Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม Dictionary of Buddhism

พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม Dictionary of Buddhism

Published by Chalermkiat Deesom, 2016-09-20 09:51:19

Description: dictionary_of_buddhism_pra-muan-dhaama พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม

Keywords: พจนานุกรมพุทธศาสตร์,dictionary_of_buddhism

Search

Read the Text Version

หมวด 10 237 [323][323] ทศพลญาณ (บาลีเรยี ก ตถาคตพลญาณ 10 คอื พระญาณอันเปน กําลงั ของพระ ตถาคต 10 ประการ ทท่ี าํ ใหพระองคสามารถบันลือสีหนาท ประกาศพระศาสนาไดมัน่ คง — Dasa-bala¤àõa: the Ten Powers of the Perfect One) 1. ฐานาฐานญาณ (ปรีชาหยง่ั รูฐ านะและอฐานะ คือ รูก ฎธรรมชาติเกย่ี วกับขอบเขตและขดี ขั้น ของส่ิงท้ังหลายวา อะไรเปนไปได อะไรเปน ไปไมไ ด และแคไ หนเพยี งไร โดยเฉพาะในแงความ สัมพนั ธระหวางเหตกุ บั ผล และกฎเกณฑทางจริยธรรม เกยี่ วกบั สมรรถวิสยั ของบุคคล ซ่งึ จะได รบั ผลกรรมท่ีดแี ละช่วั ตางๆ กัน — òhànàñhàna-¤àõa: knowledge of instance and no instance; knowledge of possibilities and impossibilities) 2. กรรมวปิ ากญาณ (ปรชี าหยง่ั รูผลของกรรม คอื สามารถกาํ หนดแยกการใหผ ลอยา งสลบั ซบั ซอ น ระหวา งกรรมดกี บั กรรมช่ัว ทสี่ มั พันธก บั ปจ จยั แวดลอ มตา งๆ มองเห็นรายละเอียดและ ความสัมพันธภายในกระบวนการกอผลของกรรมอยางชัดเจน — Kammavipàka-¤àõa: knowledge of the ripening of action; knowledge of the results of kamma) 3. สัพพตั ถคามนิ ปี ฏิปทาญาณ (ปรชี าหยั่งรขู อปฏบิ ัตทิ ่ีจะนาํ ไปสูคติท้งั ปวง คอื สุคติ ทุคติ หรอื พน จากคติ หรอื ปรชี าหยง่ั รขู อ ปฏบิ ตั ทิ จ่ี ะนาํ ไปสอู รรถประโยชนท ง้ั ปวง กลา วคอื ทฏิ ฐธมั มกิ ตั ถะ สมั ปรายิกตั ถะ หรอื ปรมัตถะ คอื รวู า เมอ่ื ปรารถนาจะเขาถงึ คติหรอื ประโยชนใด จะตองทําอะไร บา ง มรี ายละเอียดวิธีปฏิบตั อิ ยา งไร — Sabbatthagàminãpañipadà-¤àõa: knowledge of the way that leads anywhere; knowledge of the practices leading to all destinies and all goals) 4. นานาธาตญุ าณ (ปรีชาหย่ังรูสภาวะของโลกอันประกอบดว ยธาตตุ างๆ เปนอเนก คอื รู สภาวะของธรรมชาติ ทัง้ ฝายอปุ าทนิ นกสังขารและฝา ยอนปุ าทินนกสังขาร เชน รูจ กั สวนประกอบ ตา งๆ ของชีวติ สภาวะของสว นประกอบเหลานน้ั พรอ มท้งั ลกั ษณะและหนา ทข่ี องมนั แตล ะอยาง อาทิการปฏบิ ตั หิ นา ทข่ี องขันธ อายตนะ และธาตุตางๆ ในกระบวนการรับรู เปนตน และรเู หตุ แหงความแตกตา งกนั ของสิง่ ทัง้ หลายเหลา นั้น — Nànàdhàtu-¤àõa: knowledge of the world with its many different elements) 5. นานาธิมุตตกิ ญาณ (ปรีชาหย่งั รูอ ธมิ ตุ ิ คอื รอู ธั ยาศยั ความโนมเอียง ความเช่ือถือ แนว ความสนใจ เปนตน ของสัตวท้ังหลายที่เปนไปตางๆ กัน — Nànàdhimuttika-¤àõa: knowledge of the different dispositions of beings) 6. อนิ ทรยิ ปโรปริยตั ตญาณ (ปรีชาหย่ังรคู วามย่ิงและหยอ นแหง อนิ ทรยี ข องสัตวท ้ังหลาย คอื รวู า สตั วนนั้ ๆ มศี รัทธา วริ ยิ ะ สติ สมาธิ ปญญา แคไ หน เพียงใด มกี เิ ลสมาก กเิ ลสนอ ย มี อินทรียออน หรือแกกลา สอนงาย หรือสอนยาก มีความพรอมท่ีจะตรัสรูหรือไม — Indriyaparopariyatta-¤àõa: knowledge of the state of faculties of beings; knowledge of the inferiority and superiority of the controlling faculties of various beings; knowledge as regards maturity of persons)

[324] 238 พจนานกุ รมพุทธศาสตร7. ฌานาทสิ งั กิเลสาทิญาณ (ปรชี าหยง่ั รูความเศราหมอง ความผองแผว การออกแหง ฌานวโิ มกข สมาธิ และสมาบตั ทิ ง้ั หลาย — Jhànàdisaïkilesàdi-¤àõa: knowledge of defilement,cleansing and emergence in the cases of the meditations, liberations, concen-trations and attainments)8. ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ (ปรีชาหย่ังรูอันทําใหระลึกภพท่ีเคยอยูในหนหลังได —Pubbenivàsànussati-¤àõa: knowledge of the remembrance of former existences)9. จตุ ูปปาตญาณ (ปรชี าหย่งั รูจุติและอุบัตขิ องสัตวท้ังหลายอนั เปน ไปตามกรรม — Cutå-papàta-¤àõa: knowledge of the decease and rebirth of beings)10. อาสวักขยญาณ (ปรีชาหยง่ั รคู วามสนิ้ ไปแหงอาสวะทั้งหลาย — âsavakkhaya-¤àõa:knowledge of the exhaustion of mental intoxicants)M.I.69; A.V.33; Vbh.336. ม.ม.ู 12/166/140; อง.ฺ ทสก.24/21/35; อภิ.ว.ิ 35/839/454.[,,,] ทศพิธราชธรรม ดู [326] ราชธรรม 10.[,,,] ธรรมจริยา 10 เปนอกี ช่อื หน่งึ ของ [320] กศุ ลกรรมบถ 10 2.[,,,] ธรรมมีอุปการะมาก 10 ดู [324] นาถกรณธรรม 10.[324] นาถกรณธรรม 10 (ธรรมอนั กระทําท่พี ่งึ , ธรรมสรา งทพี่ ่งึ , คณุ ธรรมที่ทาํ ใหต นเปนที่พึง่ ของตนได — Nàthakaraõa-dhamma: virtues which make for protection)1. สลี (ความประพฤตดิ งี ามสจุ รติ รกั ษาระเบยี บวนิ ยั มอี าชวี ะบรสิ ทุ ธิ์ — Sãla: good conduct;keeping moral habits)2. พาหสุ จจฺ (ความเปนผไู ดศึกษาเลา เรียนมาก มคี วามรคู วามเขาใจลึกซ้ึง — Bàhusacca:great learning)3. กลยฺ าณมติ ตฺ ตา (ความมกี ลั ยาณมติ ร, การคบคนดี ไดที่ปรกึ ษา และผแู นะนาํ ส่งั สอนทดี่ ี— Kalyàõamittatà: good company; association with good people)4. โสวจสฺสตา (ความเปน ผูว างา ยสอนงาย รับฟงเหตผุ ล — Sovacassatà: amenability tocorrection; meekness; easy admonishability)5. กงิ กฺ รณเี ยสุ ทกฺขตา (ความเอาใจใสชวยขวนขวายในกิจใหญน อ ยทุกอยางของเพอ่ื นรวมหมูคณะ รจู ักพจิ ารณาไตรตรอง สามารถจดั ทําใหส าํ เร็จเรียบรอ ย — Kiïkaraõãyesu dakkhatà:willingness to give a helping hand; diligence and skill in managing all affairs ofone’s fellows in the community)6. ธมฺมกามตา (ความเปนผูใครธ รรม คอื รกั ธรรม ใฝความรใู ฝความจริง รูจกั พูดรูจ ักรับฟงทาํ ใหเกิดความพอใจ นารวมปรึกษาสนทนา ชอบศึกษา ยินดีปรีดาในหลักธรรมหลกั วินยั ท่ีละเอยี ดลึกซึ้งยิ่งๆ ขึ้นไป — Dhammakàmatà: love of truth; to love the Dhamma, be

หมวด 10 239 [325]pleasant to consult and converse with and rejoice in the advanced teaching ofboth the Doctrine and the Discipline)7. วริ ยิ ารมภฺ (ความขยนั หมนั่ เพยี ร คอื เพยี รละความชวั่ ประกอบความดี มใี จแกลว กลา บากบน่ักา วหนา ไมย อ ทอ ไมท อดทง้ิ ธรุ ะ — Viriyàrambha: energy; effort; energetic exertion)8. สนฺตฏุ  ี (ความสนั โดษ คอื ยนิ ดี มคี วามสขุ ความพอใจดว ยปจ จยั สที่ หี่ ามาไดด ว ยความเพยี รอันชอบธรรมของตน — Santuññhã: contentment)9. สติ (ความมสี ติ รจู ักกาํ หนดจดจํา ระลกึ การทที่ าํ คาํ ท่พี ูดไวได เปนอยูอ ยา งไมประมาท —Sati: mindfulness; ability to remember what one has done and spoken)10. ปฺา (ความมีปญญาหย่งั รูเ หตุผล รูจกั คิดพิจารณา เขา ใจภาวะของสิ่งทงั้ หลายตามความเปน จริง — Pa¤¤à: wisdom; insight) นาถกรณธรรมน้ี ทานเรียกวา เปน พหุการธรรม หรือ ธรรมมีอปุ การะมาก เพราะเปนกําลังหนนุ ในการบาํ เพญ็ คุณความดที ง้ั หลาย ยงั ประโยชนต นและประโยชนผ ูอน่ื ใหส ําเรจ็ ไดอ ยา งกวางขวางไพบูลยD.III.266,290; A.V.23. ที.ปา.11/357/281; 466/334; องฺ.ทสก.24/17/25.[325] บารมี 10 หรอื ทศบารมี (ปฏปิ ทาอนั ยวดยิ่ง, คุณธรรมท่ีประพฤตปิ ฏบิ ตั ิอยา งยงิ่ ยวด คอื ความดที บ่ี าํ เพญ็ อยา งพเิ ศษ เพอื่ บรรลซุ ง่ึ จดุ หมายอนั สงู เชน ความเปน พระพทุ ธเจาและความเปนมหาสาวก เปน ตน — Pàramã: perfections)1. ทาน (การให การเสียสละ — Dàna: giving; charity; generosity; liberality)2. ศีล (การรกั ษากายวาจาใหอ ยูใ นหลกั ความประพฤติทเี่ ปนแบบแผนแหงภาวะของตน, ความประพฤตดิ งี ามถกู ตอ งตามระเบยี บวินยั —Sãla: morality; good conduct)3. เนกขัมมะ (การออกบวช, ความปลีกตัวปลกี ใจจากกาม — Nekkhamma: renunciation)4. ปญ ญา (ความรอบร,ู ความหยัง่ รเู หตุผล เขา ใจสภาวะของส่งิ ท้ังหลายตามความเปน จรงิ และรจู ักแกไ ขปฏบิ ตั ิจัดการตางๆ — Pa¤¤à: wisdom; insight; understanding)5. วิรยิ ะ (ความเพียร, ความแกลวกลา ไมเ กรงกลวั อปุ สรรค พยายามบากบ่นั อตุ สาหะ กา วหนาเร่อื ยไป ไมท อดทิ้งธุระหนาที่ — Viriya: energy; effort; endeavour)6. ขันติ (ความอดทน, ความทนทานของจิตใจ สามารถใชส ติปญ ญาควบคุมตนใหอ ยใู นอํานาจเหตุผล และแนวทางความประพฤติหรือการปฏิบตั ิ ที่ตง้ั ไวเพือ่ จุดหมายอนั ชอบ ไมลุอํานาจกเิ ลส— Khanti: forbearance; tolerance; endurance)7. สัจจะ (ความจริง คอื พูดจริง ทาํ จริง และจริงใจ — Sacca: truthfulness)8. อธษิ ฐาน (ความตงั้ ใจม่นั , การตัดสินใจเด็ดเดีย่ ว วางจุดหมายแหงการกระทาํ ของตนไวแ นนอน และดาํ เนนิ ตามนัน้ แนว แน — Adhiññhàna: resolution; self-determination)9. เมตตา (ความรักใคร, ความปรารถนาดี มีไมตรี คิดเกื้อกลู ใหผูอ่นื และเพ่ือนรวมโลกทั้งปวง

[326] 240 พจนานกุ รมพุทธศาสตรมีความสุขความเจริญ — Mettà: loving-kindness; friendliness)10.อเุ บกขา (ความวางใจเปน กลาง, ความวางใจสงบราบเรยี บสมาํ่ เสมอ เทยี่ งธรรม และดาํ รงอยูในธรรม ไมเอนเอยี งหรือหว่นั ไหวไปดวยความยินดียนิ รา ยชอบชังหรอื แรงเยา ยวนย่ัวยุใดๆ —Upekkhà: equanimity; indifference to praise and blame in the performance of duty)ทศบารมีนี้ เรยี งตามท่ถี ือวาไดบ ําเพญ็ ในทศชาติ (จดั แบบไทย) ดงั น้ี1. พระเตมีย — เนกขัมมะ (ขอท่ี 3) 2. พระมหาชนก — วิริยะ (5)3. พระสุวรรณสาม — เมตตา (9) 4. พระเนมิราช — อธษิ ฐาน (8)5. พระมโหสถ — ปญ ญา (4) 6. พระภูริทัตต — ศีล (2)7. พระจนั ทกมุ าร — ขนั ติ (6) 8. พระนารทะ — อุเบกขา (10)9. พระวธิ ุระ — สจั จะ (7) 10. พระเวสสันดร — ทาน (1) บารมีน้นั ทานกลาววา จะบาํ เพ็ญใหบ รบิ ูรณ ตอ งครบ 3 ขั้น คือ1. บารมี (ระดับสามญั เชน ทานบารมี ไดแ ก ใหทรัพยส นิ เงินทอง สมบัตนิ อกกาย — Pàramã:ordinary perfections)2. อุปบารมี (ระดับรองหรือจวนจะสูงสุด เชน ทานอปุ บารมี ไดแก การเสียสละอวัยวะเปนทาน— Upapàramã: superior perfections)3. ปรมตั ถบารมี (ระดับสูงสดุ เชน ทานปรมตั ถบารมี ไดแก การสละชีวิตเพอ่ื ประโยชนแกผูอ่ืน — Paramatthapàramã: supreme perfections) บําเพ็ญทั้ง 10 บารมี ครบ 3 ขน้ั น้ี เรียกวา สมตสึ ปารมี หรอื สมดึงสบารมี แปลวา “บารมี30 ถว น”. Bv.6. ขุ.พทุ ธ.33/1/414; ขุ.จรยิ า.33/36/596.[,,,] บุญกิริยาวัตถุ 10 ดู [89] บุญกริ ิยาวตั ถุ 10.[,,,] ปพพชิตอภิณหปจจเวกขณ 10 ดู [248] ปพ พชติ อภณิ หปจ จเวกขณ 10.[,,,] มิจฉัตตะ ดู [334] มจิ ฉตั ตะ 10.[,,,] มูลเหตุการบัญญัติพระวินัย 10 ดู [327] วัตถุประสงคใ นการบัญญตั ิ พระวนิ ยั 10.[326] ราชธรรม 10 หรอื ทศพิธราชธรรม (ธรรมของพระราชา, กจิ วตั รทพ่ี ระเจา แผน ดนิ ควรประพฤต,ิ คณุ ธรรมของผปู กครองบา นเมอื ง, ธรรมของนกั ปกครอง — Ràjadhamma: virtues or duties of the king; royal virtues; virtues of a ruler) 1. ทาน (การให คอื สละทรพั ยส่งิ ของ บํารงุ เลยี้ ง ชวยเหลือประชาราษฎร และบําเพญ็ สาธารณประโยชน — Dàna: charity; liberality; generosity) 2. ศลี (ความประพฤติดงี าม คอื สํารวมกายและวจที วาร ประกอบแตก ารสุจริต รักษากิตติคุณ

หมวด 10 241 [327]ใหควรเปนตัวอยาง และเปนทเี่ คารพนบั ถอื ของประชาราษฎร มิใหมขี อทใ่ี ครจะดูแคลน — Sãla:high moral character)3. ปรจิ จาคะ (การบรจิ าค คอื เสยี สละความสขุ สาํ ราญ เปน ตน ตลอดจนชวี ติ ของตน เพอ่ืประโยชนส ขุ ของประชาชน และความสงบเรยี บรอ ยของบา นเมอื ง — Pariccàga: self-sacrifice)4. อาชชวะ (ความซ่อื ตรง คือ ซอื่ ตรงทรงสัตยไ รม ารยา ปฏบิ ัตภิ ารกิจโดยสุจริต มีความจริงใจไมห ลอกลวงประชาชน — âjjava: honesty; integrity)5. มัททวะ (ความออนโยน คือ มอี ธั ยาศยั ไมเยอหย่ิงหยาบคายกระดา งถือองค มคี วามงามสงาเกิดแตทวงทีกิริยาสุภาพนุมนวล ละมุนละไม ใหไดความรักภักดี แตมิขาดยําเกรง —Maddava: kindness and gentleness)6. ตปะ (ความทรงเดช คือ แผดเผากเิ ลสตัณหา มใิ หเขามาครอบงาํ ยํา่ ยจี ติ ระงับยบั ยั้งขมใจไดไมยอมใหหลงใหลหมกมุน ในความสุขสําราญและความปรนเปรอ มีความเปนอยสู มาํ่ เสมอ หรืออยางสามญั มุงมนั่ แตจ ะบาํ เพ็ญเพียร ทาํ กิจใหบ รบิ ูรณ — Tapa: austerity; self-control;non-indulgence)7. อักโกธะ (ความไมโ กรธ คอื ไมก ริ้วกราดลอุ าํ นาจความโกรธ จนเปน เหตุใหว ินจิ ฉัยความและกระทําการตา งๆ ผดิ พลาดเสยี ธรรม มเี มตตาประจําใจไวระงบั ความเคอื งขุน วินจิ ฉยั ความและกระทาํ การดว ยจติ อันราบเรยี บเปน ตัวของตนเอง — Akkodha: non-anger; non-fury)8. อวหิ งิ สา (ความไมเ บยี ดเบยี น คอื ไมบ บี คนั้ กดขี่ เชน เกบ็ ภาษขี ดู รดี หรอื เกณฑแ รงงานเกนิขนาด ไมห ลงระเรงิ อาํ นาจ ขาดความกรณุ า หาเหตเุ บยี ดเบยี นลงโทษอาชญาแกป ระชาราษฎรผ ใู ดเพราะอาศยั ความอาฆาตเกลยี ดชงั — Avihi§sà: non-violence; non-oppression)9. ขันติ (ความอดทน คือ อดทนตองานท่ีตรากตรํา ถงึ จะลาํ บากกายนาเหนอ่ื ยหนา ยเพยี งไร ก็ไมทอถอย ถึงจะถกู ยั่วถกู หยันดวยคาํ เสยี ดสีถากถางอยา งใด ก็ไมห มดกาํ ลังใจ ไมย อมละทิง้กรณยี ท ีบ่ าํ เพญ็ โดยชอบธรรม — Khanti: patience; forbearance; tolerance)10. อวโิ รธนะ (ความไมค ลาดธรรม คอื วางองคเ ปน หลกั หนกั แนน ในธรรม คงทไี่ มม คี วามเอนเอยี งหวนั่ ไหวเพราะถอ ยคาํ ทด่ี รี า ย ลาภสกั การะ หรอื อฏิ ฐารมณ อนฏิ ฐารมณใ ดๆ สถติ มนั่ ในธรรมทงั้ สว นยตุ ธิ รรม คอื ความเทย่ี งธรรม กด็ ี นติ ธิ รรม คอื ระเบยี บแบบแผนหลกั การปกครอง ตลอดจนขนบธรรมเนยี มประเพณอี นั ดงี าม กด็ ี ไมป ระพฤตใิ หเ คลอ่ื นคลาดวบิ ตั ไิ ป — Avirodhana: non-deviation from righteousness; conformity to the law)ราชธรรม 10 นี้ พงึ จดจาํ งา ยๆ โดยคาถาในบาลี ดงั นี้ ทานํ สีลํ ปรจิ ฺจาคํ อาชชฺ วํ มทฺทวํ ตป อกโฺ กธํ อวิหึสฺจ ขนฺติฺจ อวิโรธน.ํJ.V.378. ขุ.ชา.28/240/86.[327] วัตถุประสงคในการบัญญัติพระวินัย 10 (เหตุผลที่พระพุทธเจา

[327] 242 พจนานกุ รมพุทธศาสตรทรงปรารภหรือประโยชนท่ีทรงประสงค ในการทรงบัญญัติสิกขาบทแกพระสงฆสาวก —Sikkhàpada-pa¤¤atti atthavasa: reasons for laying down the course of training formonks; purposes of monastic legislation) ก. วา ดวยประโยชนแ กส งฆหรือสว นรวม1. สงฺฆสุฏตุ าย (เพอื่ ความรบั วาดีแหง สงฆ คอื เพ่ือความเรียบรอยดีงามแหงสงฆ ซึง่ ไดทรงช้ีแจงใหมองเหน็ คณุ โทษแหง ความประพฤตนิ ัน้ ๆ ชัดเจนแลว จงึ ทรงบัญญตั สิ ิกขาบทขึน้ ไวโดยความเหน็ ชอบรว มกนั — for the excellence of the unanimous Order)2. สงฆฺ ผาสตุ าย (เพือ่ ความผาสุกแหง สงฆ — for the comfort of the Order) ข. วา ดวยประโยชนแกบุคคล3. ทมุ มฺ งกฺ นู ํ ปคุ คฺ ลานํ นคิ คฺ หาย (เพอ่ื ขม บคุ คลผเู กอ ยาก คอื เพอ่ื กาํ ราบคนผดู า น ประพฤติทราม — for the control of shameless persons)4. เปสลานํ ภกิ ขฺ นู ํ ผาสวุ หิ าราย (เพื่อความอยูผาสกุ แหง เหลาภิกษุผูม ศี ีลดีงาม — for theliving in comfort of well-behaved monks) ค. วาดว ยประโยชนแ กความบริสทุ ธ์ิ หรอื แกช ีวิต ทัง้ ทางกายและทางใจ5. ทฏิ  ธมมฺ กิ านํ อาสวานํ สวํ ราย (เพอ่ื ปด กนั้ อาสวะทง้ั หลายอนั จะบงั เกดิ ในปจ จบุ นั คอื เพอ่ืระวงั ปด ทางความเสอ่ื มเสยี ความทกุ ข ความเดอื ดรอ น ทจ่ี ะมใี นปจ จบุ นั — for the restraint ofthe cankers in the present; for the prevention of temporal decay and troubles)6. สมปฺ รายกิ านํ อาสวานํ ปฏฆิ าตาย (เพอื่ บาํ บดั อาสวะทง้ั หลายอนั จะบงั เกดิ ในอนาคต คอืเพอื่ ปอ งกนั มใิ หเ กดิ ความเสอื่ มเสยี ความทกุ ขค วามเดอื ดรอ น ทจ่ี ะมมี าในภายหนา หรอื ภพหนา —for warding off the cankers in the hereafter; for protection against spiritual decayand troubles) ง. วา ดวยประโยชนแ กประชาชน7. อปปฺ สนนฺ านํ ปสาทาย (เพอ่ื ความเลอ่ื มใสของชมุ ชนทยี่ งั ไมเ ลอ่ื มใส — for the confidenceof those who have not yet gained confidence)8. ปสนนฺ านํ ภยิ โฺ ยภาวาย (เพื่อความเล่ือมใสย่ิงข้นึ ไปของชมุ ชนทเี่ ล่ือมใสแลว — for theincrease of the confidence of the confident) จ. วา ดว ยประโยชนแ กพ ระศาสนา9. สทธฺ มมฺ ฏ ิตยิ า (เพอื่ ความตงั้ มนั่ แหง สทั ธรรม — for the lastingness of the true doctrine)10. วนิ ยานคุ คฺ หาย (เพอ่ื อนเุ คราะหว นิ ยั คอื ทาํ ใหม บี ทบญั ญตั สิ าํ หรบั ใชเ ปน หลกั เกณฑจ ดั ระเบยี บของหมู สนบั สนนุ ความมวี นิ ยั ใหห นกั แนน มนั่ คงยง่ิ ขนึ้ — for the support of the discipline) Vin.III.20; A.V.70. วินย.1/20/37; องฺ.ทสก.24/31/74.[,,,] วิปสสนาญาณ 10 ดู [311] วปิ ส สนาญาณ 9.

หมวด 10 243 [329][328] วิปสสนูปกิเลส 10 (อุปกิเลสแหง วปิ ส สนา, ธรรมารมณทเ่ี กิดแกผ ไู ดต รุณ- วิปสสนา หรอื วปิ ส สนาออ นๆ ทาํ ใหเขา ใจผิดวา ตนบรรลุมรรคผลแลว เปน เหตุขัดขวางใหไ มก า ว หนา ตอไปในวปิ ส สนาญาณ — Vipassanåpakilesa: imperfections or defilements of insight) 1. โอภาส (แสงสวาง — Obhàsa: illumination; luminous aura) 2. ญาณ (ความหยง่ั รู — ¥àõa: knowledge) 3. ปติ (ความอมิ่ ใจ — Pãti: rapture; unprecedented joy) 4. ปส สัทธิ (ความสงบเย็น — Passaddhi: tranquillity) 5. สขุ (ความสุขสบายใจ — Sukha: bliss; pleasure) 6. อธโิ มกข (ความนอมใจเช่อื , ศรทั ธาแกก ลา, ความปลงใจ — Adhimokkha: fervour; assurance; resolution) 7. ปคคาหะ (ความเพยี รท่พี อดี — Paggàha: exertion; well-exerted energy) 8. อุปฏ ฐาน (สตแิ กก ลา, สติชัด — Upaññhàna: established mindfulness) 9. อเุ บกขา (ความมีจิตเปน กลาง — Upekkhà: equanimity) 10. นกิ นั ติ (ความพอใจ, ติดใจ — Nikanti: delight) ดู [285] วิสทุ ธฺ ิ 7 โดยเฉพาะขอ 5 คือ มัคคามคั คญาณทัสสนวิสุทธิVism.633. วสิ ุทธฺ .ิ 3/267.[,,,] ศีล 10 ดู [242] ศีล 10.[329] สังโยชน 101 (กเิ ลสอันผกู ใจสัตว, ธรรมท่ีมดั สัตวไ วก ับวฏั ฏทกุ ข หรอื ผกู กรรมไวกบั ผล — Sa§yojana: fetters; bondage)ก. โอรัมภาคยิ สงั โยชน 5 (สงั โยชนเ บอ้ื งต่าํ เปนอยา งหยาบ เปน ไปในภพอนั ตํ่า — Oram-bhàgiya~: lower fetters)1. สกั กายทฏิ ฐิ (ความเหน็ วา เปนตัวของตน เชน เห็นรปู เห็นเวทนา เหน็ วิญญาณ เปนตนเปนตน — Sakkàyadiññhi: personality-view; false view of individuality)2. วิจิกจิ ฉา (ความสงสัย, ความลังเล ไมแนใ จ — Vicikicchà: doubt; uncertainty)3. สลี พั พตปรามาส (ความถอื มนั่ ศลี พรต โดยสกั วา ทาํ ตามๆ กนั ไปอยา งงมงายเหน็ วา จะบรสิ ทุ ธ์ิหลดุ พน ไดเ พยี งดว ยศลี และวตั ร — Sãlabbataparàmàsa: adherence to rules and rituals)4. กามราคะ (ความกาํ หนดั ในกาม, ความตดิ ใจในกามคณุ — Kàmaràga: sensual lust)5. ปฏฆิ ะ (ความกระทบกระทงั่ ในใจ, ความหงดุ หงดิ ขดั เคอื ง — Pañigha: repulsion; irritation)ข. อุทธัมภาคยิ สงั โยชน 5 (สังโยชนเ บือ้ งสูง เปน อยางละเอยี ด เปน ไปแมใ นภพอันสงู —Uddhambhàgiya~: higher fetters)

[330] 244 พจนานุกรมพุทธศาสตร6. รปู ราคะ (ความตดิ ใจในอารมณแหง รูปฌาน หรอื ในรูปธรรมอนั ประณีต, ความปรารถนาในรปู ภพ — Råparàga: greed for fine-material existence; attachment to realms of form)7. อรปู ราคะ (ความตดิ ใจในอารมณแ หง อรปู ฌาน หรอื ในอรปู ธรรม, ความปรารถนาในอรปู ภพ— Aråparàga: greed for immaterial existence; attachment to formless realms)8. มานะ (ความสาํ คัญตน คือ ถือตนวาเปน นั่นเปนน่ี — Màna: conceit; pride)9. อุทธัจจะ (ความฟุงซา น — Uddhacca: restlessness; distraction)10. อวิชชา (ความไมร ูจริง, ความหลง — Avijjà: ignorance) สังโยชน 10 ในหมวดนี้ เปน แนวพระสตู ร หรือ สตุ ตนั ตนัย แตในบาลีแหงพระสตู รนัน้ ๆ มีแปลกจากทีน่ เ้ี ล็กนอ ย คือ ขอ 4 เปน กามฉนั ท (ความพอใจในกาม — sensual desire) ขอ 5เปน พยาบาท (ความขดั เคือง, ความคิดรา ย — ill-will) ใจความเหมือนกันลาํ ดบั การละสงั โยชน 10 น้ี ใหดู [164] มรรค 4.S.V.61; A.V.13; Vbh.377. ส.ํ ม.19/349/90; อง.ฺ ทสก.24/13/18; อภ.ิ ว.ิ 35/976–7/509.[330] สังโยชน 102 (ธรรมที่มัดสตั วไวกับทุกข — Sa§yojana: fetters; bondage)1. กามราคะ 2. ปฏฆิ ะ 3. มานะ 4. ทฏิ ฐิ (ความเหน็ ผดิ — Diññhi: false views) 5. วจิ กิ จิ ฉา6. สลี พั พตปรามาส 7. ภวราคะ (ความตดิ ใจปรารถนาในภพ — Bhavaràga: greed forexistence) 8. อสิ สา (ความรษิ ยา — Issà: envy; jealousy) 9. มจั ฉรยิ ะ (ความตระหนี่ —Macchariya: meanness; stinginess) 10. อวชิ ชา สงั โยชน 10 ในหมวดนี้ เปนแนวพระอภิธรรม หรอื อภิธรรมนยั ไดแ สดงความหมายไวเฉพาะขอทตี่ า งจากหมวดกอ นVbh.391. อภ.ิ ว.ิ 35/1029/528.[331] สัญญา 10 (ความกําหนดหมาย, แนวความคดิ ความเขาใจ สาํ หรับใชกาํ หนดพจิ ารณาในการเจริญกรรมฐาน — Sa¤¤à: perception; contemplation; ideas as objectsof meditation)1. อนิจฺจสฺา (กาํ หนดหมายความไมเ ทย่ี งแหงสังขาร — Anicca-sa¤¤à: contemplationon impermanency)2. อนตตฺ สฺ า (กาํ หนดหมายความเปน อนตั ตาแหง ธรรมทง้ั ปวง — Anatta~: contemplationon impersonality)3. อสภุ สฺ า (กาํ หนดหมายความไมง ามแหง กาย — Asubha~: contemplation on foulnessor loathsomeness)4. อาทนี วสฺา (กําหนดหมายโทษทกุ ขข องกายอนั มคี วามเจ็บไขตางๆ — âdãnava~:contemplation on the disadvantages of the body)5. ปหานสฺา (กําหนดหมายเพื่อละอกุศลวิตกและบาปธรรมท้ังหลาย — Pahàna~:

หมวด 10 245 [333]contemplation on abandonment or overcoming)6. วริ าคสฺ า (กาํ หนดหมายวริ าคะวา เปน ธรรมละเอยี ดประณตี — Viràga~: contemplationon detachment)7. นโิ รธสฺา (กําหนดหมายนิโรธวาเปน ธรรมละเอยี ดประณตี — Nirodha~: contem-plation on cessation)8. สพพฺ โลเก อนภริ ตสฺ า (กาํ หนดหมายความไมน า เพลดิ เพลนิ ในโลกทง้ั ปวง — Sabbalokeanabhirata~: contemplation on the non-delightfulness of the whole world)9. สพพฺ สงขฺ าเรสุ อนฏิ  สฺ า (กาํ หนดหมายความไมน า ปรารถนาในสงั ขารทง้ั ปวง —Sabba-saïkhàresu aniññha~: contemplation on the non-pleasantness of the whole world)10. อานาปานสติ (สตกิ ําหนดลมหายใจเขาออก — ânàpànasati: mindfulness of in-and out-breathing)ในขอ 9. อนฏิ  สฺ า พระบาลีเดิมเปน อนจิ จฺ สฺ า บาง อนจิ ฉฺ าสฺ า บาง.D.III.291; A.V.109. ท.ี ปา.11/473/340; องฺ.ทสก.24/60/116.[332] สัทธรรม 10 (ธรรมอนั ด,ี ธรรมทแ่ี ท, ธรรมของสตั บุรษุ , หลักหรอื แกน ศาสนา —Saddhamma: true doctrine; essential Dharma)1.–9. โลกุตตรธรรม 9 (มรรค 4 ผล 4 นิพพาน 1 — Lokuttara-dhamma: the ninesupermundane states, viz., the Four Paths, the Four Fruitions and Nibbàna)10. ปริยตั ธิ รรม (ธรรมคอื คาํ สัง่ สอนอันจะตองเลาเรยี น กลา วคอื พทุ ธพจน — Pariyatti-dhamma: the text to be studied, i.e. the words of the Buddha)(ฉบบั อกั ษรโรมนั ยังไมไ ดพมิ พ) สงฺคห.ฏกี า 65.[333] สัมมัตตะ 10 (ภาวะทถ่ี กู , ความเปน สงิ่ ทถี่ กู — Sammatta: rightness; right states)8 ขอ ตน ตรงกบั องคม รรค 8 ขอ คอื สมั มาทฏิ ฐิ สมั มาสงั กปั ปะ สมั มาวาจาสมั มากมั มนั ตะ สมั มาอาชวี ะ สมั มาวายามะ สมั มาสติ สมั มาสมาธิ และเพม่ิ 2 ขอ คอื9. สมั มาญาณ (รชู อบ ไดแ ก ผลญาณ และปจ จเวกขณญาณทงั้ 19 ประเภท — Sammà¤àõa:right knowledge; right insight)10. สมั มาวมิ ตุ ติ (หลดุ พน ชอบ ไดแ ก อรหตั ตผลวมิ ตุ ติ — Sammàvimutti: right deliverance) ธรรมหมวดนี้ เรียกช่อื อีกอยางวา อเสขธรรม (ธรรมของพระอเสขะ — Asekhadhamma:qualities of the adept)ดู [293] มรรคมอี งค 8.D.III.271,292; M.I.42; A.V.212. ที.ปา.11/362/286; 475/342; ม.ม.ู 12/104/75; อง.ฺ ทสก.24/104/226; ม.อ.1/260; อง.ฺ อ.2/319,474,481.

[334] 246 พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร[334] มิจฉัตตะ 10 (ภาวะทผ่ี ดิ , ความเปน สง่ิ ทผ่ี ดิ —Micchatta: wrongness; wrong states) 1. มจิ ฉาทิฏฐิ (เห็นผดิ ไดแก ความเห็นผิดจากคลองธรรมตามหลักกศุ ลกรรมบถ และความ เหน็ ที่ไมนาํ ไปสูค วามพน ทกุ ข — Micchàdiññhi: wrong view) 2. มจิ ฉาสงั กปั ปะ (ดาํ รผิ ดิ ไดแ ก ความดาํ รทิ ี่เปน อกศุ ลท้งั หลาย ตรงขามจากสัมมาสงั กัปปะ — Micchàsaïkappa: wrong thought) 3. มิจฉาวาจา (วาจาผิด ไดแก วจีทจุ รติ 4 — Micchàvàcà: wrong speech) 4. มจิ ฉากัมมันตะ (กระทําผดิ ไดแก กายทุจรติ 3 — Micchàkammanta: wrong action) 5. มิจฉาอาชีวะ (เล้ียงชีพผิด ไดแก เลี้ยงชีวติ ในทางทุจรติ — Micchà-àjãva: wrong livelihood) 6. มจิ ฉาวายามะ (พยายามผดิ ไดแ ก ความเพยี รตรงขามกบั สัมมาวายามะ — Micchà- vàyàma: wrong effort) 7. มิจฉาสติ (ระลกึ ผดิ ไดแก ความระลกึ ถึงเร่ืองราวท่ีลวงแลว เชน ระลกึ ถึงการไดท รัพย การ ไดยศ เปน ตน ในทางอกศุ ล อันจดั เปน สตเิ ทยี ม เปน เหตุชักนําใจใหเกิดกเิ ลสมีโลภะ มานะ อิสสา มจั ฉริยะ เปน ตน — Micchàsati: wrong mindfulness) 8. มิจฉาสมาธิ (ต้ังจติ ผิด ไดแ ก ต้งั จติ เพง เล็ง จดจอ ปก ใจแนวแนในกามราคะ พยาบาท เปนตน หรือเจรญิ สมาธแิ ลว หลงเพลิน ตดิ หมกมนุ ตลอดจนนาํ ไปใชผ ดิ ทาง ไมเปน ไปเพ่ือ ญาณทสั สนะ และความหลดุ พน — Micchàsamàdhi: wrong concentration) 9. มจิ ฉาญาณ (รผู ิด ไดแก ความหลงผิดท่ีแสดงออกในการคดิ อบุ ายทาํ ความช่ัว และในการ พิจารณาทบทวนวา ความชวั่ น้นั ๆ ตนกระทําไดอ ยางดแี ลว เปน ตน — Micchà¤àõa: wrong knowledge) 10. มิจฉาวิมุตติ (หลดุ พน ผดิ ไดแก ยงั ไมถ ึงวิมตุ ติ สาํ คญั วาถึงวิมตุ ติ หรือสําคญั ผดิ ในสิ่งท่ี มใิ ชวิมุตตวิ าเปน วมิ ตุ ติ — Micchàvimutti: wrong deliverance)D.III.290; M.I.42; A.V.212. ท.ี ปา.11/469/337; ม.มู.12/104/76; องฺ.ทสก.24/103/226; ม.อ.1/259; วิภงคฺ .อ.676.[,,,] อกุศลกรรมบถ 10 ดู [321] อกุศลกรรมบถ 10.[335] อนุสติ 10 (ความระลกึ ถงึ , อารมณอ นั ควรระลกึ ถงึ เนอื งๆ — Anussati: recollection;constant mindfulness)1. พุทธานสุ ติ (ระลกึ ถึงพระพุทธเจา คอื นอ มจติ ระลึกถึงและพิจารณาคุณของพระองค —Buddhànussati: recollection of the Buddha; contemplation on the virtues of theBuddha)2. ธมั มานสุ ติ (ระลกึ ถงึ พระธรรม คอื นอ มจติ ระลกึ ถงึ และพจิ ารณาคณุ ของพระธรรม — Dhammà-nussati: recollection of the Dhamma; contemplation on the virtues of the Doctrine)3. สังฆานุสติ (ระลึกถึงพระสงฆ คือ นอมจิตระลึกถึงและพิจารณาคุณของพระสงฆ —

หมวด 10 247 [336]Saïghànussati: recollection of the Sangha; contemplation on the virtues of the Order)4. สลี านสุ ติ (ระลกึ ถงึ ศลี คอื นอ มจติ ราํ ลกึ พจิ ารณาศลี ของตนทไี่ ดป ระพฤตปิ ฏบิ ตั ิ บรสิ ทุ ธ์ิ ไมดา งพรอ ย — Sãlànussati: recollection of morality; contemplation on one’s own morals)5. จาคานุสติ (ระลึกถึงการบริจาค คอื นอ มจิตระลึกถึงทานทตี่ นไดบรจิ าคแลว และพจิ ารณาเห็นคณุ ธรรมคอื ความเผื่อแผเ สียสละนที้ ม่ี ีในตน — Càgànussati: recollection of liberality;contemplation on one’s own liberality)6. เทวตานสุ ติ (ระลึกถึงเทวดา คอื นอมจิตระลกึ ถึงเทวดาทง้ั หลายท่ีตนเคยรู และพจิ ารณาเหน็ คณุ ธรรมอนั ทาํ บุคคลใหเ ปนเทวดาน้นั ๆ ตามทีม่ ีอยใู นตน — Devatànussati: recollectionof deities; contemplation on the virtues which make people become gods as canbe found in oneself)7. มรณสติ (ระลึกถงึ ความตายอนั จะตองมีมาถึงตนเปนธรรมดา พิจารณาทจ่ี ะใหเกิดความไมประมาท — Maraõassati: mindfulness of death; contemplation on death)8. กายคตาสติ (สติอันไปในกาย คือ กาํ หนดพิจารณากายนี้ ใหเหน็ วาประกอบดวยสวนตางๆอันไมสะอาด ไมงาม นารังเกียจ เปนทางรูเ ทา ทนั สภาวะของกายนี้ มใิ หหลงใหลมัวเมา —Kàyagatà-sati: mindfulness occupied with the body; contemplation on the 32impure parts of the body)9. อานาปานสติ (สตกิ าํ หนดลมหายใจเขา ออก — ânàpànasati: mindfulness on breathing)10. อปุ สมานสุ ติ (ระลกึ ถงึ ธรรมเปน ทส่ี งบ คอื ระลกึ ถงึ และพจิ ารณาคณุ ของพระนพิ พาน อนัเปน ทรี่ ะงบั กเิ ลสและความทกุ ข — Upasamànussati: recollection of peace; contemplationon the virtue of Nibbàna)ดู [354] กรรมฐาน 40.A.I.30,41; Vism.197. อง.ฺ เอก.20/179–180/39–40; 224/54; วิสุทธฺ ิ.1/251.[,,,] อภิณหปจจเวกขณ 10 ดู [248] ปพพชติ อภณิ หปจ จเวกขณ 10.[,,,] อเสขธรรม 10 ดู [333] สัมมตั ตะ 10.[336] อสุภะ 10 (สภาพอนั ไมง าม, ซากศพในสภาพตา งๆ ซง่ึ ใชเ ปน อารมณแ หง สมถกรรมฐาน— Asubha: ten kinds of foulness; corpses at different stages of decay)1. อทุ ธมุ าตกะ (ซากศพทเ่ี นา พองขนึ้ อดื — Uddhumàtaka: bloated corpse; swollen-up corpse)2. วนิ ลี กะ (ซากศพทมี่ สี เี ขยี วคลาํ้ คละดว ยสตี า งๆ — Vinãlaka: bluish discoloured corpse;livid corpse)3. วิปพุ พกะ (ซากศพทมี่ ีนาํ้ เหลืองไหลเยิ้มอยูตามทที่ ี่แตกปริออก — Vipubbaka: festeringcorpse)4. วจิ ฉทิ ทกะ (ซากศพทีข่ าดจากกันเปน 2 ทอน — Vicchiddaka: split or cut up corpse;

[337] 248 พจนานกุ รมพทุ ธศาสตรdisjoint corpse)5. วิกขายิตกะ (ซากศพทถี่ ูกสตั ว เชน แรง กา สุนขั จกิ ท้ึงกัดกินแลว — Vikkhàyitaka:gnawed corpse)6. วกิ ขิตตกะ (ซากศพท่กี ระจุยกระจาย มือเทา ศีรษะหลดุ ออกไปขา งๆ — Vikkhittaka:scattered corpse; mangled corpse)7. หตวิกขิตตกะ (ซากศพที่ถกู สับฟน บั่นเปนทอ นๆ กระจายออกไป — Hatavikkhittaka:hacked and scattered corpse; mutilated and mangled corpse)8. โลหิตกะ (ซากศพท่ีมโี ลหติ ไหลอาบเรย่ี ราดอยู — Lohitaka: blood-stained corpse;bleeding corpse)9. ปฬุ วุ กะ (ซากศพท่ีมหี นอนคลาคล่ําเต็มไปหมด — Puëuvaka: worm-infested corpse)10. อัฏฐกิ ะ (ซากศพทีย่ ังเหลืออยแู ตรางกระดกู หรือกระดกู ทอน — Aññhika: skeleton)ดู [354] กรรมฐาน 40.Vism.178. วิสทุ ธฺ .ิ 1/226.[337] อันตคาหิกทิฏฐิ 10 (ความเหน็ อันถอื เอาทสี่ ดุ , ความเหน็ ผิดทแ่ี ลน ไปสดุ โตงขางใดขา งหนง่ึ — Antagàhika-diññhi: the ten erroneous extremist views) คอื เห็นวา1. โลกเทย่ี ง (The world is eternal.)2. โลกไมเ ที่ยง (The world is not eternal.)3. โลกมีท่ีสดุ (The world is finite.)4. โลกไมมีทีส่ ุด (The world is infinite.)5. ชีวะก็อันนน้ั สรีระกอ็ ันนั้น (The soul and the body are identical.)6. ชีวะกอ็ ยางหนึง่ สรีระกอ็ ยา งหนึง่ (The soul is one thing and the body is another.)7. ตถาคตเบอ้ื งหนา แตตาย ยอมเปนอกี (The Tathàgata is, after death.)8. ตถาคตเบื้องหนาแตต าย ยอมไมเ ปน อกี (The Tathàgata is not, after death.)9. ตถาคตเบอ้ื งหนา แตตาย ยอมเปนอกี ก็ใช ไมเ ปนอกี ก็ใช (The Tathàgata both isand is not, after death.)10. ตถาคตเบอื้ งหนาแตตาย ยอ มเปน อีก ก็มิใช ยอ มไมเปน อกี ก็มิใช (The Tathàgataneither is nor is not, after death.) คาํ วา ตถาคต ในทน่ี ี้ อรรถกถาบางแหงวา หมายถงึ “สัตว” (เชน ม.อ.3/135; สงฺคณ.ี อ.528) บางแหงวา “อัตตา” หรอื “อาตมนั ” (อุ.อ.430) บางแหง วา “พระพุทธเจา” (สํ.อ.3/192)M.I.426; S.IV.392; A.V.193; ม.ม.13/147/143; สํ.สฬ.18/788/476; อง.ฺ ทสก.24/193/206;Ps.I.151; Vbh.392. ข.ุ ปฏ.ิ 31/337/226; อภ.ิ ว.ิ 35/1032/529.

อติเรกทสกะ — หมวดเกนิ 10 Groups of More Than Ten[338] กรรม 12 (การกระทําท่ีประกอบดวยเจตนา ดีกต็ าม ชว่ั กต็ าม, ในทีน่ ี้หมายถงึ กรรม ประเภทตา งๆ พรอ มทง้ั หลกั เกณฑเ กยี่ วกบั การใหผ ลของกรรมเหลา นน้ั — Kamma: karma; kamma; action; volitional action) หมวดท่ี 1 วาโดยปากกาล คือ จาํ แนกตามเวลาท่ีใหผ ล (classification according to the time of ripening or taking effect) 1. ทฏิ ฐธรรมเวทนยี กรรม (กรรมใหผ ลในปจ จบุ นั คอื ในภพน้ี — Diññhadhamma-vedanãya- kamma: kamma to be experienced here and now; immediately effective kamma) 2. อปุ ปช ชเวทนยี กรรม (กรรมใหผ ลในภพทจี่ ะไปเกดิ คอื ในภพหนา — Upapajja-vedanãya- kamma: kamma to be experienced on rebirth; kamma ripening in the next life) 3. อปราปรยิ เวทนยี กรรม (กรรมใหผ ลในภพตอ ๆ ไป — Aparàpariya-vedanãya-kamma: kamma to be experienced in some subsequent lives; indefinitely effective kamma) 4. อโหสกิ รรม (กรรมเลกิ ใหผ ล ไมม ผี ลอกี — Ahosi-kamma: lapsed or defunct kamma) หมวดที่ 2 วา โดยกิจ คอื จําแนกการใหผ ลตามหนาที่ (classification according to function) 5. ชนกกรรม (กรรมแตง ใหเ กดิ , กรรมท่เี ปน ตวั นาํ ไปเกดิ — Janaka-kamma: productive kamma; reproductive kamma) 6. อุปตถมั ภกกรรม (กรรมสนบั สนนุ , กรรมท่เี ขาชว ยสนับสนุนหรือซํา้ เติมตอจากชนกกรรม — Upatthambhaka-kamma: supportive kamma; consolidating kamma) 7. อุปปฬกกรรม (กรรมบบี คัน้ , กรรมท่มี าใหผล บีบคน้ั ผลแหง ชนกกรรมและอปุ ตถัมภกรรม นนั้ ใหแ ปรเปลยี่ นทเุ ลาลงไป บน่ั ทอนวบิ ากมใิ หเ ปน ไปไดน าน — Upapãëaka-kamma: obstructive kamma; frustrating kamma) 8. อปุ ฆาตกกรรม (กรรมตดั รอน, กรรมทแ่ี รง ฝา ยตรงขา มกบั ชนกกรรมและอปุ ต ถมั ภกกรรม เขาตดั รอนการใหผลของกรรมสองอยางนัน้ ใหขาดไปเสยี ทีเดียว เชน เกิดในตระกูลสงู มง่ั คั่ง แตอ ายสุ ้ัน เปนตน — Upaghàtaka-kamma: destructive kamma; supplanting kamma) หมวดท่ี 3 วา โดยปากทานปริยาย คือ จําแนกตามความยักเย้อื งหรอื ลําดับความแรงใน การใหผล (classification according to the order of ripening) 9. ครกุ กรรม (กรรมหนกั ใหผ ลกอ น ไดแ ก สมาบตั ิ 8 หรอื อนนั ตรยิ กรรม — Garuka-kamma: weighty kamma) 10. พหุลกรรม หรอื อาจณิ ณกรรม (กรรมทํามากหรือกรรมชิน ใหผ ลรองจากครุกกรรม

[339] 250 พจนานุกรมพุทธศาสตร— Bahula-kamma or âciõõa-kamma: habitual kamma)11. อาสนั นกรรม (กรรมจวนเจยี น หรอื กรรมใกลตาย คือกรรมทาํ เมือ่ จวนจะตายจบั ใจอยูใหมๆ ถา ไมมี 2 ขอ กอน ก็จะใหผลกอนอื่น — âsanna-kamma: death-threshold kamma;proximate kamma)12. กตตั ตากรรม หรอื กตตั ตาวาปนกรรม (กรรมสกั วา ทาํ , กรรมทท่ี าํ ไวด ว ยเจตนาอนั ออ นหรอื มใิ ชเ จตนาอยา งนน้ั โดยตรง ตอ เมอื่ ไมม กี รรมอน่ื ใหผ ลแลว กรรมนจ้ี งึ จะใหผ ล — Katattà-kamma or Katattàvàpana-kamma: reserve kamma; casual act) กฏตั ตากรรม กเ็ ขยี น กรรม 12 หรอื กรรมส่ี 3 หมวดนี้ มไิ ดมมี าในบาลใี นรปู เชนนโี้ ดยตรง พระอาจารยส มัยตอมา เชน พระพทุ ธโฆษาจารย เปนตน ไดรวบรวมมาจดั เรยี งเปน แบบไวใ นภายหลงั .Vism.601; Comp.144. วิสทุ ธฺ .ิ 3/223; สงคฺ ห.28.[339] จักรวรรดิวัตร 5, 12 (วตั รของพระเจา จกั รพรรด,ิ พระจรยิ าทพ่ี ระจกั รพรรดพิ งึทรงบําเพ็ญสม่ําเสมอ, ธรรมเนียมการทรงบําเพ็ญพระราชกรณียของพระเจาจักรพรรดิ, หนาท่ีของนกั ปกครองผยู งิ่ ใหญ — Cakkavatti-vatta: duties of a universal king or a great ruler)1. ธรรมาธปิ ไตย (ถือธรรมเปน ใหญ เคารพนบั ถอื บูชายาํ เกรงธรรม ยดึ ธรรมเปน หลัก เปนธงชยั เปนธรรมาธปิ ไตย — Dhammàdhipateyya: supremacy of the law of truth andrighteousness; rule of the Dhamma; rule of the true law) (1) และ2. ธรรมิการักขา (จัดการรักษาปองกันและคุมครองอันชอบธรรมและเปนธรรม —Dhammikàrakkhà: provision of the right watch, ward and protection) ก. อนั โตชน (แกช นภายใน ต้ังแตพ ระมเหสี โอรส ธิดา จนถงึ ผูปฏบิ ตั ริ าชการในพระองค ทงั้ หมด คอื คนในปกครองสว นตวั ตง้ั แตบ ตุ รธดิ าเปน ตน ไป ดว ยใหก ารบาํ รงุ เลย้ี งอบรม สงั่ สอนเปนตน ใหอยโู ดยเรยี บรอ ยสงบสุข และมีความเคารพนบั ถอื กัน — for one’s own folk) (2)ข. พลกาย (แกก องทพั คือ ปวงเสนาขาทหาร, ขา ราชการฝายทหาร — for the army; the armed forces; military personnel) (3)ค. ขัตติยะ (แกกษัตริยท้ังหลายผูอยูในพระบรมเดชานุภาพ, เจาเมืองข้ึน, ปจจุบัน สงเคราะหช นชัน้ ปกครองและนักบรหิ ารช้นั ผใู หญท ้ังหลาย, ขา ราชการฝา ยปกครอง — for colonial kings; administrative officers) (4)ง. อนุยนต (แกผ ูตามเสดจ็ คือ ราชบริพารทั้งหลาย, ปจจุบันควรสงเคราะหขา ราชการฝาย พลเรอื นเขา ทง้ั หมด — for the royal dependants; civil servants) (5)จ. พราหมณคฤหบดี (แกช นเจา พธิ ี เจา ตาํ รา พอ คา เจา ไรเ จา นา คอื ครอู าจารย นกั วชิ าการ หมอ พอคา ผูประกอบวิชาชีพตางๆ และเกษตรกร ดวยชวยจัดหาทุนและอุปกรณ เปน ตน — for brahmins and householders; the professional, traders and the agricultural) (6)

หมวดเกิน 10 251 [339] ฉ. เนคมชานบท (แกช าวนิคมชนบท คือ ราษฎรทัง้ ปวงทุกทอ งถิ่นตลอดถึงชายแดนท่ัวไป ไมท อดทงิ้ — for town and country dwellers; townsmen and villagers; upcountry people) (7) ช. สมณพราหมณ (แกพ ระสงฆแ ละบรรพชติ ผทู รงศลี ทรงคณุ ธรรม — for the religious) (8) ญ.มคิ ปกษี (แกมฤคและปกษี คือ สตั วอ ันควรสงวนทง้ั หลาย — for beasts and birds) (9)3. อธรรมการนเิ สธนา (หา มกน้ั มใิ หม กี ารอนั อธรรมเกดิ ขนึ้ ในพระราชอาณาเขต คอื จดั การปอ งกนัแกไ ข มใิ หม กี ารกระทาํ ความผดิ ความชวั่ รา ยเดอื ดรอ นเกดิ ขน้ึ ในบา นเมอื ง — Adhammakàra-nisedhanà: to let no wrongdoing prevail in the kingdom) (10)4. ธนานปุ ระทาน (ปนทรพั ยเฉลย่ี ใหแ กช นผูไรทรพั ย มิใหมคี นขัดสนยากไรในแวน แควน —Dhanànuppadàna: to let wealth be given or distributed to the poor) (11)5. ปริปุจฉา (ปรึกษาสอบถามปญ หากับสมณพราหมณ ผูประพฤตดิ ี ปฏิบัติชอบ ผูไมประมาทมัวเมา อยูเสมอตามกาลอันควร เพ่ือใหรูชัดการอันดีชั่ว ควรประกอบหรือไม เปนไปเพ่ือประโยชนส ขุ หรือไม แลว ประพฤติปฏิบตั ิใหเ ปน ไปโดยถกู ตอง ขอนีป้ จจบุ นั สงเคราะหนักปราชญนักวชิ าการผทู รงคณุ ธรรมเขาดวย — Paripucchà: to go from time to time to see andseek advice from the men of religious life who maintain high moral standards; tohave virtuous counsellors and seek after greater virtue) (12) จกั รวรรดิวตั รน้ี มาใน จกั กวตั ตสิ ตู ร ตามทม่ี าทอ่ี าง ในพระบาลี คอื พระไตรปฎก ทา นไมระบุจํานวนขอ ไว แตน ับตามทต่ี รัสไว เปนหลักการทีย่ ดึ ถือหนึ่งขอ และหลกั ปฏิบัติ 4 ขอ จงึ รวมเปน 5 ขอ อยางไรกด็ ี ขอ ยอ ยที่แยกออกไปจากขอ 2 (ธรรมกิ ารักขา) แตล ะอยาง ในช้ันอรรถกถาคงเห็นวามคี วามสาํ คัญมาก และมีรายละเอยี ดวธิ ีปฏิบัตจิ ําเพาะตา งกันออกไป จงึ จัดเปน วัตรแตละขอ เทากันหมด นับได 12 ขอ ตามตวั เลขในวงเลบ็ ขางหลงั แตใ นอรรถกถาแหงพระสูตรนเ้ี อง (ที.อ.3/46) ทานจดั ตางออกไปดงั น้ี1. อนโฺ ตชนสมฺ ึ พลกายสมฺ ึ (สงเคราะหช นภายใน และพลกายกองทหาร)2. ขตตฺ ิเยสุ (สงเคราะหก ษตั รยิ เมอื งขึ้นท้ังหลาย)3. อนุยนเฺ ตสุ (สงเคราะหเ หลา เชอ้ื พระวงศ ผตู ามเสดจ็ เปน ราชบรพิ าร)4. พฺราหฺมณคหปตเิ กสุ (คมุ ครองพราหมณแ ละคฤหบดที งั้ หลาย)5. เนคมชานปเทสุ (คมุ ครองชาวราษฎรพน้ื เมืองท้งั หลาย)6. สมณพรฺ าหมฺ เณสุ (คุมครองเหลา สมณพราหมณ)7. มิคปกฺขีสุ (คมุ ครองเนือ้ นกทเ่ี อาไวสืบพันธ)ุ 8. อธมมฺ การปฏกิ เฺ ขโป (หามปรามมิใหม กี ารประพฤติการอนั ผดิ ธรรม)

[340] 252 พจนานกุ รมพุทธศาสตร 9. อธนานํ ธนานุปปฺ ทาน (ทาํ นุบํารงุ ผขู ดั สนไรทรัพย)10. สมณพรฺ าหมฺ เณ อปุ สงกฺ มติ วฺ า ปหฺ าปจุ ฉฺ น (เขา ไปหาและสอบถามปญ หากะสมณพราหมณ)11. อธมมฺ ราคสสฺ ปหาน (เวนความกําหนดั ในกามโดยอาการไมเ ปน ธรรม)12. วสิ มโลภสฺส ปหาน (เวน โลภกลา ไมเ ลอื กควรไมค วร) ที่จํากันมาสวนมาก ก็ถือตามนัยอรรถกถาน้ี อยางไรก็ดี ตามนัยน้ี ทานไมนับขอธรรมาธิปไตย เขา ในจํานวน 12 ขอ และเพม่ิ ขอ 11, 12 เขามาใหม ซ่ึงไมมีมาในบาลเี ดิม (ขอ11, 12 นี้ โดยเหตผุ ลนาจะมอี ยูแลวในหลักทศพธิ ราชธรรม)ดู [326] ราชธรรม 10 ดวย.D.III.61. ท.ี ปา.11/35/65.[340] ปฏิจจสมุปบาท มอี งคหรอื หัวขอ 12 (การเกิดขน้ึ พรอ มแหงธรรมท้ังหลายเพราะอาศยั กัน, ธรรมทีอ่ าศยั กันเกิดข้ึนพรอม, การที่สง่ิ ทง้ั หลายอาศัยกันๆ จงึ เกิดมีขนึ้ — Pañicca-samuppàda: the Dependent Origination; conditioned arising)1.–2. อวิชฺชาปจฺจยา สงฺขารา เพราะ อวิชชา เปน ปจจยั สังขาร จึงมี (Dependent on Ignorance arise Kamma-Formations.)3. สงฺขารปจจฺ ยา วิฺาณํ เพราะสงั ขารเปนปจ จยั วิญญาณ จึงมี (Dependent on Kamma-Farmations arises Consciousness.)4. วิฺาณปจฺจยา นามรปู  เพราะวิญญาณเปนปจ จัย นามรปู จงึ มี (Dependent on Consciousness arise Mind and Matter.)5. นามรูปปจฺจยา สฬายตนํ เพราะนามรปู เปนปจ จัย สฬายตนะ จงึ มี (Dependent on Mind and Matter arise the Six Sense-Bases.)6. สฬายตนปจจฺ ยา ผสฺโส เพราะสฬายตนะเปนปจจยั ผสั สะ จึงมี (Dependent on the Six Sense-Bases arises Contact.)7. ผสฺสปจจฺ ยา เวทนา เพราะผัสสะเปนปจ จัย เวทนา จงึ มี (Dependent on Contact arises Feeling.)8. เวทนาปจจฺ ยา ตณฺหา เพราะเวทนาเปน ปจ จัย ตณั หา จงึ มี (Dependent on Feeling arises Craving.)9. ตณฺหาปจจฺ ยา อุปาทานํ เพราะตณั หาเปนปจจัย อุปาทาน จงึ มี (Dependent on Craving arises Clinging.)10. อุปาทานปจจฺ ยา ภโว เพราะอุปาทานเปนปจจัย ภพ จงึ มี (Dependent on Clinging arises Becoming.)11. ภวปจจฺ ยา ชาติ เพราะภพเปน ปจ จัย ชาติ จึงมี (Dependent on Becoming arisesBirth.)

หมวดเกนิ 10 253 [340]12. ชาตปิ จจฺ ยา ชรามรณํ เพราะชาตเิ ปนปจ จัย ชรามรณะ จึงมี (Dependent on Birth arise Decay and Death.) โสกปรเิ ทวทุกขฺ โทมนสสฺ ุปายาสา สมฺภวนตฺ ิ ความโศก ความครํา่ ครวญ ทุกข โทมนสั และความคบั แคนใจ ก็มีพรอ ม (There also arise sorrow, lamentation, pain, grief and despair.) เอวเมตสฺส เกวลสฺส ทุกฺขกฺขนฺธสสฺ สมุทโย โหติ. ความเกิดขน้ึ แหง กองทกุ ขท ั้งปวงน้ี จงึ มดี ว ยประการฉะนี้ (Thus arises this whole mass of suffering.) แสดงตามลาํ ดับ จากตนไปหาปลายอยางนี้ เรียกวา อนโุ ลมเทศนา (teaching in forwardorder) ถาแสดงยอนกลับจากปลายมาหาตน วา ชรามรณะเปน ตน มเี พราะชาตเิ ปน ปจ จัย ชาตมิ ีเพราะภพเปน ปจ จยั ฯลฯ สังขารมีเพราะอวิชชาเปนปจจยั เรยี กวา ปฏโิ ลมเทศนา (teaching inbackward order) องค (factors) หรอื หัวขอ 12 นัน้ มคี วามหมายโดยสงั เขป ดังนี้1. อวชิ ชา (Avijjà: ignorance) ความไมรู คอื ไมรูใ นอรยิ สัจจ 4 หรอื ตามนัยอภิธรรมวา อวิชชา 8 ดู [208] อวิชชา 4; [209] อวิชชา 82. สังขาร (Saïkhàra: kamma-formations) สภาพที่ปรุงแตง ไดแ ก [120] สังขาร 3 2 หรือ [129] อภิสงั ขาร 33. วิญญาณ (Vi¤¤àõa: consciousness) ความรูแจงอารมณ ไดแ ก [268] วญิ ญาณ 64. นามรปู (Nàma-råpa: mind and matter) นามและรูป ไดแก เวทนา สญั ญา เจตนา ผัสสะ มนสกิ าร หรอื ตามนัยอภธิ รรมวา นามขนั ธ 3 + รปู ดู [216] ขนั ธ 5 (ขอ 2, 3, 4); [38] รปู 21, 28; [39] มหาภตู หรอื ภตู รปู 4; [40] อปุ าทารปู หรอื อปุ าทายรปู 24; [41] รปู 225. สฬายตนะ (Saëàyatana: six sense-bases) อายตนะ 6 ไดแก [276] อายตนะภายใน 66. ผสั สะ (Phassa: contact) ความกระทบ, ความประจวบ ไดแ ก [272] สัมผสั 67. เวทนา (Vedanà: feeling) ความเสวยอารมณ ไดแ ก [113] เวทนา 68. ตณั หา (Taõhà: craving) ความทะยานอยาก ไดแ ก ตัณหา 6 มีรปู ตัณหา เปนตน (ตณั หา ในรปู ในเสียง ในกลิ่น ในรส ในสัมผัสทางกาย และในธรรมารมณ) ดู [74] ตัณหา 3 ดวย9. อปุ าทาน (Upàdàna: clinging; attachment) ความยดึ มน่ั ไดแก [214] อปุ าทาน 410. ภพ (Bhava: becoming) ภาวะชวี ติ ไดแ ก [98] ภพ 3 อกี นยั หนง่ึ วา ไดแ ก กรรมภพ (ภพ คอื กรรม — active process of becoming ตรงกบั [129] อภสิ งั ขาร 3) กบั อปุ ปต ตภิ พ (ภพคอื ทอ่ี บุ ตั ิ — rebirth-process of becoming ตรงกบั [98] ภพ 3)11. ชาติ (Jàti: birth) ความเกิด ไดแก ความปรากฏแหง ขนั ธท ง้ั หลาย การไดอายตนะ12. ชรามรณะ (Jarà-maraõa: decay and death) ความแกแ ละความตาย ไดแ ก ชรา (ความ

[340] 254 พจนานุกรมพุทธศาสตร เสอื่ มอาย,ุ ความหงอ มอนิ ทรยี ) กบั มรณะ (ความสลายแหง ขนั ธ, ความขาดชวี ติ นิ ทรยี ) ทง้ั 12 ขอ เปน ปจ จยั ตอ เนอ่ื งกนั ไป หมนุ เวยี นเปน วงจร ไมม ตี น ไมม ปี ลาย เรยี กวา ภวจกั ร(วงลอ หรอื วงจรแหง ภพ — Bhava-cakka: wheel of existence) และมขี อ ควรทราบเกยี่ วกบัภวจกั รอกี ดงั น้ีก.อัทธา 3 (Addhà: periods; times) คอื กาล 3 ไดแ ก 1) อดีต = อวชิ ชา สงั ขาร 2) ปจจบุ นั = วญิ ญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา ตัณหา อุปาทาน ภพ 3) อนาคต = ชาติ ชรา มรณะ (+ โสกะ ฯลฯ)ข. สงั เขป หรอื สงั คหะ 4 (Saïkhepa or Saïgaha: sections; divisions) คอื ชวง หมวด หรือ กลุม 4 ไดแก 1) อดีตเหตุ = อวชิ ชา สังขาร 2) ปจจุบนั ผล = วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา 3) ปจจบุ ันเหตุ = ตัณหา อปุ าทาน ภพ 4) อนาคตผล = ชาติ ชรามรณะ (+ โสกะ ฯลฯ)ค. สนธิ 3 (Sandhi: links; connection) คอื ขวั้ ตอ ระหวางสงั เขปหรอื ชวงท้งั 4 ไดแก 1) ระหวาง อดตี เหตุ กบั ปจจบุ นั ผล 2) ระหวาง ปจ จบุ นั ผล กบั ปจ จบุ นั เหตุ 3) ระหวาง ปจจบุ นั เหตุ กับ อนาคตผลง. วฏั ฏะ 3 ดู [105] วัฏฏะ 3จ. อาการ 20 (âkàra: modes; spokes; qualities) คอื องคป ระกอบแตละอยา ง อันเปนดุจ กาํ ของลอ จําแนกตามสวนเหตุ (causes) และสว นผล (effects) ไดแก 1) อดีตเหตุ 5 = อวชิ ชา สงั ขาร ตณั หา อุปาทาน ภพ 2) ปจ จุบนั ผล 5 = วญิ ญาณ นามรปู สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา 3) ปจ จุบันเหตุ 5 = อวิชชา สงั ขาร ตณั หา อุปาทาน ภพ 4) อนาคตผล 5 = วญิ ญาณ นามรปู สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา อาการ 20 นี้ ก็คือ หวั ขอท่ีกระจายใหเ ต็ม ในทกุ ชว งของสงั เขป 4 น่นั เองฉ. มลู 2 (Måla: roots) คอื กิเลสทีเ่ ปน ตวั มลู เหตุ ซึ่งกาํ หนดเปน จุดเร่มิ ตน ในวงจรแตละชว ง ได แก 1) อวิชชา เปนจุดเริ่มตน ในชว งอดตี สง ผลถึงเวทนาในชวงปจ จุบนั 2) ตณั หา เปน จดุ เร่ิมตนในชว งปจจุบัน สงผลถึงชรามรณะในชวงอนาคต พงึ สังเกตดว ยวา การกลาวถึงสว นประกอบของภวจักรตามขอ ก. ถึง ฉ. นี้ เปนคาํ อธิบายใน

หมวดเกิน 10 255 [340]คัมภรี รุนหลงั เชน อภิธมั มตั ถสังคหะ เปนตน การแสดงหลกั ปฏจิ จสมปุ บาท ใหเ หน็ ความเกดิ ขน้ึ แหง ธรรมตา งๆ โดยอาศยั ปจ จยั สบื ทอดกนัไปอยา งนี้ เปน สมทุ ยวาร คอื ฝา ยสมทุ ยั ใชเ ปน คาํ อธบิ ายอรยิ สจั จข อ ท่ี 2 (สมทุ ยั สจั จ) คอื แสดงใหเ หน็ ความเกดิ ขน้ึ แหง ทกุ ข ปฏจิ จสมปุ บาททแี่ สดงแบบนี้ เรยี กวา อนโุ ลมปฏจิ จสมปุ บาท (directDependent Origination) การแสดงในทางตรงขา มกบั ขา งตน น้ี เปน นโิ รธวาร คอื ฝา ยนโิ รธ ใชอธิบายอริยสจั จข อที่ 3(นโิ รธสจั จ) เรยี กวา ปฏิโลมปฏิจจสมุปบาท (reverse Dependent Origination ซึ่งความจรงิ ก็คือ Dependent Extinction น่ันเอง) แสดงใหเห็นความดบั ไปแหง ทกุ ข ดวยอาศัยความดับไปแหงปจจัยท้ังหลายสืบทอดกันไป ตัวบทของปฏิจจสมุปบาทแบบปฏิโลมน้ี พึงเทียบจากแบบอนโุ ลมนน่ั เอง เชน1.–2. อวิชชฺ าย เตฺวว อเสสวริ าคนิโรธา สงขฺ ารนโิ รโธ เพราะอวชิ ชาสํารอกดับไปไมเ หลือ สงั ขารจึงดบั (Through the total fading away and cessation of ignorance, cease kamma- formations.)3. สงฺขารนโิ รธา วิฺาณนิโรโธ เพราะสังขารดับ วญิ ญาณจึงดับ (Through the cessation of kamma-formations, ceases consciousness.) ฯลฯ12. ชาตนิ โิ รธา ชรามรณํ เพราะชาตดิ บั ชรามรณะ (จงึ ดบั ) (Through the cessation of birth, cease decay and death.) โสกปรเิ ทวทกุ ขฺ โทมนสสฺ ปุ ายาสา นริ ุชฌฺ นตฺ ิ ความโศก ความคราํ่ ครวญ ทุกข โทมนสั ความคับแคนใจ ก็ดบั (Also cease sorrow, lamentation, pain, grief and despair.) เอวเมตสฺส เกวลสฺส ทกุ ขฺ กขฺ นธฺ สฺส นิโรโธ โหต.ิ ความดับแหงกองทุกขท ั้งปวงนี้ ยอมมดี ว ยประการฉะน้ี (Thus comes about the cessation of this whole mass of suffering.) นี้เปน อนโุ ลมเทศนา ของปฏโิ ลมปฏจิ จสมปุ บาท สวน ปฏิโลมเทศนา ก็พงึ แสดงยอ นวา ชรามรณะ เปนตน ดับ เพราะชาตดิ ับ ชาติดบั เพราะภพดับ ฯลฯ สงั ขารดบั เพราะอวิชชาดับ อยางเดียวกบั ในอนโุ ลมปฏจิ จสมุปบาท ปฏจิ จสมปุ บาทนี้ มชี อื่ เรยี กอยา งอนื่ อกี ทสี่ าํ คญั คอื อทิ ปั ปจ จยตา (ภาวะทมี่ อี นั นๆ้ี เปน ปจ จยั— Idappaccayatà: specific conditionality) ธรรมนยิ าม (ความเปน ไปอนั แนน อนแหง ธรรมดา,กฎธรรมชาติ — Dhammaniyàma: orderliness of nature; natural law) และ ปจ จยาการ(อาการทสี่ ง่ิ ทงั้ หลายเปน ปจ จยั แกก นั — Paccayàkàra: mode of conditionality; structure of

[341] 256 พจนานกุ รมพุทธศาสตรconditions) เฉพาะชอื่ หลงั นเ้ี ปน คาํ ทนี่ ยิ มใชใ นคมั ภรี อ ภธิ รรม และคมั ภรี ร นุ อรรถกถา.Vin.I.1; S.II.1; Vbh.135; Vism.517; Comp.188 วนิ ย.4/1/1; ส.ํ นิ.16/1/1; อภิ.วิ.35/274/185; วิสทุ ธฺ .ิ 3/107; สงฺคห.45.[,,,] ปจจยาการ 12 ดู [340] ปฏจิ จสมุปบาท.[,,,] สันโดษ 12 ดู [122] สนั โดษ 3, 12[341] อายตนะ 12 (ส่ิงท่เี ชื่อมตอกันใหเกิดความรู, แดนตอ หรอื แดนเกดิ แหง ความรู —âyatana: sense-fields; sense-spheres)1. อายตนะภายใน 6 ดู [276] อายตนะภายใน 6.2. อายตนะภายนอก 6 ดู [277] อายตนะภายนอก 6.Vbh.70. อภิ.วิ.35/99/85.[342] ธุดงค 13 (องคค ุณเคร่อื งสลัดหรือกาํ จดั กเิ ลส, ขอ ปฏบิ ตั ปิ ระเภทวัตรที่ผสู มคั รใจจะพึงสมาทานประพฤติได เพื่อเปนอุบายขัดเกลากิเลส ชวยสงเสริมความมักนอยและสันโดษเปนตน — Dhutaïga: means of shaking off or removing defilements; austerepractices; ascetic practices) หมวดที่ 1 จีวรปฏิสังยุตต (เก่ียวกับจีวร — connected with robes)1. ปงสุกูลิกังคะ (องคแหงผูถือทรงผาบงั สุกุลเปน วัตร คําสมาทานโดยอธิษฐานใจหรือเปลงวาจาวา “คหปติจวี รํ ปฏิกขฺ ปิ ามิ, ปส ุกูลกิ งคฺ ํ สมาทยิ าม”ิ แปลวา “เรางดคฤหบดีจวี ร สมาทานองคแ หง ผ—ู ” — Pa§sukålikaïga: refuse-rag-wearer’s practice)2. เตจวี รกิ งั คะ (องคแ หง ผถู อื ทรงเพยี งไตรจวี รเปน วตั ร คาํ สมาทานวา “จตตุ ถฺ จวี รํ ปฏิกขฺ ปิ าม,ิเตจวี รกิ งคฺ ํ สมาทยิ าม”ิ แปลวา “ขา พเจา งดจวี รผนื ที่ 4 สมาทานองคแ หง ผ—ู ” —Tecãvarikaïga:triple-robe-wearer’s practice) หมวดที่ 2 ปณ ฑปาตปฏิสงั ยตุ ต (เก่ยี วกบั บณิ ฑบาต — connected with almsfood)3. ปณฑปาติกังคะ (องคแหงผูถือเท่ียวบิณฑบาตเปนวัตร คําสมาทานวา “อติเรกลาภํปฏกิ ขฺ ปิ ามิ, ปณฺฑปาติกงคฺ ํ สมาทิยาม”ิ แปลวา “ขาพเจางดอตเิ รกลาภ สมาทานองคแหง ผ—ู ”— Piõóapàtikaïga: alms-food-eater’s practice)4. สปทานจาริกังคะ (องคแหงผูถือเที่ยวบิณฑบาตไปตามลําดับเปนวัตร คําสมาทานวา“โลลุปปฺ จารํ ปฏกิ ฺขปิ ามิ, สปทานจารกิ งคฺ ํ สมาทิยามิ” แปลวา “ขา พเจา งดการเที่ยวตามใจอยากสมาทานองคแหง ผ—ู ” — Sapadànacàrikaïga: house-to-house-seeker’s practice)5. เอกาสนิกงั คะ (องคแหง ผถู ือนัง่ ฉนั ณ อาสนะเดียวเปน วัตร คือฉนั วันละมอื้ เดยี ว ลกุ จากที่แลวไมฉ นั อกี คาํ สมาทานวา “นานาสนโภชนํ ปฏิกฺขปิ ามิ, เอกาสนิกงฺคํ สมาทยิ าม”ิ แปลวา“ขา พเจา งดการฉนั ณ ตา งอาสนะ สมาทานองคแ หง ผ—ู ” — Ekàsanikaïga: one-sessioner’spractice)

หมวดเกนิ 10 257 [342]6. ปตตปณ ฑิกังคะ (องคแ หงผูถือฉนั เฉพาะในบาตรเปน วัตร คือ ไมใ ชภาชนะใสอาหารเกนิ 1อยางคือบาตร คาํ สมาทานวา “ทุตยิ ภาชนํ ปฏิกขฺ ปิ ามิ, ปตตฺ ปณฺฑิกงฺคํ สมาทิยาม”ิ แปลวา“ขา พเจางดภาชนะที่สอง สมาทานองคแ หง ผู—” — Pattapiõóikaïga: bowl-food-eater’spractice)7. ขลปุ จ ฉาภตั ตกิ งั คะ (องคแ หง ผถู อื หา มภตั ทถี่ วายภายหลงั เปน วตั ร คอื เมอื่ ไดป ลงใจกาํ หนดอาหารทเ่ี ปน สว นของตน ซงึ่ เรยี กวา หา มภตั ดว ยการลงมอื ฉนั เปน ตน แลว ไมร บั อาหารทเ่ี ขานาํ มาถวายอกี แมจ ะเปน ของประณตี คาํ สมาทานวา “อตริ ติ ตฺ โภชนํ ปฏกิ ขฺ ปิ าม,ิ ขลปุ จฉฺ าภตตฺ กิ งคฺ ํสมาทยิ าม”ิ แปลวา “ขา พเจา งดโภชนะอนั เหลอื เฟอ สมาทานองคแ หง ผ—ู ” — Khalupacchà-bhattikaïga: later-food-refuser’s practice) หมวดที่ 3 เสนาสนปฏสิ งั ยตุ ต (เกย่ี วกบั เสนาสนะ — connected with the resting place)8. อารญั ญิกงั คะ (องคแหงผูถ ืออยูปา เปนวตั ร อยูห างบา นคนอยางนอ ย 500 ชั่วธนู คือ 25เสน คาํ สมาทานวา “คามนฺตเสนาสนํ ปฏิกฺขิปาม,ิ อารฺกิ งคฺ ํ สมาทยิ าม”ิ แปลวา “ขา พเจางดเสนาสนะชายบาน สมาทานองคแหงผู—” — âra¤¤ikaïga: forest-dweller’s practice)9. รกุ ขมลู กิ งั คะ (องคแ หง ผถู อื อยโู คนไมเ ปน วตั ร คาํ สมาทานวา “ฉนนฺ ํ ปฏกิ ขฺ ปิ าม,ิ รกุ ขฺ มลู กิ งคฺ ํสมาทยิ าม”ิ แปลวา “ขา พเจา งดทมี่ งุ บงั สมาทานองคแ หง ผ—ู ” — Rukkhamålikaïga: tree-root-dweller’s practice)10. อพั โภกาสิกังคะ (องคแหง ผถู อื อยูทแ่ี จงเปนวตั ร คําสมาทานวา “ฉนนฺ จฺ รกุ ขฺ มลู ฺจปฏกิ ฺขิปาม,ิ อพฺโภกาสิกงฺคํ สมาทิยาม”ิ แปลวา “ขาพเจางดทม่ี ุงบังและโคนไม สมาทานองคแ หงผ—ู ” — Abbhokàsikaïga: open-air-dweller’s practice)11. โสสานิกังคะ (องคแหงผูถืออยูปาชาเปนวัตร คําสมาทานวา “อสุสานํ ปฏิกฺขิปามิ,โสสานกิ งคฺ ํ สมาทยิ าม”ิ แปลวา “ขา พเจา งดทมี่ ใิ ชป า ชา สมาทานองคแ หง ผ—ู ” — Sosànikaïga:charnel-ground-dweller’s practice)12. ยถาสนั ถตกิ งั คะ (องคแ หง ผถู อื อยใู นเสนาสนะแลว แตเ ขาจดั ให คาํ สมาทานวา “เสนาสน-โลลปุ ปฺ  ปฏกิ ขฺ ปิ าม,ิ ยถาสนถฺ ตกิ งคฺ ํ สมาทยิ าม”ิ แปลวา “ขา พเจา งดความอยากเอาแตใ จในเสนาสนะสมาทานองคแหง ผ—ู ” — Yathàsanthatikaïga: any-bed-user’s practice) หมวดที่ 4 วริ ิยปฏสิ งั ยุตต (เก่ียวกับความเพยี ร — connected with energy)13. เนสัชชิกงั คะ (องคแหง ผูถือการน่ังเปนวัตร คือเวนนอน อยูด วยเพียง 3 อิรยิ าบถ คําสมาทานวา “เสยฺยํ ปฏกิ ขฺ ปิ าม,ิ เนสชชฺ กิ งคฺ ํ สมาทิยาม”ิ แปลวา “ขา พเจา งดการนอน สมาทานองคแหงผู— ” — Nesajjikaïga: sitter’s practice) ขอ ควรทราบเพิ่มเติมเกย่ี วกับธดุ งค 13ก. โดยยอ ธุดงคมี 8 ขอ เทาน้ัน คือ 1) องคหลัก 3 (สสี ังคะ — principal practices) คือ สปทานจาริกังคะ (เทา กบั ไดร ักษา ปณ ฑปาตกิ งั คะดว ย) เอกาสนกิ งั คะ (เทา กบั ไดร กั ษาปต ตปณ ฑกิ งั คะ และขลปุ จ ฉาภตั ตกิ งั คะ

[343] 258 พจนานกุ รมพุทธศาสตรดวย) และอัพโภกาสิกงั คะ (ทาํ ใหรุกขมูลกิ ังคะ กับยถาสนั ถติกังคะ หมดความจาํ เปน)2) องคเ ดยี่ วไมค าบเกย่ี วขอ อนื่ 5 (อสมั ภนิ นงั คะ — individual practices) คอื อารญั ญกิ งั คะปง สกุ ลู กิ งั คะ เตจวี รกิ งั คะ เนสชั ชกิ งั คะ และโสสานกิ งั คะข. โดยนสิ สยั คอื ทอ่ี าศยั (dependence) มี 2 คอื ปจ จยั นสิ ติ 12 (อาศยั ปจ จยั — dependent on requisites) กบั วิริยนสิ ติ 1 (อาศัยความเพยี ร — dependent on energy)ค. โดยบุคคลผถู ือ1) ภกิ ษุ ถอื ไดท ้งั 13 ขอ2) ภิกษณุ ี ถอื ได 8 ขอ (คอื ขอ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 12, 13)3) สามเณร ถอื ได 12 ขอ (คือเวนขอ 2 เตจวี รกิ ังคะ)4) สกิ ขมานาและสามเณรี ถือได 7 ขอ (คอื ลดขอ 2 ออกจากท่ภี ิกษุณถี อื ได)5) อุบาสกอบุ าสกิ า ถือได 2 ขอ (คอื ขอ 5 และ 6)ง. โดยระดับการถือ แตล ะขอ ถอื ได 3 ระดับ คือ1) อยา งอุกฤษฎ หรืออยางเครง เชน ผถู อื อยูปา ตองใหไดอ รุณในปาตลอดไป2) อยา งมธั ยม หรอื อยา งกลาง เชน ผถู อื อยปู า อยใู นเสนาสนะชายบา นตลอดฤดฝู น 4 เดอื น ที่เหลืออยปู า3) อยา งออ น หรอื อยา งเพลา เชน ผถู อื อยปู า อยใู นเสนาสนะชายบา นตลอดฤดฝู นและหนาวรวม 8 เดือนจ. ขอ 9 และ 10 คือ รกุ ขมูลกิ งั คะ และอพั โภกาสกิ งั คะ ถอื ไดเฉพาะนอกพรรษา เพราะวินยั กําหนดใหต องถอื เสนาสนะในพรรษาฉ. ธุดงคไ มใ ชบ ทบญั ญัติทางวินยั ขึน้ กบั ความสมคั รใจ มีหลักทั่วไปในการถือวา ถา ถอื แลวชว ย ใหก รรมฐานเจรญิ หรือชวยใหกุศลธรรมเจรญิ อกุศลธรรมเสอื่ ม ควรถือ ถา ถือแลวทาํ ให กรรมฐานเส่อื ม หรอื ทาํ ใหกุศลธรรมเสอ่ื ม อกศุ ลธรรมเจรญิ ไมค วรถือ สวนผทู ่ีถอื หรอื ไมถ ือ กไ็ มท ําใหกรรมฐานเจริญหรือเส่ือม เชน เปน พระอรหันตแลว อยา งพระมหากัสสปะ เปนตน หรอื คนอน่ื ๆ กต็ าม ควรถอื ได ฝายแรกควรถือในเมอ่ื คดิ จะอนุเคราะหช ุมชนในภายหลงั ฝาย หลงั เพอื่ เปนวาสนาตอไปช. ธุดงคทม่ี าในบาลเี ดิม ไมพบครบจํานวนในทเ่ี ดียว (ทีพ่ บจาํ นวนมาก คอื ม.อ.ุ 14/186/138;M.III.40 มขี อ 1, 3, 5, 8, 9, 10, 11, 12, 13; องฺ.ทสก.24/181/245; A.V.219 มีขอ 1, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12, 13;ข.ุ ม.29/918/584; Nd1188 มขี อ 1, 2, 3, 4, 7, 8, 12, 13) นอกจากคมั ภีรปรวิ าร (วนิ ย.8/982/330; 1192/475;Vin.V.131,198) ซึ่งมหี ัวขอครบถวน สวนคําอธิบายทั้งหมดพึงดูในคัมภีรวสิ ทุ ธิมัคค.Vism.59–83. วสิ ุทธฺ .ิ 1/73–104.[343] กิจ หรอื วิญญาณกิจ 14 (กจิ ของวญิ ญาณ, หนา ทข่ี องจติ — Vi¤¤àõa-kicca:functions of consciousness; psychic functions)

หมวดเกิน 10 259 [344]1. ปฏิสนธิ (หนา ทส่ี ืบตอภพใหม ไดแกจ ิต 19 คอื อเุ บกขาสนั ตรี ณะ 2 มหาวบิ าก 8 รปู วบิ าก5 อรปู วิบาก 4 — Pañisandhi: re-linking; rebirth-linking)2. ภวังคะ (หนาที่เปนองคของภพ ไดแ กจติ 19 อยางเดยี วกับปฏสิ นธิ — Bhavaïga: life-continuum; factor of being)3. อาวัชชนะ (หนา ที่คํานึงอารมณใหม ไดแก จติ 2 คอื ปญจทวาราวัชชนะ และมโนทวารา-วชั ชนะ — âvajjana: apprehending; adverting)4. ทัสสนะ (หนาท่ีเหน็ รูป ไดแ ก จักขวุ ิญญาณ 2 — Dassana: seeing)5. สวนะ (หนาทไ่ี ดยนิ เสยี ง ไดแ ก โสตวิญญาณ 2 — Savana: hearing)6. ฆายนะ (หนา ทีร่ กู ลิ่น ไดแก ฆานวิญญาณ 2 — Ghàyana: smelling)7. สายนะ (หนา ทีล่ ิ้มรส ไดแก ชิวหาวิญญาณ 2 — Sàyana: tasting)8. ผสุ นะ (หนา ทถี่ กู ตอ งโผฏฐพั พะ ไดแ ก กายวญิ ญาณ 2 — Phusana: contacting; touching)9. สมั ปฏิจฉนะ (หนา ที่รบั อารมณ ไดแก สมั ปฏจิ ฉนะ 2 — Sampañicchana: receiving)10. สันตรี ณะ (หนา ท่พี จิ ารณาอารมณ ไดแ ก สนั ตรี ณะ 3 — Santãraõa: investigating)11. โวฏฐพั พนะ หรอื โวฏฐปนะ (หนา ทต่ี ดั สนิ อารมณ ไดแ ก มโนทวาราวชั ชนะ 1 — Voññhapana:determining)12. ชวนะ (หนา ทแ่ี ลน เสพอารมณ อนั เปน ชว งทท่ี าํ กรรม ไดแ ก จติ 55 คอื กศุ ลจติ 21, อกศุ ลจติ 12, กริ ยิ าจติ 18 คอื เวน อาวชั ชนะทง้ั สอง โลกตุ ตรผลจติ 4 — Javana: apperception;impulsion)13. ตทาลมั พนะ (หนา ที่รับอารมณต อจากชวนะกอ นตกภวงั ค ไดแก จติ 11 คอื มหาวิบาก 8สันตรี ณะ 3 — Tadàlambana: retention; registration)14. จตุ ิ (หนา ทเี่ คลอ่ื นจากภพปจ จบุ นั ไดแ ก จติ 19 อยา งเดยี วกบั ในปฏสิ นธิ — Cuti: decease;death; shifting) จดั โดยฐานทจ่ี ติ ทาํ กจิ 14 นี้ มี 10 คอื รวมขอ 4, 5, 6, 7, 8 เปน ขอ เดยี ว คอื ปญ จวญิ ญาณ-ฐาน (fivefold sense-impressions) นอกนนั้ คงชอื่ เดมิ กจิ 14 นี้ ในวิสุทธิมคั คเรียกวา วญิ ญาณปวตั ติ หรอื วิญญาณปวัตติอาการ (อาการที่วญิ ญาณเปนไป — modes of occurrence of consciousness)ดู [356] จิต 89.Vism.457; Comp.114. วิสุทธฺ .ิ 3/29; สงฺคห.15[344] จรณะ 15 (ความประพฤติ, ปฏิปทา, ขอ ปฏิบตั อิ นั เปนทางบรรลวุ ิชชา หรือนพิ พาน— Caraõa: conduct; course of practice)1. สีลสมั ปทา (ความถงึ พรอ มดว ยศลี คอื ประพฤติถูกตอ งดงี าม สํารวมในพระปาฏิโมกข มีมารยาทเรยี บรอ ย ประพฤตเิ ครง ครดั ในสกิ ขาบททง้ั หลาย — Sãla-sampadà: accomplishment of

[345] 260 พจนานกุ รมพทุ ธศาสตรmorals)2. อปณ ณกปฏปิ ทา 3 ดู [128] อปณณกปฏปิ ทา 33. สทั ธรรม 7 ดู [301] สัปปุรสิ ธรรม 8 ขอ 1.4. ฌาน 4 ดู [9] ฌาน 4 ในบาลที ่มี า ทานเรยี กวา เปน เสขปฏปิ ทา คอื ขอ ปฏบิ ตั อิ นั เปนทางดาํ เนนิ ของพระเสขะ (alearner’s course of practice)M.I.354. ม.ม.13/26/26.[345] ญาณ 16 หรอื โสฬสญาณ (ความหย่ังรู ในทน่ี ้หี มายถึงญาณท่เี กดิ ข้ึนแกผ ูเจรญิ วปิ สสนาตามลําดับ ต้งั แตต น จนถงึ ทส่ี ดุ — Soëasa-¤àõa: insight; knowledge)1. นามรปู ปรจิ เฉทญาณ (ญาณกาํ หนดจาํ แนกรนู ามและรปู คอื รวู า สงิ่ ทง้ั หลายมแี ตร ปู ธรรมและนามธรรม และกาํ หนดแยกไดว า อะไรเปน รปู ธรรม อะไรเปน นามธรรม —Nàmaråpa-pariccheda-¤àõa: knowledge of the delimitation of mentality–materiality)2. ปจจยปรคิ คหญาณ (ญาณกาํ หนดรปู จ จัยของนามและรูป คอื รูวา รูปธรรมและนามธรรมท้ังหลายเกดิ จากเหตปุ จ จยั และเปน ปจจัยแกกัน อาศัยกัน โดยรูตามแนวปฏจิ จสมุปบาท ก็ดีตามแนวกฎแหงกรรมกด็ ี ตามแนววัฏฏะ 3 ก็ดี เปน ตน — Paccaya-pariggaha-¤àõa:knowledge of discerning the conditions of mentality–materiality)3. สัมมสนญาณ (ญาณกําหนดรูดว ยพิจารณาเห็นนามและรปู โดยไตรลักษณ คือ ยกรูปธรรมและนามธรรมท้งั หลายขึ้นพิจารณาโดยเหน็ ตามลกั ษณะท่เี ปน ของไมเท่ียง เปน ทกุ ข มิใชต วั ตน— Sammasana-¤àõa: knowledge of comprehending mentality–materiality asimpermanent, unsatisfactory and not-self)4.–12. ไดแก วปิ ส สนาญาณ 9 ดู [311]13. โคตรภูญาณ (ญาณครอบโคตร คือ ความหยัง่ รูที่เปนหวั ตอแหง การขามพน จากภาวะปุถชุ นเขา สูภาวะอริยบคุ คล — Gotrabhå-¤àõa: knowledge at the moment of the“Change-of-lineage”)14. มัคคญาณ (ญาณในอริยมรรค คือ ความหย่งั รูที่ใหสําเรจ็ ภาวะอรยิ บุคคลแตละขัน้ —Magga-¤àõa: knowledge of the Path)15. ผลญาณ (ญาณในอริยผล คอื ความหย่งั รทู ่ีเปน ผลสําเร็จของพระอรยิ บุคคลช้ันน้ันๆ —Phala-¤àõa: knowledge of Fruition)16. ปจจเวกขณญาณ (ญาณหย่งั รดู วยการพิจารณาทบทวน คอื สาํ รวจรมู รรคผล กเิ ลสท่ลี ะแลว กเิ ลสท่ีเหลืออยู และนพิ พาน เวนแตวาพระอรหนั ตไมมีการพิจารณากเิ ลสท่ียังเหลืออยู —Paccavekkhaõa-¤àõa: knowledge of reviewing)ในญาณ 16 นี้ 14 อยา ง (ขอ 1–13 และ 16) เปน โลกยี ญาณ, 2 อยาง (ขอ 14 และ 15)

หมวดเกนิ 10 261 [346] เปน โลกุตตรญาณ ญาณ 16 (บางทีเรยี กวา โสฬสญาณ ซ่ึงกแ็ ปลวาญาณ 16 นั่นเอง) ทจี่ ดั ลําดบั เปน ชุดและ เรียกชอื่ เฉพาะอยางน้ี มิใชม าในพระบาลีเดิมโดยตรง พระอาจารยใ นสายวงการวิปสสนาธุระได สอนสืบกนั มา โดยประมวลจากคัมภรี ป ฏิสมั ภทิ ามัคค และวิสุทธิมัคค ในกาลตอมา (พึงดู ขุ.ปฏิ.31/มาตกิ า/1–2 = Ps.1 และ วิสทุ ธฺ ิ.3/206–328 = Vism.587–678)[,,,] รูปพรหม หรอื พรหมโลก 16 ดู [351] ภมู ิ 4 หรือ 31.[,,,] โสฬสวัตถุกอานาปานสติ ดู [346] อานาปานสติ 16 ฐาน[,,,] อานาปานสติ 16 ขั้น ดู [346] อานาปานสติ 16 ฐาน[346] อานาปานสติ 16 ฐาน (สติกาํ หนดลมหายใจ, การเจริญอานาปานสติ คอื ใช สตกิ ําหนดลมหายใจเขา–ออก แบบท่เี ปน การเจรญิ สติปฏ ฐานไปดว ยครบทั้ง 4 — Soëasa– vatthuka-ànàpànassati: mindfulness of breathing with sixteen bases) จตุกกะที่ 1: กายานุปสสนา 1) ทฆี ํ วา อสสฺ สนฺโต ‘ทฆี ํ อสฺสสาม’ี ติ ปชานาต,ิ ทีฆํ วา ปสฺสสนฺโต ‘ทฆี ํ ปสฺสสามี’ติ ปชานาติ; 2) รสสฺ ํ วา อสฺสสนโฺ ต ‘รสฺสํ อสฺสสามี’ติ ปชานาต,ิ รสสฺ ํ วา ปสฺสสนโฺ ต ‘รสฺสํ ปสฺสสาม’ี ติ ปชานาต;ิ 3) ‘สพพฺ กายปฏสิ เํ วที อสสฺ สสิ สฺ าม’ี ติ สกิ ขฺ ต,ิ ‘สพพฺ กายปฏสิ เํ วที ปสฺสสิสฺสามี’ติ สกิ ขฺ ติ; 4) ‘ปสสฺ มภฺ ยํ กายสงขฺ ารํ อสฺสสิสฺสาม’ี ติ สิกฺขติ, ‘ปสฺสมภฺ ยํ กายสงขฺ ารํ ปสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขต.ิ 1) เม่อื หายใจเขายาว เธอกร็ ูชัดวา เราหายใจเขา ยาว หรอื เมอื่ หายใจออกยาว เธอก็รชู ดั วา เราหายใจออกยาว 2) เมื่อหายใจเขาสนั้ เธอก็รชู ัดวา เราหายใจเขาส้ัน หรือเมือ่ หายใจออกส้ัน เธอกร็ ูชดั วา เราหายใจออกสน้ั 3) เธอสําเหนยี กวา เราจกั รูท ่วั กาย(กองลม)ท้ังหมด หายใจเขา เธอสําเหนียกวา เราจกั รูท ่ัวกาย(กองลม)ทั้งหมด หายใจออก 4) เธอสาํ เหนยี กวา เราจกั ผอนระงับกายสังขาร หายใจเขา เธอสําเหนียกวา เราจกั ผอนระงับกายสงั ขาร หายใจออก 1. Breathing in long, he knows: “I am breathing in long”; or breathing out long, he knows: “I am breathing out long”.

[346] 262 พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร2. Breathing in short, he knows: “I am breathing in short”; or breathing out short, he knows: “I am breathing out short”.3. He trains thus: “Experiencing the entire (breath-) body, I shall breathe in”; he trains thus: “Experiencing the entire (breath-) body, I shall breathe out”.4. He trains thus: “Calming the bodily formation, I shall breathe in”; he trains thus: “Calming the bodily formation, I shall breathe out”. จตกุ กะที่ 2: เวทนานปุ ส สนา5) ‘ปต ิปฏสิ เํ วที อสฺสสิสสฺ าม’ี ติ สิกขฺ ต,ิ ‘ปติปฏสิ ํเวที ปสฺสสสิ สฺ าม’ี ติ สิกฺขต;ิ6) ‘สขุ ปฏิสเํ วที อสฺสสิสฺสาม’ี ติ สิกขฺ ต,ิ ‘สขุ ปฏิสเํ วที ปสสฺ สสิ ฺสามี’ติ สิกขฺ ต;ิ7) ‘จติ ฺตสงฺขารปฏสิ ํเวที อสสฺ สสิ ฺสามี’ติ สิกฺขติ, ‘จติ ตฺ สงขฺ ารปฏสิ เํ วที ปสสฺ สสิ สฺ าม’ี ติ สกิ ขฺ ติ;8) ‘ปสสฺ มฺภยํ จติ ตฺ สงฺขารํ อสสฺ สิสฺสาม’ี ติ สกิ ขฺ ต,ิ ‘ปสฺสมฺภยํ จติ ตฺ สงขฺ ารํ ปสสฺ สิสสฺ ามี’ติ สิกขฺ ต.ิ5) เธอสาํ เหนยี กวา เราจกั เสวยรูปติ หายใจเขา เธอสาํ เหนียกวา เราจกั เสวยรูปติ หายใจออก6) เธอสาํ เหนียกวา เราจกั เสวยรคู วามสุข หายใจเขา เธอสําเหนียกวา เราจกั เสวยรูความสุข หายใจออก7) เธอสําเหนยี กวา เราจกั เสวยรูจิตสังขารหายใจเขา เธอสาํ เหนยี กวา เราจักเสวยรจู ิตสงั ขาร หายใจออก8) เธอสาํ เหนียกวา เราจักผอนระงับจติ สังขาร หายใจเขา เธอสาํ เหนียกวา เราจักผอ นระงับจิตสังขาร หายใจออก5. He trains thus: “Experiencing rapture, I shall breathe in”; he trains thus: “Experiencing rapture, I shall breathe out”.6. He trains thus: “Experiencing joy, I shall breathe in”; he trains thus: “Experiencing joy, I shall breathe out”.7. He trains thus: “Experiencing the mental formation, I shall breathe in”; he trains thus: “Experiencing the mental formation, I shall breathe out”.8. He trains thus: “Calming the mental formation, I shall breathe in”; he trains thus: “Calming the mental formation, I shall breathe out”.

หมวดเกนิ 10 263 [346] จตกุ กะท่ี 3: จติ ตานุปส สนา9) ‘จติ ฺตปฏสิ เํ วที อสสฺ สิสฺสามี’ติ สกิ ฺขต,ิ ‘จติ ฺตปฏิสํเวที ปสสฺ สิสฺสามี’ติ สกิ ขฺ ติ;10) ‘อภิปปฺ โมทยํ จติ ฺตํ อสสฺ สิสฺสามี’ติ สกิ ขฺ ติ, ‘อภิปฺปโมทยํ จิตฺตํ ปสฺสสิสสฺ ามี’ติ สิกขฺ ติ11) ‘สมาทหํ จิตฺตํ อสสฺ สสิ สฺ าม’ี ติ สกิ ขฺ ต,ิ ‘สมาทหํ จิตตฺ ํ ปสฺสสสิ สฺ าม’ี ติ สิกฺขต;ิ12) ‘วโิ มจยํ จติ ฺตํ อสสฺ สิสฺสามี’ติ สิกขฺ ติ, ‘วโิ มจยํ จติ ตฺ ํ ปสสฺ สสิ ฺสามี’ติ สิกฺขติ.9) เธอสําเหนียกวา เราจักรทู ว่ั ถงึ จิต หายใจเขา เธอสําเหนียกวา เราจกั รทู ั่วถงึ จติ หายใจออก10) เธอสาํ เหนยี กวา เราจกั ทาํ จิตใหรา เรงิ หายใจเขา เธอสําเหนยี กวา เราจักทาํ จิตใหราเรงิ หายใจออก11) เธอสําเหนียกวา เราจกั ทําจติ ใหต งั้ มัน่ หายใจเขา เธอสําเหนยี กวา เราจกั ทําจิตใหต ั้งม่ัน หายใจออก12) เธอสาํ เหนียกวา เราจกั ปลอ ยเปลื้องจติ หายใจเขา เธอสําเหนียกวา เราจกั ปลอ ยเปล้อื งจิต หายใจออก9. He trains thus: “Experiencing the mind, I shall breathe in”; he trains thus: “Experiencing the mind, I shall breathe out”.10. He trains thus: “Gladdening the mind, I shall breathe in”; he trains thus: “Gladdening the mind, I shall breathe out”.11. He trains thus: “Concentrating the mind, I shall breathe in”; he trains thus: “Concentrating the mind, I shall breathe out”.12. He trains thus: “Liberating the mind, I shall breathe in”; he trains thus: “Liberating the mind, I shall breathe out”. จตุกกะที่ 4: ธัมมานุปส สนา13) ‘อนิจจฺ านุปสฺสี อสสฺ สสิ สฺ ามี’ติ สกิ ฺขต,ิ ‘อนจิ จฺ านุปสฺสี ปสสฺ สสิ สฺ ามี’ติ สิกขฺ ต;ิ14) ‘วิราคานปุ สสฺ ี อสสฺ สสิ ฺสาม’ี ติ สกิ ฺขติ, ‘วริ าคานุปสฺสี ปสฺสสสิ ฺสามี’ติ สกิ ฺขต;ิ15) ‘นิโรธานุปสฺสี อสสฺ สสิ ฺสามี’ติ สกิ ฺขติ,

[346] 264 พจนานกุ รมพุทธศาสตร ‘นิโรธานปุ สฺสี ปสฺสสิสสฺ าม’ี ติ สิกขฺ ติ; 16) ‘ปฏินิสสฺ คคฺ านุปสฺสี อสสฺ สสิ สฺ าม’ี ติ สกิ ขฺ ติ, ‘ปฏินิสฺสคคฺ านปุ สฺสี ปสฺสสิสฺสาม’ี ติ สกิ ขฺ ต.ิ 13) เธอสําเหนยี กวา เราจกั พิจารณาเหน็ ความไมเทย่ี ง หายใจเขา เธอสาํ เหนยี กวา เราจกั พจิ ารณาเห็นความไมเท่ียง หายใจออก 14) เธอสําเหนียกวา เราจกั พิจารณาเห็นความคลายออกได หายใจเขา เธอสาํ เหนยี กวา เราจักพิจารณาเห็นความคลายออกได หายใจออก 15) เธอสาํ เหนยี กวา เราจกั พิจารณาเหน็ ความดบั กิเลส หายใจเขา เธอสําเหนยี กวา เราจกั พิจารณาเห็นความดับกิเลส หายใจออก 16) เธอสาํ เหนยี กวา เราจกั พจิ ารณาเหน็ ความสลดั คนื ได หายใจเขา เธอสําเหนียกวา เราจักพจิ ารณาเห็นความสลดั คืนได หายใจออก 13. He trains thus: “Contemplating impermanence, I shall breathe in”; he trains thus: “Contemplating impermanence, I shall breathe out”. 14. He trains thus: “Contemplating fading away, I shall breathe in”; he trains thus: “Contemplating fading away, I shall breathe out”. 15. He trains thus: “Contemplating cessation, I shall breathe in”; he trains thus: “Contemplating cessation, I shall breathe out”. 16. He trains thus: “Contemplating relinquishment, I shall breathe in”; he trains thus: “Contemplating relinquishment, I shall breathe out”.ขอควรทราบ: ก) คาํ วา หายใจเขา และ หายใจออก นนั้ พงึ ทราบวา เปน คาํ ทม่ี กี ารแปลตา งกนั คอื อรรถกถาแหง พระวนิ ยั แปล อสสฺ าส วา “หายใจออก” และ ปสสฺ าส วา “หายใจเขา ” สว นอรรถกถาแหง พระสตู รแปล กลบั ตรงขา ม คอื แปล อสสฺ าส วา “หายใจเขา ” และ ปสสฺ าส วา “หายใจออก” ในทนี่ ถ้ี อื ตามคาํ แปล ของอรรถกถาแหงพระสูตร ผศู ึกษาทราบอยา งน้แี ลว จะใชแบบใดกไ็ ด พึงเลอื กตามปรารถนา ข) “สําเหนยี กวา” เปนคําแปลตามสํานวนเกา หมายถึงคําบาลวี า สกิ ฺขติ จะแปลแบบทบั ศัพทเ ปน “ศึกษาวา ” กไ็ ด ค) ธรรมหมวดนี้ เรยี กตามบาลแี หง คมั ภรี ป ฏสิ มั ภทิ ามคั คว า โสฬสวตั ถกุ อานาปานสติ (เชน ข.ุ ปฏ.ิ 31/361/244; 386/260=Ps.I.162; 173 คาํ บาลเี ดิมเปน โสฬสวตฺถุกา อานาปานสฺสติ บาง โสฬสวตถฺ ุโก อานาปานสสฺ ตสิ มาธิ บา ง บางทอี รรถกถาก็เรยี กยกั เยือ้ งไปวา โสฬสวตฺถุกา อานาปานสสฺ ติ- สมาธิภาวนา บา ง โสฬสวตถฺ ุกํ อานาปานสฺสตกิ มฺมฏานํ บาง) แปลแบบรักษาศัพทวา “อานา- ปานสตมิ วี ตั ถุ 16” แตในทนี่ ้เี ลือกแปลตามคาํ อธบิ ายในคัมภีร ปรมัตถมญั ชสุ า มหาฎีกาแหง วิสทุ ธิมคั ค (วิสุทธฺ .ิ ฏีกา2/34) วา “อานาปานสติ 16 ฐาน” เพราะในภาษาไทย คาํ วา ฐาน เปน คาํ ทค่ี นุ

หมวดเกนิ 10 265 [347]และชว ยสอ่ื ความหมายของคาํ วา วตั ถุ ในทนี่ ไี้ ดด ี แตจ ะแปลวา “อานาปานสติ 16 หลกั ” หรือ“อานาปานสติ 16 หวั ขอ (หรอื 16 ขอ )” กไ็ ด บางทกี เ็ รยี กใหฟ ง เปน ลาํ ดบั วา “อานาปานสติ 16 ขนั้ ”ง) 16 ฐาน หรือ 16 หลกั หรือ 16 หวั ขอ หรือ 16 ขอ หรอื 16 ขั้นนน้ั ทานจัดเปน 4 จตกุ กะคือเปน หมวดส่ี 4 หมวด ดงั นี้ 1. กายานุปสสนาจตุกกะ (หมวดสี่แหงกายานปุ สสนา) 2. เวทนานปุ ส สนาจตุกกะ (หมวดสแ่ี หง เวทนานปุ สสนา) 3. จิตตานุปสสนาจตกุ กะ (หมวดสแ่ี หง จติ ตานปุ สสนา) 4. ธมั มานุปส สนาจตกุ กะ (หมวดสี่แหง ธมั มานุปส สนา)เปนการระบุชดั วา สว นไหนเปนสติปฏ ฐานขอใดจ) วาโดยไตรสกิ ขา ระหวา งปฏิบัตินัน้• ความมีกายวาจาตั้งอยูในความสงบสํารวม โดยมีเจตนาอันปลอดจากการละเมิดหรือ เบียดเบียน (กายิกวาจสกิ อวตี กิ กมะ) เปน ศีล• การมีสตกิ าํ หนด ดวยจิตท่ตี ั้งม่ันมีอารมณหนงึ่ เดียวตามทีก่ าํ หนด (จติ ตสั เสกัคตา) เปน สมาธิ• ความมีสมั ปชญั ญะรูทั่วพรอม มองเห็นตามสภาวะ เปน ปญ ญาฉ) ในการปฏบิ ตั ินี้ ศีลเปนเพียงฐานที่รองรบั อยู สวนธรรมท่ปี ฏบิ ัติซงึ่ จะเจรญิ ข้นึ ไป คือ สมาธิและปญ ญา อนั ไดแ ก สมถะ และวิปส สนา ในขอตอ ไปช) ในการปฏบิ ัติท้งั หมดน้ี สามจตุกกะแรก มที ้ัง สมถะ และ วิปสสนา แตจ ตกุ กะที่ ๔ เปนวิปส สนา ลวนฌ) โสฬสวัตถกุ อานาปานสติ น้ี พระพทุ ธเจาตรัสแสดงบอย พบไดหลายแหงในพระไตรปฎกแตท ่ปี ระมวลเร่ืองเกี่ยวขอ งและขอความแวดลอมไวครบถวน ซ่ึงรูจกั กนั ดแี ละเปนทอี่ างอิงกนั ทว่ัไป คอื อานาปานสติสตู ร (ม.อุ.14/282–291/190–202=MIII.78–88) นอกจากนั้นยังมคี าํ อธิบายโดยพสิ ดารในพระไตรปฎ ก ปรากฏใน ปฏสิ ัมภทิ ามคั ค (ข.ุ ปฏ.ิ 31/361–422/244-299; = Ps.I.162–196) สว นในชนั้ อรรถกถา กม็ อี ธบิ ายหลายแหง โดยเฉพาะทค่ี น ควา ไดส ะดวก คอื วสิ ทุ ธมิ คั ค (วสิ ุทธ .ิ 2/52-88=Vism.266–293)Vin.III.70; M.I.425; M.III.82; S.V.311; วนิ ย.1/178/132; ม.ม.13/146/140; ม.อุ.14/287/193;A.V.111; Ps.I.162. ส.ํ ม.19/1305/394; อง.ทสก.24/60/119; ข.ุ ปฏ.ิ 31/361/244.[347] อุปกิเลส หรอื จิตตอุปกิเลส 16 (ธรรมเครอ่ื งเศรา หมอง, สิง่ ทท่ี ําใหจ ติ ขุนมัว รบั คณุ ธรรมไดยาก ดุจผาเปรอะเปอนสกปรก ยอ มไมไดด ี — Upakkilesa: mentaldefilements)1. อภชิ ฌาวสิ มโลภะ (คดิ เพง เลง็ อยากได โลภไมส มควร, โลภกลา จอ งจะเอา ไมเ ลอื กควรไมควร — Abhijjhà-visamalobha: greed and covetousness; covetousness and

[348] 266 พจนานุกรมพุทธศาสตรunrighteous greed)2. พยาบาท (คิดรา ยเขา — Byàpàda: malevolence; illwill)3. โกธะ (ความโกรธ — Kodha: anger)4. อุปนาหะ (ความผูกโกรธ — Upanàha: grudge; spite)5. มักขะ (ความลบหลูคุณทา น, ความหลคู วามดีของผอู ื่น, การลบลางปด ซอนคุณคา ความดีของผอู น่ื — Makkha: detraction; depreciation; denigration)6. ปลาสะ (ความตเี สมอ, ยกตวั เทยี มทาน, เอาตัวขึน้ ต้งั ขวางไว ไมยอมยกใหใครดกี วา ตน —Palàsa: domineering; rivalry; envious rivalry)7. อิสสา (ความริษยา — Issà: envy; jealousy)8. มัจฉรยิ ะ (ความตระหนี่ — Macchariya: stinginess; meanness)9. มายา (มารยา — Màyà: deceit)10. สาเถยยะ (ความโออวดหลอกเขา, หลอกดว ยคาํ โออ วด — Sàñheyya: hypocrisy)11. ถมั ภะ (ความหวั ดือ้ , กระดา ง — Thambha: obstinacy; rigidity)12. สารมั ภะ (ความแขง ด,ี ไมย อมลดละ มงุ แตจ ะเอาชนะกนั — Sàrambha: presumption;competing contention; contentiousness; contentious rivalry; vying; strife)13. มานะ (ความถือตัว, ทะนงตน — Màna: conceit)14. อตมิ านะ (ความถอื ตัววา ย่ิงกวา เขา, ดูหม่ินเขา — Atimàna: excessive conceit;contempt)15. มทะ (ความมัวเมา — Mada: vanity)16. ปมาทะ (ความประมาท, ละเลย, เลินเลอ — Pamàda: heedlessness; negligence;indolence) ขอ 2 มีตางออกไป คอื ในธมั มทายาทสตู ร เปน โทสะ (ความคิดประทษุ รายเขา —hatred) (ม.ม.ู 12/26/26)M.I.36. ม.มู.12/93/65.[348] ธาตุ 18 (ส่ิงท่ที รงสภาวะของตนอยเู อง ตามที่เหตุปจจัยปรุงแตงขน้ึ เปน ไปตามธรรมนยิ ามคือกาํ หนดแหงธรรมดา ไมม ผี สู รา งผบู นั ดาล และมีรูปลักษณะกิจอาการเปน แบบจาํ เพาะตวั อันพึงกําหนดเอาเปนหลกั ไดแ ตละอยา งๆ — Dhàtu: elements)1. จกั ขธุ าตุ (ธาตคุ อื จกั ขปุ สาท — Cakkhu-dhàtu: eye element)2. รูปธาตุ (ธาตุคือรูปารมณ — Råpa~: visible-data element)3. จกั ขวุ ิญญาณธาตุ (ธาตุคือจักขวุ ญิ ญาณ — Cakkhuvi¤¤àõa~: eye-consciousnesselement)4. โสตธาตุ (ธาตคุ อื โสตปสาท — Sota~: ear element)

หมวดเกิน 10 267 [349]5. สัททธาตุ (ธาตุคอื สัททารมณ — Sadda~: sound element)6. โสตวิญญาณธาตุ (ธาตุคือโสตวิญญาณ — Sotavi¤¤àõa~: ear-consciousnesselement)7. ฆานธาตุ (ธาตุคือฆานปสาท — Ghàna~: nose element)8. คนั ธธาตุ (ธาตุคือคนั ธารมณ — Gandha~: odour element)9. ฆานวญิ ญาณธาตุ (ธาตุคือฆานวญิ ญาณ — Ghànavi¤¤àõa~: nose-consciousnesselement)10. ชวิ หาธาตุ (ธาตคุ อื ชวิ หาปสาท — Jivhà~: tongue element)11. รสธาตุ (ธาตุคอื รสารมณ — Rasa~: flavour element)12. ชวิ หาวญิ ญาณธาตุ (ธาตคุ อื ชวิ หาวญิ ญาณ — Jivhàvi¤¤àõa~: tongue-consciousnesselement)13. กายธาตุ (ธาตุคือกายปสาท — Kàya~: body element)14. โผฏฐัพพธาตุ (ธาตุคอื โผฏฐัพพารมณ — Phoññhabba~: tangible-data element)15. กายวญิ ญาณธาตุ (ธาตุคือกายวิญญาณ — Kàyavi¤¤àõa~: body-consciousnesselement)16. มโนธาตุ (ธาตุคอื มโน — Mano~: mind element)17. ธรรมธาตุ (ธาตุคอื ธรรมารมณ — Dhamma~: mental-data element)18. มโนวิญญาณธาตุ (ธาตคุ ือมโนวิญญาณ — Manovi¤¤àõa~: mind-consciousnesselement) ขอ ควรสังเกตก. ขอ 3, 6, 9, 12, 15 ไดแ ก ทวิปญจวญิ ญาณจิต รวมเปน จิต = 10ข. ขอ 16 มโนธาตุ ไดแ ก สมั ปฏิจฉนะ 2 กบั ปญ จทวาราวชั ชนะ 1 รวมเปน จิต = 3ค. ขอ 18 มโนวญิ ญาณธาตุ ไดแ ก จติ นอกเหนอื จากนนั้ อกี = 76 รวมเปนจติ ทัง้ ส้นิ = 89ดู [356] จติ 89 หรอื 121.Vbh.87; Vism.484; Comp.183. อภิ.วิ.35/124/108; วสิ ทุ ฺธิ.3/65; สงคฺ ห.44.[349] อินทรีย 22 (ส่งิ ท่ีเปนใหญใ นการทํากจิ ของตน คือ ทําใหธ รรมอื่นๆ ที่เก่ียวขอ งเปน ไปตามตน ในกิจนนั้ ๆ ในขณะท่ีเปนไปอยูนนั้ — Indriya: faculties)หมวดที่ 11. จกั ขนุ ทรยี  (อินทรีย คอื จักขุปสาท — Cakkhundriya: eye-faculty)2. โสตินทรีย (อนิ ทรีย คือ โสตปสาท — Sotindriya: ear-faculty)

[349] 268 พจนานุกรมพุทธศาสตร3. ฆานนิ ทรยี  (อินทรยี  คือ ฆานปสาท — Ghànindriya: nose-faculty)4. ชิวหินทรีย (อินทรีย คอื ชิวหาปสาท — Jivhindriya: tongue-faculty)5. กายนิ ทรีย (อินทรีย คือ กายปสาท — Kàyindriya: body-faculty)6. มนนิ ทรยี  (อินทรยี  คือ ใจ ไดแก จิต ทจี่ ําแนกเปน 89 หรือ 121 ก็ตาม — Manindriya: mind-faculty) หมวดที่ 27. อติ ถินทรีย (อนิ ทรยี  คอื อติ ถภี าวะ — Itthindriya: femininity faculty)8. ปุริสินทรีย (อินทรยี  คอื ปุรสิ ภาวะ — Purisindriya: masculinity faculty; virility)9. ชีวิตินทรยี  (อินทรยี  คอื ชีวิต — Jãvitindriya: life faculty; vitality) หมวดที่ 310. สขุ นิ ทรยี  (อนิ ทรีย คอื สขุ เวทนา — Sukhindriya: bodily-pleasure faculty)11. ทกุ ขนิ ทรีย (อินทรีย คอื ทกุ ขเวทนา — Dukkhindriya: bodily-pain faculty)12. โสมนสั สินทรยี  (อนิ ทรยี  คอื โสมนสั สเวทนา — Somanassindriya: joy faculty)13. โทมนัสสนิ ทรีย (อินทรีย คือ โทมนสั สเวทนา — Domanassindriya: grief faculty)14. อุเปกขินทรยี  (อินทรีย คอื อเุ บกขาเวทนา — Upekkhindriya: indifference faculty) หมวดที่ 415. สัทธนิ ทรีย (อนิ ทรยี  คือ ศรทั ธา — Saddhindriya: faith faculty)16. วริ ิยินทรีย (อินทรยี  คือ วริ ยิ ะ — Viriyindriya: energy faculty)17. สตินทรีย (อินทรยี  คอื สติ — Satindriya: mindfulness faculty)18. สมาธินทรีย (อินทรีย คอื สมาธิ ไดแ ก เอกคั คตา — Samàdhindriya: concentration faculty)19. ปญญนิ ทรีย (อินทรยี  คือ ปญ ญา — Pa¤¤indriya: wisdom faculty) หมวดที่ 520. อนัญญาตัญญสั สามตี นิ ทรยี  (อนิ ทรยี แหงผูป ฏบิ ัตดิ วยมุงวาเราจักรสู จั จธรรมทย่ี งั มิไดรู ไดแ ก โสตาปตติมัคคญาณ — Ana¤¤àta¤¤assàmãtindriya: ‘I shall come to know the unknown’ faculty, i.e. knowledge of the Stream-Entry Path.)21. อัญญินทรยี  (อินทรยี  คอื อัญญา หรอื ปญ ญาอนั รูท ว่ั ถึง ไดแก ญาณ 6 ในทามกลาง คือ โสตาปต ตผิ ลญาณ ถงึ อรหัตตมคั คญาณ — A¤¤indriya: perfect-knowledge faculty, i.e. knowledge of the six intermediate Paths and Fruitions)22. อญั ญาตาวนิ ทรีย (อินทรียแหง ทานผรู ูทั่วถงึ แลว กลา วคอื ปญญาของพระอรหันต ไดแก อรหัตตผลญาณ — A¤¤àtàvindriya: perfect-knower faculty, i.e. knowledge of the Fruition of Arahantship)

หมวดเกนิ 10 269 [350] อินทรยี  22 น้ี ท่ีมาในพระสตู ร มกี ระจายอยูเ ปน หมวดๆ ในทหี่ ลายแหง ไมครบทง้ั 22 ในที่เดยี วกัน เฉพาะทีม่ าสาํ คญั ไดแก อินทรยี สังยตุ ต (ส.ํ ม.19/843–1089/256–318; S.V.193–243) สวนทม่ี าในพระอภิธรรม และปกรณพ ิเศษภายหลงั มี วิสทุ ธิมคั ค และ อภิธมั มัตถสังคหะ เปนตน มคี ําอธิบายโดยพสิ ดารVbh.122; Vism.491; Comp.175. อภิ.ว.ิ 35/236/161; วิสทุ ธฺ ิ.3/72; สงฺคห.41.[350] ปจจัย 24 (ลักษณะหรอื อาการแหงความสัมพนั ธระหวา งสิง่ ทัง้ หลาย ที่ส่ิงหนง่ึ หรอืสภาวธรรมอยางหนึ่ง เปน องคประกอบท่ีชว ยเอ้ือ เกือ้ หนนุ คํา้ จุน เปน เหตุ หรือเปนเง่ือนไข ใหสงิ่ อ่นื หรอื สภาวธรรมอยางอน่ื เกดิ ขนึ้ คงอยู หรอื เปน ไปอยางใดอยางหน่งึ — Paccaya:condition; mode of conditionality or relation)1. เหตุปจ จยั (ปจจยั โดยเปนเหตุ — Hetu-paccaya: root condition)2. อารัมมณปจ จยั (ปจ จัยโดยเปน อารมณ — ârammaõa-paccaya: object condition)3. อธปิ ตปิ จ จยั (ปจ จยั โดยเปน เจา ใหญ — Adhipati-paccaya: predominance condition)4. อนันตรปจจัย (ปจจัยโดยเปนภาวะตอเนือ่ งไมมีชองระหวา ง — Anantara-paccaya:immediacy condition)5. สมนันตรปจจัย (ปจจัยโดยเปนภาวะตอเนื่องทันที — Samanantara-paccaya:contiguity condition)6. สหชาตปจจัย (ปจจัยโดยเกดิ รว มกัน — Sahajàta-paccaya: connascence condition)7. อญั ญมญั ญปจ จัย (ปจจัยโดยอาศยั ซ่งึ กันและกนั — A¤¤ama¤¤a-paccaya: mutualitycondition)8. นสิ สยปจ จยั (ปจ จัยโดยเปนทอี่ าศัย — Nissaya-paccaya: dependence condition)9. อปุ นสิ สยปจจยั (ปจจัยโดยเปน เครอื่ งหนนุ หรือกระตุนเรา — Upanissaya-paccaya:decisive-support condition; inducement condition)10. ปุเรชาตปจจยั (ปจจยั โดยเกดิ กอน — Purejàta-paccaya: prenascence condition)11. ปจ ฉาชาตปจจัย (ปจ จยั โดยเกดิ ทีหลงั — Pacchàjàta-paccaya: postnascencecondition)12. อาเสวนปจจัย (ปจจัยโดยการซํ้าบอยหรือทําใหชิน — âsevana-paccaya:repetition condition)13. กรรมปจ จยั (ปจ จยั โดยเปน กรรมคอื เจตจาํ นง — Kamma-paccaya: kamma condition)14. วปิ ากปจจัย (ปจ จยั โดยเปน วิบาก — Vipàka-paccaya: kamma-result condition)15. อาหารปจ จัย (ปจ จยั โดยเปน อาหาร คือเปน เครื่องหลอ เล้ยี ง — âhàra-paccaya:nutriment condition)16. อินทรียปจจัย (ปจ จัยโดยเปนเจาการ — Indriya-paccaya: faculty condition)

[351] 270 พจนานุกรมพทุ ธศาสตร 17. ฌานปจ จยั (ปจ จยั โดยภาวะจติ ทเ่ี ปน ฌาน — Jhàna-paccaya: absorption condition) 18. มรรคปจ จัย (ปจ จยั โดยเปนมรรค — Magga-paccaya: path condition) 19. สมั ปยุตตปจจยั (ปจจยั โดยประกอบกัน — Sampayutta-paccaya: association condition) 20. วปิ ปยตุ ตปจ จยั (ปจ จยั โดยแยกตา งหากกนั — Vippayutta-paccaya: dissociation condition) 21. อัตถิปจ จยั (ปจ จยั โดย[ตอง]มอี ยู — Atthi-paccaya: presence condition) 22. นตั ถปิ จจยั (ปจ จยั โดย[ตอ ง]ไมมีอยู — Natthi-paccaya: absence condition) 23. วิคตปจจัย (ปจจัยโดย[ตอง]ปราศไป — Vigata-paccaya: disappearance condition) 24. อวคิ ตปจจยั (ปจจยั โดย[ตอ ง]ไมปราศไป — Avigata-paccaya: non-disappearance condition) ปจ จยั 24 น้ี เปน สาระของคําอธิบายทัง้ หมดในคัมภีรปฏฐานแหง พระอภธิ รรมปฎ ก คอื พระไตรปฎกบาลี 6 เลม ตง้ั แตเลม 40 ถึงเลม 45 Pañ.1 อภิ.ป.40/1/1[,,,] รูป 28 ดู [38] รปู 28; [39] มหาภูต 4; [40] อุปาทารปู 24[351] ภูมิ 4 หรอื 31 (ชนั้ แหง จติ , ระดบั จติ ใจ, ระดบั ชวี ติ — Bhåmi: planes of existence; planes of life) 1. อบายภมู ิ 4 (ภูมทิ ่ปี ราศจากความเจรญิ — Apàya-bhåmi: planes of loss and woe; unhappy planes) 1) นริ ยะ (นรก — Niraya: woeful state; hell) 2) ตริ ัจฉานโยนิ (กําเนดิ ดิรัจฉาน — Tiracchànayoni: animal kingdom) 3) ปตติวิสัย (แดนเปรต — Pittivisaya: ghost-sphere) 4) อสรุ กาย (พวกอสรู — Asurakàya: host of demons) 2. กามสคุ ตภิ มู ิ 7 (กามาวจรภมู ทิ เี่ ปน สคุ ต,ิ ภมู ทิ เี่ ปน สคุ ตซิ งึ่ ยงั เกยี่ วขอ งกบั กาม — Kàmasugati- bhåmi: sensuous blissful planes) 1) มนุษย (ชาวมนษุ ย — Manussà: human realm) 2) จาตุมหาราชิกา (สวรรคชน้ั ท่ที าวมหาราช 4 ปกครอง — Càtummahàràjikà: realm of the Four Great Kings) 3) ดาวดึงส (แดนแหง เทพ 33 มที า วสักกะเปนใหญ — Tàvati§sà: realm of the Thirty-three Gods) 4) ยามา (แดนแหงเทพผูปราศจากความทุกข — Yàmà: realm of the Yàma gods)

หมวดเกนิ 10 271 [351] 5) ดุสิต (แดนแหง เทพผูเ อิบอิม่ ดวยสริ ิสมบตั ิของตน — Tusità: realm of satisfied gods) 6) นมิ มานรดี (แดนแหงเทพผูยินดใี นการเนรมิต — Nimmànaratã: realm of the gods who rejoice in their own creations) 7) ปรนิมมิตวสวัตดี (แดนแหงเทพผูยังอํานาจใหเปนไปในสมบัติที่ผูอื่นนิรมิตให — Paranimmitavasavattã: realm of gods who lord over the creation of others) ภมู ทิ ง้ั 11 ใน 2 หมวดน้ี รวมเปน กามาวจรภมู ิ 11 (ชนั้ ทท่ี อ งเทยี่ วอยใู นกาม — Kàmàvacara- bhåmi: Sensuous Planes)3. รูปาวจรภมู ิ 16 (ชนั้ ทท่ี องเที่ยวอยใู นรปู , ชั้นรปู พรหม — Råpàvacara-bhåmi: Form Planes) ก. ปฐมฌานภูมิ 3 (ระดบั ปฐมฌาน — first-Jhàna planes) 1) พรหมปารสิ ชั ชา (พวกบริษัทบรวิ ารมหาพรหม — Brahmapàrisajjà: realm of great Brahmas’ attendants) 2) พรหมปโุ รหิตา (พวกปุโรหติ มหาพรหม — Brahmapurohità: realm of great Brahmas’ ministers) 3) มหาพรหมา (พวกทา วมหาพรหม — Mahàbrahmà: realm of great Brahmas) ข. ทุติยฌานภูมิ 3 (ระดบั ทุติยฌาน — second-Jhàna planes) 4) ปริตตาภา (พวกมีรัศมนี อ ย — Parittàbhà: realm of Brahmas with limited lustre) 5) อปั ปมาณาภา (พวกมรี ศั มปี ระมาณไมไ ด — Appamàõàbhà: realm of Brahmas with infinite lustre) 6) อาภสั สรา (พวกมีรัศมสี ุกปลงั่ ซา นไป — âbhassarà: realm of Brahmas with radiant lustre) ค. ตติยฌานภมู ิ 3 (ระดับตตยิ ฌาน — third-Jhàna planes) 7) ปริตตสุภา (พวกมลี าํ รศั มงี ามนอย — Parittasubhà: realm of Brahmas with limited aura) 8) อัปปมาณสุภา (พวกมีลาํ รศั มีงามประมาณมไิ ด — Appamàõasubhà: realm of Brahmas with infinite aura) 9) สุภกิณหา (พวกมีลาํ รัศมีงามกระจา งจา — Subhakiõhà: realm of Brahmas with steady aura) ง. จตตุ ถฌานภมู ิ 3–7 (ระดบั จตุตถฌาน — fourth-Jhàna planes) 10) เวหัปผลา (พวกมผี ลไพบูลย — Vehapphalà: realm of Brahmas with

[351] 272 พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร abundant reward) 11) อสัญญสี ตั ว (พวกสัตวไ มมสี ัญญา — Asa¤¤ãsattà: realm of non-percipient beings) (*) สทุ ธาวาส 5 (พวกมที ่อี ยูอนั บรสิ ุทธิ์ หรอื ทอี่ ยขู องทา นผูบ รสิ ทุ ธ์ิ คือ ท่เี กิดของ พระอนาคามี — Suddhàvàsa: pure abodes) คอื 12) อวหิ า (เหลาทา นผูไ มเสื่อมจากสมบัตขิ องตน หรือผูไมล ะไปเรว็ , ผคู งอยูนาน — Avihà: realm of Brahmas who do not fall from prosperity) 13) อตัปปา (เหลาทานผูไมท ําความเดอื ดรอนแกใคร หรอื ผูไมเดือดรอ นกับใคร — Atappà: realm of Brahmas who are serene) 14) สุทัสสา (เหลา ทานผูงดงามนาทศั นา — Sudassà: realm of Brahmas who are beautiful) 15) สทุ ัสสี (เหลา ทานผมู องเหน็ ชดั เจนดี หรอื ผมู ที ศั นาแจมชัด — Sudassã: realm of Brahmas who are clear-sighted) 16) อกนฏิ ฐา (เหลาทา นผูไมมีความดอยหรือเล็กนอยกวา ใคร, ผูสงู สุด — Akaniññhà: realm of the highest or supreme Brahmas)4. อรปู าวจรภมู ิ 4 (ช้นั ท่ที องเทีย่ วอยูในอรูป, ช้ันอรปู พรหม — Aråpàvacara-bhåmi: formless planes) 1) อากาสานญั จายตนภมู ิ (ชน้ั ทเี่ ขา ถงึ ภาวะมอี ากาศไมม ที สี่ ดุ — âkàsàna¤càyatana- bhåmi: realm of infinite space) 2) วญิ ญาณญั จายตนภมู ิ (ชน้ั ทเี่ ขา ถงึ ภาวะมวี ญิ ญาณไมม ที สี่ ดุ — Vi¤¤àõa¤càyatana- bhåmi: realm of infinite consciousness) 3) อากิญจญั ญายตนภมู ิ (ชน้ั ทีเ่ ขา ถงึ ภาวะไมมอี ะไร — âki¤ca¤¤àyatana-bhåmi: realm of nothingness) 4) เนวสัญญานาสญั ญายตนภูมิ (ชั้นท่เี ขา ถงึ ภาวะมีสัญญากไ็ มใช ไมมสี ัญญากไ็ มใช — Nevasa¤¤ànàsa¤¤àyatana-bhåmi: realm of neither perception nor non- perception) ปุถชุ น พระโสดาบัน และพระสกทาคามี ยอมไมเกิดในสทุ ธาวาสภมู ;ิ พระอรยิ ะไมเ กดิ ในอสญั ญีภพ และในอบายภมู ;ิ ในภูมนิ อกจากน้ี ยอมมีทัง้ พระอริยะและมใิ ชอริยะไปเกิด. ในพระไตรปฎก ไมพบทใี่ ดแสดงรายชื่อภมู ิทงั้ หลายไวท ั้งหมดในทเ่ี ดียว บาลีแสดงรายชื่อภมู ิมากทส่ี ุด (มีเฉพาะช้ันสุคติภมู )ิ พบท่ี ม.อ.ุ 14/317–332/216–225 (M.III.99–103) กลา วตงั้ แตมนุษยขึ้นไปจนถึงอรปู าวจรภูม.ิ

หมวดเกนิ 10 273 [352] ในบาลีแหงทีฆนกิ าย เปน ตน* แสดงคติ (ทไี่ ปเกดิ ของสัตว, แบบการดาํ เนนิ ชีวติ — Gati:destiny; course of existence) วามี 5 คอื นิรยะ ตริ ัจฉานโยนิ เปตตวิ สิ ัย มนษุ ย และเทพ(พวกเทพ — heavenly world ไดแกภ มู ิ 26 ต้ังแตจาตมุ หาราชกิ าข้นึ ไปทั้งหมด) จะเห็นวาภูมิ31 สงเคราะหลงไดในคติ 5 ท้งั หมด ขาดแตอสรุ กาย อยางไรก็ดี ในอรรถกถาแหง อติ ิวุตตกะเปน ตน ** ทานกลาววา อสรู สงเคราะหล งในเปตติวิสยั ดวย จงึ เปนอนั สงเคราะหล งไดบริบูรณและในคติ 5 น้ัน 3 คติแรกจดั เปน ทุคติ (woeful courses) 2 คตหิ ลงั เปนสุคติ (happycourses).เนอ่ื งดว ยภมู ิ 31 นจ้ี ดั ไดเ ปน 4 ระดบั อยา งทีก่ ลา วมา บางทจี งึ เรียกวา ภูมิ 4 อนึง่ พึงเทียบภมู ิ 31 หรอื ภมู ิ 4 หมวดน้ี กับ [162] ภูมิ 4 ท่มี าในพระบาลดี ว ย กลา วคอืภมู ิ 31 หรอื 4 หมวดน้ี จดั เขา ในภูมิ 3 ขอ ตนใน [162] ภูมิ 4 ดงั น้ี อบายภูมิ 4 และ กามสุคติ-ภมู ิ 7 รวมเขาเปนกามาวจรภมู ิ (11) สว นรูปาวจรภูมิ (16) และ อรูปาวจรภูมิ (4) ตรงกนั รวมภูมิทงั้ หมด 31 น้ี เปน โลกยี ภูมิ พนจากนีไ้ ปเปนโลกตุ ตรภูมิดู [162] ภูมิ 4; [198] อบาย 4; [207] อรปู 4; [270] สวรรค 6.Comp.137. สงฺคห.25.[352] โพธิปกขิยธรรม 37 (ธรรมอันเปนฝก ฝายแหง ความตรสั รู คือ เกอื้ กลู แกก าร ตรสั รู, ธรรมท่ีเกื้อหนนุ แกอริยมรรค — Bodhipakkhiya-dhamma: virtues partaking ofenlightenment; qualities contributing to or constituting enlightenment; enlightenmentstates)1. สตปิ ฏฐาน 4 ดู [182]2. สมั มัปปธาน 4 ดู [156]3. อิทธบิ าท 4 ดู [213]4. อินทรีย 5 ดู [258]5. พละ 5 ดู [228]6. โพชฌงค 7 ดู [281]7. มรรคมอี งค 8 ดู [293] โพธปิ ก ขยิ ธรรมน้ี ตามทท่ี ว่ั ไปในพระไตรปฎ ก ตรสั ไวเ พยี งเปน คาํ รวมๆ โดยไมไ ดร ะบชุ อ่ื องคธรรม นอกจากในสงั ยตุ ตนกิ ายแหง พระสตุ ตนั ตปฎ ก ทมี่ พี ทุ ธพจนต รสั ระบไุ วว า ไดแ ก อนิ ทรยี  5(ส.ํ ม.19/1024/301; 1041–3/305; 1071–1081/313–5) และในคัมภีรว ิภังคแ หง พระอภธิ รรมปฎก ซง่ึ ไขความวา โพธิปก ขิยธรรม ไดแก โพชฌงค 7 (อภิ.วิ.35/611/336)* ที.ปา.11/281/246; ม.มู.12/170/148; องฺ.นวก.23/272/480 (D.III.234; M.I.73; A.IV.459)** อุ.อ.174; อติ ิ.อ.168 (approx., UdA.140; ItA.101)

[353] 274 พจนานุกรมพุทธศาสตร ธรรมชดุ น้ี เมอ่ื ตรสั ระบชุ ือ่ ทง้ั ชดุ ในพระสูตร ทรงเรยี กวาเปน อภญิ ญาเทสิตธรรม เชน ที.ม.10/107/141; ท.ี ปา.11/108/140; ม.อุ. 14/54/51) คอื เปนอภิญญาเทสิตธรรม 37 และในพระอภธิ รรมทานแสดงไวว าธรรม 37 ประการนีเ้ ปน สัทธรรม นอกจากน้ี ธรรม 37 ประการชดุ นี้ยังไดชอื่ วาเปน สันติบท คือ ธรรมท่เี ปน ไปเพ่ือการบรรลสุ นั ติ (รวมทงั้ เปน อมตบท และ นิพพานบท เปน ตน —ขุ.ม.29/701/414; ขุ.จ.ู 30/391/188)และเปน เสรีธรรม หรือ ธรรมเสรี (ข.ุ จู.30/681/340; 684/342) ในพระวนิ ยั ปฎ ก ทา นแสดงธรรม 37 ประการนไ้ี วเ ปน คาํ จาํ กดั ความของคาํ วา มรรคภาวนา(ดู วินย.1/236/175; 2/308/212) ตอ มา ในคมั ภรี ช น้ั อรรถกถา รวมถงึ วสิ ทุ ธมิ คั ค จงึ ระบแุ ละแจกแจงไวช ดั เจนวา โพธปิ ก ขยิ ธรรม37 ประการ ไดแกธ รรมเหลา นี้ (ดู อง.ฺ อ.1/77; อิติ.อ.287; ปฏิส.ํ อ.2/95, 196, 261; วสิ ุทฺธ.ิ 3/328)Vism.681. วิสทุ ธฺ .ิ 3/328.[353] มงคล 38 (สิง่ ทท่ี าํ ใหมโี ชคดี, ธรรมอันนํามาซ่งึ ความสขุ ความเจริญ — Maïgala:blessings; เรยี กเตม็ วา อดุ มมงคล คือมงคลอนั สงู สดุ — highest blessing)คาถาที่ 11. อเสวนา จ พาลานํ (ไมคบคนพาล — Bàla-asevanà: not to associate with fools; to dissociate from the wicked)2. ปณฑฺ ติ านฺจ เสวนา (คบบัณฑิต — Paõóitasevanà: to associate with the wise)3. ปูชา จ ปชู นียานํ (บูชาคนทค่ี วรบชู า — Påjaneyyapåjà: to honour those who are worthy of honour)คาถาท่ี 24. ปฏิรูปเทสวาโส จ (อยใู นปฏิรูปเทศ, อยใู นถิ่นมีส่งิ แวดลอ มดี — Pañiråpadesavàsa: living in a suitable region; good environment)5. ปพุ เฺ พ จ กตปุฺตา (ไดท ําความดใี หพ รอมไวกอ น, ทาํ ความดีเตรียมพรอมไวแตตน — Pubbekatapu¤¤atà: having formerly done meritorious deeds)6. อตฺตสมฺมาปณิธิ จ (ตั้งตนไวชอบ — Attasammàpaõidhi: setting oneself in the right course; right direction in self-guidance; perfect self-adjustment)คาถาที่ 37. พาหสุ จจฺ ฺจ (เลาเรียนศกึ ษามาก, ทรงความรูก วางขวาง, ใสใจสดบั ตรับฟงคน ควา หาความ รอู ยูเสมอ — Bàhusacca: great learning; extensive learning)8. สปิ ฺปฺจ (มีศิลปวทิ ยา, ชาํ นาญในวชิ าชีพของตน — Sippa: skill; knowledge of the arts and sciences)

หมวดเกนิ 10 275 [353]9. วนิ โย จ สสุ ิกฺขโิ ต (มีวนิ ยั ทไ่ี ดศ ึกษาดีแลว , มีระเบียบวินัยดี, ไดฝก อบรมตนไวด ี — Vinaya: highly trained discipline)10. สภุ าสติ า จ ยา วาจา (วาจาสภุ าษิต, รจู กั ใชว าจาพูดใหเ ปนผลดี — Subhàsitavàcà: well-spoken speech)คาถาที่ 411. มาตาปต อุ ปุ ฏ านํ (บาํ รงุ มารดาบดิ า — Màtàpitu-upaññhàna: support of mother and father)12.–13. ปตุ ตฺ ทารสสฺ สงคฺ โห = ปตุ ตฺ สงคฺ ห (สงเคราะหบ ตุ ร — Puttasaïgaha: cherishing of children) และ ทารสงคฺ ห (สงเคราะหภ รรยา — Dàrasaïgaha: cherishing of wife)14. อนากุลา จ กมฺมนฺตา (การงานไมอากลู — Anàkulakammanta: a livelihood which is free from complications)*คาถาที่ 515. ทานฺจ (รูจักให, เผ่ือแผแ บงปน, บรจิ าคสงเคราะหแ ละบําเพญ็ ประโยชน — Dàna: charity; liberality; generosity)16. ธมมฺ จรยิ า จ(ประพฤตธิ รรม, ดาํ รงอยใู นศลี ธรรม — Dhammacariyà: righteous conduct)17. าตกานฺจ สงฺคโห (สงเคราะหญาติ — ¥àtakasaïgaha: rendering aid to relations)18. อนวชชฺ านิ กมฺมานิ (การงานทีไ่ มมีโทษ, กจิ กรรมที่ดงี าม เปนประโยชน ซ่งึ ไมเ ปน ทางเสีย หาย — Anavajjakamma: blameless actions; unexceptionable or beneficial activities)**คาถาที่ 619. อารตี วริ ตี ปาปา (เวน จากความชัว่ — Pàpavirati: abstaining from evils and avoiding them)20. มชฺชปานา จ สฺโม (เวนจากการด่มื นํ้าเมา — Majjapànasa¤¤ama: abstinence from intoxicants)21. อปฺปมาโท จ ธมเฺ มสุ (ไมประมาทในธรรมท้งั หลาย — Appamàda: diligence in virtue; perseverance in virtuous acts)* ทานอธิบายวา ไดแ ก อาชีพการงาน ทีท่ ําดวยความขยนั หม่นั เพยี ร เอาธรุ ะ รจู กั กาล ไมคงั่ คา งยอ หยอน — spheres of work which are free from such unprofitableness as dilatoriness and tardiness. (ขทุ ทฺ ก. อ. 153; KhA.139).**ทา นยกตัวอยางไว เชน การสมาทานอุโบสถ การบําเพญ็ สาธารณประโยชน สรางสวน ปลูกปา สรา งสะพาน เปนตน (ขทุ ฺทก.อ.156; KhA.141)

[353] 276 พจนานกุ รมพุทธศาสตรคาถาท่ี 722. คารโว จ (ความเคารพ, การแสดงออกทแ่ี สดงถึงความเปนผูร ูจักคุณคาของบุคคล ส่ิงของ สถานที่ หรอื กจิ การนั้นๆ และรูจักใหความสาํ คญั และความใสใจเอื้อเฟอ โดยเหมาะสม — Gà rava: reverence; respect; appreciative action)23. นิวาโต จ (ความสภุ าพออนนอม, ถอ มตน — Nivàta: humility, courtesy; politeness)24. สนตฺ ฏุ  ี จ(ความสนั โดษ, ความเอบิ อม่ิ พงึ พอใจในผลสาํ เรจ็ ทไี่ ดส รา งขน้ึ หรอื ในลาภทแ่ี สวงหา มาได ดว ยเรยี่ วแรงความเพยี รพยายามของตนโดยทางชอบธรรม —Santuññhã: contentment)25. กตฺุตา (มคี วามกตญั ู — Kata¤¤utà: gratitude)26. กาเลน ธมฺมสฺสวนํ (ฟง ธรรมตามกาล, แสวงความรูเ ก่ียวกบั หลกั ความจรงิ ความดีงาม และเร่ืองทเ่ี ปน ประโยชน — Dhammassavana: the opportune hearing of the Dhamma; listening to good advice and the teaching of Truth on due occasions)คาถาท่ี 827. ขนตฺ ี จ (มคี วามอดทน — Khanti: patience; forbearance; tolerance)28. โสวจสฺสตา (เปนผูวางายสอนงาย, พูดกันงาย ฟงเหตุผล — Sovacassatà: amenability to correction; being easy to admonish)29. สมณานฺจ ทสฺสนํ (พบเห็นสมณะ, เยีย่ มเยือนเขาหาทา นผูส งบกเิ ลส — Samaõa- dassana: seeing the monks or holy persons)30. กาเลน ธมมฺ สากจฉฺ า (สนทนาธรรมตามกาล, หาโอกาสสนทนาแลกเปลย่ี นความรคู วามคดิ เหน็ กนั เกยี่ วกบั หลกั ความจรงิ ความดงี ามและเรอ่ื งทเ่ี ปน ประโยชน — Dhammasàkacchà: religious discussion at due seasons; regular or opportune discussion of Truth)คาถาที่ 931. ตโป จ (มคี วามเพียรเผากิเลส, รูจักบังคับควบคุมตน ไมป รนเปรอตามใจอยาก — Tapa: self-control; simple life)32. พฺรหมฺ จริยฺจ (ประพฤตพิ รหมจรรย, ดําเนินตามอรยิ มรรค, การรจู ักควบคมุ ตนในทาง เพศ หรือถอื เมถนุ วริ ัติตามควร* — Brahmacariya: a holy life)33. อริยสจจฺ าน ทสสฺ นํ (เหน็ อริยสัจจ, เขาใจความจริงของชีวติ — Ariyasacca-dassana: discernment of the Noble Truths)34. นพิ พฺ านสจฉฺ กิ ริ ยิ า จ (ทาํ พระนพิ พานใหแ จง , บรรลนุ พิ พาน — Nibbàna-sacchikiriyà: realization of Nibbàna)* พรหมจรรยใ นท่นี ้ี มุงเอาอัฏฐงั คกิ มรรคเปน หลัก แตจะตคี วามแคบหมายถงึ เมถนุ วิรตั ิก็ได ความหมายอยา ง หยอนสําหรบั คฤหสั ถ คอื ถือพรหมจรรยใ นบุคคลทีม่ ใิ ชค ูครอง หรอื ถอื เดด็ ขาดในวันอโุ บสถ เปน ตน

หมวดเกนิ 10 277 [354]คาถาท่ี 1035. ผุฏสฺส โลกธมเฺ มหิ จติ ฺตํ ยสฺส น กมฺปติ (ถกู โลกธรรม จติ ไมหวนั่ ไหว — Akampita- citta: to have a mind which is not shaken when touched by worldly vicissitudes)36. อโสกํ (จิตไรเศรา — Asokacitta: to have the mind which is free from sorrow)37. วิรชํ (จิตปราศจากธุลี — Virajacitta: to have the mind which is undefiled)38. เขมํ (จิตเกษม — Khemacitta: to have the mind which is secure) แตละคาถามบี ทสรุปวา “เอตมฺมงคฺ ลมุตตฺ มํ” (น้เี ปน มงคลอันอดุ ม — this is the highestblessing)มคี าถาสรปุ ทา ยมงคลทัง้ 38 นีว้ า สพพฺ ตถฺ มปราชติ า ตนเฺ ตสํ มงฺคลมตุ ฺตมนตฺ .ิ ” “เอตาทิสานิ กตฺวาน สพฺพตฺถ โสตถฺ ึ คจฺฉนตฺ ิ แปลวา “เทวะมนุษยท งั้ หลายกระทาํ มงคลเชนนี้แลว ยอ มเปน ผไู มป ราชยั ในทีท่ กุ สถาน ยอ มถึงความสวัสดีในที่ทั้งปวง นี้คอื อุดมมงคลของเทวะมนุษยเ หลา นนั้ .” (Those who have donethese things see no defeat and go in safety everywhere. To them these are thehighest blessings.)Kh.V.3; Sn.259–268. ข.ุ ข.ุ 25/5/3; ข.ุ สุ.25/317/376.[354] กรรมฐาน 40 (ท่ีตั้งแหงการทํางานของจิต, สิ่งท่ีใชเปนอารมณในการเจริญภาวนา, อปุ กรณในการฝกอบรมจติ — Kammaññhàna: mental exercises; subjects ofmeditation)1. กสิณ 10 ดู [315]2. อสภุ ะ 10 ดู [336]3. อนุสติ 10 ดู [335]4. อัปปมัญญา 4 ดู [161]5. อาหาเรปฏกิ ลู สญั ญา (กาํ หนดพจิ ารณาความเปน ปฏกิ ลู ในอาหาร — âhàrepañikålasa¤¤à:perception of the loathsomeness of food)6. จตธุ าตวุ วฏั ฐาน (กาํ หนดพิจารณาธาตุ 4, พิจารณาเหน็ รางกายของตนโดยสักวา เปน ธาตุ 4แตละอยา งๆ; ธาตุมนสกิ าร ก็เรียก — Catudhàtu-vavaññhàna: analysis of the fourelements)7. อรูป 4 ดู [207] กรรมฐานใดใหไดสมาธถิ ึงขนั้ ใด ดู [99] ภาวนา 3; กรรมฐานใดเหมาะกบั จรติ ใด ดู [262]จริต 6.Vism.110; Comp.204. วสิ ุทธฺ ิ.1/139; สงคฺ ห.51.

[355] 278 พจนานกุ รมพุทธศาสตร[355] เจตสิก 52 (ธรรมท่ีประกอบกบั จติ , สภาวธรรมท่ีเกดิ ดับพรอมกับจติ มอี ารมณแ ละ วัตถทุ ี่อาศยั เดยี วกนั กับจติ , อาการและคณุ สมบัตติ า งๆ ของจิต — Cetasika: mental factors; mental concomitants) ก. อัญญสมานาเจตสิก 13 (เจตสกิ ที่มีเสมอกนั แกจ ิตพวกอ่นื คอื ประกอบเขาไดกับจิตทุก ฝายทั้งกุศลและอกุศล มิใชเขาไดแตฝายใดฝายหนึ่งพวกเดียว — A¤¤asamàna- cetasika: the Common-to-Each-Other; general mental factors) 1) สพั พจิตตสาธารณเจตสกิ 7 (เจตสิกทเ่ี กดิ ท่ัวไปกบั จิตทุกดวง — Sabbacitta- sàdhàraõa~: universal mental factors; the Primary) 1. ผัสสะ (ความกระทบอารมณ — Phassa: contact; sense-impression) 2. เวทนา (ความเสวยอารมณ — Vedanà: feeling) 3. สัญญา (ความหมายรอู ารมณ — Sa¤¤à: perception) 4. เจตนา (ความจงใจตอ อารมณ — Cetanà: volition) 5. เอกคั คตา (ความมอี ารมณเ ปน อนั เดยี ว — Ekaggatà: one-pointedness; concentration) 6. ชวี ติ นิ ทรยี  (อนิ ทรยี ค อื ชวี ติ , สภาวะทเี่ ปน ใหญใ นการรกั ษานามธรรมทงั้ ปวง — Jãvitindriya: vitality; life-faculty) 7. มนสกิ าร (ความกระทาํ อารมณไวในใจ, ใสใ จ — Manasikàra: attention) 2) ปกณิ ณกเจตสิก 6 (เจตสิกทเี่ รีย่ รายแพรกระจายทว่ั ไป คือ เกิดกับจิตไดท ง้ั ฝายกศุ ล และอกุศล แตไมแ นน อนเสมอไปทุกดวง — Pakiõõaka~: particular mental factors; the Secondary) 8. วติ ก (ความตรกึ อารมณ — Vitakka: initial application; thought conception; applied thought) 9. วจิ าร (ความตรองหรอื พจิ ารณาอารมณ — Vicàra: sustained application; discursive thinking; sustained thought) 10. อธิโมกข (ความปลงใจหรือปกใจในอารมณ — Adhimokkha: determination; resolution) 11. วิรยิ ะ (ความเพยี ร — Viriya: effort; energy) 12. ปต ิ (ความปลาบปล้มื ในอารมณ, อมิ่ ใจ — Pãti: joy; interest) 13. ฉนั ทะ (ความพอใจในอารมณ — Chanda: conation; zeal) ข. อกศุ ลเจตสกิ 14 (เจตสกิ ฝา ยอกศุ ล — Akusala~: immoral or unwholesome mental factors; unprofitable mental factors) 1) สพั พากุสลสาธารณเจตสิก 4 (เจตสิกทเ่ี กดิ ท่ัวไปกบั อกุศลจิตทุกดวง — Sabbà- kusalasàdhàraõa~: universal immorals; the Primary)

หมวดเกิน 10 279 [355]14. โมหะ (ความหลง — Moha: delusion)15. อหิริกะ (ความไมละอายตอ บาป — Ahirika: shamelessness; lack of moral shame)16. อโนตตปั ปะ (ความไมสะดงุ กลัวตอบาป — Anottappa: fearlessness of wrong- doing; lack of moral dread)17. อทุ ธจั จะ (ความฟุงซา น — Uddhacca: restlessness; unrest) 2) ปกณิ ณกอกุสลเจตสกิ 10 (อกุศลเจตสิกทเ่ี กดิ เรย่ี รายแกอ กศุ ลจิต — Pakiõõaka- akusala~: particular immorals; the Secondary)18. โลภะ (ความอยากไดอารมณ — Lobha: greed)19. ทิฏฐิ (ความเหน็ ผดิ — Diññhi: wrong view)20. มานะ (ความถือตัว — Màna: conceit)21. โทสะ (ความคิดประทุษราย — Dosa: hatred)22. อิสสา (ความริษยา — Issà: envy; jealousy)23. มัจฉรยิ ะ (ความตระหน่ี — Macchariya: stinginess; meanness)24. กกุ กจุ จะ (ความเดือดรอนใจ — Kukkucca: worry; remorse)25. ถีนะ (ความหดหู — Thãna: sloth)26. มทิ ธะ (ความงวงเหงา — Middha: torpor)27. วิจิกจิ ฉา (ความคลางแคลงสงสัย — Vicikicchà: doubt; uncertainty; scepsis)ค. โสภณเจตสกิ 25 (เจตสกิ ฝายดงี าม — Sobhaõa~: beautiful mental factors; lofty mental factors) 1) โสภณสาธารณเจตสกิ 19 (เจตสกิ ทเ่ี กิดทวั่ ไปกับจิตดงี ามทุกดวง — Sobhaõa- sàdhàraõa~: universal beautiful mental factors; the Primary)28. สัทธา (ความเช่ือ — Saddhà: confidence; faith)29. สติ (ความระลกึ ได, ความสํานกึ พรอมอยู — Sati: mindfulness)30. หิริ (ความละอายตอ บาป — Hiri: moral shame; conscience)31. โอตตัปปะ (ความสะดงุ กลวั ตอ บาป — Ottappa: moral dread)32. อโลภะ (ความไมอ ยากไดอ ารมณ — Alobha: non-greed)33. อโทสะ (ความไมคิดประทษุ ราย — Adosa: non-hatred)34. ตัตรมัชฌตั ตตา (ความเปน กลางในอารมณน ้นั ๆ — Tatramajjhattatà: equanimity; specific neutrality)35. กายปส สทั ธิ (ความสงบแหง กองเจตสกิ — Kàya-passaddhi: tranquillity of mental body)36. จติ ตปสสัทธิ (ความสงบแหง จติ — Citta-passaddhi: tranquillity of mind)

[356] 280 พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร37. กายลหตุ า (ความเบาแหง กองเจตสิก — Kàya-lahutà: lightness of mental body; agility of ~)38. จติ ตลหตุ า (ความเบาแหงจิต — Citta-lahutà: lightness of mind; agility of ~)39. กายมทุ ตุ า (ความออ นหรอื นมุ นวลแหง กองเจตสกิ — Kàya-mudutà: pliancy of mental body; elasticity of ~)40. จติ ตมทุ ตุ า (ความออ นหรอื นมุ นวลแหง จติ — Citta-mudutà: pliancy of mind; elasticity of ~)41. กายกมั มญั ญตา (ความควรแกก ารงานแหง กองเจตสกิ — Kàya-kamma¤¤atà: adaptability of mental body; wieldiness of ~)42. จิตตกมั มัญญตา (ความควรแกก ารงานแหง จติ — Citta-kamma¤¤atà: adaptability of mind; wieldiness of ~)43. กายปาคญุ ญตา (ความคลองแคลวแหงกองเจตสกิ — Kàya-pàgu¤¤atà: proficiency of mental body)44. จติ ตปาคญุ ญตา (ความคลอ งแคลว แหง จติ — Citta-pàgu¤¤atà: proficiency of mind)45. กายุชกุ ตา (ความซอ่ื ตรงแหง กองเจตสกิ — Kàyujukatà: rectitude of mental body; uprightness of ~)46. จติ ตชุ กุ ตา (ความซอื่ ตรงแหง จติ — Cittujukatà: rectitude of mind; uprightness of ~) 2) วิรตีเจตสกิ 3 (เจตสิกท่เี ปน ตวั ความงดเวน — Viratã~: abstinences)47. สมั มาวาจา (เจรจาชอบ — Sammàvàcà: right speech)48. สัมมากมั มันตะ (กระทําชอบ — Sammàkammanta: right action)49. สมั มาอาชีวะ (เลีย้ งชีพชอบ — Sammà-àjãva: right livelihood) 3) อปั ปมญั ญาเจตสกิ 2 (เจตสกิ คอื อปั ปมญั ญา — Appama¤¤à~: boundless states)50. กรุณา (ความสงสารสตั วผถู งึ ทกุ ข — Karuõà: compassion)51. มุทิตา (ความยนิ ดีตอ สัตวผูไดส ขุ — Mudità: sympathetic joy) 4) ปญ ญนิ ทรยี เจตสกิ 1 (เจตสกิ คอื ปญ ญนิ ทรยี  — Pa¤¤indriya~: fuculty of wisdom)52. ปญ ญนิ ทรยี  หรอื อโมหะ (ความรเู ขา ใจ ไมห ลง — Pa¤¤indriya, Amoha: undeluded- ness; wisdom)Comp.94. สงคฺ ห.7.[356] จิต 89 หรอื 121 (ธรรมชาตทิ ่ีรอู ารมณ, สภาพทีน่ กึ คดิ , ความคดิ , ใจ, วญิ ญาณ— Citta: mind; thought; consciousness; a state of consciousness) จติ มไี วพจน คอื คาํ ที่ตา งเพยี งรูป แตม ีความหมายเหมอื นกันหรอื คลา ยกนั ใชแ ทนกนั ไดหลายคาํ เชน มโน มานสั หทยั บณั ฑร มนายตนะ มนนิ ทรยี  และ วญิ ญาณ เปนตน (อภิ.สํ.

หมวดเกิน 10 281 [356]34/21/10; ฯลฯ) คําเหลา น้มี ีความหมายเกยกนั มิใชตรงกันโดยสมบรู ณ ใชแ ทนกนั ไดในบางโอกาสมิใชเ สมอไป เมอื่ จดั แบง สภาวธรรมทงั้ หลายเปน ประเภทๆ ทเี่ รยี กวา ขนั ธ 5 จติ ไดแ ก วญิ ญาณขนั ธ แตในคัมภีรอภิธรรมยุคตอ มา นยิ มประมวลสภาวธรรมเขา เปน 4 อยา ง เรยี กวา ปรมตั ถธรรม 4 จิตเปน ปรมัตถธรรมอยา งที่ 1; ดู [157] ปรมตั ถธรรม 4; [216] ขนั ธ 5. คัมภรี อภิธรรมรุนอรรถกถา ประมวลเรื่องจติ ทแ่ี สดงไวใ นพระอภธิ รรมปฎ กแลว แจงนบัสภาพจิตท้งั หลายไววา มีจาํ นวน 89 หรอื โดยพสิ ดารมี 121 เรียกวา จิต 89 หรือ 121 เบอ้ื งตน น้ี จะประมวลจติ ทง้ั หมดไวเ ปน หมวดหมใู หญๆ กอ น เพอ่ื สะดวกในการศกึ ษากาํ หนดจดจาํ และทบทวนตอ ไป ในทนี่ ี้ พงึ ทราบวธิ จี าํ แนกประเภท 2 แบบ เปรยี บเทยี บกนั ดงั น้ี** ทา นเรยี บเรยี งเปน คาถาสรปุ ความไว ดงั นี้ กสุ ลาเนกวีสติ ทวฺ าทสากสุ ลาเนว กฺรยิ าจติ ฺตานิ วีสติ ฯ ฉตฺตึเสว วปิ ากานิ รูเป ปณณฺ รสรี เิ ย จตปุ ฺาสธา กาเม อฎธานตุ ตฺ เร ตถา ฯ จติ ตฺ านิ ทฺวาทสารูเป ปเภทํ ปน มานสํ อิตฺถเมกูนนวุตปิ ฺ- วภิ ชนตฺ ิ วิจกขฺ ณา ฯ เอกวสี สตํ วาถ

[356] 282 พจนานกุ รมพุทธศาสตร โสภณจิต 59 (91) ฌานจติ 67 ก. โดยชาตปิ ระเภท ข. โดยภมู ิประเภท 1. อกุศลจติ 12 1. กามาวจรจติ 54 - โลภมูลจติ 8 1) อกศุ ลจิต 12 - โทสมลู จิต 2 - โลภมูลจติ 8 - โมหมลู จติ 2 - โทสมลู จิต 2 - โมหมลู จิต 2 2. กศุ ลจิต 21 (37) 2) อเหตกุ จติ 18 - มหากุศลจิต 8 - อกุศลวิบากจติ 7 - รปู าวจรกุศลจิต 5 - กุศลวิบากอเหตุกจิต 8 - อรปู าวจรกุศลจิต 4 - อเหตกุ กริ ยิ าจติ 3 - โลกุตตรกุศลจิต 4 (20) 3) กามาวจรโสภณจิต 24 3. วิปากจติ 36 (52) - มหากศุ ลจติ 8 - มหาวบิ ากจติ 8 - อกุศลวิบากจติ 7 - มหากริ ิยาจิต 8 - กศุ ลวบิ ากอเหตกุ จิต 8 - มหาวิบากจติ 8 2. รปู าวจรจิต 15 - รูปาวจรวบิ ากจติ 5 - อรปู าวจรวบิ ากจิต 4 1) รปู าวจรกุศลจิต 5 - โลกุตตรวบิ ากจิต 4 (20) 2) รูปาวจรวิบากจติ 5 3) รูปาวจรกริ ยิ าจิต 5 4. กิริยาจิต 20 3. อรูปาวจรจติ 12 - อเหตกุ กริ ิยาจิต 3 - มหากริ ิยาจิต 8 1) อรปู าวจรกุศลจติ 4 - รปู าวจรกริ ิยาจติ 5 2) อรูปาวจรวิบากจิต 4 - อรปู าวจรกริ ยิ าจติ 4 3) อรปู าวจรกิรยิ าจติ 4 4. โลกุตตรจติ 8 (× ฌาน 5 = 40) 1) โลกตุ ตรกศุ ลจติ 4 (20) 2) โลกุตตรวบิ ากจติ 4 (20)หมายเหต:ุ ตวั เลขในวงเลบ็ ( ) หมายถงึ จาํ นวนอยา งพสิ ดาร เมอ่ื นบั จติ เปน 121 (พงึ สงั เกตวา จาํ นวนจะเพมิ่เฉพาะ โลกตุ ตรจติ อยา งเดยี ว คอื โลกตุ ตรจติ อยา งยอ มี 8 อยา งพสิ ดารจาํ แนกออกไปตามฌานทงั้ 5 เปน 40) ตอ ไปจะแสดง จติ 89 หรอื 121 ตามแบบภมู ิประเภท (แบบชาตปิ ระเภทพงึ กาํ หนดเอาจากแบบภมู ิประเภทน้ี ตามหวั ขอท่ีแสดงไวแลว )

หมวดเกิน 10 283 [356]1. กามาวจรจติ 54 (จติ ทเี่ ปน ไปในกามภูมิ — Kàmàvacara-citta: consciousness of theSense Sphere)1) อกศุ ลจติ 12 (จติ อันเปน อกุศล — Akusala-citta: immoral consciousness) อกุศลจติมีแตทเี่ ปน กามาวจรนเี้ ทา นั้น คือ• โลภมลู จติ 8 (จิตมโี ลภะเปน มลู — Lobhamåla-citta: consc rooted in greed)1. โสมนสสฺ สหคตํ ทฏิ คิ ตสมปฺ ยุตฺตํ อสงขฺ าริกํ2. ” ” สสงฺขารกิ ํ3. ” ทิฏ ิคตวิปฺปยุตฺตํ อสงขฺ าริกํ4. ” ” สสงฺขาริกํ5. อเุ ปกฺขาสหคตํ ทฏิ  คิ ตสมฺปยุตฺตํ อสงฺขารกิ ํ6. ” ” สสงขฺ าริกํ7. ” ทฏิ  คิ ตวปิ ปฺ ยุตฺตํ อสงขฺ ารกิ ํ8. ” ” สสงฺขาริกํ1. จติ ทเ่ี กดิ พรอ มดว ยโสมนสั สเวทนา ประกอบดวยมจิ ฉาทิฏฐิ ไมม กี ารชักนํา2. ” ” มกี ารชักนํา3. ” ไมป ระกอบดว ยมจิ ฉาทฏิ ฐิ ไมม กี ารชักนาํ4. “ ” มีการชกั นาํ5. จติ ท่ีเกดิ พรอมดวยอุเบกขาเวทนา ประกอบดว ยมจิ ฉาทฏิ ฐิ ไมม ีการชกั นาํ6. ” ” มีการชักนํา7. ” ไมป ระกอบดว ยมจิ ฉาทฏิ ฐิ ไมม ีการชกั นํา8. ” ” มกี ารชักนํา1. One consc, accom by joy, assoc with wrong view, unprompted.*2. ~ , ~ , ~ , prompted.3. ~ , ~ , dissoc from wrong view, unprompted.4. ~ , ~ , ~ , prompted.5. One consc, accom by indif, assoc with wrong view, unprompted.6. ~ , ~ , ~ , prompted.7. ~ , ~ , dissoc from wrong view, unprompted.8. ~ , ~ , ~ , prompted.* consc = consciousness; accom = accompanied; assoc = associated; dissoc = dissociated; indif = indifference.

[356] 284 พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร• โทสมูลจิต 2* (จิตมโี ทสะเปน มลู — Dosamåla-citta: consc rooted in hatred)1. โทมนสสฺ สหคตํ ปฏฆิ สมปฺ ยุตตฺ ํ อสงฺขารกิ ํ2. ” ” สสงฺขาริกํ1. จติ ท่ีเกิดพรอ มดว ยโทมนัสสเวทนา ประกอบดว ยปฏิฆะ ไมมกี ารชักนํา2. ” ” มกี ารชักนาํ1. One consc, accom by grief, assoc with resentment, unprompted.2. ~ , ~ , ~ , prompted.• โมหมลู จิต 8 (จติ มโี มหะเปน มลู — Mohamåla-citta: consc rooted in delusion)1. อุเปกขฺ าสหคตํ วจิ กิ จิ ฺฉาสมฺปยุตฺตํ2. ” อุทธฺ จฺจสมฺปยุตฺตํ1. จิตทเี่ กิดพรอ มดว ยอเุ บกขาเวทนา ประกอบดวยวิจิกจิ ฉา2. ” ประกอบดวยอทุ ธจั จะ1. One consc, accom by indif, assoc with uncertainty.2. ~ , ~ , assoc with restlessness. 2) อเหตกุ จติ 18 (จติ อันไมม สี มั ปยุตตเหตุ คอื ไมประกอบดวยเหตุ 6 ไดแก โลภะ โทสะ โมหะ อโลภะ อโทสะ อโมหะ — Ahetuka-citta: rootless consc) • อกศุ ลวบิ ากจติ 7 (จติ ทเี่ ปน ผลของอกศุ ล — Akusalavipàka-citta: rootless resultant-of-immorality consc)1. อุเปกขฺ าสหคตํจกขฺ วุ ิ ฺาณํ2. ” โสตวิฺาณํ3. ” ฆานวิฺาณํ4. ” ชิวฺหาวิฺาณํ5. ทกุ ฺขสหคตํ กายวิฺาณํ6. อเุ ปกฺขาสหคตํสมฺปฏจิ ฉฺ นนฺ ํ7. อุเปกขฺ าสหคตํสนตฺ รี ณํ1. จักขุวิญญาณจิต ที่เกิดพรอ มดวยอเุ บกขาเวทนา2. โสตวญิ ญาณจติ ”3. ฆานวิญญาณจิต ”4. ชิวหาวิญญาณจติ ”* เรยี ก ปฏฆิ สมั ปยตุ ตจติ ก็ได

หมวดเกนิ 10 285 [356]5. กายวญิ ญาณจติ ที่เกดิ พรอมดว ยทกุ ขเวทนา6. สัมปฏจิ ฉนั นจิต ทีเ่ กิดพรอมดว ยอเุ บกขาเวทนา7. สนั ตีรณจิต ”1. Eye-consc, accom by indif.2. Ear-consc, ~3. Nose-consc, ~4. Tongue-consc, ~5. Body-consc, accom by pain.6. Receiving-consc, accom by indif.7. Investigating-consc, ~• กุศลวิบากอเหตกุ จิต 8 (จติ ทเ่ี ปนผลของกุศล ไมม ีสมั ปยตุ ตเหตุ — Kusalavipàka-ahetuka-citta: rootless resultant-of-morality consc)1. อเุ ปกขฺ าสหคตํ จกฺขุวิ ฺาณํ2. “ โสตวิ ฺาณํ3. “ ฆานวิฺาณํ4. “ ชวิ ฺหาวิฺาณํ5. สุขสหคตํ กายวิ ฺาณํ6. อุเปกขฺ าสหคตํ สมปฺ ฏิจฉฺ นนฺ ํ7. โสมนสฺสสหคตํ สนฺตีรณํ8. อุเปกฺขาสหคตํ สนตฺ รี ณํ1. จักขวุ ิญญาณจติ ทีเ่ กดิ พรอ มดว ยอุเบกขาเวทนา2. โสตวญิ ญาณจติ ”3. ฆานวิญญาณจิต ”4. ชวิ หาวญิ ญาณจิต ”5. กายวิญญาณจิต ทีเ่ กดิ พรอ มดว ยสุขเวทนา6. สมั ปฏจิ ฉนั นจติ ทเ่ี กิดพรอ มดว ยอุเบกขาเวทนา7. สันตรี ณจิต ท่ีเกิดพรอมดวยโสมนัสสเวทนา8. สนั ตีรณจติ ที่เกิดพรอ มดว ยอเุ บกขาเวทนา1.–4. Eye-, Ear-, Nose-, Tongue-consc, accom by indif.5. Body-consc, accom by pleasure.6. Receiving-consc, accom by indif.

[356] 286 พจนานกุ รมพุทธศาสตร7. Investigating-consc, accom by joy.8. Investigating-consc, accom by indif. • อเหตกุ กริ ยิ าจิต 3 (จิตทเ่ี ปน เพียงกริ ยิ า ไมม สี มั ปยุตตเหตุ — Ahetukakiriyà-citta:rootless functional consc)1. อุเปกขฺ าสหคตํ ปฺจทฺวาราวชชฺ นํ2. ” มโนทฺวาราวชชฺ นํ3. โสมนสสฺ สหคตํ หสติ ปุ ฺปาทจติ ตฺ ํ1. ปญจทวาราวัชชนจติ * ทเ่ี กดิ พรอมดว ยอเุ บกขาเวทนา2. มโนทวาราวชั ชนจิต** ”3. หสิตปุ ปาทจติ *** ท่เี กดิ พรอมดว ยโสมนสั สเวทนา1. Five-sense-door adverting consc, accom by indif.2. Mind-door adverting consc, accom by indif.3. Smile-producing consc, accom by joy. 3) กามาวจรโสภณจิต 24 (จิตดงี ามทเ่ี ปน ไปในกามภูมิ — Kàmàvacara-sobhaõa-citta:Sense-Sphere beautiful consc• มหากศุ ลจิต หรือ สเหตกุ กามาวจรกศุ ลจิต 8 (จิตท่เี ปน กศุ ลยง่ิ ใหญ หรอื กศุ ลจติ ที่เปนไปในกามภมู ิ มสี ัมปยตุ ตเหตุ — Mahàkusala-citta: moral consc)1. โสมนสสฺ สหคตํ าณสมฺปยตุ ตฺ ํ อสงขฺ าริกํ2. ” ” สสงฺขารกิ ํ3 ” าณวิปฺปยตุ ฺตํ อสงฺขาริกํ4. ” ” สสงขฺ าริกํ5. อเุ ปกฺขาสหคตํ าณสมปฺ ยตุ ฺตํ อสงขฺ าริกํ6. ” ” สสงฺขารกิ ํ7. ” าณวิปฺปยตุ ตฺ ํ อสงขฺ าริกํ8. “ “ สสงฺขารกิ ํ1. จิตท่ีเกดิ พรอมดวยโสมนัสสเวทนา ประกอบดว ยปญ ญา ไมม ีการชกั นาํ2. ” ” มกี ารชักนํา* จติ ท่รี าํ พงึ ถงึ อารมณท ี่กระทบทวารท้งั 5** จติ ท่รี ําพึงถงึ อารมณอ ันมาถงึ คลองในมโนทวาร = โวฏฐพั พนะ***จติ ทีท่ ําใหเกิดการแยมยิม้ ของพระอรหนั ต


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook