Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-06-27-คู่มือครู ป.1 หน่วยที่ 2 การดำเนินการ

64-06-27-คู่มือครู ป.1 หน่วยที่ 2 การดำเนินการ

Published by elibraryraja33, 2021-06-27 01:14:32

Description: 64-06-27-คู่มือครู ป.1 หน่วยที่ 2 การดำเนินการ

Search

Read the Text Version

โครงการสวนพระองคสมเดจ็ พระกนษิ ฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มูลนิธิการศึกษาทางไกลผา นดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถัมภ สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

ชุดเอกสารสื่อ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ลิขสิทธิ์ของ สำ�นักงานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์​และเทคโนโลยี สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พิมพ์ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๖๑ จำ�นวน ๒๒,๐๐๐ ชุด จัดพิมพ์โดย องค์การค้าของ สกสค.

คคาํคาํคนคนาําำ าํ นาํ นนาํ ําาำ ตาม ตามตตทาาตม่ี มาสททมําี่ ่ีทสนสํี่าักําสนงนําักาันกงนักงาโานงคนาโรนคโงครโกครงากงรรกงากสราสารมรสมเสดมเดม็จเ็จดเพดพ็จร็จพระพะรเเระททะเพทเทรพัพตรนรัตัตรนนารชชราสาสชุชดุดสสาุาดฯุดฯาาฯสฯสยสยาสยามยามบามบมรบมบรรมรมามรชรากาชชุมกกาุมุรมาี าไรรดี ี ้ไจไดัด้จท้จัดํัาดทชุดํากชาุดรเรียนรู้ สําหรับใช การเกราียกรนาเรียู้เรสนียํารรนหู้ ู้ สรสรําู้ําับสหหใํารชรหับับ้ใรในใับชชโ้ใร้ในชนงโ้ใเโรนรรงโียงเรรนเงรียเปียรนรนียปะนปรถประมะถรศถะมถมึกศมศษึกศึกษาึกษขาษขนานขาขนาดดนาเลเาดลด็กเ็กลเทลท็ก่ีข็ก่ีขทาทา่ีขด่ีขาคาดรดคูครมรูีคมู มรีคูไีคไมรมรูไ่ค่คูไมรมร่คบ่คบรชรบช้ันบ้ันชหชั้นหั้นรหรือหือรรือยืออู่ใยอนยู่ใยพนู่ใู่ในน้ืพพท้ืนื้น่ีหทท่า่ีหงี่ห่าไ่ากงงลไไกทกลุรลทกทันุรุรกดกัานรดซาึ่งรประกอบด้วยชุดก ซึ่งปรซะึ่งซปก่ึงรอปะบรกดะออก้วบบยอดดบช้ว้วุดยย้วกชชยาุดุดชรกกุดจาาักดรรจากจรัดิจัดจกกกัดิจริจกรกิจรมรกกรมามรกรมกาเการรเราียรเรนียรเียรนียนู้ร(นู้รส(ู้รสํา(ู้ําสห(หสํารําหรับหับรครคับรับรคูผูผครู้สรูผอูผู้สู้นสออ)นนแ))ลแะแะลชลชะุดะุดชกชกุดิุจดิจกกกิจริจกรกรมรมรกรมกามกรากเารารรเรียรเเนรียรียรนู้นร(รสู้ ู้(ํา(สหสํารําหับหรนรับับกนเนรักักียเนร)ียหนล)ังจากที่มีการนําไ หลังจหาลหกังลจทังาี่มจกีกาททกาี่ม่ีมทรีกีกน่มาาํีกรรไานนปรําํานใไชไปําป้ไใพใปชช้บใ้พชวพ้บ่าพบวสบว่า่ือ่าสวดส่าือั่ืงสอดก่ือดังลดักง่กาังลกวล่าชล่วาช่วาว่ชยชย่วพ่วพยัฒยพัฒพนัฒนัฒาานคนคาุณุณาคคภุณภุณาภพภาากพพากรกาศารึกรกศศษษึกึกาษาขษขาอาอขงของโอรโงงรโโเงรรเงงียรเเรียนรียีนขยนนขขาขนนดาเาดลดเ็กเลลไ็กด็ก้ไเไปดด็น้เ้เปปอ็น็ยน่อาองยด่าสี งาํ ดนี กั งานคณะกรรมก สาํ นกัสงาํ สานาํนักนคงกัาณนงนาะคคนกณณคระณะรกมกะรรกรรามรมรกกมาากรรกากศราากรึ รศาษศรึกาึกศษขษึกาั้นษาขพข้ันาั้นขืพ้ันพฐื้นพา้ืนฐนื้าฐนาฐจนาจึงนเึงจหเจึงห็นเึง็หนเคหค็นว็นวครรควมมวรีกีกรมามีกรีกานารํารนสนํา่ือําสดสื่อังื่องดกดกังลังลก่าก่าลวลว่า่ามวมวามาใมชใาาช้ใในช้ใชนโ้ใ้ใรนโนงรโโเรงรงเียงรเเนรียียปนนรปะปรถระมะถศถมึกมศษศึกาึกขษษนาาาขดนเาลด็ก และโรงเรียนขย เล็ก เแลล็กเละแ็กโรลแงะเลโรโระรียงโงนเรเรรงขียเียยรนนียาขขนยยยโขาอายยกาโโอายอกสโกอาทากสุกสาทโทสุกรทุกงโรโุกรเงโพงรเื่องพเพชื่อเพ่วือชยื่อชวยพช่วพย่วัฒยพัฒนพัฒนาัฒานคคนาุณุณาคคภุณภุณาาภพพภากาพพากรกาศารึกรศศษึกึกาาษรษราะะารดรดะับะับดดปับปับรประปะรถรถะมะถมศถมศึกมศษึกศึกษาึกษใษาหาใา้ดหใหีย้ดิ่ง้ดียขียิ่งึ้น่ิงขขึ้ปนึ้นรปะปกรรอะะกบกอกับกกรับะทรวงศึกษาธิการ กระทกรกวะรงทะศรทกึวรงษงศวศางึกึกธศษษิกึกาาษธรธิกากิ ธาไาดกิรรา้ปไรไดรดป้ะไ้ปดกรร้ปะาะกรศกะาใากศชศาใม้ ชใศาช้มใต้มชาร้มตาฐตราาฐตรนาฐรนกาฐนากนรากรเการเรารียเรียรนเนรียรียรนู้ ู้นแรแรลู้ ลแู้ ะะแลตละัวะตชตัวี้วัชัดชี้วกี้วัดลัดลกุ่มกุ่มลสลสุ่มาุ่มาสรสราะาะรกรกะาะการกรเาารเรรียเเียรนรียนรียนู้ครนณรู้ครู้คู้คณิตณศิติตาศสศาตาสรสต์ตวรริท์ ์วยวิทาิทศยยาาาสศตารสแ์ ตลระ์ สาระภูมศิ าสตร์ ใน และสแาลรแะะลสภะาสมูระาิศภรภาะูมสมู ภศิตศิ ูมาราิศส์สใตาตนสรรกต์ ์ใรลในน์มุ่กใกนลสลกาุ่มมุ่ลรสสะมุ่าากรสระาะกรกเาะรากยีเรารเนรียเรียนรูส้นยีรงัู้สนรคสู้งัรมคสู้งั มศคงั คศมกึ มกึศษศษกึาึกาษศศษาาศสสศานนสาาาสนแแนาลาแะแลวละัฒะววนัฒัฒธนรนธรรธรมมรรใมในมนหใใหนลนลหักหักลสลสักูตักสูตรสแูตรูตกแรรแนกแกนกนลนกากลกงลากางางกรกาศารึกรศษศึกาึกษขษั้นาาขพขั้นืั้นพฐพา้ืนนฐพาทุนธศักราช ๒๕๕๑ ต พทุ ธศพกัุทพรธทุาศชธักศร๒ักาา๕ชรชา๕๒ช๒๑๕๕๒๕๕ต๑า๑๕มต๑ตคาาํมตมสคาคม่งัาํ กาํคสสรั่งํา่งัะกสกทรง่ั ระกระทรวทะรงวทรศงวรกึ ศงวษศกึงาศึกษธษึกาิกธษาาิกธารากิธรกิาทราที่รสท่ี สพที่ พสฐ่ี สฐพ..พฐ๑๑ฐ.๒๒.๑๓๑๒๒๙๓๓/๙๒๙/๕/๒๒๖๕๕๐๐๖๖๐ลล๐งงลววลันงันงวทวทันัน่ี ๗ท่ี ท๗ี่ ส่ี๗๗สงิ หสงิ สหางิ ิงคหาหมคาาคมค๒มม๕๒๒๖๕๕๐๖๖๐๐ สําน สํานสสักําําสนงนําาักักนนงงักาคานงณนาคนคะณณคกะณระกรกะรมกรกรมมรากมรกากรากรารกากรศาศารึกึรศกษศึษกาึกษาขษขาั้นั้นาขพขพ้ัน้ันื ื้นพพฐ้ืนื้นาฐนฐาานจนึงจไจไึงดดึงไ้ป้ไปดดร้ปรั้บปับรปรับปับรปรุงปุงรชรชุงดุงชุดกชุดกุาดกรากจาราัรดจรจกจัดัดากรกาเารรียเเรนรียียรนู้น(รสรู้ ู้ํา((หสสํราับหครรับูผู้สอน) ให้สอดคล ครูผู้สครอคูผนรู้ส)ูผอู้สในหอ))้สนใใอ)หหดใ้ส้สหคออ้สลดดอ้อคคดลงลคก้อ้อลับงง้อกกงับาับกกรับกาปากรรปาะปรกประาะรกศกะาใกศาชศาใ้มชศใช้มาใช้มตา้มตาราตรฐตฐราารฐนนฐากากนานากรรกาเเารรรียเรเนรียียรนู้นแรลรู้แู้แะลตลตะัวะัวตชตชัวี้วั ี้วชัดชัดี้วี้วัดแัดแลและและเลพะเะพื่อเเพ่ืพอให่ือื่ใอ้หสใใหะห้ส้สดะะวดกดวตวก่กอตตก่อ่าอกรกนาารํารนไนปําใไชปจ้ ใึงชจ้ัดแยกเป็นรายชั้นป จึงจัดจแึงจยึงกัดจแเปัดยแ็นกกยเรเปกปา็นเย็นปรชร็นา้ันายรยปชาชย้ัีน้ัน(ชปปั้นีร(ีปะป(ปีถร(รปมะะถรศถะมึกมถศษศมึกาึกศษปษึกาีทษปาป่ีาท๑ปีท่ี ๑ีท่-๑่ี๖-๑-๖)-๖)แ๖แ)ลล)แะะแลเปเละป็นะเ็นปเรปร็นาา็นยรยราภภายายภคภาเาครคียเรเนรียียน(ภนภา(าภ(คภคาเาเรครคียเียเรนรนียทียนทนี่ ๑ท่ีท๑ี่ ่ีแ๑๑ลแแะลแภละละาภะคภภาเาครคียเรเนรียทียนน่ี ท๒ท)ี่ ่ี๒ท๒)ั้ง)ทท๕ั้งั้งก๕ลุ่มกปลรุ่มะกอบดว้ ย ประกปอรบปะรกดะอว้ กบยอดดบว้ ้วดยย้วย - - --ช-ุดกชชุดาดุชรกกุดจาากรัดรจากจดัริจดัจกกกดัจิ รจิกรกิจรมรกกมรามรกรมกาเรการเราียรเรียนรเนียรยีนรู้ (ู้นรส(สรู้ าํ(ู้ําสห(หสาํ รรําหับับหรคครบั รบั คผู ครู้สรผู อผู สู้ นู้สออ)นนกก)ล)ลกุม่กมุ่ลสลสุ่มาุ่มาสรสระาาะรกรกะาะการกเราารเรรยี เเนรยี รยีรนียน้ภู นรารูภ้รษภู้ าาษาไษทาาไยไททยย ชั้นชปชนั้รั้นชปะปน้ั ถรรปะมะถรศถะมกึมถศษศมกึ ากึศษปษกึ าีทษปาปี่าท๑ปที่ ๑ที่ -๑่ี -๑๖-๖-ภ๖ภ๖าาภคคภาเรเาครยีคเียรนเนรียทยีทน่ีนท๑ที่ ๑ี่,๑๒,,๒๒ - --ช-ุดกชชุดาดุชรกกุดจาากรัดรจากจัดริจดัจกกกัดิจริจกรกิจรมรกกมรามรกรมกาเรการเรายีรเรยีนรเนียรยีนรู้ (ู้นรส(สรู้ ํา(ู้ําสห(หสํารราํหับบัหรคครับรบั คผู ครสู้ รผู อผู ู้สนูส้ ออ)นนกก)ล)ลกุ่มกมุ่ลสลส่มุ ามุ่ าสรสระาาะรกรกะาะการกเราารเรรยี เเนรียรียรนียน้วู นริทรู้วรวู้ยทิ ทิายศยาาาศสศาตาสรสต์ ตรร์ ์ - ช้ันชปช้ันร้นัชปะป้นั ถรรปะมะถรศถะมึกมถศษศมกึ าึกศษปษึกาีทษปาปี่าท๑ปที่ ๑ีท่ -๑่ี -๑๖-๖-ภ๖ภ๖าาภคคภาเรเาครยีคเียรนเนรียทยีทน่ีนท๑ท่ี ๑ี่,๑๒,,๒๒ - - --ช-ดุ กชชดุาุดชรกกดุจาากรัดรจากจดัริจดัจกกกัดิจริจกรกิจรมรกกมรามรกรมกาเรการเรายีรเรยีนรเนยีรียนรู้ (ู้นรส(สรู้ าํ(ู้าํสห(หสาํ รราํหับบัหรคครบั รับคผู ครู้สรผู อผู ู้สนู้สออ)นนกก)ล)ลกุ่มกุ่มลสลสมุ่ าุม่ าสรสระาาะรกรกะาะการกเราารเรรยี เเนรียรยีรนียนู้คนรณรคู้รูค้ ณติ ณศติ าติ ศสศาตาสรสต์ ตรร์ ์ ชน้ั ชปชัน้ร้นัชปะป้นั ถรรปะมะถรศถะมึกมถศษศมึกาึกศษปษกึ าีทษปาปี่าท๑ปีท่ ๑ีท่ -๑่ี -๑๖-๖-ภ๖ภ๖าาภคคภาเรเาครียคเียรนเนรียทยีทน่ีนท๑ที่ ๑่ี,๑๒,,๒๒ - --ช-ดุ กชชุดาดุชรกกดุจาากรดั รจากจัดริจดัจกกกัดจิ ริจกรกิจรมรกกมรามรกรมกาเรการเราียรเรยีนรเนยีรยีนรู้ (ู้นรส(สรู้ ํา(ู้าํสห(หสาํ รรําหบั บัหรคครับรบั คผู ครู้สรผู อผู ้สู น้สู ออ)นนกก)ล)ลกุม่กุ่มลสลสมุ่ าุ่มาสรสระาาะรกรกะาะการกเราารเรรียเเนรยี รียรนียนู้ภนรารูภ้รษู้ภาาษาตษา่าาตงตปา่ ่างรงปะปเรรทะะศเเททศ - (ภา(ษภ(ภา(าภษอษาังาษอกอางัฤงักอษกฤงั )ฤกษษชฤ)้นัษ)ช)ปช้นั ช้ันรปัน้ะปรถปะรถมะระมถศถศมึกมกึศษศษกึ ากึาษปปษาที ีทาปี่ป่ีท๑๑ที ่ี ๑ี่-๑๖--๖ภ๖าภคภาเาครรคียเียรเนรนยี ทียทนน่ี ท่ี๑ท๑ี่ ี่๑,๑,๒,๒,๒๒ - - --ช-ดุ กชชุดาุดชรกกุดจาากรัดรจากจัดรจิ ดัจกกกัดิจรจิกรกิจรมรกกมรามรกรมกาเรการเรายีรเรยีนรเนยีรยีนรู้ (ู้นรส(สรู้ าํ(ู้ําสห(หสํารราํหับบัหรคครับรบั คผู ครู้สรผู อผู ู้สนู้สออ)นนกก)ล)ลกุม่กุม่ลบลบุ่มุม่รู บูรณบณูรรูาณาณกกาากรากราารร ชน้ั ชปชนั้ร้ันชปะป้ันถรรปะมะถรศถะมึกมถศษศมึกาึกศษปษกึ าทีษปาป่ีาท๑ปีท่ ๑ีท่ -๑่ี -๑๖-๖-ภ๖ภ๖าาภคคภาเรเาครยีคเียรนเนรยี ทียทนี่นท๑ท่ี ๑่ี,๑๒,,๒๒ การ การกกนาากํารราชนนรุํดาํานชกชําุดาุดชกรกุดาจากรัดรจากจรัดิจัดกักดิจิกรจริจกรมกรมรกมรกามกรากรเารเารรียรเียรนเนรียรียรนู้ไนู้ไปรปรู้ไใใู้ปไชชปใ้ ชใคช้ ร้คูผครู้สรูผูผอู้สู้สนนออตตนน้อ้อตตงง้อศ้อศงึกงึศกศษึกษึกาษาเษอเาาอกเเอกสอกาสกสราสาราครรู่มคคือู่มู่มกือือากรกาใาชรร้ชใใชุดช้ชก้ชุดาุดรกกจาัดรกจาัดรเรียนรู้ และศกึ ษา การเกราียกรนาเรรียู้เแรนียลรรนะู้ ู้ แรแศลู้ลึกแะะษลศศะากึ ึกศคษษึกําาาชษคคแี้าํ าํคชจชํา้แีงแ้ีชใจนจ้ีแงงใเจนอใงนกเใอนเสอกเากอสรสการาสชราุดชรกชดุ ชุดการุดกาจรกาจดัราัดจรกจกัดจิ ดัิจกกกิจรริจกรรกรมมรกกรมามกรกาเารรยีเรเนรียยีรนู้น(ร(สรสู้ าํู้(ําส(หสหํารําหรบัหบัรครบัครบั ครูผคูผร้สรูผ้สอผู ูส้อนู้สอน)อนใน)ห))ใเ้หใใขห้เาขเ้ ใข้าจ้าใใเจพจเรเพาพะรรจาาะะทจจําะใทหําท้ ใรหา้ บถึงแนวคิดการจ ทราบทถรทาึงรบแาถนบึงวถแแคึงนนิดแววกนคคาวิดิดรคกกจิดาาัดกรรกจาจรัดัดจะกกัดบรรกะวะรบนบะวกบวนานวกรนกาจากรัดรจากจัรดัาจดกรัดกาเรการเราียรเรียนรเนียรรียนรู้ กนู้รการู้ ากรู้ รกาเเตารตรเรตเียียตรมรียตียมัมวตขตัวอัวขงขอคคองรงรคูคู สรสรูื่อ่ือูสกสกื่อา่ือากรกราจาจรัดรจัดกจัดกาัดกรากเารารรเรียรเเนรียรียรียนู้นรลรู้ักู้ลษลักักณษษะณณชะุดะชกชุดาุดรกกจาัดรกจจิ ัดกรรมการเรียนรู้ แ กจิ กรกรจิ มกกิจกรกรามรรเกกรมาายี กรรนเาเรรียเียู้ รนแนยี รผรนู้ นู้แรแกผู้ผแนานผรกกจนาาัดรกรจากจัดราดัจกรกดัาเรากยีรเารเนรรียเรยีนรู้นียรสนู้รญัสู้รสัญลู้ สัญลกั ญั กัลษลษกัณกัษณท์ษณท์ ีใ่ณใ่ีท์ชชท์้่ใี ้แชใี่แชน้นแ้วแวนทนวาวทงทากางางกรกาวารดัดรวแวแดั ลัดลแะแะลปลปะระประปะรเรมเะะมินเเมนิผมินผลินผขลผลอขลขงอขแองอตงแง่ลแตะตล่ หล่ ะนะหห่วนยน่วกว่ ยายรกกเารารียรเนเรรยี ู้ นรู้ หวั หวังหหววว่หาังังชววุ่ัดาง่าวชกช่าุดาุดชกรกุดาจากรัดรจากจรัดิจัดกักดิจิกรจริจกรมกรมรกมรกามกรากรเารเารรียรเียรนเนรียรียรนู้ นู้(ร(สรู้สํ(าู้ําส(หสํารําหับหรรคับับรคูผครู้สรสูผูผออู้สู้สนนออ)น)นแ)แ)ลลแะและชละชุดะชุดกชุดกิุจดกิจกิจรกิจกรกรมรรรกมมากรกาเารรียเเรนรียียรนู้น(รสรู้ ํู้า((หสสรําับหนรักบเรียน) ฉบับปรับป นักเรนียักนเรัก)ียเฉรนบีย))นับฉฉ)ปบบฉรับับับปปับปรรปับรับรุงปปับนรรปีุ้งุจงนรนะุงี้ ้ีจนเจปะี้ ะจ็เนปเะป็นเป็นรปะ็นปรโประยะโรชยโะนยชโยชน์ตชน์ต่อน์ต่อก์ต่อกา่อากรรกจาจารัดัดรจกจกัดิจัดิจกกกิจริจรกรรกรมรกรมมากรกาเารรียเรเนรนียียรรนู้ขนู้ขรอรอู้ขงู้ขงอคอคงรงครูผคูผร้สรูผ้สอูผู้สอนู้สอนออนนันออจัอนันะันจสจะ่งะสผส่งล่งผตผล่อลตกต่อา่อรกกพาาัรฒรพนัฒาคนณุ าภาพการศกึ ษาระ คุณภคาณุ พคภณุกาภพราศกกพาึกากรรษศาศารกึ ึกรศษษะกึ าดาษรรบัะาะรดปดะับรับดปะปบั ถรรปะมะถรศถะมกึมถศษศมกึ ากึศษตษึกาอ่ษตาไตอ่าปต่อไป่อไปไป ขอ ขอขขออขขบขออคอขบุณบอคบคุณผุณคู้ทุณผรผู้ทงู้ผทรคู้ทรงุณงครคงุณวคุณุฒวุณุวฒิ ุวฒผิ ุฒผู้บิ ู้ผบิรผู้บริหู้บิหราริหาริหราสสารถรถสาสาถนนถาศานนึกศศษึกึกาษษาศาึกกศศษษึกึกาษาษนนาิเานิเทนทิเศิเทศทกศก์ศคก์ กค์ร์ คูรคอรู ราอู ู อจอาาจารจายาร์รยแย์ล์แแะลทละุะกททุกุ่กาทนท่ทานี่มสีทว่ี่มนี เก่ียวข้องกับการ สว่ นเสกว่ ี่ยสนว่ เกนขย่ีอ้เกวงวยี่ขกขว้อบัอ้ ขงงกอ้กกางบั ับรกกปกบั าารกรับปาปรปรปับรบั รปุงปบัแรรปงุลงุแระแลุงจลแะัดะลจทจะัดาํดัจทเัดทําอทเาํ กอเําสอกเอกาสรกสามรสามราามรณมาณาณโณโออกโกอโาอากสสกาาสนส้ี นนี้ ี้ สําสนสํากัํานนงงกัาาักงนนงาคาคนนณณคคะณะณกกะระกรกรมรมรกรมกามรกากการาารกรรกกาศารึกรศศษึกกึาษขษาน้ั าขพขนั้ นั้ื พพฐน้ืาน้ื นฐฐาาน



คาำ ชแ้ี จง คาชี้แจง ชดุ กำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ (สำหรบั ครูผสู้ อน) หน่วยที่ ๒ กำรดำเนนิ กำรของจำนวน เลม่ น้ี เปน็ ๑ ใน ๘ เล่ม ของชดุ กำรจดั กิจกรรมกำรเรยี นรู้กลุ่มสำระกำรเรียนรูค้ ณติ ศำสตร์ ใช้กับนักเรยี นชัน้ ประถมศึกษำ ปีท่ี ๑ ซึง่ ผำ่ นกำรวิเครำะห์หลักสูตรกลมุ่ สำระคณิตศำสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตำมแกนกลำง กำรศึกษำข้นั พน้ื ฐำน พุทธศกั รำช ๒๕๕๑ เมือ่ สอนครบท้ัง ๘ เลม่ นกั เรยี นจะไดเ้ รียนรู้ครบถ้วนครอบคลุม ทกุ ตวั ชวี้ ัดของหลักสตู ร ชดุ กำรจัดกิจกรรมกำรเรยี นรู้ (สำหรับครผู ู้สอน) หนว่ ยที่ ๒ กำรดำเนนิ กำรของจำนวน เล่มน้ี เป็น เอกสำรท่ีนำเสนอแนวทำงในกำรจดั กำรเรยี นรู้คณติ ศำสตร์ เร่ืองการดำเนินการของจำนวน ให้กับนักเรยี น ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ประกอบดว้ ย (๑) คำแนะนำสำหรับครูผู้สอน (๒) โครงสรำ้ งชดุ กำรจัดกจิ กรรมกำรเรยี นรู้ (๓) กำหนดกำรสอนคณิตศำสตร์ ชนั้ ประถมศึกษำปที ่ี ๑ (๔) โครงสรำ้ งหน่วยกำรเรียนรู้ หน่วยท่ี ๒ กำรดำเนินกำรของจำนวน (๕) มำตรฐำนกำรเรียนรแู้ ละตวั ชีว้ ัดของหน่วยกำรเรียนรู้ หน่วยที่ ๒ กำรดำเนนิ กำรของจำนวน (๖) แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ จำนวน ๔๙ แผน (๗) เฉลยแบบฝกึ หดั ของนักเรียน (๘) เฉลยใบกจิ กรรมของนกั เรียน (๙) แบบประเมนิ ทักษะและกระบวนกำรทำงคณิตศำสตร์ ก่อนกำรกส่ออนนกเรา่ือรงสจอำนนเรวื่อนงคกราูผรบสู้ วอกนคกวารรศลึกบษำจแำาผนนวกนำไรมจ่เกัดินกำร๒เ๐รยี นครูผจ้ ำู้สกอเนอคกวสรำศรึกเลษม่ านแอี้ผยน่ำกงาลระจเัดอกยี าดรจเระียทนำรใู้จหา้ ก เอรู้วกำ่สตาอ้รเงลสม่ อนนอ้ี แยตา่ ่ลงะลเะนเอื้ ยีหดำอจยะ่ำทงาำ ไใรหร้แวู้ลา่ ะตตอ้ ้องงสเอตนรียแตมล่สะือ่ เ/นออื้ ปุ หการอณย์ปา่ งรไะรกแอลบะกตำอ้ รงสเตอรนยี อมะสไอื่ ร/บอำ้ ปุ งกซรึ่งณจป์ ะรทะำกใอหบ้ การสอน อกะำไรจบัดา้ งกำซรงึ่ เจระยี ทนาำ รใู้ขหอก้ งาครรจูมดั ีปกราะรเสรทิ ยี ธนภิ รำขู้ พองสค่งรผมู ลปี ใรหะน้ สักทิ เธรภยี านพมีคสวง่ ผำมลรใหู้คน้วำกั มเรเยีขน้ำใมจคี ใวนาเนมรื้อคู้หวำาทมี่สเขอา้นใจในเนอ้ื หาทส่ี อน คณะผ้จู ัดทำหวังเปน็ อยำ่ งยง่ิ ว่ำ ชุดกำรจดั กิจกรรมกำรเรียนรู้ (สำหรบั ครูผ้สู อน) หนว่ ยที่ ๒ กำรดำเนนิ กำรของจำนวน เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อครผู ู้สอน ในกำรนำไปใชจ้ ัดกำรเรยี นรู้ เรอื่ งกำรบวก กำรลบ ใหก้ บั นักเรียนช้นั ประถมศึกษำปที ่ี ๑ เพ่ือเพม่ิ ประสิทธภิ ำพกำรจัดกำรเรียนรู้ของครูและกำรเรียนรู้ ของนักเรยี นให้สูงข้ึนต่อไป สถำบันส่งเสริมกำรสอนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษำธิกำร



สารบญั หนา้ ๑ คำแนะนำสำหรับครผู ูส้ อน ๕ โครงสรำ้ งชุดกำรจดั กิจกรรมกำรเรยี นรู้ ๖ กำหนดเวลำกำรสอนคณติ ศำสตร์ ช้นั ประถมศึกษำปีท่ี ๑ ๗ โครงสรำ้ งหน่วยกำรเรยี นรู้ท่ี ๒ กำรดำเนินกำรของจำนวน ๘ มำตรฐำนกำรเรยี นรแู้ ละตัวช้ีวัดของหนว่ ยกำรเรียนรู้ หน่วยท่ี ๒ กำรดำเนินกำรของจำนวน ๙ แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ ๑๑ ๑๖ แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ท่ี ๑ ๒๐ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ท่ี ๒ ๒๕ แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ท่ี ๓ ๓๐ แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ท่ี ๔ ๓๕ แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ท่ี ๕ ๔๒ แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ที่ ๖ ๔๗ แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ท่ี ๗ ๕๓ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๘ ๕๗ แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ท่ี ๙ ๖๑ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๑๐ ๖๖ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ท่ี ๑๑ ๗๑ แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ท่ี ๑๒ ๗๘ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๑๓ ๘๔ แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ที่ ๑๔ แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ท่ี ๑๕

สารบญั (ตอ่ ) แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ท่ี ๑๖ หนา้ แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ท่ี ๑๗ ๘๘ แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ที่ ๑๘ ๙๓ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๑๙ ๙๘ แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ที่ ๒๐ ๑๐๒ แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ท่ี ๒๑ ๑๐๖ แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ท่ี ๒๒ ๑๑๐ แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ท่ี ๒๓ ๑๑๓ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ท่ี ๒๔ ๑๑๖ แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ที่ ๒๕ ๑๒๐ แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ท่ี ๒๖ ๑๒๔ แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ท่ี ๒๗ ๑๒๘ แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ที่ ๒๘ ๑๓๒ แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ที่ ๒๙ ๑๓๖ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๓๐ ๑๔๐ แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ท่ี ๓๑ ๑๔๕ แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ที่ ๓๒ ๑๕๐ แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ที่ ๓๓ ๑๕๖ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ท่ี ๓๔ ๑๖๒ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ท่ี ๓๕ ๑๖๘ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๓๖ ๑๗๒ แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ที่ ๓๗ ๑๗๙ แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ที่ ๓๘

แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ที่ ๓๓ สารบญั (ตอ่ ) แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ที่ ๓๔ แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ท่ี ๓๕ หนา้ แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ท่ี ๓๖ ๑๘๔ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ท่ี ๓๗ ๑๘๙ แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ท่ี ๓๘ ๑๙๕ ๒๐๐ แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ที่ ๓๙ ๒๐๗ แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ท่ี ๔๐ ๒๑๑ แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ท่ี ๔๑ ๒๑๕ แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ที่ ๔๒ ๒๒๐ แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ที่ ๔๓ ๒๒๖ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ท่ี ๔๔ ๒๓๔ แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ท่ี ๔๕ ๒๔๐ แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ที่ ๔๖ ๒๔๖ แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ท่ี ๔๗ ๒๕๑ แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ที่ ๔๘ ๒๕๕ แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ท่ี ๔๙ ภำคผนวก ๒๕๗ ภำคผนวก ก เฉลยแบบฝกึ หัด ๓๗๓ ภำคผนวก ข เฉลยใบกิจกรรม ๓๘๑ ภำคผนวก ค แบบประเมินทกั ษะและกระบวนกำรทำงคณิตศำสตร์ คณะผู้จัดทำ



คำาแนะนำาสาำ หรับครผู ู้สอน ๑. แนวคดิ หลัก การจดั การเรียนการสอนคณติ ศาสตร์มุง่ ใหผ้ ู้เรียนมคี วามสามารถด้านการสอื่ สารและการคดิ อย่างเปน ระบบ สามารถต้ังข้อสันนิษฐาน สืบเสาะและเลือกสรรสารสนเทศ ให้เหตุผล แก้ปญหาโดยเลือกใช้ยุทธวิธี ต่าง ๆ การจัดกิจกรรมจึงควรเน้นการเรียนรู้ร่วมกันเปนกลุ่ม ซ่ึงเปนการเปดโอกาสให้ผู้เรียนได้ร่วมกันคิด ปรึกษาหารือ อภิปราย แก้ปญหา แสดงความคิดเห็นและสะท้อนความคิด (reflective thinking) ช่วยให้ ผู้เรียนได้พัฒนาความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และคุณธรรม จริยธรรม ในการจัดกลุ่ม อาจจดั เปน กลมุ่ ๒ คน หรอื กลุม่ ๓ – ๔ คน หรืออาจจัดกิจกรรมรว่ มกนั ทง้ั ชั้น ทั้งนีข้ ึน้ อยู่กับวตั ถุประสงค์ของ การจัดกิจกรรมการเรียนรนู้ น้ั ๆ ในการดำาเนินกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ สิ่งสำาคัญที่ผู้สอนควรคำานึงถึงเปนอันดับแรกคือ ความรู้พื้นฐานของผู้เรียน ผู้สอนอาจทบทวนโดยใช้คำาถามหรือยุทธวิธีต่าง ๆ เพื่อนำาไปสู่การเรียนรู้เนื้อหาใหม่ ข้ันการสอนเน้ือหาใหม่ ผู้สอนอาจกำาหนดสถานการณ์ที่เช่ือมโยงกับเร่ืองราวในขั้นทบทวนความรู้ และใช้ ยุทธวิธีต่าง ๆ ที่ช่วยให้ผู้เรียนสามารถสรุปหรือเข้าใจหลักการ แนวคิด กฎ สูตร สัจพจน์ ทฤษฎีบท หรือบท นิยามด้วยตนเอง ในขณะที่ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรม ผู้สอนควรให้อิสระทางความคิดกับผู้เรียน โดยผู้สอนคอย สังเกต ตรวจสอบความเขา้ ใจและให้คำาแนะนาำ อยา่ งใกล้ชิด ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอนควรให้ผู้เรียนแต่ละคนหรือแต่ละกลุ่มได้นำาเสนอแนวคิด เพราะผู้เรยี นมีโอกาสแสดงแนวคดิ เพม่ิ เติมร่วมกนั ซักถาม อภปิ รายขอ้ ขัดแยง้ ด้วยเหตแุ ละผล ผสู้ อนมโี อกาส เสริมความรู้ ขยายความรู้หรือสรุปประเด็นสำาคัญของสาระที่นำาเสนอน้ัน ทำาให้การเรียนรู้ขยายวงกว้างและลึก มากขึ้น สามารถนำาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้ นอกจากนี้ยังทำาให้ผู้เรียนเกิดเจตคติท่ีดี มีความภูมิใจใน ผลงาน เกิดความรู้สึกอยากทำา กล้าแสดงออก และจดจำาสาระที่ตนเองได้ออกมานำาเสนอได้นาน รวมทั้งฝก การเปนผนู้ าำ ผูต้ าม รับฟงความคดิ เหน็ ของผอู้ ื่น การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำาหรับช้ันประถมศึกษา ผู้สอนควรให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติ ฝกทักษะการสังเกต ฝกให้เหตุผลและหาข้อสรุปจากสื่อรูปธรรมหรือแบบจำาลองต่าง ๆ ก่อน แล้วขยายวง ความรู้สู่นามธรรมตามความสามารถของผู้เรียน สำาหรับบางเนื้อหาที่ยากต่อการทำาความเข้าใจของนักเรียน บางคน ผู้สอนควรหายุทธวิธีต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในการอธิบาย เช่น ใช้วิธีลดรูปของปญหา หรือ เลือกใช้ส่ือ เทคโนโลยีที่เหมาะสมเพ่ือช่วยให้การเรียนรู้ง่ายขึ้น และเพื่อให้ผู้เรียนตระหนักในคุณค่าของ คณติ ศาสตร์ ผู้สอนควรใช้สถานการณ์ท่ีเก่ยี วข้องกับชีวิตจรงิ เปนตวั อยา่ งในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ชุดการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สาำ หรับครูผู้สอน) กล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) 1

๒. กระบวนการจดั การเรียนรู้ กำรนำชุดกำรจดั กิจกรรมกำรเรียนรไู้ ปใช้ ครูควรเตรียมตวั ลว่ งหนำ้ ดงั นี้ ๑. ศกึ ษำโครงสรำ้ งชดุ กำรจดั กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ เพื่อใหท้ รำบว่ำตลอดทัง้ ปีกำรศึกษำ นักเรยี นต้อง เรยี นรทู้ ง้ั หมดก่หี นว่ ย แตล่ ะหนว่ ยมีหนว่ ยยอ่ ยอะไรบ้ำง ใช้เวลำสอนกี่ชัว่ โมง และมกี ่แี ผน ๒. ศกึ ษำโครงสรำ้ งหนว่ ยกำรเรียนรู้ วำ่ แต่ละหน่วยกำรเรยี นรู้มเี นือ้ หำอะไรบ้ำง เนื้อหำละกชี่ ่ัวโมง ซ่ึงจะช่วยให้ครูผสู้ อนมองเห็นภำพรวมของกำรสอนในหนว่ ยดงั กล่ำวได้อย่ำงชัดเจน ๓. ศกึ ษำแนวกำรจดั กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ ซึ่งอยู่หน้ำแผนแต่ละแผน เปน็ กำรสรุปแนวกำรจัดกิจกรรม ในแตล่ ะข้นั ตอนกำรสอน ทำใหค้ รูมองเห็นภำพรวมของกำรจดั กำรเรียนรใู้ นช่วั โมงนน้ั ๆ ๔. ศกึ ษำแผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ ตำมหัวขอ้ ต่อไปนี้ ๔.๑ ขอบเขตเน้ือหำ เป็นเนือ้ หำท่นี กั เรยี นต้องเรียนรใู้ นแผนทีก่ ำลงั ศึกษำ ๔.๒ สำระสำคัญ เป็นควำมคิดรวบยอดหรือหลกั กำรที่นักเรียนควรจะไดห้ ลงั จำกได้เรียนรตู้ ำมแผน ที่กำหนด ๔.๓ จดุ ประสงค์กำรเรียนรู้ แบง่ เป็นดำ้ นควำมรู้ และด้ำนทกั ษะและกระบวนกำรทำงคณิตศำสตร์ ๔.๔ กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ แบง่ เป็น ขน้ั นำ ขั้นสอน และขน้ั สรุป ซง่ึ แตล่ ะขน้ั ครผู สู้ อนควรศกึ ษำทำ ควำมเข้ำใจอย่ำงละเอียด นอกจำกน้ีครูควรพจิ ำรณำดว้ ยวำ่ ในแต่ละขั้นตอนกำรสอน ครูจะต้องศึกษำว่ำมี สือ่ /อุปกรณ์อะไรบ้ำง ๔.๕ สื่อ/แหล่งเรยี นรู้ เปน็ กำรบอกรำยกำรสื่อ อปุ กรณ์ และแหลง่ เรียนรู้ทีต่ ้องใช้ในกำรจัด กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ในชั่วโมงนั้น ๔.๖ กำรประเมิน เป็นกำรบอกทั้งวธิ กี ำร เคร่อื งมอื และเกณฑ์กำรประเมนิ สำหรบั เคร่ืองมือกำร ประเมนิ ในชดุ กำรจดั กจิ กรรมกำรเรียนร้ฯู นี้ ได้จัดเตรียมไว้ให้ครูผูส้ อนเรยี บร้อยแล้ว ๓. ส่อื การจดั การเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๑ สอ่ื กำรจดั กำรเรียนรู้ กล่มุ สำระกำรเรยี นรู้คณติ ศำสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษำปที ่ี ๑ ประกอบด้วย ๓.๑ แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ สำหรบั ครใู ชเ้ ป็นแนวทำงกำรจัดกิจกรรมกำรเรยี นรู้ให้กับนักเรียน ๓.๒ แบบฝึกหดั สำหรับนักเรียนใช้ฝกึ ทักษะหลงั จำกทำควำมเข้ำใจบทเรยี น แนวคดิ และควำมคิด รวบยอดท่ีสำคญั ในบทเรยี นเร่ืองนั้น ๆ ไปแล้ว ๓.๓ ใบกิจกรรม สำหรับนกั เรียนใชฝ้ กึ ทักษะปฏิบัติ หรอื สร้ำงควำมคิดรวบยอดในบทเรยี น ๓.๔ แบบทดสอบ เปน็ กำรวดั ควำมรู้ควำมเข้ำใจตำมตวั ชีว้ ดั ที่กำหนดไวใ้ นหลกั สตู ร แบบฝกึ หัด ใบกิจกรรมและแบบทดสอบของนักเรียนชั้นประถมศึกษำปที ่ี ๑ ได้มีกำรกำหนด สญั ลักษณ์รปู ดำว 5 แฉกจำนวน ๑ ดวง และแถบสีเหลอื ง โดย ฝ. หมำยถึง แบบฝึกหัด ก. หมำยถงึ ใบกิจกรรม ท. หมำยถงึ แบบทดสอบ ชดุ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู สู้ อน) กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ ภาคเรยี นที่ ๑ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๑ (ฉบับปรบั ปรงุ ) 2

สญั ลกั ษณ์รปู ดำว 5 แฉกจำนวน ๑ ดวง และแถบสีเหลอื ง โดย ฝ. หมำยถึง แบบฝึกหัด ก. หมำยถงึ ใบกจิ กรรม ท. หมำยถงึ แบบทดสอบ ผ. หมำยถึง แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ เช่น ฝ. ๑.๖ / ผ. ๔ เปน็ แบบฝกึ หดั หน่วยท่ี ๑ ลำดับท่ี ๖ อยใู่ นแผนกำรจดั กำรเรียนรทู้ ่ี ๔ ฝ. ๓.๗ / ผ. ๖ เปน็ แบบฝกึ หัดหน่วยท่ี ๓ ลำดบั ท่ี ๗ อยใู่ นแผนกำรจดั กำรเรียนรูท้ ่ี ๖ ก. ๒.๑ / ผ. ๓ เป็นใบกิจกรรมหน่วยที่ ๒ ลำดบั ที่ ๑ อย่ใู นแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๓ ท. ๑.๒ / ผ. ๖ เปน็ แบบทดสอบหนว่ ยท่ี ๑ ลำดับที่ ๒ อยู่ในแผนกำรจัดกำรเรียนรทู้ ่ี ๖ หมำยเหตุ ลำดับท่ีของแบบฝึกหดั ใบกิจกรรม และแบบทดสอบจะเรยี งต่อกนั จนครบทุกแผนในแต่ละหนว่ ย เมอ่ื ข้นึ หนว่ ยใหม่ลำดับที่ของแบบฝึกหัด ใบกิจกรรม และแบบทดสอบจะเรมิ่ ต้นใหม่ ๔. ลักษณะชุดการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ ชุดกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์ ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๑ จัดทำเป็น หน่วยกำรเรียนรู้ (Learning Unit) โดยผ่ำนกำรวิเครำะห์หลักสูตรกลุ่มสำระคณิตศำสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตำมแกนกลำงกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน พุทธศักรำช ๒๕๕๑ มำจัดทำเป็นหน่วยกำรเรียนรู้ในแต่ละ ภำคเรียน ดงั น้ี ภำคเรียนท่ี ๑ ประกอบด้วย หนว่ ยกำรเรยี นรู้ ๓ หนว่ ย ดงั นี้ หน่วยที่ ๑ จำนวน หน่วยย่อยที่ ๑.๑ จำนวนนับ ๑ ถงึ ๒๐ และ ๐ หนว่ ยที่ ๒ กำรดำเนนิ กำรของจำนวน หน่วยยอ่ ยท่ี ๒.๑ กำรบวก กำรลบ (ไมเ่ กนิ ๒๐) หนว่ ยท่ี ๓ เรขำคณติ ภำคเรยี นท่ี ๒ ประกอบดว้ ย หน่วยกำรเรยี นรู้ ๕ หน่วย ดงั นี้ หนว่ ยท่ี ๑ จำนวน หนว่ ยย่อยท่ี ๑.๒ จำนวนนบั ๒๑ ถึง ๑๐๐ หน่วยท่ี ๒ กำรดำเนนิ กำรของจำนวน หน่วยย่อยที่ ๒.๒ กำรบวก กำรลบ (ไม่เกนิ ๑๐๐) หน่วยท่ี ๔ แบบรปู หน่วยที่ ๕ สถติ ิ ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ (สาำ หรบั ครูผู้สอน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง) 3

หนว่ ยท่ี ๖ กำรวัด หน่วยย่อยท่ี ๖.๑ กำรวัดน้ำหนัก หน่วยย่อยท่ี ๖.๒ กำรวดั ควำมยำว ๕. แผนการจัดการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ กำรจัดทำแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์ ช้ันประถมศึกษำปีที่ ๑ กำหนดให้ สอดคล้องกับหน่วยกำรเรียนรู้ แต่ละหน่วยกำรเรียนรู้ประกอบด้วยแผนกำรจัดกำรเรียนรู้หลำยแผน แผนละ ๑ ชว่ั โมง โดยมีองคป์ ระกอบของแผนกำรจัดกำรเรยี นรู้คือ ขอบเขตเนื้อหำ สำระสำคัญ จุดประสงค์กำรเรียนรู้ ซึ่งมีทั้งด้ำนควำมรู้และด้ำนทักษะและกระบวนกำรทำงคณิตศำสตร์ กิจกรรมกำรเรียนรู้ สื่อ/แหล่งเรียนรู้ และ กำรประเมิน สำหรับแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ทุกแผนจะมีแนวกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้อยู่หน้ำแผนทุกแผนซึ่ง เปน็ กำรสรุปภำพรวมของกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนร้ใู นช่วั โมงนั้น ๆ ในทุกข้นั ตอนกำรสอนตั้งแต่ขั้นนำ ขัน้ สอน ขั้นสรุป และกำรประเมนิ ผล ชุดการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรับครูผสู้ อน) กล่มุ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง) 4

โครงสร้างชดุ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ หมายเหตุ เวลำรวมของทกุ หนว่ ยเปน็ ๑๗๔ ชวั่ โมงรวมกับกำรวัดผลประเมนิ ผล และกจิ กรรมเสรมิ กำรเรียนรคู้ ณติ ศำสตร์เปน็ ๒๐๐ ช่ัวโมง/ปี ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำาหรับครูผู้สอน) กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง) 5

กาหนดเวลาการสอนคณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ หนว่ ยการเรียนรู้ จานวน หน่วยการเรียนรู้ จานวน ช่วั โมง ช่ัวโมง หน่วยท่ี ๑ จานวน หน่วยที่ ๑ จานวน หน่วยย่อยที่ ๑.๑ ๓๖ หนว่ ยยอ่ ยที่ ๑.๒ ๑๒ จำนวนนบั ๑ ถงึ ๒๐ และ ๐ จำนวนนบั ๒๑ ถึง ๑๐๐ หน่วยที่ ๒ การดาเนนิ การของจานวน หน่วยท่ี ๒ การดาเนินการของจานวน หนว่ ยย่อยที่ ๒.๑ กำรบวก กำรลบ ๔๙ หน่วยย่อยท่ี ๒.๒ กำรบวก กำรลบ ๓๓ (ไมเ่ กิน ๒๐) (ไม่เกนิ ๑๐๐) หน่วยที่ ๓ เรขาคณติ ๑๐ หนว่ ยท่ี ๔ แบบรปู ๖ กิจกรรมเพ่ิมเติมสาหรบั โรงเรยี น ๑๐ หน่วยท่ี ๕ สถติ ิ ๖ หน่วยท่ี ๖ การวัด หน่วยยอ่ ยท่ี ๖.๑ กำรวดั นำหนัก ๑๐ หน่วยย่อยที่ ๖.๒ กำรวัดควำมยำว ๑๒ กิจกรรมเพม่ิ เติมสาหรบั โรงเรยี น ๑๖ รวม ๑๐๕ รวม ๙๕ รวม ๒๐๐ ชั่วโมง ชดุ การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ (สำาหรบั ครูผู้สอน) กล่มุ สาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ ภาคเรียนที่ ๑ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ (ฉบับปรบั ปรุง) 6

โครงสร้างหน่วยการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี ๒ การดาเนินการของจานวน กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ การบวก การลบ (๑๘ ชว่ั โมง) (๑๗ ชวั่ โมง) หนว่ ยที่ ๒ การดาเนนิ การของจานวน (๔๙ ชั่วโมง) การสรา้ งโจทยป์ ัญหา โจทย์ปัญหาการบวกและ การบวก การลบ โจทย์ปญั หาการลบ (๖ ช่วั โมง) (๘ ชั่วโมง) ชดุ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ (สำาหรับครผู ้สู อน) กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ ภาคเรียนที่ ๑ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) 7

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชว้ี ัดของหนว่ ยการเรียนรู้ หนว่ ยที่ ๒ การดาเนนิ การของจานวน กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ สาระท่ี ๑ จานวนและพีชคณติ มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนนิ การของจานวน ผลท่เี กิดขึ้นจากการดาเนนิ การ สมบัติของการดาเนนิ การ และนาไปใช้ ตัวชี้วดั ค ๑.๑ ป.๑/๔ หำคำ่ ของตัวไม่ทรำบคำ่ ในประโยคสญั ลักษณแ์ สดงกำรบวกและประโยคสัญลักษณ์ แสดงกำรลบของจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ ค ๑.๑ ป.๑/๕ แสดงวธิ หี ำคำตอบของโจทย์ปัญหำกำรบวกและโจทยป์ ญั หำกำรลบของจำนวนนบั ไมเ่ กิน ๑๐๐ และ ๐ ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1. กำรแก้ปัญหำ 2. กำรสอื่ สำรและกำรส่อื ควำมหมำยทำงคณิตศำสตร์ 3. กำรเชื่อมโยง 4. กำรใหเ้ หตุผล 5. กำรคดิ สรำ้ งสรรค์ ชุดการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ (ส�ำหรับครผู ูส้ อน) กล่มุ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ ภาคเรยี นที่ ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง) 8

แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยท่ี ๒ การด�ำ เนินการของจ�ำ นวน หนว่ ยยอ่ ยท่ี ๒.๑ การบวก การลบ จ�ำ นวนไมเ่ กิน ๒๐



ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สาำ หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) ข้นั นำ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๑ ขน้ั สอน 11 ข้นั สรปุ แนวการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ กำรวดั และประเมินผล ทบทวนเกยี่ วกบั กำรนับและบอกจำนวนไม่เกิน 10 ทบทวนกำรแสดงจำนวนไม่เกิน 10 ทบทวนกำรอำ่ นตวั เลขฮินดอู ำรบิกและตวั เลขไทยแสดงจำนวนไม่เกนิ 10 ใบกจิ กรรมที่ 2.1 ทบทวนควำมสมั พันธ์แบบส่วนยอ่ ยส่วนรวมของจำนวนไม่เกนิ 10 ใบกิจกรรมท่ี 2.2 ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันสรุปกำรบอกจำนวนและแสดงจำนวนไมเ่ กิน 10 กำรอำ่ นตัวเลขฮินดอู ำรบิกและตัวเลขไทยแสดงจำนวนไม่เกิน 10 ควำมสัมพันธ์แบบสว่ นยอ่ ยสว่ นรวมของจำนวนไมเ่ กิน 10 - ประเมินจำกกำรตอบคำถำมและกำรทำใบกิจกรรมที่ 2.1 และใบกจิ กรรมที่ 2.2 - ประเมนิ จำกกำรสื่อสำรและสือ่ ควำมหมำยทำงคณติ ศำสตร์

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) กล่มุ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ ๑ ชั้น ป.๑ หน่วยท่ี ๒ การดาเนินการของจานวน เวลา ๑ ชั่วโมง 12 หน่วยย่อยที่ ๒.๑ เรื่อง การบวก การลบ (ไมเ่ กิน ๒๐) ขอบเขตเนื้อหา กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่ือ/แหลง่ เรียนรู้ ข้นั นา ทบทวนกำรนบั จำนวนกำรอ่ำน 1. รปู ผลไม้ชนิดต่ำงๆ ตวั เลขฮินดอู ำรบิกและตัวเลขไทย 1. ครทู บทวนกำรนับจำนวนไมเ่ กิน 10 โดยแจกรปู ผลไมช้ นดิ ต่ำง ๆ ชนดิ ละ 10 รปู เช่น กลว้ ย 2. บัตรภำพแก้วนำ้ ส้ม แสดงจำนวนไม่เกิน 10 3. กรอบสบิ แอปเปลิ แดง แอปเปลิ เขยี ว สับปะรด สม้ ใหน้ กั เรียนแตล่ ะค่นู บั และบอกจำนวนผลไมแ้ ต่ละชนดิ 4. ตวั นับ สาระสาคญั จำกน้นั ครูบอกจำนวนไมเ่ กนิ 10 ให้นกั เรยี นแสดงจำนวนผลไม้ เช่น ส้ม 8 ผล กลว้ ย 4 ลูก สบั ปะรด 5. ใบกจิ กรรม 2.1 6. ใบกจิ กรรม 2.2 1. จำนวนใช้บอกปรมิ ำณของสงิ่ ต่ำงๆ 3 ลูก แอปเปลิ แดง 2 ลูก หรอื แอปเปิลเขียว 3 ลูก ครูตรวจสอบควำมถูกต้อง 2. จำนวนนับเปน็ จำนวนทีเ่ ร่ิมต้นจำก การประเมิน 1 และนบั เพ่ิมขนึ้ ทลี ะ 1 เป็น 2 3 4 ขัน้ สอน 5 6 7 8 9 10 ตำมลำดบั 1. วิธกี าร 3. ตวั เลขฮินดอู ำรบิก 0 1 2 3 4 2. ครทู บทวนกำรแสดงจำนวนไม่เกนิ 10 โดยกำหนดสถำนกำรณ์ “คุณแม่ต้องกำรจัดตะกร้ำผลไม้ไป 1.1 ตรวจใบกิจกรรม 5 6 7 8 9 10 ตัวเลขไทย ๐ ๑ 1.2 สังเกตพฤตกิ รรมกำรเรยี นรู้ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ เปน็ เยี่ยมญำติผ้ใู หญ่” และแจกรูปผลไม้ชนดิ ต่ำง ๆ ชนิดละ 10 รูป เช่น กล้วย แอปเปิลแดง แอปเปลิ เขียว 2. เครือ่ งมือ สัญลกั ษณท์ ่ีใช้เขยี นแสดงจำนวน สับปะรด สม้ ให้นักเรียนแต่ละค่จู ัดผลไมใ้ ส่ตะกรำ้ ตำมจำนวนท่กี ำหนดดังนี้ 2.1 ใบกิจกรรม 2.1 และ 2.2 เขยี นตัวหนังสอื เป็นศูนย์ หนง่ึ สอง 2.2 แบบประเมนิ ทักษะและ สำม สี่ หำ้ หก เจ็ด แปด เกำ้ สิบ - ตะกรา้ ท่ี 1 ครูกำหนดจำนวนโดยกำรบอกดว้ ยวำจำ เชน่ ส้ม 5 ผล กลว้ ย 10 ผล สับปะรด 2 ลกู กระบวนกำรทำงคณติ ศำสตร์ ตำมลำดับ แอปเปิลแดง 3 ลกู และแอปเปลิ เขยี ว 3 ลกู - ตะกรา้ ท่ี 2 ครูกำหนดจำนวนโดยเขียนจำนวนดว้ ยตัวเลขฮนิ ดอู ำรบิก เชน่ ส้ม 6 ผล กลว้ ย 5 ผล สบั ปะรด 1 ลูก แอปเปิลแดง 4 ลกู และแอปเปิลเขยี ว 0 ลกู - ตะกรา้ ท่ี 3 ครกู ำหนดจำนวนโดยเขยี นจำนวนดว้ ยตวั เลขไทย เช่น ส้ม ๔ ผล กลว้ ย ๙ ผล สบั ปะรด ๔ ลูก แอปเปิลแดง ๘ ลกู และแอปเปลิ เขียว ๔ ลูก จำกนั้นใหน้ ักเรยี นแต่ละค่จู ัดตะกร้ำผลไมต้ ำมจำนวนท่ตี ัวเองกำหนด พร้อมบอกวำ่ ในตะกร้ำมีผลไม้ ชนดิ ใดบ้ำง ชนิดละเทำ่ ใด 3. ครูทบทวนกำรแสดงจำนวนไม่เกนิ 10 ดว้ ยแผ่นกรอบสบิ (10-frame) โดยครแู จกแผ่นกรอบสบิ ให้นกั เรียนคนละ 1 แผน่ พร้อมตวั นบั คนละ 10 ตัว ให้นักเรยี นวำงตวั นับบนแผ่นกรอบสบิ แสดงจำนวนไข่ แต่ละถำดจำกสถำนกำรณ์ทคี่ รูกำหนด เชน่

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) กล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ ช้นั ป.๑ หนว่ ยที่ ๒ การดาเนินการของจานวน เวลา ๑ ชั่วโมง 13 หนว่ ยย่อยที่ ๒.๑ เรื่อง การบวก การลบ (ไม่เกิน ๒๐) จุดประสงค์การเรยี นรู้ - ถาดท่ี 1 มไี ข่ 8 ฟอง 3. เกณฑ์ 3.1 ผลงำนมีควำมถูกตอ้ ง ด้านความรู้ ครกู ำหนดสถำนกำรณอ์ นื่ ๆ เชน่ ถำดที่ 2 มไี ข่ ๕ ฟอง ถำดท่ี 3 มีไข่ เจ็ด ฟอง ถำดที่ 4 มีไข่ 6 ฟอง เพ่อื ให้นักเรียนสำมำรถ อำ่ นและ (ครบู อกดว้ ยวำจำ) จำกนัน้ ให้นกั เรียนทำใบกจิ กรรม 2.1 ข้อท่ี 1 ไมน่ อ้ ยกวำ่ ร้อยละ 80 4. ครทู บทวนกำรเขียนตวั เลขฮนิ ดูอำรบกิ ตัวเลขไทยและตัวหนังสือแสดงจำนวนไมเ่ กนิ 10 โดยครชู บู ัตร เขยี นตัวเลขฮินดูอำรบิก และตัวเลข ภำพแก้วนำ้ ส้มแสดงจำนวนไมเ่ กนิ 10 ตำมตัวอย่ำงดังรปู ใหน้ ักเรยี นชว่ ยกันบอกจำนวน ครูสมุ่ นกั เรยี น 3.2 คะแนนรวมด้ำนทกั ษะและ ออกมำเขียนตวั เลขฮินดูอำรบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสอื บนกระดำน ครตู รวจสอบควำมถูกต้อง กระบวนกำรทำงคณติ ศำสตร์ ไทยแสดงจำนวนนบั 1 ถึง 10 และ 0 จำกนั้นให้นักเรยี นทำใบกิจกรรมท่ี 2.1 ขอ้ 2 ไมน่ ้อยกวำ่ รอ้ ยละ 60 ด้านทกั ษะและกระบวนการทาง คณติ ศาสตร์ เพ่ือให้นักเรียนสำมำรถส่ือสำรและ สือ่ ควำมหมำยทำงคณติ ศำสตร์

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) กล่มุ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๑ ช้ัน ป.๑ หน่วยท่ี ๒ การดาเนินการของจานวน เวลา ๑ ช่ัวโมง 14 หน่วยย่อยที่ ๒.๑ เรื่อง การบวก การลบ (ไมเ่ กนิ ๒๐) 5. ครูทบทวนควำมสัมพนั ธ์แบบสว่ นย่อยส่วนรวมของจำนวนไม่เกิน 10 โดยครูกำหนดสถำนกำรณ์ “มีแอปเปลิ แดงและแอปเปลิ เขยี วรวมกนั อยู่ 10 ผล จะเป็นแอปเปลิ แดงและแอปเปิลเขียวอยำ่ งละก่ีผล” ครูแจกตัวนบั ให้นักเรียนกล่มุ ละ 10 อนั ให้นักเรยี นใช้ตัวนับแสดงจำนวนแอปเปลิ แดงและจำนวน แอปเปิลเขยี วท่รี วมกันได้ 10 เช่น แอปเปลิ แดง 4 ผล กับแอปเปลิ เขียว 6 ผล ครูใหต้ ัวแทนนักเรียน ออกมำเขียนแผนภำพแสดงควำมสมั พันธ์ของจำนวนดงั น้ี 4 10 6 จำกนัน้ ให้นักเรยี นแต่ละคนบันทึกจำนวนแอปเปิลแดงและแอปเปลิ เขยี วท้ังหมดในใบกิจกรรม 2.2 “จัดผลไม้” ครูและนักเรยี นอภิปรำยรว่ มกนั เกย่ี วกบั จำนวนแอปเปลิ แดง และแอปเปลิ เขยี วที่เป็นไปได้ ทั้งหมด พร้อมเขียนแผนภำพแสดงควำมสมั พนั ธข์ องจำนวน 10 ให้ครบทุกกรณี ได้แก่ 1 กบั 9 2 กบั 8 3 กับ 7 4 กบั 6 5 กับ 5 6 กับ 4 7 กบั 3 8 กบั 2 9 กบั 1 ขนั้ สรุป 6. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั สรุป - เรำสำมำรถบอกจำนวนของส่งิ ต่ำงๆ ได้จำกกำรนับ เช่น ดินสอ 2 แท่ง ไม้บรรทัด 3 อนั - จำนวนนบั เปน็ จำนวนท่เี รม่ิ ต้นจำก 1 และนับเพ่ิมขน้ึ ทลี ะ 1 เป็น 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ตำมลำดบั

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) กลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๑ ชั้น ป.๑ หนว่ ยที่ ๒ การดาเนนิ การของจานวน เวลา ๑ ช่ัวโมง 15 หนว่ ยย่อยท่ี ๒.๑ เร่ือง การบวก การลบ (ไมเ่ กนิ ๒๐) - ตัวเลขฮินดูอำรบิก 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ตวั เลขไทย ๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ เป็นสญั ลกั ษณ์ที่ใชเ้ ขียนแสดงจำนวน สำมำรถเขียนตวั หนังสอื ได้ ศนู ย์ หนึ่ง สอง สำม ส่ี หำ้ หก เจด็ แปด เกำ้ สิบ ตำมลำดับ - ควำมสัมพันธ์ของจำนวนแบบสว่ นย่อย – สว่ นรวม เปน็ กำรเขียนแสดงจำนวนในรูปของจำนวน 2 จำนวน

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) ขน้ั นำ แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ที่ ๒ ข้นั สอน 16 ขน้ั สรปุ แนวกำรจัดกจิ กรรมกำรเรยี นรู้ กำรวัดและประเมินผล ทบทวนเกย่ี วกับการนบั และบอกจานวน การอา่ นตวั เลขฮินดอู ารบกิ และตัวเลขไทยแสดงจานวนไม่เกิน 10 การรวมจานวนสองจานวน แบบฝึกหัด 2.1 ครูและนกั เรยี นรว่ มกันสรปุ ความหมายการบวก - ประเมินจากการตอบคาถามและการทาแบบฝกึ หัด 2.1 - ประเมนิ จากการส่ือสาร และสื่อความหมายทางคณติ ศาสตร์

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) กลุ่มสำระกำรเรยี นรคู้ ณิตศำสตร์ แผนกำรจัดกำรเรียนร้ทู ี่ ๒ ชัน้ ป.๑ หน่วยที่ ๒ กำรดำเนินกำรของจำนวน เวลำ ๑ ชว่ั โมง 17 หนว่ ยย่อยท่ี ๒.๑ เรือ่ ง กำรบวก กำรลบ ขอบเขตเนอ้ื หา กิจกรรมกำรเรียนรู้ ส่อื /แหลง่ เรียนรู้ ขน้ั นำ การรวมจานวนสองจานวน 1. รูปผลไม้ชนิดต่าง ๆ 1. ครูทบทวนการนับและบอกจานวน การอา่ นตัวเลขฮนิ ดูอารบกิ และตัวเลขไทยแสดงจานวนไม่เกนิ 10 2. บตั รภาพ สาระสาคญั โดยแจกรปู ผลไมต้ า่ งชนิดกนั ให้นกั เรียนแตล่ ะคู่ชนิดละ 10 รปู เช่น กลว้ ย แอปเปิลแดง แอปเปลิ เขยี ว 3. แบบฝึกหดั 2.1 สับปะรด สม้ ใหน้ ักเรยี นคนหนึ่งหยบิ บัตรตวั เลขฮินดูอารบิกและตวั เลขไทยแสดงจานวนไม่เกิน 10 การบวกจานวนสองจานวนเป็น แลว้ ให้นักเรยี นอีกคนแสดงผลไมต้ ามจานวนในบัตร ผลดั กนั หยิบบัตรและแสดงจานวน การประเมิน การนับรวมจานวนสง่ิ ตา่ ง ๆ สองกลุ่ม ขั้นสอน 1. วธิ กี าร จดุ ประสงค์กำรเรยี นรู้ 1.1 ตรวจแบบฝกึ หดั 2. ในการสอนการบวกครูจัดกจิ กรรมโดยครูกาหนดสถานการณ์เกี่ยวกบั การบวกจานวนสองจานวน 1.2 สังเกตพฤตกิ รรมการเรียนรู้ ด้ำนควำมรู้ เชน่ “มะลิมกี ล้วย 3 ผล แม่ให้มาอกี 1 ผล มะลมิ ีกลว้ ยทั้งหมดกี่ผล” ใหน้ ักเรียนจัดรูปผลไมใ้ ส่จานแสดง 2. เครอื่ งมือ เพื่อใหน้ กั เรียนสามารถ หาผลบวก จานวนกลว้ ยตามสถานการณ์ที่กาหนด โดยครถู ามนักเรยี นว่า “มะลมิ ีกล้วยอยแู่ ลว้ กผี่ ล (3 ผล) แมใ่ หม้ า 2.1 แบบฝกึ หัด 2.1 อกี ก่ีผล (1 ผล) มะลิมีกล้วยมากขึน้ หรือน้อยลง (มากขน้ึ ) มะลมิ ีกลว้ ยทั้งหมดกผี่ ล (4 ผล) หาจานวน 2.2 แบบประเมนิ ทักษะและ ของจานวนสองจานวนท่ผี ลบวกไมเ่ กิน กล้วยท้งั หมดไดอ้ ยา่ งไร (นบั )” ครูสุ่มนกั เรียนบอกวิธกี ารหาจานวนกลว้ ยของมะลทิ ้ังหมด ซง่ึ นกั เรียน กระบวนการทางคณติ ศาสตร์ 10 อาจใชก้ ารนบั จานวนกลว้ ยทั้งหมดโดยเริม่ นับจาก 1 และนับเพิม่ ขนึ้ ทีละ 1 จากนัน้ ครูแนะนาวธิ กี ารนับต่อ 3. เกณฑ์ ดำ้ นทักษะและกระบวนกำรทำง เพอื่ หาผลบวก นัน่ คือนบั ต่อจาก 3 อีก 1 เปน็ 4 ดงั นน้ั มะลิมีกล้วยทั้งหมด 4 ผล ครูจดั กจิ กรรมทานอง 3.1 ผลงานมีความถูกตอ้ ง คณิตศำสตร์ เดียวกนั น้อี ีก 2 - 3 ตวั อยา่ ง เช่น ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 80 3.2 คะแนนรวมดา้ นทกั ษะและ เพือ่ ให้นกั เรียนสามารถส่ือสารและ 1) แจนกนิ กล้วยไป 2 ผล กนิ เพมิ่ อกี 1 ผล แจนกนิ กล้วยทั้งหมดก่ผี ล กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ส่อื ความหมายทางคณิตศาสตร์ 2) จูนเก็บแอปเปลิ แดงได้ 4 ผล เก็บแอปเปิลเขยี วได้ 2 ผล จนู เกบ็ แอบเปิลได้ทั้งหมดกีผ่ ล ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 60 3) ดาวมสี บั ปะรด 1 ผล มสี ้ม 5 ผล ดาวมีผลไม้ท้ังหมดก่ผี ล 3. ครกู าหนดสถานการณ์เกยี่ วกบั การบวกจานวนสองจานวนโดยใชค้ าวา่ “รวมกับ” หรอื “กบั ” เช่น “ส้ม 4 ผล รวมกับสม้ อกี 3 ผล มสี ้มท้งั หมดกผ่ี ล” ใหน้ กั เรียนจัดรปู ผลไมใ้ ส่จานแสดงจานวนส้มตาม สถานการณ์ท่ีกาหนดเพื่อหาจานวนสม้ ท้ังหมด จากน้นั ครนู าอภปิ รายเพ่ือนาไปสู่ความหมายของการบวก

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) กลุ่มสำระกำรเรียนรคู้ ณิตศำสตร์ แผนกำรจดั กำรเรียนรทู้ ่ี ๒ ช้ัน ป.๑ หน่วยที่ ๒ กำรดำเนนิ กำรของจำนวน เวลำ ๑ ชว่ั โมง 18 หนว่ ยย่อยที่ ๒.๑ เร่อื ง กำรบวก กำรลบ โดยใช้คาถาม เช่น จานวนส้มทั้งหมดมีมากกว่าหรือน้อยกว่า 4 ผล (มากกวา่ ) เพราะเหตุใด (เพราะเป็น การรวมกันของจานวนส้ม 4 ผลกบั 3 ผล) และหาจานวนส้มท้ังหมดได้อยา่ งไร (นับ) ครใู ห้นกั เรียนแสดง การนับโดยนักเรียนอาจนบั จานวนสม้ รวมกนั ท้งั หมดหรือใช้การนบั ตอ่ จาก 4 อีก 3 เปน็ 5 6 7 ดังนั้น มสี ม้ ท้งั หมดกผี่ ล (7 ผล) ครเู ขยี น “4 รวมกับ 3 เป็น 7” บนกระดาน จากนนั้ ครูแนะนาวา่ การรวมกันของ จานวนสองจานวนเรียกวา่ “การบวก” ในที่นี้ 7 คือ ผลบวก ครจู ดั กจิ กรรมทานองเดยี วกนั น้อี ีก 2 - 3 ตวั อย่าง เช่น 1) สับปะรด 7 ผล รวมกับสับปะรดอกี 1 ผล มีสับปะรดทง้ั หมดก่ีผล 2) แอปเปลิ แดง 3 ผล กับแอปเปลิ เขยี ว 2 ผล มีแอบเปิลทงั้ หมดก่ผี ล 3) สับปะรด 5 ผล กับสม้ 5 ผล มผี ลไม้ทง้ั หมดก่ีผล ครูเขยี นคาตอบของนักเรียนบนกระดานจะได้ - 7 รวมกบั 1 เปน็ 8 ครูถามว่าจานวนใดคือผลบวก (8) - 3 รวมกับ 2 เป็น 5 ครถู ามวา่ จานวนใดคือผลบวก (5) - 5 รวมกบั 5 เปน็ 10 ครูถามวา่ จานวนใดคอื ผลบวก (10) 4. ครตู ดิ ภาพสง่ิ ของ 2 กลมุ่ ให้นักเรียนบอกสิง่ ท่ที ราบจากภาพ จากนัน้ ครสู ุม่ นักเรยี นบอกผลบวก เช่น - มีเค้กช็อกโกแลตก่ีอนั (3 อัน) - มีเค้กส้มกี่อัน (2 อนั ) - เค้กช็อกโกแลต 3 อันกับเค้กส้ม 2 อัน รวมมีเคก้ ทัง้ หมดกี่อนั (มเี ค้กทั้งหมด 5 อัน) - หาผลบวกไดอ้ ย่างไร (นับต่อจาก 3 เปน็ 4 และ 5)

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) กลุม่ สำระกำรเรียนรูค้ ณติ ศำสตร์ แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ที่ ๒ ช้ัน ป.๑ หนว่ ยที่ ๒ กำรดำเนินกำรของจำนวน เวลำ ๑ ชว่ั โมง 19 หน่วยย่อยท่ี ๒.๑ เร่ือง กำรบวก กำรลบ จากน้ันครูเขยี น “3 รวมกบั 2 เปน็ 5” บนกระดาน พร้อมถามวา่ จานวนใดคือผลบวก (5) จัดกจิ กรรมทานองเดียวกนั น้ีอกี 3 - 4 ตวั อย่าง เช่น จากน้ันใหน้ ักเรยี นทาแบบฝกึ หดั 2.1 ข้ันสรุป 5. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปว่าการบวกจานวนสองจานวนเปน็ การนบั รวมจานวนสง่ิ ต่างๆ สองกลมุ่ ผลรวมท่ไี ด้เรยี กผลบวก

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) ขน้ั นำ แผนกำรจัดกำรเรยี นร้ทู ี่ ๓ ข้นั สอน 20 ขัน้ สรปุ แนวกำรจดั กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ กำรวดั และประเมนิ ผล ทบทวนเกี่ยวกบั การรวมจานวนสองจานวน การบวกและการเขยี นประโยคสัญลกั ษณ์การบวก แบบฝกึ หัด 2.2 ครูและนกั เรยี นร่วมกันสรุปเกย่ี วกบั การบวกและประโยคสญั ลักษณ์ - ประเมินจากการตอบคาถามและการทาแบบฝกึ หัด 2.2 - ประเมินจากการสือ่ สาร และสื่อความหมายทางคณติ ศาสตร์

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้คณติ ศำสตร์ แผนกำรจัดกำรเรยี นรทู้ ่ี ๓ ชั้น ป.๑ หนว่ ยที่ ๒ กำรดำเนินกำรของจำนวน 21 หน่วยย่อยท่ี ๒.๑ เรอ่ื ง กำรบวก กำรลบ เวลำ ๑ ชว่ั โมง ขอบเขตเนือ้ หา กิจกรรมกำรเรยี นรู้ ส่ือ/แหล่งเรียนรู้ ข้ันนำ การบวกและการเขยี นประโยค 1. ตัวนับ สัญลกั ษณ์การบวก 1. ครทู บทวนเกี่ยวกบั การรวมจานวนสองจานวนโดยติดภาพสิ่งของ 2 กลมุ่ ให้นกั เรยี นบอกส่งิ ท่ีทราบ 2. บัตรภาพ จากภาพ พร้อมบอกผลบวก เช่น 3. แบบฝกึ หัด 2.2 สาระสาคญั - มีหมวกสีเขยี วก่ใี บ (4 ใบ) การประเมิน 1. การบวกเปน็ การนับรวมจานวน - มหี มวกสีนา้ เงนิ กใี่ บ (3 ใบ) ส่ิงตา่ ง ๆ ตั้งแตส่ องกลมุ่ ขนึ้ ไป - มหี มวกสีเขยี ว 4 ใบกบั หมวกสีน้าเงนิ 3 ใบ 1. วธิ กี าร 2. การรวมกนั ของจานวนสองจานวน 1.1 ตรวจแบบฝึกหัด สามารถเขยี นเปน็ ประโยค รวมมีหมวกท้งั หมดกใี่ บ (มหี มวกท้ังหมด 7 ใบ) 1.2 สงั เกตพฤตกิ รรมการเรียนรู้ สัญลกั ษณ์การบวกได้ เชน่ 1 + 2 = 3 - หาผลบวกได้อย่างไร (นบั ต่อจาก 4 เป็น 5 6 และ 7) 2. เครื่องมือ 2.1 แบบฝึกหดั 2.2 จดุ ประสงคก์ ำรเรียนรู้ จากน้นั ครูเขียน “4 รวมกับ 3 เปน็ 7” บนกระดาน พร้อมถามวา่ จานวนใดคือผลบวก (7) 2.2 แบบประเมนิ ทักษะและ จดั กิจกรรมทานองเดียวกันน้ีอีก 2 ตัวอย่าง กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ดำ้ นควำมรู้ 3. เกณฑ์ เพอ่ื ให้นักเรียนสามารถหาผลบวก ข้นั สอน 3.1 ผลงานมคี วามถูกตอ้ ง ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 ของจานวนสองจานวนทผี่ ลบวกไมเ่ กนิ 2. ครูจดั กจิ กรรมโดยกาหนดสถานการณ์เกี่ยวกับการบวกจานวนสองจานวน เช่น “ในกลอ่ งมโี ดนทั 3.2 คะแนนรวมด้านทักษะและ 10 พร้อมเขยี นเป็นประโยคสัญลักษณ์ 5 ช้ิน แม่หยิบโดนทั ใสเ่ พิ่มอีก 1 ช้นิ ในกล่องมีโดนัททั้งหมดกีช่ ้นิ ” ครตู ิดภาพสถานการณ์ดังกล่าว กระบวนการทางคณิตศาสตร์ การบวก บนกระดานพร้อมแจกตัวนับใหน้ กั เรียนจดั แสดงจานวนโดนทั ตามสถานการณ์ทก่ี าหนด ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 60 ดำ้ นทกั ษะและกระบวนกำรทำง คณติ ศำสตร์ เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นสามารถส่ือสารและ สอ่ื ความหมายทางคณิตศาสตร์

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) กลุ่มสำระกำรเรียนรคู้ ณิตศำสตร์ แผนกำรจัดกำรเรียนรูท้ ี่ ๓ ชัน้ ป.๑ หนว่ ยท่ี ๒ กำรดำเนนิ กำรของจำนวน เวลำ ๑ ชวั่ โมง 22 หนว่ ยย่อยที่ ๒.๑ เรอื่ ง กำรบวก กำรลบ จากน้ันครถู ามนกั เรยี นว่า “เดมิ ในกลอ่ งมีโดนัทกี่ชนิ้ (5 ช้ิน) แมห่ ยบิ เพ่มิ อีกกชี่ ิน้ (1 ช้นิ ) ในกลอ่ งมี โดนัทมากขึน้ หรอื น้อยลง (มากขึ้น) ในกล่องมีโดนทั ท้ังหมดกช่ี น้ิ (6 ชิน้ ) หาจานวนโดนัททง้ั หมดได้อยา่ งไร (นับ)” ครูสมุ่ นกั เรยี นบอกวธิ กี ารหาจานวนโดนัททงั้ หมดในกลอ่ ง ซง่ึ นักเรียนควรใช้การนับต่อจาก 5 เปน็ 6 ครเู ขยี น “5 รวมกับ 1 เป็น 6” บนกระดาน พร้อมถามว่าจานวนใดคือผลบวก (6) จากนั้นครูเขยี น “5 + 1 = 6” บนกระดาน พรอ้ มแนะนาว่าเปน็ การเขียนประโยคสญั ลกั ษณแ์ สดงการบวก ครูแนะนาวธิ ี อา่ นว่า “ห้าบวกหนง่ึ เท่ากับหก” แนะนาเครื่องหมาย “+” ว่าเป็นสญั ลักษณ์แสดงการรวมกันของจานวน สองจานวน (ในท่นี ี้คือ 5 กบั 1) อ่านวา่ “บวก” ครแู นะนาเครื่องหมาย “=” ว่าเปน็ สญั ลกั ษณ์แสดง การเทา่ กนั อา่ นวา่ “เท่ากับ” ซ่งึ บนกระดานจะมีขอ้ ความปรากฎดงั นี้ ในกลอ่ งมโี ดนัท 5 ชิ้น แม่หยิบโดนัท ใส่เพิม่ อีก 1 ชิ้น ในกลอ่ งมีโดนทั ทัง้ หมดก่ชี ้ิน 5 รวมกับ 1 เปน็ 6 เขยี นประโยคสัญลกั ษณ์การบวกได้ 5+1=6 อา่ นวา่ ห้าบวกหนงึ่ เท่ากับหก เรียก “+” วา่ เป็นสญั ลกั ษณ์แสดงการรวมกัน อ่านวา่ “บวก” (ครูแนะนาวา่ ในท่นี ี้คือการรวมกนั ของ 5 กบั 1) เรียก “=” ว่าเปน็ สัญลักษณ์แสดงการเท่ากนั อา่ นว่า “เทา่ กับ”

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) กล่มุ สำระกำรเรยี นรคู้ ณิตศำสตร์ แผนกำรจัดกำรเรียนรทู้ ี่ ๓ ช้ัน ป.๑ หนว่ ยท่ี ๒ กำรดำเนนิ กำรของจำนวน เวลำ ๑ ชวั่ โมง 23 หน่วยย่อยท่ี ๒.๑ เรอ่ื ง กำรบวก กำรลบ ครจู ัดกิจกรรมทานองเดียวกนั น้ีอีก 2 - 3 ตัวอย่าง เชน่ 1) ในกลอ่ งมีโดนทั 6 ชนิ้ แม่หยบิ โดนทั ใสเ่ พมิ่ อีก 2 ชิ้น ในกลอ่ งมีโดนทั ทงั้ หมดกีช่ น้ิ 2) ในกล่องมีโดนทั รสช็อกโกแลต๊ 5 ช้ิน มโี ดนัทรสสตอรเบอรี่ 4 ช้ิน ในกล่องมโี ดนัททั้งหมดกชี่ ้ิน 3) แมซ่ ้ือโดนัทมา 2 กล่อง พ่อซ้อื มาเพ่ิมอีก 3 กลอ่ ง พ่อกับแมซ่ ้ือโดนัทรวมกนั กี่กลอ่ ง ครเู ขียนประโยคสญั ลักษณแ์ สดงการบวก พร้อมคาอา่ นบนกระดานจะได้ - 6 รวมกับ 2 เป็น 8 เขียนประโยคสญั ลักษณก์ ารบวกได้ 6 + 2 = 8 อา่ นวา่ หกบวกสองเทา่ กบั แปด ครูถามว่าจานวนใดคือผลบวก (8) - 5 รวมกับ 4 เป็น 9 เขียนประโยคสญั ลักษณ์การบวกได้ 5 + 4 = 9 อา่ นว่า ห้าบวกสี่เทา่ กับเก้า ครถู ามว่า 5 แสดงอะไร (โดนัทรสช๊อกโกแลต๊ ) 4 แสดงอะไร (โดนัทรสสตอรเบอร่ี) และ 9 แสดงอะไร (จานวนโดนทั ทัง้ หมดในกล่อง) และมหี น่วยเป็นอะไร (ช้นิ ) - 2 รวมกับ 3 เปน็ 5 เขยี นประโยคสญั ลักษณก์ ารบวกได้ 2 + 3 = 5 อา่ นว่า สองบวกสามเท่ากับห้า ครถู ามว่า 2 แสดงอะไร (โดนทั ทีแ่ ม่ซื้อมา) และ 3 แสดงอะไร (โดนัทท่พี ่อซ้ือมา) 5 แสดงอะไร (จานวน โดนทั ทง้ั หมด) และมหี น่วยเปน็ อะไร (กล่อง) 3. ครูตดิ ภาพสิ่งของ 2 กลุ่ม ให้นักเรียนบอกสงิ่ ท่ีทราบจากภาพ ใหน้ ักเรียนเขยี นประโยคสญั ลกั ษณ์การ บวกและอ่านพร้อมกัน เช่น - มีตกุ๊ ตาหมีกต่ี ัว (5 ตวั ) - มีตกุ๊ ตาสุนัขก่ตี ัว (2 ตวั ) - หมี 5 ตวั กับสุนขั 2 ตัว รวมมีตกุ๊ ตาท้งั หมดกี่ตัว (มีตกุ๊ ตาทงั้ หมด 7 ตัว) - เขียนประโยคสัญลักษณ์การบวกได้อยา่ งไร (5 + 2 = 7) - อ่านวา่ อย่างไร (ห้าบวกสองเทา่ กบั เจด็ )

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) กลมุ่ สำระกำรเรยี นรคู้ ณติ ศำสตร์ แผนกำรจดั กำรเรียนรทู้ ี่ ๓ ชน้ั ป.๑ หน่วยที่ ๒ กำรดำเนนิ กำรของจำนวน เวลำ ๑ ชวั่ โมง 24 หน่วยย่อยที่ ๒.๑ เรื่อง กำรบวก กำรลบ - 2 แสดงอะไร (ตุ๊กตาสุนัข) และ 5 แสดงอะไร (ตุ๊กตาหมี) 7 แสดงอะไร (จานวนตกุ๊ ตาทงั้ หมด) และมีหนว่ ยเปน็ อะไร (ตัว) จากนัน้ จัดกิจกรรมทานองเดยี วกันนอ้ี กี 2 - 4 ตัวอย่าง เชน่ (1) (2) (3) (4) ใหน้ ักเรยี นทาแบบฝึกหดั 2.2 ขนั้ สรุป 4. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปวา่ การรวมกันของจานวนสองจานวน สามารถเขยี นเป็นประโยค สญั ลักษณ์การบวกได้ เชน่ 5 + 2 = 7

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) ข้ันนำ แผนกำรจัดกำรเรยี นร้ทู ่ี ๔ ขั้นสอน 25 ข้ันสรปุ แนวกำรจดั กิจกรรมกำรเรียนรู้ กำรวัดและประเมนิ ผล ทบทวนเกย่ี วกบั การเขยี นประโยคสญั ลกั ษณก์ ารบวก การบวกดว้ ยศนู ย์ แบบฝึกหดั 2.3 ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันสรุปเกยี่ วกับการบวกด้วยศูนย์ - ประเมนิ จากการตอบคาถามและการทาแบบฝึกหดั 2.3 - ประเมินจากการสอ่ื สาร และสอื่ ความหมายทางคณติ ศาสตร์

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สาำ หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้คณติ ศำสตร์ แผนกำรจัดกำรเรียนรทู้ ี่ ๔ ชั้น ป.๑ หน่วยที่ ๒ กำรดำเนนิ กำรของจำนวน 26 หนว่ ยย่อยท่ี ๒.๑ เร่อื ง กำรบวก กำรลบ เวลำ ๑ ชวั่ โมง ขอบเขตเนอื้ หา กจิ กรรมกำรเรียนรู้ สอื่ /แหลง่ เรยี นรู้ ข้นั นำ การบวกด้วยศนู ย์ 1. บัตรภาพ 1. ครทู บทวนเก่ยี วกบั การเขียนประโยคสญั ลักษณ์การบวกโดยตดิ ภาพสถานการณ์เกีย่ วกบั การบวก 2. แบบฝกึ หดั 2.3 สาระสาคญั จานวนสองจานวน ให้นกั เรยี นบอกสิ่งท่ีเหน็ จากภาพ บอกจานวนทงั้ หมด ครสู ุม่ นักเรียนออกมาเขยี น ประโยคสัญลกั ษณ์การบวกบนกระดาน ใหน้ ักเรียนท้งั หมดอ่านประโยคสญั ลักษณ์พร้อมกัน การประเมิน 1. การบวกเปน็ การนับรวมจานวน สิ่งตา่ งๆ ตั้งแตส่ องกล่มุ ข้นึ ไป - มีลกู ไก่ 2 ตวั กบั แม่ไก่ 4 ตัว 1. วิธีการ 2. การรวมกันของจานวนสองจานวน - รวมมไี กท่ ั้งหมด 6 ตวั 1.1 ตรวจแบบฝกึ หดั สามารถเขียนเป็นประโยคสัญลกั ษณ์ - เขียนเปน็ ประโยคสญั ลกั ษณก์ ารบวกได้ 1.2 สงั เกตพฤตกิ รรมการเรียนรู้ การบวกได้ เชน่ 1 + 2 = 3 2. เครอื่ งมือ 3. จานวนใดบวกกบั ศนู ย์ไดผ้ ลบวก 2+4=6 2.1 แบบฝกึ หดั 2.3 เทา่ กบั จานวนนน้ั - อา่ นวา่ สองบวกส่เี ท่ากับหก 2.2 แบบประเมินทักษะและ (1) กระบวนการทางคณิตศาสตร์ จดุ ประสงคก์ ำรเรยี นรู้ - มีลกู ไก่ 3 ตวั กบั แม่ไก่ 4 ตัว 3. เกณฑ์ - รวมมีไกท่ ้ังหมด 7 ตัว 3.1 ผลงานมีความถูกต้อง ดำ้ นควำมรู้ - เขยี นเปน็ ประโยคสญั ลกั ษณก์ ารบวกได้ ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 เพอ่ื ใหน้ ักเรียนสามารถหาผลบวก 3.2 คะแนนรวมด้านทักษะและ 3+4=7 กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ของจานวนใดๆ กบั ศนู ย์ โดยผลบวก - อา่ นว่า สามบวกส่ีเท่ากับเจ็ด ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 60 ไมเ่ กิน 10 พร้อมเขียนเปน็ ประโยค สญั ลักษณ์การบวก (2) ดำ้ นทักษะและกระบวนกำรทำง คณิตศำสตร์ ขั้นสอน เพ่ือให้นกั เรยี นสามารถสื่อสารและ 2. ในการสอนการบวกด้วย 0 ครจู ดั กิจกรรมโดยตดิ ภาพทีละภาพ ให้นักเรียนบอกสิ่งทีเ่ หน็ จากภาพ สื่อความหมายทางคณติ ศาสตร์ บอกจานวนทง้ั หมด ครสู ุม่ นักเรยี นออกมาเขียนประโยคสญั ลกั ษณ์การบวกบนกระดาน ให้นกั เรยี น ทง้ั หมดอา่ นประโยคสัญลักษณ์พร้อมกนั เช่น

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สาำ หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) กลมุ่ สำระกำรเรียนรูค้ ณิตศำสตร์ แผนกำรจัดกำรเรยี นรูท้ ่ี ๔ ชน้ั ป.๑ หนว่ ยท่ี ๒ กำรดำเนินกำรของจำนวน เวลำ ๑ ชว่ั โมง 27 หน่วยย่อยที่ ๒.๑ เรอ่ื ง กำรบวก กำรลบ - มลี กู ไก่ 3 ตัว ไม่มแี ม่ไก่ หรือมีแมไ่ ก่ 0 ตัว - รวมมีไกท่ ง้ั หมด 3 ตวั - เขียนเปน็ ประโยคสญั ลักษณ์การบวกได้ 3+0=3 - อา่ นวา่ สามบวกศูนยเ์ ท่ากับสาม (3) - ไมม่ ลี ูกไกห่ รือมีลูกไก่ 0 ตวั กบั มีแม่ไก่ 4 ตวั - รวมมีไก่ทัง้ หมด 4 ตวั - เขยี นเป็นประโยคสัญลกั ษณก์ ารบวกได้ 0+4=4 (4) - อ่านวา่ ศูนย์บวกสเี่ ท่ากับส่ี - ลกู ไก่ 0 ตัว กับ แม่ไก่ 0 ตัว - ดงั นัน้ ไมม่ ีไก่เลยสกั ตัวหรอื มไี ก่ทง้ั หมด 0 ตัว - เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การบวกได้ 0+0=0 (5) - อา่ นวา่ ศูนย์บวกศูนย์เท่ากับศูนย์ ให้นักเรียนพจิ ารณาประโยคสัญลักษณ์การบวกบนกระดาน ดังต่อไปน้ี

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) กลุ่มสำระกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์ แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ท่ี ๔ ช้ัน ป.๑ หนว่ ยที่ ๒ กำรดำเนินกำรของจำนวน เวลำ ๑ ชวั่ โมง 28 หนว่ ยย่อยท่ี ๒.๑ เร่อื ง กำรบวก กำรลบ 3+0=3 0+4=4 0+0=0 จากนัน้ ให้บอกข้อสงั เกตท่ตี ัวเองคน้ พบ แล้วร่วมกันสรุปข้อสังเกตซง่ึ จะได้วา่ จำนวนใดบวกกบั ศนู ย์จะ ไดผ้ ลบวกเทำ่ กับจำนวนนน้ั 3. ครตู ดิ ภาพส่ิงของ 2 กล่มุ ใหน้ กั เรียนบอกจานวนดนิ สอในแตล่ ะกล่องจากภาพ สมุ่ นกั เรยี นออกมา เขียนประโยคสัญลกั ษณ์การบวกบนกระดาน และให้นักเรียนอา่ นประโยคสญั ลักษณ์การบวกพรอ้ มกนั เชน่ - กลอ่ งสแี ดงไมม่ ีดนิ สอ หรอื มดี นิ สอ 0 แทง่ และกล่องสีเหลอื งมดี ินสอ 4 แทง่ - รวมมดี ินสอ 4 แท่ง - เขยี นเปน็ ประโยคสัญลกั ษณ์การบวกได้ 0+4=4 (6) - อา่ นวา่ ศูนย์บวกสเี่ ทา่ กบั สี่ จากน้นั จดั กจิ กรรมทานองเดียวกนั นี้อกี 2 ตวั อยา่ ง เชน่

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) กลุ่มสำระกำรเรียนรูค้ ณิตศำสตร์ แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ที่ ๔ ชน้ั ป.๑ หนว่ ยท่ี ๒ กำรดำเนินกำรของจำนวน เวลำ ๑ ชวั่ โมง 29 หนว่ ยย่อยท่ี ๒.๑ เร่อื ง กำรบวก กำรลบ (7) (8) ใหน้ กั เรยี นทาแบบฝึกหัด 2.3 ขั้นสรุป 4. ครูและนกั เรยี นรว่ มกันสรุปว่า จานวนใดบวกกับศูนย์ไดผ้ ลบวกเทา่ กบั จานวนนั้น

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) ขัน้ นำ แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี ๕ ข้ันสอน 30 ขนั้ สรปุ แนวการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ กำรวดั และประเมินผล ทบทวนเกยี่ วกับการเขยี นประโยคสญั ลกั ษณก์ ารบวก กำรหำผลบวกโดยใช้เสน้ จำนวน แบบฝกึ หัด 2.4 ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั สรปุ เกี่ยวกับการหาผลบวกโดยใชเ้ สน้ จานวน - ประเมินจำกกำรตอบคำถำมและกำรทำแบบฝกึ หดั 2.4 - ประเมินจำกกำรส่ือสำร และสือ่ ควำมหมำยทำงคณติ ศำสตร์

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๕ ชั้น ป.๑ หน่วยท่ี ๒ การดาเนนิ การของจานวน เวลา ๑ ชวั่ โมง 31 หนว่ ยย่อยท่ี ๒.๑ เร่อื ง การบวก การลบ ส่อื /แหล่งเรยี นรู้ ขอบเขตเนือ้ หา กิจกรรมการเรียนรู้ 1. เกมล่าสมบัติ 1 ชดุ การหาผลบวกโดยใช้เส้นจานวน ข้ันนา 2. บตั รภำพ 3. แถบกระดำษเส้นจำนวน สาระสาคญั 1. ครแู จกเกมล่าสมบตั ใิ ห้นักเรียนกลมุ่ ละ 1 ชดุ ประกอบด้วยตัวเดินหรอื หมากเท่าจานวนสมาชกิ 4. แบบฝึกหัด 2.4 ลกู เต๋า และแผ่นเกม จากน้ันครูติดเกมล่าสมบตั บิ นกระดานพรอ้ มอธิบายวิธกี ารเลน่ เกม จากนั้นให้แต่ละ 1. การบวกเปน็ การนับรวมจานวนสงิ่ กล่มุ ทดลองเลน่ เกม 10 นาที การประเมนิ ตา่ ง ๆ ตั้งแตส่ องกลุม่ ขึน้ ไป 2. เราสามารถใชเ้ ส้นจานวน 1.วธิ กี าร ช่วยในการหาผลบวกได้ 1.1 ตรวจแบบฝึกหัด 1.2 สังเกตพฤติกรรมการเรยี นรู้ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ครถู ามนักเรียนว่าถ้ารอบแรกนักเรียนโยนลกู เตา๋ ได้ 4 แตม้ ครัง้ ที่สองนักเรียนโยนได้ 3 แตม้ 2. เครอื่ งมือ ตวั หมากของนักเรียนอย่ทู ่หี มายเลขอะไร (7) ครสู าธิตการเดินหมากบนแผน่ เกมที่ตดิ อยู่บนกระดาน 2.1 แบบฝกึ หัด 2.4 ด้านความรู้ แลว้ ถ้าโยนลกู เตา๋ ได้อีก 3 แต้ม ตัวหมากของนักเรยี นอยูท่ ห่ี มายเลขอะไร (10) ครูสาธิตการเดินหมาก 2.2 แบบประเมินทกั ษะและ เพอ่ื ให้นกั เรยี นสามารถหา บนแผน่ เกมท่ีติดอย่บู นกระดาน กระบวนการทางคณติ ศาสตร์ 3. เกณฑ์ ผลบวกโดยใช้เสน้ จานวน 3.1 ผลงานมคี วามถูกตอ้ งไม่น้อยกว่า ด้านทักษะและกระบวนการทาง รอ้ ยละ 80 คณิตศาสตร์ 3.2 คะแนนรวมด้านทกั ษะและ กระบวนการทางคณติ ศาสตร์ไมน่ ้อย เพ่ือใหน้ ักเรียนสามารถส่ือสาร กว่ารอ้ ยละ 60 ส่อื ความหมายทางคณติ ศาสตร์

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๕ ช้ัน ป.๑ หนว่ ยที่ ๒ การดาเนินการของจานวน เวลา ๑ ชวั่ โมง 32 หนว่ ยย่อยท่ี ๒.๑ เรอ่ื ง การบวก การลบ 4 เดนิ ไปอีก 3 ได้เทำ่ ไร ครเู ขยี นแสดงจำนวนบนเส้นจำนวนได้ดงั น้ี ครูแนะนาการเขียนเป็นประโยคสญั ลักษณ์ได้ 4 + 3 = 7 ครจู ัดกจิ กรรมทานองเดียวกนั อีก 2 – 3 ตวั อยา่ งเช่น - 5 เดนิ ไปอีก 1 ได้เทา่ ไร เขยี นเป็นประโยคสัญลักษณ์ได้ 5 + 1 = 6

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ ๕ ชั้น ป.๑ หนว่ ยท่ี ๒ การดาเนินการของจานวน เวลา ๑ ชว่ั โมง 33 หนว่ ยย่อยที่ ๒.๑ เรอ่ื ง การบวก การลบ - 8 เดินไปอีก 2 ได้เทา่ ไร เขยี นเป็นประโยคสญั ลกั ษณไ์ ด้ 8 + 2 = 10 3. ครูเขียนโจทย์การบวกและเส้นจานวนบนกระดาน พร้อมแจกแถบกระดาษเส้นจานวน 3 เสน้ ให้นักเรียนชว่ ยหาผลบวกโดยใชเ้ ส้นจานวนดงั น้ี - 6+1= - 7+2= - 3+2=

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) กลุม่ สาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๕ ชั้น ป.๑ หนว่ ยที่ ๒ การดาเนินการของจานวน เวลา ๑ ชว่ั โมง 34 หน่วยย่อยที่ ๒.๑ เร่ือง การบวก การลบ จำกนน้ั ใหน้ ักเรยี นทำแบบฝึกหัด 2.4 ขั้นสรุป 4. ครูแจกแถบกระดาษเสน้ จานวนใหน้ ักเรยี นทกุ คน และกาหนดโจทยก์ ารบวกให้ 1 ขอ้ เชน่ 5 + 3 =  ให้นักเรียนหาผลบวกโดยใชเ้ ส้นจานวน จากนั้นสมุ่ นักเรียนออกมาเขียนแสดงการหาผลบวก บนกระดาน แลว้ รว่ มกันสรุปว่าเราสามารถใชเ้ สน้ จานวนในการหาผลบวก

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) ขัน้ นำ แผนกำรจัดกำรเรยี นรทู้ ี่ ๖ ข้ันสอน 35 ขนั้ สรปุ แนวกำรจดั กจิ กรรมกำรเรียนรู้ กำรวดั และประเมินผล ทบทวนเกี่ยวกับการเขียนประโยคสญั ลกั ษณ์การบวก การหาผลบวกโดยใชก้ ารวาดรูป แบบฝกึ หดั 2.5 ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั สรปุ เก่ยี วกบั การหาผลบวกโดยใชก้ ารวาดรูป - ประเมินจากการตอบคาถามและการทาแบบฝกึ หดั 2.5 - ประเมินจากการส่ือสาร และส่ือความหมายทางคณติ ศาสตร์

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) กลุ่มสำระกำรเรียนรูค้ ณิตศำสตร์ แผนกำรจัดกำรเรียนรทู้ ี่ ๖ ช้ัน ป.๑ หน่วยท่ี ๒ กำรดำเนนิ กำรของจำนวน เวลำ ๑ ชวั่ โมง 36 หนว่ ยย่อยท่ี ๒.๑ เร่อื ง กำรบวก กำรลบ ขอบเขตเนื้อหา กิจกรรมกำรเรียนรู้ สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ขั้นนำ การหาผลบวกโดยใช้การวาดรปู 1. บัตรภาพ 1. ครทู บทวนเกย่ี วกับการเขียนประโยคสญั ลักษณก์ ารบวก โดยตดิ ภาพสถานการณ์เกยี่ วกับการบวก 2. แบบฝึกหดั 2.5 สาระสาคัญ จานวนสองจานวน ใหน้ ักเรียนบอกสิง่ ท่ีเห็นจากภาพ บอกจานวนทัง้ หมด และเขียนประโยคสญั ลักษณ์ การบวกเชน่ การประเมนิ 1. การวาดรูปเป็นวธิ ีหนง่ึ ท่ชี ่วยใน การหาผลบวก เชน่ 2 + 3 =  - มลี กู โปง่ สเี ขียว 5 ลกู 1. วิธกี าร หาผลบวกโดยการวาดรปู จะได้ - มีลูกโปง่ สีฟา้ 5 ลกู 1.1 ตรวจแบบฝึกหัด - มลี กู โปง่ ท้ังหมด 5 + 5 = 10 ลกู 1.2 สงั เกตพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ ดังนน้ั 2 + 3 = 5 2. เครอ่ื งมือ จัดกจิ กรรมทานองเดยี วกันน้ีอีก 2 ตวั อยา่ ง 2.1 แบบฝึกหดั 2.5 จดุ ประสงคก์ ำรเรียนรู้ 1) 2) 2.2 แบบประเมนิ ทกั ษะและ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ด้ำนควำมรู้ ข้ันสอน 3. เกณฑ์ เพื่อให้นักเรียนสามารถหาผลบวก 3.1 ผลงานมีความถูกต้อง 2. ครูจัดกจิ กรรมโดยกาหนดสถานการณเ์ กี่ยวกับการบวกจานวนสองจานวน เช่น “มปี ู 5 ตวั เดนิ มาอีก1 ไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 80 ของจานวนสองจานวนทีผ่ ลบวกไมเ่ กนิ ตัว มีปูท้งั หมดกี่ตวั ” ให้นกั เรียนหาจานวนปทู งั้ หมด พร้อมเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การบวก 3.2 คะแนนรวมดา้ นทักษะและ 10 โดยการวาดรูป พร้อมเขียนเปน็ ครถู ามนักเรยี นว่าหาคาตอบมาได้อย่างไร นักเรียนอาจตอบว่านับต่อจาก 5 อีก 1 เป็น 6 ครแู นะนาวา่ กระบวนการทางคณติ ศาสตร์ ประโยคสัญลกั ษณก์ ารบวก นักเรยี นอาจใช้การวาดรูปเพ่ือหาคาตอบโดยอาจวาดปจู รงิ ๆ หรอื วาดวงกลมแทนจานวนปูกไ็ ด้ ครูวาดรูป ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 60 ด้ำนทกั ษะและกระบวนกำรทำง คณติ ศำสตร์ เพื่อให้นักเรยี นสามารถสื่อสารและ ส่อื ความหมายทางคณติ ศาสตร์

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สาำ หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) กลุ่มสำระกำรเรยี นรคู้ ณิตศำสตร์ แผนกำรจดั กำรเรยี นรทู้ ี่ ๖ ช้ัน ป.๑ หนว่ ยที่ ๒ กำรดำเนนิ กำรของจำนวน เวลำ ๑ ชวั่ โมง 37 หนว่ ยย่อยที่ ๒.๑ เรอ่ื ง กำรบวก กำรลบ ปูบนกระดาน ดังรูปท่ี 1 และใหต้ ัวแทนนักเรยี นวาดรปู วงกลมแทนจานวนปูบนกระดานดังรปู ท่ี 2 รูปที่ 1 รปู ท่ี 2 ครูสุม่ นกั เรยี นออกมาเขียนประโยคสัญลักษณ์ จะได้ 5 + 1 = 6 จากนนั้ ครูยกตัวอยา่ งเพม่ิ อีก 2 – 3 ตัวอยา่ ง ใหน้ ักเรยี นทกุ คนวาดรปู เพ่ือหาคาตอบ พร้อมเขียนประโยคสญั ลักษณ์การบวกในสมุด เช่น - ฟ้าเลีย้ งแมวสดี า 2 ตวั เล้ยี งแมวสีขาว 3 ตัว ฟา้ เลยี้ งแมวทง้ั หมดก่ีตวั - ในตะกร้ามมี ะมว่ งดบิ 5 ผล มมี ะมว่ งสุก 2 ผล ในตะกร้ามีมะมว่ งทัง้ หมดกีผ่ ล - มีผีเสอ้ื 7 ตัว บนิ มาอกี 1 ตัว มผี ีเสอื้ ทัง้ หมดกี่ตวั ครูสุ่มนกั เรยี นออกมาวาดรูปและเขยี นประโยคสญั ลักษณก์ ารบวกบนกระดาน จะได้ 1) หรอื เขียนประโยคสัญลักษณ์การบวกได้ 2 + 3 = 5 ครถู ามว่ามีแมวทั้งหมดกต่ี ัว (5 ตวั ) ครเู ขียนสรปุ บนกระดานว่า “มีแมวท้ังหมด 5 ตวั ”

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) กลุม่ สำระกำรเรยี นรูค้ ณติ ศำสตร์ แผนกำรจัดกำรเรยี นร้ทู ่ี ๖ ชั้น ป.๑ หนว่ ยที่ ๒ กำรดำเนนิ กำรของจำนวน เวลำ ๑ ชว่ั โมง 38 หน่วยย่อยที่ ๒.๑ เร่ือง กำรบวก กำรลบ 2) หรือ เขียนประโยคสัญลักษณ์การบวกได้ 5 + 2 = 7 ครูถามว่าในตะกร้ามีมะมว่ งทง้ั หมดกผี่ ล (7 ผล) ครเู ขียนสรุปบนกระดานว่า “ในตะกร้ามมี ะม่วงท้ังหมด 7 ผล” 3) หรือ เขียนประโยคสญั ลักษณ์การบวกได้ 7 + 1 = 8 ครถู ามวา่ มผี ีเสอื้ ทั้งหมดกต่ี ัว (8 ตัว) ครเู ขียนสรปุ บนกระดานว่า “มผี ีเส้ือท้ังหมด 8 ตัว” 3. ครตู ดิ ภาพสถานการณก์ ารบวกบนกระดาน ใหต้ ัวแทนนักเรียนเขียนจานวนในประโยคสัญลักษณ์ ให้สมบูรณ์

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สาำ หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้คณิตศำสตร์ แผนกำรจดั กำรเรยี นรูท้ ี่ ๖ ช้นั ป.๑ หน่วยท่ี ๒ กำรดำเนินกำรของจำนวน เวลำ ๑ ชว่ั โมง 39 หน่วยย่อยท่ี ๒.๑ เรอ่ื ง กำรบวก กำรลบ 1) 34 2) ? 3+4 = 3) 54 ? 5+4 = 4? 7 4+ = 7

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) กลุม่ สำระกำรเรยี นรคู้ ณติ ศำสตร์ แผนกำรจัดกำรเรยี นรทู้ ี่ ๖ ชน้ั ป.๑ หน่วยที่ ๒ กำรดำเนนิ กำรของจำนวน เวลำ ๑ ชวั่ โมง 40 หน่วยย่อยท่ี ๒.๑ เรื่อง กำรบวก กำรลบ 4) ?6 9 + 6 =9 4. ครูเขียนประโยคสญั ลกั ษณก์ ารบวกบนกระดาน ใหต้ วั แทนนักเรียนวาดภาพเพื่อหาคาตอบ เชน่ 1) 1 + 5 = 2) 0 + 7 =


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook