น้�ำแอ่งน้อยท่วมไร่ท่วมนา - โนง น้�ำแอ่งน้อยท่วมไร่ท่วมนา [น่าม- หรือไปเอาความแน่นอนจริงจัง แอ่ง-น่อย-ถ่วม-ไล่-ถ่วม-นา] อะไรไมไ่ ด)้ . (ส�ำ) สิ้นเนื้อประดาตัวเพราะ นว้ิ โป้ [นว่ิ -โป]้ น. นวิ้ โปง้ , นว้ิ หวั แมม่ อื . ก ตดิ เหลา้ เมาสรุ า. นวิ้ โปต้ นี [นวิ่ -โป-้ ตนี ] น. นว้ิ หวั แมเ่ ทา้ . ข นกิ น. กระดงึ ขนาดเลก็ เสยี งจะดงั นกิ ๆ, นแิ หน่ น. นอ้ ยหนา่ , หน่วยแหน่ กว็ ่า. ค นโิ หนง่ น. นอ้ ยโหนง่ , หนว่ ยโหนง่ กว็ า่ . ฆ (ดู นก่ ประกอบ). นอิ อ่ ง น. กล้วยนำ้� วา้ , (ดู มะลอิ ่อง ง ประกอบ). จ นี ว. หรอื , เหรอ; คำ� ประกอบกับ ฉ ประโยคคำ� ถาม เช่น ไม่กินนี ช (ไม่กนิ เหรอ). ซ นึกคะนอง [น่ึก-คะ-นอง] ก. คิด ฐ ลำ� พองใจจนเกนิ พอดี, คึกจน ฒ เกินพอด.ี ด นบึ ใน ว. ท่าทางเฉย ๆ ไมช่ ่างพูด มกั ต จะมีความคิดลึกซึ้งหรือท่าทาง ถ เฉย ๆ แตเ่ ปน็ คนเจ้าชู้; ตรง ท กับส�ำนวน น้�ำนิง่ ไหลลึก. ธ นงุ่ จบี ห่มจบี ก. นุง่ เจียมหม่ เจียม, น นิก แต่งตัวพอสมกับฐานะ เช่น หนุ่มสาวนุ่งจีบห่มจีบมองดู บ นติ รา น. นทิ รา, การหลับ เชน่ ทั้ง เยน็ ตา (ทา้ ว ฯ). ป ไพร่นายท่านพระยาพระนิตรา เนง็ ก. เลง็ , จ้องไปยงั ทห่ี มาย. ผ เนน น. ขนุน ไม้ยืนต้นชนิด ฝ ไป (นิ.พระปาจติ ). Artocarpus hetero phyllus พ นทิ งนทิ าน น. นิทาน; การพดู หยอก Lam. จัดอยู่ในวงศ์ Mora ฟ ceae ดอกออกเปน็ ช่อที่ปลาย ภ ล้อเด็ก ๆ ทอ่ี ยากฟังนทิ าน ผู้ ก่ิงหรือง่ามใบ เปลือกผลมี ม เล่าก็จะโกหกด้วยการพูดว่า หนามทู่ ถ้ากรดี จะมียางเหนียว ย “นทิ าน ๆ กะโปกยาน ๆ นทิ าน ร จ๊บจ้อย”. ฤ นยิ งนิยาย น. นยิ มนยิ าย, สาระหรอื ล ว แก่นสาร, เป็นงานเป็นการ, ศ เป็นเร่ืองเป็นราว, มักใช้ใน ส ความปฏเิ สธ เชน่ ไปเอานิยง ห อ นิยายอะไรได้ (ไปเอาแกน่ สาร ฮ 166
พจนานุกรม ภาษาโคราช ภายในผลของขนุนจะมีซังขนุน แนน่ ตบึ [แหนฺ น่ -ตบึ๊ ] ว. แนน่ หนา, แนน่ ก หุ้มยวงสเี หลอื งไว้ เมล็ดจะอยู่ สนทิ , แนน่ แฟน้ , แนน่ เอย้ี ด. ข ในยวง ชาวบนในแถบโคราช ค เรียก “ขนุน” วา่ “เนน”. แนน่ แอด้ [แหนฺ น่ -แอด่ ] ว. แนน่ เอยี้ ด, ฆ เน่า ก. ยงิ สะบ้าไปถูกสะบ้าคนอ่ืนซึง่ แนน่ ขนดั , แนน่ จนแออดั . ง ไม่ใช่สะบ้าที่เป็นคู่ของตนถือว่า จ เน่า จะตอ้ งใหค้ นหนงึ่ ในฝ่าย แนบ่ ว. โดยเร็ว, แจน้ , เรว็ เชน่ เปดิ ฉ ตนไถ่ ถ้าไถ่ไม่ไดต้ ้องเปล่ียนไป แนบ่ (ว่ิงแจน้ ), โกยแน่บ กว็ ่า. ช ให้ฝา่ ยตรงข้นึ หรอื เลน่ , (ดู ไถ,่ ซ สีบา้ สีรอย ประกอบ). แนม ว. สอดแนม, สืบ, สืบความลบั , ฐ เนยี น ว. หมดเกลี้ยง, ไมเ่ หลอื เชน่ แอบด,ู แอบฟงั เช่น พอพี่ออก ฒ ฉันเล่าหมดเนียนแหละวันน้ี ไปจากเมือง ก็มีเร่อื งตามไป ด วั น ห ลั ง อ ย ่ า ม า ถ า ม กั น น ่ า แนม (น.ิ เพลงปาจติ ฯ) . ต (เพลงโคราช), เตียน ก็วา่ . ถ เน้อื ต่อนหนา ปลาต่อนใหญ่ [เนอื่ - แนว ๑. น. พันธ์ุ , เทอื กเถา, เหลา่ กอ, ท ตอ่ น-หนฺ า-ปา-ตอ่ น-ไหย]่ (สำ� ) พวกพ้อง, วงศว์ าน, ตระกลู , ธ ความอดุ มสมบรู ณ์ ; ท�ำนอง หนอ่ แนว ก็ว่า. น ในน�ำ้ มปี ลาในนามีขา้ ว. บ เนือ้ ถ่ี [เน่อื -ถ]่ี น. นางอันเปน็ ทีร่ ัก ๒. สนั . เพราะ, ดว้ ย, แนวทางที่ ป เช่น จึงบอกนางเนือ้ ถ่ี สรงวารี วางไว,้ กเ็ ชน่ แนวคนแตก่ อ่ น ผ ใหส้ �ำราญ (นิ.รปู ทอง), เน้อื (ก็คนแต่ก่อน, เพราะคนแต่ ฝ หอม, เนือ้ เหลอื ง กว็ ่า เชน่ กอ่ น). พ อยดู่ ดี ีก็คดิ ถงึ เนื้อหอม, แสน ฟ ล�ำบากน่ีกระไรเจ้าเน้ือเหลือง ๓. น. สงิ่ , สิ่งของ, ประเภท, ภ (นิ.พระปาจิต). ชนิด, พวก, กลุ่ม, พรรค์ ม เนื้อหอม [เนอ่ื -หอม] ดู เน้ือถี.่ เชน่ คนละแนว (คนละพวก), ย เน้ือเหลือง [เนอื่ -เหลฺ อื ง] ดู เนอ้ื ถี.่ แนวนน่ั (ชนิดน้นั , พรรคน์ นั้ ), ร แน ก. คาดวา่ , คาดคะเน เช่น ฉนั แน แนวไหน (อย่างไหน, ชนิดไหน, ฤ ว่าลงุ เกลย้ี งจะมาบ้าน. ประเภทไหน). ล ว แนววา่ สนั . เพราะว่า. ศ โนง ๑. ว. เหนง่ , ใสเกล้ยี ง, เล่ือมเปน็ ส ห มัน เชน่ ไอห้ ัวลา้ นลงไปอยู่ อ นอนอู้คูห้ ัวใสโนง (นิ.รูปทอง). ฮ ๒. ว. โด่ง เรยี กจมกู ที่เป็นสัน สงู ขึ้นมา เช่น บ้างหยู านฟัน 167
โนน - บ่อนนนู ใหถ้ าง บอ่ นลา่ งใหถ้ ม ยาวตะหมกู โนง บางคนโดง่ ต�่ำ นครราชสีมา เดิมช่ืออ�ำเภอ เตีย้ เสียราศี (นิ.พระปาจิต). กลาง เพราะ ตง้ั อยตู่ รงกลาง โนน น. ทสี่ ูง, เนิน. ระหว่างอำ� เภอเมือง (อำ� เภอ ก โนนแดง น. ช่ืออ�ำเภอหน่ึงในจังหวดั ใน) กับอ�ำเภอบวั ใหญ่ (อำ� เภอ ข นอก) ต่อมาได้พิจารณาเห็นวา่ ค นครราชสมี า เปน็ ทอ้ งท่ีที่เป็น ที่ว่าการอ�ำเภอตั้งอยู่ในที่ของ ฆ เนินมีไมแ้ ดงมาก. วัดร้าง ควรต้ังช่ืออ�ำเภอให้ ง โนนไทย น. ชอื่ อ�ำเภอหนึง่ ในจงั หวัด เหมาะสมกับสภาพที่ต้ัง จึง จ เปลี่ยนช่ือเป็นอ�ำเภอโนนวัด ฉ นครราชสมี า เดมิ มบี า้ นสนั เทยี ะ เ ม่ื อ ก ร ะ ท ร ว ง ม ห า ด ไ ท ย มี ช ตงั้ อยใู่ นตำ� บลโนนลาว เมอื่ ยก ประกาศให้ปรับปรุงเขตอ�ำเภอ ซ ฐานะเป็นอำ� เภอใช้ชอ่ื ว่าอ�ำเภอ ได้มีการยุบรวมพ้ืนที่หลายแห่ง ฐ โนนลาว ตอ่ มาเปล่ียนชื่อเป็น จึงเปล่ียนช่ือจากอ�ำเภอโนนวัด ฒ ม า เ ป ็ น อ� ำ เ ภ อ โ น น สู ง ต า ม ด อ�ำเภอสันเทียะตามช่ือหมู่บ้าน สภาพทอ้ งท่ซี ง่ึ เป็นทร่ี าบสงู . ต สนั เทยี ะเปน็ ภาษาเขมร แปลวา่ ในเรือน ดู เรอื นนอน. ถ เกลอื สนิ เธาว์ ครงั้ หลงั สดุ เปลยี่ น ท ชอื่ อำ� เภอเปน็ โนนไทย. ธ น โนนสงู น. ชอ่ื อ�ำเภอหนง่ึ ในจังหวัด บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ฤ ล ว ศ ส ห อ ฮ 168
บพจนานุกรม ภาษาโคราช ก บก [บ๊ก] ว. แห้ง, ยุบ, ลดลง. บอง ก. ท่าคุกเขา่ ยิงสะบา้ , (ดู สีบ้า ข บงอบั บงรา [บง-อบั๊ -บง-ลา] ๑. ว. สรี อย ประกอบ). ค ฆ รว่ มทกุ ขร์ ่วมสขุ ดว้ ยกัน, ทุกข์ บอ่ ง ก. เจาะ, เจาะเปน็ รหู รอื โพรง ง ยากลำ� บากด้วยกัน. เช่น กระรอกบ่องมะพร่าว จ ๒. ว. ไรส้ าระ, ไมเ่ ปน็ แกน่ สาร. (กระรอกเจาะมะพรา้ ว). ฉ บน่ อดื ก. บน่ ออด, บ่นซำ�้ ๆ ซาก ๆ, ช บ่นไม่หยดุ , บ่นอยู่ร�่ำไป. บอดถ่ัว น. ตาถัว่ ; ตาทีม่ จี ดุ ขาวมัวอยู่ ซ บแ่ พ่ ว. มาก, มากมาย, หลาย, ถมเถ, กลางตาด�ำ ทำ� ใหม้ องเหน็ ไม่ ฐ ถมไป เชน่ บอกสอนมันบแ่ พ่ ชดั เชน่ หหู นักตาบอดถ่ัว ไม่มี ฒ แต่มันไม่เอา, บ่แพะ, บ่แพ่ ผัวก็อย่าเอา (น.ิ รปู ทอง). ด บ่พัด กว็ า่ , (ถิ่นอำ� เภอคง). ต บ่แพบ่ พ่ ดั [บอ่ -แพ-่ บอ่ -พด่ั ] ดู บแ่ พ.่ บอน ก. ย้ายไม้ยืนตน้ ไปปลกู ทีใ่ หม่ ถ บแ่ พะ [บอ่ -แพะ] ดู บแ่ พ.่ ด้วยการขดุ บริเวณรอบโคนต้น ท บม่ หนอง ก. กลดั หนอง. ให้ดินห้มุ รากเปน็ ตุ้ม. ธ บวบลม น. จกุ โรหินี [จกุ -กะ-โล-ห-ิ น]ี , น พุงปลา, พุงปลาชอ่ น ; ช่อื ไม้ บ่อน น. ท่,ี สถานท่ี เชน่ บอ่ นไหน บ อิงอาศยั ชนดิ Dischidia major (ทไี่ หน), บ่อนนอน (ทีน่ อน). ป (Vahl) Merr. ในวงศ์ Asclepia ผ daceae เกาะเล้ือยบนต้นไม้ บอ้ น ๑. น. หนอนบ่อน. ฝ นำ้� ยางสขี าว ใบเปน็ รปู ถงุ กลวงใน ๒. ก. เสือก, ทำ� ใหเ้ คลอ่ื นไป พ ออกเป็นกระจุก รากใช้ท�ำยา ฟ แกท้ ้องรว่ ง อาเจียน แกไ้ อ. บนพน้ื โดยแรง, บื้น กว็ า่ . ภ บอกเบอร์ ก. ใบ้หวย. บ่อนตำ�่ ให้พนู บอ่ นนูนให้ถาง [บอ่ น- ม บอกหญา้ มา้ ใหน้ าย [บอก-หยา่ -มา่ - ย ไห่-นาย] (สำ� ) ก. ช้ีชอ่ งทางให้ ตำ�่ -ไห-่ พนู -บอ่ น-นนู -ไห-่ ถาง] ร ผู้อ่นื รู้ แต่ตนเองตอ้ งรบั ภาระ. (สำ� ) ใหต้ อ่ สฟู้ นั ฝา่ อปุ สรรคทขี่ ดั ฤ ขวางอยา่ ทอ้ ถอย, ถนิ่ อสี านใชว้ า่ ล บอ่ นตำ่� ใหค้ นู บอ่ นนนู ใหถ้ าก. ว บอ่ นนนู ใหถ้ าง บอ่ นลา่ งใหถ้ ม [บอ่ น- ศ นูน-ไห่-ถาง-บ่อน-ล่าง-ไห่- ส ถม] (ส�ำ) ให้ต่อสู้ฟันฝ่า ห อุ ป ส ร ร ค ท่ี ขั ด ข ว า ง อ ย ่ า อ ฮ 169
บ่อนอยู่บอ่ นกนิ - บ้านเหลอื งเมืองร้อน ท้อถอย. วัน ๑๕ คำ่� . บ่อนอย่บู ่อนกิน น. บา้ น, ทอี่ ยูอ่ าศยั . บดั [บ๊ัด] ว. ครัน้ , พอ, เม่อื เช่น บั๊ด บอ่ หลา น. บอ่ ท่มี คี วามกวา้ งและยาว ก ดา้ นละประมาณ ๑ หลาหรอื เราคุยด้วยทำ� เฉย (พอเราคยุ ข ประมาณ ๑ เมตร ลกึ ประมาณ ดว้ ยทำ� เฉย), บัดว่า กว็ ่า. ค บดั ได [บดั๊ -ได๋] ว. ท่ไี หนได้ ; คำ� พูด ฆ ๑ คบื . แสดงความประหลาดใจว่าไม่ ง บะโต๊ะ ก. รวมกัน, มาชุมนุมสังสรรค.์ เป็นไปอย่างที่คิดว่าจะพึงเป็น จ บะสัง ดู สัง. เช่น เหน็ แต่หางค่ิดวา่ เป็นงูบดั๊ ฉ ได๋เป็นจ้ิงเหลน. ช บะหรัน่ น. เหล้า, มะหรน่ั กเ็ รยี ก. บัดแต่ [บดั๊ -แต]่ บ. ตง้ั แต่ เชน่ เปน็ ซ บัก [บั๊ก] น. อวยั วะเพศผู้. ปมเป็นเปาเอาแท่ ๆ บ๊ัดแต่ ฐ บกั โกรกบกั อาน [บก๊ั -โกก-บกั๊ -อาน] ว. เง่าะคลานออกมาแต่ท่องแม่ ฒ (กล่อมเด็ก), ปดั๊ แต่ กว็ า่ . ด โทรม, ออ่ นเปลยี้ , สะบกั สะบอม. บดั วา่ [บ๊ดั -ว่า] ดู บัด. ต บกั อาโหลว [บกั๊ -อา-โหลวฺ ] น. โทรโขง่ , บัวก็สดปลาก็ได้น้�ำก็ใสไม่ขุ่น [บัว- ถ ทรโขง่ , อาโหลว กว็ า่ . ก้อ-ซด-ปา-ก้อ-ได้-น่าม-ก้อ- ท ไส-ไม-่ ขนุ่ ] (สำ� ) ถนอมนำ้� ใจ ธ บง้ั น. บ้อง เชน่ บ้ังกญั ชา (บอ้ ง ไม่ให้ขุ่นเคืองกัน มิให้กระทบ น กัญชา). กระเทือนใจกัน ; เปรียบกับ บ บง้ั โพละ ดู ตุ้มบก. ส�ำนวนบัวไม่ช้�ำน้�ำไม่ขุ่น เช่น ป บังหักบังโคน [บัง-ฮัก-บงั -โคน] ก. บวั กส็ ดปลากไ็ ดน้ ำ้� ใสกไ็ มข่ นุ่ มวั ผ รักษาตัวไว้อย่างทางโบราณ ฝ บังคับ, ใชอ้ �ำนาจใหท้ ำ� เช่น (น.ิ พระปาจติ ). พ เจบ็ ไปทุกตวั คน แขง่ ไมท่ น บงั บวั ขีแ้ พะ [บวั -ข-ี่ แพะ่ ] น. จงกลน,ี บัว ฟ หักบงั โคนว่นุ วาย (น.ิ รูปทอง). ดอกคล้ายบัวขม ดอกสีชมพู ภ บงั้ หู น. บอ้ งห,ู บรเิ วณใบหแู ละโดยรอบ. และขาว. ม บัญจางคประดษิ ฐ์ น. เบญจางค- บัวบงั สะไบ [บวั -บงั -ซะ-ไบ] น. นม ย ประดิษฐ์, กราบโดยใหอ้ วัยวะ เช่น บัวบงั สะไบของทองเหลอื ร ทง้ั ๕ คือ เขา่ ท้งั ๒ มือท้งั ๒ แม่ยังงามหนักขึ้นไปอีก ฐาน ฤ ล ว และหน้าผากจดกับพื้น เช่น ศ เป็นบัญจางคประดิษฐ์จิตสมา ส (นิ.พระปาจติ ). ห อ บณั ระสะ [บนั -นะ-ละ-ซะ] น. บณั รสี, ฮ 170
พจนานุกรม ภาษาโคราช นัน้ กลมนวลขาวผอ่ ง (ทา้ ว ฯ). ชนดิ Ipomoeaalba Linn. ใน ก บัวลาย น. ชอ่ื อ�ำเภอหน่ึงในจงั หวัด วงศ์ Convolvulaceae. ข บ้านแตกสแี หรกขาด (ส�ำ) น. สภาพ ค น ค ร ร า ช สี ม า ตั้ ง อ ยู ่ ที่ บ ้ า น ทตี่ อ้ งกระจดั กระจายพลดั พราก ฆ หนองบัวลาย ซึ่งมีหนองน�้ำ จากกันเพราะเหตุการณ์ที่ร้าย ง ท่ีมีบัวมากมาย ค�ำว่า “บัว แรงข้ึนในครอบครัวหรือใน จ มากมาย” คนท้องถ่ินจะพดู ว่า บา้ นเมอื ง. ฉ “บวั หลาย” ตอ่ มากลายเสียง บ้านพร้อมไฟ [บา้ น-พอ่ ม-ไฟ] ดู บา้ น ช เปน็ “บวั ลาย” เมอ่ื ตง้ั เปน็ ตำ� บล มไี ฟ. ซ ไดต้ ดั คำ� วา่ “หนอง” ออกเหลอื บา้ นมไี ฟ น. ทพี่ กั สำ� หรบั คนเดนิ ทาง ฐ เพยี ง “บวั ลาย”. ในสมัยพระเจ้าชัยวรมันท่ี ๗ ฒ บวั ใหญ่ น. ช่อื อำ� เภอหนงึ่ ในจังหวดั ภายในมไี ฟตดิ ไวใ้ หร้ วู้ า่ เปน็ ทพี่ กั ด นครราชสีมา เดิมช่ืออ�ำเภอ หลยุ ส์ ฟโี นต์ (Louis Finot) นกั ต ดา่ นนอก ซึง่ ยกฐานะจากด่าน โบราณคดีชาวฝรั่งเศสเรียก ถ ขึ้นเป็นอ�ำเภอ ต่อมาย้ายที่ บา้ นลกั ษณะนว้ี า่ Dharmasala ท ว่าการอ�ำเภอมาอยู่ท่ีบ้าน (ธรรมศาลา), บ้านพร้อมไฟ ธ บัวใหญ่ ซงึ่ มสี ระบัวขนาดใหญ่ ก็ว่า. น จงึ เปล่ยี นชอื่ เปน็ บัวใหญ.่ บ้านเล็กตรอกน้อย [บ้าน-เล่ก- บ บางหรมึ ว. บางมาก. ตอก-น่อย] น. บ้านเรือนที่ ป บ้าชัก [บา้ -ช่กั ] ว. บ้า, บา้ ๆ บอ ๆ; อยู่ในชุมชน เช่น ข่าวท่าน ผ น. ไอ้บา้ , บ้าหมู (คำ� ด่า), บ้า ปลัดเมืองนครราชสีมากลับ ฝ ใหญ่ กว็ ่า. มาคืน กระจายไปท่ัวทุกบ้าน พ บาดหูบาดตา ก. แสลงใจเม่ือได้ยิน เล็กตรอกน้อย (ท้าว ฯ). ฟ และเห็น. บ้านเลก็ บา้ นน้อย [บ้าน-เล่ก-บ้าน- ภ บาทย่อม น. ไม่ถงึ บาท, ไม่เตม็ บาท. นอ่ ย] น. เมียนอ้ ย, เมยี ลบั . ม บ้านเก่า ก. ตาย, กลับบา้ นเกา่ , ไป บา้ นเหลืองเมืองรอ้ น [บ้าน-เหฺลอื ง- ย บ้านเกา่ ก็วา่ . เมือง-ล่อน] (สำ� ) บา้ นเมอื ง ร บานจวัก [บาน-จะ-วกั ] ก. แผแ่ ม่เบี้ย อยู่ในสภาวะเดือดร้อนเสมือน ฤ (ใชแ้ กง่ ู). บา้ นเมอื งลุกเปน็ ไฟ. ล บานดกึ [บาน-ดกึ๊ ] น. ช่ือไม้ล้มลกุ ว ศ ส ห อ ฮ 171
บ้านเหลื่อม - บูชาเตาไฟ บา้ นเหลอื่ ม น. ชอ่ื อำ� เภอหนงึ่ ในจงั หวดั บิง้ (นา ๒ แปลง). นครราชสมี า เดมิ ชอ่ื บา้ น มะ- บิ้งนา น. นา, แปลงนาท่ีมีคันนา เหลื่อม เพราะมีต้นมะเหล่ือม ก อายกุ วา่ ๑๐๐ ปี ปจั จบุ นั ตาย ลอ้ มรอบ. ข แลว้ ตอ่ มาคำ� วา่ “มะ” หายไป ค บง้ิ นา ฆ เหลอื เพยี งบา้ นเหลอื่ ม เมอ่ื ยก ง ฐานะเป็นกิ่งอ�ำเภอและอ�ำเภอ บินแถก ก. บนิ โฉบ. จ จึงใช้ชื่อบ้านเหลื่อมตามชื่อ บนิ มายิบ ๆ นกกระจิบก็ไมใ่ ช่ [บนิ - ฉ ช หมบู่ า้ น, (ดู มะเหลอ่ื ม ประกอบ). มา-ยิบ-ยิบ-น่ก-กะ-จิ๊บ-ก็- ซ บา้ นเอง น. บ้านเรา, บ้านเอ๋ง กว็ ่า. ไม่-ไช]่ (ปริศ) น. แดด. ฐ บ้านเอ๋ง ดู บา้ นเอง. บึ้งกอื น. ก้งิ กือ. ฒ บา้ นแอบยุง้ [บา้ น-แอบ-ยงุ่ ] น. เรือน บน๋ึ ว. ดนั ทรุ ัง, ดึงดนั , บืน ก็วา่ เชน่ ด ฤาว่าลางแกล้งจะบืนมาบอกกู ต ช่ัวคราวต่อเป็นเพิงกับยุ้ง, (ดู (นิ.พระปาจติ ). ถ เรอื นชัว่ คราว ประกอบ). บม้ึ ก. ไฟไหมโ้ พลงขึ้น, เสียงของ ท บ้าไม่แจกใคร (ส�ำ) ว. บา้ อยคู่ นเดียว, ระเบิด, บุม้ ก็ว่า. ธ บืน ดู บึน๋ . น บา้ ทีไ่ มม่ ใี ครเหมือน. บื้น ก. เสอื ก, ท�ำใหเ้ คล่ือนไปบนพืน้ บ บาย ก. จับ, ลูบคล�ำ เช่น แออัดยัด โดยแรง, บอ้ น ก็วา่ , ถิน่ อสี าน ป ใช้วา่ บืน. ผ กันไป หญิงชายบายนมกัน บุ [บุ๊] ๑ ก. กรุ, ปดิ กนั ชอ่ งโหวห่ รือที่ ฝ (นิ. รูปทอง). วา่ งรองไวข้ ้างลา่ ง. พ บา่ ววงิ่ หาพระยาวงิ่ รบั [บา่ ว-วง่ิ -หา- ฟ ภ พะ-ยา-วงิ่ -ลบั่ ] (สำ� ) เปน็ เจา้ ม คนนายคน, มยี ศฐาบรรดาศกั ด.์ิ ย บา้ หมู น. คนทที่ ำ� อะไรแผลง ๆ แตกตา่ ง ร ไปจากปรกต,ิ คนไมเ่ ตม็ บาท. ฤ บา้ ใหญ่ ว. บา้ มาก ๆ. ล ว บำ� หยดั [บำ� -ยดั ] น. บญั ญตั ิ เช่น ศ ต้องอาบัติพระบ�ำหยัดว่าสังฆา ส (นิ.พระปาจติ ). ห อ บง้ิ น. ลกั ษณะนามของนา เช่น นา ๒ ฮ 172
พจนานุกรม ภาษาโคราช ๒ น. ปา่ ละเมาะ เชน่ ปลอ่ ยเสอื เ ป ลื อ ก ใ น สี ช ม พู แ ก ม แ ด ง ก เขา่ บุ๊ (ปลอ่ ยเสอื เขา้ ปา่ ละเมาะ). ระคายผวิ เป็นผน่ื คัน ใบเดี่ยว ข รปู หอก ดอกสขี าวเป็นกลุ่มท่ี ค บกุ อรี อก [บกุ๊ -อ-ี ลอก] น. ชอ่ื ไมล้ ม้ ลกุ ปลายกิ่ง ผลคอ่ นขา้ งกลม ใช้ ฆ ชนิด Pseudodacontium เบอื่ ปลา. ง siamense Gagnep ในวงศ์ จ Araceae ในฤดฝู นจะออกดอก บุนนาค ฉ เม่ือดอกโรยจะมีใบงอกออกมา ช หนา้ แลง้ ตน้ ตายหวั อยใู่ ตด้ นิ หวั บุบบบู้ ี้ [บุบ๊ -บู-้ บ]้ี ก. บุบหรอื บุม๋ ลง ซ กนิ ได.้ จนผิดรูปอย่างยับเยนิ . ฐ ฒ บงุ่ น. บงึ , แหล่งนำ้� ขนาดใหญ่ เช่น บุ้ม ๑ ว. บบุ , บุม๋ ลง. ด บุง่ ตาหลวั ในคา่ ยสรุ นาร.ี ๒ ดู บึ้ม. ต ถ บญุ กงึ่ ถึงกัน ดู บญุ ถงึ กึ่งกัน. บมุ้ ท บญุ ถงึ กงึ่ กนั (สำ� ) มบี ญุ วาสนาเทา่ เทยี ม ธ บูชาเตาไฟ น. พิธกี ารออกจากการ น กนั , เนอ้ื คกู่ นั เชน่ วา่ บญุ ไมถ่ งึ กงึ่ อยู่ไฟ โดยบชู าดว้ ยดอกไม้ ธปู บ นางกลั ยา (น.ิพระปาจติ ), บญุ กง่ึ เทียนแลว้ ดับไฟ จากนน้ั อาบ ป ถงึ กนั กว็ า่ . น�้ ำ ม น ต ์ เ พื่ อ ดั บ พิ ษ ไ ฟ แ ล ะ ผ บุญน�ำกรรมแตง่ (สำ� ) บุญทำ� กรรม ปอ้ งกนั เสนยี ดจัญไร. ฝ แต่ง, ชีวิตคนเราเปน็ ไปตาม พ บุญหรอื กรรมท่ไี ด้กระทำ� ไว.้ ฟ บุญหนัก [บุญ-นัก] ว. มียศถา ภ บรรดาศกั ดิ์ เชน่ เดชะผลแห่ง ม กุศลกรรมอันนี้ เห็นว่าชาติ ย หนา้ จะไดบ้ ญุ หนักอยู่ (ท้าว ฯ). ร บุญหลายสายยาว (สำ� ) มบี ุญวาสนา ฤ ดมี อี ายุยนื ยาว. ล บุนนาค น. มงั ตาน, ไม้ยนื ตน้ ชนิด ว Schima wallichii (DC.) ศ Korth ในวงศ์ Theaceae ส เ ป ลื อ ก น อ ก สี น�้ ำ ต า ล ด� ำ ห อ ฮ 173
บชู ายัญ - โบสถโ์ ล่ง บูชายัญ น. การเลน่ อย่างหนง่ึ ในหมู่ เจบ็ ปว่ ยเกดิ จากอะไร เชน่ เกดิ เดก็ ชาย โดยขดุ หลุมใหโ้ ตพอท่ี จากผีบ้านผีเรือน ผีตายโหง ลูกบอลเล็ก ๆ จะลงหลมุ ไดใ้ ห้ เป็นต้น ก็จะท�ำการสะเดาะ ก เท่ากบั จ�ำนวนผ้เู ลน่ และทกุ คน เคราะห์ต่อไป. ข จะตอ้ งจ�ำหลุมของตัวเอง ให้มี บูนดู น. การท�ำนายโชคชะตา โดยใช้ ค ดา้ ยผูกกับฝาเต้าปูน ถา้ ฝาเตา้ ฆ คนหนึ่งเรม่ิ ตน้ เล่น โดยโยน ปูนนิ่งแสดงว่าไม่มีเคราะห์ร้าย ง หรือทอยลูกบอล (ลกู เดียว) ถ้าดวงชะตาไม่ดีฝาเต้าปูนจะ จ ให้ลงหลุม ถ้าลงหลุมใคร หมุน. ฉ เบ่งกนิ ฟรี (ปาก) ก. อวดเป็นนกั เลง ช เจ้าของหลุมต้องรีบไปเอา กินอาหารแล้วไม่จา่ ยเงนิ . ซ ลูกบอลปาใหถ้ กู คนอื่น ๆ ซ่ึง เบด็ ฟาด [เบ๊ด-ฟาด] น. เบ็ดเดี่ยว. ฐ คนอื่น ๆ พอรูว้ า่ ลูกบอลไม่ได้ เบบ้ ปาก ก. เบะ, ท�ำปากเบ,้ เบ้ปากจะ ฒ ร้องไห้, เบ้ปากแสดงอาการ ด ลงหลมุ ตวั เองก็จะวิ่งหนี ถา้ ปา ดแู คลน. ต ไม่ถกู ใครเลย คน ๆ นั้นกจ็ ะ เบอร์ น. หวยใตด้ นิ , หวยเถอื่ น, ถ เป็นผู้ถูกบูชายัญเสียเองแต่ สลากกนิ รวบ. ท ถ้าปาถูกใครคนนั้นก็จะถูก เบารถ [เบา-ลด่ ] ก. โบกรถ, แกวง่ ธ มือท�ำสัญญาณให้รถหยุดหรือ น บูชายัญ โดยการไปยนื หนั หลงั ชะลอความเรว็ ลง. บ ให้คนอื่น ๆ ปาลูกบอลใส่จน เบาหว๋อง ว. เบาเหวง, เบาโหวง, ป ครบทุกคน แล้วเริ่มต้นเล่น เบาจนแทบไรน้ ำ้� หนัก, เบาหววิ ผ ก็ว่า, ถิ่นอีสานใช้ว่า โหว่ง ฝ ใหม่ การเลน่ อาจเล่นแตกต่าง หมายถึง หวิว. พ ไปจากนี้ ตามแตล่ ะทอ้ งถิ่นจะ เบาหววิ ดู เบาหว๋อง. ฟ คดิ วิธีการเลน่ . เบิ้ง ว. ด้วย, บา้ ง, (ดู ดา ประกอบ). ภ บูดรา ว. เสียจนราขน้ึ (ใชแ้ กอ่ าหาร) เบิด ก. เชิดหนา้ . ม เช่น เขาไม่อยากซอ้ื หา ของ เบด้ิ ว. หมด, เม้ดิ ก็วา่ . ย บูดราเขาเดนิ เลย (นิ.รูปทอง). เบย้ี น. ตน้ กลา้ ผัก, เบย้ี ผกั กว็ า่ . ร บู๋น น. การทำ� นายผเู้ จบ็ ปว่ ย โดยใช้ ฤ ล ว ด้ายผูกฝาเต้าปูนหมุนเหนือขัน ศ ที่ ใ ส ่ ข ้ า ว ส า ร พ ร ้ อ ม กั บ พู ด ส ท�ำนาย เมื่อเต้าปูนหยุดหมุน ห อ ตรงกบั คำ� ทที่ ำ� นาย กจ็ ะรวู้ า่ การ ฮ 174
พจนานุกรม ภาษาโคราช เบ้ยี ผกั [เบี้ย-พัก] ดู เบ้ีย. แบ่งรับแบ่งเล่ียง (ทา้ ว ฯ). ก เบย้ี รบิ [เบ้ีย-ร่บิ ] น. การเล่นอยา่ ง แบงอร น. บงั อร, ผู้หญงิ . ข แบ่น ก. แอน่ เชน่ ยืนแบน่ . ค ห น่ึ ง ใ น ช ่ ว ง เ ท ศ ก า ล ต รุ ษ แบะ [แบ๊ะ] ก. แบ, แผ่, คล่ีออก, ฆ สงกรานต์ เหมอื นกบั การเล่น ง ปั่นแปะ แต่ใช้สตางค์แดง ถ่างออก. จ (เป็นสตางค์ท่ีมีรูตรงกลาง แบะทา่ [แบ๊ะ-ท่า] ว. เปิดเผยความ ฉ เหรยี ญ) ป่นั ในขณะท่เี หรยี ญ ช ก�ำลังหมุนใช้มือตะปบปิดแล้ว ในออกมา. ซ ให้ทายว่าจะออกหัวหรือก้อย โบก ๑. น. แก้ว, จอก (ใชแ้ กเ่ หล้า) ฐ ผ้เู ล่นจะไม่ใช้เงินแทง แต่จะใช้ ฒ ทรัพยอ์ ยา่ งอ่นื เช่น เสือ้ ผ้า เช่น ขอเหลา่ ซกั โบก (ขอเหลา้ ด เข็มขัดนาก สร้อย แหวน สกั แกว้ ). ต กำ� ไล ฯลฯ ทรัพย์สินทเ่ี สียแก่ ๒. น. ชือ่ การพนนั อย่างหน่ึง ถ เจ้ามอื เจ้ามอื จะรบิ ไว้และมา ใชก้ ระบอกไมไ้ ผ่ เรยี กวา่ กระบอก ท ไถ่หลังเทศกาลสงกรานต์หรือ โบกครอบเบยี้ โดยมากใชเ้ บยี้ เมด็ ธ ตามแต่จะตกลงกัน, เบี้ยแหวน มะขามผา่ ซกี จำ� นวน ๒ เมด็ เปน็ น ก็ว่า, (ดู โปก้ อ้ ย ประกอบ). ๔ ซกี (กะป)๊ิ ถา้ ควำ่� แตล่ ะซกี จะ บ เบี้ยแหวน ดู เบ้ียรบิ . เหน็ ผวิ เมด็ สดี ำ� ถา้ หงายจะเหน็ ป เบอื ก. เบอ่ื , วางยาพิษ เปน็ ตน้ เนอ้ื ในสขี าวของเมด็ มะขาม วธิ ี ผ ให้เมาหรือให้ตาย. แทงใหแ้ ทงวา่ จะออกคหู่ รอื ค่ี แลว้ ฝ เบอ้ื ย ก. เฉี่อย, ช้า, เฉอ่ื ยชา, ชกั ช้า, แจงผลทอ่ี อกดงั น้ี พ เนบิ ๆ, ไม่รีบร้อน เช่น พอเรา คี่ คือหงาย (ขาว) ๑ ซีก ฟ พูดด้วยมนั ทำ� เป็นเบอื้ ย, เวลา คว�่ำ (ดำ� ) ๓ ซกี หรอื หงาย ภ ท�ำอะไรก็ท�ำเป็นเบ้อื ย. (ขาว) ๓ ซีก คว�่ำ (ดำ� ) ๑ ซีก ม แบ่งรบั แบ่งเลย่ี ง [แบ่ง-ลับ่ -แบง่ - คู่ คือหงาย (ขาว) ๒ ซีก ย เลี่ยง] ก. แบ่งรับแบ่งสู้, คว�่ำ (ดำ� ) ๒ ซีก หรอื หงาย ร รับบา้ งปฏเิ สธบา้ ง, อิดเอ้อื น (ขาว) ๔ ซีก เรียกวา่ ขาวล้วน ฤ โดยไมต่ กลงในทนั ที เชน่ แม่ หรือ คว�่ำ (ด�ำ) ๔ ซกี เรียกว่า ล ทองเหลอื จงึ่ เพทุบาย เป็นเชงิ ดำ� ลว้ น ว โบสถโ์ ถง ดู โบสถโ์ ลง่ . ศ โบสถโ์ ล่ง น. โบสถ์ทไ่ี มม่ ีฝาโดยปลอ่ ย ส ห อ ฮ 175
ใบทอ้ งแดง - ประตูไชยณรงค์ ใหโ้ ลง่ , โบสถโ์ ถง ก็วา่ . เช่น เวลาฝัดข้าวมันกัดเอา ใบทอ้ งแดง [ไบ-ทอ่ ง-แดง] ดู กระเบอื . แต่โมมเมีย ฉันเลยไม่ท�ำมัน ใบมน ๆ แหย่หีคน ทว่ั บา้ นท่ัวเมือง (เพลงโคราช). ก [ไบ-มน-มน-แหฺย่-หี-คน-ท่ัว- ใบหยัก ๆ ลูกรกั เตม็ คอ [ไบ-ยกั -ยกั - ข บา้ น-ท่ัว-เมือง] (ปรศิ ) กระด้ง ลกู -ลกั่ -เตม็ -คอ] (ปรศิ ) น. ค ต้นมะละกอ. ฆ (ผู้หญิงมักจะใช้กระด้งแนบที่ ง เอวตรงกับอวัยวะเพศฝัดข้าว) จ ฉ ช ซ ฐ ฒ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ฤ ล ว ศ ส ห อ ฮ 176
ปงก [ปะ-งก] ก. ผงก, กม้ หัวลงแลว้ ปพจนานุกรม ภาษาโคราช ก เงยขึ้นโดยเร็วแสดงอาการ ไม้กระโดน บ้านนี้เป็นป่าโดก ข ยอมรับหรือเห็นด้วย, กระดก ต่อมากลายเสียงเป็นประโดก ค ขนึ้ ลงทลี่ ะน้อย. มชี อื่ เสยี งในการทำ� ขนมจนี และ ฆ รู้จักกันในนาม “ขนมจีนบ้าน ง ปงะ [ปะ-งะ] ก. ผงะ, ชะงัก. ประโดก หรอื ขนมจนี ประโดก”. จ ปฏภิ าณวฒุ ิ [ปะ-ต-๊ิ พาน-วดุ่ ] น. ผมู้ ี ประตูชุมพล น. ประตูเมืองโคราชอยู่ ฉ ด้านทศิ ตะวันตก สร้างเป็นหอ ช เชาวนไ์ วไหวพรบิ ดว้ ยวฒุ ภิ าวะ, รักษาการณ์และหอรบ ใน ซ วุฒิภาวะเชาวน์ปัญญาไว เช่น ลกั ษณะของรปู เรอื นไทย (คฤห) ฐ เจา้ เมอื งนครราชสมี า......สมเปน็ ใช้ระดมไพร่พลเม่ือเกิดศึก ฒ ผู้อุดมด้วยวัยวุฒิปฏิภาณวุฒิ สงคราม ปจั จบุ นั อนสุ าวรยี ท์ า้ ว ด (ทา้ ว ฯ). สรุ นารปี ระดษิ ฐานอยหู่ นา้ ประตู ต ปไม [ป๊ะ-ไม] น. อุปไมย; ส่ิงหรือ แห่งนี้ อน่ึงชาวเมืองโคราชเชื่อ ถ ข้อความท่ีเปรียบเทียบกับส่ิง กันว่าใครท่ีลอดซุ้มประตูชุมพล ท อื่นเพื่อให้เข้าใจอย่างแจ่มแจ้ง เข้าไปยงั ตวั เมือง มักจะได้อยูท่ ี่ ธ เช่น ถ้าว่าเว้นแต่พารามัฆวาน เมืองโคราชหรือมักจะประสบ น เกินประมาณท่ีจะว่ามาประไม ความส�ำเร็จในการท�ำกิจการ บ (น.ิ พระปาจิต). ตา่ ง ๆ. ป ปรอ๋ ๑. ดู ปอ้ . ประตูไชยณรงค์ น. ประตเู มอื งโคราช ผ ๒. ว. ปรอื๋ , อาการทีเ่ คลื่อนท่ี อยู่ด้านทิศใต้ “ไชยณรงค์” ฝ ไปอยา่ งเรว็ เชน่ บินปรอ๋ . แปลว่า ชัยชนะ เม่ือไดช้ ัยชนะ พ ประจามิตร น. ปัจจามิตร, ศัตรู, จากการท�ำศึกสงครามก็จะยก ฟ ฝ่ายตรงขา้ ม. ทัพเข้าประตนู ี้ หรอื ถา้ มกี ารล่า ภ ประแจ น. กญุ แจ. ถอยกจ็ ะออกประตูนี้ เพอื่ ไปตัง้ ม ประโดก น. ชอ่ื หมบู่ า้ นในตำ� บลหมน่ื ไวย หลักเอาฤกษ์เอาชยั นอกจาก ย อ� ำ เ ภ อ เ มื อ ง น ค ร ร า ช สี ม า นี้นักโทษประหารหรือคนตายก็ ร “โดก” เปน็ ภาษาเขมร แปลวา่ ฤ ล ว ศ ส ห อ ฮ 177
ประตนู ้�ำ - ปลอ่ ยตามเวรตามกรรม จะต้องน�ำออกทางประตูนี้เช่น เอาชัยให้เคลื่อนทัพออกประตู กัน จึงเรียกประตูนี้อีกช่ือหนึ่ง น้ี อนึ่งประตูพลแสนอยู่ใกล้กับ วา่ “ประตผู ี หรอื ประตผู อี อก”. ล�ำน�้ำล�ำตะคอง ซึ่งบริเวณน้ี ก ประตูน้�ำ [ปะ-ตู-น่าม] ดู ประตู เป็นเหมือนปากประตูน�้ำท่ีจะ ข ไหลออกไปสมทบกับล�ำน้�ำ ค พลแสน. อ่ืน ๆ เช่น ล�ำมูล จึงเรียกว่า ฆ ประตผู ี ดู ประตไู ชยณรงค์. “ประตูน�้ำ”. ง ประตูผีออก ดู ประตไู ชยณรงค.์ ประทาย ๑. น. คำ� วา่ “ประทาย” แปล จ ประตพู ลลา้ น [ปะ-ต-ู พน-ละ่ -ลา่ น] น. ว่า คา่ ย, ป้อม. (ข. บนฺทาย). ฉ ๒. น. ชือ่ อ�ำเภอหนึง่ ในจังหวดั ช ประตูเมืองโคราช อยู่ด้านทิศ นครราชสีมา เล่าสืบกันมาว่า ซ ตะวันออกหรือทิศบูรพา ชาว พระเจ้าชัยวรมันต์ที่ ๒ ทรง ฐ เมืองเรียกว่า ประตูตะวันออก ขยายอาณาเขตของขอม ไดย้ ก ฒ ทัพมาต้ังค่ายพักแรม ณ ที่ ด เล่าสืบกันมาว่าเมื่อจะท�ำศึก บริเวณนี้ ต่อมาเป็นหมู่บ้าน ต ใหญ่ต้องระดมไพร่พลเป็นล้าน เรยี กวา่ บา้ นประทาย เมอ่ื มกี าร ถ ก็ให้ถือเอาเคล็ดหรือเอาฤกษ์ ยกฐานะเป็นอ�ำเภอจึงใช้ชื่อว่า ท เอาชัยเคลื่อนทัพออกประตูนี้ อ�ำเภอประทาย. ธ ประทายอายุ น. กองทรายที่กอ่ ในการ น ซ่ึงในสมัยนั้นไม่มีไพร่พลพอ ท�ำพิธีค�้ำโพธ์ิค�้ำไทรต่อสะพาน, บ แสนพอลา้ น แตจ่ ะตอ้ งไประดม (ดู ค้�ำโพธิ์ค้�ำไทรต่อตะพาน ป จากเมอื งใกลเ้ คยี ง เชน่ เมอื งนคร ประกอบ). ผ ประทบี โคมถอื น. โคมไฟทใ่ี ชท้ �ำพธิ ใี น ฝ จนั ทกึ เมอื งพมิ าย เมอื งนางรอง วนั สำ� คัญทางพทุ ธศาสนา เช่น พ เมืองบรุ ีรมั ย์ เมืองจตั ุรัส เมอื ง วนั มาฆบชู า. ฟ ชัยภูมิ เป็นต้น มาสมทบ ประนนิ ทนิ ว. ปฏิทนิ , ประจำ� วนั เชน่ ภ นอกจากนี้ช่ือพลล้านเพื่อข่ม นกเงือกน้ีไซร้ ต้องไปหากิน ม ขวญั ขา้ ศกึ วา่ หากยกพลมาเปน็ เป็นประนนิ ทนิ ค่�ำเชา้ เพรางาย ย ลา้ นกไ็ มห่ ว่นั . (นิ.รปู ทอง). ร ประตูพลแสน [ปะ-ตู-พน-ล่ะ-แสน] ฤ ล ว น. ประตูเมืองโคราชอยู่ด้าน ศ ทิศเหนือ เล่าสืบกันมาว่าถ้าจะ ส ระดมไพร่พลเป็นแสนท�ำศึกก็ ห อ ให้ถือเอาเคล็ดหรือเอาฤกษ์ ฮ 178
พจนานุกรม ภาษาโคราช ประสงั น. ผ,ี ใชน้ ำ� หนา้ ชอ่ื คนตายไปแลว้ ปราบที่ ก. ท�ำพื้นท่ใี ห้ราบเรียบ, ปรบั ก เมอ่ื กลา่ วถงึ เชน่ จะตายกลาด พ้ืนทใี่ ห้เตยี น. ข แหลกเลน่ เปน็ ประสงั , เปน็ ประสงั ค มว้ ยลงเพราะสงคราม (สภุ มติ ฯ). ปร้าว [ปฺร้าว] ว. พรู, อาการที่ ฆ เคลอ่ื นไหวมาพร้อม ๆ กันเป็น ง ประสาทเสื่อม ก. ประสาทเสีย, จ�ำนวนมาก เช่น แตกปร้าว จ ความจำ� เสอ่ื ม. (แตกร่วงพรูลงมา), ระปร้าว, ฉ ปรู้ กว็ า่ . ช ประหัด, ประหัส [ปะ-ฮัส] น. วัน ซ พฤหสั บดี เชน่ ประหดั เขา้ เสาร์ ปรุ [ป]ุ๊ ว. ทะลุปรุโปร่ง, เขา้ ใจอยา่ ง ฐ แทรกองั คารคา (น.ิ พระปาจติ ). แจม่ แจ้งโดยตลอด, ปรุโปร่ง ก็ ฒ ว่า เช่น ให้ปรุโปร่งช้อยแช่ม ด ปรา้ [ปรฺ ้า] น. ปลารา้ . แจม่ ขจร (น.ิ พระปาจิต). ต ปร้าตุ [ปรฺ า้ -ต๊]ุ น. ปลาร้ามี ถ ปรโุ ปร่ง [ป-ุ๊ โปง่ ] ดู ปร.ุ ท กลนิ่ ตุ ๆ. ปรงุ ก. ปรงุ แตง่ ใหเ้ หมาะสม, ทำ� ใหง้ าม ธ ปร้าเป็นข้ีหนอน [ปฺร้า-เป็น- น (ใชแ้ กก่ ารสร้างบ้าน, เรือน). บ ข่ี-หฺนอน] (ส�ำ) ไม่มีราคา, ไม่มี ปรู [ปู]๊ ว. กร,ู ประดังกนั เขา้ ไป, ว่ิงไป ป ค่า, หญิงท่ีไม่สนใจการบ้าน ผ การเรอื น ชายยอ่ มไมห่ มายปอง พรอ้ มกนั เชน่ ตำ� รวจปรวู งิ่ คลงั่ ฝ เช่น งานการเอาใจใส่ เจ้าอย่า เหน็ สงั ขาร์ (สภุ มิต ฯ). พ ได้ออกเที่ยวป่า ฝูงชนจะลือชา ปรู้ [ปฺรู้] ๑. ก. เสียงท่ีเปล่งขึ้นด้วย ฟ เหมือนหนึ่งปร้าเป็นขี้หนอน ความร�ำคาญ, หรือไม่พอใจ. ภ (นิ.รูปทอง). ๒. ดู ปรา้ ว. ม ปร้าสะเออะ [ปฺร้า-สะ-เอ๊อะ] ปฤดืี [ปะ๊ -ล-ึ ดี] น. ฤด,ี ใจ เช่น ทหาร ย ดู ปลารา้ สะเออะ. ฝ่ายเจ้าโอจ่ึงหลับส้ินสมปฤดี ร ปร้าสับเขียง [ปรฺ า้ -ซบั - เขยี ง] หามีใครนึกว่าจะมีภัยมาถึงตน ฤ (ส�ำ) น. ผลประโยชน์เล็กน้อย ไม่ (ท้าว ฯ). ล ท่ีเขาละเลย เปรียบกับส�ำนวน ปลอกเปลอื กเหน็ หมอย ปลอกหมอย ว “ เศษเน้ือข้างเขียง” เช่น เห็นเม็ด [ปอก-เปือก-เห็น- ศ ดูข้าน้ีนา เหมือนปร้าสับเขียง หมฺ อย-ปอก-หมฺ อย-เหน็ -เมด่ ] ส (นิ.รูปทอง). (ปรศิ ) น. ข้าวโพด. ห ปรา้ หลน [ปรฺ า้ -หลฺ น] ดู หลน. ปล่อยตามเวรตามกรรม ก. ปล่อย อ ฮ 179
ปลอ่ ยเลยตามเลย - ปอม ตามบุญตามกรรม, ปล่อยไป พวกปลาจะมาเปน็ หมวงแทน. ตามยถากรรม, ปลอ่ ยใหเ้ ปน็ ไป ปลากรึม [ปา-กึม] น. ปลากริม อยา่ งนัน้ . (รูปร่างคลา้ ยปลากัด). ก ปลอ่ ยเลยตามเลย ก. ปลอ่ ยใหเ้ ปน็ ไป ปลาก�ำกรับ [ปา-ก�ำ-ก๊ับ] น. ปลา ข ค ตามแต่มันจะเป็น, ไม่เอาเป็น หมอช้างเหยียบ, ปลาช้าง ฆ ธรุ ะ, ไม่เอาใจใส่, ปล่อยให้เปน็ เหยียบ ก็ว่า. ง ไปอยา่ งนัน้ . ปลาค่าว [ปา-คา่ ว] น. ปลาเคา้ . จ ปล่อยวาง ก. วาง, โดยปรยิ ายหมาย ปลาเจ่า [ปา-เจ่า] น. ปลาส้ม, ฉ ปลาท่ีหมักด้วยเกลือ ข้าวสุก ช ถึงให้หลุดพ้นจากความรู้สึก ออกรสเปรี้ยว. ซ หรือความรับผิดชอบของตน, ปลาชะหลมพอง ดู ปลาหลำ� พอง. ฐ ละวางปลอ่ ยวาง ก็ว่า. ปลาช้างเหยียบ [ปา-ช่าง-เหฺยียบ] ฒ ปลกั ปลอม [ปก๊ั -ปอม] ว. แปลกปลอม, ดู ปลาก�ำกรับ. ด ปลาโด [ปา-โด] น. ปลาชะโด, ปลานำ�้ ต มี สิ่ ง อื่ น ห รื อ พ ว ก อื่ น ม า ป น จืดรปู ร่างคลา้ ยปลาช่อน. ถ เช่น โอ้เสียดายกลัวแต่ชายจะ ปลาตกแหง้ บนบก [ปา-ตก๊ -แหง่ -บน- ท ปลกั ปลอม (น.ิ พระปาจิต). บก๊ ] น. ปลาตกคลกั , ปลาทมี่ า ธ รวมกันในน้�ำที่งวดบนบก เช่น น ปลากระโดดเขา้ หมวง [ปา-กะ-โดด- บ เขา่ -หฺมวง] น. การเล่นอยา่ ง ป หนง่ึ แบง่ ผเู้ ลน่ ออกเปน็ ๒ ฝา่ ย ผ ฝ เทา่ ๆ กัน ใหฝ้ ่ายหนง่ึ เปน็ ปลา สาวทองเหลือก็เบิกบานใจ พ อีกฝ่ายเป็นหมวง (ข้อง) ฝ่าย เพราะนาน ๆ จักมีโอกาสพบปะ ฟ เป็นหมวงจับมือกันเป็นวงกลม หมู่ชนมาก ๆ ประดุจปลา ภ นง่ั ลงกับพ้นื คอยยกมอื ที่จบั กน้ั ตกแหง้ บนบกไดร้ บั นำ�้ กส็ ำ� ราญ ม ไม่ให้ปลากระโดดเข้าวงกลม แหวกวา่ ยไปมา (ทา้ ว ฯ). ย (หมวง) ถา้ ฝา่ ยเปน็ ปลาคนหนง่ึ ปลาเบา [ปา-เบา] น. ปลาขนาดเลก็ ร กระโดดเข้าได้ โดยไม่ถูกมือที่ มีน�้ำหนักไม่เกินครึ่งกิโลกรัม ฤ ล ว จบั ยกกั้น ฝ่ายหมวงกจ็ ะปลอ่ ย เช่น ปลาตะเพียน ปลาสร้อย. ศ มือให้ปลาที่อยู่นอกวงเข้าไป ปลาเป้า [ปา-เปา้ ] น. ปลาปักเป้า. ส แ ล ้ ว พ ว ก ป ล า ก็ พ ย า ย า ม ปลาผง [ปา-ผง] น. ปลาปน่ . ห อ กระโดดออก ถ้าถูกมือท่ีจับกั้น ปลาไมร่ ู้ลอย [ปา-ไม-่ ลู่-ลอย] (ปริศ) ฮ 180
พจนานุกรม ภาษาโคราช น. ปลากด (เพราะกดไว้จึงไม่ ปล้นิ ก. พลิกควำ่� , หกกลับ. ก ลอยข้นึ ). ปลูกเรือนผิดคิดจนวันตาย [ปูก- ข ปลาย ว. เกือบ เช่น จงึ ประทานใหแ้ ก่ ค แม่นม คนละสิบห้าชั่งปลาย, เลือน-พิด-ค่ิด-จน-วัน-ตาย] ฆ แผ้วถางมรรคา ร้อยห้าวา (ส�ำ) ทำ� สิง่ ใดไม่รอบคอบ เมือ่ ง ปลาย (นิ.รูปทอง), ๙๒ ปีปลาย ผดิ พลาดแลว้ แกไ้ ขยาก คดิ และ จ (๙๒ ปเี กอื บ ๙๓ ปี). จดจ�ำไปจนตาย. ฉ ปลายตีน น. ทศิ เหนือ, ปะตีน กว็ ่า. ปว่ ยยนื ก. ปว่ ย, เจบ็ ไข้ แตย่ งั สามารถ ช ปลาร้าสะเออะ [ปา-ลา่ -สะ-เออ๊ ะ] น. ลุกเดินไปไหนมาไหนได้ ต่าง ซ ปลาร้าสับตุ๋นใส่ไข่, ปร้า จากการปว่ ยที่ต้องนอนรกั ษา. ฐ สะเออะ ก็ว่า. ป้อ ว. งาม, เท่, สวย เชน่ แตง่ ตัวป้อ, ฒ ปลาร้าหลน [ปา-ล่า-หฺลน] ดู หลน. ปอ๋ , ปรอ๋ ก็ว่า. ด ปลาหนกั [ปา-นกั ] น. ปลาขนาดใหญ,่ ปอ๋ ดู ป้อ. ต ปลาท่ีมีน้�ำหนักประมาณครึ่ง ปอก ว. ขาว, จวั๊ ะ เชน่ หนา่ ขาวปอก (หนา้ ถ กิโลกรัมขึ้นไป เช่น ปลาช่อน ขาวจวั๊ ะ), แกม้ ปอก (แกม้ ขาว) ท ปลาดุก. ปอ็ กล็อก ว. ตาโปน, ปก้ ลก กว็ ่า. ธ ปลาหลมุ น. ปลาทเี่ สอื กเข้าหลุมหรือ ปอบิด [ปอ-บ๊ิด] ๑. น. เชือกฟั่น, น บ่อขนาดเล็ก เช่น พาลูกเมีย ปอปดิ กว็ ่า. บ เที่ยวฉกปลาหลุมไม่ท�ำนาเลย ๒. น. ไม้พุ่มขนาดเล็กชนิด ป (เพลงโคราช). Helicteres isora Linn. ในวงศ์ ผ ปลาหลำ� พอง น. ปลาเนอื้ ออ่ น, สะหลำ� Sterculiaceae สูงประมาณ ฝ พอง, ชะหลมพอง กว็ า่ . ๒-๓ เมตร ดอกสอี ฐิ ผลเปน็ ฝกั พ ปลาอะไรไมม่ กี า้ ง (ปรศิ ) น. ปาทอ่ งโก.๋ เปลือกมียางเหนียว ใช้เส้นใย ฟ ปลงิ คา้ ว [ปิง-คา่ ว] น. ปลงิ ชนดิ หน่ึง ท�ำเป็นปอเช่นเดียวกับปอแก้ว ภ ล�ำตัวกลมสีค่อนข้างด�ำขนาด ปอกระเจา, ปอปิด กว็ า่ . ม เทา่ หวั แม่มือ ชอบเกาะควาย. ปอปิด [ปอ-ปดิ๊ ] ดู ปอบดิ . ย ปลดิ ทิ้ง [ป๊ิด-ท่ิง] ว. ในทันท,ี สิ้นเชงิ ปอพาน น. ช่ือไม้พุ่มชนิด Sterculia ร ใช้แก่การรักษาโลก เช่น หาย guttata Roxz ในวงศ์ ฤ เปน็ ป๊ดิ ทิง่ . Sterculiaceae. ล ปอม น. กงิ้ กา่ , กะปอม, ปอมกา่ กว็ า่ . ว ศ ส ห อ ฮ 181
ปอมก่า - ปัติสนธ์ิ ปอมก่า ดู ปอม. ปะขาวลาด น. ช่ือหมู่บ้านภูเขาลาด ป้อล่อ ว. ปรากฏทันที, โผล่มาทันที, อ� ำ เ ภ อ เ มื อ ง น ค ร ร า สี ม า , ทนโท่, จะแจ้งต�ำตา เช่น พูดยัง ปะโขลาด ก็ว่า. ก ไม่ทันขาดค�ำก็มาป้อล่อน่ันไง ข (พอพดู ถงึ กโ็ ผลม่ า), โปโ้ ล่ กว็ า่ . ปะโขลาด ดู ปะขาวลาด. ค ปะงาบ ๆ [ปะ-งาบ-ปะ-งาบ] ว. งาบ ๆ, ฆ ปอลน่ื น. ผลกระเจย๊ี บ ใชต้ ม้ จม้ิ นำ้� พรกิ ง เวลาเคย้ี วกลนื จะรู้สึกลน่ื คล่อง อาการอ้าปากแล้วหุบเข้าออก จ คอ, มะเขือลน่ื , มะเขือปอ กว็ ่า. อยา่ งชา้ ๆ, ปะแงบ ๆ กว็ า่ . ฉ ปะแงบ ๆ [ปะ-แงบ-ปะ-แงบ] ดู ช ปะงาบ ๆ. ซ ปะจุ [ปะ-จุ]๊ ก. บรรจ.ุ ฐ ปะแจ น. กญุ แจ. ฒ ปะซา น. พทุ รา. ด ปะดำ้� น. ต้นโมกหลวง. ต ปะดดื ๆ [ปะ-ดดื -ปะ-ดดื ] ก. หายใจถี่ ถ ปอลื่น คลา้ ยจะสน้ิ ใจ. ท ปะดู้ด ว. พะเยิบ ๆ, พะเยิบพะยาบ; ธ ป๊ะ อ. บ๊ะ, เสียงที่เปล่งด้วยความ อาการกระพอื ข้ึนลงชา้ ๆ น ไมพ่ อใจ, ประหลาดใจ, ปะ๊ เหวย่ , ปะแดง น. ผทู้ สี่ กึ จากพระทคี่ งแกเ่ รยี น, บ ป๊ะเออ้ ก็วา่ . ทดิ ท่ีคงแก่เรยี น. ป ปะ๊ เหวย่ ดู ปะ๊ . ปะตกิ มุ่ เทง่ กมุ่ [ปะ-ต-๊ิ กมุ่ -เทง่ -กมุ่ ] ก. ผ กระโดดไปกระโดดมา (ใช้แก่ ฝ ป๊ะเอ้อ ดู ปะ๊ . อาการทน่ี กตดิ แรว้ ) เชน่ ไมเ่ ปน็ พ ปะกรรม [ปะ-ก�ำ] ๑. ก. บริกรรม, เร่อื งเป็นแถวเหมอื นดังแร่วติ๊ด ฟ แร่งปะติกุ่มเท่งกุ่ม เหมือนน่ก ภ ส�ำรวมใจ, สวดมนต์ภาวนา, ตะกรุมติ๊ดตะแกรง (เพลง ม ท่องคาถาหลาย ๆ ครั้ง เพ่อื ให้ โคราช), ปาติกมุ่ เท่งกุ่ม กว็ ่า. ย เกิดความขลงั . ปะต๋ิว ว. เรื่องเล็ก, เล็กมาก, ร ๒. น. หนังที่เสกคาถาใชใ้ นการ ไม่ส�ำคัญ, ขี้ผง, ข้ีปะต๋ิวหลิว, ฤ คล้องช้างป่า. ปะติ๋วหลิว ก็ว่า. ล ว ปะขาง น. ผาลไถนาทำ� ดว้ ยเหลก็ , เหลก็ ศ สำ� หรบั สวมหวั หมเู ครอ่ื งไถ. ส ห ปะขา้ ง [ปะ-ขา่ ง] น. ขา้ ง, ดา้ นขา้ ง เชน่ อ เนบ็ มดี อยู่ ๒ ปะ ขา่ งเอว. ฮ 182
พจนานุกรม ภาษาโคราช ปะตว๋ิ หลวิ ดู ปะติ๋ว. ไปและเพื่อความเป็นสิริมงคล, ก ปะตีน น. ทศิ เหนอื , ปลายตนี ก็วา่ . (ดู ปะสะน้�ำมนต์ ประกอบ). ข ปะทกุ [ปะ-ทกุ่ ] ก. บรรทกุ . ปะสัง ก. ตาย เช่น พอขาดใจก็เป็น ค ป๊ะโทน่ ๆ [ปะ๊ -โท่น-โทน่ ] ว. เสยี งโทน ปะสัง บุญท่ีทำ� กรรมท่ีสร้างส่ง ฆ ไปดีท่ีประเสริฐ (เพลงโคราช), ง ท่ีตีในเทศกาลสงกรานต์, ใน เขยี นเปน็ ประสงั กม็ ,ี (ดู ประสงั จ การเล่นสะบ้าหรือให้จังหวะ ประกอบ). ฉ ร�ำโทนด้วยเสียง ป๊ะโท่นโท่น ปะอ๊ับปะเออ ก. พะอืดพะอม, ช ป๊ะโท่นป๊ะ โท่นป๊ะโท่นโท่น จะอาเจยี นกไ็ ม่อาเจียน. ซ เป็นต้น, (ดู ร�ำโทน ประกอบ). ปง้ั กี๋ น. ป้งุ ก,๋ี บงุ้ ก่.ี ฐ ปะไร ว. เป็นไร, เหน็ ไหม, ขนาดไหน, ป้ัด ๆ ก. พล่าน ๆ, อาการทนี่ ้�ำเดอื ด ฒ แค่ไหน, เชน่ น่นั ปะไร (นัน่ เหน็ ผุดขึ้น; ว. มาก, จัด เช่น ด ไหม), ยาวประไร (ยาวแค่ไหน), นำ�่ เดอื ดปด้ั ๆ (นำ�้ เดอื ดพลา่ น ๆ), ต ประไรเหล่า (เป็นไรเลา่ ). แดดร่อนปด้ั ๆ (แดดร้อนจัด), ถ ปะลม ก. ปะปน, ผสมผเส, พลอยไปดว้ ย, ด้ินป้ัด ๆ (ดนิ้ พลา่ น ๆ). ท ผสมโรง, ปะลมปะเล กว็ า่ . ปัดแต่ [ป๊ดั -แต]่ บ. ตัง้ แต่ เช่น เปน็ ธ ปะลมปะเล ดู ปะลม. ปมเป็นเปาเอาแท่ ๆ ปั๊ดแต่ น ปะล่ำ� ปะลอย ดู ปะหลำ่� ปะหลอย. เง่าะคลานออกมาแต่ท่องแม่ บ ปะหล�่ำปะหลอย ว. ไม่จริงจัง, (กล่อมเดก็ ), บดั แต่ ก็ว่า. ป เล่ือนลอย, ไม่มีหลักฐาน เช่น ปัตยิ า [ป๊ดั -ต๊-ิ ยา] ก. ปฏญิ าณ, ให้ ผ พดู ปะหลำ่� ปะหลอย, ปะลำ�่ ปะลอย ค�ำมั่นสัญญา เช่น จะทดลอง ฝ กว็ า่ . ปตั ยิ าสาบานตน (น.ิ พระปาจติ ). พ ปะวะ ว. ปลีกตัว, ปลีกเวลา, ปะวะ ปัติสนธ์ิ [ป๊ัด-ต-ิ๊ สน] ก. ปฏสิ นธิ, เกดิ ฟ ปะแวง กว็ ่า. ในทอ้ ง เช่น เชิญท่านลงไป เอา ภ ปะวะปะแวง ดู ปะวะ. ปัติสนธ์ิ ในครรภ์มณฑล แห่ง ม ปะสะนำ้� มนต์ [ปะ-ซะ-นา่ ม-มน] ก. รด ตากะยาย, มาเอาปัติสนธิ์ ใน ย นำ้� มนตเ์ พอ่ื ความเปน็ สริ มิ งคล, ชลวิสัย แล้วจะขอเป็นรูปทอง ร (ดู ปะสะปะสาง ประกอบ). เรืองรองเกริกไกร จึงเขา้ อยู่ใน ฤ ปะสะปะสาง [ปะ-ซะ-ปะ-สาง] ก. รด ครรภพ์ ระมารดา (นิ.รปู ทอง). ล นำ�้ มนตเ์ พอื่ ขบั ไลส่ ง่ิ ไมด่ ใี หอ้ อก ว ศ ส ห อ ฮ 183
ปั่น - ป๋ี ปน่ั ว. ปาน, เหมือน, คล้าย, ราว เช่น ๕ มีการสร้างทางรถไฟสาย ปั่นก๊ับลูก (ปานกับลูก). กรงุ เทพฯ-นครราชสมี า จำ� เปน็ ปั๊วะ ว. ผลัวะ, เสียงดังเช่นนั้น เช่น ตอ้ งระเบิดหนิ ผ่านชอ่ งเขา ตอ่ ก ค�่ำคืนก็ด้นไปใครพูดไม่ถูกใจก็ มาเรียกหมู่บ้านนี้ว่า บ้าน ข โดนป๊วั ะ (เพลงโคราช). ปากช่อง เม่ือยกฐานะเป็น ค อ�ำเภอจงึ ใช้ช่ือน.ี้ ฆ ปากกะจูด น. ลักษณะริมฝีปากห่อให้ ปากตยุ่ น. รมิ ฝปี ากบวม. ง แคบคล้ายผิวปาก. ปากเตา น. สว่ นบนของเตาอง้ั โลต่ งั้ แต่ จ รังผ้ึงข้ึนไปจนถึงบริเวณต้ัง ฉ ปากกะใจไม่ตรงกัน [ปาก-กะ๊ -ไจ-ไม-่ ภาชนะซ่ึงเป็นส่วนท่ีใช้ใส่ถ่าน, ช ตง-กัน] ก. พูดอย่างหน่ึงแตใ่ จ (ดู อเุ๊ ตา ประกอบ). ซ คดิ ตรงกนั ข้าม. ปากเป็น ก. พูดจาฉอเลาะ, พูดอ่อน ฐ ปากกะโถน น. ปากกว้าง. หวานประจบประแจง (มักใช้ ฒ ปากกะโผ่ง ก. พูดเสียงดัง, คุยโว, แก่เด็ก). ด ปากเปยี กปากแฉะ [ปาก-เปยี ก-ปาก- ต พูดนนิ ทาคนอืน่ . แชะ] ดู ปากจะฉีกถงึ หู. ถ ปากกดั ขยมุ้ ตดู [ปาก-กดั๊ -ขะ-ยมุ่ -ตดู ] ปากเปื่อย น. โรคปากนกกระจอก, ท ปากที่เป็นแผลเปื่อยขาว ๆ ธ (ส�ำ) ปากกัดตนี ถีบ, ท�ำงานตัว เหลือง ๆ ที่มุมปาก. น เป็นเกลียว, ออกแรงอย่างสุด ปากไปล่ [ปาก-ไป]่ น. ปากกว้าง เชน่ บ ก�ำลัง, มานะบากบั่นอย่างไม่ กระโถนทองปากไปล่เหมือน ป คิดถึงความเหน่ือยยาก. ใบบวั (น.ิ พระปาจติ ). ผ ปากผลอ [ปาก-ผอ] ก. พูดไร้สาระ, ฝ ปากแคบคางลาย รอ้ งไม่อายมนุษย์ พดู พล่อย ๆ, ปากไม่มหี ูรูด. พ [ปาก-แคบ-คาง-ลาย-ล่อง- ปากวา่ เบอื่ ลอดชอ่ งแตม่ อื ไมว่ างชาม ฟ ไม-่ อาย-มะ-นดุ่ ] (ปรศิ ) น. กบ. [ปาก-วา่ -เบอ่ื -ลอด-ชอ่ ง-แต-่ ภ มอื -ไม-่ วาง-ชาม] (สำ� ) ก. ปาก ม ปากจะฉีกถึงหู น. เรียกการว่ากล่าว พูดอย่างหน่ึงแต่การกระท�ำ ย ตักเตือนหรือพูดซ้�ำแล้วซ�้ำเล่า ตรงกันข้าม, (ดู ปากกะใจ ร ก็ยังไม่ได้ผลตามท่ีมุ่งหมาย, ฤ ปากแฉะ, ปากเปียกปากแฉะ ล ว ก็ว่า. ศ ปากแฉะ [ปาก-แชะ] ดู ปากจะฉกี ถงึ ห.ู ส ปากช่อง น. ชื่ออ�ำเภอหนึ่งในจังหวัด ห อ นครราชสีมา ในสมัยรัชกาลที่ ฮ 184
พจนานุกรม ภาษาโคราช ไมต่ รงกนั ประกอบ). อมแดง ใช้ในการก่อสร้าง. ปากส่ันปากยาว ก. บอกเล่าในอาการ ป ี้ ๑. ก. รว่ มเพศ, สบื พนั ธุ์. ๒. ใช้ประกอบคำ� ว่าดำ� มคี วาม ท่สี ่ันไปทง้ั ตวั . หมายวา่ ดำ� สนทิ , ดำ� ดนิ ปนื , ดำ� ก ปากหา ก. พูดหา, พูดด้วย. มาก, ป,ี๋ ปื้อ ก็ว่า. ข ปากเหวอ [ปาก-เหฺวอ] น. ปากเหิบ, ปี่ น. เครื่องดนตรปี ระเภทเครอ่ื งเป่า. ค ปี่แก้ว น. ปี่ท่ีท�ำด้วยไม้ไผ่ ฆ ปากกวา้ งริมฝีปากหุบไมล่ ง. รวก ลิ้นปี่ท�ำด้วยทองเหลือง ง ปากแหนบ [ปาก-แหฺนบ] น. นก มีรู ๖ รู หนุ่ม ๆ มักน�ำติดตัว จ ไปเป่าเกี้ยวสาว เพลงท่ีร้อง ฉ ปากส้อม. ประกอบ เช่น นางเอยมาร่ับ ช ป่างหง่าง ก. ล้มลงอย่างไม่เป็นท่า, พ่ีด้วย พี่แอบต้นกล้วยหมา ซ เห่าพ่ีเด.... (ปี่แก้ว). ฐ ล้มหงายผลึง่ . ปี่ซังข้าว [ปี่-ซัง-เข่า] น. ปี่ ฒ ป๊าด อ. อื้อฮอื , ค�ำท่เี ปล่งออกมาด้วย ท่ีท�ำจากซังข้าวสด มักท�ำให้ ด เด็กเล่น. ต ความสงสัย, ฉงนสนเท่ห์ใน ปีแ่ หยน่ [ป-ี่ แหฺยน่ ] น. เครือ่ ง ถ ทำ� นองว่าอะไรจะขนาดนนั้ . ดนตรชี นดิ หนงึ่ ทำ� ดว้ ยไมไ้ ผร่ วก ท ป๊าดโธ่ อ. โธ่, พทุ โธ,่ เปน็ ค�ำทเ่ี ปล่ง คลา้ ยขล่ยุ ใช้ ธ ออกมาด้วยความไม่พอใจ, แผ่นทองแดง น ประหลาดใจ, รำ� คาญ, สงสาร. หรอื ทองเหลอื ง บ ปาตัง้ โก๋ น. ปาท่องโก.๋ เป็นล้ิน เวลา ป ปาติก่มุ เทง่ กมุ่ ดู ปะติก่มุ เท่งก่มุ . เป่ามีเสียงดัง ผ ปาน [ปั่น] ว. เหมอื น, คล้าย, ราว เชน่ แหย่นๆ, ฝ ป่นั กบ๊ั ลูก (ปานกบั ลูก). ป่แี หวน่ ก็วา่ . ป่ีแหยน่ พ ป้าบ ก. ตี, เตะ เชน่ โดนไปป้าบหน่งึ ฟ (โดนตีหรือเตะไปทหี นึง่ ). ปแ่ี หวน่ [ป-่ี แหวฺ น่ ] ดู ปแ่ี หยน่ . ภ ปำ้� ก. ซอ้ มไกช่ น. ปี๋ ว. ใช้ประกอบค�ำมีความหมายใน ม ปิ๊ดป๋ี ว. ด�ำมาก, มดิ หมี กว็ า่ . ทำ� นองวา่ มาก, จดั เช่น เค็มป๋ี ย ปิ้น น. มะค่าโมง, มะค่าใหญ่; ช่ือไม้ (เคม็ จัด), ดำ� ปี๋ (ดำ� มาก). ร ยนื ต้นขนาดใหญ่ชนดิ Afzeria ฤ xylocarpa Craib. ในวงศ์ ล Leguminoseae ใบคล้ายใบ ว ประดู่ ฝักแบน เน้ือสีน�้ำตาล ศ ส ห อ ฮ 185
......ปีคอ่ น - เปน็ เฉาะเปน็ ฉอ่ ง ......ปคี อ่ น [......ปขี อ่ น] ว. คอ่ น, เกอื บ จนิ ดามากมาย (นิ.กศุ ราช). ใช้เปรียบเทียบในการประมาณ ปอ้ื ดู ป้ี ๒. เช่น อายุ ๒๕ ปคี อ่ นอแี ม่กอ้ น ปกุ เผล่ว [ปกุ๊ -เผล่ว] ดู ปกุ เหยิด. ก ทองขา (๒๕ ปีกว่าหรือ ๒๕ ปุกเหยดิ [ปุ๊ก-เหยฺ ดิ ] น. เท้าปกุ , เท้า ข เกอื บ ๒๖ ป)ี (เพลงโคราช). ค พิการโดยนิ้วเท้าด้วนมีรูปดัง ฆ ปด๊ี ว. ใชป้ ระกอบคำ� มคี วามหมายไปใน กำ� ปน้ั เวลาเดนิ ตอ้ งเขยง่ เทา้ ให้ ง ท�ำนองว่ามากหรือยิ่งกว่าปกติ เสมอกับอีกข้างหนึ่ง, ตีนปุก, จ เช่น แหลมปดี๊ , ขมป๊ีด, คมปด๊ี , ปุกเผล่ว กว็ ่า. ฉ ช ด�ำปด๊ี , เงียบปีด๊ . ปุกเหยดิ ซ ปบ๊ี ก. เสยี งรอ้ งทา้ ทายท�ำนองวา่ ใคร ฐ ปุง น. มาตราวัดอย่างหน่ึง ๑ ปุง ฒ แน,่ ป๊บี กระโทก กว็ า่ , ถิ่นอีสาน เทา่ กบั ๔๐ ก�ำมอื หรอื เทา่ กบั ด ใช้ว่า ปีบโฮ หมายถึง ไชโย ๑๐ คบ, ปุ๋ง ก็ว่า, (ดู คบ ต โห่ร้อง. ประกอบ). ถ ปบ๊ี กระโทก ดู ปี๊บ. ท ปมี ะโวเ่ ดอื นมะย่ี (สำ� ) เวลาผา่ นมานาน ปงุ้ ๆ ว. เสียงท่ีเกดิ จากการกระทุ้ง. ธ ปุ๋ง ดู ปุง. น แลว้ จนไมร่ วู้ า่ ตงั้ แตเ่ มอ่ื ใด. ปุงโซ่ ดู กะโซ.่ บ ปก้ึ (ปาก) ว. สนิทสนมกนั มาก, ซีปึก้ ป ปุงโซ่ ผ ก็วา่ . ฝ ปึง้ ว. ปึก, ลักษณะนามของสมดุ เช่น พ เล่ม, หวั . ฟ ภ ปง่ึ หลึ่ง ว. ปึ่ง, ท�ำทเี ฉย, ทำ� ท่าไว้ยศ ม ไม่พูดจาด้วย, แสดงอาการ ย คล้ายกบั โกรธ. ร ฤ ปืนคาบหิน น. ปนื คาบศลิ า, ปนื ชนิดมี ล เหล็กกับหินสับกันเป็นประกาย ว ติดดินหู (ดินปืนอย่างแรง ใช้ ศ โรยรางชนวนในการยิงปืนสมัย ส โบราณ) เช่น ทหารแห่หน้า ห อ ภูมนิ ทร์ ถือปนื คาบหนิ ลูกดิน ฮ 186
พจนานุกรม ภาษาโคราช ปุงเน็ก น. กระด่ิง, โปงขนาดเล็กใช้ เป้ง ว. โต, ใหญ่ (ใช้แก่สัตว์จ�ำพวก ก แขวนคอสตั ว์. แมลงและผลไม้) เช่น แม่เป้ง ข มดแดง. ค ปงุ ละปุงเล่ง ว. ปุเลง, ทลุ ักทเุ ล ฆ ปุโลทั่ง ว. เก่ามาก, โกโรโกโส เช่น เปด้ ก. ทะลักออกมา เช่น บีบยาสีฟัน ง ไหลเป้ดออกมา. จ รถปโุ ลท่งั . ฉ ปเู ฒา่ [ป-ู เถา่ ] น. ปเู ฒา่ , ปทู แี่ กม่ อี ายุ เป็ดก้าบ [เป๊ด-ก้าบ] น. เป็ดชนิดท่ี ช ร้อง กา้ บ ๆ, เปด็ ไลท่ ุ่ง. ซ มาก สกี ระดองจะเขม้ เดนิ เชอ่ื ง ฐ ชา้ นยั วา่ เนอ้ื มรี สชาติไมอ่ รอ่ ย. เป็ดหาวจนเห็นร�ำ [เป๊ด-หาว-จน- ฒ ปู๊ดลู้ด ว. ปรู๊ดปร๊าด, อาการท่ี เหน็ -ล�ำ] (สำ� ) ก. อิ่มแปล,้ อม่ิ ด เคล่ือนไหวอย่างว่องไว เช่น มาก; เปรยี บไดก้ บั เปด็ ทก่ี นิ มาก ต เ อ า ไ ม ่ ม า แ ห ย ่ ไ ม ่ ก ร ะ แ ต ก็ จนอา้ ปากเห็นรำ� ในคอ. ถ กระจ้อนว่ิงออกปู๊ดลู้ด (เพลง ท โคราช). เปน็ ว. ใชต้ อ่ ทา้ ยคำ� เพอื่ เนน้ ความหาย ธ ปดู่ า่ ย่าสอน (สำ� ) ผูใ้ หญ่อบรมสั่งสอน เช่น ไม่เห็นใหญ่เป็น (ไม่เห็น น เช่น อย่าได้เป็นเหมือนเช่น เตบิ โต), ไมอ่ ยเู่ ปน็ (ไมค่ อ่ ยอย)ู่ . บ สนั ดาน ไมม่ ปี ดู่ า่ ยา่ สอน (เพลง ป โคราช). เป็นเกือกทองรองพระบาท (ส�ำ) เป็น ผ ปู่ต้องจากย่า ตาต้องจากยาย พ่อ ข้ารองพระบาท เช่น จงเอ็นดู ฝ ต้องจากแม่ (ส�ำ) ก. ต้อง นอ้ ง เหมอื นหนงึ่ เกอื กทอง รอง พ พลดั พรากจากกนั เชน่ รวบรวม พระบาทา, ขา้ เฒา่ นกึ หวงั จะมา ฟ ผู ้ ค น ก ว า ด ต ้ อ น ไ ป ยั ง น ค ร เป็นเกอื กทอง (นิ .รปู ทอง). ภ เวียงจันทน์ ปู่ต้องจากย่า ตา ม ต้องจากยาย พ่อต้องจากแม่ เป็นความกินขี้หมาดีกว่า [เป็น- ย แล้วก็จะต้องจากกันต่อ ๆ ไป ควม-กิน-ข่ี-หมา-ดี-กั่ว] (ส�ำ) ร (ท้าว ฯ). ว. ถ้าจะมีคดีฟ้องร้องกันถึง ฤ ปทู ห่ี ลบั ทีน่ อน [ป-ู ท่-ี ลบั -ท่-ี นอน] ก. โรงศาลให้ท�ำในส่ิงที่แม้จะ ล จัดท่หี ลับทน่ี อน. แสนล�ำบากดีกว่า เพราะการ ว ปู่สังกะสาย่าสังกะสี (ส�ำ) โบราณ, เป็นคดีความกันใช้เวลานาน ศ นมนานมาเม่ือครง้ั ปยู่ า่ ตายาย. เสียท้ังเวลาและเงิน. ส ห เป็นใจ ก. ส่งเสรมิ , หนุน เช่น อากาศ อ เป็นใจ. ฮ เป็นเฉาะเป็นฉ่อง [เป็น-เชาะ-เป็น- 187
เปน็ โชงโลง - เปอื ยดง ฉ่อง] ก. พูดคล่อง, พูดล�ำดบั เป็นแป้ง ว. เมามาก, เมาจนไมไ่ ด้สต.ิ ความได้ดี, พูดจาฉะฉาน, เปน็ ไรดอก [เปน็ -ไล-ดอ้ ก] ว. ไมเ่ ปน็ ไร เป็นเด๊าะเปน็ ดอ่ ง ก็ว่า. ก เป็นโชงโลง (ส�ำ) ว. เปน็ หลกั , ทีย่ ดึ หรอก, (ดู ดอก ประกอบ). ข เปน็ ลมเปน็ แลง้ [เปน็ -ลม-เปน็ -แลง่ ] ค เหนี่ยว เช่น มีพ่อเป็นโชงโลง, ฆ (ดู โชงโลง ประกอบ). ก. ไปจากถิ่นทอี่ ยู่โดยไม่มใี ครรู้ ง เป็นซออจี๋ ิมาสใี หด้ งั ออ้ [เป็น-ซอ-อ๋-ี แน่ว่ายังมีชีวิตอยหู่ รือไม.่ จ เป็นเลอื ด ก. เปน็ ระดู, เปน็ รอบเดอื น, ฉ จ๊ิ-มา-สี-ไห่-ดัง-อ้อ] (ส�ำ) ก. เปน็ ประจ�ำเดือน. ช แขง่ กบั ผมู้ บี ารม,ี ตเี สมอ, ยกตวั เป็นหม้อข้าวหม้อแกง [เป็น-หม่อ- ซ ข้ึนเทียมท่านโดยไม่รู้จักที่ต�่ำ เข่า-หมอ่ -แกง] (ส�ำ) น. เป็น ฐ ทส่ี ูง. แม่บ้านแมเ่ รอื น, เกง่ เรื่องงาน ฒ เป็นด้วงเป็นแมง (ส�ำ) น. มีมลทิน, บา้ นงานเรือน. ด เปราะหิน [เป๊าะ-หิน] น. ชอ่ื ไม้ล้มลกุ ต มีราคี (มักใช้แก่หญิงท่ีไม่ ชนิด Caulokaempferia ถ บรสิ ุทธทิ์ างพรหมจรรย์). saxicola K. Larsen ในวงศ์ ท เปน็ เดา๊ ะเปน็ ดอ่ ง ดู เปน็ เฉาะเปน็ ฉอ่ ง. Zingiberaceae คล้ายต้น ธ เปราะ, เปราะหอม ใช้เป็น น เปน็ ตา ว. นา่ , ชวนให,้ พอ; คำ� ชว่ ยกรยิ า อาหารและท�ำยา. บ แสดงว่าควรเป็นเช่นนั้น เช่น เปรย๊ี ะ ว. เตม็ ท,่ี มาก เชน่ เมาเปร๊ียะ, ป เปน็ ตากนิ มย้ั (พอกนิ ไดไ้ หม). เต็มเปรย๊ี ะ. ผ เปล [เป] ว. หันเห, เบ่ียง, เบนไปจาก ฝ เป็นตาชัง ก. ชัง, เกลียด, ไม่ชอบ, เดมิ เชน่ แล้วคณุ หญงิ จ่ึงเปล พ ไม่รัก. หลบไปเสียข้างหนึ่ง, ได้ฟัง ฟ ล้ินลมลวงของเจ้าอุปราชก็ ภ เปน็ ตายรา้ ยดี [เปน็ -ตาย-ลา่ ย-ด]ี ว. หันเหเปลไปตามกระแสลม ม จะเป็นหรือตายจะร้ายหรือดี, (ท้าว ฯ). ย เป็นยังไง เช่น ไม่รวู่ า่ เปน็ ตาย เปลวหมู น. เปลวมันหมูทไ่ี ม่มีหนังติด ร รา่ ยดยี งั ไง, เปน็ ตายรา่ ยดยี งั ไง ทอดเอาน้�ำมันออกแล้ว. ฤ ก็ต้องไป. เปลา้ เงนิ ดู หนาดตะกวั่ . ล ว เป็นตาหนา่ ย ก. เบือ่ , หนา่ ย, ระอา, ศ น่าเบื่อหน่าย. ส ห เปน็ ทกุ ขเ์ ปน็ รอ้ น [เปน็ -ทกุ่ -เปน็ -ลอ่ น] อ ว. ห่วงใย, กงั วล. ฮ 188
พจนานุกรม ภาษาโคราช เปลอื กเปราะกะเทาะแดง เปลอื กแดง เปิ้น ก. แฉลบ, อาการท่ีสงิ่ ของเคลอ่ื น ก กะเทาะขาว [เปอื ก-เปา๊ ะ-กะ- เฉไปไมต่ รงทาง. ข เท่าะ-แดง-เปือก-แดง-กะ- ค เทา่ ะ-ขาว] (ปริศ) น. มะขาม. เปียกเขา่ ก. ต้มข้าวต้ม. ฆ เปี่ยวกินตีน น. เท้าเป็นเหน็บชา, ง เปอ ว. ใบ้ เชน่ ว่าจะไปใครไม่ปากทำ� จ เป็นเปอ (น.ิ พระปาจติ ). เหยี่ยวกนิ ตีน กว็ า่ . ฉ เปือ้ นปรัว๊ ะ ว. เปอื้ นเปรอะ, เลอะเทอะ ช เป้อหวา ว. เออวะ, ดูซิ (ถ่ินโชคชัย, ซ ปักธงชัย), (ดู หวา ประกอบ). เชน่ ดเู ปอ้ื นปรว๊ั ะแหลกเลน่ ไชย ฐ เสนเอย๋ (สุภมติ ฯ). ฒ เปอะ [เป๊อะ] น. กับข้าวชนิดหน่ึง เปือยเครือ น. กระดูกกบ, กระพัด ด ประกอบด้วยหน่อไม้ใส่ย่านาง แมม่ า่ ย ; ชอื่ ไมพ้ มุ่ รอเลอ้ื ยชนดิ ต ไม่ใส่กะทิ, แกงเปอะ กว็ า่ . Hymenopyramis brachiata ถ Wall. ในวงศ์ Verbenaceae ท เป๊ะ ๑. ว. เสียงตกดังเช่นนั้น เช่น สี ก่ิงอ่อนเป็นสี่เหลี่ยม ใบเดี่ยว ธ ย่อยต๊กเป้ะ (สีย้อยตกเป้ะ), ออกตรงขา้ มกนั ดอกเลก็ สขี าว น เพละ ก็ว่า. เปน็ ชอ่ ผลกลม, ควยแกร่ อ้ งไห,้ บ เปอ๋ื ยเครอื ก็วา่ . ป ๒ ว. อาการทีล่ ้ม, ร่วง, หลน่ ผ ลงโดยเรว็ , ฟบุ เชน่ ลม่ เปะ้ (ลม้ เป๋อื ยเครอื ฝ ฟบุ ลง), เพละ กว็ า่ . พ เปื๋อยเครอื ดู เปือยเครือ. ฟ เป่ายาง น. การเลน่ ของเด็ก โดยผลดั เปอื ยดง น. ตะแบกชนดิ Lagerstroemia ภ กันเป่ายางของฝ่ายตนให้เกย ม ทบั ของอกี ฝา่ ยหนึ่ง. calyculata Kurz ในวงศ์ ย Lythraceae เป็นไม้ต้นขนาด ร เปิด ก. หนี, ไปด้วยอาการเร่งรีบ. ฤ เปิดแน็บ [เปดิ -แน่บ] ก. ไป ล ว โดยเรว็ , วงิ่ แจน้ . ศ เปดิ กอ่ นลอ่ นแกน่ ก. เปดิ ไพด่ กู อ่ นเจา้ ส ห มือถือว่าผิดกติกาเจ้ามือมีสิทธิ อ กินได.้ ฮ เปดิ หวอ ก. อาการทผ่ี หู้ ญงิ นงุ่ กระโปรง นั่งแบะหรือถ่างขาจนเห็นลึก เข้าไป, อา้ ซา่ . 189
แป - ไปทั่ว กลาง ดอกเปน็ ชอ่ สมี ว่ งปนขาว แป้ว ๑. ว. เบีย้ ว (ใชแ้ กผ่ ลไม้). ผลเล็กรูปไข่ ชอบข้ึนตามป่า ๒. ว. อาการที่ขาไม่แข็งแรง ราบ; นักพฤกษศาสตร์เรียก ก ตะแบกแดง, ถิ่นพ้ืนเมืองเรียก เช่น ขาแปว้ . ข ตะแบกใหญ่, ตะแบกเปลือย. แปะ๊ ๑. น. ชอื่ ไมพ้ ุ่มขนาดย่อมคลา้ ย ค ฆ แป ว. ลีบ, ไม่มีเน้ือในเมล็ด, แฟบ ต้นคนทีสอทะเลชนิด Vitex ง เพราะไม่เจริญเติบโตตาม Quinata Williams. ในวงศ์ จ ธรรมชาติท่ีควรเป็น เช่น เข่า Verbenaceae ขึ้นในป่า ฉ เบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง ช เม่ดแป ๆ (ข้าวเม็ดลีบ ๆ). นกั พฤกษศาสตรเ์ รยี ก หมากเลก็ ซ แป้ น. ภาชนะคอยาวคล้ายกับคนโท หมากนอ้ ย. ฐ ฒ ใชใ้ สน่ ้ำ� หรือเหลา้ . แป๊ะ ด แปกสีแหรก [แปก-สี-แหฺลก] น. ต แปดสาแหรก ; ค�ำประชดว่า ๒. ก. พึ่ง, อาศยั คนอื่น, พง่ึ พา ถ ดัดจริตท�ำตัวเป็นผู้ดี, คนที่ คนอน่ื , แป๊ะแมะ่ ก็ว่า. ท ท�ำกรีดกรายเอาอย่างผู้ดี, ธ ๓. ว. ใกล้, ติด, ชดิ เช่น บ้าน น ผดู้ แี ปกสแี หรก กว็ ่า. อยแู่ ปะ๊ ๆ โรงเรยี น. บ แปด๊ ๑. ว. จดั , มาก เชน่ รอ่ นแป้ด ป แป๊ะแมะ่ ดู แปะ๊ ๒. ผ (รอ้ นมาก, ร้อนจ)ี๋ . แป้ะแซ น. แบะแซ, ข้าวสาลีกวน ฝ ๒. ว. แจ๋ (ใช้แก่สีแดง) เช่น พ แดงแปด้ (แดงแจ)๋ , แจด๊ , แปรด๊ จนเหนียวข้นใช้ท�ำขนม. ฟ กว็ า่ . โปก ใชป้ ระกอบคำ� อน่ื มคี วามหมายใน ภ ม แปดปน ก. ปลอมปน, ปะปน. ท�ำนองวา่ ยนั , ยันปา้ ย, กระทั่ง, ย แปร๊ด ดู แป๊ด. ถึง, จนถึง เช่น แจ้งโปก ร แปรนา [แป-นา] ก. ไถแปร. (ยันสว่าง), ถึงโคราชโปก ฤ แปรปรา้ [แป-ปรฺ า้ ] น. การปรงุ ปลารา้ (ยันโคราช, จนกระท่ังถึง ล ว ให้มีรสชาติอร่อย ท�ำหลังจาก ศ หมักพอได้ที่แล้วน�ำข้าวค่ัวมา ส คลกุ เคลา้ . ห อ แปลกแตก่ ้ี ว. แปลกกว่าเมือ่ กอ่ นนี.้ ฮ 190
พจนานุกรม ภาษาโคราช โคราช). โปง่ ลอยน�ำ้ [โปง่ -ลอย-น่าม] ดู ลอย ก โปก้ อ้ ย น. ปน่ั แปะ; การพนนั อยา่ งหนง่ึ ตะเข.้ ข ค ใช้เหรียญปั่นในขณะท่ีเหรียญ โปงละโปงเล่ง ว. พะรุงพะรัง. ฆ กำ� ลังหมนุ ใช้มือตะปบปดิ แล้ว โปย น. ปอยผม. ง ใหท้ ายว่าจะออกโป้ (หวั ) หรอื โปรงเปรง ก. โปร่งเปรง่ , โหรงเหรง, จ ก้อย นอกจากการใช้เหรียญ ฉ เดียวแล้วบางคร้ังใชเ้ หรียญ ๒ ไม่เต็มท่ี เช่น เหมือนหน่ึง ช อันปั่นพร้อมกัน ถ้าออกหัวท้ัง หัวแหวน ของดีไม่ช่ัว พลอย ซ ๒ เหรียญเรียกว่าออกโป้ ถ้า หลดุ โปรงเปรง (นิ.รูปทอง). ฐ ออกกอ้ ยท้ัง ๒ เหรยี ญ เรียก โปรด ก. ปล่อย (ใชแ้ ก่สตั ว)์ เชน่ ปลา ฒ ว่าออกกอ้ ย แตถ่ ้าเหรยี ญหน่งึ ตกคลักจับใส่ครุไปปล่อยโปรด ด ออกโป้อีกเหรียญออกก้อย (นิ.พระปาจิต), ถิ่นอีสานใช้ว่า ต เรียกว่า “กลาง”, อีหมุน ก็ว่า. โผด. ถ โปง น. เครือ่ งไมห้ รอื เหล็กมีรปู คล้าย โป้โล่ ก. ปรากฏทันที, โผล่มาทันที, ท กระด่ิง มีลูกกระทบแขวนอยู่ ป้อล่อ กว็ า่ . ธ ภายใน หรือห้อยกระหนาบอยู่ โป้ะโล่ะ ก. กองสมุ รวมกันไว.้ น ภายในใชแ้ ขวนคอสัตว์ เพื่อให้ โป๊ะหมู่ ก. คบเพื่อน. บ เกิดเสียงดัง มีหลายประเภท ไปก็ค้ำ� มากค็ �ำ้ [ไป-ก็-ค�่ำ-มา-ก็-คำ�่ ] ป เช่น นิก, น่ก, พรวนทาม, มัก (ปริศ) ไม้ค้ำ� เกวยี น. ผ กะโหรง่ , มกั กะแหลง่ , โปงลาง ไปกนิ ปลามากนิ ขา้ ว [ไป-กนิ -ปา-มา- ฝ กว็ ่า. กิน-เข่า] (ส�ำ) ก. ตอ้ นรบั เลยี้ งดู พ โปงลาง ดู โปง. ด้วยอาหารการกินป็นอย่างดี, ฟ โปงเหล็ก [โปง-เล็ก] น. เลยี้ งดูปเู ส่อื . ภ โปง,โปงลางท่ีใช้เหล็กหรือ ไปดอก [ไป-ด๊อก] ว. ไม่ไปหรอก. ม โลหะท�ำ. (ดู ดอก ประกอบ). ย โป่งเป้ง น. ไม้ท่ีสอดเข้าใต้เส้นยืนใน ไปตีกบณิ ฑ์ [ไป-ต-ี กะ-บิน] ดู ลงข่วง ร การทอผา้ เพ่ือยกเสน้ ทอใหส้ งู รำ� ผฟี า้ . ฤ กวา่ ระดบั พนื้ จะชว่ ยใหเ้ สน้ เชอื ก ไปทง่ ก. ไปอุจจาระ. ล ตงึ ไดท้ ,ี่ อโี ปง กว็ า่ . ไปทวั่ ก. คดิ หรอื ทำ� ไปเรอ่ื ย, เรอื่ ยเปอ่ื ย ว เชน่ คดิ ไปทว่ั , หาทำ� ไปทวั่ . ศ ส ห อ ฮ 191
ไปบ้านเกา่ - ผลัดดนิ ไปบ้านเกา่ ก. ตาย. ไปหาพระเอาของไปถวาย ไปหานาย ไปเผาถ่าน ก. ตาย. เอาของไปฝาก [ไป-หา-พ่ะ- ไปเล่นบ้าน [ไป-เหฺล่น-บ้าน] ก. เอา-ของ-ไป-ถะ-หฺวาย-ไป- ก ไปเทย่ี วบ้าน, ไปเย่ยี มบา้ น. หา-นาย-เอา-ของ-ไป-ฝาก] ข (สำ� ) ก. เอาส่งิ ของไปฝากตาม ค ไปสู่หา ก. ไปมาหาสู่, ไปหา, ธรรมเนียมประเพณี. ฆ ไปเยี่ยมเยียน เช่น ครั้นจะไป ง สู่หา ทา่ นจะวนุ่ วาย (นิ.รูปทอง) ไปไหนกต็ ามแตถ่ ามไมพ่ ดู (ปรศิ ) เงา. จ ไปหากนิ ก. ไปทำ� งานหาเลี้ยงชีพ. ฉ ช ซ ฐ ฒ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ฤ ล ว ศ ส ห อ ฮ 192
ผพจนานุกรม ภาษาโคราช ก ผงขาว น. สารโซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ มาแตก่ �ำเนิด. ข เป็นสารที่นิยมใช้ย้อมสีผ้าไหม ผมโปย น. ผมเดิมของทารกที่ติดมา ค เพราะย้อมง่ายอีกทั้งท�ำให้ ฆ ผา้ ไหมเรยี บสวยงาม, (ดู กาว ตง้ั แตเ่ กดิ ขน้ึ เปน็ กลมุ่ เปน็ กระจกุ ง ประกอบ). ดา้ นหลงั ศรี ษะ. จ ผมไม่ตัด วัดไม่เข้า เหล้าไม่ขาด ฉ ผงเหมน็ น. สบเู่ ทยี ม (wetting agent) บาตรไม่ใส่ [ผม-ไม่-ต๊ัด-ว่ัด- ช เป็นผงชนิดหนึ่งใช้กับสบู่ฟอก ไม่-เข่า-เหฺล่า-ไม่-ขาด-บาด- ซ เสน้ ไหมให้ขาว. ไม่-ไส่] (ส�ำ) ว. นอกรีตนอก ฐ รอย, ไม่ประพฤติตามแนวทาง ฒ ผมทรงลูกจันทร์ น. ทรงผมผู้หญิงที่ ท่ีได้ปฏิบัติกันมา ผิดไปจาก ด เกล้าขมวดบนกลางศีรษะเป็น แนวทางท่ดี ี. ต รปู ทรงกลมคลา้ ยลูกจนั ทร.์ ผมหย็อง น. ผมฟู. ถ ผมหยิกหน้ากล้อคอสั้น [ผม-ยิก- ท ผมทรงอเมริกัน น. ผมทรงลานบิน, หฺน่า-ก้อ-คอ-สั่น] (ส�ำ) น. ธ ทรงผมผู้ชายท่ีตัดข้างล่างส้ัน ลักษณะของคนท่ีไม่ดีหรือบุรุษ น เกรียน ข้างบนราบเสมอกัน; โทษทไี่ ม่ควรคบ. บ เป็นทรงผมของทหารอเมริกัน ผลอ [ผอ] ก. พูดเร่ือยเป่ือย, พดู ไร้ ป หรอื จไี อ (อ.GI = Government สาระ เช่น หญิงก็หลายชายก็ ผ Issue). มากท่ีปากผลอ (สุภมิต ฯ). ฝ ผลอ็ บแผล็บ [พอ็ บ-แพ็บ] ว. แพลบ็ , พ ผมทรงอเมรกิ นั ช่วั ระยะเวลาประเดยี๋ วเดียว. ฟ ผลกั ไสไล่สง่ [พัก-ไส-ไล-่ สง่ ] ก. ขบั ภ ผมปา่ น. ผมไฟ, ผมเดมิ ของทารกทต่ี ดิ ไล่ไปอยา่ งไม่มีเย่ือใย. ม ผลัดดิน [ผั้ด-ดิน] น. การเพิ่มดิน ย ตกแต่งเคร่ืองปั้นดินเผา ใน ร ขณะพะมอน, (ดู พะมอน ฤ ล ว ศ ส ห อ ฮ 193
ผลง่ึ - ผกั โป่ง ประกอบ). ผะเหนกิ บ่า [ผะ-เหนฺ ิก-บา่ ] น. สว่ น ผล่ึง ก. อาการที่ล้มหงายไปทันทีทนั ใด ทีไ่ หลท่ ี่ตดิ กับคอ. เชน่ หงายผล่ึง. ก ผลุง [ผุง] ว. พรวด, พรวดพราด; ผกั กะตู [พกั -กะ-ต]ู น. ประตเู รือน. ข ค อาการที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว, ผกั กะตู ฆ เสียงอย่างเสียงของหนักตกลง ง เช่น กระโดดผลุง (กระโดด ผักกะโตวา [พัก-กะ-โต-วา] น. ผัก จ พรวด). สันตะวา เป็นพืชน�้ำใบบาง ฉ สีเขยี วอมน�้ำตาลกนิ ได้. ช ผลุมผลาม [ผมุ -ผาม] ว. ผลีผลาม, ซ รบี ร้อนเกินไปโดยไมร่ ะมัดระวงั ผักขม [พกั -ขม] น. ผักโขม. ฐ หรอื ไมถ่ กู กาลเทศะ เชน่ แกผลมุ ผกั ขมโคก [พกั -ขม-โคก] น. ชอ่ื ไมพ้ มุ่ ฒ ด ผลามวิ่งเข้ากอดด้วยเย่ือใย ชนิด Erythroxylum cam ต (น.ิ พระปาจติ ). bodianum Pierre ในวงศ์ ถ ผสมลมเลม็ [พะ-สม-ลม-เลม็ ] ว. ปะตดิ E r y t h r o x y l a c e a e นั ก ท พฤกษศาสตร์เรียก ตานครบ, ธ ปะตอ่ เปน็ เรอื่ งเปน็ ราว, ผสมเลก็ ถ่ินเหนือเรียก หญ้าหุ่นไห้, น ผสมน้อย, เก็บไว้ทีละเล็กทีละ ถิ่นใต้เรยี กโดนท่งุ . บ น้อย. ผักขมเห้ียน [พัก-ขม-เห่ียน] น. ป ผอมกะหร่อง ว. ผอมมาก, ผอมโซ, ผกั ขมต้นเล็ก ๆ. ผ ผกั ขเ้ี ตา่ [พกั -ข-่ี เตา่ ] น. สาหรา่ ยหาง ฝ ผอมกะหร่องกอ่ ง ก็ว่า. กระรอก ; พืชชนิด Hydrilla พ ผอมกะหรอ่ งก่อง ดู ผอมกะหรอ่ ง. vertcillata (L.f.) Royal ในวงศ์ ฟ ผอมไผ่ ก. ผ่ายผอม, ผอมลง เช่น Hydrocharitaceae ไมม่ ลี ำ� ตน้ ภ ใบ และรากท่ีแท้จริง มีแต่ ม มารดาผอมไผย่ ากเยน็ เทา่ ไร จงึ่ ย ได้รอดมา (น.ิ กุศราช). ร ผอมเหน็ แตก่ า้ ง ว. ผอมจนเหน็ ซโ่ี ครง. ฤ ผอมเหมือนกุ้งแห้ง [ผอม-เหฺมือน- ล ว กุ้ง-แห่ง] ว. ผอมมาก, ผอม ศ เกง้ กา้ ง. ส ผะเหนิก [ผะ-เหฺนิก] น. คันนา, (ดู ห อ ขะเหนกิ ประกอบ). ฮ 194
พจนานุกรม ภาษาโคราช คลอโรพลาสต์ ขึ้นในน้�ำหรือ (มีผกั ). ก ทเี่ ฉอะแฉะ. ผกั แนม [พกั -แนม] น. ผกั เครอ่ื งเคยี ง ข ผกั ชฝี รั่ง [พกั -ช-ี ฟะ-หลง่ั ] น. ยี่หร่า. ค ผักชีลาว [พัก-ชี-ลาว] น. เทียนตา เพอื่ ประกอบกบั อาหารบางชนดิ ฆ ต๊ักแตน ; ชื่อไม้ล้มลุกจาก เช่น พักแนมขนมจีน ได้แก่ ง ต่างประเทศชนิด Anethum ถั่วฝักยาว กระถิน ถ่ัวงอก จ Graveolens L. ในวงศ์ โหระพา หรอื สะระแหน่ เปน็ ตน้ . ฉ Umbelliferae นกั พฤกษศาสตร์ ผกั บวั [พัก-บัว] น. ขนมฝกั บวั . ช เ รี ย ก เ ที ย น ข ้ าว เ ป ลื อ ก ผักปลาบดง [พัก-ปาบ-ดง] น. ผัก ซ นักพฤกษศาสต์บางท่านเห็นว่า ปลาบช้าง ; ไม้ล้มลุกเล้ือย ฐ เปน็ ชอื่ เรยี กผลแกแ่ หง้ ของผกั ชี ในกลุ่มต้น “ปลาบ” ชนิด ฒ ลาว ใชเ้ ปน็ เครื่องเทศ. Floscapa scandens Lour. ใน ด ผักตวาดหมา [พัก-ตะ-หวาด-หมา] วงศ์ Commelinaceae. ลำ� ตน้ ต (ปรศิ ) น. ผักกระเฉด (เฉด = เป็นข้อปลอ้ ง ใบเดี่ยว รูปหอก ถ เสียงตวาดหรอื ไลห่ มา). ป ล า ย แ ห ล ม อ อ ก ส ลั บ ต า ม ท ผกั ตาโคง้ [พกั -ตา-โคง่ ] น. ผกั เบย้ี , ข้อต้น, หญ้าปลอ้ งขน ก็วา่ . ธ ผักเบ้ียใหญ่; ไม้ล้มลุกชนิด น Portulaca Oleracea L. ใน ผกั ปลาบดง บ วงศ์ Portulacaceae. ล�ำต้น ป เตี้ยใช้เปน็ ผักรบั ประทานได.้ ผกั โป่ง [พกั -โปง่ ] น. ผักตบชวา. ผ ผกั นกยงู [พกั -นก่ -ยงู ] น. ชอ่ื เฟนิ ชนดิ ฝ Helminthostachys eylani ผกั โปง่ พ ca Hook. F. ในวงศ์ ฟ Ophioglossaceae นัก ภ พฤกษศาสตร์เรียก ผักตีน ม กวาง, ถ่ินเหนือเรียก กูดชัง, ย ถิ่นใตเ้ รียก ตีนนกยูง. ร …ผกั ….นาง […พกั ….นาง] น. ผกั , พชื ฤ ท่ีใช้เปน็ อาหาร เชน่ มีพกั มนี าง ล ว ศ ส ห อ ฮ 195
ผกั ลมื ผวั - ผา่ แนว ผักลมื ผัว [พัก-ลืม-ผัว] น. ผกั ชนดิ ควายทส่ี มสกู่ นั โดยไมม่ กี ารสขู่ อ หนงึ่ ตน้ เลก็ สงู ประมาณ ๒ นิ้ว ภายหลงั เมอ่ื ฝา่ ยชายนำ� หญงิ มา ใบกลม ๆ เกิดตามทุ่งนาใชเ้ ป็น ขอขมาพอ่ แมฝ่ า่ ยหญงิ เรยี กวา่ ก อาหาร เล่ากันว่าเป็นผักท่ีมี มา “ทำ� ผหี รอื เสยี ผ”ี ดว้ ยการ ข ความเอร็ดอร่อยกินเพลินจน จั ด เ ค ร่ื อ ง ข อ ข ม า เ รี ย ก ว ่ า ค “เคร่ืองส�ำบด๊ั สำ� มา” และเงิน ฆ ลืมเกบ็ ไว้ใหผ้ วั . คา่ ปรบั เรยี กวา่ “คา่ เสยี ผหี รอื ง ผกั สายพลวง [พัก-สาย-พวง] น. ช่ือ คา่ ลา่ งหนา่ ลา่ งตา”. จ ผวั มชี เู้ มยี รเู้ มยี กร็ กั [ผวั -ม-ี ช-ู่ เมยี -ล-ู่ ฉ ไม้น�้ำชนิด Nymphoides เมยี -ก-็ ลกั่ ] (สำ� ) พอรวู้ า่ จะสญู ช hydrophyllum Ktze. ในวงศ์ เสียของมีค่าก็เร่ิมให้ความ ซ Menyanthaceae (Genti ส�ำคัญ ; เปรียบได้กับพอรู้ว่า ฐ anaceae). ผัวจะนอกใจ เมียรู้ตัวในข้อ ฒ ผกั ไห [พัก-ไห] น. มะระขน้ี ก. บกพร่องจงึ เอาอกเอาใจ. ด ผ่า ๑. ก. ผสม, เจือปน. ต ผักอะไรกินไม่ได้ [พกั -อะ-ไล-กนิ -ไม-่ ๒. ก. ลัด, ตดั , ผ่าน เชน่ เดนิ ถ ได]้ (ปรศิ ) น. ผกั กะตู (ประตู ผ่าทง่ (เดนิ ลัดหรอื ตัดทงุ่ ). ท เรอื น), (ดู ผักกะตู ประกอบ). ผ้า [ผ่า] น. สิ่งท่ีท�ำด้วยเยื่อใย เช่น ธ ฝ้าย, ไหม โดยวิธที อหรืออัดให้ น ผักฮงหาย [พัก-ฮง-หาย] น. ช่ือไม้ เปน็ ผนื . บ ล้มลุกชนิด Crotalaria ผา้ กะเต่ียว [ผา่ -กะ-เตยี่ ว] ดู ป chinensis Linn. ในวงศ์ ผ้าขมี่ ้า. ผ ผา้ กาควาย [ผ่า-กา-ควย] น. ฝ Leguminosae, ถนิ่ ลำ� ปางเรยี ก ผ้าชนิดหน่ึงสีคล้ายผ้าม่อฮ่อม พ มะห่งิ แพะ. ใหม่ ๆ ผ้าจะแข็ง. ฟ ผดั ดนิ [พดั -ดนิ ] น. การชว่ ยหมนุ แปน้ ผ้าไกร [ผ่า-ไก] น. ผ้าไตร. ภ เคร่ืองปั้นดินเผา, (ดู พะมอน ผ้าขะม้า [ผ่า-คะ-ม่า] น. ม ประกอบ). ผ้าขาวมา้ . ย ผ้ัดแต่ ว. ตง้ั แต่ เช่น ผ้ดั แต่ใหญม่ า, ผ้าขม่ี ้า [ผา่ -ข-่ี ม่า] (ปาก) น. ร ผั้ ด แ ต ่ ไ ด ้ เ มี ย เ ล ย ไ ม ่ เ ที่ ย ว ฤ ล ว (ต้งั แต่ได้เมยี เลยไม่เทยี่ วเตร)่ . ศ ผวั ควายเมยี ควาย [ผวั -ควย-เมยี -ควย] ส ห (สำ� ) หญงิ ทหี่ นตี ามชายไปอยกู่ นิ อ ฉันสามีภรรยาเปรียบได้กับวัว ฮ 196
พจนานุกรม ภาษาโคราช ผา้ มว้ นยาวพอประมาณ สำ� หรบั ผา้ หางกระรอก [ผา่ -หาง-กะ- คาดซบั ประจำ� เดอื น, ผา้ กะเตยี่ ว ลอก] น. ผา้ ไหมพืน้ เส้นพุง่ เปน็ กว็ า่ . เส้นไหมควบทอมลี ายในเนือ้ ผ้า ผ้าจ�ำน�ำพรรษา [ผา่ -จำ� -นำ� - เป็นเส้นฝอยฟูเหมือนขนหาง ก กระรอก. ข พนั -สา] น. ผา้ อาบนำ�้ , ผา้ ทพี่ ระ ค ภิกษุสามเณรใช้ผลัดอาบน้�ำ, ผ้าโหล [ผา่ -โหฺล] น. เส้ือผา้ ที่ ฆ ผา้ อาบนำ้� ฝน ก็ว่า. ตดั เยบ็ ส�ำเร็จรปู เปน็ โหล. ง ผ้าจูงหาง [ผ่า-จูง-หาง] น. ผา้ ไหมลกู ลาย [ผา่ -ไหม-ลูก- จ ฉ ผา้ โจงกระเบน. ลาย] น. ผ้าม่วงหางกระรอก. ช ผ้าดา้ ยดบิ [ผา่ -ดา้ ย-ด๊บิ ] น. ผา้ ไหว้ [ผา่ -หวา่ ย] น. ผา้ เชน่ ซ ผา้ ดบิ . ผ้าไหม ท่ีฝ่ายหญิงน�ำมา ฐ ผ้าตุ้ม [ผ่า-ตุ้ม] น. ผ้าท่ี กราบไหว้พ่อแม่ฝ่ายชายในวัน ฒ ด ปกคลุมท่ีหน้าอกเด็กเล็กให้ แตง่ งาน. ต อบอนุ่ , (ดู ตมุ้ ประกอบ). ผ้าอาบน�้ำฝน [ผ่า-อาบ- ถ ผ้าน้อย [ผ่า-น่อย] น. นา่ ม-ฝน] ดู ผ้าจำ� น�ำพรรษา. ท ธ ผ้าเชด็ หน้า. ผา้ อโี ป้ [ผา่ -อ-ี โป้] ดู ผา้ โป้. น ผ้านุ่ง [ผ่า-นุ่ง] น. ผ้าถุง, ผาดเผนิ ว. ผวิ เผนิ , ไมล่ กึ ซึง้ เช่น แล บ ผ้าหางกระรอก. ป แต่เพียงผาดเผนิ เห็นไทยโพก ผ ผา้ ปอ้ [ผา่ -ปอ้ ] น. ผา้ เชด็ หนา้ . ศรี ษะหม่ ผา้ ตะแบงมาน กเ็ ขา้ ใจ ฝ ผ้าโป้ [ผา่ -โป]้ น. ผา้ หม่ ชนิด ว่าเป็นพลผู้ชายล้วนฉกรรจ์ พ หน่ึง, ผา่ อโี ป,้ ผา่ ห่มมดั กว็ ่า. (ท้าว ฯ). ฟ ผา้ ผวย [ผา่ -ผวย] น. ผา้ ขนหนู ผ่าด้าม ดู ยางมอกใหญ.่ ภ ผนื เลก็ ๆ ใชห้ ่มหรือพันคอ. ผ่าตับ [ผ่า-ตั๊บ] น. ชื่อไม้พุ่มยืนต้น ม ผ้าผ่อนท่อนสไบ [ผ่า-ผ่อน- ชนดิ Randia nutans A. DC. ย ท่อน-สะ-ไบ] น. เสื้อผ้า ในวงศ์ Rubiaceae. นัก ร ฤ ล ห่มด้วยสไบ. พฤกษศาสตรเ์ รยี ก ระเวยี งสอ. ว ผ้าหม่ [ผ่า-ห่ม] น. ผา้ ขาวมา้ . ผา่ แนว ว. ผ่าเหล่า, มีความประพฤติ ศ ผ้าห่มมัด [ผ่า-ห่ม-มั่ด] ดู ส ผิดไปจากเทือกเถาเหล่ากอ, ห ผ้าโป้. ผ่าเหล่าผา่ แนว ก็วา่ . อ ฮ 197
ผาม - ผ้หู ญงิ อิงเรือ ผาม น. โรงที่ใชท้ ำ� พธิ กี รรม มีเสา ๔ ทำ� อะไร ๆ กป็ ระสบความสำ� เรจ็ ตน้ หลงั คามงุ ดว้ ยกา้ นมะพรา้ ว เป็นเพราะผี, ส่ิงศักดิ์สิทธิ์, ต ก แ ต ่ ง ใ ห ้ เ ป ็ น เ ห มื อ น ป ่ า ฟ้าหรือสวรรค์ประทานมาให้, ก หมิ พานตใ์ นเรอื่ งมหาเวสสนั ดร ผีแจกนาให้ทำ� กว็ า่ . ข ชาดก, (ดู ลงข่วงร�ำผีฟ่า ผีแจกนาให้ท�ำ [ผี-แจก-นา-ไห่-ท�ำ] ค (ส�ำ) น. ดู ผแี จกทางหากิน. ฆ ประกอบ). ผีซุกผ้า [ผ-ี ซกุ่ -ผ่า] น. การเล่นอยา่ ง ง ผ่าเหลา่ ผ่าแนว ดู ผา่ แนว. หนงึ่ เหมอื นมอญซอ่ นผา้ ผเู้ ลน่ จ ผิดกนั [พิด-กนั ] ว. หมางใจกัน, ผิดใจ นง่ั เปน็ วงกลมหนั หนา้ เขา้ หากนั ฉ ให้คนหน่ึงเป็น “ผี” เดินวน ช กนั , ไม่ถูกกัน. รอบ ๆ ไปมานอกวง คนใด ซ ผิน ก. หนั หนา้ เช่น ผินพระพักตรต์ รัส เผลอกจ็ ะเอาผา้ มว้ นกลม ๆ วาง ฐ ไวข้ า้ งหลงั (ขณะเลน่ หา้ มคนนง่ั ฒ สั่งมเหสี (สุภมิต ฯ). ท่เี หน็ พดู หรอื มองข้างหลังตน) ด ผกี องกอย น. การเลน่ อย่างหนึง่ ในคนื เมอ่ื ผเี ดนิ วนมาทเ่ี ดมิ กจ็ ะเอาผา้ ต เดอื นมดื โดยจดุ เทยี นไวบ้ นกอง ตีหลังคนน้ัน ๒ - ๓ ที แลว้ ไป ถ ทราย แลว้ ทกุ คนไปซอ่ นหา้ มสง่ ซุกคนอ่ืนต่อไป ถ้าคนนั่งจับได้ ท เสียงดังเชื่อว่าผีกองกอยจะมา วา่ ถูกวางผา้ คน ๆ นัน้ จะไปเปน็ ธ ผีแทน. น เล่นไฟ พอเทียนดบั กจ็ ะมาดูวา่ ผีตกป่าช้า [ผี-ต๊ก-ป่า-ช่า] (ส�ำ) น. บ มรี อยเทา้ เลก็ ๆ ของผกี องกอย ผีถึงป่าช้า, จ�ำใจท�ำเพราะไม่มี ป บนทรายรอบเทียนหรือไม.่ ทางเลือก, อยใู่ นภาวะจำ� ยอม. ผ ผีบ้านผีเรือน น. ผีประจ�ำบ้านหรือ ฝ ผีกะพุ่งใต้ น. ผพี งุ่ ใต.้ เรอื น. พ ผีกนิ แรงตาย คนกนิ แรงไมต่ าย (ส�ำ) ผีปัด [ผ-ี ปด๊ั ] ก. อุบัติเหตุที่เกิดจาก ฟ มือซึ่งเชื่อว่าเกิดจากผีปัดมือ ภ ให้อดทนเมื่อถูกเอารัดเอา ท�ำให้เกิดเหตุอย่างใดอย่าง ม เปรียบ; ถูกคนกินแรงหรือถูก หนึ่ง เช่น สิ่งของหลุดหล่นจาก ย คนเอาเปรียบย่อมไม่ตาย ไม่ มือ เชื่อว่าเกิดจากผีปัดให้ ร เหมอื นกบั ผปี อบกนิ ตบั ไตไสพ้ งุ ฤ แล้วตาย. ล ว ผีแจกทางหากนิ (ส�ำ) น. ฟ้าประทาน ศ ใหแ้ ตล่ ะคนมคี วามสามารถหรอื ส เก่งกันคนละทาง; ท�ำนองว่า ห อ ทางใครทางมัน, เชื่อกันว่าผู้ที่ ฮ 198
พจนานุกรม ภาษาโคราช หลุดมือ. ว่า ผกู เส่ียว. ก ผีเป้า น. ผีพรายชนิดหนึ่งอยู่ตามป่า ผูกข้อต่อมือ [ผูก-ข่อ-ต่อ-มือ] ดู ข ค สามารถแปลงรา่ งปรากฏตวั ให้ ผูกมอื ถอื แขน. ฆ เห็นในชวั่ พรบิ ตา. ผูกเพ่ือน ดู ผูกเกลอ. ง ผโี ป่ง น. ภูตผีท่ีเฝ้าดินโป่ง มักจะ ผูกมือถือแขน ก. สู่ขอหญิงเพื่อการ จ ปรากฏตัวชัว่ พริบตา ฉ ผีผลัก [ผี-พัก] ก. ผีผลักให้เกิดเหตุ สมรสด้วยการน�ำสินสอดทอง ช อย่างใดอย่างหนงึ่ เช่น อยู่ดี ๆ หม้ันผูกข้อมือ, ผูกข้อต่อมือ ซ กล็ ม้ , การท่มี ดี บาดมือเชือ่ ว่า ก็ว่า. ฐ เกิดจากการกระท�ำของผีผลัก ผู้ดีเดินกรอก ขคี้ รอกเดินถะลา [ผู่- ฒ มีดใหบ้ าดมือ. ด-ี เดนิ -กอก-ข-ี่ คอก-เดนิ -ทะ- ด ผีโพลง [ผี-โพง] น. ผีประเภทหนึ่งท่ี ลา] (ส�ำ) น. การพลกิ ผันฐานะ ต ปรากฏตัวเปน็ ดวงไฟลุกโพลง. อย่างกลับตาลปัตรไปในทางท่ี ถ ผีไม่ฆ่าม้าไม่เหยียบ [ผี-ไม่-ข่า-ม่า- เลวร้าย, ความเปลี่ยนแปลงที่ ท ไม่- เหยฺ ยี บ] (สำ� ) น. คนดผี คี มุ้ , เปน็ ไปในทางตรงกนั ขา้ ม; ในอกี ธ คนดพี ระยอ่ มคมุ้ ครอง, คนทำ� ดี ความหมายหนึ่ง คือผู้ดีตกอับ น ยอ่ มแคลว้ คลาดจากภยนั ตราย. ข้คี รอกได้ดี. บ ผีเรือนให้ท่าผีป่าก็พลอย [ผี-เลือน- ผดู้ ีตนี แดงตะแคงตีนเดนิ [ผ-ู่ ด-ี ตีน- ป ไห-่ ทา่ -ผ-ี ปา่ -ก-็ พอย] (สำ� ) น. แดง-ตะ-แคง-ตนี -เดนิ ] น. คำ� ผ คนในบา้ นเปน็ ใจชว่ ยใหค้ นนอก ประชดวา่ ดัดจริตทำ� เป็นผู้ดี. ฝ บ้านเขา้ มาทำ� ความเสียหาย. ผู้ดนี ุง่ ผ้าดอก บา้ นนอกนุ่งผ้าพ้นื [ผู่- พ ผเี หยียบ ก. ผอี �ำ, อาการไหวตัวไมไ่ ด้ ดี-นุ่ง-ผ่า-ดอก-บ้าน-นอก- ฟ ในขณะนอนเพราะฝันร้าย นงุ่ -ผ่า-พน่ื ] (ส�ำ) ก. บ่งบอก ภ เหนื่อยหอบหายใจไม่ออกจน ถึงฐานะว่าผู้ดีสูงศักดิ์นุ่งผ้าทอ ม ตื่นข้ึน. ช้ันดีมีดอกลวดลาย แต่ชาว ย ผกู เกลอ [ผูก-เกอ] น. การรว่ มดมื่ น้�ำ บา้ นแตง่ กายน่งุ ผ้าทอพน้ื บา้ น. ร สาบานว่าจะเป็นเพ่ือนตาย ใช้ ผดู้ แี ปกสแี หรก [ผ-ู่ ด-ี แปก-ส-ี แหลฺ ก] ฤ ส�ำหรับผู้ชาย ถ้าเป็นผู้หญิง น. คำ� ประชดวา่ วางทา่ อยา่ งผดู้ ี ล เรียกวา่ ผกู เพื่อน, ถิน่ อีสานใช้ หรอื ดดั จรติ ท�ำตวั เป็นผดู้ ี. ว ผู้หญงิ อิงเรอื [ผู่-หยิง-องิ -เลอื ] (ส�ำ) ศ ส ห อ ฮ 199
เผลอแผลบ็ เดยี ว - ฝาปรือกรุ๊เซงด�ำ น. ผหู้ ญงิ ยงิ เรอื , ผหู้ ญงิ รงิ เรอื , ผู้หญิงทว่ั ไป. เผลอแผล็บเดยี ว [เผอ-แพ็บ-เดียว] ก ก. ลืมไปช่วั ประเดย๋ี วเดียว เชน่ ข เผลอแพล็บเดียว ๓ ปีแล่ว ค ฆ (เผลอลมื ไปประเดย๋ี วเดยี วผา่ น โผงผาง ง ไป ๓ ปีแล้ว). จ เผานา น. ภาษีบ�ำรุงทอ้ งท.ี่ โผงผาง น. ช่ือไม้พุ่มเตี้ยในกลุ่มต้น ฉ ขดั มอน, หญา้ ขดั ชนดิ Abutilon ช เผาผี ก. เผาศพ เชน่ ไปเผาผี (ไปงาน indicum (L.) ในวงศ์ ซ เผาศพ). Malvaceae ล�ำต้นจะมีขน ฐ สี ข า ว น ว ล ท้ั ง ต ้ น ใ บ ม น ฒ เผาพรกิ เผาเกลอื [เผา-พก่ิ -เผา-เกอื ] ปลายแหลม ดอกเหลือง ด (สำ� ) ก. เปน็ การสาปแช่งอยา่ ง ใช้ท�ำยาบ�ำรุงเลือดและขับลม ต หนึ่ง ด้วยการคั่วพริกคั่วเกลือ นั ก พ ฤ ก ษ ศ า ส ต ร ์ เ รี ย ก ถ แลว้ กส็ าปแชง่ ในขณะทค่ี วั่ เชอื่ ครอบจักรวาล, ครอบตลับ. ท กันว่าจะบังเกดิ ผลตามท่ีแชง่ . ธ ไผ น. ไฝ. น เผิ่ง ก. แห้ง, ผึง่ , แหง้ ผาก, แห้งสนทิ ไผน่ ้องหนง่ึ [ไผ-่ นอ่ ง-หน่งึ ] น. ไผท่ ี่ บ เชน่ แห่งเผง่ิ (แหง้ ผาก). ป มีอายปุ ระมาณ ๑ ปี ซึ่งนวลไผ่ ผ แผ่ ก. เรยี่ ไร, ขอรบั บริจาค, บอกบุญ, จะหมดไปเป็นผิวสีเขียวเขม้ . ฝ แผส่ ลาก ก็ว่า. พ แผ่สลาก ดู แผ่. ฟ แผลเหอ่ น. แผลอักเสบ. ภ ม ย ร ฤ ล ว ศ ส ห อ ฮ 200
ฝพจนานุกรม ภาษาโคราช ก ฝนขาดเม็ด [ฝน-ขาด-เมด่ ] ว. ฝน ๒. น. ฉลาก, คำ� อธิบายวิธีใช้ ข หยุดตก. เชน่ ฝอยยา (ฉลากยา). ค ฆ ฝนตกชะ [ฝน-ต๊ก-ช่ะ] ก. ฝนตกจน ฝอยฝน น. ละอองฝน เช่น พระชลนยั ง เปยี กโชก, ฝนตกใสจ่ นไหลอาบ ไหลเช็ดดังฝอยฝน (นิ.พระ จ ไปท่ัว, ฝนตกท�ำให้สิ่งที่ติดอยู่ ปาจิต). ฉ หลดุ ไปหรือหมดไป. ช ฝอยไหม น. ฝอยทอง; พืชลม้ ลุกไม่มี ซ ฝนตกแดดออก นกกระจอกเข้ารัง ใบ ต้นเป็นเสน้ เล็ก ๆ สเี หลอื ง ฐ [ฝน-ต๊ก-แดด-ออก-น่ก-กะ- ออกสีทอง. ฒ จอก-เขา่ -ลัง] น. เพลงกอ้ มให้ ด เด็กที่ร้องงอแงสนุกสนาน, ฝากก [ฝา-ก๊ก] น. ฝาท่ีใช้ต้นกก ต (เพลงก้อม). กรุขัดทำ� เป็นฝา. ถ ท ฝนมดี ก. ลับมดี . ฝากก ธ ฝนระเหย [ฝน-ละ่ -เหย] ก. หมดฝน, น ฝาขัดเซงด�ำ [ฝา-คัด-เซง-ด�ำ] น. บ สิน้ ฝน. ฝาเรอื นทีข่ ัดแตะสานด้วยไมไ้ ผ่ ป ฝนลงเมด็ [ฝน-ลง-เมด่ ] ก. ฝนเรมิ่ ตก. มีสีด�ำสลับเป็นลายทาด้วย ผ ฝนล่า [ฝน-หล่า] ว. ฝนมาล่าช้า. นำ�้ มนั ยาง, (ดู เซงดำ� ประกอบ). ฝ ฝนลา่ ฟ้าแรง [ฝน-หฺล่า-ฟา่ -แลง] ว. พ ฝาปรอื กรเุ๊ ซงดำ� [ฝา-ปอื -ก-ุ๊ เซง-ดำ� ] ฟ ฝนมาล่าช้ากว่าฤดูกาลและ น. ฝาเรอื นทท่ี ำ� ดว้ ยตน้ ปรอื ซงึ่ ภ ตกแรง. เป็นกกชนิดหนึ่ง โดยใช้เซงด�ำ ม ฝนสั่ง น. ฝนสัง่ ฟา้ , ฝนที่ตกหนักตอน เป็นตัวหนีบใบปรือให้แน่นท้ัง ย ปลายฤดฝู น. ร ฝ่อ ๆ ดู ฝู ๆ. ฤ ฝอดฝอย ว. ระแคะระคาย, เคา้ เงอื่ น ล นิด ๆ หน่อย ๆ แต่ยังยืนยัน ว ไม่ได.้ ศ ฝอย ๑. ว. โม,้ โว, พดู เกินความจรงิ . ส ห อ ฮ 201
ฝา่ ม - พรวนทาม ดา้ นนอกและดา้ นใน, (ดู เซงดำ� ฝีหัวเดือน น. ฝีตะมอย, ฝีชนดิ หน่ึงข้ึน ประกอบ). ตามน้ิวมอื . ก ฝุ่น น. ปุ๋ยคอก, ปุ๋ยที่ได้จากมูลสัตว์ ข แหง้ เปน็ ผง. ค ฆ ฝนุ่ กลบ [ฝุ่น-กบ๊ ] ว. ฝ่นุ ตลบ, ฝุ่นฟุ้ง. ง ฝู ๆ ว. เสยี งกรนในล�ำคอ เชน่ เสยี ง จ ฉ กรนอยู่ฝูฝู พระโฉมตรูแล้วนิ่ง ช ไป (นิ.กุศราช), ฝ่อ ๆ กว็ า่ เชน่ ซ ฝาปรือกรุเ๊ ซงด�ำ เหื่อย้อยลงหลามไหล เสียง หายใจอยู่ฝ่อฝ่อ (น.ิ รูปทอง). ฐ ฝ่าม ก. ฝ่อ, ทำ� ให้มีรสชาตจิ ืด (ใช้แก่ เฝอฝ่นุ น. ฝ่นุ เชน่ เป็นเฝอฝนุ่ ตรอง ฒ เห็นไมเ่ ป็นผล (สภุ มติ ฯ). ด ผลไม้) เชน่ ออ้ ยฝ่าม (อ้อยฝ่อ เฝ้าผีเฝ้าไข้ [เฝ่า-ผี-เฝ่า-ไข่] ก. ต จดื ไมห่ วาน). คอยดูแลปรนนิบัติ, พยาบาล ถ ฝนิ่ น. กระโดงแดง ; ไมต้ ้นขนาดเลก็ ผู้เจ็บป่วย. ท แฝงเฝอื ง ก. แฝง, แอบแฝง, ซอ่ นเรน้ ธ ถึงกลาง ชนิด Chionanthus เช่น พระเห็นเหตุแจ่มแจ้งไม่ น micostigma (Gagnep.) แฝงเฝอื ง (น.ิ พระปาจิต). บ Kiew ในวงศ์ Oleaceae ป ถิ่นราชบรุ เี รยี ก ฝ่นิ ตน้ . ผ พฝ ฟ ภ ม ย ร ฤ ล ว ศ ส ห อ ฮ 202
พง น. แขม, ไม้ลม้ ลกุ ประเภทหญ้า พพจนานุกรม ภาษาโคราช ก ดอกใช้ทำ� ไม้กวาด. ในวงศ์ Lauraceae ใบรูปหอก ข ปลายเรียวแหลม ดอกเล็กสี ค พญาใต้ราก น. ช่ือไม้ต้นสูงทรงพุ่ม เหลืองอ่อนเป็นช่อ กลิ่นหอม ฆ ชนิด Podocarpus nerri ผลรูปไข่เป็นพวง เกิดตาม ง folius D. Don ในวงศ์ ป่าดงดิบ ใช้ท�ำยาและปรุง จ Podocarpaceae ใบเด่ียว น�ำ้ หอม, สรุ ามริด ก็ว่า. ฉ ดอกแยกเพศ ดอกเพศผู้สี พญามาร น. ผหี ลวงหลาวเหลก็ ทหี่ มอ ช เหลืองอ่อนเป็นช่อคล้ายหาง เพลงโคราชเชอื่ วา่ จะดลบนั ดาล ซ กระรอก ดอกเพศเมยี เปน็ ดอก ให้การว่าเพลงติดขัด ไม่เกิด ฐ เด่ียวออกตามง่ามใบผลรูปไข่ ปัญญาหรือปฏิภาณท�ำให้ด้น ฒ ใช้ท�ำอุปกรณ์ตกแต่งภายใน กลอนเพลงไม่ออก เช่น ขอ ด นกั พฤกษศาสตรเ์ รยี ก พญาไม,้ ยกย่องสัพพัญญูท่ีได้ปราบหมู่ ต ขนุ ไม้ ก็วา่ . ดอกนาครูนาพญามาร (เพลง ถ โคราช). ท พญาปราบ พยพ [พะ-ย่บ] ก. อพยพ เช่น ธ ต่างพยพพากันเข้าแห่โหม น พญาปราบ น. อบเชย ; ชื่อไมต้ น้ ชนิด (น.ิ พระปาจติ ). บ Cinnamomum iners Blume. พยุหยัดตรา [พะ-ยุ-ฮะ-ยัด-ตา] น. ป พยุหยาตรา, กระบวนทัพใหญ่ ผ เช่น ตั้งพยุหยัดตรา ยกพล ฝ โยธาไปเมอื งสากล (น.ิ กศุ ราช). พ พรมเจยี ม น. พรมทท่ี ำ� จากขนสตั วช์ นดิ ฟ หนึง่ ในจ�ำพวกกวาง เช่น พรม ภ เจียมหาปูไว้ขอเชิญท่านน่ัง ม เถิดรา (นิ.รูปทอง). ย พรวนทาม [พวน-ทาม] น. พรวนที่ผกู ร ฤ ล ว ศ ส ห อ ฮ 203
พระคลุมบาตร - พ่อกวอ่ ก คอสตั ว์ เชน่ วัว, ควาย; บาง พระทองคำ� [พะ่ -ทอง-คำ� ] น. ชอื่ อำ� เภอ คร้ังผูกคอม้าเพ่ือใช้ในการเล่น หนึ่งในจังหวัดนครราชสีมา “ม้าล่อช้าง”. ตั้งอยู่ท่ีบ้านปะค�ำและต�ำบล ก พระคลมุ บาตร [พะ่ -คมุ -บาด] น. พระ สระพระ จงึ นำ� คำ� ทา้ ยของบา้ น ข ประคำ� และตำ� บลสระพระมาตงั้ ค ออกบิณฑบาต ในลักษณะห่ม เปน็ ชอ่ื แตเ่ พมิ่ คำ� วา่ “ทอง” เพอื่ ฆ จีวรคลุมบาตร; โดยปริยาย เปน็ อนสุ รณแ์ ดพ่ ระยาปลดั ทองคำ� ง หมายถึงเวลาเชา้ ตรู่, ถ่ินอสี าน สามขี องทา่ นทา้ วสรุ นาร.ี จ ใช้วา่ คุมบาตร. ฉ พระพาย น. ลม เชน่ พระพายพดั เยน็ ใจ ช นอนหลับไปท้ังสองรา (นิ.รูป ซ ทอง), อีกท้ังพระพายชายพัด ฐ รำ� เพยพา (สุภมิต ฯ). ฒ ด พระภุย น. ลม เช่น อีกพระพายท้ัง ต พระภุยร�ำเพยมา คุณรักษา ถ ดบั เขญ็ ไดเ้ ยน็ ยนิ (น.ิ พระปาจติ ). ท ธ พระภมู นิ า [พ่ะ-พมู -นา] น. รา้ นทที่ ำ� น ด้วยไม้ไผ่เหมือนศาลเพียงตา บ สรา้ งไวท้ ที่ น่ี า; การบวงสรวงจะ ป น�ำดินจากนาปั้นเป็นจอมปลวก ผ เล็ก ๆ พรอ้ มดว้ ยเครือ่ งสังเวย ฝ พระภมู เิ จา้ ทน่ี า แลว้ อธษิ ฐานให้ พ คุ้มครองที่นา มักท�ำในวันแรก ฟ พระคลุมบาตร ของการท�ำนา. ภ พระเจา้ เหา [พะ่ -เจ้า-เหา] (ปาก) ว. พรากลูกนกฉกลูกกา [พาก-ลูก-นก่ - ม ชก-ลูก-กา] (ส�ำ) ก. ท�ำให้แม่ ย เก่าแก่,โบราณ เช่น รถคันน่นั ลูกพรากกัน ตรงกับส�ำนวน ร สมยั พระเจ้าเหา (รถคนั นั้นเกา่ “พรากลูกนกลกู กา” เช่น เปน็ ฤ แกส่ มยั โบราณ). ย้อนพรากลูกนก เป็นย้อนฉก ล ลกู กา กรรมยงั ตามมา (น.ิ เพลง ว พระทอง [พ่ะ-ทอง] น. พระประธาน ศ หรือพระพุทธรูปองค์ใหญ่ท่ี ส ประดิษฐานอยู่ในโบสถ์หรือ ห อ วิหาร. ฮ 204
พจนานุกรม ภาษาโคราช ศภุ มิตร ฯ). เสรจ็ จดั (น.ิ พระปาจติ ). ก พรายสะเรียง [พาย-ซะ-เลียง] ดู พลด่ั ๆ [พัด่ -พด่ั ] ดู ปด๊ั ๆ ท่ี ๒. ข พลาบ ว. ระยบิ , ระยบั , วาววบั , เลอ่ื ม ค สะเมา่ ใหญ่. ฆ เชน่ นำ่� เหลอ่ื มพลาบ ๆ (นำ�้ เลอื่ ม ง พรายสะเรียง ระยบิ ระยบั ), อนั ขาวพลาบวาบ จ เปน็ เงาใส (น.ิ พระปาจติ ). ฉ พรกิ ตกละโลก [พ่กิ -ต๊ก-ล่ะ-โลก] น. พลกิ ฟน้ื [พก่ิ -ฟน่ื ] ก. พลกิ หรอื ฟน้ื พนื้ ช ต้นพริกยืนต้นตายเนื่องจากถกู ดินกลบั ขึน้ มา. ซ น้�ำท่วม. พลึบ [พลึ่บ] ก. ลุกทันทีอย่าง ฐ รวดเร็ว, ลุกฮือ (ใช้แก่ไฟ) ฒ พริกบ้านเหนือเกลือบ้านใต้ [พิ่ก- เช่น ไฟลุ่กพล่ึบ. ด บ้าน-เหฺนือ-เกือ-บ้าน-ไต้] พลูหีบ น. เครือออน, ไม้เถาเลื้อย ต (ส�ำ) น�ำส่ิงของที่ใช้ประกอบ เน้ือแขง็ ใบเดย่ี ว ดอกเป็นชอ่ , ถ อาหารมาช่วยงานบุญ เช่น ล่วงสมุ่ สาว, ลว่ งสุ่มตัวผู้ กว็ ่า. ท ข้าวสาร พริก ผัก น้�ำปลา พวงบุหร่ี น. บุหร่ีพระราม, ไม้เถา ธ เป็นตน้ . ชนิดหนึ่งมีมือกาะ ดอกเป็นช่อ น ออกตามง่ามใบ ผลเรียวยาว บ พริกผง [พ่กิ -ผง] น. พริกปน่ . คล้ายกระบอกกลมเวลาแก่ ป พรกิ ม่า [พิ่ก-ม่า] น. ผักแพว; พชื ผัก ผลจะแตกที่ปลายเป็น ๓ ช่อง ผ เมล็ดสีด�ำ. ฝ ล้มลุกชนิดหน่ึงใบเล็กรูปหอก พวงหูตุ้ม น. ช่ือไม้พุ่มชนิด Ardisia พ ปลายเรียวแหลม มีรสเผ็ด pilosa Fletch. ในวงศ์ ฟ รบั ประทานได.้ Myrsinaceae. ภ พรกุ นี้ [พกุ่ -น่]ี ว. พรุ่งนี้ เชน่ พรกุ น้ี พวม ดู ก�ำพวม. ม จะมา เจ้าอย่าร้อนใจ (นิ.รูป พ่อกวอ่ ก ๑. ว. มอมแมม, เปือ้ น. ย ทอง), วันพรุกนี้ตีสิบเอ็ดเรา ๒. ว. ขาวเหมือนพอกหรือโปะ ร แปง้ (ใช้แกห่ นา้ ) เช่น หน่าขาว ฤ พ่อกวอ่ ก (หนา้ ขาวเพราะพอก ล แป้งเตม็ หนา้ ). ว ศ ส ห อ ฮ 205
พอแกน ๆ - พดิ ษิ ฐ์ พอแกน ๆ [พอ-แกน-แกน] ว. ไป พอยา ว. เพียงพอ เช่น เงินแค่นี่จะ อยา่ งนนั้ , จำ� ใจทำ� อยา่ งเสยี มไิ ด้ พอยาอะไร. เช่น กินพอแกน ๆ (กินไปอยา่ ง ก นัน้ แหละ, กินพอเปน็ พธิ ี). พอ่ รกั [พ่อ-ร่กั ] น. พอ่ ของเพ่ือน. ข พอ่ ง ก. หมด, ลดลง. พอเรานอนมันตน่ื พอเราตืน่ มนั นอน ค ฆ พอจ�ำบม่ ว. จ�ำบ่ม, นำ� ผลไมท้ ่ียงั แก่ (ปริศ) น. พระจันทร์. ง ไม่ได้ทม่ี าบ่มให้สุก. พอแรง ว. พอควร, พอใจ, เพยี งพอ, จ ฉ พอฉนั เกดิ แมฉ่ นั ตาย (ปรศิ ) น. ตน้ กลว้ ย. เตม็ อ่มิ เชน่ แอบขโมยเอาจน ช พ่อดวง โดยปริยายใช้เป็นค�ำเปรียบ พอแรงแลว่ (แอบขโมยเอาจน ซ เทียบมีความหมาย เช่น เต็มที่หรือพอใจแล้ว), กินก็ ฐ พอ่ ทนู หวั . พอแรงแล่วยังเอากล๊ับบ้านอิ๊ก ฒ (กินก็เพียงพอแล้วยังเอากลับ ด พอ่ เฒา่ [พอ่ -เถา่ ] น. พอ่ ตา, ตาทวด, ไปบา้ นอีกหรือ). ต พอ่ ของตา. พอ่ วอ่ ก. โผลม่ า, ต�ำตา, ปรากฏทนั ท.ี ถ พ่อเฒ่าแม่เฒ่า [พ่อ-เถ่า-แม่-เถ่า] แพแ่ ว่ กว็ า่ . ท พอสมมาพาควร ว. พอเหมาะพอดี, ธ น. พอ่ ตาแมย่ าย. พอเหมาะพอควร, พอสัมมา น พอปาน [พอ-ปน่ั ] ว. ปาน, เหมอื น, พาควร ก็วา่ . บ คลา้ ย, ราว เชน่ พอปน่ั กนั (ปาน พอสมั มาพาควร ดู พอสมมาพาควร. ป กนั ), พอปน่ั ลกู (ปานกบั ลกู ). พอ่ ใหญ่ น. ตา (พอ่ ของแม)่ . ผ พ่อใหญแ่ ม่ใหญ่ น. ตายาย. พฝ พอ่ ปู่ น. พอ่ ของสามี. พอ่ อนี าง น. สาม,ี เปน็ คำ� ทภ่ี รรยาเรยี ก ฟ พอไปวดั ตอนเพล [พอ-ไป-วดั่ -ตอน- สามที ำ� นองวา่ พอ่ ของลูกสาว. ภ พ่อไอ้นาย น. สามี, เป็นค�ำที่ภรรยา ม เพน] ดู พอไปวัดตอนสาย ๆ. เรียกสามีท�ำนองว่าพ่อของ ย พอไปวัดตอนสาย ๆ [พอ-ไป-ว่ัด- ลกู ชาย. ร ตอน-สาย-สาย] ว. พอไปวัด พะ น. พื้นเรือนที่ต่อจากเรือนนอน ฤ ไปวา, สวยพอสมควร, ไม่ถึง หรือห้องนอนออกไปประมาณ ล กับน่าเกลียด, พอไปวัดตอน ๑ ช่วงเสา มีระดับเสมอพื้น ว เพล ก็ว่า. ระเบยี ง, (ดู เรอื นนอนและรา้ น ศ พอ่ มัน ดู พอ่ มงึ . ส พอ่ มึง น. สามี, เปน็ คำ� ท่ีภรรยาเรยี ก ห อ สามี, เพ่าะมงึ , พอ่ มัน กว็ ่า. ฮ 206
พจนานุกรม ภาษาโคราช สนั ตะเข้ ประกอบ). พกั นี้ [พั่ก-น]ี่ ว. หม่นู ี,้ ระยะนี้ เช่น ก พะนาด ก. เช่ือ, เซน็ ไวก้ ่อน. พ่ักนไี่ ม่เห็นมาเลย. ข พะเนนิ เทนิ ทกึ [พะ-เนนิ -เทนิ -ทก่ึ ] น. กอง ค พด่ั วา่ ว. กลบั หาว่า, กลบั ค�ำพูด, เป็น ฆ สงู มาก เชน่ กองพะเนนิ เทนิ ทก่ึ . หรือทำ� ตรงกันขา้ มกับทีค่ าด. ง พะมอน น. การขึน้ รปู เครือ่ งป้ันดนิ เผา จ พันมหา น. ดองดึง; ไม้เถาชนิด ฉ ด้วยการหมุนแป้น, แป้นหมุน Gloriosa superba L. ในวงศ์ ช ส�ำหรับปั้นเคร่ืองปั้นดินเผา, Golchicaceae และ Liliaceae ซ ทะมอน กว็ ่า. ปลายใบม้วน กลีบดอกจะบิด ฐ เป็นเส้นยาว ปลายดอกสีแดง ฒ พะมอน และโคนดอกสเี หลือง หวั มพี ษิ . ด ต พะยอพะแย ก. กระเสาะกระแสะ, พันยา ก. มวนยาสบู . ถ ออดแอดด้วยอาการป่วย, พับโผก ว. ตลบตะแลง, ปล้นิ ปลอ้ น, ท อาการเจบ็ ป่วยอยู่บอ่ ย ๆ. ธ พดู จากลบั กลอก. น พะยาสารท น. กระยาสารท, ข้าวเมา่ พั่ว น. ชอ่ , ข้ัว. บ สารท ก็ว่า. พา น. ส�ำหรับ, ภาชนะ เช่น ถาด, ป ผ พะเรอ่ พะรา่ ก. อาการทแ่ี บกหรอื หอบ กระด้ง เป็นต้น ใช้ส�ำหรับใส่ ฝ ของพะรงุ พะรงั . อาหาร, พาข้าว กว็ ่า. พ พาข้าว [พา-เขา่ ] ดู พา. ฟ พะลา ว. เวลา เช่น พะลาไปอยา่ ลมื พาก น. ทาก, หอยทาก. ภ เอามดี ไปดว้ ย. พาณิโช น. พาณิช, พ่อค้า เช่น ม พ า ณิ โ ช ว ่ า ยั ง มี พ ่ อ ค ้ า จ า ร ย พะโล ก. อาการโมโห, ดึงดันไม่ยอม (น.ิ พระปาจติ ) ร ใคร, หนุ หัน, ฉุนเฉยี ว, มุทะล,ุ พายซือ่ ก. พาซ่อื , เข้าใจตรง ๆ ตาม ฤ พาลพะโล, พาโล ก็ว่า. ที่เขาพดู , ภาษาซ่อื ก็วา่ . ล พาลพะโล ดู พะโล. ว พะหย่ิมพะย่อง ว. กระหยิ่มยิ้มย่อง, พาโล ดู พะโล. ศ คร้มึ ใจ. พกิ าศ ก. ประกาศ, เพกาศ กว็ ่า. ส พิจา่ ง ว. อย่างน้ันแหละ. ห พิดิษฐ์ [พิ-ด๊ิด] ก. ประดิษฐ์, อ ฮ 207
พิธาจารย์ - พูดกระแทกแดกดนั ประดิดประดอย. บันทึกว่าบริเวณเขตแดนนี้ พิธาจารย์ น. พฤฒาจารย์, อาจารย์ เรียกว่า “มูลเทศะ” มีเมือง ผู้สูงวัย. “ภมี ปรุ ะ” เปน็ เมอื งสำ� คญั เมอื ง ก พิธาพราหมณ์ น. พฤฒาพราหมณ์, หน่ึง ซ่ึงต่อมาก็คือวิมายะปุระ ข หรือเมอื งพิมาย. ค พราหมณ์ผสู้ ูงวยั . ๒. ในต�ำนานท้าวปาจิตนาง ฆ พธิ ีแรกนา น. การทำ� พธิ ีกอ่ นจะปักด�ำ, อรพมิ ตอนหนงึ่ กลา่ ววา่ ในพธิ ี ง ด�ำนา เพ่ือเอาฤกษ์เอาชัย ให้ อ ภิ เ ษ ก ส ม ร ส ร ะ ห ว ่ า ง ท ้ า ว จ เ ป ็ น สิ ริ ม ง ค ล ไ ด ้ ผ ล เ จ ริ ญ พ ร ห ม ทั ต กั บ น า ง อ ร พิ ม ฉ ท้าวปาจิตคนรักเก่าแอบเข้า ช งอกงาม ดว้ ยการกล่าวแรกนา ร่วมในพิธี พอนางอรพิมเห็น ซ ๓ จบ แลว้ ปักดำ� กลา้ ๗ ต้น. ได้ร้องเอ่ยว่า “พ่ีมา” ค�ำว่า ฐ พิพาส ก. ประพาส, ไปเทย่ี ว เชน่ วนั น้ี “พ่ี” คนพิมายออกเสียงเป็น ฒ “พ”ิ ค�ำว่า “มา” จะออกเสยี ง ด พิพาสป่าไปกับข้าเล่นส�ำราญ ยาว ต่อมาค�ำว่า “พ่ีมา” ได้ ต (น.ิ รปู ทอง). กลายเสียงเป็น “พิมาย” ถ พิมาย น. ชื่ออ�ำเภอหนึ่งในจังหวัด ดงั นทิ านคำ� กลอนเรอื่ งพระปาจติ ท กล่าวว่า “แม่นงคราญแลเห็น ธ นครราชสีมา คำ� วา่ “พิมาย” มี พระเชษฐา จึงร้องทักออก น ทมี่ าตามหลกั ฐานต่าง ๆ ดงั น ี้ ประจักษ์ว่าพ่ีมา ชาวพาราลือ บ ๑. หลักฐานในจารกึ ภาษาเขมร สะท้อนขจรเมือง แต่นั้นมาชาว ป บนแผ่นหินกรอบประตูระเบียง พาราพากนั เรียก น�ำสำ� เหนียก ผ ลือเล่าเป็นราวเร่ือง ให้นาม ฝ คดด้านหน้าของปราสาทหิน เมืองชื่อว่าพี่มาเมือง ทุกคน พ พิมายมคี ำ� ว่า “วิมาย” ปรากฏ เนื่องเรียกเป็นเร่ืองเมืองพิมาย ฟ อยู่ และในจารึกปราสาท ที่เกิดใหญ่ชายหญิงไม่รู้เร่ือง ภ พระขรรค์ พุทธศักราชที่ ๑๘ เ รี ย ก น า ม เ มื อ ง ผิ ด กั น น้ั น ม ในประเทศกัมพูชา เรียกเมือง หนักหนา เมืองพี่มาก็มาเพ้ียน ย ท่ีต้ังปราสาทหินพิมายว่าเมือง เปล่ียนวาจา ทุกคนเรียกเป็น ร “วิมาย หรือ วมิ ายะปรุ ะ” ตอ่ ฤ ล ว มาเพย้ี นเปน็ “พมิ าย” อนง่ึ จาก ศ จารึกโบราณในสมัยก่อนเมือง ส พระนครและสมยั เมอื งพระนคร ห อ ซ่ึงเป็นหลักฐานทางโบราณคดี ฮ 208
พจนานุกรม ภาษาโคราช เรอื่ งเมอื งพมิ าย” (น.ิ พระปาจติ ). น่อง-คน-ท่ัง-สอง-จม-น่าม] ก หมายเหตุ นักวิชาการเห็นว่า (ปรศิ ) น. ขา้ วต้มมัด. ข ช่ือพิมาย มิได้หมายถึงเสียง พไ่ี ดพ้ นี่ อ้ งไดน้ อ้ ง [พ-่ี ได-้ พ-ี่ นอ่ ง-ได-้ ค เรียกของนางอรพิมท่ีเรียกท้าว น่อง] น. พี่ชายแต่งงานแล้ว ฆ ปาจิตว่าพี่มา เพราะศิลาจารึก น้องชายยังมาแต่งงานกับน้อง ง ปราสาทพระขรรค์กล่าวถึง สาวของภรรยาพีช่ าย. จ เมอื งวิมายหรอื วมิ ายะปุระ พี่น้องท้องเดียวกัน [พี่-น่อง-ท่อง- ฉ พมิ ายดำ� น. ภาชนะดนิ เผา รปู ทรงสมยั เดยี ว-กนั ] น. พน่ี อ้ งรว่ มมารดา ช ทวาราวดี มีลักษณะขัดมันเปน็ เดียวกนั . ซ ลายเส้นเขยี นรอบ ๆ ผิวเรียบ พ่ีน้องท้องเดียว แลเหลียวไมเ่ ห็นกนั ฐ ผวิ ดา้ นใดดา้ นหนง่ึ จะมสี ดี ำ� หรอื [พ-ี่ นอ่ ง-ทอ่ ง-เดยี ว-แล-เหลฺ ยี ว- ฒ ด�ำท้งั หมด เป็นแบบเฉพาะ ขุด ไม่-เหน็ -กนั ] (ปริศ) ใบห.ู ด พบที่อ�ำเภอพิมายและบริเวณ พ่ีนาง น. พ่ีสะใภ้. ต ใกล้เคียง มีอายุในสมัยเหล็ก พี่นาย น. พ่ีเขย. ถ ประมาณ ๑,๕๐๐ – ๒,๓๐๐ ปี. พ่ีร่วมท้องน้องร่วมครรภ์ [พี่-ล่วม- ท ทอ่ ง-นอ่ ง-ลว่ ม-คนั ] น. พน่ี ้อง ธ พิมายด�ำ รว่ มมารดาเดยี วกนั เชน่ พร่ี ว่ ม น ท้องน้องร่วมครรภ์กันแท้ บ พมิ ายปรุ ะ [พ-ิ มาย-ป-ุ๊ ละ่ ] น. ชอ่ื เมอื ง (สุภมติ ฯ). ป พิมายในอดีต เป็นหัวเมือง พี่รัก [พี-่ ล่ัก] น. พ่ขี องเพอ่ื น. ผ ส�ำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยา พุงข้ี [พุง-ข่ี] ดู เกยี่ วคอไก.่ ฝ และกรุงรตั นโกสินทร์. พุ่มเรยี งสวน ดู พเู วยี ง. พ พูด น. เนื้อสัตว์ที่แล่ออกเป็นกอง ๆ ฟ พลิ กึ พลิ อื [พ-ิ ลก่ึ -พ-ิ ลอื ] ว. พลิ กึ พลิ นั่ , เชน่ เนือ้ ๑ พูด เทา่ กับ ๑ กอง. ภ แปลกมาก, ประหลาดมาก. พดู กระดกกระโด่ [พดู -กะ-ดก๊ -กะ-โด]่ ม ก. พูดไม่เหมือน, พูดไม่ชดั เช่น ย พิศวงงงงวย ว. พศิ วง, สงสัย, แปลก. คนต่างชาตพิ ดู ภาษาไทย. ร พษิ ฐาน [พิ่ด-สะ-ถาน] ก. อธษิ ฐาน. พดู กระแทกแดกดนั ก. พดู กระทบหรอื ฤ พกี่ อดนอ้ ง คนทง้ั สองจมนำ้� [พ-่ี กอด- ประชดประชันให้เจ็บใจ. ล ว ศ ส ห อ ฮ 209
พูดแขง่ - เพลงลากไม้ พดู แข่ง ก. พูดประชันในขณะท่คี นอ่ืน พดู เพร่อะ ดู พดู เพรอะ. ก�ำลังพูด. พูดไม่ได้ไอไม่ดังเลยน่ังเฉย (ส�ำ) ก. พดู แซม ก. พูดสอดแทรกขณะท่ผี ู้อืน่ ก กำ� ลงั พูด, พดู สอด, แซม ก็ว่า. พูดไปไมไ่ ด้ประโยชน์ นิง่ เสียจะ ข ดกี ว่า; เปรยี บได้กบั พดู ไปสอง ค พดู ดดั [พดู -ด๊ัด] ดู ดั๊ด. ไพเบยี้ นง่ิ เสยี ต�ำลงึ ทอง. ฆ พดู ดดั ลา่ ง [พดู -ดดั๊ -ล่าง] ดู ดด๊ั . พูดแรง ก. พูดเสียงดงั , พดู จารนุ แรง. ง พดู เดมิ ก. พดู นนิ ทา, พดู เรอื่ งคนอื่น พูดลัง ก. พูดสอดแทรกในขณะที่ จ คนอนื่ กำ� ลงั พดู ทำ� ใหฟ้ งั ไมร่ เู้ รอื่ ง, ฉ ลบั หลงั . ลัง ก็ว่า. ช พดู ตกโคราช [พดู -ตก๊ -โค-ลาด] ก. พูดเลอะเทอะเลินเทิน [พูด-เลอะ- ซ พูดภาษาไทยกรุงเทพแล้ว เทอ่ ะ-เลนิ -เทนิ ] ก. พดู ไรส้ าระ. ฐ เผลอไผลพดู ภาษาโคราช พดู แลว้ เหยยี บ [พดู -แลว่ -เหยฺ ยี บ] ก. ฒ พดู แล้วให้ปกปดิ เปน็ ความลบั . ด พดู ถงึ กม็ า (สำ� ) ว. ไม่ตายงา่ ย. พูดสอด ดู พูดแซม. ต พูดบ้บ ๆ [พูด-บ้บ-บ้บ] ก. พูดใน พูดแสะ [พูด-แซะ] ก. พดู เสยี ดส,ี พดู ถ ลักษณะลน้ิ รัว. กระแนะกระแหน, พูดแสะพูด ท เสียด, วา่ แสะวา่ เสียด กว็ ่า. ธ พูดบอ้ บ ๆ [พูด-บอ้ บ-บอ้ บ] ก. พดู พดู แสะพดู เสยี ด [พดู -แซะ-พดู -เสยี ด] น พล่าม, พดู จอ้ . ดู พูดแสะ. บ พูดผลอ [พูด-ผอ] ก. พูดสวน, พูด พูดหยาบเหมอื นหนงั กระโปก ก. พดู ป หยาบคาย, พดู จาลามก. ผ เร่ือยเปื่อย, พูดไร้สาระ, พูด พูดหา ก. พูดด้วย. ฝ พล่อย ๆ. พดู เองเปน็ เอง น. ตวั เองทำ� ตวั เองโดย พ พูดผวา [พูด-ผะ-หวา] ก. พูดเสียง ไมม่ ีใครท�ำ. ฟ พูเวียง น. ชื่อไม้ยืนพุ่มขนาดย่อมใน ภ แปร่ง ๆ กล่าวคือ มีเสียงผิด กลุ่มต้น “ช�ำมะเลียงและ ม เพย้ี นไปจากปกติ เชน่ พดู ภาษา พุ่มเรียง” ชนิด Otophora ย โคราชแลว้ ตกหรอื พลดั หลงพดู cambodiana Pierre. ในวงศ์ ร ภาษาไทยกรงุ เทพ หรอื คนต่าง Sapindaceae ใบประกอบ ฤ ประเทศพดู ภาษาไทยไมช่ ดั ถอ้ ย ล ว ชัดคำ� เป็นต้น. ศ พดู เพรอะ ก. พดู ไมเ่ พราะ, พดู พลอ่ ย ๆ, ส ห พูดเพร่อะ ก็ว่า, (ดู เพรอะ อ ประกอบ). ฮ 210
พจนานุกรม ภาษาโคราช ใบย่อยเป็นรูปหอกเรียวยาว อีกเส้นเป็นหญิงชักลาก จะมี ก สีเขียวเข้ม ดอกสีแดงเป็น ก า ร ร ้ อ ง เ พ ล ง โ ต ้ ต อ บ กั น ข ช่อเล็ก ผลรูปหัวใจมีร่อง ตลอดทาง เพ่ือให้สนุกสนาน ค ตรงกลางแบ่งออกเป็น ๒ พู คลายความเหน็ดเหน่ือย ซึ่ง ฆ สุกจะสีม่วงด�ำเหมือนสีลูกหว้า แต่ละท้องที่อาจมีค�ำร้องแตก ง รสหวานปนฝาด ใช้ท�ำเป็นยา ต่างกัน แต่สิ่งที่เหมือนกันคือ จ แกไ้ ขส้ นั นบิ าต ทอ้ งผกู รอ้ นใน, ในค�ำรอ้ งจะมีคำ� ว่า “ช่าโกรก” ฉ นั ก พ ฤ ก ษ ศ า ส ต ร ์ เ รี ย ก เช่น ช่าเจ้าเอยโกรกเอย ล่วง ช ช�ำมะเรียงบ้าน. ถึงเดือนห๊ก ยังไม่ได้ต๊กกล้า ซ ทางวัดเกณฑ์มาลากไม่ ลาก ฐ พเู วียง มาได้ถึงหนองจะบ๊ก มันให่ ฒ อ่อนอ๊กอ่อนใจ, เพลงลากไม้, ด เพ ก. หกั , พงั เชน่ เกยี นเพ (เกวยี นหกั ). โกรกลากไม้ กว็ ่า. ต เพลงกอ้ ม น. เพลงพน้ื บา้ นโคราชอยา่ ง เพลงช้าเจ้าหงส์ดงล�ำไย [เพง-ช่า- ถ เจา้ -หง-ดง-ลำ� -ไย] น. เพลง ท หน่ึงสันนิษฐานว่าต่อมาพัฒนา ป ฏิ พ า ก ษ ์ ร ้ อ ง โ ต ้ ต อ บ กั น ธ เป็นเพลงโคราช. ระหวา่ งชายกบั หญงิ เปน็ คู่ ๆ ใน น เพลงชา้ โกรก [เพง-ช่า-โกก] น. การ งานเทศกาล เช่น สงกรานต์, บ เล่นเพลงพื้นบ้านในเทศกาล เพลงดงลำ� ไย กว็ ่า. ป ตรษุ สงกรานต์ หรอื หลงั ฤดเู กบ็ เพลงเชิด น. เพลงที่ใช้ร้องประกอบ ผ เก่ียว เดิมใช้ร้องประกอบการ การเล่น เช่น ชักคะเย่อ ฝ ชักลากไม้มาใช้งานในวัด เช่น (ชักเย่อ), แม่กระซิบ, ไสส่าว, พ สร้างกุฏิ โดยใช้เชือก ๒ เส้น ว่งิ วัว เป็นตน้ . ฟ ดึงลาก เส้นหน่ึงเป็นชาย เพลงดงล�ำไย ดู เพลงช้าเจ้าหงส์ ภ ดงล�ำไย. ม เพลงโรง น. เวทีแสดงเพลงโคราช, ย โรงเพลง ก็วา่ . ร เพลงลากไม้ [เพง-ลาก-มา่ ย] ดู เพลง ฤ ช้าโกรก. ล ว ศ ส ห อ ฮ 211
เพอ่ เล่อเพอ่ เจอ้ - โพะเพะ เพ่อเลอ่ เพอ่ เจอ้ ว. ประเจิดประเจ้อ. ข้าวท�ำเป็นที่พักอาศัยช่ัวคราว เพ่อเว่อ ว. เหวอะหวะ, ลักษณะของ ระหว่างรอบ้านท่ีก�ำลังสร้าง; บาดแผลฉกรรจ์. บางคร้ังท�ำเป็นเพิงเอกเทศ ก เพะ ว. เป๊ะ, ตรง, ตรงท่ีหมายพอดี, ไม่ต่อจากสิ่งปลูกสร้างใด ๆ, ข (ดู เรือนชว่ั คราว ประกอบ). ค เป๊ะ, เพละ ก็วา่ . ฆ เพรอะ ว. พลอ่ ย, ไม่เพราะ เช่น อย่า เพิงยุ้ง ง ได้ฟังบ่อนเพรอะ ฟังแต่ที่บ่อน จ เพราะ (เพลงโคราช), เพร่อะ, เพียปาก น. ปากพล่อย. ฉ เพ้ียฟาน [เพี่ย-ฟาน] น. ราชดัด ช พดู เพรอะ, พูดเพรอ่ ะ กว็ ่า . ซ เพรอ่ ะ ดู เพรอะ. กาจบั หลกั , พญาดาบหกั ; ไมพ้ มุ่ ฐ เพละ [เพละ่ ] ดู เป๊ะ. ชนิด Brucea javanica (L.) ฒ เพาะ ว. ใชป้ ระกอบคำ� วา่ ขาว, นวล เพอื่ Merr. ในวงศ์ Simaroubaceae ด ตน้ สงู ประมาณ ๑ - ๒ เมตร ใบ ต เนน้ คำ� เชน่ ขาวเพาะ (ขาวจวั๊ ะ), เป็นใบประกอบ ขอบใบหยัก ถ นวลเพาะ (นวลผอ่ งเปน็ ยองใย). ดอกสีแดงออกเป็นช่อเล็ก ๆ ท เพ่าะ น. พ่อ. ตามง่ามกิ่ง ผลรูปใข่เมื่อแก่จะ ธ สีด�ำเมล็ดใช้ท�ำยาแก้ปวดท้อง น เพาะแพะ น. ต้นตายใบเปน็ , ควำ่� ตาย พยาธิ บำ� รงุ ธาต,ุ เฟย่ี ฟาน กว็ า่ . บ หงายเปน็ , โพะเพะ กว็ า่ . เพริด ก. ต่ืน, แสดงอาการผิดปกติ ป เพราะตกใจหรือไมค่ ้นุ เคย. ผ เพยี ะ น. เครื่องดนตรชี นิดหน่งึ ท�ำดว้ ย พฝ ไม้ไผ่ใช้ปากเป่าและลิ้นช่วยให้ ฟ เกิดเป็นเสียงดนตรีคล้ายเพ้ีย, ภ ม ย ร ฤ ล ว เพาะแพะ ศ ส ห เพิกพงั พอน น. ท่ีอยูข่ องพังพอน. อ เพงิ ยงุ้ [เพงิ -ยุ่ง] น. เพงิ ทต่ี ่อจากยุ้ง ฮ 212
พจนานุกรม ภาษาโคราช จอ้ งหนอ่ ง, เรไร แตเ่ พยี้ ใช้ดีด ไม่รูจ้ ักจบจนน่าร�ำคาญ. ก จ้องหน่องใช้กระตุก ส่วนเรไร แพ่แว่ ดู พอ่ วอ่ . ข ท�ำด้วยไม้ซางอันเดียวมีเต้า แพสลาด [แพ-สะ-หฺลาด] น. ค สำ� หรับเปา่ . ฆ เพสลาด, ไม่แก่ไม่อ่อนก�ำลัง ง เพยี ะ พอดี (ใช้กับใบไม้ที่รับประทาน จ ได้). ฉ แพง่ ก. รนิ , แจก, แบง่ (มกั ใชแ้ กเ่ หลา้ ). แพะ ก. ท�ำข้าวแพะ, แพะข้าว ก็ว่า, ช แพงพอน น. พงั พอน. (ดู ข้าวแพะ ประกอบ). ซ แพรงพราง ก. อำ� พราง เช่น ไปสบื ดู แพะขา้ ว [แพะ-เขา่ ] ดู แพะ. ฐ แพะ่ [แพ่ะ] ว. ลักษณะทีน่ อนแผ่ เชน่ ฒ ให้แจ้งใจใสสว่าง จะเหตุจริง ล่มแพะ่ (ล้มลงนอนแผ่). ด จะได้แจ้งไม่แพรงพราง โพง ว. ผิวหนังพอง. ต (นิ.พระปาจิต). โพด ว. มากเกนิ เชน่ ไกลโพด, ดำ� โพด. ถ แพรพับไว้ [แพ-พ่ับ-ไว่] (ส�ำ) ว. โพดไป ว. เกนิ ไป. ท เรียบร้อย ; ตรงกับส�ำนวน โพไทร น. ไกร, ไทรเลยี บ ชนิด Ficus ธ “ผา้ พบั ไว”้ เช่น หลานของน้า superba Miq. ในวงศ์ น ออ่ นโยนเรยี บรอ้ ยดงั่ แพรทพ่ี บั ไว้ Moraceae เปลอื กสเี ทาเรยี บ บ ก็มเิ ทา่ (ทา้ ว ฯ). ใบใหญ่ ช่อดอกรูปคล้ายผล ป แพรสะพาย น. ผ้าแพรที่คล้องหรือ ออกตามงา่ มใบ ผลสีชมพู. ผ ห้อยเฉียงบ่า เช่น นางจงช่วย โพนเพน ดู อีโผนอีเผน. ฝ ปลดแพรสะพายออกย่ืนให้เขา โพรงตะเกียง ดู กะโลงตะเกียง. พ เถดิ (ท้าว ฯ). โพลงพลาม ว. แพรวพราวเห็นอยา่ ง ฟ แพลม [แพม] ว. แวบ เช่น ฟ่า เด่นชดั เชน่ เป็นกระบวนทวน ภ แพลมทางโน่นทีแพลมทางน่ีที ธงดโู พลงพลาม (น.ิ พระปาจติ ). ม (ฟา้ แลบทางโนน้ ทแี ลบทางนท้ี )ี . โพะเพะ ๑. ดู เพาะแพะ. ย แพล่ม [แพ่ม] ก. พล่าม, เพ้อเจ้อ, ๒. น. ทองสามยา่ น ไม้ล้มลุก ร พูดมาก, อาการที่พูดซ�้ำซาก ชนิด Kalanchoe integra ฤ (Medik.) O. Kuntze จัดอยูใ่ น ล วงศ์ Crassulaceae ล�ำต้นมี ว ศ ส ห อ ฮ 213
ไพ - ฟนั หวี ลักษณะโค้งแล้วต้ังตรง สูง ไพหญ่าแฝก (กรองหญ้าแฝก ประมาณ ๑-๑.๕ เมตร เป็น เปน็ ตับ). พรรณไม้กลางแจ้งชอบ ๒. น. ลกั ษณะนามของตบั หญา้ ก แสงแดด ใบเป็นรูปไข่หรือรูป คา เช่น หญ่าคา ๒ ไพ (หญา้ ข หอก ปลายใบมน ออกดอกเปน็ คา ๒ ตับ). ค ไพ่บ้วน น. การเล่นไพ่ยี่สิบเอ็ด, ฆ ช่อบริเวณยอดของล�ำต้น ผล ไพป่ ๊อก. ง เป็นรูปยาวรี ใบสดต�ำแล้วคั้น ไพรร่ าบพลรบ น. พลทหารหน่วยรบ จ เอาน�้ำเป็นยาแก้ไข้มาลาเรีย เช่น นายกองนายหมวด ฉ ประกาศแก่ไพร่ราบพลรบทั้ง ช อหิวาตกโรค ล�ำต้นใช้เป็นยา ปวง (ทา้ ว ฯ). ซ หา้ มเลอื ด. ฐ ไพ ๑. ก. ถกั , ทอ, กรอง เช่น ไพหญา่ ฒ ด คา (กรองหญ้าคาเป็นตับ), ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ฤ ล ว ศ ส ห อ ฮ 214
ฟพจนานุกรม ภาษาโคราช ก ฟน่ น. พน่ เช่น ฟน่ น�ำ่ (พ่นนำ�้ ), ฟ่นสี ฟนั ไมเ่ ข้า [ฟนั -ไม-่ เขา่ ] (ส�ำ) (ปาก) ข (พน่ ส)ี . น. ฟันเขยินในลักษณะฟันบน ค ที่ยื่นออกมา นอกริมฝีปาก ฆ ฟอด น. หวอด, ฟองน�้ำท่ีปลาท�ำเป็นที่ แม้จะหุบปากฟันก็ไม่เข้าไป ง วางไข.่ ภายในปาก มักถูกล้อเลียนว่า จ หนงั เหนยี วคอื ฟันไม่เขา้ . ฉ ฟักกิง [ฟั่ก-กิง] น. ฟักชนิดหนึ่ง ช ผลใหญ่สีเขียวเขม้ . ฟันไม่เข้าแทงไม่ออก [ฟัน-ไม่-เข่า- ซ แทง-ไม่-ออก] ก. หนัง ฐ ฟักแฟงแตงร้าน [ฟั่ก-แฟง-แตง- เหนียว, เช่ือในทางไสยศาสตร์ ฒ ล่าน] น. พืชผักสวนครัว ว่าฟันแทงไม่เข้าเนื้อ, อุปมา ด ประเภทฟกั เป็นตน้ . หมายถึงตายยาก. ต ถ ฟังออกม้ยั ก. ฟังรเู้ รอื่ งไหม. ฟันหว่อง น. ฟันแหว่ง, ฟันหลุดจาก ท ฟัด [ฟ่ัด] ก. ร่วมประเวณี, สบื พันธ.์ุ แถวดพู รอ่ งไปจากทเ่ี คยมี เชน่ ธ ฟันจอบ น. ฟันซี่บนด้านหน้า ๒ ซ่ี ฟนั บนหวอ่ งไป ๒ ซี่ (ฟันแถว น บนหลดุ แหว่งไป ๒ ซ)่ี . บ แบนใหญค่ ล้ายจอบ. ป ผ ฟันจอบ ฟันหว่อง ฝ พ ฟันเจ่อ น. ฟนั เขยิน, ลกั ษณะฟันบนที่ ฟ ยื่นออกมานอกรมิ ฝปี าก. ภ ม ฟันหวี น. ฟืม, เครอ่ื งทอผา้ ที่กระทกให้ ย ด้ายหรือไหมประสานกนั ; ท�ำ ร ฤ ฟนั เจอ่ ดว้ ยไมห้ รอื เหลก็ เปน็ ชอ่ งเลก็ ๆ ล มี หลายขนาด เช่น ๑,๖๐๐ - ว ศ ส ห อ ฮ 215
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402