บนั ทกึ ขอ้ ความ สว่ นราชการ โรงเรยี นเวยี งสระ วนั ที.่ ...…….. เดอื น………………………. พ.ศ. 2563 ท่ี ………/2563 เร่อื ง ขออนุญาตใช้แผนการจดั การเรยี นรู้ เรียน ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นเวียงสระ สิ่งทีส่ ่งมาด้วย แผนการจดั การเรียนรู้หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1-3 จำนวน 18 แผน + . ด้วยข้าพเจ้านายนริศ จันทร์สะอาด ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนเวียงสระ อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 ได้รับมอบหมายให้ทำการสอน รายวิชาประวตั ิศาสตร์ 5 รหัสวชิ า ส23103 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ในภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ในการนี้ ข้าพเจ้าได้จัดเตรียมการสอนโดยการวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีพุทธศักราช 2551 วิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนเวียงสระ วิเคราะห์ผู้เรียนและพบสภาพที่เป็น ปัญหาในการเรียนการสอน จึงได้วางแผนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนในส่วนที่รับผิดชอบ โดยได้จัดทำ แผนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และจัดทำโครงการจัดการเรียนรู้ ที่แบ่งหน่วยการเรียนรู้ และคะแนน เสร็จสิ้นแล้ว จึงขออนญุ าตดำเนินการสอนตามแผนการจัดการเรยี นรู้ และโครงการจัดการเรยี นร้ทู ่ีแนบมาน้ี จงึ เรยี นมาเพอื่ โปรดพจิ ารณา ลงช่อื (นายนริศ จนั ทร์สะอาด) ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย ความเหน็ หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................... (นายฤตชิ ยั ราชพิบูลย์) ตำแหน่ง ครู คศ.2
ความเห็นหวั หนา้ กลุม่ งานบริหารงานวิชาการ ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ลงช่อื ................................................... (นางอาทติ ยา ดวงมณี) ตำแหนง่ ครู คศ.2 ความเห็นของรองผอู้ ำนวยการกลุ่มงานบริหารงานวิชาการ ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................... (...................................................) ตำแหนง่ รองผอู้ ำนวยสถานศึกษา ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรยี นเวียงสระ ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... ❑ อนุมัติ ❑ ไมอ่ นุมัติ เพราะ ........................................................................................................... ลงช่ือ................................................... (นางฐิติมา นาครพัฒน์) ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กำหนดสาระ มาตรฐานการเรียนรู้ และ ตวั ชวี้ ดั ในกลมุ่ สาระสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ระดบั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ดงั นี้ มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทาง ประวัตศิ าสตร์วิเคราะห์เหตุการณต์ ่างๆ อยา่ งเปน็ ระบบ ตวั ชว้ี ัด 1. วิเคราะห์เรื่องราวเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ได้อย่างมีเหตุผลตามวิธีการทาง ประวัติศาสตร์ 2. ใช้วธิ กี ารทางประวัตศิ าสตรใ์ นการศึกษาเรื่องราวตา่ งๆท่ตี นสนใจ มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบันด้านความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถวิเคราะห์ ผลกระทบท่เี กิดข้ึน ตวั ชี้วดั 1. อธบิ ายพัฒนาการทางสงั คม เศรษฐกิจและการเมอื งของภูมิภาคตา่ งๆ ในโลกโดยสงั เขป 2. วิเคราะห์ผลของการเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่ความร่วมมือและความขัดแย้งใน คริสตศ์ ตวรรษท่ี 20 ตลอดจนความพยายามในการขจัดปัญหาความขัดแยง้ มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเปน็ มาของชาตไิ ทย วัฒนธรรม ภูมปิ ัญญาไทย มีความรัก ความภมู ใิ จ และ ธำรงความเปน็ ไทย ตวั ชี้วัด 1. วเิ คราะห์พฒั นาการของไทยสมยั รัตนโกสินทร์ในดา้ นต่าง ๆ 2. วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองของไทยในสมัย รตั นโกสนิ ทร์ 3. วเิ คราะหภ์ ูมิปญั ญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรตั นโกสินทร์และอิทธิพลตอ่ การพัฒนาชาติ ไทย 4. วิเคราะห์บทบาทของไทยในสมัยประชาธิปไตย
คำอธบิ ายรายวชิ า กลมุ่ สาระการเรียนรู้ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม รายวชิ า ประวตั ศิ าสตร์ 5 รหัสวิชา ส 23103 จำนวน 0.5 หนว่ ยกิต ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 เวลา 20 ชวั่ โมง วิเคราะห์ เรื่องราวเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ไดอ้ ย่างมีเหตุผลตามวธิ ีการทาง ประวัติศาสตร์ ขน้ั ตอนวิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์ สำหรบั การศกึ ษาเหตุการณ์ทางประวตั ิศาสตร์ท่ีเกิดข้ึนในท้องถ่นิ ตนเอง และ เหตุการณ์สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์ เหตุการณ์เกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว ท้องถิ่นของตน โดยใช้วิธีการทาง ประวัติศาสตรโ์ ดยต้องอาศัยหลกั ฐาน แหลง่ ข้อมลู ท่ีนา่ เชอ่ื ถอื ประกอบการตีความ ศกึ ษาปัจจัยภูมิศาสตร์ที่มี อิทธิพลต่อพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก ที่ตั้งและสภาพทาง ภูมิศาสตร์ของภูมิภาคต่าง ๆของโลก (ยกเว้นเอเชีย) ที่มีผลต่อพัฒนาการโดยสังเขป และอิทธิพล ผลของการ เปล่ียนแปลงทนี่ ำไปสู่ความร่วมมือและความขัดแยง้ ในครสิ ต์ศตวรรษท่ี 20 ตลอดจนความพยายามในการขจัด ปัญหาความขดั แย้ง โดยใชท้ ักษะการวิเคราะห์ การจดั ระเบยี บ การรวบรวมขอ้ มูล การสรุปลงความเห็น การสรา้ งความรู้ เพ่ือให้เกิดความคิดสรา้ งสรรค์ มีเหตุผลและตระหนักถึงความสำคญั ของวิธีการทางประวัติศาสตร์และ เขา้ ใจเก่ียวกบั เหตกุ ารณ์ที่ก่อให้เกดิ ความขดั แยง้ ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 มีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ในด้านรัก ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็น ไทย มีจิตสาธารณะ สามารถดำเนินชีวิตอย่างสันติสุขใน สงั คมไทยและสงั คมโลก รหสั ตัวชี้วดั ส4.1 ม.3/1-2 ส4.2 ม.3/1-2 รวม 4 ตัวชวี้ ดั
โครงสร้างรายวิชา กลุ่มสาระการเรยี นรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รายวิชาประวัตศิ าสตร์ 5 รหัสวชิ า ส23103 ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 เวลา 20 ชั่วโมง อัตราส่วนคะแนน 70 / 30 หนว่ ย ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ ความคดิ รวบยอด/ เวลา น้ำหนกั ท่ี เรียนรู้/ ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรู้ (ชม.) คะแนน 1 วิธกี ารทาง ส4.1 ม.3/1-2 1. ขั้นตอนของวธิ กี ารทาง 4 15 ประวัติศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ 5 30 ศกึ ษาเหตกุ ารณ์ทาง ประวตั ิศาสตร์ทเ่ี กิดขึ้นใน ทอ้ งถิ่นตนเอง ครอบครวั และ ตนเอง 2 ภูมภิ าคของ ส4.2 ม.3 / 1 1.ท่ตี ง้ั และสภาพทาง โลก ภูมศิ าสตร์ของภูมภิ าคต่างๆ กบั พัฒนาการ ของโลกท่ีมีผลตอ่ การพัฒนา ทาง โดยสังเขป ประวัตศิ าสตร์ 2.พฒั นาการทางประวัตศาสตร์ สงั คม เศรษฐกิจและการเมือง ของภมู ิภาคตา่ งๆ ของโลกโดยสงั เขป ทวีปอเมรกิ าเหนอื และอเมรกิ าใต้ ทวีปออสเตรเลยี ประเทศนวิ ซีแลนด์ และโอเชียเนยี สรุปทบทวนภาพรวม/สอบระหว่างภาค 1 15
หนว่ ย ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ ความคิดรวบยอด/ เวลา น้ำหนกั ท่ี เรียนรู้/ ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรู้ (ชม.) คะแนน ภูมภิ าคของ ส4.2 ม.3 / 1 2.พัฒนาการทางประวัตศาสตร์ 5 โลก สงั คม เศรษฐกจิ และการเมือง 4 25 กับพฒั นาการ ของภมู ภิ าคตา่ งๆ 1 15 20 100 ทาง ของโลกโดยสังเขป ประวตั ิศาสตร์ ทวปี แอฟรกิ า ทวีปยุโรป 3.อทิ ธพิ ลอายธรรมตะวนั ตกที่ มผี ลตอ่ การ พฒั นาการและการ เปลี่ยนแปลงของสงั คมโลก โดยสังเขป 3 ความขัดแย้ง ส 4.2 ม.3 / 2 1.ความรว่ มมอื และความ และความ ขัดแย้งในคริสต์ รว่ มมือของ ศตวรรษท่ี 20 เชน่ โลกในคริสต์ สงครามโลกคร้งั ที่ 1 ศตวรรษท่ี 20 สงครามโลกครง้ั ที่ 2 ถงึ ปัจจบุ ัน สงครามเย็น องค์การความรว่ มมอื ระหว่าง ประเทศ สรปุ ทบทวนภาพรวม/สอบปลายภาค รวม
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เรื่อง วธิ กี ารทางประวัติศาสตร์
แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชา ประวัตศิ าสตร์ 5 รหัสวิชา ส23103 ปกี ารศึกษา 2563 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศกึ ษาศาสนาและวัฒนธรรม ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 เรือ่ ง วธิ กี ารทางประวัติศาสตร์ จำนวน 4 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรอื่ ง ประเภท ลักษณะ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ จำนวน 1 ช่ัวโมง ครูผสู้ อน นายนริศ จนั ทรส์ ะอาด 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐานที่ ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคญั ของเวลาและยคุ สมยั ทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้ วิธีการทางประวตั ศิ าสตรว์ ิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ 2. ตวั ชว้ี ัด (วงเล็บพฤตกิ รรมการเรียนรู้ตามแผนผงั ของสำนกั ทดสอบทางการศึกษา) ม.3/1 วิเคราะห์เรอื่ งราวเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตรไ์ ดอ้ ย่างมเี หตุผลตามวิธกี ารทาง ประวตั ิศาสตร์ (P4 วิเคราะห์) 3. สาระสำคญั การเรียนรู้เรื่อง หลักฐานทางประวัติศาสตร์ คือ ร่องรอยการกระทำ การพูด การเขียน การประดิษฐ์ การอยู่อาศัยของมนุษย์ อะไรก็ตามที่มาเกี่ยวพันกับมนุษย์ หรือมนุษย์เข้าไปเกี่ยวพันสามารถใช้เป็นหลักฐาน ทางประวัติศาสตร์ได้ทั้งสิ้น ซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวข้องกับการใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ ดังนั้นผู้เรียนจะต้องรู้ เกี่ยวกับหลักฐานทางประวัติศาสตร์ จะช่วยให้ผู้เรียนเขียนจำแนกประเภท ลักษณะ หลักฐานทาง ประวัตศิ าสตร์ได้ ทำใหผ้ เู้ รียนมีวนิ ยั และใฝ่เรยี นรู้ มสี ่วนร่วมในกจิ กรรมจำแนกประเภท ลักษณะ หลักฐานทาง ประวัติศาสตรไ์ ด้อยา่ งดี 4. สาระการเรยี นรู้/เนอ้ื หาการเรยี นรู้ 4.1 หลกั ฐานสมัยกอ่ นประวัตศิ าสตร์ 4.2 หลกั ฐานสมยั ประวตั ิศาสตร์ 4.2 หลักฐานประเภทลายลกั ษณ์อักษร 4.3 หลกั ฐานประเภทไมเ่ ป็นลายลักษณ์อกั ษร ๕. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๑. นักเรียนรู้จำแนกประเภท ลักษณะ หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ได้ (K) ๒. นกั เรียนเขยี นจำแนกประเภท ลกั ษณะ หลักฐานทางประวัติศาสตรไ์ ด้ (P) ๓. นักเรยี นรว่ มกิจกรรมจำแนกประเภท ลกั ษณะ หลักฐานทางประวัตศิ าสตรไ์ ด้ (A) 6. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น ๑. ความสามารถในการคดิ 7. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ใฝเ่ รยี นรู้
8. ชนิ้ งาน/ภาระงาน 1. short note ประเภท ลักษณะ หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ (ชน้ิ งาน) 2. การสนทนาถาม-ตอบเก่ียวกับประเภท ลักษณะ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ (ภาระงาน) 9. กจิ กรรมการเรียนรู้ 9.1 ข้นั นำเข้าสู่บทเรียน (10) 1. ครูกล่าวทักทายนักเรียนและแนะนำรายวิชาที่จะเรียนให้นักเรียนได้เข้าใจในเบื้องต้น หลังจากนั้นครูแจกคำอธิบายรายวิชาให้นักเรียนได้ศึกษาและทำความเข้าใจ พร้อมทั้งตั้งประเด็นให้นักเรียน ถามคำถามครูเกี่ยวกบั ข้อสงสัยในคำอธบิ ายรายวิชาท่นี กั เรียนได้รบั มอบจากครูไป 2. ครใู ช้คำถามกระตุ้นนกั เรียน โดยประเดน็ คำถาม ดังนี้ - คำว่าประวัติศาสตร์ในความคิดของนักเรียน คือ อะไร เปรียบเทียบได้กับอะไรได้ บ้าง - หากสมมตุ ิวา่ วันเวลาผ่านไปในตอนวัยเดก็ จนมาถึงปัจจุบันนบั ว่าเป็นประวตั ิศาสตร์ ของเราไดห้ รือไม่ มอี ะไรทีเ่ ป็นประสบการณท์ ี่นา่ จดจำและไม่นา่ จดจำบา้ ง และเล่าให้เพ่ือนขา้ งๆ (C5 ) - ที่นี่ตามประวัติศาสตร์แล้ว นักเรียนคิดว่าประเภท ลักษณะของประวัติศาสตร์ มี อะไรบา้ งในความคดิ ของนกั เรยี น (Rational ) 3. ครูให้เวลานักเรียนได้ตอบคำถามตามที่ครูกำหนดให้ ให้เพื่อนข้างๆฟัง และ ครูใช้คำถาม สรุป คอื ประเภท ลักษณะของประวัตศิ าสตร์ มีอะไรบา้ ง โดยครนู ำคำตอบของนักเรียนเขียนไว้บนกระดาน 9.2 ข้ันสอน (30) 4. ครูใชค้ ำถามกระต้นุ นักเรยี นอีกครั้ง โดยใช้คำถามคือ นกั เรยี นรจู้ ักหลกั ฐานประวัติศาสตร์ ไหมมันเป็นยังไง ให้นักเรียนพูดมาคนละ 1 ชื่อ โดยห้ามซ้ำกัน หากนักเรียนคิดไม่ออกให้นักเรียนเปิดหนังสือ ประวัติศาสตร์ ม.3 และโทรศัพทม์ อื ถือหาข้อมูลได้ โดยครใู หเ้ วลาคนละ 1 นาที (R1), (C6) (Are immune) 5. ครูให้นักเรียนออกมาเขียนชื่อหลักฐานทางประวัติศาตร์ที่ตนเองรู้จักให้ได้มากที่สุดบน กระดานดำ โดยแบ่งโซนแข่งกันเป็นแถว 3 นาที เมื่อนักเรียนทุกคนออกมาเขียนเรียบร้อยแล้ว ครูจึงให้ นักเรียนนง่ั ที่ใหเ้ รียบร้อย (R2) , (C4) (Environment) 6. ครูอธิบาย Concept หลักฐานสมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัยประวัติศาสตร์ หลักฐาน ประเภทลายลักษณ์อักษร หลักฐานประเภทไม่เป็นลายลักษณ์อักษร และ ให้นักเรียนซักถามข้อสงสัย (C1) ด้วยสไลด์ Powerpoint หลักฐานทางประวัติศาสตร์ (หากห้องไหนใช้โปรเจคเตอร์ไม่ได้ให้ใช้ภาพปริ้นขนาด 2*2) (Cognition) 7. แบ่งนักเรียนออกเป็นโซนตามแถวที่มีในห้องเรียนเท่าๆกัน โดยให้มีคู่แข่งกันครบทุกคู่ แลว้ แจกบตั รคำบัตรภาพให้นักเรียนทุกคนให้มีคนละ 1 ใบ แล้วทำกจิ กรรมแยกประเภทหลักฐานและลักษณะ หลักฐานที่มีอยู่ในมือตนเอง ไปวางจุดที่กำหนด แบ่งเป็นการแข่งขัน 2 รอบ ให้เวลาพิจารณาคำตอบ 15 วนิ าที (C4) (object) (Virtue) - รอบ 1 แยกประเภทหลักฐานลายลักษณ์อกั ษร และไมเ่ ป็นลายลักษณ์อักษร - รอบ 2 แยกประเภทหลกั ฐานสมัยกอ่ นประวตั ิศาสตรแ์ ละสมัยประวัตศิ าสตร์ 8. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยและให้นักเรียนแต่โซนแถวที่ตอบถูกตอบผิดตรวจว่าได้ คะแนนเท่าไร ครูอธิบายและขยายรายละเอียดจากบัตรภาพและบัตรคำที่ได้ให้นักเรียน จะมีหลายภาพหลาย คำท่นี ักเรียนดไู ม่ออกไม่เคยเหน็ หรอื เลือกตอบผดิ (C5) (Society) 9.3 ขนั้ สรุป (10) 7. ครใู ห้นักเรียนเขยี นหลกั ฐานสมัยกอ่ นประวัตศิ าสตร์ หลกั ฐานสมัยประวัติศาสตร์ หลักฐาน ประเภทลายลักษณ์อักษร และหลักฐานประเภทไม่เปน็ ลายลักษณ์อักษร ในกระดาษ short note มาคนละ 1
หลักฐาน พร้อมลงชื่อตนเองกำกับ โดยในโซนแถวเดียวหา้ มซำ้ กนั และไม่เปิดโทรศัพท์มือถือค้นหา ให้ระลึกถงึ กจิ กรรมทีไ่ ดเ้ รยี นรู้ในคาบ (R2) (Tolerable) (P4) 9. ครูให้ตัวแทนจติ อาสานักเรียน 2 คน คอื ผชู้ าย 1 คน และ ผ้หู ญิง 1 คน ใหส้ รุปความรู้ที่ ได้จากการเรยี นในแผนการจัดการเรยี นรูน้ ้ี (culture) ๑0. สื่อ/แหลง่ เรยี นรู้ 1. หนังสือเรียน ประวัตศิ าสตร์ ม.3 2. บัตรคำบตั รภาพ หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ 3. ดว้ ยสไลด์ Powerpoint หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ ๑1. การวัดและประเมินผล วิธีการวัดประเมนิ ผล เครื่องมือวดั เกณฑก์ ารผ่าน จดุ ประสงค์การเรียนรู้ แบบประเมนิ รู้จำแนก แบบประเมินรู้จำแนก ผา่ นระดับคุณภาพดี ดา้ นความรู้ (K) ประเภท ลกั ษณะ ประเภท ลกั ษณะ ขึ้นไป 1. นกั เรยี นรู้จำแนกประเภท หลักฐานทาง หลักฐานทาง ลักษณะ หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ได้ ประวัตศิ าสตรไ์ ด้ ได้ ประเมนิ short note แบบประเมนิ short ผ่านระดบั คุณภาพดี ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) ประเภท ลกั ษณะ 2. นักเรียนเขียนจำแนกประเภท หลักฐานทาง note ประเภท ข้ึนไป ลักษณะ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ ได้ ลักษณะ หลักฐานทาง สงั เกตพฤติกรรมนกั เรียน ด้านเจตคติ (A) ประวตั ิศาสตร์ 3.นักเรยี นรว่ มกิจกรรมจำแนก ประเภท ลกั ษณะ หลักฐานทาง 4 ดีเยี่ยม ประวัตศิ าสตร์ได้ แบบสงั เกตพฤติกรรม 3 ดี นกั เรียน 2 พอใช้ 1 ปรับปรุง 4. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน สามารถคิดจำแนก แบบประเมนิ สมรรถนะ 3 ดเี ยี่ยม 4.1 ความสามารถในการคิด ประเภท ลกั ษณะ ผเู้ รยี น 2 ดี 1 พอใช้ 5. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ หลักฐานทาง แบบสงั เกตพฤติกรรม 0 ปรับปรงุ 5.1 ใฝเ่ รียนรู้ ประวตั ิศาสตร์ได้ นกั เรยี น 3 ดีเย่ียม สงั เกตพฤติกรรมนักเรยี น 2 ดี 1 พอใช้ 0 ปรับปรุง
๑2. เครื่องมอื /เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมนิ (K) เรือ่ ง รู้จำแนกประเภท ลกั ษณะ หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ คำชี้แจง : ให้ผู้สอนบันทึกความเข้าใจในการทำกิจกรรมโดยเขียนระดับคะแนนลงในตารางให้ตรงกับ ความสามารถของผ้เู รยี น โซนแถวละ 10 คน คนละ 1 บตั ร ลำดบั ช่ือหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ ลายลกั ษณ์ ไมเ่ ป็นลาย สมยั ก่อน สมยั อักษร ลกั ษณ์อกั ษร ประวตั ศิ าสตร์ ประวัติศาสตร์ 1 จดหมายเหตพุ ระราชพิธี / / โสกันต์เจ้านาย 2 วัดพระมหาธาตวุ รมหาวิหาร / / 3 ศลิ าจารกึ พ่อขนุ รามคำแหง / / 4 โครงกระดูกมนุษยส์ ไตน์ไฮม์ // 5 สโตนเฮนจ์ // 6 เคร่ืองสังคโลกสุโขทยั / / 7 เครอื่ งป้นั ดนิ เผาบา้ นเชยี ง // 8 ภาพเขียนสเี ขายะลา // 9 ภาพเขยี นสีท่ผี าแต้ม อบุ ลราชธานี // 10 จารกึ เยธัมมา / / 11 ตำนานมูลศาสนา / / 12 พระราชพงศาวดารกรุงเกา่ ฉบบั / / หลวงประเสรฐิ 13 โปสเตอร์ blackpink / / 14 ฟ้าทะลายโจร / / 15 ระนาดเอกโหมโรง // 16 นาคี / / 17 มหาวิหารเซนตป์ เี ตอร์ // 18 คมั ภรี ์ไบเบิล // 19 คร่ืองป้นั ดนิ เผาวัฒนธรรมยางเชา / / 20 โครงกระดูกมนษุ ย์ปักกง่ิ / / 21 เมอื งโบราณโมเฮนโจดาโรและฮารัป / / ปา 22 คัมภีร์พระเวทของชาวอารยัน / / 23 จารกึ ตามกระดองเต่า / / 24 สสุ านจกั รพรรดจิ ิ๋นซี // 25 ตำราอรรถศาสตร์ / / 26 ศลิ าจารึกของพระเจา้ อโศกมหาราช / /
27 อักษรไฮโรกลฟิ กิ / / / 28 ทะเบยี นราษฎร / / / 29 เอกสารแถลงการณ์ปารีส / / / 30 พระราชโองการของสมเด็จพระ / / ราชนิ ีนาถวิกตอเรีย / / 31 ธงชาตไิ ทย / 32 สนธสิ ญั ญาแวรซ์ าย หลงั จาก / / สงครามโลกครั้งท่ี 1 / / 33 สารนายกรฐั มนตรี / / 34 ทำเนยี บขาว / / 35 ตำนานจามเทวี / / 36 จดหมายเหตุลา ลูแบร์ / 37 บุพเพสันนวิ าส / / 38 ขุนชา้ งขนุ แผน / 39 ปอมเปอี 40 ขายหวั เราะ เกณฑก์ ารตดั สนิ คุณภาพ คะแนน 9-10 คะแนน ระดับ ดีมาก คะแนน 7-8 คะแนน ระดับ ดี คะแนน 5-6 คะแนน ระดับ พอใช้ ต่ำกวา่ 4 คะแนน ระดับ ตอ้ งปรบั ปรงุ สรปุ เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ผ่านเกณฑ์การประเมินในระดับคณุ ภาพต้ังแตร่ ะดับดี ขนึ้ ไป
เกณฑก์ ารประเมินทกั ษะ (P) เรื่อง short note ประเภท ลกั ษณะ หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์เขียน รายการ ระดบั คุณภาพ น้ำหนกั / คะแนนรวม ประเมนิ ความสำคญั 4321 ร้จู ำแนก รูจ้ ำแนก รู้จำแนก รู้จำแนก รู้จำแนก 2 8 ประเภท ประเภท ประเภท ประเภท ประเภท ลักษณะได้ ลักษณะได้ ลกั ษณะได้ ลกั ษณะได้ ลักษณะได้ จำนวน 4 ชิ้น จำนวน 3 ช้นิ จำนวน 2 ชิน้ จำนวน 1 ชน้ิ รวม 2 8 เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ คะแนน 5-6 คะแนน ระดบั ดี ต่ำกวา่ 2 คะแนน ระดับ ตอ้ งปรับปรงุ คะแนน 7-8 คะแนน ระดบั ดมี าก คะแนน 3-4 คะแนน ระดบั พอใช้ สรปุ เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ผา่ นเกณฑ์การประเมินในระดับคุณภาพต้ังแต่ระดับดี ข้ึนไป
รายการประเมนิ เกณฑก์ ารสังเกตพฤติกรรมนักเรยี น (A) ปรับปรงุ (๑) คำอธบิ ายระดบั คุณภาพ/ระดบั คะแนน ดีมาก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) 1.นักเรยี นรว่ ม นักเรียนร่วมกิจกรรม นักเรยี นรว่ มกิจกรรม นกั เรียนร่วมกจิ กรรม นกั เรยี นร่วมกจิ กรรม กจิ กรรมจำแนก ประเภท ลกั ษณะ จำแนกประเภท จำแนกประเภท จำแนกประเภท จำแนกประเภท หลักฐานทาง ประวตั ิศาสตร์ได้ ลกั ษณะ หลักฐาน ลกั ษณะ หลักฐาน ลักษณะ หลักฐาน ลักษณะ หลกั ฐาน ทางประวตั ิศาสตรไ์ ด้ ทางประวัติศาสตร์ได้ ทางประวตั ิศาสตร์ได้ ทางประวตั ศิ าสตรไ์ ด้ เปน็ อย่างดี คอ่ นข้างดี พอสมควร รายการประเมนิ เกณฑก์ ารประเมนิ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น ปรบั ปรงุ (0) คำอธบิ ายระดับคณุ ภาพ/ระดับคะแนน สามารถคิดจำแนก ดมี าก (3) ดี (2) พอใช้ (1) ประเภท ลกั ษณะ หลักฐานทาง สามารถคิดจำแนก สามารถคดิ จำแนก สามารถคดิ จำแนก สามารถคดิ จำแนก ประวตั ิศาสตร์ไม่ได้ ประเภท ลักษณะ ประเภท ลักษณะ ประเภท ลกั ษณะ ประเภท ลักษณะ หลักฐานทาง หลักฐานทาง หลกั ฐานทาง หลกั ฐานทาง ประวัตศิ าสตร์ได้ ประวตั ศิ าสตร์ได้ ประวัติศาสตร์ได้ไม่ ประวตั ิศาสตร์ได้ไม่ อย่างถูกต้อง ชดั เจน บางสว่ น ชดั เจน ครบถว้ น รายการประเมิน เกณฑก์ ารประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ปรับปรุง (0) คำอธิบายระดับคณุ ภาพ/ระดบั คะแนน ดีเยี่ยม (3) ดี (2) พอใช้ (1) 1.ใฝ่เรียนรู้ สนใจในการเรียน สนใจในการเรียน สนใจในการเรียน ขาดความสนใจใน และทำงานได้เป็น แ ล ะ ท ำ ง า น ไ ด้ แ ล ะ ท ำ ง า น ไ ด้ การเรียนและทำงาน อย่างดี คอ่ นข้างดี พอสมควร ท่ีดี
13. แบบประเมิน แบบประเมิน เรอ่ื ง short note ประเภท ลกั ษณะ หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ คำชี้แจง : ให้ผูส้ อนบันทึกการใช้ทกั ษะการวิเคราะห์ จากกิจกรรมโดยเขียนระดบั คะแนนลงในตารางใหต้ รงกับ ความสามารถของผูเ้ รยี น เลขท่ี ชื่อ-สกุล รู้จำแนกประเภท ลักษณะได้ รวมคะแนน (8) (8) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ คะแนน 5-6 คะแนน ระดับ ดี ตำ่ กวา่ 2 คะแนน ระดบั ตอ้ งปรบั ปรงุ คะแนน 7-8 คะแนน ระดับ ดมี าก คะแนน 3-4 คะแนน ระดบั พอใช้ สรปุ เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ผา่ นเกณฑ์การประเมินในระดับคณุ ภาพต้ังแตร่ ะดับดี ข้ึนไป ลงชื่อ............................................................ผ้ปู ระเมนิ
แบบประเมนิ เร่ือง เขยี นประเภท ลกั ษณะ หลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ กลุม่ ท…ี่ …………ช่อื กล่มุ ……………………………………………………………………………………………ชัน้ ม…./……………… รายชอื่ สมาชกิ ในกลุม่ มีดงั น้ี 1)………………………………………………………………………….. เลขท่ี…………………….. 2)………………………………………………………………………….. เลขที่…………………….. 3)………………………………………………………………………….. เลขท่ี…………………….. 4)………………………………………………………………………….. เลขท่ี…………………….. 5)………………………………………………………………………….. เลขที่…………………….. 6)………………………………………………………………………….. เลขท่ี…………………….. 7)………………………………………………………………………….. เลขท่ี…………………….. 8)………………………………………………………………………….. เลขท่ี…………………….. คำชี้แจง : ใหผ้ ้สู อนบนั ทึกความเข้าใจในการทำกิจกรรมโดยเขียนระดับคะแนนลงในตารางให้ตรงกับ ความสามารถของผู้เรียน รอบ 1 (10) รอบ 2 (10) รวม ลำดับ ช่ือหลักฐาน ลายลกั ษณ์ ไมเ่ ป็นลาย สมัยกอ่ น สมัย คะแนน อักษร ลักษณ์อักษร ประวตั ศิ าสตร์ ประวตั ิศาสตร์ (20) 1 2 3 4 5 6 “” “” รวมคะแนนแล้วหารดว้ ย 10 เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ คะแนน 9-10 คะแนน ระดบั ดีมาก คะแนน 7-8 คะแนน ระดบั ดี ระดบั ต้องปรบั ปรุง คะแนน 5-6 คะแนน ระดบั พอใช้ ตำ่ กว่า 4 คะแนน สรุปเกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ในระดับคณุ ภาพต้ังแตร่ ะดบั ดี ข้นึ ไป
แบบสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียน รายการสงั เกต ชอ่ื -สกุล พฤตกิ รรมของนกั เรียน รว่ มกจิ กรรมจำแนก ประเภท ลักษณะ หลักฐานทาง ประวตั ิศาสตร์ได้ ๔๓๒๑๔ เลขที่ รวม 1 คะแนน 3 ระดับ ดี 2 คะแนน 1 ระดับ ปรับปรุง 3 4 ลงช่ือ............................................................ผู้ประเมิน เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ คะแนน 4 ระดับดีมาก คะแนน 2 ระดับ พอใช้
แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น รายการประเมนิ สมรรถนะสำคัญของ ผูเ้ รียน มคี วามสามารถในการ คดิ ๓๒๑0 เลขที่ รวม ชือ่ -สกุล 3 1 คะแนน 3 ระดับ ดี 2 คะแนน 1 ระดับ ปรบั ปรงุ 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ คะแนน 4 ระดับดมี าก คะแนน 2 ระดับ พอใช้ ลงช่ือ............................................................ผ้ปู ระเมนิ
แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ รายการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึง ประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ ๓๒๑0 เลขที่ รวม ชื่อ-สกุล 3 1 คะแนน 2 ระดับ ดี 2 คะแนน 0 ระดับ ปรับปรุง 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ คะแนน 3 ระดับดีเย่ยี ม คะแนน 1 ระดบั พอใช้ ลงช่อื ............................................................ผู้ประเมิน
14. บนั ทกึ ผลหลังการสอน จากการปฏิบตั ิการสอนแผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 เรอ่ื งประเภท ลกั ษณะ หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ สามารถสรปุ ผลหลังการสอน ไดด้ งั นี้ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่…….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ดา้ นการจดั การเรยี นการสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. สามารถสรุปผลการประเมนิ ออกเปน็ 3 ระดับ ดงั น้ี ระดบั ดี ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ระดบั พอใช้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ระดบั ปรบั ปรุง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… การแกไ้ ขปญั หา จากการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนแผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 1 เรอ่ื ง ประเภท ลกั ษณะ หลกั ฐานทาง ประวัติศาสตร์ ของนักเรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ……......พบปญั หาดงั กล่าว ครูผสู้ อนนำสู่การแกป้ ญั หา ดังน้ี ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ผลการแกไ้ ขปญั หา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 15. การจดั การเรยี นรูต้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดา้ นการศกึ ษา แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 เรื่อง ประเภท ลกั ษณะ หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ 1. การนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ประเภท ลกั ษณะ หลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ หลักฐานสมัยก่อนประวตั ิศาสตร์ ความรู้ หลกั ฐานสมัยประวัตศิ าสตร์ หลกั ฐานประเภทลายลกั ษณ์อักษร หลักฐานประเภทไมเ่ ปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษร คณุ ธรรม มีความขยนั อดทน รบั ผิดชอบตอ่ งานท่ีไดร้ ับมอบหมาย มีความสามคั คี รว่ มมอื กนั ทำงาน ในกิจกรรมกระบวนการกลมุ่ ความ ใชก้ ระดาษ short note เขียนประเภท ลกั ษณะ หลักฐานทางประวตั ศิ าสตรไ์ ด้อย่าง พอประมาณ คุม้ ค่าและเหมาะสม การมเี หตผุ ล อธบิ ายประเภท ลักษณะของประวัติศาสตร์ ได้วา่ มีอะไรบ้าง มภี มู ิคุ้มกัน สมารถศกึ ษาค้นควา้ หลกั ฐานประวตั ิศาสตร์จากสื่อหนังสอื ประวัตศิ าสตร์ ม.3 และ ในตวั ที่ดี โทรศัพท์มือถือ 2. ผลท่ไี ด้รับตามหลักสมดุล 4 มติ ิ สง่ิ แวดล้อม วัฒนธรรม วัตถุ สงั คม ใชก้ ระดานดำ ทรัพยากร จติ อาสาในการนำเสนอ มีทักษะในการใช้บตั รคำ ร้กู ระบวนการ ทม่ี ีอยู่ในห้องเรยี นเป็น ผลงาน บตั รภาพวางจุดที่ ทำงานเป็นทีมและรบั ฟงั สอื่ การสอนทีเ่ หมาะสม กำหนด ความคิดเห็น ไม่ก่อเกิดผลกระทบ ส่ิงแวดลอ้ ม
ภาคผนวก
บตั รคำบตั รภาพ ตวั อย่าง จดหมายเหตุพระราชพิธีโสกนั ต์เจ้านาย วัดพระมหาธาตวุ รมหาวหิ าร ศิลาจารึกพ่อขนุ รามคำแหง โครงกระดูกมนุษย์สไตน์ไฮม์ สโตนเฮนจ์
ตวั อยา่ งสไลด์ Powerpoint ประเภท ลกั ษณะ หลักฐานทางประวตั ิศาสตร์
ท่มี า : เพจครูพิมพส์ ายย่อ
แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชา ประวัติศาสตร์ 5 รหัสวิชา ส23103 ปกี ารศกึ ษา 2563 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรอ่ื ง วธิ ีการทางประวัตศิ าสตร์ จำนวน 4 ชวั่ โมง แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 2 เร่อื ง หลักฐานช้นั ตน้ ชัน้ รอง จำนวน 1 ช่วั โมง ครูผสู้ อน นายนรศิ จันทร์สะอาด 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐานท่ี ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคญั ของเวลาและยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตร์ สามารถใช้ วิธีการทางประวัติศาสตร์วเิ คราะหเ์ หตุการณ์ตา่ งๆ อย่างเป็นระบบ 2. ตัวชี้วดั (วงเล็บพฤตกิ รรมการเรียนรู้ตามแผนผงั ของสำนักทดสอบทางการศึกษา) ม.3/1 วิเคราะห์เรอ่ื งราวเหตุการณส์ ำคญั ทางประวัติศาสตรไ์ ด้อยา่ งมเี หตุผลตามวิธกี ารทาง ประวัติศาสตร์ (P4 วเิ คราะห์) 3. สาระสำคัญ การเรียนรู้เรื่อง หลักฐานชั้นต้น ชั้นรอง เป็นหลักฐานที่จะให้ประวัติศาสตร์มีเป้าหมายในการศึกษา มากยิ่งขึ้นในกระบวนการวิธีการทางประวัติศาสตร์ ดังนั้นผู้เรียนจะต้องรู้ จะช่วยให้ผู้เรียนแยกแยะความ แตกต่างของหลักฐานทางชั้นต้น ชั้นรองได้ ทำให้ผู้เรียนมีวินัยและใฝ่เรียนรู้ เห็นความสำคัญของหลักฐาน ชั้นตน้ ช้นั รอง 4. สาระการเรยี นรู้/เนอ้ื หาการเรยี นรู้ 4.1 หลกั ฐานช้นั ต้น 4.2 หลกั ฐานชน้ั รอง ๕. จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๑. นกั เรียนจับคหู่ ลักฐานทางชนั้ ต้น ชน้ั รองได้ (K) ๒. นกั เรยี นปฏิบัติแยกแยะความแตกต่างของหลกั ฐานทางชัน้ ต้น ช้ันรองได้ (P) ๓. นกั เรยี นเหน็ ความสำคญั ของหลักฐานช้ันตน้ ชน้ั รองได้ (A) 6. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น ๑. ความสามารถในการคดิ 7. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝเ่ รยี นรู้ 8. ชนิ้ งาน/ภาระงาน 1. กิจกรรมสบื วัตถปุ รศิ นา (ชน้ิ งาน) 2. การสนทนาถาม-ตอบเกีย่ วกับหลกั ฐานช้นั ตน้ ชั้นรอง (ภาระงาน)
9. กจิ กรรมการเรียนรู้ 9.1 ข้ันนำเข้าส่บู ทเรียน (10) 1. ครูกล่าวทักทายนักเรียน ก่อนเริ่มเรียน ทำกิจกรรมเรียกพลังในการเรียนด้วยเกม บอล วเิ ศษ เปิดเพลงปลกุ ใจ โดยให้นักเรียนสง่ ลูกบอลกระดาษไปเรื่อยๆ เมอื่ หยุดเพลง ใหถ้ ามคำถามนักเรียนเริ่มที่ คำถามทวั่ ไป เช่น กินข้าวอรอ่ ยไหม ลองบอกชื่อคนทช่ี อบในห้องมา 1 ระวา่ งตวั จริงกับตัวสำรองเราชอบแบบ ไหน จากนนั้ เลน่ เกมตอ่ ไป โดยใชค้ ำถามเข้าเนอ้ื หาเกยี่ วกับหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ 2. ครใู ชค้ ำถามกระตุ้นนกั เรยี น โดยประเดน็ คำถาม ดังนี้ - หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ช้ันต้นและชัน้ รอง มีความหมายอย่างไร - เราจะรู้ได้อย่างไรว่าหลักฐานทางประวัติศาสตร์นน้ั เป็นหลักฐานชั้นต้นและชั้นรอง ลองนำเสนอใหค้ รฟู ัง (C5 ) , (Rational ) 3. ครูให้เวลานักเรียนได้ตอบคำถามตามที่ครูกำหนดให้ ให้เพื่อนข้างๆฟัง และครูนำคำตอบ ของนักเรยี นเขยี นไวบ้ นกระดานดำ (Environment) 9.2 ข้ันสอน (35) 4. ครูอธิบาย Concept หลักฐานทางประวัติศาสตร์ชั้นต้นและชั้นรอง โดยไม่ยกตัวอย่าง ด้วย สไลด์ Powerpoint หลักฐานทางประวัติศาสตร์ชั้นต้นและชั้นรอง (หากห้องไหนใช้โปรเจคเตอร์ไม่ได้ให้ ใช้ภาพปริ้นขนาด 2*2) (Cognition) 5. ครูใช้คำถามกระตนุ้ นักเรยี นอีกครั้ง โดยใช้คำถามคอื จากทนี่ กั เรียนรู้ความหมายหลักฐาน ทางประวัติศาสตร์ชั้นต้นและชั้นรองแล้ว ให้นักเรียนพูดยกตัวอย่างมาคนละ 1 หลักฐาน โดยห้ามซ้ำกัน หาก นักเรยี นคิดไมอ่ อกใหน้ กั เรียนเปดิ หนงั สือประวตั ศิ าสตร์ ม.3 และโทรศัพท์มือถือหาข้อมูลได้ โดยครูให้เวลาคน ละ 1 นาที เมื่อบอกครบทุกคนแล้ว ครูหยิบมา 2 หลักฐานอธิบายจุดแตกต่างของหลักฐานชั้นตน้ และชั้นรอง (R1), (C6), (Are immune) (Virtue) 6. ครูนำเสนอตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ช้ันต้นและช้ันรองใหม่ จำนวน 20 ชิ้น ให้ นักเรียนรายคนจับคู่หลักฐานประเภทเดียวกันลงในสมุด เขียนให้ตรงที่ตนเองคิดว่าอยู่ในส่วนหลักฐานชั้นต้น หลกั ฐานช้นั รอง โดยกำหนดเวลา 3 นาที (R2),(C4) 7. ให้นักเรียนจับคู่กันทำกิจกรรมสืบวัตถุปริศนา 4 ชิ้นจากบัตรภาพในสมุดโดยใช้หนังสือ ประวัตศิ าสตร์ ม.3 และโทรศพั ทม์ ือถือหาข้อมลู ได้ โดยกำหนดคำถามดังน้ี (C1,C4) (object) (Society) (P4) (Tolerable) 1) หลกั ฐานน้ันอยู่ในยุคใด 2) หลักฐานนี้เปน็ ช้นั ตน้ หรอื ชิ้นรอง 3) ส่งิ ทบ่ี อกวา่ เปน็ หลักฐานตามข้อ 2) เพราะ ? 4) วตั ถปุ รศิ นาน้บี อกใหท้ ราบเกย่ี วกับอะไร 8. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลย โดยครูให้นักเรียนชาย 1 คู่ นักเรียนหญิง 1 คู่ นักเรียน LGBT 1 คู่ (หากไมม่ ี LGBT ขอคอู่ าสา 1 คู่) (C5) (culture) 9.3 ข้ันสรปุ (5) 9. ครูนำภาพละครบุพเพสันนิวาสให้นักเรียนดูแล้วชวนนักเรียนตั้งคำถามว่า จากภาพเป็น หลักฐานชั้นต้นหรือชั้นรอง เพราะอะไร ละครเรื่องนี้ชวนให้เราศึกษาคว้าเรื่องอะไรได้บ้าง แล้วเราควรใช้ กระบวนการแบบใดให้ได้มาซึง่ คำตอบ แบบพอสงั เขป ปพู ืน้ ฐานในเนอ้ื หาต่อไป (Rational) ๑0. ส่ือ/แหล่งเรยี นรู้
1. หนงั สือเรยี น ประวตั ิศาสตร์ ม.3 2. บัตรภาพ หลกั ฐานชน้ั ต้น ช้ันรอง 3. สไลด์ Powerpoint หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ช้นั ตน้ และช้นั รอง ๑1. การวดั และประเมินผล จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ วธิ กี ารวดั ประเมนิ ผล เครื่องมอื วดั เกณฑ์การผา่ น ด้านความรู้ (K) 1. นักเรียนจบั คหู่ ลักฐานทางชัน้ ตน้ ประเมินการจบั คหู่ ลักฐาน แบบประเมนิ การจบั คู่ ผา่ นระดบั คณุ ภาพดี ช้ันรองได้ ชน้ั ต้น ช้นั รองได้ หลักฐานช้ันตน้ ชั้นรอง ขึน้ ไป ได้ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ 2. นักเรียนปฏิบัติแยกแยะความ ประเมินกิจกรรมสบื วัตถุ แบบประเมนิ กจิ กรรม 60 ข้นึ ไป แตกต่างของหลักฐานทางชั้นต้น ชั้น ปรศิ นา สืบวตั ถุปริศนา ผา่ นระดบั คุณภาพดี รองได้ ขึ้นไป ด้านเจตคติ (A) สังเกตพฤตกิ รรมนักเรยี น แบบสงั เกตพฤติกรรม 4 ดเี ยีย่ ม 3.นักเรียนเห็นความสำคัญของ นักเรยี น 3 ดี หลักฐานช้นั ตน้ ชนั้ รองได้ 2 พอใช้ 1 ปรบั ปรุง 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 4.1 ความสามารถในการคิด สามารถคดิ แยกแยะความ แบบประเมินสมรรถนะ 3 ดเี ย่ียม ดี 5. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ แตกต่างของหลกั ฐาน ผเู้ รยี น 2 พอใช้ 5.1 ใฝ่เรยี นรู้ ปรับปรงุ ชัน้ ต้น ชนั้ รองได้ 1 ดีเยีย่ ม ดี 0 พอใช้ ปรบั ปรุง 3 สงั เกตพฤติกรรมนักเรียน แบบสังเกตพฤติกรรม 2 นักเรียน 1 0
๑2. เครอ่ื งมอื /เกณฑก์ ารประเมนิ เกณฑ์การประเมนิ (K) เร่ือง การจบั คหู่ ลักฐานทางชั้นต้น ชั้นรองได้ รายการ ระดบั คณุ ภาพ นำ้ หนกั / คะแนนรวม ประเมนิ ความสำคัญ 4321 ความถกู ต้อง การจับคู่ การจบั คู่ การจับคู่ การจบั คู่ หลกั ฐานได้ หลักฐานได้ หลกั ฐานได้ หลกั ฐานได้ ถูกต้องจำนวน ถูกต้องจำนวน ถูกต้องจำนวน ถกู ต้องจำนวน 2.5 10 16 ชน้ิ 14 ช้ิน 12 ชิน้ 10 ชน้ิ รวม 2.5 10 เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ คะแนน 7-8 คะแนน ระดับ ดี ตำ่ กว่า 4 คะแนน ระดบั ต้องปรับปรุง คะแนน 9-10 คะแนน ระดับ ดีมาก คะแนน 5-6 คะแนน ระดับ พอใช้ สรปุ เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ในระดับคณุ ภาพตั้งแต่ระดบั ดี ขน้ึ ไป
องคป์ ระกอบ เกณฑก์ ารประเมินทักษะ (P) นำ้ หนกั / คะแนน การประเมิน เรอ่ื ง กิจกรรมสบื วตั ถุปรศิ นา 4 ชิ้น ความสำคัญ รวม ความถูกต้อง เกณฑก์ ารประเมนิ / น้ำหนักคะแนน 5 5 5 5 (ตรวจข้อ 1-2) 5 0 10 10 เนื้อหา คำตอบถกู ต้องตรง คำตอบไม่ถูกต้องตรง รายละเอยี ด ประเด็น ประเดน็ ครอบคลุม รายละเอยี ดเนื้อหา รายละเอียดเน้ือหาไม่ (ตรวจข้อ 3-4) ครอบคลุมข้อมูลท่ี ครอบคลุมข้อมลู ท่ี เก่ยี วขอ้ ง เกีย่ วข้อง รวม เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ คะแนน 50-60 คะแนน ระดบั ดี คะแนน 70-80 คะแนน ระดบั ดมี าก ต่ำกว่า 10 คะแนน ระดับ ต้องปรบั ปรงุ คะแนน 20-40 คะแนน ระดับ พอใช้ สรปุ เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ผ่านเกณฑ์การประเมินในระดับคณุ ภาพตั้งแต่ระดบั ดี ขน้ึ ไป รายการประเมนิ เกณฑ์การสงั เกตพฤตกิ รรมนักเรียน (A) ปรบั ปรงุ (๑) คำอธิบายระดบั คุณภาพ/ระดบั คะแนน นกั เรยี นเห็น ดมี าก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ความสำคัญของ หลักฐานชนั้ ต้น ชัน้ 1.นกั เรยี นเห็น นกั เรยี นเหน็ นกั เรยี นเห็น นักเรยี นเหน็ รอง ความสำคัญของ ความสำคญั ของ ความสำคญั ของ ความสำคญั ของ หลกั ฐานชนั้ ตน้ ชัน้ หลักฐานชัน้ ตน้ ชน้ั รองได้ค่อนขา้ งดี รองได้พอสมควร หลกั ฐานชัน้ ต้น ชนั้ หลักฐานช้นั ต้น ช้ัน รองได้ได้ รองไดเ้ ปน็ อย่างดี
รายการประเมนิ เกณฑก์ ารประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น ปรับปรุง (0) คำอธบิ ายระดับคณุ ภาพ/ระดับคะแนน ดีมาก (3) ดี (2) พอใช้ (1) สามารถคดิ สามารถคดิ แยกแยะ สามารถคิดแยกแยะ สามารถคิดแยกแยะ สามารถคิดแยกแยะ ความแตกตา่ งของ ความแตกต่างของ ความแตกตา่ งของ แยกแยะความ ความแตกตา่ งของ หลกั ฐานทางชั้นต้น หลกั ฐานทางชั้นต้น หลกั ฐานทางชั้นต้น ชั้นรองได้ไมช่ ัดเจน ชั้นรองได้ไม่ชัดเจน ชัน้ รองไม่ได้ แตกต่างของ หลกั ฐานทางชั้นต้น บางส่วน หลักฐานทางชัน้ ต้น ช้นั รองได้อย่าง ชัน้ รองได้ ถกู ต้อง ครบถ้วน รายการประเมิน เกณฑก์ ารประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ปรับปรุง (0) คำอธบิ ายระดับคณุ ภาพ/ระดบั คะแนน ดีเย่ียม (3) ดี (2) พอใช้ (1) 1.ใฝ่เรียนรู้ สนใจในการเรียน สนใจในการเรียน สนใจในการเรียน ขาดความสนใจใน และทำงานได้เป็น แ ล ะ ท ำ ง า น ไ ด้ แ ล ะ ท ำ ง า น ไ ด้ การเรียนและทำงาน อย่างดี คอ่ นข้างดี พอสมควร ทด่ี ี
13. แบบประเมิน แบบประเมิน เร่อื ง การจับคหู่ ลักฐานทางช้ันต้น ชน้ั รองได้ คำชแี้ จง : ใหผ้ สู้ อนบนั ทึกความเข้าใจในการทำกิจกรรมโดยเขียนระดับคะแนนลงในตารางให้ตรงกบั ความสามารถของผูเ้ รยี น เลขท่ี ชื่อ-สกุล การจบั คู่หลักฐานทางชั้นต้น รวมคะแนน (10) ช้นั รอง (10) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ คะแนน 7-8 คะแนน ระดับ ดี ต่ำกวา่ 4 คะแนน ระดบั ตอ้ งปรบั ปรุง คะแนน 9-10 คะแนน ระดบั ดมี าก คะแนน 5-6 คะแนน ระดับ พอใช้ สรปุ เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ในระดับคณุ ภาพตั้งแตร่ ะดบั ดี ขึน้ ไป ลงชือ่ ............................................................ผ้ปู ระเมิน
แบบประเมนิ ทักษะ เร่อื ง กิจกรรมสบื วตั ถุปริศนา 4 ช้ิน คำชีแ้ จง : ให้ผู้สอนบนั ทกึ การใช้ทักษะการวิเคราะห์ จากกิจกรรมโดยเขียนระดบั คะแนนลงในตารางใหต้ รงกับ ความสามารถของผเู้ รยี น ค่ทู ่ี ชอื่ -สกุล ความถกู ตอ้ ง เน้ือหารายละเอียด รวม (5*2) ครอบคลุม (5*2) คะแนน ชิ้นท่ี (ตรวจข้อ 3-4) (20) 1 (ตรวจข้อ 1-2) 1234 1 234 2 3 4 5 6 7 8 9 10 เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ คะแนน 70-80 คะแนน ระดบั ดมี าก คะแนน 50-60 คะแนน ระดับ ดี คะแนน 20-40 คะแนน ระดับ พอใช้ ตำ่ กวา่ 10 คะแนน ระดับ ต้องปรับปรุง สรุปเกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ในระดับคุณภาพตั้งแตร่ ะดับดี ขน้ึ ไป
แบบสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรยี น รายการสังเกต พฤติกรรมของนกั เรียน ช่อื -สกุล เห็นความสำคญั ของ หลกั ฐานชัน้ ต้น ชน้ั รอง ได้ เลขที่ รวม ๔๓๒๑๔ 1 2 3 4 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพ คะแนน 3 ระดับ ดี คะแนน 4 ระดับดีมาก คะแนน 1 ระดับ ปรบั ปรงุ คะแนน 2 ระดบั พอใช้ ลงช่อื ............................................................ผปู้ ระเมนิ
แบบประเมินสมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น รายการประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของ ผู้เรยี น มคี วามสามารถในการ คิด ๓๒๑0 เลขที่ รวม ชอื่ -สกุล 3 1 คะแนน 3 ระดับ ดี 2 คะแนน 1 ระดับ ปรบั ปรุง 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ คะแนน 4 ระดับดมี าก คะแนน 2 ระดับ พอใช้ ลงชื่อ............................................................ผู้ประเมิน
แบบประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ รายการประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึง ประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ ๓๒๑0 เลขที่ รวม ช่ือ-สกุล 3 1 คะแนน 2 ระดับ ดี 2 คะแนน 0 ระดับ ปรับปรงุ 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ คะแนน 3 ระดับดีเย่ียม คะแนน 1 ระดับ พอใช้ ลงชื่อ............................................................ผู้ประเมนิ \\ 14. บันทกึ ผลหลังการสอน
จากการปฏิบัติการสอนแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2 เรื่อง หลักฐานชั้นต้น ชั้นรอง สามารถสรุปผลหลงั การสอน ไดด้ งั นี้ ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่…….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ดา้ นการจัดการเรียนการสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. สามารถสรุปผลการประเมินออกเป็น 3 ระดับ ดังน้ี ระดบั ดี ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ระดบั พอใช้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ระดับปรบั ปรุง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… การแก้ไขปญั หา จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2 เรื่อง หลักฐานชั้นต้น ชั้นรอง ของนักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ……......พบปญั หาดังกลา่ ว ครผู ู้สอนนำสูก่ ารแก้ปญั หา ดงั น้ี ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ผลการแกไ้ ขปัญหา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 15. การจดั การเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศกึ ษา แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 2 เรื่อง หลักฐานชนั้ ต้น ช้ันรอง 1. การนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจำวนั ประเภท ลกั ษณะ หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ หลักฐานสมัยกอ่ นประวัตศิ าสตร์ ความรู้ หลกั ฐานสมัยประวตั ิศาสตร์ หลกั ฐานประเภทลายลกั ษณ์อักษร หลกั ฐานประเภทไม่เป็น ลายลกั ษณ์อักษร คณุ ธรรม มีความรบั ผดิ ชอบต่องานทไ่ี ด้รับมอบหมาย มคี วามซื่อสตั ย์ และเสยี สละในการหาคำตอบ โดยไม่ซ้ำกนั ความ ใช้กระดาษ short note เขียนประเภท ลกั ษณะ หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ได้อยา่ ง พอประมาณ คุ้มคา่ และเหมาะสม การมีเหตุผล อธิบายประเภท ลักษณะของประวตั ศิ าสตร์ ได้วา่ มีอะไรบา้ ง มีภูมคิ ุ้มกนั สมารถศึกษาค้นคว้าหลกั ฐานประวตั ิศาสตร์จากสื่อหนังสือประวัติศาสตร์ ม.4-6 และ ในตัวท่ีดี โทรศัพท์มอื ถือ 2. ผลที่ได้รับตามหลักสมดุล 4 มติ ิ ส่งิ แวดล้อม วฒั นธรรม วัตถุ สังคม ใชก้ ระดานดำ ทรพั ยากร จิตอาสาในการนำเสนอ มที ักษะในการใชบ้ ตั รคำ รู้กระบวนการ ท่ีมอี ยู่ในห้องเรียนเปน็ ผลงาน บัตรภาพวางจดุ ที่ ทำงานเป็นทีมและรบั ฟงั ส่อื การสอนท่ีเหมาะสม กำหนด ความคดิ เห็น ไมก่ ่อเกิดผลกระทบ สงิ่ แวดล้อม
ภาคผนวก
สไลด์ Powerpoint หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ชั้นตน้ และช้นั รอง ตวั อยา่ ง ทีม่ า http://online.anyflip.com/pzum/nzai/mobile/index.html
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ า ประวตั ศิ าสตร์ 1 รหัสวิชา ส21102 ปกี ารศกึ ษา 2563 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สงั คมศกึ ษาศาสนาและวัฒนธรรม ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรือ่ ง เวลาและช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ จำนวน 5 ช่ัวโมง แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 3 การเปรยี บเทียบระบบศกั ราช จำนวน 1 ชัว่ โมง ครูผ้สู อน นายนรศิ จันทร์สะอาด 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐานท่ี ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคญั ของเวลาและยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร์ สามารถใช้ วธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร์วเิ คราะห์เหตุการณ์ตา่ งๆ อยา่ งเป็นระบบ (P4 ระดับวเิ คราะห์) 2. ตัวชีว้ ดั (วงเล็บพฤติกรรมการเรยี นรตู้ ามแผนผงั ของสำนกั ทดสอบทางการศึกษา) ม.1/2 เทยี บศักราชตามระบบต่างๆท่ีใชศ้ กึ ษาประวัตศิ าสตร์ 3. สาระสำคญั การเรียนรูเ้ รื่อง การเปรียบเทยี บศักราช คือ การนำตัวเลขผลตา่ งของอายศุ ักราชแต่ละศักราชมาบวก หรือลบศักราขที่เราต้องการ ตามหลักเกณฑ์ ดังนั้นผู้เรยี นจะต้องรู้จะช่วยให้เปรียบเทียบศักราชแต่ละรูปแบบ ได้อย่างถูกต้อง ทำให้ผู้เรียนมีวินัยและใฝ่เรียนรู้ เห็นเห็นประโยชน์การประยุกต์ใช้การเปรียบเทียบศักราชใน ชวี ิตประจำวนั ได้ 4. สาระการเรยี นรู้/เน้อื หาการเรยี นรู้ 4.1 การเปรยี บเทยี บศกั ราชตา่ งๆ ๕. จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๑. นกั เรยี นอธิบายวธิ ีการเปรียบเทียบศักราชแตล่ ะรูปแบบไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง (K) ๒. นกั เรียนเปรยี บเทยี บศักราชแตล่ ะรูปแบบได้อย่างถูกต้อง (P) ๓. นกั เรียนเห็นประโยชนก์ ารประยุกตใ์ ช้การเปรยี บเทยี บศักราชในชีวิตประจำวนั ได้ (A) 6. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น ๑. ความสามารถในการคิด 7. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. ใฝเ่ รยี นรู้ 2. มวี ินัย 8. ชิน้ งาน/ภาระงาน 1. ใบงานท่ี 1.3 เรื่อง การเปรียบเทยี บศกั ราช (ช้ินงาน) 2. การสนทนาถาม-ตอบเกย่ี วกับการเปรยี บเทียบศกั ราช (ภาระงาน)
9. กจิ กรรมการเรยี นรู้ 9.1 ขัน้ นำเขา้ สบู่ ทเรียน (10) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับระบบศักราชระบบต่าง ๆ จากคาบที่ แล้ว จากนั้นนกั เรียนรว่ มกนั ตอบคำถาม เร่ือง การเปรยี บเทียบศกั ราชดังนี้ 1.1) “นกั เรยี นทราบหรอื ไม่วา่ ปจั จบุ ันตรงกบั ปพี ทุ ธศักราชใด และตรงกบั ปี คริสตศ์ ักราชใด” (ปพี ุทธศักราช ๒๕๖๒ และปคี ริสตศ์ กั ราช ๒๐๑๙) 1.2) ถ้านักเรียนไปพบปีศักราชในระบบอื่น ๆ นักเรียนจะทราบได้อย่างไรว่าปี ศกั ราชนน้ั ๆ ตรงกับปพี ุทธศักราชใด 9.2 ข้นั สอน (35) 2. ครูอธิบาย Concept วิธีการการเปรียบเทียบศักราช ด้วยสไลด์ Powerpoint วิธีการการ เปรียบเทียบศักราช (หากหอ้ งไหนใช้โปรเจคเตอร์ไม่ได้ให้ใชภ้ าพปร้นิ ขนาด 2*2) โดยใช้เสน้ เวลา (Time line) แสดงการเริ่มปีที่ 1 ของศักราชแบบต่าง ๆ และชี้ให้เห็นเวลาที่ห่างกันระหว่างศักราชต่าง ๆ พร้อมทั้งแสดง วิธีการเทียบศักราชในแต่ละรูปแบบ จากนั้นครูสุ่มนักเรียนมาอธิบายวิธีการเปรียบเทียบศักราชหน้าชั้นเรียน (Cognition) (Are immune) 3. นักเรียนทำกจิ กรรม “เรยี งเร่ืองราว…เลา่ ศักราช” โดยมีรายละเอียดกิจกรรมดังน้ี 3.๑) นักเรยี นแบง่ กลุม่ เปน็ 5 กลมุ่ ๆ ละเทา่ ๆ กัน 3.2) ครูมีบตั รคำถาม ๑๐ แผ่น ในแต่ละแผ่นมคี ำถามเก่ยี วกบั การศักราช 3.3) ครูนำภาพที่เกี่ยวข้องกับศักราชต่าง ๆ มาให้นักเรียนพิจารณา กลุ่มละ ๑ ศักราช ดงั น้ี 3.4) ครูแสดงบัตรคำถามทีละแผ่น ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันพิจารณาข้อความ ให้ตรงกับศักราช โดยเขียนในกระดาษ Shot note เมื่อครูอ่านข้อความครบ 10 คำถาม จากนั้นครูจะเฉลย คำตอบ กลุ่มใดตอบถูกจะได้รับคะแนน ๑ คะแนน ทำเช่นนี้ไปจนครบทั้ง ๑๐ คำถาม กลุ่มใดได้คะแนนมาก ท่ีสดุ จะเปน็ ผู้ชนะ (R2) , (C1) , (C4) , (P4), (Society) , (Virtue) 4. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ทีไ่ ด้รับจากการเล่นเกม “เทียบเวลามหัศจรรย์” ในใบ งานที่ 1.3 เรื่อง การเปรียบเทียบศักราช โดยอนุญาตให้ค้นคว้าจากหนังสือประวัติศาสตร์ ม.1 และ โทรศพั ทม์ ือถือ (Rational), (Tolerable) , (object) 5. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบงานที่ 1.3 เรื่อง การเปรียบเทียบศักราช โดยใช้ กระบวนการอาสาสมคั รเฉลยตามลำดับขอ้ คำถาม (C5) , (culture) 9.3 ขนั้ สรปุ (5) 6. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อสรุปบทเรียน โดยครูมีแนวคำถามการเปรียบเทียบ ศักราชมีประโยชน์อย่างไรต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ (พิจารณาคำตอบของนักเรียนโดยอยู่ในดุลยพินิจของ ครูผ้สู อน) ๑0. สอื่ /แหลง่ เรยี นรู้ 1. หนงั สือเรียน ประวตั ิศาสตร์ ม.1 2. บัตรคำถาม ศักราชกบั เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ 3. ด้วยสไลด์ Powerpoint วิธกี ารการเปรยี บเทยี บศกั ราช
๑1. การวดั และประเมนิ ผล วธิ ีการวัดประเมนิ ผล เครอ่ื งมือวัด เกณฑ์การผา่ น จดุ ประสงค์การเรียนรู้ การถาม-ตอบ คำถาม ผ่านระดับคณุ ภาพดี ดา้ นความรู้ (K) ประเมนิ ใบงานท่ี 1.3 ขน้ึ ไป 1. นักเรียนอธบิ ายวิธกี าร เรื่อง การเปรยี บเทยี บ เปรียบเทียบศักราชแตล่ ะรูปแบบได้ แบบประเมินใบงานที่ ผา่ นระดบั คุณภาพ อยา่ งถูกต้อง ศักราช 1.3 เร่ือง การ พอใช้ขึน้ ไป ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) 2. นกั เรียนเปรียบเทยี บศกั ราชแต่ละ สงั เกตพฤติกรรมนักเรียน เปรียบเทียบศกั ราช 4 ดเี ยี่ยม รปู แบบไดอ้ ย่างถกู ต้อง สามารถคดิ วิเคราะห์การ 3 ดี เปรียบเทยี บศกั ราชได้ แบบสังเกตพฤติกรรม 2 พอใช้ ดา้ นเจตคติ (A) นกั เรยี น 1 ปรบั ปรุง 3. นักเรียนเห็นประโยชน์การ สังเกตพฤตกิ รรมนักเรียน ประยุกต์ใช้การเปรียบเทียบศักราช แบบประเมนิ สมรรถนะ 3 ดเี ยยี่ ม ในชีวติ ประจำวันได้ ดี 4. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น ผเู้ รียน 2 พอใช้ 4.1 ความสามารถในการคิด ปรบั ปรุง 1 5. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ดีเยยี่ ม 5.1 ใฝเ่ รยี นรู้ 0 ดี 5.2 มวี นิ ยั พอใช้ 3 ปรับปรุง แบบสังเกตพฤติกรรม 2 นักเรียน 1 0
๑2. เคร่ืองมือ/เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมิน (K) เรอ่ื ง ตอบคำถาม ประเดน็ 4 เกณฑก์ ารให้คะแนน 1 นำ้ หนัก/ คะแนนรวม ประเมนิ ความสำคญั เนอื้ หาถูกตอ้ ง 32 เนอ้ื หาไม่ ความ สอดคลอ้ ง เนื้อหาถูกต้อง เนอ้ื หาถูกตอ้ ง สอดคล้อง 2.5 10 ถกู ต้อง หัวข้อเรอื่ งเป็น สอดคล้อง สอดคลอ้ ง หัวข้อเรอ่ื ง ส่วนใหญ่ หัวขอ้ เรือ่ งเป็น หวั ข้อเร่อื งเป็น 2.5 10 บางสว่ น สว่ นน้อย รวม เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ คะแนน 7-8 คะแนน ระดับ ดี ต่ำกว่า 4 คะแนน ระดับ ต้องปรบั ปรงุ คะแนน 9-10 คะแนน ระดับ ดีมาก คะแนน 5-6 คะแนน ระดับ พอใช้ สรุปเกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ในระดับคณุ ภาพต้ังแตร่ ะดับพอใช้ ข้ึนไป
เกณฑก์ ารประเมินทกั ษะ (P) ใบงานท่ี 1.3 เรื่อง การเปรยี บเทียบศักราช ประเดน็ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน นำ้ หนกั / คะแนนรวม ประเมิน 6 4 3 2 1 ความสำคัญ ความ 4 ถกู ตอ้ ง เนื้อหาถูกตอ้ ง เนื้อหาถูกต้อง เน้อื หาถูกต้อง เน้อื หาไม่ 1.5 การใช้ ตามลำดับเรอื่ ง ตามลำดับ ตามลำดับ ตามลำดบั ภาษา เปน็ ส่วนใหญ่ หวั ขอ้ เร่ืองเป็น หัวขอ้ เรือ่ งเป็น หัวขอ้ เรอ่ื ง บางสว่ น ส่วนน้อย การใช้ภาษา การใชภ้ าษา การใช้ภาษา การใช้ภาษาไม่ 1 ถกู ต้องประโยค ถูกต้องประโยค ประโยค ถูกต้อง สอดคลอ้ งกับ สอดคล้องกับ สอดคล้องกับ ประโยคไม่ เนอื้ หาสว่ น เนื้อหาบางสว่ น เนอ้ื หาน้อย สอดคลอ้ งกบั ใหญ่ เน้อื หา รวม 2.5 10 เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ คะแนน 7-8 คะแนน ระดับ ดี ตำ่ กวา่ 4 คะแนน ระดับ ต้องปรบั ปรงุ คะแนน 9-10 คะแนน ระดบั ดมี าก คะแนน 5-6 คะแนน ระดบั พอใช้ สรปุ เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ในระดับคณุ ภาพต้ังแตร่ ะดับพอใช้ ข้ึนไป
รายการประเมนิ เกณฑ์การสงั เกตพฤติกรรมนักเรยี น (A) ปรับปรุง (๑) คำอธบิ ายระดบั คุณภาพ/ระดบั คะแนน ดมี าก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) 1.นกั เรยี นเห็น นักเรยี นเหน็ นักเรยี นเหน็ นักเรยี นเหน็ นกั เรียนเห็น ประโยชน์การ ประโยชนก์ าร ประโยชน์การ ประโยชนก์ าร ประโยชนก์ าร ประยกุ ตใ์ ช้การ ประยกุ ตใ์ ช้การ ประยุกต์ใช้การ ประยุกตใ์ ช้การ ประยุกต์ใช้การ เปรยี บเทยี บ เปรียบเทยี บศักราช เปรยี บเทียบศักราช เปรยี บเทยี บศักราช เปรียบเทียบศักราช ศกั ราชใน ในชวี ติ ประจำวันได้ ในชีวิตประจำวันได้ ในชวี ติ ประจำวนั ได้ ในชวี ติ ประจำวันได้ ชีวิตประจำวันได้ ไดเ้ ป็นอย่างดี ไดค้ ่อนขา้ งดี ไดพ้ อสมควร ได้ รายการประเมนิ เกณฑก์ ารประเมนิ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น ปรบั ปรุง (0) คำอธิบายระดบั คณุ ภาพ/ระดบั คะแนน ดมี าก (3) ดี (2) พอใช้ (1) สามารถคดิ สามารถคดิ วิเคราะห์ สามารถคิดวเิ คราะห์ สามารถคิดวิเคราะห์ สามารถคิดวเิ คราะห์ วเิ คราะห์การ การเปรยี บเทียบ การเปรยี บเทยี บ การเปรียบเทยี บ การเปรียบเทยี บ เปรยี บเทยี บ ศักราชได้อย่าง ศกั ราชได้ไมช่ ัดเจน ศกั ราชได้ไม่ชดั เจน ศักราชได้ไม่ได้ ศกั ราชได้ ถกู ต้อง ครบถว้ น บางสว่ น รายการประเมนิ เกณฑ์การประเมินคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ปรบั ปรุง (0) คำอธบิ ายระดับคุณภาพ/ระดบั คะแนน ดีเย่ยี ม (3) ดี (2) พอใช้ (1) 1.ใฝ่เรยี นรู้ สนใจในการเรยี น สนใจในการเรยี น สนใจในการเรยี น ขาดความสนใจใน และทำงานไดเ้ ป็น และทำงานได้ และทำงานได้ การเรียนและทำงาน อยา่ งดี ค่อนข้างดี พอสมควร ทด่ี ี 2.มวี นิ ยั ปฏบิ ัตติ นตาม ปฏิบตั ติ นตาม ปฏิบตั ติ นตาม ขาดการปฏบิ ตั ติ น ข้อตกลงของ ข้อตกลงของ ขอ้ ตกลงของ ตามข้อตกลงของ หอ้ งเรียน ไมล่ ะเมิด ห้องเรยี น ไมล่ ะเมิด หอ้ งเรยี น ไมล่ ะเมิด ห้องเรยี น สทิ ธิข์ องผอู้ นื่ สทิ ธิ์ของผ้อู ื่นได้ สทิ ธ์ิของผ้อู ื่นได้ ค่อนข้างดี คอ่ นข้างดี
13. แบบประเมนิ แบบประเมิน เร่อื ง ตอบคำถาม คำชีแ้ จง : ให้ผู้สอนบันทึกการทำกจิ กรรม โดยเขียนระดับคะแนนลงในตารางใหต้ รงกบั ความสามารถของ ผ้เู รียน เลขท่ี ช่ือ-สกุล ความถกู ตอ้ ง (10) รวมคะแนน (10) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ คะแนน 5-6 คะแนน ระดบั ดี ตำ่ กวา่ 2 คะแนน ระดับ ตอ้ งปรับปรุง คะแนน 7-8 คะแนน ระดับ ดีมาก คะแนน 3-4 คะแนน ระดับ พอใช้ สรปุ เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ในระดับคณุ ภาพตั้งแตร่ ะดับดี ขน้ึ ไป ลงชื่อ............................................................ผ้ปู ระเมนิ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372