ประชมุ พงศาวดารฉบบั กาญจนาภเิ ษก เลม่ ๒ คณะกรรมการอำนวยการจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกเนื่องในมหามงคลสมัยฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี พทุ ธศกั ราช ๒๕๓๙
ประชมุ พงศาวดารฉบบั กาญจนาภเิ ษก เลม่ ๒ คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ในคณะกรรมการอำนวยการจดั งานฉลองสริ ริ าชสมบตั คิ รบ ๕๐ ปี มอบให้กรมศิลปากรจัดพิมพ์ในนามคณะกรรมการโครงการชำระและจัดพิมพ์เผยแพร่ หนังสือชุดประชุมพงศาวดาร เฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ในมหามงคลสมยั ฉลองสริ ริ าชสมบตั คิ รบ ๕๐ ปี พมิ พค์ รง้ั แรก พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๒ จำนวน ๕,๐๐๐ เลม่ ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ ประชมุ พงศาวดารฉบบั กาญจนาภเิ ษก เลม่ ๒. - - กรงุ เทพ ฯ : กองวรรณกรรม และประวตั ศิ าสตร์ กรมศลิ ปากร, ๒๕๔๒. ๔๓๔ หนา้ . ๑.ไทย - - ประวตั ศิ าสตร.์ . กรมศลิ ปากร. กองวรรณกรรมและประวตั ศิ าสตร.์ . ชอ่ื เรอ่ื ง. ๙๕๙.๓ ISBN 974 - 419 - 217 - 8 ที่ปรึกษา อธบิ ดกี รมศลิ ปากร ( นายนคิ ม มสู กิ ะคามะ ) พลตรี ม.ร.ว. ศภุ วฒั ย์ เกษมศรี นางสาวกอ่ งแกว้ วรี ะประจกั ษ์ ผอู้ ำนวยการกองวรรณกรรมและประวตั ศิ าสตร์ ( นางปรงุ ศรี วลั ลโิ ภดม ) คณะบรรณาธกิ าร นางสาวศริ นิ นั ท์ บญุ ศริ ิ นางสาวอรวรรณ ทรพั ยพ์ ลอย พมิ พท์ โ่ี รงพมิ พค์ รุ สุ ภาลาดพรา้ ว นายวชิ ยั พยคั ฆโส ผพู้ มิ พแ์ ละผโู้ ฆษณา พ.ศ. ๒๕๔๒
คำปรารภ ในมหามงคลสมัยที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จกั รนี ฤบดนิ ทร์ สยามนิ ทราธริ าช บรมนาถบพติ ร ทรงปกครองสยามรฐั สมี าอาณาจกั รถว้ นถงึ ๕๐ พรรษา ในพุทธศักราช ๒๕๓๙ เป็นสิ่งประเสริฐสุดที่มิเคยปรากฏมาแต่กาลก่อน แสดงบุญญาธิการอันไพศาล ยงั ความปลาบปลม้ื ปตี โิ สมนสั มาสปู่ ระชาชนชาวไทยทง้ั ชาติ รฐั บาลและอเนกชาตนิ กิ รชนตา่ งสโมสรสมานฉนั ท์ จดั งานฉลองสริ ริ าชสมบตั คิ รบ ๕๐ ปี เฉลมิ พระเกยี รตใิ หป้ รากฏแผไ่ พศาล นับแต่เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติตราบจนบัดนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงดำรงอยู่ใน ทศพิธราชธรรม ทรงอุทิศพระองค์บำเพ็ญพระราชกรณียกิจนานัปการ ยังความร่มเย็นเป็นสุขแก่พสกนิกร ทกุ ถว้ นทว่ั ทรงเปน็ มง่ิ ขวญั และศนู ยร์ วมแหง่ ความสามคั คขี องปวงชนชาวไทย ตลอดระยะเวลาในรชั สมยั ประเทศไทยมีความเจริญรุ่งเรืองก้าวหน้าและมั่นคงเป็นปึกแผ่นตลอดมา พระมหากรุณาธิคุณนี้เป็นสิ่งที่ คนไทยทง้ั มวลจกั นอ้ มรบั ใสเ่ กลา้ ใสก่ ระหมอ่ มไวต้ ลอดชวี ติ เพื่อเป็นการแสดงความจงรักภักดีและสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้ รัฐบาลและ ประชาชนทุกหมู่เหล่าได้พร้อมใจกันจัดงานเฉลิมพระเกียรติถวายเป็นราชสักการะ โดยการนี้คณะกรรมการ ฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ในคณะกรรมการอำนวยการจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี ไดพ้ จิ ารณาเหน็ ชอบอนมุ ตั ใิ หห้ นว่ ยราชการ องคก์ ร เอกชนจดั พมิ พห์ นงั สอื เฉลมิ พระเกยี รตคิ ณุ ในดา้ นตา่ ง ๆ เพอ่ื เผยแพรพ่ ระมหากรณุ าธคิ ณุ และพระปรชี าสามารถใหป้ รากฏยง่ั ยนื อยตู่ ราบกาลนาน ในนามของรฐั บาลและประธานกรรมการอำนวยการจดั งานฉลองสริ ริ าชสมบตั คิ รบ ๕๐ ปี ขออนโุ มทนา ในความอุตสาหะวิริยะของทุกหน่วยราชการ องค์กร เอกชน และคณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสาร และจดหมายเหตุ ตลอดจนคณะทำงานเฉพาะกิจทุกคณะที่ได้ริเริ่มและสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ อนั จะอำนวยคณุ ประโยชนอ์ ยา่ งยง่ิ แกม่ หาชน นอ้ มเกลา้ นอ้ มกระหมอ่ มถวายเปน็ ราชสกั การะแดพ่ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ผสู้ ถติ อยใู่ นหทยั ปวงประชาราษฎรตลอดกาลนริ นั ดร์ (นายบรรหาร ศลิ ปอาชา) นายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการอำนวยการจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี
พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สำนกั ราชเลขาธกิ าร พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชสมภพ ณ โรงพยาบาล เมานท์ออเบอร์น (Mount Auburn) เมืองเคมบริดจ์ (Cambridge) รัฐแมสสาชูเซตต์ (Massachusetts) สหรัฐอเมริกา เมื่อวันจันทร์ เดือนอ้าย ขึ้น ๑๒ ค่ำ ปีเถาะนพศก จุลศักราช ๑๒๘๙ ตรงกับวันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๗๐ มีพระนามเดิมว่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพลอดุลเดช เป็น พระราชโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จพระราชบิดา เจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จ พระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี) และสมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์ ซึ่งภายหลังทั้งสองพระองค์ได้รับการ เฉลิมพระนามาภิไธยเป็น สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก และ สมเด็จ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีพระเชษฐภคินี และสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช คือ สมเด็จพระเจ้า พน่ี างเธอ เจา้ ฟา้ กลั ยาณวิ ฒั นา กรมหลวงนราธวิ าสราชนครนิ ทร์ ประสตู เิ มอ่ื วนั อาทติ ยท์ ่ี ๖ พฤษภาคม พทุ ธศกั ราช ๒๔๖๖ ณ กรงุ ลอนดอน ประเทศองั กฤษ กบั พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหดิ ล เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอาทิตย์ที่ ๒๐ กันยายน พุทธศักราช ๒๔๖๘ ณ เมืองไฮเดลแบร์ก ประเทศเยอรมนี เมื่อพุทธศักราช ๒๔๗๑ ได้โดยเสด็จสมเด็จพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญา แพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยม จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐอเมริกา กลับประเทศไทยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาในวันที่ ๒๔ กันยายน พุทธศักราช ๒๔๗๒ สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะนั้นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบันทรงเจริญพระชนมายุได้ไม่ถึง ๒ ปี และเมื่อมี พระชนมายุได้ ๕ ปี ได้ทรงเข้ารับการศึกษาชั้นต้น ณ โรงเรียนมาแตร์ เดอี กรุงเทพ ฯ จนถึงพุทธศักราช ๒๔๗๖ จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วย สมเด็จพระบรมราชชนนี พระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เพื่อทรงศึกษาต่อในชั้น ประถมศึกษาในโรงเรียน Miremont ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ จากนั้นทรงเข้าศึกษาชั้นมัธยมศึกษาที่โรงเรียน Ecole Nouvelle de la Suisse Romande, Chailly – sur Lausanne เมื่อทรงรับประกาศนียบัตร Bachelier es Lettres จาก Gymnase
(๔) Classique Cantonal แหง่ เมอื งโลซานนแ์ ลว้ ทรงเขา้ ศกึ ษาในมหาวทิ ยาลยั โลซานน์ โดยทรงเลอื กศกึ ษา ในแขนงวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ในพุทธศักราช ๒๔๗๗ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล เสด็จขึ้นครองราชย์เป็น พระมหากษตั รยิ ์ รชั กาลท่ี ๘ แหง่ พระบรมราชจกั รวี งศ์ พระวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ ภมู พิ ลอดลุ เดช จงึ ทรง ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช เมื่อพุทธศักราช ๒๔๗๘ และได้โดยเสด็จพระราชดำเนินสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล นิวัตประเทศไทยเป็นครั้งแรกใน พุทธศักราช ๒๔๘๑ โดยประทับ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิตเป็นการชั่วคราว แล้วเสด็จพระราชดำเนินกลับไปประเทศสวิตเซอร์แลนด์ จนถึงพุทธศักราช ๒๔๘๘ จึงโดยเสด็จ พระราชดำเนินสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล นิวัตประเทศไทยเป็นครั้งที่สอง ครั้งนี้ประทับ ณ พระทน่ี ง่ั บรมพมิ านในพระบรมมหาราชวงั ในวันที่ ๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๘๙ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จสวรรคต โดยกะทันหัน ณ พระที่นั่งบรมพิมาน ในพระบรมมหาราชวัง สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลยเดช จึงเสด็จขึ้นครองราชสมบัติสืบราชสันตติวงศ์ในวันเดียวกันนั้น แต่เนื่องจากยังมีพระราชกิจ ด้านการศึกษา จึงต้องทรงอำลาประชาชนชาวไทยเสด็จพระราชดำเนินกลับไปยังประเทศสวิตเซอร์แลนด์ อีกครั้งหนึ่งในเดือนสิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๘๙ เพื่อทรงศึกษาต่อ ณ มหาวิทยาลัยแห่งเดิม ในครง้ั นท้ี รงเลอื กศกึ ษาวชิ ากฎหมายและวชิ ารฐั ศาสตร์ แทนวชิ าวทิ ยาศาสตรท์ ท่ี รงศกึ ษาอยเู่ ดมิ ระหว่างที่ประทับศึกษาอยู่ในต่างประเทศนั้น ทรงพบหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร ธิดาใน หม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร กับหม่อมหลวงบัว (สนิทวงศ์) กิติยากร (ภายหลังพระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยหู่ วั มพี ระบรมราชโองการโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มใหส้ ถาปนาพระอสิ รยิ ยศหมอ่ มเจา้ นกั ขตั รมงคล กติ ยิ ากร ขน้ึ เปน็ พระวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ นกั ขตั รมงคล เมอ่ื พทุ ธศกั ราช ๒๔๙๓ และขน้ึ เปน็ พระองคเ์ จา้ ตา่ งกรม มพี ระนามวา่ พระวรวงศเ์ ธอ กรมหมน่ื จนั ทบรุ สี รุ นาถ เมอ่ื พทุ ธศกั ราช ๒๔๙๕) ตอ่ มาทรงหมน้ั กับหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร ในวันที่ ๑๙ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๔๙๒ ณ เมืองโลซานน์ ประเทศสวติ เซอรแ์ ลนด์ ในพุทธศักราช ๒๔๙๓ เสด็จพระราชดำเนินนิวัตพระนคร ประทับ ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ตั้งการพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ
(๕) พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหดิ ล ในเดอื นมนี าคม พทุ ธศกั ราช ๒๔๙๓ ตอ่ มาในวนั ท่ี ๒๘ เมษายน ปเี ดยี วกนั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มใหจ้ ดั การพระราชพธิ รี าชาภเิ ษกสมรสกบั หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร ณ พระตำหนักสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ในวังสระปทุม ซึ่งในการพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสนี้ มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ใหส้ ถาปนาหมอ่ มราชวงศส์ ริ กิ ติ ์ิ กติ ยิ ากร ขน้ึ เปน็ สมเดจ็ พระราชนิ สี ริ กิ ติ ์ิ ในวันที่ ๕ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๙๓ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ตั้งการ พระราชพิธีบรมราชาภิเษกตามแบบอย่างโบราณราชประเพณีขึ้น ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ ในพระบรมมหาราชวัง เฉลิมพระบรมนามาภิไธยตามที่จารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร์ สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร พร้อมทั้งพระราชทานพระปฐมบรมราชโองการว่า เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพอ่ื ประโยชนส์ ขุ แหง่ มหาชนชาวสยาม และในโอกาสน้ี ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มสถาปนา เฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระราชนิ สี ริ กิ ติ ์ิ ขน้ึ เปน็ สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ ี หลังจากเสร็จการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกแล้ว ได้เสด็จพระราชดำเนินไปทรงรักษาพระสุขภาพ ณ เมืองโลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ตามที่คณะแพทย์ได้ถวายคำแนะนำและระหว่างที่ประทับ ในเมืองโลซานน์ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี มีพระประสูติกาลพระราชธิดาพระองค์แรก คือ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ซึ่งประสูติ ณ โรงพยาบาล มองซัวซีส์ เมืองโลซานน์ เมื่อวันที่ ๕ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๙๔ และเมื่อสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ พระองค์แรกเจริญพระชันษาได้ ๗ เดือน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดำเนินนิวัต พระนคร ประทับ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต จากนั้นทรงย้ายที่ประทับไปประทับ ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต เนื่องจากทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ปรับปรุง พระตำหนกั จติ รลดารโหฐาน สำหรบั เปน็ ทป่ี ระทบั แทนการทร่ี ฐั บาลจะจดั สรา้ งพระตำหนกั ขน้ึ ใหม่ และท่ี พระที่นั่งอัมพรสถานนี้เอง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี มีพระประสูติกาลพระราชโอรส และพระราชธดิ าอกี สามพระองค์ คอื สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ ประสูติเมื่อวันจันทร์ที่ ๒๘ กรกฎาคม พทุ ธศกั ราช ๒๔๙๕ ในพุทธศักราช ๒๕๑๕ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมสถาปนาขึ้นเป็น สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช เจา้ ฟา้ มหาวชริ าลงกรณ สยามมกฎุ ราชกมุ าร
(๖) สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดา กิติวัฒนาดุลโสภาคย์ ประสูติเมื่อวันเสาร์ที่ ๒ เมษายน พทุ ธศกั ราช ๒๔๙๘ ในพทุ ธศกั ราช ๒๕๒๐ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มสถาปนา ขน้ึ เปน็ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า เจา้ ฟา้ มหาจกั รสี ริ นิ ธร รฐั สมี าคณุ ากรปยิ ชาติ สยามบรมราชกมุ ารี สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๔ กรกฎาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๐๐ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระผนวช เมื่อวันที่ ๒๒ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๙๙ ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง และประทับจำพรรษา ณ พระตำหนัก ปั้นหยา วัดบวรนิเวศวิหาร มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี เป็นผู้สำเร็จราชการ ทรงปฏิบัติราชการแผ่นดินแทนพระองค์ตลอดเวลา ๑๕ วัน ทท่ี รงพระผนวชอยู่ และจากการทส่ี มเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ ี ทรงปฏบิ ตั พิ ระราชกรณยี กจิ ใน ตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ได้อย่างเรียบร้อยเป็นที่พอพระราชหฤทัย จึงมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมสถาปนาขึ้นเป็น สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในปีเดียวกัน นั้นเอง และในวันที่ ๓๑ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๐๐ หลังจากทรงประกอบพิธีเฉลิมพระตำหนักจิตรลดา รโหฐาน ซึ่งได้ต่อเติมขึ้นใหม่แล้ว ทรงย้ายที่ประทับจากพระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต กลับไป ประทบั ทพ่ี ระตำหนกั จติ รลดารโหฐาน พระราชวงั ดสุ ติ จนถงึ ปจั จบุ นั
คำนำ คณะกรรมการโครงการชำระและจดั พมิ พเ์ ผยแพร่ หนงั สอื ชดุ ประชมุ พงศาวดาร ประวัติศาสตร์เป็นเครื่องบ่งชี้ความเป็นชาติ และแสดงถึงความรุ่งเรืองทางวัฒนธรรมของบุคคล ในชาติ เอกสารบันทึกประวัติศาสตร์ของชาติที่เรียกว่า พงศาวดาร จึงเป็นสมบัติล้ำค่าของแผ่นดิน เมอ่ื สมาคมหอ้ งสมดุ แหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภข์ องสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสนอให้กรมศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการ ชำระและจัดพิมพ์เผยแพร่หนังสือชุดประชุมพงศาวดาร ขึ้นใหม่เปน็ ชุดพเิ ศษ ในมหามงคลสมัยท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภมู ิพลอดุลยเดช เสด็จเถลิงถวัลย ราชสมบัติครบ ๕๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙ คณะกรรมการอำนวยการจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี จงึ อนมุ ตั เิ ปน็ โครงการเฉลมิ พระเกยี รติ ฯ ตามทค่ี ณะกรรมการฝา่ ยประมวลเอกสารและจดหมายเหตเุ หน็ ชอบ และคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ ๓ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๙ แต่งตั้งคณะกรรมการโครงการชำระ และจัดพิมพ์เผยแพร่หนังสือชุดประชุมพงศาวดาร เพื่อให้คำปรึกษาแนะนำการตรวจสอบชำระและ การเผยแพรป่ ระชมุ พงศาวดารในรปู หนงั สอื และแผน่ ซดี รี อม โดยมกี รมศลิ ปากรรบั ผดิ ชอบดำเนนิ การ หนังสือชุดประชุมพงศาวดารนี้ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ “พระบิดาแห่งประวัติศาสตร์ไทย” ได้ทรงริเริ่มรวบรวมชำระและจัดพิมพ์เผยแพร่ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๕๗ และกรมศิลปากรได้สืบสานต่อมา จนจัดพิมพ์ถึงภาคที่ ๘๒ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๗ บางภาคอาจรวมเรื่องราว ตา่ ง ๆ ไวห้ ลายเรอ่ื ง ในการจดั พมิ พค์ รง้ั นใ้ี หช้ อ่ื วา่ ประชมุ พงศาวดารฉบบั กาญจนาภเิ ษก ซง่ึ ไดพ้ จิ ารณา จดั หมวดหมใู่ หมต่ ามเนอ้ื หา เพอ่ื ใหผ้ สู้ นใจทว่ั ไปไดศ้ กึ ษาคน้ ควา้ สะดวกขน้ึ ดงั น้ี ๑. การเมอื งการปกครอง ๒. ตำนานเรอ่ื งเลา่ ฯลฯ ๒.๑ บุคคล ๒.๒ สิ่งของ ๒.๓ สถานท่ี ๓. หวั เมอื ง ๓.๑ ฝา่ ยใต้ ๓.๒ ฝา่ ยเหนอื
(๘) ๔. สมั พนั ธภาพระหวา่ งประเทศ ๔.๑ พมา่ ๔.๒ เขมรและญวน ๔.๓ จนี ๔.๔ ญป่ี นุ่ ๔.๕ ชวา ๔.๖ ฝรั่งเศส ๔.๗ องั กฤษ ๔.๘ สหรฐั อเมรกิ า ในการตรวจสอบชำระและจัดพิมพ์เผยแพร่หนังสือ ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก แตล่ ะเลม่ คณะกรรมการโครงการ ฯ ไดแ้ ตง่ ตง้ั คณะกรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ชิ ำระและจดั พมิ พเ์ ผยแพรห่ นงั สอื ประชมุ พงศาวดาร ขน้ึ ดำเนนิ การเลม่ ละ ๑ ชดุ หลักการตรวจสอบชำระคือ พยายามสืบค้นและตรวจสอบชำระกับต้นฉบับตัวเขียน หากไม่พบ ก็ยึดฉบับพิมพ์ครั้งแรกที่สุดที่สืบค้นได้เป็นหลัก หรือหากพบต้นฉบับที่สมบูรณ์กว่า ก็ชำระเพิ่มเติม ใหส้ มบรู ณย์ ง่ิ ขน้ึ การใช้ภาษา เนื่องจากหนังสือชุดประชุมพงศาวดารจัดพิมพ์เผยแพร่ต่อเนื่องมานานกว่า ๘๐ ปี ทง้ั ตน้ ฉบบั เดมิ บางฉบบั เกา่ ถงึ สมยั อยธุ ยา คณะกรรมการโครงการ ฯ คำนงึ ถงึ ประโยชนข์ องผใู้ ชส้ ว่ นใหญ่ จึงได้ยึดนโยบายตามรอยการชำระจัดพิมพ์แต่แรกเริ่มสืบมา กล่าวคือ ปริวรรตอักขรวิธีให้เป็นแบบ ภาษาปจั จบุ นั แตย่ งั ไดพ้ ยายามคงวสิ ามานยนามหรอื ชอ่ื เฉพาะตามตน้ ฉบบั เดมิ ไว้ เพอ่ื ใหค้ งเหลอื เปน็ สว่ น ใหเ้ หน็ ววิ ฒั นาการทางภาษาบา้ ง และคงไวเ้ ปน็ หลกั ฐานสำหรบั การสบื คน้ ศกึ ษาชอ่ื เฉพาะตา่ ง ๆ เชน่ ยศ ตำแหนง่ และราชทนิ นาม เปน็ ตน้ นอกจากนี้ พงศาวดารบางเรื่องยังมีประวัติความเป็นมายาวนานซับซ้อน ผู้ตรวจสอบชำระจึงได้ จัดทำคำชี้แจงไว้ประจำเล่ม รวมทั้งจัดทำเชิงอรรถชี้แจงขยายความ เพื่อประโยชน์ต่อการศึกษาค้นคว้า ใหม้ ากทส่ี ดุ
(๙) ตามโครงการหนังสือชุด ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก จะทยอยพิมพ์เผยแพร่ ประชุมพงศาวดาร ๕ เล่ม และดัชนีค้นคำ ๑ เล่ม จนครบชุดประชุมพงศาวดาร ๒๐ เล่ม และ ดัชนีค้นคำ ๔ เล่ม นอกจากนี้ยังได้รวบรวมผลิตซีดีรอมประชุมพงศาวดาร ฉบับพิมพ์ครั้งแรก รวม ๘๒ ภาค ไวใ้ นชน้ั ตน้ เพอ่ื เปน็ การอนรุ กั ษป์ ระชมุ พงศาวดารของเดมิ ไวเ้ ปน็ หลกั ฐานใหศ้ กึ ษาเปรยี บเทยี บ และจะทยอยผลิตซีดีรอม ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก ไปพร้อม ๆ กัน คณะกรรมการโครงการฯ มไิ ดห้ วงั แตเ่ พยี งวา่ การจดั ทำ ประชมุ พงศาวดารฉบบั กาญจนาภเิ ษก จะเป็นการสืบต่ออายุสมบัติหรือทรัพย์สินทางปัญญาอันล้ำค่าของชาติเท่านั้น แต่หวังอย่างยิ่งว่าประชุม พงศาวดารจะเป็นแหล่งข้อมูลที่จะนำไปสู่การศึกษาประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม สังคม และขนบธรรมเนียม ประเพณขี องไทยและเพอ่ื นบา้ น กอ่ ใหเ้ กดิ ความรกั และภาคภมู ใิ นประเทศชาติ และกอ่ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจ อันดีถึงความเป็นมาของบ้านเมืองของเราและประเทศเพื่อนบ้าน จะได้เป็นรากฐานวัฒนธรรมที่มั่นคง พร้อมที่จะรับกระแสแห่งโลกาภิวัตน์ อีกทั้งการจัดทำซีดีรอมจะทำให้พงศาวดารไทยได้เผยแพร่ออกไป กวา้ งไกลยง่ิ ขน้ึ ตามเครอื ขา่ ยสารสนเทศของโลกไรพ้ รมแดนน้ี (หมอ่ มเจา้ สภุ ทั รดศิ ดศิ กลุ ) ประธานกรรมการโครงการชำระและจดั พมิ พเ์ ผยแพร่ หนงั สอื ชดุ ประชมุ พงศาวดาร
คำชี้แจง คณะกรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ชิ ำระและจดั พมิ พเ์ ผยแพร่ หนงั สอื ประชมุ พงศาวดารฉบบั กาญจนาภเิ ษก เลม่ ๒ หนงั สอื ประชมุ พงศาวดารฉบบั กาญจนาภเิ ษก เลม่ ๒ เปน็ เรอ่ื ง พระราชพงศาวดารกรงุ สยาม จากต้นฉบับของบริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน ซึ่งนับเข้าเป็นหนังสือชุดประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๘๒ ในการพมิ พค์ รง้ั ท่ี ๒ เมอ่ื พทุ ธศกั ราช ๒๕๓๗ ในการพมิ พค์ รง้ั น้ี บรรณาธกิ ารประจำเลม่ ไดต้ รวจสอบชำระ กับฉบับตัวเขียนที่คัดลอกความจากสมุดไทยจำนวน ๓๐ เล่มลงในสมุดฝรั่ง ซึ่งได้รับความอนุเคราะห์จาก กระทรวงการต่างประเทศประสานงานเพื่อขอสำเนาไมโครฟิล์มจาก British Library กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ในการนี้ คณะบรรณาธิการยึดหลักการตรวจสอบชำระตามมติที่ประชุมคณะกรรมการ ผทู้ รงคณุ วฒุ ชิ ำระและจดั พมิ พเ์ ผยแพรห่ นงั สอื ประชมุ พงศาวดาร เลม่ ๒ และคณะกรรมการโครงการชำระ และจดั พมิ พเ์ ผยแพรห่ นงั สอื ชดุ ประชมุ พงศาวดาร ดงั น้ี เนอ้ื ความ รกั ษาขอ้ ความตามตน้ ฉบบั ถงึ แมว้ า่ การคดั ลอกจะผดิ พลาดกต็ าม ทง้ั นจ้ี ะใช้ เชงิ อรรถ อธิบายความ และปริวรรตตัวสะกดการันต์เป็นภาษาปัจจุบันตามพจนานุกรม ยกเว้นชื่อเฉพาะต่าง ๆ ยงั คงรกั ษาอกั ขรวธิ เี ดมิ ตามตน้ ฉบบั เหตนุ ช้ี อ่ื เดยี วกนั จงึ อาจมกี ารสะกดตวั อกั ษรทแ่ี ตกตา่ งกนั วนั เดอื นปี ทางจนั ทรคตริ ะบตุ ามตน้ ฉบบั โดยใสค่ ำอา่ นไวใ้ นวงเลบ็ สว่ นจำนวนนบั กย็ ดึ ตามตน้ ฉบบั เชน่ เดยี วกนั สารบญั การจดั ทำสารบญั ในสว่ นของชอ่ื เฉพาะรกั ษาอกั ขรวธิ เี ดมิ ตามตน้ ฉบบั สว่ นความอน่ื ใชต้ วั สะกดการนั ตต์ ามพจนานกุ รม เชงิ อรรถ จะมีการอธิบายความ ๓ ลักษณะ ได้แก่ เชิงอรรถเดิม คือ ข้อความที่ นายตรี อมาตยกลุ อดตี หวั หนา้ กองวรรณคดแี ละประวตั ศิ าสตร์ กรมศลิ ปากร จดั ทำคำอธบิ ายไวใ้ นการพมิ พ์ ครั้งแรก ใช้เครื่องหมายดอกจัน กรณีมีข้อมูลใหม่หรือมีความเห็นเพิ่มเติม ใช้ข้อความเป็นตัวเอน ไว้ในวงเล็บต่อจากข้อความที่เป็นเชิงอรรถเดิม ส่วนเชิงอรรถใหม่ในการพิมพ์ครั้งนี้ ใช้ตัวเลขกำกับ เพอ่ื ใหเ้ หน็ ความแตกตา่ ง คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ฯ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า การชำระและจัดพิมพ์เผยแพร่หนังสือ ประชมุ พงศาวดารฉบบั กาญจนาภเิ ษก เลม่ ๒ น้ี จะอำนวยประโยชนแ์ กท่ า่ นผสู้ นใจไดต้ ามสมควร
( ๑๕ ) คำนำในการพิมพ์ครั้งแรก สำนกั พมิ พก์ า้ วหนา้ ไดข้ ออนญุ าตพมิ พห์ นงั สอื พระราชพงศาวดารกรงุ สยาม เพอ่ื จำหนา่ ยแกผ่ ทู้ ส่ี นใจ กรมศิลปากรเห็นว่า หนังสือเรื่องนี้ยังไม่เคยตีพิมพ์ ถ้าได้จัดพิมพ์ขึ้น อาจเป็นประโยชน์แก่นักศึกษา และผสู้ นใจโดยทว่ั ไป จงึ ยนิ ดอี นญุ าตใหพ้ มิ พจ์ ำหนา่ ยได้ หนังสือพระราชพงศาวดารกรุงสยามนี้ เป็นสมบัติของบริติชมิวเซียม ที่กรุงลอนดอน ประเทศ อังกฤษ ปรากฏในประวัติว่า J.Hurst Hayes Esq. เป็นผู้มอบให้เมื่อวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ค.ศ. ๑๙๔๘ (พ.ศ. ๒๔๙๑) การทจ่ี ะพบหนงั สอื พระราชพงศาวดารเรอ่ื งน้ี กเ็ นอ่ื งจากนายขจร สขุ พานชิ ซง่ึ ไดร้ บั ทนุ จากตา่ งประเทศ ใหไ้ ปทำการคน้ ควา้ เรอ่ื งเกย่ี วกบั ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย ณ ประเทศสหรฐั อเมรกิ าและประเทศ อังกฤษ ได้พบหนังสือเรื่องนี้เข้าเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๑ จึงได้ถ่ายไมโครฟิล์มเล่มต้นและเล่มปลายส่งไปให้ กรมศิลปากรพิจารณา กรมศิลปากรเห็นว่าพระราชพงศาวดารฉบับนี้ อาจมีประโยชน์ในการศึกษา ประวัติศาสตร์ไทย จึงขอให้ถ่ายไมโครฟิล์มส่งเข้ามาให้หมดทั้ง ๓๐ เล่ม ต้นฉบับที่ขอถ่ายไมโครฟิล์ม มานั้นเขียนด้วยหมึกดำในสมุดฝรั่ง เข้าใจว่าคงจะคัดลอกมาจากฉบับเดิมอีกชั้นหนึ่ง เพราะปรากฏว่า มีบอกจบเล่มสมุดไทยไว้ด้วย คือเรียงลำดับตั้งแต่เล่ม ๑ เรื่อยไปจนถึงเล่ม ๓๐ ตัวอย่างลายมือเขียนใน ตน้ ฉบบั นน้ั ไดน้ ำมาตพี มิ พไ์ วใ้ นหนงั สอื นด้ี ว้ ยแลว้ ข้อความในพระราชพงศาวดารฉบับนี้ ปรากฏว่าตอนต้นนั้นคล้ายกับพงศาวดารเหนือบางตอน คือ เรื่องบาธรรมราชสร้างเมืองสวรรคโลกตอนหนึ่ง กับเรื่องพระร่วงอรุณราชกุมารเมืองสวรรคโลก อกี ตอนหนง่ึ ตอนตน้ ของพระราชพงศาวดารมบี านแพนกบอกไวว้ า่ ๑๔ “วนั ๕ ฯ ๒ คำ่ จลุ ศกั ราช ๑๑๖๙ ปเี ถาะนพศก เพลาคำ่ เสดจ็ ออก ณ พระทน่ี ง่ั จกั รพรรดพิ มิ าน ลน้ เกลา้ ฯ กรมพระราชวงั บวร ฯ ทลู เกลา้ ถวายเลม่ ๑” ตอ่ ไปกถ็ งึ ตอนทพ่ี ระเจา้ อทู่ องสรา้ งกรงุ ศรอี ยธุ ยา ซง่ึ มวี นั เดอื นปแี ละขอ้ ความในตอนนเ้ี กอื บเหมอื น พระราชพงศาวดารกรงุ ศรอี ยธุ ยา ฉบบั หอสมดุ แหง่ ชาติ หรอื ซง่ึ เรยี กกนั แตเ่ ดมิ วา่ ฉบบั กรมพระปรมานชุ ติ ฯ ผิดกันแต่ตัวเลข ชื่อตำบล และพลความเล็ก ๆ น้อย ๆ ส่วนพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับ พันจันทนุมาศ (เจิม) นั้น ก็มีส่วนคล้ายพระราชพงศาวดารฉบับนี้เหมือนกัน แต่พระราชพงศาวดาร กรงุ ศรอี ยธุ ยา ฉบบั พนั จนั ทนมุ าศ (เจมิ ) มขี อ้ ความแทรกเตมิ เขา้ มาบา้ ง ยกขอ้ ความตอนหนา้ ไปไวต้ อนหลงั บา้ ง บางแหง่ ตดั ขอ้ ความออกเสยี บา้ ง ซง่ึ เรม่ิ ผดิ กนั ตง้ั แตแ่ ผน่ ดนิ สมเดจ็ พระมหาธรรมราชาธริ าชเปน็ ตน้ ไป
( ๑๒ ) จนถึงแผ่นดินสมเด็จพระนเรศวรมหาราช แต่หลังจากแผ่นดินสมเด็จพระนเรศวรมหาราชไปแล้ว ก็มี ขอ้ ความเหมอื นกนั เปน็ สว่ นมาก สว่ นพระราชพงศาวดารกรงุ ศรอี ยธุ ยา ฉบบั หอสมดุ แหง่ ชาตนิ น้ั มขี อ้ ความ เหมอื นกนั ตง้ั แตต่ น้ ไปจนเสยี กรงุ ศรอี ยธุ ยาใน พ.ศ. ๒๓๑๐ มีข้อที่สังเกตอยู่อย่างหนึ่งคือ ปรากฏว่ามีบานแพนกอีกแห่งหนึ่งซึ่งแสดงว่า ใน จ.ศ. ๑๑๕๗ (พ.ศ. ๒๓๓๘) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกโปรดให้ชำระพระราชพงศาวดารตั้งแต่แผ่นดิน สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ มาจนถึงแผ่นดินสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ จบเพียงให้เตรียมกองทัพไปตี เมอื งละแวก ดงั ปรากฏอยใู่ นหนา้ ๕๑ และ ๕๒๑ ตอนปลายคือ เริ่มตั้งแต่สมัยจลาจลและสมัยกรุงธนบุรีไปจนถึง พ.ศ. ๒๓๒๗ อันเป็นปีที่ ๓ ของ รัชกาลที่ ๑ ซึ่งหมดฉบับเพียงเท่านี้นั้น ปรากฏว่าข้อความในตอนนี้เหมือนข้อความในพระราชพงศาวดาร กรุงธนบุรี ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) มีผิดกันก็แต่พลความเล็ก ๆ น้อย ๆ และการใช้ราชาศัพท์ แต่มีข้อ ที่น่าสังเกตอยู่อย่างหนึ่งคือ พระราชพงศาวดารฉบับนี้เขียนคำว่า ศักราชไว้เฉย ๆ บ้าง เขียนวันไว้ เฉย ๆ บ้าง ไม่มีตัวเลขลงไว้ว่าศักราชเท่าใด วันอะไร และขึ้นแรมเท่าใด ทั้งนี้คงจะเนื่องจากยังหา วันเดือนปีที่แน่นอนไม่ได้ จึงเว้นไว้ไม่ได้ใส่ตัวเลขลงไป ส่วนพระราชพงศาวดารฉบับอื่น ๆ นั้น ไม่มี เวน้ วา่ งไวเ้ ชน่ น้ี เขา้ ใจวา่ ในคราวชำระพระราชพงศาวดาร เมอ่ื หาตวั เลขวนั เดอื นปที แ่ี นน่ อนไมไ่ ด้ กต็ ดั คำว่าศักราชและวันออกไป การพิมพ์ครั้งนี้ กรมศิลปากรได้ให้พิมพ์ตามต้นฉบับเดิม มิได้ตัดคำว่า ศกั ราชและวนั ออก ทง้ั นเ้ี พอ่ื ใหผ้ สู้ นใจไดพ้ จิ ารณาวา่ การเขยี นพระราชพงศาวดารนน้ั เปน็ มาอยา่ งไร คำที่อยู่ในวงเล็บนั้น เป็นคำที่กรมศิลปากรได้เติมลงไปเพื่อให้ได้ความชัดเจนขึ้น เพราะความใน พระราชพงศาวดารฉบับนี้ขาดไป ถ้าปล่อยไว้ตามต้นฉบับแล้ว ข้อความอาจจะไม่แจ่มแจ้ง ส่วนตรงไหน ทม่ี ขี อ้ ความผดิ กบั พระราชพงศาวดารฉบบั หอสมดุ แหง่ ชาตแิ ละฉบบั พนั จนั ทนมุ าศ (เจมิ ) นน้ั กรมศลิ ปากร ได้มอบให้นายตรี อมาตยกุล หัวหน้ากองวรรณคดีและประวัติศาสตร์ ตรวจสอบและทำเชิงอรรถไว้ เพื่อผู้อ่านจะได้สังเกตเทียบเคียงกันได้โดยสะดวก หวังว่าคงจะเป็นที่พอใจของผู้สนใจในการศึกษา ประวตั ศิ าสตรโ์ ดยทว่ั กนั กรมศลิ ปากร ๒๒ มกราคม ๒๕๐๗ ๑ ในเล่มนี้ อยู่ในหน้า ๒๗
( ๑๓ ) หนา้ สารบัญ (๑) (๓) คำปรารภ (๗) พระราชประวตั พิ ระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ( ๑๐ ) คำนำ ( ๑๑ ) คำชแ้ี จง คำนำในการพมิ พค์ รง้ั แรก ๑ ๓ สรา้ งเมอื งสวรรคเ์ ทวโลก ๕ ยกบาธรรมราชขน้ึ เปน็ พญาบาธรรมราชครองเมอื งสวรรคเ์ ทวโลก ๖ เรอ่ื งพระรว่ งอรณุ ราชเมอื งสชั นาไลย ๗ เรอ่ื งพระเจา้ ศรธี รรมไตรยปฎิ ก ๘ เรอ่ื งสรา้ งเมอื งพระพศิ นโุ ลก ๘ เรอ่ื งสรา้ งพระศรศี ศั ฎา พระชณิ ศรี ๙ สรา้ งเมอื งเสนาราชนคร เรอ่ื งพญาแกรก ๑๑ เรอ่ื งสรา้ งอารามวดั จฬุ ามณี ๑๑ ๑๑ รชั กาลสมเดจ็ พระรามาธบิ ดี (อทู่ อง) ๑๑ สถาปนากรงุ พระนครศรอี ยทุ ธยา ๑๑ เมอื งประเทศราช ๑๖ เมอื ง ๑๒ โปรดใหพ้ ระรามเมศวรยกทพั ไปปราบขอม ๑๒ โปรดใหส้ มเดจ็ พระบรมราชาธริ าชเจา้ ยกทพั ไปชว่ ยพระรามเมศวร สถาปนาวดั พทุ ไทยสวรรค์ สถาปนาวดั ปา่ แกว้ เสดจ็ สวรรคต
( ๑๔ ) หน้า รชั กาลสมเดจ็ พระรามเมศวร ครง้ั ท่ี ๑ ๑๒ สมเดจ็ พระรามเมศวรครองราชย์ ๑๒ ถวายราชสมบตั แิ กส่ มเดจ็ พระบรมราชาธริ าชเจา้ ๑๒ รชั กาลสมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชเจา้ ๑๒ เสดจ็ ไปเอาเมอื งฝา่ ยเหนอื ๑๒ เสดจ็ ไปเอาเมอื งชากงั ราว ครง้ั ท่ี ๑ ๑๒ แรกสถาปนาพระศรรี ตั นมหาธาตุ ๑๒ เสดจ็ ไปเอาเมอื งพษิ ณโุ ลก ๑๒ เสดจ็ ไปเอาเมอื งชากงั ราว ครง้ั ท่ี ๒ ๑๒ เสดจ็ ไปเอาเมอื งชากงั ราว ครง้ั ท่ี ๓ ๑๓ เสดจ็ ไปเอาเมอื งเชยี งใหม่ เสดจ็ สวรรคต ๑๓ รชั กาลพระเจา้ ทองลนั ราชกมุ าร ๑๓ สมเดจ็ พระรามเมศวรสำเรจ็ โทษพระเจา้ ทองลนั ๑๔ ๑๔ รชั กาลสมเดจ็ พระรามเมศวร ครง้ั ท่ี ๒ ๑๔ เสดจ็ เลยี บพลขน้ึ ไปเมอื งเชยี งใหมไ่ ดเ้ มอื งเชยี งใหม่ ๑๔ สถาปนาวดั มหาธาตุ ๑๔ พญากำภชู าลอบยกกองเขา้ มากวาดเอาครวั เมอื งชลบรู ยี แ์ ละเมอื งจนั ตบรู รณ์ ทำพระราชพธิ ปี ระเวศพระนคร ครง้ั ท่ี ๑ ๑๔ สถาปนาวดั ภเู ขาทอง เสดจ็ สวรรคต ๑๔ ๑๔ รชั กาลสมเดจ็ พญารามเจา้ เจา้ มหาเสนาบดคี ดิ กบฏ รชั กาลสมเดจ็ พระอนิ ทราชา โปรดใหส้ มเดจ็ พญารามไปกนิ เมอื งปะพาคจู าม หวั เมอื งเหนอื ทง้ั ปวงเปน็ จลาจล ยกทพั หลวงไปเมอื งพระบาง
( ๑๕ ) หน้า ๑๔ เสดจ็ สวรรคต ๑๕ เจา้ อา้ ยพญากบั เจา้ ญพี ญาแยง่ ชงิ ราชสมบตั กิ นั รชั กาลสมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชเจา้ ๑๕ ถวายพระเพลงิ ศพเจา้ อา้ ยพญากบั เจา้ ญพี ญา ๑๕ สถาปนาวดั ราชบรู ณะและทรงกอ่ เจดยี ส์ ององคไ์ วท้ เ่ี ชงิ สะพานปา่ ถา่ น ๑๕ เสดจ็ ไปเอาเมอื งนครหลวง ใหพ้ ระณครอนิ ทเ์ จา้ ครอง ๑๕ สรา้ งวดั มเหยง ๑๕ พระรามเมศวรราชโอรสเสดจ็ ไปเมอื งพศิ ณโุ ลก ๑๕ เพลงิ ไหมพ้ ระราชมนเทยี รสถาน และพระทน่ี ง่ั ตรมี ขุ ๑๕ เสดจ็ ไปเอาเมอื งเชยี งใหม่ ครง้ั ท่ี ๑ ๑๕ เสดจ็ ไปเอาเมอื งเชยี งใหม่ ครง้ั ท่ี ๒ ๑๕ เสดจ็ สวรรคต รชั กาลสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ ๑๖ ยกวงั ทำเปน็ วดั พระศรสี รรเพชญ์ ๑๖ พระราชทานชอ่ื ขนุ นางตามตำแหนง่ หนา้ ท่ี ๑๖ สถาปนาวดั พระราม ๑๖ แตง่ ทพั ไปเอาเมอื งมลกา และเมอื งศรสี พเถนิ ๑๖ ขา้ วแพง ๑๖ หลอ่ รปู พระโพธสิ ตั ว์ ๕๕๐ พระชาติ และฉลองพระ ๑๖ พญาชเลยี งคดิ กบฏ ๑๖ สมเดจ็ พระอนิ ทราชาชนชา้ งกบั หมน่ื ณคร ๑๖ สรา้ งพระวหิ ารวดั จฬุ ามณี ๑๖ สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถทรงพระผนวชทว่ี ดั จฬุ ามณี ๑๗ มหาทา้ วบญุ ชงิ เมอื งเชยี งใหมใ่ หแ้ กท่ า้ วลกู ๑๗ ชา้ งเผอื กมาสพู่ ระบารมี ๑๗ สมภพพระราชโอรส
( ๑๖ ) หน้า ๑๗ เสดจ็ ไปเมอื งชเลยี ง ๑๗ แรกตง้ั นครไท ๑๗ พระศรรี าชเดโชถงึ แกก่ รรม ๑๗ พญาลา้ นชา้ งถงึ แกก่ รรม อภเิ ษกพญาซา้ ยขวาเปน็ พญาลา้ นชา้ ง ๑๗ ฉลองพระศรรี ตั นมหาธาตุ ๑๕ วนั ๑๗ พระบรมราชาราชโอรสทรงผนวช แลว้ ประดษิ ฐานในทพ่ี ระมหาอปุ ราช ๑๗ เสดจ็ ไปวงั ชา้ งตำบลสมั ฤทธบรบิ รู รณ์ ๑๗ มหาราชทา้ วลกู พริ าลยั ๑๗ เสดจ็ ยกทพั ไปตเี มอื งทวาย ๑๗ เสดจ็ สวรรคต ๑๗ แรกใหก้ อ่ กำแพงเมอื งพไิ ชย รชั กาลสมเดจ็ พระรามาธบิ ดี ๑๗ เสดจ็ เสวยราชสมบตั ิ ๑๘ ประดษิ ฐานพระอฐั ธิ าตพุ ระราชบดิ าไวใ้ นมหาสถปู ๑๘ พระราชพธิ กี ารเบญจาเพท ๑๘ พระราชพธิ ปี ถมกรรม ๑๘ แรกสรา้ งพระวหิ ารวดั พระศรสี รรเพชญ์ หลอ่ พระศรสี รรเพชญ์ และฉลอง ๑๘ แรกใหท้ ำตำราพไิ ชยสงคราม และสารบาญชี ๑๘ ชำระคลองศรี ษะจรเขแ้ ละคลองทบั นาง ขดุ ไดร้ ปู เทพารกั ษ์ ๒ องค์ ๑๘ งาเบอ้ื งขวาชา้ งตน้ พระยาปราบแตก คนทอดบตั รสนเทห่ ์ ขนุ นางถกู ฆา่ มาก ๑๙ เกดิ นำ้ นอ้ ย แผน่ ดนิ ไหว และขา้ วแพง ๑๙ เสดจ็ สวรรคต รชั กาลสมเดจ็ พระบรมราชาหนอ่ พทุ ธธ์ างกรู ๑๙ เสวยราชสมบตั ิ ๑๙ เสดจ็ สวรรคต
( ๑๗ ) หน้า รชั กาลสมเดจ็ พระราชกมุ าร (พระรษั ฎาธริ าชกมุ าร) ๑๙ เสวยราชสมบตั ิ ๑๙ สมเดจ็ พระราชกมุ ารถงึ แกพ่ ริ าลยั ๑๙ รชั กาลสมเดจ็ พระไชยราชาธริ าช ๑๙ ไดร้ าชสมบตั ิ ๑๙ แรกใหพ้ นู ดนิ วดั ชเี ชยี ง เสดจ็ ไปเชยี งกรายเชยี งกราน ๑๙ พญานรายเปน็ กบฏ ๑๙ เสดจ็ ยกทพั หลวงไปเมอื งเชยี งใหม่ ครง้ั ท่ี ๑ ๒๐ เกดิ เพลงิ ไหมใ้ นพระนคร ๒๐ เสดจ็ ยกพยหุ ยาตราทพั ไปเมอื งเชยี งใหม่ ครง้ั ท่ี ๒ ๒๐ เสดจ็ สวรรคต พระเทยี นราชาทรงผนวช ๒๐ ๒๐ รชั กาลสมเดจ็ พระยอดฟา้ เสดจ็ ผา่ นพภิ พถวลั ยราชย์ ๒๑ เกดิ แผน่ ดนิ ไหว และทจุ รติ นมิ ติ ตา่ ง ๆ ๒๑ ๒๒ รชั กาลขนุ วรวงศาธริ าช ๒๒ ตง้ั พระราชพธิ รี าชาภเิ ษก ๒๓ ใหเ้ อาพระยอดฟา้ ไปประหารชวี ติ ๒๔ ขนุ พเิ รณเทพกบั พรรคพวกคดิ การกบฏ พระเทยี นราชาอธษิ ฐานเสย่ี งเทยี น ๒๔ พระสงฆใ์ หพ้ ร ๒๔ ขนุ อนิ เทพชว่ ยกนั รมุ จบั ขนุ วรวงษาธริ าชและแมอ่ ยหู่ วั ศรสี ดุ าจนั แลว้ ฆา่ เสยี ๒๕ รชั กาลสมเดจ็ พระมหาจกั รพรรดริ าชาธริ าช ครง้ั ท่ี ๑ ปราบดาภเิ ษก ตง้ั ขนุ พเิ รณรเทพเปน็ สมเดจ็ พระมหาธรรมราชาธริ าชเจา้ ตง้ั ขนุ อนิ เทพเปน็ เจา้ พญาศรโี ศกราช
( ๑๘ ) หน้า ๒๕ ตง้ั หลวงศรยี ศเปน็ เจา้ พญามหาเสนาบดี ๒๕ ตง้ั หมน่ื ราชเสนหาเปน็ เจา้ พญามหาเทพ ๒๕ ตง้ั หมน่ื ราชเสนหานอกราชการเปน็ เจา้ พญาภกั ดนี ชุ ติ ๒๕ ตง้ั พญาพไิ ชยเปน็ เจา้ พญาพไิ ชย ๒๕ ไดช้ า้ งเผอื ก ๒๕ ศกึ หงษาวดคี รง้ั ท่ี ๑ พระเจา้ หงษาวดยี กทพั มาเหยยี บชานพระนคร ๒๖ พญาละแวกยกทพั มากวาดครวั เมอื งปราจมิ ทบรู ยี ์ ๒๖ โปรดใหซ้ อ่ มแซมกำแพงพระนคร ๒๖ สถาปนาวดั วงั ไชย ๒๖ พระราชพธิ ปี ถมกรรม ๒๗ เสดจ็ ยกทพั หลวงไปตเี มอื งละแวก ๒๗ พญาละแวกถวายนกั พระสโุ ท นกั พระสทุ นั เปน็ พระราชบตุ รบญุ ธรรม ๒๘ โปรดใหน้ กั พระสทุ นั ครองเมอื งสวรรคโ์ ลก ๒๘ แปลงเรอื แชเปน็ เรอื ไชยและเรอื ศรี ษะสตั วต์ า่ ง ๆ ๒๘ พระราชพธิ มี ธั ยม ๒๘ เสดจ็ ไปวงั ชา้ งตำบลบางกมงุ ๒๘ ขา่ วเมอื งละแวกเสยี แกญ่ วน ใหพ้ ระองคส์ วรรคโลกยกทพั ไปกเู้ มอื งละแวก ๒๘ เสยี พระองคส์ วรรคโลกกบั คอชา้ ง ๒๘ การพระราชพธิ จี ารยิ าภเิ ษก และพระราชพธิ อี นิ ทราภเิ ษก ๒๘ เสดจ็ ไปวงั ชา้ งตำบลแสนตอ ๒๙ เสดจ็ ไปวงั ชา้ งตำบลวดั กะไล และตำบลไทรยอ้ ย ๒๙ ศกึ หงษาวดคี รง้ั ท่ี ๒ พระเจา้ หงษาวดยี กทพั ประชดิ พระนคร ๒๙ มหานาควดั ภเู ขาทองสกึ ออกตง้ั คา่ ยกนั ทพั เรอื ๓๐ สมเดจ็ พระเจา้ หงษาวดยี กทพั ขา้ มกาญจน์ บ์ รู ยิ ์ ๓๐ เสดจ็ ยกพยหุ โยธาหาญออกไปดกู ำลงั ขา้ ศกึ ณ ทงุ่ ภเู ขาทอง ๓๑ สมเดจ็ พระสรุ โิ ยไทยสน้ิ พระชนมก์ บั คอชา้ ง
( ๑๙ ) หน้า สมเดจ็ พระมหาธรรมราชาแจง้ ขา่ วศกึ เตรยี มเกณฑท์ พั มาชว่ ย ๓๒ พระเจา้ หงษาวดตี รสั สง่ั มหาอปุ ราชาตคี า่ ยทงุ่ หนั ตรา ๓๓ พระเจา้ หงษาวดเี ลกิ ทพั ไปทางเมอื งเหนอื ๓๔ สมเดจ็ พระมหาธรรมราชาหลกี พน้ ทางทพั พมา่ ๓๕ กองทพั พระเจา้ หงษาวดจี บั ไดพ้ ระราเมศวรและพระมหนิ ทราธริ าช ๓๖ พระเจา้ หงษาวดขี อชา้ งพลาย ๒ ชา้ ง ๓๗ สถาปนาวดั ศภสวรรค์ ๓๘ ตง้ั บา้ นทา่ จนี เปน็ เมอื งษาครบรู ยี ์ บา้ นตลาดขวนั เปน็ เมอื งนนทบรู ยี ์ และตง้ั เมอื งนครไชยศรี ๓๘ โปรดใหร้ อ้ื กำแพงเมอื งลพบรู ยี นครนายก และสพุ รรณบรุ ี ๓๘ พระศรสี นิ คดิ กบฏขอฤกษพ์ ระพลรตั นป์ า่ แกว้ ๓๘ พระศรสี นิ ตอ้ งปนื ตาย ๓๙ ประหารชวี ติ ขนุ นางทเ่ี ขา้ กบั พระศรสี นิ เปน็ อนั มาก ๓๙ มชี า้ งเผอื ก ๗ ชา้ ง ๓๙ พระเจา้ หงษาวดขี อชา้ งเผอื ก ๒ ชา้ ง กรงุ ศรอี ยทุ ธยาไมใ่ ห้ ๔๐ ศกึ หงษาวดคี รง้ั ท่ี ๓ พระเจา้ หงษาวดยี กทพั มาเมอื งพศิ นโุ ลกย์ ๔๒ สมเดจ็ พระมหาธรรมราชาออกสวามภิ กั ดพ์ิ ระเจา้ หงษาวดี ๔๓ พญาพไิ ชยรณฤทธิ พญาวชิ ดิ รณรงคย์ กทพั ไปชว่ ยเมอื งเหนอื ไมท่ นั ๔๓ พระเจา้ เชยี งใหมย่ กทพั เรอื ลงมาบรรจบทพั พมา่ ทเ่ี มอื งนครสวรรค์ ๔๔ ทพั หงษาวดตี ดิ พระนคร ๔๔ สมเดจ็ พระมหาจกั รพรรดยิ อมออกเปน็ ไมตรี ๔๖ ทพั หงษาวดกี ลบั ทางเมอื งกำแพงเพชร ๔๗ พญาตานกี บฏ ๔๗ พระเจา้ กรงุ ศรสี ตั นาคนะหตุ แตง่ ทตู มาขอพระเทพกะษตั รี ๔๗ พระเจา้ หงษาวดแี ตง่ ใหก้ องทหารมาสกดั ชงิ พระเทพกระสตั รี ๔๙ รชั กาลสมเดจ็ พระมหนิ ทราธริ าช ครง้ั ท่ี ๑ เสดจ็ ขน้ึ เสวยราชสมบตั ิ ๔๙
( ๒๐ ) หน้า ๔๙ บรู ณะวดั พระศรรี ตั นมหาธาตุ เมอื งลพบรู ยิ ์ ๔๙ เมอื งเหนอื ทง้ั ปวงเปน็ สทิ ธแิ กพ่ ระมหาธรรมราชา ๕๐ พระเจา้ กรงุ ศรสี ตั ะนาคนห์ ตุ ยกทพั มารบเมอื งพระพศิ นโุ ลกย์ ๕๐ ทพั พระมหนิ ทราธริ าชยกไปชว่ ยเมอื งพระพศิ นโุ ลกย์ ๕๑ สมเดจ็ พระมหาธรรมราชาใหป้ ลอ่ ยแพไฟเผากองทพั เรอื กรงุ ศรอี ยทุ ธยา ๕๑ พระเจา้ หงษาวดใี หพ้ ญาภกู าม พญาเสอื หารรดุ มาชว่ ยกนั เมอื งพระพศิ นโุ ลก ๕๑ ทพั กรงุ ศรอี ยทุ ธยาถอยกลบั คนื พระนคร ๕๑ ทพั กรงุ ศรสี ตั นาคนห์ ตุ ลา่ กลบั ไป ๕๒ สมเดจ็ พระมหาธรรมราชาขอใหพ้ ญารามเปน็ เจา้ เมอื งพไิ ชย รชั กาลสมเดจ็ พระมหาจกั รพรรดริ าชาธริ าช ครง้ั ท่ี ๒ ๕๒ สมเดจ็ พระมหาจกั รพรรดลิ าพระผนวช ๕๓ พระมหาธรรมราชาพาพระนเรจไ์ ปหงษาวดี ๕๓ สมเดจ็ พระมหาจกั รพรรดเิ สดจ็ ขน้ึ ไปรบั พระวสิ ตู รสตั รกี บั พระเอกาทศรถมา ณ กรงุ ๕๔ สมเดจ็ พระมหาจกั รพรรดใิ หพ้ ญารามแตง่ การปอ้ งกนั พระนคร ๕๔ ศกึ หงษาวดคี รง้ั ท่ี ๔ พระเจา้ หงษาวดยี กทพั มาตดิ พระนคร ๕๖ กรงุ ศรอี ยทุ ธยาขอใหก้ องทพั ลา้ นชา้ งยกมาชว่ ย ๕๗ สมเดจ็ พระมหาจกั รพรรดเิ สดจ็ สวรรคต รชั กาลสมเดจ็ พระมหนิ ทราธริ าช ครง้ั ท่ี ๒ ๕๘ พระเจา้ หงษาวดใี หพ้ ระเจา้ แปรยกทพั เรอื ไปโดยคลองสะพานขายขา้ ว ๖๐ พระมหาธรรมราชาลวงใหส้ ง่ พญารามออกไป ๖๑ พญาธรมาเปน็ ไสศ้ กึ ในกรงุ ศรอี ยทุ ธยา ๖๒ พระเจา้ กรงุ ศรสี ตั นาคนหตุ ยกทพั มาชว่ ยกรงุ ศรอี ยทุ ธยา ๖๓ สมเดจ็ พระมหาธรรมราชายกทพั ซมุ่ โจมตที พั กรงุ ศรสี ตั นาคนหตุ แตก ๖๔ สมเดจ็ พระมหาธรรมราชาใหพ้ ญาจกั รไี ปเปน็ ไสศ้ กึ ในกรงุ ๖๕ เสยี กรงุ แกพ่ ระเจา้ หงษาวดี
( ๒๑ ) สมเดจ็ พระเจา้ หงษาวดแี ตง่ การพระราชพธิ ปี ราบดาภเิ ษกสมเดจ็ พระมหาธรรมราชา หน้า รชั กาลสมเดจ็ พระมหาธรรมราชา ๖๕ พระเจา้ หงษาวดยี กทพั กลบั ไปทางเมอื งกำแพงเพชร ๖๖ สมเดจ็ พระมหนิ ทราธริ าชสวรรคต ๖๖ ตั้งขุนนาง ๖๖ ศกึ เขมรครง้ั ท่ี ๑ พญาละแวกยกกองมาปลน้ พระนคร ๖๗ สมเดจ็ พระนะเรศวรเสดจ็ ขน้ึ ไปครองเมอื งพระพศิ นโุ ลกย์ ๖๘ พระเจา้ หงษาวดยี กทพั ไปรบกรงุ ศรสี ตั นาคนหตุ เกณฑใ์ หส้ มเดจ็ พระมหาธรรมราชา ๖๘ และสมเดจ็ พระนเรศวรไปในกองทพั ดว้ ย ๖๘ ศกึ เขมรครง้ั ท่ี ๒ พญาละแวกยกกองมาปลน้ พระนครไมส่ ำเรจ็ ๖๙ ศกึ เขมรครง้ั ท่ี ๓ พญาละแวกใหก้ องเรอื ปลน้ เมอื งเพชรบรู ยี ๖๙ พญาจนี จนั ตุ ขนุ นางเขมรมาสวามภิ กั ด์ิ ๗๐ พญาจนี จนั ตลุ อบหนอี อกไป ๗๐ โปรดใหแ้ ตง่ พระนคร ขดุ คขู อ่ื หนา้ แตง่ ปอ้ ม ๗๐ เกดิ กบฏญาณพเี ฉยี น ๗๑ ศกึ เขมรครง้ั ท่ี ๔ พญาละแวกยกกองเรอื มาปลน้ เมอื งเพชรบรู ยี ๗๒ สมเดจ็ พระนเรศวรแตง่ ทพั ขบั ไลก่ องทหารเขมรแตกกลบั ไป ๗๒ พระเจา้ หงษาวดเี สดจ็ สวรรคต มงั เองี ราชบตุ รไดผ้ า่ นสมบตั ิ ๗๒ เมอื งรมุ เมอื งคงั แขง็ เมอื งตอ่ กรงุ หงษาวดี ๗๓ สมเดจ็ พระนเรศวรยกทพั ไปชว่ ยปราบเมอื งรมุ เมอื งคงั ๗๓ สมเดจ็ พระนเรศวรจบั เจา้ เมอื งรมุ เมอื งคงั ได้ ๗๔ สมเดจ็ พระนเรศวรเสดจ็ ยกทพั กลบั เมอื งพระพศิ ณโุ ลกยแ์ ละกรงุ ศรอี ยทุ ธยา ๗๔ พระเจา้ หงษาวดอี า้ งวา่ กรงุ รตั นบรุ ะองั วะเปน็ กบฏ ขอใหส้ มเดจ็ พระนเรศวรยกทพั ไปชว่ ย ๗๕ สมเดจ็ พระนเรศวรเสดจ็ ถงึ เมอื งแครง ๗๕ พระมหาเถรคนั ฉอ่ ง พญาเกยี ร พญาพระรามมาเฝา้ สมเดจ็ พระนเรศวร ทลู เลา่ เปดิ เผยราชการลบั กรงุ หงษาวดี
( ๒๒ ) สมเดจ็ พระนเรศวรประกาศอสิ รภาพ หน้า สมเดจ็ พระนเรศวรทรงปนื นกสบั ยงิ ขา้ มแมน่ ำ้ สะโตงถกู สรุ ะกำมาตาย ๗๖ สมเดจ็ พระนเรศวรเสดจ็ ยกทพั ตามตนี นั ทสกู บั ราชสงั ครำ ๗๗ พญาไชยบรู ณชนชา้ งกบั นนั ทสู ขนุ ศรชี นชา้ งกบั ราชสงั ครำ ๗๘ นนั ทสกู บั ราชสงั ครามแตกหนไี ป ๗๘ พญาพไิ ชยและพญาสวรรคโลกแขง็ เมอื ง ๗๘ สมเดจ็ พระนเรศวรเสดจ็ ยกทพั ไปปราบ ๗๘ ประหารชวี ติ พญาพไิ ชยและพญาสวรรคโลก ๗๙ พญาละแวกแตง่ ทตู มาเจรญิ พระราชไมตรี ๘๐ เทครวั อพยพชาวเมอื งเหนอื ลงมาพระนครศรอี ยทุ ธยา ๘๐ ศกึ หงสาวดคี รง้ั ท่ี ๑ พระเจา้ หงษาวดใี หพ้ ระเจา้ เชยี งใหมย่ กทพั มา ๘๑ ๘๒ ทางเมอื งกำแพงเพชร และพญาพสมิ ยกมาทางเมอื งกาญจนบ์ รู ยี สมเดจ็ พระนเรศวรและพระเอกาทฐรศเสดจ็ ยกทพั ถงึ สามขนอน ๘๒ ทพั พญาพสมิ แตกพา่ ย ๘๓ พระเจา้ เชยี งใหมย่ กทพั มายงั เมอื งนครสวรรค์ ๘๓ ทพั พระราชมะณแู ละขนุ รามเดชะตที พั หนา้ เชยี งใหมแ่ ตก ๘๓ ศกึ หงษาวดคี รง้ั ท่ี ๒ พระเจา้ หงษาวดใี หพ้ ระเจา้ เชยี งใหมย่ กทพั มาทางเมอื งณะครสวรรค์ ๘๔ พญาละแวกใหพ้ ระศรสี พุ รรมาธริ าชยกมาชว่ ย ๘๕ พระเจา้ หงษาวดี ใหพ้ ระมหาอปุ ราชาคมุ พลมาตง้ั ทำนาเมอื งกำแพงเพชร ๘๕ สมเดจ็ พระนเรศวรกบั พระเอกาทฐรศตที พั พระเจา้ เชยี งใหมแ่ ตก ๘๘ ศกึ หงษาวดคี รง้ั ท่ี ๓ พระเจา้ หงษาวดยี กทพั มาทางเชยี งทอง ๙๑ สมเดจ็ พระนเรศวรกบั พระเอกาทฐรศออกตที พั หงษาวดี ๙๒ พระเจา้ หงษาวดถี อยทพั ไปตง้ั ทป่ี า่ โมกใหญ่ ๙๓ พระเจา้ หงษาวดเี ลกิ ทพั กลบั ไป ๙๔ ศกึ เขมรครง้ั ท่ี ๖ พญาละแวกใหก้ องทพั มาตหี วั เมอื งตะวนั ออก ๙๔ พญาศรไี สณรงคแ์ ละพญาศรรี าชเดโชตที พั เขมรแตก ๙๔
( ๒๓ ) หน้า ๙๕ ศกึ หงษาวดคี รง้ั ท่ี ๔ พระเจา้ หงษาวดยี กทพั มาทางเมอื งกำแพงเพชร ๙๕ สมเดจ็ พระนเรศวรปนี คา่ ยหงษาวดี ๙๖ พระเจา้ หงษาวดเี ลกิ ทพั กลบั ไป ๙๖ สมเดจ็ พระมหาธรรมราชาเสดจ็ สวรรคต รชั กาลสมเดจ็ พระนเรศวร ๙๖ เสวยราชย์ ๙๗ ศกึ หงษาวดคี รง้ั ท่ี ๑ พระเจา้ หงษาวดใี หพ้ ระมหาอปุ ราชายกทพั มาตกี รงุ ศรอี ยทุ ธยา ๙๘ สมเดจ็ พระนเรศวรเตรยี มทพั ๑๐๓ สมเดจ็ พระนเรศวรทรงชนชา้ งชนะพระมหาอปุ ราชา ๑๐๔ กอ่ พระเจดยี ส์ ถานสวมศพพระมหาอปุ ราชาทต่ี ำบลตระพงั ตรุ ๑๐๔ ปรกึ ษาโทษนายทพั นายกองทโ่ี ดยเสดจ็ ไมท่ นั ในงานพระราชสงคราม ๑๐๕ สมเดจ็ พระพลรตั นป์ า่ แกว้ ขอพระราชทานโทษนายทพั นายกอง ๑๐๖ โปรดใหพ้ ญาจกั รยี กทพั ไปตเี มอื งตะนาวศรแี ละพญาพระคลงั ไปตเี มอื งทวาย ๑๐๖ โปรดใหต้ ง้ั หวั เมอื งฝา่ ยเหนอื ๑๐๗ พระเจา้ เชยี งใหมแ่ ตง่ ทตู มาขอสวามภิ กั ดแ์ิ ละขอใหก้ องทพั กรงุ ขน้ึ ไปชว่ ย ๑๐๘ โปรดใหพ้ ญาราชฤทธานนยกทพั ขน้ึ ไปชว่ ยเมอื งเชยี งใหม่ ๑๐๙ พญาจกั รตี เี มอื งตะนาวศรแี ตก ๑๑๐ พญาพระคลงั ตเี มอื งทวายแตก ๑๑๐ โปรดใหพ้ ญาศรไี สณรงคอ์ ยรู่ ง้ั เมอื งตะนาวศรี ๑๑๑ พญาจกั รใี หก้ อ่ พระเจดยี ท์ พ่ี รมแดนระหวา่ งไทยกบั ทวาย ๑๑๑ เสดจ็ ยกทพั หลวงไปปราบพญาลแวก ๑๑๒ สมเดจ็ พระนเรศวรเลกิ ทพั กลบั ยงั พระนคร ๑๑๒ พระเจา้ หงษาวดใี หพ้ ระเจา้ แปรยกมาตรวจดา่ น ๑๑๓ สมเดจ็ พระนเรศวรตที พั พระเจา้ แปรแตก ๑๑๔ สมเดจ็ พระนเรศวรเตรยี มทพั ยกไปตกี รงุ กำภชู าธบิ ดี ๑๑๔ สมเดจ็ พระนเรศวรใหไ้ ปตง้ั พธิ ชี มุ พลตำบลทงุ่ หารตรา
( ๒๔ ) หน้า ๑๑๕ โปรดใหพ้ ระราชมาณไู ปตเี มอื งปตั บองและโพธสิ ตั ๑๑๕ พญาละแวกสง่ั ใหแ้ ตง่ การกนั พระนคร ๑๑๖ ทพั พระราชมาณตู ไี ดเ้ มอื งปตั บอง ๑๑๗ พระราชมาณเู ปน็ ทพั หนา้ ยกเขา้ ไปเมอื งโพธสิ ตั ๑๑๗ ทพั พระราชมาณตู ที พั พญาสวรรคโลกแตก ๑๑๘ สมเดจ็ พระนเรศวรยกกองทพั มาตง้ั ณ เมอื งโพธสิ ตั ๑๑๘ พญาละแวกสง่ั ใหพ้ ญาราชนะเรศยกทพั ไปชว่ ยเมอื งบรบิ รู รณ์ ๑๑๙ สมเดจ็ พระนเรศวรตที พั เขมรแตก จบั ไดพ้ ญาเสนาบดี ๑๑๙ พญาละแวกคาดโทษพระศรสี พุ รรมาธริ าชและนายทพั นายกอง ๑๑๙ สมเดจ็ พระนเรศวรยกทพั ประชดิ กรงุ กำภชุ ประเทศ ๑๒๐ ทพั พญาเพชรบรุ ยี ตไี ดเ้ มอื งปาศกั ๑๒๒ ทพั ไทยตกี รงุ กมั พชู าแตก จบั พญาละแวกไดแ้ ลว้ ประหารชวี ติ ๑๒๔ สมเดจ็ พระนเรศวรยกทพั กลบั โดยทางนครเสยี มราบ ๑๒๔ โปรดใหส้ มเดจ็ พระเอกาทธรฐเสดจ็ ยกทพั ไปปราบพญาศรไี สณรงค์ ๑๒๖ ประหารชวี ติ พญาศรไี สณรงค์ ๑๒๖ โปรดใหพ้ ญาราชฤทธานนเปน็ เจา้ พญาตนาวศรี ๑๒๖ เจา้ เมอื งเมาะลำเลงิ สวามภิ กั ด์ิ ๑๒๗ เจา้ ฟา้ แสนหวมี าขอพง่ึ พระบรมโพธสิ มภาร ๑๒๗ พญาละแวกสวามภิ กั ด์ิ ๑๒๘ โปรดใหเ้ จา้ พญาจกั รยี กทพั ไปตง้ั มน่ั สะสมเสบยี งทเ่ี มอื งเมาะลำเลงิ ๑๒๙ เจา้ เมอื งเมาะตะมะ เมอื งละเคง่ิ เมอื งขลกิ ๑๒๙ เมอื งบวั เผอ่ื น เมอื งพสมิ และเมอื งตองอสู วามภิ กั ด์ิ ๑๓๑ พระมหาเถรเสยี มเพรยี มยใุ หพ้ ระเจา้ ตองอคู ดิ การใหญ่ ๑๓๑ พระเจา้ ตองอมู หี นงั สอื ขเู่ มอื งตา่ ง ๆ ทส่ี วามภิ กั ดไ์ิ ทย ๑๓๔ เมอื งตา่ ง ๆ ทข่ี อสวามภิ กั ดแ์ิ ลว้ กลบั เปน็ ปรปกั ษต์ อ่ ไทย เสดจ็ ยกทพั หลวงไปเมอื งเมาะลำเลงิ
( ๒๕ ) หน้า พระเจา้ หงษาวดปี ระชวร ใหพ้ ระเจา้ ตองอยู กทพั ไปชว่ ยปอ้ งกนั กรงุ หงษาวดี ๑๓๕ ทพั หลวงออกจากเมอื งเมาะลำเลงิ ไปปราบเมอื งเมาะตะมะ ๑๓๗ ทพั หลวงออกจากเมอื งเมาะตะมะไปปราบเมอื งหงษาวดี ๑๓๘ ทพั หลวงออกจากเมอื งหงษาวดไี ปเมอื งตองอู ๑๓๘ ขาดเสบยี งจงึ โปรดใหย้ กทพั หลวงถอยจากเมอื งตองอู ๑๔๒ โปรดใหส้ มเดจ็ พระเอกาทธรฐเสดจ็ ขน้ึ ไประงบั การววิ าทระหวา่ งหวั เมอื งขน้ึ กบั เจา้ เชยี งใหม่ ๑๔๒ โปรดใหเ้ จา้ ฟา้ แสนหวไี ปครองเมอื งแสนหวี ๑๔๒ เขมรขอพระศรสี พุ รรมาธริ าชไปเปน็ พญาลแวก ๑๕๐ พญาออ่ นคดิ กบฏ เขมรขอกำลงั ไปชว่ ยปราบพระยาออ่ น ๑๕๑ โปรดใหพ้ ระเจา้ ลกู เธอพระมหาธรรมราชายกทพั ไปชว่ ยเขมร ๑๕๑ สมเดจ็ พระเอกาทธรฐเสดจ็ ประพาสเมอื งพระพศิ นโุ ลกย์ ๑๕๑ เสอื รา้ ยในเมอื งพระพศิ นโุ ลกย์ ๑๕๑ สมโภชพระชณิ ราช ๑๕๑ เสดจ็ ประพาสเมอื งเพชรบรุ ยี ถ์ งึ ตำบลสามรอ้ ยยอด ๑๕๒ โปรดใหเ้ ตรยี มทพั หลวงจะไปปราบเมอื งอางวะ ๑๕๒ เสดจ็ พระราชดำเนนิ ทพั หลวงไปทางเมอื งเชยี งใหม่ ๑๕๓ นมสั การพระพทุ ธสหงิ ๑๕๓ ทพั หลวงเสดจ็ ไปทางเมอื งหางหลวง ๑๕๓ สมเดจ็ พระนเรศวรทรงประชวรหนกั และเสดจ็ สวรรคต ๑๕๔ รชั กาลสมเดจ็ พระเอกาทธรฐ บรมราชาภเิ ษก ๑๕๔ อญั เชญิ พระบรมศพสมเดจ็ พระนเรศวรลงมา ณ กรงุ ๑๕๕ เมอื งไทรใหท้ ตู นำเครอ่ื งบรรณาการมาถวาย ๑๕๕ พระราชพธิ สี งครามาภเิ ศก ๑๕๖ พระราชพธิ ปี ระเวศพระนคร ๑๕๖ ปราบดาภเิ ษก ๑๕๖
( ๒๖ ) หน้า ๑๕๖ พระบรมนามาภไิ ธย ๑๕๗ สถาปนาวดั พระวรเชษฐารามมหาวหิ าร สรา้ งพระไตรปฎิ กและหอพระสทั ธรรม ๑๕๗ ถวายพระเพลงิ พระบรมศพสมเดจ็ พระนเรศวร ๑๕๘ พญาตองอแู ตง่ หนงั สอื อำพรางหวั เมอื งขน้ึ กรงุ หงษาวดี ๑๕๙ พระเจา้ หงษาวดถี กู ยาพษิ สวรรคต ๑๖๐ พญาตองอแู ตง่ ราชทตู มาขอพง่ึ พระบรมโพธสิ มภาร ๑๖๐ พญาลา้ นชา้ งแตง่ ราชทตู มาขอพง่ึ พระบรมโพธสิ มภาร ๑๖๐ สถาปนาพระทน่ี ง่ั อรรณพ ๑๖๑ พระราชพธิ อี าศวยชุ ๑๖๑ สถาปนาพระพทุ ธรปู สนองพระองค์ ๑๖๑ พระราชพธิ ไี ลเ่ รอื ๑๖๒ ตง้ั พระราชกำหนดกฎหมายพระไชยการ ๑๖๓ พระมหาอปุ ราชเสวยยาพษิ สวรรคต ๑๖๓ ทรงพระประชวรหนกั เสดจ็ สวรรคต รชั กาลสมเดจ็ พระศรเี สาวภาค ๑๖๓ เสดจ็ ขน้ึ ครองราชย์ ๑๖๓ พระพมิ ลธรรมอนนั ตปรชี าวดั ระฆงั เปน็ กบฏ ๑๖๓ สำเรจ็ โทษพระเจา้ แผน่ ดนิ รชั กาลสมเดจ็ พระเจา้ ทรงธรรม ๑๖๓ เสดจ็ ขน้ึ ผา่ นพภิ พ ๑๖๔ ญป่ี นุ่ คมุ พวกจะเขา้ ประทษุ รา้ ยตอ่ พระเจา้ อยหู่ วั ๑๖๔ พระมหาอำมาตยค์ มุ พลไลร่ บญป่ี นุ่ แตก แลว้ ไดเ้ ลอ่ื นเปน็ เจา้ พญากลาโหมสรุ วิ งษ์ ๑๖๔ โปรดใหช้ กั พระมงคลบพติ รอยฝู่ า่ ยตะวนั ออกมาไวฝ้ า่ ยตะวนั ตก ๑๖๔ เมอื งตนาวศรเี สยี แกพ่ มา่
( ๒๗ ) หน้า ๑๖๔ พรานบญุ พบรอยพระพทุ ธบาท ๑๖๕ โปรดใหส้ ถาปนามณฑปสวมพระพทุ ธบาท ๑๖๕ แปลงปถั วเี รอื ไชยเปน็ เรอื กง่ิ ๑๖๕ พระราชนพิ นธม์ หาชาตคิ ำหลวงและสรา้ งพระไตรปฎิ ก ๑๖๕ เสดจ็ สวรรคต รชั กาลสมเดจ็ พระเชษฐาธริ าช ๑๖๕ ราชาภเิ ษก ๑๖๕ พระพนั ปสี ศี ลิ ราชอนชุ ากบฏ ๑๖๖ เจา้ พญากระลาโหมสรุ วิ งษคดิ กบฏ ๑๖๗ สำเรจ็ โทษสมเดจ็ พระเจา้ แผน่ ดนิ รชั กาลสมเดจ็ พระอาทติ ยวงษ ๑๖๗ ราชาภเิ ษก ๑๖๘ มขุ มนตรเี ชญิ ใหเ้ จา้ พญากระลาโหมสรุ วิ งษขน้ึ ครองราชย์ รชั กาลสมเดจ็ พระเจา้ ปราสาททอง ๑๖๘ การพระราชพธิ ปี ราบดาภเิ ษก ๑๖๙ สถาปนาพระอนชุ าเปน็ ทพ่ี ระสธุ รรมราชา ๑๖๙ สถาปนาวดั ไชยวฒั นาราม ๑๖๙ โปรดใหช้ า่ งออกไปถา่ ยอยา่ งพระนครหลวงมาสรา้ งทต่ี ำบลรมิ วดั เทพจนั ๑๗๐ สรา้ งจกั รหวดั ไิ พชยนตมหาปราสาท ๑๗๐ สมภพพระนารายราชกมุ าร ๑๗๐ สถาปนาวดั ชมุ พลนกิ ายาราม ๑๗๐ สถาปนาพระปรางคว์ ดั มหาธาตุ ๑๗๑ ลดพระอาทติ ยวงษลงจากยศใหไ้ ปปลกู เรอื นเสาไมไ้ ผร่ มิ วดั ทา่ ทราย ๑๗๑ เสดจ็ พระราชดำเนนิ ไปนมสั การพระพทุ ธบาท ๑๗๒ คนตน่ื เอาตำราคณุ ไสยทง้ิ นำ้ ๑๗๒ ใหย้ กกำแพงพระราชวงั ออกไป
( ๒๘ ) หน้า ๑๗๒ ใหส้ รา้ งพระมหาปราสาทพระวหิ ารสมเดจ็ ๑๗๓ อสนุ บี าตลงตอ้ งหลกั ไชยแตไ่ มต่ อ้ งพระนารายนร์ าชกมุ าร ๑๗๓ พระอาทติ ยวงษยกพวกเขา้ ปลน้ พระราชวงั ถกู จบั ประหารชวี ติ ๑๗๔ พระราชพธิ ลี บศกั ราช ๑๗๖ อสนุ บี าตตอ้ งหนา้ บนั แตไ่ มต่ อ้ งพระนารายราชกมุ าร ๑๗๗ เกดิ เพลงิ ไหมใ้ นพระราชวงั ๑๗๘ เสดจ็ สวรรคต รชั กาลสมเดจ็ เจา้ ฟา้ ไชย ๑๗๘ ครองราชสมบตั ิ ๑๗๘ สมเดจ็ พระนารายกบั พระศรสี ธุ รรมราชาคดิ กบฏ ๑๗๘ สำเรจ็ โทษสมเดจ็ เจา้ ฟา้ ไชย ณ โคกพระยา รชั กาลสมเดจ็ พระศรสี ธุ รรมราชา ๑๗๘ เสดจ็ ขน้ึ ผา่ นพภิ พ ๑๗๙ สมเดจ็ พระนารายณม์ หาอปุ ราชคดิ กบฏ ๑๗๙ เกดิ ศกึ กลางเมอื ง ๑๘๑ สำเรจ็ โทษสมเดจ็ พระเจา้ แผน่ ดนิ รชั กาลสมเดจ็ พระนารายณ์ ๑๘๑ ปราบดาภเิ ษก ๑๘๑ พระบรมนามาภไิ ธย ๑๘๒ ลดสว่ ยสาอากร ๓ ขวบ ๑๘๖ กำจดั พระไตรภวู นาทติ ยวงษและพระองคท์ อง ๑๘๙ หลอ่ เทวรปู ๑๘๙ พระราชพธิ เี บญจาพทิ ๑๙๐ พระราชพธิ บี ญั ชพิ รหม ๑๙๐ เสดจ็ ประพาสเมอื งณครสวรรณ์ ๑๙๑ ไดช้ า้ งพงั เผอื กเมอื งศรสี วดั
( ๒๙ ) หน้า ๑๙๑ หลอ่ พระพทุ ธรปู และเทวรปู ๑๙๒ เขมรอพยพมาพง่ึ พระบรมโพธสิ มภาร ๑๙๓ ตา่ งประเทศถวายบรรณาการ ๑๙๓ พระเจา้ เชยี งใหมข่ อกำลงั ไปชว่ ยปอ้ งกนั เมอื งเชยี งใหม่ ๑๙๔ เสดจ็ พระราชดำเนนิ ไปเมอื งพศิ นโุ ลกย์ ๑๙๖ เสดจ็ พระราชดำเนนิ ไปเมอื งศกุ โขไทย ๑๙๖ ละวา้ สวามภิ กั ด์ิ ๑๙๘ มอญอพยพเขา้ มาพง่ึ พระบรมโพธสิ มภาร ใหอ้ ยสู่ ามโคก ๑๙๘ พระเจา้ องั วะใหม้ างสรุ ะราชาเปน็ แมท่ พั ตามจบั ครวั มอญอพยพ ๒๐๐ โปรดใหพ้ ญาโกษาเหลก่ เปน็ แมท่ พั ยกไปขบั ไลท่ พั พมา่ ๒๐๑ โปรดใหต้ อ่ เรอื กำปน่ั ใหญ่ ๒๐๑ ตง้ั พอ่ คา้ ฝรง่ั เศสใหเ้ ปน็ พญาวชิ าเยนทร ๒๐๒ โปรดใหน้ ายปานเปน็ ราชทตู นำพระราชสาสนไ์ ปกรงุ ฝรง่ั เศส ๒๐๒ พระเจา้ ฝรง่ั เศสโปรดใหเ้ สนาบดจี ดั แจงเรอื แหร่ บั พระราชสาสน์ ๒๐๖ พระเจา้ ฝรง่ั เศสพระราชทานนางขา้ หลวงใหเ้ ปน็ ภรรยาราชทตู ๒๐๖ ราชทตู ไทยถวายบงั คมลากลบั ยงั พระนคร ๒๐๖ โปรดใหเ้ ตรยี มทพั ยกไปตเี มอื งองั วะ ๒๑๐ เจา้ พญาโกษาธบิ ดที ำอบุ ายลา่ ทพั ลวงพมา่ ๒๑๒ พมา่ หลงกลถกู ทพั ไทยตแี ตก ๒๑๓ ทพั ไทยเลกิ ทพั กลบั ๒๑๕ โปรดใหห้ ากองทพั กลบั ยงั กรงุ เทพมหานคร ๒๑๖ ไดช้ า้ งเผอื กพญาเศวตกญุ ชร ๒๑๖ เจา้ พญาโกษาธบิ ดถี งึ แกอ่ นจิ กรรม ๒๑๗ โปรดใหน้ ายปานเปน็ เจา้ พญาโกษาธบิ ดี แลว้ ใหเ้ ปน็ แมท่ พั ยกไปตเี มอื งเชยี งใหม่ ๒๑๗ เจา้ พญาโกษาธบิ ดตี ระเตรยี มทพั ๒๑๙ ทพั ไทยตเี มอื งลำพนู แตก
( ๓๐ ) หน้า ๒๒๑ เชยี งใหมข่ อใหท้ พั เมอื งองั วะยกลงมาชว่ ย ๒๒๓ ทพั ไทยตไี ดเ้ มอื งเชยี งใหม่ ๒๒๓ เสดจ็ พระราชดำเนนิ กลบั มาทางเมอื งสวรรคโลกย์ ๒๒๔ พระราชทานธดิ าเจา้ เชยี งใหมแ่ กพ่ ระเพทราชา ๒๒๔ เสดจ็ ขน้ึ ไปนมสั การพระชณิ ราช พระชณิ ศรี ณ เมอื งพศิ นโุ ลกย์ ๒๒๕ โปรดใหส้ รา้ งพระราชวงั ณ เมอื งลพบรู ยี ๒๒๖ โปรดใหส้ รา้ งพระทน่ี ง่ั สธุ าสวรรคแ์ ละพระทน่ี ง่ั รญั มหาปราสาท ๒๒๖ โปรดเลอ่ื นพญาวไิ ชยเยนเปน็ เจา้ พญาทส่ี มหุ นายก ๒๓๐ ใหเ้ จา้ พญาวไิ ชยเยนเปน็ แมก่ องกอ่ ปอ้ ม ณ เมอื งพระพศิ นโุ ลกยแ์ ละธนบรู ยี ๒๓๐ เสดจ็ พระราชดำเนนิ ไปนมสั การพระพทุ ธบาท ๒๓๑ ทรงพระประชวร โปรดใหพ้ ระเพทราชาวา่ ราชการแทนพระองค์ ๒๓๑ หลวงสรศกั ดค์ิ ดิ กบฏ ๒๓๔ ประหารชวี ติ เจา้ พญาวไิ ชยเยน ๒๓๖ โปรดใหบ้ วชขา้ ราชการขนุ นางทง้ั ปวงในปราสาท ๒๓๖ ประหารชวี ติ พระปี ๒๓๖ เสดจ็ สวรรคต รชั กาลสมเดจ็ พระเพทราชา ๒๓๗ เสวยราชย์ ๒๓๘ พระราชพธิ รี าชาภเิ ศก ๒๔๑ ถวายพระเพลงิ พระบรมศพสมเดจ็ พระนาราย ๒๔๓ ทำมเทยี นขา้ หลวงเดมิ เจา้ ฟา้ อไภทศเปน็ กบฏ ๒๔๔ ปราบกบฏทำมเทยี น ๒๔๖ พญายมราชสงั และพญารามเดโชแขง็ เมอื ง ๒๔๖ โปรดใหพ้ ญาศรรี าชเดโชยกทพั ไปปราบเมอื งนครราชศรมี า ๒๕๐ นายสงั ขยมราชตายในทร่ี บทเ่ี มอื งไชยา ๒๕๔ ทพั กรงุ ตเี มอื งนครศรธี รรมราชแตก
( ๓๑ ) หน้า ๒๕๔ ประหารชวี ติ พญาราชบงั สนั ๒๕๕ โปรดใหส้ รา้ งพระทน่ี ง่ั บนั ยงคร์ ตั นาศน์ ๒๕๕ โปรดใหท้ ตู านทุ ตู คมุ เครอ่ื งราชบรรณาการไปยงั กรงุ ฝรง่ั เศส ๒๕๕ ไดน้ างชา้ งเผอื กจากเมอื งสวรรคโ์ ลก ๒๕๖ สถาปนาและฉลองวดั พญาแมน้ ๒๕๖ กรงุ กำพชุ ประเทศขอสวามภิ กั ด์ิ ๒๕๗ เกดิ กบฏลาวบญุ กวาง ๒๕๙ ประหารชวี ติ บญุ กวางและพรรคพวก ๒๕๙ เสดจ็ พระราชดำเนนิ ไปนมสั การพระพทุ ธบาท ๒๖๑ กรงุ ศรสี ตั นาคนหตุ ขอกองทพั ไปชว่ ยปอ้ งกนั เมอื ง ๒๖๒ เมอื งหลวงพระบางยอมประนปี ระนอมกบั กรงุ ศรสี ตั นาคนหตุ ๒๖๓ พระราชพธิ โี สกนั ตเ์ จา้ พระขวนั ๒๖๕ กรมพระราชวงั บวรสำเรจ็ โทษเจา้ พระขวนั ๒๖๕ สมเดจ็ พระเพทราชาเสดจ็ สวรรคต รชั กาลสมเดจ็ พระเจา้ เสอื ๒๖๗ โปรดใหถ้ อื นำ้ พพิ ดั สตั ยา ๒๖๗ ราชาภเิ ศก ๒๖๘ ถวายพระเพลงิ พระบรมศพ ๒๖๘ โปรดใหส้ รา้ งพระอารามตำบลบา้ นโพประทบั ชา้ ง ๒๖๙ อสนุ บี าตตกตอ้ งยอดพระมณฑปวดั สมุ งคลบพติ ร ๒๗๑ เสดจ็ พระราชดำเนนิ ไปนมสั การพระพทุ ธบาท ครง้ั ท่ี ๑ ๒๗๒ ปลอมพระองคไ์ ปทรงชกมวยทแ่ี ขวงเมอื งวเิ ศษไชยชาญ ๒๗๓ ลอ้ มชา้ งเถอ่ื นแขวงเมอื งนครสวรรค์ ๒๗๗ เสดจ็ ประพาสเมอื งเพชรบรู ยี ์ ๒๗๗ เสดจ็ ประพาสทรงเบด็ ณ ปากนำ้ ษาครบรู ยี ์ ๒๗๙ โปรดใหข้ ดุ คลองโคกฃาม
( ๓๒ ) หน้า ๒๘๐ เสดจ็ พระราชดำเนนิ ไปนมสั การพระพทุ ธบาท ครง้ั ท่ี ๒ ๒๘๑ เสดจ็ สวรรคต รชั กาลสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทา้ ยสระ ๒๘๑ การพระราชพธิ รี าชาภเิ ศก ๒๘๒ สำเรจ็ โทษพระองคเ์ จา้ ดำ ๒๘๓ สมเดจ็ พระอยั กี กรมพระเทภามาศสวรรคต ๒๘๓ เขมรฝกั ฝา่ ยขา้ งญวน ทพั กรงุ ยกไปปราบ ๒๘๕ โปรดใหป้ ฏสิ งั ขรณว์ ดั มเหยงค์ ๒๘๕ กรมหลวงโยธาทพิ ทวิ งคต ๒๘๖ โปรดใหข้ ดุ คลองมหาไชย ๒๘๖ โปรดใหข้ ดุ คลองเตรจน์ อ้ ย ๒๘๗ เสดจ็ พระราชดำเนนิ ไปบำเพญ็ พระราชกศุ ล ณ พระพทุ ธบาท ๒๘๘ โปรดใหช้ ะลอพระพทุ ธไสยาศวดั ปาโมก ๒๘๘ พระราชทานราชสมบตั มิ อบใหแ้ กเ่ จา้ ฟา้ อะไภย ๒๘๙ กรมพระราชวงั บวรเตรยี มทำศกึ ชงิ ราชสมบตั ิ ๒๘๙ สมเดจ็ พระเจา้ แผน่ ดนิ ถงึ แกท่ วิ งคต ๒๘๙ เกดิ ศกึ กลางเมอื ง ๒๙๑ สำเรจ็ โทษเจา้ ฟา้ อะไภยและเจา้ ฟา้ บรมเมศ รชั กาลสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั บรมโกศ ๒๙๒ การพระราชพธิ ปี ราบดาภเิ ศก ๒๙๒ ตง้ั ขา้ ราชการและพระราชวงศ์ ๒๙๔ ลอ้ มชา้ ง ณ เมอื งลพบรู ยี ์ ๒๙๔ จนี ไนยกเขา้ ปลน้ พระราชวงั ๒๙๕ กรงุ กำภชู าธบิ ดถี วายชา้ งพงั เผอื ก
( ๓๓ ) หน้า ๒๙๕ สมโภชพระพทุ ธบาท ๒๙๕ สมโภชพระชณิ ราช ชณิ ศรี เมอื งพศิ นโุ ลกย์ ๒๙๕ ตง้ั กรมขนุ เสนาพทิ กั ในทม่ี หาอปุ ราช ๒๙๕ โปรดใหป้ ฏสิ งั ขรณว์ ดั พระศรสี รรเพชร์ ๒๙๖ ไดช้ า้ งเนยี มเมอื งไชยา ๒๙๖ เจา้ เมอื งเมาะตะหมะและเจา้ เมอื งทวายอพยพเขา้ มาพง่ึ พระบรมโพธสิ มภาร ๒๙๖ เกดิ เพลงิ ไหมใ้ นพระราชวงั บวรสถานมงคล ๒๙๗ พระเจา้ องั วะแตง่ ราชทตู มาเจรญิ ทางพระราชไมตรี ๒๙๘ ปฏสิ งั ขรณอ์ ารามวดั ภเู ขาทอง ๒๙๘ เสดจ็ ไปประพาสเมอื งลพบรู ยี ๒๙๘ พญาพราม พญากลางเมอื ง พวกสมงิ ถอ่ เขา้ มาพง่ึ พระราชสมภาร ๒๙๘ ใชท้ องบางตะพานปดิ มณฑปพระพทุ ธบาท ๓๐๑ เจา้ พญาชำนารบรริ กั ษถงึ อนจิ กรรม ๓๐๑ ลอ้ มชา้ ง ณ ปา่ แขวงเมอื งลพบรู ยี ๓๐๒ กรมพระราชวงั บวรตอ้ งรบั พระราชอาญาจนถงึ ทวิ งคต ๓๐๒ ไดช้ า้ งเนยี มเมอื งนครไชยศรี ๓๐๓ ทรงตง้ั กรมขนุ ภรพนิ ติ เปน็ กรมพระราชวงั บวรสถานมงคล ๓๐๓ สมโภชพระพทุ ธบาท ๓๐๔ เสดจ็ สวรรคต รชั กาลสมเดจ็ พระเจา้ อทุ มุ พร ๓๐๕ การพระราชพธิ ปี ราบดาภเิ ศก ๓๐๕ กรมพระเทภามาตเุ สดจ็ ทวิ งคต ๓๐๖ ถวายราชสมบตั แิ กพ่ ระเชษฐาธริ าช รชั กาลสมเดจ็ พระทน่ี ง่ั สรุ ยิ าสอมรนิ ทร์ ๓๐๖ ราชาภเิ ศก ๓๐๗ เนรเทศกรมหมน่ื เทพพพิ ติ รไปเกาะลงั กา
( ๓๔ ) หน้า ๓๐๗ พมา่ ยกมาตเี มอื งมฤท เมอื งตะนาวศรี ๓๐๙ พมา่ ยกทพั มาประชดิ กรงุ ๓๑๐ เจา้ เมอื งไทรนำชา้ งมาถวาย ๓๑๐ มอญเขานางบวดคดิ กบฏ ๓๑๐ เมอื งเชยี งใหมข่ อกองทพั ไปชว่ ยตอ่ สพู้ มา่ ๓๑๐ เสยี เมอื งเชยี งใหมแ่ กพ่ มา่ ๓๑๑ หยุ ตองจาแตง่ เครอ่ื งราชบรรณาการมาถวาย ๓๑๑ สมโภชพระพทุ ธบาท ๓๑๑ เตรยี มปอ้ งกนั พระนคร ๓๑๑ พมา่ ยกทพั มาตเี มอื งมฤท ตะนาวศรี เพชรบรู ยี ์ ราชบรู ยี ์ กาญจนบ์ รู ยี ์ ๓๑๓ พอ่ คา้ องั กฤษชว่ ยรบพมา่ ๓๑๔ บา้ นระจนั ตง้ั คา่ ยสพู้ มา่ ๓๑๔ คา่ ยบา้ นระจนั แตก ๓๑๔ กรมหมน่ื เทพพพิ ติ รอพยพชาวหวั เมอื งตะวนั ออกตง้ั มน่ั ในเมอื งประจมิ ทบ์ รู ยี ์ ๓๑๔ ทพั เรอื พมา่ ตเี มอื งปราจนี แตก ๓๑๔ กรมหมน่ื เทพพพิ ติ รกบั พญารตั นาธเิ บศหนไี ปอยเู่ มอื งนครราชสมี า ๓๑๕ ทพั พมา่ เขา้ ลอ้ มกรงุ ๓๑๕ เกดิ เพลงิ ไหมล้ กุ ลามในกรงุ ๓๑๖ เกดิ อาเพศประหลาดใหเ้ หน็ เปน็ นมิ ติ ๓๑๖ เสยี กรงุ ศรอี ยธุ ยาแกพ่ มา่ ณ วนั องั คาร เดอื น ๕ ขน้ึ ๙ คำ่ ปกี นุ นพศก ๓๑๗ สมเดจ็ พระเจา้ แผน่ ดนิ หนพี มา่ สวรรคต ระหวา่ งจลาจล ๓๑๗ พญาตากตฝี า่ กองทพั พมา่ ๓๑๘ พญาตากยกทพั ไปบา้ นโพสาวหาร ๓๑๘ ขนุ ชำนารไพรส่ นถวายชา้ ง ๓๑๙ ประหารชวี ติ พระเชยี งเงนิ นายทพั นายกองทลู ขอชวี ติ ไว้
( ๓๕ ) หน้า ๓๒๐ เสดจ็ นำทพั ไปยงั เมอื งระยอง ๓๒๐ ขนุ ราม หมน่ื ชว่ งคดิ ประทษุ รา้ ย ๓๒๑ ตเี มอื งระยองแตก ๓๒๑ พญาจนั ทรบรู รณสวามภิ กั ด์ิ ๓๒๓ เสดจ็ สถติ ณ เมอื งระยอง ๓๒๔ เสดจ็ ยกทพั ไปบา้ นหนองมน ๓๒๔ เลยี บทอดพระเนตรเมอื งชลบรู ยี ์ ๓๒๔ ตง้ั นายทองอยนู่ กเลก็ เปน็ ทพ่ี ญาอนรุ าชบรู ยี ศรมี หาสมทุ ๓๒๕ เสดจ็ ดำเนนิ กลบั มายงั เมอื งระยอง ๓๒๕ พญาจนั ทบรู รณ ขนุ ราม หมน่ื ซอ่ งคดิ รา้ ย ๓๒๖ เสดจ็ ยกทพั ลอ้ มเมอื งจนั ทบรู รณ ๓๒๗ พระเจา้ ตากตเี มอื งจนั ทบรู รณแตก ๓๒๘ จนี เจยี มสวามภิ กั ดพ์ิ าเอาธดิ ามาถวาย ๓๒๘ เสดจ็ ถงึ เมอื งชลบรู ยี ๓๒๙ พญาตากตเี มอื งธนบรู ยี ์ ๓๒๙ พญาตากตคี า่ ยโพสามตน้ แตก ๓๓๐ โปมงั นายทพั พมา่ คมุ พลทหารเขา้ มาลอ้ มคา่ ยจนี บางกงุ้ ๓๓๑ พญาตากตที พั พมา่ แตก ๓๓๑ โปรดใหส้ งั ฆการี ธรรมการทำสารบาญชพี ระสงฆ์ ๓๓๒ เสดจ็ ยกทพั ขน้ึ ไปปราบเมอื งพศิ นโุ ลกย์ ๓๓๓ เสดจ็ ยกทพั ไปเมอื งพมิ าย สำเรจ็ โทษกรมหมน่ื เทพพพิ ติ ร ๓๓๓ บงั เกดิ แผน่ ดนิ ไหว ๓๓๔ แขกเมอื งลาวหลม่ ศกั มาสโู่ พธสิ มภาร ๓๓๔ โปรดใหข้ า้ ทลู ละอองผใู้ หญผ่ นู้ อ้ ยทำนาปรงั ๓๓๔ โปรดใหพ้ ญาอนชุ ดิ ราชาเปน็ เจา้ พญายมราช ๓๓๔ ยกกองทพั ไปตเี มอื งณครศรธี รรมราช
( ๓๖ ) หน้า ๓๓๕ พญาตากตเี มอื งนครศรธี รรมราชแตก ๓๓๖ เจา้ พญาจกั รี พญาพไิ ชยราชาจบั เจา้ พญาลครมาถวาย ณ เมอื งสงขลา ๓๓๖ เสดจ็ ดำเนนิ ทพั กลบั มาเมอื งธนบรู ยี ์ ๓๓๗ เสดจ็ ยกทพั ไปปราบหวั เมอื งฝา่ ยเหนอื ๓๓๗ เสดจ็ เขา้ ไปนมสั การพระชณิ ราช ชณิ ศรี พระศรศี าสดา ๓๓๘ แขกเมอื งตานเี ขา้ มาสพู่ ระบรมโพธสิ มภาร ๓๓๙ โปรดใหช้ ำระพระสงฆฝ์ า่ ยเหนอื ๓๔๐ เสดจ็ พระราชดำเนนิ ไปยงั เมอื งสวางคบ์ รู ยี สมโภชพระธาตุ ๓ เวร ๓๔๐ เสดจ็ ยกทพั หลวงขน้ึ ไปตเี มอื งเชยี งใหม่ ๓๔๑ ตเี มอื งเชยี งใหมไ่ มส่ ำเรจ็ จงึ ใหถ้ อยทพั กลบั ๓๔๑ โปรดใหเ้ ตรยี มซอ่ มแซมพระนคร กอ่ กำแพงและขดุ คนู ำ้ รอบพระนคร ๓๔๒ เสดจ็ ยกทพั หลวงไปตกี ะโพงโสมและกองกดุ ๓๔๓ ตง้ั พญาพพิ ติ รเปน็ พญาราชาเสรฐี รง้ั เมอื งพทุ ไทมาต ๓๔๓ เสดจ็ ยกทพั หลวงจากปากนำ้ พทุ ไทมาตไปตกี รงุ กำภชู าธบิ ดี ๓๔๔ เสดจ็ ยกทพั หลวงขน้ึ ไปเมอื งเชยี งใหม่ ๓๔๔ ครวั ไทย มอญ ลาว ซง่ึ หนมี าแตเ่ มอื งเมาะตะหมะเขา้ มาพง่ึ พระบรมโพธสิ มภาร ๓๔๖ เสดจ็ ไปนมสั การพระพทุ ธประตมิ ากร ณ วดั พระศรหี งิ ๓๔๖ โปรดใหพ้ ญาจา่ บา้ นเปน็ พญาวเิ ชยี นปราการครองเมอื งเชยี งใหม่ ๓๔๘ เสดจ็ นมสั การพระพทุ ธปฏมิ ากร ณ วดั กลางดอยเขาแกว้ ๓๔๘ เสดจ็ โดยทางสถลมารคถงึ กรงุ ธนบรู ยี ์ ๓๔๘ โปรดใหย้ กทพั ไปตเี มอื งณะครไชยศรี ๓๔๙ เสดจ็ ไปทอดพระเนตรคา่ ยพมา่ บางแกว้ ๓๕๐ สมเดจ็ พระพนั ปหี ลวงนพิ พาน ๓๕๐ โปรดใหล้ อ้ มพมา่ คา่ ยบางแกว้ ๓๕๕ งยุ อคงหวนุ้ ยอมสวามภิ กั ด์ิ ๓๕๕ โปรดใหพ้ ระอะนชุ ดิ ราชาเปน็ นายทพั ยกไปตพี มา่ ปากแพรก
( ๓๗ ) หน้า ๓๕๖ ถวายพระเพลงิ สมเดจ็ พระพนั ปหี ลวง ๓๕๖ ดำรสั ใหเ้ จา้ พญาสรศรยี กไปตเี มอื งเชยี งแสน ๓๕๖ เสดจ็ ยกพลพยหุ บาตราทพั หลวงขน้ึ ไปประทบั ณ คา่ ยมน่ั วดั บางซาย ๓๕๘ ทพั หลวงขน้ึ ไปพระตำหนกั คา่ ยมน่ั วดั จนั ๓๖๐ ขนุ อากาษสรเพลงิ ถกู ปนื ตาย ๓๖๑ เจา้ พญาจกั รี เจา้ พญาสรศรหี นอี อกจากเมอื งพศิ นโุ ลกย์ ๓๖๑ อะแซรว่ นกถ้ี อยทพั กลบั ๓๖๒ เสดจ็ ถงึ พระตำหนกั คา่ ยเมอื งนครสวรรค์ ๓๖๓ เสดจ็ ถงึ เมอื งธนบรู ยี ์ ๓๖๓ เสดจ็ ยกทพั หลวงขน้ึ ไปถงึ พระตำหนกั เมอื งไชนาถ ๓๖๔ เสดจ็ ขน้ึ ไปเมอื งณครสวรรค์ ๓๖๔ ยกทพั กลบั เมอื งธนบรู ยี ๓๖๔ เสดจ็ ยกทพั หลวงขน้ึ ไปปราบพมา่ ณ เมอื งฝา่ ยเหนอื ๓๖๕ นางพญาชา้ งเผอื กลม้ ๓๖๕ เสดจ็ บำเพญ็ พระกรรมฐาน ณ พระอโุ บสถวดั บางญเ่ี รอื ๓๖๖ เชญิ พระอฐั พิ ระพนั ปหี ลวงลงเรอื แหไ่ ปวดั บางญเ่ี รอื ใน ๓๖๖ บงั เกดิ ลมพายลุ มฝนหนกั ๓๖๖ หลอ่ ปนื พระพริ ณุ ณ สวนมงั คดุ ๓๖๖ พญานางรองคบคดิ กนั กบฏ ใหเ้ จา้ พญาจกั รยี กทพั ไปปราบ ๓๖๖ พระราชทานนามเจา้ พญาจกั รใี หเ้ ปน็ สมเดจ็ พระเจา้ กระษตั รศกึ ๓๖๗ พระสงั ฆราชแปลพระบาลพี ระพทุ ธลกั ษณะถวาย ๓๖๘ พญาวเิ ชยี นปราการเจา้ เมอื งเชยี งใหมเ่ ขา้ มาเฝา้ ๓๖๘ ดำรสั ใหพ้ ระเจา้ กระษตั รศกึ เปน็ จอมทพั ยกไปตกี รงุ ศรสี ตั นาคะนะหตุ ๓๖๘ อญั เชญิ พระพทุ ธปฏมิ ากรแกว้ มระกฎลงมากรงุ ธนบรู ยี ๓๖๘ ดำรสั ใหค้ มุ ตวั มหาดาและพรรคพวกไปประหารชวี ติ ๓๖๘ ประหารชวี ติ ญวนกบฏและพรรคพวก
( ๓๘ ) หน้า ๓๖๙ โปรดใหย้ กทพั ไปตเี มอื งพทุ ไทเพชร ๓๖๙ เกดิ เหตวุ ปิ รติ ตา่ ง ๆ อกุ กาบาตและธมุ เกตบนั ดาลตก ๓๖๙ พญาสวรรคเ์ ปน็ กบฏ ๓๗๐ พระเจา้ ตากทรงพระผนวช ณ พทั ธเสมาวดั แจง้ ๓๗๐ พระเจา้ กระษตั รศกึ เสดจ็ พระราชดำเนนิ ทพั มาจากเสยี มราบ ๓๗๑ สำเรจ็ โทษพระเจา้ ตากและพรรคพวก ณ ปอ้ มทา้ ยเมอื ง ๓๗๑ อญั เชญิ เสดจ็ พระเจา้ กระษตั รศกึ ขน้ึ ปราบดาภเิ ษก ๓๗๑ ใหส้ ถาปนาพระราชนเิ วศนใ์ หม่ ณ ฟากเมอื งขา้ งตะวนั ออก ๓๗๑ ประหารชวี ติ ขนุ อนิ ทรพทิ กั ษและพรรคพวก ๓๗๒ แรกจบั การตง้ั วงั ใหม่ ใหต้ ง้ั การพระราชพธิ คี รบ ๓ วนั ๓๗๒ พระบรมนามาภไิ ธย ๓๗๒ ดำรสั ใหส้ มเดจ็ พระอนชุ าธริ าชเปน็ อปุ ราช ๓๗๒ มองหมอ่ งฆา่ จงิ กจู า แลว้ ขน้ึ ปราบดาภเิ ษก ๓๗๒ มงั แวงปาดงุ้ ใหแ้ วงแซะราชปโิ ยรสยกทพั ไปตเี มอื งยะไขไ่ ด้ ๓๗๕ ภาคผนวก ลำดบั ราชวงศแ์ ละพระนามพระมหากษตั รยิ ส์ มยั อยธุ ยา ๓๗๙ รายนามคณะกรรมการ
พระราชพงศาวดารกรงุ สยามฯ ๑ พระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากตน้ ฉบบั ของบรติ ชิ มวิ เซยี ม กรงุ ลอนดอน วนั ๕๑ฯ๔๒ คำ่ จลุ ะศกั ราช ๑๑๖๙๑ ปเี ถาะนพศก เพลาคำ่ เสดจ็ ออก ณ พระทน่ี ง่ั จกั รพรรดพิ มิ าร ลน้ เกลา้ ฯ กรมพระราชวงั บวรฯ ทลู เกลา้ ถวาย เลม่ ๑ และในเรอ่ื งราวเดมิ เหตนุ น้ั ยงั มีดาบสทง้ั สองชอ่ื พระสชั นาไลย แลเจา้ ฤาษสี ทิ ธมิ งคลพน่ี อ้ ง อายยุ นื ได้ ๑๐๐ ปี แต่พระชณิ ะศรเี ปน็ พญาตราบทา้ วไดต้ รสั แลพราหมณท์ ง้ั ๑๐๐ บา้ นยอมเปน็ ลกู หลานพระฤาษที ง้ั สอง ๆ จง่ึ สง่ั สอนวา่ สทู ง้ั หลายอยา่ ประมาท จงชว่ ยกนั ทำกำแพงกนั ตวั อยา่ เมามวั แกต่ ณั หา สาตราเรง่ ตกแตง่ ไว้ อนั พงศพ์ ราหมณส์ บื ไปในภายหนา้ จะเปน็ กระหสั จะตดั จกุ เกลา้ เหลา่ ชพี อ่ อยา่ มวั เมาทกุ ตำบลจะละคำทศพลเอาแตโ่ ลภ โทสะ โมหะ มกั ไดใ้ หท้ า่ นฉบิ หาย อนง่ึ ทา่ นทง้ั หลาย จงเอาพนมเพลงิ เขา้ ไวใ้ นเมอื งเปน็ ทบ่ี ชู า ครน้ั เจา้ ฤาษสี ง่ั สอนลกู หลานแลว้ กเ็ หาะไป วันพฤหัสบดี เดือนอ้าย ขึ้น ๖ ค่ำ ( วัน ๕ ๖ฯ ๑ ค่ำ ) ปีมะโรงนักษัตรโทศก พุทธศักราช ลว่ งแลว้ ๑๑๐ ปี มีบาธรรมราชเปน็ ประธานใหช้ พี อ่ ชพี ราหมณต์ ดั เอาแลงมาทำกำแพง สถาปนาพระนคร ๗ ปีจึ่งแล้ว แลให้สร้างอาวาสวิหารให้เป็นประธานแก่สงฆ์เจ้าทั้งหลาย จึ่งฝูงชีพ่อตั้งเทวสถานแลขึ้น รำพาวายแก่พระอศิ วรผเู้ ปน็ เจา้ ฝา่ ยพระดาบสทง้ั สองคำนงึ ตระกลู จง่ึ เขา้ ฌาณสมาบตั อิ นั เปน็ บาทแหง่ อภญิ ญา แลว้ เหาะมาในอากาศกเ็ ขา้ ถงึ พนมบชู ายงั ชพี อ่ พราหมณท์ ง้ั หลาย แลมบี าธรรมราชเปน็ ประธานวา่ ขา้ แตป่ เู่ จา้ ทง้ั สองตขู า้ สรา้ งเมอื งตามคำปเู่ จา้ กบ็ รบิ รู ณแ์ ลว้ แลนามกรเมอื งนจ้ี ะสมควรประการใด พระฤาษี จึ่งว่า เราไปเยี่ยมพระอินทร์ยังเทวโลกกลับลงมาบัดนี้ จึ่งประสาทนามว่า เมืองสวรรค์เทวโลก แล้ว พระดาบสใหช้ มุ นมุ ชพี อ่ พราหมณท์ ง้ั หลายปรกึ ษาวา่ เหน็ ผใู้ ดคคู่ วรดว้ ยพระนคร พราหมณท์ ง้ั นน้ั วา่ เหน็ แต่ บาธรรมราชเปน็ ผแู้ กก่ วา่ ตขู า้ ทง้ั หลาย พระฤาษจี ง่ึ วา่ ในราชธานนี จ้ี ะเปน็ กษตั รยิ ม์ ี ๓ ตระกลู คอื คหบดี แลเศรษฐี แลพราหมณป์ ระเสรฐิ ในแผน่ ดนิ แลว้ พระดาบสทง้ั สองจง่ึ เศกบาธรรมราชใหเ้ ปน็ พญาบาธรรมราช แลนำเอานางทา้ วเทวี อนั เปน็ หลานสาวแหง่ นางโมขลบิ ตุ ร ในบา้ นหะรภื ญู ไชยมาเปน็ อคั รมเหสี แลว้ บอกวา่ ๑ ตามปฏิทินของกรมวิชชาธิการ กระทรวงธรรมการ พ.ศ. ๒๔๗๔ เดือนยี่ ขึ้น ๑๔ ค่ำ จ.ศ. ๑๑๖๙ เป็นวันจันทร์ ตรงกบั วนั ท่ี ๑๑ มกราคม พ.ศ. ๒๓๕๐ ปลายรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช เปน็ วนั ทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั เมอ่ื ดำรงพระอสิ รยิ ยศ กรมพระราชวงั บวรสถานมงคล ทลู เกลา้ ฯ ถวายพระราชพงศาวดารทม่ี พี ระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ ใหช้ ำระเมอ่ื พ.ศ. ๒๓๓๘ ความตั้งแสมเด็จพระรามาธิบดที ี่ ๑ พระเจ้าอู่ทองทรงสร้างกรุงศรีอยุธยา ถึงสมเด็จพระมหาจักรพรรดิให้เตรียมการทัพไปรบ เมอื งละแวก ดบู านแพนกในหนา้ ๒๗ ประกอบดว้ ย
๒ ประชมุ พงศาวดารฉบบั กาญจนาภเิ ษก เลม่ ๒ ธาตเุ กศองคส์ มเดจ็ พระพทุ ธเจา้ อนั พญาศรธี รรมโศกราชแจกไวย้ งั ฝงั อยใู่ ตต้ น้ รงั แรง้ ตวั เมยี หากอยเู่ ฝา้ รกั ษา แลทา่ นจงนำมาประดษิ ฐานไวเ้ ถดิ ครั้นพระฤาษีสั่งแล้วก็เหาะไปถึงภูผา ล่วงเจ็ดวันก็กระทำกาลกิริยาตาย พญาศรีธรรมราชเจ้า ให้บาพศิ ณแุ ลบาชชี าพิทบาทั้ง ๕ คน อันเป็นช่างมาคิดการสถาปนาพระมหาธาตุ ว่าเราจะทำให้ ประหลาดกว่าช่างทั้งหลายในแผ่นดิน จึ่งให้ตัดเอาแลงมาทำแผ่นรจนาเป็นหน้ากระดานฐานสิงห์ แลลดชน้ั คนั เชงิ บาทบวั หงาย บวั กลมุ่ ระฆงั บลั ลงั กเ์ สรจ็ สำเรจ็ แลว้ ใหข้ ดุ สระกรแุ ลว้ ดว้ ยแลงจง่ึ ตง้ั ฐาน ชั้นหนึ่ง แลสมเด็จพระบรมธรรมราชาธิราชเจ้าจึ่งเสด็จด้วยพยุหยาตรราชยศอันเป็นอัศจรรย์ ครั้นถึง ตน้ รงั แลว้ จง่ึ ใหข้ ดุ เอาผอบแกว้ ใหญ่ ๕ กำ ซง่ึ ใสพ่ ระสารรี กิ บรมธาตนุ น้ั ขน้ึ ถวายอามสิ มหนั ตสกั การบชู า แลว้ จง่ึ อญั เชญิ เสดจ็ มาสพู่ ระนครดว้ ยราชานภุ าพ แลทน่ี น้ั จงึ เรยี กวา่ เขารงั แรง้ แตน่ น้ั มา พระธรรมราชา จง่ึ ปา่ วประกาศแกค่ นทง้ั หลายผศู้ รทั ธาเอาทองมาประมวลกนั ได้ ๒๕๐๐ ตำลงึ ใหร้ จนาเปน็ สำเภาเภตราแลว้ จึ่งประดิษฐานพระบรมธาตุเจ้าลอยไว้ในสระน้ำ ให้สถาปนาพระสถูปครอบที่นั้นปีหนึ่งจึงสำเร็จ แลอัคคี ธาตพุ ระสารบี ตุ เถรเจา้ กบ็ รรจไุ วใ้ นพระเจดยี ข์ า้ งเหนอื ในเมอื งสวรณค์ โลกย์ แลธาตพุ ระโมคลาเจา้ กบ็ รรจุ ไวใ้ นบา้ นนางโมคลบี ตุ รในพระนครนน้ั ขณะนน้ั สมเดจ็ พระเจา้ ธรรมราชาธริ าชใหท้ ำกำแพงในจนั ตมชั คาม รอบคอบแลว้ ใหช้ อ่ื เมอื งหรพิ นุ ไชย จง่ึ รบั เจา้ อโุ ลกกมุ ารราโชรสมาราชาภเิ ษก ทรงนามพญาศรธี รรมโศกราช แลใหช้ าวบา้ นอตุ ะระคามทำกำแพงลอ้ มบา้ นมน่ั คง แลว้ จง่ึ ใชช้ พี อ่ ผใู้ หญม่ ารบั เจา้ ธรรมกมุ ารราชบตุ ร ไป ราชาภิเษกด้วยนางพราหมณี จึ่งได้ชื่อว่า กำโพชนครศรีเมืองทุ่งยั้ง แล้วให้ตกแต่งบูรคามชื่อ พิบูรณะ ครบบรบิ รู ณ์ แลว้ จง่ึ เสกเจา้ สงิ หะกมุ ารกบั ดว้ ยนางพราหมณไี ว้ แตก่ ษตั รยิ ส์ บื ๆ กนั มาทง้ั สเ่ี มอื งถงึ เจด็ ชว่ั ตระกูลช้านานมิได้มีหิงสาการแก่กัน จึ่งมีพญาองค์หนึ่งชื่อ อไภยคามะมณี ิ ทรงศีลาจารย์บริสุทธิ์อยู่ หะรภิ นู ไชยนคร ยอ่ มไปจำศลี อยใู่ นเขา จง่ึ นาคธดิ าขน้ึ มาจากนาคพภิ พ แปลงตนเปน็ มนษุ ยน์ ารมี าอยู่ รว่ มเมถนุ สงั วาสดว้ ยพระมหากษตั รยิ ์ ๗ ราตรแี ลว้ พระเจา้ อะไภยคามนิ จี ง่ึ พระราชทานผา้ กำพลแลธำมรงค์ องคห์ นง่ึ นางกล็ าไป ครน้ั จำนวนนานมา นาคบตุ รนี น้ั ทรงครรภแ์ ก่ จง่ึ ขน้ึ มาคลอดบตุ รไวใ้ นครี รี าชาอาสน์ ที่พระมหากษัตริย์เคยมาจำศีลอยู่แต่ก่อน แลบุตรนั้นเป็นมนุษย์กุมารทรงโฉมบริสุทธิ์ นางจึ่งไว้ผ้ากำพล แลแหวนกบั ลกู ตนแลว้ กก็ ลบั ไป ขณะนั้นยังมีวนจรกผู้หนึ่งพเนจรมาพบทารกนั้น เห็นประหลาดก็นำมาเลี้ยงไว้เป็นบุตรบุญธรรม แห่งตน ครั้นกุมารนั้นค่อยวัฒนาการจำเริญขึ้น พอบพิตรกรุงหะริภูนไชยตั้งการสถาปนาพระที่นั่งมงคล พระมหาปราสาทแลพลจนนั้นเข้าไปทำการ จึ่งยังกุมารนั้นให้สำนักอยู่ในฉายามหาปราสาท จึ่งปรากฏ
พระราชพงศาวดารกรงุ สยามฯ ๓ เปน็ อศั จรรย์ ดว้ ยพระมหาปราสาทนน้ั เอยี งโอนหนเี ปน็ หลายทปี ระจกั ษแ์ กค่ นทง้ั ปวง บพติ รทอดพระเนตรเหน็ จึ่งตรัสถามว่า กุมารนี้เป็นบุตรผู้ใด วนจรกนั้นกราบทูลตามความจริงแล้ว ถวายผ้ากำพลกับธำมรงค์ อนั ไดก้ บั กมุ ารนน้ั พระเจา้ อไภยคามมนิ ีกต็ รสั ทราบวา่ กมุ ารนเ้ี ปน็ ราชบตุ รแหง่ พระองค์ ๆ จง่ึ ประสาทราช รางวัลแก่พรานนั้น แล้วจึ่งตรัสให้ชะแม่แลนางท้าวพระสนมอัญเชิญเสด็จพระราชโอรสเข้าสู่พระราช มนเทียรสถาน แลว้ ตง้ั การสมโภชพระราชทานนามวา่ พระอะรนุ ะราชกมุ าร แลพระฤทธกิ มุ ารราชบตุ ร อันเกิดด้วยพระอัครมเหสีนั้นอ่อนกว่าพระอะรุนะราช แลเจ้าพี่น้องทั้งสองนิยมรักใคร่ร่วมใจกัน อนึ่งใน อดีตภพครั้งเมื่อสมเด็จพระบรมสมพุทธเจ้ายังทรงพระทรมานอยู่นั้น พระองค์เสด็จมาฉันในที่นอกบ้าน ปจั มชั คาม ครง้ั นน้ั ยงั มพี ญาอรุ คราชตวั หนง่ึ มศี รทั ธาบนั ดาลนำ้ ถวายยงั พระองคใ์ หส้ รงในทน่ี น้ั พระองค์ จึ่งแย้มพระโอษฐ์ดำเนินวิลาสพุทธพยากรณ์ต่อพระอานนทว์ า่ พญาพุชคินธรตนนี้ เมื่อตถาคตนิพพาน แล้วได้ ๙๕๐ ปี จะบังเกิดเป็นกษัตริย์ ชื่อ พญาอรุณราช จะได้ลบศักราชตถาคตเมื่อถ้วนพันแลเดชะ ผลานสิ งสใ์ หน้ ำ้ เปน็ ทานน้ี แลกระแสนำ้ ไหลไปถงึ ทใ่ี ดกจ็ ะเปน็ อาณาเขตไปถงึ ทน่ี น้ั ทา้ วพญาทง้ั ชมพทู วปี จะทนทานอานภุ าพมไิ ด้ ครน้ั พระองคต์ รสั ทำนายแลว้ กเ็ สดจ็ ไปโปรดเวไนยสตั วโ์ ดยพทุ ธนสิ ยั ฝา่ ยพระเจา้ อไภยคามมินี ตรัสเห็นพระอะรุณราชจำเริญขึ้น พระองค์จึ่งนำไปราชาภิเษกไว้ ณะ เมืองสัชนาไลย จง่ึ ไดพ้ ระนามวา่ พญารว่ ง แตน่ น้ั มา พระองคจ์ ง่ึ ใหส้ รา้ งพระวหิ ารทง้ั สท่ี ศิ ตดิ พระมหาธาตแุ ลระเบยี งสองชน้ั เอาแลงทำคา่ ยแลเสาโคมรอบวหิ าร แลว้ ใหช้ า่ งทองเอาทองแดงกระทำลำพขุ นั ยาว ๘ ศอก แกว้ ใสย่ อด สบิ หา้ ใบ บลั ลงั กใ์ หญ่ ๙ กำ หมุ้ ทองแดงแตก่ ลบี ขนนุ ลงมาถงึ เชงิ คหู า แลว้ ใหส้ ถาปนาอโุ บสถ กฎุ วี หิ าร สะพาน ศาลา อุทิศถวายเป็นทานแก่สงฆ์เจ้าทั้งหลาย อนึ่งให้กระทำที่ต้นรังบรรจุพระบรมธาตุนั้นเป็น วหิ ารแลเจดยี ์ แลว้ ใหช้ อ่ื อารามเขารงั แรง้ แลครง้ั นน้ั กรงุ กษตั รยิ ท์ ง้ั ปวงกน็ อ้ มนำราชบรรณาการมากราบ ถวายบงั คมทลู ชมพระบญุ ฤทธอ์ิ านภุ าพแหง่ สมเดจ็ พระรว่ งเจา้ สกลชมพู ครั้นพระชนม์ได้ ๕๐ พรรษา พุทธศักราชถ้วน ๑๐๐๐ จึ่งคนอันเป็นใหญ่กว่าคนทั้งหลาย นำเอาชา้ งเผอื กงาดำมาถวาย ครง้ั นน้ั พระองคจ์ ะลจบศกั ราช จง่ึ ใหน้ มิ นต์ พระอะชดิ เถร พระอตุ คตุ เถร พระมหาเถร แลหลายพระอรหันต์เจ้าทั้ง ๕๐๐ องค์ ทั้งพระพุทธโคษา วัดเขารังแร้งมาชุมนุม ณ วดั โคกสงิ ฆารามกลางเมอื งสชั นาไลย แลพรอ้ มทา้ วพญาในชมพู คอื ไทยแลลาว มอญ ญวน พมา่ ลงั กา พราหมณเ์ ทศเพทตา่ ง ๆ ในปมี ะแม เดอื นหก ขน้ึ คำ่ หนง่ึ แลพระพทุ ธเจา้ เสดจ็ นพิ พานปมี ะเสง็ ตง้ั มะเมยี เปน็ เอกศก ทนี ต้ี ง้ั มะแมโทศก พระองคจ์ ง่ึ ใหห้ นงั สอื ไทแล แลเฉยี งไท แลลาวไท มอญไท พมา่ ไท แลขอมเฉยี ง ขอมกม็ มี าแตค่ รง้ั นน้ั จง่ึ พระราชทานทส่ี ดั นาสดั วดั อารามไวค้ ำ้ ชพู ระศาสนา ๕๐๐๐
๔ ประชมุ พงศาวดารฉบบั กาญจนาภเิ ษก เลม่ ๒ พระวัสสาเป็นกัลปนาอุทิศไว้แต่กษัตริย์ได้เสวยราชสมบัติทั้งห้าเมือง จนศักราช ๑๒๐๐ ปี พระร่วงเจ้า ทวิ งคตแลว้ จง่ึ เกดิ รบพงุ่ กนั ชพี อ่ กลายเปน็ กระหสั เปน็ อกศุ ลนกั เพราะประมาทลมื ตนยอ่ มถา่ ยเทเมอื งเสยี ใหเ้ ปน็ ปา่ ชา้ ปา่ เสอื กบ็ งั เกดิ มมี ากแกค่ นทกุ ภาษา ศภุ มสั ดุ ๑๐๒๖ พระรว่ งเจา้ ทรงพระกลั ปนาทไ่ี รแ่ ลนาสดั ไวส้ ำหรบั วดั โคกสงิ ฆาราม วดั อทุ ญาน วดั เขาหลวง วดั ราชประดศิ ถาน แลไตรภมู ปิ า่ แกว้ วดั พระมหาธาตุ วดั เขาอนิ ท์ คณะคามวาสอี รญั วาสี เสรจ็ บรบิ รู ณ์ แลว้ ตรสั แกพ่ ระฤทธกิ มุ ารอนชุ าวา่ กรงุ กษตั รยิ ท์ ง้ั ปวงกม็ าชว่ ยเราตง้ั การลบศกั ราช ในสมยั น้ี เปน็ มหาสโมสรสมาคมอนั ใหญ่ แตพ่ ญามกั ทราชกรงุ เดยี วนโ้ี อหงั นกั มมิ าควรเราจะไปนอ้ มนำมาเปน็ เมอื งขน้ึ แกเ่ รา ครั้น ณ วัน ๑ อุษาโยคอุดมฤกษ์ ทั้งสองกษัตริย์ก็ลงสวุ รรณนาวาเสด็จโดยชลมารคมหาสมุทร หาภัยอันตรายมิได้ ถ้วนกำหนดเดือนหนึ่งจึ่งถึงกรุงจีน สมัยนั้นปรากฏเป็นอัศจรรย์ คือ แผ่นดินไหว แลอากาศเป็นหมอกมัว ไม่เห็นดวงพระอาทิตย์ บรรดาจีนในราชธานีแลชนบทประเทศ ก็บังเกิดขนลุก หนังพองไปสิ้น ฝ่ายบพิตรกรุงมัคทะตรัสเห็นการเป็นอัศจรรย์ ดังนั้นจึ่งให้ขุนแก้วการจนอำมาตย์ ไปพิจารณาเหตุในมหาสมุทรเห็นกษัตริย์ทั้งสองขี่เรือน้อยเข้ามาสู่อ่าว ก็รีบมากราบทูล พระเจ้ากรุงจีน ก็ทราบพระญาณโดยได้ทรงฟังเรื่องพระพุทธพยากรณ์ไว้แต่ก่อนว่า จะมีกษัตริย์ฝ่ายกรุงสยามสองพี่น้อง ทรงบญุ ฤทธเ์ิ ปน็ อศั จรรย์ จะขา้ มทะเลมหาคถู งึ มคั ทะประเทศ ดว้ ยเสรจ็ การลบศกั ราชแหง่ องคส์ มั พทุ ธบพติ ร เจ้าเที่ยงแท้ แล้วพระองค์จึ่งแต่งพลทหารออกมาอัญเชิญกษัตริย์ทั้งสองขึ้นไปสู่ราชธานี กรุงมัคทก็ กราบถวายบงั คมแลว้ จง่ึ นำพระราชธดิ ามาทลู ถวาย บพติ รกม็ พี ระทยั ยนิ ดี พญากรงุ จนี จง่ึ ใหแ้ ตง่ สำเภา ถวายลำหนง่ึ พรอ้ มดว้ ยเครอ่ื งมงคลราชบรรณาการ แลว้ ผา่ ตรามงั กรออกเปน็ สองภาค แลใหร้ าชธดิ า มาภาคหนง่ึ เพอ่ื จะสนั ทดั ในราชสารอนั ไปมาถงึ กนั สมเดจ็ พระรว่ งเจา้ จง่ึ พาพระอนชุ าธริ าช พระอคั รมเหสี แลจนี บรวิ าร ๕๐๐ ลงสสู่ ำเภากลบั มากรงุ สชั นาไลย สำเภาลกู คา้ วาณชิ กไ็ ปมาไดส้ ะดวก แลจนี ทง้ั หลาย ทำถว้ ยชามถวาย จง่ึ เกดิ มถี ว้ ยชามแตน่ น้ั มา พระองคจ์ ง่ึ ใหเ้ จา้ สทุ กมุ ารผนู้ อ้ งตง้ั พระราชวงั อยนู่ อกเมอื ง ฝา่ ยขา้ งเชยี งใหมน่ น้ั พระเจา้ แผน่ ดนิ ทวิ งคต มแี ตพ่ ระราชธดิ า อำมาตยจ์ ง่ึ มากราบทลู ขอพระธกิ มุ าร ไปผ่านแผ่นดิน สมเด็จพระร่วงเจ้าจึ่งให้เจ้าสุทกุมารอยู่รักษาพระนครกับนางพสุทเทวี แล้วพระองค์ ทรงชา้ งเผอื กงาดำพาพระอนชุ าแลเสนาคนกิ รโยธาหาญเสดจ็ โดยพนมใหญถ่ งึ กลางหนทาง จง่ึ ใหเ้ จา้ ฤทธกิ มุ าร ผ่านหน้าช้างเข้ามาต่อพระองค์ จึ่งจับคณฑีทองอันเต็มไปด้วยน้ำหลั่งธิษฐานให้เป็นแดนแว่นแคว้น แห่งเจ้าวันนี้ แล้วให้เอาตะปูทองแดงอันใหญ่สามกำสามตัวปักแดนให้แล้ว ก็เสด็จขึ้นถึงเมือง
พระราชพงศาวดารกรงุ สยามฯ ๕ นางมลิกาเทวีลูกเจ้าเชียงใหม่มารับเสด็จเข้าในเมืองหลวง ท้าวพญาเสนาทั้งหลายก็กราบถวายบังคมทูล ขณะนั้นพระอรหันต์เจ้าได้บุพเพนิวาสานุสติวิชา ก็ยังมีเป็นหลายพระองค์ พระมหากษัตริย์เจ้าจึงถามว่า นางมลกิ าเทวผี นู้ เ้ี ปน็ ฉนั ใด พระอรหนั ตเ์ จา้ จง่ึ บอกวา่ อบุ าสกแลนางนน้ั เขาไดใ้ หท้ านขา้ วบณิ ฑบาตอนั รายไป ดอกมลี พระองค์ก็ชื่นชมยินดี จึ่งเสกเจ้าฤทธิกุมารกับด้วยนางมลิกาเทวี จึ่งได้นามว่า พญาฤๅณ พชิ ยั เชยี งใหม่ ตดิ ตระกลู แตน่ น้ั มา สาวจง่ึ สขู่ อผวั เปน็ จารตี ครน้ั พระรว่ งเจา้ กลบั มาเมอื งแลว้ พระเกยี รตยิ ศกป็ รากฏยง่ิ กวา่ แตก่ อ่ น พระองคร์ อบรวู้ ชิ าไตรเพท เชี่ยวชาญหาผู้เสมอมิได้ แลทรงวจีสัจสุจริตว่าให้ตายก็ตาย จะว่าให้เป็นก็เป็น แลขอมดำเนินดิน ผดุ ขน้ึ มาแลว้ กก็ ลายเปน็ ศลิ ามะขามกข็ น้ึ มไิ ด้ อนง่ึ อำนาจแกว้ อทุ กประสาทอนั พญากรงุ จนี ใหม้ าแกพ่ ระองค์ นน้ั จะไปเจด็ วนั จะบรโิ ภคนำ้ กไ็ ด้ อยมู่ าในสมยั หนง่ึ พระองคท์ รงวา่ วขาดลอยไปถงึ นครตองอู แลพญาตองอู นน้ั เดมิ เปน็ คนอนาถา ไปทำไรค่ ลอ้ งไดว้ านรเผอื กมาถวายสมเดจ็ พระรว่ งเจา้ ๆ จง่ึ โปรดใหเ้ ปน็ พญาแลว้ ใหต้ ง้ั เมอื งตองอู แลเมอ่ื วา่ วทรงขาดไปคลอ้ งยอดปราสาทอยนู่ น้ั พระรว่ งเจา้ ตามไปถงึ เมอื งตองอแู ตพ่ ระองคเ์ ดยี ว เขา้ อยใู่ นบรรณศาลาภายนอกเมอื งนน้ั ครน้ั เพลาคำ่ พระองคก์ ล็ อบเขา้ ไปทำชดู้ ว้ ยลกู สาวพญาตองอถู งึ ปราสาท อนั แลว้ ดว้ ยเหลก็ แลเมอ่ื พระรว่ งเจา้ จะขน้ึ เอาวา่ วนน้ั พระบาทหนง่ึ เหยยี บองั สาพญาตองอู พระบาทหนง่ึ เหยียบศีรษะยื่นพระหัตถ์หยิบเอาว่าว พญาตองอูก็มิถือ เพราะมีความสุจริต ครั้นพระองค์ได้ว่าวแล้ว เพลาคำ่ กห็ นมี า ธดิ านน้ั จง่ึ นำประพฤตเิ หตเุ ขา้ ทลู แกท่ า้ วบดิ า พญาตองอกู ใ็ หต้ ดิ ตามเอาพระองคค์ นื มาได้ ชกั สาวเอาพระอนั ตะออกจากพระองคใ์ สพ่ านไวแ้ ลว้ แลว้ กท็ รงเสดจ็ ขน้ึ มาเมอื งสชั นาไลย แลพระองคจ์ ะไดร้ ู้ เหตนุ น้ั หามไิ ด้ อนง่ึ เปน็ วสิ ยั จะกละฉมบกนิ ไสพ้ งุ คนทง้ั ปวง ครน้ั พระรว่ งเจา้ เสดจ็ ขน้ึ ปราสาทเปลอ้ื งอาภรณ์ แลว้ จง่ึ มพี ระราชโองการตรสั สง่ั เจา้ สทุ กมุ ารวา่ แมน้ ไมเ่ หน็ พม่ี าแลว้ เจา้ จงเปน็ พญาแทนเถดิ ครน้ั ตรสั สง่ั แลว้ กเ็ สดจ็ พระราชดำเนนิ ลงไปสรงนำ้ ทแ่ี กง่ กลางเมอื งนน้ั กอ็ นั ตรธานไป สมเดจ็ พระอนชุ าธริ าชแลมขุ มนตรี พระสนมกำนัลแลราษฎรทั้งปวงก็โสกาดูรภาพร่ำรักรำพันพระคุณเป็นอันมาก พระสุทกุมารจึ่งให้ราชทูต ไปทลู แกพ่ ญาฦๅณพระนครเชยี งใหม่ ลงมาตั้งการถวัลยราชราชาภิเษกพระองค์เป็นอิสรภาพในพระนคร สชั นาไลย แลว้ ใหข้ นุ ไตรภพนาถซอ่ มแปลงพระนเิ วศ กอ่ กำแพงตง้ั คา่ ยชน้ั ในชน้ั นอก ตง้ั คา่ ยเชงิ เรยี งพนมเชงิ แหง่ หนง่ึ พนมหวั ชา้ งแหง่ หนง่ึ พนมหวั เปยี แหง่ หนง่ึ แลว้ ใหแ้ ตง่ ปอ้ มชอ่ งปนื ใหญ่ แลใหต้ กแตง่ หวั เมอื งเอก ๕ หวั เมอื ง หวั เมอื งโท ๘ หวั เมอื ง หวั เมอื งสรรพยทุ ธทง้ั ปวงไวส้ ำหรบั แลว้ ขอชา่ งมาแตม่ คทะ ใหต้ ง้ั หลอ่ ปนื ใหญน่ อ้ ย ๑๕๐ บอก แลตปี นื นกสบั คาบชดุ ๕๐๐ บอก ครน้ั ถงึ เดอื นอา้ ย ขน้ึ คำ่ หนง่ึ พระเจา้ ศรธี รรมไตรยปฎิ กเมอื งเชยี งแสนใหต้ รวจจดั รพ้ี ลโยธาชา้ งมา้
๖ ประชมุ พงศาวดารฉบบั กาญจนาภเิ ษก เลม่ ๒ แลเครื่องสรรพยุทใหพ้ ญาเชียงราย พญาเชียงฤๅเป็นทัพหน้า พญาเชียงเงิน พญาเชียงตุง เป็นปีกขวา พญาเชียงทอง พญาเชียงฝางเป็นปีกซ้าย จะยกกองทัพลงมาตเี มอื งสัชนาไลย ๆ ทราบเหตุ จึ่งให้มี ราชสาสน์ ฝา่ ยมา้ ใชก้ องสอดแนมรเู้ หตกุ น็ ำเอาองึ กฤดาการรบี มากราบทลู สมเดจ็ พระเจา้ กรงุ ศรสี ชั นาไลย ทราบเหตุจึ่งให้มีราชสาสนไ์ ปเมืองเชียงใหม่ ถึงพรหมวะดีราชนัดดาราโชรสพญาฦๅราชอันทิวงคตนั้น ให้จัดแจงเมืองแพร่ เมืองน่าน เมืองนครให้มั่นคง อนึ่งให้แต่งกองออกลาดลักตัดลำเลียงแห่งข้าศึก ใหถ้ อยกำลงั จงได้ ฝา่ ยขา้ งกรงุ ศรสี ชั นาไลยนน้ั กใ็ หเ้ กณฑพ์ ลทแกลว้ ทหารขน้ึ รกั ษาหนา้ ท่ี แลว้ ใหก้ วาดครวั อพยพ เข้าพระนคร ข้างพระเจ้าศรีธรรมราชไตรปิฎกยกพลมาถึง จึ่งให้ตั้งค่ายหลวงใกล้เมืองทาง ๕๐ เส้น แลว้ ใหด้ าพลโยธาลอ้ มเมอื งสชั นาไลยไวโ้ ดยรอบ ใหพ้ ลทหารเขา้ ปนี ปลน้ เปน็ หลายครา ชาวพระนครกร็ ะดมกนั ยิงปืนยิงตกคูตายเป็นอันมาก จะหักเอามิได้ พระพุทธโคษาจารย์จึ่งไปถวายพระพรแก่พระเจ้าศรีธรรม ไตรยปิฎกระงับสงครามเสียทั้งสองฝ่าย กษัตริย์ทั้งสองก็โดยคำพระอรหันต์เจ้า พระเจ้ากรุงศรีสัชนาไลย จง่ึ ใหแ้ ตง่ นางปทมุ เทวรี าชธดิ าแลว้ พระกเ็ สดจ็ ออกไปบงั คมถวายราชธดิ า พระเจา้ ธรรมไตรยปฎิ กกม็ คี วามยนิ ดี ให้เลิกทัพกลับไปเมืองเชียงแสน แลนางปทุมเทวนี ั้นมีราชบุตรด้วยพญาธรรมไตรยปิฎกสององค์ชื่อ เจ้า ไตรยษรราชองคห์ นง่ึ ชอ่ื เจา้ ชาตษิ าครองคห์ นง่ึ แลพระเจา้ เชยี งแสนนน้ั ไดท้ ราบวา่ สมเดจ็ สรรเพชรพทุ ธเจา้ เสดจ็ ไปอาศยั กระทำภตั กจิ ใตต้ น้ สมอ พระองคจ์ ง่ึ ดำรจิ ะสรา้ งเมอื งในทน่ี น้ั จง่ึ มพี ระราชโองการสง่ั จา่ นกรอง แลจา่ การบรู ใหท้ ำเปน็ พอ่ คา้ เกวยี นไปคนละหา้ สบิ เลม่ เตม็ ไปดว้ ยทนุ ทรพั ยท์ ง้ั หลายมาถงึ เมอื งลลิ มพลไหว้ พระบาทพระพุทธเจ้านั้นแห่งหนึ่ง จึ่งข้ามแม่น้ำตะนิมมาถึงภูผาหลวง แลมาถึงเมืองสวางคบุรีย์ ไหว้พระธาตุพระพุทธเจ้านั้นแล้วจึ่งข้ามแม่น้ำกรอม แม่น้ำแก้วน้อย จึ่งถึงทุ่งบ้านพรานที่พระพุทธเจ้า ไปบิณฑบาตข้างตะวันออก ๑๕๐ เรือน ข้างตะวันตก ๑๐๐ เรือน จึ่งปรึกษากันว่าจะสร้างเมืองถวาย เห็นจะต้องด้วยราชประสงค์แลราชอุบายอันเจ้าเราใช้มา ครั้นเห็นชอบพร้อมกันแล้ว จึ่งเริ่มการสถาปนา พระนครโดยไสยศาสตร์ ให้ชีพ่อขึ้นถีบอำภาวายแลเชิญเทวรูปออกแห่ตั้งทิศ จึ่งให้พราหมณ์ชักรั้วที่จะตั้ง เมอื งแลว้ ปนั หนา้ ทย่ี าว ๕๐ เสน้ สกดั ๑๐ เสน้ ชว่ั วาคนโบราณ ครน้ั วนั พฤหสั บดี เดอื นสาม ขน้ึ คำ่ หนง่ึ ( วนั ๕ ๑ฯ ๓ คำ่ ) ปฉี ลเู พลาเชา้ ฉศก สถาปนาเมอื งนน้ั อนึ่งเมื่อเพลาพระพุทธเจ้าฉันจังหันใต้ต้นสมอ วันนั้นพระบาฬิยเถร พระคิริมานนท์ ก็นฤพานในที่นั้น แต่ก่อนก็ร้องเรียกว่า พนมสมอ บัดนี้เรียกว่า เขาสมอแครง บรรจุธาตุพระขีณาสพเจ้าทั้งสองไว้ในที่นั้น จง่ึ เรยี กวา่ อรญั วาสี จา่ นกรองสรา้ งขา้ งตะวนั ตก จา่ การบรู สรา้ งขา้ งตะวนั ออก ปหี นง่ึ กบั เจด็ วนั จง่ึ แลว้
พระราชพงศาวดารกรงุ สยามฯ ๗ แลรอบบา้ นพราหมณท์ ง้ั หลายขดุ ครู อบกนั หนทางเดก็ เลย้ี งโคบา้ นหรภิ นู ไชยไปมา แลปน้ั พระพทุ ธไสยาสน์ ทั้งสองฟาก ครั้นการทั้งปวงสำเร็จจึ่งกลับมาทูลประพฤติเหตุ บพิตรก็มีพระทัยยินดี จึ่งเสด็จยาตราพล ออกจากเมอื งเฉยี งแสน ณ เดอื นอา้ ย แรมหกคำ่ วนั อาทติ ย์ เพลาเชา้ ไปไดส้ องเดอื นจง่ึ ถงึ และเมอ่ื จะพระราชทานนามเมอื งนน้ั จง่ึ ตรสั ถามชพี อ่ วา่ เราจะใหช้ อ่ื อนั ใด ชพี อ่ ทลู วา่ พระองคเ์ สดจ็ มาถงึ วนั นไ้ี ดย้ าม พษิ ณุ จง่ึ ตรสั ประสาทนามวา่ เมอื งพระพศิ นโุ ลก แลวา่ ตามพระพทุ ธเจา้ มาบณิ ฑบาตกช็ อ่ื วา่ โอฆบรุ ยี ตะวนั ตก ตะวนั ออกชอ่ื จนั ทบรู ร แลว้ ใหส้ รา้ งพระธาตแุ ลวหิ ารใหญส่ ท่ี ศิ สำเรจ็ แลว้ จง่ึ ดำรจิ ะสรา้ ง พระพทุ ธรปู ใหแ้ ลว้ ดว้ ยทองสมั ฤทธ์ิ จง่ึ ใหห้ าชา่ งไดบ้ าพศิ นคุ นหนง่ึ บาพราหมณค์ นหนง่ึ บาธรรมราชคนหนง่ึ บาราชกสุ นคนหนง่ึ ไดม้ าแตเ่ มอื งสชั นาไลย ๕ คน มาแตเ่ มอื งหรภิ นู ไชยคนหนง่ึ จง่ึ ตรสั สง่ั แกช่ า่ งวา่ ทา่ นทง้ั หลายชวนกันรักษาศีล ๕ ประการอย่าให้ขาด แล้วให้ขนดินแลแกลบไปให้แก่ช่างประสมดินปั้นรูป พระพุทธเจ้าสามพระองคเ์ ทา่ กนั ฝา่ ยทา้ วพญาทง้ั หลายกน็ ำเอาทองมาถวาย ชว่ ยพระองคห์ ลอ่ พระพทุ ธรปู เปน็ อนั มาก ครั้นได้ฤกษ์วันพฤหัสบดี เพ็ญเดือนสี่ ปีจอนักษัตรศก ชุมนุมพระสงฆ์สบสังวาส มีพระอุบาฬยิ ์แลพระคีริยมานลเป็นประธานเททองพระพุทธรูปทั้งสามพระองค์ พระศรีศัศฎา พระชิณศรี ทั้งสองพระองค์นน้ั ทองแลน่ เสมอกนั บรบิ รู ณ์ พระองคห์ นง่ึ นน้ั มไิ ดเ้ ปน็ รปู องคห์ ามไิ ดแ้ ตช่ า่ งหลอ่ ถงึ ๓ ครง้ั กห็ ามไิ ด้ แลพระเจ้าพระไตรปิฎกก็ทรงพระปรารภเป็นทุกข์พระทัย จึ่งตั้งสัจจาธิษฐานว่าเดชะอาตม ไดเ้ รยี นพระไตรปฎิ ก แลได้บำเพ็ญเรียนในวิธีพระวิปัสนากรรมฐานสอนสงฆ์ทั้งหลายให้ดำเนินโดยมรรค ปฏิบัติ อนึ่งอาตมกป็ รารถนาพระโพธญิ าณจะรอ้ื สตั วใ์ หพ้ น้ ภยั ในสงสาร ขออานภุ าพผลศลี ทานความสจั นี้ จงบันดาลให้สำเร็จดังมโนรถความปรารถนาเถิด แลว้ จง่ึ สง่ั พระปทมุ เทวมี เหสใี หท้ รงสจั จาธษิ ฐานดจุ พระองคป์ รารภนน้ั ดว้ ยเดชะอำนาจสตั ยาธษิ ฐานแหง่ กษตั รยิ ท์ ง้ั สอง จง่ึ บนั ดาลรอ้ นอาสน์ องคอ์ ดศิ รเทวราช ก็รันมิตร์เพศเป็นปะขาวลงมาช่วยกระทำการหล่อพระพุทธรูปให้สำเร็จบริบูรณ์ได้ แล้วทำตรีศูลไว้ใน พระพักตร์เป็นสำคัญว่าพระอินทร์เจ้าสุลาลัยลงมาช่วย แลเมอ่ื หลอ่ นน้ั ศกั ราช ๑๕๐๐ ปี วนั พฤหสั บดี เดอื นหก ขน้ึ ๘ คำ่ ( วัน ๕๘ฯ ๖ ค่ำ ) ปีฉลูตรีศก พระองค์จึ่งสั่งฝากนามไว้ว่าราชนามพระเจ้าชื่อ พระชิณราช แล้วให้นำไปตั้งไว้ในสามถาม* เป็นพระเสี่ยงทายท่ามกลางเมืองพิศนุโลกย์ แล้วให้ตั้ง พระราชวงั ฝา่ ยตะวนั ตกบรบิ รู ณ์ จง่ึ ใหน้ ำเจา้ สทุ เทวรี าชธดิ าพญาสชั นาไลยมาราชาภเิ ษกกบั เจา้ ไตรษรราช ณ เมอื งลบบรู ยิ แลว้ ตง้ั จา่ นกรองเปน็ มหาเสนาซา้ ย จา่ การบรู เปน็ มหาเสนาขวา แลว้ ใหพ้ ลเสนาไปถงึ นครบรุ รี มย์ จง่ึ ใหส้ รา้ งเมอื งอนั หน่งึ ใกลเ้ มอื งลบบรู ยี ์ ทาง ๕๐๐ เสน้ ใหร้ บั เจา้ กรางเกรย้ี งกรศิ ราชกบั * ไม่ทราบว่าหมายความว่าอย่างไร (ควรจะเป็น สามสถาน ตามความในพงศาวดารเหนือ ว่า “ให้เอาไปตั้งไว้ในสถานสามแห่งไว้ เปน็ ทเ่ี สย่ี งทาย”)
๘ ประชมุ พงศาวดารฉบบั กาญจนาภเิ ษก เลม่ ๒ พระราชเทวไี ปราชาภเิ ษก ณ เมอื งนน้ั ชอ่ื วา่ เสนาราชนคร ลศุ กั ราช ๑๕๐ ปี ใหช้ าตษิ าครไปกนิ เมอื ง เชยี งราย ครน้ั พระเจา้ ธรรมไตรปฎิ กทวิ งคตแลว้ อำมาตยท์ ง้ั หลายจง่ึ เชญิ เจา้ ชาตษิ าครลงมาจากเมอื งเชยี งราย ฌาปนกจิ พระบดิ าแลว้ กไ็ ดผ้ า่ นเอกราชในเมอื งเชยี งแสนแตน่ น้ั กษตั รยิ พ์ ระญาตทิ ง้ั ปวงจะไดไ้ ปมาหากนั หามไิ ด้ ถงึ ๗ ชว่ั กษตั รยิ ์ ทนี จ่ี ะกลา่ วเรอ่ื งพทุ ธพยากรณแ์ หง่ สมเดจ็ พระพทุ ธกปั ศปะโลกเชษฐเจา้ ในอดตี พภิ พโนน้ อนั พระองค์ ตรัสทำนายไว้ว่า บุรุษผู้อุปถัมภกเป็นพุทธาญาติในพระศาสนาตถาคตนี้ ไปภายหน้าจะได้เป็นกษัตริย์ ทรงบุญฤทธิ์เป็นอัศจรรย์ ครั้นถึงคาดพระบรมครูเจ้าแห่งเราบุรุษผู้นั้นมาเกิดในตระกูลเศรษฐี ณ บ้าน อะโอรชะคามินิ เศรษฐี ๕๐๐ เป็นบริวาร ชื่อเจ้าสุทสนกุมาร ขณะนั้นองค์ท้าวสหัสนัยบพิตรใช้ พระเวสสกุ รรมเทวบตุ รลงมาบนั ดาลปราสาททอง มพี น้ื ใตเ้ จด็ ชน้ั ประดบั ดว้ ยแกว้ ๗ ประการ ทง้ั โรงชา้ งมา้ เรอื นหลวง กำแพงแกว้ ๗ ชน้ั แลสวนพระอทุ ยาน สระโบกขรณอี นั อาเกยี รณด์ ว้ ยเบญจปทมุ ชาตชิ อ่ื วา่ เมืองอินท์ปตนคร เศรษฐีทั้งหลายจึ่งราชาภิเษกเจ้าสทัศณะเป็นกษัตริย์ ครั้นเมื่อพระอนันตะชินญาณ เจา้ แหง่ เราไดต้ รสั แลว้ พระองคม์ าเทย่ี วสปั ธานจารกึ ในประเทศนน้ั จง่ึ มีวณพิ กจณั ฑาลผหู้ นง่ึ มศี รทั ธา นอ้ มนำอาหารมาใสใ่ นบาตรดว้ ยนว้ิ มอื อนั เนา่ พระองคจ์ ง่ึ ตรสั ทำนายวา่ วณพิ กผนู้ ไ้ี ปภายหนา้ จะไดเ้ ปน็ กษตั รยิ ์ ประกอบดว้ ยวรราชฤทธเ์ิ ปน็ อศั จรรย์ แลจะไดล้ บศกั ราช ครน้ั นานมาพญาสทุ ศั นราชทวิ งคตแลว้ พระนคร นั้นก็บันดาลเป็นศิลาปรกติ สิ้นพระพุทธศักราช ๑๖๐ ปีแล้ว สืบมาหลายชั่วจึ่งถึงพญาโคสะเทวะราช ไดเ้ ปน็ กษตั รยิ ์ ขณะนน้ั ราษฎรทง้ั ปวงกเ็ ลา่ ลอื กนั โดยไดร้ เู้ หตอุ นั พฤฒาจารยท์ ำนายวา่ ผมู้ บี ญุ บงั เกดิ แลว้ บ้านเมืองเราจะเป็นสุขสมบริบูรณ์ แลวณิพกอันพระพุทธเจ้าทำนายนั้นก็มาบังเกิดในตระกูลวณิพก มีรูป อนั วกิ ารสรรพคอดคด ทง้ั องคาพยพกเ็ ปอ่ื ยเนา่ มบิ รบิ รู ณ์ แลวณพิ กผนู้ น้ั ไดย้ นิ การเอกิ เกรกิ อนั หมมู่ หาชน มาสนั นบิ าตประชมุ ชมภมู บิ รบิ รู ณน์ น้ั ตนกอ็ ตุ สา่ หค์ อ่ ยขยบั ถดั คลานมาโดยมรรคประเทศ ขณะนน้ั ทา้ วสเุ รนทร์ เทวราชเอาเพศเปน็ มานพ มอื ซา้ ยหว้ิ กระทอ มอื ขวาจงู มา้ เดนิ มาตามทางพบวณพิ กผนู้ น้ั จง่ึ วา่ เราจะฝากมา้ แลกระทอนี้ไว้แก่ท่าน แล้วสั่งว่าถ้าเรามิกลับมาของทั้งนี้จงเป็นสิทธิแก่ท่าน ครั้นพระอินทร์สั่งแล้วก็ อนั ตรธานไป วณพิ กผนู้ น้ั นง่ั ทา่ อยชู่ า้ นาน จง่ึ เผยกระทอออกดเู หน็ ขวดนำ้ มนั ทพิ ย์ กเ็ อาทาแขนแลกายท่ี คอดคด กเ็ หยยี ดคลายสมบรบิ รู ณล์ ง กเ็ ขา้ ใจวา่ ตนเปน็ ผมู้ บี ญุ จง่ึ สวมสอดสรรพทพิ าภรณท์ พิ มกฎุ วเิ ชยี ร มาลี ขดั พระขรรคแ์ กว้ แลว้ สเู ทพดรุ งราชเหาะทะยานมาในอากาศ โอภาสไปดว้ ยแสงสตั พธิ รตั นกาญจน กนกภษู ติ ามาศวลยั กร ประชาชนกเ็ ซง็ เสยี งสโมสรแซส่ นน่ั ถวายทศั นกั ขภวิ นั ทเ์ ดยี ระดาษ พญาโคตเทวะราช เหน็ ดงั นน้ั กส็ ะดงุ้ พระทยั พาพระอคั รมเหสี พระราชบตุ รี ภาคนิ ยั นาถมขุ มาตยาพริ ยี โ์ ยธาพลพหลหาญ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433