Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore curriculum 2563

curriculum 2563

Published by krusirinaja, 2020-08-04 13:33:54

Description: curriculum 2563

Search

Read the Text Version

หลักสตู รสถานศกึ ษา ตำมหลกั สตู รแกนกลำงกำรศกึ ษำขนึ้ พื้ นฐำน พุ ทธศกั รำช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๖๐) ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรียนวัดแม่แกด้ นอ้ ย สำนักงำนเขตพื้ นทกี่ ำรศึกษำประถมศกึ ษำเชียงใหม่ เขต ๒ สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพ้ื นฐำน กระทรวงศึกษำธกิ ำร

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนวดั แม่แก้ดน้อย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั พืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ สํานักงานเขตพนื ทีการศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต ๒ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั พืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

ก ประกาศโรงเรียนวัดแมแกดนอย เรื่อง ใหใ ชหลักสตู รโรงเรียนวัดแมแ กดนอ ย ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ 2560) ปก ารศึกษา 256๓ ----------------------------------------- ตามที่โรงเรียนวัดแมแกดนอยไดประกาศ ใชหลักสูตรโรงเรียนวัดแมแกดนอย พุทธศักราช 2561 โดย เริ่มใชหลักสูตรดังกลาวกับนักเรียนในปการศึกษา 2561 และใหครบทุกชั้นเรียนในปการศึกษา 2563 เพื่อให สอดคลองรับกับนโยบายเรงดวนของรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อใหผูเรียนพัฒนาทักษะกระบวน การคิดวิเคราะห มีเวลาในการทำกิจกรรม เพื่อพัฒนาความรูความสามารถ และทักษะการปลูกฝงคุณธรรม จรยิ ธรรม การสรา งวนิ ัย การมจี ติ สำนึก รบั ผิดชอบตอสังคม ยดึ ม่นั ในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และมี ความภาคภูมิใจในความเปนไทย ตลอดจนการเรียนการสอนในวิชาประวัติศาสตร และหนาที่พลเมือง รวมถึง หลักสูตรตานทุจริตศึกษา รวมถึงการสอนศีลธรรมแกนักเรียน โรงเรียนวัดแมแกดนอยไดดำเนินการจัดทำ หลักสูตรโรงเรียนวัดแมแกดนอย พุทธศักราช ๒๕๖๑ สอดคลองตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องการ บริหารจัดการเวลาเรยี นและปรบั มาตรฐานและตัวชวี้ ัดสอดคลองกับ คำสัง่ สพฐ. ที่ ๑๒๓๗๖๐ และประกาศ สพฐ. ลงวนั ท่ี ๘ มกราคม ๒๕๖๑ เปน ท่เี รียบรอ ยแลว ทั้งนี้หลักสูตรโรงเรียนไดรับความเห็นชอบจากคณะกรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เมื่อวันท่ี 7 พฤษภาคม ๒๕๖๓ จงึ ประกาศใหใชห ลักสูตรโรงเรียนต้งั แตบ ดั นีเ้ ปนตนั ไป ประกาศ ณ วันท่ี 7 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 256๓ ลงชื่อ ลงช่ือ ( นายบญุ ทิม วุฒริ ัตน ) ( นายณรงค ลุมมา ) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ผูอำนวยการโรงเรียนวดั แมแ กด นอย โรงเรียนวดั แมแกด นอ ย

ข คำนำ กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และสาระภูมิศาสตรในกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามคำส่ังกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันท่ี ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และคำสั่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ใหเปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรและวิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) โดยมีคำสั่งใหโรงเรียนดำเนินการใชหลักสูตรในป การศึกษา ๒๕๖๑ โดยใหใชในชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ และ ๔ ตั้งแตปการศึกษา ๒๕๖๑ เปนตนมา ใหเปนหลักสูตร แกนกลางของประเทศ โดยกำหนดจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรูเปนเปาหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนา คุณภาพผเู รียน มีพฒั นาการเตม็ ตามศักยภาพ มีคุณภาพและมที ักษะการเรยี นรใู นศตวรรษที่ ๒๑ เพื่อใหสอดคลอง กบั นโยบายและเปาหมายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน โรงเรียนวัดแมแกดนอย จึงไดทำการปรับปรุงหลักสูตรของสถานศึกษาโรงเรียนวัดแมแกดนอย (ฉบับ ปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ในกลุมสาระการ เรียนรูคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และสาระภูมิศาสตรในกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เพื่อนำไปใชประโยชนและเปนกรอบในการวางแผนและพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอน โดยมีเปาหมายในการพัฒนาคุณภาพผูเรียน ใหมีกระบวนการนำหลักสูตรไปสูการปฏิบัติ โดยมีการกำหนด วิสัยทัศน จุดหมาย สมรรถนะสำคัญของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด โครงสรางเวลาเรียน ตลอดจนเกณฑการวัดประเมินผลใหมีความสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู เปดโอกาส ใหโรงเรียนสามารถกำหนดทิศทางในการจัดทำหลักสูตรการเรียนการสอนในแตละระดับตามความพรอมและจุดเนน โดยมกี รอบแกนกลางเปนแนวทางท่ีชัดเจนเพ่ือตอบสนองนโยบายไทยแลนด ๔.๐ มีความพรอมในการกาวสูสังคม คณุ ภาพ มคี วามรอู ยางแทจริง และมที ักษะในศตวรรษที่ ๒๑ มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่กำหนดไวในเอกสารเลมนี้ ชวยทำใหหนวยงานที่เกี่ยวของในทุกระดับ เห็นผลคาดหวังที่ตองการในการพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนที่ชัดเจนตลอดแนว ซึ่งจะสามารถชวยใหหนวยงาน ทีเ่ ก่ียวขอ งในระดบั ทองถิน่ และสถานศึกษารวมกันพฒั นาหลักสตู รไดอยางม่ันใจ ทำใหการจัดทำหลักสูตรในระดับ สถานศึกษามีคุณภาพและมีความเปนเอกภาพยิ่งขึ้น อีกทั้งยังชวยใหเกิดความชัดเจนเรื่องการวัดและประเมินผล การเรียนรู และชวยแกปญหาการเทียบโอนระหวางสถานศึกษา ดังนั้นในการพัฒนาหลักสูตรในทุกระดับตั้งแต ระดับชาติจนกระทั่งถึงสถานศึกษา จะตองสะทอนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่กำหนดไวใน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมทั้งเปนกรอบทิศทางในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ และครอบคลุม ผเู รียนทุกกลมุ เปาหมายในระดบั การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน

ก การจดั หลกั สตู รการศกึ ษาข้ันพื้นฐานจะประสบความสำเร็จตามเปา หมายทคี่ าดหวังได ทุกฝายท่ีเกี่ยวของ ท้ังระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคล ตองรวมรับผิดชอบ โดยรวมกันทำงานอยางเปนระบบและตอเนื่อง ในการวางแผน ดำเนินการ สงเสรมิ สนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรงุ แกไ ข เพื่อพัฒนาเยาวชนของชาตไิ ปสู คณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนรูทกี่ ำหนดไว งานวิชาการ โรงเรยี นวัดแมแกดนอย

สารบัญ ... ค เร่ือง หนา ประกาศโรงเรียน ก คำนำ ข สารบัญ ค สวนท่ี ๑ ความนำ ๑ ๑ วสิ ัยทศั นโรงเรยี น ๑ พันธกจิ โรงเรยี น ๒ เปา ประสงคโ รงเรยี น ๔ สมรรถนะสำคัญของผูเ รยี น ๔ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค ๕ คานิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ ๖ สวนที่ ๒ โครงสรางหลักสูตรโรงเรียนวดั หาดสงู ๑๗ สว นท่ี ๓ คำอธิบายรายวชิ า ๒๖ กลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย ๔๐ กลมุ สาระการเรียนรูคณิตศาสตร ๕๖ กลุม สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๗๖ กลมุ สาระการเรยี นรสู ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๙๑ กลมุ สาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม (ประวตั ิศาสตร) ๑๐๗ กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา ๑๒๖ กลุม สาระการเรยี นรูศ ลิ ปะ ๑๔๖ รายวิชาเพมิ่ เติม ศิลปะ (ดนตร)ี ๑๕๒ กลุม สาระการเรยี นรูการงานอาชีพ ๑๖๕ รายวชิ าเพม่ิ เติม การงานอาชีพ ๑๗๑ กลุมสาระการเรียนรภู าษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ๑๘๖ รายวชิ าเพิ่มเติม ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร ๑๘๙ รายวชิ าเพิ่มเตมิ ภาษาจนี ๒๐๕ สวนท่ี ๔ กจิ กรรมพฒั นาผูเ รียน ๒๑๓ - กจิ กรรมแนะแนว

... หนา สารบัญ (ตอ ) ๒๒๖ ๒๔๒ เรอื่ ง ๒๔๕ ๒๕๔ - กจิ กรรมลกู เสือ-เนตรนารี และกจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน - กจิ กรรมชุมนมุ สว นที่ ๕ เกณฑการจบการศกึ ษา ภาคผนวก

สวนท่ี 1 ความนำ กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชมาตรฐานการเรยี นรูและตัวชี้วัด กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และสาระภูมิศาสตรในกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ตามคำส่งั กระทรวงศกึ ษาธิการ ท่ี สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวนั ที่ ๗ สงิ หาคม ๒๕๖๐ และคำสงั่ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ท่ี ๓๐/๒๕๖๑ ลงวันท่ี ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ใหเปลย่ี นแปลงมาตรฐานการเรยี นรูและตัวช้ีวดั กลมุ สาระการเรียนรู คณิตศาสตรและวิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) โดยมีคำสั่งใหโรงเรียนดำเนินการใชหลักสูตร ตั้งแตปการศึกษา ๒๕๖๑ เปนตนมา จนครบทุกชั้นเรียนในปการศึกษา 2563 ใหเปนหลักสูตรแกนกลางของ ประเทศ โดยกำหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรูเปนเปาหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพ ผูเรียนมีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ มีคุณภาพและมีทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ ๒๑ เพื่อใหสอดคลองกับ นโยบายและเปา หมายของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน โรงเรียนวัดแมแกดนอย จึงไดทำการปรับปรุงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖1 ในกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และสาระ ภูมิศาสตรใ นกลุม สาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เพื่อนำไปใชประโยชนและเปนกรอบใน การวางแผนและพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอน โดยมีเปาหมายในการพัฒนา คณุ ภาพผูเรยี น ใหม ีกระบวนการนำหลกั สูตรไปสูการปฏิบัติ โดยมกี ารกำหนดวสิ ัยทัศน จุดหมาย สมรรถนะ สำคัญของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด โครงสรางเวลาเรียน ตลอดจนเกณฑการวัดประเมนิ ผลใหมคี วามสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู เปดโอกาสใหโรงเรียนสามารถ กำหนดทิศทางในการจัดทำหลักสูตรการเรยี นการสอนในแตล ะระดับตามความพรอมและจุดเนน โดยมีกรอบ แกนกลางเปนแนวทางที่ชัดเจนเพือ่ ตอบสนองนโยบายไทยแลนด ๔.๐ มคี วามพรอมในการกา วสูสงั คมคุณภาพ มีความรอู ยางแทจรงิ และมีทกั ษะในศตวรรษท่ี ๒๑ มาตรฐานการเรียนรูและตัวชีว้ ัดที่กำหนดไวในเอกสารนี้ ชวยทำใหหนวยงานที่เกี่ยวของ ในทุกระดับ เห็นผลคาดหวังที่ตองการในการพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนที่ชัดเจนตลอดแนว ซึ่งจะสามารถชวยให หนวยงานที่เกี่ยวของในระดับทองถิ่นและสถานศึกษารวมกันพัฒนาหลักสูตรไดอยางมั่นใจ ทำใหการจัดทำ หลักสูตรในระดับสถานศึกษามีคุณภาพและมีความเปนเอกภาพยิ่งขึ้น อีกทั้งยังชวยใหเกิดความชัดเจนเรื่อง การวัดและประเมินผลการเรียนรู และชวยแกปญหาการเทียบโอนระหวางสถานศึกษา ดังนั้นในการพัฒนา หลักสูตรในทกุ ระดับตั้งแตร ะดบั ชาตจิ นกระทั่งถงึ สถานศกึ ษา จะตอ งสะทอนคณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนรู และตัวชวี้ ัดท่กี ำหนดไวในหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมท้งั เปนกรอบทศิ ทางในการจัดการศึกษา ทกุ รูปแบบ และครอบคลุมผูเรยี นทุกกลมุ เปา หมายในระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน การจัดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานจะประสบความสำเร็จตามเปาหมายที่คาดหวังได ทุกฝาย ที่เกี่ยวของทั้งระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลตองรวมรับผิดชอบ โดยรวมกันทำงานอยางเปนระบบ และตอเนื่อง ในการวางแผน ดำเนินการ สงเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแกไข เพื่อพัฒนา เยาวชนของชาติไปสูค ุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรทู ก่ี ำหนดไว

วสิ ัยทศั นหลกั สตู รสถานศึกษา ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖1 หลักสูตรโรงเรียนวัดแมแกด นอย พุทธศักราช ๒๕๖1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ เปนหลกั สตู รทมี่ งุ พฒั นาผูเรยี นทุกคนเปน บคุ คลแหงการเรยี นรสู ูมาตรฐานสากลและเปน มนุษยท่ีมีความสมดุลทั้งรางกาย ความรูคูคุณธรรม มีความเปน ผนู ำของสังคมมจี ติ สำนึกในความเปนพลเมือง ไทยและเปนพลโลกโดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข มีความรูและทักษะพื้นฐานสามารถใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีรวมท้ัง เจตคติที่จำเปนตอการศึกษาในการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิตโดยมุงเนนผูเรียนเปนสำคัญ บนพน้ื ฐานความเชื่อวา ทุกคนสามารถเรียนรแู ละพฒั นาตนเองไดเต็มตามศักยภาพ เปาประสงคห ลักสตู ร (Corporate objective) ๑. เพื่อใหผูเรียนทุกคนไดรับการปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค มีการ พัฒนาเต็มตามศักยภาพ มีทักษะชีวิต มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดี นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาเปนแนวทางการดำเนินชีวิต เปนผูนำที่ดีของสังคมและมีความสามารถในการใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู และการส่ือสารอยางหลากหลาย ผูเรียนมีศกั ยภาพเปนพลโลก (Worid Citizen) 2. เพื่อใหสถานศึกษามีระบบการบริหารและจัดการศึกษาดวยระบบคุณภาพ (Quality System Management) เพ่อื รองรับการกระจายอำนาจอยางทัว่ ถึง 3. เพื่อใหบุคลากรทุกคนมีทักษะวิชาชีพในการพัฒนาการเรียนการสอนและใชนวัตกรรมเทคโนโลยี ท่ที นั สมัยยกระดับการจดั การเรยี นการสอนเทียบเคยี งมาตรฐานสากล (Worle Class standard) 4. เพื่อใหการใชงบประมาณและทรัพยากรของทุกหนวยงานเปนไปตามเปาหมายไดอยาง มปี ระสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ลสงู สุด วิสัยทัศนโ รงเรียน “ภายในปการศึกษา 2563 โรงเรยี นวัดแมแกด นอย จดั การศึกษาใหผ เู รยี นมคี ุณภาพตามมาตรฐาน การศกึ ษา โดยยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ภายใตการมสี ว นรวมจากทกุ ภาคสวน” พนั ธกิจ (Mission) ๑. พัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษาเพื่อจดั กระบวนการเรยี นการสอนที่เหมาะสมและสอดคลอ งกบั ศกั ยภาพของผเู รียน ๒. พัฒนาผูเรียนใหมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นสูงขึ้น ๓. พัฒนาผูเ รียนใหมีขีดความสามารถตามทกั ษะศตวรรษที่ 21 ๔. พัฒนาครแู ละนกั เรียนใหมีความรูค วามสามารถและปฏบิ ตั ิตนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง ๕. พฒั นาระบบบริหารจดั การของโรงเรยี นใหทนั สมยั และมปี ระสิทธิภาพ ๖. สรา งเครือขายการมสี ว นรว มจดั การศึกษากับหนวยงานทกุ ภาคสว น พฒั นาสอ่ื นวัตกรรม เทคโนโลยีดา นการเรยี นการสอนและการบริหารจัดการศึกษา หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ( ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 256๐) ปการศกึ ษา 2563 โรงเรียนวดั แมแ กด นอ ย 2

เปา ประสงค ๑. มกี ระบวนการจดั การเรียนการสอนทส่ี อดคลองกบั ความตองการของผูเรยี นทองถิ่นและ ประเทศชาตเิ หมาะกบั ศักยภาพของผเู รยี น ๒. ผูเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน ๓. ผเู รียนมีความรคู วามสามารถเปนคนดี คนเกง มสี ขุ ภาพกายสุขภาพจติ ท่ีสมบรู ณ มคี ุณธรรมจรยิ ธรรม รกั ความเปนไทย และรับผิดชอบตอสงั คม ๔. ผเู รียนมีความรคู วามสามารถตามศกั ยภาพ ๕. ครูและผูเรียนดำรงตนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๖. เปน โรงเรียนแกนนำและพฒั นาสเู ครือขายดานเศรษฐกิจพอเพียงอยางย่งั ยืน ๗. ระบบบริหารจัดการของโรงเรยี นมคี วามทันสมัยและมปี ระสิทธภิ าพโดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาล ๘. สถานศึกษามเี ครือขา ยความรวมมอื ในการจดั การศึกษากบั ทกุ ภาคสว นในการพฒั นาคุณภาพ การศึกษา ๙. โรงเรียนมีการจดั การเรยี นการสอนและการบริหารจดั การโดยใชสอื่ นวัตกรรมและเทคโนโลยีท่ี ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ ปรชั ญาโรงเรยี นวัดแมแกด นอย “ กรรมุนา โหติ พรามมะโน” คานยิ ม MAEKADNOI MODEL สปี ระจำโรงเรียน เขียว – ขาว สีเขียว หมายถงึ ความสมดุลของส่ิงมีชวี ิต ในการดำรงอยกู บั ส่งิ แวดลอม สีขาว หมายถึง ความมีจติ สำนึก มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมโดยเฉพาะการมจี ิตสาธารณะ ดอกไมประจำโรงเรยี น ตน ไผ และตน โมก หมายถงึ ไผนำโชคและโมกนำชัย สมรรถนะสำคัญของผเู รียน และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค ในการพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรโรงเรียนวัดแมแกดนอย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุงเนนพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด ซึง่ จะชวยใหผ ูเรยี นเกิดสมรรถนะสำคญั และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค ดังน้ี หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ( ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 256๐) ปก ารศกึ ษา 2563 โรงเรยี นวดั แมแกดนอ ย 3

สมรรถนะสำคัญของผูเรยี น หลักสูตรโรงเรียนวัดแมแกดนอย พุทธศักราช ๒๕๖1 มุงใหผูเรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ ๕ ประการ ดังน้ี ๑. ความสามารถในการส่ือสาร เปนความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรมในการใชภาษา ถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารและ ประสบการณอนั จะเปนประโยชนต อ การพัฒนาตนเองและสงั คม การเลอื กรับหรอื ไมรบั ขอ มูลขา วสารดวยหลัก เหตุผลและความถูกตอง ตลอดจนการเลือกใชวิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีตอ ตนเองและสังคม ๒. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิด อยาง สรางสรรค การคิดอยางมีวจิ ารณญาณ และการคดิ เปน ระบบ เพ่อื นำไปสูการสรางองคความรูหรือสารสนเทศ เพื่อการตัดสนิ ใจเกีย่ วกับตนเองและสังคมไดอยางเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแกป ญหา เปนความสามารถในการแกปญ หาและอุปสรรคตาง ๆ ที่เผชิญได อยางถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจความสัมพันธและ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณต าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรูมาใชในการปองกันและแกไข ปญหา และมีกาตัดสนิ ใจที่มปี ระสทิ ธิภาพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบทเี่ กดิ ขนึ้ ตอตนเอง สงั คมและสง่ิ แวดลอ ม ๔. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถในการนำกระบวนการตาง ๆ ไปใชใน การดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูอยางตอเนื่อง การทำงาน และการอยูรวมกันใน สังคมดวยการสรางเสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความขัดแยงตาง ๆ อยาง เหมาะสม การปรับตัวใหทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการรูจักหลีกเลี่ยง พฤตกิ รรมไมพงึ ประสงคท ส่ี งผลกระทบตอ ตนเองและผูอืน่ ๕. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือก และใช เทคโนโลยดี านตาง ๆ และ มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู การสื่อสาร การทำงาน การแกปญหาอยางสรางสรรค ถูกตอง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม คุณลกั ษณะที่พึงประสงค หลักสูตรโรงเรียนวัดแมแกดนอย พุทธศักราช ๒๕๖1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุงพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลกั ษณะอันพึงประสงค เพื่อใหสามารถอยูรว มกับผูอื่นในสังคมได อยา งมคี วามสุข ในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก ดังน้ี ๑. รักษชาติ ศาสน กษตั ริย ๒. ซือ่ สตั ยสุจรติ ๓. มวี ินยั ๔. ใฝเรยี นรู ๕. อยูอยางพอเพียง ๖. มุงมน่ั ในการทำงาน ๗. รกั ความเปนไทย ๘. มีจติ เปน สาธารณะ ๙. รกั ษศ ิลปวฒั นธรรมลา นนา (เพิม่ เตมิ ตามสถานศึกษากำหนด) หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ( ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 256๐) ปการศึกษา 2563 โรงเรียนวดั แมแ กด นอ ย 4

คานยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ ตามนโยบายของ คสช. ๑. มคี วามรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ๒. ซอ่ื สตั ย เสยี สละ อดทน มอี ดุ มการณใ นส่ิงทีด่ งี ามเพ่อื สว นรวม ๓. กตัญตู อ พอ แม ผปู กครอง ครูบาอาจารย ๔. ใฝห าความรู หมัน่ ศึกษาเลาเรียนทัง้ ทางตรง และทางออม ๕. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอนั งดงาม ๖. มศี ีลธรรม รกั ษาความสตั ย หวังดตี อผูอนื่ เผอ่ื แผแ ละแบงปน ๗. เขา ใจเรียนรูการเปน ประชาธิปไตย อนั มพี ระมหากษตั รยิ ทรงเปนประมขุ ทถี่ กู ตอง ๘. มีระเบยี บวินัย เคารพกฎหมาย ผูนอยรจู กั การเคารพผูใหญ ๙. มีสตริ ูต วั รูคดิ รูทำ รูปฏิบตั ติ ามพระราชดำรสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู ัว ๑๐. รูจักดำรงตนอยูโดยใชหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระ เจา อยหู วั รชั กาลท่ี ๙ รจู กั อดออมไวใชเมื่อยามจำเปน มไี วพอกินพอใช ถาเหลือก็แจกจายจำหนาย และพรอม ท่จี ะขยายกิจการ เมื่อมคี วามพรอ ม เม่อื มีภูมคิ ุมกนั ทีด่ ี ๑๑. มีความเขมแข็งทั้งรางกาย และจิตใจ ไมยอมแพตออำนาจฝายต่ำ หรือกิเลส มีความละอายเกรง กลวั ตอบาปตามหลกั ของศาสนา ๑๒. คำนงึ ถงึ ผลประโยชนข องสวนรวม และของชาติมากกวาผลประโยชนข องตนเอง หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ( ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 256๐) ปการศกึ ษา 2563 โรงเรยี นวัดแมแ กดนอ ย 5

สวนท่ี 2 โครงสรา งหลกั สตู รโรงเรียนวดั แมแ กด นอ ย หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดแมแกดนอย (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ไดกำหนดโครงสรางของหลักสตู รสถานศึกษา เพื่อใหผสู อน และผทู ่เี กีย่ วขอ งในการจัดการเรียนรูตามหลักสูตรของสถานศึกษามีแนวปฏิบัติ ดังนี้ ระดบั การศกึ ษา หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดแมแกดนอย (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 จัดการศกึ ษา ดังน้ี ระดับกอ นประถมศึกษา (ชั้นอนบุ าลปที่ 2 – 3) การศกึ ษาในระดบั นี้เปน ชวงแรกของการศึกษากอน ภาคบังคับ มุง เนน พัฒนาทง้ั 4 ดานของนักเรียน คอื ดานสตปิ ญ ญา ดา นรางกาย ดา นจิตใจ และดานสงั คม ระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 - 6) การศึกษาระดับนี้เปนชวงแรกของการศึกษาภาค บังคับ มุงเนนทักษะพื้นฐานดานการอาน การเขียน การคิดคำนวณ ทักษะการคิดพื้นฐาน การติดตอสื่อสาร กระบวนการเรียนรูทางสังคม และพื้นฐานความเปนมนุษย การพัฒนาคุณภาพชีวิตอยางสมบูรณและสมดุลทั้งใน ดา นรา งกาย สติปญ ญา อารมณ สงั คม และวฒั นธรรม โดยเนน จัดการเรยี นรูแบบบรู ณาการ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน (ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 – 3) การศึกษาระดับนี้ มุงเนนทักษะชีวิต ทักษะ การคิดพื้นฐาน การติดตอสื่อสาร กระบวนการเรียนรูทางสังคม และพื้นฐานความเปนมนุษย การพัฒนาคุณภาพ ชีวิตอยางสมบูรณและสมดุลทั้งในดานรางกาย สติปญญา อารมณ สังคม และวัฒนธรรม โดยเนน การจัดการ เรียนรูทห่ี ลากหลายและแบบบูรณาการ การจดั เวลาเรยี น หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดแมแกดนอย (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไดจัดเวลาเรียนตามกลุมสาระการเรียนรู 8 กลุม และ กิจกรรมพัฒนาผูเ รียน โดยจัดใหเ หมาะสมตามบรบิ ท จดุ เนน ของโรงเรยี นและสภาพของผูเรยี น ดงั น้ี 1. ระดับชั้นประถมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 – 6 จัดเวลาเรียนเปนรายป โดยมีเวลาเรียนวัน ละ 6 ชั่วโมง 2. ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 – 3 จัดเวลาเรียนเปนรายภาคเรียน โดยมี เวลาเรียนวนั ละ 6 ช่ัวโมง โครงสรางหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดแมแกดนอย (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประกอบดวยโครงสรางเวลาเรียนและโครงสราง หลักสตู รชน้ั ป และโครงสรา งหลักสูตรรายภาคเรียน ดังน้ี 1. โครงสรางเวลาเรียน เปนโครงสรางที่แสดงรายละเอียดในภาพรวม เวลาเรียนของแตละกลุม สาระการเรียนรู 8 กลุมสาระที่เปนเวลาเรียนพื้นฐาน เวลาเรียนรายวิชาเพิ่มเติม และเวลาในการจัดกิจกรรม พฒั นาผเู รยี นจำแนกแตละชัน้ ป ในระดับประถมศกึ ษา ดังน้ี หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ( ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 256๐) ปการศึกษา 2563 โรงเรยี นวัดแมแกด นอ ย 6

โครงสรา งเวลาเรยี น โครงสรา งเวลาเรยี นระดบั ประถมศึกษา เวลาเรยี น กลุม สาระการเรียนร/ู กจิ กรรม ระดับประถมศึกษา ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6  รายวชิ าพื้นฐาน ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160 คณติ ศาสตร 200 200 200 160 160 160 วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 80 80 80 80 80 80 - การออกแบบเทคโนโลยี 40 40 40 40 40 40 สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 80 80 80 120 120 120  ภูมศิ าสตร  ศาสนาศลี ธรรม จรยิ ธรรม 40 40 40 80 80 80  หนา ท่พี ลเมอื ง วัฒนธรรม และการดำเนินชวี ิตในสงั คม  เศรษฐศาสตร 40 40 40 40 40 40  ประวตั ิศาสตร สุขศกึ ษาและพลศึกษา 40 40 40 80 80 80 ศลิ ปะ 40 40 40 80 80 80 การงานอาชพี 40 40 40 40 40 40 ภาษาตา งประเทศ 120 120 120 80 80 80 รวมเวลาเรียนรายวิชาพน้ื ฐาน 840 840 840 840 840 840  รายวชิ าเพ่มิ เตมิ ภาษาจีน ๘0 ๘0 ๘0 80 80 80 ภาษาอังกฤษเพ่อื การส่อื สาร 80 80 80 - - - รวมเวลาเรียนรายวชิ าเพมิ่ เตมิ 160 160 160 80 80 80  กิจกรรมพัฒนาผเู รยี น (การปอ งกนั การทจุ ริต)  กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 40 40 40  กิจกรรมนกั เรยี น 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 - ลกู เสอื /เนตรนารี - ชมุ นุม (10) (10) (10) (10) (10) (10)  กิจกรรมเพอื่ สังคมและ สาธารณประโยชน * บูรณาการในกิจกรรมลูกเสอื -เนตรนารี รวมเวลากจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น 120 120 120 120 120 120 กจิ กรรมตามจุดเนน ภาษาจีน - - - 40 40 40 กิจกรรมสง เสรมิ ศิลปวฒั นธรรมลานนา 40 40 40 80 80 80 กิจกรรมพุทธศาสนา 40 40 40 40 40 40 รวมเวลาเรยี นกิจกรรมตามจดุ เนน 80 80 80 160 160 160 รวมเวลาทงั้ หมด 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ( ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 256๐) ปการศึกษา 2563 โรงเรียนวัดแมแกด นอ ย 7

โครงสรา งหลักสูตรช้นั ป เปนโครงสรา งที่แสดงรายละเอียดเวลาเรยี นของรายวิชาพื้นฐาน รายวิชา/กจิ กรรมเพ่ิมเตมิ และกิจกรรมพัฒนาผูเ รยี นจำแนกแตละชน้ั ป โครงสรางเวลาเรียน ระดบั ชน้ั ประถมศึกษา ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 1 รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรียน (ชม./สัปดาห) (ชม./ป) 21 รายวชิ าพ้ืนฐาน 840 5 5 ท 11101 ภาษาไทย ๑ 200 ๓ 1 ค 11101 คณิตศาสตร 1 200 1 1 ว 11101 วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 1 120 1 1 ส 11101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 1 40 3 4 ส 11102 ประวัติศาสตร 1 40 2 2 พ 11101 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 1 40 3 1 ศ 11101 ศิลปะ 1 40 (2) 1 ง 11101 การงานอาชพี 1 40 1 *ผนวกในกจิ กรรม อ 11101 ภาษาองั กฤษ 1 120 ลูกเสอื -เนตรนารี 2 รายวิชาเพ่มิ เติม 160 1 1 จ 11๒๐๑ ภาษาจนี ๑ 80 30 อ 11201 ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร 1 80 กจิ กรรมพฒั นาผเู รียน ( *บรู ณาการ การปองกนั การทจุ ริต) 120 ๏ กจิ กรรมแนะแนว 40 ๏ กจิ กรรมนักเรยี น (70) - ลกู เสอื /เนตรนารี 30 - ชมรม/ชุมนุม 40 ๏ กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน 10 กจิ กรรมตามจุดเนน 80 ๏ สง เสริมศลิ ปะและวฒั นธรรมลา นนา 40 ๏ กจิ กรรมพุทธศาสนา 40 รวมเวลาเรยี นทัง้ สน้ิ ตามโครงสรา งหลกั สูตร 1,200 หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ( ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 256๐) ปก ารศึกษา 2563 โรงเรียนวัดแมแ กด นอ ย 8

โครงสรางเวลาเรียน ระดบั ช้ันประถมศึกษา ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ 2 รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรยี น (ชม./สัปดาห) (ชม./ป) 21 รายวิชาพน้ื ฐาน 840 5 ท 12101 ภาษาไทย 2 200 5 ค 12101 คณิตศาสตร 2 200 ๓ 1 ว 12101 วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 2 120 1 ส 12101 สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 2 40 1 ส 12102 ประวัติศาสตร 2 40 1 พ 12101 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 2 40 1 ศ 12101 ศลิ ปะ 2 40 3 ง 12101 การงานอาชพี 2 40 4 2 อ 12101 ภาษาองั กฤษ 2 120 2 3 รายวชิ าเพ่ิมเติม 160 1 (2) จ 1๒๒๐๑ ภาษาจนี 2 80 1 1 อ 12201 ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร 2 80 *ผนวกในกจิ กรรม ลกู เสือ-เนตรนารี กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ( *บรู ณาการ การปองกันการทจุ ริต) 120 2 1 ๏ กจิ กรรมแนะแนว 40 1 30 ๏ กิจกรรมนกั เรยี น (70) - ลกู เสือ/เนตรนารี 30 - ชมรม/ชุมนุม 40 ๏ กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน 10 กจิ กรรมตามจุดเนน 80 ๏ สง เสรมิ ศลิ ปะและวฒั นธรรมลา นนา 40 ๏ กิจกรรมพุทธศาสนา 40 รวมเวลาเรียนทง้ั สิน้ ตามโครงสรา งหลักสตู ร 1,200 หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ( ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 256๐) ปการศึกษา 2563 โรงเรยี นวัดแมแกดนอ ย 9

โครงสรา งเวลาเรียน ระดบั ช้ันประถมศกึ ษา ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ 3 รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน (ชม./สัปดาห) (ชม./ป) 21 รายวิชาพ้ืนฐาน 840 5 ท 13101 ภาษาไทย 3 200 5 ค 13101 คณิตศาสตร 3 200 ๓ 1 ว 13101 วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 3 120 1 ส 13101 สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 3 40 1 ส 13102 ประวัติศาสตร 3 40 1 พ 13101 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 3 40 1 ศ 13101 ศลิ ปะ 3 40 3 ง 13101 การงานอาชพี 3 40 4 2 อ 13101 ภาษาองั กฤษ 3 120 2 3 รายวิชาเพมิ่ เติม 160 1 (2) จ 1๓๒๐๑ ภาษาจีน 3 80 1 1 อ 13201 ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร 3 80 *ผนวกในกจิ กรรม ลูกเสือ-เนตรนารี กิจกรรมพัฒนาผเู รียน ( *บูรณาการ การปองกนั การทจุ รติ ) 120 2 1 ๏ กจิ กรรมแนะแนว 40 1 30 ๏ กจิ กรรมนกั เรยี น (70) - ลกู เสือ/เนตรนารี 30 - ชมรม/ชุมนมุ 40 ๏ กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน 10 กจิ กรรมตามจุดเนน 80 ๏ สง เสริมศิลปะและวัฒนธรรมลานนา 40 ๏ กจิ กรรมพุทธศาสนา 40 รวมเวลาเรยี นทัง้ สนิ้ ตามโครงสรา งหลกั สูตร 1,200 หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ( ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 256๐) ปก ารศึกษา 2563 โรงเรยี นวัดแมแกดนอ ย 10

โครงสรางเวลาเรยี น ระดับชน้ั ประถมศกึ ษา ช้ันประถมศึกษาปท่ี 4 รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรยี น (ชม./สัปดาห) (ชม./ป) 21 รายวชิ าพื้นฐาน 840 4 4 ท 14101 ภาษาไทย 4 160 ๓ ๒ ค 14101 คณติ ศาสตร 4 160 1 ว 14101 วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 120 1 ส 14101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 80 1 ส 14102 ประวัติศาสตร 4 40 1 ๒ พ 14101 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 4 80 2 2 ศ 14101 ศลิ ปะ 4 80 3 1 ง 14101 การงานอาชีพ 4 40 (2) 1 อ 14101 ภาษาอังกฤษ 4 80 1 *ผนวกในกจิ กรรม รายวชิ าเพิ่มเติม 80 ลูกเสือ-เนตรนารี 4 จ 1๔๒๐๑ ภาษาจีน 4 80 1 2 กจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น ( *บูรณาการ การปองกนั การทุจรติ ) 120 1 30 ๏ กิจกรรมแนะแนว 40 ๏ กิจกรรมนกั เรยี น (70) - ลูกเสอื /เนตรนารี 30 - ชมรม/ชมุ นุม 40 ๏ กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน 10 กิจกรรมตามจดุ เนน 160 ๏ ภาษาจีน 40 ๏ สง เสรมิ ศิลปะและวัฒนธรรมลา นนา 80 ๏ กจิ กรรมพุทธศาสนา 40 รวมเวลาเรียนทงั้ ส้ินตามโครงสรา งหลกั สูตร 1,200 หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ( ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 256๐) ปการศกึ ษา 2563 โรงเรยี นวัดแมแ กด นอ ย 11

โครงสรา งเวลาเรียน ระดับชน้ั ประถมศึกษา ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี 5 รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรยี น (ชม./สัปดาห) (ชม./ป) 21 รายวชิ าพื้นฐาน 840 4 4 ท 15101 ภาษาไทย 4 160 ๓ ๒ ค 15101 คณติ ศาสตร 4 160 1 ว 15101 วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 120 1 ส 15101 สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 4 80 1 ส 15102 ประวัติศาสตร 4 40 1 ๒ พ 15101 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 4 80 2 2 ศ 15101 ศิลปะ 4 80 3 1 ง 15101 การงานอาชพี 4 40 (2) 1 อ 15101 ภาษาองั กฤษ 4 80 1 *ผนวกในกจิ กรรม รายวชิ าเพ่ิมเติม 80 ลูกเสือ-เนตรนารี 4 จ 1๕๒๐๑ ภาษาจีน 4 80 1 2 กจิ กรรมพัฒนาผูเรียน ( *บรู ณาการ การปองกันการทุจรติ ) 120 1 30 ๏ กิจกรรมแนะแนว 40 ๏ กจิ กรรมนกั เรยี น (70) - ลูกเสอื /เนตรนารี 30 - ชมรม/ชุมนุม 40 ๏ กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน 10 กิจกรรมตามจุดเนน 160 ๏ ภาษาจนี 40 ๏ สงเสรมิ ศลิ ปะและวัฒนธรรมลานนา 80 ๏ กจิ กรรมพุทธศาสนา 40 รวมเวลาเรียนท้งั สนิ้ ตามโครงสรางหลกั สูตร 1,200 หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ( ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 256๐) ปก ารศึกษา 2563 โรงเรยี นวัดแมแ กด นอ ย 12

โครงสรา งเวลาเรียน ระดับชน้ั ประถมศึกษา ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี 6 รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรยี น (ชม./สัปดาห) (ชม./ป) 21 รายวชิ าพื้นฐาน 840 4 4 ท 16101 ภาษาไทย 6 160 ๓ ๒ ค 16101 คณติ ศาสตร 6 160 1 ว 16101 วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 6 120 1 ส 16101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 6 80 1 ส 16102 ประวัติศาสตร 6 40 1 ๒ พ 16101 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 6 80 2 2 ศ 16101 ศิลปะ 6 80 3 1 ง 16101 การงานอาชพี 6 40 (2) 1 อ 16101 ภาษาองั กฤษ 6 80 1 *ผนวกในกจิ กรรม รายวชิ าเพิ่มเติม 80 ลูกเสือ-เนตรนารี 4 จ 1๖๒๐๑ ภาษาจีน ๖ 80 1 2 กจิ กรรมพัฒนาผูเรียน ( *บูรณาการ การปองกันการทจุ ริต) 120 1 30 ๏ กิจกรรมแนะแนว 40 ๏ กจิ กรรมนักเรยี น (70) - ลูกเสอื /เนตรนารี 30 - ชมรม/ชุมนมุ 40 ๏ กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน 10 กิจกรรมตามจุดเนน 160 ๏ ภาษาจนี 40 ๏ สงเสริมศิลปะและวัฒนธรรมลานนา 80 ๏ กจิ กรรมพุทธศาสนา 40 รวมเวลาเรียนทั้งสนิ้ ตามโครงสรา งหลกั สตู ร 1,200 หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ( ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 256๐) ปก ารศึกษา 2563 โรงเรยี นวัดแมแ กด นอ ย 13

โครงสรา งเวลาเรยี นระดับมัธยมศกึ ษา เวลาเรียน กลุมสาระการเรยี นรู/กิจกรรม ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน ม.๓ ม.๑ ม.๒  รายวิชาพ้ืนฐาน ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ภาษาไทย ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) คณติ ศาสตร ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) วทิ ยาศาสตร ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) การออกแบบฯและวทิ ยาการคำนวณ ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.)  ศาสนาศลี ธรรม จริยธรรม ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)  หนา ทพ่ี ลเมือง วฒั นธรรม ๘๘๐ (๒๒ นก) ๘๘๐ (๒๒ นก) ๘๘๐ (๒๒ นก) และการดำเนนิ ชวี ติ ในสังคม ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.)  การปองกันการทจุ รติ ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.)  เศรษฐศาสตร ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.)  ภมู ิศาสตร 8๐ (2 นก.) 8๐ (2 นก.) 8๐ (2 นก.) ประวัตศิ าสตร ๒๐๐ (๕ นก.) ๒๐๐ (๕ นก.) ๒๐๐ (๕ นก.) สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ศิลปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ การงานอาชีพ (๑๕) (๑๕) (๑๕) ภาษาตางประเทศ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑,๒๐๐ ชัว่ โมง ๑,๒๐๐ ชัว่ โมง ๑,๒๐๐ ชั่วโมง รวมเวลาเรียน (พ้ืนฐาน)  รายวิชาเพ่มิ เติม สรางสรรคนวตั กรรม เสริมฐานงานอาชพี ดนตรหี รรษา ภาษาจนี เพ่ือการส่ือสาร รวมเวลาเรยี น (เพ่มิ เติม)  กิจกรรมพฒั นาผเู รียน (บูรณาการการปองกันการทจุ ริต)  กจิ กรรมแนะแนว  กจิ กรรมนกั เรียน - ลกู เสอื /เนตรนารี - ชมุ นมุ  กจิ กรรมเพ่ือสังคมและ สาธารณประโยชน *( บรู ณาการในกจิ กรรมลูกเสือเนตรนารี) รวมเวลากจิ กรรมพัฒนาผูเรียน รวมเวลาเรียนท้ังหมด หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ( ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 256๐) ปการศึกษา 2563 โรงเรยี นวัดแมแกดนอ ย 14

โครงสรางเวลาเรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษา โรงเรียนวัดแมแ กดนอ ย ช้นั มัธยมศกึ ษาปที่ 1 – 3 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ ๑ (ภาคเรียนท่ี ๑) ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี ๑ (ภาคเรยี นท่ี ๒) รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรยี น รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรยี น (หนวยกติ /ชม.) (หนว ยกิต/ชม.) รายวิชาพน้ื ฐาน ๑๑.๐ (๔๔๐) รายวชิ าพื้นฐาน ๑๑.๐ (๔๔๐) ท ๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ๑.๕ (๖๐) ท ๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ๑.๕ (๖๐) ค ๒๑๑๐๑ คณติ ศาสตร ๑ ๑.๕ (๖๐) ค ๒๑๑๐๒ คณิตศาสตร ๒ ๑.๕ (๖๐) ว ๒๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร ๑ ๑.๕ (๖๐) ว ๒๑๑๐๒ วทิ ยาศาสตร ๒ ๑.๕ (๖๐) ว ๒๑๑๐๓ การออกแบบ ๐.๕ (๒๐) ว ๒๑๑๐4 วทิ ยาการคำนวณ 1 ๐.๕ (๒๐) เทคโนโลยี 1 ส ๒๑๑๐๓ สงั คมศกึ ษาฯ ๒ ๑.๕ (๖๐) ส ๒๑๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๑ ๑.๕ (๖๐) ส ๒๑๑๐๔ ประวัติศาสตร ๒ ๐.๕ (๒๐) ส ๒๑๑๐๒ ประวตั ิศาสตร ๑ ๐.๕ (๒๐) พ ๒๑๑๐๓ สขุ ศึกษา ๒ ๐.๕ (๒๐) พ ๒๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษา ๑ ๐.๕ (๒๐) พ ๒๑๑๐๔ เซปกตะกรอ ๒ ๐.๕ (๒๐) พ ๒๑๑๐๒ เซปก ตะกรอ ๑ ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๑๑๐๓ ทศั นศิลป ๒ ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๑๑๐๑ ทศั นศลิ ป ๑ ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๑๑๐๔ ดนตรี นาฏศลิ ป ๒ ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๑๑๐๒ ดนตรี นาฏศลิ ป ๑ ๐.๕ (๒๐) ง ๒๑๑๐๒ การงานอาชีพ ๒ ๐.๕ (๒๐) ง ๒๑๑๐๑ การงานอาชพี ๑ ๐.๕ (๒๐) อ ๒๑๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๒ ๑.๕ (๖๐) อ ๒๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ ๑.๕ (๖๐) รายวชิ าเพม่ิ เติม ๒.๕ (๑๐๐) รายวชิ าเพ่ิมเติม ๒.๕ (๑๐๐) ว ๒๑๒๐๒ ประยุกตคอมฯ ๒ ๐.๕ (๒๐) ว ๒๑๒๐๑ ประยุกตคอมฯ ๑ ๐.๕ (๒๐) ง ๒๑๒๐๒ ขนมอบ ๒ ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๑๒๐๒ ดนตรพี ้ืนเมอื ง ๒ 0.5 (2๐) ง ๒๑๒๐๑ ขนมอบ ๑ ๐.๕ (๒๐) จ ๒๑๒๐๒ ภาษาจนี เพือ่ การสอ่ื สาร 2 ๑.๐ (๔๐) กจิ กรรมพัฒนาผูเรียน ศ ๒๑๒๐๑ ดนตรพี ื้นเมือง ๑ 0.5 (2๐) กจิ กรรมแนะแนว (๖๐) กจิ กรรมนักเรยี น ๒๐ จ ๒๑๒๐๑ ภาษาจนี เพ่ือการสื่อสาร ๑ ๑.๐ (๔๐)  ลกู เสอื /เนตรนารี 20 กิจกรรมพฒั นาผูเรยี น (๖๐) -  กจิ กรรมเพอ่ื สังคมและ กจิ กรรมแนะแนว ๒๐ สาธารณะ (บรู ณาการกยั ๒๐ ลูกเสอื ฯ) กจิ กรรมนักเรียน ๖๐๐  ชุมนมุ  ลกู เสอื /เนตรนารี 20 รวมเวลาเรยี นทั้งสิน้  กจิ กรรมเพื่อสงั คมและ - สาธารณะ (บรู ณาการกับ ลกู เสอื ฯ) 2๐  ชมุ นุม รวมเวลาเรยี นทั้งสิน้ ๖๐๐ * การปองกนั การทจุ ริตบูรณาการกับกิจกรรม แนะแนวและกจิ กรรมลูกเสอื -เนตรนารี หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ( ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 256๐) ปการศึกษา 2563 โรงเรยี นวดั แมแกดนอ ย 15

ชัน้ มัธยมศึกษาปท ่ี ๒ (ภาคเรยี นที่ ๑) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๒ (ภาคเรียนที่ ๒) รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรยี น รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน (หนว ยกิต/ชม.) (หนว ยกติ /ชม.) รายวชิ าพ้นื ฐาน ๑๑.๐ (๔๔๐) รายวชิ าพนื้ ฐาน ๑๑.๐ (๔๔๐) ท ๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ๑.๕ (๖๐) ท ๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๔ ๑.๕ (๖๐) ค ๒๒๑๐๑ คณิตศาสตร ๓ ๑.๕ (๖๐) ค ๒๒๑๐๒ คณิตศาสตร ๔ ๑.๕ (๖๐) ว ๒๒๑๐๑ วิทยาศาสตร ๓ ๑.๕ (๖๐) ว ๒๒๑๐๒ วทิ ยาศาสตร ๔ ๑.๕ (๖๐) ว ๒๒๑๐๓ การออกแบบ 0.๕ (2๐) ว ๒2๑๐4 วทิ ยาการคำนวณ 2 ๐.๕ (๒๐) เทคโนโลยี 2 ส ๒๒๑๐๓ สังคมศึกษา ๔ ๑.๕ (๖๐) ส ๒๒๑๐๑ สังคมศกึ ษา ๓ ๑.๕ (๖๐) ส ๒๒๑๐๔ ประวัตศิ าสตร ๔ ๐.๕ (๒๐) ส ๒๒๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร ๓ ๐.๕ (๒๐) พ ๒๒๑๐๓ สขุ ศกึ ษา ๔ ๐.๕ (๒๐) พ ๒๒๑๐๑ สขุ ศกึ ษา ๓ ๐.๕ (๒๐) พ ๒๒๑๐๔ วอลเลยบอล 2 ๐.๕ (๒๐) พ ๒๒๑๐๒ วอลเลยบ อล 1 ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๒๑๐๓ ทศั นศิลป ๔ ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๒๑๐๑ ทศั นศลิ ป ๓ ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๒๑๐๔ ดนตรี นาฏศลิ ป ๔ ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๒๑๐๒ ดนตรี นาฏศลิ ป ๓ ๐.๕ (๒๐) ง ๒๒๑๐๒ การงานอาชพี ๔ 0.5 (2๐) ง ๒๒๑๐๑ การงานอาชีพ ๓ 0.5 (2๐) อ ๒๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๔ ๑.๕ (๖๐) อ ๒๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๓ ๑.๕ (๖๐) รายวชิ าเพม่ิ เติม ๒.๕ (๑๐๐) รายวิชาเพ่ิมเติม ๒.๕ (๑๐๐) ว ๒๒๒๐๒ ประยุกตคอมฯ ๔ ๐.๕ (๒๐) ว ๒๒๒๐๑ ประยุกตคอมฯ ๓ ๐.๕ (๒๐) ง ๒๒๒๐๒ การจัดดอกไมเพื่ออาชีพ 0.5 (2๐) ศ 22202 ดนตรีสากล (กีตาร) ๒ 0.5 (2๐) ง ๒๒๒๐๑ พื้นฐานการจัดดอกไม 0.5 (2๐) จ ๒๒๒๐๒ ภาษาจีนเพือ่ การสอื่ สาร 4 ๑.๐ (๔๐) ศ 22201 ดนตรสี ากล (กตี า ร) ๑ 0.5 (2๐) กจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น (๖๐) กจิ กรรมแนะแนว ๒๐ จ ๒๒๒๐๑ ภาษาจีนเพอ่ื การสอ่ื สาร ๓ ๑.๐ (๔๐) กิจกรรมนักเรยี น ๑๒ กจิ กรรมพฒั นาผูเรียน (๖๐)  ลกู เสือ/เนตรนารี ๒๐ กจิ กรรมแนะแนว ๒๐  กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะ ๖๐๐ (บูรณาการกบั ลกู เสือฯ) กิจกรรมนักเรียน  ชมุ นมุ  ลกู เสือ/เนตรนารี 20 รวมเวลาเรียนทง้ั สิน้  กิจกรรมเพ่อื สังคมและสาธารณะ (บูรณาการกบั ลูกเสือฯ) ๒๐  ชุมนมุ รวมเวลาเรียนทั้งสิน้ ๖๐๐ * การปองกนั การทุจรติ บรู ณาการกับกจิ กรรม แนะแนวและกิจกรรมลูกเสอื -เนตรนารี หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ( ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 256๐) ปก ารศกึ ษา 2563 โรงเรียนวดั แมแ กดนอ ย 16

ชนั้ มธั ยมศึกษาปที่ ๓ (ภาคเรยี นที่ ๑) ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๓ (ภาคเรียนท่ี ๒) เวลาเรียน เวลาเรียน รายวชิ า/กจิ กรรม (หนว ยกิต/ รายวิชา/กจิ กรรม (หนว ยกติ / ชม.) ชม.) รายวิชาพ้นื ฐาน ๑๑.๐ (๔๔๐) รายวชิ าพืน้ ฐาน ๑๑.๐ (๔๔๐) ท ๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ๑.๕ (๖๐) ท ๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ ๑.๕ (๖๐) ค ๒๓๑๐๑ คณิตศาสตร ๕ ๑.๕ (๖๐) ค ๒๓๑๐๒ คณติ ศาสตร ๖ ๑.๕ (๖๐) ว ๒๓๑๐๑ วิทยาศาสตร ๕ ๑.๕ (๖๐) ว ๒๓๑๐๒ วทิ ยาศาสตร ๖ ๑.๕ (๖๐) ว ๒3๑๐๓ การออกแบบ ๐.๕ (๒๐) ว ๒3๑๐4 วิทยาการคำนวณ ๓ ๐.๕ (๒๐) เทคโนโลยี 3 ส ๒๓๑๐๓ สังคมศึกษา ๖ ๑.๕ (๖๐) ส ๒๓๑๐๑ สังคมศึกษา ๕ ๑.๕ (๖๐) ส ๒๓๑๐๔ ประวตั ิศาสตร ๖ ๐.๕ (๒๐) ส ๒๓๑๐๒ ประวัตศิ าสตร ๕ ๐.๕ (๒๐) พ ๒๓๑๐๓ สุขศึกษา ๖ ๐.๕ (๒๐) พ ๒๓๑๐๑ สุขศกึ ษา ๕ ๐.๕ (๒๐) พ ๒๓๑๐๔ เทเบิลเทนนสิ ๒ ๐.๕ (๒๐) พ ๒๓๑๐๒ เทเบิลเทนนสิ ๑ ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๓๑๐๓ ทัศนศิลป ๖ ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๓๑๐๑ ทศั นศลิ ป ๕ ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๓๑๐๔ ดนตรี นาฎศลิ ป ๖ ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๓๑๐๒ ดนตรี นาฎศลิ ป ๕ ๐.๕ (๒๐) ง ๒๓๑๐๒ การงานอาชพี ๖ ๑.๐ (๔๐) ง ๒๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๕ ๑.๐ (๔๐) อ ๒๓๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๖ ๑.๕ (๖๐) อ ๒๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕ ๑.๕ (๖๐) รายวิชาเพ่มิ เติม ๒.๕ (๑๐๐) รายวิชาเพิ่มเติม ๒.๕ (๑๐๐) ว ๒๓๒๐๓ ประยกุ ตคอมฯ ๖ ๐.๕ (๒๐) ว ๒๓๒๐๑ ประยกุ ตคอมฯ ๕ ๐.๕ (๒๐) ง ๒๓๒๐2 งานคหกรรมประดิษฐ ๐.๕ (๒๐) ศ 23202 ดนตรีสากล (กีตา ร) ๔ ๐.๕ (๒๐) ง ๒๓๒๐1 งานประดิษฐของชำรวย ๐.๕ (๒๐) ๑.๐ (๔๐) จ ๒๓๒๐๒ ภาษาจนี เพ่ือการสอ่ื สาร ๖ ศ 23201 ดนตรสี ากล (กตี า ร) ๓ ๐.๕ (๒๐) (๖๐) กิจกรรมพฒั นาผเู รยี น ๒๐ จ ๒๓๒๐๑ ภาษาจนี เพอ่ื การส่อื สาร 5 ๑.๐ (๔๐) กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรยี น 20 กจิ กรรมพฒั นาผูเรียน (๖๐)  ลกู เสอื /เนตรนารี ๒๐ กจิ กรรมแนะแนว ๒๐ ๖0๐  กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะ กจิ กรรมนักเรียน (บรู ณาการกับลกู เสือฯ)  ลูกเสือ/เนตรนารี 20  ชุมนุม  กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะ รวมเวลาเรียนทัง้ สน้ิ (บูรณาการกับลูกเสือฯ)  ชมุ นุม ๒๐ รวมเวลาเรยี นท้ังสิ้น ๖0๐ * การปองกนั การทุจริตบูรณาการกับกิจกรรม แนะแนวและกจิ กรรมลกู เสือ-เนตรนารี หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ( ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 256๐) ปก ารศึกษา 2563 โรงเรยี นวัดแมแกด นอ ย 17

สวนที่ 3 คำอธบิ ายรายวิชา

สว นที่ 3 รหสั วิชา/คำอธบิ ายรายวชิ า รหสั รายวชิ าของโรงเรยี นวัดแมแ กด นอย กลุมสาระการเรียนรภู าษาไทย **************** จำนวน ๒๐๐ ชวั่ โมง รายวิชาพนื้ ฐาน จำนวน ๒๐๐ ชั่วโมง จำนวน ๒๐๐ ชัว่ โมง ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ จำนวน ๑๖๐ ชวั่ โมง ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ จำนวน ๑๖๐ ช่วั โมง ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ จำนวน ๑๖๐ ชว่ั โมง ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ จำนวน 6๐ ชว่ั โมง ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ จำนวน 6๐ ชว่ั โมง ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ จำนวน 6๐ ช่วั โมง ท 2๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ จำนวน 6๐ ชั่วโมง ท 21๑๐2 ภาษาไทย ๒ จำนวน 6๐ ช่ัวโมง ท 22๑๐๑ ภาษาไทย ๓ จำนวน 6๐ ชัว่ โมง ท 22๑๐2 ภาษาไทย ๔ ท 23๑๐๑ ภาษาไทย ๕ จำนวน 20๐ ช่ัวโมง ท 23๑๐2 ภาษาไทย ๖ จำนวน 20๐ ชว่ั โมง จำนวน 20๐ ชั่วโมง กลุม สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร จำนวน ๑๖๐ ช่วั โมง รายวชิ าพน้ื ฐาน จำนวน ๑๖๐ ชวั่ โมง จำนวน ๑๖๐ ชว่ั โมง ค ๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร ๑ จำนวน 6๐ ชว่ั โมง ค ๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร ๒ จำนวน 6๐ ชั่วโมง ค ๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร ๓ จำนวน 6๐ ช่วั โมง ค ๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร ๔ จำนวน 6๐ ชวั่ โมง ค ๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร ๕ จำนวน 6๐ ช่ัวโมง ค ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร ๖ จำนวน 6๐ ช่ัวโมง ค 2๑๑๐๑ คณติ ศาสตร ๑ ค 21๑๐2 คณติ ศาสตร ๒ ค 22๑๐๑ คณิตศาสตร ๓ ค 22๑๐2 คณติ ศาสตร ๔ ค 23๑๐๑ คณิตศาสตร ๕ ค 23๑๐2 คณิตศาสตร ๖ -**************** หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐานพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ( ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 256๐) ปก ารศกึ ษา 2563 โรงเรียนวดั แมแ กดนอ ย 18

กลุม สาระการเรยี นวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี จำนวน 120 ชั่วโมง รายวชิ าพื้นฐาน จำนวน 120 ชว่ั โมง จำนวน 120 ชว่ั โมง ว ๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร ๑ จำนวน 120 ชั่วโมง ว ๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร ๒ จำนวน 120 ชว่ั โมง ว ๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร ๓ จำนวน 120 ชว่ั โมง ว ๑๔๑๐๑ วทิ ยาศาสตร ๔ จำนวน 6๐ ชั่วโมง ว ๑๕๑๐๑ วทิ ยาศาสตร ๕ จำนวน 6๐ ชั่วโมง ว ๑๖๑๐๑ วทิ ยาศาสตร ๖ จำนวน 6๐ ชัว่ โมง ว 21๑๐๑ วทิ ยาศาสตร ๑ จำนวน 6๐ ชว่ั โมง ว 21๑๐2 วทิ ยาศาสตร ๒ จำนวน 6๐ ชั่วโมง ว 22๑๐1 วทิ ยาศาสตร ๓ จำนวน 6๐ ชว่ั โมง ว 22๑๐2 วทิ ยาศาสตร ๔ จำนวน 2๐ ช่วั โมง ว 23๑๐1 วทิ ยาศาสตร ๕ จำนวน 2๐ ช่ัวโมง ว 23๑๐2 วทิ ยาศาสตร ๖ จำนวน 2๐ ชั่วโมง ว 21๑๐3 การออกแบบเทคโนโลยี ๑ จำนวน 2๐ ช่วั โมง ว 21๑๐4 วิทยาการคำนวณ 1 จำนวน 2๐ ชั่วโมง ว 22๑๐3 การออกแบบเทคโนโลยี 2 จำนวน 2๐ ช่วั โมง ว 22๑๐4 วทิ ยาการคำนวณ 2 ว 23๑๐3 การออกแบบเทคโนโลยี 3 จำนวน 2๐ ช่วั โมง ว 23๑๐4 วิทยาการคำนวณ 3 จำนวน 2๐ ชัว่ โมง จำนวน 2๐ ช่ัวโมง *************** จำนวน 2๐ ชว่ั โมง รายวชิ าเพม่ิ เติม จำนวน 2๐ ช่วั โมง ว 2๑2๐๑ โปรแกรมประยกุ ตคอมพิวเตอร ๑ จำนวน 2๐ ชว่ั โมง ว ๒12๐2 โปรแกรมประยกุ ตค อมพวิ เตอร 2 ว 222๐1 โปรแกรมประยกุ ตคอมพวิ เตอร 3 ว 222๐๒ โปรแกรมประยกุ ตค อมพิวเตอร 4 ว 232๐๑ โปรแกรมประยกุ ตคอมพวิ เตอร 5 ว 232๐๓ โปรแกรมประยกุ ตค อมพิวเตอร 6 *************** หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ( ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 256๐) ปการศึกษา 2563 โรงเรยี นวดั แมแกดนอ ย 19

กลมุ สาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม จำนวน ๔๐ ช่วั โมง รายวิชาพนื้ ฐาน จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ส ๑๑๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๑ จำนวน ๘๐ ชั่วโมง ส ๑๒๑๐๑ สงั คมศกึ ษาฯ ๒ จำนวน ๘๐ ช่ัวโมง ส ๑๓๑๐๑ สงั คมศกึ ษาฯ ๓ จำนวน ๘๐ ชั่วโมง ส ๑๔๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๔ จำนวน 6๐ ชวั่ โมง ส ๑๕๑๐๑ สังคมศกึ ษาฯ ๕ จำนวน 6๐ ชัว่ โมง ส ๑๖๑๐๑ สงั คมศกึ ษาฯ ๖ จำนวน 6๐ ชัว่ โมง ส 2๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษาฯ ๑ จำนวน 6๐ ชั่วโมง ส 21๑๐3 สังคมศกึ ษาฯ ๒ จำนวน 6๐ ช่ัวโมง ส 22๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๓ จำนวน 6๐ ชั่วโมง ส 22๑๐3 สงั คมศึกษาฯ ๔ ส 23๑๐๑ สังคมศกึ ษาฯ ๕ จำนวน ๔๐ ชวั่ โมง ส 23๑๐3 สงั คมศกึ ษาฯ ๖ จำนวน ๔๐ ช่วั โมง จำนวน ๔๐ ช่ัวโมง ส ๑๑๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร ๑ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ส ๑๒๑๐๒ ประวัติศาสตร ๒ จำนวน ๔๐ ช่ัวโมง ส ๑๓๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร ๓ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ส ๑๔๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร ๔ จำนวน 2๐ ช่ัวโมง ส ๑๕๑๐๒ ประวัตศิ าสตร ๕ จำนวน 2๐ ช่วั โมง ส ๑๖๑๐๒ ประวัตศิ าสตร ๖ จำนวน 2๐ ชั่วโมง ส 2๑๑๐๒ ประวัตศิ าสตร ๑ จำนวน 2๐ ชัว่ โมง ส 21๑๐4 ประวตั ิศาสตร ๒ จำนวน 2๐ ช่วั โมง ส 22๑๐๒ ประวัติศาสตร ๓ จำนวน 2๐ ชั่วโมง ส 22๑๐4 ประวตั ิศาสตร ๔ ส 23๑๐๒ ประวตั ิศาสตร ๕ ส 23๑๐4 ประวัติศาสตร ๖ รายวชิ าเพม่ิ เติม - หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ( ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 256๐) ปก ารศึกษา 2563 โรงเรยี นวดั แมแ กดนอ ย 20

กลุม สาระการเรียนรูสขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง รายวิชาพ้นื ฐาน จำนวน ๔๐ ช่ัวโมง จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง พ ๑๑๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๑ จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง พ ๑๒๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๒ จำนวน ๘๐ ชัว่ โมง พ ๑๓๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๓ จำนวน ๘๐ ชัว่ โมง พ ๑๔๑๐๑ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๔ จำนวน 2๐ ชั่วโมง พ ๑๕๑๐๑ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๕ จำนวน 2๐ ช่ัวโมง พ ๑๖๑๐๑ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๖ จำนวน 2๐ ชัว่ โมง พ 21๑๐๑ สขุ ศกึ ษา ๑ จำนวน 2๐ ชว่ั โมง พ 21๑๐2 เซปกตระกรอ ๑ จำนวน 2๐ ช่ัวโมง พ 21๑๐3 สขุ ศกึ ษา 2 จำนวน 2๐ ช่ัวโมง พ 21๑๐4 เซปกตระกรอ ๒ จำนวน 2๐ ชัว่ โมง พ 22๑๐๑ สขุ ศึกษา 3 จำนวน 2๐ ชว่ั โมง พ 22๑๐2 วอลเลยบ อล ๑ จำนวน 2๐ ชัว่ โมง พ 22๑๐3 สุขศึกษา 4 จำนวน 2๐ ชัว่ โมง พ 22๑๐4 วอลเลยบ อล ๒ จำนวน 2๐ ชัว่ โมง พ 23๑๐๑ สขุ ศึกษา 5 จำนวน 2๐ ช่ัวโมง พ 23๑๐2 เทเบลิ เทนนสิ ๑ พ 23๑๐3 สุขศกึ ษา 6 พ 23๑๐4 เทเบิลเทนนสิ ๒ **************** หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ( ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 256๐) ปก ารศกึ ษา 2563 โรงเรยี นวดั แมแ กด นอ ย 21

กลุม สาระการเรยี นรูศลิ ปะ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง รายวิชาพืน้ ฐาน จำนวน ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ศ ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ จำนวน ๘๐ ชวั่ โมง ศ ๑๒๑๐๑ ศิลปะ ๒ จำนวน ๘๐ ช่วั โมง ศ ๑๓๑๐๑ ศลิ ปะ ๓ จำนวน ๘๐ ช่วั โมง ศ ๑๔๑๐๑ ศลิ ปะ ๔ จำนวน 2๐ ช่ัวโมง ศ ๑๕๑๐๑ ศิลปะ ๕ จำนวน 2๐ ชัว่ โมง ศ ๑๖๑๐๑ ศลิ ปะ ๖ จำนวน 2๐ ชว่ั โมง ศ 21๑๐๑ ทัศนศลิ ป ๑ จำนวน 2๐ ชว่ั โมง ศ ๒1๑๐2 ดนตรี – นาฏศลิ ป 1 จำนวน 2๐ ช่วั โมง ศ 21๑๐3 ทัศนศลิ ป 2 จำนวน 2๐ ชวั่ โมง ศ 21๑๐4 ดนตรี – นาฏศิลป 2 จำนวน 2๐ ช่ัวโมง ศ 22๑๐๑ ทัศนศลิ ป 3 จำนวน 2๐ ชัว่ โมง ศ 22๑๐2 ดนตรี – นาฏศิลป 3 จำนวน 2๐ ชั่วโมง ศ 22๑๐3 ทศั นศิลป 4 จำนวน 2๐ ช่วั โมง ศ 22๑๐4 ดนตรี – นาฏศิลป 4 จำนวน 2๐ ชั่วโมง ศ 2๓๑๐1 ทัศนศลิ ป 5 จำนวน 2๐ ชั่วโมง ศ 23๑๐2 ดนตรี – นาฏศลิ ป 5 ศ 23๑๐3 ทศั นศลิ ป 6 จำนวน 2๐ ชว่ั โมง ศ 23๑๐4 ดนตรี – นาฏศิลป 6 จำนวน 2๐ ช่วั โมง จำนวน 2๐ ชั่วโมง รายวชิ าเพมิ่ เตมิ จำนวน 2๐ ชว่ั โมง ศ 212๐1 ดนตรพี ้นื เมอื ง 1 จำนวน 2๐ ช่วั โมง ศ 212๐2 ดนตรีพื้นเมอื ง 2 จำนวน 2๐ ช่ัวโมง ศ 22201 ดนตรีสากล (กีตา ร) ๑ ศ 2220๒ ดนตรสี ากล (กตี าร) ๒ ศ 2๓201 ดนตรีสากล (กีตาร) ๓ ศ 2๓20๒ ดนตรีสากล (กีตาร) ๔ **************** หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ( ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 256๐) ปก ารศกึ ษา 2563 โรงเรยี นวัดแมแ กด นอ ย 22

กลมุ สาระการเรยี นรูก ารงานอาชพี จำนวน ๔๐ ช่ัวโมง รายวชิ าพืน้ ฐาน จำนวน ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๔๐ ชัว่ โมง ง ๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ จำนวน 4๐ ช่วั โมง ง ๑๒๑๐๑ การงานอาชีพ ๒ จำนวน 4๐ ชว่ั โมง ง ๑๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๓ จำนวน 4๐ ชวั่ โมง ง ๑๔๑๐๑ การงานอาชีพ ๔ จำนวน 2๐ ชั่วโมง ง ๑๕๑๐๑ การงานอาชพี ๕ จำนวน 2๐ ชั่วโมง ง ๑๖๑๐๑ การงานอาชพี ๖ จำนวน 2๐ ชว่ั โมง ง 2๑๑๐๑ การงานอาชพี ๑ จำนวน 2๐ ชั่วโมง ง ๒1๑๐2 การงานอาชพี ๒ จำนวน 2๐ ช่ัวโมง ง 22๑๐๑ การงานอาชพี ๓ จำนวน 2๐ ชวั่ โมง ง 22๑๐2 การงานอาชีพ ๔ ง 23๑๐๑ การงานอาชพี ๕ จำนวน ๒๐ ชัว่ โมง ง 231๐2 การงานอาชพี ๖ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง จำนวน ๒๐ ช่วั โมง รายวิชาเพมิ่ เติม จำนวน ๒๐ ชวั่ โมง ง 2๑2๐๑ ขนมอบ ๑ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ง 2๑2๐2 ขนมอบ ๒ จำนวน ๒๐ ชวั่ โมง ง 222๐๑ พ้ืนฐานการจดั ดอกไม ง 222๐๒ การจัดดอกไมเพ่ืออาชีพ ง 23201 งานประดษิ ฐของชำรว ย ง 23๒๐๒ งานคหกรรมประดิษฐ **************** หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ( ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 256๐) ปก ารศึกษา 2563 โรงเรียนวัดแมแ กดนอ ย 23

กลุม สาระการเรยี นรภู าษาตางประเทศ จำนวน 12๐ ชวั่ โมง รายวชิ าพน้ื ฐาน จำนวน 12๐ ชัว่ โมง จำนวน 12๐ ชว่ั โมง อ ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ จำนวน ๘๐ ชวั่ โมง อ ๑๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๒ จำนวน ๘๐ ชั่วโมง อ ๑๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓ จำนวน ๘๐ ชั่วโมง อ ๑๔๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๔ จำนวน 6๐ ชั่วโมง อ ๑๕๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๕ จำนวน 6๐ ชั่วโมง อ ๑๖๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๖ จำนวน 6๐ ชวั่ โมง อ 21๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ จำนวน 6๐ ชั่วโมง อ 21๑๐2 ภาษาองั กฤษ ๒ จำนวน 6๐ ชั่วโมง อ 22๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓ จำนวน 6๐ ช่วั โมง อ 22๑๐2 ภาษาอังกฤษ ๔ อ 23๑๐1 ภาษาอังกฤษ ๕ จำนวน ๘๐ ชัว่ โมง อ 23๑๐2 ภาษาองั กฤษ ๖ จำนวน ๘๐ ชั่วโมง จำนวน ๘๐ ชวั่ โมง รายวิชาเพ่ิมเตมิ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง อ 11201 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร ๑ จำนวน ๔๐ ช่ัวโมง อ 1๒201 ภาษาองั กฤษเพ่อื การสอ่ื สาร ๒ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง อ 1๓201 ภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร ๓ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง จ ๑๑2๐1 ภาษาจนี ๑ จำนวน ๔๐ ชวั่ โมง จ ๑๒2๐2 ภาษาจีน ๒ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง จ ๑๓๒๐1 ภาษาจนี ๓ จำนวน ๔๐ ช่วั โมง จ ๑๔2๐๑ ภาษาจีน ๔ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง จ ๑๕2๐1 ภาษาจนี ๕ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง จ ๑๖20๑ ภาษาจีน ๖ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง จ ๒๑2๐1 ภาษาจีน ๑ จำนวน ๔๐ ชวั่ โมง จ ๒๑2๐2 ภาษาจีน ๒ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง จ ๒๒๒๐1 ภาษาจนี ๓ จ ๒๒2๐๒ ภาษาจีน ๔ จ ๒๓2๐1 ภาษาจีน ๕ จ ๒๓20๒ ภาษาจนี ๖ **************** หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ( ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 256๐) ปการศกึ ษา 2563 โรงเรียนวัดแมแ กดนอ ย 24

คำชีแ้ จงของคำอธบิ ายรายวิชา มดี งั นี้ 1. ขอ ความทีใ่ ชตวั หนังสือ สีฟา หมายถึง สอดคลองกับรกั ษศ ลิ ปวัฒนธรรมลา นนา 2. ขอความท่ีใชตวั หนังสือ สีแดง หมายถึง สอดคลองกับโครงการการจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง และโครงการสถานศกึ ษาพอเพียง 3. ขอ ความทใ่ี ชตัวหนังสือ สีเขยี ว หมายถงึ สอดงคลองกับโครงการโรงเรียนสุจริต หรอื โรงเรยี นวถิ ีพุทธ 4. ขอความที่ใชตัวหนังสือ สีมวง หมายถึง สอดคลองกับโครงการโรงเรียนคุณภาพวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. 5. ขอ ความท่ใี ชตัวหนงั สอื สีสม หมายถึง สอดคลองกับกระบวนการของ NARONG MODEL หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ( ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 256๐) ปการศึกษา 2563 โรงเรียนวัดแมแ กด นอ ย 25

คำอธบิ ายรายวิชา กลมุ สาระการเรียนรภู าษาไทย หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ( ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 256๐) ปการศึกษา 2563 โรงเรยี นวดั แมแ กดนอ ย 26

คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย กลุมสาระการเรยี นรูภ าษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ๑ เวลา ๒๐๐ ช่วั โมง อานออกเสียงและบอกความหมายของคำ คำคลองจอง ขอความ คำพื้นฐาน คำที่ใชในชีวิตประจำวัน ไมนอยกวา ๖๐๐ คำ คำที่ใชเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูอื่น คำที่มีรูปวรรณยุกตและไมมีรูปวรรณยุกต คำท่ี ตัวสะกดตรงตามมาตร และไมตรงตามมาตรา คำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ คำที่อักษรนำ อานจับใจความจากส่ือตา ง ๆ นิทาน เรื่องสั้นๆบทรองเลนและบทเพลงเรื่องราวจากบทเรยี นในกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยและกลุมสาระ การเรียนรูอื่น อานหนังสือตามความสนใจหนังสือที่นักเรียนสนใจเหมาะสมกับวัย หนังสือที่ครูและนักเรียน กำหนดรวมกัน อานเครื่องหมาย สัญลักษณ เครื่องหมายสัญลักษณตาง ๆ ที่พบเห็นชีวิตประจำวัน เครื่องหมาย แสดงความปลอดภัยและแสดงอันตรายมารยาทในการอาน คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบ เขียน ตวั อักษรไทย เขยี นส่อื สาร คำท่ีใชใ นชวี ิตประจำวนั คำพนื้ ฐานในบทเรยี น คำคลอ งจองประโยคงายๆมารยาทใน การเขียน ฟง ปฏิบัติตามคำแนะนำ คำสั่งงายๆ จับใจความ พูดแสดงความคิดเห็นความรูสึกจากเรื่องที่ฟงและดู ทัง้ ทเ่ี ปนความรูแลความบันเทงิ เร่ืองเลาสารคดีสำหรบั เดก็ นทิ าน การตูน เรื่องขบขนั พดู สอื่ สารในชวี ติ ประจำวนั แนะนำตนเอง ขอความชวยเหลือ คำขอบคุณ คำขอโทษ มารยาทในการฟง ตั้งใจฟง มารยาทในการดู ตั้งใจดู มารยาทในการพูด บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต เลขไทย สะกดคำ แจกลูก อานเปนคำ มาตรา ตัวสะกดที่ตรงตามมาตราและไมตรงตามมาตรา การผันคำ ความหมายของคำ แตงประโยค คำคลองจอง วรรณกรรมรอยแกว รอยกรองสำหรับเดก็ นิทาน เรือ่ งสั้นงา ยๆปริศนาคำทาย บทรอ งเลน บทอาขยาน บทรอย กรองวรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียนบทอาขยานและบทรอยกรอง บทอาขยานตามที่กำหนด บทรอยกรอง ตามความสนใจ โดยการอา นออกเสยี ง การอา นจบั ใจความ การอา นตามความสนใจ การอานเคร่ืองหมาย การ คัดลายมือการเขียนอักษรไทยการเขียนสื่อสาร การฟง ปฏิบัติตาม ตอบคำถาม เลาเรื่อง การพูดแสดงความ คิดเห็น ความรูสึกพูดสื่อสาร การกลาวคำขอบคุณ ขอโทษ บอกและเขียนอักษรไทย การแตงประโยคการเขียน สะกดคำ การผันคำบอกความหมายของคำเรียบเรียงคำเปนประโยคการตอคำคลองจอง การบอกขอคิดการอาน การฟงวรรณกรรม รอยแกวรอยกรอง การทองจำอาขยาน มารยาทการอาน การเขียน การฟง การดู และ การพดู รกั ภาษาไทย สรา งความรแู ละความคิดเพ่ือนำไปใชต ัดสินใจ แกปญหาในการดำเนินชีวิต และมมี ารยาท และนสิ ัยรักการอา น การเขียน การฟง การดู และการพูด เหน็ คณุ คาของการอนุรักษภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรูไปใชใหเกิดประโยชนโดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนำไปประยุกตใชกับ ชีวติ ประจำวนั ไดอ ยางถูกตองเหมาะสม เรยี นรูผานกระบวนการ NARONG MODEL รหสั ตัวชีว้ ัด ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ , ป. ๑/๓ , ป ๑/๔, ป. ๑/๕, ป.๑/๖, ป. ๑/๗, ป.๑/๘ ท ๒.๑ ป. ๑/๑ , ป. ๑/๒, ป. ๑/๓ ท ๓.๑ ป. ๑/๑ , ป. ๑/๒ , ป. ๑/๓ , ป ๑/๔, ป.๑/๕ ท ๔.๑ ป. ๑/๑ ,ป. ๑/๒ , ป. ๑/๓ , ๑/๔ ท. ๕.๑ ป. ๑/๑ , ป. ๑/๒ รวม ๒๒ ตวั ช้วี ัด หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐานพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ( ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 256๐) ปการศึกษา 2563 โรงเรยี นวัดแมแ กดนอ ย 27

คำอธิบายรายวิชา ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย กลุมสาระการเรยี นรูภาษาไทย ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี ๒ เวลา ๒๐๐ ชว่ั โมง อานออกเสียงและบอกวามหมายของคำ คำคลองจอง ขอความ และบทรอยกรองงายๆท่ี ประกอบดวยคำพ้ืนฐานเพ่ิมจาก ป. ๑ ไมน อ ยกวา ๘๐๐ คำ รวมทงั้ คำท่ีใชเ รียนรูในกลุมสาระการเรยี นรูอ่ืน คำ ที่มีรูปวรรณยุกตและไมมีรูปวรรณยุกต คำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราและไมตรงตามมาตรา คำที่มีพยัญชนะควบ กล้ำ คำที่มีอักษรนำ คำที่มีตัวการันต คำที่มี รร คำที่มีพยัญชนะและสระที่ไมออกเสียง การอานจับใจความจาก สื่อตางๆ นิทาน เรื่องเลาสั้นๆบทเพลง และบทรอยกรองงายๆ เรื่องราวจากบทเรียนในกลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย และกลุมสาระการเรียนรูอื่น ขาวและเหตุการณประจำวัน อานหนังสือตามความสนใจ หนังสือที่ นักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย หนังสือที่ครูและนักเรียนกำหนดรวมกัน หนังสือที่ครูและนักเรียนกำหนด รวมกัน อานขอเขียนเชิงอธิบาย ใชสถานที่สาธารณะ คำแนะนำ ใชเครื่องใชที่จำเปนในบานและในโรงเรียน มารยาทในการอาน คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย เขียนเรื่องสั้นๆ เกี่ยวกับ ประสบการณ เขียนเรอื่ งสนั้ ๆ ตามจินตนาการ มารยาทในการเขยี น ฟงและปฏิบตั ติ ามคำแนะนำ คำส่ังท่ีซับซอน จับใจความและพูดแสดงความคิดเห็น ความรูสึกจากเรื่องที่ฟงและดู ทั้งที่เปนความรูและความบันเทิง เรื่องเลา และสารคดีสำหรับเด็กนิทาน การตูน และเรื่องขบขัน รายการสำหรับเด็ก ขาวและเหตุการณประจำวัน เพลง พูดสื่อสารในชีวิตประจำวัน แนะนำตนเอง ขอความชวยเหลือ กลาวคำขอบคุณกลาวคำขอโทษพูดขอรองใน โอกาสตางๆ เลาประสบการณในชีวิตประจำวัน มารยาทในการฟง มารยาทในการดู มารยาทในการพูด บอกและเขียนพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต เลขไทย สะกดคำ แจกลูก อานเปนคำมาตราตัวสะกดที่ตรงตาม มาตรา และไมตรงตามมาตรา ผันอักษรกลาง อักษรสูง และอักษรต่ำ คำที่มีตัวการนั ต คำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ คำท่ีมอี กั ษรนำ คำที่มีความหมายตรงขามกนั คำท่ีมีความหมายของคำ การแตงประโยค เรยี บเรยี งประโยคเปน ขอความสั้นๆ คำคลองจอง ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถิ่น วรรณกรรมรอยแกวและรอยกรองสำหรับเด็ก นิทาน เรือ่ งสั้นงา ยๆ ปรศิ นาคำทาย บทอาขยาน บทรอยกรอง วรรณคดแี ละวรรณกรรมในบทเรียน โดยการอานออกเสียง บอกความหมายของคำ คำคลอ งจอง ขอความ บทรอ ยกรองอธบิ าย ความหมาย ของคำและขอความที่อานการตั้งคำถาม ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อานระบุใจความสำคัญและรายละเอียดจาก เรื่องที่อาน แสดงความคิดเห็น คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อาน การอานหนังสือตามความสนใจ การอาน ขอเขียนเชิงอธิบาย ปฏิบัติตามคำสั่งหรือขอแนะนำ การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบ การเขียน อกั ษรไทยการเขยี นส่ือสารคำในชีวิตประจำวนั คำพืน้ ฐาน คำคลอ งจอง ประโยค การฟง คำแนะนำ คำส่ังงาย ๆ การปฏิบัติตามคำแนะนำ คำสั่ง ตอบคำถาม เลาเรื่องที่ฟงและดูทั้งความรูและความบันเทิง การพูดแสดง ความคิดเห็น ความรูสึกจากเรื่องที่ฟงและดู การพูดสื่อสาร บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกตและเลขไทย เขียนสะกดคำ บอกความหมายของคำ เรียบเรียงคำเปนประโยค การตอคำคลองจองการระบุขอคิดท่ีไดจาก การอาน การฟงวรรณกรรมสำหรับเด็ก การรองบทรองเลนสำหรับเด็ก การทองจำบทอาขยานตามที่กำหนดและ บทรอ ยกรองที่มคี ณุ คา ตามความสนใจ เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สื่อสารไดถูกตอง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณคาของการ อนุรักษภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรูไปใชใหเกิดประโยชนโดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและสามารถนำไปประยุกตใชกับชีวิตประจำวันไดอยางถูกตองเหมาะสม เรียนรูผานกระบวนการ NARONG MODEL หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ( ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 256๐) ปการศกึ ษา 2563 โรงเรียนวัดแมแ กดนอ ย 28

รหสั ตวั ช้ีวัด ท ๑.๑ ป. ๒/๑ , ป. ๒/๒ , ป. ๒/๓ , ป ๒/๔, ป. ๒/๕, ป.๒/๖, ป. ๒/๗, ป. ๒/๘ ท ๒.๑ ป. ๒/๑ , ป. ๒/๒ , ป. ๒/๓ , ป. ๒/๔ ท ๓.๑ ป. ๒/๑ ,ป. ๒/๒ ,ป. ๒/๓ , ป ๒/๔, ป. ๒/๕,ป.๒/๖, ป. ๒/๗ ท ๔.๑ ป. ๒/๑ , ป. ๒/๒ , ป. ๒/๓ , ป. ๒/๔ ป. ๒/๕ ท ๕.๑ ป. ๒/๑ ป. ๒/๓ รวม ๒๗ ตัวชี้วัด หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ( ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 256๐) ปการศกึ ษา 2563 โรงเรียนวดั แมแกด นอ ย 29

คำอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย กลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ ๓ เวลา ๒๐๐ ชัว่ โมง อานออกเสียงคำ ขอความ เรื่องสั้นๆ และบทรอยกรองงายๆ ไดถูกตอง คลองแคลว จาก ช้ัน ประถมศึกษาปที่ ๑ และ ๒ ไมนอยกวา ๑,๒๐๐ คำ อธิบายความหมายของคำและขอความที่อานตั้งคำถาม และตอบคำถามเชิงเหตุผลเกี่ยวกับเรื่องที่อาน ลำดับเหตุการณและคาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อาน โดยระบุ เหตุผลประกอบสรุปความรู และขอคิดจากเรื่องที่อานเพื่อนำไปใชในชีวิตประจำวัน อานหนังสือตามความสนใจ อยา งสมำ่ เสมอและนำเสนอเร่อื งทอ่ี า น อา นขอเขยี นเชิงอธิบายและปฏบิ ัตติ าม คำสั่งหรือขอแนะนำ อา น ขอเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติตามคำสั่ง หรือขอแนะนำ บอกสาระสำคัญจากการฟงและการดู เขียนสะกดคำ และบอกความหมายของคำชนิดของคำ ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถิ่น ระบุขอคิดที่ไดจากการอานวรรณคดี วรรณกรรม และเพลงพื้นบาน นิทานหรือเรื่องในทองถิ่น เรื่องสั้นงายๆ ปริศนาคำทาย บทรอยกรอง เพลง พื้นบาน เพลงกลอมเด็ก คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยายเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เขียนบันทึก ประจำวัน จดหมายลาครู เรื่องตามจินตนาการ เลารายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดูทั้งที่เปนความรูและ ความบนั เทิง ตงั้ คำถามและตอบคำถามเกยี่ วกับเร่ืองท่ีฟงและดู พดู แสดงความคดิ เห็นและความรูสึกจากเรื่องท่ี ฟงและดู พูดสื่อสารไดชัดเจน แตงประโยคเพื่อการสื่อสาร แตงคำคลองจองและคำขวัญ ทองจำบทอาขยาน ตามทก่ี ำหนด และบทรอยกรองทมี่ ีคณุ คาตามความสนใจ ระบุขอคิดที่ไดจากการอานวรรณกรรม เพื่อนำไปใชในชีวิตประจำวัน รูจักเพลงพื้นบาน เพลง กลอมเด็ก เพื่อปลูกฝงความชื่นชมวัฒนธรรมทองถิ่น แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดีที่อาน ทองจำบท อาขยานตามที่กำหนดและบทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ โดยใชกระบวนการอาน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู กระบวนการกลุม กระบวนการคิดวิเคราะห กระบวนการสื่อความ กระบวนการ แกปญหา การฝกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคำถาม ตอบคำถาม ใชทักษะการฟง การดูและการพูด พูดแสดง ความคดิ เห็น กระบวนการสรา งความคิดรวบยอด เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สื่อสารไดถูกตอง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณคาของการ อนุรักษภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรูไปใชใหเกิดประโยชนโดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและสามารถนำไปประยุกตใชกับชีวิตประจำวันไดอยางถูกตองเหมาะสม เรียนรูผานกระบวนการ NARONG MODEL ตวั ชวี้ ัด ท ๑.๑ ป. ๓/๑ , ป. ๓/๒ , ป. ๓/๓ , ป ๓/๔, ป. ๓/๕, ป.๓/๖, ป. ๓/๗, ป. ๓/๘ ป. ๓/๙ ท ๒.๑ ป. ๓/๑ , ป. ๓/๒ , ป. ๓/๓ , ป ๓/๔, ป. ๓/๕, ท ๓.๑ ป. ๓/๑ , ป. ๓/๒ , ป. ๓/๓ , ป ๓/๔, ป. ๓/๕, ป. ๓/๖ ท ๔.๑ ป. ๓/๑ , ป. ๓/๒ , ป. ๓/๓ , ป ๓/๔, ป. ๓/๕, , ป. ๓/๖ , ป. ๓/๗ ท ๕.๑ ป. ๓/๑ , ป. ๓/๒ , ป. ๓/๓ , ป. ๓/๔ รวม ๓๑ ตัวชี้วดั หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ( ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 256๐) ปก ารศกึ ษา 2563 โรงเรยี นวดั แมแ กด นอ ย 30

คำอธิบายรายวิชา ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๔ เวลา ๑๖๐ ชวั่ โมง ศึกษาการอานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรอง การอธิบายความหมายของคำ ประโยคและ สำนวนจากเรื่องที่อาน อานเรื่องสั้น ๆ ตามเวลาที่กำหนดและตอบคำถามจากเรื่องที่อาน แยกขอเท็จจริงและ ขอคิดเห็นจากเร่ืองที่อาน การคาดคะเนเหตุการณจากเร่ืองที่อาน โดยระบุเหตุผลประกอบ การสรุปความรูและ ขอคิดจากเรื่องที่อาน เพื่อนำไปใชในชีวิตประจำวัน เลือกอานหนังสือที่มีคุณคาตามความสนใจอยางสม่ำเสมอ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อาน มีมารยาทในการอาน ฝกคัดลายมือดวยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึง บรรทัด เขยี นส่ือสารโดยใชค ำไดถูกตอง ชัดเจนและเหมาะสม เขยี นแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคิดเพ่ือ ใชพัฒนางานเขียน เขียนยอความจากเรื่องสั้น ๆ เขียนจดหมายถึงเพื่อนและมารดา เขียนบันทึกและเขียน รายงานจากการศึกษาคน ควา เขียนเรื่องตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขยี น ฝกทักษะการฟง การดูและการ พูด จำแนกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นเรื่องที่ฟงและดู พูดสรุปจากการฟงและดู พูดแสดงความรู ความคิดเห็น และความรูสึกเกี่ยวกับเรือ่ งที่ฟงและดู ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องทีฟ่ งและดู พูดรายงานเรื่อง หรอื ประเด็นที่ศึกษาคนควา จากการฟง การดแู ละการสนทนา มีมารยาทในการฟง การดแู ละการพดู ฝกเขียนตาม หลกั การเขียน เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำในบรบิ ทตาง ๆ ระบชุ นดิ และหนา ทีข่ องคำในประโยค ใช พจนานุกรมคนหาความหมายของคำ แตงประโยคไดถูกตองตามหลักภาษา แตงบทรอยกรองและคำขวัญ บอก ความหมายของสำนวน เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ินได ระบุขอคิดจากนิทานพื้นบานหรือนิทานคติธรรมอธิบายขอคิดจากการอานเพื่อนำไปใชในชีวิตจริงรอง เพลงพื้นบานทอ งจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทรอยกรองท่ีมีคุณคา ตามความสนใจ โดยใชกระบวนการอาน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู กระบวนการกลุม กระบวนการคิดวิเคราะหและสรุปความ กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการสื่อความ กระบวนการแกปญหา การฝกปฏิบัติอธิบาย บันทึก การตั้งคำถาม ตอบคำถาม ใชทักษะการฟง การดูและการพูดพูดแสดงความคิดเห็นกระบวนการสรางความคิด รวบยอด เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สื่อสารไดถูกตอง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณคาดาน ภาษาไทย รักและหวงแหนภาษาไทย มีคุณธรรม จริยธรรม มีความซื่อสัตยสุจริตในการอยูรวมกัน มีคานิยมที่ เหมาะสมและดำรงตนอยูอยา งพอเพยี ง เหน็ คุณคา ของการอนรุ ักษภ าษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนำความรู ไปใชใหเกิดประโยชนโดยใชวิธีการของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนำไปประยุกตใชกับชีวิตประจำวันไดอยาง ถกู ตองเหมาะสม เรียนรผู านกระบวนการ NARONG MODEL รหสั ตัวช้ีวดั ท ๑.๑ ป.๔ - ป. ๔ / ๘ , ท ๒.๑ ป. ๔ / ๑ - ป. ๔ / ๘, ท ๓.๑ ป. ๔ / ๑ - ป. ๔ / ๖ ท ๔. ๑ ป. ๔ / ๑ - ป. ๔ / ๗ ท ๕.๑ ป. ๔ / ๑ - ป. ๔ / ๔ รวม ๓๓ ตัวช้ีวัด หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ( ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 256๐) ปก ารศกึ ษา 2563 โรงเรียนวดั แมแกดนอ ย 31

คำอธบิ ายรายวิชา ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย กลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ ๕ เวลา ๑๖๐ ชวั่ โมง ศกึ ษาความหมายของบทรอยแกว รอ ยกรองที่ประกอบดว ยคำท่ีมีพยัญชนะควบกล้ำ คำท่ีมีอักษรนำ คำที่มีตัวการันต อักษรยอและเครื่องหมายวรรคตอน ขอความที่เปนการบรรยาย พรรณนา ขอความที่มี ความหมายโดยนยั งานเขียนประเภทโนม นาวจิตใจ ขา วเหตุการณป ระจำวนั เอกสารทางราชการ การเขียนส่อื สาร เชนคำขวัญ คำอวยพร ยอความ เรียงความ จดหมาย ชนิดของคำไดแกคำบุพบท คำสันธาน ประโยค ภาษาถิ่น ภาษาไทยมาตรฐาน คำราชาศพั ท คำท่มี าจากภาษาตางประเทศ กาพยย านี ๑๑ สำนวนทีเ่ ปนคำพงั เพย สภุ าษิต วรรณคดีวรรณกรรม นิทานพ้ืนบา น นิทานคตธิ รรม เพลงพืน้ บานและบทอาขยาน โดยวิธีการอานออกเสียง อานบทรอยกรอง อานจับใจความ จากสื่อตางๆ บอกความหมายของคำท่ี อา น การใชพ จนานกุ รม การคัดลายมอื การเขยี นส่อื สาร การเขยี นแผนภาพโครงเรอื่ ง เขยี นแผนผงั ความคิด เขียน ยอความ เขยี นเรียงความ เขยี นจดหมาย การกรอกแบบรายการฝากเงิน ถอนเงิน ธนาณตั ิ แบบฝากพัสดไุ ปรษณีย การวิเคราะหค วามนา เช่ือถอื จากสือ่ และมีมารยาทในการอาน การเขียน การฟงและการดู เพื่อใหมีความรู ความสามารถ ทักษะและลักษณะตามมาตรฐานการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย เรียนรผู านกระบวนการ NARONG MODEL รหัสตัวช้ีวัด ท.๑.๑ ป๕/๑ ท.๑.๑ ป.๕./๒ ท.๑.๑ ป.๕/๓ ท.๑.๑ ป.๕/๔ ท.๑.๑ ป.๕/๕ ท.๑.๑ ป.๕/๖ ท.๑.๑ ป.๕/๗ ท๑.๑ป.๕/๘ ท๒.๑ ป.๕/๑ ท๒.๑ ป.๕/๒ ท๒.๑ ป.๕/๓ ท๒.๑ ป.๕/๔ ท๒.๑ ป.๕/๕ ท๒.๑ป.๕/๖ ท๒.๑ป.๕/๗ ท๒.๑ ป๕/๘ ท๒.๑ป.๕/๙ ท๓.๑ป.๕/๑ ท๓.๑ป.๕/๒ ท๓.๑ป.๕/๓ ท๓.๑ป.๕/๔ ท๓.๑ป.๕/๕ ท๔.๑ป.๕/๑ ท๔.๑ป.๕/๒ ท๔.๑ป๕/๓ ท๔.๑ป.๕/๔ ท๔.๑ป.๕/๕ ท๔.๑ป.๕/๖ ท๔.๑ป.๕/๗ ท๕.๑ป.๕/๑ ท๕.๑ป.๕๒ ท๕.๑ป.๕/๓ ท๕.๑ป.๕/๔ รวมท้ังหมด ๓๓ ตวั ชี้วัด หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐานพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ( ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 256๐) ปการศกึ ษา 2563 โรงเรียนวัดแมแกด นอ ย 32

คำอธิบายรายวิชา ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย กลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ๖ เวลา ๑๖๐ ชัว่ โมง ศึกษาการอา นออกเสยี งบทรอยแกว และรอยกรอง ความหมายของคำ ประโยคและขอความที่เปน โวหาร การอานเรื่องสั้น ๆ อยางหลากหลาย การตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อาน การแยกขอเท็จจริงและ ขอคดิ เห็นจากเร่ืองทอ่ี าน การนำความรูและความคดิ จากเรื่องท่อี านไปตดั สนิ ใจแกปญหาในการดำเนินชวี ิต การ อานงานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ขอแนะนำ การอธิบายความหมายของขอมูลจากการอานแผนผัง แผนท่ี แผนภมู ิและกราฟ การอา นหนังสือตามความสนใจและการอธิบายคุณคา ทไี่ ดร ับ การมมี ารยาทในการอา น การคัด ลายมอื ตวั บรรจงเตม็ บรรทดั และคร่ึงบรรทดั การเขียนส่ือสารโดยใชคำไดถกู ตองชัดเจน และเหมาะสม การเขียน แผนภาพโครงเรอ่ื งและแผนภาพความคิดเพ่ือใชพัฒนางานเขยี น การเขียนเรยี งความ การเขียนยอความจากเรื่อง ที่อาน การเขียนจดหมายสวนตัว การกรอกแบบรายการตาง ๆ การเขียนเรื่องตามจินตนาการอยางสรางสรรค การมีมารยาทในการเขียน การพูดแสดงความรู ความเขาใจจุดประสงคของเรื่องที่ฟงและดู การตั้งคำถามและ ตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟงและดู การวิเคราะหความนาเชื่อถือจากการฟง และดูสื่อโฆษณาอยางมี เหตุผล การพูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาคนควาจากการฟง การดู และการสนทนา การพูดโนมนาว อยางมีเหตุผลและนา เชื่อถือ การมีมารยาทในการฟง การดู และการพูด การวิเคราะหชนิดและหนา ที่ของคำใน ประโยค การใชคำใหเหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล การรวบรวมและบอกความหมายของคำ ภาษาตางประเทศที่ใชในภาษาไทย ลักษณะของประโยค การแตงบทรอยกรอง การวิเคราะหและเปรียบเทียบ สำนวนที่เปนคำพังเพยและสุภาษิต การแสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อาน การเลานิทาน พื้นบานทองถิ่น การอธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอาน และการนำไปประยุกตใชในชีวิตจรงิ การ ทองจำบทอาขยานทก่ี ำหนด และบทรอยกรองทีม่ คี ุณคา โดยใชทักษะกระบวนการอานออกเสียงรอยแกวและรอยกรอง อานจับใจความสำคัญ แปลความ ตีความ วิเคราะหความ สรุปความ มาสรางองคความรูและความคิดใชทักษะกระบวนการเขียนพัฒนางานเขียน เรียงความ ยอความ จดหมาย เขียนสรปุ ความ เขียนเรื่องราวตาง ๆ ไดอยางเปนระบบ ใชทักษะกระบวนการ ฟง การพูดและการดู พดู เลาเรือ่ งตา ง ๆ เลานทิ าน เพื่อใหม คี วามซอ่ื สตั ย สุจรติ ในการทำงานนิสยั รกั การอาน อา นหนังสอื อยา งสมำ่ เสมอ เหน็ คุณคา ส่ิงที่อาน มีมารยาทในการเขียน การฟง การดู การพูด พูดและเขียนอยางสรางสรรค นำทักษะกระบวนการ อาน การเขียน การฟง การดู และการพูดไปประยุกตใ ชใหเปน ประโยชนในการตัดสินใจอยางมีเหตุผลมเี จตคติ ที่ดีตอการเรียนภาษาไทย มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่พึงประสงค เรียนรูผานกระบวนการ NARONG MODEL รหสั ตวั ช้ีวดั ท ๑.๑ ป.๖/๑, ป. ๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป. ๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙ ท ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖ ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙ ท ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖ ท ๔.๑ ป.๖/๑, ป. ๖/๒, ป. ๖/๓, ป. ๖/๔, ป. ๖/๕, ป. ๖/๖ ท ๕.๑ ป. ๖/๑, ป. ๖/๒, ป. ๖/๓, ป. ๖/๔ รวมท้งั หมด ๓๔ ตัวชี้วัด หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ( ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 256๐) ปการศกึ ษา 2563 โรงเรยี นวัดแมแ กดนอ ย 33

คำอธิบายรายวชิ า ท ๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ กลุมสาระการเรยี นรูภ าษาไทย ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๑ ภาคเรียนท่ี ๑ จำนวน ๑.๕ หนว ยกติ เวลา ๖๐ ชั่วโมง ศึกษา หนงั สอื นทิ าน เรอ่ื งเลา บทความ เอกสารทางวชิ าการ งานเขยี น เร่อื งที่ฟง และดรู ะบเุ หตแุ ละผล และขอเท็จจริงกับขอคิดเห็นจากเรื่องที่อาน อธิบายลักษณะเสียงในภาษาไทย ชนิดและหนาที่ของคำ สำนวนท่ี เปนคำพังเพยและสุภาษิต ศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรมที่เกี่ยวกับบันทึกการเดินทาง ศาสนา ประเพณี พธิ กี รรม ฝก อา นออกเสยี งรอยแกว รอยกรอง อานจับใจความสำคัญ ระบุและอธิบายคำเปรียบเทียบ และคำท่ีมี หลายความหมายในบริบทตางๆ อานและปฏิบัตติ ามเอกสารคูม ือ คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด เขียนสือ่ สาร เขียนรียงความเชิงพรรณนา เขียนเรียงความ เขียนยอความ เขียนจดหมายสวนตัว จดหมายกิจธุระ เขียน รายงาน พดู สรุปใจความสำคญั พูดรายงาน พดู แสดงความคดิ เห็นทอ งจำบทอาขยานและบทรอ ยกรองท่มี ีคุณคา สามารถสื่อสารหรือทักทายดวยภาษาอังกฤษและภาษาในกลุมอาเซียนในหองเรียนและนอกหองเรียนไดอยาง ถกู ตอ ง เหมาะสม สามารถนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งของพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั (รชั กาลที่ ๙) มาประยกุ ตใช ทั้งยังมที ักษะชวี ิตทสี่ ามารถนาไปใชจ รงิ ไดอยา งเหมาะสม เพ่ืออธบิ าย ตคี วาม วเิ คราะห ประเมินคา วรรณคดี วรรณกรรม สรุปความรแู ละขอคิดจากการอาน เพ่อื ประยุกตใชใ นชีวิตจริงและส่ือตางๆ ฝกอา น เขยี น ฟง ดู พดู ไดอยา งถูกตองเหมาะสม มีมารยาทในการ อา น เขียน การฟง ดู และพูด มนี ิสยั รกั การอา นและการเขยี น เรยี นรผู านกระบวนการ NARONG MODEL การ วัดผลและประเมินผล ใชวิธีการที่หลากหลายตามสภาพจริง สอดคลองกับเนื้อหาสาระ ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค การอาน คิดวิเคราะหและเขียนสื่อความหมาย และสมรรถนะสำคัญของผูเรียนที่ ตอ งการวดั รหสั ตัวชี้วดั ท ๑.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๓ , ม.๑/๗ ท ๒.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๔ ม.๑/๕ , ม.๑/๗ , ม๑/๘ ท ๓.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๓ , ม.๑/๕ ท ๔.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๔ ม.๑/๕ ท ๕.๑ ม.๑/๒ , ม.๑/๓ รวม ๑๘ ตัวช้ีวัด หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ( ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 256๐) ปการศกึ ษา 2563 โรงเรียนวดั แมแกดนอ ย 34

คำอธิบายรายวชิ า ท ๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๒ จำนวน ๑.๕ หนวยกติ เวลา ๖๐ ชั่วโมง ศึกษาหนังสือ เรื่องสั้น บทสนทนา งานเขียนเชิงสรางสรรค บทความ เอกสารทางวิชาการ งานเขียน สื่อตางๆ การสรางคำ ระบุขอสังเกต และความสมเหตุสมผลของงานเขียนประเภทชักจูง หรือ โนมนาวใจ วิเคราะหความแตกตางของภาษาพูดและภาษาเขยี น ศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรมที่เกี่ยวกบั บันเทงิ คดี สุภาษิต คำสอน เหตุการณป ระวัตศิ าสตร วรรณกรรมทองถ่นิ ฝกการอานออกเสียงรอยแกวรอ ยกรอง อานจับใจความสำคญั คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด เขียน บรรยายประสบการณ เขยี นเรียงความเชิงพรรณนา เขยี นแสดงความคิดเห็นจากสื่อตางๆ เขียนจดหมายกิจธุระ เขียนรายงาน ปฏิบัติตามคูมือแนะนำวิธีการใชงานของเครื่องมือ หรือเครื่องใชในระดับที่ยากขึ้น แตงบทรอย กรองประเภทกาพยยานี ๑๑ ทองจำบทอาขยานและบทรอยกรองที่มีคุณคา สามารถสื่อสารหรือทักทายดวย ภาษาอังกฤษและภาษาในกลุมอาเซียนในหองเรียนและนอกหองเรียนไดอยางถูกตองเหมาะสม สามารถนำหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงของพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูหวั (รชั กาลท่ี ๙) มาประยุกตใ ช ท้งั ยงั มที กั ษะชีวิตท่ี สามารถนาไปใชจ รงิ ไดอยา งเหมาะสม เพื่ออธิบาย ตีความ วิเคราะห ประเมินคา วรรณคดี วรรณกรรม และสื่อตางๆ ฝกอาน เขียน ฟง ดู พูด ไดอยางถูกตองเหมาะสม มีมารยาทในการอาน เขียน การฟง ดู และพูด มีนิสัยรักการอานและการเขียน เรียนรู ผา นกระบวนการ NARONG MODEL การวดั ผลและประเมินผล ใชวธิ ีการท่ีหลากหลายตามสภาพจริง สอดคลอง กบั เนือ้ หาสาระ ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค การอาน คดิ วเิ คราะหแ ละเขยี นส่ือความหมาย และสมรรถนะสำคญั ของผูเรียนท่ตี อ งการวดั รหสั ตวั ชีว้ ดั ท ๑.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๕ , ม.๑/๖ ท ๒.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๓, ม.๑/๔ , ม.๑/๗ , ม.๑/๘ ท ๓.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๓, ม.๑/๕ ท ๔.๑ ม.๑/๒, ม.๑/๔ , ม.๑/๕ ท ๕.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๓, รวม ๑๗ ตัวชว้ี ดั หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐานพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ( ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 256๐) ปการศกึ ษา 2563 โรงเรยี นวดั แมแ กดนอ ย 35

คำอธบิ ายรายวิชา ท ๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓ กลุมสาระการเรยี นรูภาษาไทย ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ จำนวน ๑.๕ หนว ยกติ เวลา ๖๐ ชั่วโมง ศกึ ษาหลกั การอา นออกเสียงรอยแกว รอ ยกรอง ประเมินคา จากเรอ่ื งท่ีอาน ระบขุ อ สงั เกต โนม นาวใจ และความสมเหตุสมผลของงานเขียนประเภทชกั จูง บอกมารยาทในการอานหลกั การเขียนบรรยายและพรรณนา หลักการเขียนเรียงความ ยอความ การเขียนรายงาน การเขยี นโฆษณาประชาสัมพันธในงานอาชพี ตางๆ จดหมาย กิจธุระ มารยาทในการเขียน มารยาทในการพูดวิธีสรางคำในภาษาไทย ลักษณะของคำภาษาตางประเทศใน ภาษาไทย อธบิ ายฉันทลักษณ กลอนสุภาพ คุณคาของวรรณกรรมและวรรณคดที อี่ าน ฝกปฏิบัติการอานออกเสียงรอยแกว รอยกรอง อานจับใจความ เขียนผังความคิดจากเรื่องที่อาน อา นอยางมีมารยาท คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทดั ตามรูปแบบการเขียนตวั อกั ษรไทยการอานจับใจความสำคัญ สรุปความ และอธิบายรายละเอียดจากเรื่องที่อาน เขียนบรรยายและพรรณนา เรียงความ ยอความ รายงาน วเิ คราะหและวิจารณเ ร่อื งที่ฟงและดูอยางมเี หตผุ ล เขียนอยา งมีมารยาท พดู สรุปใจความสำคัญ การพดู วิเคราะห ขอเท็จจริง ขอคดิ เห็นและความนา เชื่อถือของขาวสาร วเิ คราะหว จิ ารณวรรณคดแี ละวรรณกรรม การทองจำบท อาขยานตามกำหนด สามารถสื่อสารหรือทักทายดวยภาษาอังกฤษและภาษาในกลุมอาเซียน ในหองเรียนและ นอกหองเรียนไดอยางถูกตองเหมาะสม สามารถนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระ เจา อยหู วั (รชั กาลท่ี ๙) มาประยกุ ตใช ท้งั ยงั มีทักษะชวี ิตทสี่ ามารถนำไปใชจริงไดอยางเหมาะสม เพอ่ื อธบิ ายคณุ คา การใชภ าษาไทย การวจิ ารณ โตแ ยง มีมารยาทในการอาน การเขียนการฟง การดู และการพูด เห็นคุณคาในวรรณคดีและวรรณกรรม ตัดสินใจยอมรับนำไปประยุกตใชในชีวิตประจำวันพรอมทง้ั อนุรักษสืบทอดไปสูประชาคมอาเซียน มีมารยาทในการอาน เขียน การฟง ดูและพูด มีนิสัยรักการอานและการ เขียน เรียนรูผานกระบวนการ NARONG MODEL การวัดผลและประเมินผล ใชวิธกี ารท่ีหลากหลายตามสภาพจรงิ สอดคลองกับเนื้อหาสาระ ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค การอาน คิดวิเคราะหและเขียนสื่อ ความหมาย และสมรรถนะสำคญั ของผเู รยี นทตี่ องการวดั รหัสตัวชี้วดั ท ๑.๑ ม.๒/๑ , ม.๒/๒ , ม.๒/๓ , ม.๒/๖ , ม.๒/๘ ท ๒.๑ ม.๒/๑ , ม.๒/๒ , ม.๒/๓ ท ๓.๑ ม.๒/๑ , ม.๒/๒ , ม.๒/๔ ท ๔.๑ ม.๒/๑ , ม.๒/๕ ท ๕.๑ ม.๒/๑ , ม.๒/๓ , ม.๒/๕ รวม ๑๖ ตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ( ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 256๐) ปการศกึ ษา 2563 โรงเรียนวดั แมแ กดนอ ย 36

คำอธิบายรายวชิ า ท ๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๔ กลุมสาระการเรยี นรูภาษาไทย ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที่ ๒ ภาคเรยี นท่ี ๒ จำนวน ๑.๕ หนว ยกิต เวลา ๖๐ ช่ัวโมง ศึกษาหลักการอานออกเสียงรอยแกว รอยกรอง มารยาทในการอาน มารยาทในการเขียน หลักการ พูดในโอกาสตางๆ มารยาทในการพูด หลักการใชคำราชาศัพท อภิปราย แสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อาน วิเคราะหและจำแนกขอเท็จจริงจากเรื่องที่อาน ระบุขอสังเกตจากการอาน วิจารณเรื่องที่ฟงและดู อธิบาย วิธีการเขียนรายงาน โครงสรางประโยคสามัญ ประโยครวมและประโยคซอน ศึกษาคุณคาของวรรณคดีและ วรรณกรรมที่อาน สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อานในระดับที่ยากขึ้น สรุปความรูและขอคิดจากเรื่องที่ อานและนำไปใช ฝกอานออกเสียงรอยแกวรอยกรอง มีมารยาทในการอาน คัดลายมือดวยตัวบรรจงครึ่งบรรทัด จับ ใจความสำคัญ สรุปความ และอธิบายรายละเอียดจากเรื่องที่อาน เขียนบรรยายและพรรณนา เรียงความ ยอ ความรายงาน เขียนโฆษณาประชาสัมพันธในงานอาชีพตางๆ จดหมาย กิจธุระ วิเคราะหและวิจารณเรื่องท่ฟี ง และดูอยางมีเหตุผล เขียนวิเคราะหวิจารณแสดงความคิดเห็นอยา งมีมารยาทพูดในโอกาสตางๆ การพูดรายงาน ฟง ดู และพดู อยางมมี ารยาท ใชคำราชาศัพท แตงบทรอยกรองประเภทกลอนสภุ าพ วเิ คราะหวิจารณวรรณคดี และวรรณกรรมทองถิ่นที่อาน พรอมยกเหตุผลประกอบ ทองจำบทอาขยานและบทรอยกรองที่มีคุณคา สามารถ สื่อสารหรือทักทายดวยภาษาอังกฤษและภาษาในกลุมอาเซียนในหองเรียนและนอกหองเรียนไดอยางถูกตอง เหมาะสม สามารถนานำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๙) มา ประยกุ ตใ ช ท้งั ยงั มที ักษะชวี ิตท่สี ามารถนาไปใชจรงิ ไดอยางเหมาะสม เพื่อเห็นคุณคา มารยาทการอาน การเขียน วิจารณ โตแยง มารยาทการฟง การดู และพูด ตัดสินใจยอมรับและเห็นคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรม นำไปประยุกตใชในชีวติ ประจำวันพรอมทั้งอนรุ ักษ สืบทอดไปสูประชาคมอาเซียน มีมารยาทในการอาน เขียน การฟง ดู และพูด มีนิสัยรักการอานและการเขียน เรียนรูผานกระบวนการ NARONG MODEL การวัดผลและประเมินผล ใชวิธีการที่หลากหลายตามสภาพจริง สอดคลองกับเนื้อหาสาระ ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค การอาน คิดวิเคราะหและเขียนสื่อ ความหมาย และสมรรถนะสำคัญของผูเรยี นท่ีตอ งการวดั รหัสตัวช้ีวัด ท ๑.๑ ม.๒/๑ , ม.๒/๒ , ม.๒/๔ , ม.๒/๕ ท ๒.๑ ม.๒/๔ , ม.๒/๕ , ม.๒/๖ , ม.๒/๘ ท ๓.๑ ม.๒/๒ , ม.๒/๓ , ม.๒/๖ ท ๔.๑ ม.๒/๒ , ม.๒/๓ , ม.๒/๔ ท ๕.๑ ม.๒/๑ , ม.๒/๒ รวมทั้งหมด ๑๖ ตวั ช้วี ัด หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ( ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 256๐) ปก ารศึกษา 2563 โรงเรยี นวัดแมแกดนอ ย 37

คำอธบิ ายรายวชิ า ท ๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕ กลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย ชน้ั มัธยมศึกษาปท่ี ๓ ภาคเรียนที่ ๑ จำนวน ๑.๕ หนวยกิต เวลา ๖๐ ช่ัวโมง ศึกษาการอานออกเสยี งรอยแกวรอยกรอง ระบุความแตกตางของคำที่มคี วามหมายโดยตรงและโดยนยั ใจความสำคัญ และรายละเอียดของขอมูล วิเคราะหวิจารณ ประเมินคาเรื่องที่อาน เปรียบเทียบ ประเมินความ ถูกตอง วิจารณความสมเหตุสมผล วิเคราะหเพื่อแสดงความคิดเห็น โตแยง ตีความ และประเมินคุณคาจาก เร่อื งราว ประสบการณจากการอา น เพอื่ นำไปใชในการแกปญหาในชวี ิต ฝกคัดลายมือ เขียนขอความ โดยใชถอยคำถูกตองตามระดับภาษา เขียนชีวประวัติ หรืออัตชีวประวัติ เลาเหตุการณ ขอคิดเห็น และทัศนคติ เขียนยอความ จดหมายกิจธุระ อธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็น กรอก แบบสมัครงาน เขียนบรรยายเกี่ยวกับความรู และทักษะที่เหมาะสมกับตนเองและงาน เขียนรายงานการศึกษา คนควา และโครงงานจากเรื่องราวตาง ๆ ฝกแสดงความคิดเห็น และประเมินเรื่อง วิเคราะหและวิจารณ พูด รายงาน ประเด็นที่ศึกษา พูดในโอกาสตาง ศึกษาจำแนกการใชคำภาษาตางประเทศในภาษาไทย บอกคุณคาของ วรรณคดี วรรณกรรม ทองจำบทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ บรรยายความรูเกี่ยวกับงานทักษะอาชีพท่ี กำหนด เพื่อนำสูประชาคมอาเซียน สามารถนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระ เจา อยูห วั (รัชกาลที่ ๙) มาประยุกตใ ช ทง้ั ยงั มที ักษะชวี ติ ที่สามารถนำไปใชจรงิ เพื่อให อาน เขียน ฟง ดู พูด ใชภาษาถูกตองตามหลักเกณฑ เห็นคุณคาของวรรณคดี วรรณกรรม วรรณกรรมทอ งถนิ่ มมี ารยาทในการใชภาษา นำความรู ประสบการณ ไปใชพ ฒั นาตนเองในชีวิตประจาวนั ไดอยาง มีคุณภาพ มีมารยาทในการอาน เขียน การฟง ดู และพูด มีนิสัยรักการอานและการเขียน เรียนรูผานกระบวนการ NARONG MODEL การวัดผลและประเมินผล ใชวิธีการที่หลากหลายตามสภาพจริง สอดคลองกับเนื้อหาสาระ ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค การอาน คิดวิเคราะหและเขียนสื่อความหมาย และสมรรถนะ สำคญั ของผเู รียนทีต่ องการวัด รหสั ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม.๓/๑ , ม.๓/๒ , ม.๓/๓ , ม.๓/๖ , ม.๓/๗ ท ๒.๑ ม.๓/๑ , ม.๓/๒ , ม.๓/๓, ม.๓/๔ , ม.๓/๕ , ม.๓/๖ ท ๓.๑ ม.๓/๑ , ม.๓/๒ , ม.๓/๓, ม.๓/๔ ท ๔.๑ ม.๓/๑ , ม.๓/๖ ท ๕.๑ ม.๓/๔ รวม ๑๘ ตัวช้ีวัด หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ( ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 256๐) ปก ารศกึ ษา 2563 โรงเรยี นวดั แมแกดนอ ย 38

คำอธิบายรายวชิ า ท ๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ กลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๒ จำนวน ๑.๕ หนว ยกติ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง ศึกษาการอานออกเสยี งรอยแกวรอยกรอง ระบุความแตกตางของคำทีม่ ีความหมายโดยตรงและโดยนยั สรปุ ใจความสำคญั เขยี นกรอบแนวคิด ผังความคดิ บนั ทึกยอ ความ และรายงานจากเรอ่ื งทอี่ าน ตคี วาม ประเมินคา แนวคดิ จากเรื่องทอ่ี า น ฝกคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด เขียนคำอวยพรในโอกาสตาง ๆ เขียนยอความ พระราชดำรัส พระบรมราโชวาท จดหมายราชการ เขียนอธิบายชี้แจง แสดงความคิดเห็น และโตแยงในเรื่องตาง ๆ กรอกแบบ สมัครงาน พูดแสดงความคิดเห็น พูดวิเคราะหวิจารณเรื่องที่ฟงและดู พูดรายงาน พูดโตวาทีพูดอภิปราย โตวาที โนมนาวใจ ศึกษาประโยคที่ซับซอนระดับภาษา วิเคราะหคำ ทับศัพทคำศัพทบัญญัติ ศัพทวิชาการและวิชาชีพ แตงโคลงสี่สุภาพ อานวรรณคดีวรรณกรรม วรรณกรรมทองถิ่น วิเคราะหคุณคาจากเรื่องทีอาน ทองบทอาขยาน และบทรอยกรองทม่ี ีคุณคา บรรยายความรเู ก่ยี วกบั งานทักษะอาชีพที่กำหนด เพอ่ื นำสปู ระชาคมอาเซียน สามารถ นำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั (รัชกาลท่ี ๙) มาประยุกตใชทั้งยังมีทักษะ ชวี ติ ทส่ี ามารถนำไปใชจรงิ ไดอ ยา งเหมาะสม เพื่อ ให อาน เขียน ฟง ดู พูด ใชภาษาไทยไดถูกตองตามหลักเกณฑ เห็นคุณคาของวรรณคดี วรรณกรรม วรรณกรรมทองถ่นิ และใชภาษาอยางมมี ารยาท นำความรไู ปใชพ ัฒนาตนเอง ในชวี ติ ประจำวันไดอยาง มีคุณภาพ มีมารยาทในการอาน เขียน การฟง ดู และพูด มีนิสัยรักการอานและการเขียน เรียนรูผานกระบวนการ NARONG MODEL การวัดผลและประเมินผล ใชวิธีการที่หลากหลายตามสภาพจริง สอดคลองกับเนื้อหาสาระ ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค การอาน คิดวิเคราะหและเขียนสื่อความหมาย และสมรรถนะ สำคญั ของผูเ รียนที่ตอ งการวัด รหัสตวั ชี้วดั ท ๑.๑ ม.๓/๔ , ม.๓/๖ , ม.๓/๘, ม.๓/๑๐ ท ๒.๑ ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘, ม.๓/๑๐ ท ๓.๑ ม.๓/๓, ม.๓/๕ , ม.๓/๖ ท ๔.๑ ม.๓/๒ , ม.๓/๓, ม.๓/๔ , ม.๓/๕ ท ๕.๑ ม.๓/๑ , ม.๓/๒ , ม.๓/๓ รวมท้ังหมด ๑๘ ตัวชว้ี ัด หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ( ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 256๐) ปการศึกษา 2563 โรงเรียนวัดแมแกด นอ ย 39

คำอธบิ ายรายวิชา กลมุ สาระการเรียนรคู ณิตศาสตร หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ( ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 256๐) ปก ารศกึ ษา 2563 โรงเรยี นวดั แมแ กดนอ ย 40

คำอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 1 ค ๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร ๑ กลุมสาระการเรยี นรูค ณิตศาสตร ชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๑ เวลา 200 ชั่วโมง ศึกษา ฝกทกั ษะการคดิ คำนวณ และฝกทักษะการแกป ญ หาในสาระตอ ไปน้ี จำนวนนับ ๑ ถึง ๑๐๐ และ ๐ การบอกจำนวน การอานและการเขียนตัวเลขแสดงจำนวน การ นับเพิ่มและนับลดทีละ ๑ และทีละ ๑๐ การแสดงจำนวนนับไมเกิน ๒๐ ในรูปความสัมพันธของจำนวนแบบ สวนยอย - สวนรวม (part - whole relationship) การบอกอันดับท่ีการเขียนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบ จำนวน การใชเ ครื่องหมาย = ≠ > < การเรียงลำดับจำนวน การบวก การลบ จำนวนนับ ๑ ถึง ๑๐๐ และ ๐ ความหมายของการบวก ความหมายของการลบ การหาผลบวก การหาผลลบและความสัมพันธของการบวก และการลบ การแกโจทยป ญ หาการบวก โจทยปญ หาการลบ และการสรางโจทยปญหาพรอมทัง้ หาคำตอบ แบบ รูป แบบรูปของจำนวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละ ๑ และทีละ ๑๐ แบบรูปซ้ำของจำนวน รูปเรขาคณิตและรูปอ่นื ๆ ความยาว การวัดความยาวโดยใชหนวยที่ไมใชหนวยมาตรฐาน การวัดความยาวเปนเซนติเมตร เปนเมตร การเปรียบเทียบความยาวเปนเซนติเมตร เปนเมตร การแกโจทยปญหาการบวก การลบเกี่ยวกับความยาวที่มี หนวยเปนเซนติเมตร เปนเมตร น้ำหนัก การวัดน้ำหนักโดยใชหนวยที่ไมใชหนวยมาตรฐาน การวัดน้ำหนักเปน กโิ ลกรมั เปน ขีด การเปรียบเทยี บน้ำหนกั เปน กิโลกรมั เปนขดี การแกโจทยป ญหาการบวก การลบเก่ียวกบั น้ำหนัก ที่มีหนวยเปนกโิ ลกรัม เปนขีด รูปเรขาคณิตสองมิตแิ ละ รูปเรขาคณิตสามมิติ ลักษณะของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก กรวย ลักษณะของรูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม วงกลม และวงรีใชในการสรางของเลน สื่อสาร การนำเสนอขอมูล การอานแผนภูมิรูปภาพ การอานแผนภูมิเกี่ยวกับขอมูลในโรงเรียนและขอมูลใน ทอ งถ่ิน โดยจัดประสบการณหรือสรางสถานการณใหผูเรียนไดศึกษาคนควาโดยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะ/กระบวนการในการคิดคำนวณ แกปญหา การใหเหตุผล รวมทั้งการใชทักษะ กระบวนการตามโรงเรียนคุณภาพวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. รวมทั้งมีการ เรยี นรผู า นกระบวนการ NARONG MODEL และนำความรู ความคิด ทักษะกระบวนการที่ไดไปใชในชีวิตประจำวัน อยางสรางสรรค เพื่อใหเห็นคุณคาและมีเจตคติที่ดีตอคณิตศาสตร มีความใฝเรียนรู มีวินัย มุงมั่นในการทำงาน สามารถ ทำงานไดอยางเปนระบบ มีระเบียบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความคิดริเริ่มสรางสรรค มีความ เช่อื มัน่ ในตนเอง คำช้ีแจงของคำอธบิ ายรายวชิ า มดี ังนี้ 1. ขอความที่ใชตัวหนังสือ สีฟา หมายถึง สอดคลองกับรักษ รหัสตัวชี้วัด ศลิ ปวฒั นธรรมลานนา ค ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓,ป.๑/๔,ป.๑/๕ 2. ขอความที่ใชตัวหนังสือ สีแดง หมายถึง สอดคลองกับโครงการการ จัดการศึกษาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และโครงการสถานศึกษา ค ๑.๒ ป.๑/๑ พอเพยี ง ค ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ 3. ขอความที่ใชตัวหนังสือ สีเขียว หมายถึง สอดงคลองกับโครงการ โรงเรยี นสจุ ริต หรือโรงเรียนวถิ ีพทุ ธ ค ๒.๒ ป.๑/๑ 4. ขอความที่ใชตัวหนังสือ สีมวง หมายถึง สอดคลองกับโครงการ ค ๓.๑ ป.๑/๑ โรงเรียนคุณภาพวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. รวม ๑๐ ตัวชี้วดั 5. ขอความทใี่ ชต วั หนังสือ สสี ม หมายถงึ สอดคลอ งกับกระบวนการของ NARONG MODEL หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ( ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 256๐) ปก ารศึกษา 2563 โรงเรยี นวัดแมแกดนอ ย 41

คำอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ ค ๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร 2 กลมุ สาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร ชน้ั ประถมศึกษาปที่ ๒ เวลา 20๐ ชวั่ โมง ศกึ ษา ฝก ทกั ษะการคดิ คำนวณ และฝก ทกั ษะการแกป ญ หาในสาระตอไปนี้ จำนวนนับที่ไมเกินหนึ่งพัน และศูนย การนับทีละ ๒ ทีละ ๕ ทีละ ๑๐ และทีละ ๑๐๐ การบอก การ อา นและเขยี น ตัวเลขฮินดอู ารบิก ตวั เลขไทย และ ตวั หนังสือแสดงจำนวน จำนวนคู จำนวนคี่ หลกั และคาของตัวเลข โดดในแตล ะหลกั การเขียนในรปู กระจาย การเปรียบเทยี บและเรียงลำดับจำนวน การบวก การลบ การคณู การหาร และโจทยปญหา การบวกและการลบ ความหมายของการคูณการหาร การหาผลคูณ ผลหารและเศษ และ ความสัมพันธของการคูณและการหาร การบวก ลบ คูณ หารระคน การแกโจทยปญหา และการสรางโจทยปญหา พรอมท้ังหาคำตอบ แบบรูป โดยการบอกจำนวนในแบบรปู ของจำนวนท่ีเพิ่มขึน้ และลดลง ทีละ ๒ ทีละ ๕ และทีละ ๑๐๐ และแบบรูปซ้ำของจำนวน รูปเรขาคณติ และรปู อื่น ๆ การบอกเวลา การวดั ความยาว น้ำหนัก ปริมาตรและ ความจุ บอกเวลาเปนนาิกาและนาที (ชวง ๕ นาที) การบอกและการเปรียบเทียบระยะเวลาเปนชั่วโมง เปนนาที การอานปฏิทิน การวัดความยาวเปนเมตรและเซนติเมตร การวัดน้ำหนักเปนกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขดี การ วัดปริมาตรและความจโุ ดยใชห นวยท่ีไมใชหนวยมาตรฐาน เปนชอนชา ชอนโตะ ถวยตวง ลติ ร การคาดคะเนของการ วัดความยาว และการวัดน้ำหนัก การเปรียบเทียบโดยใชความสมั พันธข องการวัดความยาว การวัดน้ำหนัก และการวัด ปริมาตรและความจุที่ใชในการสรางสะพานทรงพลัง การแกโจทยปญหาเกี่ยวกับเวลา การวัดความยาว น้ำหนัก ปริมาตรและความจุ รปู เรขาคณิตสองมิติ โดยการบอกชนิดของรูปเรขาคณิตสองมิติ รปู หลายเหลี่ยม รปู วงกลม รูป วงรี และเขียนรูปเรขาคณิตสองมิติ โดยใชแบบของรูป การนำเสนอขอมูล การอานแผนภูมิรูปภาพ จำนวนครูและ นักเรยี นในโรงเรยี น โดยจัดประสบการณหรือสรางสถานการณใหผูเรียนไดศึกษาคนควาโดยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะ/กระบวนการในการคิดคำนวณ แกปญหา การใหเหตุผล รวมทั้งการใชทักษะกระบวนการ ตามโรงเรียนคุณภาพวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. อีกทั้งมีการเรียนรูผาน กระบวนการ NARONG MODEL และนำความรู ความคิด ทักษะกระบวนการที่ไดไปใชในชีวิตประจำวันอยาง สรางสรรค เพือ่ ใหเหน็ คุณคาและมเี จตคติทีด่ ีตอ คณติ ศาสตร มีความใฝเรยี นรู มวี ินัย มงุ มัน่ ในการทำงาน สามารถทำงาน ไดอยางเปนระบบ มีระเบียบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความคิดริเริ่มสรางสรรค มีความเชื่อมั่นใน ตนเอง คำชี้แจงของคำอธบิ ายรายวชิ า มดี งั น้ี 1. ขอความที่ใชตัวหนังสือ สีฟา หมายถงึ สอดคลองกับรักษศลิ ปวัฒนธรรม รหัสตัวชว้ี ดั ลานนา ค ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕ ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘ 2. ขอความที่ใชตัวหนังสือ สีแดง หมายถึง สอดคลองกับโครงการการจัด การศึกษาตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง และโครงการสถานศกึ ษาพอเพยี ง ค ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖ 3. ขอ ความท่ีใชตวั หนงั สอื สเี ขยี ว หมายถึง สอดงคลองกบั โครงการโรงเรียน ค ๒.๒ ป.๒/๑ สจุ ริต หรือโรงเรยี นวิถพี ุทธ 4. ขอความที่ใชตัวหนังสือ สีมวง หมายถึง สอดคลองกับโครงการโรงเรียน ค ๓.๑ ป.๒/๑ คณุ ภาพวิทยาศาสตร คณติ ศาสตร และเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. รวม ๑๖ ตัวชี้วัด 5. ขอความที่ใชตัวหนังสือ สีสม หมายถึง สอดคลองกับกระบวนการของ NARONG MODEL หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ( ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 256๐) ปการศึกษา 2563 โรงเรยี นวดั แมแ กด นอ ย 42


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook