Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พจนานุกรมภาษาโคราช

พจนานุกรมภาษาโคราช

Description: ในการจัดพิมพ์ “พจนานุกรมภาษาโคราช” ครั้งนี้ ได้เดินตามรอยโครงการ“ทําความดีเพื่อพ่อ” เพื่อถวายแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชรัชกาลที่ ๙ ซึ่งเป็นการสังคายนาครั้งใหญ่ เพื่อให้การรวบรวมคําในภาษาโคราชมีความสมบูรณ์ที่สุดและเป็นไปตามแนวทางการจัดทําพจนานุกรมภาษาไทยถิ่น ๓ ภาค ของ
สํานักงานราชบัณฑิตยสภา ซึ่งจะเป็นเอกสารหลักฐานเพื่อให้ผู้สนใจโดยเฉพาะคนรุ่นหลัง ได้ทราบว่าคําศัพท์ภาษาโคราชเขียนอย่างไรและออกเสียงอย่างไร

Search

Read the Text Version

ลานาค - ลิบ เช่น เปิดอ๊กล่างง่าง (เปิด ล�ำทะเมนชัย น. ช่ืออ�ำเภอในจังหวัด หน้าอกลอ่ นจอ้ น). นครราชสมี า มลี �ำนำ�้ ทะเมนชัย ลานาค น. การน�ำนาคพร้อมดอกไม้ ไหลผา่ น. ก ธูปเทียนไปขอขมาผู้ใหญ่หรือ ข ผู้ทเี่ คารพนบั ถือเพอื่ ลาบวช. ล�ำเบงิ้ ว. บางส่ิง, ไม่ใช่ท้ังหมด เชน่ ค เหมือนอย่างข้าวเบาเจ้าของ ฆ ลาบเทา น. ลาบทป่ี รุงดว้ ยเทา ซงึ่ เปน็ เกี่ยวเอา แล้ววางไว้ล�ำเบิ้ง ง สาหร่ายชนิดหนึ่ง ผสมด้วย (เพลงโคราช). จ เครอ่ื งปรงุ เชน่ เดยี วกบั การทำ� ฉ ล�ำพวน น. ผง, ขนข้าวท่ีปนอยู่กับ ช ลาบทัว่ ไป. ขา้ วเปลอื ก. ซ ลาบบึง้ น. ลาบทป่ี รงุ ดว้ ยบง้ึ ซึง่ เป็น ฐ ล�ำพัก ก. น�ำพา, เอาใจใส่ เช่น เล่ือง ฒ แมลงมุมขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ลอื กนั ไปทวั่ ทกุ ดอนนา ไมล่ ำ� พกั ด ขุดรูอยู่ใต้ดินผสมด้วยเคร่ือง วา่ ไปเทย่ี วขายเอย (น.ิ รปู ทอง). ต ปรุงเช่นเดียวกับการท�ำลาบ ถ ทั่วไป. ล�ำพา ก. นำ� พา, เอาใจใส่, ชว่ ยเปน็ ท ลามกจกกะเปรต [ลา-มก่ -จก๊ -กะ-เปด] ธุระ, เอื้อเฟื้อ, มักใช้ในความ ธ หมายปฏเิ สธวา่ ไม่นำ� พา เช่น น ว. ลามก, พดู จาหรือกระท�ำ โยมทางโน้นเหมือนยังเฉยไม่ บ หยาบโลนในเรอ่ื งเพศสมั พนั ธ์. ลำ� พา (น.ิ พระปาจิต). ป ลายล่อกก้อก ว. ลายทั้งตัว. ผ ลำ� เพนิ น. ลำ� แพน, เสอื่ ทสี่ านดว้ ยตอก ฝ ลายออ้ มออ้ ย ว. ลายพรอ้ ย, ลายทงั้ ตวั . ไม้ไผ่เส้นใหญ่ ๆ แบน ๆ. พ ลาวโซง่ น. เปน็ คำ� ปรามาสหรอื ดแู คลน ฟ ล�ำเพิน ภ คนลาวทเ่ี ซอ่ ๆ ซา่ ๆ. ม ล�ำ บ. ตาม, แนว ย่าน. เชน่ ล�ำดนิ ย ร (ตามดิน), ล�ำทาง (ตามทาง), ฤ จะไมไ่ ดอ้ ยลู่ ำ� บอ่ น ไมไ่ ดน้ อนลำ� ล บ้าน (น.ิ เพลงอินทปัตถา). ว ล�่ำ ๑. ก. รว่ มประเวณ.ี ศ ๒. ก. กนิ , รบั ประทาน. ส ๓. ก. ต,ี ฟาด. ห อ ลำ� จวน ดู ล�ำมะเจยี ก. ฮ 266

พจนานุกรม ภาษาโคราช ล�ำมะเจียก น. ล�ำเจียก, ไม้พุ่มชนิด อย่ตู ลอดเวลา. ก Pandanus tectorius Sol., P. ลงิ ก. ซกุ ซน, ล่งึ กว็ ่า. ข laevis Rumph. ในวงศ์ ลิงงอ้ [ลงิ -ง่อ] น. ขานาง; ไมต้ น้ ผลัด ค Pandanaceae ล�ำต้นกลมมี ฆ รอยข้อถ่ี ๆ มีรากอากาศกลม ลิงงอ้ ง ยาวออกจากล�ำต้นย้อยลงมา จ ดอกสีขาวเป็นช่อออกท่ีปลาย ใบขนาดใหญช่ นดิ Homalium ฉ ยอด กลนิ่ หอม ผลรวมทรงกลม, tomentosum (Vent.) Benth ใน ช ล�ำจวน, รัญจวน กว็ า่ . วงศ์ Flacourtiaceae เปลอื ก ซ สีเทานวล ผิวเรียบ ใบเดยี่ วรปู ฐ ล�ำมะเจียก ไข่ หลังใบมีขน ดอกเล็กสี ฒ เหลอื งออ่ นออกเปน็ ชอ่ ตามงา่ ม ด ล�ำลาน น. คลองท่ีตื้นเขินเป็นลาน ใบและปลายก่ิง กล่ินเหม็น ต กว้าง. เหมาะกบั การใชง้ านกอ่ สรา้ งใน ถ ทีร่ ่ม. ท ลำ� เลกิ ก. พดู ทวงบญุ คณุ , พดู ฟน้ื เรอ่ื ง ธ เกา่ , ล�ำเลกิ เบิกกะเชอ กว็ ่า. ล้ินกรัม [ล่ิน-กัม] น. ช่ือไม้ต้นชนิด น Pyrrosia eberhardtii Ching บ ลำ� เลิกเบกิ กะเชอ ดู ลำ� เลิก. ในวงศ์ Polypodiaceae. ป ล�ำเลียบ น. หน้าไม.้ ผ ลิ ก. ลิด, เด็ด, ตดั , ท�ำใหข้ าด. ลน้ิ แรด [ลน่ิ -แลด] น. ชอื่ ไมเ้ ลอ้ื ยชนดิ ฝ ลิกล็อก ก. ล่อกแล่ก, แสดงอาการ Tetracera scandens (L.) พ Merr. ในวงศ์ Dilleniaceae, ฟ หลุกหลิก, เหลียวซ้ายแลขวา ถิ่นใต้เรียก ปดขน, ปดเลื่อม, ภ บดคาย. ม ย ลิบ ใช้ประกอบค�ำอื่น มีความหมายใน ร ท�ำนองว่า ฉับพลัน, โดยเร็ว, ฤ ทันทีทันใด เช่น เปิดลิบ (ไป ล ว ศ ส ห อ ฮ 267

ลลี า - ลูกอยคู่ าอู่ ผวั อย่คู าอก โดยเร็ว), หายลิบ (หายไป ลุ่ม น. การเผาเครอ่ื งป้ันดนิ เผาในช่วง อย่างเร็ว). แรกดว้ ยการรมไฟออ่ น ๆ เพอื่ ไล่ ลีลา ว. ค�ำพูดเชิงหมั่นไส้ท�ำนองว่า ไอน้�ำออกจากเคร่ืองปั้นดินเผา ก ลวดลาย, แสดงท่าทางแฝงไว้ ดว้ ยการเผาขอนไมไ้ วท้ ป่ี ากเตา ข ดว้ ยช้ันเชงิ หรอื มีลกู ไมต้ ่าง ๆ. ประมาณ ๑ วนั ๑ คนื , (ดู เตา ค ฆ ลโี อ น. ชอื่ ออ้ ยพนั ธห์ุ นงึ่ ใหน้ ำ้� ออ้ ยมาก. ทเุ รยี ง ประกอบ). ง ลึกพึก [ลกึ่ -พกึ่ ] ว. พลิ กึ , ชอบกล เชน่ ลมุ่ เหลง่ ก. มาก, มากมาย, ยงุ่ , พลั วลั จ ฉ ใหผ้ วิ ผอ่ งเปน็ ละอองออกลกึ พกึ เช่น ลูกหลานมากันลุ่มเหล่ง ช (สภุ มติ ฯ). (ลกู หลานมากนั มากมาย), รบ่ กนั ซ ลึ่น ๆ ว. โครม ๆ, เกรยี วกราว. ลมุ่ เหลง่ (ทะเลาะกนั เปน็ พลั วนั ). ฐ ลม่ึ ว. เกรยี วกราว, มากมาย เช่น คน ลุยลาย ก. ดูถูก, ดูหมิ่น, ท�ำอะไร ฒ ที่ไม่ค�ำนึงถึงความเสียหาย ด มาลึ่ม (คนมากันเกรียวกราว ต หรืออย่างมากมาย). ผู้อ่นื เช่น ผูห้ ญงิ ดา่ วา่ บักหมา ถ ลนื ตา ก. ลืมตา. หนา้ บอ่ าย ทำ� ลยุ ลายดขู า้ บเ่ คย ท ลนื ตาอา้ ปาก ว. ดขี ึ้น, ทเุ ลา, มฐี านะ (น.ิ พระปาจิต), ลยู ลาย ก็ว่า. ธ น ดขี นึ้ กวา่ เดมิ พอทดั เทยี มคนอนื่ . ลูก น. ลกั ษณะนามของแกว้ (ภาชนะที่ บ ล่ืนปอดแปด [ล่ืน-ป้อด-แป้ด] โดย ใส่น�ำ้ กนิ ). ป ผ ปริยายหมายถึงเหยียบพืน้ ตรง ลกู กระจอ๊ ก น. ลกู สมนุ ชน้ั ปายแถว, ลกู ฝ ไหนกล็ ่ืนไปหมด กระโปก กว็ า่ , (ดู ลกู กระโปก ๒. พ ลุ ว. หายกันไป, เจา๊ , ไม่มหี นตี้ อ่ กัน. ประกอบ). ฟ ลุก ก. คลุก, คลุกเคล้า, เคล้าให้ ลกู กระโปก ๑. น. ลกู อณั ฑะ, ไขอ่ ณั ฑะ. ภ ๒. (สำ� ) น. ลกู จ๊อก, ลูกน้อง, ม เข้ากัน เช่น ลุกน่�ำปลาร่า ลกู สมนุ . ลกู กระจอ๊ ก กว็ ่า. ย (คลุกน�้ำปลาร้า). ลูกกระพรวน น. พรวน, โลหะกลม ร ลุกแต่ดึกรู้สกึ แตห่ นมุ่ [ลุ่ก-แต-่ ดึ๊ก- กลวง ภายในมลี กู ลงิ้ เลก็ ๆ เมอื่ ฤ ล่-ู ซกึ -แต-่ หนมุ่ ] ดู ต่ืนแตด่ กึ ล ว รูส้ ึกแตห่ นมุ่ . เคล่ือนไหวท�ำให้เกิดเสียงดัง ศ ลกุ บ้มึ [ลุ่ก-บ้ึม] ก. ลกุ ฮอื , ลกุ พรบึ ใช้ผูกข้อเท้าเด็กหรือคอสัตว์, ส (ดู พรวนทาม ประกอบ). ห (ใช้แก่ไฟ). อ ลนุ่ น. วัชพชื , หญ้า, พชื ที่ไม่ต้องการ. ลูกกะเบ่ง ดู ลกู ตะเบง่ . ฮ 268

พจนานุกรม ภาษาโคราช ลกู คลอด ดู ลูกตะเบ่ง. จรดลเดินไพร ลูกนกตกไม้ ก ลูกคาอู่ ผวั อยูค่ าอก [ลกู -คา-อ่-ู ผวั - พลดั ไปจากรงั (น.ิ รูปทอง). ข ลูกนกถูกท�ำลายรงั [ลกู -นก่ -ถูก-ทำ� - ค อยู่-คา-อ๊ก] ดู ลูกอยู่คาอู่ ลาย-ลัง] (ส�ำ) ก. บ้านแตก ฆ ผวั อยูค่ าอก. สาแหรกขาด, ท่ีอยู่อาศัยถูก ง ลกู โคน น. ขนมไข่เหยี้ , ขนมไข่หงส์. ท�ำลาย เช่น เสมือนลูกนกที่ จ ลกู ชา้ งลกู มา้ [ลกู -ชา่ ง-ลกู -มา่ ] ส. คำ� ถูกท�ำลายรัง สภาพแห่งเมือง ฉ แทนตัวใช้ในการบนบานศาล กาฬสินธุ์ก�ำลังถูกปล้นจาก ช กลา่ วหรอื ขอความเมตตา. ความสนั ตสิ ขุ ไปสคู่ วามฉกุ ละหกุ ซ ลกู ชดิ น. ลกู จาก. ยคุ เขญ็ ทกุ หยอ่ มหญา้ (ทา้ ว ฯ). ฐ ลูกดนิ น. ดินเหนียวท่นี วดได้ทแ่ี ลว้ ปน้ั ลูกบ้า ก. ฮดึ , กลบั คิดม,ุ กลบั รวบรวม ฒ เปน็ กอ้ นหรอื เปน็ แทง่ พรอ้ มทจี่ ะ ก�ำลงั ใจท�ำอยา่ งเอาจรงิ เอาจงั . ด น�ำไปใชง้ านป้ัน. ลูกป่า น. ลูกที่เกิดมาโดยไม่รู้ว่าใคร ต ลูกโดด น. พริกท่ีรับประทานไป เปน็ พอ่ . ถ ทีละเมด็ . ลกู แปง้ น. แปง้ ทโี่ มแ่ ลว้ คน้ั เอานำ้� ออก ท ลูกตะเบ่ง น. ลูกในไส้, ลูกที่ก�ำเนิด ปั้นเป็นก้อนเตรียมน�ำไปบีบให้ ธ จากตนเอง, ลูกกะเบ่ง, ลูก เป็นเส้นขนมจนี . น คลอด ก็ว่า. ลกู ผวั ตวั หมอ้ [ลกู -ผวั -ตวั -หมอ่ ] (สำ� ) บ ลกู ตั้ง น. สะบ้าท่ีฝ่ายหนึ่งตั้งหรือ มีลูกมีผวั เปน็ ตวั เป็นตน. ป ต้ังเรียงกันในการเล่นสะบ้า, ลูกพรวนหมา น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด ผ (ดู สีบา้ สรี อย ประกอบ). Pycnospora lutescens (Pior.) ฝ ลูกเต้าเล่าอ่อน น. แม่ลูกอ่อน เช่น Schindl ในวงศ์ Leguminosae. พ ลกู เตา้ เลา่ ออ่ นไปไหนกย็ าก. ลูกลม น. กังหันลม, ใบพัดท�ำจาก ฟ ลกู ทาง น. ลูกท่เี กดิ มาโดยไม่รู้ว่าใคร ใบตาล. ภ เปน็ พอ่ . ลูกสัปดนชอบแหย่ก้นแม่ [ลูก-ซับ- ม ลกู นกตกไมพ้ ลดั ไปจากรงั [ลกู -น่ก- ป๊ะ-ดน-ชอบ-แหฺย่-ก้น-แม่] ย ต๊ก-ม่าย-พ่ัด-ไป-จาก-ลัง] (ปรศิ ) น. ลกู กุญแจ. ร (ส�ำ) ก. พลดั พราก, จากกนั ไป, ลูกหวดี น. นกหวีด. ฤ แยกจากบุคคลหรือสถานที่ที่ ลกู อยคู่ าอู่ ผวั อยคู่ าอก [ลกู -หย-ู่ คา- ล เคยผกู พนั เช่น ตวั เราสองคน ว ศ ส ห อ ฮ 269

ลกู ออ่ นนอนไฟ - เลนเต อู่ ผัว-หยู-่ คา-อ๊ก] (สำ� ) มลี ูก แลว้ คนอ่ืน ๆ กจ็ ะรอ้ งเพลงเชิด ผัวเป็นตัวเป็นตน, ลูกคาอู่ ผเู้ ปน็ รา่ งทรงจะเรม่ิ มอี าการตวั ผัวอย่คู าอก๊ กว็ า่ . ส่ันแสดงว่าผีเริ่มเข้าสิงร่าง ก ลูกอ่อนนอนไฟ น. แม่ลูกอ่อน เช่น จากน้ันก็เล่นตามแบบของ ข ประเภทผีต่าง ๆ, เขา้ ผี กว็ า่ . ค ที่ลูกอ่อนนอนไฟไปไม่รอด เล่นเข้าผีนางกระด้ง [เหฺล่น-เข่า-ผี- ฆ (นิ.พระปาจิต). นาง-กะ-ดง้ ] ผนี างดง้ กว็ า่ , (ดู ง ลูกอีช่างติ [ลูก-อี-ช่าง-ติ๊] ว. นิสัย เล่นเข้าผีนางกะโหลก, เข่าผี จ นางกะดง้ ประกอบ). ฉ ชอบติ, ติโน่นติน,ี่ ช่างติ ก็วา่ . เลน่ เขา้ ผนี างกะโหลก [เหลฺ น่ -เขา่ -ผ-ี ช ลูยลาย ดู ลยุ ลาย. นาง-กะ-โหลฺ ก] น. ผเู้ ล่นตอ้ ง ซ เลง่ ๆ ก.ไหลอยา่ งแรง (ใช้แก่น�ำ้ ). เป็นหญิงเป็นคนทรงผีนาง ฐ เล็ดหลิน [เล่ด-หฺลิน] ว. ข้ีเหนียว, กะโหลก โดยนั่งยอง ๆ บน ฒ กะโหลก (กะลามะพรา้ ว ๒ อัน) ด ตระหนี,่ เลด็ ลอด (ใช้แก่การใช้ อยู่กลางวง เอามือท้ังสองยัน ต จ่าย), เงินทองไม่ให่เล่ดหลิน พื้นไว้เพ่ือทรงตัวไม่ใหล้ ม้ ใชผ้ ้า ถ เลยเนาะ (เงนิ ทองไมใ่ หเ้ ลด็ ลอด คลมุ ตวั ใหม้ ดิ ชดิ คนทน่ี ง่ั ลอ้ มวง ท เลยนะ, ข้เี หนยี วจรงิ นะ). ตบมือเป็นจังหวะพร้อมกับร้อง ธ เพลงเชิดว่า“นางกะโหลกเอย น เลน ว. เหลว, ไม่เต่งตึง, นุ่มน่ิม, ขึน่ ไปโคกเกบ๊ เฮ็ดเพาะ ช่างมนั บ เลนเอด้ เลด กว็ ่า. ไล่หนามไผ่มันเก๊าะ เฮ็ดซ่ะเฮ็ด ป ซาย เสียดายเฮ็ดเอย (ซ�้ำ)” ผ เลนเอ้ดเลด ดู เลน. ร้องเปน็ เวลาผา่ นไปพอสมควร ฝ เลน่ กัน [เหลฺ ่น-กัน] ก. เล่นชู้, คบชู้, คนทรงผีนางกะโหลกจะเร่ิม พ แอบมเี พศสัมพันธก์ นั . ตัวสั่นและแรงขึ้นตามล�ำดับ ฟ เป็นการแสดงว่าผีนางกะโหลก ภ เลน่ เข้าผี [เหฺล่น-เข่า-ผ]ี น. การเล่น เขา้ มาสงิ สรู่ า่ งคนทรง แลว้ นาง ม เข้าผีเล่นได้หลายอย่าง เช่น กะโหลก (คนทรง) จะลุกยนื ข้นึ ย เข้าผีแม่สี (ภาคกลางเรียกแม่ ร�ำตามจังหวะท่เี พลงเชิด คนที่ ร ศรี), เข้าผีนางกะโหลก, เข้าผี ฤ นางกระด้ง, เข้าผีนางช้าง, ล ว เข้าผีนางครก, เข้าผีนางสาก ศ ซง่ึ มวี ธิ ีการเล่นคล้าย ๆ กนั คอื ส ผู้ท่ีจะสื่อสารกับผีต้องเป็น ห อ ผู้หญิงเอาผ้าคลุมตัวจนมิด ฮ 270

พจนานุกรม ภาษาโคราช อยู่รอบวงก็จะถามว่าเป็นใคร แม่สีน่ังขัดสมาธิอยู่กลางวง ก ชือ่ อะไร มาจากไหน มาทำ� อะไร ใชผ้ า้ คลุมตัวจนมดิ ชิด คนอน่ื ที่ ข ฯลฯ นางกะโหลกก็จะตอบ นง่ั ลอ้ มวงเชดิ เพลงพรอ้ มกนั วา่ ค ค�ำถาม เชิดเพลงซ้�ำไปมาเป็น “แมส่ ีเอย แมส่ ตี ๊กซะ (สระ) ย่ก ฆ เวลาพอสมควร นางกะโหลกก็ มือไหว่พร่ะไม่มีคนชมชั่กผ่าห่ม ง จะลากลับ (อาจกล่าวลาหรือ ชมแมส่ เี อย (ซำ�้ )” รอ้ งเปน็ เวลา จ ยกมอื ไหว)้ แลว้ ลม้ ตวั ลงนอนท่ี ผา่ นไปพอสมควรคนทรงผแี มส่ ี ฉ พ้ืน คนท่ีน่ังล้อมวงก็จะลุกข้ึน จะเร่ิมตัวส่ันและแรงข้ึนตาม ช ข้ามคนทรงผีนางกะโหลกไปมา ล�ำดับเป็นการแสดงว่าผีแม่สี ซ เพื่อเป็นการล้างอาถรรพ์ให้ผี เขา้ มาสงิ สรู่ า่ งคนทรงแลว้ แมส่ ี ฐ นางกะโหลกออกจากร่างตัว (คนทรง) จะลุกยืนข้ึนร�ำตาม ฒ คนทรงเป็นอันเสร็จการเล่น จังหวะที่เพลงเชิด คนท่ีนั่งอยู่ ด ส่วนการเล่นเข่าผีนางช้าง, รอบวงก็จะถามเช่นเดียวกับ ต เข้าผีนางครก, เข้าผีนางสาก, การเลน่ เขา้ ผนี างกะโหลก เมอื่ ถ เข้าผีนางกะด้งหรือผีนางด้ง มี ผี แ ม ่ สี ล า ก ลั บ ก็ มี ก า ร ล ้ า ง ท วธิ กี ารเลน่ คลา้ ยกนั เพยี งแตใ่ ช้ อาถรรพเ์ ชน่ เดยี วการเลน่ เขา้ ผี ธ อุปกรณ์การเล่นให้เข้ากับชื่อผี นางกะโหลก, เข้าผีแม่สี ก็ว่า, น เชน่ ครก สาก กะดง้ , เขา้ ผนี าง (ดู เล่นเข้าผีนางกะโหลก บ กะโหลก ก็วา่ . ประกอบ). ป เลน่ เขา้ ผนี างครก [เหลฺ น่ -เขา่ -ผ-ี นาง- เลน่ ชู้ [เหลฺ ่น-ชู]่ ดู ช.ู้ ผ คก่ ] (ดู เล่นเข้าผนี างกะโหลก เล่นซุก [เหฺล่น-ซุ่ก] น. เล่นซ่อนหา, ฝ ประกอบ), เข้าผีนางครก กว็ ่า. (ดู แอด๊ สะไพ ประกอบ). พ เลน่ เขา้ ผนี างสาก [เหลฺ น่ -เขา่ -ผ-ี นาง- เลนเต น. มหาหงส์ ; ไม้ล้มลุกชนิด ฟ สาก] (ดู เล่นเขา้ ผนี างกะโหลก Hedychium coronarium J. ภ ประกอบ), เข้าผีนางสาก ก็วา่ . Konig ในวงศ์ Zingiberaceae ม เล่นเข้าผีแม่สี [เหลฺ น่ -เขา่ -ผ-ี แม-่ สี] ดอกใหญ่ สีขาวล้วนหรือมีสี ย น. การเล่นเขา่ ผแี มส่ ีคล้ายกับ เหลอื งตอนกลาง กลน่ิ หอม ชอบ ร “การเล่นเข้าผีนางกะโหลก” ขน้ึ ในทล่ี มุ่ นำ้� ขงั เชน่ หอมดอก ฤ เพียงแต่คนที่เล่นเป็นคนทรงผี เลนเตเปน็ เลน่ กั หนา (น.ิ รปู ทอง), ล ว ศ ส ห อ ฮ 271

เล่นนอก - ไลค่ ุม กระทายหนิ กว็ า่ , เลอะเทอะเลนิ เทนิ [เลอ่ ะ-เทอ่ ะ-เลนิ - ถน่ิ จันทบรุ ี, ระยองเรยี ก ลันเต. เทิน] ว. เลอะเทอะ. เล่นนอก [เหฺล่น-นอก] ก. พูดเย้า ก หยอก, กระเซ้าเย้าแหย่ เช่น เลาะ [เลา่ ะ] ๑. ก. เลยี บไปตามรมิ เชน่ ข เพอ่ื น ๆ เหลน่ นอกวา่ “เหน็ ใคร เลา่ ะหา. ค ฆ นอ้ ไปกะ๊ คนผมยาว ๆ”, สงเยา่ ะ ๒. ว. แถว, แถบ, บรเิ วณ เช่น ง กว็ ่า. อยูเ่ ลา่ ะ ๆ ว่ดั (อยู่แถว ๆ วดั ). จ เล่นเบอร์ [เหฺลน่ -เบอ] ก. แทงหวย ฉ เลาะและ ว. เปาะแปะ, ลักษณะทฝ่ี น ช ใต้ดนิ . ตกปรอย ๆ. ซ เลน่ เพลง [เหลฺ น่ -เพง] ก. แสดงเพลง ฐ เลกิ กัน ก. หยา่ รา้ ง. ฒ โคราช. เลิกนม ก. หยา่ นม. ด เลน่ สาว [เหลฺ ่น-สาว] ก. เกย้ี วสาว. เลิกพก [เลิก-พ่ก] ก. ถลกชายผา้ ซนิ่ ต เล่น ๆ หวั ๆ [เหลฺ น่ -เหลฺ น่ -หวั -หวั ] ก. ถ เล่น ๆ, ไม่จริงจัง, (ดู ท่อล่อ หรอื ผ้าถงุ . ท แทแ่ ล่ ประกอบ). เลิ่ม ก. ไล่, ต้อน (ใช้แก่สัตว์) ธ น เลบ็ มอื นาง น. ชอื่ ไมพ้ มุ่ ชนดิ Desmodium เช่น เล่ิมไก่ (ไล่ไก่), เล่ิมเป๊ด บ renifolium Schindl ในวงศ์ (ตอ้ นเปด็ ). ป Leguminosae, ถน่ิ เชยี งใหมเ่ รยี ก เลยี้ งชา้ งเฒา่ เอางา [เลย่ี ง-ชา่ ง-เถา่ - ผ เอา-งา] (สำ� ) เลย้ี งดคู นแกเ่ พอ่ื ฝ ตาลสรอ้ ยดอย. หวังมรดก หรือแฝงไวเ้ พื่อหวงั พ เลเพลาดพาด ก. นอนในลักษณะก่าย ประโยชน.์ ฟ เลี้ยงเป็ดไดไ้ ข่ เลยี้ งไก่ได้ขัน [เลย่ี ง- ภ หรือพาดเกยกนั . เป๊ด-ได้-ไข่-เล่ียง-ไก่-ได้-ขัน] ม เลอ น. ภาชนะดนิ เผาอยา่ งหนงึ่ สำ� หรบั (ส�ำ) ทำ� สง่ิ ใดย่อมได้สง่ิ นนั้ . ย นึง่ ของ. เล้ียงผีพ่อหมอเฒ่า [เล่ียง-ผี-พ่อ- ร หมอ-เถ่า] ดู ลงข่วงรำ� ผีฟ่า. ฤ เลือดลมเดินไม่สะดวก ก. อาการท่ี ล เลอ อารมณ์แปรปรวน. เลือดสาด ว. เลือดโชก. ว เลือ่ ยคัน น. เล่ือยชนิดปลายใบทง้ั ๒ ศ ข้างติดกับคันเล่ือย ไม้ตรง ส ห อ ฮ 272

พจนานุกรม ภาษาโคราช กลางระหว่างใบเล่ือยกับด้าม และ ๆ ดู สะแหละ. ก ส�ำหรับจับมีไม้ยึดให้แน่น ใช้ และเล็ม [แล่ะ-เล็ม] ก. และเลียม, ข ส�ำหรับตัดหรอื ซอยแผ่นไม.้ ค พูดจาเก้ียวผู้หญิงทีเล่นทีจริง, ฆ เลื่อยคนั พูดเลียบเคียงเข้าไปทลี ะน้อย. ง โล่งโจ้ง ว. ล่อนจ้อน. จ เลอ่ื ยซอย โลภะธาตุ น. ธาตุแท้ของความโลภ ฉ เลื่อยตัดต้น เช่น ในขณะน้ันโลภะธาตุซึ่ง ช เจอื ปนอยมู่ ากมายในกาย (ทา้ ว ฯ). ซ เลอื่ ยซอย น. เลอ่ื ยชนดิ ใบเลอื่ ยเปน็ ปน้ื โลภนกั ลาภหาย (สำ� ) ก. ยง่ิ อยากได้ ฐ ขนาดเล็ก คล้ายเล่ือยซอยแต่ มากก็ยิ่งไม่ได้เลย ; ตรงกับ ฒ ยาวกวา่ ใช้ซอยไม้ใหเ้ ปน็ แผ่น. ส�ำนวนท่ีว่า โลกมากลาภหาย ด เช่น โลภนักลาภหาย โลภนัก ต เลือ่ ยตะลาปา น. เล่อื ยลันดา. ตวั ตาย อยา่ ไดน้ กึ ปอง (น.ิ รปู ทอง). ถ เลื่อยตดั [เล่ือย-ตด๊ั ] ดู เลอ่ื ยตัดต้น. โลมา น. ขน. เชน่ เป็นนา่ แสยงเกศา ท เลอ่ื ยตดั ตน้ [เลอื่ ย-ตดั๊ -ตน้ ] น. เลอื่ ย โลมาพอง (นิ.พระปาจิต). ธ โล่ยโง่ย ว. ล่อนจ้อน, เปลือยกาย, น ชนิดใบเลื่อยเป็นแผ่นใหญ่ยาว โหล่ยโหงย่ กว็ ่า. บ ท้องเลื่อยโค้ง ปลายเล่ือยทั้ง โลหิตแดงมากกว่า โลหิตขาว [โล- ป สองทำ� เปน็ บอ้ ง สำ� หรบั สอดไม้ ฮติ -แดง-มาก-กว่ั -โล-ฮติ -ขาว] ผ ทอ่ นกลม ๆ เพือ่ ใชจ้ บั ชกั เลือ่ ย (สำ� ) มคี วามกล้าหาญมากกว่า ฝ โดยใช้คนชักเล่ือย ๒ คน ใช้ ขข้ี ลาดตาขาว เชน่ พวกทา่ นทงั้ พ ตัดต้นไม้, ท่อนไม้ขนาดใหญ่, หลายมโี ลหติ แดงมากกวา่ โลหติ ฟ เลื่อยตัด ก็วา่ . ขาว ก้าวหนา้ มากกว่าถอยหลัง ภ และ ก. ชำ� แหละ. (ท้าว ฯ). ม ไล น. กลอนประตูหรือหน้าต่าง, ย สลักกลอนประตูหรือหน้าต่าง, ร เหลก็ ไนของสตั วท์ ม่ี พี ษิ เชน่ ผง้ึ . ฤ ไล่คุม ก. ไล่กวด, ว่ิงให้เร็วข้ึนเพ่ือ ล ให้ทนั , ละ่ คุม กว็ ่า. ว ศ ส ห อ ฮ 273

ก ข ค ฆ ง จ ฉ ช ซ ฐ ฒ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ประตู และก�ำแพงเมอื ง กอ่ นไดร้ ับการบรู ณะ ฟ ภ ม ย ร ฤ ล ว ศ ส ห อ ฮ 274

วงกลองต๊อก น. วงดนตรีพ้ืนบ้าน วพจนานุกรม ภาษาโคราช ก โคราชคล้ายกับวงมโหรี มี ลักษณะขวักไขว่, (ดู ว่อน ข กลองต๊อกหรือกลองทึ่มเป็น ประกอบ). ค เคร่ืองดนตรีท่ีโดดเด่น. วง ว็อบแว็บ ว. แวบ, แผลบ็ , ชว่ งระยะ ฆ กลองทึ่ม ก็ว่า, (ดู กลองท่ึม เวลาประเดย๋ี วเดยี ว. ง ประกอบ). วอย ว. ไม่แข็งแรง, ผอม, ซอยวอย จ ก็ว่า. ฉ วงกลองต๊อก ว่ะ ๑. ว. โลง่ อก, โลง่ ใจ เพราะหมด ช กงั วล, สรา่ ง, วะ่ กระโทก, วะ่ หวา่ ง ซ วงกลองทึม่ ดู วงกลองต๊อก. กว็ า่ . ฐ วงรี ๆ แตะหคี นทวั่ ไป [วง-ล-ี ล-ี แตะ๊ - ๒. ซิ เช่น ดวู ะ่ , เอาวะ่ . ฒ ว่ะกระโทก ดู ว่ะ. ด ห-ี คน-ทั่ว-ไป] (ปรศิ ) กระด้ง; ว่ะวาบ ก.โล่งอกขึ้นทันที, ต การใช้กระด้งฝัดข้าวต้องให้ สบายใจข้ึนทันที, สร่างในทันที ถ กระดง้ ชิดขอบเอวด้านหนา้ . ทนั ใด. ท วสา น. พรรษา; มาจากคำ� ว่าวสั สานะ ว่ะวาบพอปานน้องเมียได้ผัว ธ เช่น เป็นบุญบวชก็ไม่มากสัก [ว่ะ-วาบ-พอ-ปั่น-น่อง-เมีย- น วสา (น.ิ พระปาจิต). ได้-ผัว] (สำ� ) น. โล่งอก. บ วอน ก. ย่ัวโทสะ, รนหาที่ด้วยอยากจะ ว่ะหวา่ ง ดู วะ่ . ป ให้เกดิ เร่อื ง, วอนหาเร่อื ง กว็ ่า. วะ่ หวู ่ะตา ว. สบายหสู บายตา, ผ วอนหาเรอื่ ง ดู วอน. สร่าง. ฝ ว่อน ว. อาการที่ปลิว, เคล่ือนไหวใน วังตะเข้ [วัง-ตะ-เข่] น. ที่อยู่ของ พ อากาศ, บนิ , บินไปมา. จระเข้. ฟ วอ่ นระเวกิ [วอ่ น-ล่ะ-เว่ิก] ว. ว่อนใน วงั นำ�้ เขยี ว [วงั -นา่ ม-เขยี ว] น. ชอื่ อำ� เภอ ภ หนงึ่ ในจงั หวดั นครราชสมี า ตง้ั ชอื่ ม ตามชอ่ื บา้ นวงั นำ�้ เขยี ว มวี งั นำ้� ใส ย สะอาด. ร ฤ ล ว ศ ส ห อ ฮ 275

วดั กลาง - ว่านอึง่ วดั กลาง [วดั่ -กาง] น. วดั พระนารายณ์ ๒. ก. คว�่ำหน้าว่ายน้�ำโดยใช้ มหาราช เป็นวัดที่อยู่ใจกลาง แขนทง้ั ๒ ตวดั ซา้ ยขวาสลบั กนั เมอื งโคราช ตามกบลิ เมอื งวดั น้ี พุ้ยน้�ำให้เคลื่อนไป ขณะ ก จะไมม่ กี ารเผาศพและไมม่ ปี า่ ชา้ . เดียวกันก็ตีขาข้ึนลงเพ่ือดันตัว ข วดั บงึ [วดั่ -บงึ ] น. วดั หนง่ึ ทอี่ ยทู่ างทศิ ให้ไปขา้ งหนา้ . ค ฆ ตะวันตกของเมืองโคราชใกล้ วดั วา ง กบั ประตชู มุ พล ตามกบลิ เมอื ง วัดวา จ วัดน้ีจะไม่มีการเผาศพและไม่มี ฉ วัดสระแก้ว [วด่ั -ซะ-แก้ว] น. เปน็ วัด ช ปา่ ช้า. อยู่ทางทิศใต้ของเมืองโคราช ซ วัดบรู พ์ [วั่ด-บูน] น. วัดหน่งึ อยู่ทาง ตามกบิลเมืองวัดน้ีจะไม่มีการ ฐ เผาศพและไมม่ ปี า่ ช้า. ฒ ทศิ บรู พาหรอื ทศิ ตะวนั ออกของ ด เมืองโคราชใกล้กับประตูพล วัดอิสาน [ว่ัด-อ-ิ สาน] น. วดั หนง่ึ อยู่ ต ลา้ น ตามกบลิ เมอื งวดั นจ้ี ะไมม่ ี ทางทศิ อสี านหรอื ทศิ ตะวนั ออก ถ การเผาศพและไมม่ ปี ่าช้า. เฉียงเหนือของเมืองโคราช ท วดั พายพั [วด่ั -พา-ยพ่ั ] น. วัดหน่ึงอยู่ ตามกบิลเมืองวัดน้ีจะไม่มีการ ธ เผาศพและไม่มีป่าช้า. น ทางทิศพายัพหรือทิศตะวันตก บ เฉียงเหนือของเมืองโคราช วนั งนั น. วนั สกุ ดบิ , วนั เตรยี มงานกอ่ น ป ตามกบิลเมืองวัดนี้จะไม่มีการ ถงึ วนั งานพธิ ี ๑ วนั , วนั ชมุ กว็ า่ . ผ (ดู วนั ชมุ ประกอบ). ฝ เผาศพและไมม่ ปี า่ ชา้ . พ วดั ไมม่ เี ขอ่ื นเหมอื นเรอื นไมม่ ฝี า [วดั่ - วนั ชมุ น. วนั ที่ญาตพิ ีน่ อ้ งมาชมุ นมุ เพื่อ ฟ ภ ไม่-มี-เขื่อน-เหฺมือน-เลือน- ม ไม-่ ม-ี ฝา] (ส�ำ) น. พระไม่มศี ีล ย ก็เหมือนไม่มีเคร่ืองป้องกันการ ร ท�ำผิดพระวินัย; คนไม่มีศีลก็ ฤ เหมือนกับไม่มีเครื่องป้องกัน ลว การทำ� ชวั่ , (ดู เขื่อน ประกอบ). ศ วดั วา [ว่ดั -วา] ๑. ก. ชกหรอื ต่อยใน ส ลักษณะใช้แขนทั้ง ๒ เหว่ียง ห อ สลับกันไปมาอยา่ งรวดเรว็ . ฮ 276

พจนานุกรม ภาษาโคราช เตรียมการก่อนถงึ วนั งานพิธ.ี นิทาน เช่น นานมาแล่วมีตาก๊ะ ก วันดีคืนดี น. เวลาที่นึกถึงเร่ืองหนึ่ง ยายสองคนวา่ เด่ (นานมาแลว้ ข มีตากับยายสองคนว่าเถอะ). ค เร่ืองใดขึ้นได้ เช่น วันดีคืนดีก็ วา่ แต่ ก. คดิ วา่ , นึกว่า เชน่ วา่ แต่จะ ฆ พดู เรอ่ื งเกา่ (เวลาทนี่ กึ ถงึ เรอ่ื ง เอาอะไร, ว่าแต่ป้าเป็นคนพดู . ง เกา่ ข้ึนได้ก็พดู อกี ). วา่ นกา้ มปู [หวา่ น-กา้ ม-ป]ู น. ดองดงึ ; จ วนั เดิ้ง ว. บางวนั . ชอ่ื ไมเ้ ถาเลอ้ื ยชนดิ Gloriousa ฉ วนั ธงชยั ยามปลอด น. วนั ที่ถอื วา่ เปน็ superba L. ในวงศ์ ช ฤกษด์ ี เชน่ วันธงชัยยามปลอด Colchicaceae ปลายใบเรียว ซ จะคลาดแคล้วจากภยันตราย มว้ น หวั มีพษิ อยู่ใตด้ นิ . ฐ ทัง้ ปวง (ท้าว ฯ). วา่ นตะมอย [หวา่ น-ตะ-มอย] น. ชอ่ื ไม้ ฒ วันเบิง้ ว. บางวนั . เลอื้ ยชนดิ Pothos yunnanensis ด วนั ฝานผกั [วนั -ฝาน-พกั ] น. วนั เตรยี ม Presl ในวงศ์ Araceae, ถนิ่ เลย ต งานกอ่ นวนั งาน ๑-๒ วนั เชน่ เรยี ก ตะขาบเขียว. ถ งานแต่งงาน งานบวช ส่วน วา่ นปอก [หวา่ น-ปอก] น. ชอื่ ไมย้ นื ตน้ ท ใหญ่จะเป็นเรื่องการเตรียม ชนิด Syzygiumsiamensis ธ อาหาร ฝานผกั หนั่ เนอ้ื เปน็ ตน้ . Crab. ในวงศ์ Myrtaceae น วันยังคำ�่ คืนยงั ร่งุ ว. ตลอดวนั ตลอด ใบเด่ียว ดอกสีแดงแกมม่วง บ คนื , ท้ังวนั ทง้ั คนื . ผลกลมหรือรูปไข่สีเขียวถึง ป วันหงายพาขา้ ว [วนั -หงาย-พา-เขา่ ] สมี ว่ ง ผลแก่เดอื นพฤษภาคม- ผ ดู ลงข่วงร�ำผฟี า้ . มิถุนายน นักพฤกษศาสตร์ ฝ วาชนี [วา-ชะ-นี] น. วาลวชี นี, พัดกบั เรียก ชมพู่น�ำ้ . พ แ ส ้ ข น จ า ม รี ถื อ เ ป ็ น เ ค รื่ อ ง วา่ นสามพนี่ ้อง [หว่าน-สาม-พี-่ น่อง] ฟ ก กุ ธ ภั ณ ฑ ์ อ ย ่ า ง ห น่ึ ง ใ น น. ว่านชนิด Ceropegia ภ เบญจราชกกุธภัณฑ์ เช่น zootepensis Craib ในวงศ์ ม เคยเชิญพานพระภูษาวาชนี Asclepiadaceae, ถิ่นเหนือ ย เคยพัดวีให้ส�ำราญเม่ือบรรทม เรยี ก มะมยุ ดอย, มะเขือแจด้ ิน. ร (นิ.พระปาจิต). ว่านอึ่ง [หว่าน-อึง่ ] น. ชื่อกล้วยไม้ดิน ฤ วา่ เด่ ว. วา่ เถอะ, อย่างงน้ั เถอะ เป็น ชนดิ Eulophia macrobulbon ล คำ� สรอ้ ยในการเกรน่ิ นำ� กอ่ นเลา่ ว ศ ส ห อ ฮ 277

วาบ - แวบ Par. & Reichb. f. ในวงศ์ พดู เสยี ดสี. Orchidaceae. วง่ิ งวั น. การเล่นอย่างหนงึ่ แบ่งเปน็ วาบ ว. วูบ เชน่ น�่ำลงวาบ ๆ (นำ้� ลง ก วบู ๆ ). ฝ่ายชายกับฝ่ายหญิงฝ่ายละ ข เท่า ๆ กนั ต้งั แถวให้หา่ งกันพอ ค วา่ เพลง ก. รอ้ งเพลงโคราช. สมควร แลว้ วงิ่ ทล่ี ะคคู่ อื ชายกบั ฆ ว่ามย้ั ว. เหน็ ด้วยไหม, เห็นพอ้ งด้วย หญงิ เหมอื นกบั การวง่ิ เปย้ี ว แต่ ง ไหม, ใชไ่ หม. ว่ิงงัวจะต่างตรงท่ีวิ่งกันคนละ จ ๒-๓ รอบตามแต่จะตกลงกัน ฉ วา่ ยงอ [หวา่ ย-งอ] ก. ว่ายนำ้� ลอยคอ แล้วจึงผลัดกันว่ิงอ้อมหลัก ช กระเดือกไป โดยมอื และเท้าอยู่ ฝา่ ยทวี่ ง่ิ ไลท่ นั ฝา่ ยตรงขา้ มเปน็ ซ ใต้น�ำ้ . ฝ่ายชนะ บางที่มีการท้าพนัน ฐ วา่ แลว้ [วา่ -แลว่ ] ว. เหน็ ไหมเลา่ , เปน็ เรยี กว่า “เหล่นกนิ ตัว (เล่นกนิ ฒ ตวั )” คอื ว่ิงจนแพ้ชนะไมต่ อ้ งมี ด ไปอย่างทีพ่ ดู ไว้. คนผลัด ถ้าฝ่ายใดแพ้จะรู้สึก ต วา่ วขาดลม (สำ� ) ก. ขาดการอปุ การะ, เสียหน้าและอับอายเพราะต้อง ถ ขาดการสนบั สนุน เช่น ทล่ี อย ออกมาร�ำตามที่ฝ่ายชนะร้อง ท เปล่าไปเหมือนว่าวเม่ือขาดลม เชิดโดยคนอื่นๆจะตบมือให้ ธ จังหวะ เชน่ เจา้ งามเลิศเอย ร�ำ น (น.ิ พระปาจิต). ไปเถิดน่องจะหาเมยี ให่ รปู ร่าง บ วา่ วธนู น. วา่ วทมี่ ีธนูผูกติดดา้ นหลัง, อยา่ งนีจ่ ะหาดอี ยา่ งไง หน่าขาว ป เป็นใยใจน่องจะขาดเอย หน่า ผ (ดู ธนู ประกอบ). ขาวเป็นใยใจนอ่ งจะขาดเอย. ฝ วง่ิ ตาม ก. หนพี อ่ แมห่ รอื ผปู้ กครองตาม พ ไปอยู่กับชายคนรกั . ฟ ว่ิงโตน ก. ว่ิงระคนกระโดด, ว่ิงไป ภ กระโดดไป. ม วิ่งสามขา น. การเล่นอยา่ งหนง่ึ แบ่ง ย เป็นคู่ ๆ โดยมดั ขาซา้ ยคนหน่ึง ร กับขาขวาอีกคนหนงึ่ คใู่ ดว่ิงถงึ ฤ ล ว ศ ว่าวธนู ส ว่าแสะว่าเสียด [ว่า-แซะ-ว่า-เสียด] ห อ ก. พูดกระแนะกระแหน, ฮ 278

พจนานุกรม ภาษาโคราช เส้นชัยก่อนโดยเชือกไม่หลุด เสอื [เว-ลา-ด-ี ด-ี จน-ไจ-หาย- ก ถอื วา่ ชนะ. เว-ลา-ลา่ ย-ลา่ ย-ยงั -กะ๊ -เสอื ] ข วิ่งหางจุกตูด [วิ่ง-หาง-จุ๊ก-ตูด] ดู ว. เวลาอารมณ์ดีจะใจดีมาก ค หางจกุ ตูด. ตรงกันข้ามเวลาอารมณ์เสีย ฆ วดิ ปลา [วดิ่ -ปลา] ก. ทำ� ใหน้ ำ�้ ในหนอง หรือโกรธรุนแรงจะใจร้ายมาก ง หรอื บ่อแห้งเพือ่ จบั ปลา. เช่นกนั . จ วทิ พยิ ุ [วิ่ด-พ-ิ ยุ่] น. วทิ ยุ. เวงิ น. เว้ิง, ลาน, ลานกวา้ ง. ฉ วิน ๆ ดู หวินๆ. เว่นิ ว. วอ่ น, ลอยฟอ่ ง, เคล่ือนไหวใน ช วิมาย ดู พิมาย. อากาศ เช่น ปลิวเว่ิน (ปลิว ซ วมิ ายะปรุ ะ [ว-ิ มา-ยะ่ -ป-ุ๊ ละ่ ] ดู พมิ าย. ว่อน), ตะเข่ลอยเวิ่น (จระเข้ ฐ วด้ี ว้าด ว. ร้องด้วยความตกใจ. ลอยฟอ่ ง), สงู เวน่ิ สายวา่ ว นอ่ ง ฒ วืด ว. พลาด, ไม่ถูกเปา้ หมาย เช่น เต๊ะ จิเชิญไป (กล่อมเดก็ ). ด ลูกบอลวืด (เต๊ะลูกฟุตบอล แวง น. ปรือ; ช่ือไม้ล้มลุกชนิด ต พลาดไปไมถ่ กู ), ตลี กู ปงิ ปองวดื Scleria poaeformis Retz ถ (ตีลูกเปิงปองพลาด), วูด ก็วา่ . ในวงศ์ Cyperaceae ข้ึนใน ท วนุ่ วายพอปานขายขา้ วหลาม (สำ� ) ก. น้�ำใบยาว ๆ ใช้ทอเป็นเส่ือ, ธ วุ่นวายสับสน, ยุ่งเหยิงสับสน แว้ง ก็ว่า. น เพราะความเร่งรีบ; เปรียบได้ แวง ๆ น. หนุ่มสาวแรกรุ่น, วัยรุ่น, บ กับส�ำนวน วนุ่ เป็นจลุ กฐนิ . วยั กระเตาะ. ป วนุ่ ววี่ ุ่นวาย ก. วุน่ วาย, กา้ วก่าย. แว้ง ดู แวง. ผ วูด ดู วืด. แว้ด ก. แหว, ลกั ษณะของเสียงดงั ท่ี ฝ เวรา น. เวร, ความพยาบาท เช่น แสดงอาการเกรี้ยวกราด. พ โอ้กรรมเวรา ของข้าหรือไร แวบ ก. แฟบ, ยุบ. ฟ (นิ.รูปทอง). ภ เวลากินน�้ำตาไหล ป้อนเท่าไรย่ิงดี แวบ ม เทา่ นัน้ [เว-ลา-กนิ -น่าม-ตา- ย ไหล-ปอ้ น-เทา่ -ไล-ยง่ิ -ด-ี เทา่ - ร น่ัน] (ปรศิ .) หีบอ้อย. ฤ เวลาดดี จี นใจหาย เวลารา้ ยรา้ ยยงั กะ ล ว ศ ส ห อ ฮ 279

แววตาสีเหล็ก - โศลก แววตาสีเหล็ก [แวว-ตา-สี-เล็ก] (ท้าว ฯ). (ส�ำ) น. แววตาที่แสดงออกถึง โว้เว้ [โว่-เว]่ ดู โหว่เหว.่ ความเข้มแข็งประดุจดังเหล็ก ไวท้ า่ [ไว่-ถา่ ] ก. ไว้คอยท่า, ไวร้ อท่า. ก เช่น ชายหนุ่มร่างผ่ึงลักษณะ ไววาง ว.ไวทายาด, ไวมาก, ว่องไว, ข มีเชิงชายทุกส่วน ในแววตา ค รวดเร็ว, ถิ่นเหนือใช้ว่า ฆ สีเหล็กแฝงไว้ซ่ึงความเข้มแข็ง ไวปานวอก. ง จ ฉ ช ซ ฐ ฒ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ฤ ลว ว ศ ส ห อ ฮ 280

ศพจนานุกรม ภาษาโคราช ก ศรีธนนไชย น. ช่ือไม้ต้นชนิด ศาลาว่าความเมือง [สา-ลา-ว่า- ข Buchanania siamensis Mig. ควม-เมอื ง] น. ศาลากลางหรอื ค ในวงศ์ Anacardiaceae ก่ิง ท่ีท�ำการบริหารราชการของ ฆ ออ่ น ดอกเลก็ สขี าวหรอื ขาวอม เมืองเช่นเดียวกับศาลากลาง ง เหลอื ง ออกเปน็ ชอ่ ตามงา่ มใบ จังหวัด เช่น คร้ันกองทัพเจ้า จ ผลคอ่ นขา้ งกลม นกั พฤกษศาสตร์ อุปราชเดินทางไปถึงเมือง ฉ เรยี ก ธนนไชย. กาฬสินธ์ุ ก็ส่ังใหต้ ้ังทพั พกั แรม ช ณ ศาลาวา่ ความเมอื ง (ทา้ ว ฯ). ซ ศรธี นนไชย ฐ ศาลาเวรมหาดไทย น. สถานทีท่ �ำการ ฒ ศาล น. ทวี่ า่ การอำ� เภอ ; สมยั กอ่ น ของเจา้ หนา้ ทฝ่ี า่ ยปกครอง เชน่ ด ทวี่ า่ การอำ� เภอมหี นา้ ทส่ี อบสวน, หลวงบุรินทร์และขุนชนะไพรี ต ชำ� ระความตา่ ง ๆ ชาวบา้ นมกั เปน็ นายกองมา้ คมุ ทหารมา้ ๓๐ ถ เรยี กอำ� เภอวา่ ศาล. ม้า น�ำใบบอกไปวางยังศาลา ท เวรมหาดไทย (ท้าว ฯ). ธ ศาลเจา้ ปู่ ดู ศาลตะป่.ู น ศาลตะปู่ น. ศาลปู่ตา ; ท่ีสถิตของ โศลก [สะ-โหฺลก] ก. โฉลก, ถกู ชะตา บ กนั , ถกู อธั ยาศยั กนั . ป เทวดาหรอื ผี. ศาลเจา้ ปู่ กว็ ่า. ผ ศาลตะปู่ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ฤ ล ว ศ ส ห อ ฮ 281

ก ข ค ฆ ง จ ฉ ช ซ ฐ ฒ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ฤ ล ว ศ ส ห อ ฮ 282

สกดั [สะ-กดั๊ ] ก. ดัก, ดักพบ, คอย สพจนานุกรม ภาษาโคราช ก ตรงเส้นทางที่ผู้ต้องการพบจะ เปน็ แพอยู่ในน�ำ้ . ข ผ่านมา เชน่ หนุ่มน่อยมาคอย สนละวน ก. สาละวน, กังวล, วุน่ อยู่ ค สกั๊ดทางลั่ดทางกอดสนั้ดใจ ฆ (กลอ่ มเด็ก). ดว้ ยกจิ ธรุ ะเฉพาะบางอยา่ ง เชน่ ง ดูเหมือนจะปรานี ท�ำสนละวน จ สกุณัย น. นก, สกุณา, สกุณี เช่น (นิ.รปู ทอง), บา้ งถางท่สี นละวน ฉ คิ ด ว ่ า พิ ม มิ รู ้ ว ่ า น ก สุ ก ณั ย บ้างขนอิฐ (นิ.พระปาจิต). ช (น.ิ พระปาจติ ). สนอม [สะ-หฺนอม] ก. ถนอม. ซ สนดั [สะ-นัด] ว. ถนดั , สนั ทัด เชน่ ฐ สง ก. ชอ้ นโดยเอามอื หรอื ส่งิ ใดเลือก หนุ่มน้อยมาคอยสกัด ทางลัด ฒ ตกั เอาสงิ่ ของทอี่ ยใู่ นของเหลว. ทางกอดสนัดใจเอย (กล่อม ด เดก็ ), สนดั สะหนี่ กว็ า่ . ต ส่งเดชส่งหัว ว. ส่งเดช, ท�ำหรือพูด สนดั สะหน่ี [สะ-นดั -สะ-หน]่ี ดู ถ อยา่ งลวก ๆ, มกั ง่าย. สนดั . ท สนุ [สะ-น]ุ น. ฟางขา้ วท่ีนวดแล้วแต่ ธ ส่งทกุ ข์ [ส่ง-ทุ่ก] น. อจุ จาระ. ยงั มีเมลด็ ขา้ วหลงเหลอื อย่.ู น สงน [สะ-หฺงน] ก. ฉงน, สงสัย, สนกุ พอปานเตะเหด็ [สะ-นกุ -พอ-ปน่ั - บ เตะ๊ -เฮด็ ] (สำ� ) ก. ท�ำสิ่งใดที่ ป แคลงใจ. ง่ายหรือสะดวก ย่อมท�ำอย่าง ผ สงเยาะ [สง-เยา่ ะ] ก. กระเซ้าเหยา้ สนกุ หรือเพลิดเพลิน. ฝ สนุ่น [สะ-หฺนุ่น] น. พืชท่ีงอกตาม พ แหย,่ (ดู เล่นนอก ประกอบ). หนองน้�ำ. ฟ ส่งแรง ก. ออกแรงช่วยผู้ที่เคยช่วย สนนุ สนม [สะ-หนนุ -สะ-หนฺ ม] น. แพสวะ ภ ทีอ่ ยใู่ นน�้ำ. ม เหลือเพื่อเป็นการทดแทน. สบ [ซบ] ก. กนิ ยาทมี่ สี รรพคณุ ตรงกบั ย สงสาร น. วัฏสงสาร, การเวียนว่าย โรคที่เป็น, ถูกโรค, กินแล้ว ร สามารถบ�ำบดั โรคได้. ฤ ตายเกิด เช่น ให้พ้นจากไพรี ล อันเวียนวนในสงสาร (นิ.รูป ว ทอง), จะหึงนานในสงสาร ศ กระวนกระวาย ล�ำบากกาย ส ตายเกิดอยู่ไปมา (สุภมิต ฯ). ห สนม [สะ-หนฺ ม] น. สวะ, กลมุ่ พชื ทลี่ อย อ ฮ 283

สบง - สลกั ได สบง [สะ-บง] น.ไม้ท่ีใช้แทงจมูกวัว, หนว่ ยเทา่ ขัน (น.ิ รูปทอง). ควาย เพ่อื สนตะพาย. ส้มขี้ม้า [ส่ม-ขี่-ม่า] น. ส้มชนิดหนึ่ง สบจังหวะ [ซบ-จงั -วะ] ก. สบโอกาส, ก จงั หวะดี. ผลเหมอื นลกู อนิ เลก็ กลมแป้น ข ตรงกลางบุ๋ม เปลือกสีเขียว ค สบชอ่ ง [ซบ-ชอ่ ง] ก. สบชอ่ งทาง, พบ ขนาดเท่าก้อนข้ีม้ามีรสเปร้ียว ฆ ช่องทาง. เม่อื สุกเปลอื กจะเปน็ สสี ้ม. ง สบที [ซบ-ที] ว. เผอื่ วา่ , ผวิ า่ , ถา้ วา่ , สมใจอยาก ก. เปน็ ไปตามทค่ี ดิ ทหี่ วงั ไว,้ จ สมใจในสิ่งท่ีต้องการ เช่น ฉ หากวา่ , แมน้ วา่ , สบวา่ , สบทวี า่ อยากกินผัดหม่ี พอดีมีคน ช กว็ า่ . เอามาให้ กเ็ ลยไดก้ นิ สมใจอยาก. ซ สบทวี า่ [ซบ-ท-ี วา่ ] ดู สบท.ี สมน�้ำหน้ากะลาหัวเจาะ [สม-น่าม- ฐ สบร่อง [ซบ-ล่อง] ว. บังเอิญ, สบ หน่า-กะ-ลา-หัว-เจ๊าะ] ว. ฒ สมน้�ำหน้า, เป็นค�ำแดกดันหรอื ด จังหวะ, สบโอกาส , ไม่ตั้งใจ ซำ้� เตมิ วา่ ควรไดร้ บั ผลรา้ ยเชน่ นน้ั . ต หรือคาดหมายมาก่อน, ฟลุก, สมบ๊ัด ว. แค่จะ, เพียงแต่, อะไร เช่น ถ ขี้สบร่อง กว็ ่า. สมบ๊ัดจิกินก็ยังไม่มี (แค่จะกิน ท สบฤกษ์ [ซบ-เลิก] น. ฤกษ์งามยามด,ี ก็ยังไม่มี), พูดหาสมบั๊ดอะไร ธ (พูดหาอะไร), มนั จมิ สี มบดั๊ อะไร น โชคดี, โอกาสด.ี (มนั จะมอี ะไร, มนั จะมีค่ามีราคา บ สบว่า [ซบ-ว่า] ดู สบท.ี อะไร), ส�ำบ๊ัด ก็ว่า. ป สบหมอ่ ง [ซบ-หมอ่ ง] ว. สบท่หี มาย, สมป๊สุ มป้ยุ ๑ ก. มว่ั . ผ ๒ ว. มอมแมม, แต่งกายรุ่งร่ิง. ฝ ถกู ทห่ี มาย. ส้มแป้น [ส่ม-แป้น] น. มะแฟน, พ สบหวิด [ซบ-วิด] ว. สบจังหวะที่เงิน มะแพน, กะแทน ; ไม้ยืนต้น ฟ ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ชนิด ภ ขาดมือ, สับหวิด, หวิดหว่าง Protium serratum (Wall. ex ม ก็ว่า. Colebr.) Engl. ในวงศ์ ย สบเหมาะ [ซบ-เมาะ] น. โอกาสเหมาะ, Burseraceae ใบเป็นใบ ร เวลาทีเ่ หมาะ. ประกอบ ใบย่อยเป็นรูปรียาว ฤ สม เป็นค�ำยอ่ ของค�ำว่า สมน้ำ� หน้า. ล ว สม้ กลีบ [ส่ม-กีบ] ดู ห�ำอาว. ศ ส้มเกลี้ยง [สม่ -เกย้ี ง] น. ส้มชนดิ หนึ่ง ส ห ผิวเปลือกเกล้ียง เปลือกแข็ง อ เชน่ สม้ เกล้ยี งแลสม้ โอ สุกโต ฮ 284

พจนานุกรม ภาษาโคราช ดอกออกเป็นช่อตามง่ามใบ มี คล้ายสม้ โอมีรสเปรี้ยว. ก ผลค่อนข้างกลมมนหรือแป้น ๆ ส้มโอโตแต่เปลือก [ส่ม-โอ-โต- ข สีแดงมีร่อง รับประทานได้ ค รากตม้ เอานำ้� กนิ แกไ้ ข้ ถอนพษิ แต่-เปือก] (ส�ำ) ว. ภายนอก ฆ ต่าง ๆ. ดูดี แต่ภายในตรงกันข้าม, ง ส้มแปน้ ขมี้ า้ [ส่ม-แปน้ -ข-่ี มา่ ] น. ส้ม โตแต่ตัวแต่มีความสามารถ จ เขียวหวาน, สม้ จุก, ส้มจนั ทบูร ไม่สมกับรูปร่าง. ฉ ; ส้มชนิด Citrus reticulata สมยุ กุย [สะ-หมุย-กยุ ] น. คงคาเดอื ด ช Blanco ในวงศ์ Rutaceae. ; ไม้ยืนต้นขนาดกลางชนิด ซ สมพอ ว. ถึงว่า, สมควร เชน่ สมพอ Arfeuillea arborescens ฐ แม่ดุ๊ (สมควรที่แม่ดุ), สมพอ Pierre ในวงศ์ Spindaceae. ฒ เขาถงึ โมโห (ถงึ วา่ เขาถงึ โมโห), ใบเป็นใบประกอบคล้ายใบ ด ซบั พอ, ส�ำพอ กว็ า่ . มะเฟือง ดอกเล็กสีม่วงคล�้ำ ต สมมม ว. โสมม, สกปรก, เลอะเทอะ กล่ินหอม เปลือกใช้ท�ำยาแก้ ถ เช่น เป็นหญิงช่ัวช้า ผัวอยู่ รอ้ นในกระหายนำ้� ฆา่ พยาธิ ดบั ท ตอ่ หนา้ ชง่ั มาสมมม (น.ิ รปู ทอง). พิษไข้ เจรญิ อาหาร. ธ ส้มละกอ [ส่ม-ล่ะ-กอ] น. ส้มต�ำ น มะละกอ, ส้มล่ะก๋อ ก็ว่า. สมุยกุย บ ส้มล่ะก๋อ [ส่ม-ละ่ -ก๋อ] ดู ส้มละกอ. ป สม้ สนั ดาน [ส่ม-สนั -ดาน] น. สม้ ชนิด สรรพคณุ [ซบั -พะ-คุน] ว. บุญคุณ. ผ Hibiscus furcatus Roxb. สลบเหมือด [สะ-ลบ-เหฺมือด] ก. ฝ ในวงศ์ malvaceae. พ ส้มส่า น. ส้มชนิดหนึ่งผลเล็ก มีรส สลบไสล, สลบแน่นง่ิ . ฟ เปรี้ยว. สลักได [สะ-ลกั -ได] น. สลดั ได; ไม้ ภ สมอกง [สะ-หมอ-กง] น. สมอชนิด ม Strobilanthes cystolithigera พุ่มขนาดใหญ่หลาย ชนิดใน ย Lindau ในวงศ์ Acanthaceae. สกุล Euphorbia วงศ์ Euphor ร สมอรอ่ งแรง่ น. หยากไย่, เขม่าไฟ. ฤ สม้ อีเวอ่ [สม่ -อี-เวอ่ ] น. สม้ ชนดิ หนึ่ง ล ว ศ ส ห อ ฮ 285

สลัดซัด - สะกัว biaceae ต้นเป็นเหล่ียมมี เหน็บชา ขับระดูขาว. หนามไมม่ ใี บ (ลำ� ตน้ เปน็ ใบไปใน ส่วย ก. ล้าง เชน่ สวยหมอ่ สว่ นไห ตัว) ตน้ และกงิ่ ก้านมียางสีขาว ก ข้นเปน็ พิษ ดอกเล็ก ๆ สีแดง (ลา้ งหมอ้ ล้างไห). ข ออกตามเหลี่ยมต้น. ค สวองหิน ฆ สลดั ซดั [สะ-ลดั -ซดั ] ก. ตระบดั สตั ย,์ ง ไม่รกั ษาคำ� มน่ั สัญญา. สวองหิน [สะ-หวอง-หิน] น. ชื่อไม้ จ ต้นชนิด Vitex limonifolia ฉ สลงึ อยา่ บงั บาท (ปาก) (สำ� ) น. สถานะ Wall. ในวงศ์ Labiatae ช ด้อยกว่าอย่าออกหน้าหรืออย่า (Verbe naceae) ใบเป็นใบ ซ มาบงั . ประกอบคล้ายรูปน้ิวมือ ดอก ฐ สวด ดู ซวด. สีชมพูแกมม่วงออกเป็นช่อ ฒ สวดหนงั สอื ก. อ่านหนังสอื ด้วยเสยี ง ตามแยกแขนงท่ีปลายกิ่งและ ด ตามง่ามใบ ผลกลม ใช้ท�ำฝา ต สงู ตำ่� คลา้ ยท�ำนองเสนาะ. เรือน แกะสลัก เคร่ืองตกแต่ง ถ บ้าน นักพฤกษศาสตร์เรียก ท สวอง. ธ น สวะสว่าง [สะ-วะ-สะ-หว่าง] ว. บ สว่างไสว, แจม่ ใส. ป ผ สวดั [สะ-ว้ัด] ก. ตวัด. ฝ สวา่ งโร่ ว. สวา่ งจา้ , สว่างคาตา. พ สว้ นใหญ่ สวงิ ปากหมอ้ [สะ-หวงิ -ปาก-หมอ่ ] ดู ฟ ส้วนใหญ่ น. นางแย้ม, ปิ้งหอม; ไม้ สวปี ากหมอ้ . ภ สวงิ สะหวอย [สะ-หวงิ -สะ-หวอย] ดู ม พุ่มขนาดเล็กชนิด Clerod ย endrum chinense (Osbeck) ร Mabb. ในวงศ์ Labiatae ฤ หรือ Verbenaceae ดอกออก ล ว เป็นช่อสีขาวหรือแดงเรื่อๆ ศ เบียดกันแน่น มีกลิ่นหอม ใช้ ส ท�ำยาแก้โรคผิวหนัง ผ่ืนคัน ห อ ปวดตามข้อ ริดสีดวงทวาร ฮ 286

พจนานุกรม ภาษาโคราช สะหวอย. สองเสาตั้งท่า ตีหญ้าสองตับ นอน ก สวปี ากหมอ้ [สะ-หว-ี ปาก-หมอ่ ] ก. ตี ไม่หลับลุกขึ้นปลุก [สอง- ข เสา-ตั้ง-ท่า-ตี-หย่า-สอง- ค หรือปั้นแต่งปากหม้อให้เรียบ ตั๊บ-นอน-ไม่-ลับ-ลุก-ขึ่น- ฆ กลมและมีความหนาตามท่ี ปุก] (ปริศ) น. ไก่. ง ตอ้ งการ โดยใช้ทั้งผ้าพลาสตกิ จ และใบไมต้ า่ ง ๆ เชน่ ใบกระบอง สอ่ น ก. ช้อน เช่น สอ่ นกุ้ง, ส่อนปลา. ฉ เพชร ใบหนามพรำ� ใบสบั ปะรด สอ้ ม [สอ่ ม] น. เหล็ก ๒ งา่ ม ปลาย ช ลอกเอาเฉพาะเยือ่ บาง ๆ เปน็ ซ อปุ กรณ,์ สวงิ ปากหมอ้ , หวปี าก แหลมใชแ้ ทงสัตว์น้ำ� เช่น ปลา ฐ หม้อ กว็ า่ . เป็นต้น. ฒ สวึง [สะ-หวึง] ก. ครุ่นคิด, อาการ สอ่ ย ก. จกั , ทำ� ใหเ้ ปน็ เสน้ แบนยาว เชน่ ด งวยงงคิดอะไรไม่ออก เช่น ส่อยก๊ก (จกั กก). ต ยนื สวึง. ส่อหล่อ ก. แส่, สาระแน, เสือก, ถ สองเกลออยู่ข้างกันเหลียวหันก็ไม่ ส่อหล่อแส่แหล่ ก็ว่า. ท เห็น [สอง-เกอ-หยฺ ู-่ ขา่ ง-กนั - สอ่ หล่อแส่แหล่ ดู สอ่ หล่อ. ธ เหลฺ ยี ว-หนั -ก-็ ไม-่ เห็น] (ปริศ) น น. ใบหู. สะกวั บ สองตีนบังแดดแปดตีนเดินวน ต�่ำ ป เตี้ยหน้ามนมีนามว่าอะไร สะกัว [ซะ-กัว] น. ช่ือไม้ต้นชนิด ผ [สอง-ตนี -บงั -แดด-แปด-ตนี - Sumbaviopsis albicans ฝ เดนิ -วน- ตำ�่ -เตย้ี -หนา่ -มน-ม-ี (Blume) J. J. Smith. ในวงศ์ พ นาม-วา่ -อะ-ไล] (ปรศิ ) น. ปู. Uphorbiaceae ใบเดย่ี วรูปไข่ ฟ สองตีนออดแอด แปดตีนพาไป ดอกเล็กแยกเพศสีเขียวอ่อน ภ (ปริศ) น. เกวียน. เป็นช่อ ดอกเพศผู้ใหญ่กว่า ม สองปะขา้ ง [สอง-ปะ๊ -ขา่ ง] ว. สองขา้ ง. เพศเมีย ผลเป็นพูกินได้ ย สองสามครู่ ว. ช่ัวระยะเวลาท่ีนาน นกั พฤกษศาสตรเ์ รียก ตองผ้า. ร กว่าครู่หนึ่ง เช่น พินิจพิศดู ฤ เป็นสองสามครู่ ท่ัวท้ังกายา ล (นิ.รูปทอง). ว ศ ส ห อ ฮ 287

สะเก็ด - สะโหมง สะเก็ด [สะ-เก๊ด] ว. ไมถ่ กู ตอ้ ง เช่น จากตัว. ดาวรงุ่ ขนึ่ โพลง ดาวโยงขนึ่ โผล่ สะเดดิ ก. สะดุง้ . สุริยันแดงโร่ เวลาใกล้จะรุ่ง สะเทนิ ดู กะเทิน. ก (เพลงโคราช) ซึ่งไม่ถูกต้อง สะบดั ชอ่ [สะ-บั๊ด-ช่อ] ว. ใช้ประกอบ ข เพราะข้อเท็จจริงดาวโยงจะขึ้น ค คำ� อนื่ มคี วามหมายในทำ� นองวา่ ฆ กอ่ นดาวรุ่ง. สะเด็ดยาด, มาก, หนักยิ่งขึ้น ง สะแกเถา น. ช่ือพันธุ์ไม้เล้ือยชนิด เช่น โกงสะบ๊ัดช่อ (โกงสะเด็ด จ ยาด), สวยสะบดั๊ ชอ่ (สวยมาก). ฉ Combretum prostrata ช Crabib ในวงศ์ Combre สะบ้าลาย น. ชื่อไม้เลื้อยในกลุ่มต้น ซ taceae. “หมามุ้ย”ชนิด Mucuma ฐ สะครอ้ [สะ-ค่อ] น. ตะคร้อ เชน่ ตน้ interrupta Gagnep ในวงศ์ ฒ Leguminoseae ฝักมีขน ด มะขวิดติดมะขวาดหมู่หัวขวาน ต ต้นสะครอ้ ดูงามสะคราญดไู สว ถูกผิวหนงั จะคันมาก. ถ (นิ.พระปาจิต). สะบกุ๊ สะบูด ดู ระบดุ๊ ระบูด. ท สะจรรย์ [ซะ-จัน] ว. อัศจรรย์; ใช้ สะโปรง น. กระโปรง. ธ น ประกอบค�ำอื่นเพื่อเน้นให้ค�ำ สะพือ ก. กระพือ. บ มีน�้ำหนักมีความหมายไปใน สะไพยนต์ [ซะ-ไพ-ยน] น. ไพชยนต,์ ป ท�ำนองว่ามาก มากเหลือเกิน ผ ปราสาท เช่น ขน้ึ มาสะไพยนต์ ฝ เช่น ไกลซะจรรย์ (ไกลมาก, ม ณ เ ที ย ร ท อ ง ข อ ง ภู บ า ล พ ไกลจริง ๆ), อศั จรรย์ ก็วา่ . (น.ิ กศุ ราช). ฟ สะดดี สะดงิ้ ว. สะดิ้ง, ท�ำจรติ ดีดด้นิ . สะมูทู [ซะ-มู-ทู] ว. มทู่ ู่, ป้าน, ใหญ่ ภ สะดดุ หลกั กระทง่ั ตอ [สะ-ดดุ๊ -ลกั -กะ- เช่น ท่ีรูปชายถือหน้าไม้สะมูทู ม (น.ิ พระปาจิต) . ย ทั่ง-ตอ] (ส�ำ) ความทุกข์ยาก สะเม่าใหญ่ น. ชื่อไมพ้ ่มุ ขนาดเลก็ ชนิด ร ล�ำบากที่เกิดซ้อนขึ้นมาในเวลา Cierodendron serratum ฤ เดียวกัน เหมือนไปสะดุดหลัก ล ว แล้วยังไปสะดดุ ตออีก. Spreng. ในวงศ์ Verbenaceae ศ สะเดา น. ก�ำเดา เชน่ เลอื ดสะเดา. ใบเด่ียวรปู คลา้ ยหอก ดอกชอ่ ส สะเดาะเคราะห์ [สะ-เด๊าะ-เค่าะ] น. เป็นแท่งที่ปลายยอด ใช้สมาน ห อ ทำ� พธิ ขี บั ไลส่ งิ่ ชวั่ รา้ ยใหอ้ อกไป บาดแผล แก้ริดสีดวง ขับ ฮ 288

พจนานุกรม ภาษาโคราช ปสั สาวะ นกั พฤกษศาสตรเ์ รยี ก ปลาเนื้ออ่อน, ปลาหล�ำพอง, ก ตรชี วา, พรายซะเรยี ง กว็ า่ . สะแหลม็ พอง กว็ ่า. ข สะรอย [ซะ-ลอย] ว. ลักษณะท่ีวัตถุ สะหวอก [สะ-หวอก] ว. ซีดเซียว, ค ทรงกลมหรือมีส่วนโค้งกล้ิง หมดแรง, อดิ โรย, เฉา, เห่ยี ว, ฆ เรียดพื้น, ซะรอย, สรี อย กว็ ่า. สะหวอกสะหวอย ก็ว่า. ง สะรสุ ะระ [สะ-ลุ-สะ-ละ] ว. ย่งุ เหยิง, สะหวอกสะหวอย [สะ-หวอก-สะ- จ สุร่ยุ สุร่าย. หวอย] ดู สะหวอก. ฉ สะเล่า [ซะ-เหลฺ ่า] ว. ค�ำประกอบท้าย สะหวอย [สะ-หวอย] ก. หิวจัด, ช ค� ำ เ พ่ื อ ใ ห ้ เ น ้ น ค ว า ม ห ม า ย หวิ กระหาย, อาการทอี่ ยากขา้ ว ซ ท�ำนองวา่ เสยี เล่า เชน่ ท�ำไม อยากนำ�้ , สวงิ สะหวอย กว็ า่ . ฐ ไม่บอกเขาซะเหลา่ . สะหวอยแดด [สะ-หวอย-แดด] ว. ฒ สะวาย [ซะ-วาย] ดู ซะปาย. อ่อนเพลีย, เหน่ือยลา้ , อิดโรย ด สะหนาก [สะ-หนาก] น. กรรไกรหนีบ เพราะตากหรือกร�ำแดด. ต หมาก, มดี สะหนาก กว็ า่ . สะเหงิม [สะ-เหฺงิม] ก. เหม่อลอย, ถ สะหยาบ [ซะ-หยาบ] น. เพิงหรือ ครุ่นคิด เช่น ท�ำข้อสอบไม่ได้ ท ชายคาทตี่ อ่ ออกจากดา้ นขา้ งให้ เลยนัง่ สะเหงมิ . ธ ปลายข้างหนึ่งอยู่กับส่ิงปลูก สะเหงาะสะแหงะ [ซะ-เงาะ-ซะ-แงะ] น สร้างหลัก; คล้ายกับขยาบที่ ก. เดินโซเซอย่างทรงตัวไม่อยู่, บ เปน็ เครอื่ งกนั แดดและฝนเลอื่ น เดินอย่างคนหมดแรง, เปะปะ, ป เข้าออกจากประทุนเรือได้, โซเซ เชน่ คนเมา, เซาะเงาะแซะ ผ ทะหยาบ, เซีย ก็วา่ . แงะ กว็ า่ . ฝ สะแหล็มพอง [ซะ-แหฺล็ม-พอง] ดู พ สะหยาบ สะหลำ� พอง. ฟ สะแหละ [สะ-และ] ก. กระแดะ, ภ สะหริม่ น. ซ่าหรม่ิ . ดีดดิ้น, ดัดจริต, กิริยาร่าน ม สะหล�ำพอง [ซะ-หล�ำ-พอง] น. ผูช้ าย, แสะแหละ, และ ๆ ก็วา่ . ย สะโหมง [สะ-โหฺมง] น. ไม้ที่ใช้สน ร ตะพายวัวควาย ส่วนมากท�ำ ฤ จากไม้ไผ่เหลาปลายใหแ้ หลม. ล ว ศ ส ห อ ฮ 289

สะโหลสะเหล - สากต�ำ สะโหลสะเหล [สะ-โหฺล-สะ-เหฺล] ว. เชน่ พระสุรยิ ะภกั ดี (ปอ้ ม) เจ้า อ่อนเพลีย, งัวเงีย, อาการท่ี กรมพระต�ำรวจ พร้อมด้วย มนึ งงอยู่. ขา้ หลวงอกี หลายนายไปสกั เลข ก สะอม น. ชะอม. ตามหัวเมืองต่าง ๆ (ทา้ ว ฯ). ข สะออน ว. นา่ รกั , นา่ เอน็ ด,ู สะอง้ิ สะออน สัง ๑ ว. เขื่อง, ค่อนขา้ งโต เช่น เขา่ ค เม่ดสัง ๆ (ข้าวสารเม็ดใหญ่ ฆ กว็ า่ , ถนิ่ อสี านใชว้ า่ ออนซอน. ลว้ น ๆ). ง สะอ้งิ สะออน ดู สะออน. ๒ ใช้น�ำหน้าชื่อคนตายไปแล้ว จ สะอดึ [สะ-อด๊ึ ] ว. เย็นชดื , ตัวเยน็ , เมอื่ กลา่ วถงึ , โดยปริยายเปน็ ที่ ฉ รู้กันว่าหมายถึงผู้ที่ตายล่วงลับ ช เย็นเฉียบ. ไปแลว้ เช่น สงั ลุงแกว้ , สังแม่ ซ สะเอน ว. สบาย เชน่ ดว้ ยพระนางเคย ใหญ,่ บะสัง, ประสงั ก็วา่ , (ดู ฐ ประสงั ประกอบ). ฒ สะเอนเอ่ียมส�ำอาง (นิ.พระ สังขยา [สัง-ขะ-หฺยา] ๑. น. มรดก ด ปาจติ ). ตกทอด, มูลมงั สงั ขยา ก็วา่ . ต สะเอม น. ชะเอม. ๒. (ปาก) ก. กนิ เหล้าแล้วกิน ถ สะเออะ [สะ-เออ๊ ะ] ก. ตนุ๋ ปลารา้ สบั ใส่ เบียร์หรือสาโทนัยว่าจะเมา ท มาก. ธ ไข,่ (ดู ปลารา้ สะเออะ ประกอบ). สังเค็ด [สัง-เค่ด] น. ท่ีหามคนตาย น สะเอยี ก. อาการแพท้ อ้ ง, อาการหวิ จดั คลา้ ย ๆ กับเปล. บ ของผหู้ ญงิ ทตี่ ้ังครรภ.์ สังธะยาย ก. สาธยาย, อธิบายเรือ่ ง ป เชน่ ไม่แยกทางมาสงั ธะยาย พ่ี ผ สักกระผกี [ซัก-กะ-ผกี ] ดู สักแปะ. จะเล่าต้นยลนางอย่าต้ังท่ายอ ฝ สกั กะแบะ [ซัก-กะ-แบะ๊ ] ดู สกั แปะ. ท่าเย่ย (เพลงโคราช). พ สักกะแปะ [ซัก-กะ-แปะ๊ ] ดู สกั แปะ. สังระเสิน, สังระเสริญ ก. สรรเสริญ ฟ สักตด๊ี [ซกั -ต๊ีด] ดู สักแปะ. เช่น ย่ิงเขาสังระเสิน เรียกว่า ภ สกั โบก [ซัก-โบก] ว. สักหนอ่ ย. หม่อมยาย (นิ.รูปทอง), สังระ ม สกั แปะ [ซัก-แปะ๊ ] ว. สักนดิ , สักตี๊ด, เสรญิ ปอ้ ยอพอ่ พระคณุ (สภุ มติ ฯ), ย มึ ง ม า สั ง ร ะ เ ส ริ ญ ม า ก ม า ย ร สกั กระผกี , สกั กะแบะ, สกั กะแปะ ฤ กว็ า่ . ล ว สกั เลข [ซัก-เลก] ก. ทำ� เครื่องหมาย ศ โดยใช้เหล็กแหลมจุ้มหมึกจ้ิมที่ ส ผิวหนังแสดงการข้ึนทะเบียน ห อ ชายฉกรรจ์เข้าสังกัดกรมกอง ฮ 290

พจนานุกรม ภาษาโคราช นอกใจเจา้ นายมงึ นจ่ี ะตายเปน็ ผี ไปท้งั ตวั , อาการส่ันเหมอื นเจา้ ก (นิ.กุศราช). เข้าทรง, สัน่ เทม้ิ . ข สังวาลย์พระอินทร์ น. ไม้เถาเล้ือย สบั ปะดส้ี ปี ะดน [สบ๊ั -ปะ๊ -ด-ี้ ส-ี ปะ-ดน] ค กึ่งกาฝาก ชนิด Cassytha ว. สัปดน, อุตรินอกแบบ, ฆ fi l i f o r m i s L i n n . ใ น ว ง ศ ์ นอกแผน. ง Santalaceae ล�ำต้นเป็นเถา สับหวั คว่ั แห้ง [ซับ-หัว-ข่ัว-แหง่ ] (สำ� ) จ สีเขียวแกมเทา ใบขนาดเล็ก ว. บังคับ เช่น ต้องซับหัว ฉ ดอกเปน็ ชอ่ สขี าว, ถน่ิ เลยเรยี ก ข่วั แห่งมันถึงทำ� งาน. ช เขียงค�ำโคก. สมั มายงั ไงสมั ไปยงั งนั้ [สมั -มา-ยงั -ไง- ซ สังโวก ว. สงั เวช, โศกเศรา้ , ซมึ เศร้า สัม-ไป-ยัง-งั่น] (ส�ำ) เป็นมา ฐ เชน่ คดิ สงั โวกใหส้ งั เวชนางนวล ยงั ไงกเ็ ปน็ ไปยงั งน้ั , ทำ� อยา่ งไร ฒ ระหง (นิ.พระปาจิต), พระผิน ไวย้ อ่ มไดร้ บั ผลอยา่ งนนั้ . ด พักตร์แลไปให้สังโวก ก�ำสรด สั่ว ก. เส็ง, ก่อกวน, ย่ัวอารมณ์, ต โศกโศกาตอ่ หนา้ เขา (สภุ มติ ฯ). พูดใหค้ นอืน่ มีอารมณ์โกรธ. ถ สตั ถาวร [สดั -ตะ-ถา-วอน] ว. สถาพร, สา ว. ค�ำลงท้ายบอกความหมายว่า ท ยง่ั ยนื เชน่ วา่ เจา้ คุณยังจ�ำรูญ ซะ, เถดิ , นะ เชน่ ไมเ่ อือ้ ยเอย่ ธ สัตถาวร (นิ.พระปาจติ ). สาเลยหนู พี่ไม่รู้สาเลยหนอ น สันจม น. อวัยวะส่วนท่ีเป็นสะบัก, (น.ิ เพลงศุภมิตร ฯ). บ สำ� เหลยี ก กว็ ่า. สา่ น. ขุยดนิ ทเ่ี ปน็ เกลอื . ป สน่ั ดด ๆ [สนั่ -ด่ด-ดด่ ] ก. สั่นระรวั สา่ ก้งุ น. พล่ากุ้งฝอย. ผ เพราะโกรธมาก. สากซ้อม [สาก-ซ่อม] น. สากครก ฝ สันเทียะ น. ช่ือหมู่บ้านหนึ่งในอ�ำเภอ กระเดื่องมีลักษณะปลายหัว พ โนนไทย จังหวดั นครราชสมี า สากไม่ใหญ่ป้านมน ใช้ต�ำข้าว ฟ คำ� วา่ “สนั เทยี ะ” กลายเสยี งมา จะขัดสีผิวข้าวออกขาวน่า ภ จาก “บ้านศาลเตี้ย” (ข. ซัน รบั ประทาน. ม เตียร์ หมายถงึ บ้านฟ้าผา่ ). สากตำ� น. สากครกกระเดอ่ื งมลี กั ษณะ ย สั่นร่กึ ๆ [สั่น-ลึ่ก-ลึก่ ] ก. สนั่ รกิ ๆ, ปลายหัวสากใหญ่ป้านมนเช่น ร สัน่ ระรกิ . เดยี วกบั สากกะเบอื เมอื่ ตำ� ขา้ ว ฤ ส่ันเริ่ม ๆ [ส่นั -เลม่ิ -เลิ่ม] ว. เรมิ้ , สัน่ จะทำ� ให้ข้าวแหลกเมด็ หกั . ล ว ศ ส ห อ ฮ 291

สากเหม่งิ - สำ่� ๆ เสีย ๆ สากเหมงิ่ น. สากไมย้ าวประมาณ ๓ – ๔ เปรียบเหมือนสาดน้�ำล้างชาม เมตร ใช้ส�ำหรับต�ำข้าวเม่า, แต่ไม่มีเศษข้าว, อาหาร, ไก่วิง่ ก (ดู ตำ� สากเหมง่ิ ประกอบ). มาหาเกอ้ แลว้ ต้องผิดหวัง. ข สามขดั [สาม-คัด] ดู สามเส้า. ค สามง่าม น. เฟินชนิด Pteris wal ฆ lichiana Ag. ในวงศ์ Polypo ง สากเหม่งิ diaceae. สามเชย น. ทรามเชย, หญิงอันเป็น จ สากอบุ๊ น. สากไมใ้ ชต้ ำ� ขา้ วสนั้ กวา่ สาก ท่รี ัก เชน่ แม่สามเชยยังไม่เคย ฉ จะตกยาก (สภุ มติ ฯ), (ดู ทรามชม ช เหมงิ่ ประมาณครง่ึ หนงึ่ , (ดู สาก ประกอบ). ซ เหม่ิง ประกอบ). สามเปลีย่ ว ดู ทรามชม. ฐ ส่าเกลือ น. ขยุ ดนิ เกลือ, ผ่ืน, แถบดิน สามยอด น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด ฒ Canscora andrographioides ด ทเี่ ปน็ เกลอื ผดุ ขนึ้ เปน็ ผน่ื ผวิ ดนิ . Griff. ex Clarke ในวงศ์ ต สาง ก. ถางหรือทำ� ให้หายรก เช่น สาง Gentianaceae. ถ หญา้ หรอื ปา่ ท่ีรก. สามเสา้ [สาม-เสา่ ] น. นกเขาขนั เรยี ก ท เป็น ๓ เสยี งหรือ ๓ กกุ คอื เจ้า ธ สาด ก. กระจัดกระจาย, เรี่ยราด, พทุ โธ, เจก๊ หวั โต, โกโ้ ก บางแหง่ น กระเจดิ กระเจงิ , กระจยุ กระจาย, ฟงั เปน็ กู้, กร,ู กู้ฮุก, กร,ู ก,ู้ บ สาดเซ, สาดเซเตนัง, สาดเซ กร,ู สามขดั ก็วา่ , (ดู ขันเรยี ก ป ระเนระนงั , สาดเซเหระ, สาดเซ ประกอบ). ผ สามตุ ิ ก. สมมตุ ,ิ รสู้ กึ นกึ เอาว่า เชน่ ฝ เหโร, สาดเซเหตะโร ก็ว่า. เสยี ดายถา้ เปน็ ชายไมส่ ามตุ ิ จะ พ สาดเซ ดู สาด. สมสอู่ ยกู่ บั นชุ จนสงั ขร, พมิ บรุ ษุ ฟ สาดเซเตนัง ดู สาด. ทสี่ ามตุ ชิ อื่ ปาจติ (น.ิ พระปาจติ ). ภ สาดเซระเนระนัง [สาด-เซ- สายครึน น. สายเชอื กท่ีต่อจากบว่ งท่ี ม ท�ำไว้ดักนกและไก่; ครึนเป็น ย ละ่ -เน-ล่ะ-นัง] ดู สาด. เคร่ืองดักนกดักไก่ชนิดหน่ึง, ร สาดเซเหตะโร ดู สาด. ฤ สาดเซเหระ [สาด-เซ-เห-ล่ะ] ล ว ดู สาด. ศ สาดเซเหโร ดู สาด. ส สาดน�้ำให้ไก่ดีใจ [สาด-น่าม-ไห่-ไก่- ห อ ดี-ไจ] (ส�ำ) ให้ความหวัง; ฮ 292

พจนานุกรม ภาษาโคราช สายครืน กว็ า่ . ชะอมดอกเปน็ ชอ่ สเี หลอื ง มฝี กั ก สายครนื ดู สายครึน. ใบและช่อมีกล่ินคล้ายกลิ่น ข สายตะขาบ น. นกตะขาบ ตวั สนี ้�ำเงนิ ตัวเรอื ด ใช้ทำ� ยาได้. ค สาวตนี ก. สาวเท้า, กา้ วยาว ๆ เพ่ือ ฆ เลอื่ มวาว ปากดำ� , ถิ่นอสี านใช้ เร่งเท้าให้เรว็ . ง ว่า นกขาบ หรือ นกตะขาบ. สาวนอ้ ย ๆ พายเรือลอดพมุ่ [สาว- จ สายทุง น. สายซุง, เชอื กท่ใี ชป้ ลายทงั้ น่อย-น่อย-พาย-เลือ-ลอด- ฉ ๒ ผูกกับอกว่าวห่างกันพอ พุ่ม] (ปรศิ ) กระสวยทอผ้า. ช สมควร สำ� หรบั ตอ่ กบั สายปา่ น. สาวมานเกา้ เฒา่ มานสบิ [สาว-มาน- ซ สายรูด น. กางเกงขาสั้นมีเชือกรอบ เกา้ -เถ่า-มาน-ซิบ] น. สาว ๆ ฐ เอวเพอ่ื รดู มดั ใหก้ ระชบั แทนขอ ทอ้ งเก้าเดอื น คนอายุมากท้อง ฒ หรอื กระดมุ . สบิ เดอื นจงึ คลอด. ด สายสะได น. สายกระได, สายเชือกที่ สาวสวรรค์ น. นมสวรรค์, พนม ต ผูกจอมแหใชด้ ึงสาวกลบั . ส ว ร ร ค ์ , ช่ื อ ไ ม ้ พุ ่ ม ช นิ ด ถ สายหยดื ดู สหี ยืด. Clerodenddrum paci ท สาระปิ [สา-ละ-ป]๊ิ ว. สารพดั , จปิ าถะ, culatum L. ข้ึนตามท่ีชุ่มช้ืน ธ สาระพัดละปิ ก็ว่า. ดอกสีแดงอมส้ม ออกเป็นช่อ น สาระพัดละปิ [สา-ล่ะ-พั่ด-ล่ะ-ปิ๊] ดู ตามยอดมี ๔ พู ใช้ท�ำยาได้. บ สาระปิ. ส�่ำ ๑. ว. เหมือน, เสมือน, เท่ากับ, ป สาระสอด ก. เสือก, สาระแน, สอดรู้ เสมอกับ, ขนาด, แค่ เช่น เลว ผ สอดเหน็ . ส่�ำหมา (เลวเหมือนหมา), ฝ สาลอยกอยก้งุ ดู ตอ๊ ก. ส่�ำไหน (ขนาด, แค่ไหน). พ สาละเลอะ [สา-ละ-เล่อะ] ว. ป�้ำ ๆ ๒. ใช้ประกอบค�ำเพ่ือเน้นน�้ำ ฟ เป๋อ ๆ, หลง ๆ ลืม ๆ, ใจลอย, หนักให้ค�ำมีความหมายมาก ภ สาละเหลอ ก็ว่า. ย่ิงขึ้น เช่น ไอ้อย่างส่�ำแก่ ม สาละเหลอ ดู สาละเลอะ. (แก่มาก), สำ�่ ข่เี หร่ (ขเ้ี หร่มาก). ย ส่าเลือด น. ช้าเลือด; ชื่อไม้เถาชนิด ส่�ำเสีย ดู ส่ำ� ๆ เสยี ๆ. ร Caesalpinia mimosoides ส�ำ่ ๆ เสีย ๆ ว. พูดใหเ้ สียหาย ฤ Lam. ในวงศ์ Leguminosae อย่างป่นปี้, ส�่ำเสีย ก็ว่า เช่น ล เถามีหนามใบเป็นฝอยคล้าย ว ศ ส ห อ ฮ 293

ส�่ำไหน - สีบ้า สาวศรีจึงว่า ฟังดูเถิดหนา ส�ำหรีดกรีดกราย ดู สำ� หรดี . มาวา่ ส่ำ� เสีย (น.ิ รปู ทอง). สำ� เหลยี ก น. สนั หลงั , บรเิ วณดา้ นหลงั ส�ำ่ ไหน ว. เก่งแคไ่ หน, แนแ่ ค่ ของรา่ งกาย เชน่ บน้ั เอว, สนั จม. ก ไหน, ขนาดไหน ส�ำอวด ก. โอ้อวด, พูดยกตัว เช่น ข ค ส�ำบ๊ัด ดู สมบด๊ั . ผู้สวดให้นั่งสวด อย่าส�ำอวด ฆ ส�ำบั๊ดสำ� มา ดู สำ� มา. ทำ� โอหงั (น.ิ รปู ทอง). ง ส�ำบดั๊ อะไร ดู สมบ๊ัด. สิเดอื น ดู สีเดือน. จ สำ� พอ ดู สมพอ. ส้ินเน้ือส้ินตัว [สิ้น-เนื่อ-ส้ิน-ตัว] ว. ฉ ช ส�ำพมิ เพศ ดู ท�ำเพศ. สิ้นเน้ือประดาตัว, ไม่มีสมบัติ ซ สำ� เพง็ น. หญงิ ใจงา่ ยในทางประเวณี, เหลือตดิ ตวั . ฐ สิบา้ [ซิ-บา้ ] ดู สบี ้า. ฒ โสเภณ;ี ใชเ้ ปน็ คำ� ดา่ . สบิ เบ็ด [ซบิ -เบด๊ ] น. สบิ เอด็ . ด ส�ำมะปิ [สัม-มะ-ปิ๊] ว. สารพัด, ต จปิ าถะ, ซบั ป,๊ิ ซบั ปะป,๊ิ สมั ปิ กว็ า่ สบิ ปากวา่ ไมเ่ ทา่ ตาเหน็ สบิ ตาเหน็ ไม่ ถ เชน่ ธปู เทยี นดอกไม้ของหวาน เทา่ มอื คลำ� [ซบิ -ปาก-วา่ -ไม-่ ท น้�ำอ้อยน�้ำตาลสัมปิเนาน้ีนานา เทา่ -ตา-เหน็ -ซบิ -ตา-เหน็ -ไม-่ ธ น (น.ิ กุศราช). เทา่ -มอื -คำ� ] (สำ� ) ว. การไดย้ นิ บ ส�ำมะรด [สมั -มะ-ล่ด] น. สบั ปะรด. ไดฟ้ งั จากผอู้ น่ื หลาย ๆ คน กไ็ ม่ ป ส�ำมะหลงั น. มันส�ำปะหลงั . เท่ากับเหน็ ด้วยตาตนเอง การ ผ ฝ สำ� มา ก. ขมา, กลา่ วขอโทษยอมรบั ผดิ ได้เห็นด้วยตาก็ไม่เท่ากับได้จับ พ เช่น แม่รูปรวยจะท�ำกรวยขอ ต้องด้วยมือตนเอง จึงจะเกิด ฟ ส�ำมา (นิ.พระปาจิต), ส�ำบ๊ัด ความแนใ่ จ. ภ สำ� มา ก็วา่ . สบิ มมุ ไรไ่ มเ่ ทา่ มมุ นา สบิ พอ่ ตาไมเ่ ทา่ ม ลูกเขย [ซิบ-มุม-ไล่-ไม่-เท่า- ย สำ� หราง ก. อาการลอยตัวขึ้นเหนอื นำ้� มุม-นา-ซิบ-พ่อ-ตา-ไม่-เท่า- ร เชน่ ปลาสำ� หราง (ปลาลอยตวั ลูก-เขย] (ส�ำ) ท�ำกิจการ ฤ ขึน้ เหนือน้ำ� ). ล ว ส�ำหรางน้�ำค้าง [สัม-หลาง-น่าม- มากมายใหญ่โต แต่ได้ผลไม่ ศ ค่าง] ก. ตากน้ำ� คา้ ง. เทา่ กบั ทำ� เลก็ ๆ นอ้ ย ๆ; แรงคน ส แก่สิบคนก็ไม่เท่ากับแรงคน ห สำ� หรดี ก. กรดี กราย, ทำ� จรติ , สำ� หรดี อ กรดี กราย ก็วา่ . หนุ่มคนเดียว หรือสู้แรงคน ฮ 294

พจนานุกรม ภาษาโคราช หนมุ่ คนเดียวไมไ่ ด้. สดี าย ว. เสียดาย, สดิ า๋ ย กว็ ่า. ก สิบสองภาษา [ซิบ-สอง-พา-สา] น. สดี อื น. สะดือ, สิดอ๋ื กว็ า่ . ข สีดอื ตุ่น น. สะดอื จุ่น. ค คนต่างด้าว, คนต่างชาติ, คน สดี อื เพลง น. เนอื้ หา, เคา้ โครง,ใจความ ฆ ดนิ แดนอืน่ เช่น คนมาเขา้ ครบ ง ทุกอย่างสิบสองภาษา, แขก ส�ำคัญของเพลงโคราชช่วง จ ฝรง่ั องั กฤษยอดละวา้ ตา่ งภาษา กลางเนื้อเพลง ซ่ึงเป็นช่วง ฉ ทั้งสิบสองมากสลอน (นิ.พระ จังหวะทห่ี มอเพลงตบมอื . ช ปาจติ ), พมา่ เชยี งใหม่ มอญไทย สีเดอื น น. ไส้เดือน, สเิ ดื๋อน กว็ า่ . ซ ทุกคน บอกให้ไปจนสิบสอง สตี า่ ง ว. ตง๋ิ ต่าง. ฐ ภาษา (น.ิ รูปทอง). ส่ีตีนกินไอ้ตีนเดียว หัวเขียวกินไอ้ ฒ สิบเอด็ น้ิว [ซิบ-เอด๊ -น่วิ ] น. คนท่ีหวั หน้าคว่�ำ [ส-่ี ตีน-กิน-ไอ้-ตีน- ด แม่มือมีน้ิวเลก็ ๆ งอกต่งิ ออก เดยี ว- หวั -เขยี ว-กนิ -ไอ-้ หนา่ - ต มา นับรวมท้ังสองมือแล้วได้ ข่วม] (ปริศ) น. เต่ากินเห็ด, ถ ๑๑ นิว้ , (ดู มอื แง่ม ประกอบ). เป็ด (หวั เขยี ว) กินหอย. ท สี ว. ท่าทางจะ, ดูท่าจะ, ดูเหมือนจะ สี่ตีนรู้เต้นลงมาเล่นรู้ตบ ฟงฟันมัน ธ เชน่ สบี ้า ๆ (ท่าทางจะบา้ ๆ), หมด กนิ ของมริ กู้ นิ [ส-ี่ ตนี -ล-ู่ น ยายเห็นว่าสีท�ำไม่ย�ำเกรง เตน้ -ลง-มา-เหลฺ น่ -ล-ู่ ตบ๊ -ฟง- บ (นิ.พระปาจติ ), ซิ ก็วา่ . ฟัน-มัน-มด-กิน-ของ-มิ-ลู่- ป สี่ ก. รว่ มประเวณี. กิน] (ปริศ) น. กระต่ายขูด ผ สีคิ้ว น. ช่ืออ�ำเภอหนึ่งในจังหวัด มะพร้าว, คนขดู มะพร้าว. ฝ นครราชสีมา เดิมตั้งอยู่ท่ีบ้าน สีเนื้อสีตน [สี-เน่ือ-สี-ตน] ดู ขัดศรี พ จันทึก ต่อมาย้ายมาอยู่ท่ีบ้าน เน้ือตัว. ฟ ของพระยาสี่เข้ียว ซ่ึงเป็น สบี า้ ๑. น. สะบา้ ลกู สะบา้ มี ๒ ชนดิ คอื ภ เจ้าเมือง (ที่ตั้งที่ว่าการอ�ำเภอ ลูกสะบ้าที่เป็นเมล็ดกลมแป้น ม ปัจจุบนั ) ตอ่ มากลายเสียงเปน็ คลา้ ยกระดกู สะบา้ หวั เขา่ จากไม้ ย “สีคว้ิ ”. เถาชนดิ หนงึ่ และสะบา้ ทท่ี ำ� จาก ร สีดา น. ช่ืออ�ำเภอหนึ่งในจังหวัด ไม้เน้ือแข็งกลึงให้กลมอย่างงบ ฤ นครราชสีมา มโี บราณสถานที่ นำ�้ ออ้ ย, สบิ า้ , สบี า้ กว็ า่ . ล สำ� คญั คือ ปรางค์กสู่ ีดา. ๒. น. การเล่นสะบ้า มี ๒ ว ศ ส ห อ ฮ 295

สีบ้ากกื - สบี า้ สรี อย ก ประเภท คือ สะบ้าโยนหรือ และจะถูกท�ำโทษตามแต่จะ ข สะบ้าทอย และสะบ้ายิงหรือ ตกลง เช่น ตีหัวเข่า, ร�ำโทน ค เรยี ดใหถ้ กู เปา้ ฝา่ ยหญงิ อาจใช้ เป็นต้น. ฆ “ไมแ่ คด่ ” ชว่ ยในการงดั ยงิ กไ็ ด้ สบี า้ สรี อย น. การเลน่ สะบา้ จะ ง สะบ้ายิงบางแห่งเรียกว่า สีบ้า แบง่ ผเู้ ลน่ เป็น ๒ ฝา่ ย มกั เปน็ จ สีรอย, สีบ้าวง (ดู สีบา้ สีรอย, ฝ่ายชายกับฝ่ายหญิงโดยจับคู่ ไม่แคด่ ประกอบ). กัน ฝ่ายหนึ่งตั้งสะบ้าและอีก ฝ่ายเล่นขึ้นต้นก่อนตามล�ำดับ ฉ ท่า ซึ่งแต่เดิมมีประมาณ ๒๗ ช ทา่ รวมเรยี กวา่ ๑ เมน หรอื เมน ซ สบี า้ เม็ด หนง่ึ (ทา้ ว ฯ) ดังนี้ ๑) สีรอย บางแห่งเรียกว่า ฐ ซะรอย, อสี รี อย, อีซะรอย โดย ฒ กลิง้ สะบ้าให้เรยี ดพืน้ ไป. ด ๒) อคี อ ทา่ นใ้ี ชล้ กู สะบา้ ตงั้ ทคี่ อ ต ด้านหน้าแล้วใช้นิ้วมือปั่นสลัด ถ ให้หมุนกล้ิงไป. ท ๓) อีอก [อี-อ๊ก] ท่านี้ใช้ลูก ธ สะบา้ ตง้ั ทที่ รวงอกแลว้ ใชน้ ว้ิ มอื น ป่ันสลัดให้หมุนกลง้ิ ไป. บ ๔) สีดอื , อีสะดอื [อี-ซะ-ดือ], ป อีจือ ท่านี้ใช้ลูกสะบ้าต้ังท่ี ผ บริเวณสะดือแล้วใช้นิ้วมือปั่น ฝ สบี ้ากลึง สลัดให้หมนุ กล้ิงไป. พ ๕) สลัดพก่ [สะ-ลดั -พ่ก] บาง ฟ สบี ้ากกื น. การเล่นสะบ้าโดยผู้ แห่งเรียกว่า สลัดผ้า [สะ-ลัด- ภ เลน่ ทกุ คนไมอ่ อกเสยี งใดๆ เชน่ ผา่ ] ทา่ นใ้ี ชล้ กู สะบา้ วางในทาง ม กระซบิ หวั เราะ ในขณะเลน่ ถา้ ขวางที่บริเวณโคนขาอ่อนแล้ว ย ผิดกติกาผู้เล่นฝ่ายตรงข้าม กระโดดไปข้างหน้า ให้สะบ้า ร ตอ้ งขนึ้ ใหม่ คอื เรมิ่ ตน้ เลน่ ใหม,่ ฤ (ดู สบี า้ สีรอย ประกอบ). ล สบี า้ โยน น. การเลน่ สะบา้ อยา่ ง ว หน่ึงโดยใช้ลูกสะบ้าโยนให้ถูก ศ สะบ้าของฝ่ายตรงข้ามให้ล้ม ส ฝ่ายท่ีถูกล้มหมดก่อนถือว่าแพ้ ห อ ฮ 296

พจนานุกรม ภาษาโคราช หมนุ กลง้ิ ไป. ๑๒) ตากลาง, อตี ากลาง ท่าน้ี ๖) หัวเข่าหรืออีเข่า ท่าน้ีใช้ เหน็บสะบ้าไว้ตรงกลางท้ังสอง หัวเข่าทั้งสองหนีบสะบ้าแล้ว แล้วหนีบไม่ให้สะบ้าหลุดพร้อม กระโดดสลัดให้สะบ้ากล้ิงไป กบั สลัดใหก้ ลงิ้ ไป. ก ส่วนฝ่ายหญิงแม้จะนุ่งผ้าซิ่น ๑๓) ตาขอ, อตี าขอ้ [อ-ี ตา-ขอ่ ] ข ค ก็จะท�ำเช่นเดียวกันโดยสลัดผ้า ท่าน้สี อดสะบา้ ไว้ตรงหัวแม่เทา้ ฆ พรอ้ มกระโดด. ทั้งสองแล้วหนีบให้แน่นพร้อม ง ๗) ขานาง ทา่ นใ้ี ชล้ กู สะบา้ หนบี กับสลัดใหก้ ลงิ้ ไป. จ ฉ ทหี่ วา่ งขาเหนอื หวั เขา่ แลว้ สลดั ๑๔) ตามดิ , อตี ามิด ท่าน้เี หน็บ ช ให้สะบ้าหมุนกลิ้งไป. สะบ้าไว้ตรงปลายเท้าแล้ว ซ ๘) เหยยี บม่วงสอย, อมี ว่ งสอย กระโดดสลัดให้สะบา้ กลิง้ ไป. ฐ ฒ บางแหง่ เรียกว่า อเี หยียบม่วง ๑๕) จมกู , อจี มกู บางแห่งเรียก ด ท่าน้ีใช้เท้าข้างหนึ่งเหยียบเท้า ว่าอีตะหมูกดุ๊ดหรืออีชุดฉีด ต อีกข้างหน่ึงแล้วเหน็บสะบ้า ท่าน้ีตั้งลูกสะบ้าไว้ท่ีพื้น แล้ว ถ ระหว่างเท้า แล้วกระโดดสลัด คุกเข่าก้มใช้จมูกดุดหรือดุน ท ธ ใหส้ ะบ้ากลง้ิ ไป. ดว้ ยการดนั สะบา้ ใหก้ ลงิ้ ไป บาง น ๙) ทะเลอื่ นสน้ [ทะ-เลอ่ื น-สน่ ], แหง่ ทา่ นปี้ รบั เปลยี่ นวธิ เี ลน่ โดย บ ต้ังสะบ้าไว้ท่ีเมนแล้วใช้น้ิวก้อย ป อีทะเล่ือนส้น [อี-ทะ-เลื่อน- ผ สน่ ] ทา่ นใี้ ชส้ น้ เทา้ ทงั้ สองหนบี เขยี่ หรอื ปดั สะบา้ ใหก้ ลงิ้ ไป และ ฝ สะบ้าแล้วกระโดดสลัดให้สะบ้า เรยี กว่า ท่าอีตาก้อย. พ กลง้ิ ไป, อตี าส่น กว็ า่ . ๑๖) มาบอยา่ , อมี าบหญา่ ท่า ฟ ๑๐) ตากแดด, อีตากแดด ทา่ นี้เอาสะบ้าวางบนหลังเท้ายืน ภ นี้ใช้สะบ้าวางขวางแล้วใช้เท้า อยู่กับที่ตรงเมนแล้วสลัดหรือ ม ทง้ั สองหนบี ใหอ้ ยรู่ ะหวา่ งกลาง เตะใหส้ ะบา้ กลง้ิ ไป แลว้ ตะครบุ ย เท้าแล้วกระโดดสลัดให้สะบ้า จากนัน้ จึงยงิ . ร ฤ ล กล้ิงไป. ๑๗) ทา่ ถบี , อที า่ ถบี ทา่ นตี้ งั้ ลกู ว ๑๑) ตาตุ่ม, อีตาตุ่ม ท่านี้ใช้ สะบ้าท่ีเมนแล้วใช้เท้าถีบครั้ง ศ ตาตมุ่ ท้ัง ๒ ข้างหนีบลกู สะบา้ เดียวให้กลิ้งไป บางแห่งให้นั่ง ส ห แล้วกระโดดใหส้ ะบา้ กลงิ้ ไป. ก้นแตะพืน้ แลว้ ถบี . อ ฮ 297

สบี่ าทพาดขะรั้ว - สมี ือ ๑๘) คีบต่อย, อีคีบต่อย บาง ตรา ๕ หรอื เส้นที่ ๕ ซง่ึ อยูต่ ิด แห่งเรียกว่าอีคีบต่อยย่อยคาง กบั เมนเลน่ กอ่ น, (ดู เมนเหล่น ก ท่าน้ีใช้หัวแม่เท้ากับน้ิวข้างหัว และเมนตง้ั ประกอบ). ข แม่เท้าคีบสะบ้าแล้วกระโดด ๒๒) ยิงตรา ๔ หรอื ยิงกรา ๔ ค เขย่งเท้าเดียวไปต่อยให้สะบ้า ท่านี้เม่อื ผ่านยิงตรา ๕ ไดจ้ ึงจะ ฆ ฝ่ายตรงขา้ มให้ล้ม. มสี ทิ ธยิ์ งิ ตรา ๔ เชน่ เดยี วกนั คอื ง ๑๙) กะเต่ิงกะทะ [กะ-เติ่ง-กะ- ยงิ ได้ ๔ คร้งั ถ้าไม่ถูกคนอน่ื มี จ ทะ่ ], อกี ะเตงิ่ กะทะ่ [อ-ี กะ-เตง่ิ - สทิ ธไ์ิ ถไ่ ด้ ๓ ครัง้ ในท่ายิงบอง. กะ-ท่ะ] ท่าน้ีวางสะบ้าไว้บน ๒๓) ยงิ ตรา ๓ หรือ ยิงกรา ๓ ฉ หลังเท้าแล้วงอน้ิวเท้าก้ันไม่ให้ ทา่ นีเ้ ม่อื ผา่ นยิงตรา ๔ ได้จงึ จะ ช สะบ้าหล่น แล้วกระโดดเขย่ง มสี ทิ ธิย์ งิ ตรา ๓ เล่นเหมือนทา่ ซ เท้าเดียวไปโยนให้สะบ้าฝ่าย ยิงตราอืน่ ๆ. ฐ ตรงขา้ มล้ม. ๒๔) ยิงตรา ๒ หรอื ยงิ กรา ๒ ฒ ๒๐) ซะครูด, อสี ะครูด [อี-ซะ- ท่านเ้ี มือ่ ผ่านยิงตรา ๓ ไดจ้ งึ จะ ด คูด] บางแห่งเรียกว่า อีจ๊ัก มสี ทิ ธย์ิ ิงตรา ๒ เล่นเหมอื นท่า ต ครูด, อีตะเซงิ ซดุ ท่าน้ีต้ังสะบา้ ยงิ ตราอนื่ ๆ. ถ ท่ีเมนเล่นแล้วใช้ปลายเท้า ๒๕) ยิงตราขอบ้อง ท่าน้ีเม่ือ ท เหยียบหรือกดสะบ้าพร้อมกับ ผา่ นยงิ ตรา ๒ ไดจ้ งึ จะมสี ทิ ธย์ิ งิ เขยง่ ขาเดยี วไสสะบา้ ในลกั ษณะ ตรงเสน้ ที่ ๑ เลน่ เหมอื นท่ายิง ธ ครดู ไปใหช้ นสะบา้ ฝา่ ยตรงขา้ ม, ตราอื่น ๆ. น อจี ๊ะอุงครดู , อีจั๊กครูด กว็ ่า. ๒๖) สะรอยสง่ หนา้ [ซะ-ลอย- บ ๒๑) ยงิ ตรา ๕ หรือ ยงิ กรา ๕ ส่ง-หนา่ ],อสี ะรอยสง่ หนา้ [อี- ป หมายถึงท่าน้ียิงได้ถึง ๕ คร้ัง ซะ-ลอย-ส่ง-หน่า] ท่าน้ีผู้เล่น ผ ซ่งึ ถ้าคร้งั ที่ ๑ ยงิ ไมถ่ กู คนอน่ื มี ยกขาข้างหน่ึงขึ้นแล้วจับสะบ้า ฝ สิทธ์ไิ ถไ่ ด้ ๔ ครงั้ อน่งึ กอ่ นจะ ลอดไขว้ใต้ขาด้านหลังแล้ว พ เล่นต้องแบ่งเส้นเป็น ๕ เส้น สีรอยหรอื กลงิ้ ไป จากนนั้ รีบไป ฟ หา่ งเทา่ ๆ กนั จากเมนเลน่ ไปถงึ ตะครบุ สะบา้ แลว้ ยิง. ภ เมนตั้ง เพื่อใช้เป็นจุดยิงสะบ้า ๒๗) สะรอยส่งกน้ [ซะ-ลอย- ม โดยใช้ท่ายิงบอง ผู้เล่นจะยิง ส่ง-ก้น], อีสีรอยส่งก้น ท่าน้ี ย ร ฤ ล ว ศ ส ห อ ฮ 298

พจนานุกรม ภาษาโคราช ผู้เล่นยืนหันหลังให้เมนเล่น ศัพทส์ ำ� คัญทใี่ ช้ในการเลน่ ก แล้วสีรอยหรือกลิ้งสะบ้าลอด ๑) หัว หมายถึง ลกั ษณะนาม ข หว่างขาแล้วหันหลังกลับรีบไป ของสะบา้ เรยี กสะบา้ ๑ อนั ว่า ค ตะครบุ สะบา้ แล้วยิง. ๑ หัว. ฆ กตกิ าการเล่น ฝา่ ยที่ยงิ ถูกลกู ๒) หงาย หมายถึง หงาย ง สะบ้าของอีกฝ่ายหน่ึงครบ สะบ้าทเ่ี ปน็ ลวดลาย เช่น ลาย จ ทุกท่าถือว่าเป็นผู้ชนะ หากยิง วงกลมซ้อนกันหลายวงเป็นรูป ฉ ผิดในท่าใดท่าหนึ่ง, ลูกสะบ้า ดอกจันทร.์ ช สีรอยหรือกล้ิงไปแล้วตะครุบ ๓) คว�่ำ [ขว่ ม] หมายถงึ คว่�ำ ซ ไม่ทนั เปน็ ตน้ ก็มีโอกาสไถ่ได้ สะบา้ ด้านหลัง ทีไ่ ม่มีลวดลาย. ฐ อีกครั้ง โดยเพื่อนยิงแก้ให้ ๔) เมน มี ๒ ประเภทคอื เมนตงั้ ฒ กรณที ยี่ งิ ไปถกู ลกู สะบา้ คนอนื่ ท่ี เปน็ เสน้ หรอื แนวสำ� หรบั ตง้ั สะบา้ ด ไม่ใช่ลูกสะบ้าคู่ของตนนับเป็น และเมนเล่นเป็นเส้นหรือแนวที่ ต “เน่า” ต้องให้ฝ่ายตรงข้ามข้ึน ใชเ้ ลน่ สะบา้ ทา่ ตา่ ง ๆ. ถ (เล่น) ส่วนเร่ืองเดมิ พันน้ันแล้ว ๕) เราะ หมายถงึ ยิงสะบา้ ไป ท แต่จะตกลงกนั แต่ส่วนใหญ่จะ ถกู สะบ้าท่ไี มใ่ ช่คูข่ องตนลม้ . ธ เปน็ เครอ่ื งประดบั กาย เมื่อส้ิน ๖) ไถ่ หมายถงึ เพ่ือนในทีมยงิ น สงกรานต์ก็ไปไถ่คืน เครอ่ื งไถ่ แก้ใหก้ รณีที่ยงิ ไมถ่ กู . บ ของฝ่ายหญิงมักเป็นหมากพลู ๗) บอง หมายถึง การคกุ เข่า ป ฝ่ายชายมักเป็นเครื่องส�ำอาง ด้านใดด้านหนึ่งและอีกด้าน ผ เป็นต้น. ชนั เข่าแลว้ วางสะบา้ ยิง. ฝ จำ� นวนท่าเล่น การเรยี กชื่อทา่ สี่บาทพาดขะร้ัว [สี่-บาด-พาด-ขะ- พ เลน่ จะแตกตา่ งกนั ไปตามแตล่ ะ ลว่ั ] (ปรศิ ) น. ตน้ ตำ� ลงึ (สบ่ี าท ฟ ท้องถน่ิ และกาลเวลา เชน่ ตอ่ = ๑ ตำ� ลึง, ขะรัว่ = ร้ัว). ภ จากท่าอีจือจะเป็นท่าอีก�ำโป้ด สีมอ ๆ น. สคี ราม. ม และท่าอีขาอ่อนแล้วจึงจะเป็น สีมือ น. เครื่องสีข้าวสานด้วยไม้ไผ่ ย ทา่ อเี ขา่ , ต่อจากทา่ อีซะครดู จะ เวลาสใี ชม้ อื โยกผลกั ไปมา หมนุ ร เปน็ ทา่ อหี งายและอคี วำ่� แลว้ จงึ บดข้าวเปลือกเพื่อให้เปลือก ฤ จะเป็นท่ายงิ กรา เปน็ ตน้ . แ ต ก เ ป ็ น ข ้ า ว ก ล ้ อ ง ห รื อ ล ว ศ ส ห อ ฮ 299

สียา - สงู ดงึ ต่�ำดนั คนเสมอกันเห็นดี ข้าวสาร. ถอื วา่ เป็นแมวมสี กุล ไดร้ บั การ ย ก ย ่ อ ง ว ่ า เ ป ็ น แ ม ว ไ ท ย ที่ ก สวยงามและเป็นเอกลักษณ์ ข ของแมวไทย เปน็ ทรี่ จู้ กั กนั ทง้ั ใน ค หมู่คนไทยและชาวต่างประเทศ ฆ ว่า Siamese Cat แตด่ ง้ั เดิม ง เรียกว่า แมวมาเลศหรือแมว จ ดอกเลา แมวสีสวาดมีหลาย ฉ ชนิด เช่น แมววิเชียรมาศ, ช แ ม ว ข า ว ม ณี ห รื อ แ ม ว ข า ว ซ สีมือ ปลอด, แมวทองแดงหรือแมว ศภุ ลักษณ์. ฐ สยี า ก. เอายาเสน้ ถฟู นั แลว้ เหนบ็ เป็น ฒ สสี วาด ด ก้อนไว้ทรี่ มิ ฝีปาก; ถ้าเหน็บริม ต ฝปี ากด้านบนเรยี กวา่ ตนู ยา. สีหยืด ว. เสียว, หวาดเสยี ว, เสยี วไส้, ถ สีรอย ดู ซะรอย. สะอิดสะเอียน, ขยะแขยง, ท สีลูกหนู ว. สีแดงอย่างเหล็กท่ีเผาไฟ. ไสหยืด, สายหยืด ก็ว่า เช่น ธ ช่างแชชันน่าไสหยืดสยองกาย น สีแหล่ ๆ [สี-แหฺล่-แหฺล่] ว. (น.ิ พระปาจิต). บ สีหม่น ๆ, สีคล้�ำ ๆ, สีมัว ๆ ป หมอง ๆ. สีหลอด น. สะหลอด, ตน้ สะหลอด. ผ สีหวด น. มะหวด ผลเหมือนลูกหว้า ฝ สสี ร้อย [สี-ส่อย] น. สายสร้อย. พ สีสวาด [สี-สะ-หวาด] น. แมวสี กินได้ รสหวานปะแล่ม ๆ, ฟ ถน่ิ ใตเ้ รยี ก ก�ำซำ� . ภ สวาดหรือแมวโคราช มีขนสี สหี วาบ [ส-ี หวาบ] น. ชายโครง, สวาบ ม เทาอมเขียวอย่างสีเมล็ด ย สวาดคือออกสีเทาเงิน เรียก ร ว่า สีสวาด หางยาว ตาสี ฤ เหลือง เชื่อกันว่าขนสีเงินจะ ล ว ให้โชคลาภ อน่ึงสีขนคล้ายสี ศ ห ม อ ก เ ม ฆ ฝ น จึ ง ใ ช ้ ใ น ก า ร ส แห่นางแมว มีถ่ินก�ำเนิดที่ ห อ โคราชจงึ เรยี กวา่ “แมวโคราช” ฮ 300

พจนานุกรม ภาษาโคราช กว็ า่ . หรอื ยัง. ก สห่ี ชู ขู น้ึ ฟา้ อา้ ปากกนิ คน [ส-่ี ห-ู ช-ู ขน่ึ - สุดหัวสุดหาง [ซุด-หัว-ซุด- ข ค ฟ่า-อ้า-ปาก-กิน-คน] (ปริศ) หาง] ว. ยาวมาก, ยาวจนสุด ฆ น. ม้งุ . ลกู หูลกู ตา, ยาวจนสดุ สายตา. ง สแี หรก น. สาแหรก, นกแสก. สดุ โส [ซดุ -โส] ว. ถงึ ทส่ี ดุ จงึ คดิ กระทำ� จ สีอะไรคนเฒ่าชอบ [สี-อะ-ไล-คน- การอย่างใดอย่างหนึ่งโดยไม่ ฉ เถา่ -ชอบ] (ปริศ) น. สีเสยี ด. กลัวว่าจะเกิดผลอย่างไร เช่น ช สึกไม่สบฤกษ์ [ซึก-ไม่-ซบ-เลิก] น. จงึ วอนวา่ ลกู นค้ี ดิ ดว้ ยสดุ โส (น.ิ ซ สึ ก จ า ก พ ร ะ ภิ ก ษุ แ ล ้ ว มี ส ติ พระปาจติ ), (ดู โส ประกอบ). ฐ ไม่ปกติ เช่น บ้า ๆ บอ ๆ, สรุ ามรดิ [ซ-ุ ลา-มะ-ลดิ่ ] ดู พญาปราบ. ฒ ไม่เต็มบาท. สู ส. แก, เอง็ , มึง, สรรพนามบุรษุ ท่ี ด สึม ๑. ว. ซึม, เซ่อื งซึม, ซึมเซา. ๒ ใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วยท่ีเป็น ต ๒. น. ร่งุ สาง, เชา้ ตรู่. เด็กหรืออาวุโสน้อยกว่า เช่น ถ สดื หยดื ว. ผอมสงู ชะลดู , ผอมโซ เช่น พวกสูอย่ามาโฉแ่ ถวนี่ (พวกแก ท เพราะวา่ ป่วยจงึ โซสืดหยืด. อยา่ มาส่งเสียงดงั แถวน)้ี . ธ สุกในดินกนิ ได้ สุกในไม้กินดี สกุ สาม สู่ ใช้ประกอบค�ำมีความหมายท�ำนอง น ทเี ปน็ พระยา [ซกุ -ไน-ดนิ -กนิ - วา่ ร่มกนั , ปนั เช่น มีอะไรก็หา บ ได้-ซุก-ไน-ม่าย-กิน-ดี-ซุก- มาสู่กัน. ป สาม-ท-ี เปน็ -พะ-ยา] (ปรศิ ) น. สกู่ นั กิน ก. จดั หาอาหารมากินร่วมกนั ผ ข้าวท่ีหุงในหมอ้ ดิน ข้าวหลาม มักพูดวา่ หาสู่กนั กนิ เชน่ ตัว ฝ กระยาสารท, ถ่ินโคราชใช้ว่า ไหนไดเ้ หยอื่ มาแปลกใหแ้ จกกนั พ พระยาสารท. อยา่ จกิ กันสกู่ นั กินดว้ ยยินดี (น.ิ ฟ สุกโพลง [ซกุ -โพง] ว. สกุ สกาว. พระปาจิต), (ดู สู่ ประกอบ). ภ สุกแหง่ว [ซุก-แหฺง่ว] ว. แวววาว, สูงกว่าน้�ำต�่ำกว่าเรือ [สูง-ก่ัว-น่าม- ม สุกใส. ตำ�่ -ก่วั -เลอื ] (ปริศ) น. ใบบัว. ย สดุ [ซุด] ว. เสร็จ, หมด, จบ, ส้นิ , สุด. สูงดงึ ต�่ำดัน คนเสมอกนั เหน็ ดี (ส�ำ) ร สุดยัง [ซดุ -ยัง] ก. หมดหรอื ผู้ใหญ่ช่วยเหลือ ผู้น้อย ฤ ยงั ; โดยปรยิ ายหมายถงึ คำ� ถาม สนบั สนนุ คนมฐี านะเทา่ เทยี มกนั ล ว่าปัสสาวะ หรืออุจจาระเสร็จ เห็นดี ถ้าประกอบไปด้วย ๓ ว ศ ส ห อ ฮ 301

สูงเท่าขีไ้ ก่ แตเ่ อาไม้สอยกนิ - เสอื คอยอยปู่ ากถำ้� ประการน้ี ท�ำกิจกรรมใดย่อม เสมอหลม่ึ (ตน้ ขา้ วสงู เสมอกนั ). ประสบผลสำ� เรจ็ . เสรจ็ มะกอ้ งดอ้ ง [เซด็ -มะ-กอ้ ง-ดอ้ ง] สูงเท่าขี้ไก่ แต่เอาไม้สอยกิน [สูง- ว. เสร็จอยา่ งสิ้นเชิง, หมดทา่ . ก เท่า-ขี่-ไก่-แต่-เอา-ม่าย- เสวยี น [สะ-เหวฺ ียน] ๑. น. ย้งุ ขา้ วสาน ข สอย-กิน] (ปริศ) น. หอย. ค ด้วยไม้ไผ่ทรงกลมทาหรือยา ฆ สูงเทียมฟ้า แตต่ ำ่� กว่าหญ้านดิ เดียว ดว้ ยขวี้ วั หรอื ขค้ี วายผสมแกลบ ง [สูง-เทียม-ฟ่า-แต่-ต�่ำ-กั่ว- และดนิ เหนียวเพ่อื ไมใ่ หร้ ่ัว. จ หย่า-นิด-เดียว] (ปริศ) น. ๒. น. ฟางทม่ี ดั เป็นวงกลมเพ่อื ฉ ช ภเู ขา. รองก้นหม้อหรือภาชนะต่าง ๆ ซ สูงเนิน น. ชื่ออ�ำเภอหนึ่งในจังหวัด เชน่ กลอง ถา้ ใชร้ องหมอ้ เรยี ก ฐ ว่า เสวยี นหมอ่ (เสวียนหมอ้ ). ฒ น ค ร ร า ช สี ม า ตั้ ง อ ยู ่ บ น เสวยี นหมอ้ [สะ-เหวฺ ยี น-หมอ่ ] ด ภูมิประเทศเป็นท่ีราบสูงและ ต เป็นเนิน. ดู เสวียน ๒. ถ เส็ง ก. ประชัน, แขง่ ขัน เชน่ หมูผ่ ชู้ าย เสอเพอ ว. เลนิ เลอ่ , พลงั้ เผลอ, ลมื งา่ ย. ท เสอเพอกระเชอเปลา่ (สำ� ) คนไรส้ าระ, ธ นั่งเส็งน้ันเพลงใหม่.....ว่าเพลง น สับรับกันขันปัญญา (นิ.พระ ไม่เอาไหน, ไม่เอาถ่าน เช่น สั่ง บ ปาจติ ). สอนอย่างไร มิได้จ�ำเอา เสอ ป เสน่ ผี น. งานแตง่ งาน, งานสมรส, เซน่ เพอ กระเชอเปลา่ ไมเ่ อาถอ้ ยคำ� ผ ฝ ไหวผ้ เี รอื นและบรรพบรุ ษุ ทลี่ ว่ ง (น.ิ รูปทอง). พ ลบั เพอื่ บอกกลา่ ววา่ ลกู หลานจะ เส่อเหล่อ ว. สะเหล่อ, ทง้ั เซ่อซา่ และ ฟ แต่งงาน, อีสานใช้ว่า กนิ ดอง. ภ เสน้ สองสลงึ [เสน่ -สอง-สลงึ ] น. เสน้ เล่อลา่ , เสอ่ เหลอ่ ส่าหล่า ก็วา่ . ม บาง ๆ ทย่ี ดึ ใต้หวั ลงึ ค์. เส่อเหล่อสา่ หลา่ ดู เสอ่ เหลอ่ . ย เสม็ดทุ่ง [สะ-เม็ด-ทุ่ง] น. ช่ือไม้ต้น เส่อเหล่อใหญ่ ว. เชยมาก ๆ, เปิ่น ร ช นิ ด L e p h o p e t a l u m ฤ มาก ๆ, เซ่อซ่ามาก ๆ. ล เสิง ๆ ว. ฟ้าสาง, รุง่ อรุณ; ช่วงที่ฟ้า ว wightiana Arn. ในวงศ์ ค่อย ๆ สว่างขึ้นท่ีละน้อยใน ศ Celastraceae, ถนิ่ กาญจนบรุ ี ตอนเช้ามืด. ส เรยี กว่า ดหี มี. เสงิ สาง ๑. น. ชือ่ อ�ำเภอหน่ึงในจังหวดั ห อ เสมอหลมึ่ ว. เสมอกนั , เทา่ กนั เชน่ เขา่ นครราชสีมา จากต�ำนานท้าว ฮ 302

พจนานุกรม ภาษาโคราช ปาจติ นางอรพมิ ตอนหนง่ึ กลา่ ว โชครา้ ยหมดสนิ้ ไปหรอื เบาบางลง. ก ว่า ท้าวปาจิตกับนางอรพิมจะ เสยี เคราะหไ์ มต่ ก [เสยี -เคา่ ะ- ข เดินทางกลับเขมรเกิดหลงทาง ไม-่ ตก๊ ] ก. สะเดาะเคราะหแ์ ลว้ ค พลัดกัน จนรุ่งสางจึงได้พบกัน แตไ่ ม่ไดผ้ ล. ฆ ณ ที่ตรงน้นั ต่อมาเรยี กว่า บา้ น เสียงว่า ก. ไดย้ ินหรือฟังมาว่า, พูดว่า. ง เสงิ สาง เมอื่ มกี ารยกฐานะเปน็ เส่ยี น ก. กรีด, ขว่ น, ขีด, เขย่ี นทำ� ให้ จ ก่ิงอ�ำเภอและอ�ำเภอได้ช่ือ เปน็ เสน้ (ใชแ้ ก่หน่อไม)้ . ฉ เสงิ สางตามช่อื หมบู่ า้ น. เสยี บทอ้ ง [เสยี บ-ทอ่ ง] ก. เสยี ดทอ้ ง. ช ๒. น. ฟ้าสาง, ใกลร้ งุ่ เชน่ พอ เสยี บทอ้ งยา่ ว ๆ [เสยี บ-ทอ่ ง-ยา่ ว-ยา่ ว] ซ เสงิ สางกระจา่ งแจง้ เหน็ แสงเงา ก. เสียดท้องอย่างรุนแรง, ฐ (สุภมติ ฯ). เสยี ดทอ้ งแปลบ ๆ. ฒ เสนิ , เสริญ ก. สรรเสรญิ , ยกยอ่ ง, เสียผี ๑. ดู ผัวควายเมยี ควาย. ด ยอ, เหมือนยุให้ท�ำ, พูดห้าม ๒. ก. เสียค่าปรับ, คา่ สินไหม ต มิให้ท�ำอะไรก็กลับท�ำเหมือนจะ เพ่ือขอขมาในความผิดเชิง ถ ย่ัวอารมณ์ เช่น ยง่ิ วา่ ยิง่ เสรญิ ชสู้ าวตามประเพณ,ี (ดู ผวั ควาย ท นะ, มิใช่น้อยพาราพากันเสิน เมยี ควาย ประกอบ). ธ (น.ิ พระปาจติ ), เสรญิ ขนึ้ , เสรญิ เสือก ว. ไม่น่าเป็นไปได้ เช่น ขนาด น ใหญ่ กว็ า่ , ถนิ่ อสี านใชว้ า่ ยอ้ ง. ไม่ได้ดูหนังสือยังเสือกสอบได้, บ เสรญิ ข้ึน [เสนิ -ข่ึน] ดู เสริญ. ดัน กว็ า่ . ป เสริญข้ึนยังกะข้าวค้างปี เสอื้ กะแล็ด [เสอ่ื -กะ-แล่ด] น. เสอื้ ผ [เสนิ -ข่นึ -ยงั -กะ-เขา่ -คา่ ง-ป]ี คอกระเช้า, เสื้อคอกลมกว้าง ฝ (สำ� ) ชอบยกยอปอปน้ั ; เหมอื น ไม่มีแขน ใช้เป็นเส้ือชั้นในแบบ พ ขา้ วคา้ งปที ่หี ุงข้ึนหมอ้ ดี. เก่าของผู้หญิง, ถ่ินอีสานใช้ว่า ฟ เสริญใหญ่ ดู เสริญ. เส้ือกะแหล่ง. ภ เสยี ขา้ วสกุ [เสยี -เขา่ -สกุ ] (สำ� ) เปลอื ง เสือคอยอยู่ปากถ้�ำ [เสือ-คอย-หยู่- ม ข้าวสุก, เลี้ยงดูแล้วไม่ท�ำ ปาก-ถ่�ำ] (ส�ำ) คอยตะครุบ ย ประโยชนใ์ ห.้ เหย่ือ เช่น ทหารลาวเดินทาง ร เสยี เคราะห์ [เสยี -เคา่ ะ] ก. สะเดาะ มาระยะไกล.....ทง้ั ๆ ทอ่ี ดิ โรย ยงั ฤ เคราะห์; ท�ำพิธีผ่อนคลายให้ ตอ้ งเขา้ ปา่ ไปฟนั และตดั ตน้ ไมข้ น ล ว ศ ส ห อ ฮ 303

เสือ้ จกกบ - ไสหยืด มายังค่ายอีก ตรงกันข้ามกับ แตกง่าย. ทหารไทยซง่ึ เปรยี บดง่ั เสอื ทคี่ อย แส น. รงั วดั ทด่ี นิ โดยนำ� ความยาวของ ทอ่ี ยู่ ณ ปากถำ้� (ทา้ ว ฯ). ก เส้ือจกกบ [เส่ือ-จ๊ก-ก๊บ] น. ด้านตรงข้ามของแต่ละด้าน ข บวกกนั แล้วเอา ๒ หารแต่ละ ค เส้อื กลา้ ม, เสื้อชน้ั ในของผู้ชาย ด้านเสร็จแล้วน�ำผลลัพธ์แต่ละ ฆ ไม่มแี ขน ไม่มีปก. ด้านมาคูณกันจะเป็นผลลัพธ์ ง เสอื ตบตดู [เสอื -ตบ๊ -ตดู ] น. การเลน่ ของพื้นท่ีท้ังหมด. จ แสลงทม [สะ-แหลฺ ง-ทม] ดู แสลงโทน. ฉ อย่างหนึ่ง ให้คนหนึ่งเป็นเสือ แสลงโทน [สะ-แหฺลง-โทน] น. ช ขีดวงกลมพอเหมาะ ผู้เล่นคน แสลงใจ, ไมต้ น้ ขนาดใหญ่ชนิด ซ อน่ื ยนื รมิ เสน้ ในวงกลมหา้ มออก Strych nos nuxvocima L. ใน ฐ นอกวงกลมเปน็ อนั ขาด คนเปน็ วงศ์ Strychnaceae ใบสเี ขยี ว ฒ เขม้ เปน็ มนั ดกหนาทบึ ดอกเลก็ ด เสือหมอบคลานในลักษณะ เปน็ ชอ่ สนี วล ผลกลมเมอื่ สกุ จะ ต โก้งโค้งมือท้ังสองแตะพื้นใน มีสีเหลือง รากใช้ท�ำยา เมล็ด ถ วงกลม ใช้เทา้ ป่ายหรอื เหวีย่ ง แก่แห้งใช้ท�ำยาเบ่ือ, แถลง, ท พาดถกู ใครคนนน้ั จะมาเปน็ เสอื แสลงทม, แสลงเบอื ก็วา่ . ธ น แทน (หา้ มเสอื ใชม้ อื หรอื ยนื เมอ่ื แสลงโทน บ เวลาปา่ ย) คนอน่ื ๆ จะพยายาม ป เข้าทางหัวเสือบ้าง ด้านข้าง แสลงเบอื [สะ-แหฺลง-เบือ] ดู แสลง ผ โทน. ฝ บา้ ง เพอื่ ใชม้ อื ตบทต่ี ดู เสอื , ถน่ิ พ กลางใช้ว่า เสอื ตบก้น. แสลม่ [สะ-แล่ม] ว. แฉล้ม. ฟ เส้ือเป้า [เส่ือ-เป้า] น. เสื้อยกทรง, ภ เสื้อชั้นในหญิงท่ียกเต้านมให้ ม ได้รูปทรง. ย เสือลากหาง ก. ลีลาการชกมวยไทย ร โดยปร่ีเข้าหาคู่ชกเอามือซ้าย ฤ ล ว ค�้ำคอดันให้ถอยหลัง แล้ว ศ ปล่อยมือซ้ายจากนั้นเหว่ียง ส หมดั ขวาไปท่ีก้านคอ. ห อ เสาะ [เซาะ] ว. เปราะ, หักง่าย, ฮ 304

พจนานุกรม ภาษาโคราช แสะแหยะ [แซะ-แยะ] ๑. ก. ยม้ิ เจอื่ น ๆ, ใสใ่ หญ่ ว. ใชป้ ระกอบคำ� อ่นื มีความ ก ผอมโซ เชน่ โซแซะแยะ. หมายไปในท�ำนองว่าซ�้ำเติม ข กระหน่ำ� มากย่งิ ข้นึ เช่น เกลียด ค ๒. ว. ดก, มาก. ใสใ่ หญ่ (เกลยี ดมาก). ฆ แสะแหละ [แซะ-และ] ดู สะแหละ. ง โส ๑. ว. เสีย่ ง; ก. ทำ� ไปแม้จะล่อแหลม ไส้ไก่ [ไส่-ไก่] น. ช่ือไม้เล้ือยชนิด จ Jasminum anodontum ฉ ต่อความเสียหาย เชน่ โสตาย Gagnep ในวงศ์ Oleaceae. ช (เสี่ยงตาย), โสเจ้ง (เสี่ยงต่อ ซ การขาดทนุ อย่างยอ่ ยยบั ). ไสสาว ดู ไสสา่ ว. ฐ ๒. ว. พูดคุย, สนทนา เช่น ไสสา่ ว น. การเลน่ อยา่ งหนง่ึ คลา้ ยการ ฒ น่งั โส, โสเหร่ กว็ า่ . ด โสเหร่ ดู โส ๒. เลน่ ซกั สา้ ว เปน็ การแข่งขันกนั ต โสน [โสน] ว. เฉา, เห่ยี ว. ระหว่างตัวต่อตัว หรือฝ่ายละ ถ โสนขน [สะ-โหฺน-ขน] ว. โสนชนิด หลายๆคนตามแต่จะตกลง ท Aeschynomene americana อุปกรณ์การเล่นใช้ไม้ไผ่หรือไม้ ธ Linn. ในวงศ์ Leguminosae กลมตรงยาวพอประมาณ จับ น ใบเล็กคล้ายใบมะขาม ดอก คนละข้างแล้วออกแรงไส ฝ่าย บ สเี หลอื ง ยอดและดอกกินได.้ ใดถอยล�้ำถึงเส้นที่ขีดไว้ข้าง ป ใสก่วง ว. สดใส, แจม่ ใส. หลังของแต่ละฝ่ายถือว่าแพ้, ผ ใส่ตนี หมา (ปาก) ก. ว่ิงอย่างเรว็ . ไสสาว, ไสสา้ ว กว็ ่า. ฝ ใสฟ่ นื ใสไ่ ฟ ก. ใสฟ่ นื เผาศพ; ในโบราณ พ คนท่ีไปร่วมงานศพต้องน�ำฟืน ไสสา่ ว ฟ ไปด้วย เพ่ือแบ่งเบาภาระ ภ เจา้ ภาพ. ไสสา้ ว ดู ไสสา่ ว. ม ใสหง่าว ว. วาววบั , มนั เปน็ เงา, สกุ ใส, ไสหยืด ดู สีหยืด. ย เปล่งปลัง่ , ใสแหงว่ ก็วา่ . ร ใสห่ นอง ก. กลัดหนอง. ฤ ใสแหง่ว ดู ใสหง่าว. ล ว ศ ส ห อ ฮ 305

ก ข ค ฆ ง จ ฉ ช ซ ฐ ฒ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ฤ ล ว ศ ส ห อ ฮ 306

หงอน [หฺงอน] ก. หอน, เสียงหมา หพจนานุกรม ภาษาโคราช ก หอน. ก็ว่า เช่น ให้มัวเมาน่ิงนอนจน ข เหงอื กหงาย ครน้ั พรหมทตั นอน ค หงอ็ นเงาะหง็อนหง่อ ว. แก่หงอ่ มจน นิ่งไม่ติงกาย (นิ.พระปาจติ ). ฆ หลังคอ้ ม. ง หงายเหงอื ก จ หง่อม ๑. ว. ตามประสา เช่น อยู่กิน ฉ กันหง่อม ๒ คนผัวเมีย, หง่อม หง�ำ ว. ง�ำ, คลุม, บัง, แผ่ก่ิงก้าน ช แหง่ม ก็ว่า. ปกคลุม เช่น ต้นมะม่วงหง�ำ ซ ต้นมันส�ำปะหลงั . ฐ ๒. ว. แก่ชรามากจนหลังโกง ฒ เช่น คร้ันโทเฒ่าแก่หง่อมผอม หงำ� หงืด ก. บน่ พึมพำ� , พดู เบา ๆ ใน ด ชรา (นิ.พระปาจิต), ถิ่นอีสาน ล�ำคอ. ต ใช้ว่า ง่อมหมายถึงหลังโกง, ถ หลังค่อม. หงำ� เหงอื ก ว. แก่ชราจนฟันหลุดเหลือ ท หง่อมแหงม่ ดู หง่อม. แต่เหงือก, แก่มากจนเลอะ ธ เลอื น. น หงาด ดู ซะ ๒. บ หงายเงบิ ก. หงายหลงั พรอ้ มกบั คอพบั หงนิ ฟัน ก. ยงิ ฟัน, ขะหยินฟนั ก็ว่า. ป ผ ไปข้างหลงั , หงายผล่ึง. หงินฟนั ฝ หงายชฎา [หงาย-ชะ่ -ดา] ดู หงายผง่ึ . พ หงายผง่ึ ก. หงายเกง๋ , อาการลม้ หงาย ฟ ภ หลังตึงอย่างแรงแล้วนอน ม แน่นง่ิ , หงายชฎา กว็ ่า. ย หงายเหงอื ก ก. นอนหงายทรงตวั อยู่ ร บนผวิ นำ�้ , วา่ ยนำ�้ ทา่ ตกี รรเชยี ง, ฤ นอนหงายตัวว่ายน้�ำโดยทอด ล แขนไปเหนือศีรษะแล้วใช้แขน ว ท้ังสองข้างพุ้ยน�้ำให้ตัวเคล่ือน ศ ไปแล้ว, งอยกา, เหงือกหงาย ส ห อ ฮ 307

หงึม - หนอนเลขแปด หงึม ว. น่ิงเงยี บ. Aneilema scaberrimum (Bl.) หงุ่ม ๆ ก. เดินดุ่ม ๆ, เดินท่อม ๆ, Kunth ในวงศ์ Commeli โหง่ม ๆ ก็ว่า. naceae, ถ่ินเชียงใหม่เรียก ก หงุ่ย ว. ทอดหุ่ย, ปล่อยอารมณ์ตาม ผักปลาบเขยี ว. ข หญา้ ปล้องขน [หย่า-ป้อง-ขน] ดู ผัก ค สบายโดยมไิ ดว้ ติ ก ปลาบดง. ฆ กังวลอะไร, อาการนัง่ เฉย. หญ้าเสิงสาง [หย่า-เสิง-สาง] น. ง หญา้ กบั แก้ [หยา่ -กับ๊ -แก้] ดู หญา้ ยา่ นลิเภา, ไมเ้ ถาจำ� พวกหญา้ , จ ถนิ่ อีสานเรียก กดู . ฉ นกเขา. หญ้าหัวหงอก [หย่า-หัว-หฺงอก] น. ช หญ้าขวากกระต่าย [หย่า-ขวก-กะ- แห้วชนิด Cyperus dubius ซ ตา่ ย] น. หญ้ากระจาม, หญา้ Rottb. ในวงศ์ Cyperaceae ฐ กระต่ายจาม, กระต่ายจันทร์; ขึ้นตามท่ีแฉะ. ฒ หญิงซำ�้ สาม [หยิง-ซ�่ำ-สาม] (สำ� ) น. ด ไม้ล้มลุกขนาดเล็ก ชนิด หญิงท่ีเลิกร้างแล้วกลับมา ต Centipeda minima (L.) A. แต่งงานใหม่ถึง ๓ ครั้ง, ใช้พดู ถ Braun et Asch. ในวงศ์ เชิงต�ำหนิว่าเป็นคนที่ไม่น่าคบ ท Compositae ขึ้นตามพื้นที่ ตรงกบั สำ� นวน “หญงิ สามผัว” ธ เช่น เป็นหญิงซ้�ำสาม เห็น น ล่มุ ตำ่� , แฉะ, ต้นเต้ียคลา้ ยตน้ ชายลวนลาม แต่ตามเภอใจ บ ผักเบี้ย ปลายใบแหลมคม, (น.ิ รปู ทอง). ป เหมอื ดโลด กเ็ รียก. หดง่าว [ฮด-ง่าว] ก. หดจู๋, หดส้ัน ผ เข้ามามาก, กลัวจนหัวหด, ฝ หญ้าไซ [หยา่ -ไซ] น. หญา้ ชนดิ หนึง่ กลวั มาก, ฮดยา่ ว กว็ ่า. พ ข้ึนตามหนองน�้ำ มักใช้เป็น หดย่าว [ฮด-ย่าว] ดู หดงา่ ว. ฟ อาหารม้า. หทยางค์ น. หทยั , ใจ, หัวใจ เช่น รำ� ภ โหยโหกหทยางค์ไม่สร่างสม ม หญา้ ธปู [หยา่ -ทูบ] ดู ก๊กลำ� พัน. (สภุ มิต ฯ). ย หญ้านกเขา [หยา่ -นก่ -เขา] น. หญ้า หน่วยตา น. ลูกตา , ลกู นัยน์ตา เชน่ ร ฤ ชนิด Echnochloa colonum ล (L.) Link ในวงศ์ Gramineae ว นักพฤกษศาสตร์เรียก หญ้า ศ ขา้ วนก, หญ้ากบั แก้ กว็ า่ . ส หญา้ ใบไผ่ [หยา่ -ไบ-ไผ]่ น. ไม้ลม้ ลุก ห อ ในกลุ่มต้น “ปลาบ” ชนิด ฮ 308

พจนานุกรม ภาษาโคราช เพ่งนัยนาด้วยตากแดดหน่วย และให้เปล่ียนเป็น “หนองบุญ ก ตาลาย (น.ิ พระปาจิต). มาก”. ข หนว่ ยหน่า ดู หน่วยแหน่. หนองหัวควาย [หฺนอง-หัว-ควย] น. ค หน่วยแหน่ น. น้อยหน่า, นิแหน่, ชอ่ื หมบู่ า้ นอยใู่ นอำ� เภอปกั ธงชยั ฆ หน่วยหนา่ กว็ ่า เชน่ ต้นหนว่ ย ปัจจุบันเปลี่ยนเป็น “ศีรษะ ง โหน่งปนหน่วยหน่าอินทนิน กระบือ”. จ (น.ิ พระปาจติ ). หน่อแตด น. ค�ำด่า; มักใช้แก่ผู้ชาย ฉ หน่วยโหน่ง น. น้อยโหน่ง, นิโหน่ง เชน่ ไอห้ นา่ หนอ่ แตด. ช ก็ว่า. หน่อถ่วั น. ถวั่ งอก. ซ หนหวย ก. ร�ำคาญ. หนอนกระดืบ น. การเล่นอย่างหน่ึง ฐ หนองน้อย ๆ กอไผ่ล้มทับ [หฺนอง- แบ่งผู้เล่นเป็นแถวเท่า ๆ กัน ฒ น่อย-น่อย-กอ-ไผ่-ล่ม-ทั่บ] น่ังลงเป็นแถวตอน คนท่ีนั่งอยู่ ด (ปรศิ ) ตา. ข้างหลังใช้เท้าท้ังสองเกี่ยวเอว ต หนองบุญมาก น. ช่ืออ�ำเภอหน่ึงใน คนอยู่หน้าต่อ ๆ กันจนหมด ถ จังหวัดนครราชสีมา เดิมช่ือ แถว แข่งกันโดยใช้ก้นกระเถิบ ท อ�ำเภอหนองบุนนาก เพราะมี ไปและมือช่วยยันแต่อย่าให้ ธ ต้นบุนนากขึ้นอยู่มาก ต่อมา แถวแตก ฝ่ายไหนถึงเส้นชัย น หลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ เจ้า ก่อนเป็นผู้ชนะ. บ อาวาสวัดบ้านไร่ อ�ำเภอ ป ดา่ นขุนทด ได้บริจาคเงนิ สร้าง หนอนเลขแปด ผ ที่ว่าการอ�ำเภอเป็นรูปทรงไทย ฝ และเห็นคำ� ว่า “นาก” ฟงั แลว้ หนอนเลขแปด น. การเลน่ อยา่ งหนง่ึ พ น่ากลัวเพราะไปพ้องกับนิยาย ขีดวงกลม ๒ วงตดิ กนั เปน็ เลข ฟ แ ล ะ ห นั ง ผี เ ร่ื อ ง แ ม ่ น า ค ๘ วงโตเท่าใดนั้นกะโดยผู้เล่น ภ พระโขนง จึงแนะนำ� ใหเ้ ปลย่ี น ม ชื่อเป็น “หนองบุญมาก” ดูจะ ย เป็นสิริมงคลเพราะเป็นเร่ือง ร บุญกุศล บุญบารมีที่มาก ซ่ึง ฤ กระทรวงมหาดไทยเห็นชอบ ล ว ศ ส ห อ ฮ 309

หน่อแนว - หน้ามืดกลุ้ม ยนื ชดิ กนั กลางวง ห่างเส้นรอบ หนงั สอื ใหญ่ น. หนงั สอื บาลที เี่ ปน็ หลกั วงหน่ึงช่วงแขน ให้คนหนึ่งวิ่ง คำ� สอนในพระพทุ ธศาสนาจารกึ ไต่เส้นไล่แตะคนท่ีอยู่ในวงกลม เป็นอกั ษรขอม. ก ท้งั สอง แตะถูกคนใด หรอื คนที่ ข อยู่ในวงกลมวิ่งหนีไปเหยียบ หนังหัวเกวยี น [หนฺ งั -หัว-เกยี น] (ส�ำ) ค ข้ตี ระหนี,่ ขเ้ี หนยี ว; เปรยี บได้ ฆ เสน้ ถือว่า “ตาย” จะเปลยี่ นมา กบั หนงั ทค่ี าดหวั ววั เทยี มเกวยี น ง เปน็ ผ้ไู ลแ่ ทน. ท่ีมีความเหนียวมาก, (ดู หนัง จ หน่อแนว ดู แนว. หัวไถ ประกอบ). ฉ ช หน่อไม้ชุบ [หน่อ-ม่าย-ชุ่บ] น. ซุบ หนังหัวไถ น. เชอื กท่ฟี ั่นจากหนังสตั ว์ ซ หน่อไม้. ใช้ขันหัวเกวียน ส�ำหรับผูก ฐ คราดไถ, หนังหัวเกียน กว็ ่า. ฒ หน่อไม้ส้ม [หน่อ-ม่าย-ส่ม] น. ด หน่อไม้ดองมีรสเปรย้ี ว. หน้า [หน่า] น. ส่วนของศีรษะตั้งแต่ ต หนกั เขา้ [นกั -เขา่ ] ว. สดุ ทา้ ย, ในทสี่ ดุ , หน้าผากลงมาจดคาง. ถ หลาย ๆ คร้งั . ท หน้ากะหยูด น. หน้านิ่วค้ิว ธ หนักต้งึ [นัก-ตงึ้ ] ว. หนักมาก, หนกั ขมวด, (ดู กะหยดู ประกอบ). น อยา่ งเตม็ ก�ำลงั , หนักเตม็ แอด้ . บ หนกั เปรยี้ ะ [นัก-เปร้ยี ะ] ว. หนกั มาก, หนา้ เครง่ [หนา่ -เคง่ ] น. สหี นา้ ป บึ้งตงึ , สีหน้าเคร่งเครียด. ผ หนกั อย่างเตม็ ก�ำลัง. ฝ หนกั หนา้ [นกั -หน่า] ว. ยิง่ แย.่ นบั วัน หน้าเคร่งเปร๊ียะ [หน่า-เค่ง- พ ยิ่งแต่แย่. หนักหน้าพอปาน เปี๊ยะ] น. หน้าบึ้งตึงมาก, ฟ หาบนุ่น กว็ า่ . สหี นา้ เครง่ เครยี ดมาก, หนา้ นว้ิ ภ คิว้ ขมวด. ม หนักหน้าพอปานหาบนุ่น [นัก-หน่า- ย พอ-ปน่ั -หาบ-นนุ่ ] ดู หนกั หนา้ . หน้างอด [หน่า-งอด] ว. ร หนกั หวั แมม่ งึ [นกั -หวั -แม-่ มงึ ] ก. มกั หน้างอ, หน้าบง้ึ , แสดงสหี น้า ฤ ไม่พอใจ หรือโกรธอย่าง ล ใชเ้ ปน็ คำ� ประชดทำ� นองวา่ หนกั แสนงอน. ว กบาลใคร, หนักหัวแม่มึงหรือ หนา้ ง้�ำ [หนา่ -งำ่� ] ว. หน้าเงา้ ศ เช่น ฉันจะไปไหนมันนักหัวแม่ หนา้ งอ. หนา้ งำ�้ หนา้ งอด, หน้า ส มึงนี (ฉันจะไปไหนก็เป็นเรื่อง เงา้ หนา้ งอด กว็ ่า. ห อ ของฉัน มนั หนักกบาลใคร). หน้าง้�ำหน้างอด [หน่า-ง�่ำ- ฮ 310

พจนานุกรม ภาษาโคราช หน่า-งอด] ดู หน่าง�ำ่ . มามชี อ่ งสเ่ี หลย่ี มใหล้ มเขา้ ออก หน้าเง้าหน้างอด [หน่า-เง่า- และเปน็ พื้นเกบ็ ขเ้ี ถา้ , (ดู ปาก หน่า-งอด] ดู หนา่ ง�ำ่ . เตา ประกอบ). หน้าแง [หน่า-แง] น. หน้า หน้าบานเท่ากระด้ง [หน่า- ก ผาก, ถิ่นอีสานใช้ว่า หน้าแง บาน-เท่า-กะ-ด้ง] (ส�ำ) หน้า ข ค หมายถึงแสกหน้า. บาน, ได้หน้า, ท�ำหน้าแสดง ฆ หน้าโง่ตะโกสะ [หน่า-โง่-ตะ- อาการดีใจที่มีคนชม. ง โก-ซะ] (สำ� ) ว. ใช้เปน็ ค�ำด่าว่า หน้าเบิด [หน่า-เบิด] ก. จ ฉ หน้าโง,่ (ดู ตะโกสะ ประกอบ). เชิดหนา้ . ช หนา้ จดื จอ่ งหลอ่ ง [หนา่ -จดื -จอ่ ง- หนา้ เปล่ียนสี [หน่า-เปย่ี น-ส]ี ซ หลฺ ่อง] ดู หน่าจดื จอ๋ งหลอ่ ง. น. หน้าซดี ไปจากปกติ. ฐ หนา้ จืดจอ๋ งหลอง น. หนา้ ซดี หนา้ เผกิ [หนา่ -เผกิ ] น. หนา้ ผาก. ฒ ด เผอื ด, หนา้ ถอดสอี ยา่ งเวลาถกู หน้ามนทนหนาว หน้ายาวทน ต จับผิดได้ ตกใจ กลัว หรอื ผิด ร้อน [หน่า-มน-ทน-หนาว- ถ หวงั , หนา่ จดื จอ่ งหลอ่ ง, หนา่ จดื หนา่ -ยาว-ทน-ลอ่ น] (ปรศิ ) น. ท ธ เหมอื นไกต่ ม้ กว็ า่ . ขัน, ทพั พ.ี น หน้าจืดเหมือนไก่ต้ม [หน่า- หน้ามอด [หน่า-มอด] น. หน้า บ จดื -เหมฺ อื น-ไก-่ ตม้ ] ดู หนา้ จดื เป็นรอยแผลเป็นเต็มไปหมด ป ผ จอ๋ งหลอง. หรือเป็นรอยอย่างมอดเจาะ ฝ หน้าตกวาบ [หน่า-ต๊ก-วาบ] เพราะโรคบางอยา่ ง เชน่ ฝดี าษ, พ อสี ุกอีใส. ฟ ว. หน้าถอดสีในทันที, สีหน้า หน้าม้าหมากรุก [หน่า-ม่า- ภ ตกในทันที, หน้าซีดในทันที. หมาก-ลกุ ] ว. หนา้ งอ, หนา้ เงา้ . ม หนา้ หักวาบ กว็ า่ . หน้ามึน [หน่า-มึน] ก. ท�ำ ย หน้าตัง้ [หนา่ -ตั้ง] ก. วงิ่ หนา้ เฉยชาอยา่ งไม่เช่อื ฟังใคร. ร ตนื่ , วง่ิ หนา้ เชดิ . ฤ ล หนา้ ตาบ [หนา่ -ตาบ] น. หนา้ หนา้ มดื กลมุ้ [หนา่ -มดื -กมุ้ ] ๑. ว เป็นแผลเปน็ . ว. หน้ามืด, มัวตาดูอะไรพร่า ศ หน้าเตา [หน่า-เตา] น. ส่วน ไปหมด. ส ห ลา่ งของเตาองั้ โลต่ งั้ แตร่ งั ผงึ้ ลง ๒. (สำ� ) มดื แปดดา้ น, จนปญั ญา อ ฮ 311

หน้าสน้ ตีน - หนิงหนอ่ ง มองไมเ่ หน็ ทางแกป้ ญั หา. Oliv ในวงศ์ Compositae. หน้าสน้ ตีน [หนา่ -ส่น-ตีน] ว. หนาดตะกว่ั น. ชอ่ื ไมต้ น้ ขนาดเลก็ ชนดิ ใชเ้ ปน็ คำ� ดา่ เพอ่ื เปรยี บเทยี บวา่ ก ต�่ำเหมือนส้นเท้าหรือหน้า Chloradenenia discolor ข เหมอื นสน้ เทา้ . Baill., Cladagynos srientalis ค หน้าสลอน [หน่า-สะ-หฺลอน] Zipp. ex Spanoghe ในวงศ์ ฆ ก. เสนอหนา้ , เหน็ เดน่ สะพรงั่ . Euphorbiaceae ใบเดยี่ ว ราก ง หนา้ สะหวอก [หนา่ -สะ-หวอก] ขนาดหัวแม่มือมีรสขม แก้จุก จ ว. หนา้ ซีด, มสี หี น้าซดี ขาว. เสียดแน่นเฟ้อ ปวดท้อง ท้อง ฉ หน้าเสมอหลึ่ม [หน่า-สะ- ร่วง ผสมกับมหาหิงคุ์แก้ท้อง ช เหฺมอ-หฺล่ึม] ว. ตีหน้าตาย, อดื นกั พฤกษศาสตร์เรียก เจต ซ หนา้ ด้านหน้าทน. พังค,ี เปลา้ เงิน, ตะเกีย กว็ ่า. ฐ หนา้ หลมึ่ [หน่า-หฺล่มึ ] ว. หน้า ฒ ทะเล้น, หนา้ ทะลงึ่ . หนาดตะกว่ั ด หน้าหักวาบ [หน่า-ฮัก-วาบ] ต ว. หน้าถอดสีในทันที, สีหน้า หนาดแห้ง [หนาด-แห่ง] น. ว่าน ถ ตกในทันที, หน้าซีดในทันที, มหากาฬ;ไม้ล้มลุกมีหัวชนิด ท หน่าต๊กว่าบ กว็ า่ . Gynura pseudochina (L.) ธ DC. ในวงศ์ Compositae น ใบเดย่ี วปลายแหลมจะแตกออก บ ท่ีโคนต้น ดอกเป็นช่อสีเหลือง ป ส้ม ผลรปู ทรงกระบอกใบใชท้ �ำ ผ ฝ หนา้ หี [หน่า-หี] ว. เปน็ ค�ำดา่ พ ท�ำนองว่าเป็นคนหมกมุ่นใน ฟ กามารมณ.์ ภ หนา้ ใหญ่ [หน่า-ไหย่] ว. หน้า ม ใหญ่ใจโต, มีใจกว้างใช้จ่าย ย ฟุ่มเฟือยเกินตัวเพื่ออวดมั่งม.ี ร หนา้ ใหญน่ สิ ยั แมว [หนา่ -ไหย-่ ฤ ล ว น-ิ สยั -แมว] ว. คำ� เปรยี บบคุ ลกิ ศ ของคนโคราช วา่ ใจกวา้ ง ดอื้ รนั้ . ส หนาดงัว น. ชือ่ ไม้ล้มลุกชนดิ Le gera ห อ alata (D. Don) Sch. Bip. ex ฮ 312

พจนานุกรม ภาษาโคราช ยาได้ แก้โรคไฟลามทุง่ ใบคั้น ไข่ ดอกเดยี่ วสเี หลอื งออกตาม เปน็ น้ำ� แกเ้ จ็บคอ. ง่ามใบ, หนามเกี่ยวไก่, หนาม นมงวั , โกโรโกโส ก็ว่า. ก หนามเกาะไก่ ข ค หนาดแห้ง หนามเกยี่ วไก่ ดู หนามเกาะไก.่ ฆ หนามนมงัว ดู หนามเกาะไก.่ ง หนาเตอะ [หนา-เตอ๊ ะ] ว. มคี วามหนา หนามเปรียง น. เถาวัลยเ์ ปรียง, เครอื จ มาก. ฉ หนามเปรียง. ช หนาน น. แปลง เชน่ หนานพกั (แปลง หนามพงุ แก ดู เก่ยี วคอไก่. ซ ผัก), หนานดอกไม่ (แปลง หนามสะ [หนาม-ซะ] น. ร้ัวที่ใช้ไม้มี ฐ ดอกไม้). ฒ หนามสะหรือสุมกน้ั ไว.้ ด หนามกราย น. ขี้อา้ ย, กำ� จาย; ไมต้ ้น หนามเหลี่ยม น. ชื่อไม้เถาในกลุ่ม ต ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ชนิด ถ Terminalia triptera Stapf ใน “หนามขี้แรด” ชนิด Aca ท วงศ์ Combretaceae ใบเด่ยี ว ciacomosa Gagnep ในวงศ์ ธ ดอกเปน็ ชอ่ อยปู่ ลายกง่ิ เปลอื ก Leguminosae นกั พฤกษศาสตร์ น ชั้นในสีแสด รสฝาด ใช้เคี้ยว เรยี ก หนามหนั , ถน่ิ ลำ� พนู เรยี ก บ หมาก, หางกราย กว็ า่ . หนามเออื้ ง. ป หนา่ มึงหนา่ ว. นะมงึ นะ เช่น ระ่ วงั หนา่ ผ หนามเกาะไก่ [หนาม-เก๊าะ-ไก่] น. มึงหนา่ เดยี๋ วแมวมาก๊ัดกระโปก ฝ ไก่ไห้, กะอิด, งวงช้าง, งัวเลยี , มึงเดอ้ (กล่อมเด็ก). พ ตะลุม่ อิด; ไมพ้ ุ่มขนาดเล็กชนิด หนิงหน่อง [นิ้ง-หน่อง] (ปาก) น. ฟ Capparis afl vicans Kurz ใน เครื่องก้ันถนนข้ามทางรถไฟ ภ วงศ์ Capparidaceae ข้ึนใน ม ป่าเบญจพรรณและป่าละเมาะ ย ลำ� ตน้ และกง่ิ กา้ นมหี นาม ใบรปู ร ฤ ล ว ศ ส ห อ ฮ 313

หนบี - หมอต�ำรา เพ่ือบอกสัญญาณ เสียงจะดัง เมิ้ดกล้ากแ็ ลว้ นา ก็ว่า. นิ้งหนอ่ ง. หมดจาก [มด-จาก] ว. หมดไมเ่ หลือ, หนีบ ก. เหนบ็ หรอื สอดสง่ิ ของใส่พก หมดสน้ิ เชน่ กินเมดิ้ จาก, ตาย ก ตดิ ตวั ไป เชน่ พกั บงุ้ หลน่ ใบ ผวั เมิด้ จาก. ข จไิ ปเหล่นโบก หนบี หมากใสพ่ ก หมดจิสำ่� [มด-จิ-ส่�ำ] ว. โดยปรยิ าย ค ฆ พันพลูตอ้ ใหผ่ ัว (กลอ่ มเดก็ ). หมายถึงระอาใจ, เบ่ือหน่าย, ง หนึบหนบั [นบ่ึ -นับ่ ] ว. เหนยี วหนบึ , อ่อนใจ. จ หมดตดู [มด-ตดู ] ว. หมดเนอ้ื หมดตวั , ฉ เหนยี วและเนือ้ แนน่ . ช หนยุ ว. ซวย, โชคไมด่ .ี หมดเงิน. ซ หนกู ดั เสอื่ แลว้ จงึ รคู้ ณุ แมว [หน-ู กด๊ั - หมดบอ้ [มด-บ้อ] ว. หมดทา่ , หมด ฐ ฒ เส่ือ-แล่ว-จึง-ลู่-คุน-แมว] หนทาง, จนปัญญา. ด (สำ� ) เมอื่ ผดิ พลาดแลว้ จงึ นกึ ถงึ หมดบ่อน [มด-บ่อน] ว. หมดท่ีจะ, ต ความดที ี่ผู้อืน่ ท�ำให้แก่ตน. หมดอาลัย, หมดปัญญาท่ีจะ, ถ หนูนา ดู หนูปกุ . หมดหนทาง เชน่ หมดบ่อนพดู ท หนปู กุ [หน-ู ปกุ่ ] น. หนพู กุ , หนนู า กว็ า่ . (หมดที่จะพดู , หมดปัญญาที่จะ ธ น หม่งเหม่ง น. วงมโหรีที่ใช้ประโคมใน พดู ), หมดบ่อนไป (หมดทีจ่ ะไป, บ งานศพ เรียกตามเสียงกลอง หมดทางไป), เมด้ิ บอ่ น ก็ว่า. ป และฆ้อง ประกอบด้วยป่ี กลอง หมดปี [มด-ป]ี ว. โดยปริยายมคี วาม ผ ฝ ฆ้องโหม่ง ฆ้องหึ่ง เสียงปี่จะ หมายในท�ำนองว่า ท้ังปี, มี พ โหยหวนเยอื กเยน็ . พฤติกรรมเช่นนั้นตลอด; เป็น ฟ หมดกันเท่าไหร่ [มด-กัน-เท่า-ไหล่] คำ� พดู ในทำ� นองดแู คลนวา่ ไมไ่ ด้ ภ ว. รวมกันมีจ�ำนวนเท่าไร, เร่ือง, หมดปีหนองอีแหนบ ม ทงั้ หมดราคาเท่าไร. ก็วา่ . ย หมดกล้าก็แล้วนา [มด-ก้า-ก็-แล่ว- หมดปีหนองอีแหนบ [มด-ปี-หฺนอง- ร นา] (สำ� ) ว. เม่อื หมดหรอื ไม่ม ี อ-ี แหฺนบ] ดู หมดปี. ฤ ล ว อุปกรณ์จะท�ำ ภารกิจก็จ�ำต้อง หมดแรงขา้ วต้ม [มด-แลง-เขา่ -ตม้ ] ศ แลว้ เสรจ็ ไปโดยปรยิ าย; เปรยี บ ว. หมดแรงอย่างอ่อนเปล้ีย, ส ไดก้ บั เมอ่ื หมดกลา้ ขา้ วทจ่ี ะปลกู เพลยี มาก. ห อ การท�ำนาก็จ�ำต้องแล้วเสร็จ, หมวง [หมฺ วง] น. ข้องสำ� หรับใส่สตั ว์ ฮ 314

พจนานุกรม ภาษาโคราช น�้ำ เช่น ป,ู ปลา. ที่ต้ังหม้อข้าวจนเดือด, (ดู ก ชั่วหม้อข้าวเดือด ประกอบ). ข หมวง หมอ้ ธาตุ [หมอ่ -ทาด] น. หมอ้ ค ดินเผาเอาไฟใส่เพื่อท�ำพิธี ฆ หมวงเป็ด ฌาปนกจิ ศพ เรยี กวา่ “หมอ่ ไฟ” ง ก็มี, บางท้องที่แบ่งกระดูก จ หมวงเป็ด [หฺมวง-เป๊ด] น. คนตายส่วนหน่ึงหลังจากเผา ฉ ข้องรปู คลา้ ยเป็ด. น�ำมาใส่หม้อดินเผาเอาผ้าขาว ช ปิดแล้วน�ำไปฝังดนิ ซ หมอ ส. สรรพนามบุรษุ ที่ ๓ แทนผ้ทู ่ี หม้อโล [หม่อ-โล] น. หม้อ ฐ พดู ถงึ เช่น พดู หรือคุยถงึ เรอื่ ง อลมู ิเนียม. ฒ จ่าแดง แล้วพูดว่า “หมอได้ หมอ้ เหลก็ [หมอ่ -เลก็ ] น. หมอ้ ด เลอ่ื นตำ� แหนง่ (จ่าแดงได้เลือ่ น ท่ีท�ำด้วยโลหะเคลือบ มีหูร้อย ต ตำ� แหนง่ )”, หมอน่ี ก็วา่ . หวิ้ ได้ใช้ใส่แกง, หุ้งต้ม. ถ หม้อไหแตกแล้วแตกไปหา ท หม้อ [หม่อ] ภาชนะประเภทหนึ่งมี ใหม่ซ้ือมา [หม่อ-ไห-แตก- ธ รูปทรงต่าง ๆ ใช้ส�ำหรับใส่ของ แลว่ -แตก-ไป-หา-ไหม-่ ซอื่ -มา] น หรือใช้งานบางอย่างเช่นหุง (ส�ำ) เงินทองของนอกกาย บ หรือต้ม. ไม่ตายหาใหม่ได้, เสียแล้ว ป เสียไปเร่ิมต้นหาใหม่ทดแทน, ผ หม้อข้าวเดือด [หม่อ-เข่า- อย่าอาลัยกับส่ิงท่ีสูญเสียไป ฝ เดือด] น. ระยะเวลาประมาณ แล้ว ต้ังตน้ ใหมจ่ ะดีกวา่ . พ ๑๐-๑๕ นาท;ี มาจากระยะเวลา หมอ่ ง น. บริเวณ, ย่าน, ท่,ี แถบ เช่น ฟ อยหู่ ม่องไหน (อยูแ่ ถบไหน, อยู่ ภ ย่านไหน). ม หมอตอนควาย [หมอ-ตอน-ควย] น. ย ผ้ชู �ำนาญในการตอนหรือขยาย ร พนั ธค์ุ วาย. ฤ หมอต�ำรา น. หมอดู. ล ว ศ ส ห อ ฮ 315