490 474890 ใบความรู้ เร่ือง อิทธิพลของอารยธรรมอนิ เดยี ในภูมภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ ดินแดนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งอยู่ระหว่างประเทศอินเดียและประเทศจีน ซ่ึงเป็นดินแดนแห่ง อู่อารยธรรมยิ่งใหญ่ของเอเชีย ทั้งสองประเทศนี้มีการติดต่อค้าขายกันมาอย่างยาวนานโดยใช้เส้นทางบกและ เส้นทางทางทะเล อีกท้ังประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เองมีสินค้าท่ีเป็นท่ีต้องการสาหรับชาวอินเดีย เปอร์เซยี เช่น เครอ่ื งเทศ ไมห้ อม ยาไม้หอม และทองคา เหตุการณ์ที่เป็นแรงกระตุ้นสาคัญที่ทาให้เกิดการเพิ่มปริมาณการค้าขายระหว่างชาวอินเดียและ ชาวเอเชียตะวันออกเฉยี งใตค้ ือ แตเ่ ดมิ อินเดียได้ซือ้ สินคา้ ฟุ่มเฟือยโดยเฉพาะทองคาในบรเิ วณเมดเิ ตอร์เรเนียน และเอเชียกลาง แต่ราวพทุ ธศตวรรษท่ี 4 – 5 ไดเ้ กิดวกิ ฤตการณท์ างการเมืองขน้ึ ในแถบน้ี ทาใหก้ ารคมนาคม ในแถบนี้ถูกตัดขาด อินเดียไม่อาจซื้อทองคาในไซบีเรียได้อีกต่อไป จึงหันไปซ้ือทองคาในโรมันจนทาให้ เศรษฐกิจโรมนั กระทบกระเทอื นไม่อาจขายทองให้อินเดียได้อีก ดว้ ยเหตุน้ีอินเดยี จงึ เดินทางมาเอเชียตะวันออก เฉยี งใต้เพอื่ หาแหล่งท่ีซือ้ ทองคาใหม่ และเรยี กดนิ แดนแถบนว้ี า่ “สวุ รรณภูมิ” การเดินเรือมาค้าขายแต่ละคร้ังต้องรอช่วงลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดมา ในระยะเวลาช่วงเดือน ตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ และ การกลับก็ต้องรอลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือในช่วงเดือนพฤษภาคม ถึงกลางเดือนตุลาคมพัดกลับ ทาให้เอเชียตะวันออกเฉียงใต้กลายเป็นจุดจอดพักเรอื เพ่ือรอและหลบลมมรสุม เป็นท่ีขนถ่ายสินค้าเติมเสบียง และกลางเป็นศูนย์กลางทางการค้าท่ีสาคัญในท่ีสุด การเดินเรือแต่ละคร้ังมิได้ มีเพียงแต่พ่อค้า ยังมีนักบวชเดินทางร่วมมากับเรือด้วยเพื่อประกอบพิธีให้กับพ่อค้าเหล่าน้ัน ดังน้ันในช่วง ระหว่างการรอลมมรสุม จึงมกี ารถ่ายทอดวฒั นธรรมให้แก่กัน ชาวเอเชียตะวันออกเฉยี งใตจ้ ึงรับเอาวฒั นธรรม ของชาวอินเดยี มาผสมผสานเข้ากบั วัฒนธรรมของตนเอง จนกลายเป็นรากฐานสาคัญ อิทธพิ ลของอารยธรรมอนิ เดียในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อทิ ธิพลด้านอักษรศาสตร์ เช่น ตัวอกั ษรปัลลวะแบบท่ีนิยมใช้ในอินเดียภาคใต้ในสมัยราชวงศป์ ัลลวะ (พุทธศตวรรษที่ 11 - 12) ดังได้พบจารึกโบราณภาษาสันสกฤตท่ัวดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อีกทั้ง ภาษาสันสกฤตซึง่ เป็นภาษาชั้นสงู ท่ีพวกพราหมณ์ใช้ และยังคงมีบทบาทอยู่โดยได้ปะปนอยู่ในแต่ละภาษาของ แต่ละประเทศ และงานวรรณกรรมในศาสนาพราหมณ์ ได้แก่ คมั ภีร์พระเวท ซง่ึ นกั บวชในศาสนาพราหมณย์ ัง ใช่เปน็ หลักคาสอน ตารา ที่ใช้มาจนถึงปัจจบุ นั อทิ ธิพลด้านศิลปกรรม ในรูปแบบของสถาปัตยกรรม งานประติมากรรม และงานจิตกรรม ซึ่งถือว่า เป็นหลักฐานสาคญั ทเี่ ปน็ รูปธรรมทท่ี าใหเ้ ราทราบว่า ชาวเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้รบั เอาวฒั นธรรมอินเดียมาใน สมัยใด หากพบหลักฐานประเภทน้ีในเมืองใดเป็นจานวนมาก ๆ ก็ทาให้สามารถสันนิฐานได้ว่าเมืองนั้นเป็น เมืองแรกรับวัฒนธรรม เป็นเมืองท่าเป็นศูนย์กลางทางการค้าที่สาคัญ ศูนย์กลางการปกครอง ฯลฯ ในงาน สถาปัตยกรรม ส่วนใหญ่แล้วจะได้รับอิทธิพลการก่อสร้างเน่ืองในศาสนา เช่น เทวสถานต่าง ๆของ ศาสนา พราหมณ์เพ่ือใช้ในการประกอบพิธีบูชาเทพเจ้า ในงานประติมากรรมเทวรูปศาสนาพราหมณ์ จะปรากฏการ สร้างมหาเทพท้ังสามพระองศ์ คือ พระพรหม พระนารายณ์ พระอิศวรหรือพระศิวะ ลักษณะของงาน
491 447991 ประติมากรรมที่พบบในเออเเชียตะววันนออออกกเเฉฉียยี งงใใตต้ค้คืออื มมีลลี ักักษษณณะะเเดด่นน่ ๆ ๒2 แบบคือ แบบคาดผ้าคาดเอวแบบเฉียง บิดเป็นเกลียวซึ่งคล้ายคลึงกับเทวรูปในศิลปะสมัยหลังคปุ ตะ คือ สมัยราชวงศ์ปัลลวะทางภาคตะวันออกเฉียง ใต้ของอินเดียราวพุทธศตวรรษที่ 12 และลักษณะแบบคาดผ้าคาดเอวแบบตรง เทวรูปในศาสนาพราหมณ์ รวมถงึ ศวิ ลึงคถ์ ูกพบมาใกนในเขเมขรมรไทไยทยพมพา่ มา่ช วชาวา อิทธิพลด้านวัฒนธรรมประเพณี คติ ความเชื่อ และศาสนา โดยเฉพาะศาสนาพราหมณ์ ชาวเอเชีย ตะวันออกเฉยี งใต้ในยคุ แรกสว่ นใหญ่นบั ถอื ศาสนาพราหมณ์ เมื่อกาลผ่านไป ศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม และ ศาสนาคริสต์ เข้ามา ชาวเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ก็ได้ผสมผสานศาสนาพราหมณ์กับศาสนาใหม่ ๆ เหล่านี้ ด้วยกัน จนกจลนากยลเปาย็นเศปา็นสศนาสทนมี่ าีรทูปี่มแีบรูปบแเฉบพบาเะฉตพวั าะเชต่นัวเฮชิน่นดูล-ัทชธวิฮาิน ใดนู-อชินวโาดในเี อชินียโซดึ่งนผีเสซมียผซส่ึงาผนสรมะผหสวาา่ นงระหว่าง ศาสนาฮนิ ดกู ับศาสนาดงั้่ เดิมของตน เขมรรับศาสนาพราหมณแ์ ลว้ ก็นาไปผสมผสานกับลัทธิฮนิ ดู - ชวา (เทวรา (ชเทาว) รแาลช้วาพ) แัฒลน้วาพจัฒนนศาาจสนนศาาพสรนาาหพมรณาห์ใมนณเข์ใมนรเขเปม็รนเศปา็นสศนาาสทนี่เากทื้อีเ่ กหอ้ื นหุนนอนุ าอน�ำานจากจษกัตษรัติยร์แิยล์แะลมะมากากดด้ว้วยยพพิธิธีกกี รรรรมมออันั เคร่งครัดสลับซับซ้อน ศาสนาพุทธในประเทศไทยก็มีพิธีกรรมของศาสนาพราหมณ์เจืออยู่ในเกือบทุกพิธีกรรม เปน็ ต้น อิทธิพลด้านการปกครอง ราวพุทธศตวรรษท่ี 5 เป็นต้นมา เมืองต่าง ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เริ่มขยายตัวใหญ่ขึ้น อันเป็นผลพวงมาจากการติดต่อค้าขายระหว่างชุมชน ดังน้ันจึงการต้ังหัวหน้าของแต่ละ ชุมชนเพ่ือรักษาความปลอดภัยคุ้มครองประชนชนของตนไม่ให้โดนรังแกจากชุมชนอื่น ๆ อีกทั้งขยายอาณา ของตนให้ใหญ่มากขึน้ ให้เพียงพอตอ่ การขยายตัวของประชากร จนเม่ือศาสนาพราหมณ์เผยแพรเ่ ข้ามา หัวหน้า ชุมชนเหล่านี้กาลังต้องการคาแนะนาจากผู้รู้ เพื่อแผ่ขยายอานาจ พวกพราหมณ์จึงได้เข้ามาเป็นที่ปรึกษา ให้คาแนะนาเกี่ยวกับหลาย ๆ ทาง เช่น ยกระดับให้ผู้นาการเป็นสมมุติเทพ เป็นองค์อวตารของเทพเจ้า สร้างความยาเกรงต่อสมาชิกในชุมชน ซึ่งข้อน้ีเป็นท่ีถูกใจผู้นาเป็นอย่างมาก ด้วยการบริหาร มีการนา การปกครองระบบศักดินา จตุสดมภ์และการปกครองหัวเมืองตามแบบอินเดียมาใช้ ในด้านกฎหมายก็ใช้ กฎหมายพระธรรมศาสตร์ การสร้างเมืองใช้อุดมคติแบบเป็นศูนย์กลางของจักรวาล ชุ มชนแห่งแรกท่ี กอ่ รร่า่างงสสรร้า้างงตตัวัวเปเปน็ ็นอาอณาณาจาักจรักแรแกรในกเใอนเเชอียเตชะียวตันะอวอันกอเอฉยีกงเฉใตีย้ งทใ่ไี ตด้ ้รทับี่ไวดฒั ้รนับธวรัฒรมนทธารงรศมาทสานงาศพารสานหามพณร์ าหมณ์ คือ อาณาจักรฟนู นั ในประเทศไทย อทิ ธิพลความเชอื่ ของศาสนาพราหมณ์มีส่วนสาคัญในการกาหนดรปู แบบการปกครอง ของไทย โดยเฉพาะอย่างย่ิงการเชิดชูความสาคัญของสถาบันกษัตริย์ในฐานะผู้ปกครองตามลัทธิเทวราชาที่ รับมาจากเขมรอีกทอดหน่ึงนั้น ถือว่ากษัตริย์ทรงใช้ทรงพระราชอานาจในการปกป้องและคุ้มครองให้อาณา ประชาราษฎรอ์ ยู่ร่มเย็นเปน็ สุขอันเป็นพระราชภาระของพระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ หนงั สืออ้างอิง ศวิ พร ชยั ประสทิ ธิกุล. ประวัตศิ าสตรต์ ะวันออกเฉียงใต้โดยสงั เขป. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์มหาวิทยาลยั รามคาแหง, 2549.
๔๙๒ แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี ๙ เรอ่ื ง อิทธพิ ลของชาตติ ะวันตกในภูมิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ (1) หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๒ เร่อื ง พัฒนาการของภูมิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ เวลา 1 ชว่ั โมง กล่มุ สาระการเรยี นรู้ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชา ประวัติศาสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 มาตรฐานการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื /แหลง่ เรยี นรู้ ส 4.2 ม.1/1 อธบิ ายพฒั นาการทางสงั คม เศรษฐกิจ ขั้นนา 1. หนังสือเรยี นประวตั ิศาสตร์ ม.1 และการเมืองของประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชีย 1. ครูเปิดภาพขนมหวานไทยประเภทต่าง ๆ และถามคาถามนักเรียนเพ่ือ 2. ภาพขนมหวานไทย ตะวันออกเฉียงใต้ นาเข้าสูบ่ ทเรยี น โดยผ้สู อนมแี นวคาถาม ดงั น้ี 3. ใบความรู้ เรื่อง อิทธิพลของชาติ สาระสาคญั ตะวันตกในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียง การเข้ามาของอารยธรรมจากภายนอกส่งผลให้เกิด ใต้ การปะทะสังสรรค์ทางวัฒนธรรมทั้งด้านบวกและ 4. ใบกิจกรรม เร่ือง อิทธิพลของชาติ ด้านลบ ส่งผลให้เกิดการเปล่ียนแปลงต่อวิถีชีวิตของ ตะวันตกในภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉยี ง ผูค้ นในพ้ืนท่ี ใต้ ขอบเขตเน้ือหา ภาระงาน/ชนิ้ งาน สาเหตุการเข้ามาของชาติตะวันตกในภูมิภาคเอเชีย นักเรียนร่วมกันศึกษาค้นคว้าข้อมูลชาติ ตะวันออกเฉียงใต้ และอิทธิพลของชาติตะวันตะใน ตะวันตกที่เข้ามาในเอเชียตะวันออก ดา้ นต่าง ๆ ตลอดจนผลกระทบทเ่ี กดิ ขึ้น เฉียงใต้ แล้วทาใบกิจกรรม เร่ือง อิทธิพล จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ข อ ง ช า ติ ต ะ วั น ต ก ใ น ภู มิ ภ า ค เ อ เ ชี ย ด้านความรู้ ทมี่ า : https://sites.google.com/site/rxbrureuxngkhnmthiy/_/rsrc/ ตะวนั ออกเฉียงใต้ 1. ระบุสาเหตุการเขา้ มาของชาติตะวันตกในภูมิภาค 11447722885500330044998811 เอเชียตะวันออกเฉียงใตไ้ ดอ้ ยา่ งถูกต้อง 2. อธบิ ายลักษณะอิทธิพลของชาตติ ะวันตกทสี่ ง่ ผล /home/prawati-khnm-thiy/77 00994400_full.jpg ต่อประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ได้อย่าง 1.1 “นักเรียนทราบหรือไม่ว่า ในภาพนี้มีขนมหวานชนิดใดบ้าง” สมเหตุสมผล (ขนมทองหยบิ ทองหยอด ลูกชบุ ขนมช้ัน) 1.2 “ขนมหวานเหล่านี้มีต้นกาเนิดมาจากที่ใด” (พิจารณาจากคาตอบ ของนักเรยี นโดยอยใู่ นดลุ ยพนิ ิจของครูผ้สู อน) 448902
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๙ เรอ่ื ง อิทธพิ ลของชาตติ ะวันตกในภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ (1) ๔๙๓ หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๒ เรือ่ ง พัฒนาการของภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เวลา 1 ชัว่ โมง กลุม่ สาระการเรียนรู้ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวชิ า ประวตั ิศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1 ด้านทักษะและกระบวนการ 1.3 “เพราะเหตุใดขนมหวานเหล่าน้ีจึงแพร่หลาย และเป็นที่นิยมมา จนถึงปัจจุบัน” (พิจารณาจากคาตอบของนักเรียนโดยอยู่ในดุลยพินิจของ 3. วิเคราะหผ์ ลดแี ละผลเสียของการเข้ามาของชาติ ครผู ู้สอน) ตะวนั ตกในภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ได้อย่าง 2. ครูกล่าวกับนักเรียนว่า “ขนมเหล่าน้ีเป็นตัวอย่างของอิทธิพลจากชาติ สมเหตุสมผล ตะวันตกที่เขา้ มามีอิทธิพลในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เราจะมาดูกัน ดา้ นคุณลกั ษณะ ต่อไปว่านอกจากนี้แล้วชาวตะวันตกยังนาอะไรเข้ามาให้เราอีกบ้าง และส่ิง 4. อภิปรายผลของการรับอิทธิพลชาติตะวันตกใน ต่าง ๆ เหลา่ น้ี สง่ ผลกระทบกบั เราอย่างไร” ภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้อย่างเหมาะสม ขน้ั สอน 3. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 – 5 คน คละตาม ความสามารถ จากนั้นนักเรียนร่วมกันศกึ ษาคน้ ควา้ ข้อมลู ชาตติ ะวนั ตกที่เข้า มาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยทากิจกรรมลงในใบกิจกรรม เรื่อง อิทธิพลของชาติตะวันตกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีหัวข้อ การศึกษา ดังนี้ 3.1 โปรตเุ กส 3.2 สเปน 3.3 องั กฤษ 3.4 ฝรงั่ เศส 3.5 ฮอลันดา โดยแต่ละเร่อื งท่ีไดร้ ับมอบหมายมหี วั ข้อสาคญั ในการศึกษาค้นควา้ ดังนี้ หวั ข้อท่ี ๑ สาเหตุ/วตั ถุประสงค์การเดินทางเข้ามาในภูมิภาคเอเชีย ตะวนั ออกเฉยี งใต้ 484193
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๙ เร่อื ง อิทธิพลของชาตติ ะวันตกในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ (1) ๔๙๔ หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๒ เร่ือง พัฒนาการของภูมภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ เวลา 1 ช่วั โมง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม รายวิชา ประวัตศิ าสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 หัวข้อที่ ๒ บทบาทในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (การเมือง / เศรษฐกิจ / สงั คมและวฒั นธรรม) หัวข้อท่ี ๓ ผลกระทบที่เกิดข้ึนจากการเข้ามาในภูมิภาคเอเชีย ตะวนั ออกเฉยี งใต้ (ผลดี / ผลเสยี ) จากนั้นครูสุ่มนักเรียนตัวแทนกลุ่มแต่ละกลุ่ม ออกมาเขียนสาระสาคัญ จากการศกึ ษาค้นคว้ากลุ่มหน้าช้ันเรียน 4. ครูและนักเรียนนอภิปรายร่วมกันเก่ียวกับอิทธิพลของชาติตะวันตกใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยครูให้นักเรียนร่วมกันพิจารณาจุดร่วม และจุดต่างของชาติตะวันตกประเทศต่าง ๆ ที่เข้ามาในภูมิภาคเอเชีย ตะวนั ออกเฉยี งใต้ จากนั้นร่วมกันสรปุ เปน็ ลกั ษณะร่วมของแต่ละชาติ ข้นั สรปุ 5. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับอิทธิพลของชาติตะวันตกใน ภูมภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ โดยผสู้ อนมแี นวคาถาม ดังน้ี 5.1 “สาเหตุ หรือวัตถุประสงค์ที่ชาติตะวันตกเข้ามาในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตเ้ ป็นเพราะเหตุใด” (พิจารณาจากคาตอบของนักเรียนโดย อยใู่ นดุลยพินจิ ของครผู สู้ อน) 5.2 “บทบาท หรือการดาเนินการของชาติตะวันตกภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้มีลักษณะเหมือน หรือแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร” (พิจารณาจากคาตอบของนักเรียนโดยอยู่ในดุลยพนิ ิจของครผู ้สู อน) 482 494
แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี ๙ เรือ่ ง อิทธพิ ลของชาติตะวนั ตกในภูมภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ (1) ๔๙๕ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๒ เรื่อง พัฒนาการของภูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ เวลา 1 ช่ัวโมง กลุม่ สาระการเรยี นรู้ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม รายวิชา ประวัติศาสตร์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 5.3 “การเข้ามาของชาติตะวันตกเหล่าน้ี ส่งผลอย่างไรต่อเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้” (พิจารณาจากคาตอบของนักเรียนโดยอยู่ในดุลยพินิจ ของครผู สู้ อน) 483
496 448946 การวัดและประเมินผล สง่ิ ทต่ี ้องการวัด/ประเมนิ วธิ กี าร เคร่อื งมอื ท่ีใช้ เกณฑ์ ด้านความรู้ ๑. ระบุสาเหตกุ ารเขา้ มาของชาติ - การถาม – ตอบ - คาถาม ๑. ดี : บอกสาเหตุ ตะวันตกในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวันออก - การทาใบกจิ กรรม - ภาพขนมหวานไทย นาเสนอ และเชื่อมโยง เฉยี งใต้ - ใบความรู้ เร่อื ง ความสมั พนั ธ์ของการเข้า อทิ ธิพลของชาติ มาของชาตติ ะวัน ตะวันตกในภูมิภาค ตกในภูมภิ าคเอเชีย เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี ง ตะวนั ออกเฉยี งใต้ไดอ้ ย่าง ใต้ ถกู ต้อง - ใบกจิ กรรม เรื่อง พอใช้ : บอกสาเหตุ อิทธพิ ลของชาติ นาเสนอ และเชอ่ื มโยง ตะวันตกในภูมภิ าค ความสมั พันธข์ องการเข้า เอเชยี ตะวันออกเฉยี ง มาของชาตติ ะวนั ใต้ ตกในภมู ิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ได้แต่ ขาดเหตผุ ลบางประการ ปรบั ปรงุ : ไม่สามารถบอก สาเหตุ นาเสนอ และ เชือ่ มโยงความ สัมพันธ์ของการเข้ามาของ ชาติตะวันตกในภูมิภาค เอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ได้ ๒. ดี : บอกลกั ษณะ ๒. อธิบายลกั ษณะอทิ ธิพลของชาติ อทิ ธพิ ลของชาติตะวันตก ตะวนั ตกทส่ี ่งผลต่อประเทศใน ที่ส่งผลตอ่ ประเทศใน ภมู ิภาคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ ภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออก เฉยี งใตไ้ ด้อยู่สมเหตุสมผล พอใช้ : บอกลักษณะ อิทธิพลของชาตติ ะวันตก ทีส่ ง่ ผลต่อประเทศใน ภูมิภาคเอเชียตะวนั ออก เฉยี งใต้ได้ แต่ไม่ สมเหตุสมผล
497 448975 ส่งิ ท่ีต้องการวดั /ประเมิน วิธีการ เครอ่ื งมือที่ใช้ เกณฑ์ ปรบั ปรุง : ไมส่ ามารถ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ บอกลักษณะอิทธพิ ลของ วิเคราะห์ผลดีและผลเสียของการ ชาติตะวันตกทส่ี ่งผลต่อ เขา้ มาของชาติตะวันตกในภมู ิภาค ประเทศในภูมิภาคเอเชยี เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ ตะวันออกเฉียงใต้ได้ - การถาม – ตอบ - คาถาม ดี : จาแนก และอธิบาย - การทาใบกิจกรรม - ใบความรู้ เรอ่ื ง ผลดแี ละผล อทิ ธพิ ลของชาติ เสียของการเขา้ มาของชาติ ตะวนั ตกในภมู ิภาค ตะวันตกในภมู ภิ าค เอเชยี ตะวันออกเฉยี ง เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ได้ ใต้ อย่างสมเหตุ - ใบกิจกรรม เรอ่ื ง สมผล อทิ ธพิ ลของชาติ พอใช้ : จาแนก และ ตะวนั ตกในภมู ิภาค อธิบายผลดีและผล เอเชียตะวนั ออกเฉียง เสยี ของการเขา้ มาของชาติ ใต้ ตะวันตกในภูมภิ าค เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ได้ แตข่ าดเหตุผลบาง ประการ ปรบั ปรงุ : ไมส่ ามารถ จาแนก และอธบิ ายผลดี และผลเสียของการเข้ามา ของชาตติ ะวนั ตกในภูมภิ าค เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ได้ ด้านคณุ ลกั ษณะ อภิปรายผลของการรับอิทธิพลชาติ - การถาม – ตอบ - คาถาม ดี : นาเสนอผลของการรับ ตะวันตกในภูมภิ าคเอเชียตะวันออก อทิ ธพิ ลชาติตะวันตกใน เฉยี งใต้ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ภูมภิ าคเอเชียตะวันออก เฉยี งใตไ้ ด้อย่างเหมาะสม พอใช้ : นาเสนอผลของ การรบั อทิ ธิพลชาติ ตะวนั ตกในภูมิ ภาคเอเชียตะวันออกเฉยี ง ใตไ้ ด้แต่ขาดเหตุผลบาง ประการ
498 449886 สิ่งทีต่ ้องการวดั /ประเมิน วธิ ีการ เคร่ืองมือท่ใี ช้ เกณฑ์ ปรับปรุง : ไมส่ ามารถ นาเสนอผลท่ีเกิดขึน้ จาก การเข้ามามีอิทธิพลของ อารยธรรมอินเดยี และการ เกลาอื รกเลรือบั กปรรับับสปรรับขสอรงรของ ภเภเออูมูมเเชชภิิภยียีาาคตตคะะววนัันออออกกเเฉฉียยี งงใใตต้ไ้ไดด้้ บนั ทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปญั หาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................... ...... ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................. .............................................................................. ลงชอื่ ....................................................... ผสู้ อน (.......................................................) วันที่ ............ เดอื น ...................... พ.ศ. ........... ความคดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะของผบู้ ริหารหรือผู้ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย ............................................................................................................................. .............................................. .................................................................................... ....................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ลงชอ่ื ....................................................... ผู้ตรวจ (.......................................................) วันที่ ............ เดอื น ...................... พ.ศ. ...........
499 484979 ใบความรู้ เร่ือง อิทธิพลของชาติตะวนั ตกในภูมิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ (ก่อนคริสตศ์ ตวรรษที่ 19) ก่อนคริสต์ศตวรรษท่ี 19 พ่อค้าต่างชาติท่ีเดินทางเข้ามาค้าขายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ส่วนใหญ่ คือ จีน อินเดีย อาหรับ โดยเฉพาะพ่อค้าอาหรับได้ผูกขาดสินค้าเคร่ืองเทศ ซ่ึงเป็นสินค้าท่ีชาวตะวันตกนิยม เพราะสามารถนาไปใช้ปรุงอาหารและถนอมอาหารมิให้เนา่ เสียเร็ว การผูกขาดเคร่ืองเทศของพ่อคา้ อาหรบั ทา ให้สินค้าประเภทนีใ้ นยโุ รปมีราคาสงู มาก พ่อค้าชาวยุโรปต้องการสินค้าจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่ไม่สามารถเดินทางเข้ามาค้าขายได้ โดยตรง เพราะยังไม่ทราบเส้นทางเดินเรือจากยุโรปมายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พวกพ่อค้ายุโรปได้แต่ เดินทางค้าขายกบั อินเดยี และจนี โดยใชเ้ ส้นทางการคา้ ทางบกที่ทรุ กนั ดารเทา่ นน้ั มูลเหตทุ ชี่ าติตะวันตกตอ้ งการเดนิ ทางมายังเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ สรุปไดด้ ังน้ี 1. พ่อค้าชาวยุโรปต้องการซ้ือสินค้าเคร่ืองเทศจากแหล่งผลิตโดยตรง โดยไม่ตรงผ่านมือพ่อค้าคน กคลนากงลคางอื คชือาวชอาาวหอราับหรับ 2. การค้าทางเรอื เสียค่าใช้จา่ ยนอ้ ย มีความเสี่ยงนอ้ ยกวา่ การคา้ ขายทางบก 3. สันตะปาปาท่ีกรุงโรม ทรงมีนโยบายสนับสนุนกษัตริย์ของประเทศในยุโรป ซึ่งนับถือคริสต์ศาสนา นกิ ายโรมันคาทอลกิ โดยเฉพาะโปรตเุ กส สเปน และฝร่ังเศส ให้สง่ มชิ ชันนารีเดินทางไปเผยแพรศ่ าสนาในต่าง แดน 4. เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นดินแดนที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติ ประชากรมีอยู่มาก และเจริญรุง่ เรอื งทางดา้ นอารยธรรมอยู่แล้ว 5. ยุโรปก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ สามารถต่อเรือเดินทางทะเลขนาดใหญ่ ประดิษฐ์เคร่ืองมือเพ่ือใช้ ในการเดินเรอื ทท่ี ันสมยั และปลอดภัยมากข้ึน อกี ท้ังพระมหากษตั รยิ ์ในทวีปยุโรปสนับสนนุ การค้นหาดินแดนท่ี อยหู่ า่ งไกล จงึ กระตุ้นนกั เดินเรอื ใหส้ นใจเดินทางไปยังดินแดนต่าง ๆ การขยายอทิ ธิพลของประเทศต่าง ๆ โปรตุเกส โปรตุเกสเป็นชาติแรกที่สามารถแล่นเรือจากยุโรปมายังอินเดีย โดยอ้อมแหลมแอฟริกา มาถงึ เมอื งกาลกิ ูฏในอนิ เดียเป็นคร้ังแรกเมื่อ ค.ศ. 1498 ต่อมาไดเ้ ขา้ ยึดครองเมืองกัว ในอินเดยี ศรีลงั กา และ เอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ ใน ค.ศ. 1981 โปรตุเกสยึดมะละกาซึ่งเป็นศูนย์กลางการค้าเคร่ืองเทศท่ีสาคัญในสมัยน้ัน โปรตุเกส ประสบความสาเร็จในการค้าเครื่องเทศ จึงขยายอานาจของตนเข้าไปในดินแดนหมู่เกาะของประเทศ
500 485800 อนิ โดนีเซยี ในปจั จุบนั เชน่ หมูเ่ กาะโมลกุ กะหรือหมู่เกาะเครอ่ื งเทศ และสรา้ งความยิ่งใหญ่ทางด้านกองทัพเรือ สามารถทาลายระบบการค้าแบบผูกขาดของชาติอาหรับได้สาเร็จ และได้ผูกขาดการค้าในภูมิภาคน้ีแทน อาหรับ รวมทั้งได้เข้าไปมีบทบาทสาคัญในทางการเมืองของอาณาจักรต่าง ๆ เช่น เป็นทหารอาสาสมัครใน กองทัพไทยและพม่า เผยแพร่ความรู้ทางวิทยาการแก่ชาวพ้ืนเมืองโดยเฉพาะด้านการทหารแบบสมัยใหม่ นอกจากน้ันโปรตุเกสยังส่งมิชชันนารีเผยแพร่คริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิกในเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ จีน และญปี่ ุ่น เป็นตน้ โปรตุเกสได้ขยายอิทธิพลไปถึงจีนและญ่ีปุ่น จัดต้ังศูนย์กลางการค้าท่ีมาเก๊าเพ่ือเป็นศูนย์กลางการค้า ในภูมิภาคนี้ โปรตุเกสมีอิทธิพลทางการค้าและการเมืองในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชีย ตะวันออกไดน้ านเกอื บ 100 ปี จึงเส่อื มอานาจลงเมอ่ื ตน้ ครสิ ต์ศตวรรษท่ี 16 เนือ่ งจากฮอลนั ดาและองั กฤษมี ความเข้มแข็งทางกองทัพเรือเหนือกว่าโปรตุเกส และได้มีนโยบายขยายอิทธิพลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โปรตเุ กสทาสงครามพา่ ยแพแ้ ก่ฮอลนั ดาหลายครง้ั จนตอ้ งสญู เสียมะละกาใหแ้ กฮ่ อลันดา สเปน สเปนได้ส่งนักเดินเรือผู้ย่ิงใหญ่ ช่ือ เฟอร์ดินานด์ แมกเจลแลน นากองเรือออกจากสเปนอ้อม ทวีปอเมริกาเข้ามหาสมุทรแปซิฟิกมาถึงหมู่เกาะฟิลิปปินส์เป็นคร้ังแรกเม่ือ ค.ศ. 1521 ต่อมาเกิดขัดแย้งกับ ชาวพ้ืนเมืองถึงข้ันสู่รบกัน แมกเจลแลนถูกฆ่าตาย ลูกเรือท่ีเหลือจึงนาเรือหนีออกจากฟิลิปปินส์เดินทางกลับ ผา่ นช่องแคบมะละกา มหาสมุทรอินเดีย อ้อมแหลมแอฟริกากลับไปถึงสเปนไดส้ าเร็จ นับเป็นการเดินทางโดย ทางเรอื รอบโลกไดส้ าเร็จเปน็ ครั้งแรก ต่อมากษัตริย์สเปนได้ส่งเรือรบพร้อมด้วยกาลังทหารเดินทางมายังฟิลิปปินส์อีกหลายคร้ังและเข้ายึด เกาะต่าง ๆ สเปนได้เข้าปกครองชาวฟิลิปปินส์ และได้เผยแผ่คริสต์ศาสนาแก่ชาวพื้นเมืองบาทหลวงชาวสเปน ได้เข้าไปสอนศาสนาชาวพ้ืนเมืองซ่ึงส่วนใหญ่ยังนับถือผีสางเทวดา และได้เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชาวฟิลิปปินส์ ดว้ ยการจดั ตงั้ โรงเรียนสอนหนังสือและสร้างวัฒนธรรมแบบสเปนแก่ชาวพืน้ เมอื ง ทาให้ชาวฟิลปิ ปินส์ส่วนใหญ่ ของประเทศหันไปนับถือคริสต์ศาสนานิกายโรมนั คาทอลิกตงั้ แตอ่ ดีตจนถึงปัจจุบัน ยกเว้นบางเกาะทางภาคใต้ ซง่ึ นบั ถือศาสนาอสิ ลาม ฮอลันดา ฮอลันดาจัดตั้งบริษัทอินเดียตะวันออก เพ่ือค้าขายและขยายอานาจในดินแดนโพ้นทะเล ฮอลันดาสนใจการค้าเคร่ืองเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะหมู่เกาะอินดัสตะวันออกหรือหมู่เกาะ อินโดนีเซียในปัจจุบันซ่ึงอุดมสมบูรณ์ไปด้วยเคร่ืองเทศ เรือสินค้าฮอลันดาพร้อมด้วยเรือรบคุ้มครองได้ขยาย อานาจในอินโดนีเซียด้วยการค้าขายกับชาวพ้ืนเมือง พร้อมท้ังถือโอกาสเข้าแทรกแซงทางการเมืองด้วยการ ช่วยเหลือทางทหารแก่สุลต่านซ่ึงเป็นผู้ปกครองเกาะ ฮอลันดาจึงได้รับผลประโยชน์ทางการค้าและเข้าไป ปกครองเกาะบางเกาะ ด้วยวิธีการดังกล่าวเป็นผลทาให้ฮอลันดาสามารถผูกขาดการค้าในหมู่เกาะอินโดนีเซีย และขยายอิทธิพลทางการค้าในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ ภายหลังเม่ือฮอลันดาทาสงครามทางเรือชนะ โปรตเุ กสและอังกฤษ ฮอลันดากส็ ามารถยึดครองหมู่เกาะตา่ ง ๆ ในอนิ โดนีเซยี ไว้ใต้อานาจของตนไดห้ มดสนิ้
501 458091 อังกฤษ อังกฤษจัดตั้งบริษัทอินเดียตะวันออกเพื่อค้าขายในดินแดนโพ้นทะเล และเข้ามาค้าขายใน เอเชียตะวนั ออกเฉียงใตภ้ ายหลังฮอลนั ดา 5 ปี ในระยะแรกพ่อคา้ อังกฤษไม่สามารถค้าขายแข่งขันกับฮอลนั ดา ได้ ประกอบกับกองทัพเรืออังกฤษยังไม่เข้มแข็งเท่าฮอลันดา อังกฤษจึงต้องถอนตัวออกจากการค้าในเอเชีย ตะวนั ออกเฉยี งใตไ้ ปช่วงระยะหนงึ่ ฝรั่งเศส ฝร่ังเศสจัดตั้งบริษัทอินเดียตะวันออกเพื่อทาหน้าที่ค้าขายและขยายอานาจ เช่นเดียวกับ อังกฤษและฮอลนั ดา นอกจากฝรั่งเศสสนใจการค้าในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้แล้ว ฝรง่ั เศสยังสนใจเผยแผค่ ริสต์ ศาสนานกิ ายโรมนั คาทอลิก เช่นเดียวกบั โปรตุเกสและสเปนอีกดว้ ย
502 459002 ใบกิจกรรม เรอ่ื ง อิทธพิ ลของชาตติ ะวนั ตกในภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ (ก่อนคริสต์ศตวรรษท่ี 19) ประเทศ สาเหต/ุ วัตถุประสงค์ บทบาทในภมู ิภาค ผลกระทบท่ีเกิดขน้ึ โปรตุเกส ............................................... ............................................... ............................................... สเปน ............................................... ............................................... ............................................... ฮอลนั ดา ............................................... ............................................... ............................................... อังกฤษ ............................................... ............................................... ............................................... ฝรงั่ เศส .......................................... .......................................... .......................................... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... .......................................... .......................................... .......................................... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... .......................................... .......................................... .......................................... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... .......................................... .......................................... .......................................... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... .......................................... .......................................... ..........................................
สขตกหลาะอนเวมุ่บหว่ันสเยตขอากุกตรอาาะเกรนรกเเเ้ือราฉขยีหรีย้าเนามงรรใียาตทู้ขน้ชี่อร๒่วงู้ สงชหงัาคตลมิัตงศะ(กึวตันษ้ังแตาตกศ่คใานรสแภิสนผูมตนาิภ์ศกแตาาคลวรเะรจอวรดัเฒัษชกทียนา่ีรธเรรรียมนรทู้ เท่ีร1อ่ื่ีม๐งา0พ:เdรhัฒ่อื/tTงนphาอseก:ิท_/า/ธFรuริพrขepาลอnยloขงcวภaอhชิ dูมง_าช.ภิWwปาาoiตkครliิตะเfmอ_วะaเeัตวชndนัศิยีdiาตaต_สก.ะoTตใวhrนรgันe์ภ/อ_wมูอSiิภkiกaiาเpmฉคeียเedองsiเใeaชต/_ยีc้Lตoaะmmวmbัน.อojpอngกs/เฉ0ีย/งใต้ การอภปิ รายเก่ียวกับอิทธิพลของชาติ ตะวันตกในดินแดนเอเชีย๕ต๐ะว๓ันออก (2) เฉียงใต้ (ตงั้ แตค่ ริสต์ศตวรรษที่ 19)เวลา 1 ช่วั โมง ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 1 19) ลักษณะของอิทธิพลที่เข้ามา และผลกระทบท่ีมาตรฐานการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สอ่ื /แหลง่ เรยี นรู้ ส 4.2 ม.1/1 อธิบายพัฒนาการทางสงั คม เศรษฐกจิ ข้นั นา 1. หนงั สอื เรยี นประวัติศาสตร์ ม.1 และการเมืองของประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชีย 1. ครเู ปิดภาพเหตุการณ์สาคัญยุคล่าอาณานิคมในภูมภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ 2. ภาพเหตุการณ์สาคัญยุคล่าอาณา ตะวนั ออกเฉียงใต้ ชว่ งคริสต์ศตวรรษท่ี 19 นิคมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง เกดิ ขนึ้ ในประเทศตา่ ง ๆการเข้ามาของอารยธรรมจากภายนอกส่งผลให้เกิด ใต้ช่วงครสิ ต์ศตวรรษท่ี 19 สาระสาคัญ 3. ใบความรู้ เร่ือง อิทธิพลของชาติ ตะวันตกในดินแดนเอเชียตะวันออก จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ด้านลบ ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อวิถีชีวิตของ เฉยี งใต้ (ตงั้ แต่ครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 19) การปะทะสังสรรค์ทางวัฒนธรรมทั้งด้านบวกและ ผู้คนในพนื้ ท่ี ทมี่ า : https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/0/ ภาระงาน/ช้นิ งาน ขอบเขตเนอื้ หา 0d/The_French_Wolf_and_The_Siamese_Lamb.jpg การอภปิ รายเกี่ยวกับอิทธิพลของชาติ ตะวันตกในดินแดนเอเชียตะวันออก ด้านความรู้สาเหตุการเข้ามาของชาติตะวันตกในภูมิภาคเอเชีย เฉยี งใต้ (ต้ังแตค่ ริสตศ์ ตวรรษท่ี 19) ตะวันออกเฉียงใต้ช่วงหลัง (ต้ังแต่คริสต์ศตวรรษท่ี 1. ระบุสาเหตุการเข้ามาของชาตติ ะวันตกในภูมิภาค19) ลักษณะของอิทธิพลที่เข้ามา และผลกระทบท่ี เกิดขน้ึ ในประเทศต่าง ๆ เอเชียตะวนั ออกเฉียงใตไ้ ดอ้ ยา่ งถูกต้องด้านความรู้ ๕๐๔ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ เวลา 1 ชั่วโมง ที่มา : ht ps://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/1. ระบุสาเหตุการเข้ามาของชาตติ ะวแันผตนกใกนาภรจูมดัิภกาคารเรยี นรทู้ ่ี 1๐ เรื่อง อิทธพิ ลของชาติตะวันตกในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ (2) ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 เหอนเชว่ ียยตกะาวรันเรอยี อนกรเทู้ฉีย่ ๒งใตไ้ ด้อย่างถูกต้อง 2. อธิบายลักษณะของอิทธิพลชาติตะวันตกในก2ล.่มุอสธาิบราะยกาลรักเรษยี ณนะรู้ขสองั คงอมิทศึกธษิพาลชศาสตนิตาะวแันละตวกฒั ในธรรม thumb/9/91/Siamese_ter itorial_concessions_%281867-ภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ไดอ้ ย่างสมเหตสุ มผล ภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ไดอ้ ย่างสมเหตสุ มผลด้านทักษะและกระบวนการ เรthอ่ืทuง่ีมmาพb:ัฒ/hน9ttา/p9กsา1:/ร/ร/ขSuาอiยapงmวlภoิชeูมaาsdภิ eป.าw_ครtiะเkeอวirmเrัตชitิศeoียdาrตสiiaaะตl.วo_รนั cr์ gอo/อnwกciekเฉispียseiงodใnตias้ /_c%o2m88m118o86n76s-7/ - 119099%29_with_flags.gif/2220px- Siamese_territorial_concessions_%28186677-190099%29_with_flags.gif 3. วิเคราะห์ผลดีและผลเสียจากอิทธิพลชาติ 2. จากนั้นครูผู้สอนนาเข้าสู่บทเรียนดังนี้ “ภาพดังกล่าวข้างต้นท้ัง 2 ภาพ เป็น ตะวันตกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จาก ตัวอย่างหลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงการเข้ามามีอิทธิพลของชาติตะวันตกเหนือ 504391 ประเด็นทกี่ าหนดให้ไดอ้ ย่างสมเหตุสมผล ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซ่ึงการเข้ามาของชาติตะวันตกในช่วงนี้ มีความ ด้านคุณลกั ษณะ แตกต่างจากการเข้ามาในภูมิภาคยุคก่อนหน้านี้ วันน้ีเราจะมาดูกันต่อไปว่าในช่วง
แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 1๐ เรอ่ื ง อิทธิพลของชาตติ ะวนั ตกในภมู ภิ าคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ (2) ๕๐๔ ดภดดภภ444ด3ดด33ตปตปปตกกกหหหลลล้าา้า้า้า้าู้มูมมูระะะรร......นนนนนนนนนะะะ่มมุุ่มุ่วววภภิภิิอออ่่วว่ววววเเเัััคคคทททสสสนนนาาาดดดิิิยยยภภภเเเคคคุณุุณณาาาักกัักคคคตตตน็็็นนกกกิิิปปปรรรเเเษษษกกกาาาทททรรรลลลอออะะะรรรรรระะะาาาใใใเเเกีี่กีก่่กักัักกกกาาาชชชเเเแแแนนนะะะาาาษษษรรราาายยยียยียีลลลหหหภภภียียยีหหหรรรณณณอออตตตะะะเเเนนนนนนูููมมม์์์ิิิผผผทททรรระะะกกกะะะดดดรรริิิภภภยีียียวววลลลรรรธธธู้ททู้ทู้ใใในััันนนนนะะะาาาิิิพพพหหหดดด่ี่ีี่ บบบอออรรรคคค๒๒๒ีีีไไไ้้้ลลลแแแููู้้้อออดดดวววเเเสสสขขขลลลอออกกกออ้้อ้นนนังงงััอออะะะเเเเเเยยยกกกคคคฉฉฉชชชงงงา่าา่่ผผผาาามมมียยียีีีียยยชชชงงงรรรลลลงงงศศศสสสตตตาาาใใใเเเึกกึึกมมมตตตตตตะะะสสสษษษเเเิิิ้้้ไไไตตตวววีีีหหหยยยดดดาาาััันนนะะะตตตจจจอ้อ้อ้ วววอออศศศสุสุสุยยยาาาััันนนอออมมมาาาาา่่า่กกกสสสแแตตตผผผงงงกกกอออเเเนนนผผลลลกกกเเเหหหิิิทททฉฉฉนนาาาทททมมมีีียยยธธธกกี่ี่ี่สสสาาาแแแิิิงงงพพพาาะะะ่่่ลลลงงงใใใรรสสสลลลผผผะะะตตตจจมมมวววลลลชชช้้้จจจดััดัฒัฒฒัตตตาาาาาากก่่่กกกอออตตตนนนาาิิิรรธธธเเรรรรรขข333ขตตอภคภอคแแอแคภต222ภจภจจจจภจคคคเดเเดเ444ดเเรรรSSSียยีอออพพพนีีนีนตตตยยยาาาััันินิมมมินาาารรรวววั้นน้ั้นัููููููมมม.........มมมiiiนนเเเaaa่่ืื่ือออถถถิิิกกกสสสา่า่่ากกกอออชชชแแแจจจตตติิิสสสภภภิิิคคค444333333ภภภmmmรรงงงาาาจจจนนนตตตตตตียียียดดดยยยาาาัวัววัอออาาารรราาา.........้ทููท้ไไไมมมุุุดดด111212112์์์ศศศ้ัั้้ัตตต่่่กกกาาานนนแแแ่่่eeeเเเนนนาาารรรูููคคคนนนคคคแแแีี่่รรรงงงปปปตตตะะะงงทงททsssนนน11ใใใยยยโโโเเเเเเบบบ่ืออ่อ่ืืแแแอออ““““““จจจeeeอออหหหหหหดดดอออววววววรรร้ั้ัั้นนนุคุคุคนนน๐๐่่่งงงใใใลลลังังงังงงชชชาาา___ัันนันเเเยยยะะรรระ้้้นนนเเเลลลแแแนนนกกกคคคกกกชชชกกกกกกะะะชชชาาาtttรรรมมมพพพอออสสสัััััักกกเเรรรกกกลลลยยยeeeฤฤฤรรรีีียยยกกกสสสตตตลลลีีีษษษรรยยยีแีแีแออองงงกกกัััฒฒฒเเเฐฐฐุ่มมุ่มุููู่คุคุคุrrrผผผษษษ่ง่ง่งตตตาาาิิิต่ตุุุ่่ตอือื่่มมมรรตตรตคคคrทททrrนนนกกกาาาผผผอออููู้้้ทททรรรสสสiiiะะะงงเเเะะะนนนีีียยยนนนttt์์์ใใใะะะเเเ่ี่ีี่วววนนน–พพ––พเเเลลลออออออoooส่ส่ีีสี่ฉฉฉวววดดดววว111นนนาาาขขขคคคัััวววกกกออกกกทททกกก่ืื่ออือ่ัััีียยยีััันนนอออrrrนนนนนนกกกเเเเเเ้้้าาาััั999แแแนนนาาาiiiิิททเเเขขขปปปรรรเเเมมมี่ี่่ีaaaงงงงงงแแแอออมมมตตตนนนาาาถถถรรรผผผตตตอออะะะใใใธธ้้้าาามมมlllาาา็็็นนน111สสสรรรีีีกกกอออาาากกกยยยาาาาาายยย_ตต__ต่่่ลลลทททยยยรรรพิิพจจจอออีีีชชชขขขใใใมมมหหหาาา999ดดดเเเกกกทททcccนนนแแแ้้้”””าาาะะะึึึดดดับับับนนนบบบขขขกกกาาาลลรรรอออoooงงเเเงลลล000ผผผี่ี่่ียยยเเเอออกกกปปปตตตดดด้้้สสสาาาภภภตตตฉฉฉเเเเเเขขขขข(((งงงใใใnnnััักกกศ่ศ่่ศวววขขข9โโ99โฉฉฉลลลอออสสสติิติตังังงัีีีนนนลลลหหหีีี่อ่อ่อยยยภภภูููมมม้้้าาาออปปปcccาาาชิิชชิ้้้าาานนนีีีุุุ่่่ยยยมมมููู่่่%%%กกกะะะบบบาาามมมภภภััังงงงงง้้้ิิิเเเูููภภภแแแมมมeeeงงสสสรรรมมมาาาี้ี้ี้หหหกกกวววแแแงงงใใใศศศเเเทททาาาชชููมมมูsssลลลตตติภภภิิาาานนน222ตตตาาาปปปัันนันใใใเเเลลล็็็ึึึใใใกกกsssนนนปปปคคคภภิิภิาาเเเะะะุเเุุเพพพขขขาาาาาาตตต้้้999นนนiii็็็รกกรรกะะะตตตนนนษษษตตoooถถถยยยซซซแแแคคค///าาารรรอออ้้้ือ่อ่ื่อืีีียยยยยย___ชชชสสสกกกคคคกกกคคคิติตnnnึึึะะะุุุคคคาาางงงึ่ึ่ึ่(((งงงตตตเเเงงงศศศwwwุุุนนนคคค่่่อออตตตทททอออา้า้้ากกกกกกวววใใใลลลขขขsssะะกกกชชชกกกอออกึึกึกบบบททงงทงั้ั้ขขั้ข___เเเงงงดดด่ี่ี่ีiiiสสสตัััตตาาาววาาุุ่่ออุ่อา่่่อออมมมาาาtttงังัังตตตชชชษษษแแแแแแ%%%าาาคคคี่ี่ี่รรรสสสัััhhhาาารรรงงงนันัิศิิศศตตตงงงกกกนนน่่่าาายียียีคคคยยยาาานคคนนคเเเตตตเเเเเเวววอออ___กกกิิิาาาฤฤฤตตตตต222งงงหหหขขขรรรคคคขขขตตตบบบ)))ญััญญั่่่าาาfffี้ี้ี้คคคงงงสสสษษษลลลจจจะะะาาากก้้้าาาlll8้น88้น้นนนน้้้าาาะะะ“““มมมมมมaaaตตตอออรรรุุุ่่่วววาาาใใใมมมมมมใใวววมมมตตตคคค้้้ภภภาาา111ะะะดดดรรรฝฝฝgggิิินนสสสััักกกนนนยยยรรราาาลลลันันนันนนั้ั้้ังงงาาาวววsูู้้ssู้ลลลาาา888รรบบรบ์์์า่า่่าตตตยยยภภตตตขขขแแแเเเ...ะะะ้า้าา้มมมีี้้้ีอออพพพัง่งั่่งัะะะgggงงงรรร้้้าาา666ุุุ์์์คคควววศศศกกกมูมูอออตตตเเเีีีอออiไไไiiกกกอออ่ื่ืื่ออองงงดดดโโโศศศfffััันนน777แแแ444มมมงงรรงรตตตภิภิ่่่คคค///ทททดดดกกกาาาิิิทททงงงััังงงสสสชชช”””นนนรรร222ีีีววว---วววาารรรเเเยยยเเเ่ี่ีี่เเเกกกธธธ111–––พพพาาากกกฉฉฉัััขขขตตตีี้้ี้ิิิเเเสสสคคอออรรร222ฮฮฮมมมลลลิิิรรรพพพตตต999อออ่ืื่่ื้้อออ้าาาียียียถถถรรรตตติิเเิททท555อออ000ีีีหหหาาา่่่าาาออิิิตตตมมมลลลเเเยยษษยษุุุงงง0ปปป00์์์ศศศจจจลลลธธธวววัวัวัวpppปปปเเาาาใใใะะะขขข่่่คคคาาารรร9ตต99ติิิทททชชะะะพพพันนัันขขขขขขตตตxxxขขข็็็นนนวววงงงอออะะะนนนมมมวววยียี่ีี่ี่%%%้้้้ออ้้อดดดาาา---ลลล้้้ยยยัััไไไนนนทททสสสงงง111รรราาางงงตตกกกรรราาาขขขาาาตตต222ชชช่ี่ีี่มมมคคคงงงรรรดดดตตต999ะะาาา”””ยยยออออออคคคษษษกกกนั่นั่ั่นาาา999ลลลููู้้้กกกนนนรรรววอออ)))งงงเเเ์์์เเเตตตใใใ(((ศศศทททใใใััันนนะะะันนั___ทททมมมชชชพพพิิิทททเเเนนนจจจนนนิิิตตตึกึกึกพพพwww่ี่ี่ีคคคตตตออรรร้ััั้้าาางงงื่ื่ื่ธธธอออชชชาาา111กกกษษษะะะิกิกิก่่่อออตตตืื่่่ืวววอออออพิิพิพiiiอออกกก่่่วววtttาาา222999วววาาาาาาไไไาาาิิิตตตคคคกกhhhลลละะะรรรงงงนนนปปปััันนน)))มมมะะะเเ___รรรนนนคคคไไไดดดใใใภภภนนนัั้้้ันนนฉฉวววตตตรรรนนนสสสอออfววffว้้้าาาีี้้้ีังังังาาา้ัั้ั้lllนนน่่่าาายียีใใใมมมััักกกนนนนนนขขขบบบภภภaaaาาาพพพวววใใใหหหงงเเเีีีคคคgggเเเมมมาาานนนตตต้ีี้ี้มูมูมูคคคิิิขขขธธธใใ้้้หหหตตตsssยยยวววาาีีีากกกเเเกกกชชชตติิิภภภ้้้าาารรร...ปปปนนออนอกกกาาาgggรรรมมม่่่าาาอออใใวววใ้้าาาiiiมมม((็็็ััับบบนนนืืบบืบนนนอออถถถรรรคคคงงงfffาาางงง22)) ๕๕๐๐๔๔ เวลา 1 ชั่วโมง ชชชัน้น้ัั้นมมมัธัธธั เเววยยยลลมมมาาศศศกึึกกึ 11ษษษาาาชชปปป่ัว่ัวีีีทททโโมมี่ี่ี่ 111งง 540942505404
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี ๒ แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 1๐ เรือ่ ง อิทธิพลของชาตติ ะวนั ตกในภูมภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ (2) ๕๐๕ เรอ่ื ง พัฒนาการของภูมภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ เวลา 1 ชัว่ โมง กลุ่มสาระการเรียนรู้ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม รายวิชา ประวัตศิ าสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 4.2 องั กฤษทาสงครามกับพม่าและเขา้ ยึดครองพมา่ 4.3 ฮอลันดา – เข้ามาปรับปรุงระบอบการปกครองในอินโดนีเซียและนา ระบอบการเพาะปลูกเพอื่ การสง่ ออกมาใช้ 4.4 ฝรั่งเศส – เข้ามาเผยแผ่ศาสนาในเวียดนาม และยึดเวียดนาม ยึดดินแดน ฝัง่ ซา้ ยแมน่ ้าโขงของไทย 4.5 สหรัฐอเมริกา – เขา้ มายึดครองฟิลปิ ปินส์และนาระบอบประชาธปิ ไตยเข้า มาสู่ฟลิ ปิ ปนิ ส์ 5. ครเู ขียนช่อื ชาตติ ะวันตกท่ีเข้ามาในเอเชียตะวันออกเฉยี งใตช้ ว่ งคริสต์ศตวรรษที่ 19 บนกรระะดดาานฯฯหหน้าชั้น จากนั้นให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันเขียนข้อมูลจาก การศกึ ษาค้นคว้า โดยมแี นวคาถาม ดังนี้ 5.1 วตั ถปุ ระสงคข์ องการเขา้ มาของชาติตะวันตก 5.2 วธิ กี าร/นโยบายทช่ี าตติ ะวนั ตกดาเนินการ 5.3 ผลกระทบทเ่ี กิดขนึ้ จากการเขา้ มาของชาติตะวันตก ขนั้ สรุป 6. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับอิทธิพลของชาติตะวันตกในดินแดน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ต้ังแต่คริสต์ศตวรรษท่ี 19) โดยครูมีแนวคาถามในการ สรปุ และพฒั นาความคดิ รวบยอด ดงั นี้ 6.1 “การเข้ามาของของชาติตะวันตกในดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 19 มีวัตถุประสงค์ และวิธีการที่แตกต่างจากการเข้ามาในช่วง ก่อนหน้าหรือไม่ อย่างไร” (พิจารณาจากคาตอบของนักเรียนโดยอยู่ในดุลยพินิจ ของครผู สู้ อน) 495305
หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี ๒ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 1๐ เรอ่ื ง อิทธพิ ลของชาตติ ะวนั ตกในภูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ (2) ๕๐๖ เรื่อง พัฒนาการของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ เวลา 1 ช่ัวโมง กลุ่มสาระการเรยี นรู้ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 6.2 “การเข้ามาของของชาติตะวันตกในดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 19 ส่งผลกระทบต่อภูมิภาคอย่างไร” (พิจารณาจากคาตอบของ นักเรยี นโดยอยูใ่ นดลุ ยพินจิ ของครูผสู้ อน) 494
507 507 495 การวัดและประเมินผล ส่ิงทต่ี ้องการวัด/ประเมนิ วิธกี าร เคร่ืองมือทีใ่ ช้ เกณฑ์ ดา้ นความรู้ ๑. ระบุสาเหตุการเข้ามาของชาติ - การถาม – ตอบ - คาถาม ๑. ดี : บอกสาเหตุ ตะวันตกในภูมิภาคเอเชียตะวันออก - การทาใบกจิ กรรม - ภภาาพพเหเตหกุ ตารุ กณา์ ร ณ์ นาเสนอ และเช่ือมโยง เฉยี งใต้ สาคัญยุคล่าอาณา ความสัมพันธ์ของการ นิคมในภูมิภาคเอเชีย เข้ามาของชาติตะวัน ตะวันออกเฉียงใต้ ตกในภูมิภาคเอเชีย ช่วงคริสต์ศตวรรษท่ี ต ะ วั น อ อ ก เ ฉี ย ง ใ ต้ 19 (ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษ - ใบบคควาวมารมู้ เรรู้ อื่ เงร่ือง ท่ี 19) ได้อย่างถกู ตอ้ ง อิททธธิพิ พลขลอขงชอางตชิ า ติ พอใช้ : บอกสาเหตุ ตะวันตกในดินแดน นาเสนอ และเชื่อมโยง เอเชียตะวันออกเฉียง ความสัมพันธ์ของการ ใ ต้ ( ตั้ ง แ ต่ ค ริ ส ต์ เข้ามาของชาติตะวัน ศตวรรษท่ี 19) ตกในภูมิภาคเอเชีย - ใบกิจกรรม เร่ือง ตะวั นออ กเ ฉียง ใต้ อิททธธิพิ พลขลอขงชอางตชิ า ติ (ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษ ตะวันตกในดินแดน ที่ 1 9 ) ไ ด้ แ ต่ ข า ด เอเชยี ตะวันออกเฉียง เหตุผลบางประการ ใ ต้ ( ต้ั ง แ ต่ ค ริ ส ต์ ปรับปรุง : ไม่สามารถ ศตวรรษท่ี 19) บอกสาเหตุ นาเสนอ แ ล ะ เ ช่ื อ ม โ ย ง ค ว า ม สัมพันธ์ของการเข้ามา ของชาติตะวันตกใน ภู มิ ภ า ค เ อ เ ชี ย ต ะ วั น ออกเฉียงใต้ (ตั้งแต่ คริสต์ศตวรรษท่ี 19) ได้ ๒. อธิบายลักษณะของอิทธิพลชาติ ๒. ดี : บอกลักษณะ ตะวันตกในภูมิภาคเอเชียตะวันออก ขอององทิ อธิ ทพิ ลธชิ พาตลิ ช า ติ เฉียงใต้ ต ะ วั น ต ก ใ น ภู มิ ภ า ค เอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ไตด้ อ้ ไยา่ ดง้ อ ย่ า ง สมเหตุสมผล พอใช้ : บอกลักษณะ ข อ ง อิ ท ธิ พ ล ช า ติ
508 540986 ส่ิงท่ีต้องการวัด/ประเมิน วิธกี าร เคร่ืองมือทใ่ี ช้ เกณฑ์ ต ะ วั น ต ก ใ น ภู มิ ภ า ค ด้านทักษะ/กระบวนการ เอเชียตะวันออกเฉียง วิเคราะห์ผลดีและผลเสียจาก - การถาม – ตอบ ใตไ้ตด้ ้ ไแตดไ่ ้ม่ แ ต่ ไ ม่ อิทธิพลชาติตะวันตกในภูมิภาค - การทาใบกจิ กรรม สมเหตุสมผล เอ เ ชี ย ต ะ วั น อ อ ก เ ฉี ย ง ใ ต้ จ า ก ปรับปรุง : ไม่สามารถ ประเด็นที่กาหนดให้ บออกกลักลษั กณษะขณอะง ข อ ง อิทธิพลชาติตะวันตก ในนภภมู ูิภมาิ ภคเาอคเชเยี อ เ ชี ย ตะวนั ออกเฉยี งใต้ได้ - คาถาม ดี : จำ� าแแนกน กและแ ล ะ - ใบบคควาวมารมู้ เรรู้ ื่อเงรื่อง อธิบายผลดีและผล อทิ ทธธพิ ิ ลพขลอขงชอางติช า ติ เสียของการเข้ามาของ ตะวันตกในภูมิภาค ชาติตะวันตกในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียง เอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ ใต้ (ตั้งแตค่ ริสต์ศตวรรษ - ใบกจิ กรรม เร่อื ง ท่ี 19) ได้อย่างสมเหตุ อิทธิพลของชาติ สมผล ตะวันตกในภมู ภิ าค พอใช้ : จาแนก และ เอเชยี ตะวันออกเฉียง อธิบายผลดีและผล ใต้ เสียของการเข้ามาของ ชาติตะวันตกในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ (ตั้งแต่ครสิ ต์ศตวรรษ ที่ 19) ได้แต่ขาดเหตุผล บางประการ ปรับปรุง : ไม่สามารถ จาแนก และอธิบาย ผลดีและผลเสียของ การเข้ามาของ ชาติ ตะวั นตกในภูมิ ภาค เอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ (ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษ ที่ 19) ได้
509 540997 ส่ิงทตี่ ้องการวดั /ประเมนิ วิธีการ เครอ่ื งมอื ทใ่ี ช้ เกณฑ์ ดา้ นคณุ ลักษณะ - คาถาม ดี : นำ�าเเสสนนออผลผขลอขงอง อภิปรายอิทธิพลของชาติตะวันตกที่ - การถาม – ตอบ อิททธธิพิ ลพขลองขชอาตงิ ช า ติ ส่งผลต่อภูมิภาคเอเชียตะวันออก ต ะ วั น ต ก ที่ ส่ ง ผ ล ต่ อ เฉียงใต้ ภู มิ ภ า ค เ อ เ ชี ย ต ะ วั น ออกเฉียงใต้ (ตั้งแต่ คริสต์ศตวรรษที่ 19) ไดอ้ ย่างเหมาะสม พ อ ใ ช้ : น�ำาเสเนสอน อ อิททธธิพิ ลพขลองขชอาตงิ ช า ติ ต ะ วั น ต ก ท่ี ส่ ง ผ ล ต่ อ ภู มิ ภ า ค เ อ เ ชี ย ต ะ วั น ออกเฉียงใต้ (ตั้งแต่ คริสต์ศตวรรษที่ 19) ได้แต่ขาดเหตุผลบาง ประการ ปรับปรุง : ไม่สามารถ นาเสนออิทธิพลของ ชาติตะวันตกที่ส่งผล ต่ อ ภู มิ ภ า ค เ อ เ ชี ย ตะวั นออ กเ ฉียง ใต้ (ต้ังแต่คริสต์ศตวรรษ ที่ 19) ได้
510 459180 บันทกึ ผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปัญหาและอุปสรรค ............................................................................................................................. ............................................. ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข ........................................................................................................................................................................... ลงช่อื ....................................................... ผู้สอน (.......................................................) วันที่ ............ เดือน ...................... พ.ศ. ........... ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรอื ผู้ที่ได้รับมอบหมาย ............................................................................................................................. .............................................. .................................................................................... ....................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ลงชือ่ ....................................................... ผู้ตรวจ (.......................................................) วนั ที่ ............ เดือน ...................... พ.ศ. ...........
เผยแผ่ศาสนา จึงเกิดสงครามเพ่ือแย่งชิงผลประโยชนก์ ัน ต่อมาชาติตะวันตกเห็นว่าหากคิดแต่จะรบพุ่งกันเอง ในระยะแรก ชาติตะวันตกขยายอิทธิพลมายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อประโยชน์ทางการค้า5แ1ล1ะ 459191 เร่อื ง ออิิททธธพิพิ ลลขขอองงชชาาตติติตะะววนัันตตกกใในนภภูมูมภิิภาาคคเเออใใบบเเชชคคยีียววตตาาะะมมววรรนัันูู้้ ออออกกเเฉฉียยี งงใใตต้้ (ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19) เร่อื ง (ต้ังแตค่ ริสต์ศตวรรษท่ี 19) ในระยะแรก ชาติตะวันตกขยายอิทธิพลมายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพ่ือประโยชน์ทางการค้า5แ1ล1ะ 511 เผยแผ่ศาสนา จึงเกิดสงครามเพื่อแย่งชิงผลประโยชนก์ ัน ต่อมาชาติตะวันตกเห็นว่าหากคิดแต่จะรบพุ่งกันเอง กม็ ีแต่ความเสียหายจึงเร่ิมเจรจากัน โดยยอมรับเขตอิทธิพลและเขตแสวงหาผลประโยชน์ของแต่ละฝ่าย ทาให้ ชาตติ ะวันตกสามารถขยายอานาจเขา้ ไปในดนิ แดนทตี่ นตอ้ งการได้อย่างสะดวก ตั้งแต่ปลายพุทธศตวรรษที่ 24 เป็นต้นไป ถือว่าเป็นจุดเร่ิมต้นของสมัยจักรวรรดินิยม เพราะชาติ ตะวันตกเริ่มเปล่ียนแปลงนโยบายจากเดิมที่มุ่งติดต่อค้าขายและเผยแผ่ศาสนา มาเป็นการมุ่งยึดครองและเข้า ปกครองดินแดนเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ในฐานะเป็นดนิ แดนอาณานิคม ทั้งนเ้ี พราะปัจจัยสาคัญ ดังนี้ 1. ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม ทาให้ชาติตะวันตกสามารถผลิตสินค้า ใหม่ๆ ไดเ้ ป็นจานวนมาก จาเป็นต้องขยายตลาดการค้าและแหล่งวตั ถุดบิ ให้กวา้ งขวางยิง่ ขน้ึ 2. ประเทศต่าง ๆ ในยุโรปเปล่ียนระบบเศรษฐกิจมาเป็นแบบทุนนิยม รัฐบาลมีหน้าท่ีส่งเสริม บริษัทเอกชนเข้าไปลงทุนในดินแดนอาณานิคม ดังน้ันรัฐบาลจึงจาเป็นต้องเข้าไปปกครองอาณานิคมโดยตรง เพอื่ คมุ้ ครองผลประโยชน์ของบริษทั เอกชน และเก็บเกย่ี วผลประโยชน์ในอาณานคิ มส่งกลับไปบารงุ เมืองแม่ 3. ความเจริญก้าวหน้าทางดา้ นการคมนาคมขนสง่ ทางเรอื โดยเฉพาะการใชเ้ รือกลไฟบรรทุกสนิ ค้า ขา้ มทวีป ตลอดจนความสาเร็จในการขุดคลองสุเอซ ทาใหเ้ รือสินค้าสามารถแล่นติดต่อระหว่างยโุ รปกับเอเชีย ได้อย่างรวดเร็ว เพราะไม่ต้องแล่นเรืออ้อมแหลมแอฟริกาเหมือนแต่ก่อน ทาให้สินค้าราคาถูก เศรษฐกิจโลก ขยายตัวอยา่ งรวดเรว็ เป็นการกระตุ้นระบบเศรษฐกิจแบบทนุ นิยมสง่ ผลให้เกิดลัทธิจักรวรรดินยิ มตามมา ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18-19 มหาอานาจตะวันตกได้เข้ามายึดครองหรือคุกคามดินแดนต่าง ๆ ใน ภูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ ดงั นี้ 1. องั กฤษ พม่า ใน ค.ศ. 1824 อินเดียซ่ึงอยู่ใต้อิทธิพลอังกฤษเกิดวิวาทกับพม่าเก่ียวกับปัญหา ชายแดน จนนาไปสู่การทาสงครามระหว่างพม่ากับบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ อังกฤษเป็นฝ่ายชนะ และได้ยึดครองดินแดนพม่าตอนลา่ งในระหวา่ ง ค.ศ. 1850 - 1853 พมา่ เกิดเหตวุ วิ าทกบั อังกฤษอกี มผี ลทา ให้อังกฤษยึดครองตอนกลางของพม่าได้ใน ค.ศ. 1862 อังกฤษรวมดินแดนของพม่าท่ียึดได้เป็นมณฑล พม่า อยูใ่ ต้การปกครองของอังกฤษโดยใช้กรงุ ย่างกงุ้ เป็นเมอื งหลวงใน ค.ศ. 1874 อังกฤษไดผ้ นวกดินแดนพม่าทีย่ ัง เหลอื และปกครองพมา่ ในฐานะเปน็ มณฑลหน่งึ ของอนิ เดยี ภายใตก้ ารปกครองของอังกฤษ
512 550102 คาบสมุทรมลายู รัฐต่าง ๆ ของมลายูมักทะเลาะวิวาทและสู้รบกันเองอยู่เสมอ เปิดโอกาสให้ องั กฤษเข้าแทรกแซงทางการเมือง บางรัฐขอให้องั กฤษเข้ามาอารักขา อังกฤษไดข้ อเชา่ เกาะปีนงั จากสุลต่านรัฐ ไทรบุรีหรือเกดะหเ์ ป็นศูนย์กลางการค้า และใหค้ วามค้มุ ครองแกส่ ุลต่านผู้ปกครองรฐั มลายู จึงตกอยู่ใต้อทิ ธพิ ล ของอังกฤษเพ่ิมขึ้นเรื่อย ๆ ใน ค.ศ. 1896 อังกฤษได้รวมเประ สลังงอร์ ปะหัง และเนกรีเซมบีลัน เป็นสหพันธรัฐมลายูภายใต้การปกครองขององั กฤษ นอกจากนี้องั กฤษยังไดค้ รอบครองเกาะสิงคโปร์ และสร้าง สิงคโปรเ์ ป็นศูนย์กลางการค้าและฐานทัพสาคัญของอังกฤษเพ่ือควบคุมผลประโยชน์ในเอเชยี ตะวนั ออก 2. ฝรัง่ เศส เวียดนาม เขมร และลาว ฝรั่งเศสพยายามติดต่อค้าขายและขอเผยแผ่คริสต์ศาสนาใน เวียดนาม และได้โอกาสเพราะสนับสนุนพระเจ้ายาลอง (Gia Long) ขึ้นครองอานาจ และรวมประเทศ เวยี ดนามเป็นปึกแผน่ ไดส้ าเร็จ ทาใหฝ้ รั่งเศสไดร้ ับสทิ ธพิ ิเศษในการเผยแผ่คริสต์ศาสนาและค้าขายในเวยี ดนาม แต่ต่อมากษัตริย์เวียดนามไม่โปรดปรานฝร่ังเศส และต่อต้านศาสนาคริสต์อย่างรุนแรง จึงเกิดการ กระทบกระท่ังกลายเป็นสงครามซ่ึงเริ่มเม่ือ ค.ศ. 1856 สงครามระหว่างสองฝ่ายดาเนินไปหลายปี จนกระทั่ง ฝร่ังเศสสามารถยึดเวียดนามไดท้ งั้ ประเทศ สาหรับเขมร ใน ค.ศ. 1863 ฝร่งั เศสบบี บังคับใหเ้ ขมรเปน็ รฐั อยู่ใต้อารักขาของฝร่งั เศส และ ต่อมาขอให้ไทยยุติการอ้างสิทธิเหนือเขมร หลังจากน้ันได้ใช้วิธีรุนแรงขยายอานาจเข้าไปในดินแดนลาว ซึ่ง นาไปสู่การกระทบกระทั่งกับไทยท่ีปกครองลาวในฐานะประเทศราชจนเกิดวิกฤตการณ์ รศ. 112 (ค.ศ. 1893) เป็นผลใหไ้ ทยตอ้ งเสียดนิ แดนลาวให้กบั ฝร่ังเศส เมื่อฝรั่งเศสไดเ้ วียดนาม เขมร และลาวไว้อานาจแล้ว ฝร่ังเศสได้รวมดินแดนท้ังหมดน้ีเข้าด้วยกันเรียกว่า อินโดจีนฝรั่งเศส โดยตั้งข้าหลวงใหญ่ทาหน้าที่ปกครองขึ้น ตรงตอ่ รัฐบาลฝรัง่ เศสท่กี รุงปารีส ในส่วนของไทยได้รับผลกระทบจากการคุกคามของอังกฤษ และฝรัง่ เศส โดยในสมัยรัชกาลท่ี 4 ฝร่ังเศสเริ่มแผ่อิทธิพลเข้าไปในดินแดนประเทศราชของไทย โดยขอเข้าไปอารักขาเขมร ทางฝ่ายไทยต้อง ยนิ ยอมแต่โดยดีเพราะไม่อาจต้านทานอานาจของฝรั่งเศสได้ ในสมัยรัชกาลท่ี 4 ฝร่ังเศสได้ขยายอานาจเข้าไป ในดินแดนลาว ฝรง่ั เศสใช้วธิ ีทุกอยา่ งท้ังวธิ ีการเจรจาและใชเ้ รือรบมาปิดปากน้าเจ้าพระยาและคุกคามอธิปไตย ของไทยใน ค.ศ. 1893 ไทยพยายามต่อต้านด้วยการใช้กาลังทหาร แต่ไม่อาจต่อต้านได้ ทาให้รัฐบาลไทย จาเป็นต้องยกดินแดนลาวทงั้ หมดให้แกฝ่ รั่งเศส เพ่ือรักษาเอกราชของชาตไิ ว้ ในส่วนของอังกฤษได้เร่ิมคุกคามไทยด้วยการส่ง เฮนรี เบอร์นี (Henry Burney) เป็นทูตมา เจรจาเกี่ยวกับรัฐต่าง ๆ บนคาบสมุทรมลายู ชัยชนะท่ีอังกฤษมีต่อพม่า ทาให้ไทยตระหนักว่าอังกฤษมีอานาจ ทางทหารเหนือกว่า ไทยจึงยอมรับข้อเสนอของอังกฤษใน ค.ศ. 1855 อังกฤษได้ทาสัญญาการค้าที่เรียกว่า สนธิสัญญาเบาว์ริง เป็นผลให้ไทยต้องเสียผลประโยชน์ทางการค้าและสิทธิสภาพนอกอาณาเขตให้แก่อังกฤษ ต่อมาประเทศตะวนั ตกอ่ืน ๆ ก็ได้ขอสิทธิเช่นเดยี วกับอังกฤษจากไทยใน ค.ศ. 1908 ไทยต้องยอมมอบสิทธิที่
513 550113 มเี หนือไทรบุรี ปะลิส กลันตัน ตรังกานู ให้แก่อังกฤษแลกกับอานาจทางการศาล เพื่อให้ไทยสามารถพิจารณา ตดั สินคดคี วามท่คี นในบังคับอังกฤษทาผดิ ในประเทศไทยได้ 3. ฮอลนั ดา หมู่เกาะอนิ โดนีเซียใน ค.ศ. 1824 อังกฤษกับฮอลันดาได้ตกลงแบง่ เขตอานาจในน่านน้าของ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยฮอลันดายอมยกมะละกาให้อังกฤษเพ่ือแลกกับเมืองท่าท่ีอังกฤษมีในสุ มาตรา และตกลงกันว่าอังกฤษจะไม่เข้ามายุ่งเก่ียวกับหมู่เกาะอินโดนีเซีย ส่วนฮอลันดาก็ตกลงจะไม่เข้าไปยุ่ง เก่ียวกับคาบสมุทรมลายู นับเป็นการแบ่งเขตอาณานิคมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ของสองประเทศ เป็นผลให้ฮอลันดาขยายอิทธิพลในบริเวณหมู่เกาะอินโดนีเซียได้สะดวก โดยปราศจากการแข่งขันจากชาติอื่น ค.ศ. 1829 ฮอลันดาพยายามครอบครองเกาะชวาทั้งหมด หลังจากน้ันก็เริ่มใช้ “ระบบเพาะปลูก” บนเกาะ ชวาดว้ ยการบงั คบั ใหช้ าวชวาปลูกพืชผลทต่ี นตอ้ งการ โดยเฉพาะกาแฟซงึ่ เปน็ พืชทต่ี ลาดโลกต้องการ 4. สเปน หมู่เกาะฟิลิปปินส์ สเปนยังคงเป็นผู้ปกครองหมู่เกาะฟิลิปปินส์แต่ผู้เดียวอยู่เช่นเดิมโดยไม่มี มหาอานาจอาณานคิ มอนื่ เขา้ ไปแก่งแย่ง จนกระทั่งถงึ ค.ศ. 1898 เกิดสงครามระหว่างสเปนกับสหรฐั อเมรกิ า สเปนเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ต้องทาสัญญายกฟิลิปปินส์ให้แก่สหรัฐอเมริกา เม่ือสหรัฐอเมริกาเข้าปกครองฟิลิปปินส์ สหรัฐอเมริกาได้ใช้รูปแบบการปกครอง กฎหมาย เศรษฐกิจ อุตสาหกรรม ตามแบบอย่างที่สหรัฐอเมริกาเป็น ผ้กู าหนด ผลกระทบและการเปล่ยี นแปลงในดนิ แดนอาณานคิ ม การท่ีชาวตะวันตกสร้างลัทธจิ ักรวรรดนิ ิยมโดยเข้าไปปกครองดินแดนอาณานิคม ก่อให้เกิดผลกระทบ และการเปลีย่ นแปลงในดนิ แดนอาณานคิ ม ดังนี้ 1. ชาวตะวันตกประกาศใช้กฎหมายเพื่อเก็บภาษีประชาชนอย่างรุนแรง ย่ิงกว่าช่วงระยะท่ีชาว พ้ืนเมืองปกครองกันเอง รายได้จากการเก็บภาษีส่วนใหญ่ผู้ปกครองอาณานิคมส่งไปบารุงความเจริญรุ่งเรือง ของเมืองแม่ 2. กลุ่มนายทุนชาวตะวันตกเข้ายึดครองพื้นท่ีอันอุดมสมบูรณ์ และกอบโกยทรัพยากรธรรมชาติจาก ดินแดนอาณานคิ ม แล้วนาไปแปรรูปเป็นสนิ ค้าอุตสาหกรรมส่งไปขายท่ัวโลกสร้างความร่ารวยแก่กลุ่มนายทุน ตะวนั ตก 3. ชาวตะวันตกบังคับและเกณฑ์แรงงานพ้ืนเมืองไปทางานหนัก บังคับให้ชาวพ้ืนเมืองปลูกพืชตามท่ี ต้องการ และบังคับให้ชาวพ้ืนเมืองขายผลิตผลแก่พ่อค้าชาติตะวันตกในราคาถูกๆ เพื่อประโยชน์ของชนชั้น ปกครองและผลประโยชน์ของบริษทั ตะวันตก
514 550124 4. ชาวตะวนั ตกไดอ้ พยพชาวจีนจากประเทศจีนเปน็ จานวนมาก มาทางานเปน็ ลูกจ้างในสวนยางพารา และโรงงานอตุ สาหกรรมของชาตติ ะวันตก ชาวจีนสร้างปัญหาพิพาทกับชาวพน้ื เมอื งในเวลาตอ่ มา 5. ชาวตะวันตกได้เปลี่ยนสภาพเศรษฐกิจของชาวพื้นเมืองจากรูปแบบดั้งเดิมมาเป็นแบบทุนนิยม ทาให้เกิดกิจการอุตสาหกรรมใหม่ๆ ธนาคารและระบบการกู้ยืม ทาให้ชาวพ้ืนเมืองมีหนี้สินและยากจนลง กวา่ เดิม 6. การปกครองของชาวตะวันตกได้เปล่ียนแปลงวัฒนธรรมและค่านิยมของชาวพ้ืนเมือง ทาให้ชาว พ้ืนเมอื งหันมารับวัฒนธรรมตะวันตกและดาเนนิ ชวี ิตแบบฟมุ่ เฟือยตามแบบตะวันตก 7. ชาวตะวันตกนารูปแบบการศึกษาและเผยแพร่ความคิดแบบสมัยใหม่ คือ ความคิดในระบบเสรี นิยมและประชาธปิ ไตยเปน็ การกระตนุ้ ใหช้ าวพื้นเมอื งเกดิ ความคิด “ชาตนิ ยิ ม” ขึ้น สาเหตุท่กี อ่ ใหเ้ กิดความคิดชาตนิ ิยมในเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ สรปุ ได้ ดังน้ี 1. ความรู้สึกไม่พอใจระบบการปกครองของประเทศตะวันตกในดินแดนอาณานิคม ซึ่งใช้กฎหมาย บังคับชาวพื้นเมืองให้ปฏิบัติตาม โดยมีจุดมุ่งหมายให้เกิดความสงบและความม่ันคงในดินแดนอาณานิคม ซ่ึงเป็นผลใหช้ าติตะวนั ตกไดร้ ับอภสิ ทิ ธแิ์ ละผลประโยชน์ตา่ ง ๆ เหนือกวา่ ชาวพ้นื เมือง 2. ชาวพ้ืนเมืองรู้สึกหวงแหนทรัพยากรของชาติ ที่ถูกชาวตะวันตกกอบโกยไปสร้างความม่ันคง ใหแ้ กต่ นเอง 3. ชาวพ้ืนเมืองรู้สึกโกรธเคืองเมื่อชาวตะวันตกใช้วิธีกดข่ี ข่มเหง ดูหมิ่น เหยียดหยาม และทาลาย วฒั นธรรมของชาวพ้นื เมอื ง 4. การที่ชาวตะวันตกนาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ การศึกษาแบบสมัยใหม่มาเผยแพร่ในดินแดน อาณานิคม ทาให้ประชาชนเร่ิมตน่ื ตวั ในความคดิ แบบสมัยใหม่ โดยเฉพาะความคดิ ในระบบเสรีนิยม 5. ในสมัยที่ชาวตะวันตกปกครองอาณานิคม บ้านเมืองเกิดความสงบม่ันคง ชาวพื้นเมืองมิได้รบพุ่ง กันเองเหมือนแต่ก่อน ประกอบกับชาวตะวันตกนารูปแบบการคมนาคมขนส่งสมัยใหม่ เช่น รถไฟ เรือกลไฟ โทรเลข โทรศัพท์ มาใช้ในอาณานิคม อีกทั้งชาวตะวันตกใช้ภาษาของตนในการปกครอง อาณานิคม เชน่ สหรัฐอเมริกาใชภ้ าษาอังกฤษเปน็ ภาษาราชการปกครองชาวฟิลิปปินส์ เปน็ ตน้ ปัจจยั ดงั กล่าว ทาให้ชาวพืน้ เมืองสามารถติดต่อไปมาหาสู่ หรือสอื่ สารได้สะดวกรวดเรว็ ข้นึ 6. ชาวพ้ืนเมืองได้รับแนวความคิดและตัวอย่างการแสดงออกถึงความเป็นชาตินิยมจากประเทศที่อยู่ นอกดนิ แดนเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ จนรู้สกึ ชนื่ ชมและต้องการแสดงออกซึ่งความเป็นชาตินิยมด้วย เช่น กรณี ญ่ีปุ่นซึ่งมีความคิดชาตินิยมอย่างแรงกล้า พัฒนาประเทศจนก้าวไปสู่ความทันสมัยและมีความเข้มแข็งทุกด้าน สามารถทาสงครามชนะรสั เซยี ซงึ่ เปน็ มหาอานาจได้
๕๑๕ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1๑ เรือ่ ง พัฒนาการในสมัยโบราณของภมู ิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๒ เร่อื ง พัฒนาการของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ เวลา 1 ชัว่ โมง กลุม่ สาระการเรยี นรู้ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม รายวชิ า ประวตั ิศาสตร์ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 มาตรฐานการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื /แหล่งเรียนรู้ ส 4.2 ม.1/1 อธิบายพัฒนาการทางสงั คม เศรษฐกิจ ขน้ั นา 1. หนงั สือเรยี นประวัติศาสตร์ ม.1 และการเมืองของประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชีย 1. ครูให้นักเรียนดูภาพเคร่ืองมือสาริด จากน้ันครูและนักเรียนร่วมกัน 2. บตั รภาพ ตะวันออกเฉียงใต้ อภปิ รายเกย่ี วกับ โดยครูมแี นวคาถาม ดงั น้ี 3. กระดาษ สาระสาคัญ ภาระงาน/ช้ินงาน ภู มิ ภ า ค เ อ เ ชี ย ต ะ วั น อ อ ก เ ฉี ย ง ใ ต้ เ ป็ น ที่ ต้ั ง ข อ ง กิจกรรม “ข้ามเวลาศึกษารัฐโบราณใน อาณาจักรโบราณที่มีความเจริญรุ่งเรือง และได้รับ SEA” โดยนักเรียนศึกษาความรู้เร่ือง อทิ ธิพลของอารยธรรมอินเดีย และอารยธรรมจีนจน พัฒนาการในสมัยโบราณของประเทศใน นาไปสู่พัฒนาการทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จาก และวฒั นธรรม หนังสือเรียน และแหล่งข้อมูลสารสนเทศ ขอบเขตเน้อื หา จากนั้นนาความรู้ที่ได้จากการศึกษามา พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ สังคม เศรษฐกิจ และ เขียนเป็นแผนผงั ความคดิ ลงในกระดาษ การเมืองของประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชีย ที่มา : http://oknation.nationtv.tv/blog/toranee/20144//1111//1122//ent ตะวันออกเฉยี งใต้ ry-1 จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ด้านความรู้ 1.๑ “นักเรียนทราบหรือไม่ว่า สิ่งของในภาพคืออะไร และมี 1. อธิบายพัฒนาการในสมัยโบราณของภูมิภาคเอเชีย วัตถุประสงค์เพ่ืออะไร” (เครื่องมือสำริด สร้ำงข้ึนเพ่ือใช้ในกำรดำเนิน ตะวนั ออกเฉยี งใต้ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง ชีวติ ) ๑.2 “นักเรียนทราบหรือไม่ว่า เครื่องมือเหล่านี้สร้างข้ึนในยุคใด” ด้านทักษะและกระบวนการ (ยคุ สำริด) 503515
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 1๑ เร่ือง พฒั นาการในสมัยโบราณของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ ๕๑๖ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ ๒ เร่ือง พัฒนาการของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ เวลา 1 ช่วั โมง กลุม่ สาระการเรยี นรู้ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชา ประวัตศิ าสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ด2้า.นวทิเคักรษาะะแหล์ปะัจกจรัะยบทวี่สน่งกผาลรพัฒนาการในสมัยโบราณ 2. ครพู ดู เช่ือมโยงเข้าสบู่ ทเรียนว่า “จากท่ีกล่าวมาขา้ งตน้ เป็นตวั อย่าง ๒ข.อวงเิ ภคูรมาิภะหาค์ปัจเอจยัเชทีย่ีสง่ตผะลวพันัฒอนอากเาฉรีใยนงสใมตยั ้ ไโบด้รอายณ่า ง ของเครือ่ งมือสาริดทม่ี นุษย์คิดค้นข้ึน โดยเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ก็ ขสอมงเหภตมู ุสภิ มาคผเลอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตไ้ ดอ้ ยา่ ง เปน็ หน่งึ ในพืน้ ท่ีทมี่ นุษยม์ ีการพฒั นาเคร่ืองมือสาริดข้นึ ใชอ้ ยา่ ง สด3มา้. เนหอคตภณุ สุิปมลรผกั าลษยณผละจากพัฒนาการในสมัยโบราณของ แพร่หลาย วันนีเ้ ราจะมาดูกันว่า ในมรยุคสารดิ มีคนกล่มุ ใดบ้างทตี่ ัง้ ถนิ่ ฐานอย่ใู นเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้” ด๓เภหา้.ูมมนอิภาคภาะณุคปิ สเรลมอากัเยชษผียณลตจะะาวกันพอฒัอกนเาฉกยี างรใตใน้ทสี่มมีตยั ่อโบปรัจาจณุบขันอไดง้อย่าง ขนั้ สอน ภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตท้ มี่ ตี อ่ ปจั จบุ นั ไดอ้ ยา่ ง 3. ครูให้นักเรยี นทากิจกรรม “ข้ามเวลาศึกษารัฐโบราณใน SEA” โดย เหมาะสม ครูใหน้ ักเรียนศึกษาความรู้เร่ือง พัฒนาการในสมัยโบราณของประเทศ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จากหนังสือเรียน และแหล่งข้อมูล สารสนเทศ จากนั้นนาความรู้ท่ีได้จากการศึกษามาเขียนเป็นแผนผัง ความคิดลงในกระดาษ 4. นักเรียนนาแผนผังความคิดที่ศึกษามาติดไว้รอบห้อง และให้ นักเรียนกลุ่มอ่ืน ๆ เดินไปศึกษาค้นคว้าข้อมูลกลุ่มอื่น ๆ จากน้ันครู และนักเรียนร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับพัฒนาการในสมัยโบราณของ ภมู ิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และสรปุ สาระสาคญั บนกระดาน (Obj:9) ขน้ั สรุป 5. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง พัฒนาการในสมัยโบราณ ของภมู ิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ โดยครมู แี นวคาถาม ดงั นี้ ๕.1 “นักเรียนคิดว่า อะไรเป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้รัฐโบราณมี พัฒนาการและอยู่รอดไมล่ ่มสลาย” (พิจำรณำตำมคำตอบของนกั เรียน โดยใหอ้ ยู่ในดุลยพนิ จิ ของครผู สู้ อน) 505416
518 550158 การวัดและประเมนิ ผล วิธกี าร เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์ สิง่ ที่ต้องการวัด/ประเมิน - การถาม – ตอบ - การทากิจกรรม - คาถาม ดี : นาเสนอ เช่ือมโยง ด้านความรู้ “ชา้ มเวลาศกึ ษารฐั - หนังสอื เรยี น ความสมั พนั ธข์ องพฒั นาการ อธบิ ายพัฒนาการในสมัย โบราณใน SEA” ประวตั ศิ าสตร์ ม.1 ในสมยั โบราณของภมู ภิ าค โบราณของภูมิภาคเอเชยี - บตั รภาพ เอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ได้ ตะวันออกเฉยี งใต้ได้อย่าง - กระดาษ อย่างถูกต้อง ถูกต้อง พอใช้ :นำ�าเสสนนออเชอ่ืเชมอ่ื มโยง คโยวงาคมวสาัมมพสันมธพ์ขนั อธงข์ อง ด้านทกั ษะ/กระบวนการ พฒั นาการในสมยั โบราณ วเิ คราะห์ปัจจยั ทสี่ ง่ ผล ของภมู ภิ าคเอเชียตะวันออก พฒั นาการในสมัยโบราณของ เฉยี งใตไ้ ด้แต่ขาดเหตผุ ลบาง ภมู ิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉยี ง ประการ ใตไ้ ด้อย่างสมเหตุสมผล ปรบั ปรุง : ไมส่ ามารถนาเสนอ เช่ือมโยงความสมั พันธข์ อง พควัฒานมาสกมั าพรันในธส์ขมอยังพโบฒั รนาณากขาอรง ภในมู สภิ มาัยคโเบอรเชายีณตขะอวงันภอมู อิภกาค เฉอียเชงียใต้ ะวันออกเฉียงใต้ได้ - การถาม – ตอบ - คาถาม ดี : จาแนก เปรียบเทยี บ - การทากิจกรรม - หนงั สอื เรยี น คเทวียาบมสคมัวาพมนั สธมั ์ ขพอนั งธ์ ของ “ช้ามเวลาศึกษารัฐ ประวัติศาสตร์ ม.1 พฒั นาการในสมยั โบราณ โบราณใน SEA” - บตั รภาพ ของภูมภิ าคเอเชียตะวนั ออก - กระดาษ เฉียงใตไ้ ด้อยา่ งสมเหตุสมผล พอใช้ : จาแนก เปรรียยี บบเทยี บ คเทวียาบมสคมัวาพมันสธัม์ ขพอันงธ์ ของ พัฒนาการในสมัยโบราณ ของภมู ภิ าคเอเชยี ตะวันออก เฉยี งใตไ้ ด้แต่ขาดเหตุผลบาง ประการ ปรบั ปรุง : ไม่สามารถจาแนก เปรยี บเทียบความสมั พนั ธ์ ของพัฒนาการในสมัย โบราณของภมู ิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉยี งใต้ได้
519 550169 สิง่ ทีต่ ้องการวดั /ประเมนิ วธิ ีการ เคร่ืองมือทใ่ี ช้ เกณฑ์ - คาถาม ดี : นาเสนอผลจาก ดา้ นคณุ ลกั ษณะ - การถาม – ตอบ พฒั นาการในสมัยโบราณ อภปิ รายผลจากพฒั นาการใน ของภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออก สมัยโบราณของภมู ิภาคเอเชยี เฉยี งใต้ได้อยา่ งเหมาะสม ตะวนั ออกเฉียงใต้ที่มตี ่อ พอใช้ : นาเสนอผลจาก ปจั จุบันได้อย่างเหมาะสม พฒั นาการในสมยั โบราณ ของภูมิภาคเอเชยี ตะวันออก เฉียงใตไ้ ด้แต่ขาดเหตผุ ลบาง ประการ ปรับปรงุ : ไม่สามารถ นาเสนอผลจากพฒั นาการ ในสมยั โบราณของภมู ิภาค เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ได้
520 550720 บนั ทึกผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................... ...... ข้อเสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข ............................................................................................. .............................................................................. ลงช่อื ....................................................... ผสู้ อน (.......................................................) วนั ท่ี ............ เดือน ...................... พ.ศ. ........... ความคดิ เหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผบู้ ริหารหรอื ผู้ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย ............................................................................................................................. .............................................. .................................................................................... ....................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ลงชอ่ื ....................................................... ผู้ตรวจ (.......................................................) วนั ท่ี ............ เดือน ...................... พ.ศ. ...........
๕๒๑ หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ๒ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1๒ เรือ่ ง พัฒนาการในสมัยใหม่ของภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ เรอ่ื ง พัฒนาการของภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ เวลา 1 ช่ัวโมง กลมุ่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวชิ า ประวัตศิ าสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 มาตรฐานการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื /แหลง่ เรียนรู้ ส 4.2 ม.1/1 อธบิ ายพฒั นาการทางสังคม เศรษฐกจิ ขัน้ นา 1. หนังสอื เรียนประวตั ศิ าสตร์ ม.1 และการเมืองของประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชีย 1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้ความรู้เดิมเก่ียวกับการเข้า 2. กระดาษ ตะวันออกเฉียงใต้ มาของชาติตะวันตกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยครูมีแนวคาถาม ภาระงาน/ชิ้นงาน สาระสาคัญ ดังนี้ กจิ กรรม “ศึกษาชาตติ ะวนั ตกใน SEA” โดย สมัยใหม่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เริ่มต้น 1.๑ “นักเรียนทราบหรือไม่ ประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชีย นักเ รีย นแ บ่ง กลุ่ ม ศึก ษา คว าม รู้เ รื่อ ง เม่ือชาติตะวันตกเข้ามามีอิทธิพล ทาให้เกิดการ ตะวันออกเฉียงใต้เคยเป็นอาณานิคมของประเทศใดบ้าง” (พิจารณา พัฒนาการในสมัยใหม่ของประเทศใน เปล่ียนแปลงในด้านต่าง ๆ ภายใต้การนาของชาติ จากคาตอบของนักเรยี นโดยอยใู่ นดลุ ยพนิ ิจของครผู สู้ อน) ภูมิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ จากหนงั สือ ตะวันตก ๑.2 “การตกเป็นอาณานิคมของชาติต่าง ๆ ส่งผลดี-ผลเสีย เรียน หรือแหล่งข้อมูลอื่น ๆ แล้วร่วมกัน ขอบเขตเน้ือหา อย่างไรบ้าง” (พิจารณาจากคาตอบของนักเรียนโดยอยู่ในดุลยพินิจ อภิปรายเก่ียวกับพัฒนาการในสมัยใหม่ของ พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ สังคม เศรษฐกิจ และ ของครูผสู้ อน) ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การเมืองของประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชีย ขั้นสอน จากน้ันร่วมกันสรุปเป็นข้อสรุปร่วมกันของ ตะวนั ออกเฉยี งใต้ 2. นกั เรียนทากิจกรรม “ศกึ ษาชาติตะวนั ตกใน SEA” โดยครูให้ ห้องเรียน และนาผลจากการศึกษาบันทึกลง จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ แบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละเท่า ๆ กนั จากน้ันใหแ้ ตล่ ะกล่มุ ศกึ ษาความรเู้ รื่อง ในสมดุ เรียน ดา้ นความรู้ พฒั นาการในสมยั ใหม่ของประเทศในภมู ภิ าคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ 1. อธิบายพัฒนาการในสมัยใหม่ของภูมิภาคเอเชีย จากหนงั สอื เรียน หรือแหลง่ ข้อมูลอ่นื ๆ ในประเดน็ ต่อไปนี้ ตะวนั ออกเฉียงใต้ได้อยา่ งถกู ต้อง ๒.1 ผลดีและผลเสียของการท่ีชาติตะวันตกเข้ามายึดครอง ด้านทกั ษะและกระบวนการ ประเทศตา่ ง ๆ ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ 2. วิเคราะห์เปรียบเทียบพัฒนาการในสมัยใหม่ของ 2.๒ พฒั นาการทางด้านการเมืองการปกครอง ภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ได้อย่างสมเหตุสมผล ๒.3 พัฒนาการทางด้านเศรษฐกจิ ๒.4 พฒั นาการทางดา้ นสังคมและวัฒนธรรม 550281
๕๒๒ ๕๒๒ หน่วยการหเรนียว่ นยรกทู้ าี่ร๒เรียนรทู้ ี่ ๒ แผนการจแดั ผกนากราเรียจนัดรกูท้ า่ีร1เร๒ยี นเรร่อื ูท้ งี่ 1พ๒ัฒเนราื่อกงาพรใัฒนนสามกัยาใรหใมน่ขสอมงัยภใูมหิภมา่ขคอเงอภเชูมียภิ ตาะควเอันเอชอียกตเะฉวียนั งอใตอ้กเฉยี งใต้ เวลา 1 ชเวั่วลโามง1 ชว่ั โมง เรื่อง พัฒเนราอ่ื กงาพรขัฒอนงาภกูมาภิ ราขคอเงอภเชูมียภิ ตาะควเอันเอชอยี กตเะฉวยี ันงอใตอ้กเฉยี งใต้ กลุ่มสาระกกลาุ่มรเสราียรนะรกู้ าสรังเครียมนศรกึ ู้ษสางั คศมาศสึกนษาาแศลาะสวนัฒานแธรลระมวัฒนธรรม รายวิชา ปรารยะวิชัตาิศาปสรตะรว์ ตั ศิ าสตร์ ชน้ั มัธยมศชกึนั้ ษมาัธปยีทมศ่ี 1ึกษาปีที่ 1 ดา้ นคณุ ลดักา้ษนณคะณุ ลักษณะ 3. ครูและ3น.ักคเรูแียลนะรน่วมักกเรันียอนภริป่วมรากยันเอกภ่ียวิปกรับายพเัฒก่ียนวากกับารพใัฒนนสมากัยาใหรใมน่ขสอมงัยใหม่ของ ประเทศใปนรภะูมเิภทาศคในเอภเูมชีิยภตาคะวเอันเอชอียกตเะฉวียันงอใตอ้กจเาฉกียนงใ้ันตร้ ่วจมากันสั้นรุป่วเมปก็นันสรุปเป็น 3. อภิปรา3ย.ผอลภจิปารกาพยัฒผลนจากาการพในัฒสนมาัยกใาหรมใน่ขสอมงภัยใูมหิภมา่ขคองภขูม้อิภสารคุปร่วขมอ้ กสันรขุปอรง่วหม้อกงันเรขียอนงหแ้อลงะเรนียานผลแจลาะกนกาผรลศจึกาษกากบาันรทศึกลษงาใบนันสทมึกุดลงในสมุด เอเชียตะวเนั ออเชอยีกตเฉะยีวงันใอตอ้ไดกอ้เฉยยี า่ งงใเตห้ไมดา้อะยสา่ มงเหมาะสม เรียน เรียน ข้นั สรปุ ข้ันสรุป 4. ครูและ4น.กั คเรียูแนละรว่นมกั กเรันียสนรรุปว่ บมทกเนั รสยี รนปุ โบดทยเครรียูมนีแโนดวยคคารถูมาแีมนดวงัคนา้ีถาม ดังนี้ ๔.1 “กา๔รเ.ข1้าม“กาขารอเงขช้าามตาิตขะอวงันชตากตสิต่งะผวลันดตีตก่อสเ่งศผรลษดฐีตก่อิจเขศอรงษฐกิจของ ภูมิภาคเอภเูมชีิยภตาคะวเอันเอชอียกตเะฉวียันงอใตอ้ใกนเฉสียมงัยใใตห้ใมน่อสยม่าัยงใไหรมบ่อ้างย”่าง(ไพริจบา้ รงณ” า(พิจารณา ตามคาตอตบาขมอคงานตักอเบรียขนอโงดนยักใเหรีย้อนย่ใูโนดดยใลุ หยอ้ พยินูใ่ ิจนขดอลุ งยคพรนิผู จิูส้ ขออนง)ครูผูส้ อน) ๔.2 “พัฒ๔น.2าก“าพรใัฒนนสามกัยาใรหใมน่ขสอมงัยภใูมหิภมา่ขคอเงอภเูชมีิยภาคตเะอวเันชีอยอกตะวันออก เฉียงใต้มีกเฉาียรเงปใตล้ม่ียีกนาแรปเปลงลไ่ียปนอแยป่าลงไงรไบป้าองย”่าง(ไพริจบา้ารงณ”า(ตพาิจมาคราณตาอตบาขมอคงาตอบของ นักเรยี นโดนยักใเหรียอ้ นย่ใูโนดยให้อยใู่ น ดลุ ยพินจิ ขดอลุ งยคพรินูผจิู้สขออนง)ครูผสู้ อน) ๔.3 “เพ๔รา.3ะเ“หเตพุใรดาะไทเหยตจุใึงดไมไ่ตทกยเจปึง็นไอม่าตณกเาปน็นิคอมาขณอางนชิาคตมิ ของชาติ ตะวันตก”ตะ(พวันิจาตรกณ”า(ตพาิจมาคราณตาอตบาขมอคงานตักอเบรขียอนงโนดักยเใรหีย้อนยโู่ใดนยดใุลหย้อพยินู่ในิจดุลยพินิจ ของครูผสู้ ขออนง)ครผู ู้สอน) 509
523 552130 การวดั และประเมินผล วิธีการ เครือ่ งมือทใี่ ช้ เกณฑ์ สิ่งที่ต้องการวดั /ประเมิน - การถาม – ตอบ - คาถาม ดี : นาเสนอ เชอ่ื มโยง ดา้ นความรู้ - การทากจิ กรรม - กระดาษ ความสัมพนั ธ์ของพัฒนาการ อธิบายพฒั นาการใน “ศกึ ษาชาติตะวันตกใน - หนังสอื เรยี น ในสมยั ใหม่ของภมู ภิ าค สมัยใหมข่ องภูมภิ าคเอเชีย SEA” ประวตั ิศาสตร์ ม.1 เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ได้ ตะวันออกเฉยี งใต้ - กิจกรรม “ศึกษา อยา่ งถูกต้อง ชาตติ ะวนั ตกใน พอใช้ :นาำ� เเสสนนอเอชเือ่ชมอ่ื มโยง ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ - การถาม – ตอบ SEA” คโยวงาคมวสามั มพสันมธพข์ ันอธง์ของ วิเคราะห์เปรยี บเทียบ - การทากจิ กรรม พัฒนาการในสมัยใหม่ของ พฒั นาการในสมัยใหม่ของ “ศึกษาชาตติ ะวนั ตกใน - คาถาม ภูมิภาคเอเชยี ตะวันออก ภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออก SEA” - กระดาษ เฉยี งใตไ้ ด้แต่ขาดเหตผุ ลบาง เฉียงใต้ - หนังสือเรียน ประการ ประวัติศาสตร์ ม.1 ปรับปรงุ : ไม่สามารถนาเสนอ - กจิ กรรม “ศึกษา เช่อื มโยงความสมั พนั ธ์ของ ชาติตะวนั ตกใน พควฒั านมาสกมั าพรันในธสข์ มอัยงพใหฒั มน่ขาอกงาร SEA” ภในมู สิภมายัคใเหอมเชข่ ยี อตงะภวูมันภิ อาอคก เฉอยีเชงียใต้ะวนั ออกเฉียงใต้ได้ ดี : จาแนก เปรยี บเทยี บ คเทวยีาบมสคมัวาพมนั สธมั ์ ขพอันงธ์ ของ พัฒนาการในสมยั ใหม่ของ ภมู ภิ าคเอเชียตะวนั ออก เฉยี งใตไ้ ด้อย่างสมเหตสุ มผล พอใช้ : จาแนกเปรียบเทียบ คเทวยีาบมสคมัวาพมันสธัม์ ขพอันงธ์ ของ พฒั นาการในสมัยใหม่ของ ภูมิภาคเอเชยี ตะวนั ออก เฉียงใตไ้ ด้แต่ขาดเหตุผลบาง ประการ ปรับปรุง : ไม่สามารถจาแนก เปรยี บเทียบความสมั พันธ์ ของพฒั นาการในสมัยใหม่ ของภูมิภาคเอเชียตะวนั ออก เฉียงใตไ้ ด้
524 552141 สงิ่ ที่ต้องการวัด/ประเมนิ วธิ กี าร เครือ่ งมอื ทใี่ ช้ เกณฑ์ ดา้ นคณุ ลักษณะ - การถาม – ตอบ - คาถาม ดี : นาเสนอผลจาก อภปิ รายผลจากพฒั นาการ พฒั นาการในสมยั ใหม่ของ ในสมยั ใหมข่ องภมู ิภาค ภูมิภาคเอเชียตะวนั ออก เอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ เฉียงใตไ้ ด้อย่างเหมาะสม พอใช้ : นาเสนอผลจาก พฒั นาการในสมัยใหม่ของ ภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออก เฉียงใตไ้ ด้แต่ขาดเหตผุ ลบาง ประการ ปรับปรงุ : ไม่สามารถ นาเสนอผลจากพฒั นาการ ในสมัยใหม่ของภูมภิ าค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ บนั ทกึ ผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปัญหาและอปุ สรรค .................................................................................................................................................................... ...... ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................. .............................................................................. ลงชื่อ ....................................................... ผ้สู อน (.......................................................) วันท่ี ............ เดือน ...................... พ.ศ. ........... ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะของผู้บริหารหรอื ผู้ท่ีไดร้ ับมอบหมาย ............................................................................................................................. .............................................. .................................................................................... ....................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ลงชื่อ ....................................................... ผู้ตรวจ (.......................................................) วนั ท่ี ............ เดือน ...................... พ.ศ. ...........
๕๒๕ หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๒ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1๓ เรอื่ ง พฒั นาการในสมัยปจั จุบันของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ เร่ือง พัฒนาการของภูมภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ เวลา 1 ชว่ั โมง กล่มุ สาระการเรยี นรู้ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม รายวชิ า ประวตั ศิ าสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 มาตรฐานการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื /แหล่งเรียนรู้ ส 4.2 ม.1/1 อธบิ ายพฒั นาการทางสังคม เศรษฐกิจ ขั้นนา หนังสือเรยี น ประวัตศิ าสตร์ ม.1 และการเมืองของประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชีย 1. ครถู ามคาถามเพ่อื นาเขา้ สู่บทเรียน ดงั น้ี ภาระงาน/ช้นิ งาน ตะวันออกเฉยี งใต้ 1.๑ “ในปัจจบุ ัน สถานการณ์ต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก กิจกรรม “จากอดีตสู่ปัจจุบันกับเอเชีย สาระสาคญั เฉยี งใตเ้ ป็นอย่างไร” (พิจารณาตามคาตอบของนกั เรียน โดยใหอ้ ยใู่ น ตะวันออกเฉียงใต้” โดยนักเรียนแบ่งกลุ่ม ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ใน ดลุ ยพินจิ ของครูผูส้ อน) กลุ่มละเท่า ๆ กัน จากนั้นให้สมาชิกแต่ละ ปัจจุบัน พัฒนาตนเองจนเกิดเป็นความเจริญรุ่งเรือง ๑.2 “เหตุการณ์ต่าง ๆ ในอดีตมีอิทธิพลต่อสถานการณ์ปัจจุบัน กลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้เร่ือง พัฒนาการใน ในดา้ นต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรือไม่ อย่างไร” (พิจารณาตาม สมัยปัจจุบนั ของภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียง ขอบเขตเน้อื หา คาตอบของนกั เรยี น โดยให้อยใู่ นดลุ ยพินจิ ของครผู ู้สอน) ใต้จากหนังสือเรียน และแหล่งข้อมูลอื่น ๆ พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ สังคม เศรษฐกิจ และ ข้ันสอน โดยแบ่งประเด็นที่ใช้ในการศึกษากันตาม การเมืองของประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชีย 2. นักเรยี นทากจิ กรรม “จากอดตี สปู่ ัจจบุ ันกับเอเชียตะวันออกเฉียง ความเหมาะสม และร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับ ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ใต”้ โดยครใู ห้นักเรยี นแบง่ กลุ่ม กลุ่มละเทา่ ๆ กนั จากนนั้ ให้สมาชิก พัฒนาการในสมัยปัจจุบันของภูมิภาคเอเชีย จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ แตล่ ะกลมุ่ รว่ มกนั ศึกษาความรูเ้ รอ่ื ง พฒั นาการในสมัยปัจจุบันของ ตะวันออกเฉียงใต้ ดา้ นความรู้ ภูมิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ จากหนังสือเรียน และแหล่งขอ้ มูล 1. อธิบายพัฒนาการในสมัยปัจจุบันของภูมิภาคเอเชีย อน่ื ๆ โดยแบง่ ประเด็นท่ใี ชใ้ นการศกึ ษากันตามความเหมาะสม ตะวนั ออกเฉยี งใต้ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง 3. ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั อภิปรายเกยี่ วกบั พฒั นาการในสมัยปัจจบุ ัน ด้านทกั ษะและกระบวนการ ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยใช้ข้อมูลท่ีนักเรียนศึกษาใน 2. วิเคราะห์เปรียบเทียบพัฒนาการในสมัยปัจจุบัน กิจกรรม “จากอดีตสู่ปัจจุบันกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” และ ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้อย่า ง พัฒนาเป็นองค์ความรู้ร่วมกันของหอ้ ง จากนัน้ บันทกึ ลงในสมุดเรยี น สมเหตุสมผล 515225
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๒ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 1๓ เร่ือง พฒั นาการในสมัยปัจจุบันของภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ ๕๒๖ เรื่อง พัฒนาการของภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ เวลา 1 ชั่วโมง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชา ประวัตศิ าสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ด้านคุณลักษณะ ขัน้ สรุป 3. อภิปรายผลจากพัฒนาการในสมัยปัจจุบันของ 4. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันอภปิ รายเก่ียวกบั พัฒนาการในสมัยปัจจบุ ัน ภูมิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ไดอ้ ย่างเหมาะสม ของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยครูมีแนวคาถาม ดงั นี้ ๔.1 “ความขัดแย้งท่ีเกิดขึ้นในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออก เฉียงใต้ มีสาเหตุมาจากอะไรบ้าง” (พิจารณาตามคาตอบของ นกั เรยี น โดยให้อย่ใู นดลุ ยพินจิ ของครูผสู้ อน) ๔.2 “พฒั นาการของเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใตภ้ ายหลงั สน้ิ สุด สงครามเย็นเป็นอย่างไร” (พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้ อยใู่ นดุลยพนิ จิ ของครูผู้สอน) ๔.3 “พัฒนาการในสมัยปัจจุบันของประเทศในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ส่งผลอย่างไรบ้าง” (พิจารณาตามคาตอบ ของนกั เรียน โดยใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพนิ จิ ของครูผสู้ อน) ๔.๔ “แนวโนม้ ของเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ในอนาคตจะเป็น อย่างไร” (พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจ ของครูผูส้ อน) 513 52
527 551247 การวัดและประเมนิ ผล วธิ กี าร เครอื่ งมือที่ใช้ เกณฑ์ ส่ิงท่ตี ้องการวัด/ประเมิน - การถาม – ตอบ - คาถาม ดี : นาเสนอ เชอื่ มโยง ดา้ นความรู้ - การทากจิ กรรม - หนังสือเรียน ความสมั พันธข์ อง อธบิ ายพฒั นาการในสมยั “จากอดตี สูป่ จั จบุ ันกบั ประวัติศาสตร์ ม.1 พัฒนาการในสมยั ปัจจบุ นั ปจั จบุ นั ของภูมภิ าคเอเชีย เอเชียตะวนั ออกเฉยี ง - วิดที ัศน์ ของภูมิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ไ ใต”้ - กระดาษ ตะวันออกเฉียงใต้ได้อยา่ ง - กิจกรรม “จากอดีตสู่ ถกู ต้อง ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ ปัจจบุ ันกับเอเชีย พอใช้ :นาำ� เเสสนนออเชื่อเชมื่อมโยง วเิ คราะห์เปรยี บเทยี บ ตะวันออกเฉยี งใต้” คโยวงาคมวสามั มพสันัมธพ์ ขนั อธ์ขงอง พฒั นาการในสมัยปัจจุบันของ พัฒนาการในสมัยปัจจบุ ัน ภูมภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉียง ของภูมิภาคเอเชยี ใต้ไ ตะวันออกเฉยี งใต้ไดแ้ ต่ ขาดเหตผุ ลบางประการ ปรบั ปรุง : ไมส่ ามารถ นาเสนอ เช่ือมโยง ความสมั พันธข์ อง พฒั นาการในสมยั ปจั จบุ นั ของภูมภิ าคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ได้ - การถาม – ตอบ - คาถาม ดี : จาแนก เปรยี บเทียบ - การทากจิ กรรม - หนงั สือเรยี น คเทวยีามบสคมัวพามันสธัม์ ขพอนั งธ์ ของ “จากอดตี สู่ปัจจบุ นั กบั ประวัตศิ าสตร์ ม.1 พัฒนาการในสมัยปัจจุบนั เอเชยี ตะวันออกเฉียง - กวริดะที ดศั านษ์ ของภูมภิ าคเอเชีย ใต”้ - กิจรกะดรรามษ “จากอดีตสู่ ตะวนั ออกเฉยี งใต้ไดอ้ ยา่ ง ป- จักจิ ุบกันรรกมบั เ“อจเชากียอดตี สู่ สมเหตุสมผล ตปะัจวจนั บุ อันอกกบั เฉเอยี เงชใยี ต”้ พอใช้ : จาแนก เปรรียียบบเทียบ ตะวันออกเฉียงใต้” คเทวยีามบสคัมวพามันสธัม์ ขพอนั งธ์ ของ พัฒนาการในสมยั ปัจจุบัน ของภมู ิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ได้แต่ขาด เหตผุ ลบางประการ ปรบั ปรุง : ไมส่ ามารถ จาแนก เปรยี บเทยี บ ความสัมพันธ์ ของ
552288 555212588 สสิ่งิง่ทที่ต่ตี ้อ้องงกกาารรววดั ัด//ปปรระะเมเมนิ นิ ววธิ ิธกี ีกาารร เคเครร่ือ่อื งงมมือือทท่ีใ่ีใชช้ ้ เกเกณณฑฑ์ ์ --คคาาถถาามม พพฒั ฒั นนาากกาารรในในสสมมยั ยั ปปัจัจจุบบุ ันนั ดดา้ ้านนคคุณุณลลักกั ษษณณะะ ขขอองงภภมู มู ิภิภาาคคเอเอเชเชียยี ออภภปิ ิปรราายยผผลลจจาากกพพฒั ัฒนนาากกาารรในใน --กกาารรถถาามม––ตตออบบ ตตะะววันันออออกกเฉเฉยี ยี งงใตใต้ได้ได้ ้ สสมมยั ยั ปปจั จั จจุบบุ ันนั ขขอองงภภูมูมิภภิ าาคคเอเอเชเชียีย ดดี :ี :นนาาเสเสนนออผผลลจจาากก ตตะะววันันออออกกเฉเฉียียงงใตใต้ไ้ไ พพัฒฒั นนาากกาารรในในสสมมัยัยปปจั ัจจบุ บุ ันัน ขขอองงภภูมมู ิภิภาาคคเอเอเชเชียยี ตตะะววันันออออกกเฉเฉียยี งงใตใต้ไไ้ ดได้อ้อยยา่ า่งง เหเหมมาาะะสสมม พพออใชใช้ :้ :นนาาเสเสนนออผผลลจจาากก พพฒั ัฒนนาากกาารรในในสสมมัยยั ปปัจัจจบุ ุบนั ัน ขขอองงภภูมมู ภิ ิภาาคคเอเอเชเชยี ีย ตตะะววันันออออกกเฉเฉียยี งงใตใต้ไไ้ ดไดแ้ แ้ ตต่ ่ ขขาาดดเหเหตตผุ ผุ ลลบบาางงปปรระะกกาารร ปปรรับบั ปปรรุงุง::ไมไม่สส่ าามมาารรถถ นนาาเสเสนนออผผลลจจาากกพพฒั ฒั นนาากกาารร ในในสสมมัยัยปปจั ัจจุบบุ นั นั ขขอองงภภมู มู ิภิภาาคค เอเอเชเชยี ยี ตตะะววนั นั ออออกกเฉเฉยี ยี งงใตใต้ได้ได้ ้
529 551269 บันทกึ ผลหลงั สอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................... ...... ข้อเสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข ............................................................................................. .............................................................................. ลงช่อื ....................................................... ผ้สู อน (.......................................................) วันท่ี ............ เดอื น ...................... พ.ศ. ........... ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรอื ผู้ที่ได้รับมอบหมาย ............................................................................................................................. .............................................. .................................................................................... ....................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ลงชอ่ื ....................................................... ผู้ตรวจ (.......................................................) วนั ที่ ............ เดอื น ...................... พ.ศ. ...........
สกลุเงนิ ๕๓๐ จดุ ประสงคก์ ารเียนรู้มาตรฐานการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1๔ เรอื่ ง ประเทศในภูมภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๒ เรอื่ ง พัฒนาการของภูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ เวลา 1 ชัว่ โมง กลุม่ สาระการเรยี นรู้ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวชิ า ประวตั ศิ าสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 กิจกรรมการเรยี นรู้ สอื่ /แหลง่ เรยี นรู้ ส 4.2 ม.1/1 อธบิ ายพัฒนาการทางสงั คม เศรษฐกิจ ข้นั นา 1. หนังสอื เรยี น ประวตั ศิ าสตร์ ม.1 ด้านความรู้วชิถีวีิตชีทวิตาใทหำ�้เใกหิด้เคกิวดาคมวหามลหากลาหกลหาลยาทยาทงาสงังสคังมคแมแแลละะ บรไู น ฟิลปิ ปินส์ อนิ โดนีเซีย และตมิ อร์เลสเต) และการเมืองของประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชีย 1. ครูเปิดภาพแผนที่ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จากน้ันครูถาม 2. ภาพแผนที่ภมู ภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ ตะวันออกเฉียงใต้ คาถามนกั เรียนเพ่อื นาเขา้ สู่บทเรียน โดยผูส้ อนมีแนวคาถาม ดังน้ี 3. กระดาษ Flipchart สาระสาคัญ 1.1 “ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ประกอบด้วยประเทศ ภาระงาน/ชน้ิ งาน ท่มี า :สามารถอยู่ร่วมกนั ได้อยา่ งสนั ติสขุ ความแตกต่างหลากหลายของผู้คน ความเช่ือ วิถี ใดบ้าง” (มาเลเซีย เมียนมาร์ กัมพูชา ลาว ไทย สิงคโปร์ เวียดนาม การทาแผนผังความคิดประเทศในภูมิภาค เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ วัฒนธรรม ซึ่งในฐานะพลเมืองจาเป็นท่ีจะต้องทา 1.2 “ประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความ 1. อธิบายข้อมูลพื้นฐานของประเทศในภูมิภาคข้อมูลพ้ืนฐานของประเทศในภูมิภาคเอเชีย ความเข้าใจ และยอมรับความแตกต่าง เพื่อให้ เหมือน หรือความแตกต่างกันอย่างไร” (แตกต่าง เพราะแต่ละประเทศ มีระบอบการเมืองการปกครอง ศาสนา ความเชื่อ เศรษฐกิจ สังคม ขอบเขตเนอ้ื หา วัฒนธรรม ฯลฯ ท่แี ตกต่างกัน) ht ps:/ upload.wik media.org/wik pedia/commons/thumb/เชื้อชาติ ภาษา ศาสนา ระบอบการปกครอง และ ตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ตาแหน่งท่ีตั้งของประเทศ ขนาดพื้น้นทท่ี ีแ่ อละาอณาาณเขาตเขเตมเือมงือหงหลวลงวงปปรระะชชาากกรร // เอเชียตะวันอ กเฉียงใต้ ามประเด็นที่กาหนดให้ได้ดา้ นความรู้ สกลุ เงิน จุดประสงค์การเรยี นรู้1. อธิบายข้อมูลพื้นฐานของประเทศในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตามประเด็นท่ีกาหนดให้ได้ 5/5e/As ociation_of_Southeast_Asian_Nations_%28orthogrอยา่ งถกู ตอ้ ง ท่มี า : hhttptps:s/:/u/upploloaadd.w.wikikimimeeddiaia.o.orgrg/w/wikikipipeeddiaia/c/coommmmoonnss/t/hthuummbb// 55//55ee//AAssssoocciaiattioionn__oof_f_SSoouutthheeaasstt__AAssiaiann__NNaattioionnss__%%2288oortrhtohogrgr aphic_projection%29.svg/220px-ssociation_of_Southeast_ อยา่ งถกู ตอ้ ง Asian_Nations_%28orthographic_porjection%29.svg.png 53๕05๑1๗7
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1๔ เร่อื ง ประเทศในภูมภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ๕๓๑ หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี ๒ เรอื่ ง พัฒนาการของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ๒ใดป๓อหดหกกปดหห23ดปสด2ส3ดออออนยา้้าลรมมยยลล..้า้้้าาาออนรร....ฐลลนนะา่นนนนา่า่าวนเเะะ่มุุม่กกนน่วววาหหงเงงกคเิทเเททคค�ำสสเเาาิิยเเทนาาคสเเททตตฉฉหณุคคเักหหณุุณาาักักกเเศะมรสกกุุสสศศีียยลรรรรสสษมมษษลาาขในเลลมมใใงงะะาาาหนหหะรนนาากัะอะะนนอกกััใใผผยกกะะเหะะตภแษแแงตตออรแภภษษใลลลลาาหหสสคุส์คลูมลลน้้ณียนแแรรููมมณณ์์มมคคใใวมวะิภาาะะนภเเวนนนนะิิภภาารรววกผกกะะาทรูมยยมมฐฐยีียววาาาารลครรูท้ภิาาาเคคเนนมมททะะะ ใใเปหง่ีานนอบเเบบรรเเ๒กาานน็นคออมหหเะะูู้้วววางงชสสเเเพือขขมมภภนรอนนกกชชียังงันลปืืออออเููีีกยยกกาาตคคชมมแเงงฏนนาตตรรมาาะมมยีลิิคครบิรรวภภปปะะือศศตะววแแนััตววงฏฏกึกึะคาาาาลลโัันนอติ วษษวิิมมลบบะะอคคนออันากาาเเััคคตตกมภออปปอไเเิิววตตเศศดแกกาอ็็นนฉออาายาาต้อนนเเกพพยีมมฉฉสสใกยเเเภภงตลลีีฉยยแแนน่าตใชชาา้คเเียงงตงตตาา่าีีมมยยใใเวงยย้งกกหตตืืไออใาแแใใขดตตตตต้้มมไไตตงงลลอ้่่ดด้าาโโา้้ะะคคงะะลลงง้้ะออแววววขขกกสยยววผฒััฒาาออไไม่่ััาานนนดดมมนนงงงงก้้ธธารรร๓เขจ๓ขเจน“ก๒ป“กนป๒รรกกจาาภภาามมนน้ัั้กัักรร....ี่ย่ยีดักกรรููเเมมะะสส๓๓๓๓๓๓๓๓๓๓๓๓๓๓๓๓คคววจจรรเเกนนิิภภเเรรออกก................ีียยรราาาNNทท675467238121354เ้นั้ัน9ียียนนาาับบัููรนนใใรกกaaใในนศศคคหหื่อปปเจจหหปปปปปปปปปปปปปปปปคคttรกกเมเมง้้นนiiะะรรออน้น้รรรรรรรรรรรรรรรรooียาาาาีีคคะไะไััะะะะะะะะะะะะะะะะกกพเเักกัnnนตตรรดดชชเเววเเเเเเเเเเเเเเเเเเสสเเททssัฒททททททททททททททททรออ้้เเีียยรรรราารร__ออู้ทศศศศศศศศศศศศศศศศศศีียีียบบยยตตaaมมนยียี%%นนี่ใใssสบสบเมฟกไลมไลกเอนนppนะนะนนขขแแา1นนมมททss22ิงาิมังัามนิาาhhววรรแแิลกเเแแooรรตตออยียีภภ๔ยยคคววรรเเูไูไัันนพพโiiตต88ปิูเู้้เาลลccบบccนนกกงงนนือ่่ือดมููมโกโกออล่่ลรชููชปooii__เเปปเนน่่มมงงงตงตดดaaนภิิภี่่ียยซซรรรขะะออาาpprrนิรรกกttััาา่่าากกาาววาาเีอ่ืาาttยียีปปกกอกกiirrซ์์สรรรรhhooลลคคยยคคงงเoเoงลลงรรเเ์์ุสุสีย์รรooตตุุ่่nnววมมววฉฉเเjjภะะ่มุมุ่ออปeeซีซียยggาา__ชิิชีียยาาเเูมศศเเccาาrrมมททรกกooนนมมงงาาชชaaกึึกttิภลละแแใใศศลลffียiียiบบppตตษ_ษ_ooาาเปปาตตใใุุ่่คคมมทตตhhมมรรSS้้คปปnnนนาารรกกรระะลลิิศiiooบบคค%%เะะccภภรรตตููววพพอะะใuuน้้น__ววะะททมูมู่่าาันนัน22เููดดttppกกตััตคคงงชขขภิภิ44hhออภ99ขขrrออศิิศเเววียออาาeeooออชชูมออ..้า้าบบาา––คคตssงงaaกกjjื่ื่ขขภิอองงสสeevvดดเเะปปssเเแแ55ออ้้ออาccมมggตตฉฉtt้้วววรรตต__เเมม//คttยียีรรยยโโนัชชiiคคะ22ะAA่่ลลooูลูลเยย์์งงียยีออเเนน22ssะะ๑๑ใใจจnnงงททตตอตตiiเปปาาaa00%%๑๑เเชะะกศศคค้้กกขขnnรรppียดดววเ22ลลนนะะ้้แแ__ปปาาฉxxตันนัังงั เเ99หะะหั้ั้สสนนรร--นนียททะออคคูู่่ะะลล..บบ้ี้ีงวssศศออๆๆเเ่งง่ววใvvันททกกทจทจขขตาาggอาาเเศศเเซซ้ออ้้..มมฉฉกกppรรอึ่ึ่มมงงยียีสสีีซซยยกกnnกใใูลูลงงาา่ึ่ึงงิจิจggนนนนเใใตตฉแแมมกกตตววดดา่า่ตตียาารร้้””ัันนงงัังง่่ลลรรรรงนนนนใมมๆๆถถะะต้ีี้ี้้ี ้ เวลา 1 ชั่วโมง ๕๓๑ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 เวลา 1 ชว่ั โมง ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ๓.8 ประเทศฟิลิปปินส์ 535118 531 ๓.9 ประเทศอนิ โดนเี ซยี
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 1๔ เร่อื ง ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ๕๓๒ หน่วยการเรียนร้ทู ี่ ๒ เรอ่ื ง พัฒนาการของภูมภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ เวลา 1 ช่วั โมง กลุ่มสาระการเรยี นรู้ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม รายวิชา ประวัติศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ๓.10 ประเทศติมอร์ – เลสเต ๓.1๑ ประเทศเวียดนาม ๔. ครูให้นักเรียนที่ได้รับมอบหมายให้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจาก แหล่งข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทาแผนผงั ความคิด โดยมีหัวข้อ ดังนี้ ๔.1 ทีต่ ง้ั ของประเทศ ๔.2 ขนาดพ้นื ที่ และอาณาเขต ๔.3 เมอื งหลวง ๔.4 ประชากร ๔.5 ภาษา ๔.6 ศาสนา ๔.7 ระบอบการปกครอง ๔.๘ สกลุ เงิน ๔.๙ ธงชาติ ๔.1๐ ตราแผน่ ดิน 5. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนาแผนผังความคิดประเทศในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ท่ีศึกษาค้นคว้ามาติดไว้ส่วนต่าง ๆ ของ ห้องเรียน และให้กลุ่มอื่น ๆ มาศึกษาแลกเปล่ียนข้อมูลความรู้ ระหว่างกนั ขัน้ สรุป 519532
๔.3 เมอื งหลวง ๔.4 ประชากร ๔.5 ภาษา ๔.6 ศาสนา ๔.7 ระบอบการปกครอง ๔.๘ สกลุ เงนิ ๔.๙ ธงชาติ ๔.1๐ ตราแผน่ ดิน ๕๓๓ แแลละะแแววผผฒัฒั นนนนกกธธาารรรรหร5เ66ขขรรอจจะมมอ้นั้...อััดดเหงคคสคงชกกวปรรรเีรยาา่าเเรููรุปแแูใรรงตรียะหลลื่อื่อกเเะเรรน้ะะนงงนัทวยียีนนักัพพศนนนแัักกเตััฒฒอรรลรเเู่้ท้ทูารรียอะนนีีงยย่ี่ีนกใาา11นนหๆแเกก๔๔รรฉ้กตาา่่ววใียรร่ลลนเเมมรรรรงขขุ่ะมภกกาาอ่่ือืใอกอตยยูัันนมงงงล่ื้ววนิทภออภภปปุ่มชิิชภภี่าููศมมรรๆนาาคิิึปปภิภิกะะาเเเปปาารรษมอททแคคาารราเาศศผยยเเะะชคศออใในเเววีย้นนนกกึเเกตัตัผชชต่่ีียยภภคษัิศศิงยียีะววูมมูวคาาาตตวกก้ภิภิาสสวแันะะัับบมาาตตาววลอกกคคมารรันันกอาาเเต์์คอออเกรริดิดปออเเออเชชไฉปกกลยยวีียยียเเ่ีรูู่่ยรร้สฉฉตตง่่ะววน่ยียีวใะะมมเตขงงนววทกก้ใใภ้นนััอตศััตนนตาออม่าใ้้ออยนออูงลยยใกกภคต่่าาๆเเูมงงว้คฉฉสสิภาขวีียยัันนมาอางงตตมใใครงตติิู้ ้้ ๕๓๓ หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๒ สังคมศึกษา ศาสนา เวลา 1 ชว่ั โมง กหลน่มุวสยากราะรกเราียรนเรรยี ทู้ นี่ ร๒ู้ สังคมศึกษา ศาสนา ชเวน้ั ลมาัธย1มศชกึ วั่ ษโมาปงีที่ 1 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ขหอลงาปยหระลเาทยศทตา่งาวงัฒๆนใธนรภรมู ิภพารค้อเมอทเช้ังสียรตุปะแวนั วอทอากงเกฉาียรงปใฏติบ้ภัตายิตในตภ้คาวยาใมต้ หควลามยหลายกทหาลงาวยัฒเหนลธร่ารนมั้นใพนรฐ้อามนทะั้งขสอรงปุ คแวนาวมทเาปง็นกพารลปเมฏือิบงัตโิตลนกภโาดยยใตม้ี คแนวาวมคาหถลาามกหดงัลนาี้ยเหล่านั้นในฐานะของความเป็นพลเมืองโลก โดยมี 532 520 แนว6ค.1าถ“ามปรดะงั เนที้ ศต่าง ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความเหมือน หรือ6ค.1วา“มปแตระกเตท่าศงกตัน่างอยๆ่างใไนรเ”อเ(พชียิจตาระณวันาจอาอกกคเาฉตียองบใตข้มอีคงนวักามเรเียหนมโือดนย หอยรือใู่ นคดวุลายมพแตนิ กจิ ตข่อางกคันรผูอ้สูยอ่างนไ)ร” (พจิ ารณาจากคาตอบของนักเรียนโดย อยใู่ 6น.ด2ุล“ยนพักนิ เิจรขียอนงคริดูผวสู้ ่าอทนุ)กประเทศสามารถอยู่ร่วมกันได้หรือไม่” (พิจ6าร.2ณ“าจนาักกเคราียตนอคบิดขวอ่างนทกั ุกเรปยี รนะโเดทยศอสยาู่ใมนาดรุลถยอพยนิ ู่รจิ ่วขมอกงคันรไูผดสู้หอรนือ)ไม่” (พจิ 6าร.3ณ“าจนาักกเคราียตนอคบิดขวอ่างนเักรเารจียะนมโดีวิยธีอกยาู่ใรนอดยลุ ู่รย่วพมนิ กิจันขทอ่างมครกูผลสู้ าองนค)วาม แตก6ต.3่าง“ไดน้อักยเ่ารงียไนร”คิด(พว่ิจาาเรรณาจาจะามกีวคิธาีกตาอรบอขยอู่รง่วนมักกเัรนียทน่าโมดกยลอายงู่ในคดวุลามย พแตินกจิ ตข่าองไคดร้อูผยสู้ ่าองนไร) ” (พิจารณาจากคาตอบของนักเรียนโดยอยู่ในดุลย พินิจของครผู สู้ อน)
534 552314 การวดั และประเมนิ ผล วธิ ีการ เครื่องมอื ท่ใี ช้ เกณฑ์ ส่งิ ท่ีต้องการวดั /ประเมนิ - การถาม – ตอบ - การทาแผนผัง - คาถาม ดี : ระบุขอ้ มูลพืน้ ฐาน ด้านความรู้ ความคิด - หนงั สอื เรยี น ประวตั ิ ของประเทศในภูมภิ าค อธิบายขอ้ มูลพื้นฐานของ ศาสตร์ ม.1 เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ประเทศในภูมภิ าคเอเชยี - ภาพแผนท่ภี มู ภิ าค ตามประเด็นทีก่ าหนด ตะวันออกเฉยี งใตต้ ามประเด็น เอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ ใหไ้ ดอ้ ย่างถูกตอ้ ง ท่ีกาหนดให้ - กระดาษ Flipchart พอใช้ : ระบุขอ้ มลู พ้นื ฐาน ของประเทศในภูมิภาค ด้านทักษะ/กระบวนการ เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ วเิ คราะหค์ วามเหมือน และ - การถาม – ตอบ ตามประเด็นที่กาหนด ความแตกต่างของประเทศใน - การทาแผนผัง ใหไ้ ด้แต่ขาดเหตผุ ล ภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ความคดิ บางประการ ปรับปรงุ : ไมส่ ามารถ ระบุข้อมูลพน้ื ฐานของ ประเทศในภูมิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใตต้ าม ประเด็นทกี่ าหนดให้ได้ - คาถาม ดี : อธบิ ายความเหมือน - หนังสือเรยี น ประวัติ เแหลมะือคนวาแมลแะตคกวตาา่มง ศาสตร์ ม.1 แขตอกงปตร่างะขเทอศงปในระเทศใน - ภาพแผนทีภ่ ูมิภาค ภูมภิ าคเอเชียตะวันออก เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ เฉียงใตไ้ ด้อย่าง - กระดาษ Flipchart สมเหตุสมผล พอใช้ : อธบิ ายความ เหมอื น และความ แตกต่างของประเทศใน ภมู ภิ าคเอเชยี ตะวันออก เฉยี งใตไ้ ดแ้ ตข่ าดเหตุผล บางประการ ปรับปรุง : ไม่สามารถ อธิบายความเหมอื น และ ความแตกตา่ งของ ประเทศในภูมิภาคเอเชีย ตะวนั ออกเฉยี งใต้ได้
535 552325 ส่ิงทีต่ ้องการวัด/ประเมนิ วธิ กี าร เครือ่ งมอื ท่ใี ช้ เกณฑ์ ดา้ นคุณลกั ษณะ - คาถาม ดี : นาเสนอแนวทาง นาเสนอแนวทางการปฏบิ ตั ติ น - การถาม – ตอบ การปฏบิ ตั ติ นภายใต้ ภายใต้ความหลากหลายใน ความหลากหลายใน ภมู ภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ ภูมิภาคเอเชียตะวนั ในฐานะของความเป็นพลเมือง ออกเฉยี งใต้ ในฐานะ โลก ของความเปน็ พลเมอื ง โลกได้อย่างเหมาะสม พอใช้ : นาเสนอ แนวทางการปฏิบัตติ น ภายใตค้ วามหลากหลาย ในภูมภิ าคเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ ในฐานะ ของความเปน็ พลเมือง โลกได้แตข่ าดเหตผุ ล บางประการ ปรบั ปรุง : ไม่สามารถ นาเสนอแนวทางการ ปฏิบตั ติ นภายใตค้ วาม หลากหลายในภมู ภิ าค เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ ในฐานะของความเปน็ พลเมืองโลกได้
536 552336 บนั ทึกผลหลงั สอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปญั หาและอปุ สรรค ............................................................................................................................. ............................................. ข้อเสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข ............................................................................................................................................................ ............... ลงชอื่ ....................................................... ผสู้ อน (.......................................................) วันที่ ............ เดอื น ...................... พ.ศ. ........... ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะของผบู้ ริหารหรอื ผู้ที่ได้รับมอบหมาย ............................................................................................................................. .............................................. .................................................................................... ....................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ลงช่อื ....................................................... ผู้ตรวจ (.......................................................) วันที่ ............ เดอื น ...................... พ.ศ. ...........
๕๓๗ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๒ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1๕ เรอื่ ง ความร่วมมือและการรวมกลุ่มของประเทศในภูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ เรอ่ื ง พัฒนาการของภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ เวลา 1 ชว่ั โมง กลุม่ สาระการเรียนรู้ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม รายวชิ า ประวตั ศิ าสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 มาตรฐานการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ส่อื /แหลง่ เรยี นรู้ ส 4.2 ม.1/1 อธบิ ายพัฒนาการทางสงั คม เศรษฐกจิ ข้ันนา 1. หนังสือเรยี น ประวตั ศิ าสตร์ ม.1 และการเมืองของประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชีย 1. ครูให้นักเรียนชมวิดีทัศน์ เร่ือง Visit ASEAN 50th โดยครูมีแนว 2. วดิ ีทศั น์ เรอื่ ง Visit ASEAN 50th ตะวันออกเฉียงใต้ คาถาม ดงั นี้ 3. กระดาษ Flipchart สาระสาคัญ ภาระงาน/ชิน้ งาน ความเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เศรษฐกิจ และ การวิเคราะห์ผลท่ีเกิดข้ึนจากการเข้าร่วมเป็น สังคมของโลก ส่งผลให้เกิดการร่วมมือระหว่าง สมาชกิ สมาคมชาติแห่งเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศเพ่ือส่งเสริม และสนับสนุนให้แต่ละประเทศ สามารถดาเนนิ ตอ่ ไปได้ ขอบเขตเน้อื หา ประวัติการก่อตั้ง วัตถุประสงค์ บทบาทหน้าที่ และ ความสัมพันธ์ของประเทศสมาชิก เกี่ยวกับความ ร่วมมือและการรวมกลุ่มของประเทศในภูมิภาค เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ ที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=v33tdwRyy8866cIl จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1.1 “นักเรียนทราบหรือไม่ว่าปัจจุบันประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาค ดา้ นความรู้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ร่วมกลุ่มกัน และก่อต้ังข้ึนเป็นองค์กรใด” 1. อธิบายประวัติการก่อต้ัง วัตถุประสงค์ บทบาท (ASEAN) หน้าที่ ความสัมพันธ์ของประเทศสมาชิก ความ 1.2 “การรวมกลุ่มดังกล่าวของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก ร่วมมือ และการรวมกลุ่มของประเทศในภูมิภาค เฉียงใต้ส่งผลดี หรือผลเสียอย่างไร” (พิจารณาจากคาตอบของนักเรียน เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ได้อย่างถูกต้อง โดยอย่ใู นดลุ ยพินจิ ของครูผ้สู อน) 552347
หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี ๒ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 1๕ เรื่อง ความร่วมมือและการรวมกลุ่มของประเทศในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ๕๓๘ เรือ่ ง พัฒนาการของภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ เวลา 1 ชัว่ โมง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม รายวชิ า ประวัตศิ าสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 1 ด้านทักษะและกระบวนการ 2. ครูพูดเชื่อมโยงความรู้จากวีดิทัศน์ และจากการอภิปรายร่วมกับ นักเรยี น และพูดเชอ่ื มเข้าสู่บทเรยี นว่า “ปัจจบุ ันภมู ภิ าคเอเชียตะวนั ออก 2. วิ เ ค ร า ะ ห์ ผ ล ห รื อ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ด้ า น เฉียงใต้ของเราได้มีการรวมกลุ่มความร่วมมือเป็นองค์กรหนึ่ง ในปัจจุบัน ต่าง ๆ จากการเข้าร่วมเป็นสมาชิกอาเซียนในด้าน องค์กรดังกล่าวได้ดาเนินการตามวตั ถุประสงค์ และมบี ทบาทสาคัญในเวที ของการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคมได้ โลก” อย่างมีเหตผุ ล ข้นั สอน ด้านคณุ ลกั ษณะ 3. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 – 5 คน คละ 3. อภิปรายผลท่ีเกิดขึ้นจากการเป็นสมาชิกการ ความสามารถ จากน้ันให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาค้นคว้าข้อมูลต่าง ๆ รวมกลมุ่ ของประเทศในภมู ิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี ง และใหน้ กั เรยี นรว่ มกันเขียนแผนผังความคิด ในประเดน็ หัวข้อ ดังนี้ ใต้ไดอ้ ย่างเหมาะสม 3.1 ชื่อองคก์ รและประวตั กิ ารกอ่ ตงั้ 3.2 คาขวัญขององค์กร 3.3 วตั ถุประสงค์ในการก่อต้ัง 3.4 บทบาทหนา้ ทขี่ ององคก์ ร 4. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับประวัติการก่อต้ังองค์กร คาขวัญขององค์กร วัตถุประสงค์ บทบาทหน้าท่ี และวิเคราะห์ ความสัมพันธ์กับประเทศไทยเกี่ยวกับสมาคมประชาชาติเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ โดยใช้ประเด็นคาถามดังต่อไปน้ีเป็นกรอบพ้ืนฐานใน การอภปิ ราย 4.1 “สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีช่ือย่อว่า อยา่ งไร” (อาเซยี น [ASEAN]) 525 38
แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 1๕ เรือ่ ง ความร่วมมือและการรวมกลุ่มของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ๕๓๙ หน่วยการเรียนร้ทู ่ี ๒ เรื่อง พัฒนาการของภูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ เวลา 1 ช่ัวโมง กลุ่มสาระการเรียนรู้ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม รายวิชา ประวัตศิ าสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 4.2 “คาขวัญของสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้คือ อะไร” (หนึ่งวสิ ยั ทศั น์ หน่ึงอตั ลกั ษณ์ หน่ึงประชาคม) 4.3 “สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีวัตถุประสงค์ใน การก่อตั้งอะไรบ้าง” (เพื่อประสานความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ สังคม และวฒั นธรรม) 4.4 “กิจกรรมใดบ้างท่ีถือว่าเป็นบทบาทหนา้ ท่ีของอาเซียน” (ความ ร่วมมือดา้ นเศรษฐกิจ/เสรที างการคา้ /พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ /อ่นื ๆ) 4.5 “ประเทศไทยมีความสัมพันธ์กบั อาเซียนด้านใดบ้าง” (พิจารณา จากคาตอบของนกั เรียนโดยอยใู่ นดุลยพนิ ิจของครผู ู้สอน) 5. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ผลกระทบท่ีเกิดข้นึ จากการ เข้าร่วมเป็นสมาชิกอาเซียนในด้านของการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม ว่าส่งผลกระทบอย่างไรบ้าง จากน้ันให้ตัวแทนกลุ่มออกมา นาเสนอหน้าชั้นเรียนโดยครูตรวจสอบความถูกต้องและอธิบายเพ่ิมเติม ให้สมบรู ณ์ ข้นั สรปุ 6. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับความร่วมมือ และการ รวมกลุ่มของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีแนว คาถามสาคัญ ดงั นี้ 6.1 “สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีวัตถุประสงค์ ในการร่วมกลุ่มเพ่ืออะไร” (พิจารณาจากคาตอบของนักเรียนโดยอยู่ใน ดลุ ยพินิจของครูผสู้ อน) 525639
แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 1๕ เร่ือง ความร่วมมือและการรวมกลุ่มของประเทศในภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ๕๔๐ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๒ เร่อื ง พัฒนาการของภูมภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ เวลา 1 ชว่ั โมง กลมุ่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม รายวชิ า ประวัตศิ าสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 6.2 “นักเรียนคิดว่า จุดแข็ง – จุดอ่อนของสมาคมประชาชาติแห่ง เอเชียตะวันออกเฉยี งใต้คืออะไร” (พจิ ารณาจากคาตอบของนักเรยี นโดย อยูใ่ นดุลยพนิ ิจของครูผู้สอน) 6.3 “จากสถานการณ์โลกในปัจจุบัน นักเรียนคิดว่า สมาคม ประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ควรดาเนินบทบาทขององค์กร อย่างไร” (พิจารณาจากคาตอบของนักเรียนโดยอยู่ในดุลยพินิจของ ครูผูส้ อน) 527
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 601
- 602
- 603
- 604
- 605
- 606
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
- 601 - 606
Pages: