวยแกวมุกดามีราคา ถึงแสนกหาปณะสงใหราชบุรุษนําไปถวายเพ่ือบูชาจริยคุณของพระนาง พระนางกีสา โคตมี มีสําคัญวาพระสิทธัตกุมารมีพระทัยปฏิพัทธเสนหา จึงไดมอบสรอยพระศอให เกดิ โสมนสั ยินดีเปนอยา งยง่ิ มูลเหตุใหเ สดจ็ ออกบรรพชา วันหน่ึง สิทธัตถราชกุมาร ทรงรําพึงวา หมูชนที่เกิดมาแลวตองมีความแก ความเจบ็ ความตายเปน ธรรมดา ทกุ คนไมม ใี ครไมล ว งพน ความแกค วามเจบ็ ความตาย ไปได แมเปนอยางนั้นเพราะโทษท่ีไมไดฟงคําสั่งสอนของนักปราชญ เม่ือไดเห็นผูอื่น แกเจ็บตายก็เบ่ือหนายเกลียดชัง ไมคิดถึงตัววาจะตองแกเจ็บตายเหมือนอยางนั้นบาง เมาอยูในวัย ในความไมมีโรค และในชีวิต เหมือนหนึ่งเปนคนจะไมตองแกเจ็บตาย มวั ขวนขวายแตใ นของทมี่ คี วามแกเ จบ็ ตายเหมอื นกบั ตน ไมค ดิ หาอบุ ายทจ่ี ะใหพ น จาก ความแกความเจบ็ ความตายเลย ถึงเรากเ็ ปนเชน นั้น ขอน้ีเปนการไมสมควรแกเราเลย เม่ือเราไดรูเห็นอยางน้ีแลว ควรที่จะแสวงหาอุบายที่จะใหพนจากความเพลิดเพลิน ในกามสมบัติเสียได ทรงดําริตอไปวา ธรรมดาสภาพท้ังปวงยอมมีของแกกัน เชน มีรอ นแลว กม็ ีเย็นแก มีมดื แลว กม็ สี วา งแก บางทีจะมอี ุบายท่จี ะแกทุกข ๓ อยา งนี้ได บางกระมงั ก็แตวาการทจี่ ะแสวงหาอุบายแกท ุกข ๓ อยางน้ัน เปนเรอื่ งท่ยี ากอยางยงิ่ เรายังอยูในเพศฆราวาสเห็นจะแสวงหาไมได เพราะฆราวาสน้ีเปนท่ีคับแคบนัก และ เปนที่ตั้งแหงอารมณอันทําใจใหเศราหมอง เพราะเปนที่กําหนดรักใครในอารมณซึ่ง เปนท่ีต้ังแหงความกําหนดรักใคร ขัดเคืองในอารมณซึ่งเปนที่ตั้งแหงความขัดเคือง หลงเพลิดเพลินในอารมณซึ่งเปนท่ีตั้งแหงความหลง ดุจเปนทางที่มาแหงธุลี บรรพชา คือการบวชเวนจากกิจการของคนมีเหยาเรือน ประพฤติตนเปนนักบวชเปนชองวาง พอทจ่ี ะแสวงหาอบุ ายนนั้ ไดท รงพระดาํ รอิ ยา งนแ้ี ลว กม็ พี ระอธั ยาศยั นอ มไปในบรรพชา ไมย นิ ดีในฆราวาสสมบัตติ ้ังแตน นั้ มา 142

ÇÔªÒ¾·Ø ¸Ò¹Ø¾·Ø ¸»ÃÐÇμÑ Ô 143 เสด็จหอ งพระนางพิมพา วันน้ัน พระบรมโพธิสัตว มีพระทัยยินดีย่ิงนักในการบรรพชา ปราศจาก อาลัยในเบญจกามคณุ คือ รปู เสยี ง กล่นิ รส โผฏฐพั พะ มิไดย นิ ดใี นการฟอ นรําขบั ประโคมแหง นางบําเรอทัง้ หลาย กห็ ยัง่ ลงสูความหลบั ประมาณครูหนง่ึ เมอื่ ต่ืนบรรทม ไดท อดพระเนตรเห็นอาการวปิ ริตแหงนางบําเรอท้งั หลายขณะหลบั มพี ระทัยสังเวชยิ่ง นกั เชน เดียวกบั เหน็ ซากศพเกลอื่ นกลาดในปาชา ภพท้งั ๓ คือ กามภพ รปู ภพ และ อรปู ภพ ปรากฏดจุ เรอื นทถ่ี กู ไฟไหม จงึ ตรสั แกน ายฉนั นะวา ฉนั นะ เราออกบวชในคนื น้ี เจาจงไปผูกมาใหเราตัวหนึ่งโดยเรว็ พระองคเสด็จไปยงั หองของพระนางพิมพาราชเทวี ดวยพระประสงคจะทอดพระเนตรพระพักตรของพระราหุลกุมาร แตพระนางพิมพา บรรทมทอดพระกายเหนือเศียรพระโอรส จึงทรงประทบั ยืนอยทู ที่ วารหอง ทรงดาํ ริวา ถาเราจะยกพระหัตถพิมพาอุมองคโอรส พระนางก็จะตื่น ก็จะเปนอันตรายตอ บรรพชา อยาเลยตอเมื่อไดสําเร็จพระสัมมาสัมโพธิญาณแลว จึงจะกลับมาทัศนา พระองคเสด็จข้ึนมา กัณฐกะโดยมนี ายฉันนะตามเสดจ็ ออกจากพระนคร เสด็จออกมหาภิเนษกรมณ ราตรีน้ัน เปนวันอาสาฬปุณณมี เพ็ญเดือน ๘ ขณะนั้นพญาวสวัตตีมาร เหน็ พระโพธสิ ัตวจ งึ ดําริวา สทิ ธตั ถกมุ ารปรารถนาจะหนีออกจากวิสยั ของเรา ควรทีเ่ รา จะกระทําอันตรายตอบรรพชา จึงรองหามวา ดูกอนกุมาร ทานอยาออกบรรพชาเลย อีก ๗ วัน จักรรัตนะอันเปนทิพยจะปรากฏแกทาน ทานจะไดเปนพระเจาจักรพรรดิ พระโพธิสัตวจึงตรสั วา ทา นจงหลกี ไปเสยี เถิด เราไมปรารถนาสมบตั พิ ระเจาจักรพรรดิ เราปรารถนาท่ีจะทําหม่ืนโลกธาตุใหหวั่นไหวในกาลไดพุทธรัตนสมบัติ แลวเสด็จผาน กรงุ บลิ พสั ดุ เมอื งสาวตั ถแี ละเมอื งเวสาลี สน้ิ หนทาง ๓๐ โยชน บรรลถุ งึ ฝง แมน า้ํ อโนมานที ณ พรหมแดนพระนครทงั้ ๓ ในเวลาใกลร งุ เสดจ็ ทรงมา ขา มไปยงั อกี ฝง หนงึ่ ทรงลงจาก หลงั มา ประทบั น่งั บนกองทราย ทรงเปลอื้ งพระภูษาอาภรณห อสงใหนายฉนั นะ ตรสั วา เจาจงนาํ เครือ่ งประดบั กับมากณั ฐกะกลับพระนคร เราบรรพชา ณ ทีน่ ้ี ทรงตดั พระเกศ โมฬด ว ยพระขรรค แลวจับพระโมฬข วา งไปในอากาศทรงอธิษฐานวา ถา ขา พเจาจะได ตรัสรูพระอนุตตรสัมมาสมั โพธิญาณขอจฬุ าโมฬนี้จงลอยอยใู นอากาศ อยา ไดตกลงมา คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 143

144 ¤Á‹Ù ×͸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒªÑé¹àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก ปรากฏวา จุฬาโมลีและผาโพกพระเศียรก็ลอยอยูในอากาศ สมเด็จอมรินทราธิราช จึงนําผอบแกวมารองรับและนําไปบรรจุไวในพระจุฬามณีเจดีย ณ ดาวดึงสเทวโลก เมอื่ พระมหาบรุ ษุ ทรงบรรพชาแลง จงึ ดาํ รสั ใหน ายฉนั นะนาํ มา กณั ฐกะกบั เครอ่ื งอาภรณ และนําขาวกลับไปบอกยังกรุงกบิลพัสดุ นายฉันนะมีความอาลัยไมอยากจะจาก พระองคไป สวนมากัณฐกะพอพนจากสายตาก็หัวใจสลายตายในระหวางทาง ดวยอานภุ าพความสวามภิ ักดิ์ จึงไปอุบตั ิในดาวดึงสเ ทวโลก ไดนามวา กณั ฐกเทพบตุ ร ในเวลาน้ัน ทา วมหาพรหมนามวา ฆฏกิ ารพรหม เคยเปน สหายพระโพธสิ ตั ว ครงั้ เสวยพระชาติ เปน โชตปิ ามาณพ ในกาลแหง พระกสั สปสมั มาสมั พทุ ธเจา ไดน าํ เครอื่ ง อัฏฐบริขารมาถวาย พระโพธิสัตว จึงทรงไตรจีวรกาสาวพัสตร อธิษฐานเพศบรรพชา และมอบพระภษู าผาทรงทั้งคใู ห ทา วเธอไดนําพระภูษา ทง้ั คไู ปบรรจุไวใ นทสุ สเจดยี ใน พรหมโลก ทรงทดลองปฏิบัติตามลัทธิตางๆ เมื่อพระมหาบุรุษ ทรงละกามสุขออกบรรพชา เพ่ือจะแสวงหาอุบายใหพน จากชราความแก พยาธิ ความเจ็บไข มรณะ ความตาย อยางน้ีแลว เพราะพระองค ยงั ไมเ คยสัมผสั ลทั ธนิ ้นั ๆ ซึง่ เปนทนี่ ยิ มนับถือวา เปนบุญอยา งยง่ิ และเปน เหตุใหส าํ เร็จ สิ่งที่ประสงคน ัน้ ๆ ซงึ่ คณาจารยส ่งั สอนกนั อยใู นคร้ังนน้ั กจ็ าํ เปนทีจ่ ะตองทรงทดลอง ดูวาลัทธิเหลานั้น จะเปนอุบายที่จะทําใหสําเร็จความประสงคไดบาง จึงเสด็จไปสู สาํ นกั แหงอาฬารดาบส กาลามโคตร ศึกษาสาํ เรจ็ สมาบตั ิ ๗ หมดความรขู องอาจารย จึงลาอาจารยเสด็จไปสูสํานักของอุทกดาบส รามบุตร ศึกษาสําเร็จสมาบัติ ๘ คือ รูปฌาน ๔ อรูปฌาน ๔ หมดความรูของอาจารย จึงเรียนถามธรรมพเิ ศษทีย่ ง่ิ ๆ ขน้ึ ไป พระดาบสบอกไมรูแลว ทานอาจารยทั้งสองสรรเสริญวามีความรูเสมอตนแลวชวนให อยชู ว ยกนั สง่ั สอนหมศู ษิ ยต อ ไป พระองคท รงดาํ รวิ า ทางปฏบิ ตั นิ ห้ี าใชท างโพธญิ าณไม มีพระประสงคจะประกอบความเพียรดวยพระองคเอง จึงลาออกจากสํานักอาจารย จารกิ ไปสูอ ุรุเวลาเสนานคิ ม พจิ ารณาเห็นเปน สถานท่ีรน่ื รมยเ หมาะแกก ารบาํ เพญ็ เพยี ร จึงยับย้ังอาศัย ณ ที่น้ัน เสด็จจาริกไปในมคธชนบท จนถึงอุรุเวลาเสนานิคม ไดทอดพระเนตรเห็นพ้ืนท่ีราบรื่น แนวปาเขียวสด เปนที่เบิกบานใจ ใกลแมน้ําใส 144

ÇªÔ Ò¾Ø·¸Ò¹Ø¾·Ø ¸»ÃÐÇμÑ Ô 145 สะอาดไหลไปมา มที า อนั ดี นารื่นรมย หมบู า นทีอ่ าศยั เท่ียวภกิ ขาจาร คือบณิ ฑบาต ก็ ตง้ั อยใู กลโ ดยรอบ ทรงพระดาํ รวิ า สถานทนี่ นั้ ควรเปน สถานทบ่ี าํ เพญ็ เพยี รของกลุ บตุ ร ผมู ีความตองการความเพยี รได จึงเสดจ็ ประทบั อยู ณ ที่นนั้ (ปจจบุ ันเรียกวา พทุ ธคยา รฐั พหิ าร อนิ เดยี ) พระโพธิสัตว ประทับอยูพระองคเดียว ณ ปาอนุปยอัมพวัน เวนจากการ เสวยพระกระยาหารตลอด ๗ วัน เพราะเอิบอ่ิมไปดวยบรรพชาสุข คร้ันวันที่ ๘ เสดจ็ ออกจากไพรสณฑน น้ั จารกิ ไปโดยลาํ ดบั สน้ิ ทาง ๓๐ โยชน ดาํ เนนิ ถงึ กรงุ ราชคฤห เสด็จบิณฑบาต ประชาชนทัง้ เมอื งเห็นเขา ตา งแตกตืน่ โกลาหล คดิ กันไปตา งๆ นานา ราชบรุ ุษทง้ั หลายจึงกราบทูลเร่อื งน้ีแกพระเจาพิมพิสาร พระองคท รงรับสัง่ ใหต ิดตามดู เม่ือพระโพธิสัตวเสด็จออกจากเมืองไปประทับเสวยพระกระยาหารท่ีเชิงเขาบัณฑวะ จึงไปกราบทูลใหพระเจาพิมพิสารทรงทราบ พระองคจึงเสด็จไปสอบถาม ทราบวา เคยเปนพระสหายที่ไมเคยเห็นหนากัน จึงเชิญใหพระองคอยูโดยจะแบงราชสมบัติให ครองคร่งึ หนึง่ พระโพธสิ ตั วต รสั ขอบพระทยั และตรสั บอกความประสงคว า ปรารถนา พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ จึงออกบรรพชา พระเจาพิมพิสารทรงอนุโมทนาและ ตรัสวา ถา บรรลพุ ระสัมพญั ุตญาณแลวขอใหก ลับมาโปรดบางแลว ทูลลากลับ อปุ มา ๓ ขอ ณ สถานทนี่ ้ัน อุปมา ๓ ขอ ทไ่ี มเ คยสดบั มากอนไดมาแจม แจงปรากฏแก พระองควา ๑. ไมส ดทีช่ ุมดว ยยาง ทงั้ แชอยูในนา้ํ จะพยายามอยา งไรกส็ ีใหเกิดไฟไมไ ด เปรยี บไดกับสมณพราหมณผูบ ริโภคกามคุณ มีกายไมไดห ลกี ออกจากกาม ท้งั ใจกย็ ัง ยินดีในกามคุณนั้นอยู แมจะบําเพ็ญความเพียรอยางแรงกลาเพียงใด ก็ไมอาจบรรลุ คุณวิเศษได ๒. ไมสดที่ชุมดวยยาง แมจะวางไวบนบก ก็สีใหเกิดไฟไมไดเชนเดียวกัน เปรียบไดกับสมณพราหมณผูมีกายหลีกออกจากกาม (ออกบวช) แตใจยังยินดี ในกามคุณนั้นอยู แมจะบําเพ็ญความเพียรอยางแรงกลาเพียงใด ก็ไมอาจบรรลุ คุณวิเศษได คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 145

146 ¤‹ÁÙ ×͸ÃÃÁÈ¡Ö ÉÒªé¹Ñ àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก ๓. ไมแหงท่ีปราศจากยาง และวางไวบนบก หากพยายามเต็มท่ีและถูกวิธี ก็ยอมสีใหเกิดไฟได เปรียบไดกับสมณพราหมณผูมีกายและใจหลีกออกจากกาม บําเพ็ญพรตดวยใจท่ีเบื่อหนายในกาม ถาหากพากเพียรอยางถูกวิธีก็สามารถบรรลุ ธรรมพิเศษได ทรงบําเพ็ญทกุ รกริ ยิ า ๓ วาระ ในเวลานน้ั พระองคท รงคดิ จะทาํ ความเพยี รเพอ่ื จะปอ งกนั จติ ไมใ หน อ มไปใน กามารมณได จงึ ทรงบาํ เพ็ญทกุ รกริ ิยะ คือ ทรมานพระกายใหล าํ บาก ซง่ึ เปน ท่ีนยิ มกนั ในครงั้ นั้น วา เปน กุศลวตั รอันวเิ ศษ อาจจะทาํ ใหสิ่งทปี่ รารถนาสาํ เรจ็ ได วาระที่ ๑ ทรงกดพระทนตด ว ยพระทนต (กดั ฟน ) กดพระตาลดุ ว ยพระชวิ หา (ใชล น้ิ กดเพดาน) ไวใ หแ นน จนพระเสโท (เหงอ่ื ) ไหลออกจากพระกจั ฉา (รกั แร) ในเวลา นนั้ ไดเ สวยทกุ ขเวทนาอนั แรงกลา เปรยี บเหมอื นบรุ ษุ ทก่ี าํ ลงั มากจบั บรุ ษุ ทมี่ กี าํ ลงั นอ ยที่ ศรี ษะหรอื ทค่ี อไว บบี ใหแ นน แมพ ระกายกระวนกระวายไมส งบระงบั อยา งน้ี ทกุ ขเวทนา นน้ั กไ็ มอ าจครอบงาํ พระหฤทยั ใหก ระสบั กระสา ยได พระองคม พี ระสตติ งั้ มนั่ ไมฟ น เฟอ น ปรารภความเพยี รไมท อ ถอย ครนั้ ทรงเหน็ วา การทาํ อยา งนไ้ี มใ ชท างตรสั รจู งึ ทรงเปลยี่ น อยางอนื่ วาระที่ ๒ ทรงกลน้ั ลมอัสสาสะปส สาสะ (ลมหายใจเขา หายใจออก) ไมให เดินสะดวกโดยชองพระนาสิก (จมูก) และชองพระโอษฐ (ปาก) ก็เกิดเสียงดังอูทาง ชองพระกรรณ (ห)ู ท้งั ๒ และปวดพระเศยี ร เสยี ดพระอทุ รรอนในพระกายเปน กาํ ลงั แมจ ะประสบทกุ ขเวทนามากถงึ เพยี งนี้ ทกุ ขเวทนานน้ั กไ็ มไ ดค รอบงาํ พระทยั ใหก ระสบั กระสา ยได พระองคม ีพระสติตั้งม่ันไมฟ นเฟอนปรารภความเพียรไมท อถอย คร้ันทรง เห็นวาการทาํ อยางนไ้ี มใชทางตรัสรจู งึ ทรงเปลยี่ นอยางอืน่ อกี วาระท่ี ๓ พระโพธิสตั วด ํารวิ า เราจะกระทําทุกรกิรยิ าอยา งอุกฤษฏ จึงเสด็จ เขาไปบิณฑบาต แลวทรงปริวิตกวา ถาเรายังกังวลอยูกับการแสวงหาอาหารมิเปน การสมควร ต้ังแตน้ีไป เม่ือประทับน่ังใตตนไมใด ก็เสวยผลท่ีหลนจากตนไมนั้น ภายหลงั ไปบณิ ฑบาต ไดอ าหารมากผ็ อ นเสวยใหล ดนอ ยลง เสวยแตว นั ละนอ ยๆ กระทงั่ ไมเสวยเลย จนพระวรกายเหีย่ วแหง พระฉวี (ผวิ พรรณ) เศราหมอง พระอัฐิ (กระดกู ) 146

ÇԪҾط¸Ò¹¾Ø ·Ø ¸»ÃÐÇÑμÔ 147 ปรากฏท่ัวพระวรกาย เมื่อทรงลูบพระวรกาย เสนพระโลมา (ขน) มีรากอันเนาหลุด รวงจากขุมพระโลมา พระกําลังนอยถอยลง จะเสด็จไปทางไหนก็ชวนลม จําเดิมแต ตัดอาหารเสยี ทั้งส้ิน มหาปรุ ิสลกั ษณะ ๓๒ ประการ และอนพุ ยญั ชนะ ๘๐ ประการ ก็ อันตรธานไปส้นิ พระมังสะ (เนือ้ ) พระโลหติ (เลอื ด) ก็เหอื ดแหง ซูบผอมย่ิงนัก ยังแต พระตจะ (หนงั ) หมุ พระอฐั ิ จนชนทง้ั หลายไดเ หน็ แลว กลา วทกั วา พระสมณโคดมดาํ ไป บางพวกกลาววาไมด าํ เปนแตค ลํ้าไป บางพวกกลาววาไมเปน อยางนัน้ เปน แตพ รอ ยไป ปญ จวัคคียออกบวชตาม ฝา ยโกณฑัญญพราหมณ ไดสดับขาวพระมหาบุรุษเสด็จออกบรรพชา จงึ ไปหาบตุ รพราหมณทัง้ ๗ คน ซงึ่ ทาํ นายลกั ษณะดวยกนั กลาววา บดั นี้ สิทธตั ถราช กมุ าร เสดจ็ ออกบรรพชาแลว พระองคจ ะไดตรัสรเู ปน พระพทุ ธเจา แนน อน ถา บดิ าของ ทา นมชี วี ติ อยจู ะออกบวชดว ยกนั ถา วา ทา นทงั้ หลายจะบวชกจ็ งมาบวชตามพรอ มกนั เถดิ บตุ รพราหมณท ง้ั ๗ คน ยอมจะออกบวชเพยี ง ๔ คน โกณฑญั ญะจงึ พามาณพทง้ั ๔ คอื วัปปะ ภทั ทยิ ะ มหานามะ อสั สชิ ออกบรรพชา รวมเปน ๕ ดว ย จงึ มีช่อื วา ปญจวคั คยี  แปลวา พวกหา คนชวนกันสบื เสาะตดิ ตามพระมหาบรุ ษุ ในคาม(หมบู า น) นคิ ม (ตาํ บล) ตา งๆ มาพบพระองค ณ อรุ เุ วลาประเทศ ไดเ หน็ พระองคก าํ ลงั กระทาํ ความเพยี รอยดู าํ รวิ า คงจะไดต รสั รแู น จึงพากนั ทําวตั รปฏิบตั ิอุปฏ ฐากตา ง ๆ พระผูม ีพระภาคทรงบําเพญ็ ทกุ รกริ ยิ า นับแตก ารทรงผนวชมาได ๖ ป อยมู า วนั หนง่ึ ทรงประชวรบงั เกดิ พระกายออ นเพลยี อดิ โรยหวิ โหย จนกระทงั่ ทรงวสิ ญั ญภี าพ (สลบ) ลม ลงไป เมอ่ื ทรงไดส ญั ญาฟน คืนสติ ทรงดํารวิ า เรายงั ประกอบดวยลมหายใจ นับวายังเปนความพยายามท่ีหยาบอยู จึงทรงกล้ันลมหายใจ เมื่อลมหายใจมิอาจ ออกชอ งนาสิก (จมกู ) และพระโอษฐ (ปาก) ได ก็ด้ันดน ไปจะออกทางโสตทวาร (หู) เมื่อมิอาจไดก็ตลบขึ้นไปบนพระเศียร บังเกิดเวทนาอยางแรงกลา ทรงพระดําริวา สมณะหรอื พราหมณเ หลา ใดเหลา หนงึ่ ไดเ สวยทกุ ขเวทนาอยา งแรงอนั กลา ทเ่ี กดิ เพราะ ความเพียร ในกาลลว งแลวก็ดี จกั ไดเ สวยในกาลขางหนาก็ดี เสวยอยูในกาลบัดน้ีกด็ ี ทุกขเวทนานั้นอยางมากก็เพียงเทานี้ ไมเกินกวานี้ไป ถึงอยางน้ัน เราก็ไมสามารถ จะตรัสรู คร้ันทรงพระดําริฉะนั้นแลว ทรงละการทรมานพระวรกายใหลําบากนั้น คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 147

148 ¤ÁÙ‹ ×͸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒªéѹàÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก ทําความเพียรเปนในจติ ตอไป ทรงเห็นวา ความเพยี รเปน ไปในจติ นน้ั คนซบู ผอมเชน เราน้ีไมส ามารถใหเ ปน ไปไดจําท่ีเราจะตอ งบริโภคอาหารหยาบ คอื ขา วสกุ ขนมกุมมาส ใหมกี าํ ลงั ก็เสวยพระกระยาหารหยาบ ไมท รงอดพระกระยาหารตอไปอีก ในขณะนน้ั สมเดจ็ อมรนิ ทราช ทรงพณิ ๓ สายมาดดี ถวาย พระโพธสิ ตั วส ดบั แลว ทรงพจิ ารณาเหน็ วา มชั ฌมิ าปฏบิ ตั เิ ปน หนทางแหง โพธญิ าณ แตร า งกายทท่ี รุ พลออ น กําลังเชนน้ีมิอาจจะเจริญสมาธิได ควรเสวยอาหารบํารุงรางกายเสียกอน จึงทรงเสด็จ บณิ ฑบาตตอไป ฝายปญจวัคคยี  เห็นเชนนน้ั จึงปรึกษากนั วา พระสทิ ธตั ถกมุ าร ทรงบําเพญ็ ทกุ รกริ ยิ ากม็ อิ าจจะตรสั รไู ด เดยี๋ วนล้ี ะความเพยี รเสยี แลว มาเสวยพระกระยาหารใหม ท่ีไหนเลยจะตรัสรูพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณได เราท้ังหลายจะมาเฝาอุปฏฐาก เพ่ือประโยชนอันใดจึงพากันละท้ิงพระโพธิสัตวเดินทางไปสิ้นหนทาง ๑๕ โยชน ถึงปาอิสิปตนมฤคทายวันใกลกรงุ พาราณสี นางสชุ าดาถวายขา วมธุปายาส กุลธิดาผูหนึ่งนามวา สุชาดา เปนธิดาของเสนกุฏมพี อยูบานเสนานิคม แหง อรุ เุ วลาประเทศ เมอื่ เจรญิ วยั นางไดก ระทาํ การบนบานตอ เทวดาทส่ี งิ สถติ ณ ตน ไทร ตนหนึ่งใกลบ า นวา ถา ขาพเจาแตง งานต้งั แตยังอยูในวัยรนุ สาวกบั ชายท่ีมีทรพั ยสมบตั ิ มีชาติกุลเสมอกัน ๑ และมีบุตรคนแรกเปนชาย ๑ ขาพเจาจะทําการบวงสรวงแกบน แกทานดวยสิ่งของมีคาหน่ึงแสนกหาปณะ ตอมานางไดสําเร็จสมปรารถนาทุกอยาง จึงปรารภที่จะทําพลีกรรมบวงสรวงเทวดา จึงใหทาสกรรมกรของนาง นําแมวัวนม ประมาณ ๑,๐๐๐ ตัวไปเล้ียงที่ปาชะเอม ใหกินเครือเถาชะเอมเพ่ือหวังจะไดนํ้านมที่ หวาน แลวจึงแบงแมว วั ออกเปน ๒ พวก พวกละ ๕๐๐ ตัว ใหร ีดเอานํ้านมแมววั ๕๐๐ ฝา ยหนง่ึ ไปใหแ มว วั นม ๕๐๐ อกี ฝา ยหนง่ึ ดมื่ กนิ แลว ใหน าํ แมว วั ทดี่ ม่ื นา้ํ นมนนั้ ไปเลย้ี ง ในปาชะเอม แลวแบง ออกเปน ๒ พวกรดี น้ํานมจากพวกหนงึ่ ไปใหอกี พวกหนง่ึ ด่ืมกิน ทําอยูโดยทํานองนี้ จนกระท่ังเหลือแมวัวนมอยู ๘ ตัว ในวันขึ้น ๑๔ คํ่า เดือน ๖ ในเวลาใกลรุง นางใหคนไปจบั แมวัวนมทัง้ ๘ ผกู ไวแ ลวรดี นา้ํ นมใสกระทะบนเตาไฟ หงุ ขา วมธปุ ายาส พอราตรสี วา งขนึ้ ๑๕ คา่ํ แหง วสิ าขปณุ ณมพี ระบรมโพธสิ ตั วท รงชาํ ระ 148

ÇªÔ Ò¾·Ø ¸Ò¹Ø¾Ø·¸»ÃÐÇÑμÔ 149 สรรี กายแลว ประทบั นงั่ ทโ่ี คนตน ไทร ฝา ยนางสชุ าดาใชน างปณุ ณทาสไี ปกวาดใตต น ไทร นางไปพบพระโพธสิ ตั วเ ขา ใจวา เปน เทวดานงั่ คอยรบั เครอื่ งพลกี รรม จงึ รบี กลบั มาบอก นางสชุ าดา นางสชุ าดาพรอ มดว ยบรวิ ารนาํ ขา วมธปุ ายาสไปยงั ตน ไทร เหน็ พระมหาบรุ ษุ ก็เกิดโสมนัสยินดี จึงนําขาวมุปายาสเขาไปถวายพรอมท้ังถาดทองประณตไหวแลว กลาววา มโนรถของขาสําเร็จฉันใด ขอส่ิงที่พระองคประสงคจงสําเร็จ ฉันน้ัน แลว ทลู ลากลับ พระสุบินนมิ ติ ในคนื วนั นัน้ พระบรมโพธสิ ตั วบ รรทมหลบั ไป ทรงสบุ ินนิมิต ๕ ประการ คอื ๑. พระองคท รงบรรทมหงายบนพน้ื ดนิ มภี เู ขาหมิ วนั ตเ ปน เขนย พระพาหาซา ย หย่ังลงไปในมหาสมุทรทิศบูรพา พระพาหาขวาหยั่งลงไปในมหาสมุทรทิศปจฉิม พระบาททง้ั คู หยัง่ ลงไปในมหาสมุทรทกั ษณิ ๒. หญา แพรกงอกข้นึ แตพ ระนาภี (สะดือ) สงู ข้ึนไปถงึ ทอ งฟา ๓. หมูหนอนตัวขาวหวั ดาํ ไตข ึน้ มาจากพระบาทจนถึงพระชาณุ (เขา) ๔. นก ๔ จาํ พวก คอื สีเหลือง สเี ขยี ว สีแดง และสดี าํ บนิ มาจากทิศทัง้ ๔ มาจับฟบุ ลงแทบพระบาท แลว กลบั กลายเปน สขี าวไปท้งั สน้ิ ๕. พระองคเสด็จขึ้นไปจงกรมบนยอดเขาท่ีเปรอะเปอนไปดวยมูตรคูถ แตพระบาทของพระองคม ิไดเ ปรอะเปอ น พระองคท รงทํานายดว ยพระองคเองวา ขอ ๑ เปนนิมติ ที่จะไดต รสั รูพระอนตุ ตรสมั มาสมั โพธิญาณ ขอ ๒ เปน นมิ ติ ทเี่ ทศนาอรยิ มรรค ๘ ประการ แกเ ทวดาและมนษุ ยท ง้ั หลาย ขอ ๓ เปนนิมิตที่หมูคฤหัสถจะมาสูสํานักของพระองคเปนอันมากและ บรรลไุ ตรสรณคมน ขอ ๔ เปนนิมิตวาวรรณะท้ัง ๔ จะมาบวชในพระธรรมวินัยและตรัสรู วิมตุ ติธรรม ขอ ๕ เปน นมิ ติ วา พระองคจ ะไดป จจยั ๔ แตไมตดิ อยใู นปจจยั เหลา น้นั คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 149

150 ¤Ù‹Á×͸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒª¹Ñé àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก ทรงลอยถาด พระโพธิสัตวทรงรับถาดขาวมธุปายาสแลวทรงถือถาดขาว เสด็จไปยัง ริมฝงแมนํ้าเนรัญชรา เสด็จสรงชําระพระวรกายใหสะอาดแลวขึ้นมาประทับนั่ง ปน ขาวมธุปายาสได ๔๙ ปน ทรงเสวยจนหมดแลว ถือถาดพลางอธษิ ฐานวา ถา เราจะ ไดตรัสรูเปนพระสัมมาสัมพุทธเจาบรมโลกนาถ ขอใหถาดน้ีจงลอยทวนกระแสน้ําข้ึน ไป จงึ ลอยถาดในแมน า้ํ ขณะนน้ั ถาดกไ็ ดล อยทวนกระแสน้ําไปไกลประมาณ ๘๐ ศอก แลว จมลง พระโพธสิ ตั วท อดพระเนตรเหน็ นมิ ติ ดงั นน้ั กท็ รงโสมนสั เสดจ็ กลบั ปา สาลวนั เสดจ็ สตู นพระศรมี หาโพธิ์ พอตะวันบายกเ็ สดจ็ จากปา รัง ทรงรับหญาคา ๘ กาํ มือ ที่โสตถยิ พราหมณ ถวายในระหวางทาง เสด็จไปใกลบริเวณตนโพธ์ิ แลวทรงปูลาดหญาคา อธิษฐานเปน รตั นบลั ลงั กป ระทบั นง่ั หนั พระพกั ตรไ ปทางทศิ บรู พา พระปฤษฎางคไ ปทางลาํ ตน มหาโพธิ์ ขดั สมาธติ งั้ พระกายตรงดาํ รงพระสตมิ นั่ เจรญิ อานาปาสตภิ าวนาแลว ตง้ั สตั ยาธษิ ฐานวา ถากมลสันดานยังไมพนอาสวะกิเลสตราบใด แมพระมังสะ (เน้ือ) พระโลหิต (เลือด) จะเหอื ดแหง ไป เหลือแตพ ระตจะ (หนัง) นหารุ (เอ็น) พระอฐั ิ (กระดูก) กต็ ามที จะไม ลกู ขนึ้ จากบลั ลังกน ี้ ทรงผจญวสวตั ตมี าร ในกาลน้ัน พญาวสวัตตีมาร ผูมีใจบาป ติดตามพระมหาบุรุษอยูทุกเมื่อ จงึ ดาํ รวิ า พระสทิ ธตั ถกมุ ารปรารถนาจะพน วสิ ยั แหง เรา เราควรจะทาํ อนั ตราย อยา ใหพ น วสิ ยั เราไปได แลวประกาศใหพ ลเสนามารมาประชุมพรอมกัน ใหเนรมติ กาย มปี ระการ ตา ง ๆ แลวยาตราทัพไปสตู นมหาโพธ์ิ กระทาํ การพงุ รบมปี ระการตาง ๆ ฝา ยพระบรม โพธิสัตว ทอดพระเนตรเห็นพญามาร ทรงชางคิรีเมขละพรอมดวยพลเสนามารเปน จํานวนมากมีอาวุธครบมือ ทรงรําพึงในพระทัยวา ขาศึกเปนจํานวนมาก จะกระทํา การยํ่ายีเราเพียงผูเดียว ในท่ีน้ี พระประยูรญาติมิตรผูท่ีจะเปนท่ีพ่ึงพํานักและชวยรบ ปจจามิตรก็ไมมี เวนเสียแตบารมีเทานั้น ดังนั้น พระองคจึงทรงระลึกถึงบารมี ๓๐ ประการ และบรุ ษุ โยธา ๗ ประการ คอื ศรทั ธา วริ ิยะ สติ สมาธิ ปญ ญา หิริ และ 150

ÇªÔ Ò¾Ø·¸Ò¹¾Ø Ø·¸»ÃÐÇÑμÔ 151 โอตตปั ปะ เขา ตอ สกู บั พญามาร จนพญามารพา ยแพย กหตั ถข นึ้ นมสั การกลา วสรรเสรญิ แลวกลบั ไป พระโพธิสตั วข จดั มารเสียไดกอ นทพ่ี ระอาทิตยจะอสั ดงคต บาํ เพญ็ เพียรทางใจและไดต รสั รู ฝายพระผูม พี ระภาค คร้นั เสวยพระกระยาหารหยาบ ทําพระวรกายใหก ลับ มพี ระกาํ ลงั ขน้ึ ไดอ ยา งเกา แลว ทรงเรมิ่ ความเพยี รเปน ไปในจติ เพง อยใู นอารมณอ นั เดยี ว จนเปน สมาธิ พระองคไ ดบ รรจฌุ านท่ี ๑ ฌานที่ ๒ ฌานที่ ๓ ฌานท่ี ๔ โดยลาํ ดบั เมอ่ื จติ ตง้ั มน่ั เปน สมาธบิ รสิ ทุ ธป์ิ ราศจากเครอ่ื งเศรา หมอง ไมม คี วามพอใจรกั ใครใ นกามเปน ตน อยา งนแี้ ลว ทรงคาํ นงึ ถงึ อบุ ายทจี่ ะใหพ น จากชราพยาธมิ รณะทพ่ี ระองคไ ดแ สวงหาอยนู นั้ ตอไป ทรงพระดําริวากส็ ง่ิ ใดมีความเกดิ ขนึ้ เปน ธรรมดา สิ่งนน้ั ตอ งมีชรา พยาธิ มรณะ เปนธรรมดา ใคร ๆ จะปรารถนาอยาใหชรา พยาธิ มรณะ เลย ไมเ ปนทตี่ ั้งแหง ความ สมประสงคไ ด ความทุกขหนกั พระทยั เพราะชรา พยาธิ มรณะนั้น ยอมมเี พราะความ ถือม่ันวามีแกตน ถาไมถือม่ันอยางน้ันแลว ทุกขนั้นก็ไมครอบงําจิตไดอยางนี้แลเปน อบุ ายทจี่ ะใหพ น จากชรา พยาธิ มรณะได ครน้ั เมอื่ พระผมู พี ระภาคทรงพระดาํ รฉิ ะนแี้ ลว จึงทรงแสวงหาอุบายเปนเหตุไมถือมั่นตอไป ก็ความไมถือมั่นน้ันจะมีได ก็เพราะ พจิ ารณาแยกกายใจนีอ้ อกเปน สวน เปนกอง พิจารณาเหน็ แตเ พียงเปนสว นเปน กองทว่ั ทงั้ หมด พระผมู พี ระภาคไดท รงกาํ หนดเหน็ กายใจของพระองค ในกาลทลี่ ว งไปแลว กด็ ี ทีม่ ีอยู ณ บดั นกี้ ด็ ี เปนสวน ๆ เปน กอง ๆ ทัว่ ทง้ั หมด ตามอยา งท่กี ลาวแลวขอ นเี้ ปน วิชชาที่ ๑ พระองคไดต รัสรูเ องโดยลําพังในยามตน แหงราตรีน้ัน เมื่อวิชชาที่ ๑ เกิดขึ้น กําจัดอวิชชาความไมรูเปนเหตุใหหลงมืดอยูในกาย ใจอยา งนีแ้ ลว พระองคท รงปรารภสว นขนั ธ (กอง) ของเหลาสัตว ซ่งึ ไดกาํ หนดรูแลว นั้นซ่ึงเรียกโดยสมมติวาสัตวอันเกิดแลวจุติเคล่ือนไปเหมือนกันหมด แตเหตุไฉน บางพวกจึงต่ําชาเลวทราม บางพวกประณีต บางพวกมีผิวพรรณอันดี บางพวกมี ผิวพรรณทราม บางพวกไดสุข บางพวกไดทุกข ทรงเห็นดวยพระญาณดังจักษุทิพย อันบริสุทธ์ิ ลวงญาณท่ีเปนของมนุษยสามัญวาสวนขันธ (กอง) ท่ีเรียกตามสมมติวา สัตวน้ัน ท่ีเกิดแลวจุติเคล่ือนไปเหมือนกันหมดแตเปนตางกันดังนี้ เพราะเปนไปตาม กรรมทต่ี ัวกระทํา ขอ นเ้ี ปนวิชชาที่ ๒ ในยามเปน ทามกลางแหงราตรีนน้ั คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 151

152 ¤Ù‹Á×͸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒª¹Ñé àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก เม่ือวิชชาท่ี ๒ เกิดขึ้น กําจัดอวิชชาความไมรู ท่ีเปนเหตุใหหลงมืดใน ความเปนตาง ๆ แหงสวนแหงขันธ (กอง) ท่ีเรียกตามสมมติวา สัตวอันเกิดข้ึนแลว จตุ เิ คลอื่ นไปดงั นแี้ ลว กช็ อื่ วาไดท รงเหน็ ลกั ษณะทงั้ ๒ คอื ปจ จตั ตลกั ษณะ คอื กาํ หนด โดยความเปน สวนเปน ขันธ (กอง) และสามัญลกั ษณะ คอื กาํ หนดโดยความเปนสภาพ เสมอกนั คอื ความเปน ของไมเท่ียงเปน ทุกข เปน อนัตตาไมใ ชต น คร้ันทรงเหน็ ลกั ษณะ ทัง้ ๒ อยา งน้แี ลว พระองคท รงกาํ หนดเห็นสว นขนั ธ (กอง) เหลา นั้นวาเปน เพียงทุกข คือ สิ่งอันสัตวถือมั่นวาเปนของตน แลวก็อดทนไดยาก ตัณหาความดิ้นรนทะยาน อยาก เปนปจ จัยแหงความถือม่นั น้ัน เปน เหตุใหทุกขนั้นเถดิ ความดับแหงทุกขทเ่ี ปน ผลนน้ั ยอมมเี พราะความดับแหง ตัณหาทเี่ ปน เหตุ ปญ ญาอนั เห็นชอบ ความดาํ รชิ อบ วาจาชอบ การงานชอบ เล้ยี งชวี ติ ชอบ ความเพยี รชอบ ระลกึ ชอบ ตงั้ ใจไวชอบ เปน ทาง ใหถงึ ความดับทกุ ข และทรงกาํ หนดรูอ าสวะกิเลสท่ีหมกั ดองอยใู นสนั ดาน เหตใุ หเกิด อาสวะ ความดบั อาสวะและขอ ปฏบิ ตั เิ ปน ทางใหถ งึ ความดบั อาสวะ แจง ชดั ตามเปน จรงิ แลว อยา งไร เมอื่ พระองคท รงรเู หน็ อยา งนี้ จติ กพ็ น จากอาสวะทง้ั ปวงไมถ อื มน่ั ขอ นเี้ ปน วชิ ชาที่ ๓ พระองคไ ดตรสั รูแลว โดยลาํ พงั พระองคเ อง ในยามทเ่ี ปนที่สดุ แหง ราตรนี ้นั กาํ จัดอวิชชาความไมรแู จง ทเ่ี หตุใหห ลงมดื ไมร ใู นอรยิ สัจท้งั ๔ เสียได วิชชาหรือญาณ ๓ อยางนี้ พระองคไดตรัสรูแลวในราตรีแหงวิสาขบุรณมี ดถิ ีเพ็ญพระจันทรเ ต็มดวงทีใ่ ตรมไมอัสสัตถพฤกษ (โพธิ์) เพราะตรัสรวู ชิ ชา ๓ อยา ง นไ้ี ด โดยลําพงั พระองคเ องแลว ทาํ จิตใหพน จากกเิ ลสอาสวะไดสน้ิ เชิง พระองคจึงได พระนามโดยคณุ นมิ ติ วา อรหํ สมฺมาสมฺพทุ โฺ ธ แปลวา ผไู กล ผูควร ผูต รสั รูแ ลวเอง โดยชอบ ดงั นน้ั ใน ๓ ยามแหง ราตรี จึงสรุปดงั นี้ ปฐมยาม ในราตรีปฐมยาม พระมหาบุรุษเจริญสมาธิภาวนายังสมบัติ ๘ ประการ ใหบงั เกิดขน้ึ แลว ทรงบรรลญุ าณที่ ๑ คอื ปพุ เพนิวาสนานสุ สติญาณ ความรูระลกึ ชาติ หนหลังของพระองคได ดวยกําลังอภิญญา โดยปฏิโลมต้ังแตบัลลังกอาสน หนึ่งชาติ สองชาตจิ นกระทั่งหาประมาณมิได 152

ÇԪҾط¸Ò¹¾Ø ·Ø ¸»ÃÐÇμÑ Ô 153 มัชฌิมยาม ในมัชฌิมยาม ทรงบรรลุจุตูปปาตญาณ หรือทิพยจักขุญาณ พระองค ทรงมีทิพยจักษุลวงจักษุมนุษย เห็นเหลาสัตวท่ีจุติและบังเกิด ที่ต่ําชาและประณีต มผี วิ พรรณทราม และดใี นทคุ ตแิ ละสคุ ติ ตามสมควรแกอ กศุ ลและกศุ ลทตี่ นไดก ระทาํ ไว เหมือนบุรุษท่ีอยูในที่สูงใกลทาง ๔ แพงสามารถเห็นเหลาชนที่สัญจรไปมาจากที่น้ี สูทโ่ี นน ได ปจฉมิ ยาม ในปจ ฉมิ ยาม สมยั ใกลร งุ ทรงบรรลอุ าสวกั ขยญาณ ทรงพจิ ารณาปจ จยาการ ในปฏจิ จสมปุ บาทธรรม คอื อวชิ ชา เปน ปจ จยั ใหเ กดิ สงั ขาร เปน ตน อนั เปน ปจ จยั อาศยั ซึ่งกันและกันเกิดขึ้นเปนลําดับ นับวาเปนที่เกิดแหงกองทุกขท้ังปวง แลวพิจารณาถึง การดบั ทกุ ขท ง้ั มวลวา เมอ่ื อวชิ ชาดบั สงั ขารกพ็ ลอยดบั ตามไปดว ย เปน ตน ทรงพจิ ารณา ท้ังโดยสวนอนโุ ลมและปฏิโลม พออรุณทอแสงข้ึนจับขอบฟา พระบรมโพธิสัตวก็ตรัสรูพระสัพพัญุต ญาณดับส้ินกิเลสาสวะเปนสมุจเฉทปหานพรอมดวยความมหัศจรรย หมื่นโลกธาตุ บนั ลอื ลน่ั หวน่ั ไหวทวั่ ปฐพดี ล พระทศพลจงึ เปลง สหี นาทเปน ปฐมอทุ านเยาะเยย ตณั หา ดวยพระคาถาวา อเนกชาติ สสํ ารํ เปน ตน คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 153

154 ¤‹ÁÙ Í× ¸ÃÃÁÈ¡Ö ÉÒªé¹Ñ àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก »ÃàÔ ©··Õè ó ÊÑμμÁËÒʶҹ เสวยวิมตุ ติสขุ พระสัมมาสัมพุทธเจาไดตรัสรูวิชา ๓ ประการโดยชอบแลว ประทับอยู ณ ภายใตร ม พระศรมี หาโพธน์ิ น้ั ซง่ึ ตง้ั อยทู รี่ มิ ฝง แมน าํ้ เนรญั ชรา ตาํ บลอรุ เุ วลาเสนานคิ ม แควนมคธ (ปจจบุ ันเรยี กวา พุทธคยา รฐั พิหาร อินเดยี ) สปั ดาหท ่ี ๑ ทรงเสวยวมิ ตุ ตสิ ขุ (สขุ เกดิ แตค วามพน จากกเิ ลสอาสวะ) สนิ้ กาล ๗ วัน ครั้งนัน้ ทรงพิจารณาปฏจิ จสมปุ บาท (สภาพอาศยั ปจจยั เกดิ ขนึ้ ) ทที่ รงกําหนด รูแลวนั้นตามลําดับและถอยกลับทั้งขางเกิด ทั้งขางดับ ตลอดยามสามแหงราตรีแลว เปลง อทุ าน (พระวาจาท่ีเปลง ขึ้นโดยความเบิกบานพระหฤทยั ) ในยามละคร้งั อทุ านในปฐมยาม (ยามตน)วา เม่อื ใด ธรรมทั้งหลาย คือ อรยิ สจั ๔ ปรากฏ ชัดแกพ ราหมณผมู ีความเพียร เพง อยู เม่ือนัน้ ความสงสัยนนั้ ทงั้ ปวงของพราหมณนั้น ยอ มฉบิ หายไปเพราะพราหมณนัน้ รูแ จงธรรมคอื กองทกุ ขท งั้ สน้ิ กับทัง้ เหตุ อุทานในมัชฌิมยาม (ยามทามกลาง)วา เม่ือใด ธรรมทั้งหลายปรากฏชัด แกพราหมณผ มู ีความเพียร เพงอยู เม่ือนน้ั ความสงสัยท้งั ปวงของพราหมณน นั้ ยอม สิ้นไป เพราะพราหมณนนั้ ไดรคู วามสิ้นแหงปจ จยั ทั้งหลาย อทุ านในปจ ฉมิ ยาม(ยามทส่ี ดุ )วา เมอื่ ใด ธรรมทงั้ หลายปรากฏชดั แกพ ราหมณ ผูมีความเพียร เพงอยู เมื่อน้ันยอมกําจัดมารและเสนามาร คือ ชรา พยาธิ มรณะ เสียได ดจุ พระอาทิตยอ ุทัยกาํ จัดมดื ทาํ อากาศใหสวางฉะนั้น สัปดาหท ี่ ๒ เสดจ็ ออกจากรมภายใตพระศรมี หาโพธ์ิไปทางทิศอีสานประทับ ยืนทอดพระเนตรโดยมิไดก ระพรบิ บชู าตน พระศรีมหาโพธิ์ ตลอด ๗ วนั สถานทนี่ ้นั จงึ ไดน ามวา อนมิ ิสสเจดีย สปั ดาหท่ี ๓ เสดจ็ จากท่ีนัน้ กลับมาหยุด ณ ระหวางตนพระศรีมหาโพธกิ์ ับ อนิมิสสเจดยี  อธษิ ฐานสถานทจ่ี งกรม ทรงจงกรมกลับไปกลบั มาตลอด ๗ วนั สถานท่ี น้ัน จึงไดนามวารัตนจงกรมเจดีย สัปดาหท่ี ๔ เสด็จไปสูสถานที่ซ่ึงเทวดาเนรมิตข้ึนในทิศพายัพแหงตน พระศรมี หาโพธทิ์ รงพิจารณาพระอภิธรรม เม่ือทรงพจิ ารณาถึงมหาปฏ ฐาน ซึ่งมปี จจัย 154

ÇԪҾط¸Ò¹¾Ø Ø·¸»ÃÐÇÑμÔ 155 ๒๔ พระฉัพพรรณรงั สี คือ รัศมี ๖ ประการ กโ็ อภาส แผซานออกจากพระสรรี กาย แวดลอมไปโดยรอบประมาณ ๑๒ ศอก สถานท่นี ้ัน เรยี กวา รตั นฆรเจดยี  (เรอื นแกว) สัปดาหท่ี ๕ เสด็จออกจากภายใตรมพระศรีมหาโพธ์ิ ไปยังภายใตรมไทร ซึง่ เปนท่พี ักแหงคนเลีย้ งแพะ อันใดชอื่ วา อชปาลนิโครธ ทรงน่งั เสวยวิมุตติสุข ๗ วนั ขณะนัน้ มพี ราหมณค นหน่ึง มีชาตินิสัยชอบตวาดคนอืน่ วา หึ หึ เดินมายังที่นั้น ทูลถาม ถงึ พราหมณ และธรรมซ่งึ ทําบคุ คลใหเปน พราหมณวา บคุ คลช่อื วาเปน พราหมณด วย เหตเุ พยี งเทา ไรและธรรมอะไรทาํ บคุ คลใหเ ปน พราหมณ พระองคต รสั ตอบวา พราหมณ ผูใดมีบาปธรรมอันลอยเสียแลว ไมมีกิเลสเปนเคร่ืองขูคนอื่นวา หึ หึ เปนคําหยาบ และไมมกี ิเลสยอมจิตใหต ดิ แนน ดุจน้าํ ฝาด มตี นสาํ รวมจบเวท คือ วิชชาทงั้ ๓ แลว มีพรหมจรรยไ ดอ ยูจ บแลว ผนู ้ันไมม ีกเิ ลสเคร่อื งฟูขนึ้ ในโลกแมหนอ ยหนึ่ง ควรกลา ว ถอ ยคําวา ตนเปน พราหมณโ ดยธรรม พระสัมมาสัมพุทธเจาทรงแสดงสมณะและธรรมที่ทําบุคคลใหเปนสมณะวา เปนพราหมณ ในพระพทุ ธศาสนาดว ยพระวาจาน้ี อธบิ ายวา พราหมณพ วกหน่งึ ถอื ตวั วาเปนเหลากอสืบเนื่องมาแตพรหม จึงไดนามวาพราหมณ แปลวา เปนวงศพรหม พราหมณนนั้ ระวงั ชาติของตนไมใหป นคละดวยชาตอิ น่ื แมจะหาสามีภรยิ าก็หาแตพ วก พราหมณเ ทาน้ันเพราะจะไมใ หเจือปนดวยชาตอิ น่ื เขาถือวาตวั เขาเปนอุภโตสุชาต เกิด แลวดีทั้ง ๒ ฝาย คือท้ังฝายมารดาบิดา เปนสังสุทธคหณี มีครรภเปนท่ีถือปฏิสนธิ หมดจดดี แมชาติอื่นที่นับวาต่ํากวาชาติพราหมณ ก็นับถือพราหมณเหมือนคนนับถือ พระพทุ ธศาสนา นบั ถอื สมณะพราหมณน นั้ มวี ตั รเครอื่ งทรมานกายใหล าํ บากโดยอาการ ตางๆ เรียกวา พรหมจรรย ผูใดประพฤติวัตรนั้น ชื่อวา ประพฤติพรหมจรรย และ เขามีวธิ ลี อยบาปหรือลางบาป คือ ตัง้ พธิ อี ยางหน่งึ เปนงานประจําป ทเ่ี รียกวา ศิวาราตรี ในพิธีน้ันเขาลงอาบนํ้า สระเกลาชําระกายใหหมดจดแลว ถือวาไดลอยบาปไปตาม กระแสนา้ํ แลว เปน สน้ิ บาปกนั คราวหน่งึ ถึงปก็ทําใหม เขามเี วท ๓ อยาง ชื่ออริ พุ เพท ๑ ยชพุ เพท ๑ สามเพท ๑ ถาเตมิ อถพั เพทเขา ดวยเปน ๔ คอื คมั ภีรแสดงการบูชายญั และกิจที่จะตองทําในศาสนาของเขา ผูใดเรียนจบเพท ทั้ง ๓ หรือ ท้ัง ๔ นั้นแลว ช่ือวาถึงท่ีสุดเพท พราหมณก็คือคนชาติน้ัน ธรรมท่ีทําบุคคลใหเปนพราหมณ ก็คือ ไตรเพท คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 155

156 ¤ÙÁ‹ Í× ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒªé¹Ñ àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก สัปดาหท ่ี ๖ เสดจ็ ออกจากรมไมอ ชปาลนิโครธ ไปยังไมจกิ ซึง่ มีชือ่ วา มุจลนิ ท ทรงน่ังเสวยวมิ ตุ ตสิ ขุ ๗ วนั ทรงเปลงอุทาน ณ ท่นี น้ั วา ความสงดั เปนสุขของบุคคล มีธรรมอันไดสดับแลวยินดีอยูในที่สงัด รูเห็นสังขารทั้งปวง ตามเปนจริงอยางไร ความเปนคนไมมีความเบียดเบียน คือ ความสํารวมในสัตวท้ังหลาย และความเปน คนไมมีความกําหนัดในสันดานแลวคือความลวงกามท้ังหลายเสียไดดวยประการ ท้ังปวง เปนสุขในโลก ความนําอัสมิมานะ คือความถือวาตัวตนใหหมดไดนี้ เปนสุข อยา งยงิ่ ในทนี่ นั้ มพี ญานาคตนหนงึ่ ชอื่ มจุ ลนิ ท บงั เกดิ อยใู นสระโบกขรณี อยใู กลต น จกิ เขามาวงขนดกาย ๗ รอบ วงรอบพระวรกายพระพุทธองคและแผพังพานปองกัน ฝนมิใหถูกพระวรกาย เมื่อฝนหายไปแลว จึงจําแลงเพศเปนมาณพยืนถวายสักการะ เฉพาะพระพักตรแลว หลกี ไป สปั ดาหท ่ี ๗ เสดจ็ ออกจากรม ไมม จุ ลนิ ทไ ปยงั ไมเ กตซง่ึ ไดน ามวา ราชายตนะ ซึง่ มีอยูทางทศิ ทกั ษิณแหง ตน พระศรีมหาโพธ์ิ ทรงน่ังเสวยวิมุตตสิ ุข ๗ วัน เวลาน้ันมี พานิชสองคนชือ่ ตปสุ สะ ๑ ภัลลิกะ ๑ เดินทางไกลมาจากอกุ กลชนบทถงึ ทน่ี นั้ ไดเห็น พระสมั มาสมั พทุ ธเจา ประทบั อยภู ายใตต น ไมร าชายตนะ จงึ นาํ สตั ตผุ งสตั ตกุ อ นซงึ่ เปน เสบยี งสาํ หรบั เดนิ ทางเขา ไปถวายแลว ขณะนน้ั บาตรของพระองคไ มม ี ทา วมหาราชทง้ั ๔ จงึ ไดนําบาตรศลิ ามาถวายเมือ่ พระพทุ ธองคท รงรับแลว ทําภัตกิจเสร็จ พาณชิ ๒ พี่นอง แสดงเปนอุบาสกถึงพระพุทธกับพระธรรมเปนสรณะที่พ่ึง ประเภทเทววาจิกอุบาสก (อานวา ทะเววาจิกะอุบาสก) นับวาเปนอุบาสกคนแรกในโลกแลวขอสิ่งของที่ระลึก พระพทุ ธองคท รงประทานพระเกศา ๘ เสน สหมั บดีพรหมอาราธนา พระสัมมาสัมพุทธเจาเสด็จออกจากรมไมราชายตนะเสด็จกลับไปประทับ ภายใตรมไมอชปาลนิโครธอีก พระองคดําริถึงธรรมท่ีพระองคไดตรัสรูแลววาธรรมที่ ตถาคตรสั รนู ล้ี กึ ซง้ึ สขุ มุ ยากทเี่ หลา สตั วจ ะรตู ามได ไมท รงเหน็ ใครทเี่ หมาะสม ขณะนนั้ ทาวสหัมบดีพรหมไดทราบพุทธดําริแลว จึงไดเขาเฝากราบทูลอาราธนาใหทรงแสดง ธรรมโปรดเวไนยสัตวทรงอาศัยพระกรุณาในหมูสัตว จึงพิจารณาดูวา จะมีผูรูท่ัวถึง ธรรมนั้นบางหรือไม เมอ่ื ทรงตรวจดแู ลว ทรงดําริตอ ไปวา บคุ คลที่มกี ิเลสนอยเบาบาง 156

ÇԪҾط¸Ò¹Ø¾Ø·¸»ÃÐÇμÑ Ô 157 กม็ ี กเิ ลสหนากม็ ี มอี นิ ทรยี  คอื ศรัทธา วิรยิ ะ สมาธิ ปญญาแกก ลากม็ ี มอี นิ ทรยี ออ น กม็ ี มอี าการอันดกี ม็ ี มอี าการอันช่วั ก็มี จะพึงสอนใหร ไู ดโดยงายกม็ ี จะพงึ สอนใหร ไู ด โดยยากก็มี เปนผูสามารถจะรูไดก็มีไมสามารถจะรูไดก็มี เปรียบดวยในกออุบลหรือ ในกอบวั หลวงหรอื ในกอบวั ขาว ดอกบวั ทเ่ี กดิ แลว ในนาํ้ เจรญิ แลว ในนาํ้ นา้ํ เลย้ี งอปุ ถมั ภไ ว บางเหลายังจมอยูในนํ้า บางเหลาต้ังอยูเสมอน้ํา บางเหลาตั้งข้ึนพนน้ํา ในดอกบัว ๓ เหลา นนั้ ดอกบวั ทต่ี งั้ ขน้ึ พน นาํ้ แลว นน้ั พอไดร บั แสงพระอาทติ ยก จ็ กั บานในวนั นี้ ดอกบวั ท่ีต้งั อยเู สมอนํ้านัน้ จักบานในวนั รุง ข้ึน ดอกบวั ท่ียังจมอยูในนํา้ จักบานในวันตอ ๆ ไป ดอกบวั ท่ีจกั บานมี ๓ อยางฉันใด บคุ คลทีส่ ามารถจะรธู รรมพเิ ศษได ก็เปน ๓ จําพวก ฉันนนั้ คือ อคุ ฆติตัญู ๑ วปิ จติ ญั ู เนยยะ ๑ ในบคุ คล ๓ จําพวกน้นั บคุ คลใด มอี ุปนสิ ัยสามารถจะรูจ กั ธรรมพิเศษไดโ ดยพลัน พรอมกับเวลาท่ี ทานผรู แู สดงธรรมส่ังสอน บุคคลนน้ั ช่ือวา อคุ ฆตติ ัญู บุคคลใดเมื่อฟงคําอธิบายความแหงคําท่ียอใหพิสดารออกไปจึงจะรูธรรม พเิ ศษนนั้ ไดบคุ คลนั้นช่ือวา วิปจิตญั ู บุคคลใด เมื่อพากเพียร จําอุทเทส ถามความ ใครครวญโดยอุบายที่ชอบ คบกัลยาณมิตรจงึ จะรธู รรมพเิ ศษนนั้ ได บุคคลนนั้ ชอ่ื วา เนยยะ สว นบคุ คลอกี ประเภทหนง่ึ แมฟ ง ธรรมแลว จาํ ไวไ ด บอกกลา วธรรมนน้ั แกผ อู นื่ เปน อนั มาก กไ็ มอ าจรธู รรมพเิ ศษได บคุ คลนน้ั เปน คนอาภพั เปรยี บดว ยบวั ทไ่ี มม โี อกาส บานไดจักเปน อาหารแหง ปลาและเตา บุคคลนัน้ ช่อื วา ปทปรมะ คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 157

158 ¤‹ÁÙ ×͸ÃÃÁÈ¡Ö ÉÒªéѹàÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก »ÃÔà©··Õè ô »ÃСÒȾÃÐÈÒÊ¹Ò เสดจ็ โปรดปญ จวคั คีย พระสัมมาสัมพุทธเจา เม่ือทรงทราบดวยพระปญญาวา บุคคลผูควรจะรู ทว่ั ถงึ ไดม อี ยู อยา งนแี้ ลว ทรงตง้ั พระทยั ในอนั ทจี่ ะแสดงธรรมสง่ั สอนมหาชน จงึ ทรงดาํ ริ หาคนทจ่ี ะเปนผูร ับเทศนาท่ีแรกวา เราจะแสดงธรรมแกใ ครกอนดหี นอ ใครจกั รูธ รรม นี้ไดฉับพลันขณะนั้น ทรงระลึกถึงอาฬารดาบสและอุทกดาบส ซ่ึงพระองคเคยไป อาศัยศึกษาลัทธิในสํานักของทานในกาลกอนวา ทานท้ังสองเปนคนฉลาด ทั้งมีกิเลส เบาบาง สามารถจะรูธ รรมน้ีไดฉับพลนั แตท านท้ังสองสิ้นชีพเสียแลว ตอมาทรงนกึ ถงึ ปญจวัคคียวา ปญจวัคคียมีอุปการะแกเรามาก ทานเหลาน้ันไดเปนผูอุปฏฐากบํารุง เราเมื่อคร้ังบําเพ็ญเพียร เราควรจะแสดงธรรมแกทานเหลาน้ันกอน จึงตัดสินพระทัย จะแสดงธรรมแกปญจวัคคียกอนอยางน้ีแลวทรงพระดําเนินไปโดยทางท่ีจะไปยังเมือง พาราณสี ครั้นถึงระหวางแมนํ้าคยากับตนพระศรีมหาโพธ์ิพบอาชีวกคนหนึ่งชื่ออุปกะ เดินสวนทางมา อุปกาชีวกเห็นพระฉวีวรรณของพระองคผุดผอง นึกประหลาดใจ จึงทูลวา ใครเปนศาสดาผูสอนของทาน พระพุทธองคตรัสวาเราเปนสยัมภู ผูเปนเอง ในทางตรสั รู ไมมใี ครเปนครสู ่ังสอน อปุ กาชวี ก ไมเชือ่ ส่นั ศีรษะแลว หลีกไป พระองค เสด็จถงึ ปา อสิ ิปตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี (ปจจุบนั เรียกวา สารนาถ อินเดยี ) ซ่ึงเปนที่อยแู หง ปญ จวัคคยี น น้ั ฝายฤษีปญจวัคคีย ไดเห็นพระสัมมาสัมพุทธเจาเสด็จมาแตไกล จึงนัด หมายกันวาพระสมณโคดมนี้ ไดคลายความเพียรเวียนมาเพื่อความเปนคนมักมาก เสด็จมาที่นี่ บรรดาพวกเรา ผูใดผหู นง่ึ ไมควรไหว ไมค วรลุกข้นึ ตอ นรบั เธอ ไมพ ึงรบั บาตรจีวรของเธอเลย ก็แตวาพวกเราควรต้ังอาสนะท่ีนั่งไว ถาเธอปรารถนา ก็จะนั่ง ครน้ั พระสมั มาสมั พทุ ธเจา เสดจ็ เขา ไปถงึ พวกปญ จวคั คยี พ ดู กบั พระองคด ว ยโวหารไม เคารพ คอื พดู ออกพระนามและใชค าํ เรยี กพระองคว า อาวโุ ส พระองคต รสั หา มแลว ตรสั บอกวา เราไดต รสั รอู มฤตธรรมโดยชอบเองแลว ทา นทง้ั หลายคอยฟง เถดิ เราจกั สงั่ สอน เมอ่ื ทานทงั้ หลายปฏิบตั ิตามเราสง่ั สอนไมนานนัก กจ็ กั บรรลุอมฤตธรรมน้ัน 158

ÇÔªÒ¾·Ø ¸Ò¹Ø¾Ø·¸»ÃÐÇÑμÔ 159 ทรงแสดงปฐมเทศนา เมื่อพระสัมมาสัมพุทธเจา ตรัสเตือนปญจวัคคียใหคอยฟงอยางนี้แลว ปญจวัคคยี กลา วคา นลําเลกิ เหตุในปางหลงั วา อาวโุ ส โคดม ดวยความประพฤตอิ ยาง น้ันทานยังไมบรรลุธรรมพิเศษได บัดน้ี ทานมาปฏิบัติเพ่ือความเปนคนมักมากแลว เหตุไฉนทานจักบรรลุธรรมพิเศษไดเลา พระพุทธเจาทรงเตือนปญจวัคคีย โดยพูด คดั คา นโตต อบกนั อยางน้ันถงึ ๒ ครง้ั ๓ คร้งั พระองคจงึ ตรสั เตอื นใหป ศจวคั คียต าม ระลึกในหนหลังวา เธอทัง้ หลายจาํ ไดหรือ วาจาเชนนเี้ ราไดเ คยพดู แลวในปางกอ นหรือ ปญจวัคคียนึกขึ้นไดวา พระวาจาเชนน้ีไมเคยมีเลย จึงมีใจนอมไปเพื่อฟงธรรม โดยเคารพ พระพุทธองคทรงประกาศพระสัพพัญุตญาณ โดยยังวงลอแหงธรรม ใหหมุนไปเพอื่ ความผาสกุ แกช าวโลกทง้ั ปวง ในวนั เพญ็ ข้ึน ๑๕ ค่ํา แหงอาสาฬหมาส (เดือน ๘) ในวาระแรกทรงประกาศทาง ๒ สาย ท่ีไมค วรดาํ เนนิ คอื ๑. กามสขุ ลั ลิกานโุ ยค การหมกมุนหาความสขุ อยใู นกาม ๒. อตั ตกิลมถานโุ ยค การกระทําความเพยี รโดยการทรมานตนใหล ําบาก ในวาระที่ ๒ ทรงประกาศทางสายกลางทค่ี วรดาํ เนนิ คอื มชั ฌมิ าปฏปิ ทา ไดแ ก มรรคมอี งค ๘ ประการ คอื ๑ สัมมาทิฏฐิ เห็นชอบ ๒ สมั มาสังกปั ปะ ดาํ รชิ อบ ๓ สัมมาวาจา เจรจาชอบ ๔ สัมมากัมมันตะ การงานชอบ ๕ สมั มาอาชวี ะ เล้ียงชวี ติ ชอบ ๖ สมั มาวายามะ พยายามชอบ ๗ สมั มาสติ ระลึกชอบ ๘ สมั มาสมาธิ ตั้งใจมัน่ ชอบ ในวาระท่ี ๓ ทรงประกาศอริยสจั ๔ ประการ คอื ทกุ ข สมุทัย นิโรธ และ มรรควา ๑ ทุกข เปนสงิ่ ทีค่ วรกาํ หนดรู ๒ สมุทยั เปนสิง่ ทค่ี วรละ ๓ นิโรธ เปน ส่งิ ท่ี ควรทาํ ใหแ จง ๔ มรรค เปนสิง่ ท่ที ําใหเ กิดมขี ึน้ ขณะท่ีพระองคทรงแสดงธรรมวา ขอนี้ทุกข และทุกขนี้น้ันควรกําหนดรู ดว ยปญญา เราไดก ําหนดรูแ ลว ขอนเี้ หตุใหท กุ ขเกดิ เหตใุ หทุกขเกิดนนี้ นั้ ควรละเสีย เราไดละแลว ขอนเี้ หตใุ หทุกขดับ เหตุใหท กุ ขด บั น้ีนน้ั ควรทาํ ใหแ จง ชัด เราไดทําใหแ จง ชัดแลว ขอน้ีขอปฏิบัติใหถึงความดับทุกข ขอปฏิบัตินี้นั้นควรทําใหเกิด เราไดทําให เกิดแลว และพระพุทธองคตรัสวาภิกษุทั้งหลาย ปญญาอันรูเห็นตามเปนจริงแลว อยา งไรในของจรงิ แหง อรยิ บุคคลท้ัง ๔ เหลา นี้ของเราซ่งึ มรี อบ ๓ มีอาการ ๑๒ อยา งน้ี คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 159

160 ¤Á‹Ù Í× ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉҪѹé àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก ยังไมหมดจดเพียงใด เรายังยืนยันตนวาเปนผูตรัสรูเองโดยชอบ ไมมีความตรัสรูอ่ืน จะยิง่ กวาในโลกไดเ ลยเพียงนนั้ เมือ่ ใดปญญาอันรูเห็นตามเปน จริงแลว อยางไรในของ จริงแหงอริยบุคคลทั้ง ๔ เหลาน้ีของเราหมดจดดีแลว เม่ือน้ันเรายืนยันตนไดวาเปน ผูตรัสรูเองโดยชอบ ไมมีความตรัสรูอ่ืนจะย่ิงกวาในโลก อน่ึง ปญญาอันรูอันเห็นได เกิดขึ้นแลว แกเราวา ความพน พเิ ศษของเราไมก ลบั กาํ เรบิ ความเกดิ อันน้เี ปนท่ีสดุ แลว บดั นไ้ี มม ีความเกิดอกี โกณฑัญญะไดดวงตาเห็นธรรม ปญญาดวงตาเหน็ ธรรมปราศจากธลุ ีมลทิน ไดเ กดิ ขึน้ แลว แกโกณฑัญญะวา สิ่งใดส่ิงหนึ่ง มีความเกิดข้ึนเปนธรรมดา สิ่งน้ันท้ังหมดมีความดับเปนธรรมดา พระพุทธองคทรงทราบวาโกณฑัญญะ ไดดวงตาเห็นธรรมแลว จึงทรงเปลงอุทานวา อฺ าสิ วต โภ โกณฺฑฺโ อฺ าสิ วต โภ โกณฺฑโฺ . แปลวา โกณฑัญญะ ไดรู แลว หนอๆ เหตนุ ั้น โกณฑญั ญะ จึงไดน ามวา อญั ญาโกณฑัญญะ นบั วาสงั ฆรัตนะเกิด ขึน้ แลว ในโลก เปนเหตุใหพระรัตนตรยั ครบบรบิ รู ณ เอหภิ ิกขอุ ุปสัมปทา ฝายโกณฑัญญะ ไดเห็นธรรมสิ้นความสงสัย ถึงความเปนคนแกลวกลา ปราศจากความม่ันคร่ันครามในอันประพฤติตามคําสั่งสอนของพระศาสดา เปน คนมีความเชื่อในพระศาสดาดวยตนเอง ไมตองเช่ือจากผูอื่น จึงทูลขออุปสมบท ในพระธรรมวินัยวา ขอขาพระพุทธเจาพึงไดอุปสมบทในสํานักของพระองคเถิด พระศาสดาทรงอนุญาตใหโกณฑัญญะเปนภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ดวยพระวาจาวา “เธอจงเปน ภกิ ษมุ าเถดิ ธรรมอนั เรากลา วดแี ลว เธอจงประพฤตพิ รหมจรรย เพอื่ ทาํ ทส่ี ดุ ทุกขโดยชอบเถดิ ” การใหอปุ สมบทดว ยวธิ ีนี้ เรยี กวา “เอหภิ กิ ขสุ ัมปทา” พระศาสดา ทรงอนุญาตใหโกณฑัญญะเปนภิกษุในพระพุทธศาสนา ดวยพระวาจาเชนน้ันเปน คร้ังแรกในพุทธกาล จําเดิมแตกาลนั้นมา ทรงส่ังสอนทานทั้ง ๔ ท่ีเหลือนั้นดวย ธรรมเทศนาตามสมควรแกอัธยาศัย วัปปะ และภัททิยะ ไดดวงตาเห็นธรรม อยางพระอัญญาโกณฑัญญะแลวทูลขออุปสมบท พระศาสดาก็ประทานอุปสมบทแก 160

ÇÔªÒ¾·Ø ¸Ò¹¾Ø Ø·¸»ÃÐÇÑμÔ 161 ทา นทัง้ ๒ นัน้ เหมอื นอยา งประทานแกพ ระอัญญาโกณฑญั ญะ เม่ือมหานามและอสั สชิ ไดดวงตาเห็น แลวทูลขออุปสมบท พระศาสดาก็ทรงอนุญาตใหเปนภิกษุดวย วิธีเอหภิ กิ ษอุ ปุ สมบท ทรงแสดงอนตั ตลกั ขณสูตร เม่ือภิกษุปญจวัคคียตั้งอยูในที่แหงสาวกแลว มีอินทรียแกกลา ควรเจริญ วปิ ส สนาเพอ่ื วมิ ตุ ติ พระศาสดาตรสั ธรรมเทศนาสง่ั สอนวา ภกิ ษทุ ง้ั หลาย รปู คอื รา งกาย เวทนา คอื ความรูสุขทกุ ข หรือไมส ุขไมทกุ ข สัญญา คือ ความจาํ ได สงั ขาร คอื สภาพ ท่ีเกิดกบั ใจ ปรงุ ใจใหด ีบางชว่ั บาง และวญิ ญาณ คือความรูที่เกิดจากผสั สะ ๕ ขันธน ี้ เปน อนตั ตาไมใ ชตน ถา ขนั ธท ั้ง ๕ นจี้ กั ไดเ ปน ตนแลว ขันธ ๕ นี้ กไ็ มพึงเปน ไปเพ่ือ ความลําบาก อนง่ึ ผูท่ถี ือวา เปน เจา ของก็จะพงึ ปรารถนาไดในขันธ ๕ น้ี ตามใจหวังวา จงเปนอยางนี้เถดิ อยา เปน อยา งน้นั เลย เหตใุ ด ขนั ธ ๕ น้ีไมใชต น เหตนุ นั้ ขันธ ๕ นี้ จงึ เปน ไปเพื่อความลําบาก อนึ่ง ผูทถ่ี ือวาเปนเจาของยอ มไมปรารถนาไดในขนั ธ ๕ นี้ ตามใจหวังวา จงเปนอยา งน้ีเถิด อยา เปนอยา งน้นั เลย ทรงแสดงขนั ธ ๕ วา เปน อนตั ตา สอนภกิ ษปุ ญจวคั คียใ หพิจารณาแยกกาย ใจอนั นอี้ อกเปน ขันธ ๕ ทางวปิ ส สนาอยา งนแี้ ลว ตรัสถามความเหน็ ของเธอท้งั ๕ วา ภิกษุท้ังหลาย เธอสําคัญความน้ันเปนไฉน ขันธ ๕ น้ี เท่ียงหรือไมเท่ียง ? ไมเที่ยง พระองค ก็ สงิ่ ใดไมเ ท่ยี งสง่ิ นน้ั เปนทกุ ข หรือเปนสุขเลา ? เปน ทุกข พระองค ก็ส่งิ ใด ไมเ ทย่ี ง เปน ทกุ ข มคี วามแปรปรวนเปน ธรรมดา ควรหรอื จะตามเหน็ สง่ิ นนั้ วา นน้ั ของเรา เราเปนนัน่ น่ันตวั ของเราดังนี้ ไมอยา งนัน้ พระศาสดาตรัสสอนเธอทั้ง ๕ ใหละความถือม่ันในขันธ ๕ นั้นตอจาก พระธรรมเทศนาขา งตน วา ภกิ ษทุ งั้ หลาย เหตนุ น้ั รปู เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ อนั ใด อันหนึ่ง ลวงไปแลวก็ดี ยังไมมีมาก็ดี เกิดข้ึนจําเพาะบัดนี้ก็ดี หยาบก็ดี ละเอียดก็ดี เลวกด็ ี ทรามก็ดี ในท่ีไกลกด็ ี ในท่ีใกลกด็ ี ทัง้ หมดกเ็ ปน แตส กั วา รูป เวทนา สญั ญา สังขาร วิญญาณ สวนนั้นทานทั้งหลาย พึงเห็นดวยปญญาอันชอบ ตามเปนจริงแลว อยางไร ดังน้ีวา นั่นไมใชเรา น่ันไมใชของเรา นั่นไมใชตัวของเราเถิด ภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผูไดฟงแลว เม่ือเห็นอยางน้ี ยอมเบื่อหนายในรูป เวทนา สัญญา สังขาร คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 161

162 ¤Á‹Ù ×͸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒªÑé¹àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก วญิ ญาณ ครนั้ เบอ่ื หนา ย กป็ ราศจากความกาํ หนดั รกั ใครเ พราะปราศจากความกาํ หนดั รกั ใคร จิตกพ็ น จากความถือมัน่ เม่ือจติ พนแลว กม็ ีญาณรวู าพนแลว ดังนี้ อรยิ สาวก น้ันรูชัดวาความเกิดสิ้นแลว พรหมจรรยไดประพฤติจบแลว กิจท่ีควรทําไดเสร็จแลว กจิ อน่ื อกี เพือ่ ความเปนอยา งนม้ี ไิ ดมี เมื่อพระศาสดาตรัสธรรมเทศนาอยู จิตของภิกษุปญจวัคคียผูพิจารณา ภูมธิ รรม ตามกระแสเทศนาน้ัน ก็หลดุ พน จากอาสวะ ไมถอื มนั่ ดวยอุปาทาน คร้นั นนั้ มีพระอรหันตขึน้ ในโลก ๖ องค คอื พระศาสดา ๑ พระสาวก ๕ องค โปรดยสกลุ บตุ ร สมัยน้ัน มีกุลบุตรผูหนึ่ง เปนบุตรเศรษฐีในเมืองพาราณสี ชื่อยสะ มีเรือน ๓ หลัง เปนที่อยูใน ๓ ฤดู ครั้งน้ัน เปนฤดูฝน ยสกุลบุตรอยูในปราสาทท่ีอยูใน ฤดฝู น บาํ เรอดวยดนตรีลวนแตสตรีประโคม ไมมบี ุรษุ เจือปน คาํ่ วนั หนงึ่ ยสกลุ บตุ ร นอนหลับกอ น หมูช นบรวิ ารหลบั ตอภายหลัง แสงไฟยงั สวางอยู ยสกุลบุตรต่นื ข้นึ มา เห็นหมูชนบริวารนอนหลับมีอาการพิกลตาง ๆ ปรากฏแกยสกุลบุตรดุจซากศพท่ีทิ้ง อยใู นปา ชา คร้นั ไดเ หน็ แลวเกิดความสลดใจคิดเบ่ือหนา ย จึงออกอทุ าน (วาจาท่ีเปลง ดวยอํานาจความสลดใจ) วา “ที่น่ีวุนวายหนอ ท่ีน่ีขัดของหนอ” แลวสวมรองเทาเดิน ออกจากประตูเรือนเขาสูประตูเมืองตรงไปทางท่ีจะไปปาอิสิปตนมฤคทายวัน ในเวลา น้ันจวนใกลรุง พระศาสดาเสด็จจงกรมอยูในท่ีแจง ทรงไดยินเสียงยสกุลบุตรออก อุทานน้นั เดนิ มายังท่ใี กล จึงตรัสเรียกวา “ทีน่ ีไ่ มว ุนวาย ท่ีนไี่ มขัดขอ ง ทานมาท่ีนีเ่ ถิด น่งั ลงเถดิ เราจักแสดงธรรมแกท า น” ยสกุลบตุ ร ไดย นิ อยา งนั้นแลว คดิ วา ไดย ินวา ท่ีน่ีไมวุนวาย ที่น่ีไมขัดของ จึงถอดรองเทาแลวเขาไปใกลไหวแลว นั่ง ณ ขางหน่ึง พระศาสดาตรัสเทศนาอนุปุพพีกถา คือ ถอ ยคาํ ที่กลา วโดยลาํ ดบั พรรณนาทานการให กอ นแลว พรรณนาศลี ความรกั ษากายวาจาเรยี บรอ ยเปน ลาํ ดบั แหง ทานพรรณนาสวรรค คือ กามคุณท่ีบุคคลใคร ซึ่งจะพึงไดพึงถึงดวยกรรมอันดี คือทานและศีลเปนลําดับ แหงศีล พรรณนาโทษคือความเปนของไมยั่งยืน และประกอบดวยความคับแคน แหง กาม ซ่ึงไดช อื่ วา สวรรคน ัน้ เปน ลําดับแหง สวรรค พรรณนาอานิสงสแ หงความออก ไปจากกาม เปนลําดับแหงโทษของกาม ฟอกจิตของยสกุลบุตรใหหางไกลจากความ ยินดีในกาม ควรรบั ธรรมเทศนา ใหเ กดิ ดวงตาเหน็ ธรรม เหมือนผาทปี่ ราศจากมลทนิ 162

ÇÔªÒ¾·Ø ¸Ò¹Ø¾Ø·¸»ÃÐÇÑμÔ 163 ควรรับน้ํายอมไดฉะนั้น แลวทรงประกาศพระธรรมเทศนาท่ีพระองคยกข้ึนแสดงเอง คือ ของจริง ๔ อยา ง คอื ทุกข เหตุใหทุกขเ กดิ เหตุใหทุกขด ับ และขอปฏบิ ตั เิ ปน ทาง ใหถ ึงความดบั ทุกข ยสกุลบุตรไดเ ห็นธรรมพิเศษ ณ ท่ีน่งั นน้ั แลว ภายหลังพิจารณาดู ภมู ิธรรมที่ตนไดเหน็ แลว จิตพนจากอาสวะไมถ อื ม่ันดวยอุปาทาน ปฐมอุบาสกอบุ าสิกาในพระพุทธศาสนา ฝายมารดาของยสกุลบตุ ร ตื่นนอนเวลาเชา ข้ึนไปบนเรอื นไมเ ห็นลูกจึงบอก แกเศรษฐผี สู ามีใหทราบ เศรษฐใี ชค นใหไ ปตามหาใน ๔ ทศิ สวนตนเท่ียวออกหาดว ย เผอิญเดินไปทางปาอิสิปตนมฤคทายวัน ไดเห็นรองเทาของลูกต้ังอยู ณ ที่นั้น แตไม เห็นลูกชาย จึงเดินเขาไปใกล สอบถามพระศาสดาถึงลูกชายของตน พระศาสดาตรัส ใหเศรษฐนี ัง่ ลงกอนแลว เทศนาอนุปพุ พีกถาและอรยิ สัจ ๔ ใหเ ศรษฐีไดเหน็ ธรรมแลว เศรษฐีทูลสรรเสริญธรรมเทศนาแลวแสดงตนเปนอุบาสกวา ขาพเจาถึงพระองคกับ พระธรรม และภิกษุสงฆเปนที่ระลึก ขอพระองคจงจําขาพเจาวา เปนอุบาสกผูถึง พระรตั นตรยั เปน ท่รี ะลึกจนตลอดชวี ติ ต้งั แตว ันนี้เปนตนไป เศรษฐีนนั้ ไดเ ปนอบุ าสก มีพระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ ทั้ง ๓ เปนสรณะกอนกวาคนทั้งปวงในโลก เรยี กวา เปน อบุ าสกคนแรกประเภท เตวาจิกอุบาสก เศรษฐีผบู ดิ าไมทราบวา ยสกลุ บุตรมอี าสวะสิน้ แลว จึงบอกความวา พอ ยสะ มารดาของเจาเศราโศกพิไรรําพันนัก เจาจงใหชีวิตแกมารดาของเจาเถิด ยสกุลบุตร แลดูพระศาสดา ๆ จึงตรัสแกเศรษฐีวา คฤหบดี ทานจะสําคัญความนั้นเปนไฉน แตก อ นยสะไดเ หน็ ธรรมดว ยปญ ญา อนั รเู หน็ เปน ของเสขบคุ คล (ผยู งั ตอ งศกึ ษา เปน ชอื่ พระอริยเจา เบ้ืองตา่ํ ๓ จาํ พวก) เหมือนกับทาน ภายหลัง ยสะพจิ ารณาภูมิธรรมท่ตี น ไดรูเห็นแลว จติ ก็พนจากอาสวะ มไิ ดถ อื ม่นั ดว ยอุปาทาน ควรหรอื ยสะจะกลับคนื ไป บริโภคกามคุณเหมือนแตกอนไมอยางน้ัน พระองค เปนลาภแลว ความเปนมนุษย พอ ยสะไดดีแลว ขอพระองคกับพอ ยสะเปนสมณะตามเสดจ็ จงทรงรบั บิณฑบาตของ ขา พเจา ในวันน้ีเถิด พระองคท รงรับดวยทรงนงิ่ อยู เศรษฐีทราบวาทรงรับแลว ลุกจาก ทน่ี งั่ แลว ถวายอภวิ าทแลว ทาํ ประทกั ษณิ (เดนิ เวยี นขวา) แลว หลกี ไป เมอื่ เศรษฐไี ปแลว ไมช า ยสกลุ บตุ รทลู ขออปุ สมบท พระศาสดากท็ รงอนญุ าตใหเ ปน ภกิ ษดุ ว ยพระวาจาวา “เธอจงเปนภิกษุมาเถิด ธรรมอันเรากลาวดีแลวเธอจงประพฤติพรหมจรรยเถิด” ในท่ี คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 163

164 ¤Á‹Ù Í× ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒª¹éÑ àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก น้ีไมตรัสวา เพื่อจะทําที่สุดทุกขโดยชอบ เพราะพระยสะไดถึงที่สุดทุกขแลว สมัยน้ัน มีพระอรหนั ตข ึ้นในโลก ๗ องค ในเวลาเชาวนั นน้ั พระศาสดามีพระยสะตามเสด็จ ๆ ไปถงึ เรือนเศรษฐีแลว ประทับน่ัง ณ อาสนะท่แี ตง ถวาย มารดาและภริยาเกา ของพระยสะเขาไปเฝา พระองค ทรงแสดงอนปุ พุ พกี ถาและอรยิ สจั ใหส ตรที ง้ั สองเหน็ ธรรมแลว สตรที ง้ั สองทลู สรรเสรญิ ธรรมเทศนาแลวแสดงตนเปน อุบาสกิ าถงึ พระรัตนะเปนทร่ี ะลึกโดยนยั หนหลัง ตา งแต เปนผชู ายเรยี กวาอุบาสก ผูห ญงิ เรียกวาอบุ าสิกาเทา นั้น สตรีท้ังสองนนั้ ไดเ ปนอุบาสกิ า ในโลกกอ นกวา หญงิ อ่นื ครัน้ ถึงเวลา มารดาบิดาและภรรยาเกาของพระยสะ กอ็ งั คาส พระศาสดาและพระยสะดวยของเคี้ยว ของฉันอันประณีตโดยเคารพ ดวยมือของตน ครั้นฉันเสร็จแลว พระศาสดาตรสั พระธรรมเทศนาสัง่ สอนคนทงั้ ๓ ใหเห็น ใหสมาทาน ใหอาจหาญ ใหรนื่ เริงแลว เสดจ็ ไปปา อสิ ปิ ตนมฤคทายวนั สหายพระยสะ ๕๔ คน ออกบวช ฝา ยสหายของพระยสะ ๔ คน ชือ่ วิมละ ๑ สพุ าหุ ฅ ๑ ปุณณชิ ๑ ควัมปติ ๑ เปนบุตรแหงเศรษฐีในเมืองพาราณสี ไดทราบวา ยสกุลบุตรออกบวชแลว จึงคิดวา ธรรมวินัยที่สหายยสกุลบุตรออกบวชนั้น จักไมเลวทรามแน คงเปนธรรมวินัยอัน ประเสรฐิ ครนั้ คดิ อยา งนนั้ แลว พรอ มกนั ทง้ั ๔ คน ไปหาพระยสะ ๆ กพ็ าสหาย ๔ คนนน้ั ไปเฝาพระศาสดาทูลขอใหทรงส่ังสอน พระองคทรงสั่งสอนใหกุลบุตรท้ัง ๔ นั้นเห็น ธรรมแลว ประทานอปุ สมบทอนญุ าตใหเ ปน ภกิ ษแุ ลว ทรงสงั่ สอนใหบ รรลพุ ระอรหตั ผล คร้ังนน้ั มพี ระอรหันตข นึ้ ในโลก ๑๑ องค ฝา ยสหายของยสะอกี ๕๐ คน เปน ชาวชนบท ไดท ราบขา วแลว คดิ เหมอื นหนหลงั พากนั มาบวชตามแลว ไดส าํ เรจ็ พระอรหตั ผลดว ยกนั ทัง้ สิ้น รวมเปน พระอรหนั ต ๖๑ องค สงพระสาวก ๖๐ องคไ ปประกาศพระศาสนา เม่ือสาวกมีมาก พอจะสงไปใหเท่ียวประกาศพระศาสนา เพื่อเปนประโยชน แกหมูชนไดแลว พระศาสดาตรัสเรียกพระสาวก ๖๐ องคน้ันมาพรอมตรัสวา “ภิกษุท้ังหลาย เราไดพนแลวจากบวงทั้งปวงท้ังที่เปนของทิพยและเปนของมนุษย แมทานทั้งหลายก็เหมือนกัน ทานทั้งหลาย จงเท่ียวไปในชนบท เพ่ือประโยชนและ 164

ÇªÔ Ò¾Ø·¸Ò¹Ø¾·Ø ¸»ÃÐÇÑμÔ 165 ความสุขแกชนเปนอันมาก แตอยาไปรวมกัน ๒ รูปโดยทางเดียวกัน จงแสดงธรรม มีคุณอันงามในเบื้องตน ทามกลาง ที่สุด จงประกาศพรหมจรรยอันบริสุทธ์ิบริบูรณ สน้ิ เชงิ พรอ มทง้ั อรรถและพยญั ชนะ สตั วท งั้ หลายทมี่ กี เิ ลสบงั ปญ ญาดจุ ธลุ ใี นจกั ษนุ อ ย เปนปกติมีอยู เพราะโทษท่ีไมไดฟงธรรมยอมเสื่อมจากคุณท่ีจะพึงไดพึงถึง ผูรูท่ัวถึง ธรรมจกั มอี ยู แมเ รากจ็ ะไปอุรุเวลาเสนานิคม เพ่อื จะแสดงธรรม” สาวก ๖๐ น้ันรับสงั่ แลว กเ็ ท่ยี วไปในชนบทแตองคเดยี ว ๆ แสดงธรรมประกาศพรหมจรรยใหกลุ บตุ รท่มี ี อปุ นสิ ยั ในประเทศนน้ั ๆ ไดค วามเชอื่ ในพระพทุ ธศาสนา นอ มอธั ยาศยั ในอปุ สมบทแลว แตไมสามารถ จะใหอ ุปสมบทดวยตนเองไดจ งึ พากุลบุตรเหลาน้ันมา ดวยหวงั จะทลู ให พระศาสดาประทานอปุ สมบท ทงั้ ภกิ ษผุ อู าจารยแ ละกลุ บตุ รเหลา นน้ั ไดร บั ความลาํ บาก ทางกนั ดาร พระศาสดาทรงดําริถงึ ความลาํ บากนน้ั แลว ยกขึ้นเปนเหตุ ทรงพระอนุญาต วา “เราอนุญาต บัดน้ี เธอทง้ั หลายจงใหกุลบุตรอปุ สมบท ในทศิ นนั้ ๆ ในชนบทนน้ั ๆ เองเถดิ กลุ บตุ รนน้ั เธอทงั้ หลายพงึ ใหอ ปุ สมบทอยา งนี้ พงึ ใหป ลงผมและหนวดเสยี กอ น แลว ใหน งุ หม ผา ทยี่ อ มดว ยนาํ้ ฝาดแลว ใหน ง่ั กระโหยง ประณมมอื แลว ใหไ หวเ ทา ภกิ ษุ ทัง้ หลาย สอนใหว า ตามไปวา ขา พเจาถงึ พระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ เปนที่ระลึก ดงั นี้ พระศาสดาทรงอนญุ าตอปุ สมบทดว ยไตรสรณคมนเ ปน ครงั้ แรกในพระพทุ ธศาสนา อยางนี้ ต้งั แตกาลนนั้ มีวิธอี ปุ สมบทเปน ๒ อยา ง คือ เอหิภกิ ขอุ ปุ สัมปทาทพ่ี ระศาสดา ทรงบวชใหเ อง ๑ และตสิ รณคมน อุปสมั ปทาท่ีทรงอนุญาตแกส าวก ๑ คร้ังนั้น พระศาสดาทรงพิจารณาเห็นความบริบูรณแหงอุปนิสัยของชน ชาวมคธเปน จาํ นวนมาก แตต อ งอาศยั พระเจา พมิ พสิ าร ซงึ่ เปน พระเจา แผน ดนิ จงึ จะตง้ั ศาสนาลงในแวน แควนมคธได ทรงคิดจะพาอุรเุ วลกสั สปะ ซึ่งมีอายุมาก เปนทีน่ บั ถอื ของมหาชนมานาน ไปสั่งสอนใหม หาชนเลอื่ มใส ครนั้ เสด็จอยูในเมอื งพาราณสพี อแก ความตอ งการแลว เสดจ็ ดาํ เนนิ ไปยงั ตาํ บลอรุ เุ วลา เสดจ็ แวะออกจากทางแลว เขา ไปพกั อยูในไรฝา ย ทรงนง่ั ใตร มไมแ หง หน่งึ ประทานอปุ สมบทแกภ ัททวคั คีย สหาย ๓๐ คน ซึ่งเรยี กวา ภทั ทวคั คยี  พรอ มทัง้ ภริยา กําลงั สนกุ สนานอยู ณ ท่ีน้ัน สหายคนหน่ึงไมมีภริยา สหายทั้งหลายจึงนําหญิงแพศยามาให ครั้นสหาย เหลาน้ันมัวแตสนุกสนาน มิไดเอาใจใสระวังรักษาทรัพยสิน หญิงแพศยาจึงลักเอา คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 165

166 ¤ÁÙ‹ ×͸ÃÃÁÈ¡Ö ÉҪѹé àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก หอเครื่องประดับแลวหนีไป สหายเหลาน้ันชวนกันเท่ียวหาหญิงแพศยานั้นไปถึงที่ พระศาสดาประทับอยู เขาไปทูลถามวา พระผูมีพระภาค เห็นหญิงผูหน่ึงบางไหม ? พระศาสดาตรัสวา ทานท้ังหลายจะตองการอะไรดวยสตรีเลา พวกเขาเลาความตั้งแต ตน จนถึงหญิงแพศยาลักหอ เครือ่ งประดบั แลว หนีไปใหท รงทราบ พระองคตรัสถามวา ทานทั้งหลายจะสําคญั ความนัน้ เปน ไฉน ทา นพึงจะแสวงหาหญงิ หรอื จะแสวงหาตนดี กวา พวกขา พเจาจะแสวงหาตนน่ันแลดีกวา ถาอยา งนัน้ ทานทงั้ หลายนั่งลงเถิด เราจัก แสดงธรรมแกท าน สหายเหลานน้ั นัง่ ณ สวนขางหนง่ึ พระศาสดาตรัสอนุปุพพกี ถา และอรยิ สจั ๔ ใหส หาย ๓๐ คนนนั้ เกิดดวงตาเห็นธรรมแลว ประทานอุปสมบทใหเปน ภกิ ษใุ นพระศาสนา โปรดชฏลิ ๓ พ่นี อง และบรวิ าร พระบรมศาสดาเสด็จไปโดยลําดับถึงอุรุเวลาเสนานิคม ซ่ึงเปนที่อาศัยอยู แหง ชฏิล ๓ พน่ี อ ง กับทั้งหมูศ ษิ ยบ ริวาร อุรเุ วลกสั สปะเปนพีช่ ายใหญ มีบริวาร ๕๐๐ ตั้งอาศรมอยูท ฝี่ ง ตนนํา้ นทีกัสสปะเปน นอ งชายกลาง มีบริวาร ๓๐๐ ต้งั อาศรมอยูท่ี ฝงกลางนํา้ คยากสั สปะเปนนอ งชายคนเล็ก มีบรวิ าร ๒๐๐ ตง้ั อาศรมอยูท ี่ฝง ทายน้าํ ทั้ง ๓ พ่นี อ งนี้ สรางอาศรมอยูใกลฝ ง แมน า้ํ เนรัญชรา เปน ๓ สถานตามลําดับกัน ครนั้ พระศาสดาเสดจ็ ถงึ อรุ เุ วลาประเทศแลว ทรงทรมานอรุ เุ วลกสั สปะดว ยฤทธแ์ิ ละวธิ ตี า งๆ ถงึ ๓๕๐๐ ประการ ใชเ วลาถึง ๒ เดือน เพราะอรุ เุ วลปสสปะมที ิฏฐิมานะอนั แรงกลา ถือตนวาเปนพระอรหันตอยู แสดงใหเห็นวาลัทธิของอุรุเวลกัสสปะน้ันไมมีแกนสาร จนอุรุเวลกัสสปะมีความสลดใจ พรอมท้ังศิษยบริวารลอยบริขารของชฏิลเสียใน แมนํ้าแลวทูลขออุปสมบท พระศาสดาก็ประทานอุปสมบทอนุญาตใหเปนภิกษุทั้งสิ้น ฝา ยนทกี สั สปะตั้งอาศรมอยภู ายใต ไดเห็นบริขารชฏิลลอยไปตามกระแสน้าํ สําคญั วา เกิดอันตรายแกพี่ชายตน พรอมท้ังบริวารรีบไปถึง เห็นอุรุเวลกัสสปะผูพ่ีชายถือเพศ เปนภิกษุแลว ถามทราบความวา พรหมจรรยน้ีประเสริฐ แลวลอยบริขารชฏิลเสียใน แมน าํ้ พรอ มดว ยบรวิ ารเขา เฝา พระศาสดาทลู ขออปุ สมบท พระองคก ป็ ระทานอปุ สมบท แกเธอทั้งหลายนั้น สวนคยากัสสปะ นองชายคนเล็กไดเห็นบริขารชฏิลลอยมาตาม กระแสนํา้ สาํ คัญวาเกิดอนั ตรายแกพ ชี่ ายทัง้ สอง พรอมกบั บริวารรีบมาถงึ เห็นพช่ี าย 166

ÇԪҾط¸Ò¹¾Ø Ø·¸»ÃÐÇÑμÔ 167 ทง้ั สองถอื เพศบรรพชติ แลว ถามทราบความวา พรหมจรรยน ป้ี ระเสรฐิ แลว ลอยบรขิ าร ของตนเสียในแมน าํ้ พรอมดว ยบริวารเขาไปเฝาพระศาสดา ทลู ขออปุ สมบท พระองคก ็ ประทานอปุ สมบทใหเ ปนภิกษุโดยนยั หลัง ทรงแสดงอาทติ ตปรยิ ายสูตร พระศาสดาเสด็จอยูในอุรุเวลาเสนานิคม ตามควรแกความประสงคแลว พรอ มดว ยหมภู กิ ษชุ ฏลิ เหลา นน้ั เสดจ็ ไปยงั คยาสสี ะประเทศใกลแ มน าํ้ คยา ประทบั อยู ณ ทนี่ นั้ ตรสั เรยี กภกิ ษเุ หลา นนั้ มาพรอ มแลว ทรงแสดงธรรมวา ภกิ ษทุ ง้ั หลาย สงิ่ ทง้ั ปวง เปน ของรอน อะไรเลา เชือ่ วาสิ่งทั้งปวง จักษคุ อื นยั นต า รูป วิญญาณอาศัยจกั ษุ สัมผสั คอื ความถกู ตอ งอาศยั จกั ษเุ วทนาทเ่ี กดิ เพราะจกั ษสุ มั ผสั เปน ปจ จยั คอื สขุ บา ง ทกุ ขบ า ง ไมใ ชส ขุ ไมใ ชท กุ ขบ า ง (หมวดหนงึ่ ) โสต คอื หู เสยี ง วญิ ญาณ อาศยั โสต สมั ผสั อาศยั โสต เวทนาที่เกิดเพราะโสตสัมผัสเปนปจจัย สุขบาง ทุกขบาง ไมใชสุขไมใชทุกขบาง (หมวดหน่ึง) ฆานะคือจมูก กล่ิน วิญญาณ อาศัยฆานะ สัมผัสอาศัยฆานะ เวทนา ท่ีเกิดแตฆานสัมผัสเปนปจจัย เปนสุขบาง ทุกขบาง ไมใชสุขไมใชทุกขบาง (หมวดหนงึ่ ) ชวิ หาคอื ลนิ้ รส วญิ ญาณอาศยั ชวิ หา สมั ผสั อาศยั ชวิ หา เวทนาทเี่ กดิ เพราะ ชวิ หาสมั ผสั เปน ปจ จยั สขุ บา ง ทกุ ขบ า ง ไมใ ชส ขุ ไมใ ชท กุ ขบ า ง (หมวดหนง่ึ ) กายโผฏฐพั พะ คือ อารมณท่จี ะพงึ ถูกตองดวยกาย วิญญาณอาศยั กาย สมั ผัสอาศยั กาย เวทนาที่เกดิ เพราะกายสมั ผัสเปน ปจ จัย สขุ บา ง ทกุ ขบ า ง ไมใ ชสุขไมใชท กุ ขบา ง (หมวดหน่งึ ) มนะ คอื ใจ ธรรม วญิ ญาณอาศัยมนะ สัมผัสอาศยั มนะ เวทนาทเี่ กิดเพราะมโนสมั ผัสเปน ปจ จยั สขุ บา ง ทกุ ขบ า ง ไมใ ชส ขุ ไมใ ชท กุ ขบ า ง (หมวดหนง่ึ ) ชอื่ วา สง่ิ ทง้ั ปวง เปน ของรอ น รอนเพราะอะไร อะไรมาเผาใหรอน เรากลาววารอนเพราะไฟ คือ ความกําหนัด ความโกรธ ความหลง รอนเพราะความเกิด ความแก ความตาย ความโศกร่ําไร รําพัน เจ็บกาย เสียใจ คับใจ ไฟกิเลสไฟทุกขเหลาน้ี มาเผาใหรอน ภิกษุท้ังหลาย อริยสาวก ผูไดฟงแลวเห็นอยูอยางน้ี ยอมเบ่ือหนายในส่ิงทั้งปวงน้ัน ต้ังแตใน จกั ษจุ นถงึ เวทนาทเี่ กดิ เพราะมโนสมั ผสั เปน ปจ จยั เมอื่ เบอื่ หนา ย ยอ มปราศจากกาํ หนดั รักใคร เพราะปราศจากกําหนัดรักใคร จิตก็พนจากความถือม่ัน เม่ือจิตพนแลวก็ เกิดญาณรูวาพนแลว ดังนี้ อริยสาวกน้ันทราบชัดวา ความเกิดสิ้นแลว พรหมจรรย คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 167

168 ¤Ù‹ÁÍ× ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒªé¹Ñ àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก ไดอยูจบแลว กิจท่ีจําจะตองทํา ไดทําเสร็จแลว กิจอื่นอีก เพื่อความเปนอยางนี้ มิไดมี เม่ือพระศาสดาตรัสธรรมเทศนานี้อยูจิตของภิกษุเหลาน้ัน พนจากอาสวะ ท้ังหลายไมถ ือมั่นดวยอปุ าทาน โปรดพระเจาพิมพสิ าร พระศาสดาเสด็จอยู ณ คยาสีสะประเทศ ตามสมควรแกพระอัธยาศัยแลว พรอมดวยหมูภิกษุสาวก ๑,๐๐๓ องคน้ันเสด็จเที่ยวไปโดยลําดับ ถึงเมืองราชคฤห ประทับอยู ณ สวนตาลหนุม ฝายพระเจาพิมพิสารพระเจาแผนดินมคธทรงทราบวา พระสมณโคดมซง่ึ เปนโอรสแหง ศากยราชทรงละฆราวาสสมบตั เิ สีย เสดจ็ ออกบรรพชา จากศากยตระกลู บดั นี้ เสดจ็ ถงึ เมอื งราชคฤห ประทบั อยู ณ สวนตาลหนมุ แลว พระองค ไดท รงฟง กติ ตศิ พั ทเ สยี งสรรเสรญิ พระคณุ ของพระศาสดาวา เปน พระอรหนั ตต รสั รเู อง แลว โดยชอบเปน ตน ทรงแสดงธรรมสงั่ สอนมหาชนมคี ณุ ควรนบั ในเบอ้ื งตน ทา มกลาง ทสี่ ุด ประกาศพรหมจรรย พรอ มทงั้ อรรถและพยญั ชนะบริสทุ ธบ์ิ รบิ ูรณสนิ้ เชิง จึงทรง พระราชดาํ รวิ า การไดเ หน็ พระอรหนั ตเ ชน นน้ั เปน ความดี สามารถใหป ระโยชนส าํ เรจ็ ได ครั้นทรงพระราชดําริอยางนี้แลว เสด็จพระราชดําเนินพรอมดวยราชบริวารออกไปเฝา พระศาสดา ถงึ สวนตาลหนมุ ทรงนมสั การแลว ประทบั ณ ทค่ี วรขา งหนง่ึ สว นราชบรวิ าร นน้ั กม็ อี าการกายวาจาตา งๆ กนั บางพวกถวายบงั คม บางพวกเปน แตก ลา ววาจาปราศรยั บางพวกเปนแตประณมมือ บางพวกรองประกาศชื่อและโคตรของตน บางพวกน่ิงอยู ทัง้ ๕ เหลา นัน้ น่งั ณ ท่ีควรตามลําดับที่น่ัง พระศาสดาทอดพระเนตรเหน็ อาการของ ราชบรวิ ารเหลานัน้ ตา งๆ กัน ยังไมออ นนอ มโดยเรยี บรอ ย ซ่งึ ควรจะรบั ธรรมเทศนาได มพี ระประสงคจ ะใหพ ระอรุ เุ วลากสั สปะ ซง่ึ เปน ทนี่ บั ถอื ของชนเหลา นน้ั ประกาศความไมม ี แกน สารแหง ลทั ธเิ กา ใหช นเหลา นน้ั ทราบ เพอ่ื จะใหช นเหลา นนั้ สน้ิ ความเคลอื บแคลงแลว ต้ังใจคอยฟง พระธรรมเทศนา จงึ ตรสั ถามพระอุรเุ วลกสั สปะวา กสั สปะ ผอู ยใู น อรุ เุ วล ประเทศมานาน ทานเคยเปนอาจารยสั่งสอนหมูชฏิลผูผอมเพราะกําลังพรต ทานเห็น เหตุไรแลว จงึ ละไฟทตี่ นไดเ คยบูชาแลว ตามลทั ธิแตกอ น เราถามเนื้อความน้ันกะทา น เหตไุ ฉน ทา นจึงละการบูชาไฟของทา นเสีย พระอุรุเวลกสั สปะ กราบทลู วา ยญั ทงั้ หลาย กลาวสรรเสริญผล คอื รูปเสยี งและรส เปนอารมณท ่สี ัตวป รารถนา และสตรีทัง้ หลาย แสดงวาบูชายัญแลวก็จะไดผลคือ อารมณท่ีปรารถนามีรูปเปนตนเหลาน้ี ขาพเจาไดรู 168

ÇªÔ Ò¾·Ø ¸Ò¹Ø¾·Ø ¸»ÃÐÇμÑ Ô 169 วา ผล คอื กามนัน้ เปน มลทินเครือ่ งเศราหมอง ตกอยใู นกเิ ลส ยญั ทงั้ หลาย ยอมกลา ว สรรเสริญผลลวนแตมีมลทินอยางเดียว เหตุนั้น ขาพเจาจึงมิไดยินดีในการเซนและ การบูชาไฟที่ไดเคยทํามาแลวแตปางกอน พระศาสดาตรัสถามตอไปวา กัสสปะ ก็ใจ ของทานไมยนิ ดีในอารมณเหลานนั้ คอื รูป เสยี งและรส ซึ่งเปนวัตถุกามแลว กท็ ีน้นั ใจของทา นยนิ ดแี ลวในสงิ่ ใดเลา ในเทวโลกหรอื ในมนุษยโลก ทานจงบอกขอนัน้ แกเ รา พระอุรุเวลกัสสปะกราบทูลวา ขาพเจาไดเห็นธรรมอันระงับแลว ไมมีกิเลสเคร่ืองเศรา หมองอนั เปนเหตจุ ักกอ ใหเ กิดทกุ ข ไมม กี งั วลเขาพัวพันได ไมต ิดอยูในกามภพ อันจัก ไมแ ปรปรวนเปน อยา งอน่ื ไมใ ชธ รรมทบ่ี คุ คลผอู น่ื จะพงึ นาํ ไป คอื ไมเ ปน วสิ ยั ทผี่ อู น่ื จะ มาใหผ ูอน่ื รูไ ดตอผูทที่ ําใหแ จง จึงรจู าํ เพาะตวั เหตนุ น้ั ขาพเจา มไิ ดย นิ ดแี ลวในการเซน และการบชู าไฟซงึ่ ไดเ คยประพฤตมิ าแลว พระอรุ เุ วลกสั สปะกราบทลู อยา งนแี้ ลว ลกุ จาก ทนี่ งั่ ทาํ ผา หม เฉวยี งบา ขา งหนงึ่ ซบศรี ษะลงทพ่ี ระบาทพระศาสดาทลู ประกาศวา พระองค เปนพระศาสดาผูสอนของขาพเจา ขาพเจาเปนสาวกผูฟงคําสอนของพระองค ดังนี้ ๒ หน เมอื่ พระศาสดาตรสั ถามใหพ ระอรุ เุ วลกสั สปะกราบทลู ประกาศความไมม แี กน สาร แหงลัทธิเกาใหราชบริวารทราบแลว นอมจิตคอยฟงพระธรรมเทศนาของพระองค อยา งนแ้ี ลว ทรงแสดงอนปุ พุ พกี ถาและอรยิ สจั ๔ พระเจา พมิ พสิ ารและราชบรวิ ารแบง เปน ๑๒ สวน ๑๑ สว นไดดวงจักษเุ ห็นธรรม สวนหนึ่งตง้ั อยูใ นไตรสรณคมน ความปรารถนาของพระเจา พมิ พิสาร เมอ่ื พระราชประสงคของพระเจา พิมพสิ าร สาํ เร็จบรบิ ูรณพรอมท้งั ๕ อยา ง จึงกราบทูลพระศาสดาวา คร้ังขาพเจายังเปนราชกุมารยังไมไดอภิเษก ไดต้ังความ ปรารถนา ๕ อยาง ขอตน วา ขอใหผ เู ปนประธานในราชการ พงึ อภิเษกเราในราชสมบตั ิ เปนพระเจาแผนดินมคธน้ีเถิด ขอท่ี ๒ วา ขอทานผูเปนพระอรหันตรูเองเห็นเอง โดยชอบ พงึ มายังแวน แควน ของเราผไู ดอ ภิเษกแลว ขอ ที่ ๓ วา ขอเราพึงไดเ ขา ไปน่งั ใกลพระอรหันตน้ัน ขอท่ี ๔ วา ขอพระอรหันตนั้นพึงแสดงธรรมแกเรา ขอที่ ๕ วา ขอเราพึงรทู ว่ั ถึงธรรมของพระอรหนั ตน ้นั บดั นี้ ความปรารถนาของขา พเจาท้งั ๕ อยา ง น้นั สาํ เร็จแลว ทุกประการ คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 169

170 ¤Á‹Ù Í× ¸ÃÃÁÈ¡Ö ÉÒªÑé¹àÍ¡ คมู ือธรรมศึกษา=ชน้ั เอก ทรงรับสวนเวฬุวันเปน อารามสงฆ พระเจาพิมพิสาร ทรงแสดงพระองคเปนอุบาสกแลวกราบทูลอาราธนา พระศาสดาเพอ่ื เสวยภตั ตาหารทพ่ี ระราชนเิ วศนใ นวนั รงุ ขนึ้ เสดจ็ ลกุ จากทป่ี ระทบั ถวาย อภิวาทพระศาสดาทําประทักษิณเสร็จแลวเสด็จกลับพระราชวังโปรดใหเจาพนักงาน จัดอาหารของควรเคี้ยวควรฉันลวนแตอยางประณีต ครั้นลวงราตรีน้ันแลว ตรัสสั่ง ใหราชบุรุษไปกราบทูลอาราธนา พระศาสดาพรอมดวยภิกษุสงฆเปนบริวาร เสด็จไป ยังพระราชนิเวศน ประทับ ณ อาสนะ พระเจาพิมพิสารทรงอังคาสภิกษุสงฆ (ถวายภตั ตาหาร) มีพระพทุ ธเจา เปนประธาน ดวยอาหารอันประณีตดว ยพระหัตถแ หง พระองคเ สร็จแลว ประทบั ณ ท่ีควรขา งหนึ่ง ทรงดํารถิ ึงสถานทีอ่ ันควรเปน ทเ่ี สดจ็ อยู แหงพระศาสดา ทรงเห็นวาอุทยานเวฬุวันสวนไมไผ เปนที่ไมไกลไมใกลนักแตบาน บริบูรณดวยทางเปนไปและทางเปนท่ีมา ควรท่ีผูมีธุระจะพึงไปถึง กลางวันไมเกล่ือน กลนดวยหมูมนุษย กลางคืนเงียบเสียงที่จะอื้ออึงกึกกอง และเสียงหมูชนท่ีจะเดิน เขาออก สมควรเปนที่ประกอบกิจของผูตองการที่สงัด และควรเปนท่ีหลีกออกเรน อยูตามวิสัยสมณะ ควรเปนที่เสด็จอยูของพระศาสดา คร้ันทรงพระดําริอยางน้ีแลว ทรงจับพระเตาทองเต็มดวยนํ้าหล่ังลงใหตกตองพระหัตถของพระบรมศาสดาถวาย พระราชอุทยานเวฬุวันนั้นแกพระภิกษุสงฆมีพระพุทธเจาเปนประธาน ปรากฏวา พื้นปฐพีกัมปนาทหวั่นไหว พระศาสดาทรงรับแลว ทรงแสดงธรรมโปรดพระเจา พิมพิสารใหทรงเห็นและทรงสมาทานอาจหาญร่ืนเริงในสัมมาปฏิบัติตามสมควรแลว เสด็จประทับอยู ณ เวฬุวันวิหาร พระองคอาศัยเหตุน้ัน จึงทรงพระอนุญาตใหภิกษุ รับอารามที่ทายกถวายตามปรารถนา การถวายอารามเกิดขึ้นเปนคร้ังแรกในกาลนั้น พระศาสดาทรงประดิษฐานพระพุทธศาสนาในแวนแควนมคธอยางน้ีแลว เสด็จจาริก เพื่อประโยชนส ุขแกมหาชนทง้ั ปวง 170

ÇªÔ Ò¾·Ø ¸Ò¹¾Ø ·Ø ¸»ÃÐÇÑμÔ 171 »ÃàÔ ©··èÕ õ ·Ã§ºÒí à¾ç޾ط¸¡¨Ô พระอัครสาวกทง้ั สอง ครง้ั กอ นแตพ ระพทุ ธกาล ในทไี่ มไ กลแตเ มอื งราชคฤห มบี า นพราหมณ ๒ หมู ในบา นหมหู นงึ่ พราหมณผ เู ปน นายบา นชอ่ื อปุ ตสิ สะ (อกี อยา งหนง่ึ ชอื่ วงั คนั ตะ) มภี รยิ า ชอ่ื นางสารี มีบุตรชายคนหนง่ึ เรยี กตามโคตรของพอวา อุปตสิ สะ อกี ยางหน่งึ เรียกชอ่ื ตามความท่ีเปนลูกของนางสารีวา สารีบุตร ในบานอีกหมูหนึ่ง พราหมณผูเปน นายบา นชอื่ โกลติ ะมภี รยิ าชอื่ นางโมคคลั ลี มลี กู ชายเรยี กชอื่ ตามโคตรของบดิ า วา โกลติ ะ อีกอยางหนึ่ง เรียกตามความที่เปนลูกของนางโมคคัลลีวา โมคคัลลานะ สองตระกูล น้ันเปนสหายเน่ืองกันมาแตคร้ังบรรพบุรุษ บุตรของสองตระกูลนั้นมีอายุรุนราวคราว เดยี วกนั จงึ ไดเ ปน เพอื่ นเลน ดว ยกนั มาแตเ ดก็ ครน้ั เตบิ ใหญไ ดเ รยี นศลิ ปศาสตรท คี่ วร เรยี นจบแลว อปุ ตสิ สะและโกลติ ะสองสหายนน้ั ไดไ ปเทยี่ วดกู ารเลน ทเ่ี มอื งราชคฤหด ว ย กนั บอ ย ๆ เม่ือดูอยนู ้นั ยอมราเรงิ ในทีค่ วรรา เริงสลดในใจทีค่ วรสลดใจ ใหรางวัลใน ท่ีควรให วันหนึ่ง สองสหายน้ันชวนกันไปดูการเลน แตไมราเริงเหมือนในวันกอน ๆ โกลิตะถามอุปติสสะวา ดูทานไมสนุกเหมือนในวันกอน วันน้ีดูซึมเศราไป ทานเปน อยา งไรหรอื ฯ อปุ ตสิ สะตอบวา อะไรทเี่ ราจะควรดใู นการเลน นม้ี หี รอื คนเหลา นท้ี งั้ หมด ยังไมท นั ถึงรอ ยป กจ็ กั ไมมเี หลือ ดกู ารเลน ไมม ปี ระโยชนอ ะไร ควรขวนขวายหาธรรม เคร่อื งพนดกี วา ขา นั่งคิดอยูอ ยางน้ี สวนเจาเลา เปน อยา งไร ฯ โกลิตะตอบวา ขาก็คิด เหมือนอยางนนั้ ฯ สองสหายนน้ั มีความเห็นรวมกันอยางน้ันแลว พาบริวารไปขอบวช อยูในสํานักสัญชัยปริพาชก เรียนลัทธิของสัญชัยไดทั้งหมดแลวอาจารยใหเปนผูชวย สัง่ สอนหมศู ษิ ยต อ ไป สองสหายนัน้ ยงั ไมพอใจในลัทธินั้น จึงนัดหมายกนั วา ใครได ธรรมวิเศษ จงบอกแกก ัน ครั้นพระศาสดาไดตรัสรูแลวทรงแสดงธรรมสั่งสอนประกาศศาสนาเสด็จ มาถงึ กรงุ ราชคฤหป ระทับอยู ณ เวฬุวัน วันหน่ึง พระอสั สชซิ ึ่งเปน หนง่ึ ในปญ จวคั คีย เขา ไปบณิ ฑบาตในเมืองราชคฤห อปุ ตสิ สปริพาชกเดนิ มาแตทอี่ ยขู องปรพิ าชก ไดเห็น ทา นมอี าการนา เลอ่ื มใสอยากจะทราบวา ใครเปน ศาสดาของทา น แตย งั ไมอ าจถาม ดว ย เห็นวาเปน กาลไมควร ทานยังเที่ยวบณิ ฑบาตอยู จงึ ตดิ ตามไปขางหลัง ๆ คร้งั เหน็ ทาน คมู ือธรรมศึกษา=ชั้นเอก 171


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook