Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พจนานุกรมภาษาโคราช

พจนานุกรมภาษาโคราช

Description: ในการจัดพิมพ์ “พจนานุกรมภาษาโคราช” ครั้งนี้ ได้เดินตามรอยโครงการ“ทําความดีเพื่อพ่อ” เพื่อถวายแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชรัชกาลที่ ๙ ซึ่งเป็นการสังคายนาครั้งใหญ่ เพื่อให้การรวบรวมคําในภาษาโคราชมีความสมบูรณ์ที่สุดและเป็นไปตามแนวทางการจัดทําพจนานุกรมภาษาไทยถิ่น ๓ ภาค ของ
สํานักงานราชบัณฑิตยสภา ซึ่งจะเป็นเอกสารหลักฐานเพื่อให้ผู้สนใจโดยเฉพาะคนรุ่นหลัง ได้ทราบว่าคําศัพท์ภาษาโคราชเขียนอย่างไรและออกเสียงอย่างไร

Search

Read the Text Version

หมอทรง - หมูโคราช หมอทรง น. คนทรง, คนทรงเจา้ . Ehrertiaceae หรือ Bor หมอน่ัน ส. สรรพนามบรุ ษุ ที่ ๓ แทนผู้ aginaceae, ถ่ินเหนือเรียก ที่พูดถึง เช่น หมอน่ันพูดไม่รู่ ผกั หม่อง, มันหม.ู ก เรอ่ื ง (คน ๆ นน้ั พูดไมร่ ู้เร่อื ง). หมากข้อน [หมาก-ค่อน] น. ตะโก, ไม้ ข หมอน ่ี ส. สรรพนามบรุ ษุ ที่ ๒ แทนผทู้ ี่ ในสกลุ Diospyros castanea ค Fletcher ในวงศ์ Ebenaceae. ฆ พดู ดว้ ย เชน่ หมอนพ่ี ดู ไมร่ เู่ รอ่ื ง หมากทอก น. หมากที่ด้วงแทะเน้ือ ง (แก มงึ คณุ พูดไม่ร้เู รือ่ ง); ส. ท�ำใหเ้ นอื้ หมากไมเ่ ต็ม. จ บางครั้งหมายถึงสรรพนาม หมากเปยี ก ดู ขหี้ มากเปยี ก. ฉ หมากแยก น. การเล่นท่ีดัดแปลงมา ช บรุ ษุ ท่ี ๓, (ดู หมอ ประกอบ). จากหมากฮอส เพียงแต่ใช้วิธี ซ หมอบีบ น. หมอนวดที่จับเส้นสาย เดินแยกแทน, มกั แยก ก็วา่ . ฐ หมากลืน่ น. กระบก, มะลื่น; ชื่อไม้ต้น ฒ คลายปวดเมอ่ื ย. ขนาดใหญ่ชนิด Irvingia ด หมอเพลง น. ผู้เล่นเพลงโคราช, ผู้ malayana Olir. ex A. Bern. ต ชำ� นาญในการรอ้ งเพลงโคราช. ในวงศ์ Ixonanthaceae ถ หมอมวย น. นกั มวย. ใบรปู ไข่ เมลด็ แข็ง เนื้อในขาว ท หมอไม้ [หมอ-มา่ ย] น. สตั ว์ชนิดหนึง่ มีรสมนั กนิ ได.้ ธ หมากแวว น. คอแลน, ไม้ต้นชนิด น คล้ายกระแตแต่ตัวเล็กกว่า Nephelium hypoleucum บ หน้าเหมือนหมา ใบหูกลม, Kurz. ในวงศ์ Sapindaceae ป หมาไม้ ก็ว่า. ผลมสี แี ละรสคลา้ ยลิ้นจแ่ี ตเ่ ล็ก ผ กว่า, มักแวว, คอนแลน กว็ ่า. ฝ หมอเรียกข็วน น. หมอขวัญ, ผู้รู้พิธี หมาจอก น. หมาจ้ิงจอก เช่น พ ท�ำขวญั , หมอท�ำขวัญ. ส่�ำสัตว์จัตุบาทในไพร สุนัข ฟ จอกไน เหน็ คนกก็ ระเจงิ เรงิ วาง ภ หมอส่อง น. คนทรง; ผทู้ ่ใี หเ้ จ้าหรอื ผี (นิ.สองดรณุ )ี . ม เข้าสิงเพ่ือการพยากรณ์หรือ หมาตามเกวียน [หมา-ตาม-เกียน] ย รกั ษาโรค. (สำ� ) น. คนทต่ี ามคนอ่ืนไปเป็น ร ฤ หมอบกระแต ก. หมอบจนราบคาบ. ล หมอยแซมแตด ว. พูดสอด, สอด ว แทรก. ศ หมักลน่ื ดู มะลนื่ . ส หมันดง น. ช่ือไม้ต้นชนิด Cordia ห อ dichotoma Forst. f. ในวงศ์ ฮ 316

พจนานุกรม ภาษาโคราช พรวนดว้ ยความสนใจ เชน่ เดนิ กนิ ไมไ่ ด,้ ไดม้ ากห็ าประโยชนไ์ ม่ ก แห่พอปั่นหมาตามเกียนแท่น้อ เช่น ปานหมาเห็นข้าวหลาม ข (เดนิ ขบวนแห่กันไปเปน็ พรวน เงาะน�ำกัดดม (นิ.เพลงศุภมติ ร ค หรอื เป็นโขยง). ฯ); ตรงกบั สำ� นวน หมาเหน็ ขา้ ว ฆ หมานอ้ ยไมร่ จู้ กั กลน่ิ เสอื [หมา-นอ่ ย- เปลือก. ง ไม่-ลู่-จั๊ก-ก่ิน-เสือ] (ส�ำ) ไร้ หมาน ว. ดวงด,ี โชคด.ี จ เดยี งสา, เดก็ ไม่ร้เู ดยี งสา. หม่าว ๑. ก. เสยี งของแมวโพง. ฉ หมาเน่า น. การเล่นอย่างหนึ่งในน้�ำ ๒. น. แมวโพง. ช โดยเอาผา้ ขาวมา้ มดั หวั มดั ทา้ ย หม่ีโคราช น. เส้นหมที่ ำ� ด้วยแปง้ ข้าว ซ แลว้ เอาตวั ไปซกุ ขา้ งในตนี ำ้� เขา้ เจ้า ใช้เส้นตอกมัดเป็นก�ำ ๆ ฐ เพอ่ื ใหโ้ ปง่ หรอื พองจะทำ� ใหล้ อย เป็นเอกลักษณ์ของโคราชต่าง ฒ นำ�้ ได.้ จากเส้นก๋วยเตี๋ยวและเส้นหม่ี ด หมามยุ้ [หมา-ม่ยุ ] น. ต�ำแย. จากท่อี นื่ . ต หมาไม้ [หมา-ม่าย] ดู หมอไม้. หมนี่ ำ�้ [หม-่ี นา่ ม] น. ผดั หมโี่ คราชแบบ ถ หมาเลียตูดไม่ถึง (ส�ำ) โตเป็นผู้ใหญ่ มีน้�ำเช่นเดียวกับก๋วยเต๋ียวน้�ำ, ท เช่น ใหญ่จนหมาเลียตูดไม่ถึง ตม้ เส้นหม่ี ก็ว่า. ธ แล่ว. หมหี มนั ว. ขมขี มนั , รบี เรง่ ในทนั ทที นั ใด น หมาวดั [หมา-วดั่ ] ว. ตำ่� ตอ้ ย, ตำ่� ศกั ด์ิ เช่น จงึ ลกุ เข้าไป หมีหมนั ทันที บ เช่น ลืมพี่น้องญาติกาเหมือน (นิ.รปู ทอง). ป หมาวดั (นิ.พระปาจิต), ใช้เปน็ หมนุ่ ก. แทรก, มุด. ผ ค�ำด่าว่า เชน่ ไอห้ มาวดั่ . หมนุ่ ผม ก. ขมวดผม. ฝ หมาหางงอ (สำ� ) น. คนทท่ี ำ� ผดิ แลว้ ลอ่ หมยุ ขาว ดู หวั โลน้ . พ หลอกให้ผู้อื่นท�ำตามและยุแยง หมู่ น. เพอ่ื น, ขาหมู่ กว็ ่า. ฟ วา่ เปน็ สง่ิ ด;ี ตรงกบั สำ� นวนทวี่ า่ หมกู ระโดน น. หมพู นื้ บา้ น ตวั เลก็ สเี ทา ภ หมาหางด้วน เช่น นางด่า คอ่ นไปทางดำ� มีไขมันนอ้ ยกว่า ม จ้านว่าอ้ายพรานหมาหางงอ หมูเลี้ยงท่ัวไปเน้ือคล้าย ๆ ย (น.ิ พระปาจติ ). หมปู ่า. ร หมาเห็นข้าวหลาม [หมา-เห็น-เข่า- หมโู คราช น. คนโคราช; เปน็ ค�ำเรียก ฤ หลาม] (สำ� ) น. แม้อยากกินก็ คนโคราชในสมัยหน่ึงท�ำนอง ล ว ศ ส ห อ ฮ 317

หมูเชยี ง - หลบั ตาชัง ดูแคลนว่าหลอกต้มไดง้ ่าย ๆ. คาราคาซัง, ท�ำอะไรซำ้� ซากจน หมูเชียง น. กุนเชียง. เป็นที่ร�ำคาญหรือน่าเบ่ือหน่าย หมสู ้ม [หมู-ส่ม] น. แหนมหม.ู เช่น พดู หยำ� แยะ (พูดซ้ำ� ซาก), ก หมูเ่ อง น. พวกเรา. เมาหย�ำแยะ (เมาตลอดวัน). ข หยอ่ ง ก. ยอ่ ง, เดนิ ดว้ ยปลายเทา้ เบา ๆ แหยมแยะ กว็ า่ . ค หยง่ิ ยโส ว. หยง่ิ , ยโส, จองหอง, เยอ่ หยง่ิ ฆ ไมใ่ หม้ เี สยี ง เชน่ หยอ่ ง ๆ ไป. เพราะถือตัวว่ามียศ ความรู้ ง หยอดลงตะหลุก สุกแล้วแค่ะข้าง มที รพั ย์ เปน็ ตน้ , หยิง่ ยโสโอหัง จ ก็วา่ . ฉ [หยอด-ลง-ตะ-ลุก-ซุก-แล่ว- หยิ่งยโสโอหัง ดู หยง่ิ ยโส. ช แคะ่ -ข่าง] (ปรศิ ) น. ขนมครก. หยิบจับ [ยบิ -จับ๊ ] ก. ท�ำ, กระทำ� เช่น ซ หยอม ว. ประหยดั , มัธยัสถ์, ท�ำแต่พอ ไม่ยิบจ๊ับอะไรเลย (ไม่ท�ำอะไร ฐ เลย). ฒ นอ้ ย ๆ เช่น กนิ หยอม ๆ (กนิ หยึง ๆ ก. ท�ำอย่างขะมักเขม้น, ด แตน่ อ้ ย ๆ). ทำ� ทา่ ทางขงึ ขงั , เอาจรงิ เอาจงั , ต หยอ่ ม ว. คุม้ บา้ น, ละแวก. หยงึ หยงั กว็ า่ เช่น ตา่ งคนคมุ ถ หย่อมหญ้าย่อมเสริมภูเขาให้สูง ยึกยักอยู่หยึงหยัง (นิ.พระ ท ปาจิต). ธ [หยอ่ ม-หยา่ -ยอ่ ม-เสมิ -พ-ู เขา- หยงึ หยงั ดู หยึง ๆ. น ไห-่ สงู ] (สำ� ) ก. เสรมิ สง่ , เสรมิ หย่งึ ว. ขึง, ตึง. บ บารมี เชน่ พระเกยี รตคิ ณุ ของ หยดุ กกึ [ยุด-กึก้ ] ก. หยุดทันท,ี หยุด ป ฝา่ บาทยอ่ มสงู ประดจุ ภเู ขาหลวง ชะงัก เช่น ว่งิ มาแลว่ ยดุ กึ่ก. ผ หยุดป้ดั [ยุด-ปดั้ ] ก. หยดุ ทนั ที เช่น ฝ มใิ ยทห่ี ยอ่ มหญา้ ไปขน้ึ เพม่ิ เสรมิ เลือดท่ีไหลยุดปั่ด, พอครูมา พ ใหส้ งู ขนึ้ (ทา้ ว ฯ). พวกสง่ เสียงดงั พากนั ยุดป้ดั . ฟ หยักเยื่อหยักไย่ [ยัก-เหฺย่ือ-ยัก-ไย] หรอง ๆ ๑. ว. เพม่ิ หรอื ขนึ้ ทลี ะนอ้ ย, งอก ภ น. หยากไย,่ ใยแมงมมุ ทต่ี ดิ คา้ ง ขนึ้ บาง ๆ เชน่ นำ่� ขนึ่ หรอง ๆ ม อยู่ตามที่ตา่ ง ๆ. (นำ้� ขน้ึ ทลี่ ะนดิ ). ย หยักโศก [ยัก-โสก] ว. หยักศก, ๒. ว. ก�ำลังพอเหมาะพอด.ี ร ลักษณะทผี่ มหยักเป็นลอน. ฤ ล ว หยงั ๆ ก. เดินหรือว่ิงอย่างรีบรอ้ น ศ หย่ำ� แก่ว ว. ตอ้ งการ, ไดใ้ จ, อยูท่ เ่ี ดิม. ส หย�่ำแขว่ ก. ยา่ มใจ, ไดใ้ จ. ห อ หยำ� แยะ ว. ฉำ� แฉะ, เฉอื่ ยแฉะ, คง่ั คา้ ง, ฮ 318

พจนานุกรม ภาษาโคราช หร่อหรอย ก. รอ่ ยหรอ, คอ่ ย ๆ หมด ประกอบด้วยพุงปลา เช่น ก ไป. ปลาช่อน กะทิ ตะไคร้ หวั หอม ข กระเทียม ใบมะกรูด กระชาย ค หราง ๆ ว. ราง ๆ, เห็นไม่ชัดเจน, ร�ำไร เป็นต้น แลว้ เคี่ยวจนได้ท่ี. ฆ เชน่ แดดหราง ๆ (แดดร�ำไร), หล่มเน้ือ [หฺล่ม-เน่ือ] น. เนื้อมีกล่ิน ง เห็นหราง ๆ (มองเหน็ ราง ๆ). เพราะหมักใสเ่ กลอื นอ้ ย. จ หลอ็ ย ก. แอบหนี, แอบไป, แอบเอา ฉ หรา่ ย ว. ย่างกราย, กรีดกรายไปมา ไปในขณะทีเ่ จ้าของเผลอ. ช เชน่ เดินหรา่ ยไปหร่ายมา, เดนิ หล่อยห่อย ว. ละห้อย, ลอ่ ยหอ้ ย ก็ว่า. ซ หรา่ ย ๆ, หร่าว กว็ า่ , เช่น จึง หลอ่ แหล่ ว.ไมจ่ ริงจัง, เล่น ๆ หัว ๆ, ฐ เดนิ หรา่ วเขา้ ไปถามอยากรแู้ จง้ เหลาะแหละ, เหลวไหล, ฒ ความจรงิ (น.ิ เพลงปาจติ ฯ). หลา่ แหล่ กว็ า่ . ด หลักเฝือ [ลัก-เฝอื ] น. เฝอื , เครอื่ ง ต หรา่ ว ดู หรา่ ย. หรือสิ่งท่ีใช้คันหูกเพ่ือจัดเส้น ถ หลง ว. หลวง เป็นค�ำเรียกพระภิกษุ ไหมหรือด้ายส�ำหรับทอผ้าให้มี ท จำ� นวนพอเหมาะกนั กบั ชอ่ งฟมื . ธ โดยความเคารพ เชน่ หลงตา หลั่ง ๆ ก. น้�ำไหลโจ้ก เช่น น่�ำไหล น (หลวงตา), หลงพี่ (หลวงพ)่ี . หลั่ง ๆ (น้�ำไหลโจ้ก ๆ). บ หลงตวั ไปตามเพอ่ื น หนเี รอื นไปตามผี หลังโกะ [หลัง-โก๊ะ] น. หลังโกง, ป (สำ� ) หลงผดิ หรอื พลาดพล้งั ไป หลังงอ, หลังคอ่ ม. ผ ตามคนอ่ืนโดยคิดไม่ถึงหรือ หลังคาติดตะกั่ว โผล่หัวออกนอก ฝ รู้เทา่ ไมถ่ ึงการณ.์ ชายคา [หลัง-คา-ติ๊ด-ตะ- พ หลงทิศ [หฺลง-ทิ่ด] ว. เข้าใจหรือ ก่ัว-โผ่-หัว-ออก-นอก-ชาย- ฟ ส�ำคญั ทศิ ผิดเพราะอยตู่ า่ งถิน่ . คา] (ปรศิ ) น.เต่า ภ หลน ก. ต้ม, ท�ำให้ของเหลวเช่นน้�ำ หลงั งุ่ม น. หลงั โกง, หลงั งอ. ม หรอื สง่ิ อนื่ ทอี่ ยใู่ นของเหลวรอ้ น หลั่น น. ลอน, ส่วนท่ีมีลักษณะสูง ๆ ย เดือด หรือสุก (มักใช้แก่ ต�่ำ ๆ อย่างลูกคลื่นติดต่อสลับ ร ปลาร้า). เช่น หลนปลารา่ . กันไปบนพื้นท่ีราบ. ฤ หล่นขว่ น น. สิ้นอายขุ ัย, ตายด้วยวยั หลับตาชงั [ลับ-ตา-ชงั ] ก. คอ้ นด้วย ล ชรา, ผลไม้สุกงอมหลน่ จากขั้ว. ว หล่นเทครัว ก. หลน่ มากเพราะจวนจะ ศ วาย, หล่นทงั้ ต้น (ใชแ้ ก่ผลไม)้ . ส หลนพุงปลา น. อาหารอย่างหน่ึง ห อ ฮ 319

หลับตาเอา - หว็อย การหลับตาข้างหน่ึงช�ำเลือง, โดยปรยิ ายหมายถงึ รายได้ เชน่ อาการชังโดยหลับตาขา้ งหนึ่ง. ไม่ประกันประเกิน ไม่มีเงิน หลบั ตาเอา [ลบั -ตา-เอา] ว. เอาหรอื ประกัน เช่น สมบด๊ั แต่จะกินมัน ก ไดโ้ ดยไมด่ หู รอื ตรวจให้ดี หรือ ยังหลนิ ไม่ทนั (เพลงโคราช). ข ไม่ดูตาม้าตาเรือ, ท�ำไปอย่าง ๔. ก. รวั่ ไหล, เลด็ ลอด เชน่ เงนิ ค ทองไม่เลด่ ไมห่ ลนิ (เงินทองไม่ ฆ เสียมิได้ (โดยท่ัวไปมีนัยไปใน เลด็ ลอดหรือรว่ั ไหล). ง ทางเรื่องเพศ). ๕. ก. ผลิใบหรอื ออกดอกตมู ๆ จ หลับให้ได้เงินหมื่น ตื่นให้ได้เงินแสน เลก็ ๆ. ฉ หล่ิว ๑. ก. ยิงสะบ้าไปหยดุ ตรงหนา้ ช [ลบั -ไห-่ ได-้ เงนิ -หมน่ื -ตนื่ -ไห-่ สะบา้ ท่ไี ม่ใช่คขู่ องตน, (ดู สีบา้ ซ ได้-เงิน-แสน] (ส�ำ) น. ค�ำ สีรอย ประกอบ). ฐ อวยพรให้เงนิ ทองไหลมาเทมา. ๒. น. เรียกนกเขาท่ีขันไม่มี ฒ หลา่ ว. ลา่ , ลา่ ช้า, ชา้ กว่ากำ� หนด, เสยี ง “ก๊กุ ” ในค�ำที่ ๔, หลิว่ ตนั ด ก็เรยี ก. ต สดุ ทา้ ย, หล่าหลอ็ ย ก็วา่ . หล่ิวแกมกุ๊ก น. เรียกนกเขาทีข่ นั หลิว่ ถ หลา่ หล็อย ดู หลา่ . แล้วขันเสยี งกุ๊กในค�ำที่ ๔ เช่น ท หล่างหง่าง ว. จะแจ้ง. กุ๊ก…กรู…กรู… แล้วขัน กุ๊ก… ธ กร…ู กร…ู กกุ๊ . น หลามไหล ก. ไหลล้น, ไหลออกมามาก หล่วิ ตัน ดู หลิ่ว. บ ท้น เช่น ดุจหนง่ึ เปน็ บ้า น�้ำตา หลกี หนาม ๑. ก. หลบหนาม. ป หลามไหล (น.ิ กุศราช). ๒. ดู ขาหลีกหนาม. ผ หลีหลหู ลเี หลอ ดู หลเี หลอ. ฝ หลา่ แหล่ ดู หลอ่ แหล.่ หลเี หลอ ก. ชะแงห้ า, เหลยี วหา, เฝ้า พ หลำ� พอง น. ปลาเนอื้ อ่อน. คอยหาอยา่ งเดยี วดาย, อาการ ฟ หล�ำละหล�ำหร่าย ก. อาการกระสับ ที่ ขวาง ๆ รี ๆ ไม่รวู้ า่ จะไปทาง ภ ไหนดี, หลีหลหู ลีเหลอ ก็วา่ . ม กระสา่ ย, กระวนกระวาย เชน่ เดนิ หลึม ๑ . น. รมิ , ชดิ ขอบ. ย หล�ำละหล�ำหร่าย (เดินกระสับ ๒. ว. ลบิ เชน่ ไกลหลมึ (ไกลลบิ ). ร กระสา่ ยไปมา). ฤ หลนิ ๑. ก. อาการทข่ี องเหลวทะลกั ล ว ออกมา. ศ ๒. ก. ปล้ิน, กลับด้านในบาง ส สว่ นใหโ้ ผล่ออกมา. ห อ ๓. ก. งอกเงย, เพมิ่ ขนึ้ , พอกพนู ; ฮ 320

พจนานุกรม ภาษาโคราช ๓. ว. ราง ๆ, ไม่กระจา่ ง. ขา้ งหนา้ ครน้ั เหน็ ทพั ไทยมาโจม ก หลึม่ ๑. ก. ทะเลน้ , ทะลง่ึ , หน้าเปน็ ทางด้านหลัง ก็ห่วงหลังกังวล ข หนา้ ไม่เป็นอันสู้รบ (ทา้ ว ฯ). ค เช่น หน่าหล่ึม (หน้าทะเล้น), หวด น. ภาชนะสานดว้ ยไมไ้ ผส่ ำ� หรบั ฆ หน่าเสมอหลมึ่ (ตหี น้าตาย). นึ่ง เช่น ข้าวเหนียว. ง ๒. ว. เท่ากัน, เสมอกนั . เช่น ห้วยแถลง [หว่ ย-ถะ-แหฺลง] น. ช่ือ จ สงู เสมอหลม่ึ . อ� ำ เ ภ อ ห นึ่ ง ใ น จั ง ห วั ด ฉ หลดื ๆ ว. ชา้ ๆ, เชือ่ งช้า เช่น เกยี น นครราชสีมา ตั้งอยู่ท่ีบ้าน ช นกั ไปอยา่ งหลดื ๆ (เกวยี นหนกั ห้วยแถลง ซ่ึงใช้ช่ือล�ำห้วย ซ ไปอย่างช้า ๆ). แถลงเป็นช่ือบ้าน อนึ่งค�ำว่า ฐ หลุก [ลกุ ] ก. หลุด เช่น สตางคล์ ุก “แถลง” สันนิษฐานว่า มาจาก ฒ เข่าคอ (สตางค์หลุดเขา้ คอ). ค�ำว่า “แถล [ถะแหฺล]” ถ่ิน ด หลกุ หลิก [ลกุ -ลกิ ] ก. กลง้ิ (ใช้แกน่ �้ำ) โคราช หมายถึง ท่ลี าดเอยี งลง ต เช่น เสมือนหยดน�้ำท่ีลาดลง ตอ่ มากลายเสยี งเป็น “แถลง”. ถ บนใบบอนย่อมหลุกหลิกด้วย หวอ็ ง ว. ใชป้ ระกอบคำ� วา่ เบามีความ ท แววใส (ทา้ ว ฯ). หมายวา่ เบามาก เชน่ เบาหวอ็ ง ธ หลงุ่ น. วังน�้ำหรือแอ่งน�้ำรูปคล้าย (เบาหวิว, เบามาก). น กะทะขนาดใหญ่ เชน่ ทีห่ าดสูง หวองน�ำ้ [หวอง-นา่ ม] ก. อาการทีพ่ ชื บ ก็จะหลุ่งเป็นวังลึก (นิ.พระ ผักแซมยอดขึ้นเหนือน้�ำหลัง ป ปาจติ ), ตะหลงุ่ กว็ ่า. จากฝนตก ลำ� ต้น, ก้าน, ยอด ผ หลดุ [ลุด] ก. ลด, ลดราคา (มกั ใช้ จะอวบนำ�้ เช่น ผักแว่น, ผักบุง้ . ฝ ในการต่อรองราคา). หว่องแหว่ว ดู หว่องแหวว๋ . พ หลหู่ ลข่ี า้ วสาร [หล-ู่ หล-ี่ เขา่ -สาน] น. หว่องแหว๋ว น. หน้าตาดี, หน้าตา ฟ การเลน่ รีรีขา้ วสาร. สดใส, หว่องแหว่ว ก็ว่า เช่น ภ ห่วงหลังกังวลหน้า [ห่วง-หลัง-กัง- เหมือนขุนแผนยังเป็นไพร่ชื่อ ม วน-หนา่ ] ก. หว่ งหนา้ หว่ งหลงั , พลายแก้ว หว่องแหว่ววิชาดี ย พะวา้ พะวงั , หว่ งเรอื่ งขา้ งหลงั ก็ ไม่มสี อง (น.ิ พระปาจติ ). ร หว่ ง กงั วลเรอ่ื งขา้ งหนา้ กก็ งั วล หวอ็ ย น. เล็ก, เส้นเล็ก เช่น ดา้ ย, คน ฤ เช่น ตกอยู่ในภาวะที่ห่วงหลัง รปู รา่ งผอมเล็ก ๆ. ล กงั วลหนา้ , ทหารลาวกำ� ลงั สอู้ ยู่ ว ศ ส ห อ ฮ 321

หว่ัง ๆ - หนั วงระวิง หว่งั ๆ ก. หววิ ๆ, หวั่น, พรัน่ , พรนั่ ใจ Syzygium หว้าปลอกเป็นไม้ เช่น ครนั้ ว่าเห็นมิใช่ กลับหลงั ชนิด Syzygium siamensis ไปใจหวงั่ หว่งั (น.ิ รปู ทอง). Craib ในวงศ์ Myrtaceae ก หวั่นเหว [หวั่น-เหฺว] ว. หว่ันไหว, ใบเด่ียวเรียงตรงข้าม แผ่นใบ ข รูปหอก ปลายใบแหลม โคน ค พะว้าพะวัง. ใบมน ดอกสีแดงแกมม่วงเป็น ฆ หวา ว. วะ, ค�ำออกเสียงต่อท้าย ช่อออกกระจายที่ปลายก่ิงหรือ ง ประโยค เช่นไปไหนหวา (ไป ง่ามใบ ผลกลมหรือรูปไข่ จ ไหนวะ), อย่าเลยหวาอาตมาไม่ สีเขียวปลายผลเป็นกลีบกินได้ ฉ นกั พฤกษศาสตรเ์ รยี ก ชมพนู่ ำ้� . ช พอที่ (สมุ ติ ฯ). ซ หว่างน้ี [หว่าง-นี่] ว. เม่ือเร็ว ๆ น้ี, หว้าปลอก ฐ ฒ เมื่อไม่นานมานี้, ตะกี้ เช่น หวา่ ย อ. ว้าย, ค�ำเปลง่ ออกมาแสดง ด เม่ือหว่างนี่ (เม่ือเร็ว ๆ น้ี), อาการกลวั หรอื ตกใจ เชน่ หวา่ ย ต เม่ือหว่าง ก็ว่า. ไมเ่ อาแหลว่ (ว้ายไม่เอาแลว้ ). ถ หวา่ งไว ๆ [หวา่ ง-ไว-ไว] ว. เมอ่ื เรว็ ๆ ท หวิด [วิด] ก. คลาดกัน, หวุดหวิด, ธ นี้, เม่ือไว ๆ น้ี. เฉียด. น หวา่ นกลา้ ก. ตกกล้า. บ หวา่ นข้าวเอาฤกษ์ [หว่าน-เข่า-เอา- หวิดหวา่ ง [วดิ -หวา่ ง] ก. ขาดเหลือ, ป ขาด, เงนิ ขาดมอื , สบั หวดิ กว็ า่ . ผ เลิก] น. พธิ ีหว่านข้าว, ตกกลา้ ฝ ท�ำหลังจากไถเอาวันเพ่ือเอา หวิน น. ห่วงท่ีใช้ประกอบการ พ ฤกษ์เอาชัยเปน็ สริ ิมงคลใหข้ า้ ว สนตะพาย. ฟ ออกผลเจริญงอกงาม, (ดู ภ ไถเอาวัน ประกอบ). หวิน ๆ ก. หวัน่ , พร่ัน, มีอาการกร่งิ ม หว่านเทือก ก. หว่านข้าวปลูกลงใน เกรงไป เชน่ พญากลวั จรงิ หนอ ย ท่ีดินที่ท�ำเทือกไว้แล้ว คือใน ขหิ ยตู อ่ ใจหวนิ หวนิ (น.ิ รปู ทอง). ร ที่ดินท่ีไถและคราดแล้วท�ำให้ ฤ ล ว เปน็ โคลนตม. ศ หว่านแห ก. ทอดแห. ส หวา้ ปลอก น. ชอื่ ไมต้ น้ ขนาดกลางใน ห อ กลุ่ม “ชมพู่”ชนิดในสกุล ฮ 322

พจนานุกรม ภาษาโคราช วิน ๆ ก็ว่า เช่น พญาเห็นคับขัน หอยนา น. หอยชนดิ หนงึ่ คล้ายหอย ก ตวั ออกสน่ั ใจวนิ วนิ (น.ิ รปู ทอง). โข่งแต่ตัวเล็กกว่า อาศัยอยู่ ข หว่ิน ๑. ว. หมน่ิ , ชิดขอบเกือบตก. ตามทอ้ งนา. ค ๒. ก. ขาดไป, พ่องไป. ฆ หวีปากหม้อ [หวี-ปาก-หม่อ] ดู สวี หอยลอยตามคราด (ส�ำ) เห็นดีเห็น ง ปากหม่อ. งามตามผู้อื่น, คิดหรือรู้สึกไป จ หวีหวั ก. หวีผม เชน่ หวหี วั มวั นุ่งผ้า ตามผ้อู น่ื . ฉ แตง่ ตวั ชา้ เลวกวา่ ใคร (น.ิ รปู ทอง), ช จะผัดหน้าทาขมิ้นให้ส้ินเหื่อ หอ้ ยอย่กู ะหลัก ตักก็เตม็ ไม่ตักกเ็ ตม็ ซ ให้เหลืองเร่ือแต่ละทีจะหวีหัว [หอ่ ย-หย-ู่ กะ๊ -ลกั -ตกั๊ -ก-็ เตม็ - ฐ (สุภมิต ฯ). ไม่-ตั๊ก-ก็-เต็ม] (ปริศ) น. ฒ หอ้ ก. ควบ, บงั คบั ใหว้ งิ่ เร็ว (ใชแ้ ก่ มะพร้าว. ด สัตว)์ เช่น ห้อมา่ มาโน่น (ควบ ต ม้ามาโนน่ ). หักดงไม้ไผ่ [ฮกั -ดง-ม่าย-ไผ]่ ก. หัก ถ หอกสคี่ ม น. แนวทางแหง่ ความสำ� เรจ็ เพราะตอ้ งลมแรง (ใชแ้ ก่ต้นไม้ ท ของหมอเพลงโคราชมี ๔ สูง). ธ ประการ คือ ๑) ความรู้ด้าน น ธรรม ๒) ความรอบรดู้ า้ นทาง หกั หาญน้�ำใจ [ฮัก-หาน-นา่ ม-ไจ] ก. บ โลก เช่น ประวัติศาสตร์ กระท�ำด้วยอ�ำนาจหรือก�ำลัง ป วรรณคดี ประเพณี วัฒนธรรม โดยเจ้าตวั ไม่ยนิ ยอมพร้อมใจ. ผ เปน็ ตน้ ๓) ความรรู้ อบตัว ๔) ฝ ปฏิภาณไหวพริบในการแก้ หนั ควก [หนั -คว่ ก] ก. เหลยี วขวบั , หนั พ ปัญหา. ขวบั . ฟ หอ้ งหับ [หอ่ ง-ฮบั ] น. ห้อง. ภ หอนอน น. เรอื นนอน. หันใจ ก. หายใจ. ม หอนง่ั น. เรอื นสำ� หรบั รับรองแขก. หันใจผูผู ก. หายใจถี่ ๆ ย ห้อม [หอ่ ม] ก. หอ้ มลอ้ ม, รมุ ล้อม. ร หอมสี องหัว (ปริศ) ห (หอหบี ). เช่น ยืนทอดใจใหญ่ หันใจผูผู ฤ หอยจูบ น. หอยขม. (น.ิ รปู ทอง). ล หันใจไม่อ่ิม ก. หายใจไม่เต็ม ว ปอด, อาการท่ีเหน่ือยเพราะ ศ หายใจไม่เตม็ ท.ี่ ส หนั วงระวงิ [หัน-วง-ละ่ -วงิ ] น. การ ห เลน่ อยา่ งหนงึ่ ใชผ้ เู้ ลน่ ประมาณ อ ๘ คนโดย ๔ คนแรกจะน่ัง ฮ เหยยี ดเท้าชนกันเปน็ มุมฉาก ๔ 323

หวั - หัวสมุ่ มุม หรือเป็นรูปเคร่ืองหมาย หวั ซา ว. ถือสา, ซา. บวก อีก ๔ คนหลงั จะเขา้ ไปจบั หวั ดำ� คนออก หวั หงอกคนเลย้ี ง [หวั - มือพวกท่ีน่ังกันคนละช่องแล้ว ก หมุน สลับเปล่ียนกันยืนกันน่ัง ดำ� -คน-ออก- หวั -หงฺ อก-คน- ข บางแห่งเรียกว่า โค่งตีนเกียน เลี่ยง] (ส�ำ) ผู้หญิงทุกวันนี้ ค คลอดลูกแล้วท้ิงให้พ่อแม่หรือ ฆ (โค้งตีนเกวียน) หรือร่ะวงตีน ญาติผใู้ หญเ่ ปน็ คนเล้ียง (เป็น ง เกยี น (ระวงตนี เกวียน). ค�ำประชด). จ หัว น. ลกั ษณะนามของ สะบา้ , สมดุ , หัวด�ำไปก่อน หัวด่อนไปหลัง (ส�ำ) ฉ ตามลำ� ดบั อาวโุ ส. ช ขนมจนี เป็นตน้ . หวั แตกหัวแตน ว. หัวแตก, ปดู , บวม ซ หวั กระได ดู ฮกกระได. ทั่วทงั้ หวั . ฐ หวั ข่วน น. ขั้วของผลไม.้ หวั ถลำ� ต�ำดนิ (สำ� ) ท�ำงานหนกั อย่าง ฒ หวั ขอด ว. หัวสงู , มรี สนิยมสูง, แสดง หวั ปกั หัวปำ� . ด หัวทะเล น. ชือ่ หมบู่ า้ นและตำ� บลหนงึ่ ต ตนเปน็ ผรู้ ู้ด.ี ในอ�ำเภอเมืองนครราชสีมา ถ หัวขว้ั (ปาก) ดู หัวควย. เล่าสืบกันมาว่าบริเวณแห่งนี้ ท หัวข้าวหัวปลา [หัว-เข่า-หัว-ปา] ว. เป็นทุ่งหญ้ากว้างใหญ่เหมือน ธ ทะเลจงึ เรยี กวา่ “ทงุ่ ทะเลหญา้ ” น ช่วงเดือน ๘-๙ ที่น้�ำข้าวอุดม หรือ “ทะเลหญ้า” เช่น ตาม บ สมบรู ณ์ ; ทำ� นองในนำ้� มปี ลาใน ต�ำราพิชัยสงครามค่ายชนิด ป นามขี า้ ว. นาคนามเบ้ืองน้ันทะเลหญ้าซ่ึง ผ อยู่ทางทิศตะวันออกของตัว ฝ หัวขี้ [หวั -ข่]ี ดู รูข.ี้ เมอื งนครราชสมิ า (ทา้ ว ฯ) ใน พ หัวขแ้ี ต้ [หัว-ขี่-แต้] ดู ขี้แต้. สมัยก่อนนักโทษที่จะประหาร ฟ หัวขเ้ี ท่อ [หวั -ข-่ี เทอ่ ] ว. ขเ้ี ทอ่ , หัว ชี วิ ต ต ้ อ ง อ อ ก ท า ง ป ร ะ ตู ผี ภ (ประตูไชยณรงค์) แล้วน�ำมา ม สมองไมด่ ,ี สมองทึบ, โง่. ประหารทที่ ุง่ ทะเลหญา้ กอปร ย หวั ควย น. อวยั วะสบื พนั ธข์ุ องชาย (คำ� กบั บ้านเมืองมกี ารรบทัพจบั ศึก ร กนั บอ่ ย ๆ คงจะมีหวั ของผู้ถูก ฤ ด่าหรือท้าทาย), หวั ขัว้ , หัวโคย ล ก็ว่า. ว หวั โคย ดู หวั ควย. ศ หวั งก น. หวั ทุยโตผดิ ปกต.ิ ส หัวใจหล่นลงไปอย่ตู าตุม่ ว. ตกใจจน ห อ รสู้ กึ วาบลงไป. ฮ 324

พจนานุกรม ภาษาโคราช ประหารและจากการท�ำศึกน�ำ ท่ีดนิ , หลักเขตตรงมมุ ทีด่ ิน. ก มาท้ิงเกลื่อนไปหมดแลดูแล้ว หวั ไร น. รอยเสน้ ผมทถี่ กู ถอนออกแลว้ ข เหมือนกับทะเลหัวคน ค�ำวา่ ท่งุ ค “ทะเลหญา้ ” ต่อมากลายเสียง เช่น ผมท่ีตัดมิให้ลัดข้ึนมาได้ ฆ เป็น “หวั ทะเล”. ถอนแต่ไรล่อแต่เล่ห์เสน่หา ง หัวท ี น. ครง้ั แรก, ทีแรก, แตแ่ รก, (สภุ มิต ฯ). จ เดมิ ที. หัวล้านเต่ิงเหม่ิง [หัว-ล่าน-เติ่ง- ฉ หัวนอน น. ทิศใต้. เหฺมิ่ง] น. หัวล้านใสเห็นชัด ช หัวบวั น. ไหลบัว, ส่วนของบัวท่ีไหล อย่างจะแจ้ง. ซ ชอนไชและงอกเงย หรือแยก หัวและ [หัว-แล่ะ] ว. เป็นค�ำพูด ฐ เปน็ บัวต้นใหม่ได้, รากบัว กว็ ่า. ดูแคลนในท�ำนองว่าไม่มีอะไร, ฒ หวั ปลวก น. จอมปลวก, รงั ปลวกขนาด ไม่มีฐานะ, ไม่มีสมบัติพัสถาน, ด ใหญ่ที่สงู ขน้ึ เปน็ จอม. ไม่มนี ้ำ� ยา. ต หวั โป่ น. หัวโจก, หวั หนา้ . ถ หวั แยกเลย้ี ว [หัว-แยก-เลยี่ ว] น. หัว หวั โลน้ ท เลยี้ วหวั ตอ่ , ช่วงส�ำคญั ที่อย่ใู น ธ ระยะต่อกันถือว่าเป็นตอน หวั โลน้ [หวั -โลน่ ] น. กระเบียน ; ชื่อ น สำ� คญั มโี อกาสเปลยี่ นแปลงได้ ไมต้ น้ ชนดิ Gardenia turgida บ งา่ ย เชน่ จะยอมเสยี สาวกเ็ นอ่ื ง Roxb. ในวงศ์ Rubiaceae ขน้ึ ป ด้วยประเพณดี อกแล ประเพณี ในปา่ เตง็ รงั และปา่ เบญจพรรณ ผ นี้เสมือนหนึ่งหัวแยกเล้ียวของ ต้นมีหนามห่าง ๆ ดอกแรก ฝ ชีวติ (ท้าว ฯ). สีขาวแล้วเปล่ียนเป็นสีเหลือง พ หัวรถ [หัว-ล่ด] น. สถานีรถไฟ อ่อน ผลคล้ายละมุดฝร่ัง สุก ฟ นครราชสีมา, หวั ร่ถไฟ ก็วา่ . แลว้ แขง็ , หมยุ ขาว ก็เรียก. ภ หัวรถไฟ [หัว-ล่ด-ไฟ] ดู หวั รถ. ม หัวร่อต่อกระซิก ก. หัวเราะกันไปมา หวั สุม่ น. ดอกนมแมว. ย อย่างสนกุ . ร หัวระพา น. โหระพา. ฤ หัวร้ัว [หัว-ลว่ั ] น. มุมร้ัว, มุมเขต ล ว ศ ส ห อ ฮ 325

หัวหง่าว - ห�ำอาว หวั หงา่ ว น. เหงา้ , โคนหรอื ปมรากของ ว่าจ้างเพลงโคราชมาแสดง), พชื บางอยา่ ง เชน่ ขงิ ขา่ กลว้ ย, ไปหาคนมาชว่ ยเกยี่ วเขา่ (ไปหา หัวเหง้า ก็ว่า. วานคนมาช่วยเกี่ยวข้าว). ก หวั หมนุ่ กน้ ซกุ [หวั -หมฺ นุ่ -กน้ -ซกุ่ ] (สำ� ) ๒. ใช้ประกอบค�ำอ่ืนให้มีความ ข หมายเด่นชัด. ค ท�ำงานตัวเป็นเกลียว, ท�ำงาน หากนิ ก. ทำ� มาหากนิ , ประกอบ ฆ หนัก. อาชพี . ง หวั เหน่ง [หัว-เหนฺ ่ง] น. หวั เหม่ง, หวั หาพระแสง ดู หาหอก. จ หาพระแสงดาบคาบค่าย ดู ฉ ล้านใสเปน็ มนั . หาหอก. ช หวั เหงา้ [หวั -เหงฺ า่ ] ดู หัวง่าว. หาพริกหานาง [หา-พ่ิก-หา- ซ หัวแหลมปลายแหลม ลอยมาใน นาง] ก. จัดข้าวปลาอาหาร ฐ เช่น น้�ำพริก ผัก เปน็ ต้น. ฒ มหาสมุทร มนุษย์ชอบกิน หายาก ว. ค�ำประชดประชัน ด [หัว-แหฺลม-ปาย-แหฺลม- ทำ� นองวา่ คน, สงิ่ ของประเภทน้ี ต ลอย-มา-ไน-มะ-หา-สะ-มุด- หายาก มกั พดู วา่ หายากแทะ่ ๆ. ถ มะ-นุ่ด-ชอบ-กิน] (ปริศ) น. หาสู่ ก. หา, เอามา เช่น หา ท ลอดชอ่ ง. เข่ามาสู่กันกิน (หาข้าวหรือ ธ อาหารมากินกัน). น หัวโหนก [หัว-โหฺนก] น. ศีรษะที่ หาหอก ว. มักใช้ประกอบ บ ท้ายทอยนนู ออกมา. คำ� ถามทำ� นองวา่ ทำ� ไม, หาอะไร ป เชน่ พดู หาหอกอะไร (พดู ทำ� ไม, ผ หวั โหล ่น. ส่วนของยอดเขาท่ีย่ืนออก พูดหาอะไร), หาพระแสง, ฝ ไป, ชะโงกเขา. หาพระแสงดาบคาบคา่ ย กว็ ่า. พ หสั แดง [ฮดั -สะ-แดง] น. วา่ นไกท่ อง, หาอยหู่ ากนิ น. ประกอบอาชพี , ฟ ท�ำมาหากนิ . ภ ว่านไก่น้อย; พรรณไม้จ�ำพวก หา่ น. เป็นค�ำดา่ หรือค�ำที่แสดงว่า ม เฟิร์นชนิด Golden Moss, ตำ�่ ชา้ หรือทราม. ย Chain Fern. และ Cibotium ห่ากิน ว. เป็นค�ำด่ามีความ ร barometz J. Sm. ในวงศ์ ฤ Dicksoniaceae. Cibo ล ว tiaceae ใบมีลักษณะคล้าย ศ มงกฎุ ออกรอบ ๆ เหง้า. ส หา ๑. ก. ไปหาโดยการจ้างหรือวาน ห อ เช่น ไปหาเพลงมาเหล่น (ไปหา ฮ 326

พจนานุกรม ภาษาโคราช หมายทำ� นองวา่ ตายเพราะผหี า่ ในวงศ์ Lycopodiaceae คลา้ ย ก มากนิ . ตน้ ช้องนางคลี่ ล�ำต้นยาวหอ้ ย ข ห่าปัด [ห่า-ปั๊ด] ว. ค�ำสบถ ลงแยกแขนงเป็นคู่ ๆ, ถิ่น ค หรือค�ำด่าอย่างหนึ่งท�ำนองว่า นครศรธี รรมราชเรยี ก หางดา่ ง. ฆ ห่ากิน, หา่ ฟัด กว็ า่ . หางเหี่ยว น. เหล็กส�ำหรับขุดดิน ง หา่ ฟดั [ห่า-ฟ่ัด] ดู ห่าปดั . เหนยี ว, สว่ นปลายหางของวา่ ว จ ห่าแดก ว. ใชเ้ ป็นค�ำด่าอยา่ ง จฬุ า. ฉ หนึง่ ท�ำนองว่าหา่ กิน. หางแห้ม [หาง-แห่ม] น. หางไหม้ ช ห่าราก ว. ค�ำสบถหรือค�ำด่า (ใช้เรยี กงูเขียวหางไหม้). ซ อย่างหนึง่ ท�ำนองวา่ หา่ กิน. หาบกะดอ่ น คอนกะเดย่ี ว (สำ� ) ทำ� มา ฐ ห่าเอ้ย น. ค�ำที่แทนคนที่พูด หากินดว้ ยการหาบของขาย. ฒ ด้วยหรือกลา่ วถึงบคุ คลท่ี ๓ ท่ี หาบคลอนยอนยาน [หาบ-คอน- ด สนิมสนมพูดกัน เช่น ห่าเอ้ย ยอน-ยาน] (ส�ำ) ก. หาบของ ต ท�ำไมท�ำอย่างน่ัน (แกท�ำไมท�ำ ขายดว้ ยความเหน่ือยยาก. ถ อย่างนั้น). หาบฟดั หาบเหวย่ี ง [หาบ-ฟ่ัด-หาบ- ท หางกราย ดู หนามกราย. เหฺวี่ยง] (ส�ำ) ก. หาบไปด้วย ธ หางจุกตูด [หาง-จกุ๊ -ตูด] ก. วิ่งแจน้ ความลำ� บาก. น ดว้ ยความหวาดกลวั , วงิ่ หางจกุ หา่ ม ก. บา้ ๆ บอ ๆ, คุม้ ดีคมุ้ รา้ ย, บ ตดู ก็ว่า. มทุ ะล,ุ บ้าบ่ิน. ป หางนกลิง [หาง-น่ก-ลิง] น. ช่ือไม้ หายจ้อย ว. หายวับ, หายไปโดยไมม่ ี ผ ล้มลุกชนิด Christia ves ขา่ วคราว. ฝ pertilionis (L.f.) Bakh. f. ใน หายใจไม่อิ่ม ก. อาการเหน่ือยเพราะ พ วงศ์ Leguminosae, ถิ่นอีสาน หายใจไมเ่ ตม็ ทหี่ รอื ไมเ่ ตม็ ปอด. ฟ เรียก ปีกเจีย. ห่าว ก. เงยี่ น, อยาก, กำ� หนดั . ภ หางปลา น. เครอ่ื งบอกสญั ญาณรถไฟ ห�ำอาว น. ต้นสะแกแสง ; ไม้ยืนต้น ม คล้ายหางปลาตดิ ไว้บนเสา. ชนิด Cananga latifolia ย หางสิงห์ น. ไม้ประเภทเฟิร์นชนิดท่ี (Hook.f. & Thomson) Fi ร ชอบอาศัยต้นไม้อ่ืนชนิด Lyco net & Gagnep. ในวงศ์ ฤ podium squarrosum Forst Annonaceae ใบเด่ียวออก ล ว ศ ส ห อ ฮ 327

หำ� ฮอก - หยุ ตามขอ้ ตน้ ดอกเดยี่ วสเี ขยี วอม หิวนอน ก. ง่วงนอน. เหลอื งช่อละ ๒-๓ ดอก ดอกละ หีเคยี ว ว. หญิงที่ให้ท่า , หญิงท่ีร่าน ๕-๖ กลีบมีกล่ินหอมอ่อน ๆ, ก หำ� ฮอก, สม่ กลบี กว็ า่ . ผู้ชาย (คำ� ดา่ ). ข ห�ำฮอก ดู ห�ำอาว. หีฉีก ว. เสียงจามโดยออกเสียง ค ฆ หิ่งห้อ น. ชื่อไม้พุ่มพันธุ์หน่ึงในกลุ่ม อย่างน้ัน. ง “ตน้ ห่ิงหาย” ชนดิ Crotalaria หีโตน้ น. หีใหญม่ าก ๆ (ใชเ้ ป็นค�ำด่า). จ juncea Linn. ในวงศ์ หนี ะทานงั [ห-ี น่ะ-ทา-นัง] ว. ไม่รูเ้ รอ่ื ง ฉ ช Leguminosae ดอกสีเหลือง อะไร, ไม่ประสีประสามกั พดู วา่ ซ ฝักกลมพอง นักพฤกษศาสตร์ ไม่รู่หนี ะ่ ทานงั (ไม่สุภาพ). ฐ เรียก ค�ำบชู า. หบี บหุ รี่ น. หบี หรอื กลอ่ งเลก็ ๆ สำ� หรบั ฒ หิน ก. หนั , หันหนา้ . ใส่บุหร.ี่ ด หปี ล้ิน [หี-ปนิ้ ] ว. ใชเ้ ปน็ ค�ำดา่ ผูห้ ญิง ต หนิ ดัน ดู หินดุ. (ไมส่ ภุ าพ). ถ หินดุ [หิน-ด]ุ๊ น. เคร่ืองมือตหี รือป้ัน หีแม่มึง ๑. สรรพนามบุรุษท่ี ๒ โดย ท ปริยายหมายถึงค�ำที่ใช้แทน ธ หม้อท่ีท�ำจากดินเผาเหมือนไม้ ผู้ที่เราพูดด้วย เช่น มึง, แก, น คอ เปน็ แผน่ รปู โคง้ โดยสอดไว้ ลูก ๆ เป็นต้น. บ ด้านในหม้อเพ่ือรองรับแรงตี ๒. ว. ใช้ประกอบค่าว่า ชา่ ง มี ป หรอื ปัน้ หมอ้ จากด้านนอก เพื่อ ความหมายท�ำนองว่าช่าง ผ หวั มัน, ปล่อยไปตามเรื่องตาม ฝ ให้ได้รูปทรงตามท่ีต้องการ, ราว, ปล่อยไปไม่เอาเป็นธุระ, พ หินดุน, หินดนั กว็ า่ , (ดู ไม้คอ เชน่ ช่างหแี ม่มึง (ช่างมงึ ). ฟ ประกอบ). ๓. ว. คำ� ด่าแม่. ภ หินดุน ดู หนิ ด.ุ หโี ลง่ ว. ใชเ้ ปน็ คำ� ดา่ ผหู้ ญงิ (ไมส่ ภุ าพ) ม หนิ เหลก็ ไฟ [หนิ -เลก็ -ไฟ] ดู เหลก็ ไฟ. เชน่ ถ้าไดก้ บ๊ั พ่ีจะไขวส่ ายย่บั จะ ย หมิ หาม ดู ระหิมระหาม. จบ๊ั สายโยง ใหล่ มเปา่ หโี ลง่ ๆ ร หริ ญั ญกิ าร์ [ฮ-ิ ลัน-ยิ-กา] น. ช่ือไม้ สบายรู...เล่ย (เพลงโคราช). ฤ หึ [ฮ]ึ ว. ไม่, หึอือ้ ก็วา่ . ล หอึ ้อื [ฮึ-อ้อื ] ดู ห.ึ ว เล้ือยชนิด Beaumontia ศ brevituba Oliv. ในวงศ์ ส Apocynaceae, ถ่ินล�ำปาง ห อ เรยี ก ค�ำมอกเครอื . ฮ 328

พจนานุกรม ภาษาโคราช หึง ว. นาน, ยืนยาว เช่น จะหึงนาน จนถึงปากหลุมที่งัดว่าได้ระยะ ก ในสงสารกระวนกระวาย, ทางก่ีไม้ ฝ่ายไหนได้ระยะทาง ข พระชันษายาวอยู่ให้ยืนหึง ยาวกว่ากันเป็นฝ่ายชนะ ส่วน ค (น.ิ พระปาจติ ). การลงโทษแล้วแต่จะตกลงกัน ฆ เช่น ข่ีหลัง เป็นต้น การเล่น ง หึ่ง น. การเลน่ อย่างหนง่ึ แบง่ ออกเป็น แตล่ ะทอ้ งทอี่ าจแตกตา่ งกนั ไป. จ ๒ ฝา่ ย อุปกรณ์การเลน่ มี “ไม้ หนึ ก. หนื , เหมน็ เขยี ว, มรี สทอี่ อกกลนิ่ ฉ แม่หึ่ง” ซ่ึงใช้ไม้ไผ่รวกหรือไม้ เหมน็ คลา้ ยกลนิ่ หญา้ ทตี่ ดั สด ๆ ช กลม ๆ ขนาดพอเหมาะยาว ใกล้บูด เชน่ ผกั เส้ยี นทีด่ องยงั ซ ประมาณ ๒ ฟตุ และ “ไมล้ กู ไม่เปน็ , หนื , หนึ ตือ้ , เหมน็ หนึ ฐ หึ่ง” ซึ่งเป็นไม้กลมสั้นยาว ก็วา่ . ฒ ประมาณ ๕ เซนตเิ มตร ขดุ หลมุ หึนต้ือ ดู หนึ . ด เป็นร่องยาวพอสมควรเพื่อใช้ หม่ึ เหอื่ ว. อ้วนล่�ำ (มักใช้แก่ผใู้ หญ่). ต วางไมล้ กู หงึ่ งดั การเลน่ จะมี ๒ หน่ื ระหนั ก. หนื่ หรรษ,์ เริงใจ, ร่าเริง ถ ทา่ คอื ทา่ แรกเรยี กวา่ องี ดั โดย เช่น ส่วนนายเภตราได้ฟงั วาจา ท วางไมล้ กู หง่ึ ขวางรอ่ งแลว้ งดั ไป ชนื่ ชมห่นื ระหนั (นิ.รปู ทอง). ธ ให้ไกลท่ีสุด อีกฝ่ายจะคอยรับ หงุ เกลอื ก. ทำ� เกลือสนิ เธาวด์ ว้ ยการ น เมอื่ เสรจ็ จากทา่ แรกกจ็ ะไปเลน่ เค่ียวน้�ำเกลอื จนงวดแหง้ . บ ทา่ ทส่ี อง เรยี กวา่ อีตี โดยจบั ไม้ หุนหวย ว. กระสับกระส่าย, กระวน ป ลูกหึ่งแล้วใช้ไม้แม่ห่ึงตีไปให้ กระวายใจ. ผ ไกลท่ีสุด อีกฝ่ายจะคอยรับ หุนใหญ่ น. ช่ือไม้เลื้อยชนิด Cissus ฝ กติกาการรับไม้ลูกหง่ึ มดี ังน้ี convolvulacae Planch ใน พ วงศ์ Vitaceae. ฟ ๑) ถา้ ฝา่ ยคอยรบั รบั ไดก้ จ็ ะโยน หบุ เทา่ กระบอก ถอกเทา่ กระดง้ [ฮบุ - ภ ไม้ลูกห่ึงให้ไปลงหลุมหรือให้ เทา่ -กะ-บอก-ถอก-เทา่ -กะ-ดง้ ] ม ใกลป้ ากหลมุ มากทส่ี ดุ ถา้ ไมถ่ งึ (ปริศ) น. ร่ม. ย ปากหลมุ ฝา่ ยงดั กจ็ ะใชไ้ มแ้ มห่ ง่ึ หุย น. ไอ, ส่ิงท่ีมีลักษณะอย่างควัน ร วดั ระยะทางวา่ ได้กีไ่ ม้ ลอยออกจากของที่ถูกความ ฤ ร้อนจนระเหย, หุยห้วน ก็ว่า. ล ๒) ถา้ ฝา่ ยคอยรบั รบั ไมไ่ ด้ ฝา่ ย ว งัดก็จะไปท่ีจุดท่ีไม้ลูกห่ึงตก ศ จากนั้นก็จะใช้ไม้แม่หึ่งวัดไป ส ห อ ฮ 329

หเู ข้าหอู อก - เหมอื ด หยุ หว้ น ดู หุย. เหงอื กหงาย ดู หงายเหงอื ก. หเู ขา้ หูออก [ห-ู เข่า-ห-ู ออก] ก. ฟงั เหง่ือเม็ดข้าวโพด [เหฺง่ือ-เม่ด-เข่า- เชน่ พวกนีเ่ สยี งดงั หเู ขา่ หอู อก ก อะไรไม่ได้เลย (พวกน้ีเสียงดัง โพด] น. เหงือ่ เม็ดโตเปรยี บได้ ข คนเขาคุยกันฟังอะไรไม่รู้เรื่อง, กับเมด็ ขา้ วโพด. ค เหงือ่ ย้อยตะหมูก [เหงฺ อื่ -ยอ่ ย-ตะ-หฺ ฆ ฟังไม่ได้ศพั ท)์ . มูก] ก. เหง่อื ไหลยอ้ ยอย่ปู ลาย ง หจู ะแตก ว. ค�ำเปรยี บเปรยท�ำนองว่า จมกู . จ เหง่ือไหลไคลย้อย [เหฺงื่อ-ไหฺล-ไค- ฉ พูดหรือเรียกจนแก้วหูจะแตก ยอ่ ย] น. เหงอื่ ไหลโชก. ช แล้วยงั ไม่ได้ยิน เช่น เรียกจนหู เห็ด [เฮ็ด] น. เหด็ . ซ จะแตกอยูแ่ ลว่ . เห็ดกระโปกพระ [เฮ็ด-กะ- ฐ หแู ช ว. ฟงั ไม่ไดค้ วาม, ฟงั ความแลว้ โปก-พ่ะ] น. เห็ดชนิดหน่ึงลูก ฒ กลม ๆ สเี หลอื ง. ด เขา้ ใจผิด. เหด็ ไข่ [เฮด็ -ไข]่ ดู เหด็ ระ่ โงก. ต เหง [เหง] น. ปกี ไม.้ เห็ดบด [เฮ็ด-บ๊ด] น. เห็ด ถ เหงก [เหฺงก] ก. ค�ำปฏิเสธหรอื แสดง กระด้าง. ท เหด็ ระโงก [เฮ็ด-ล่ะ-โงก] น. ธ ความไม่พอใจ, ไม่เห็นด้วย เหด็ ชนดิ หนง่ึ ดอกสขี าว, เหด็ ไข่ น พร้อมกับยกด้านหลังมือท�ำ กเ็ วา่ . บ มะเหงกให้ คอื งอขอ้ นว้ิ มอื ทง้ั หา้ เห็ดแร้งคอย [เฮ็ด-แล่ง- ป เข้าด้วยกนั คอย] น. เห็ดชนดิ หนึง่ มีพษิ กนิ ผ แล้วเมาถงึ ตาย นยั ว่าใครท่กี ิน ฝ เหงิ่งหง่าง [เหฺง่ิง-หง่าง] ว. งง, เห็ดชนิดนี้มักไม่รอดแร้งมักจะ พ อาการเซ่อ. คอยกินศพ. ฟ เหตผุ ลตน้ ปลาย น. ตน้ สายปลายเหต,ุ ภ เหงนิ หง่อ [เหฺงนิ -หงอ่ ] ดู หง็อนหง่อ. ความเป็นมาของเรอ่ื ง เช่น ข้า ม เหงิบ [เหฺงบิ ] ก. เงย, อา้ , เผยอ. ก็พยายามทักท้วงแลถามถึง ย เหงบิ เงย [เหงฺ ิบ-เงย] ๑ ว. อาการดี เหตุผลตน้ ปลาย (ท้าวฯ). ร เหนบ็ กฤช [เน็บ-กิด๊ ] น. ท่าหน่งึ ของ ฤ ขึ้น, ทุเลา, คอ่ ยยงั ช่ัว. ล ๒. ก. (สำ� ) เงยหนา้ อ้าปาก, มี ว ฐานะดีข้ึนกว่าเดิมพอทัดเทียม ศ คนอน่ื . ส ๓. ก. เงย, เงยหนา้ , เงบิ เงย กว็ า่ . ห อ เหงบิ หฟู งั ก. เงี่ยหฟู ัง. ฮ 330

พจนานุกรม ภาษาโคราช มวยไทย โดยใชเ้ ทา้ เตะสะโพกคู่ เหนียวยังกะหนงั หัวเกวียน [เหนฺ ียว- ก ตอ่ สู้ เชน่ หลอกเอาเทา้ ไปปะทะ ยัง-กะ-หนัง-หัว-เกียน] (ส�ำ) ข กับชายตะโพกของคู่อริเรียกว่า ข้ีตระหน,ี่ ขี้เหนียว; เปรยี บได้ ค เหน็บกฤช (ท้าว ฯ). กบั หนงั ทคี่ าดหวั ววั เทยี มเกวยี น ฆ เหน็บกะเตี่ยว [เน็บ-กะ-เตี่ยว] ก. ทม่ี คี วามหนยี วมาก, (ดู หนงั หวั ง หยักรั้ง, รวบผ้าถุงหรือโสร่ง เกยี น, หนังหัวไถ ประกอบ). จ ข้างสะโพกมาเหน็บไว้ท่ีเอว ฉ ท้งั ๒ ขา้ ง, การเหนบ็ กะเตย่ี ว เหนือฝ้ายงั มสี ิว (ปาก) (สำ� ) ยงั มีส่ิงที่ ช ก็เพ่ือความคลอ่ งตวั , กะเตย่ี ว, เหนือกวา่ . ซ เนบ็ รง้ั ก็ว่า เช่น ตาแก่ไม่ฟัง ฐ นุ่งผ้าเหน็บรั้ง แลหลังแลหน้า เหนื่อยในท้อง [เหฺน่ือย-ไน-ท่อง] ว. ฒ (นิ.รูปทอง). ออ่ นเพลีย. ด เหน็บกิน [เน็บ-กิน] ก. เหน็บชา, ต อาการชาตามอวัยวะบางส่วน เหมง่ หม่าง ดู เหม่ิงหมา่ ง. ถ ชว่ั ขณะ. เหมน็ กุย ก. เหมน็ สาบ. ท เหนบ็ รั้ง [เนบ็ -ลงั่ ] ดู เหน็บกะเตี่ยว. เหมน็ กลมุ้ ก. เหมน็ เนา่ อย่างแรง. ธ เหน็ ๆ ก. เห็นแวบ ๆ, เห็นชว่ั พรบิ ตา. เหม็นขิว ก. เหมน็ สาบ. น เห็นแจ้งแดงแจ๋ ก. รู้เห็นอย่างทะลุ เหม็นฉุ่ง ก. กล่ินเหม็นอย่างแรง, บ ปรโุ ปร่ง. ป เห็นว่าก็ดาย ว. เหน็ ว่าก็ไมใ่ ช่อยา่ งนน้ั เหม็นโฉ่. ผ หรอก, ไม่ใช่อย่างน้ันหรอก, เหมน็ เนา่ เหมน็ โขง ก. กลนิ่ เหมน็ อยา่ ง ฝ เห็นวา่ ก็ไม่ถึงขนาดน้นั , เห็นว่า พ กะดาย ก็ว่า. เนื้อเน่าค้างหลายวัน, กลิ่น ฟ เหน็ วา่ กะดาย ดู เหน็ ว่าก็ดาย. เหม็นอย่างแรง. ภ เห็นไส้เห็นพุง [เหน็ -ไส่-เห็น-พุง] ก. เหมน็ หึน ดู หนึ . ม รไู้ ส,้ รเู้ หน็ ทกุ ซอกทกุ มมุ , รเู้ หน็ เหม็นหนื ดู หึน. ย สันดานเดมิ เปน็ อย่างด.ี เหมิง่ หมา่ ง [เหมฺ งิ่ -หม่าง] ก. แสดง ร เหน็ หน ก. มองเหน็ , สายตาด.ี อาการทำ� หนา้ ตาตน่ื , ตกตะลงึ , ฤ เหนียน ก. เก่ียง, เกีย่ งงอน. เลิกลก่ั , เหมง่ หม่าง ก็ว่า. ล เหมี่ยง ดู เหมี่ยม. ว เหมยี่ ม ดู เม่ยื ม. ศ เหมอื ด ๑. น. เน้ือสัตว์ท่ีใช้ประกอบ ส อาหาร เช่น หอย, ปู ปลา, ห เนอ้ื หมู, เนือ้ วัว เป็นตน้ . อ ฮ 331

เหมอื ดแก้ว - เหว่ียงแห ๒. เครอื่ งปรงุ เปน็ นำ้� ยาขนมจนี เหมอื นยงั , เหมอื นหยงั่ ว. เหมอื นอยา่ ง. ได้แก่ ปลาปน่ หอมแดง (ซอย เหมือ่ ม ว. ใชป้ ระกอบค�ำวา่ ด�ำ มีความ หรือห่ัน) หัวตะไคร้ (ซอยหรือ ก ห่นั ) ใบมะกรดู (ซอยหรือหน่ั ) หมายวา่ ดำ� เปน็ เงามนั , ดำ� มาก, ข น�้ำปลา, (ดู ขนมจีนเหมือด เหมีย่ ง, เหมย่ี ม ก็วา่ . ค เหยง [เหฺยง] ว. โหยง, อาการท่ี ฆ ประกอบ). กระโดดโดยฉบั ไว เช่น กระโดด ง เหมอื ดแกว้ น. ชอ่ื ไมต้ น้ ชนดิ Sladenia เหยง. จ เหยง ๆ [เหฺยง-เหฺยง] ก. เหยาะ ๆ, ฉ celastrifolia Kurz. ในวงศ์ อาการชา้ ๆ เชน่ กระโดดเหยง ๆ ช Sladeniaceae. (กระโดดเหยาะ ๆ), ยอ็ ก ๆ กว็ า่ . ซ เหมือดปลาซิว น. ไม้ต้นในกลุ่มต้น เหยดิ [เหยฺ ดิ ] ก. หยง่ , อาการเดนิ ของ ฐ คนเท้าพิการต้องเขย่งเท้าอีก ฒ “เหมือด” ชนิด Symplocos ขา้ งหนง่ึ , อาการเดนิ จรดปลาย ด caudata Wall ในวงศ์ เท้า โดยฝ่าเท้าไมถ่ ูกพ้นื . ต Symplocoseae ดอกสีขาว เหยิดหยิง่ [เหฺยดิ -หย่งิ ] ว. เย่อหยง่ิ ถ เป็นช่อกลิ่นหอมใบแห้งจะเป็น เช่น ท�ำทีฉุงฉิง ท�ำเหยิด ท สีเหลือง. ท�ำหย่ิง ราวกะท่านขรัวยาย ธ (นิ.รปู ทอง). น เหมอื ดโลด ดู หญ้าขวากกระตา่ ย. เหยิน [เหยฺ นิ ] ก. เขยนิ , เผยอขนึ้ เช่น บ คางก็เหยินหูก็ยาวเข้ียวก็โง้ง ป (น.ิ พระปาจติ ). ผ เหยิม่ [เหยฺ ่ิม] ก. ขย่ม, ขะเหยม่ิ ก็วา่ . ฝ เหยยี บ ว. ใชป้ ระกอบคำ� เพอื่ ใหม้ คี วาม พ หมายชัดเจน มีความหมาย ฟ ทำ� นองวา่ ไป, มา, เคย, เกอื บ ภ เช่น ไม่เคยมาเหยียบบ้านเลย ม (ไมเ่ คยมาบา้ นเลย) , ไมต่ ายคง ย ได้ไปเหยียบเยอรมัน (ไม่ตาย ร คงได้ไปประเทศเยอรมนี), น้า ฤ เหมือดโลด ล ว เหมือนฟนั หยวกกลว้ ย (ส�ำ) ก. ท�ำสงิ่ ศ ใดที่ง่ายหรือสะดวก เช่น ส เสมอื นหยวกกลว้ ยใหไ้ ทยฆา่ ฟนั ห อ เล่นสนกุ มอื (ทา้ ว ฯ). ฮ 332

พจนานุกรม ภาษาโคราช เคยเหยียบความเป็นหนุ่มสาว (ศัพทช์ า่ ง). ก มาแลว้ (ทา้ วฯ), อายเุ หยยี บ ๖๐ เหลง ๆ [เหฺลง-เหฺลง] ก. ปลิวร่อนลง ข (อายเุ กือบ ๖๐). ค เหยียบซ้�ำ [เหฺยียบ-ซ�่ำ] ก. ซ้�ำเติม, อย่างชา้ ๆ เช่น ลมกพ็ ด่ั ลว่ิ ๆ ฆ ทบั ถมใหร้ า้ ยข้นึ ไปอีก. ใบไม่ก็ปลิวเหลง ๆ จิไปดูเขา ง เหยียบรอยโจรรอยขโมย (ส�ำ) ก. เหล่นเพลงปะตีนวั่ดหัวละเลิง จ บงั เอญิ เข้าไปสวมรอยผู้กระทำ� (เพลงโคราช). ฉ ผิดโดยไม่ล่วงรู้หรือไม่คาดคิด เหล่อหล่า ว. เร่อรา่ , เซ่อ ๆ ซ่า ๆ. ช มาก่อน. เหลา้ เดด็ [เหฺล่า-เดด๊ ] น. เหลา้ ขาวท่ี ซ เหยยี บเรอื น น. อายุ เชน่ คณุ หญงิ โม ชาวบ้านตม้ กลัน่ . ฐ เป็นสตรีท่ีจัดอยู่ในเกณฑ์งาม เหล้าโท [เหฺลา่ -โท] น. สาโท. ฒ แม้จะตกเหยียบเรือน ๔๐ (ท้าว เหลนิ เลอะ [เหลฺ นิ -เลอ่ ะ] ว. เลอะเลอื น, ด ฯ). หลง ๆ ลมื ๆ, เลอื น, ราง ๆ มวั ๆ, ต เหยยี่ วกนิ ตนี น. เทา้ เปน็ เหนบ็ ชา, เปย่ี ว ไม่ชัดแจ้ง เช่น คร้ันเถ่าร่�ำว่า ถ กนิ ตนี กว็ ่า. หูตาเหลินเลอะ (เพลงโคราช). ท เหยาะลูกย่าง [เยาะ-ลูก-ย่าง] ว. เหลอื งร่า ว. เหลอื งสด, เหลืองอร่าม. ธ เหยาะ ๆ, อาการว่ิงช้า ๆ เช่น เหลอื เดน ว. เดนตาย, รอดตายทงั้ ๆ น ก็สาวตีนเดินไวเหมือนวิ่งหมา ทน่ี ่าจะตาย. บ เหยาะลูกย่างมากระท่ังถึง เหลอื วาย ว. อะไรกนั หนกั หนา, ละวาย ป บา้ นนา (นิ.พระปาจติ ). กว็ า่ , (ดู ซะปาย ประกอบ). ผ เหริม่ ๆ [เหลฺ ม่ิ -เหฺล่ิม] ว. เหยาะ ๆ เหว่ย ว. ใช้ประกอบท้ายค�ำมีความ ฝ เชน่ วงิ่ เหริ่ม ๆ. หมายทำ� นองวา่ เว้ย, วะ เช่น พ เหลก็ พดื [เลก็ -พดื ] น. เหลก็ กลา้ หรอื ไปไหนเหวย่ (ไปไหนวะ), เหวย่ เฮย ฟ เหลก็ แท่ง. กว็ ่า. ภ เหล็กไฟ [เลก็ -ไฟ] น. ไฟแช็กทเ่ี วลา เหวย่ เฮย ดู เหว่ย. ม ใช้ต้องให้จักรโลหะครูดกับถ่าน เหวย่ี งควาย [เหวฺ ยี่ ง-ควย] ดู เหวย่ี งแห. ย ก้อนเล็ก ๆ กลมสั้นท่ีเรียกว่า เหว่ียงแห น. ลีลาการชกมวยไทย ร หนิ เลก็ ไฟ (หนิ เหลก็ ไฟ). ในลักษณะเต๊ะและต่อยเป็น ฤ เหล่ง น. ไม่ได้ระดับ, ไม่ตรง, เอียง วงกวา้ ง เชน่ อันเพลงมวยนั้น ล นายหมวด นายกองผู้มีฝีมือมัก ว ศ ส ห อ ฮ 333

เหวี่ยงแหครอบ - .....ใหญ่.....เท่ง สอนเร่ิมต้นด้วยการเหว่ียงแห แหนแหะแหนแห่ [แหน-แฮะ-แหน- (ท้าว ฯ), เหว่ียงควาย ก็ว่า. แห่] ก. มะรุมมะตุ้มและ เหว่ียงแหครอบ (ส�ำ) พดู สุ่มเพอ่ื หยัง่ เดินตามไปทุกท่ีจนเกิดความ ก เชงิ เชน่ เดยี วกบั สำ� นวน โยนหนิ รำ� คาญ, เทียวไปเทียวมา เช่น ข ถามทาง เช่น แมท่ องเหลือจะ ไอเหาห้ิวแหห่าง ท�ำแหนแหะ ค แหนแห่ (เพลงโคราช). ฆ เหวย่ี งแหครอบวา่ ขา้ เทจ็ (ทา้ ว ฯ). ง เห่อ ใช้ประกอบทา้ ยค�ำ มคี วามหมาย แหมน่ [แหฺม่น] ก. บิด, หมุนให้เป็น จ เกลียว โดยใช้ไม้ขะแหนบ, (ดู ฉ ทำ� นองวา่ เถอะนา่ , นะ, เหอะนา่ , ไม้ขะแหนบ ประกอบ). ช เชน่ อะไรเหอ่ (อะไรนะ). ซ เหอะหะ [เฮอะ-ฮะ] ก. ร้องเอะอะ, แหยมแยะ [แหฺยม-แยะ] น. หน้ามี ฐ ขี้ตาเกรอะ; ว. พร่�ำเพรื่อ, ฒ โวยวาย. ซ�ำ้ ซาก, (ดู หย�ำแยะ ประกอบ). ด เหาะหล็อย ๆ [เฮาะ-หฺล็อย-หฺล็อย] ต ก. เหาะลอยมา. แหยะ [แย่ะ] ก. แยะ, แยก, แตก เช่น ถ เหิบ ก. อา้ , แยม้ , เผยอ. ตื่นจะร้าวเท้าจะพองเป็นหนอง ท เหยี่ ว น. เหย่ยี ว. แหยะ (สภุ มิต ฯ). ธ น เหื่อ น. เหงื่อ. แหล่ ว. ใช้ประกอบท้ายค�ำมีความ บ เหอื่ ยอ้ ยตะหมกู [เหอ่ื -ยอ่ ย-ตะ-หมกู ] หมายทำ� นองว่า จวน, ใกล้ เช่น ป จติ ายมติ ายแหล่ (จวนจะตาย), ผ ก. เหงือ่ ไหลยอ้ ยอยู่ปลายจมกู . จะพังมิพังแหล่ (จวนจะพงั ). ฝ เห่ือไหลไคลย้อย [เหื่อ-ไหล-ไคฺล- พ ย่อย] น. เหงอ่ื ไหลโชก. แหละเด้อ ว. ละ, ละนะ, แล้วนะ ; ใช้ ฟ ประกอบคำ� กรยิ าเพอ่ื เนน้ ความ ภ แห้ง [แห่ง] ว. ผอมแหง้ , ผอมโซมาก เช่น ไปแหละเด้อ (ไปละนะ, ม จนผดิ ปกต;ิ เรยี กคนลกั ษณะนี้ ไปแล้วนะ), ละ่ เด้อ ก็วา่ . ย ว่า เช่น ป้าแห่ง หรอื ยายแห่ง. ร แหว่ น. หว้าชนิดหนง่ึ ลกู เล็ก. ฤ แห้งเผาะ [แหง่ -เพาะ] ว. แห้งผาก, แห้วกระต่าย [แห่ว-กะ-ต่าย] น. ล แหง้ สนิท. ว แหง่ว ว. เงาวับ, ใส, แวววาว เช่น ไม้ล้มลุกชนิด Murdannia ศ ซกุ แหงว่ (สกุ ใส). loureirii Rao & Kammathy ส ในวงศ์ Commelinaceae, ถน่ิ ห แหน่ ก. แทะ, เอาฟนั กดั ใหห้ ลดุ ออกมา นครสวรรคเ์ รยี ก กระเทยี มชา้ ง. อ ทีละน้อย ๆ. ฮ 334

พจนานุกรม ภาษาโคราช แหวกแนว [แหวฺ ก-แนว] ว. ผ่าเหลา่ , โหยน่ ชิงช้า [โหยฺ ่น-ชงิ -ช่า] ก. ก ผดิ พวกผิดพอ้ ง, ไมเ่ หมอื นใคร, โลช้ งิ ชา้ , เลน่ ชงิ ช้า, ไกวชงิ ช้า. ข แหวกหนอ่ แหวกแนว กว็ า่ . ค โหยน่ เหยน่ [โหยฺ น่ -เหยฺ น่ ] ก. โอนเอน, ฆ แหวกหน่อแหวกแนว [แหฺวก-หฺน่อ- แกว่ง, เคลื่อนไหวไปมา เช่น ง แหวฺ ก-แนว] ดู แหวกแนว. แมวขาวเอย ไตไ่ ม่ราวหางยาว จ โหยน่ เหย่น (กลอ่ มเด็ก). ฉ โหก ๑. ว. กวา้ ง, กลวง เชน่ รขู ลยุ่ โหก. ช ๒. ก. โหย, ครวญถงึ , สลด, โหลงเหลง [โหฺลง-เหฺลง] น. น้�ำตา ซ คลอ, น้�ำตาคลอหน่วย, น�ำ้ ตา ฐ เศร้า เช่น พอทราบเหตุโหก ที่ปริ่มใกล้ขอบตาจวนจะไหล ฒ พระทยั ใหถ้ วลิ , คดิ ถงึ แมโ่ ซโศก เช่น เตม็ หัวใจจึงนำ�้ ตาได้โหลง ด ให้โหกหนื (สภุ มิต ฯ). เหลง (นิ.พระปาจติ ). ต โหง่ม ๆ [โหฺง่ม -โหงฺ ม่ ] ก. เดินดุ่ม ๆ, ถ เดนิ ทอ่ ม ๆ, หงมุ่ ๆ, โหงม่ เหงม่ โหลน [โหลฺ น] ว. โกรน๋ , รว่ งเกอื บหมด, ท ก็ว่า เชน่ เดนิ โหง่มเหงม่ . มีนอ้ ย. ธ โหง่มเหงม่ [โหงฺ ม่ -เหฺง่ม] ดู โหงม่ ๆ. น โหงย่ ก. เอนลง, ลม้ ฟาดลง, ทอดลงพนื้ , โหลย่ โหงย่ ว. ลอ่ นจ้อน, (ดู โล่ยโง่ย บ ลม้ ต้ึง. ประกอบ). ป โหงย่ ๆ ว. ทอ่ ม ๆ, อาการเดนิ มุง่ หนา้ ผ ไปเรื่อย เช่น เดินโหง่ย ๆ โหวกหวาก [โหฺวก-หวาก] ว. ฝ อยโู่ น่น, เดนิ หนีไปโหง่ย ๆ. โหวกเหวก, เสียงดงั ล่นั . พ โหนกโหนย [โหฺนก-โหนฺ ย] ดู โหนย. ฟ โหนย ว. ขดั โชคลาภ, ซวย, พลาดหวงั , โหว่เหว่ ว. ว้าเหว่, โวเ่ ว่ ก็ว่า. ภ โหนกโหนย กว็ ่า. ใหญจ่ นหมาเลยี ตดู ไมถ่ งึ (สำ� ) โตแลว้ ม โหมง่ เหม่ง น. เสียงฆ้อง, (ดู หม่งเหมง่ ย ประกอบ). ยังทำ� เหมือนเดก็ . ร โหยกโหยบ [โหยฺ ก-โหยฺ บ] ดู โหยกโหยย. ใหญแ่ ตข่ ดี้ แี ตก่ นิ [ไหยฺ -่ แต-่ ข-่ี ด-ี แต-่ ฤ โหยกโหยย [โหฺยก-โหฺยย] ว. ล สูงเก้งก้าง, สูงไม่ได้สัดส่วน, กิน] (ส�ำ) โตแต่ไม่มีความ ว โหยกโหยบ ก็ว่า. รบั ผดิ ชอบ, โตแตม่ วี ฒุ ภิ าวะตำ่� . ศ โหย่น [โหฺยน่ ] ก. ไกว, โล้. ใหญ่แต่บ้านข้าวสารไม่มี [ไหย่-แต่- ส บ้าน-เข่า-สาน-ไม่-มี] (ส�ำ) ห ภายนอกภูมิฐานแต่ภายใน อ ตรงกนั ขา้ ม. ฮ .....ใหญ่.....เท่ง ใช้ประกอบค�ำกริยามี ความหมายทำ� นองวา่ เอา, มาก 335

.....ใหญ่.....นอ้ ย - อนุสาวรยี ค์ ุณหญิงโม เช่น กินใหญ่กินเท่ง (กินเอา ท�ำปลาร้า, ไหล้ิน, ไหปาก กนิ เอา). สองชัน้ กว็ ่า. .....ใหญ่.....น้อย [ไหย่-น่อย] ดู ..... ไหปากสองชนั้ [ไห-ปาก-สอง-ช่ัน] ดู ก น้อย....ใหญ่. ไหปลาร้า เช่น แมป่ ากไหสอง ข ช้ั น นี่ พ่ี อ ย า ก เ ป ็ น คู ่ ส อ ง ช ม ค ใหญ่ไม่ถูกทหาร (ส�ำ) โตแต่ท�ำอะไร (เพลงโคราช). ฆ ไม่เป็น, โตแต่มีวฒุ ิภาวะตำ�่ . ง ใหญ่ย้อนกนิ ขา้ ว เฒา่ ยอ้ นเกดิ นาน ไหปากสองช้ัน จ ฉ [ไหย-่ ยอ่ น-กนิ -เขา่ -เถา่ -ยอ่ น- ไหลิ้น [ไห-ลิน่ ] ดู ไหปลาร้า. ช เกิด-นาน] (ส�ำ) โตหรือแก่ ไหลย้วย [ไหล-ย่วย] ก. ไหลย้อย. ซ เพราะเกิดก่อนผู้อ่ืน แต่ไม่ท�ำ ไหลยดื ก. ไหลย้อยยาวออกออกมา ฐ อะไรให้เกิดประโยชน์. ฒ ใหญ่แล้ว [ไหย่-แล่ว] ว.โตแล้ว, เชน่ น่�ำลายไหลยืด. ด ไหลหลาม ว. ล้นหลาม, มากมาย เช่น ต โตเปน็ ผู้ใหญ่แล้ว. ถ ใหต้ น่ื เชา้ เหมอื นกา ใหห้ ากนิ เหมอื นไก่ มียุ้งฉางคลังทรัพย์นับสิบสอง ท แต่เงินทองขนใส่อยู่ไหลหลาม ธ [ไห-่ ตนื่ -ชา่ ว-เหมฺ อื น-กา- ไห-่ (นิ.พระปาจิต). น หา-กนิ -เหมฺ อื น-ไก]่ (สำ� ) ก. ให้ ไหลเอื่อย ว. ไม่ขาดสาย, ต่อเนื่อง บ ขยันหากินเหมอื นกาเหมอื นไก.่ กันไม่ขาดระยะ เช่น คนเดิน ป ให้ร�่ำให้รวย ให้ควายเต็มคอก [ไห่- มาไหลเอ่ือย (คนเดินมาไม่ ผ ขาดระยะ), รถมาไหลเอ่ือย ฝ ล�่ำ-ไห่-ลวย-ไห่-ควย-เต็ม- (รถมาไม่ขาดสาย). พ คอก] (ส�ำ) ก. ให้ร่�ำรวย ; ไหวเ้ จา้ เขา้ ทรง [ไหว-่ เจา้ -เขา่ -ซง] น. ฟ ใชเ้ ปน็ ค�ำอวยพร. ทำ� พิธีเซ่นสรวง. ภ ไหใบบวั น. ไหชนดิ หนง่ึ คลา้ ยไหปลารา้ ม แต่ปากบานกว้างคล้ายใบบัว, ย (ดู ไหปลารา้ ประกอบ). ร ไหปลารา้ [ไห-ปา-ลา่ ] น. ไหชนิดหนึง่ ฤ ล ว ปากมีสองชน้ั (ปาก) ไหคล้ายที่ ศ ใสน่ ำ้� รองตนี ตกู้ บั ขา้ วกนั มดขนึ้ ) ส ตา่ งจากไหทวั่ ไป ใชส้ ำ� หรบั หมกั ห อ ฮ 336

อพจนานุกรม ภาษาโคราช ก อกคราก [อ๊ก-คาก] ว. อกแตก ไห่-เข่า-เมือง] (ส�ำ) ท�ำอะไร ข เพราะรู้สึกอัดอ้ันตันใจ เช่น ใหถ้ กู กบั กาลเทศะ ; ทำ� นองวา่ ค แทบอกครากครุ่นคิดสะท้อน ไมม่ นี ำ้� ดม่ื ใหไ้ ปหานำ�้ บนเขา ไมม่ ี ฆ ถอน, อกจะครากคิดย่ิงแค้น ขา้ วกนิ ตอ้ งไปในเมอื งหรอื ตลาด. ง แสนกระสัน (นิ.พระปาจิต), อดยดั หา่ [อด๊ -ยด่ั -หา่ ] ก. โดยปรยิ าย จ แทบอกแยกแตกครากคราก หมายถึงไม่ได้สิ่งที่คิดว่าจะได้, ฉ ถล่ม (สุภมิต ฯ). อด๊ แดก กว็ ่า. ช อดส้มไว้กินหวาน [อ๊ด-ส่ม-ไว่-กิน- ซ อกตำ� ข้าว [อ๊ก-ต�ำ-เข่า] ก. อาการที่ หวาน] (สำ� ) ก. อดใจไวเ้ พอ่ื หวงั ฐ หัวใจเต้นแรงผดิ ปกต.ิ สิ่งที่ดีกว่าข้างหน้า ; ตรงกับ ฒ ส�ำนวน อดเปร้ียวไว้กินหวาน ด อกแตกตาย [อก๊ -แตก-ตาย] ก. ตาย เช่น อดส้มไว้กินหวาน ค�ำ ต เพราะความอัดอ้ันตันใจจนทน บรุ าณว่ามาหลาย (นิ.รูปทอง). ถ ไม่ไหว. อนสุ าวรยี ค์ ณุ หญงิ โม [อะ-น-ุ่ สาว-วะ- ท ลี-คนุ -หยิง-โม] น. อนุสาวรยี ์ ธ อง น. ค�ำน�ำหน้าเรียกผู้มียศหรือ ท้าวสุรนารี แต่เดิมชาวเมือง น ตำ� แหนง่ ทางราชการ เชน่ นาย จะเรียกกันว่า “อนุสาวรีย์ บ อ�ำเภอองนั่น (นายอ�ำเภอท่าน คุณหญิงโม” ชาวเมืองบางคน ป นน้ั ), ผู้ว่าองน่ี (ผ้วู า่ ท่านนี)้ . เรียกว่า “อนุสาวรีย์แม่ใหญ่ ผ โม” ซ่ึงกรมศิลปากรได้ให้ ฝ อดข้าว [อด๊ -เขา่ ] ก. ขาดแคลนข้าว ศาสตราจารยศ์ ลิ ป์ พรี ะศรี เปน็ พ หรอื ไมม่ ีขา้ วจะกนิ เนื่องจากทำ� ผู้ออกแบบและปั้นร่วมกับ ฟ นาไมไ่ ด้ผล เชน่ ปนี บี่ า้ นเองอด๊ พระเทวานิมิตร เป็นรูปหล่อ ภ เข่าแท่ะๆ (ปีนี้บ้านเรา ด้วยทองแดงรมดำ� สงู ๑.๘๕ ม ขาดแคลนไมม่ ขี า้ วจะกินแท้ ๆ). ซ.ม. แตง่ กายแบบโบราณดว้ ย ย เครื่องยศที่ได้รับพระราชทาน ร อดข้าวอดน�้ำ [อด-เข่า-อด-น่าม] ฤ ก. แห้งแล้งไม่ได้ท�ำนา ไม่มี ล ข้าวกิน. ว ศ อดน�้ำให้ขึ้นเขา อดข้าวให้เข้าเมือง ส [อด๊ -นา่ ม-ไห-่ ขน่ึ -เขา-อด๊ -เขา่ - ห อ ฮ 337

อพิโธอ่ พิถัง - อว้ นตุ้ตะ้ มะระจิม้ ข้ี ผ้านุ่งกรองทองมี บนดิน [หย่า-ขวง-เลือ-ไน- ลายเชงิ เสอื้ กรอบทอง หม่ สไบ น่าม-เช่ียว-หย่า-สู่-เสือ-บน- เฉียงบ่าซา้ ย (สะพัก) สวมตุ้มหู ดิน] (ส�ำ) น้�ำเชี่ยวอย่าขวาง ก สวมตะกรดุ พสิ มรมงคล ๓ สาย เรือ, อย่าขวางผู้มีอ�ำนาจหรือ ข ทบั สไบ นวิ้ กอ้ ยและนว้ิ นางสวม ผู้ทีก่ �ำลงั โกรธจดั , อยา่ ต่อสูก้ ับ ค ผู้มีก�ำลังเหนือกว่าในพื้นท่ีท่ี ฆ แหวนนิ้วละวง ไว้ทรงผมดอก เสียเปรียบ เช่น โบราณยังว่า ง กระทุ่มถอนไร มือซ้ายท้าว ไว้ว่า อย่าขวางเรือในน้�ำเช่ียว จ สะเอว มือขวากุมดาบปลาย อย่าสู้เสือบนพื้นดิน เพราะน่ัน ฉ คอื การปราชยั ท้งั สิ้น (ทา้ วฯ). ช จรดพน้ื หนั หนา้ ไปทางทศิ ตะวนั อยา่ ดว่ น ว. อย่ารีบ เช่น อยา่ ซ ตกเพ่ือแสดงการคารวะใต้ฝ่า ดว่ นไป. ฐ ละอองธุลีพระบาทพระมหา อย่าถือคนบ้า อย่าซาคนเมา ฒ (ส�ำ) อย่าถือสาคนที่ขาดสติ, ด กษัตริย์ สร้างเสร็จในปี พ.ศ. อย่าถือสาหาความ. ต ๒๔๗๗. อยา่ เทยี่ ว ว. อยา่ หาทำ� , อยา่ ทำ� , ถ อพโิ ธอ่ พถิ ัง อ. พุทโธ่; ค�ำทเ่ี ปลง่ ออก อย่าริอ่าน เช่น อย่าเที่ยวไป ท ขโมยของ (อย่าหาหรืออย่าริ ธ มาแสดงความเห็นอกเห็นใจ ขโมยของ). น หรือสงสาร. อย่าไปเตะตะกร้อ อย่าไปล่อ บ อม้ น. เนยี ม; ไมพ้ มุ่ ขนาดเล็กในกลุ่ม สีกา [หย่า-ไป-เต๊ะ-ตะ-ก้อ- ป หยา่ -ไป-ล่อ-ส-ี กา] (ส�ำ) ค�ำ ผ ต้น “เนยี ม” ชนิด Sympagis สอนผู้ที่จะบวชเป็นพระภิกษุ ฝ nivea (Craib) Brem. ในวงศ์ สามเณรมิให้ท�ำผิดศีลหรือ พ Acanthaceae ดอกเลก็ สมี ว่ ง ข้อหา้ ม. ฟ อ่อน ใบมกี ลน่ิ หอม ใช้ผสมปูน อยา่ เพม่ิ ว. อยา่ เพง่ิ , อยา่ เพอ่ . ภ กนิ กับหมาก นกั พฤกษศาสตร์ อย่ายกึ [หย่า-ย่กึ ] ว. อยา่ หือ, ม เรียก เนยี มสวน. อยา่ เถียง, อย่าคัดค้าน. ย อมดนิ สอ (ปาก) (สำ� ) ท�ำการบา้ นหรอื อย่ายึกยกั [หย่า-ยก่ึ -ยกั ] ว. ร ทำ� ขอ้ สอบไมไ่ ด.้ ฤ ล ว อยา่ [หยฺ า่ ] ว. ใชป้ ระกอบคำ� กรยิ าบอก ศ ความหา้ มหรอื ไมย่ อมให้กระทำ� ส การต่าง ๆ. หอ ฮ อย่าขวางเรือในน�้ำเช่ียว อย่าสู้เสือ 338

พจนานุกรม ภาษาโคราช อยา่ หอื , อย่ากระดุกกระดกิ . แต่งงานกันยังไม่นานก็ต้อง ก อยา่ หา ว. อย่า, ไมค่ วร เช่น เลิกร้างหรือระหองระแหงกนั . ข อยดู่ กี นิ ได้ พอปานไกก่ นิ ดว้ ง [หย-ู่ ด-ี ค อยา่ หาทำ� (ไมค่ วรทำ� , อยา่ ทำ� ), กิน-ได้-พอ-ปั่น-ไก่-กิน-ด้วง] ฆ อย่าหาพูด (ไม่ควรพูด), อย่า (ส�ำ) น. มีความเป็นอยู่อย่าง ง เทีย่ วหา ก็วา่ . สุขสบาย. จ อย่าให้แม่คายหมาก [หย่า- อยฟู่ นื อยไู่ ฟ ก. อยไู่ ฟ, นอนใกลไ้ ฟเพอ่ื ฉ ไห่-แม่ะ-คาย-หมาก] (ส�ำ) ให้มดลูกเข้าสู่ภาวะปรกติเร็ว ช ปว่ ยการเปลา่ ๆ, เสยี เวลาทจ่ี ะ หลงั คลอด. ซ พูด, พูดไปทำ� ไมมี, อย่าใหต้ ้อง อยอู่ ยา่ งกอ้ นเสา้ เฝา้ เรอื นอยา่ งแมว ฐ พูดเลยกร็ ู้ ๆ กนั อยู่. ลาย [หยู่-หฺย่าง-ก้อน-เส่า- ฒ อยากหวั ก. อยากจะหวั เราะ (ทำ� นอง เฝ่า-เลือน-หฺย่าง-แมว-ลาย] ด ว่าใหส้ ะใจ), อยากหวั ตัว้ กว็ า่ . (ส�ำ) อยู่กับเหย้าเฝ้ากับเรือน, ต อยากหัวตวั้ ดู อยากหัว. อยู่ประจำ� ไม่ไปไหน. ถ อย่าง ว. ใช้ประกอบค�ำอื่นมีความว่า อโรคยาศาล [อะ-โล-คะ-ยา-สาน] น. ท มาก, หลาย, เช่น อย่างสวย ศาสนสถานรูปทรงปรางค์และ ธ (สวยมาก), ไอ้อยา่ งใหญ่ (ใหญ่ ใช้เป็นสถานพยาบาลคล้าย น มาก ๆ), หยงุ่ อยา่ งใหญ่ (ยงุ่ มาก). โรงพยาบาล (สันนิษฐานว่า บ อย่างกันน่ัน ว. อย่างพรรค์น้ัน, สร้างในสมัยพระเจ้าชัยวรมันท่ี ป อย่างนั้น. ๗ ภายในอาคารประดิษฐาน ผ อยา่ งเขาอยา่ งเอง ว. อยา่ งเขาอย่าง พระไภษ์ชยคุรุไวทยผู้ประทาน ฝ เรา, ยังเขายังเอง ก็ว่า. ความสุขและความไม่มีโรค) พ อย่างเดน ว. อย่างเก่า, เหมือนเก่า, บางแหง่ เรียกวา่ ก,ู่ ปรางคก์ ,ู่ ฟ เหมอื นเดมิ . กุฏฤิ าษี กว็ า่ . ภ อยา่ งว่า โดยปริยายหมายถงึ สง่ิ ทพ่ี ูด อ้วนตุกปุก มกี ระดกู อันเดียว [อ้วน- ม ถึงเปน็ ทีร่ ู้เขา้ ใจกัน. ตุ้ก-ปุ่ก-มี-กะ-ดูก-อัน-เดียว] ย อยู่กันหง่อมแหง่ม [หยู่-กัน-หฺง่อม- (ปริศ) น. กองฟาง, ลอมฟาง. ร แหฺงม่ ] ว. อยู่กันตามประสา. อ้วนตุ้ต้ะมะระจิ้มขี้ [อ้วน-ตุ้-ต้ะ-ม่ะ- ฤ อย่กู ินหม้อขา้ วยังไมท่ นั ด�ำ [หฺยู่-กนิ - ละ่ -จิม้ -ข]่ี ว. เป็นคำ� หยอกลอ้ ล หมฺ อ่ -เขา่ -ยงั -ไม-่ ทนั -ดำ� ] (สำ� ) ว ศ ส ห อ ฮ 339

อ่วย - อัศจอรอหันการันตย์ อ คนอ้วน. อ่วย ว. เอี้ยว, เบ่ียง, เลี้ยว,วกกลับ เช่น หันหน้าอ่วยน�้ำตาก็ออก ก (น.ิ เพลงอินทปัตถา). อ้อง ข อ้วยสว้ ย ก. น่งิ , เฉย เชน่ นอนลับตา ค ออ๋ ง น. เขยี ดชนดิ หนงึ่ รอ้ งเสยี งออ๋ ง ๆ. ฆ เอ้อว้ ยสว้ ย เขามาขายกลว้ ย อ่องตอ่ ง ว. งาม, สวย. ง เองจไิ ด้กนิ ออื ....(กลอ่ มเดก็ ). ออ้ งแอง้ ก. อาการทรี่ อ้ งออดออ้ น, เซา้ ซี้ จ ออกตุ่ม น. อสี กุ อใี ส. ฉ หรอื รบกวนจะเอาเสยี ใหไ้ ด.้ ช ออกท่า ก. ท�ำที, แสดงกิริยาหรือ ออดหลอด [ออด-หฺลอด] ๑. ว. หมด ซ อาการให้ผู้อ่ืนส�ำคัญผิด เช่น ฐ ออกท่าถาม (ท�ำทถี าม). เกลี้ยงไม่เหลือหลอ, เกลี้ยง ฒ ออดหลอด ก็ว่า. ด ออกรอ้ น [ออก-ล่อน] ก. มคี วามรสู้ กึ ๒. ว. งาม, สวย, นา่ รัก, ออด ต รอ้ นตามผวิ หนัง. หลอดแอดแหลด กว็ า่ . ถ ออกร้อนออกแสบ [ออก-ล่อน-ออก- ออดหลอดแอดแหลด [ออด-หลฺ อด- ท แอด-แหฺลด] ดู ออดหลอด. ธ แสบ] ก. ปวดแสบปวดร้อน, อ้อน น. มันอ้อน , มันชนิดหนึ่ง, (ดู น ปวดระคายแสบและรอ้ น, ออก มนั อ้อน ประกอบ). บ แสบออกรอ้ น กว็ า่ . อ่อนยังกะกบ นบยังกะเขียด [อ่อน- ป ออกรอ้ นออกหนาว [ออก-ลอ่ น-ออก- ยัง-ก๊ะ-ก๊บ-น่บ-ยัง-ก๊ะ-เขียด] ผ (ส�ำ) ออ่ นน้อมถอ่ มตน, แสดง ฝ หนาว] ก. สะบัดร้อนสะบัด กริ ยิ าวาจานบนอบ. พ หนาว, อาการรอ้ น ๆ หนาว ๆ. อ้อป้อ ก. ส�ำหรีด, กรีดกราย เช่น ฟ อ้อกลอ่ ก [อ้อก-ลอ่ ก] ว. มอมแมม, ท�ำอ้อป้อล่อเจ้าหนุ่มไปถึงไหน ภ เปรอะเป้ือน, เลอะเทอะ. (สภุ มติ ฯ). ม ออกแสบออกรอ้ น [ออก-แสบ-ออก- ออ้ ล่อ น. ขนมบวั ลอยแปง้ ขา้ วเหนยี ว. ย ล่อน] ดู ออกรอ้ นออกแสบ. ออ้ ยคนั รม่ น. ออ้ ยชนดิ หนงึ่ ลำ� ตน้ เลก็ ร ออกใหม่ น. วันข้างขึ้นของเดือน ขนาดเท่านิ้วแม่มือ เคยใช้เป็น ฤ คำ� ขวญั ของจงั หวดั นครราชสมี า. ล ว ระหวา่ งวนั ขน้ึ ๑ คำ�่ ถงึ ๑๔ คำ่� . ศ ออ้ ง น. แอก, ไมห้ รอื สง่ิ ทวี่ างขวางบน ส ห คอสัตว์เพื่อใช้ในการไถหรือ อ เทยี มค่ลู ากเกวยี น. ฮ 340

พจนานุกรม ภาษาโคราช (ดู ออ้ ยคนั รม่ สม้ ขมี้ า่ ผา้ หาง จน-กวั่ -เพอื่ น] (สำ� ) อบั จนกวา่ ก กระรอก ประกอบ). ใคร ๆ. ข อะดักอะดน [อะ-ด๊ัก-อะ-ดน] ว. อั๊บหมา ว. ยใุ ห้หมากดั กนั . ค อะดักอะเดื่อ, อึดอัดเต็มทน, อัปพะรา [อ๊บั -พ่ะ-ลา] ก. อัปราชัย, ฆ คับใจเต็มทน, เร่าร้อนใจ เช่น พ่ายแพอ้ ยา่ งยอ่ ยยับ. ง ดูเหมือนคนตีนหักอะดักอะดน อพั ลา [อบ๊ั -ลา] น. ความพนิ าศ, ความ จ (นิ.พระปาจิต). เสยี หายยบั เยิน เช่น เป็นเปลีย้ ฉ อ่ะย่ะ ก. น่ังถ่างขา, วางส่ิงของ ง่อยอัพลาโรคาเบียน (นิ.พระ ช แผ่กระจาย, มากมาย, ดก. ปาจิต). ซ อะเร่ืออร่าม ก. อะร้าอร่าม, แต่งตัว อั่ว ก. แทรก, ยดั , อดั . ฐ ด้วยเคร่ืองประดับแพรวพราว อั่วเกวียน [อว่ั -เกยี น] ก. เอาไมต้ ีอัด ฒ เช่น ดูอะเร่ืออร่าม โฉมงาม ดุมล้อเกวียนให้แคบ เพื่อให้ ด สคราญ (ช้าเจ้าหงส์ ฯ). กระชบั หรอื ใหพ้ อเหมาะพอด.ี ต อะไรเหอ่ ว. อะไรนะ, (ดู เหอ่ ประกอบ). อ้ัวล่ัว ว. มาก, ชุกชุม เช่น ปลาที่อยู่ ถ อั้ก ว. เสียงท่ีโดนกระแทก เช่น ในไซ. ท กระแทกอั้ก. อั๊วะ ว. อวบ; ถา้ เปน็ พชื จะหมายถงึ พืช ธ อ๊ัก ก. ซอ่ นตวั ไมย่ อมพบใคร, ถน่ิ อสี าน ท่ีมีล�ำต้นหรือผลอ้วนกว่าปกติ น ใช้ว่า อกั . ถ้าเป็นคนก็จะหมายถึงคนท่ี บ อั้ง ก. ตดิ อา่ ง, ตดิ อ้ัง ก็ว่า. อวบอ๋ันมีเน้ือหนังเต่งตึงกว่า ป อด้ั ตดั้ ว. จำ�้ มำ่� , อ้วน, อวบ, แนน่ ขนดั , ปกติ แตไ่ ม่ถงึ กับอว้ น. ผ อัดกนั แนน่ . อศั จรรย์ [อั๊ด-ซะ-จัน] ว. ใช้ประกอบ ฝ อัตไสย [อ๊ัด-ตะ-สัย] น. อัธยาศัย, ค�ำอ่ืนเพื่อเน้นให้ค�ำมีน้�ำหนักมี พ นสิ ยั ใจคอ เชน่ ดอกไมห้ มิ พานต์ ความหมายไปในท�ำนองวา่ มาก ฟ ตระการเหลือใจ ตามอัตไสย มากเหลอื เกนิ เชน่ ไกลอศ๊ั จรรย์ ภ ของนอ้ งเถิดรา (น.ิ รปู ทอง). (ไกลมาก, ไกลจรงิ ๆ). ซะจรรย์ ม อั้น ว. ไม่รับแทง (มักใช้แก่การพนัน กว็ า่ . ย หรือหวยใต้ดิน) เช่น เลขตัวน่ี อัศจอรอหันการันต์ยอ [อ๊ัด-ซะ-จอ- ร เจ้ามืออ้นั . ลอ-หนั -กา-ลนั -ยอ] (ปาก) ว. ฤ อบั กวา่ คนจนกวา่ เพอื่ น [อบั๊ -กวั่ -คน- ใชเ้ ปน็ คำ� พดู เลน่ ลน้ิ หรอื สำ� นวน ล ว ศ ส ห อ ฮ 341

อัสสะดะ - อีบุกหชู ้าง โวหารในท�ำนองว่า อศั จรรย.์ อ่านไดอ้ ยา่ งฉะฉาน, อ่านอย่าง อสั สะดะ [อั๊ด-สะ-ดะ๊ ] น. อัสดร, มา้ แตกฉาน. เช่น มีโรงเรือนโรงม้าอัสสะดะ อานาง น. อาสะใภ.้ ก (น.ิ พระปาจิต). อา้ ปากหวอ ก. อ้าปากคา้ ง เช่น นั่งฟัง ข อากขะหนาก ก. เอกเขนก, นงั่ หรอื นอน นทิ านอา้ ปากหวอ. ค อาพดั เหลา้ [อา-พ่ัด-เหฺลา่ ] ก. เสก ฆ เอาศอกข้างหนึ่งเท้ากับหมอน เหล้าดมื่ ก่อนชกมวย. ง หรือพนื้ . อาย ดู ไอ. จ อา้ กนาก [อา้ ก-นาก] ว. นอนแผอ่ ยา่ ง อายม้วนต้วน [อาย-ม่วน-ต้วน] ว. ฉ แสดงอาการเอยี งอายดว้ ยการ ช หมดแรง. บิดไปมา. ซ อากิน ว. อาจิณ, เป็นประจ�ำ, ติดเป็น อามาตย์ น. อำ� มาตย์ เช่น เหล่าเสนา ฐ อามาตย์ เขาก็ปรารถนาคิด ฒ นิสัย, เสมอ ๆ เช่น บิดาอย่า (น.ิ เพลงศุภมิตร ฯ) ด อากิน มิใช่อินทร์เหาะลงมา อาโหลว ๑. น. โทรโขง่ , ทรโข่ง, บั๊ก ต (นิ.รูปทอง). อาโหลว กว็ ่า. ถ อ่างที่ ก. กินท่ี, เปลืองที่ เช่น ๒. ว. ฮลั โหลว, เสียงทดสอบ ท ไมโครโฟน, การทักทายเวลา ธ ไม่เกี่ยวข้องมานั่งอ่างที่คนอ่ืน พูดโทรศัพท.์ น อยู่ได้. อำ�้ ก. หม�่ำ, กนิ (มกั ใชแ้ กเ่ ดก็ ทารก). บ อ้างลา่ ง ว. ท้องโตอยุ้ อ้าย. อ�ำเท็จ ว. เท็จ, โกหก, ไม่จริง เช่น ป อ้าซ่า ก. นั่งถ่างขาเห็นจะแจ้ง, พดู อ�ำเทจ็ . ผ อำ� พะนงึ น. อมพะน�ำ, นง่ิ อง้ึ ไมพ่ ดู จา. ฝ อล่างฉ่าง (มักใช้กับการน่ัง อ�ำเพศ น. อาเพศ, เหตุประหลาด พ ของผู้หญิง). ถอื เปน็ ลางไมด่ ี เชน่ เมอื่ จกั เกดิ ฟ อา้ ดลาด ๑. ว. นอนอย่างสบาย, นอน เหตุ เทวาอำ� เพศ ให้ร้อนกายา ภ เหมอื นคนเกียจครา้ น, นอนผึ่ง, (นิ.รปู ทอง). ม นอนเห็นทนโท่. อ�ำเภอกลาง น. ช่ือเดิมของอ�ำเภอ ย ๒. ว. อว้ นตตุ๊ ะ๊ . โนนสงู , (ดู โนนสูง ประกอบ). ร อ่านขาด ก. สังเกตหรือพิจารณาจน ฤ ล ว เข้าใจอย่างแจ่มแจ้ง, เข้าใจ ศ อย่างทะลุปรโุ ปร่ง, รวู้ ่าอีกฝา่ ย ส หนง่ึ จะทำ� อะไร. ห อ อา่ นแตก ก. อา่ นไดอ้ ย่างคลอ่ งแคล่ว, ฮ 342

พจนานุกรม ภาษาโคราช อ�ำอ้าย น. ก้างปลา, ก้างปลา อีจอื น. ท่าหนึง่ ของการเล่นสะบา้ (ท่า ก เครือ; ไม้พุ่มก่ึงยืนต้นชนิด สะดอื ), (ดู สบี า้ สรี อย ประกอบ). ข Phyl lanthus reticulatus ค Poir. ในวงศ์ Euphor อจี ู้ น. นกกางเขน. ฆ biaceae ใบยาวรีปลายทู่ อีดอก น. หญิงที่ละไว้ในฐานที่เข้าใจ ง ออกดอกเป็นกลุ่มตามง่ามใบ จ ใช้ท�ำยาได้. ว่าหมายถึงดอกทองหรือดอก ฉ กระทือดง (ใช้เป็นค�ำด่า), ช อก๊ิ แก้ะ ดู อีกแก้ะ. (ดู ดอกทอง, ดอกกะทือดง ซ อจิ ฉาตารอ้ น [อด๊ิ -ฉา-ตา-ลอ่ น] ก. มี ประกอบ). ฐ อตี าเฒ่า [อี-ตา-เถา่ ] ส. สรรพนาม ฒ ความอจิ ฉา, เหน็ คนอน่ื ไดด้ แี ลว้ บุรุษที่ ๒ แทนผู้ที่เราพูดด้วย ด ไมพ่ อใจ อยากจะมหี รอื อยากจะ เช่น คณุ , แก เปน็ ต้น. ต เปน็ อยา่ งเขาบา้ ง. อตี าสน้ [อี-ตา-สน่ ] ดู ทะเล่อื นสน้ ใน ถ อิถีเพศ [อ๊ิ-ถ-ี เพด] น. อสิ ตรี, หญงิ . สบี ้าสีรอย. ท อนิ ตรา [อิน-ตา] น. พระอินทร์ เชน่ อีแต็ดแม็ด น. ค�ำเรียกหญิงท่ีก๋าก่ัน, ธ เมื่อน้ันพระอินตรา แลลงมา หญิงท่ีรูปชั่วตัวด�ำแล้วยังมี น เหน็ เรอื งรอง (นิ.รปู ทอง). กิริยาจัดจ้าน. อีแม็ด, อีหีแม็ด บ อนิ ถาลมั น. อินทผาลัม. ก็ว่า. ป อนิ ออม ดู ออี อม. อีนาง น. ค�ำท่ีผู้ใหญ่ใช้เรียก ผ อ่ิมเอ้อเร่อ ว. อ่ิมแปล้, อิ่มจนจุก. เ ด็ ก ห ญิ ง ห รื อ ห ญิ ง ที่ มี อ า ยุ ฝ อิ่มเอ้อเร่อ พอปานเลอเทินหม้อ อ ่ อ น ก ว ่ า ด ้ ว ย ค ว า ม เ อ็ น ดู พ [อ่ิม-เอ้อ-เล่อ-พอ-ปั่น-เลอ- ห รื อ ส นิ ท ส น ม เ ป ็ น กั น เ อ ง ; ฟ เทิน-หม่อ] (ส�ำ) อิม่ จนจกุ , อ่ิม โดยปริยายหมายถึง อีหนู, ภ จนแทบจะส�ำรอกออกมา. ลูกสาวคนเล็ก. ม อว้ิ น. เคร่ืองหีบฝ้าย. อนี นุ น. ชื่อไม้ชนิดหนง่ึ , อีนูน, ผกั สาบ, ย อสิ ยม [อดิ๊ -สะ-หยฺ ม] น. อสิ รยิ ยศ, ยศ แมงชนดิ หน่งึ รบั ประทานได้. ร ที่แสดงถึงความเป็นเจ้า เช่น อีบุกหูช้าง [อี-บุ๊ก-หู-ช่าง] น. บุก ฤ ปางเจ้าจอมพระปาจิตอิสยม ชนิดหน่ึง ในสกุล Amor ล (น.ิ พระปาจิต). phophallus ในวงศ์ Araceae ว อกี แก้ะ ว. อีกแหละ, อิ๊กแกะ่ กว็ ่า. เมื่อแล้งต้นจะตายเหลือหัวอยู่ ศ ส ห อ ฮ 343

อเี บอ้ ะ - อหี ลอ่ ยป่อยแอ ใต้ดิน หัวกินได้ และใช้ท�ำยา จะมา” คนตอบจะตอบวา่ “มา ได้ด้วย. แล่ว” พร้อมกับเอามือออกมา อเี บอ้ ะ ว. อบี า้ , หญงิ อว้ นเบอะบะหรอื ถามตอบไปจนครบทกุ คน แล้ว ก อ้วนใหญ่เทอะทะไมไ่ ด้สดั สว่ น. ทุกคนเอามือมารวมกันขย�ำ ข พร้อมกับพูดว่า “หยู่หย่ี ๆ ๆ ค อีปิ [อี-ป๊ิ] น. อวยั วะเพศหญงิ (มักใช้ ๆ…” เปน็ อนั วา่ จบการเลน่ บาง ฆ แกเ่ ด็ก). แห่งเรยี กวา่ “โพนเพน” ซึง่ ก็ ง อีโป้ น. ผ้าห่มชนิดหน่ึงมีขนต่างจาก เล่นคล้ายกันเพียงแต่ร้องว่า จ “โพนเพน กะเลนหางนาค น่�ำ ฉ ผ้าห่มนวม. ทว่ มฟา่ ปลาเปา้ ลอยคอ หมา ช อโี ปง น. ไม้ที่สอดใตเ้ สน้ ยืนในการทอ หางงอ กอดคอกะเจยี ววิด แม่ ซ ผา้ , (ดู โปง่ เปง้ ประกอบ). อลี ดิ กบั แมอ่ ลี อย ตด๊ั กา้ นกลว้ ย ฐ มารองบายศรี แม่ส�ำลีตีฆ่อง ฒ อีผ่อ ดู อีพอ่ . โหมง่ ๆ” เมอื่ เขย่ี ปดั นวิ้ มอื หมด ด อีโผนอเี ผน น. การเลน่ อย่างหน่ึง ทุก เหมือนวิธีแรกก็จะผลัดกันถาม ต คนก�ำมือแล้วใช้นิ้วชี้วางซ้อน ว่า “ไหนมือมึง” คนถูกถาม ถ ทบั สลบั กัน ให้คนแรกที่วางน้วิ จะตอบว่า เกวียนทั่บห๊ัก … ท อยลู่ า่ งสดุ ใชน้ วิ้ ชมี้ อื อกี ขา้ งหนงึ่ กระดานท่บั หั๊ก….. ฯลฯ แล้ว ธ แตจ่ ะตอบ ถามตอบจนครบทกุ น เขย่ี ปดั นว้ิ ชคี้ นทอ่ี ยบู่ นสดุ ไปมา คน แลว้ ทกุ คนกเ็ อามอื ออกมา บ พรอ้ มกบั ร้องวา่ “อโี ผน อเี ผน รวมกันสลัดไปมาพร้อมกับพูด ป จ๊ักกะเหลนหางเนา่ น�ำ่ ทว่ มเข่า วา่ “นี่มอื กู” เป็นอนั ว่าจบการ ผ เล่น. ฝ ปลาเป้าลอยคอ หมาหางงอ อพี ่อ น. พอ่ คณุ (คำ� พดู เพอ่ื เอาใจชาย พ กอดคอกระเจยี วโงก้ ” รอ้ งเสรจ็ หรือแสดงความเอ็นดูรักใคร่ ฟ มือคนท่ีถูกเข่ียก็จะเอาออกไป เดก็ ชาย และบางครัง้ ใช้เป็นค�ำ ภ ซ่อนไวข้ ้างหลัง แล้วเขยี่ ปดั น้วิ ประชด) เช่น ใจจะขาดอยู่ ม ต่อมาพร้อมกับร้องเช่นเดิมท�ำ รอมร่อ ว่าอีพ่อไม่เคยเป็น ย ไปจนครบ จากนั้นก็จะผลัดกัน (น.ิ รูปทอง), อีผอ่ ก็วา่ . ร ถามเวยี นเรยี งลำ� ดบั วา่ “นวิ่ มอื ฤ ล ว อยไู่ หน” เจา้ ของมอื กจ็ ะบอกวา่ ศ ไปตลาดบ้าง ไปกรงุ เทพ ฯ ไป ส โรงเรยี น ฯลฯ ตามแตจ่ ะตอบ หอ คนถามจะถามตอ่ ไปว่า “เมอื่ ไร ฮ 344

พจนานุกรม ภาษาโคราช อีมนั พอแกง (ส�ำ) น. หญงิ ทโ่ี ตมวี ฒุ ิ เล่นขมุกเขม่า), (ดู ขมุกเขม่า ก ภ า ะ ว ะ พ อ ท่ี จ ะ มี ส า มี ห รื อ มี ประกอบ). ข ครอบครวั ไดแ้ ลว้ ; เปรยี บไดก้ บั อลี ักอีเหลือ่ ก. อิดโรย, เมอื่ ยลา้ . ค มันทห่ี วั แกพ่ อจะแกงได้. อีลุดอีหลูด ก. หลดุ ลยุ่ . ฆ อลี บุ ตบุ ตบั [อ-ี ลบุ่ -ตบุ้ -ตบั้ ] ก. ตบุ้ ตบ้ั , ง อมี กุ อมี ว่ น ก. ลม้ ลกุ คลกุ คลาน, ทลุ กั เสียงดังอยา่ งเสยี งทุบกัน. จ ทเุ ล. อีลูดปู้ดเจ้ือก ว. เลอะเทอะ, เปรอะ ฉ เปื้อน, ทุลกั ทเุ ล, ทำ� ด้วยความ ช อีเม็ดก�ำโปด [อี-เม่ด-ก�ำ-โปด] น. ไม่สะดวก. ซ ท่าขาอ่อน ซึ่งเป็นท่าหน่ึงของ อีลูดปู้ดเจ้ือก พอปานป้าป้อนหลาน ฐ การเล่นสะบ้า, (ดู สีบ้าสีรอย [อี-ลูด-ปู้ด-เจื้อก-พอ-ปั่น- ฒ ประกอบ). ป้า-ป้อน-หลาน] (ส�ำ) อยู่ใน ด สภาพเปรอะเปื้อน, ท�ำอย่าง ต อีแม็ด ดู อีแต็ดแม็ด. ทุลักทุเล; เปรียบได้กับป้อน ถ อีโมะ [อี-โม่ะ] น. อวัยวะเพศหญิง, อาหารเด็กอยา่ งทุลกั ทเุ ล และ ท เปรอะเปอื้ นไปหมด. ธ โมะ่ กว็ า่ . อีเลดเป้ดป้าด ว. เปะปะ, ซวนเซ, น อีรุงตุงนัง ว. อีนุงตุงนัง, พันกันยุ่ง, ไม่ตรง ใชแ้ ก่การเดนิ ; ก. เดนิ บ ในลักษณะกะปลกกะเปลีย้ . ป รงุ รงั . อีสามเรือนค่�ำ (ส�ำ) หญิงท่ีไม่ท�ำการ ผ อีลอ็ กค็อกแค็ก ก. ท�ำสิง่ หนง่ึ สงิ่ ใดใน งานเพราะชอบพูดเรื่องคนอื่น ฝ หรือเร่ืองสัพเพเหระหมดไป พ ลักษณะทีเล่นทีจริง, ทำ� อย่าง วัน ๆ. ฟ ไมต่ งั้ ใจ, ท�ำเล่น ๆ หวั ๆ. อหี มนุ ดู โป้กอ้ ย. ภ อลี ่อมก้อมแก้ม ก. พดู อ้อมแอม้ , พูด อหี ลอ่ ยปอ่ ย ก. กระมดิ กระเมยี้ น, แสดง ม กลบเกล่ือนความจริง, อลี อ่ ม อาการซอ่ นอายลบั ๆ ลอ่ ๆ เชน่ ย ป้อมแปม้ กว็ า่ . นั่งอีหล่อยป่อย (น่ังกระมิด ร อลี ่อมป้อมแป้ม ดู อลี อ่ มกอ้ มแก้ม. กระเมยี้ น). ฤ อลี ่อมพ่อมพอ่ ก ว. ไม่มีสง่าราศร.ี อหี ลอ่ ยปอ่ ยแอ ว. ลกั ษณะทไี่ มเ่ อาการ ล อีลักอีหลูด ว. ทุลักทุเล, อาการที่เป็น ว ไปอย่างขลุกขลัก, กะปลก ศ กะเปล้ีย เชน่ ขมกเขม่าช่างเขา่ ส กอไผ่ งาใหญ้ใหญ่ช่างมิดช่าง ห หม่ี เดือนซิบสี่ออกลูกในนา อ กระตา่ ยทำ� งานอลี กั อหี ลดู (การ ฮ 345

อีหีแมด็ - อนู้ พนู่ งาน. อง่ึ สะแก น. องึ่ ชนิดท่ตี วั ลายเท่าหวั นิ้ว อหี ีแม็ด น. ค�ำดา่ หญงิ เช่นเดยี วกบั อีหี มือสีออกแดง ร้องเสียงแก ๆ เคยี ว, (ดู หีเคยี ว, อีแตด๊ แมด็ หรือ แก้ ๆ. ก ประกอบ) (ไม่สุภาพ). ข อเี หงบิ องี บั [อ-ี เหงฺ บิ -อ-ี งบั่ ] ดู กระดก อึ้งลึ่ง ว. ท้องโต, ข้นึ อดื , พองขึน้ . ค อ๊ึด ก. อด, ไม่มีอะไรจะกิน เช่น อึ๊ด ฆ กระเด่อื ง. ง ออี อม [อ-ี ออม] น. ผกั พนื้ บา้ น จดั เปน็ อยาก (อดอยาก). จ อด๊ึ ตะบอื ดู อึด๊ ตะพอื . ฉ พรรณไม้ล้มลุก ล�ำต้นกลม อด๊ึ ตะพอื ว. อดึ ตะปอื , มาก, ลน้ หลาม, ช กลวงเปน็ ข้อ ๆ ใบเดยี่ วขน้ึ ตาม ซ ข้อ ปลายดอกสชี มพู โคนดอก อดึ๊ ตะบอื , ตะปือ กว็ า่ . ฐ สีขาว มีกล่ินหอมฉุนเผ็ดร้อน, อด้ึ ตดึ้ ว. แนน่ จนแออดั , แนน่ มาก, โดย ฒ ด อินออม ก็ว่า, บางถ่ินใช้ว่า ปริยายหมายถึงอาการที่นอน ต กะออม, (ข. ปะกามะออม). หรอื นั่งอยา่ งคนอ้วนใหญ.่ ถ อแี อะอีแอ่น [อ-ี แอะ๊ -อี-แอน่ ] ก. เดิน อตึ ึ [อ-๊ึ ตึ๊] ก. เฉย, นงิ่ เฉยโดยไม่สนใจ ท ใคร เชน่ อย่าร่กั ทชี่ วน อยา่ ธ โซเซแอ่นหน้าแอ่นหลัง เช่น นง่ั อตึ๊ ๊ึ ไมม่ วี นั ตาย (เพลงกอ้ ม). น การเดนิ ของคนเมา. อนึ ว. ช้ืน, แห้งไม่สนิท, หมาด. บ อโี อบ้ น. คอมแบต, รองเทา้ หนงั หมุ้ ขอ้ อมึ ครมึ ว. ครมึ้ ฟ้าครึ้มฝน, เหตกุ ารณ์ ป ตงึ เครียด. ผ อย่างทหาร, (อ. combat อดื หลดื ก. นอนอยา่ งคนเกยี จคร้าน; ฝ boots). ว. อว้ นตุ๊ตะ๊ , อว้ นจนอึดอดั . พ อึ่งกระโดน น. อ่ึงชนิดท่ีหลังมีลายสี อื๋อ ว. เขม้ , จดั , แก่ (ใชแ้ ก่สเี ขยี ว), อื๋อ ฟ หลอื , ตื้อ กว็ า่ . ภ นำ�้ ตาลไมค่ อ่ ยพองตัว. ออื๋ หลอื ดู ออ๋ื . ม องึ่ พรา้ ว [องึ่ -พา่ ว] น. อง่ึ ชนดิ ทค่ี ลา้ ย ออื เนาะ อ. คำ� ทเี่ ปลง่ ออกมาเพอ่ื ตอบ ย รบั หรอื รับรู.้ ร อึ่งกระโดน แต่หลังมีลายเป็น อือออห่อหมก [อือ-ออ-ห่อ-มก] ว. ฤ จุด ๆ หนา้ สัน้ มทู่ ู.่ ออื ออ, พลอยเห็นดเี ห็นงามไป ล อึ่งไม้แดง [อ่ึง-ม่าย-แดง] น. อ่ึงท่ี ดว้ ย. ว อาศยั อยู่ตามโคกหรือปา่ นิยม อื้อแฮะ อ. อือ, ค�ำที่เปล่งออกมา ศ รับประทาน. ส อง่ึ ยาง น. อง่ึ ชนดิ หนงึ่ ผวิ หนงั เปน็ เมอื ก หอ คล้ายยาง. ฮ 346

พจนานุกรม ภาษาโคราช เป็นการตอบรบั หรอื รับรู้. อุทัจก์ [อุ๊-ทั่ด] น. อุทธัจ, ความ ก อุ๊กอัง่ ว. หนักใจ, กลุม้ ใจ, กลดั กลมุ้ , ประหม่า, ความขวยเขิน เช่น ข แม่ทองเหลือประสานตาเข้า ค อุ๊อั่ง ก็วา่ . ความอทุ จั กก์ เ็ พม่ิ ตาม (ทา้ ว ฯ). ฆ อุงพุ่ง น. โชงโลง, เคร่ืองวดิ น้�ำคลา้ ย ง อุบอบิ [อุ๊บ-อิบ๊ ] ว. มุบมิบ, ยกั ยอก จ เรอื ครงึ่ ทอ่ น มดี า้ มถอื ผกู แขวน เอาเงียบ ๆ. ฉ ไว้กับขาหยั่ง แล้วจับด้าม ช พุ้ย หรือวิดน�้ำเข้าออกตาม อุบาทว์ชาติช่ัว ว. อัปรีย์, สารเลว, ซ ต้องการ, องุ้ พงุ่ , อุงมุ่ง, กะโซ,่ ชาตชิ ัว่ . ฐ ปงุ โซ่ กว็ ่า. ฒ อุ้งพ่งุ ดู อุงพงุ่ . อปุ ภเิ ษก [อบุ๊ -ปะ๊ -พ-ิ เสก] ก. อภเิ ษก, ด อุงมงุ่ ดู อุงพงุ่ . แต่งต้ัง เช่น แล้วอุปภิเษกให้ ต อดุ ตดู คะนาน [อดุ๊ -ตดู -คะ-นาน] (สำ� ) เปน็ ใหญย่ อดบรุ ี (น.ิ พระปาจติ ). ถ เงยี บ, นง่ิ เฉย; ทะนานถน่ิ โคราช ท ใชว้ า่ คะนาน คอื กะลามะพรา้ ว อมุ้ ลกู ผูกอู่ (ส�ำ) แม่ลูกอ่อน. ธ ใช้ตวงข้าว ถ้าไม่อุดรูที่ก้นข้าว อุ้ยลุย่ ว. ตุ๊ตะ, อว้ นตุ๊ตะ. น จะรัว่ เกิดเสยี งดงั . อุ้ยุ่ ว. สิ่งของที่วางหรือกองไว้ไม่เป็น บ ป คะนาน ระเบยี บ. ผ อรุ ัง น. อุรา, อก. ฝ อดุ เตา [อุ๊ด-เตา] น. การเผาเครื่อง ออุ๊ ั่ง ดู อกุ๊ อ่ัง. พ ปน้ั ดนิ เผาในชว่ งท่ี ๒ โดยใสฟ่ นื ออุ๊ นู ว. มากมาย. ฟ สมุ ไฟในเรอื นเตาหลงั จากรมไฟ อู้คู้ ก. คุดคู้, ขดตวั งอแขนงอเข่า เชน่ ภ อ่อน ๆ เพื่อเร่งให้อุณหภูมิ ม สูงขน้ึ , (ดู ลมุ่ ประกอบ). แลเห็นรูปทอง นี่หรือเจ้าของ ย ยงั นอนอคู้ ู้ (น.ิ รปู ทอง). ร อุตุ [อุ-๊ ต]ุ๊ ว. จ้ำ� ม่ำ� , ตุ๊ตะ๊ , ใชป้ ระกอบ อูด ก. รมด้วยควนั ไฟ. ฤ ค�ำอว้ นเป็นอว้ นอ๊ตุ .ุ๊ อูดปดู ก. นอนอยา่ งสบาย. ล อดู้ ลดู ๑. น. กบั ขา้ วชนิดหนึง่ ประกอบ ว อเุ ตา [อุ-๊ เตา] น. เตาอั้งโล่. ด้วยหน่อไม้เผาหรือต้มแล้ว ศ เสี้ยนใสย่ ่านาง ใบแมงลกั กะทิ ส เปน็ ต้น. ห ๒. ว. เปรอะเปอื้ น, เลอะเทอะ. อ อู้นพนู่ ว. พนู , เต็มจนพูน, จุน้ พ่นู กว็ า่ . ฮ 347

อ้ลู ู่ - เอือ้ งนางอว่ั น้อย อูล้ ู่ ก. รดั จนคับหรอื ตึงจนเนื้อปล้ิน. เอเ้ ต้ ก. นงั่ หรอื นอนวางทา่ อยา่ งสบาย เอกลาภ น. ลาภอันประเสริฐ เช่น อารมณ์, เอ่เล่ กว็ า่ เชน่ นอน ชรอยจะเปน็ บญุ ญาภนิ หิ ารแหง่ เอเ้ ต้ (นอนอย่างสบาย). ก นครราชสีมาเราเป็นเที่ยงแท้ ข จงึ ดลบนั ดาลใหเ้ ราพบเอกลาภ เอ้เล่ ว. พะเนินเทินทึก, มากมายกา่ ย ค กอง, สบาย เช่น กองเอ่เล่ ฆ อย่างใหญห่ ลวง (ทา้ ว ฯ). (กองพะเนนิ เทนิ ทกึ ). ง เอกัง ว. เอกา, หนึ่ง, คนเดียว, จ เอวกระเด่ือง น. ส่วนหน่ึงของครก ฉ โดดเดียว เช่น ว่าเอกังสมยัง กระเดื่องท่ีเป็นเสาหรือหลัก ช ในครง้ั หนึ่ง (สภุ มิต ฯ). รองรับแกนที่สอดติดตึงกับ ซ เอง ส. เรา, พวกเรา; สรรพนามบุรษุ กระเดอื่ ง อยรู่ ะหวา่ งดา้ นหวั ทมี่ ี ฐ สากกบั ดา้ นหางทำ� เปน็ ทเ่ี หยยี บ ฒ ท่ี ๑ ใช้แทนชื่อคนที่พูด บาง แตเ่ ยอ้ื งไปทางดา้ นเหยยี บหรอื ด กรณีหมายถึงหลายคนรวมทั้ง หางกระเด่ือง. ต ผ้พู ูดดว้ ย เช่น อย่างเขา อยา่ ง ถ เอง (อยา่ งเขาอยา่ งเราหรอื พวก เอวกว่ิ ว. เอวคอดเล็ก. ท เรา), บา้ นเอง (บา้ นเรา), เอง็ , เอ้อเร่อ ว. อ่ิมมาก, อิ่มแปล้, อิ่ม ธ น เอง๋ กว็ า่ เชน่ โคราชบา้ นเอง๋ จนจุก ; พูดเป็นส�ำนวนว่า อิ่ม บ (โคราชบา้ นเรา). เอ้อเร่อพอปั่นเลอเทินหม่อ, ป เอง็ ดู เอง. แอ้แล่ ก็ว่า. ผ เอ้อเห่อ อ. คำ� เปล่งเสียงแสดงความ ฝ เอง่ ๑. ว. เออ่ , ปร่ิมขน้ึ มา, ท้นข้นึ มา ตกใจหรอื ประหลาดใจเชน่ เดยี ว พ เช่น ก็น�้ำเนตรเอ่งพระทัยอ้ัน กับโอ้โฮ. ฟ (เพลงโคราช). เอา ก. ร่วมประเวณี, ร่วมเพศ, ภ แตง่ งาน. ม ๒. น. แอ่ง, บ่อน้�ำเล็ก ๆ บน เอากัน ก. ร่วมประเวณ.ี ย ผิวดิน. เอ้า ว. รอ้ น, อบอา้ ว. ร เอาของมาเชิงบาตร ก. น�ำสงิ่ ของมา ฤ เอง๋ ดู เอง. ช่วยเจ้าภาพประกอบอาหารใน ล เอง้ เลง่ ว. อิม่ มาก. งานศพ เช่น ขา้ วสาร ฟกั แตง ว เอชา อ. ค�ำท่ีเปล่งออกมาด้วยความ พรกิ พืชผัก ฯลฯ. ศ ดีใจ. ส ห เอด้ เลดอา้ ดลาด ก. นงั่ หรอื นอนอยา่ ง อ คนเกยี จคร้าน. ฮ 348

พจนานุกรม ภาษาโคราช เอาควายมาสง่ [เอา-ควย-มา-สง่ ] ก. กนิ เอากนิ เอา, อว้ นเอาอว้ นเอา. ก นำ� หญงิ ทพี่ าหนไี ปอยกู่ นิ ดว้ ยกนั เอ๊าะเยาะ ก. ล้มลงไปนอนกองท่ีพ้ืน ข มาขอขมาพ่อแม่, (ดู ผัวควย ค เมียควย ประกอบ). เช่น ถกู ชกลงไปกองเอ๊าะเยาะ, ฆ กองสิง่ ของขนาดเลก็ ๆ อยา่ ง ง เอาเน้ือไปสู่เสือ มันจะเหลือท่ีไหน ไมเ่ ปน็ ระเบยี บ, กองไวไ้ ม่เปน็ ที่ จ [เอา-เน่ือ-ไป-สู่-เสือ-มัน-จะ- ; ถา้ เปน็ กองขนาดใหญ่ เรยี กวา่ ฉ เหฺลือ-ที่-ไหฺน] (ส�ำ) สิ่งหรือ อะ่ ยะ่ . ช ประโยชนท์ ใ่ี หไ้ ปแลว้ ยากทจ่ี ะได้ เอิดเติด ก. น่ังหรือนอนอย่างสบาย, ซ คืน เช่น จะเอาเนอื้ ไปสู่เสอื มนั เชดิ หน้า. ฐ จะเหลือท่ีไหน คิดดูเถิดยาย เอน่ิ เทนิ่ ว. สงู เดน่ เชน่ ภเู ขาสงู เอนิ่ เทน่ิ . ฒ อยา่ ได้เชือ่ ฟัง (นิ.รปู ทอง), (ดู เอิ๊บ อ. แสดงความประหลาดใจ เช่น ด หาสู่ ประกอบ). เดยี วกบั คำ� วา่ อ๊ะ. ต เอย่ี กเหมียก ว. มอมแมม. ถ เอาผวั น. มผี วั , มสี าม.ี เอี้ยเลย่ี ว. อม่ิ จนจะอาเจียน, อิม่ จนถึง ท เอาเมยี น. มเี มีย, มีภรรยา. ใจ เช่น เห็นแล่วก็ยังเอ้ียเล่ีย ธ เอาลกู เขามาเลย้ี ง เอาเมยี่ งเขามาอม อยู่เลย (เห็นแล้วยังอ่ิมจนเบ่ือ น อยู่เลย). บ ซ้ือขนมให้หมากิน [เอา-ลูก- เอ๊ียะ ก. แหวะ, อาการที่เด็กทารก ป เขา-มา-เล่ียง-เอา-เหฺมี่ยง- สำ� รอกอาหารออกมาเพราะกิน ผ เขา-มา-อม-ซื่อ-ขะ-หฺนม-ไห่- อม่ิ เกินไป. ฝ หมา-กนิ ] (ส�ำ) ก. เอาลูกคน เอ้ืองกหุ ลาบโคราช น. กล้วยไมช้ นดิ พ อ่ืนมาเล้ียงแต่ตนเองได้รับผล Habenaria dentata Schltr. ฟ ตอบแทนทีเ่ ดือดร้อนวนุ่ วาย. ในวงศ์ Orchidaceae เป็น ภ เอาศึกมาสู่บ้าน เอาว่านมาสู่สวน กลว้ ยไมท้ เ่ี ปน็ เอกลกั ษณเ์ ฉพาะ ม [เอา-ซึก-มา-สู่-บ้าน-เอา- ถ่ินโคราช, กุหลาบเหลือง ย หวา่ น-มา-ส-ู่ สวน] (สำ� ) ก. เอา โคราช กว็ า่ . ร ความเดอื ดรอ้ นมาสคู่ รอบครวั . เอื้องนางอั่วน้อย [เอ้ือง-นาง-อ่ัว- ฤ เอาใหญเ่ อาโต ก. เอาใหญ,่ เหมิ เกรมิ , นอ่ ย] น. กลว้ ยไมช้ นดิ Aerides ล กำ� เริบ, ลำ� พอง, ได้ใจ. houlletiana Reichb. f. ในวงศ์ ว ......เอา........เอา ก. ใชป้ ระกอบคำ� เพอื่ ศ เนน้ แสดงถงึ ความตอ่ เนอื่ ง เชน่ ส ห อ ฮ 349

เอือ้ งสามดอก - โอส้ม Orchidaceae, ถ่ินเชียงใหม่ คนหาแพ้ต้องเร่ิมต้นเล่นใหม่, เรยี ก เอื้องข้าวตอก. เลน่ ซุก กว็ ่า. เอ้ืองสามดอก น. กล้วยไม้ชนิด แอบแปะ [แอบ-แปะ๊ ] ว. พ่ึงพาอาศยั ก Coelogyne viscosa Reichb. คนอ่นื , ไดด้ เี พราะมีคนอน่ื ชว่ ย, ข f. ในวงศ์ Orchidaceae. แอม่ แปะ กว็ ่า. ค แอม้ ว. ตอ้ งการสงิ่ ใดสง่ิ หนงึ่ อยา่ งมนี ยั . ฆ เอื่อย ว. เร่อื ย ๆ, ลักษณะอาการท่ตี ่อ แอ่มแปะ ดู แอบแปะ. ง เนื่องกันไม่ขาดระยะ เช่น คน แอแ้ ล่ ว. อม่ิ หนำ� , อมิ่ แปล,้ (ดู เออ้ เรอ่ จ เดนิ มาเออ่ื ย, รถ่ มาไหลเอือ่ ย. ประกอบ). ฉ แอ้ว ว. เบีย้ ว, คอด, กว่ิ (ใชแ้ กผ่ ลไม้). ช แอค็ [แอ่ค] ก. เกก๊ , วางท่า, ยียวน. แอ๊ะ ก. เมาเหล้าจนครองสติไม่อยู่ ซ แ ส ด ง อ า ก า ร ที่ น ่ า ห ม่ั น ไ ส ้ , เชน่ พอ่ แกแอะ๊ มาเลย, เมาแอะ๊ ฐ ขแ่ี อ่ค ก็วา่ . กว็ า่ , (ดู อแี อะ๊ อแี อน่ ประกอบ). ฒ แอ๊ะแยะ ก. วางกองไว้ไมเ่ ป็นระเบยี บ. ด แอง้ แล่ง ว. แอ้งแมง้ เชน่ นอนแอง้ โอ ๑ น. ขนั น้�ำขนาดเล็ก. ต แล่ง (นอนแอง้ แม้ง). ๒ ว. กลิน่ เหม็น, เหมน็ เน่า เช่น ถ แอด้ แซด ว. อ่อนเพลีย, อ่อนเปล้ีย, กลนิ่ โอ (กล่นิ เหม็นเน่า). ท โอ่ น. การข้นึ เพลง เป็นธรรมเนยี ม ธ หมดแรง. ก่อนจะร้องเพลงโคราชจะต้อง น แอ้ดแตด้ ว. แน่นขนัด, อดั กนั แนน่ . มีการขึ้นเพลง ด้วยการโอ่….. บ แอด้ รถ [แอด้ -ลด่ ] น. การด์ รถ, เดก็ รถ, เรยี กวา่ ธรณีบทต้น ก็มี. ป โอก ว. โต, ใหญ่, โตใหญ่กว่าใคร ผ กระเปา๋ รถ. ในพวก เชน่ ไกโ่ อก. ฝ แอ้ดแลด่ ก. นอนซม, นอนแอ้งแมง้ . โอก้ โลก ว. ขาวจวั๊ ะ, ใหร้ สู้ กึ วา่ ขาวมาก. พ แอ๊ดสะไพ น. การเลน่ ซ่อนหา โดยให้ โอก้ อา้ ก ก. เสียงอยา่ งอาเจยี น, โดย ฟ ปริยายหมายถึงคนติดเหล้า ภ คนหนงึ่ เป็นคนหา อีกกล่มุ หน่งึ เ พี ย ง แ ต ่ ไ ด ้ ก ล่ิ น เ ห ล ้ า ก็ จ ะ ม จะไปซ่อน เมื่อคนท่ีหาเจอก็จะ ส่งเสียงโอก้ อา้ ก. ย พูดว่า“แอ๊ดสะไพ” แล้วเอ่ย โอด ก. โน้มก่ิงไม้. ร หรอื เรยี กช่ือคนทีเ่ จอ ถา้ เรียก ฤ ถูกตอ้ งคน ๆ นัน้ ก็จะไปเปน็ คน ล ว หาแทน แต่ถ้าเรียกช่ือไม่ถูก ศ ตอ้ งแลว้ คน ๆ นน้ั หรอื คนอนื่ ท่ี ส ซ่อนวิ่งมาแตะตัวคนหาพร้อม หอ กับพูดว่า “ป๊อก” ได้ ถือว่า ฮ 350

พจนานุกรม ภาษาโคราช โอด้ โซด ว. บวมฉ.ุ ตาแปะ๊ อศั วินเจก๊ แคระตาแปะ ก โอดอง [โอด-อง] ว. สะโอดสะอง, หนวดยาว. ข โอมเพยี้ ง อ. คำ� อธษิ ฐานแลว้ เปลง่ ออก ค สงู โปร่งงาม. มาเพื่อต้องการให้เกิดความ ฆ ศักดิส์ ิทธต์ิ ามท่ตี ้องการ. ง โอเผยี ง โอย อ. ค�ำท่ีเปล่งออกมาประกอบกับ จ ค�ำอ่ืนเพื่อให้มีความหมาย ฉ โอเผียง ก. วิธีการหาผู้ชนะและผู้แพ้ ชดั เจน เชน่ โอยอยา่ งนี้ไม่เอา ช เพ่ือเร่ิมต้นในการเล่นของเด็ก หรอก, โอย๊ ก็วา่ . ซ ในกรณีท่ีการเล่นน้ันใช้ผู้เล่น โอย๊ ดู โอย. ฐ ตงั้ แต่ ๒ คนข้ึนไป โดยผเู้ ลน่ โอ้โล่ ว. ลกั ษณะทเี่ อาผา้ คาดเอวแล้ว ฒ ทั้งหมดยืนเป็นวงกลมหันหน้า มดั หลวม ๆ. ด เข้าหากัน ใช้มือข้างหนึ่งย่ืน ต สะบัดไปมาพร้อมกับพูดว่า โอส้ม ถ “โอเผยี ง” เมอื่ สน้ิ คำ� วา่ โอเผยี ง ท ทุกคนจะหงายมือหรือคว่�ำมือ โอส้ม [โอ-สม่ ] ก. วธิ ีการหาผชู้ นะและ ธ จะถอื การควำ�่ หงายของมอื ทม่ี าก ผแู้ พ้ เพอื่ เรมิ่ ตน้ ในการเลน่ ของ น กว่าเป็นฝ่ายชนะ ฝ่ายชนะจะ เด็กในกรณีที่การเล่นน้ันใช้ บ ออกไป ท�ำเช่นน้ีจนกว่าจะ ผเู้ ลน่ ๒ คน โดยทงั้ คจู่ ะเอามอื ป เหลือคนเดียว แต่ถ้าเหลือ ๒ ขา้ งหน่ึงซุกไวข้ ้างหลัง แล้วนำ� ผ คนสุดท้ายต้องใช้วิธีโอส้มกัน มาแสดงต่อกันพร้อมกับพูดว่า ฝ (ดโู อสม้ ประกอบ) เพอ่ื ใหเ้ หลอื “โอสม้ ” ถ้าฝา่ ยหน่ึงก�ำก�ำปั้น พ ผู้แพ้เพียงคนเดียว บางแห่ง อีกฝ่ายชูสองนิ้ว ฝ่ายชูสองน้ิว ฟ เรยี กวา่ โออาเหลา่ ตาแปะ๊ มวี ธิ ี จะแพ้เพราะก�ำก�ำปั้นเหมือน ภ การเช่นเดยี วกับโอเผยี ง เพยี ง ม แต่พูดพร้อมกันวา่ “โออาเหลา่ ย ร ฤ ล ว ศ ส ห อ ฮ 351

โออาเหลา่ ตาแปะ๊ - แฮ, แฮ่ ๆ ฆ้อน จะทุบสองน้ิวซ่ึงเหมือน ไอด้ ำ� กะไอแ้ ดง ตอ่ ยกนั ขมี้ กู โปง่ [ไอ-้ กรรไกร ถ้าฝ่ายหนึ่งก�ำก�ำปั้น ด�ำ-ก๊ะ-ไอ้-แดง-ต่อย-กัน-ข่ี- อีกฝา่ ยหนึ่งแบมือ ฝ่ายแบมือ มกู -โปง่ ] (ปรศิ ) น. หมอ้ ขา้ วตง้ั ก จะชนะเพราะแบมือเหมือน บนเตาไฟแดง ๆ ก�ำลงั เดอื ด ; ข กระดาษสามารถหอ่ หมุ้ กำ� ปน้ั ได้ หม้อดินหรือหม้อทั่วไปท่ีก้นด�ำ ค เพราะถกู กอ้ นถา่ นแดง ๆ ลนจน ฆ ในกรณที ฝ่ี า่ ยหนงึ่ แบมอื อกี ฝา่ ย เดอื ด. ง ชสู องนวิ้ ฝา่ ยชสู องนว้ิ เปน็ ฝา่ ย จ ชนะ เพราะสองน้ิวเหมือน ไอห้ นึ่งพาเปน็ ไอ้หน่ึงพาตาย (ส�ำ) มี ฉ สิง่ หน่ึงให้คุณ แต่ก็มอี ีกส่ิงหนึง่ ช กรรไกรสามารถตัดแบมือซึ่ง ใหโ้ ทษ. ซ เหมอื นกระดาษได้ แต่ถา้ ต่าง ฐ ฝ่ายตา่ งกระทำ� เหมอื นกัน เชน่ ไอห้ ยา อ. คำ� ทเี่ ปลง่ ออกมาแสดงความ ฒ ตกใจ, ประหลาดใจ เปน็ ตน้ เชน่ ด แบมือต่อแบมือ ชูสองนิ้วต่อชู เดยี วกับค�ำวา่ โอโ้ ฮ. ต สองนิ้ว หรือชูก�ำปั้นต่อก�ำปั้น ถ ถือว่าเสมอกัน ตอ้ งเรมิ่ ต้นใหม่ ไอห้ อกหัก [ไอ-้ หอก-ฮกั ] ว. ไอห้ อก; ท ท�ำไปจนกว่าจะได้ผู้ชนะและผู้ ใช้เป็นค�ำด่าอย่างหน่ึงท�ำนอง ธ ว่าไอเ้ ฮงซวย. น แพ้ ภาคกลางเรยี ก เป่ายงิ ฉุบ. บ โออาเหลา่ ตาแป๊ะ ดู โอเผียง. ไอ้ห่า น. ค�ำทแี่ ทนคนฟงั ระหว่างคนที่ ป ไอ ว. อะไร, อาย, ไอ๋ ก็วา่ เชน่ ทำ� อาย สนทิ สนมพดู กนั เชน่ ไอห้ า่ นี่ (ไอ้ ผ น่ี), ไอ้ห่าเอ้ยทำ� ไมทำ� อยา่ งน่นั ฝ (ทำ� อะไร). (แกท�ำไมทำ� อย่างน้ัน). พ ไอเยอ ว. อะไรนะ, ไอ๋เยอ ก็วา่ . ฟ ไอ๋ ดู ไอ. ไอห้ ุ้ม ไอ้หัน่ ปลายแดงน่ัน เข้าหน่ึงรู ภ ไอเ๋ ยอ ดู ไอ. ออกสองรู [ไอ้-หุ่ม-ไอ้-หั่น- ม ไอค็อกไอแค็ก ดู ไอแค็ก ๆ. ปาย-แดง-นั่น-เข่า-หฺนึ่ง-ลู- ย ไอคอ็ กไอแคก็ ไอกระดอ๊ กไอกระแดก๊ ออก-สอง-ลู] (ปริศ) น. บุหร่ี. ร ฤ ดู ไอแค็ก ๆ. ไอ้อย่าง ว. ใช้น�ำหน้าค�ำวิเศษณ์เพื่อ ล เน้นค�ำหรือเพิ่มน้�ำหนักของค�ำ ว ไอแค็ก ๆ [ไอ-แคก็ -แคก็ ] ก. เสียงดัง เชน่ ไออ้ ยา่ งใหญ่ (ใหญม่ าก), ศ เชน่ นน้ั อยา่ งเสยี งไอ, คอ็ กแคก็ , ไอ้อย่างสวย (สวยมาก, สวย ส ไอค็อกไอแค็ก,ไอค็อกไอแค็ก จรงิ ๆ), ไออ้ ยา่ งซวย (ซวยจรงิ ๆ). หอ ไอกระดอ๊ กไอกระแด๊ก ก็ว่า. ฮ 352

ฮกกระได น. บันได, หัวกระได กว็ ่า. ฮพจนานุกรม ภาษาโคราช ก ฮกคะนา น. คนั นา, (ดู คะนา ประกอบ). อาการกระดกนวิ้ ชห้ี รอื นวิ้ ทง้ั หา้ ข ฮวก ก. เสียงซดน�้ำแกงหรืออาหาร ตรงไปยงั ผูท้ ่ีถกู เยาะเยย้ . ค ฮึก ๑. ว. ใหญ่, หนา, อ้วนล�่ำผิด ฆ ทเี่ ปน็ น้ำ� ดัง ๆ, ฮวก ๆ ก็ว่า. ปกติ. ง ฮวก ๆ ดู ฮวก. ๒. ก. หวา่ นไม่กระจาย (ใชแ้ ก่ จ ฮอน น. สว่ นหนง่ึ ของลำ� โพงใชห้ มนุ เขา้ แห) เช่น แหมันไม่ฮึกเลยไม่ ฉ คอ่ ยไดป้ ลา. ช เกลยี วกบั กน้ ดอกล�ำโพง. ฮึ่ม ว. เสียงดังเช่นนั้นอย่างเสียงของ ซ หนกั ๆ ลม้ หรือตกเปน็ ตน้ เชน่ ฐ ฮอน ต้นไม่ล่มฮ่ึม (ต้นไม้ล้มดังฮึ่ม ฒ หรอื ดงั โครม), เสยี งฟา้ รอ้ ง เชน่ ด ฮก่ั ๆ ก. แฮก ๆ, อาการทหี่ อบถ่ี ๆ ฟ่ารอ่ งฮมึ่ ๆ. ต เพราะเหนอ่ื ย. เฮย ว. คำ� สรอ้ ยทป่ี ระกอบตอ่ ท้ายคำ� ถ เพ่ือเน้นค�ำ มีความหมาย ท ฮา ก. เสยี งถอนหายใจเบา ๆ, เสียง ทำ� นองว่า เอย, เอ๋ย, เฮย้ เช่น ธ พ่นไอร้อนจากปาก, เสียงเป่า แจ่มเฮยมีคนจิมาขอลูกสาว น เบา ๆ ขา้ งกลอ่ งไมข้ ดี ไฟทเี่ ปยี ก (แจ่มเอย, แจ่มเอ๋ย มีคนจะมา บ ชนื้ ใหแ้ หง้ . ขอลูกสาว), นอนไม่ได้เลยเฮย ป (นอนไม่ไดเ้ ลยเฮย้ ), (ดู เด่เฮย ผ ฮวิ้ ก. เสยี งโห,่ เสยี งโหเ่ มอื่ เพลงโคราช ประกอบ). ฝ รอ้ งถูกอกถูกใจ หรือเมอ่ื เพลง เฮอะฮะ ก. ร้องเอะอะ, โวยวาย. พ โคราชร้องจบเป็นการแสดง แฮ, แฮ่ ๆ ๑. ว. แหะ ๆ, เสียงอยา่ ง ฟ ความพออกพอใจ. หัวเราะ เชน่ ท�ำหนุ ๆ หนั ๆ ภ เลยหงนิ ฟนั แฮ่ ๆ (เพลงโคราช), ม ฮิ้ว ๆ ก. เสยี งร้องเยาะเย้ย พร้อมด้วย (ดู หงนิ ฟนั ประกอบ). ย ๒. ดู แฮะ ๆ. ร ฤ ล ว ศ ส ห อ ฮ 353

แฮ่เข้าใส่ - แฮะ ๆ แฮเ่ ข้าใส่ [แฮ-่ เข่า-ไส่] ก. เสียงสัตว์ ระคายคอ, ตดิ คอเน่ืองจากดม่ื เช่น หมา ขู่ค�ำรามท�ำท่าว่าจะ หรอื กนิ ของทม่ี รี สเขม้ เชน่ หวาน เข้าท�ำร้าย. จนแฮด่ คอ (หวานจนบาดคอ). ก แฮ็ด ๆ ก. ท�ำกิริยาแสดงร่านผู้ชาย แฮ่ะ ก. ค�ำทกั หรอื บอกใหร้ ู้ตวั เช่น ข แฮ่ะท�ำอ๊ิกแล่ว (น่ีท�ำอีกแล้ว, ค (เป็นค�ำต�ำหนิหรือเชิงห้าม แนะ่ ท�ำอกี แลว้ ). ฆ ปรามหญิง) เช่น จะแฮ็ด ๆ ไป แฮะ ๆ ก. เสยี งรอ้ งหา้ มปรามเพอื่ ให้ ง ทางไหนอีก. หยดุ การกระทำ� , แฮ,่ แฮ่ ๆ กว็ า่ . จ แฮ็ดคอ [แฮ่ด-คอ] ก. บาดคอ, ฉ ช ซ ฐ ฒ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ฤ ล ว ศ ส ห อ ฮ 354

เอกสารอา้ งองิ นทิ านค�ำกาพย์ เรอ่ื งกุศราช. (๒๕๓๘). นฤมล ปยิ วทิ ย์ ปรวิ ัตร รวบรวม สำ� นกั ศิลปะ และวฒั นธรรม สถาบันราชภัฏนครราชสมี า, เอกสารโรเนียวเย็บเลม่ . นิทานค�ำกาพย์ เร่อื งรปู ทอง. (๒๕๓๘). นฤมล ปิยวิทย์ ปรวิ ตั ร รวบรวม สำ� นกั ศิลปะและวัฒนธรรม สถาบนั ราชภฏั นครราชสีมา, เอกสารโรเนียวเย็บเล่ม. อนกุ รมวิธานพชื อักษร ก. (๒๕๓๘). กรุงเทพ ฯ : เพ่อื นพมิ พ.์ กรมศลิ ปากร. (๒๕๓๑). เมอื งพมิ าย. พมิ พค์ รงั้ ที่ ๖, : กรงุ เทพ ฯ : โชคเจรญิ มารเ์ กต็ ตง้ิ . . (๒๕๔๖). นำ� ชมอทุ ยานประวัติศาสตร์พิมาย. พิมพค์ รงั้ ท่ี ๒, นครราชสีมา : โจเซฟ ปรินท์ติง้ . กระทรวงศึกษาธกิ าร, กรมพลศกึ ษา. (๒๕๒๕). ปทานุกรมกฬี าพ้ืนเมือง. กรุงเทพฯ : ส�ำนักพิมพอ์ ักษรเจริญทัศน.์ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, กรมวชิ าการ. (๒๕๔๑). พจนานกุ รม (ร.ศ.๑๒๐). กรงุ เทพฯ : ครุ สุ ภา ลาดพรา้ ว. กระทรวงศึกษาธิการ, ส�ำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. (ม.ป.ป.). ของดี โคราช เลม่ ท่ี ๒ จดหมายจากโคราช. กรุงเทพฯ : สหสนิ วฒั นา. . (๒๕๒๕). ของดโี คราช เลม่ ท่ี ๓ บนั ทกึ จากโคราช. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร.์ . (๒๕๓๔). ประเพณกี ารบวช การแตง่ งาน และการจดั งานศพอยา่ งประหยดั . กรุงเทพฯ : อมรินทรพ์ ร้นิ ติง้ กร๊พุ . ขรรคช์ ัย บุนปาน และสจุ ิตต์ วงศ์เทศ. (๒๕๕๘). โคราชของเรา. ฉบับพเิ ศษ, นนทบรุ ี : มตชิ นปากเกร็ด. ไขศริ ิ ปราโมช ณ อยธุ ยา. (๒๕๒๙). การเปลีย่ นแปลงถอ้ ยค�ำและความหมายของ สำ� นวนไทย. พมิ พ์ครง้ั ที่ ๒, กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. คณะกรรมการโครงการพจนานุกรมอสี าน – กลาง ฉบบั มข.– สวอ. (๒๕๒๓). พจนานกุ รมอีสาน – กลาง ฉบบั มข. – สวอ. ขอนแกน่ : ศริ ภิ ัณฑอ์ อฟเซท็ . คณะกรรมการฝา่ ยประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ในคณะกรรมการอำ� นวยการจดั งาน เฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เนอ่ื งในโอกาสพระราชพธิ มี หามงคล 355

เฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒. (๒๕๔๓). วัฒนธรรม พฒั นาการทางประวตั ศิ าสตร์ เอกลกั ษณแ์ ละภมู ปิ ญั ญา จงั หวดั นครราชสมี า. กรงุ เทพฯ : คุรุสภาลาดพรา้ ว. ฉัตรทิพย์ นาถสุภา และพรพไิ ล เลศิ วิชา. (๒๕๔๑). วัฒนธรรมหมู่บา้ นไทย. พิมพ์ ครั้งท่ี ๒, กรุงเทพฯ : ศูนยห์ นงั สอื จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั . ฉำ่� ทองค�ำวรรณ. (๒๕๐๓). หลักภาษาเขมร. กรงุ เทพฯ : รุ่งเรอื งธรรม. โชค กัลยาณมิตร. (๒๕๑๘). พจนานุกรมสถาปัตยกรรมและศิลปะเกี่ยวเนื่อง. กรุงเทพฯ : ศิริมิตรการพิมพ์. ฐะปะนยี ์ นาครทรรพ. (๒๕๒๓). ภาษา – พาสาร ก – ค ๒๐๐ สำ� นวน. กรงุ เทพฯ : สำ� นกั พิมพ์บรรณกิจ. ถาวร สบุ งกช และคณะ. (๒๕๒๖). เพลงโคราช : การศกึ ษาเชงิ วเิ คราะหแ์ ละวจิ ารณ.์ พิมพค์ ร้ังท่ี ๓, กรงุ เทพฯ : ที.พ.ี พร้นิ ท.์ . (๒๕๒๖). ภาษาถิ่นโคราช : การวิเคราะห์เร่อื งเสียงและความหมาย. นครราชสมี า : สมบูรณอ์ อฟเซ็ทการพิมพ.์ ธวชั ปณุ โณทก. (๒๕๑๙). สภุ มิต-เกศนี ี. รายงานการศกึ ษาคน้ คว้าวรรณคดโี คราช, เอกสารการนิเทศการศึกษา ฉบับที่ ๑๘๓ หน่วยศึกษานเิ ทศก์ กรมการ ฝกึ หดั คร.ู ศูนย์ข้อมูลท้องถิ่น คณะวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ วิทยาลัยครูนครราชสีมา. (๒๕๓๐). วฒั นธรรมพืน้ บ้านนครราชสมี า. นครราชสมี า : โคราชออฟเซ็ท การพมิ พ์. บ�ำรุงสุวรรณ, หลวง. (๒๕๓๘). นิทานค�ำกลอน เร่ืองพระปาจิต. ส�ำนักศิลปะและ วฒั นธรรม สถาบนั ราชภฏั นครราชสีมา, เอกสารโรเนียวเยบ็ เล่ม. บปุ ผา บุญทพิ ย์. (๒๕๒๙). คติชาวบ้าน. พิมพค์ ร้ังที่ ๘, กรุงเทพฯ : ฝา่ ยต�ำราและ อปุ กรณ์การศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั รามคำ� แหง. ปรีชา อุยตระกลู . (๒๕๒๒). วรรณกรรมพนื้ บ้านจากต�ำบลรังกาใหญ่ อ�ำเภอพมิ าย จังหวัดนครราชสมี า. เอกสารนิเทศการศกึ ษา กรมการฝึกหดั ครู. เปลอื้ ง ณ นคร. (๒๕๒๕). พจนะ – สารานกุ รม ฉบบั ทนั สมยั เลม่ ๑ – ๒. กรงุ เทพฯ : ไทยวฒั นาพานชิ . พระมหาวีระวงศ์ (ตสิ ฺสมหาเถระ), สมเดจ็ . (๒๕๔๑). พจนานุกรมภาคอีสาน – ภาค กลาง. พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๒, กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นตงิ้ แอนดพ์ บั ลิชชิง่ . มนตรี ตราโมท. (๒๔๙๗ ). การเล่นของไทย. กรุงเทพฯ : ทา่ พระจนั ทร์. มลู นธิ สิ ารานกุ รมวฒั นธรรมไทย ธนาคารไทยพาณชิ ย.์ (๒๕๓๔). สารานกุ รมวฒั นธรรม 356

ไทย ภาคกลาง เล่ม ๑ – ๑๕. กรุงเทพฯ : สยามเพรสแมนเนจเม้นท์. . (๒๕๓๔). สารานกุ รมวฒั นธรรมไทย ภาคอสี าน เลม่ ๑ – ๑๕. กรงุ เทพฯ : สยามเพรสแมนเนจเมน้ ท.์ ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๕๖). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เนอื่ งในโอกาสพระราชพธิ มี หา มงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธนั วาคม ๒๕๕๔. กรุงเทพฯ : ศริ ิ วฒั นาอนิ เตอร์พร้ินท์. วทิ ย์ เทีย่ งบูรณธรรม. (๒๕๓๙). พจนานุกรมสัตว์และพืชในเมืองไทย. พิมพค์ รงั้ ท่ี ๒, กรุงเทพฯ : รวมสาสน์ (๑๙๗๗). . (๒๕๔๘). พจนานุกรมสมนุ ไพรไทย. พิมพ์ครั้งที่ ๖, กรุงเทพ ฯ : รวมสาสน์ (๑๙๗๗). ศรีโยธา, พ.ต., หลวง และคณะ. (๒๔๗๗). ทา้ วสุระนารี. ม.ป.ท. สถาบันราชภฏั นครราชสมี า, ศูนยศ์ ิลปวัฒนธรรม. (๒๕๓๘). ของดโี คราช เลม่ ท่ี ๔ สาขากฬี าและนนั ทนาการ. นครราชสมี า : ศนู ยศ์ ลิ ปวฒั นธรรม สถาบนั ราชภฏั นครราชสีมา. สถาบนั ราชภฏั นครราชสมี า, ศนู ยศ์ ลิ ปวฒั นธรรม. (ม.ป.ป.). ของดโี คราช เลม่ ๕ สาขา การช่างฝมี ือ. กรงุ เทพฯ : ที.พ.ี ปร๊นิ ท.์ สนอง โกสยั และคณะ. (๒๕๒๗). การศกึ ษานทิ านพน้ื บา้ นจากตะครอ้ (ตำ� บลดา่ นจาก อำ� เภอโนนไทย จงั หวดั นครราชสมี า). เอกสารโรเนยี วเยบ็ เลม่ . . (๒๕๓๐). “ไทยตหี ม้อ ใน วฒั นธรรมไทย”. วารสารวฒั นธรรมไทย ปที ี่ ๒๖ ฉบับท่ี ๓ มีนาคม ๒๕๓๐ หนา้ ๕๑-๕๖. สำ� นกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาต.ิ (๒๕๓๒). วฒั นธรรมพนื้ บา้ น : กรณอี สี าน. กรงุ เทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งกรุ๊พ. ส�ำนกั พจนานุกรมมตชิ น. (๒๕๔๗). พจนานุกรมฉบบั มติชน. กรุงเทพฯ : สำ� นกั พมิ พ์ มติชน. ส�ำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี, ส�ำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ. (๒๕๔๐). วฒั นธรรมทางภาษาไทย. กรุงเทพฯ : ชวนพิมพ์. ส�ำนกั ศิลปวัฒนธรรม สถาบนั ราชภฏั นครราชสมี า. (๒๕๔๑). ของดีโคราช เลม่ ที่ ๑ สาขามนุษยศาสตร.์ พมิ พ์ครั้งที่ ๒, กรงุ เทพฯ : เฟอ่ื งฟา้ พร้นิ ตงิ้ . . (๒๕๕๔). ของดโี คราช เลม่ ท่ี ๕ สาขาการชา่ งฝมี อื . พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๒, กรงุ เทพฯ : เฟอ่ื งฟา้ พรน้ิ ตงิ้ . 357

สุจิตต์ วงษ์เทศ. (๒๕๔๙). “พลังลาว” ชาวอีสานมาจากไหน ?. กรุงเทพฯ : ส�ำนักพิมพ์มตชิ น. สบุ งกชศกึ ษากร, ขนุ . (๒๕๒๑). “ภาษาสำ� เนยี งโคราช” ใน ของดโี คราช. นครราชสมี า : ตราเสือการพิมพ์. . (๒๕๓๘). “การเลน่ ชา้ เจา้ หงส”์ ใน ของดโี คราช เล่มท่ี ๔ สาขาการกีฬา และนันทนาการ. นครราชสีมา : ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม สถาบันราชภัฏ นครราชสีมา. สุพร ศุภสร. (๒๕๓๐). “การกอ่ สรา้ งก�ำแพงและซุ้มประตนู ครราชสีมา” ใน ท่ีระลกึ ใน พธิ เี ปดิ หอสมดุ แหง่ ชาตเิ ฉลมิ พระเกยี รติ ร.๙ นครราชสมี า วนั ที่ ๒๖ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๓๐. กรงุ เทพฯ : อมรินทรพ์ ร้นิ ตงิ้ กร๊พุ . เสถยี ร โกเศศ. (๒๕๓๒). ประเพณเี กยี่ วกับชวี ติ : แตง่ งาน. พิมพ์ครั้งท่ี ๒, กรงุ เทพฯ : แม่คำ� ผาง. อนมุ านราชธน, พระยา. (๒๕๓๒). ประเพณีเบด็ เตล็ด. กรุงเทพฯ : คุรสุ ภาลาดพรา้ ว. อเนก นาวิกมลู . (๒๕๓๗). “หน่วยที่ ๕ เพลงพ้นื บา้ นภาคตา่ ง ๆ” ใน ภาษาไทย ๘ คตชิ นวิทยาสำ� หรับคร)ู . พิมพค์ รั้งท่ี ๓, นนทบรุ ี : ส�ำนักพิมพ์ มหาวทิ ยาลัย สุโขทยั ธรรมาธิราช. 358

ภาคผนวก



เพลงมาร์ชราชสมี า เนอื้ ร้อง – ท�ำ นอง หลวงวิจิตรวาทการ ( สร้อย ) ราชสีมาเหมือนดงั ศลิ าท่กี อ่ กำ�แพง สยามจะเรอื งกระเดื่องเดชแรง ด้วยมีกำ�แพงคือราชสมี า ชาวนครราชสมี าแตโ่ บราณ เหยี้ มฮึกกลา้ หาญย่งิ นักหนา ศึกเสอื เหนือใต้ข้างไหนมา เลอื ดนครราชสมี าไม่แพใ้ คร ( สรอ้ ย ) แตก่ อ่ นกาลทา่ นวีรสตร ี ทา้ วสุรนารผี ูเ้ ป็นใหญ่ กล้าหาญยอดยงิ่ ผหู้ ญิงไทย ม่งิ ขวัญธงชยั ของเมอื งเรา ( สรอ้ ย ) มาเถอะเราชาวนครราชสีมา หน้าเดนิ รบี มาสกู้ ับเขา หากศัตรไู ม่เกรงขม่ เหงเรา สู้เขาสู้กนั อย่าพรั่นใจ ( สร้อย ) หมายเหต ุ ๑. เปน็ เพลงประจำ�จงั หวัด ในอดีตทุกโรงเรยี น ทกุ วงการ ตลอดจน การอบรม ลูกเสือ ลูกเสือชาวบา้ นทุกรุ่น จะต้องรอ้ งเพลงน้ี ๒. คนโคราชควรจะรอ้ งใหไ้ ด้กนั ทุกคน 361

รายนามผสู้ นับสนนุ ในการจดั พิมพ์ \"อันความกรณุ าปรานี จะมใี ครบังคบั ก็หาไม่ หล่ังมาเองเหมอื นฝนอันชน่ื ใจ จากฟากฟ้าสรุ าลยั สู่แดนดิน\" หนงั สอื “พจนานกุ รมภาษาโคราช” น้ี สำ�เรจ็ ได้ดว้ ยผ้ใู ห้การสนบั สนุน ดงั น้ี ๑. จงั หวดั นครราชสีมา ๑๕๐,๐๐๐ บาท ๒. แม่ทพั ภาคท่ี ๒ ๑๐๐,๐๐๐ บาท ๓. ชมรมเพ่อื นครูสุขานาร ี ๑๒,๑๐๐ บาท ๔. ศิษย์เกา่ สุรนารี รนุ่ ๐๗ (จำ�นวน ๑๔ คน) ๑๒,๐๐๐ บาท ๕. ศ.(พิเศษ) ดร.นพ. สำ�เริง แหยงกระโทก ๑๐,๐๐๐ บาท ๖. คณุ สมศกั ดิ์ ทรงทรัพย์กุล (รา้ นรกั เจรญิ ยนต์ อ.ครบุร)ี ๑๐,๐๐๐ บาท ๗. ชมรมภมู ิปญั ญาไทยโคราช ๖,๕๐๐ บาท ๘. ชมรมอนุรักษภ์ าษาและวฒั นธรรมพื้นบา้ นโคราช จติ อาสาราชประชาสมาสยั ๕,๗๐๐ บาท ๙. คณุ ประคอง จันเทียะ ๕,๐๐๐ บาท ๑๐. คุณสุชาติ พวงจนั ทกึ ๕,๐๐๐ บาท ๑๑. คุณพฒั ฑิพงษ์ สทิ ธิเวชสวรรค ์ ๕,๐๐๐ บาท ๑๒. คุณประทปี -พญ.วันวิสา จันทร์หมน่ื ไวย ๕,๐๐๐ บาท ๑๓. คณุ เยาวลักษณ์ สมทุ รสาคร, คุณชุษณา เมตต์การุณจ์ ิต ๕,๐๐๐ บาท ๑๔. คณุ ภาษติ า ทพิ ย์ประภา, คณุ กาญจนา แจ่มอุลิตรตั น ์ ๕,๐๐๐ บาท ๑๕. คุณแพรวพราย รตั นดิลกพานชิ ย์, คณุ สุมนา ทณั ฑเศรษฐี ๕,๐๐๐ บาท ๑๖. คุณประภาวดี จิรังบุญกลุ , คณุ ลกู อินทร์ นิลคูหา ๕,๐๐๐ บาท ๑๗. บรษิ ัท เอ็นเอชแอล เทรลเลอร์ จำ�กดั , หจก. ราชสมี าง่วนฮงหลีเครอ่ื งช่ัง (นครราชสมี า) ๕,๐๐๐ บาท ๑๘. คุณพิมพ์ผกา พงศผ์ าสุก, คุณสุวรรณ พมิ พกรรณ,์ 362

คุณชชั วรรษ์ เกดิ ปรางค์ ๕,๐๐๐ บาท ๑๙. คณุ ภสั สรนิ ทร์ บุญญฤทธิ,์ คุณศริ ิรักษ์ วิเชียรทวี, คณุ ประเทือง เทพธรณ ี ๕,๐๐๐ บาท ๒๐. คุณประไพพรรณ สวุ ฒั นะพงศ์เชฏ, คุณสาลินี จงขวัญยนื , คณุ ปราจญิ วศิ าลสวัสด์ ิ ๕,๐๐๐ บาท ๒๑. คุณศันสนยี ์ ครบนพรัตน,์ คุณวรวรรณ โถทองคำ�, คุณวณั ณี ฤทธ์เิ ลิศ ๕,๐๐๐ บาท ๒๒. คณุ เบญจรตั น์ กองกาญจนะ, คณุ เบญจรัตน์ อรณุ เรอื่ , สมาชกิ ชมรมอายยุ ืน ๒๘ นครราชสีมา ๕,๐๐๐ บาท ๒๓. คณุ วิไลวรรณ วลั ลิภากร จักรบตุ ร, คณุ ประทนิ แจง้ หมืน่ ไวย, คุณทองเจยี ว วงศ์สวาสด ิ์ ๕,๐๐๐ บาท ๒๔. คณุ สนุ ยี ์ เลิศสีมาพร, คุณเสาวภาคย์ บุญสาธร, คณุ สกุ ัญญา เกียรตอิ ำ�นวย ๕,๐๐๐ บาท ๒๕. คณุ แดง แกว้ มณ,ี สมาคมชาวไร่ออ้ ยลำ�มูลบน ๔,๐๐๐ บาท ๒๖. ผู้สนบั สนุนทา่ นอ่นื ๆ รวมเปน็ เงนิ ๕๐๐ บาท รวมเป็นเงิน ๓๙๐,๘๐๐ บาท 363

ทีว่ า่ การอำ� เภอพิมาย ในสมัยรชั กาลท่ี ๕ ขณะประดับประดาตกแต่งด้วยธงชาติ เพ่ือเตรียมรบั การตรวจเยย่ี มของขา้ ราชการชนั้ ผ้ใู หญจ่ ากสว่ นกลาง 364

ประวตั ิผู้รวบรวมเรียบเรยี ง ช่ือ – สกุล ดร. เมตต์ เมตตก์ ารุณ์จิต สถานที่เกิด ต. ในเมือง อ. เมืองนครราชสีมา จ. นครราชสีมา การศกึ ษา ป.ป. , ป.กศ.สูง (ภาษาไทย) , พ.ม. , น.บ. , ศษ.บ. , พบ.ม. (รฐั ประศาสนศาสตร)์ NIDA, ศษ.ม. (การบรหิ ารการศึกษา) , ศษ.ด. (การบริหารการศึกษา) การอบรม ประกาศนียบตั รวทิ ยาลัยการปกครอง หลักสตู รนายอำ�เภอ รุ่นท่ี ๓๔ และหลกั สูตรนกั ปกครองระดับสูง (นปส.) รุ่นท่ี ๔๐ เกียรติประวัต ิ ๑. วุฒิบัตรวิทยาลัยการปกครองรางวัลผู้มีผลงานทางวิชาการดีเด่น ในการศึกษาตามหลกั สูตรโรงเรียนนายอำ�เภอ รุ่นที่ ๓๔ ๒. ศษิ ย์เก่าดเี ด่นมหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา, มหาวทิ ยาลัยวงษ์ ชวลิตกุล, คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช. การรับราชการ ครูจัตวา, นักประชาสัมพันธ์, บุคลากร, ผู้ช่วยนายทะเบียนอำ�เภอ, ปลัดอำ�เภออาวโุ ส , นายอำ�เภอพรเจริญ (บงึ กาฬ) , นายอำ�เภอหนอง หงส์ (บุรีรัมย์) , นายอำ�เภอครบรุ ี นายอำ�เภอเสงิ สาง นายอำ�เภอคง นายอำ�เภอขามสะแกง นายอำ�เภอพมิ าย (นครราชสมี า) , นายอำ�เภอ เดชอดุ ม (อบุ ลราชธาน)ี , นายอำ�เภอเมอื งสกลนคร , นายอำ�เภอเมอื ง ชัยภูมิ, อาจารย์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ , ผู้อำ�นวยการ โรงเรียนสาธติ และรองอธกิ ารบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏชยั ภมู ิ. การบรรยาย - วทิ ยากรสถาบันพฒั นาบุคลากร มหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธานี - อาจารย์พิเศษ โปรแกรมรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ นครราชสีมา, มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ, โปรแกรมรัฐประศาสน ศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์, หลักสูตร ครศุ าสตรมหาบณั ฑิต สาขาบรหิ ารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ ชยั ภมู .ิ ปัจจบุ ัน อาจารย์ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพนมวันท์ (นครราชสีมา) 365