ฟาก - ไฟไหม้ป่า ไมไ่ หม้หอ่ หมก ๒,๐๐๐ ช่อง. แปลบ๊ ๆ กว็ า่ . ฟาก ว. เป็นค�ำปฏิเสธในท�ำนองว่า ฟ้าแมง [ฟา่ -แมง] น. ช่ือไม้พมุ่ ชนดิ ไม่มีทาง, เป็นไปไม่ได้ เช่น ก ฟากเถ้อะ (ท�ำไปเถอะไม่มีทาง Dipteracanthus repens ข เป็นไปได้). Hassk ในวงศ์ Diptero ค carpaceae นักพฤกษศาสตร์ ฆ ฟาด ก. กิน, รว่ มประเวณี, ตอ่ ย, ชก. เรียก จ้ำ� หอม. ง ฟาน น. เกง้ , สัตวจ์ �ำพวกกวางตัวเล็ก. ฟา้ แลน่ [ฟา่ -แลน่ ] ว. ฟา้ แลบ, ฟา้ ลนั่ จ ฟา้ แปล๊บ ๆ [ฟา่ -แปบ๊ -แปบ๊ ] ดู ฟา้ ตดิ ตอ่ กัน. ฉ ฟติ [ฟด่ิ ] ๑. ก. ขยันฝึกซ้อม, เตรียม ช แพลบ ๆ. ตวั อยา่ งแขง็ ขัน. ซ ฟ้าผ่าลงดิน [ฟ่า-ผ่า-ลง-ดิน] ก. ๒. ว. คับ (มกั ใช้แกก่ ารสวมใส่ ฐ เสือ้ ผา้ ). ฒ ฟ ้ า ผ ่ า โ ด ย ก ร ะ แ ส ไ ฟ ห รื อ ฟิตเปรี๊ยะ [ฟิ่ด-เปย๊ี ะ] ๑. ก. ด อิเลก็ ตรอนลงพ้นื ดนิ . ฝกึ ซอ้ มหนัก, เตรียมตวั เต็มที.่ ต ฟ้าผ่าหัวปลาหมอ [ฟ่า-ผ่า-หัว-ปา- ๒. ว. คับมาก, คับจนเสอื้ ผ้าท่ี ถ หมอ] น. ฤดทู ี่ปลาหมอชกุ ชมุ สวมใส่ตงึ รดั . ท หวั ปลาจะทิ้งเกล็ด; (สำ� ) ฝนส่ัง ฟืมฟนั ปลา น. ฟมื ทอเส่อื มฟี นั เปน็ ซๆี่ ธ คล้ายฟนั ปลา. น ฟา้ , ฝนตกหนกั และลมแรงตอน ฟมื รู น. ฟมื ทอเส่อื โดยเจาะรูกับเซาะ บ ปลายฤดฝู น, ฟา้ ผา่ หวั ปลาหมอ เปน็ ร่องสลับหนา้ หลงั เวลาทอ ป ลมหกั คอไมห่ ลม่ึ , ฟา้ ผา่ หวั ปลา ต้องใชค้ น ๒ คน คนหนึ่ง คอย ผ กระทบฟืมอีกคนคอยสอดเส้น ฝ หมอหกั คอหน่อไม้ ก็ว่า. กก คนสอดเสน้ กก เรยี กวา่ คน พ ฟ้าผ่าหัวปลาหมอ ลมหักคอไม่หล่ึม พุ่ง. ฟภ ฟสุ แก๊ป [ฟดุ่ -สะ-แก่บ] น. กระดาษ ม [ฟ่า-ผ่า-หัว-ปา-หมอ-ลม- ฟลุ สแกป๊ ; กระดาษสขี าว มเี สน้ ย ฮัก-คอ-ไม่-หล่ึม] ดู ฟ้าผ่า บรรทัด พับทบกลาง ขนาด ร หัวปลาหมอ. ประมาณ ๔๓ x ๓๔ เซนตเิ มตร ฤ ฟ้าผ่าหัวปลาหมอ หักคอหน่อไม้ ใ ช ้ ส� ำ ห รั บ เ ขี ย น ห นั ง สื อ , ล [ฟ่า-ผ่า-หัว-ปลา-หมอ-ฮัก- ว คอ-หน่อ-ม่าย] ดู ฟ้าผ่าหัว ศ ปลาหมอ. ส ฟ้าแพลบ ๆ [ฟ่า-แพบ-แพบ] ก. ห อ ฟา้ แลบเป็นแสงแวบ ๆ, ฟ้า ฮ 216
พจนานุกรม ภาษาโคราช (อ.Foolscap) ไฟเขยี วไฟแดง (ปาก) น. ไฟสญั ญาณ ก ฟกู เพาะเบาะหมอน [ฟกู -เพาะ-เบา๊ ะ- จราจร เช่น ธนาคารอยู่ตรงไฟ ข เขียวไฟแดง (ธนาคารอยู่ตรง ค หมฺ อน] น. ฟกู เบาะเมาะหมอน, ไฟสญั ญาณจราจร). ฆ เครื่องนอน เช่น ฟูก หมอน ง ผ้าห่ม เป็นต้น, ฟูกเมาะเบาะ ไฟธาตแุ ตก ก. อาการทุรนทุรายของ จ หมอน กว็ า่ เชน่ อกี จด๊ั แจงทลี่ บั คนกอ่ นจะตาย. ฉ ท่ีนอน ฟูกเพาะเบาะหมอนเร็ว ช ไว (ช้าเจ้าหงส์). ไฟประลัยลน น. ไฟประลัยกลั ป์, ไฟที่ ซ ฟกู เมาะเบาะหมอน [ฟูก-เมาะ-เบา๊ ะ- เช่ือว่าเป็นไฟล้างโลกเมื่อส้ิน ฐ หฺมอน] ดู ฟูกเพาะเบาะหมอน. กัป, มักเปรียบเทียบกับความ ฒ ฟมู ฟอง ว. ฟูม, ฟเู ป็นฟองขึ้นมา เช่น โกรธ เช่นในอกพ่อน้ีเหมือนไฟ ด น�้ำเนตรฟูมฟอง อาบพระ ประลัยลน (น.ิ พระปาจิต). ต พักตรา (นิ.รปู ทอง). ถ เฟ่ียฟาน ดู เพ่ยี ฟาน. ไฟไหมป้ า่ ไม่ไหม้ห่อหมก [ไฟ-ไหม-่ ท ปา่ -ไม-่ ไหม-่ หอ่ -มก] (ปรศิ ) น. ธ จอมปลวก. น บ เฟย่ี ฟาน เฟี่ยฟาน ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ฤ ล ว ศ ส ห อ ฮ 217
ก ข ค ฆ ง จ ฉ ช ซ ฐ ฒ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ฤ ล ว ศ ส ห อ ฮ 218
ภพสาม น. พรหมโลก; สามโลกหรอื ภพจนานุกรม ภาษาโคราช ก สามภพ โลกทัง้ ๓ คือ มนุษย์ สาวกท้ังหลาย ทูลเป็นภิปราย ข โลก เทวโลก และพรหมโลก แก่พระศาสดา (นิ.กศุ ราช). ค เช่น สมเด็จองคส์ ัตว์ทพ่ี ่ึงในภพ ภูเขาสูงย่อมมีหญ้าข้ึน [พู-เขา-สูง- ฆ สาม (นิ.พระปาจติ ). ย่อม-ม-ี หยา่ -ขึ่น] (ส�ำ) น. ผู้ ง สงู ศกั ดย์ิ อ่ มมบี รวิ ารเสรมิ บารมี จ ภาษา น. ประเทศ, ชาติ มักพูดวา่ ตา่ ง เชน่ เกยี รตคิ ณุ ของฝา่ บาทยอ่ ม ฉ ชาตติ า่ งภาษา เชน่ ทกุ ภาษาพา สูงประดุจภูเขาหลวง มิไยท่ี ช กนั ว่าภัยอย่ามี (น.ิ พระปาจิต). หยอ่ มหญา้ ไปขนึ้ เพมิ่ เสรมิ ใหส้ งู ซ ขน้ึ (ท้าว ฯ). ฐ ภาษาซือ่ ดู พายซื่อ. ภูเขาเหล่ากา [พู-เขา-เหฺล่า-กา] ฒ ภาษดี อกหญ้า [พา-ส-ี ดอก-หย่า] น. ว. ภูเขาเลากา, มาก; น. กอง ด สูงมาก มักใช้เปรียบว่าเป็น ต ภาษบี ำ� รงุ ทอ้ งท่.ี ดั่งภูเขา เช่น กองเป็นภูเขา ถ ภิปราย ก. อภปิ ราย, พดู ชีแ้ จงแสดง เหล่ากา. ท ภตู ผปี ีศาจ น. ผ,ี อมนษุ ย.์ ธ เหตุผลอย่างละเอียด เช่น ข้า น เห็นมิควรแก่โฉมฉาย ข้าจึง บ ภิปราย คิดว่าจะคลายโกรธา, ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ฤ ล ว ศ ส ห อ ฮ 219
ก ข ค ฆ ง จ ฉ ช ซ ฐ ฒ ด ต พลับพลาทีป่ ระทับ ในพิธเี ปดิ ถนนจอมสุรางค์ยาตร์ ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ฤ ล ว ศ ปะรำ� ส�ำหรับพิธเี ปดิ ถนนจอมสรุ างค์ยาตร์ ส ห อ ฮ 220
มรคา [มอ-ละ-คา] ๑. น. มรรคา, ทาง, มพจนานุกรม ภาษาโคราช ก ถนน, เขียนเป็น มอระคา ก็มี ชกกนั ตอ่ มาใชผ้ า้ ดา้ ยดบิ แชน่ ำ�้ ข เช่น ว่าทา่ นขามอระคาเขาเดนิ ขา้ วเพอื่ ใหแ้ ขง็ พนั มอื เชน่ ครนั้ ค ไหน (นิ.พระปาจติ ). เปรียบแล้วสรรพเสร็จได้เจ็ด ฆ คู่......เอาด้ายดิบคาดมัดเข้า ง ๒. น. รถยนต์ เพี้ยนมาจากคำ� ทนั ที (นิ.พระปาจิต). จ วา่ มอเตอรค์ าร์ (อ.motorcar). มวยไมเ่ ต็มบาท น. มวยท่ีได้คา่ ชกคูล่ ะ ฉ ๑ บาท ต้องแบ่งกันคนละ ๒ ช มฤคนอ้ ยเหน็ รอยสงิ ห์ [มะ่ -ลก่ึ -นอ่ ย- สลงึ , มวยสองสลึง ก็ว่า. ซ เห็น-ลอย-สงิ ] (สำ� ) เพยี งแตร่ ู้ มวยวดั [มวย-วด่ั ] น. มวยทไี่ มม่ ชี น้ั เชงิ ฐ ถึงกิตติศัพท์ก็หวาดกลัว เช่น ในการชก; ในสมัยก่อนการ ฒ ดุจมฤคน้อยเห็นรอยสิงห์ก็ ชกมวยจะมีแต่ในงานวัด ไม่มี ด หวาดระแวงเผน่ ผยอง (ทา้ ว ฯ). ค่ายมวย นักมวยไม่มีการฝึก ต (ดู โคน้อยได้กลิ่นราชสีห์ ซ้อม ชอบใจใครก็เปรียบมวย ถ ประกอบ). ชกกนั เลย. ท มวยสองสลึง ดู มวยไมเ่ ตม็ บาท. ธ มวนท้อง [มวน-ท่อง] ก. อาการ มหาดเด็กชา [มะ-หาด-เด๊ก-ชา] ดู น คลืน่ เหยี น. มหาดเล็กเด็กชา. บ มหาดเลก็ เดก็ ชา [มะ-หาด-เลก่ -เดก๊ - ป มว้ นเม้ียน [มว่ น-เมยี่ น] ดู เมยี้ น. ชา] น. เดก็ ชา, เด็กรับใชใ้ นวัง, ผ ม่วม ว. น่วม, อ่อนนุ่มจนเกือบเหลว มหาดเดก็ ชา กว็ า่ เชน่ เสนเี สนา ฝ มหาดเด็กชา ช้างม้าข้าคน, พ เช่น ขนุนลูกนี่ม่วม (ขนุนลูกน้ี มหาดเล็กเด็กชา ให้มารับ ฟ ออ่ นนุม่ ). นางสาวศรี (น.ิ กุศราช). ภ มหาฬาร ว. มโหฬาร, ย่ิงใหญ่ เช่น ม มวยคาดเชอื ก พระราชทานเพลิงศพสมเด็จ ย พระพุทธเลิศหล้านภาลัย ณ ร มวยคาดเชอื ก น. มวยทใ่ี ชเ้ ชอื กพนั มอื ฤ ล ว ศ ส ห อ ฮ 221
มหาเหนยี ว - มะเขอื พวง ท้องสนามหลวงซ่ึงเป็นงาน มอ่ จิชน (เกือบจะชน). มหกรรมมหาฬารยงิ่ นกั (ทา้ ว ฯ). มอก น. กระมอบ; ไมต้ น้ ขนาดเลก็ ชนิด มหาเหนยี ว น. กระเชา, กระเจา; ไม้ ก ยืนต้นผลัดใบขนาดใหญ่ชนิด Gardenia obtusifolia Roxb. ข Holoptelea Integrifolia Ex Kurz ในวงศ์ Rbiaceae ค คลา้ ยกระเบยี น ผลดั ใบในขณะ ฆ (Roxb.) Planch ในวงศ์ ออกดอก ล�ำต้นแคระแกร็น ง Ulmaceae เปลอื กสนี ำ้� ตาลอม เปลือกสีเทาปนด�ำ เนื้อไม้ขาว จ เทา ใบเด่ียวรูปรี ปลายใบ ใช้แกะสลกั . ฉ ม็อกซอ็ ก [ม่อก-ซอ่ ก] ว. มอมแมม, ช แหลม ดอกเล็กเป็นช่อออก ม่อกซอ่ กมอซอ ก็ว่า. ซ เปน็ กระจกุ ตามงา่ มใบ ผลแบนรี ม็อกซ็อกมอซอ [ม่อก-ซ่อก-มอ-ซอ] ฐ มีปีกบางล้อมรอบ เป็นยาแก้ ดู มอ่ กซ่อก. ฒ มอ็ กล็อก [มอ่ ก-ล่อก] ว. มอมแมม, ด ปวดข้อ โรคเร้ือน ก�ำจัดเห็บ เปรอะเปรอ้ื น. มอ่ กลอ่ กแมก่ แลก่ ต มดไร, เนือ้ ไมใ้ ชท้ �ำเคร่อื งเรอื น กว็ า่ . ถ แกนรม่ กา้ นไมข้ ีดไฟ. ม็อกลอ็ กแม็กแลก็ [มอ่ ก-ลอ่ ก-แมก่ - ท แลก่ ] ดู มอ็ กล็อก. ธ มอ่ ง น. ตาย, ม่องเท่ง ก็ว่า. น มอ่ งเทง่ ดู มอ่ ง. บ มองทาง ก. เฝ้ารอคอยดทู างว่าเม่ือไร ป จะมา. ผ มองมูน ว. มนู มอง, มากมาย เชน่ แต่ ฝ น�้ำเต้าฟักทองนั้นมองมูน (นิ. พ พระปาจติ ), มนู มอ กว็ า่ เชน่ มนั ฟ จะเป็นไหนก็เป็นกัน เหมือนยัง ภ ไม้เขาฟันเอยเป็นกอท้ังพยานกู ม กม็ ูนมอ (เพลงโคราช). ย มหาเหนียว มอด ก. ลอด, มุด. ร ม่อต้อ ว. ลักษณะของคนอว้ นเตีย้ . ฤ ล มไห ว. ใหญ่ เชน่ ถงึ เกาะหน่งึ ใหญม่ ไห ว (น.ิ พระปาจิต). ศ มอ น. เนนิ , ทางหรือถนนสูงชนั , ท่ที ่ี ส ห เป็นเนนิ สูง อ มอ่ ว. เกอื บ, จวน, เจียน, หวดิ เช่น ฮ 222
พจนานุกรม ภาษาโคราช มอตนั ไซค์ น. มอเตอรไ์ ซค์. นกั พฤกษศาสตรเ์ รยี ก ตานดำ� , ก มอบ น. ยกลูกสาวให้แต่งงาน (ถิ่น ถนิ่ อสี านเรยี ก มะเกลอื ปา่ . ข ค โชคชัย) เช่น ลูกสาวมอบวัน มะเกลอื กา ฆ ไหน (ลูกสาวแตง่ งานวันไหน). ง มอบนาค ก. น�ำผู้ท่ีจะบวชไปมอบให้ มะขามโคก ดู มะรมุ ป่า. จ เจา้ อาวาส เพ่ือฝึกค�ำขานนาค, มะเขอื กะโหลก น. มะเขอื ลกู ขนาดเขอ่ื ง ฉ สวดมนต,์ ศึกษาการใช้ชวี ติ ใน ช วัดกอ่ นที่จะบวช. หรือค่อนข้างใหญ่ เช่น แนว ซ มอบเมน ก. มอบหมาย เช่น แล้วสงั่ ข้าวโพดทั้งข้าวฟ่างมักเขือ ฐ ส า ร พ นั ก ง า น เ จ ้ า ก ร ม ห ม อ กะโหลก (น.ิ พระปาจิต). ฒ ให้ตรงต่อมอบเมนเป็นรักษา มะเขือเครอื น. มะเขือเทศลกู กลมเล็ก ด แม่จงผลัดกันเว้นวันมาดูแล เป็นพวง แก่จะสีเหลอื งหรอื สม้ ต (น.ิ พระปาจิต). อมแดง, มะเขือพวง ก็วา่ . ถ มอระคา ดู มรคา. มะเขอื ปอ ดู มะเขือลน่ื . ท มะกอกป่า น. มะกอก; ชื่อไม้ตน้ ชนิด มะเขือพวง ดู มะเขือเครอื . ธ Spondias bipinnata Airy น Shaw & Forman ในวงศ์ มะเขอื ละคอน บ Anacardiaceae ใบออ่ นมรี ส ป เปรี้ยวฝาด ใบและผลใช้ปรุง ผ อาหาร. ฝ มะเกบ็ [มะ-เก๊บ] น. หมากเก็บ (การ พ ละเลน่ ชนดิ หนง่ึ ). ฟ มะเกลอื กา น. ไมย้ นื ตน้ ตระกลู เดยี วกบั ภ มะเกลอื แตเ่ ปน็ ชนดิ Diospyros ม montana Robx. ในวงศ์ ย Ebenceae ใบคลา้ ยใบมะเกลอื ร แต่ใหญ่กว่า เปลือกสีด�ำ ผล ฤ เหมือนลูกมะเกลือ ใช้เป็น ล ยาขับพยาธิ ละลายไขข้อ ว ศ ส ห อ ฮ 223
มะเขอื ละคอน - มัก มะเขือละคอน น. มะเขอื พวง. มะม่วงหัวแมงวัน น. มะม่วงชนิด มะเขือลืน่ น. ผลกระเจีย๊ บใชต้ ้มจิ้มกับ Buchanania latifolia Roxb น�ำ้ พรกิ เวลาเคีย้ วกลนื จะรู้สกึ ในวงศ์ Anacardiaceae, ก ล่ืนคล่องคอ, มะเขอื ปอ, ปอล่นื ถิ่นเหนือเรียก ฮักหมู, ถ่ินใต้ ข ก็วา่ . เรียก รกั หม.ู ค ฆ มะเขือสวรรค์ น. ผลกระเจ๊ียบ มะมัง น. ช่ือไม้ต้นขนาดกลางชนิด ง (ถ่นิ โชคชยั , ครบรุ )ี . Diospyros ehretioides Wall. จ ex G. Don. ในวงศ์ Ebenac ฉ มะเขอื หืน น. มะเขือขื่น. eae ตน้ ตรง เปลือกสีน้�ำตาล ช มะตูมลงหลัง (ปาก) ก. ใช้ก�ำปั้น ด�ำคล้ายตะโก ใบเด่ียวรูปไข่ ซ ทุบหลัง (การท�ำโทษนักเรียน ท้องใบสีเทาอ่อน ผลกลมปอ้ ม ฐ ในสมยั กอ่ น). เป็นกระจกุ เหมือนมะเขอื ใช้ทำ� ฒ ยาแก้วัณโรค พิษไข้ ร้อนใน ด มะนมี ะนา ว. กลุ ีกุจอ เช่น มะนีมะนา บ�ำรุงปอด นักพฤกษศาสตร์ ต เชิญยายจงผายผัน (นิ.พระ เรียก ตบั เตา่ ใหญ.่ ถ ปาจิต), ให้แกงแต่งถวาย ท มะนมี ะนา บดั เดย๋ี วมชิ า้ ตม้ แกง มะมัง ธ น ทันใจ (นิ.กศุ ราช). มะเมอ ก. ละเมอ; โดยปริยาย บ มะนงึ ตงึ นดื ว. ตดิ พนั กนั จนยงุ่ , เหนยี ว หมายความวา่ เพอ้ , ครำ�่ ครวญ, ป รำ� พงึ รำ� พนั , มะเมอมะมาย กว็ า่ ผ หนืด, ติดกันยืด ; ของเหลว ฝ เ ห นี ย ว ติ ด กั น ห รื อ พั น กั น พ เป็นยางยืด, มะนึงตึงพืด, ฟ มะลึงตึงนดื ก็วา่ . ภ มะนงึ ตึงพดื ดู มะนึงตึงนดื . ม มะเนอมะนา ว. เพงิ่ เริม่ , ท�ำทีหลังคน ย อ่ืน ๆ. ร มะแนด น. ฟกั พันธุห์ นึ่งมีผลยาว. ฤ ล ว มะพร้าวทอก [มะ-พ่าว-ทอก] น. ศ มะพร้าวที่กะโหลกเล็กผิดปกติ ส ไม่มีเนื้อไม่มีน�้ำมักใช้เปลือก ห อ ถูพ้นื กระดาน. ฮ 224
พจนานุกรม ภาษาโคราช เชน่ แทบจะคลงั่ เปน็ บา้ มะเมอ Oliv. ex A. W. Benn. ในวงศ์ ก มะมาย ตะกายคว้าหา คิดถึง Irvingiaceae ใบรูปไข่ผลเท่า ข ฉายยา (น.ิ รปู ทอง). มะกอกหรือมะปราง เน้ือในขาว ค มะเมอมะมาย ดู มะเมอ. มรี สมนั กนิ ได,้ หมกั ลนื่ กเ็ รยี ก. ฆ มะรอจ๋อเจ๋ียน ว. กระเสาะกระแสะ, ง ป่วยออด ๆ แอด ๆ. มะล่ืน จ มะรอมมะร่อ ว. รอมร่อ, เกือบจะ, ฉ จวนเจียน, หวดุ หวิด. มะสา้ ง [มะ-ส่าง] น. มะส้าน, มะตาด, ช มะระขนี้ ก [มะ-ละ่ -ข-่ี นก่ ] น. มะระชนดิ ไมข้ นาดกลาง ผลกลมพู ผลสกุ ซ ผ ล เ ล็ ก มี ลั ก ษ ณ ะ เ ป ็ น รู ป มีรสหวานอมเปร้ียว เช่น ส้ม ฐ กระสวยสั้น ผิวเปลือกขรุขระ เปลือกบางเหล่ามะส้างท้ังส้ม ฒ ผลอ่อนสีเขียว เมื่อแกจ่ ะเป็นสี แกว้ (นิ.พระปาจิต). ด เหลอื งอมแดง. ต มะรมุ ปา่ น. พฤกษ,์ ไมย้ นื ตน้ ดอกสขี าว มะหรั่น น. สรุ า เชน่ คนเบ้ิงก็ถอื เออ ถ นวล, มะขามโคก กว็ า่ . มะหร่ัน เดินเรียงตามส่งพา ท มะลงั ดู มะลวั . กันโศก (เพลงโคราช), บ๊ะหรั่น ธ มะลวั น. บริเวณน�้ำซบั , มะลัง ก็ว่า. ก็ว่า. น มะลิออ่ ง น. กล้วยน้ำ� ว้า, นอิ ่อง ก็วา่ . บ มะลึกไหน [มะ-ลึ่ก-ไหน] ว. ตั้งแต่ มะเหลอ่ื ม น. มะเลื่อม, มะกอกเล่อื ม, ป ครงั้ ไหน, นานเท่าไร. มะเกิ้ม, มะกอกเกลื้อน; ช่ือ ผ มะลึงตงึ นืด ดู มะนงึ ตึงนืด. ต้นไม้ชนิดหน่ึงผลและเม็ด ฝ มะลเิ ถา น. ชือ่ ไมเ้ ลือ้ ยในกลุม่ “มะลิ” คล้ายเม็ดกาน้า. พ ชนิด Jasminum attenatum ฟ Roxb ในวงศ์ Oleaceae. มะโหลกโขกเขก [มะ-โหลฺ ก-โขก-เขก] ภ มะลิป่า น. ช่อื ไม้เลอ้ื ยในกลุม่ “มะล”ิ ว. กระโดกกระเดก, มีกิริยา ม ชนิด Jasminum bifarium มารยาทไม่เรียบร้อย. ย Wall ในวงศ์ Oleaceae. ร มะลน่ื น. กระบก; ไม้ตน้ ขนาดกลางถึง มกั น. กลายเสียงจากค�ำวา่ มะ, หมาก ฤ ใหญ่ ชนดิ Irvingia malayana ; ใชเ้ รยี กลูกหรือผลของไม้และ ล ว ศ ส ห อ ฮ 225
มกั กรูด - มาทำ� ผี ไม้ต้นบางชนิด เช่น มักม่วง, เอาใบออกจะเห็นเน้ือสีขาว ๆ มักนาว, มกั เขอื , มกั ค่า. กินได้. ก มกั กรดู น. มะกรดู เชน่ เอาเงนิ มันย้อนหมู [มัน-ย่อน-หมู] (ส�ำ) ก. ข ปิดหน่วยมักกรูดพองขนาน ไดด้ ีเพราะคนอน่ื . ค (นิ.พระปาจติ ). มันเลือด น. มันชนิดหน่ึงเน้ือมีสีม่วง ฆ มักเกลือ น. มะเกลือ, ช่ือไมต้ ้น ออกแดง. ง ขนาดใหญ่ ผลดบิ ใชย้ อ้ มผา้ และ มันสะอม น. ช่ือมันชนิดหน่ึงในกลุ่ม จ ทำ� ยาได้ เชน่ ตอ้ งการแยง่ เขยี ว มันนกสกุล Dioscorea ฉ paradoxa Prain & Burkill ช ขำ� ด�ำมักเกลือ (น.ิ พระปาจิต). ในวงศ์ Dioscoreaceae, ซ มักคา่ น. มะค่า. ถิ่นสระบุรเี รียก มนั เชงิ น้�ำจืด. ฐ มกั แวว ดู หมากแวว. มันอ้อน น. ชือ่ มนั ชนดิ Disocoraea ฒ มกั ก่อหม้อ [มกั -ก่อ-หมอ่ ] น. ไม้ต้น daunaea Prain & Burk ด ในวงศ์ Dioscoreaceae เปน็ ต ประเภทก่อชนิด Lithocar ไม้ลม้ ลกุ เล้ือย เช่น เตี้ยเอยทงั่ ถ pus annamensis A. Ca เน็บมันอ้อน ทุ่กข์ร่อนกะไอมัน ท mus ในวงศ์ Fagaceae (เพลงโคราช). ธ มนั เฮบ็ น. มันเหนบ็ เน้อื สีขาว. น นักพฤกษศาสตรเ์ รียก กอ่ นำ้� . มั่บ ๆ ว. นดิ หน่อย, เล็กน้อย. บ มก่ั ก่กั ว. จ�ำ้ ม่�ำ. มั้บ ดู แมบ็ . ป มกั แยก ดู หมากแยก. มว่ั ก. ท�ำอะไรในลกั ษณะสุมกัน, ปะปน ผ กันจนแยกไม่ออก, ม่ัวซั่ว, ฝ มงั น. สว่ นทเ่ี ปน็ ขอบกะเชอ. ม่วั ตัว้ กว็ ่า. พ มันเครือ น. ชื่อไม้พุ่มรอเล้ือยในกลุ่ม มวั่ ซัว่ ดู มั่ว. ฟ มว่ั ต้วั ดู ม่วั . ภ ตน้ “ตงิ่ ตงั่ ” ชนดิ Calycopteris ม้า [ม่า] น. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ม floribunda Lamk ในวงศ์ เท้าเป็นกีบ ขายาว หางเปน็ พู่ ย Combretaceae ดอกสีเขียว มขี นแผงคอยาววงิ่ ไดเ้ รว็ ใชเ้ ปน็ ร อมขาว ออกดอกเวลาผลดั ใบ. พาหนะขับขแี่ ละเทยี มรถ. ฤ มันปลาไหล ดู ขพี้ ระร่วง. ล ว มันปู น. ว่านน�้ำเขา; ว่านชนิด ศ Chlorophytum orchidastrum ส Lindl. ในวงศ.์ Anthericaceae ห อ เป็นไม้ล้มลุก โคนต้นเมื่อลอก ฮ 226
พจนานุกรม ภาษาโคราช ม้ากระจ้อน [ม่า-กะ-จอ้ น] น. [มา-เงียบ-เปิด-งาบ-ปิ๊ด- ก ม้าแคระ, ม้าตัวเล็ก, ม้าแกลบ. แงบ-ไป-เงยี บ] (ปริศ) น. พระ ข บณิ ฑบาต. ค มา้ ดดี [มา่ -ดดี ] (ปาก) ดู มา้ เตะ. มา้ ซอยยา [มา่ -ซอย-ยา] น. ทส่ี ำ� หรบั ฆ ม้าเดินกรอก ขี้ครอกเดิน ซอยใบยาคล้ายม้านั่งไม่มีพนกั . ง มาด น. สินสอด, หมั้นหมาย จ ถะลา [มา่ -เดนิ -กอก-ข-ี่ คอก- เช่น ลูกสาวเขามามาดเท่าไร ฉ เดนิ -ทะ-ลา] (สำ� ) น. การแปรผนั (ลกู สาวเขามาหมน้ั เปน็ สนิ สอด ช ไปตามยุคสมัย เป็นส�ำนวน เทา่ ไร), มาดหมาย ก็ว่า. ซ ท่ีมาจากในสมัยหนึ่งม้าซึ่งเป็น มาดหมาย ดู มาด. ฐ พาหนะเดินบนถนน เมื่อมี มาดพล้ายโรง [มาด-พ่าย-โลง] น. ฒ รถยนต์ ม้าต้องไปเดินตาม ม้าทลายโรง ; ชื่อไม้เล้ือยชนิด ด ตรอกซอย จนท�ำให้คนชั้นต่�ำ Neuropeltis racemosa ต ซึ่งเคยเดินตามตรอกซอยไม่มี Wall. ในวงศ์ Convol ถ ทจี่ ะเดนิ ต้องไปเดินบนถนน. vulaceae ใบเดี่ยวเรียงเวียน ท มา้ เตะ [ม่า-เตะ๊ ] (ปาก) (ส�ำ) สับ มีปีกบางล้อมรอบเป็นแผ่น ธ ก. เลน่ ม้าเสีย, มา้ ดดี กว็ ่า. กลม ผลเล็ก. น มา้ ไมม่ ที ำ� เล [มา่ -ไม-่ ม-ี ทำ� -เล] มาตุลี น. มาตุลาน,ี ป้าสะไภ,้ น้าสะไภ้ บ (ส�ำ) ไม่มีหลักแหล่ง, ไม่มี เชน่ เราไม่ได้อายหน้า แลว้ จงึ ป หวั นอนปลายตีน. สงั่ มาตุลี (น.ิ รปู ทอง). ผ ม้าล่อช้าง [ม่า-ล่อ-ช่าง] น. มาแต่ ก. มาจาก เช่น มาแต่ไหน ฝ การเล่นอย่างหนึ่ง โดยข่ีม้าไป (มาจากไหน). พ ยวั่ ยวนเยา้ แหยช่ า้ ง จากนน้ั ชา้ ง มาถูกมาต้อง ดู มาทักมาท้วง. ฟ ก็จะออกมาไล่ม้า อาจมีม้าอีก มาทกั มาทว้ ง [มา-ทกั่ -มา-ทว่ ง] ก. ทกั ภ ตัวมาเยา้ แหยข่ ้างหลังชา้ ง ซ่งึ โดยปริยายเชื่อว่าการเจ็บไข้ ม เป็นท่ีสนุกสนานและมักเล่นกัน ไดป้ ว่ ยเกดิ จากผี เชน่ ผปี ยู่ า่ ตา ย หลังจากมีการแห่ช้างแห่ม้าใน ยาย, ผีเรือน, ผีห่า เป็นต้น ร งานพธิ ตี ่าง ๆ. มาทักทาย, มาถูกมาตอ้ ง กว็ า่ . ฤ มากเกนิ [มาก-เกน้ิ ] ว. มากเหลอื เกนิ , มาทำ� ผี ดู ผัวควยเมียควย. ล มากเกนิ ไป. ว มาเงยี บ เปิดงาบ ปิดแงบ ไปเงียบ ศ ส ห อ ฮ 227
มา่ น - มเี รอื นใหญห่ ัวกระไดสูง ม่าน ก. มองด้วยสายตาท่ีไม่พอใจ, มาระสา ก. รบกวน, ท�ำให้เกิดความ ตาขวาง เช่น มองตาม่าน ๆ ร�ำคาญ เช่น ผีอัปรีย์มันจึง (มองด้วยสายตาขวาง ๆ). แกลง้ มาระสา (น.ิ พระปาจติ ). ก มาบ ดู พลาบ. ข มาไป ว. ไปเถอะ, เรยี กใหไ้ ป. มาเลศ น. แมวสีสวาด, (ดู สีสวาด ค ประกอบ). ฆ มา้ ไม้ [มา่ -มา่ ย] น. หมาไม้, สัตวช์ นิด ง หนึ่งคล้ายกระแต แต่ตัวเล็ก ม้าหาบข้าว [ม่า-หาบ-เข่า] น. ท่ี จ กว่าอาศัยอยู่ตามยอดไม้ในป่า, ส�ำหรับหาบข้าวฟ่อนหรือกล้า ฉ ข้าว คล้ายคนั หลาวแตม่ ขี าตงั้ ช หมอไม้ ก็วา่ . ตรงปลายทงั้ สองขา้ งละสองขา ซ มา่ ยะ น. ชอื่ ไมพ้ มุ่ ในกลมุ่ ตน้ “โคลงเคลง” ปลายคานทำ� เปน็ งา่ มหรอื ทเี่ กย่ี ว. ฐ ฒ ชนิด Melastoma Villosum ม้าหาบข้าว ด Lodd. ในวงศ์ Melasto ต mataceae ดอกสีชมพูหรือ มาอีท่าไหน ว. จะมาแบบไหน, จะมา ถ มว่ งแดง. ทำ� นองไหน,มาอีแบบไหน กว็ า่ . ท มา้ รองตีน [มา่ -ลอง-ตนี ] น. ต่งั มีขา ธ มาอีแบบไหน ดู มาอที ่าไหน. น สองข้างชั้นเดียวส�ำหรับรอง มมิ่ น. ตวั นมิ่ , ตวั ลนิ่ ; สตั วเ์ ลย้ี งลกู ดว้ ย บ เหยยี บกา้ วจากพน้ื เรอื นขน้ึ หอ้ ง ป บนเรอื น, (ดู ภาพรา้ นสันตะเข้ นมชนดิ หนงึ่ ชอบขดหรอื มว้ นตวั . ผ มิรอด ว. ไม่ตลอดรอดฝั่ง, ไม่ถึงจุด ฝ ประกอบ). พ หมาย, ไมไ่ หว เช่น เดินมริ อด ฟ ภ ม ย ร ฤ ล ว ศ ส ห อ ฮ มา้ รองตนี 228
พจนานุกรม ภาษาโคราช (เดนิ ไมไ่ หว, เดนิ ไปไมถ่ งึ ), ยก่ มอื มดี เหนบ็ [มีด-เนบ็ ] น. มดี ที่ใสฝ่ ักใช้ ก มิรอด (ยกมือไม่ข้ึน, ยกมือ เหน็บเอวพกพา. ข ไมไ่ หว), (ถนิ่ พมิ าย). ค มไี กไ่ มร่ ขู้ นั มภี รรยาไมม่ ลี กู [ม-ี ไก-่ ไม-่ มีตารอบตัว ไมก่ ลวั กะลา (ปริศ) น. ฆ ลู่-ขัน-มี-พัน-ยา-ไม่-มี-ลูก] สับปะรด. ง (ส�ำ) มีของดีมีค่าแต่ไม่ได้รับ จ ประโยชนจ์ ากสงิ่ ของเหลา่ นน้ั . มีแต่หู มีแต่ก้น คนอยู่หลังบ้าน ฉ มคี นเดนิ หนา้ มขี ข่ี า้ ตามหลงั [ม-ี คน- (ปริศ) น. กระทะใบบัว; ช เดนิ -หนา่ -ม-ี ข-ี่ ขา่ -ตาม-หลฺ งั ] กระทะขนาดใหญ่. ซ (สำ� ) เป็นผู้มียศถาบรรดาศกั ดิ,์ ฐ เป็นเจ้าคนนายคน. มีน�้ำไม่รู้จักกิน มีหม้อดินไม่รู้จักใช้ ฒ มีดอก [ม-ี ดอก] ว. ไมม่ หี รอก, (ดู ดอก [มี-น่าม-ไม่-ลู่-จ๊ัก-กิน-มี- ด ประกอบ). หมอ่ -ดนิ -ไม-่ ล-ู่ จกั๊ -ไช]่ (สำ� ) มี ต มดี ตะขอ น. มดี ขอ. ข อ ง ดี มี ค ่ า แ ต ่ ไ ม ่ รู ้ จั ก ใ ช ้ ถ มดี ตะแวว น. มดี ชนดิ หนง่ึ ใบมดี โคง้ พอ ประโยชน์. ท ประมาณ. ตะแวว, มดี ตาแวว กว็ า่ . ธ มดี ตาแวว ดู มีดตะแวว. มผี วั คนรู้ มชี คู้ นงาม [ม-ี ผวั -คน-ล-ู่ ม-ี ช-ู่ น มดี บาง น. มดี ขนาดยอ่ มส�ำหรับปอก คน-งาม] (สำ� ) นบั เปน็ บญุ วาสนา บ ไมผ้ ล ซอย เป็นตน้ . ท่ีได้สามีรูปงามมีความรู้ด.ี ป มีดโมะ [มีด-โม่ะ] น. มดี โต้. ผ มีผัวเจ๊กกินเล็กกินน่อย มีผัวไทยกิน ฝ มีดโมะ ใหญ่กินโต [มี-ผัว-เจ้ก-กิน- พ เลก่ -กนิ -นอ่ ย-ม-ี ผวั -ไทย-กนิ - ฟ มดี สะหนาก น. กรรไกรหนีบหมาก. ไหย่-กิน-โต] (ส�ำ) มผี วั คนจนี ภ จะกนิ อยอู่ ยา่ งประหยดั มผี วั คน ม มดี สะหนาก ไทยกนิ อยู่อย่างอดุ มสมบรู ณ.์ ย ร มผี วั ใหย้ กย่อง มพี ่ีนอ้ งใหย้ กยอ [มี- ฤ ผัว-ไห่-ย่ก-ย่อง-มี-พ่ี-น่อง- ล ไห่-ยก-ยอ] (ส�ำ) ควรยกย่อง ว ใหเ้ กียรติสามีและญาติ พน่ี อ้ ง. ศ ส มฟี นั รอบหวั แตต่ วั อยปู่ า่ หากนิ ของสงู ห (ปรศิ ) น. กระต่ายขดู มะพรา้ ว. อ ฮ มเี รอื นใหญห่ วั กระไดสงู [ม-ี เลอื น-ไหย-่ ฮก-กะ-ได-สงู ] (สำ� ) บง่ บอกถงึ 229
มลี ูกประกอบตัว มผี ัวประกอบใจ - เม็ดเท่าหมอ้ กอละเกวียน ความมฐี านะมหี ลกั ฐานมน่ั คง. งอกหรือติง่ ออกมา, สิบเอด็ นิว้ มลี กู ประกอบตวั มผี วั ประกอบใจ (สำ� ) ก็ว่า. น. หญิงที่มีลูกมีผัวย่อมเป็น ก ครอบครัวทสี่ มบูรณ.์ มือแง่ม ข มีลูกหญิงให้สืบสาย มีลูกชายให้สืบ ค มอื แมว น. ไมร้ ูปร่างคล้ายมือขดั แยก ฆ ศาสนา [มี-ลูก-หยิง-ไห่-สืบ- เป็นซ่ี มกั ทำ� ดว้ ยไม้ไผ่ ส�ำหรับ ง สาย-ม-ี ลกู -ชาย-ไห-่ สบื -สาด- ปิง้ ยา่ ง เช่น ข้าวเกรียบ, ปลา, จ สะ-หนา] (ส�ำ) มีลูกผู้หญิงให้ ไมม้ อื แมว กว็ ่า. ฉ ช ได้คู่ครองเพอ่ื สืบเช้อื สาย มลี ูก มุ ก. เอนหวั นอน, ฟบุ หวั ลงเมอื่ เวลา ซ ผู้ชายให้ได้บวชเรียนทดแทน ง่วงนอน (มักใชแ้ กเ่ ด็ก). ฐ พระคุณพอ่ แม่. ฒ มีสองหัว แตต่ ัวมีตวั เดียว (ปริศ) น. มุกมี่มุกม่วน ก. ผุดน่ังผุดนอน, ด เดี๋ยวลกุ เดีย๋ วนอน. ต ไม้คาน. ถ มึน ๑. ว. หน้าด้าน, หน้าทน เช่น มคุ ่า น. ตน้ มะค่า, ไมม้ ะคา่ . ท มุตโต น. การท�ำพิธีกรรมของหมอ ธ หน่ามนึ (หน้าดา้ นหน้าทน). น ๒. ว. ไมค่ ม, ท่ือ. เพลงโคราช เชอ่ื วา่ จะทำ� ใหเ้ กดิ บ มดื ตะลึดตึด๊ ตอื๋ ว. มดื มิด, มดื สนิท. สติปัญญาปฏิภาณไหวพริบใน ป มืดตึ่บ ว. มืดทึบ, มืดสนิท, มืด การคดิ กลอนเพลง ประกอบพธิ ี ผ ในโบสถเ์ ปน็ เวลา ๗ วนั โดยการ ฝ แปดด้าน, มองไม่เห็นทาง อดอาหารมีเพียงน�้ำมนต์ไว้ดื่ม พ แก้ไขปัญหา, มดื ตบ๊ึ ก็ว่า. กินพริกไทย ๑,๐๐๐ เม็ด ใน ฟ มืดต๊บึ ดู มืดตบึ่ . ระหวา่ งน้ีวา่ ห้ามว่าเพลง (รอ้ ง ภ มืดฟา้ มวั ฝน [มดื -ฟา่ -มัว-ฝน] ว. มืด เพลงโคราช) โดยเด็ดขาด ม ฟ้ามัวดิน, มีจ�ำนวนมากมาย เพราะจะท�ำให้มุตโตหรือกรรม ย เชน่ ถงึ แมว้ า่ กองทัพลาวจะยก ร มาจนมืดฟ้ามัวฝนในท่ีสุดก็ ฤ ล ว ปราชยั เป็นแม่นมั่น (ท้าว ฯ). ศ มอื น. ลกั ษณะนามบอกจำ� นวนนบั นำ�้ แขง็ ส ห ๑ ก้อน ทีแ่ บง่ ออกจากกั๊ก. อ มอื แงม่ น. มอื ทน่ี วิ้ หวั แมม่ อื มนี ว้ิ เลก็ ๆ ฮ 230
พจนานุกรม ภาษาโคราช แตก หรือถา้ อยู่ไมค่ รบ ๗ วัน มกู ขาว น. ชอ่ื ไมต้ น้ ในกลมุ่ ตน้ “โมก” ก ถือว่ามุตโตแตกซ่ึงจะมีอันเป็น ชนิด Hunteria zeylanica ข ไปอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง เชน่ เป็น Gard. ex Thw. ในวงศ์ ค บ้า, เสียสติ อีกประการจะ Apocynaceae. ใบเดย่ี วเรยี ง ฆ ต้องหาไก่ตัวผู้สีขาวเรียกว่า ตรงข้าม ปลายใบเรียวแหลม ง “ไก่ชี” เอาไว้เสี่ยงทาย ถ้าไก่ โคนใบมน ดอกเล็กสีขาวออก จ ร่าเริง หมอเพลงผู้นั้นจะมีชื่อ เปน็ ชอ่ ตามงา่ มใบ ผลรปู ไขส่ สี ม้ ฉ เสียงเป็นท่ีชื่นชอบของคนฟัง นกั พฤกษศาสตรเ์ รยี ก มกู เขา. ช ถ้าไก่ดูหงอยเหงาซึมเซาหมอ ซ เพลงผู้นั้นจะไม่ประสบความ มูกขาว ฐ ส�ำเร็จในอาชีพหมอเพลง เช่น ฒ ขอไหว้คุณครูบา.....ขอให้ช่วย มูนมอ ดู มองมูน. ด เสรมิ ชว่ ยแทรก ใหป้ ญั ญาแตก มนู มอง ก. มอบหมาย, ยกให้ เช่น จะ ต มุตโต, เข้ากรรม ก็ว่า. ถ มุตโตแตก ดู มตุ โต. มูนมองให้เจ้าครองพระพารา ท มนุ่ ว. ละเอียด, แหลก. (น.ิ พระปาจติ ). ธ มนุ่ กะเตอ้ ะ ว. แหลกละเอียด มลู น. มรดก, ทรพั ย์สมบตั ิ. มลู มอง, น จนไมม่ ีชน้ิ ด.ี มลู มงั , มลู มังสงั ขยา ก็วา่ เช่น บ มนุ่ เมเตนงั ว. แหลกละเอยี ดจน แต่เงินทองของส�ำคัญนั้นไม่ให้ ป ไมร่ วู้ า่ เปน็ ชน้ิ ไหนเปน็ อนั ไหน. ด้วยจะไปในวังน้ันคลังเหลือ มี ผ มุ่นเมเตแหลก ว. แหลก มูลมองของหลวงต้องกวยเรือ ฝ ละเอียดจนไมม่ ชี นิ้ ดี. (นิ.พระปาจิต). พ มุ่นเอ้เล่ ว. แหลกละเอียดจน มูลมัง ดู มลู . ฟ ไมม่ ชี ิ้นดี. มลู มงั สังขยา ดู มลู . ภ มนุ นิ าถ น. มนุ นิ ทร,์ พระพทุ ธเจ้า เช่น เม็ดทะนา [เม่ด-ทะ-นา] ก. เวทนา. ม สมเด็จมุนินาถ กุศราชเรือง เมด็ เทา่ หมอ้ กอละเกวยี น [เมด่ -เทา่ - ย ฤทธา เมื่อกลับชาติมา คือ หม่อ-กอ-ละ-เกียน] (ส�ำ) น. ร ตถาคตน้เี อง (น.ิ กุศราช). ฤ มุ ๆ มิ ๆ ว. ตามประสา. ล ว ศ ส ห อ ฮ 231
เมตไกร - แม่มึง ขา้ วอุดมสมบูรณเ์ ม็ดโตรวงโต. เม่า ว. อาการทีท่ �ำหนา้ งอแสดงความ เมตไกร น. เมตไตร, พระนามของ ไมพ่ อใจ, เมา่ เคา่ กว็ ่า. พระพุทธเจ้าก่อนจะมาตรัสรู้ ก ขา้ งหน้า. เม่าเค่า ดู เม่า. ข เมน ๑. น. จำ� นวนทา่ ของการเลน่ เช่น เมาแป้ ก. เมามาก (อาจเพราะกนิ เหลา้ ค ฆ สะบา้ , หึ่ง เป็นตน้ ; การเล่น จนหมดแป)้ , (ดู แป้ ประกอบ). ง สะบา้ ครบทกุ ทา่ เรยี กวา่ ๑ เมน. เมาแอ๊ะ ก. เมาจนครองสติไม่อยู่, จ ๒. น. สนามเลน่ สะบา้ , เมนสบี า้ ฉ เมาแอ๊ะแอ่น, แอะ๊ กว็ า่ . ช ก็ว่า. เมาแอ๊ะแอน่ ดู เมาแอ๊ะ. ซ เมนก้ัน น. เส้นที่กั้นก�ำหนด เมด้ิ ว. หมด. ฐ เขตแดนของแต่ละฝ่ายในการ เม้ิดกลา้ กแ็ ลว้ นา [เม้ิด-กา้ -ก-็ แลว่ - ฒ ด เล่นสะบ้า เพื่อมิให้มีการลุกล�้ำ นา] ดู หมดกลา้ ก็แลว้ นา. ต เขตกนั โดยหา่ งจากเมนตงั้ ออก เมิ้ดบ่อน ดู หมดบ่อน. ถ มาด้านหนา้ ประมาณ ๑ เมตร, เม้ียน [เม่ียน] ก. ซ่อน, เก็บ, เก็บให้ ท (ดู เมนตั้ง ประกอบ). ธ เข้าที่, ม้วนเมี้ยน ก็ว่า เช่น น เมนต้ัง น. เส้นหรือแนว ไม่ม้วนเมี้ยนโศกาพะว้าหงาย บ ที่ก�ำหนดใหเ้ ปน็ ทต่ี ัง้ ลูกสะบา้ . (สุภมิต ฯ) . ป เมนเลน่ [เมน-เหลฺ ่น] น. เสน้ เมี่ยม ว. ละเล่ือม, เป็นเงาด�ำ เช่น ผ ด�ำเมยี่ ม, เหมี่ยม กว็ า่ . ฝ หรือแนวที่แสดงจุดในการเล่น เมยี มีชูผ้ ัวร้ผู ัวกร็ ัก [เมยี -มี-ชู่-ผวั -ล-ู่ พ สะบา้ ในท่าต่าง ๆ หา่ งจากเมน ผวั -ก-็ ลกั่ ] (สำ� ) พอรจู้ ะสญู เสยี ฟ ต้ังประมาณ ๕-๑๐ เมตร, (ดู ของมีค่าก็เริ่มให้ความส�ำคัญ; ภ เมนตง้ั ประกอบ). เปรียบได้กับพอรู้ว่าเมียคิดจะ ม เมนสีบา้ ดู เมน. นอกใจ ผวั รตู้ วั วา่ บกพรอ่ งกเ็ รมิ่ ย เมน่ ก. เยบ็ ตะเขบ็ . รกั เรมิ่ เอาใจ. ร เมน้ มดิ [เมน่ -มด่ิ ] ก. มดิ เมน้ , ปดิ เชน่ เมื่องเซือ่ ง ว. ขี้เหร่ เชน่ ขชี่ ้างเลียบ ฤ เมือง หนา้ ตาเมื่องเชอ่ื ง ดสู อก ล หลอกหลอน (นิ.กศุ ราช). ว ขอจงง�ำไว้ โดยเม้นมิดให้ เมืองมวย น. เมืองโคราช ; ในอดีต ศ เ ข ้ า ห ลั ก นั ก แ ส ด ง ก ล ห รื อ โคราชมีช่ือเสียงในด้านการ ส ศรีธนญชัยอย่างใดอย่างหนึ่ง ห อ จงได้ (ทา้ ว ฯ). ฮ 232
พจนานุกรม ภาษาโคราช ชกมวย. ทายถูกมากกวา่ ถอื ว่าชนะ. ก เมืองยาง น. ชือ่ อ�ำเภอหนึง่ ในจังหวดั แม่ขมองอ่ิม [แม่-ขะ-หฺมอง- ข อ่ิม] น. โดยปริยายหมายถึง ค นครราชสีมา แต่ก่อนมีต้น แม่คุณ, แมท่ ูนหวั . ฆ ยางนามาก. แมฉ่ นั ตาย ฉนั ได้เกิด (ปริศ) ง เมอ่ื นอ้ ยไมม่ ี พอเจด็ ปเี ตม็ ปากพอ่ วอ่ น. เห็ดกระดา้ ง จ [เม่ือ-น่อย-ไม่-มี-พอ-เจ๊ด-ปี- แม่ช่งั กราน น. แม่เตาไฟ, ไม้ ฉ เตม็ -ปาก-พอ่ -วอ่ ] (ปรศิ ) ฟนั . ที่ตีเป็นกรอบส่ีเหล่ียมกรุดิน ช เมื่อยแข้งเม่ือยขา ก. ปวดเม่ือย ส�ำหรับต้ังเตาไฟ, แมเ่ ชงิ กราน ซ แข้งขา. ก็วา่ , (ดู เชิงกราน ประกอบ). ฐ เม่ือหว่าง ว. เม่ือไม่นานมานี้, เม่ือ แม่ซื้อ [แม-่ ซ่ือ] เทวดาหรือผี ฒ เร็ว ๆ น้ี, เมื่อคร้ัง, (ดู หว่าง ที่เชื่อว่าเป็นผู้ดูแลและรักษา ด น้ี ประกอบ). ทารก เชน่ เดก็ แรกเกดิ ยม้ิ เชอ่ื ต แม่ [แม่ะ] น. หญิงที่ให้ก�ำเนิดหรือ วา่ แมซ่ ือ้ มาหยอก. ถ เลี้ยงลูก, ค�ำทเี่ รียกผหู้ ญิงด้วย แมเ่ ฒา่ [แม-่ เถ่า] น. แมย่ าย, ท ความรักใคร่, .ค�ำท่ีเรียกคนผู้ ยายทวด, แม่ของยาย. ธ เปน็ หวั หนา้ , คำ� ทเี่ รยี กสงิ่ ทเี่ ปน็ แมด่ วง น. โดยปริยายใชเ้ ปน็ น ประธานของสิง่ ตา่ ง ๆ ในพวก ค�ำเรียกผู้หญิงเป็นเชิงยกย่อง บ เดียวกนั . เช่นเดยี วกับแม่ทนู หัว. ป แม่กระซิบ [แม่-กะ-ซ่ิบ] น. แม่ทอ้ ง [แม-่ ทอ่ ง] น. พยาธิ ผ การเล่นอย่างหนึ่ง แบ่งผู้เล่น ในท้อง. ฝ เปน็ ฝ่าย ก. และ ข. ใหค้ นหนง่ึ แม่เนื้อถี่ ดู แม่หม่อม. พ เปน็ แมก่ ระซบิ นง่ั ตรงกลาง หา่ ง แม่เปง้ น. สตั ว์จ�ำพวกแมลงท่ี ฟ จากทั้งสองฝ่ายพอควร โดย โตกวา่ เพอ่ื น; โดยปรยิ ายหมาย ภ แต่ละฝ่ายจะออกมาหาแม่ ถงึ หญิงทเ่ี ป็นหวั หนา้ . ม กระซิบทลี ะคน เพ่ือกระซิบทาย แมม่ า่ ยแมร่ า้ ง [แม-่ มา่ ย-แม-่ ย ช่ือฝ่ายตรงข้ามซึ่งเป็นการเดา ล่าง] น. แม่ม่ายท่หี ญิงเลกิ กบั ร หรือคาดว่าจะเป็นผู้ออกมา ถ้า ผัว, แมม่ า่ ยผัวร้าง. ฤ ทายถูกผู้น้ันถือว่า “ตาย” จะ แมม่ งึ น. ภรรยา, เปน็ คำ� ทส่ี ามี ล ตอ้ งออกจากการเลน่ ไป ฝา่ ยใด ว ศ ส ห อ ฮ 233
แมโ่ ม - แมวปลายา่ ง ก เรียกภรรยา ; อีกความหมาย คนนัดไม่มา. ข หนึ่งเปน็ คำ� ด่าแม่. แมห่ มอ่ ม น. คำ� เรยี กหญงิ เปน็ ค แมโ่ ม น. คณุ หญงิ โม, ทา่ นทา้ ว เชิงยกย่องท�ำนองว่า แม่ทูล ฆ สุรนาร.ี กระหมอ่ ม, แมท่ นู หวั , หญงิ สาว ง แม่โมยกดาบ [แม่-โม-ย่ก- อันเป็นท่ีรัก เช่น มันก็แปลก จ ดาบ] (ส�ำ) ว. ไม่มีทางเป็น แตก่ ้ี ตัวแม่หมอ่ มก็มผี ัว คลา้ ย ฉ ไปได้, ไม่มีวันท่ีจะเกิดขึ้นได้ เองกม็ เี มยี (เพลงโคราช), เอา ช ตรงกับส�ำนวนน�้ำท่วมหลัง มาน้ีมาแม่หม่อมแม่จอมขวัญ ซ เปด็ เชน่ ยืมเงินแล้วสญั ญาว่า (สภุ มติ ฯ), แมเ่ นอ้ื ถ,ี่ แมเ่ อวกลม ฐ ใช้คืนก็ต่อเมื่อให้คุณหญิงโม กว็ า่ เชน่ สกั เมอื่ ไรจะไดพ้ บแม่ ฒ (รูปปั้นอนุสาวรีย์) ยกดาบ เนอื้ ถี่ (น.ิ พระปาจติ ), แมเ่ อวกลม ด เสยี กอ่ น ซึง่ ไมม่ ีทางเป็นไปได.้ โฉมงามเดนิ ตามผวั (สภุ มติ ฯ). ต แม่ยอดขมองอ่ิม [แม่-ยอด- แม่ใหญ่ น. ยาย. ถ ขะ-หฺมอง-อ่ิม] น. แม่ทูนหัว, แมอ่ ีนาง น. ภรรยา, เป็นค�ำ ท ค�ำเรียกผู้หญิงเชิงประชด. ที่สามีเรียกภรรยา ท�ำนองว่า ธ แม่ย่า น. แม่ของสามี, แมข่ องลกู สาว. น แม่ของผัว. แม่เอวกลม ดู แมห่ มอ่ ม. บ แมร่ กั [แม-่ ลก่ั ] น. แมข่ องเพอื่ น. แม่ไอน้ าย น. ภรรยา, เป็นคำ� ป แม่ร้องลูกน�้ำตาไหล [แม่- ท่ีสามีเรียกภรรยา ท�ำนองว่า ผ ลอ่ ง-ลกู -นา่ ม-ตา-ไหล] (ปรศิ ) แมข่ องลูกชาย. ฝ น. ระหดั วดิ น�ำ้ . แมค็ โค น. แบค็ โฮ, รถแทรก็ เตอรช์ นดิ พ แมเ่ รอื น ดู เรือนนอน. หน่งึ มเี ครอื่ งตกั และขุดดินได.้ ฟ แมส่ ามเชย ดู ทรามชม. แมงกุดจี่ [แมง-กุ๊ด-จี]่ ดู กดุ๊ จ.่ี ภ แมส่ ามเปลย่ี ว ดู ทรามชม. แมงคาม น. แมงกวา่ ง, กวา่ ง. ม แมส่ ายบวั แตง่ ตวั เกอ้ (สำ� ) น. ย ผู้หญิงที่แต่งตัวคอยผู้มารับ แมงคาม ร ออกไปนอกบ้าน แต่เขาไม่มา ฤ ตามนัด เลยแต่งตัวคอยเก้อ, แมงจู่จ่ี ดู ก๊ดุ จ.ี่ ล แตง่ ตัวเสร็จแลว้ ไม่ได้ไปเพราะ ว ศ ส ห อ ฮ 234
พจนานุกรม ภาษาโคราช แมงซอน น. แมงกะชอน. ตก๊ ตบุ้ ใสห่ มวกแต้ แมงไอ; บาง ก แมงต่อยมวย น. ต๊ักแตนต�ำข้าว, ท้องถ่ินออกเสียงเป็น แมงไอ๋ ข หรอื พดู ว่า แมงไอเอ้า กม็ .ี ค แมงมวย กว็ ่า. แม่น ว. ใช,่ ถกู ตอ้ ง. แม่นละ่ แมะ, แม่น ฆ แมงทยุ ดู แมงฟ่า. ล่ะวา้ , แม่นล่ะเด่ ดู แมน่ ก็ว่า. ง แมงพอน น. พงั พอน. แม่นละ่ เด่ ดู แมน่ . จ แมงฟ้า [แมง-ฟ่า] น. แมลงปอ, แมน่ ละ่ แมะ ดู แมน่ . ฉ แมน่ ละ่ วา้ ดู แม่น. ช แมงทุย, แมงมอย, แมงวอย แม่นขมัง [แม่น-ขะ-หฺมัง] ว. แม่น ซ ก็ว่า. เหมือนจบั วาง, แม่นย�ำ. ฐ แม็บ ว. ฉับไว, ฉับพลัน เช่น ยบิ แม็บ ฒ แมงฟ้า (หยิบอย่างฉับไว), ค่ัวแม็บ ด (คว้าอย่างฉับไว), มบ่ั ก็วา่ . ต แมงมวย ดู แมงต่อยมวย. แมบ็ ๆ ว. แวบ็ , แวบ็ ๆ, ปรากฎใหเ้ หน็ ถ แมงมอย ดู แมงฟ่า. ช่วั ประเดียวหนึง่ กห็ ายไป. ท แมงวอย ดู แมงฟ่า. แมวโคราช น. แมวสสี วาด มถี นิ่ กำ� เนดิ ธ แมงเสียบ น. แมลงสาบ. ที่อ�ำเภอพิมาย โคราชจึงเรียก น แมงหมี่ น. แมลงหวี่. ว่า “แมวโคราช” ได้รับการ บ แมงหีหอ้ ย [แมง-ห-ี หอ่ ย] น. แมลง ยกย่องว่า เป็นแมวที่สวยสง่า ป และใหโ้ ชคลาภแกผ่ เู้ ลี้ยง, แมว ผ หง่ิ ห้อย. ดอกเลา, แมวมาเลศ ก็เรยี ก, ฝ แมงเหม่ยี ง น. แมลงชนิดหนึ่งตวั เลก็ (ดู สสี วาด ประกอบ). พ แมวดอกเลา น. แมวสีสวาด ขนสี ฟ สีด�ำ อาศัยอยู่ในน�้ำ อกเป็น ดอกเลา, แมวมาเลศ ก็ว่า, (ดู ภ เงีย่ งแหลม. สีสวาด ประกอบ). ม แมงไอ ว. อะไร, อะไรเอย่ ; เป็นคำ� แมวทองแดง น. เปน็ แมวในสายพนั ธ์ุ ย ขึ้นต้น, ค�ำลงท้ายในการทาย แมวสสี วาด, แมวศภุ ลกั ษณ์ กว็ า่ . ร ปญั หา ทำ� นองวา่ อะไรเอย่ เชน่ แมวปลายา่ ง น. การเลน่ อยา่ งหนงึ่ ให้ ฤ แมงไอต๊กตุบ้ ใส่หมวกแต้ หรือ คนหนงึ่ เปน็ แมว อกี คนเปน็ ปลา ล ว ศ ส ห อ ฮ 235
แมวโพง - ไม้คานหวั หยง่ ยา่ งใชผ้ า้ ผกู ตาคนทง้ั สองใหม้ ดิ โม่ง ว. คยุ โต, เสยี งดงั เชน่ พูดแต่ละ ส่วนคนอื่น ๆ จับมือกันเป็น คำ� มีแต่โมง่ ๆ ท่ังนัน่ . วงกลมไม่ให้แมวและปลาย่าง ก ออก แมวจะรอ้ งวา่ “แมว” ปลา โมน ก. ตี เชน่ โมโหหนุ หัน วง่ิ ข่นึ ไปบน ข ย่างจะรอ้ งว่า “ปลาย่าง” แลว้ หอ ฉวยได้ไมส่ มอ หมายจะโมน ค สมอง เห็นเมียเปิดอ๊กอ้างล่าง ฆ แมวไล่จับปลาย่าง ถ้าแมวจับ เลยรีบวางกระบอง (เพลง ง ปลาย่างได้ก็ชนะ แล้วสลับ โคราช). จ เปล่ียนกันเล่น. ฉ โมม น. บรเิ วณโคกอวัยวะเพศหญงิ . ช แมวโพง น. แมวตัวโตเวลาร้องออก โมม่ ก. หมำ่� ขา้ ว, กนิ อยา่ งเอรด็ อรอ่ ย ซ เสียงหง่าว ๆ, แมวหงา่ ว กว็ ่า. ฐ หรอื อยา่ งตะกละตะกลาม, ขะโมม่ ฒ แมวมองหมู่แมวเซา น. พลลาด กว็ า่ . ด ตระเวน, กองทหารที่คอยระวัง โมย่ ๆ ว. ไบ่ ๆ, อาการทเี่ ค้ียวสง่ิ ของ ต เหตุ เช่น จัดทัพแมวมองหมู่ ท�ำปากเย้อื งไปมา, เคยี้ วอย่าง ถ แมวเซาออกตรวจตราดูอยู่ เอรด็ อร่อย. ท เสมอ (ท้าว ฯ). โมลี น. ช่ือไม้ต้นชนิด Reevesia ธ siamensis Craib ในวงศ์ น แมวมาเลศ ดู แมวดอกเลา. Sterculiaceae. บ แมวศภุ ลกั ษณ์ ดู แมวทองแดง. โมะ ๑. น. อวยั วะเพศหญิง, อโี ม่ะ กว็ า่ . ป แมวสีสวาด ดู แมวโคราช. ๒. ก. ตี เชน่ โมะหวั (ตหี ัว). ผ ไม้ [มา่ ย] น. คำ� รวมเรยี กพชื ทวั่ ไป, คำ� ฝ แมวหง่าว ดู แมวโพง. ประกอบหนา้ สง่ิ ของบางอยา่ งท่ี พ โม่ ๑. น. โรคชนิดหน่ึงท่ีเปน็ แผลตาม มลี กั ษณะยาวทำ� ดว้ ยไม.้ ฟ ไมก้ วดแขง็ [มา่ ย-กวด-แข็ง] ภ รา่ งกายเกดิ จากตมุ่ คลา้ ยฝแี ตก น. ไมก้ วาดทที่ ำ� จากกงิ่ ไม้ เชน่ ไม้ ม เป็นแผลคล้ายโรคคุดทะราด ขัดมอญ ทางมะพร้าวใช้กวาด ย ถ้าแผลใหญ่เรยี ก กะชาด. เศษสงิ่ ตา่ ง ๆ บรเิ วณลานบา้ น. ร ๒. น. เมลด็ เนา่ หรอื มแี มลงเจาะ ไมก้ วดเสยี้ นตาล [มา่ ย-กวด- ฤ เช่น เข่าโพดไม่มีโม่มีแมง เสี่ยน-ตาน] น. ไม้กวาดที่ท�ำ ล จากเสี้ยนตาลด้ามยาวใช้กวาด ว (ข้าวโพดเมล็ดไม่เน่าหรือไม่มี ศ แมลงเจาะ. ส โมง ว. ใหญ่ (ใช้แกผ่ ลไม)้ เช่น มุคา่ ห อ โมง (มะค่าใหญ)่ . ฮ 236
พจนานุกรม ภาษาโคราช หยากไย.่ ไม้ขัดก้น [ม่าย-คัด-ก้น] น. ไม้กวดหนาม [ม่าย-กวด- ไม้ไผ่ ๒ อนั ไขวเ้ ปน็ กากบาทขดั หนาม] น. ไม้ขอเกี่ยวฟางโดย ท่กี น้ กระเชอให้แข็งแรง. ใช้ส่วนของไม้ไผ่หรือไม้รวกที่ ไม้คอ [มา่ ย-คอ] น.ไมแ้ ผ่นรูป ก เป็นแขนงก่งิ . สี่เหล่ียมด้านหน่ึงแบนเรียบอีก ข ค ไมก้ วดออ่ น [มา่ ย-กวด-ออ่ น] ด้านแกะเป็นเส้นยาวขนานกัน ฆ น. ไมก้ วาดทที่ ำ� จากดอกพงหรอื มดี า้ มสำ� หรบั ถอื ใชป้ น้ั หมอ้ หรอื ง ดอกแขม. ตหี มอ้ . จ ฉ ไมก้ วดออ่ นหางไก่ [มา่ ย-กวด- ไมค้ านหวั โมะ [มา่ ย-คาน-หวั - ช ออ่ น-หาง-ไก]่ น. ไม้กวาดออ่ น โม่ะ] น. ไม้คานที่ปลายทง้ั สอง ซ ชนิดที่ท�ำงอนคล้ายหางไก่, (ดู ตรง ไมง่ อนชูขนึ้ เหมอื นไมค่ าน ฐ ไมก้ วดออ่ น ประกอบ). ฒ หัวหย่ง, (ดู ไม้คานหัวหย่ง ด ไม้แก่นหล่อน [ม่าย-แก่น- ประกอบ). ต หลอ่ น] น. ไม้ที่ยนื ต้นตาย, ไม้ ถ ที่ตัดไว้นานหรือแช่น้�ำ จน ท ธ เปลือกและกระพ้ีหลุดล่อนออก น หมดเหลือแตแ่ ก่น. ไมค้ านหัวโมะ บ ไมข้ ะเยยี [มา่ ย-ขะ-เยยี ] น. ไม้ ป ๒ แผน่ หรอื ๒ ทอ่ น ตอกตะปู ไมค้ านหวั หยง่ [มา่ ย-คาน-หวั - ผ หรอื ยดึ ตดิ กันแล้วแยกส่วนบน หยง่ ] น. ไม้คานที่ปลายท้ังสอง ฝ ออกเปน็ ง่ามเพอื่ ใชค้ ้�ำ. งอนชูขึ้น หรืองอนขึ้นเพ่ือกัน พ ไม้ขะแหนบ [มา่ ย-ขะ-แหนฺ บ] ฟ มภ น. ไม้สอยผลไม้โดยผ่าปลาย ส่ิงของทหี่ าบหลุด. ย แลว้ ใชเ้ ศษไมเ้ ลก็ ๆ ขดั ใหแ้ ยก. ร ฤ ล ว ไมข้ ะแหนบ ศ ส ห ไมค้ านหวั หยง่ อ ฮ 237
ไม้แคด็ - ไม่มดี ้วงไม่มีแมง ไมแ้ ค็ด [มา่ ย-แคด่ ] น. ไมง้ ัด ขนาดยาวขนาด ๑ ฟุตเศษ ใช้ ยงิ สะบา้ แทนนวิ้ มอื ทำ� ดว้ ยไมไ้ ผ่ ขัดหรือถ่างด้านหัวอู่หรือเปล ก ใช้ส�ำหรับฝ่ายหญิงเท่านั้น. ไม้ เด็กให้กางออก; นิยมใช้ไม้ไผ่ ข แงด็ ก็วา่ . เพราะหางา่ ย. ค ไมแ้ งด็ [มา่ ย-แงด่ ] ดู ไมแ้ คด็ . ไมป้ ัด [ม่าย-ป๊ัด] น. ไม้กวาด. ฆ ไม้จ๊ักกะเท้า [ม่าย-จั๊ก-กะ- ไม้ ไฟ [มา่ ย- ไฟ] น. ไม้ขีดไฟ. ง ทา่ ว] น. ไมส้ ักกะเทา้ , ไม้เท้า. ไมม้ อื แมว [ม่าย-มือ-แมว] ดู จ ไมจ้ ัก๊ กะลัน [มา่ ย-จ๊ัก-กะ-ลัน] มอื แมว. ฉ น. ไมเ้ ขยี่ ขา้ ว ทำ� ดว้ ยไมไ้ ผเ่ หลา ช แบน ๆ ใชเ้ ขี่ยทกี่ ้นครกเพื่อให้ ไมม้ ือแมว ซ ตำ� ท่ัวถึง, ไมจ้ กั๊ กะไหล่ ก็ว่า. ฐ ไม้จั๊กกะไหล่ [ม่าย-จ๊ัก-กะ- ไมส้ งู กวา่ แมจ่ แิ พล้ มบน [มา่ ย- ฒ ไหล่] ดู ไมจ้ ัก๊ กะลัน. สงู -กวั่ -แม-่ จ-ิ แพ-่ ลม-บน] (สำ� ) ด ไม้ตะขอ [ม่าย-ตะ-ขอ] น. ไม้ น. คนที่อวดเก่งไม่เชื่อฟังผู้อื่น ต ท�ำเป็นขอใช้เกาะสอยผลไม.้ อาจผดิ พลาดหรือเสยี หายได.้ ถ ไม้ตขี ้าว [มา่ ย-ต-ี เข่า] น. ไม้ ไมเ้ สยี บกน้ [มา่ ย-เสยี บ-กน้ ] ท ส�ำหรบั ใช้ตีขา้ ว, นวดขา้ ว, ไม้ ดู ไม้เสยี บตูด. ตีหัวข้าว ก็ว่า, (ดู ตีข้าว ไม้เสยี บตูด [ม่าย-เสียบ-ตดู ] ธ ประกอบ). น. ไม้ไผ่ท่ีใช้เสียบด้านก้นเพื่อ น ข้นึ รปู กระเชอ; ไมไ้ ผ่ ๒ อันไขว้ บ กนั เปน็ กากบาทเสยี บแผน่ ตอก ป ท่ีสานเป็นแผ่นส่ีเหลี่ยมจัตุรัส ผ ด้านก้นกระเชอเพ่ือขึ้นเป็นรูป ฝ พ ฟ ภ ไมต้ ีข้าว ม ย ร ฤ ล ว ศ ส ไมต้ หี วั ข้าว [มา่ ย-ตี-หัว-เขา่ ] ดู ไมต้ ีขา้ ว. ห ไม้ถ่างอู่ [ม่าย-ถ่าง-อ]ู่ น. ไม้ อ ฮ 238
พจนานุกรม ภาษาโคราช กระเชอ,ไมเ้ สียบกน้ ก็วา่ . ช่างผ่องแผ้วไม่ต�ำรีไม่ตีถิน ก ไม้หลาบ [ม่าย-หลาบ] น. (นิ.พระปาจิต). ข ไม่ถูกโฉลก [ไม่-ถูก-ฉะ-โหฺลก] ว. ค ไ ม ้ รู ป สี่ เ ห ล่ี ย ม มี ด ้ า ม ถื อ มี ไม่ถูกโรคกัน, ไม่ต้องอัธยาศยั , ฆ ลักษณะคล้ายไม้คอ ใช้ตีหรือ ไมช่ อบ, ไม่ถูกชะตา ก็ว่า. ง ปน้ั ภายนอกหมอ้ ควบคกู่ บั หนิ ดุ ไม่ถกู ชะตา ดู ไม่ถกู โฉลก. จ ให้เรียบแน่นจากน้ันจึงแต่ง ไมท่ ่า ว. ไม่ค่อย, ไมใ่ คร่ เชน่ ไม่ท่ามา ฉ ลวดลายตามที่ต้องการ, (ดู (ไม่คอ่ ยมา). ช ไมค้ อ, หนิ ดุ ประกอบ). ไม่แน่ไม่แชแ่ ป้ง (สำ� ) ก. แสดงความ ซ ไมกรี น. ไมตร,ี ความหวังดีตอ่ กัน เชน่ ม่ันใจ, ต้องเป็นไปอย่างที่พูด ฐ ปราศรัยด้วยดี เป็นทางไมกรี แนน่ อน; ใช้เป็นคำ� ทา้ . ฒ (น.ิ รูปทอง). ไมป่ าก ว. ไมพ่ ูด ด ไมเ่ ขา้ แกบ๊ [ไม-่ เขา่ -แกบ้ ] ว. ไมเ่ ขา้ ทา่ , ไม่ปากหา ว. ไม่พูดหา, ไม่พูดด้วย. ต ไม่ไดเ้ ร่ือง. ไมเ่ ป็นตา ว. ไมน่ ่า เช่น ไมเ่ ป็นตากนิ ถ ไมเ่ ครง่ ไมค่ รดั เหมอื นดงั หาบดงั คอน (ไม่นา่ กิน). ท [ไม่-เค่ง-ไม่-คั่ด-เหฺมือน-ดัง- ไม่เป็นเร่ืองเป็นแถว ว. ไม่เป็นเร่ือง ธ หาบ-ดงั -คอน] (สำ� ) ไมย่ งุ่ ยาก, เปน็ ราว. น ไมม่ พี ธิ รี ตี อง เหมอื นกบั หาบของ. ไม่พอมือ ว. ไม่เกินก�ำลัง, ไม่กระทบ บ ไม่ฉาก ดู ไมม่ าฉาก. กระเทอื นก�ำลังความสามารถ. ป ไมช่ นะ [ไม่-ชะ-น่ะ] ดู ชนะ. ไม่พอยา ว. ไม่เพียงพอ เช่น ไม่พอ ผ ไม่ได้กระผีก (ส�ำ) เป็นค�ำดูแคลนใน ยาด๊อกเงินแค่น่ี (ไม่พอหรอก ฝ ท�ำนองวา่ ไมไ่ ด้ครึง่ , ไม่ได้แค่ เงินแค่นี้). พ เสย้ี ว. ไม่มาใกล้ ดู ไม่มาฉาก. ฟ ไม่ได้เหงิบได้เงย [ไม่-ได้-เหฺงิบ-ได้- ไม่มาฉาก ว. ไม่เฉียดหรือกรายมา, ภ เงย] (ส�ำ)ไม่ได้หยุดหย่อน, ไมไ่ ปมาหาสเู่ หมอื นเคย, ไมผ่ า่ น ม ท�ำงานเพลินจนไมไ่ ดเ้ งยหนา้ . มาเลย, ไมฉ่ าก, ไมม่ าใกล้ กว็ า่ . ย ไม่ตายงา่ ย อ. ค�ำอทุ านเมื่อพูดถงึ ใคร ไมม่ คี อ ไมม่ หี วั มแี ตต่ วั ถงึ เวลาตเี อา ร คนหน่ึงแลว้ คน ๆ น้ันกม็ าพอด,ี ตเี อา (ปริศ) น. กลอง. ฤ ตายยาก กว็ ่า. ไม่มีด้วงไม่มีแมง (ส�ำ) บริสุทธ ิ์, ล ไมต่ �ำรไี มต่ ีถนิ (ส�ำ) ไมด่ า่ งพรอ้ ย เช่น ว ศ ส ห อ ฮ 239
ไมม่ ตี วั ไม่มแี ขน มแี ต่หนา้ ถึงเวลาตเี อา ๆ - ยงั รุ่งยังค�่ำ ไม่มีมลทิน (มักใช้เก่ียวแก่ ไม่เห็นใหญเ่ ปน็ ดู ไมร่ จู้ ักใหญ.่ พรหมจารี). ไมเ่ หลอื [ไม-่ เหฺลือ] ว. แนน่ อน, จรงิ , ไม่มีตัว ไม่มีแขน มแี ต่หน้าถงึ เวลาตี ก เอา ๆ [ไม-่ ม-ี ตัว-ไม่-ม-ี แขน- เปน็ อย่างที่พดู เช่น คนหนึ่งพูด ข มี-แต่-หน่า-ถึง-เว-ลา-ตี- ว่า “ถ้าไปอยู่ภาคเหนือต้องได้ ค เมียคนเหนือแน่นอน” อีกคน ฆ เอา-ตี-เอา] (ปริศ) น. กลอง. ตอบว่า “ไม่เหลือ” ไม่เหลือ ง ไม้เมืองเดิม [ม่าย-เมือง-เดิม] น. แหลว่ กว็ า่ . จ ไมเ่ หลือแหล่ว ดู ไม่เหลอื . ฉ ของเก่า. ไม่ใหญ่ ว. ค�ำพูดน้ีถ้าใช้แก่เด็กท่ีเจ็บ ช ไมร่ านกนิ ว. ไมช่ อบกนิ , ไมแ่ ยง่ กนั กนิ . ปว่ ยหมายถงึ ไมร่ อด หรอื ไมอ่ ยู่ ซ ไมร่ จู้ กั ใหญ่ [ไม-่ ล-ู่ จกั๊ -ไหยฺ ]่ ว. ไมเ่ หน็ จนเตบิ ใหญ.่ ฐ ไม่ใหญเ่ ป็น ดู ไม่รูจ้ ักใหญ.่ ฒ เติบใหญ่สักที, ไม่ใหญ่เป็น, ไม่อยู่สุข [ไม่-หฺยู่-ซุก] ก. อยู่ไม่สุข, ด ไมเ่ ห็นใหญเ่ ป็น, ก็วา่ . อยู่นงิ่ ๆ ไมไ่ ด้. ต ไมร่ ดู้ อกเด่ [ไม-่ ล-ู่ ดอก-เด]่ ว. ไมร่ ,ู้ ไม่เอาส�่ำ ว. ไม่เอาถ่าน, ไม่เอาการ ถ เอางาน, ไม่รักดี. ท ไมร่ หู้ รอก, ไมท่ ราบ, ไมร่ เู้ ด่ กว็ า่ . ไม่เอาเหนียง ว. ไม่เอาถ่าน, ธ ไม่รู้เด่ [ไม-่ ล-ู่ เด]่ ดู ไม่ร้ดู อกเด.่ ไม่เอาการเอางาน, ไม่รักดี, น ไม่รู้แห่ง [ไม่-ลู่-แห่ง] ว. จนใจ, ไม่เอาใคร, ไม่สนใจใคร, บ จนปญั ญา, ไมร่ วู้ า่ จะทำ� อยา่ งไร. ไม่อินังขังขอบกับใคร. ป ไม่เอาเหมือด ว. ไมเ่ อาพวกพ้อง, ไม่ ผ ไม่ลืมหูลืมตา ว. หนัก, รุนแรง เช่น รักดี, ไมเ่ อาถา่ น. ฝ ตก๊ จนไมล่ มื หลู มื ตา (ฝนตกหนกั ). ไม่เอาเหมือดใคร ว. ไม่เอาใคร, พ ไม่เล็ดไม่หลิน [ไม่-เล่ด-ไม่-หลิน] ไม่สนใจใคร, ไม่อินังขังขอบ ฟ กับใคร. ภ (สำ� ) ตระหนี,่ ประหยดั , ไมใ่ ห้ ม บกพร่อง ; เงินทองไม่ให้ ย เล็ดลอด. ร ไมว่ า่ แลว้ [ไม-่ วา่ -แหลฺ ว่ ] ว. ไมข่ ดั ขอ้ ง, ฤ ยนิ ดี. ล ว ศ ส ห อ ฮ 240
ยกครู [ยก่ -คู] (ปาก) ก. ท�ำพิธบี ูชาครู ยพจนานุกรม ภาษาโคราช ก หรือส่ิงท่ีนับถือด้วยเครื่อง และวัฒนธรรมของตนเอง, ข สั ก ก า ร ะ ก ่ อ น จ ะ ท� ำ พิ ธี ท า ง ไทยยวน กเ็ รียก. ค ไสยศาสตรต์ ่อไป ; โดยปรยิ าย ย้วย [ย่วย] ก. ย้อย, ค่อย ๆ หยด ฆ หมายถึงการเสียตัวของผู้หญิง ลงมา เช่น ไหลย่วย. ง เช่น ยกครูหรือยงั . ยโสโอหงั ก. แสดงกริ ยิ าวาจาหยง่ิ ยโส. จ ยอ ก. หยุด, เปน็ ค�ำส่งั ใหส้ ตั ว์อยกู่ บั ท่.ี ฉ ยกยอ [ย่ก-ยอ] ก. ยกย่อง. ยอ็ ก ๆ ก. เหยาะ ๆ, อาการวิ่งชา้ ๆ, ช ยกเรอื น [ยก่ -เลอื น] ก. ปลกู บา้ นหรอื เหยง ๆ กว็ ่า. ซ ยองยอ่ ว. ยอง ๆ, นงั่ ชันเขา่ ท้ัง ๒ โดย ฐ เรอื น, สร้างบ้านหรือเรอื น. กน้ ไม่ถงึ พื้น. ฒ ยกล่อ [ย่ก-ลอ่ ] น. โอยัวะหรอื กาแฟ ยอดต๊ปุ ตุ๊ ๊ิปิ๊ ดู ยอดอุ๊ปุอ๊ ิ๊ป๊ิ. ด ยอดเย่ียมกระเทียมดอง (ส�ำ) ว. ต ดำ� ใส่นมสด. ดีทีส่ ุด, เลศิ ท่ีสดุ , เยยี่ มยอด. ถ ยกสง [ย่ก-สง] ก. ยกย่อง เช่น เขาก็ ยอดอุ๊ปุ๊อิ๊ปิ๊ ก. แตกยอดอ่อนสะพร่ัง, ท ยอดตุ๊ปตุ๊ ิ๊ป๊ิ กว็ ่า (ถิน่ โชคชยั ). ธ เฝ้ายกสงพระทรงศรี (เพลง ย้อน [ย่อน] ว. เพราะ, เพราะว่า, น โคราช). เป็นเพราะ. บ ยกเสาลงหลมุ [ยก่ -เสา-ลง-หลฺ มุ ] น. ยอบ ก. ยุบ, เฉา. ป ยกเสาเอก, โดยปริยายหมาย ยอแย ก. กวนใจ, ตอแย เชน่ มายอแย ผ ถึง งานแต่งงาน. แงง่ อนใหห้ ลงงาม (สภุ มติ ฯ). ฝ ยงดนิ ก. พรวนดิน. ยะ ก. แยก, แบะออก, แยะ. พ ยงโยะยงโย่ ก. ยงโยย่ งหยก, กริ ยิ าท่ี ยักแย่ยักยัน ก. ฉดุ ดงึ กัน, แหยเ่ ข้าดึง ฟ จะยนื กไ็ มใ่ ชจ่ ะนงั่ กไ็ มเ่ ชงิ , กริ ยิ า ออกเหมอื นแหย่งใู นรู. ภ โคง้ ตวั กง่ึ นงั่ กงึ่ ยนื เคลอื่ นไปมา. ยังเขายังเอง ว. อย่างเขาอย่างเรา, ม ยวงนม น. นมสตั ว์ เชน่ วัว, ควาย เชน่ อย่างเขาอย่างเอง ก็ว่า. ย ยวงนมย่าง. ยงั รุง่ ยงั ค�ำ่ ว. ทัง้ วันทง้ั คนื . ร ยวน น. ชนกลุ่มหนึ่งอพยพมาจาก ฤ ลา้ นนาหรอื ภาคเหนอื ตงั้ ถนิ่ ฐาน ล อยู่แถบอ�ำเภอสีค้ิว มีภาษา ว ศ ส ห อ ฮ 241
ยัน - ยม้ิ เฝ่ือน ๆ ยัน ๑. ก. ถีบ, ใช้ฝ่าเท้าดนั ไปโดยแรง. ยาตนี ดนิ น. ยาเสน้ ทท่ี ำ� จากใบ ๒. ว. ตะพดึ ตะพอื , เรอ่ื ยไป เชน่ ตรงช่วงโคนต้นยาหรือช่วงติด ไปยนั (ไปตะพดึ ตะพอื ). กับดิน นัยว่ารสชาตจิ ะจดื ชดื ไม่ ก ๓. ว. จวบจวน, จนถึง เช่น เปน็ ที่นิยม. ข ดลู ิเกยนั แจง้ . ค ยาใบตอง น. บุหรี่, ยาสูบท่ี ฆ ยดั ก. กิน; ใชเ้ ป็นคำ� ไมส่ ุภาพ. ใชใ้ บตองมวน. ง ยดั หา่ ก. กิน; เป็นค�ำไม่สุภาพ, จ ยาใบตอง ฉ แดกหา่ กว็ า่ . ช ยบั เย่ียว [ย่บั -เย่ยี ว] น. เลบ็ เหยี่ยว, ยายอด น. ยาเสน้ ที่ทำ� จากใบ ซ เย่บเยี่ยว กว็ ่า. ชว่ งยอดต้นยา นยั วา่ จะมคี วาม ฐ ฉุนมาก. ฒ ยา น. ยาสบู , สงิ่ ทใี่ ชแ้ กห้ รอื ปอ้ งกนั โรค ด หรอื บำ� รุงร่างกาย. ยาสฟี ัน น. ยาเส้นท่ใี ชถ้ ฟู นั ใน ต ยากลาง [ยา-กลาง] น. ยาเสน้ เวลากนิ หมากแลว้ มว้ นเปน็ กอ้ น ถ ทท่ี �ำจากใบกลางตน้ ยา นยั วา่ มี เลก็ ๆ จุกไว้ท่ีมมุ ปาก ถา้ จกุ ไว้ ท รสชาติดี, นมุ่ นวล. มุมปากด้านบนเรียกว่า ตนู ยา. ธ น ยากะแร็ต [ยา-กะ-แล่ต] น. ยาหลาบ น. ยาแก้ซางตาน บ บุหรี่ที่บรรจุซอง เช่น บุหรี่ ขโมย ประกอบด้วยสมุนไพร ป พระจันทร์, เกล็ดทอง เป็นต้น. หลายชนิดใชต้ ม้ รับประทาน. ผ ฝ ยาก ใชป้ ระกอบค�ำอื่นมคี วามหมายใน พ ท�ำนองวา่ ไม่….งา่ ย, ไม.่ ....เรว็ ฟ เช่น ยากไป (ไมไ่ ปงา่ ย ๆ) ยาก ภ มา (ไม่มาเร็ว). ม ย ยากจนข้นแค้น [ยาก-จน-ข้น-แค่น] ร ว. อตั คดั , ขัดสน, ยากแคน้ . ฤ ล ยากะแร็ต ยากซา ว. ยาก, ล�ำบาก, ยากเย็น. ว ยาซุม น. ยาหม่,ู ยาสมนุ ไพร ศ หลาย ๆ ชนิด. ส ยาดดู น. บุหร่ีท่ใี ชใ้ บตองแหง้ ห อ หรือกระดาษมวนยาเส้น. ฮ 242
พจนานุกรม ภาษาโคราช ยางปากออก (ส�ำ) ก. พูดเป็นลาง ยานหกู ก. คลายปมเส้นไหมหรือด้าย ก สงั หรณ์, พูดเป็นลางรา้ ย. ใหห้ ยอ่ น. ข ค ยางมอกใหญ่ น. ค�ำมอกหลวง ; ไม้ ยามนอนมนั ตงั้ ยามตง้ั มนั นอน (ปรศิ ) ฆ ยืนตน้ ขนาดเลก็ มียางสีเหลอื ง น. เทา้ . ง เมลด็ ตม้ เคย่ี วผสมกบั น�้ำ ใช้ฆา่ จ เหา, ผ่าด้าม, ค�ำมอกชา้ ง ก็ว่า. ยามไปเทา่ บิง้ นา ยามมาเทา่ กอ้ นเส้า ฉ [ยาม-ไป-เทา่ -บง้ิ -นา-ยาม-มา- ช ยางระวง [ยาง-ล่ะ-วง] น. หนงั ยาง, เทา่ -กอ้ น-เสา่ ] (ปริศ) น. แห. ซ ยางวง, เสน้ ยางวงกลมเล็ก ๆ ฐ สำ� หรบั ใช้รัดส่งิ ของ, (ดู ระวง ย่าโม น. ท่านท้าวสุรนารี ; เดิม ฒ ประกอบ). ชาวเมืองเรียก “แม่โม” หรือ ด “คุณหญิงโม” ปัจจุบันคน ต ยางระวง ท่ัวไปเรียก “ย่าโม”. ถ ท ย่างสามขมุ น. ทา่ ชกมวย, ทา่ รำ� ของ ย่าว ดู ง่าว. ธ หมอเพลงโคราช ในลักษณะ ยาวโคดโลด ว. ยาวเฟือ้ ย. น ยา่ งกา้ วเปน็ จงั หวะยกั เยอื้ งเปน็ ยาวเจือ้ ย ว. ยาวเฟอื้ ย. บ ๓ เส้า. ยิก ว. หยิก, หงกิ . ป ยงิ ยอม ว. ยินยอม. ผ ย่าน น. พวก เชน่ ไอย้ ่านผชู้ ายไมก่ ลัว ยิ่งว่ายิ่งเสริญ [ย่ิง-ว่า-ยิ่ง-เสิน] ว. ฝ ดอ๊ ก (พวกผู้ชายไมก่ ลวั หรอก), พ ย่านผู้ชายถ้ามาเทียบเปรียบ ย่ิงพดู เหมอื นยิง่ ยุให้ทำ� . ฟ เสมอ (น.ิ พระปาจิต). ยบ่ิ ก. เย็บ. ภ ยมิ้ แกม้ ปริ [ยิม่ -แกม้ -ป]๊ิ ก. ยิ้มแฉ่ง ม ยานโตงเตง ว. โดยปริยายหมายถึง ย อัณฑะหรือนมยานลงหรือห้อย จนแก้มแทบแตกเป็นรอยร้าว. ร ลงแกว่งไปมา. ยม้ิ จนเหน็ เหงอื ก [ยม่ิ -จน-เหน็ -เหงฺ อื ก] ฤ ล ยา่ นเมาะ ดู เครือตาปา. ก. ยิ้มในลักษณะอ้าปากกว้าง ว จนเหน็ เหงอื ก. ศ ยิ้มเจ่ือน ๆ [ย่ิม-เจื่อน-เจื่อน] ดู ส ยิ้มเฝอ่ื น ๆ. ห ย้ิมเฝื่อน ๆ [ยิ่ม-เฝื่อน-เฝื่อน] ก. อ ย้ิมอย่างวางสีหน้าไม่สนิท, ฮ ยมิ่ เจอ่ื น ๆ ก็ว่า. 243
ย้ิมแหยะ ๆ - โยโส ย้ิมแหยะ ๆ [ยิ่ม-แยะ-แยะ] ก. แสยะ ยุบยิบ ก. ยบุ ยบั , อาการทเี่ คลอ่ื นไหว ย้มิ , ยม้ิ แหย, ย้มิ อยา่ งเก้อเขนิ , กระดุบกระดิบของสัตว์เล็ก ๆ ฝนื ยิ้ม. อยา่ งหนอน, มด, ปลวก จำ� นวน ก ยึก [ย่ึก] ก. ทะยาน, กระดุกกระดกิ , มาก; ปริยายใช้แก่คนจ�ำนวน ข มาก, เคลื่อนไหวขวักไขว่ไปมา. ค ขยบั ตวั , ไหวตวั , อาการท่ขี ยบั ฆ ไปขยบั มาไมอ่ ยนู่ ง่ิ , ยกึ ยกั กว็ า่ . เยก ๆ ว. เอง๋ ๆ, เสยี งอยา่ งเสยี งหมา ง ยึกยกั [ยึก่ -ยัก่ ] ดู ยกึ . ร้อง, เง้ก ๆ กว็ ่า. จ ยึกยือ [ย่ึก-ยือ] ก. อาการท่ีกล้า ๆ ฉ เย็ดแม่มึง [เย่ด-แม่-มึง] ว. ใช้เป็น ช กลัว ๆ. ค�ำด่า. ซ ยืน น. ยก (ใช้แก่การชกมวย); การ ฐ เย็นจ้อย ว. เยน็ เจย๊ี บ, เย็นจดั . ฒ ชกมวยของโคราชสมัยก่อน จะ เยน็ ชะอดึ้ ว. อาการของคนตวั เยน็ มาก. ด ชกคลู่ ะ ๓ ยนื (๓ ยก) โดยชก เย็นอย่างฟัก หนักอย่างหิน [เย็น- ต แบบเวียนรอบ เช่น รายการ ถ มวยมี ๔ คู่ ก็จะชกกนั ทีละคู่ ๆ หยฺ า่ ง-ฟก่ั -นกั -หยฺ า่ ง-หนิ ] (สำ� ) ท ละ ๑ ยืน เมอ่ื ยืนท่ี ๑ ครบ ๔ ใจคอเยอื กเยน็ และหนกั แนน่ . ธ เยบ็ เย่ยี ว [เยบ่ -เยย่ี ว] น. เลบ็ เหยยี่ ว, น ค่แู ลว้ คู่ที่ ๑ จึงจะมาชกยนื ที่ ๒ ยับ่ เย่ียว กว็ ่า. บ เมื่อทุกคู่ชกครบยืนท่ี ๒ แล้ว เยย่ ก. เอนลง, โนม้ , เฉียง, เย้ือง. ป คทู่ ่ี ๑ จงึ จะเรมิ่ ชกยืนท่ี ๓ เรียง เยอ ว. นะ, หนอ เชน่ มาจากไหนกนั เยอ. ผ เยอะแยะตาแปะ๊ [เยอ่ ะ-แยะ่ -ตา-แปะ้ ] ฝ เช่นน้ีไปจนครบทุกคู่ เช่น (ปาก) ว. มากมายกา่ ยกอง. พ ท้ังสิบคู่สู้กันครบท้ังสามยก เยิดยง ว. ยง, ยรรยง, งามสงา่ เชน่ ฟ (นิ.พระปาจติ ). งามเยิดยงเยี่ยมยอดราชยาน ภ ยืนแบน่ ก. ยืนแอน่ . (สุภมิต ฯ). ม ยนื ละหงอย ว. ยืนสลอน. เย่ิน ว. ลักษณะที่เลยหรือเกินออกไป, ย ย่งุ ขย้ี ่งุ ตด [หยงุ่ -ข่ี-หยุง่ -ต๊ด] (ส�ำ) ว. ยื่นออกไป เช่น ขนจมูกเย่ิน ร ยงุ่ , ยงุ่ เหยงิ , ยงุ่ เหมอื นยงุ ตกี นั . ออกมา. ฤ เยบิ ยาบ ว. เนบิ นาบ, ยดื ยาด, อดื อาด. ล เยยี ก ก. เรยี ก. ว ยุ่งพอปานลิงติดแห [หยุ่ง-พอ-ปั่น- เย่ียวไก่ น. คอ้ นกลอง, สะแอะ; ชื่อไม้ ศ ลิง-ติ๊ด-แห] (สำ� ) ยงุ่ เหยิง. ส ห ยุด [ย่ดุ ] ก. ยดึ , ดงึ เช่น วา่ ช้างแล้ว อ อยา่ ไดไ้ ปยดุ หาง (น.ิ พระปาจติ ). ฮ 244
พจนานุกรม ภาษาโคราช เถาเน้ือแข็งชนิด Capparis กว็ า่ เช่น มาเย่ือมยามถามข่าว ก grandis L.f. ในวงศ์ พระจอมขวญั (นิ.พระปาจิต). ข Capparaceae ลำ� ตน้ มหี นาม เย่ือมยาม ดู เยอื่ ม. ค ผลกลมใหญ่ผิวขรุขระ เม่ือสุก แยง่ ยอ น. เคร่ืองมือจองจำ� อย่างหน่ึง ฆ จะสแี ดง ใชท้ ำ� ยาได้. คล้ายขื่อ เช่น เอาแย่งยอผูก ง คอทรลักษณ์ (สุภมิต ฯ). จ เยีย่ วไก่ แย้ม [แยม่ ] ก. แง้ม, เปดิ เพียงเล็ก ฉ น้อย เชน่ แยม่ ประตู. ช เย่ียวหยด [เยี่ยว-ยด] ก. ปัสสาวะ แยะ [แยะ่ ] ก. แยะ, แยก, แตก, แหยะ ซ ไหลออกมาเป็นหยาด ๆ กว็ ่า. ฐ เหมือนน�้ำหยด. โย้ [โย่] ก. ย้าย, โยกยา้ ย. ฒ โยนปีบ ก. วิดน้�ำโดยใช้ปีบ มีเชือก ด เยอื ว. นาน, ยดื เยอื , ยาวนาน. ผูกมัดกับตัวปีบ ๒ ข้าง ต เยอ่ื ม ก. เย่ยี ม, เยยี่ มเยียน, เยือ่ มยาม แลว้ คน ๒ คน ยนื จบั เชอื กคนละ ถ ดา้ น วดิ หรอื พยุ้ นำ้� เขา้ ออกตาม ท ตอ้ งการ. ธ โยโส ก. ยโส, เย่อหยงิ่ เช่น เชิงมสุ า น พูดโยโสพูดโอหัง (นิ.พระ บ ปาจิต). ป ผ โยนปีบ ฝ 245 พ ฟ ภ ม ย ร ฤ ล ว ศ ส ห อ ฮ
ก ข ค ฆ ง จ ฉ ช ซ ฐ ฒ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ อุโบสถเกา่ วัดพระนารายณม์ หาราช ฯ ม ย ร ฤ ล ว ศ ส ห อ ฮ 246
รถตนี ตะขาบ [ลด่ -ตนี -ตะ-ขาบ] น. รถ รพจนานุกรม ภาษาโคราช ก ถังหรือรถหุ้มเกราะของทหาร, ตะปมุ่ ตะป่ำ� ใช้ฝนยารากไม.้ ข (ดู ตนี ตะขาบ ประกอบ). รอก น. เครื่องบอกสญั ญาณ ใชผ้ กู คอ ค ฆ รถหวานเยน็ [ลด่ -หวาน-เยน็ ] น. รถ ววั , ควาย. ง ที่แล่นไปอย่างช้า ๆ ไม่ทันใจ จ ผ้โู ดยสาร. รอก ฉ ช รบกนั [ลบ่ -กนั ] ก. ทะเลาะกัน. รอ็ กหร็อย ว. บางตา, รุ่งรงิ่ . ซ รวก น. ลูกออ๊ ดกบ, เขียด, คางคก. ร้องโก้ก [ลอ่ ง-โก้ก] ก. ร้องไหโ้ ฮ. ฐ รว่ งเผาะ [ล่วง-เพาะ] ก. รว่ งต๋งิ ๆ, รอ้ งจา๊ ก [ลอ่ ง-จา๊ ก] ก. รอ้ งอยา่ งเสยี ง ฒ ด หยดต๋ิง ๆ, หยดแหมะ เช่น หลง, ส่งเสยี งรอ้ งดังผิดปกต.ิ ต น่�ำตาร่วงเพาะ (น้�ำตาร่วงต๋ิง, ร้องแซว [ล่อง-แซ้ว] ก. ร้องระงม, ถ น�้ำตาหยดแหมะ). ท ร่วงรุ่ ๆ [ล่วง-ลุ่-ลุ]่ ก. รว่ งพร.ู รอ้ งไหก้ นั ขรม. ธ รว่ น ว. ซยุ , ลกั ษณะทยี่ ยุ่ ไมเ่ กาะกนั แนน่ ร้องเพลงในครัวจะได้ผัวแก่ [ล่อง- น เหนยี ว เชน่ แตงร่วน (แตงเนอื้ บ ซุย), ซุ่ กว็ า่ . เพง-ไน-คัว-จะ-ได้-ผัว-แก่] ป รวมพ่ีรวมน้อง [ลวม-พี่-ลวม-น่อง] (ส�ำ) ถ้าไม่อยากได้ผัวแก่อย่า ผ ก. พ่ีน้องมาชุมนุมกนั . ร้องเพลงในขณะหุงหาอาหาร ฝ รสทราม น. รสชาตไิ มด่ ี เชน่ ผลหมาก ในครัว; นัยว่าเป็นกุศโลบายที่ พ ดบิ สดยอ่ มมีรสทราม (ทา้ วฯ). จะให้ขมีขมันหรือก้มหน้าก้มตา ฟ ทำ� อาหารโดยไมช่ กั ชา้ เสยี เวลา. ภ รอ รอ้ นจุ้ก [ลอ่ น-จ้กุ ] ว. รอ้ นผา่ ว. ม รอ้ นตบั แลบ [ลอ่ น-ตบั๊ -แลบ] (ปาก) ย รอ น. ภาชนะคลา้ ยอ่างภายในทำ� เป็น ว. รอ้ นมาก, รอ้ นระอจุ นอยไู่ มไ่ ด.้ ร ฤ ล ว ศ ส ห อ ฮ 247
ร้อนปด้ั - ระเบิด รอ้ นปด้ั [ลอ่ น-ปด้ั ] ว. รอ้ นจดั , รอ้ นมาก. ระคาญ [ละ่ -คาน] ก. รำ� คาญ, เบือ่ รอ้ นลกั รอ้ นเล [ลอ่ น-ลก่ั -ลอ่ น-เล] ว. หนา่ ย, ไมส่ บอารมณ์ เชน่ เสวย ทุลักทเุ ล, รอ้ นรน, พะวา้ พะวัง, ก็ไม่ได้ ระคาญใจเป็นนักหนา ก แสดงอาการกระวนกระวาย. (น.ิ รูปทอง). ข รอยคาดมาตรชีวิต น. ร่องรอยของ ค ระคิก [ล่ะ-คกิ ] ว. คกิ ๆ, เสยี งหวั เราะ ฆ ความอาฆาดมาดรา้ ย, พยาบาท เบา ๆ กนั หลายคน. ง อย่างรุนแรง ที่อยู่ในความ จ ทรงจ�ำ เช่น เอาหอก ดาบ ระงึด [ละ่ -ง่ึด] ว. เงียบกรบิ เช่น พอ ฉ นายอ�ำเภอมาคนเงียบระงึ่ด. ช แหลน หลาว สักลงบนหน้า ซ คอ แลตามรา่ งกายของไอพ้ วก ระเงียว [ละ่ -เงียว] ว. หงุดหงดิ เช่น ฐ กบฏโดยแรงให้ท่ัวทุกตัวคน จะออ้ นพอ่ งอระเงยี วจะเคย้ี วกนิ ฒ (สุภมติ ฯ). ด รอยคาดมาตรชวี ติ เหลา่ นแี้ หละ ต จะเป็นอนุสาวรีย์ของเราต่อไป ระเงียวระงม [ล่ะ-เงียว-ล่ะ-งม] ว. ถ (ท้าว ฯ). เสยี งดังเซ็งแซ.่ ท รอ้ ยบาทเอา ขห้ี มากองเดยี ว [ลอ่ ย- ธ ระเงอะระเงย [ล่ะ-เง่อะ-ล่ะ-เงย] ว. น บาด-เอา-ข-ี่ หมา-กอง-เดยี ว] อาการที่เงอะงะ, เคอะเขิน, บ (สำ� ) คำ� ทา้ ทายเชงิ พนนั ว่าสิ่งท่ี ไมม่ ่นั ใจ, ไม่ช�ำนาญในส่ิงนั้น. ป พดู ตอ้ งเปน็ จรงิ หรอื เปน็ ไปตาม ผ ระเงาะระเหงิบ [ล่ะ-เง่าะ-ล่ะ-เหฺงิบ] ฝ นัน้ อยา่ งแนน่ อน. ว. มที า่ ทางโดกเดก, โอนไปโอน พ ระ ๆ [ละ่ -ละ่ ] ๑. ก. อาการซวนเซ, เสยี มา, ทา่ ทางเหมอื นคนเมาเหลา้ . ฟ ภ หลกั ซวนไป, เซถลาไปมา เช่น ระโงก [ละ่ -โงก] ๑. ว. สลา้ งสลอน, ม เซร่ะ ๆ (เซถลา). มากมาย. ย ๒. ก. รว่ งพรู เชน่ มะมว่ งรว่ งระ่ ๆ ร (มะมว่ งรว่ งพร)ู , ระุ่ ระ กว็ า่ . ๒. น. เหด็ ชนดิ หนง่ึ . ฤ ระกอ้ มระแกม้ [ละ่ -กอ้ ม-ละ่ -แกม้ ] ก. ระโงกระงนึ [ละ่ -โงก-ละ่ -งนึ ] ดู ระโงก ล ว ท่าทางเคอะเขนิ . ระเงก. ศ ระเกรียว [ละ่ -เก้ยี ว] ก. เกรยี วกราว, ระโงกระเงก [ละ่ -โงก-ละ่ -เงก] ว. น่งั ส ห เสียงเอ็ดอึงพร้อมกันหลาย ๆ หรือนอนเรียงกันเป็นแถว, อ เสยี ง. นั่งอย่างหมดอาลัยหรือทอด ฮ อาลยั , ระโงกระงนึ กว็ ่า. ระชดุ ระชิด [ล่ะ-ชุ่ด-ละ่ -ชิ่ด] ว. หลบั 248
พจนานุกรม ภาษาโคราช ไมส่ นิท, หลับไม่เต็มท่,ี หลบั ๆ นะ), ระดะ กว็ า่ . ก ต่นื ๆ (ใช้แกก่ ารนอน), ระซุด ระโด่ระเด่ [ล่ะ-โด่-ล่ะ-เด่] ว. โด่แด.่ ข ระซดิ ก็วา่ . ระทา [ล่ะ-ทา] ดู กระทา. ค ระซดุ ระซิด [ละ่ -ซุ่ด-ล่ะ-ซดิ่ ] ดู ระชดุ ระเทระทัง [ล่ะ-เท-ล่ะ-ทัง] ว. ไม่มี ฆ ระชดิ . ง ระซอ่ ง [ล่ะ-ซ่อง] ๑. ว. มาก, สลอน จุดหมาย. จ เชน่ น่ังรอกนั ระซอ่ ง (นงั่ รอกนั ระนึงตงึ นดื [ล่ะ-นงึ -ตงึ -นดื ] ดู มะนึง ฉ สลอน), ราซอ่ ง กว็ ่า เชน่ คอื ช ดั่งบัวทอง ตกเกลื่อนราซ่อง ตงึ นดื . ซ ขาวผ่องยองใย (น.ิ กุศราช). ระเนระนัง [ล่ะ-เน-ล่ะ-นัง] ว. ฐ ๒. ก. จอ้ กแจก้ , เสียงของคน ฒ มาก ๆ ท่ีตา่ งคนตา่ งพูด. ระเนระนาด, ล้มก่ายกันอย่าง ด ระซ่องยังกะหน้างัวเกวียน [ละ่ -ซอ่ ง- เกะกะ. ต ยัง-ก๊ะ-หน่า-งัว-เกียน] (ส�ำ) ระเนอื ก [ล่ะ-เนอื ก] น. ฟาก, พ้นื เรอื น ถ น. หน้าสลอนเหมือนหน้าวัวท่ี ท่ีปูด้วยไม้ไผ่ผ่าซีกแล้วทุบให้ ท เทียมเกวยี น. แบน. ธ ระเซะ [ล่ะ-เซ่ะ] ก. น�้ำตาไหลพราก, ระบัง [ละ่ -บงั ] ดู กักระบงั . น หยดหรอื ยอ้ ยไหลเปน็ ทาง, เซะ่ , ระบุ๊ดระบูด ว. เปียกปอนฝ่าสายฝน บ กะเซ่ะ, กะเซ่อะ กว็ ่า. อยา่ งทลุ กั ทเุ ล, สมบกุ สมบนั ฝา่ ป ระแซว [ละ่ -แซว] ดู แซ้ว. สายฝน, สมบุกสมบันด้วยเนื้อ ผ ระแซว้ [ละ่ -แซว้ ] ดู แซว้ . ตวั เปยี กปอน, สะบกุ๊ สะบดู กว็ า่ . ฝ ระดะ [ล่ะ-ด๊ะ] ดู ระดะระดาษ. ระเบดิ [ล่ะ-เบดิ ] ว. ใช้ประกอบค�ำอ่ืน พ ระดะระดาษ [ละ-ด๊ะ-ละ-ดาด] ว. มคี วามหมายในทำ� นองวา่ มาก, ฟ เกลื่อนกลาด, มากมาย, อย่างยิ่ง เช่น วิ่งหนีกันระเบิด ภ ดาษดนื่ . (วงิ่ หนกี นั หวั ซกุ หวั ซนุ หรอื อยา่ ง ม ระดึ๊บ ว. ผลิเขียว เช่น เขียวระด๊ึบ, ซ่านเซ็น), เท่ระเบิด (มาด ย ระลิบ กว็ ่า. สุดหล่อ), ระเบิดเถิดเทิง, ร ระเด่ [ล่ะ-เด่] ว. นะ, แลว้ นะ เชน่ ชา่ ง ระเบิดเบิง, ระเบิดระเบิง, ฤ มันไม่เดินระเด่ (ช้างมันไม่เดิน ระเบิดใหญ่ กว็ า่ เช่น พวกไทย ล ลามตามฟงั พวกลาวเซง้ิ ระเบดิ ว เบิงเบียดเสียดกันแหลกเหลว ศ (น.ิ พระปาจิต). ส ห อ ฮ 249
ระเบิดเถดิ เทิง - ระหมิ ระหาม ระเบดิ เถดิ เทงิ [ละ่ -เบดิ -เถดิ - ๒. ว. ไมม่ สี มาธ,ิ ใจลอย, ระเวอ่ เทงิ ] ดู ระเบดิ . กว็ ่า. ก ระเบิดเบิง [ล่ะ-เบิด-เบิง] ดู ข ระเบิด. ระยา้ [ละ่ -ยา่ ] ก. คนั ไปท้งั ตัว. ค ระเบดิ ระเบงิ [ละ่ -เบดิ -ละ่ -เบงิ ] ระยึก [ละ่ -ยกึ่ ] ๑. ก. คนั , คนั คะเยอ, ฆ ดู ระเบดิ . ง ระเบดิ ใหญ่ [ละ่ -เบิด-ไหย]่ ดู อาการทต่ี อ้ งใหเ้ การำ�่ ไป, ระยกึ จ ระเบิด. ระยนึ ก็วา่ . ๒. ก. สัน่ , ไหวถ่ี ๆ. ฉ ระยึกระยึน [ล่ะ-ยึ่ก-ล่ะ-ยึน] ช ระเบะระบะ [ละ่ -เบะ้ -ละ่ -บะ้ ] ดู กะเบะ่ ๑. ดู ระยึ่ก. ซ กะบ่ะ. ๒. ก. ขวกั ไขว,่ สับสน. ฐ ระยึงตึงต้ืด [ละ่ -ยึง-ตึง-ตดื้ ] ว. ยาว, ฒ ระแบม [ล่ะ-แบม] ก. ร่วงพรู, ยงุ่ เหยงิ . ด เกล่ือนกลาด, ระแบ๋ม กว็ า่ . ระยึงระยืด [ล่ะ-ยึง-ล่ะ-ยืด] ๑. ต ระแบ๋ม [ล่ะ-แบม๋ ] ดู ระแบม. ว. พันกันยุ่งเหยิง, ยุ่งเหยิง, ถ ระปร้าว [ละ่ -ปา้ ว] ดู ปรา้ ว. เหนอะหนะ เปน็ ยางยดื . ท ระปดุ้ [ละ่ -ปดุ้ ] ก. ขาดเสยี งดังปดุ้ . ๒. ก. มากนั มาก, มาเป็นโขยง. ธ ระยดื [ละ่ -ยดื ] ว. ยาวมาก, ยาวเฟอ้ื ย. น ระปดุ้ ระปั้ด [ล่ะ-ปุด้ -ละ่ -ปั้ด] ก. ขาด ระยุง ว. ระโยง, สิ่งที่ห้อยย้อยลงมา บ เสยี งดงั ปุ้ดป้ดั . อย่างระเกะระกะ. ป ระยุงระย้า [ล่ะ-ยุง-ล่ะ-ย่า] ดู ระโยง ผ ระผุดระโผ [ล่ะ-พุด-ล่ะ-โผ] ก. ระเยง. ฝ กระวนกระวาย, ร้อนรน เช่น ระยงุ ระยาง [ละ่ -ยงุ -ละ่ -ยาง] ดู ระโยง พ ให้คอแห้งแรงหอบระผุดระโผ ระเยง. ฟ (น.ิ พระปาจติ ). ระโยง ก. ห้อยระย้า. ภ ระโผเผ [ละ่ -โผ-เผ] ว. โซเซ เชน่ จะโซม ระโยงระเยง น. ระโยงระยาง, สายที่ ม ซมุ เสอื กโซระโผเผ (สภุ มติ ฯ). โยงผูกแขวนห้อยระเกะระกะ ย ระเพิ่น [ละ่ -เพน่ิ ] ๑. ก. แตก, แยก หรืออย่างอีนุงตุงนัง, ระยุง ร จากกัน, แตกต่ืน, ตกใจกระจดั ระย้า, ระยุงระยาง ก็วา่ . ฤ ระเยะ [ล่ะ-เยะ] ว. มากมาย. ล ว พลัดพรายไป เช่น บีบแตรไก่ ศ ระเพนิ่ เมดิ้ เลย (บบี แตรไกแ่ ตก ส หนีหมดเลย), ตีนแม่ร้าวเท้า ห อ ระเพ่นิ เดินด�ำรง (สุภมติ ฯ). ฮ 250
พจนานุกรม ภาษาโคราช ระเยะระยะ [ล่ะ-เยะ-ล่ะ-ยะ] ว. กว็ า่ . ก มากมายหลายอยา่ ง, หอ้ ยหรอื ระเวิ่กระวึน ดู ระเว่กิ . ข แขวนระเกะระกะ. ระเว่ดิ ระหวัน่ ว. จติ ใจไมส่ งบ. ค ระเสดระสัง [ล่ะ-เสด-ล่ะ-สัง] ว. ฆ ระราย [ละ่ -ลาย] ก. เราะราย, พูดให้ ง คนฟังขุ่นเคอื ง. มากมาย เชน่ บา้ งตมี าร่าราย จ ระเสดระสงั (นิ.พระปาจิต). ฉ ระโรม [ละ่ -โลม ] ก. รวมกนั , รวบรวม, ระหงนึ [ละ่ -หงนึ ] ๑. ว. อาการซมึ เซา, ช รมุ , เบยี ดเบยี น. หงอยเหงา. ซ ๒. ว. สปั หงก, นยั นต์ าปรอื เชน่ ฐ ระลิบ [ล่ะ-ลิบ] ดู ระดึบ. ลับระหงึน (หลับโดยหน้า ฒ ระเลิง [ล่ะ-เลงิ ] ก. โคน่ หรอื ลม้ ด้วย สปั หงก). ด ระหม็อน [ล่ะ-หม็อน] ว. สลอน, ต แรงลม. ระหม็อนระแหมน็ ก็วา่ . ถ ระวง [ละ่ -วง] น. วง เช่น แม่คิ่วกง่ ก่ง ระหม็อนระแหม็น [ล่ะ-หม็อน-ล่ะ- ท แหมฺ น็ ] ดู ระหมอ็ น. ธ ระวงหนา่ กว่ งกว่ งลงทง่ กว้ งกว้ ง ระหามหิม [ล่ะ-หาม-หิม] ดู ระหิม น งามเอาเสียเกินเกิน (เพลง ระหาม. บ โคราช). ระหดิ ระเหยี น [ละ่ -ฮิด-ล่ะ-เหยี น] ว. ป ระวงตีนเกวยี น [ล่ะ-วง-ตีน-เกยี น] ดู เลก็ นอ้ ย, ไมม่ าก; ก. รเู้ ปน็ เลา ๆ, ผ หันวงระวงิ . รู้มานดิ ๆ หน่อย ๆ, ไดค้ วามไม่ ฝ ระวงิ ว. ไมห่ ยดุ หย่อน, ไม่ว่าง เช่น มือ ชัดเจน เช่น หลงด้วยรู้เขาสัก พ เปน็ ระวงิ (มอื ไมว่ า่ ง, มอื ทำ� งาน นดิ ระหดิ ระเหยี น (น.ิ พระปาจติ ). ฟ ไม่ไดห้ ยุดหย่อน). ระหิมระหาม [ล่ะ-หิม-ล่ะ-หาม] ว. ภ ระวิดระหวือ [ล่ะ-วิด-ล่ะ-หฺวือ] ว. หิมหาม, ฉุกละหุก, ด่วน, รีบ, ม เกือบ, หวดุ หวดิ , ชกั หนา้ ไม่ถึง เร่ง, รีบเร่ง, สับสนอย่าง ย หลงั , ระวืดระหวอื ก็ว่า. รีบรอ้ น เชน่ พวกต�ำรวจตรวจ ร ระวืดระหวือ [ล่ะ-วืด-ล่ะ-หวือ] ดู เวรไดร้ บั สงั่ ละลา้ ละลงั พาวง่ิ ระ ฤ ระวิดระหวอื . หิมระหาม (นิ.พระปาจิต), จะ ล ระเว [ล่ะ-เว] (ปาก) ก. สำ� รวจ (อ. ร้องไห้ระหิมระหามเดินตามพ่อ ว Survey : เซอร์เวย์). ศ ระเวอ่ [ละ่ -เวอ่ ] ว. ไมม่ สี มาธ,ิ ใจลอย, ส ระเพน่ิ กว็ า่ . ห ระเวก่ิ ว. ขวกั ไขว,่ ฟงุ้ ซา่ น, ระเวกิ่ ระวนึ อ ฮ 251
ระหมิ หาม - ร่า (สภุ มติ ฯ), ระหามหมิ , ระหมิ หาม, ระเหงอื กระหงนึ [ละ่ -เหงฺ อื ก-ละ-หงนึ ] ระหึมระหาม, ก็ว่า เช่น จึง ว. อ่อนแรงมาก, งัวเงียจนไม่ ทานทัดห้ามปรามระหามหิม, ลมื หูลืมตา เชน่ นอนระเหงอื ก ก สองสหายสมเพชระหิมหาม, ระหงึน. ข แสนลำ� บากยากจนระหมึ ระหาม ค ระโหงก [ละ่ -โหงฺ ก] ๑. ว. สลา้ งสลอน, ฆ (นิ.พระปาจิต). มากมาย. ง ระหิมหาม [ล่ะ-หิม- หาม] ดู ระหิม จ ๒. ก. ทำ� ดว้ ยความยากลำ� บาก. ฉ ระหาม, ระไหว ก. ไหว, ปลิวสะบัด, สลอน เช่น ช ระหนึ ระหาย [ละ่ -หนึ -ละ่ -หาย] ดู ระหนึ ซ ระเหอื ย. ก๊วกมือระไหว ๆ (กวักมือ ฐ สลอน), มาแกวง่ กวดั ตอ้ งใบโพ ฒ ระหึนระเหอื ย [ล่ะ-หึน-ล่ะ-เหอื ย] ก. ระไหว (น.ิ พระปาจติ ). ด ร้องไห้ฟูมฟาย, สะอึกสะอื้น, ระอ้องระแอ้ง [ละ่ -ออ้ ง-ล่ะ-แอง้ ] ว. ต ระหึนระหาย, ระหืนระไห ก็ว่า กระต้งุ กระต้ิง. ถ เชน่ สชุ ลนยั นไ์ หลนองระหนื ระไห ระออบระแอบ ว. ออด ๆ แอด ๆ, เจบ็ ท (น.ิ พระปาจติ ). ออดแอด เช่น ด้วยตัวฉัน ธ ก็ส�ำคัญระออบระแอบ ให้ น ระหืนระไห [ล่ะ-หืน-ล่ะ-ไห] ดู ระหึน เจ็บแสบที่ฝ่าเท้าจะก้าวย่าง บ ระเหือย. (นิ.พระปาจิต). ป ระออม ว. บอบช�ำ้ , ระบม, ชำ้� ใน, เจ็บ ผ ระหูยระแหก [ล่ะ-หูย-ล่ะ-แหก] ก. ไปทั่วตัว. ฝ เรยี่ ราย, กระจายไป, เชน่ แมก่ บั ระอิก๊ [ล่ะ-อิก๊ ] ก. หัวรอ่ ตอ่ กระซกิ . พ พ่อซัดเซระเหระหน ระหูย ระอรึ๊ ะอมึ ก. นอนในลกั ษณะเรยี งราย, ฟ ระแหกแยกย้ายเป็นรายคน มากมาย, ระอ๊ึกระอึน, ระอึน ภ (สภุ มิต ฯ). กว็ า่ . ม ระเหย [ล่ะ-เหย] ก. เหือดหาย, หาย ระอก๊ึ ระอนึ [ละ่ -อก๊ึ -ละ่ -อนึ ] ดู ระอรึ ะอมึ . ย ส้ิน, หมดไป เช่น รักน้องสอง ระอึน ดู ระอึระอมึ . ร ข้าง ไมห่ า่ งระเหย อยา่ ถือโทษ ระอึม [ละ่ -อึม่ ] ก. พมึ พ�ำ. ฤ ระเอมิ ก. อาการเมอื่ เทา้ ย�่ำของเหลว ล แล้วมีความรู้สึกขยะแขยงหรือ ว เลย พีข่ อสมา (น.ิ รปู ทอง). ศ ระเหระหนั [ละ่ -เห-ละ่ -หนั ] ว. ระเหระหน, ส ห รอ่ นเรไ่ ปไมเ่ ปน็ ที่ เชน่ ปา่ รกเหลอื อ บนิ เรร่ ะเหระหัน (สภุ มิต ฯ). ฮ 252
พจนานุกรม ภาษาโคราช สะอดิ สะเอียน. แทนนนิ ทางเภสัชกรรมใชเ้ ป็น ก ระโอด [ละ่ -โอ้ด] ว. ระหง, สูงสล้าง. สารต้านไวรัสบางชนิด, นัก ข ระเฮอะ ว. แสดงอาการดีใจ เชน่ พอ พฤกษศาสตรเ์ รียก เตง็ หนาม ค . รังโทน ฆ บอกว่าจะพาไปดหู นงั ลกู ๆ พา ง กนั ระเฮอะ. รงั เรื่อ น. เปลหามศพท�ำด้วยไม้ไผผ่ า่ จ รกั กนั ใหร้ อด กอดกนั ใหม้ น่ั [ลก่ั -กนั -ไห-่ ซีกหรือทุบให้แบนสานเป็นผืน ฉ ลอด-กอด-กนั -ไห-่ หมน่ั ] (สำ� ) เช่น ท�ำรังเร่ือผูกรุงรังเหมือน ช ใหร้ กั กนั อยา่ งมน่ั คงตลอดไป. อยา่ งผี (นิ.พระปาจิต). ซ รักทะนง [ลั่ก-ทะ-นง] ดู ทะนง. ฐ รกั สนกุ ทกุ ขข์ นดั [ลกั่ -สะ-นกุ -ทกุ่ -ขะ- รญั จวน ดู ล�ำมะเจยี ก. ฒ นัด] (ส�ำ) รักสนุกทุกข์สนัด, รดั วัน ว. ถึงวัน, ลุวนั เชน่ เคยชกตี ด เอาแต่มัวสนุกจะมีความทุกข์ ต ล�ำบากภายหลงั . หลายครง้ั ไมร่ ดั วนั (น.ิ พระปาจติ ). ถ รกั ใหต้ อบชอบใหบ้ อก [ลก่ั -ไห-่ ตอบ- รั้วหักงัวก็เข้า [ล่ัว-ฮัก-งัว-ก็-เข่า] ท ชอบ-ไห-่ บอก] (สำ� ) ถา้ รกั ชอบ ธ กันจริงให้บอกผู้ใหญ่หรือสู่ขอ ดู รว้ั หกั งวั กอ็ อก. น ผใู้ หญ่ตามประเพณ.ี รั้วหักงวั ก็ออก [ล่ัว-ฮัก- งวั -ก็-ออก] บ รัง ก. พดู แข่ง, พูดสอด, พดู แทรกใน ป ขณะที่ผ้อู นื่ กำ� ลังพดู เชน่ ชอบ (สำ� ) ผีซ�้ำด�้ำพลอย, ถูกซ�้ำเตมิ ผ พดู รงั . เม่ือพลาดพลั้งหรือเมื่อคราว ฝ รังที ว. บางท.ี เคราะห์ร้าย, ร้ัวหักงัวก็เข้า, พ รังโทน น. ชื่อไม้ต้นชนิด Bridelia รว้ั หักหมากเ็ ข้า ก็วา่ . ฟ retusa (L.) A. Juss. ในวงศ์ รว้ั หกั หมากเ็ ขา้ [ลว่ั -ฮกั -หมา-ก-็ เขา่ ] ภ Euphorbiaceae ลำ� ตน้ มหี นาม ดู รั้วหักงัวกอ็ อก. ม กิ่งอ่อน ใบเด่ียวรูปรี ดอกแยก ร่า ว. หรา, ก๋า เชน่ ยกมือรา่ (ยกมอื ย เพศคอื เพศผสู้ เี หลอื ง ดอกเพศ ร เมียสีน้�ำตาลแดง ออกเป็นช่อ ฤ กระจุกตามง่ามใบและตามก่ิง ล ผลค่อนขา้ งกลม เปลอื กมสี าร ว ศ ส ห อ ฮ 253
ราก - รูแ้ จง้ แดงแจ๋ หรา). อย่าหวังเลยว่าหญ้าแพรกตรง ราก ก. อาเจียน, อ้วก. น้ันจะไม่แหลกลง (ทา้ ว ฯ). รากแตก ก. อาเจยี น, อ้วก. ราชสีหบ์ ้าน (ปาก) น. หมา, สุนัข; คน ก รากแตกรากแตน ก. อาเจียน โบราณพูดล้อเล่นเรียกสุนัขว่า ข อย่างหนกั . ราชสีหบ์ ้าน. ค ราซ่อง ดู ระซ่อง. ฆ รากบัว ดู หวั บัว. ราทะนา ก. อาราธนา เช่น บณิ ฑบาต ง รากบ้าน น. คนพื้นเพในหมู่บ้าน, ราทะนา (นิ.กศุ ราช). จ ร้านตะเข้ [ล่าน-ตะ-เข่] น. ตะเข้, ฉ คนเกา่ แกใ่ นหมบู่ า้ น. ตัวไม้จากกลางจั่วบ้านตรง ช รากเหงา้ เหล่ากอ ว. เชือ้ สายดั้งเดมิ มายังชายคาพาดเปน็ มุม ๔ มุม ซ ของวงศต์ ระกูล. มลี กั ษณะเปน็ สนั , ตะเขส้ นั กว็ า่ . ฐ ฒ รากรี [ลา-กี] น. ราตรี, กลางคืน. ด รางโกง น. ขโมย, ผู้ลักทรัพย์ เช่น ต อนั ตวั เรารางโกงนน้ั หนา โบราณ ถ ว่าคือขโมยน่ันไง (นิ.เสือสาง แนวชายคา หแนลวังคสาัน ท รางโกง). มา้ รองตีน ธ พะ เรอื นนอน น ราชสีมา [ลาด-ชะ-ส-ี มา] น. ชอื่ เรียก แนวรา้ นตะเขบ้ ริเวณระเบียง ครวั บ จังหวัดนครราชสีมาอีกชื่อหน่ึง แนวชายคา ป คนพนื้ เมอื งโคราชมกั เรยี กสนั้ ๆ บรเิ วณนอกชาน ผ ฝ ว่า ราช-สี-มา. พ ราชสีห์กัดกันกะไหน หญ้าแพรก รา้ นตะเข้ ฟ ภ แหลกกะนนั่ [ลาด-ส-ี กด๊ั -กนั - ม ก๊ะ-ไหน-หย่า-แพก-แหฺลก- ย ก๊ะ-นั่น] (ส�ำ) น. ผู้มีอ�ำนาจ ร้านน้�ำ [ล่าน-น่าม] น. ร้านท่ีปลูก ร ทะเลาะเบาะแว้งกัน ผู้น้อยที่ ยกพ้ืนเพ่ือใช้วางโอ่งน�้ำส�ำหรับ ฤ ใกล้ชิดพลอยได้รับผลกระทบ ดมื่ สว่ นมากจะอยตู่ ิดกับครวั . ล ว ด้วย เช่นเดียวกับค�ำว่า “ช้าง ร�ำกระโดดสาก น. รำ� กระทบไม้แต่ใช้ ศ สารชนกันหญ้าแพรกก็แหลก สากไมย้ าวแทน, รำ� สาก ก็ว่า, ส ราน” เชน่ เช่นเดียวกับราชสีห์ ถิน่ อสี านใชว้ า่ เตน้ สาก. ห อ ขบกัดฟัดเหวี่ยงกันท่ีไหนแล้ว ร�ำโทน น. รำ� วงพ้นื บา้ นโคราช โดยใช้ ฮ 254
พจนานุกรม ภาษาโคราช โทนเป็นเครื่องดนตรีให้จังหวะ ริบกะป็อกกะจ้อกคอหอย [ริ่บ-กะ- ก ผรู้ ำ� เหยยี ดแขนแลว้ กางมอื โดย ป่อก-กะ-จ้อก-คอ-หอย] ข ไม่มีการจับมือ ผู้ชายกางแขน ดู รบิ . ค เป็นวงกว้างมือสูงเสมอไหล่ ฆ ผู้หญิงกางแขนเป็นวงแคบมือ ร่วิ น. เรว่ , กระวานกานพลู. ง ต�่ำกว่าชาย แล้วร�ำจะร�ำตาม รรี อรีไร ก. พริ ้ีพไิ ร, ออ้ ยอิง่ , ประวิง จ จังหวะโทนคือ ป๊ะโท่นโท่น, ฉ (ดู โทน, ปะ๊ โทน่ ๆ ประกอบ). เวลา, (ดู ร่ำ� รรี่ ำ่� ไร ระกอบ). ช ร�ำโทนรอบครก [ลำ� -โทน-ลอบ-คก่ ] รกึ , รกึ ๆ ว. รกิ , ระริก,สน่ั ถ่ี, สนั่ รวั , ซ น. รำ� โทนรอบตะเกยี งซงึ่ วางบน ฐ ครกตำ� ข้าว. ไหวถ่ี ๆ เช่น อกแม่สั่นรึกรึก ฒ ร่ำ� ร่ีร�่ำไร ว. ร่ำ� ไร, ชกั ช้า, อ้อยอ่งิ . แต่จะนกึ ไมว่ ายวัน (นิ.รปู ทอง). ด ร�ำสับร�ำสน [ล�ำ-ซับ-ล�ำ-สน] ว. รุ่ ๆ [ลุ่-ลุ่] ๑. ก. พรู, ร่วงหรอื หล่นลง ต กระสบั กระสา่ ย, กระวนกระวาย มาพร้อมกนั มาก ๆ. ถ เช่น ร�ำสับร�ำสนบ่นทุกม้ือแต่ ๒. ก. กร,ู พร้อมกันเข้าไป. ท โศกศัลย์ (น.ิ พระปาจิต). รุ่งโรจน์โชตนาการ ว. โชติช่วง, ธ รำ� โหย ก. โหยหา, โหยไห้ เชน่ ร�ำโหย ชชั วาล, สวา่ งรงุ่ โรจน,์ โพลงขนึ้ น หวนรำ�่ บน่ ถงึ ชนน,ี แมโ่ ศกเศรา้ เช่น โหมกะพือให้เพลิงรักน้ัน บ โอดโอยรำ� โหยหา (สภุ มติ ฯ). รุ่งโรจนโ์ ชตนาการ (ท้าว ฯ). ป ริถา ก. อรรถาธิบาย, อธิบายความ รุ่งสางราเช้า [ลุง-สาง-ลา-ช่าว] ผ เชน่ ขอรถิ าว่าเร่ืองเมืองพมิ าย น. รุ่งเช้า. ฝ (นิ.พระปาจติ ). รมุ่ ๆ ก. มะรุมมะตมุ้ , กลุม้ รุมทำ� สิง่ ใด พ ริน ๆ ก. ตกปรอย ๆ เชน่ อย่าเพงิ่ ไป สิ่งหนง่ึ เชน่ กินกนั รมุ่ ๆ, รุ่มร�ำ่ ฟ ยงั รนิ ๆ อย่เู ลย (อย่าเพิ่งไปฝน กว็ ่า. ภ ยังตกปรอยๆอยเู่ ลย). รุ่มรำ่� ดู รุ่ม ๆ. ม ริบ [ริ่บ] ก. จอง, แสดงความเป็น รุระ [ลุ่-ละ่ ] ดู ร่ะ ๆ ๒. ย เจา้ ของโดยพลการ, รบิ กะปอ็ ก, รูข้ี [ลู-ขี่] โดยปริยายเป็นค�ำเยาะ ร รบิ กะป็อกกะจอ้ กคอหอย ก็วา่ . เย้ย ๆ, ถากถาง, ดูแคลนอีก ฤ ริบกะปอ็ ก [ลบ่ิ -กะ-ป่อก] ดู ริบ. ฝ่าย; ใช้เป็นค�ำไม่สุภาพ เช่น ล รขู ีก่ ูน,ี้ หัวขี้ กว็ ่า. ว รู้แจ้งแดงแจ๋ [ลู่-แจ้ง-แดง-แจ๋] ก. ศ รู้แจ้งแทงตลอด, รู้ชัดจนคาด ส ห อ ฮ 255
รถู้ ึงเจา้ เล่าถึงนาย - โรง การณ์ได้. หรอื รเู้ รอ่ื งของผอู้ น่ื เปน็ อยา่ งด,ี รู้ถึงเจ้าเล่าถึงนาย [ลู่-ถึง-เจ้า-เล่า- รูเ้ ชน่ เห็นชาติ. ถึง-นาย] ก. รูถ้ งึ หูผใู้ หญห่ รือ รเู หนิ ดู รูปลอ่ ง. ก ผ้บู ังคบั บญั ชา. เร่งไฟ ดู ข้ึนปล่อง. ข รปู รี ๆ ยงั กะใบพลู มรี ตู รงกลาง สอง เรง่ รา่ ง ว. รมุ่ รา่ ม, เก้งก้าง. ค เรอเชอ ว. สงู , ตระหงา่ น เชน่ ตน่ ไม่ ฆ ปะขา้ งมขี น [ล-ู ปี –ป-ี ยงั -กะ๊ - สงู เรอเชอ (ตน้ ไม้สงู ตะหง่าน). ง ไบ-พู-มี-ลู-ตง-กาง-สอง-ปะ- เรอะ น. เครอ่ื งสำ� หรบั ลอ่ ใหป้ ลาเขา้ มา จ ขา่ ง-ม-ี ขน] (ปรศิ ) หวู วั , หคู วาย. อยู่ ใช้ไม้ปักสมุ ไว้. ฉ เราะ ก. การยิงสะบ้าไปถกู สะบ้าทไ่ี ม่ใช่ ช รปู ลอ่ ง [ล-ู ปอ่ ง] น. รใู ตด้ นิ ทสี่ ตั วบ์ าง คู่ของตน, การไปถูกหรือท�ำให้ ซ ประเภท เช่น จ้งิ หรดี , แย้ ท�ำ สะบ้าของอกี ฝ่ายหน่งึ ล้ม. ฐ ไว้เพอ่ื ใชห้ ลบหนี, รเู หนิ กว็ า่ . เรงิ ว. คึก, รา่ เรงิ . ฒ เร่งิ น พุ่มไม้. ด รแู ป น. รแู บน เชน่ รแู ป ๆ (รแู บน ๆ). เริ่ม ว. เร้มิ , สน่ั ไปทงั้ ตัว เชน่ ตัวส่ัน ต รูรีข้าวสาร [ลู-ลี-เข่า-สาน] น. รีรี เร่มิ ๆ. ถ ข้าวสาร ; การเล่นอย่างหนึ่ง เริมเกิม ก. อาการที่จนปัญญา เช่น ท ผเู้ ลน่ ยนื เกาะเขม็ ขดั หรอื เอวกนั หันรีหันขวาง, เก้ ๆ กัง ๆ, ธ ตัดสินใจไม่ถูกว่าจะท�ำอย่างใด น เปน็ แถว ใหอ้ ีก ๒ คนหนง่ึ ถือ เป็นต้น, (ดู แกร๊ะ ประกอบ). บ ผ้าขึงไว้เหนือศีรษะคล้ายซุ้ม เรม่ิ เรอ่ ว. แก่หง่อม, ทนโท,่ ตำ� ตา, ป ประตู คนหัวแถวน�ำลูกแถว ปรากฏแก่ตา, เรม่ิ เรอะ กว็ ่า. ผ เรมิ่ เรอะ ดู เรมิ่ เรอ่ . ฝ ลอดไปพร้อมกับร้องว่า “รูรี เรี่ย น. พชื ผกั ท่ีงอกขึ้นจากเมลด็ ทที่ ำ� พ เข่าสาร สองทะนานเขา่ เปลือก ตกหล่น เช่น ผักกาด, ผักชี, ฟ เลือกได้เลือกเอา” พอส้ินค�ำ มะเขือ. ภ ว่า “เลือกได้เลือกเอา” ผู้ท่ี เรียกขวญั ข้าว [เลยี ก-ขว็ น-เข่า] น. ม ขึงผ้าจะครอบเอาคนท่ีก�ำลังจะ พิธีเรียกขวัญข้าว นิยมท�ำใน ย ลอดผ่าน ซง่ึ ทกุ คนจะตอ้ งรีบ วนั เพญ็ เดอื น ๑ ซง่ึ เปน็ ชว่ งขา้ ว ร ผ่านไปให้ได้ ถ้าถูกครอบได้จะ ฤ ล ว ถูกให้ร�ำหรือถูกท�ำโทษตามแต่ ศ จะตกลงกัน อนึ่งค�ำร้องนี้อาจ ส แตกตา่ งกนั ไปตามแตล่ ะทอ้ งท.ี่ ห อ รูไ้ ส้ร้พู ุง [ล-ู่ ไส-่ ลู่-พุง] ก. รู้ความใน ฮ 256
พจนานุกรม ภาษาโคราช ตงั้ ทอ้ ง เพอื่ เปน็ สริ มิ งคลใหข้ า้ ว หมวดพลเดินท้าวก็มิด้อย..... ก เจริญงอกงามไดเ้ มด็ โตรวงโต. เปรยี บกบั แมท่ องเหลอื กด็ งั่ เรอื น ข เรยี ด ก. ยงิ สะบา้ โดยวางสะบา้ ลงทพ่ี นื้ แหวนทองค�ำกับเพ็ชรลูกน้�ำดี ค แลว้ ใชน้ ้ิวดดี . สมกนั ไมใ่ ชน่ อ้ ย (ทา้ ว ฯ). ฆ เร่ยี รดู เรยี่ ราด ว. เรย่ี ราด. เรอื สองล�ำขนึ้ ได้คนเดียว ชอบเทีย่ ว ง เรอื กสวนไรน่ า น. ทส่ี วนที่นา. บนบก [เลอื -สอง-ลำ� -ขน่ึ -ได-้ จ เรือนช่ัวคราว น. เพิงท่ีท�ำเป็นท่ีพัก คน-เดยี ว-ชอบ-เทยี่ ว-บน-บก๊ ] ฉ อาศยั ชว่ั คราวระหวา่ งรอบา้ นท่ี (ปริศ) น. รองเทา้ . ช กำ� ลงั สรา้ ง ; ต่อจากเพ่ิงย้งุ ก็มี, เรือเหาะ [เลือ-เฮาะ] น. เรือบิน, ซ บ้านเพิงยุ้ง ก็ว่า, (ดู เพิงยุ้ง เครื่องบิน. ฐ ประกอบ). แรง ว. ศักด์ิสิทธ์ิ, ขลัง, มีฤทธิ์ขลัง, ฒ เรือนนอน น. ห้องนอนส่วนตัวของ มีอ�ำนาจท่ีดลบันดาลให้เป็นไป ด พอ่ แม่ แตย่ ังให้ลกู เลก็ ๆ หรอื ได้ เช่น ตรงน่ีเจ้าที่แรง (ตรง ต ลูกสาวใช้ร่วม, แม่เรือน, ใน น้ีเจ้าท่ีเจ้าทางศักดิ์สิทธิ์หรือ ถ เรือน ก็ว่า. มีฤทธิ์ขลัง). ท เรอื นมาด น. เรอื นหอ, เรอื นทฝี่ า่ ยชาย แรว้ คอมา้ [แลว่ -คอ-มา่ ] น. เครอื่ ง ธ สรา้ งแทนสินสอดทองหมน้ั . ดักสตั วป์ ระเภทแรว้ ชนิดหน่ึง. น เรือนไม้ไผ่ [เลือน-ม่าย-ไผ่] น. แระนา [แล่ะ-นา] ก. ไถท�ำเป็นแนว บ ล�ำไม้ไผ่ที่เป็นช่วงท่ีอยู่เหนือ เขตที่นา. ป หรือต่อจากซอไม้ไผ่, ช่วงท่ีอยู่ โร่ ๑. โดยปริยายหมายความว่า จัด, ผ เหนอื เซงิ เหมาะสำ� หรบั จกั สาน, ยิ่ง, แรง (ใช้แก่สี หรอื แสง) ฝ (ดู เซิง ประกอบ). เชน่ แดงโร่ (แดงแจ)๋ , สว่างโร่ พ เรือนหลวง น. เรือนหลังใหญ่สร้าง (สว่างจ้า). ฟ ใกล้ ๆ และขนานกับเรือนหลงั ๒. ว. โผล่ เช่น โรม่ าโนน่ . ภ เล็ก เช่น เกบ๊ พกั บ้งุ ไปใส่เรือน โรคกลอ่ น น. นว่ิ , โรคทางเดนิ ปสั สาวะ, ม หลวง เก๊บพักสวงไปใส่เรือน กษัยกลอ่ น. ย นอ่ ย (กล่อมลกู ). โรง น. สิ่งปลูกสร้างท่ีมีหลังคาคลุม ร เรอื นแหวนกบั เพชร (สำ� ) เหมาะสมกนั , สำ� หรบั เปน็ ทอ่ี ยอู่ าศยั ประกอบ ฤ สมน�้ำสมเน้ือ เช่น อนึ่งนาย การ. ล ว ศ ส ห อ ฮ 257
โรงธรรม - ฤกษด์ าวหมานอน โรงธรรม น. ศาลาการเปรยี ญ. เรียนมาก็จะเสอื่ ม. โรงเพลง น. เวทีเพลงโคราช โรงไห น. สถานทปี่ น้ั เครอ่ื งปั้น ก แ ต ่ เ ดิ ม ห ลั ง ค า มุ ง ด ้ ว ย ใ บ ข มะพร้าว จะไม่ใช้ตอกมัดยึดใบ ดินเผา เชน่ โอ่งครก กระถาง ค มะพร้าวและตีตาปูยึดกระดาน แต่ก่อนจะมีการปน้ั ไหเปน็ ส่วน ฆ พน้ื เพราะเชอื่ วา่ จะทำ� ใหก้ ารวา่ ใหญ.่ ง เพลงติดขัดและคาถาอาคมท่ี โรม ก. รมุ , รวม. จ ฉ ช ซ ฐ ฒ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ฤ ล ว ศ ส ห อ ฮ 258
ฤกษ์งามยามดี น. เวลาที่ดี, เวลาที่ ฤพจนานุกรม ภาษาโคราช ก เหมาะสม, เวลาทม่ี คี วามพรอ้ ม. (ดู ฤกษด์ าวหมานอน ประกอบ). ข ฤกษด์ าวหมานอน (ปาก) น. ฤกษผ์ า ค ฤกษ์ดาวโจร น. ฤกษ์ผานาทีหรอื เวลา ฆ ท่ีเป็นฤกษ์ของโจรจะออกปล้น น า ที ห รื อ เ ว ล า ที่ เ ป ็ น ฤ ก ษ ์ ง โดยดูจากดาวโจรจะข้ึนบน ของโจรจะออกปลน้ โดยยดึ เอา จ ท้องฟ้าประมาณช่วงตี ๑ ถึง เลาชว่ งทห่ี มานอน, (ดู ฤกษด์ าว ฉ ตี ๒, ฤกษด์ าวหมานอน ก็ว่า, โจร ประกอบ). ช ซ ฐ ฒ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ฤ ล ว ศ ส ห อ ฮ 259
ก ข ค ฆ ง จ ฉ ช ซ ฐ ฒ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ก�ำแพงเมือง และคเู มอื งนครราชสมี า ในสมัยอดตี ฟ ภ ม ย ร ฤ ล ว ศ ส ห อ ฮ 260
ลกลกั [ลก่ -ล่กั ] ก. ซ่มุ ซา่ ม, ลนลาน. ลพจนานุกรม ภาษาโคราช ก ลงกระเด่อื ง ก. ตำ� ข้าวครกกระเดอ่ื ง; ไป แล้วให้ผู้ปว่ ยฟอ้ นร�ำ ท�ำให้ ข ผู้ป่วยรู้สึกรื่นเริงสนุกสนาน มี ค มักต�ำในยามค�่ำคืนซึ่งพวก ก�ำลังใจสามารถลุกข้ึนฟ้อนร�ำ ฆ หนมุ่ ๆ จะมาชว่ ยสาว ๆ ตำ� และ โดยลืมความเจ็บป่วยและหาย ง ได้มโี อกาสพบปะกัน. จากการเจบ็ ปว่ ยในทสี่ ดุ ซงึ่ เชอ่ื จ ลงขว่ งรำ� ผฟี า้ [ลง-ขว่ ง-ลำ� -ผ-ี ฟา่ ] น. ว่าเกิดจากผีบรรพบุรุษมาคอย ฉ การลงข่วงและร�ำผีฟ้า เป็น คุม้ ครองปกปักรักษา ช ประเพณีท่ีมีความสัมพันธ์กันที่ ๒) การลงข่วงผีฟ้า เป็น ซ เกดิ จากความเชอื่ มี ๒ อยา่ ง คอื ประเพณีท่ีจัดข้ึนเม่ือผู้ป่วยหาย ฐ ๑) การรำ� ผีฟา้ ซง่ึ เป็นพธิ ีกรรม เปน็ ปกติ เพือ่ ร�ำลกึ ถึงพระคุณ ฒ การรักษาผู้เจ็บป่วยโดยการ ครูบาอาจารย์และบรรพบุรุษ ด ร�ำผีฟ้า ผู้รักษาหรือคนทรง รวมถึงความเป็นสิริมงคลแก่ ต (ครบู าใหญ)่ จะประกอบพธิ กี รรม เจา้ ภาพ จดั ประมาณ ๒-๓ วนั ถ ยกด้วย “เคร่ืองครูคาย” ซ่ึง จนเป็นประเพณีและมักท�ำใน ท ประกอบด้วยเงินค่ายกครู เดือน ๓ ซึ่งวันแรกจะมีการ ธ คนทรง ผา้ ขาว ผ้าถงุ ดอกไม้ เตรียมผาม คือ โรงพิธีที่มี น ธปู เทียน (ขัน ๕ ขนั ๘) กรวย เสา ๔ ตน้ หลังคามงุ ดว้ ยกา้ น บ บายศรีและค่ายกครูหมอแคน มะพรา้ ว ตกแต่งให้เปน็ เหมือน ป เป็นต้น คนทรงจะท่องคาถา ปา่ หมิ พานตใ์ นเรอ่ื งมหาเวสสนั ดร ผ ประกอบการร้องร�ำอัญเชิญ ชาดก เครอ่ื งบชู าประกอบดว้ ย ฝ วิญญาณบรรพบุรุษมาเข้า อาหารคาวหวาน ขนมต่าง ๆ ขนั พ ประทับร่างทรงเพ่ือปัดเป่า ๕ ขนั ๘ กรวยบายศรี ตกตอน ฟ รกั ษา มีดนตรี เชน่ โทน แคน เยน็ คนทรงจะประกอบพธิ กี รรม ภ และกลอนรำ� จากน้นั คนทรงจะ ด้วยการท่องคาถา มีการน�ำ ม เอามีดดาบแตะบ่าผู้ป่วยแสดง บางตอนของมหาเวสสันดร ย อทิ ธฤิ ทธข์ิ บั ไลส่ งิ่ ชวั่ รา้ ยใหอ้ อก ชาดกมากล่าว แล้วอัญเชิญ ร ฤ ล ว ศ ส ห อ ฮ 261
ลง่ โง้ง - ละงอ้ กละแงก้ นางฟ้านางสวรรค์ ผฟี ้าตา่ ง ๆ ลดแหลกแจกแถม [ลด่ -แหลฺ ก-แจก- มาประทับร่างทรงเม่ือผีฟ้า แถม] (ปาก) ก. ทั้งลดราคา ประทับร่างทรง คนทรงและ อย่างเต็มที่แล้วยังมีรายการ ก ผู้มาร่วมพิธีก็จะฟ้อนร�ำรอบ แถมอีกดว้ ย. ข พร้อมกันอย่างสนุกสนาน คืน ค ลนล่ลี นลาน ว. ลนลาน, ตะลตี ะลาน, ฆ แรกเรียกว่า “ลงมาลัยหม่ืน อาการรบี รอ้ นจนทำ� อะไรไมถ่ กู . ง มาลัยแสน” วันท่ี ๒ เรียกว่า จ “วนั หงายพาขา้ ว” เปน็ วนั เลย้ี ง ลมฆาน น. ลมทห่ี ายใจเขา้ ออก; หมอ ฉ เพลงมีความเชือ่ วา่ การจะกา้ ว ช ผีปู่ย่าตายายหรือท่ีชาวบ้าน ขึ้นโรงเพลงด้านทิศไหนจะต้อง ซ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “เล้ียงผี เป็นไปตามฤกษ์วัน โดยการ ฐ พ่อหมอเฒ่า” ซึ่งเวลาเช้าของ ตรวจสอบลมฆาน คอื ดจู ากการ ฒ หายใจเข้าออก ลมหายใจข้าง ด วันนี้จะมีการท�ำบุญเลี้ยงพระท่ี ไหนสะดวกก็จะก้าวขาข้างน้ัน ต วัดเพ่ืออุทิศส่วนกุศลแก่ครู ขน้ึ กอ่ น. ถ อาจารย์ผู้รักษาที่ได้ล่วงลับไป ท แลว้ อยา่ งใหญโ่ ต เรียกว่า “ไป ลม้ ตงึ [ลม่ -ตึง้ ] ก. ล้มโครม, อาการ ธ ลม้ ทัง้ ยนื . น ตกี บิณฑ์”. บ ลง่ โงง้ [ลง่ -โงง่ ] ว. โงง้ , โคง้ , คดงอ, ลมพลอยฝน (สำ� ) ก. ทำ� ตามคนอน่ื , เอา ป อยา่ งคนอนื่ , คลอ้ ยตามคนอน่ื . ผ คดโค้ง เช่น เล็กงอโล่งโง่ง ฝ (เหลก็ งอคดโคง้ ), ลอ่ งงอ่ ง กว็ า่ . ลมรา้ ยและลมดี [ลม-ลา่ ย-และ-ลม-ด]ี พ ลงปลา ก. จบั ปลา. (ส�ำ) น. มีท้ังสิ่งเลวร้ายและ ฟ ลดตะรี ่ [ล่ด-ต-ะล่]ี น. ล็อตเตอร่.ี ส่ิงดีท่ีผ่านเข้ามาในชีวิต เช่น ภ ลดทบั คอ [ลด่ -ทับ่ -คอ] (ปาก) ก. ลด ประหนึ่งลมร้ายและลมดีย่อม ม พัดผ่านถูกทุก ๆ คน (ท้าว ฯ). ย ราคาให้ตามที่ต่อไว้และคนต่อ ร ราคาจ�ำใจต้องเอา เช่น ต่อ ลมหวั ดว้ น ฤ ราคาเลน่ ๆ เมอื่ ผขู้ ายลดใหจ้ รงิ ล ลมหวั ด้วน น. ลมหมุนขนาดเลก็ , ลม ว ผู้ต่อราคาแม้ไม่อยากได้แต่ ศ จำ� ใจตอ้ งเอา. ส ลดวาบ [ลด่ -วาบ] ก. ลดอยา่ งรวดเรว็ , ห อ ลดฮวบ. ฮ 262
พจนานุกรม ภาษาโคราช บา้ หม.ู ลมหมาดว้ น, ลมฮดุ หว้ น ล่ะกิ่งไม้ (ครูดก่งิ ไม)้ . ก กว็ า่ . ๓. ก. กันไว้, ขยัก, เหลือไว้, ข ลมหมาด้วน ดู ลมหวั ดว้ น. ค ลมหดุ หว้ น [ลม-ฮดุ -หว้ น] ดู ลมหวั ดว้ น. แบง่ ไว้. ฆ ลมออกหู ว. เผ็ดมาก, เผ็ดจนหูอ้ือ, ๔. ว. ไว,้ ปลอ่ ย, ทำ� ใหอ้ อกจาก ง โกรธมาก. จ ลวง ว. ดา้ น, ทาง เช่น ลวงยาว (ด้าน ส่ิงท่ีติดอยู่ เช่น ล่ะหนวด ฉ หรือทางยาว), ลวงขวง (ด้าน (ไว้หนวด, ปล่อยให้หนวดยาว), ช หรอื ทางขวาง). ล่ะผม (ไว้ผมยาว, ปล่อยให้ ซ ลว่ งสมุ่ ตวั ผู้ [ลว่ ง-สมุ่ -ตวั -ผ]ู่ ดู พลหู บี . ผมยาว). ฐ ลว่ งสุม่ สาว ดู พลูหีบ. ๕. ก. แวะตามรายทาง เช่น ฒ ล่อไข่แดง ก. ได้ความบริสุทธิ์ของ ล่ะไปตามทาง (แวะไปตาม ด ผหู้ ญงิ , ไดล้ กู สาวมาครอบครอง. รายทาง). ต ลอ่ งงอ่ ง ดู ลง่ โงง้ . ๖. บ. ด้วย, กับ เช่น ไปล่ะ ถ ลอน น. ลกั ษณนามของลกู อัณฑะ. เขา (ไปกับเขา), ไปละกัน (ไป ท ลอ่ น [หฺล่อน] ก. หลดุ ออก (มักใชแ้ ก่ ด้วยกัน). ธ ของทห่ี ุ้มอยู่ เช่น เปลือก, ส)ี . ๗. ว. ไม่ เช่น ตาล่ะเห็น น ลอม ว. โคง้ เข้าหากนั , ฟอ่ นขา้ วทเ่ี รยี ง (ตามองไมเ่ ห็น). บ กนั ขนึ้ เปน็ จอม. ละกอ น. มะละกอ, ละกอ๋ ก็ว่า. ป ลอยตะเข้ [ลอย-ตะ-เข]่ น. การเลน่ ละกอ๋ [ละ่ -ก๋อ] ดู ละกอ. ผ อย่างหน่ึง โดยเหยียดตัวตรง ละก๊ะ ว. ใช้ต่อท้ายค�ำถามมีความ ฝ ลอยน่ิงอยู่บนน�้ำ คล้ายจระเข้ หมายท�ำนองว่า นะ, ละ เช่น พ ลอยตวั , โปง่ ลอยนำ้� ก็วา่ . ไปไหนมาละก๊ะ (ไปไหนมานะ, ฟ ลอ่ ยหอ้ ย ว. ละห้อย, หลอ่ ยหอ่ ย ก็วา่ . ไปไหนมาละ). ภ ละ [ล่ะ] ๑. ก. ปล่อย, วาง, เลิก, ละกนั [ละ่ -กนั ] บ. ดว้ ยกัน, (ดู ละ ๖ ม สน้ิ สดุ ลงในกจิ การ เชน่ ละ่ เรยี น ประกอบ). ย (เลิกเรยี น). ละ่ กบุ้ ละ่ กั้บ ว. เปน็ หลมุ เป็นบ่อ. ร ๒. ก. อาการท่ีเอามือไปครูด ละ่ เกรียว ก. เกรียวกราว. ฤ ส่ิงของ เช่น ล่ะฝา (ครูดฝา), ละ่ คมุ ก. ไล่จับ, ว่ิงไล่, (ดู ไล่คุม ล ประกอบ). ว ละงอ้ กละแงก้ ว. งอกแงก, โอนเอนไป ศ ส ห อ ฮ 263
ละ่ โงกล่ะงนั - ล่างงา่ ง มา, โซเซ เช่น เดินละง่อก ล่ะมุ น. โป๊ะเล็ก ๆ ท�ำไว้ส�ำหรับดัก ละแงก่ (เดนิ โซเซอยา่ งคนเมา). สตั ว์น้�ำ เช่น ปลา. ละ่ โงกละ่ งนั ว. อาการเดนิ อยา่ งงกงนั ก หรือส่ันเงอะงะ เช่น การเดิน ละ่ มุล่ะมิ ว. ตามประสา, ออ่ นนมุ่ . ข ของคนแก่ที่สะดุดเหมือนจะล้ม ละแมะ เปน็ คำ� ประกอบท้ายค�ำอ่นื เพอื่ ค ฆ ไปขา้ งหน้า). เสริมข้อความให้เด่นชัด หรือ ง ละ่ โงกละ่ เงก ก. โยกเยก, โอนไปเอนมา. สละสลวย มคี วามหมายทำ� นอง จ ละ่ ชอ่ ง น. ลอดชอ่ ง ; ชอื่ ขนมอยา่ งหนงึ่ ว่า เถอะ, ซ,ิ นะ เชน่ ไปละแมะ ฉ (ไปซ)ิ , มาละแมะ (มาซ)ิ . ช ท�ำดว้ ยแปง้ ข้าวเจ้า กวนพอสุก ล่ะลม น. คลองทช่ี ว่ งขาดจากลำ� น�้ำ. ซ แล้วกดลงในกะโหลกที่มีรูให้ ละ่ ลงั ก. ละลา้ ละลงั , หว่ งหนา้ หว่ งหลงั . ฐ ไหลออกมาเป็นตัว ๆ หัวท้าย ละ่ ลำ�่ ก. ลามปาม เชน่ พอพดู ดที ำ� ละลำ�่ . ฒ ล่ะลึบ ว. เขียวสด, เขียวขจี (ใช้แก่ ด แหลม กินกับน้ำ� กะทิใส่น�ำ้ ตาล. สเี ขยี ว). ต ละเด้อ ว. ละ, ละนะ, แล้วนะ ; ใช้ ล่ะลึม ก. ตกปรอย ๆ, ตกพร�ำ ๆ ถ ประกอบคำ� กรยิ าเพอื่ เนน้ ความ (ใช้แกฝ่ น). ท เชน่ ไปละเดอ้ (ไปละนะ, ไปแลว้ ล่ะลุ่ ก. เลาะด้ายออก. ธ ละเลง [ละ่ -เลง] ก. ละลาย, ลยุ , ตะลยุ น นะ), แหละเดอ้ ก็ว่า. เช่น ละเลงน่�ำพร่ิก (ละลาย บ ล่ะเดิ๊บ ว. เรียงราย, มากมาย, เกล่ือน น้�ำพริก), หมาละเลงแปลงพัก ป (หมาว่งิ ตะลุยแปลงผกั ). ผ กลาด. ละ่ เลงิ ๑. น. คลองหลง, คลองทเ่ี กดิ ฝ ละนม [ล่ะ-นม] ก. เลิกกินนมหรือ จากล�ำน�้ำท่ีขาดเป็นช่วง ๆ, พ หยา่ นม เชน่ เปรยี บดว้ ยโคซงึ่ พง่ึ ค ล อ ง ท่ี ช ่ ว ง ข า ด จ า ก ล� ำ น้� ำ ฟ ละจากนมแม่ (ทา้ ว ฯ), (ดู ละ ๑. แต่ตื้นกว่าละลม, (ดู ละลม ภ ประกอบ). ประกอบ). ม ๒. น. ลานกวา้ ง, เวิ้ง. ย ล่ะผลอ็ ย ว. ทะยอยรว่ งหรอื หลน่ . ล่ะเลาะล่ะลอง ก. ประคับประคอง, ร ละ่ เพ่ิน ก. ลอยฟ่อง, ใจลอย. กระเหม็ดกระแหม่. ฤ ละ่ ฟ่อง ก. ลอยฟ่องหลายตัว (ใช้แก่ ล่ะโลก [ล่ะ-โลก] น. โคลน, ตม, ล ว สตั ว์น�้ำ). ศ ละมัน น. นำ�้ มนั เช่น ดูเหอื่ ไหลโทรม ส ห หน้าเหมือนทาละมัน (นิ.พระ อ ปาจิต). ฮ 264
พจนานุกรม ภาษาโคราช ขลี้ ะโลก กว็ ่า. ปลื้มเนื้อปลื้มใจยังไม่ละเหย ก ละ่ ไล น. ยอดไม้, ยอดผักที่แตกยอด (นิ.รปู ทอง). ข ละโหงก ดู ละเหงก. ค อ่อน ๆ. ล่ะโหล ก. ถล�ำ, เสยี หลัก. ฆ ละวง น. วง, วงกลม เช่น พิศดู ล่ะโหลง [ละ-โหลฺ ง] ก. กลดั หนอง. ง ล่ะโอด้ ว. งอกงาม (ใช้แก่พืชผัก). จ คิ้วเจ้าโก่งเหมือนละวงถ่ัวแปบ ลัง ก. พูดสอดแทรกในขณะท่ีคนอ่ืน ฉ (เพลงเชิด). ก�ำลังพูด ท�ำให้ฟังไม่รู้เร่ือง, ช ละวางปลอ่ ยวาง [ละ่ -วาง-ปอ่ ย-วาง] พูดลัง ก็ว่า. ซ ก. วาง, โดยปริยายหมายถึง ลงั คน ว. บางคน. ฐ ให้หลุดพ้นจากความรู้สึกหรือ ลัด [ลดั่ ] ๑. ก. ผลดิ อก, ผลิใบ, งอก ฒ ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ข อ ง ต น , เช่น เนื่อค่อย ๆ ลั่ดข่ึนเด๋ียว ด ปล่อยวาง ก็ว่า. แผลกห็ าย (เนอื้ เยอ่ื คอ่ ย ๆ งอก ต ละวาย ดู ซะปาย. ข้ึนเด๋ียวแผลก็หาย), ใบมัน ถ ล่ะเวอ่ ว. ใจลอย. ล่ัดข่ึนแล่วไม่ตายด๊อกมะนาว ท ล่ะเว่ิน ก. ลอยวอ่ น, ลอยกระจายไปใน (ใบมันแตกผลิออกแล้วไม่ตาย ธ อากาศ. หรอกมะนาว). น ล่ะหงอย ว. ซึมเศร้ากันสลอน เช่น ๒. ก. ก้ัน, คอยสกดั . บ ยนื ละ่ หงอย. ลดั ๆ [ล่ดั -ลั่ด] ว. หยก ๆ, เรว็ ๆ เช่น ป ล่ะหมุนล่ะเหมียน ว. อ่อนเปลี้ย, เหน็ อยลู่ ด่ั ๆ เมอื่ วานตายแลว่ นี ผ ออ่ นเพลยี , เพลียมาก. (เห็นอยู่หยก ๆ เม่ือวานตาย ฝ ละ่ หลุ ะ่ หดู [ละ่ -ฮ-ุ ละ่ -หดู ] ว. ขะมกุ ขะมอม, แล้วเหรอ). พ เปรอะเปอ้ื น. ลัน น. เคร่ืองดักปลาไหลชนิดหนึ่ง ฟ ละหุ่งเครือ น. ชื่อไม้เลื้อยชนิด ทำ� ดว้ ยไมไ้ ผ.่ ภ Byttneria andamanensis ลันทงึ น. กากะทงิ , สารภีทะเล. ม Kurz. ในวงศ์ Sterculiaceae, ล่า ก. ล้า, เชื่องช้าลงกว่าเดิมเพราะ ย ถ่นิ เหนอื เรียก สาเครือ. หย่อนก�ำลัง ร ล่ะหูด ว. รวั่ . ลากไม้ [ลาก-มา่ ย] ดู เพลงชา้ โกรก. ฤ ละเหงก ก. ลักษณะการนอนอย่าง ล่างง่าง ก. ไม่มีอะไรปกปิด, ล้อนจอ้ น ล สบาย, ละโหงก กว็ า่ . ว ละเหย ว. สรา่ ง, สร่างซา, คลาย เชน่ ศ ส ห อ ฮ 265
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402