วชิ าวิทยาศาสตรก์ าย1ภาพ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 แผนการจัดการเรียนรู้ ผู้สอน นางสาวนิตพิ ร ถิ่นพบิ ลู ย์
2 รายงาน เรอ่ื ง แผนการจดั การเรยี นรู้ วชิ าวิทยาศาสตรก์ ายภาพ 2 ( ฟิสิกส์ ) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 เสนอ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พัชรภี รณ์ บางเขยี ว จดั ทาโดย นางสาวนติ ิพร ถิน่ พบิ ลู ย์ เลขท่ี 19 รหสั นักศกึ ษา 6281114002 หมเู่ รียน D4 สาขาฟิสกิ ส์ (ครศุ าสตรบัณฑิต 4 ป)ี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยราชภัฏบา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา รายงานฉบบั น้เี ป็นสว่ นหนึง่ ของรายวิชาวทิ ยาการจดั การเรยี นรู้ รหสั วิชา 1190301 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564
3ก คานา รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน ซึ่งเนื้อหาภายใน แผนการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จัดทําขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางใน การจัดการเรียนการสอนท่ีแนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ซึ่งอิงขอ้ มูลมาตรฐานและตัวชีว้ ดั ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560) แผนการจัดการเรียนรูเ้ ล่มนี้ประกอบไปด้วย แผนการจัดการเรียนรู้รายปี และแผนการจดั การเรียนรู้ เป็น หนว่ ย มีทั้งหมด 4 หน่วย ไดแ้ ก่ หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 เรื่อง แรงและการเคลอ่ื นที่ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 เร่อื ง แรงในธรรมชาติ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 เร่อื ง พลังงาน หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 เรอื่ ง คล่นื ผูจ้ ดั ทาํ หวังเป็นอย่างย่งิ ว่ารายงานฉบบั นี้จะเป็นส่ิงท่ีมอบให้ท้ังความรู้ และวิธกี ารทจ่ี ะนําไปประยุกต์ใช้ได้ และเกิด ประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ที่สนใจศึกษาและผู้อ่านทุกท่าน หากมีข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทําขอน้อมรับทุก คําตชิ มของผทู้ ่ีสนใจหรอื ผู้อา่ นเพอ่ื จะนาํ ไปปรบั ปรุงตอ่ ไป ผ้จู ัดทํา นิตพิ ร ถิน่ พบิ ลู ย์ 10 ธันวาคม 2564
สารบัญ 4ข เรอ่ื ง หน้า คํานาํ ก สารบัญ ข แผนการจดั การเรียนรู้ 1 โครงสร้างรายวิชา 10 แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เรือ่ ง แรงและการเคลอ่ื นที่ 12 13 • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 การเคลื่อนทีแ่ นวตรง 47 • แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2 แรงและกฎการเคลือ่ นท่นี ิวตนั 74 • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 การเคลอ่ื นท่ีแบบโพรเจกไทล์ 93 • แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 4 การเคลอ่ื นทแ่ี บบวงกลม 111 • แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 5 การเคลื่อนท่สี ั่น 133 แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 เร่ือง แรงในธรรมชาติ 134 • แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 6 แรงจากสนามโนม้ ถว่ ง 157 • แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 7 แรงจากสนามไฟฟ้า 176 • แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 8 แรงจากสนามแม่เหลก็ 195 • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 แรงในนิวเคลียส 213 แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 เรือ่ ง พลังงาน 214 • แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 10 พลงั งานในชีวิตประจําวัน 241 • แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 11 พลังงานนวิ เคลียร์ 261 • แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 12 เทคโนโลยดี า้ นพลงั งาน
สารบญั (ตอ่ ) 5ข เรือ่ ง หนา้ แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 4 เรอ่ื ง คลื่น 285 • แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 13 คลื่นกล 286 • แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 14 คลื่นเสียง 313 • แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 15 คลน่ื เสยี ง (ตอ่ ) 332 • แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 16 คล่นื แมเ่ หล็กไฟฟ้า 348 • แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 17 ประโยชน์ของคลืน่ แม่เหลก็ ไฟฟ้า 369 บรรณานุกรม ค
61 แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าพืน้ ฐาน รหสั วชิ า ว32102 รายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ2 (ฟิสกิ ส)์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 ปกี ารศกึ ษา 2564 เวลา 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกิต ผู้สอน นางสาวนิตพิ ร ถิน่ พิบูลย์ 1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ช้ีวัด มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจําวัน ผลของแรงที่กระทําต่อวัตถุ ลักษณะการ เคลือ่ นทแี่ บบต่างๆ ของวตั ถุ รวมทัง้ นาํ ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจําวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคลน่ื แม่เหล็กไฟฟ้า รวมทัง้ นําความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ ตวั ชว้ี ดั มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจําวัน ผลของแรงที่กระทําต่อวัตถุ ลักษณะการ เคลือ่ นท่ีแบบตา่ งๆ ของวตั ถุ รวมทงั้ นาํ ความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ ว 2.2 ม.5/1 วิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลความเร็วกับเวลาของการเคลื่อนที่ของวัตถุเพื่ออธิบาย ความเรง่ ของวตั ถุ ว 2.2 ม.5/2 สังเกตและอธิบายการหาแรงลัพธท์ ี่เกิดจากแรงหลายแรงท่ีอยู่ในระนาบเดียวกันที่กระทําต่อ วัตถุโดยการเขียนแผนภาพการรวมแบบเวกเตอร์ ว 2.2 ม.5/3 สังเกต วิเคราะห์และอธิบายความสมั พันธ์ระหว่างความเรง่ ของวัตถกุ ับแรงลัพธ์ที่กระทําตอ่ วัตถุและมวลของวัตถุ ว 2.2 ม.5/4 สังเกตและอธิบายแรงกริ ยิ าและแรงปฏกิ ริ ยิ าระหวา่ งวัตถคุ ู่หนึง่ ๆ ว 2.2 ม.5/5 สังเกตและอธิบายผลของความเร่งที่มีต่อการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุ ได้แก่ การ เคลอ่ื นทแ่ี นวตรงการเคล่ือนที่แบบโพรเจกไทล์ การเคลื่อนทแ่ี บบวงกลม และการเคล่ือนทแี่ บบสนั่ ว 2.2 ม.5/6 สบื คน้ ขอ้ มลู และอธบิ ายแรงโนม้ ถว่ งท่ีเกีย่ วกบั การเคลื่อนทีข่ องวตั ถตุ า่ ง ๆรอบโลก ว 2.2 ม.5/7 สงั เกตและอธิบายการเกดิ สนามแมเ่ หล็กเนื่องจากกระแสไฟฟ้า
72 ว 2.2 ม.5/8 สังเกตและอธิบายแรงแมเ่ หล็กท่ีกระทําต่ออนุภาคท่มี ปี ระจุไฟฟ้าที่เคลือ่ นท่ใี นสนามแม่เหล็ก และแรงแม่เหล็กที่กระทําต่อลวดตัวนําที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านในสนามแม่เหล็กรวมทั้งอธิบายหลักกํารทํางานของ มอเตอร์ ว 2.2 ม.5/9 สังเกตและอธิบายการเกิดอีเอ็มเอฟ รวมท้งั ยกตวั อยา่ งการนาํ ความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ ว 2.2 ม.5/10 สืบคน้ ขอ้ มลู และอธิบายแรงเขม้ และแรงอ่อน มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจําวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคล่นื แมเ่ หล็กไฟฟา้ รวมท้ังนาํ ความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ ว 2.3 ม.5/1 สืบค้นข้อมูลและอธิบายพลังงานนิวเคลียร์ฟชชันและฟวชัน และความสัมพันธ์ระหว่างมวล กับพลังงานทป่ี ดปลอ่ ยออกมาจากฟชชันและฟวชนั ว 2.3 ม.5/2 สืบค้นข้อมูลและอธิบายการเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า รวมทั้งสืบค้นและ อภิปรายเกี่ยวกับเทคโนโลยีที่นํามาแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการทางด้านพลังงานโดยเน้นด้าน ประสิทธภิ าพและความคุ้มคา่ ดา้ นค่าใชจ้ ่าย ว 2.3 ม.5/3 สงั เกตและอธบิ ายการสะท้อนการหักเหการเลีย้ วเบนและการรวมคลนื่ ว 2.3 ม.5/4 สังเกตและอธบิ ายความถธี่ รรมชาติการส่นั พอ้ งและผลทเี่ กดิ ข้นึ จากการส่นั พ้อง ว 2.3 ม.5/5 สังเกตและอธิบายการสะทอ้ นการหักเหการเล้ียวเบนและการรวมคลื่นของคลืน่ เสยี ง ว 2.3 ม.5/6 สบื คน้ ข้อมลู และอธบิ ายความสมั พันธร์ ะหวา่ งความเขม้ เสยี งกบั ระดับเสียงและผลของความถี่ กบั ระดับเสยี งทม่ี ีต่อการได้ยนิ เสียง ว 2.3 ม.5/7 สังเกตและอธบิ ายการเกิดเสยี งสะท้อนกลบั บีต ดอปเพลอร์ และกํารสนั่ พอ้ งของเสียง ว 2.3 ม.5/8 สืบคน้ ข้อมูลและยกตวั อยา่ งการนําความรเู้ กย่ี วกับเสยี งไปใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจาํ วัน ว 2.3 ม.5/9 สงั เกตและอธิบายการมองเห็นสีของวัตถุและความผดิ ปกติในการมองเหน็ สี ว 2.3 ม.5/10 สังเกตและอธิบายการทํางานของแผ่นกรองแสงสีการผสมแสงสีการผสมสารสีและการ นําไปใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจําวัน ว 2.3 ม.5/11 สบื คน้ ข้อมลู และอธิบายคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ส่วนประกอบคล่นื แม่เหล็กไฟฟ้า และหลักการ ทาํ งานของอปุ กรณบ์ างชนดิ ทอ่ี าศยั คล่นื แมเ่ หล็กไฟฟา้
83 ว 2.3 ม.5/12 สืบค้นข้อมูลและอธิบายการส่ือสาร โดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในการส่งผ่านสารสนเทศ และเปรยี บเทียบการสือ่ สารด้วยสญั ญาณแอนะลอ็ กกบั สัญญาณดิจิทัล 2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 2.1 จุดประสงค์ด้านความรู้ (K) 1. นักเรียนสามารถแปลความหมายข้อมลู ความเร็วกับเวลาของการเคลื่อนที่ของวัตถุเพื่ออธิบายความเร่ง ของวตั ถไุ ด้ (K) 2. นกั เรียนสามารถวเิ คราะห์ขอ้ มลู ความเรว็ กบั เวลาของการเคลอ่ื นที่ของวตั ถุเพ่ืออธิบายความเรง่ ของวัตถุ ได้ (K) 3. นักเรียนสามารถอธบิ ายการหาแรงลพั ธ์ที่เกิดจากแรงหลายแรงท่ีอยู่ในระนาบเดียวกันที่กระทําต่อวัตถุ โดยการเขยี นแผนภาพการรวมแบบเวกเตอรไ์ ด้ (K) 4. นักเรียนสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความเร่งของวัตถุกับแรงลัพธ์ที่กระทําต่อวัตถุและมวล ของวัตถุ (K) 5. นักเรียนสามารถวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างความเร่งของวัตถุกับแรงลัพธ์ที่กระทําต่อวัตถุและมวล ของวตั ถุได้ (K) 6. นกั เรียนสามารถอธบิ ายแรงกริ ิยาและแรงปฏกิ ริ ยิ าระหว่างวตั ถคุ ู่หนงึ่ ๆ ได้ (K) 7. นักเรียนสามารถอธิบายผลของความเร่งที่มีต่อการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุ ได้แก่ การเคลื่อนที่ แนวตรงการเคลอ่ื นท่แี บบโพรเจกไทล์ การเคลื่อนทีแ่ บบวงกลม และการเคลื่อนทแ่ี บบสน่ั ได้ (K) 8. นกั เรยี นสามารถอธิบายแรงโน้มถว่ งทเ่ี ก่ยี วกับการเคลอ่ื นที่ของวตั ถตุ า่ ง ๆรอบโลกได้ (K) 9. นักเรยี นสามารถอธบิ ายการเกดิ สนามแมเ่ หล็กเนื่องจากกระแสไฟฟา้ ได้ (K) 10. นักเรียนสามารถอธิบายแรงแม่เหล็กที่กระทําต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าที่เคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็ก และแรงแม่เหล็กที่กระทําต่อลวดตัวนําที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านในสนามแม่เหล็กรวมทั้งอธิบายหลักกํารทํางานของ มอเตอร์ (K) 11. นกั เรยี นสามารถอธบิ ายการเกดิ อเี อม็ เอฟ รวมทงั้ ยกตัวอย่างการนําความรู้ไปใช้ประโยชนไ์ ด้ (K) 12. นกั เรยี นสามารถอธิบายแรงเขม้ และแรงอ่อนได้ (K) 13. นักเรียนสามารถอธบิ ายพลงั งานนิวเคลยี รฟ์ ชชนั และฟวชัน และความสัมพนั ธ์ระหวา่ งมวลกับพลังงาน ที่ปลดปล่อยออกมาจากฟชชันและฟวชันได้ (K)
94 14. นักเรียนสามารถอธบิ ายการเปล่ยี นพลังงานทดแทนเปน็ พลังงานไฟฟา้ ได้ (K) 15. นกั เรยี นสามารถอธบิ ายการสะทอ้ นการหักเหการเลย้ี วเบนและการรวมคล่นื ได้ (K) 16. นกั เรยี นสามารถอธิบายความถีธ่ รรมชาติการสั่นพ้องและผลท่เี กดิ ข้ึนจากการสัน่ พ้องได้ (K) 17. นักเรยี นสามารถอธิบายการสะทอ้ นการหกั เหการเลี้ยวเบนและการรวมคล่นื ของคลนื่ เสียงได้ (K) 18. นักเรยี นสามารถอธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหว่างความเข้มเสียงกบั ระดบั เสียงและผลของความถี่กับระดับ เสียงที่มตี อ่ การไดย้ นิ เสยี งได้ (K) 19. นกั เรยี นสามารถอธิบายการเกดิ เสียงสะท้อนกลบั บตี ดอปเพลอร์ และกาํ รสน่ั พอ้ งของเสียงได้ (K) 20. นักเรียนสามารถยกตวั อย่างการนาํ ความรู้เกีย่ วกบั เสียงไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวิตประจาํ วันได้ (K) 21. นกั เรียนสามารถอธบิ ายการมองเห็นสีของวัตถแุ ละความผิดปกตใิ นการมองเหน็ สีได้ (K) 22. นักเรียนสามารถอธิบายการทํางานของแผ่นกรองแสงสีการผสมแสงสีการผสมสารสีและการนําไปใช้ ประโยชน์ในชวี ติ ประจาํ วันได้ (K) 23. นักเรียนสามารถอธบิ ายคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า สว่ นประกอบคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้า และหลักการทํางานของ อุปกรณ์บางชนิดที่อาศยั คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าได้ (K) 24. นักเรียนสามารถอธิบายการสื่อสาร โดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในการส่งผ่านสารสนเทศและ เปรยี บเทียบการส่อื สารด้วยสัญญาณแอนะล็อกกับสัญญาณดิจทิ ลั ได้ (K) 2.2 จุดประสงค์ดา้ นทักษะ (P) 1. นักเรียนสามารถปฏิบัติการสืบค้นข้อมูลในการวิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลความเร็วกับเวลา ของการเคล่ือนท่ีของวตั ถุเพื่ออธบิ ายความเร่งของวตั ถุได้ (P) 2. นักเรียนสงั เกตการหาแรงลพั ธ์ที่เกดิ จากแรงหลายแรงทีอ่ ยู่ในระนาบเดียวกันที่กระทําต่อวัตถุ โดยการ เขียนแผนภาพการรวมแบบเวกเตอร์ได้ (P) 3. นักเรียนสงั เกตความสมั พันธ์ระหว่างความเร่งของวัตถุกับแรงลัพธท์ ี่กระทําตอ่ วัตถุและมวลของวัตถุได้ (P) 4. นกั เรยี นสามารถสงั เกตแรงกริ ิยาและแรงปฏกิ ิริยาระหวา่ งวัตถคุ ู่หนึ่ง ๆ ได้ (P) 5. นกั เรียนสามารถสงั เกตผลของความเร่งที่มีตอ่ การเคล่อื นทแ่ี บบต่าง ๆ ของวตั ถุ ได้แก่ การเคลอ่ื นทีแ่ นว ตรงการเคลอ่ื นทแ่ี บบโพรเจกไทล์ การเคล่ือนที่แบบวงกลม และการเคล่ือนที่แบบสน่ั ได้ (P)
105 6. นักเรียนสามารถปฏิบัติการสืบค้นข้อมูลแรงโน้มถ่วงที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุต่าง ๆรอบโลกได้ (P) 7. นกั เรียนสามารถสงั เกตการเกิดสนามแม่เหลก็ เนื่องจากกระแสไฟฟา้ ได้ (P) 8. เรียนสามารถสงั เกตแรงแม่เหล็กท่ีกระทําต่ออนภุ าคทมี่ ีประจุไฟฟ้าท่ีเคลื่อนท่ีในสนามแม่เหล็กและแรง แม่เหล็กที่กระทําต่อลวดตัวนําที่มีกระแสไฟฟ้าผา่ นในสนามแม่เหล็กรวมทั้งอธิบายหลักกํารทาํ งานของมอเตอร์ได้ (P) 9. นกั เรียนสามารถสงั เกตการเกดิ อีเอม็ เอฟ รวมทง้ั ยกตัวอยา่ งการนําความรไู้ ปใช้ประโยชนไ์ ด้ (P) 10. นักเรียนสามารถปฏิบัติการสืบค้นขอ้ มลู แรงเข้มและแรงออ่ นได้ (P) 11. นักเรียนสามารถปฏิบัติการสบื ค้นข้อมลู พลงั งานนิวเคลียรฟ์ ชชันและฟวชนั และความสัมพันธ์ระหว่าง มวลกบั พลังงานท่ปี ลดปล่อยออกมาจากฟชชนั และฟวชนั ได้ (P) 12. นกั เรียนสามารถปฏิบัติการสืบคน้ ขอ้ มูลการเปล่ยี นพลังงานทดแทนเปน็ พลงั งานไฟฟ้าได้ (P) 13. นักเรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับเทคโนโลยีที่นํามาแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการทางด้าน พลงั งานโดยเน้นด้านประสทิ ธิภาพและความค้มุ คา่ ดา้ นค่าใช้จา่ ยได้ (P) 14. นักเรียนสามารถปฏิบัติการสืบค้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีที่นํามาแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการ ทางด้านพลงั งานโดยเน้นดา้ นประสทิ ธภิ าพและความคมุ้ ค่าดา้ นค่าใช้จา่ ยได้ (P) 15. นักเรยี นสามารถสงั เกตการสะท้อนการหกั เหการเล้ียวเบนและการรวมคล่ืนได้ (P) 16. นกั เรียนสามารถสงั เกตความถ่ธี รรมชาติการสน่ั พ้องและผลทเี่ กิดข้ึนจากการสั่นพ้องได้ (P) 17. นกั เรียนสามารถสงั เกตการสะทอ้ นการหกั เหการเลีย้ วเบนและการรวมคลื่นของคลนื่ เสียงได้ (P) 18. นกั เรียนสามารถปฏบิ ัติการสืบค้นข้อมลู ความสัมพันธร์ ะหว่างความเข้มเสียงกับระดบั เสยี งและผลของ ความถก่ี ับระดับเสยี งทม่ี ตี อ่ การได้ยินเสียงได้ (P) 19. นักเรยี นสามารถสงั เกตการเกิดเสยี งสะทอ้ นกลบั บีต ดอปเพลอร์ และกาํ รสนั่ พ้องของเสยี งได้ (P) 20. นกั เรียนสามารถปฏิบัตกิ ารสืบคน้ ข้อมูลการนาํ ความรู้เกย่ี วกับเสียงไปใช้ประโยชนใ์ นชีวิตประจําวันได้ (P) 21. นกั เรยี นสามารถสังเกตการมองเห็นสีของวตั ถแุ ละความผดิ ปกติในการมองเห็นสีได้ (P) 22. นักเรียนสามารถสังเกตการทํางานของแผ่นกรองแสงสีการผสมแสงสีการผสมสารสีและการนําไปใช้ ประโยชน์ในชวี ิตประจําวนั ได้ (P)
116 23. นักเรียนสามารถปฏิบัติการสืบค้นข้อมูลคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ส่วนประกอบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และ หลกั การทาํ งานของอุปกรณบ์ างชนดิ ท่อี าศัยคลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟ้าได้ (P) 24. นักเรียนสามารถปฏิบัติการสืบค้นข้อมูลการสื่อสาร โดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในการส่งผ่าน สารสนเทศและเปรียบเทยี บการสอื่ สารดว้ ยสญั ญาณแอนะลอ็ กกับสัญญาณดิจทิ ลั ได้ (P) 2.2 จุดประสงค์ด้านเจตคติ (A) 1. นกั เรยี นมีความสนใจใฝร่ หู้ รอื อยากรูอ้ ยากเห็นเกีย่ วกับข้อมูลความเรว็ กบั เวลาของการเคล่อื นที่ของวัตถุ เพ่อื อธบิ ายความเร่งของวตั ถุ (A) 2. นักเรียนทํางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์ในการสังเกตและอธิบายการหาแรงลัพธ์ที่เกิดจากแรง หลายแรงทอี่ ย่ใู นระนาบเดยี วกนั ที่กระทาํ ต่อวตั ถโุ ดยการเขยี นแผนภาพการรวมแบบเวกเตอร์ (A) 3. นักเรียนมคี วามสนใจใฝร่ ู้ในการสังเกต วิเคราะหแ์ ละอธิบายความสมั พันธ์ระหว่างความเร่งของวัตถุกบั แรงลพั ธท์ ่กี ระทําต่อวัตถุและมวลของวัตถุ (A) 4. นกั เรียนมคี วามสนใจใฝร่ ู้ในการสังเกตและอธิบายแรงกิรยิ าและแรงปฏกิ ริ ิยาระหว่างวัตถุคหู่ นง่ึ ๆ (A) 5. นักเรียนมคี วามสนใจใฝร่ ู้หรืออยากรู้อยากเหน็ และทํางานรว่ มกับผู้อื่นได้อยา่ งสร้างสรรค์ในการสังเกต และอธิบายผลของความเร่งที่มีต่อการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆของวัตถุ ได้แก่ การเคลื่อนที่แนวตรงการเคลื่อนที่แบบ โพรเจกไทล์ การเคลอื่ นที่แบบวงกลม และการเคลื่อนที่แบบสน่ั (A) 6. นักเรียนมีความสนใจใฝ่รู้หรืออยากรู้อยากเห็น และทํางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ในการสืบค้น ขอ้ มูลและอธิบายแรงโน้มถว่ งทเ่ี กย่ี วกับการเคล่ือนที่ของวัตถุต่าง ๆรอบโลก (A) 7. นักเรียนมีความสนใจใฝ่รู้หรืออยากรู้อยากเห็น และทํางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ในการสังเกต และอธบิ ายการเกดิ สนามแมเ่ หลก็ เน่อื งจากกระแสไฟฟา้ (A) 8. นักเรียนมีความสนใจใฝ่รู้หรืออยากรู้อยากเห็น และทํางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ในการสังเกต และอธิบายแรงแมเ่ หล็กท่ีกระทําต่ออนภุ าคท่ีมปี ระจุไฟฟ้าที่เคลอ่ื นท่ใี นสนามแมเ่ หล็กและแรงแม่เหล็กท่ีกระทําต่อ ลวดตัวนาํ ทม่ี กี ระแสไฟฟา้ ผา่ นในสนามแมเ่ หลก็ รวมท้งั อธิบายหลักกํารทํางานของมอเตอร์ (A) 9. นักเรียนมีความสนใจใฝ่รู้หรืออยากรู้อยากเห็น และทํางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ในการสังเกต และอธบิ ายการเกิดอเี อ็มเอฟ รวมทงั้ ยกตัวอยา่ งการนาํ ความร้ไู ปใช้ประโยชน์ (A) 10. นักเรียนมีความสนใจใฝ่รู้หรืออยากรู้อยากเห็น และทํางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ในการสืบค้น ข้อมูลและอธบิ ายแรงเข้มและแรงอ่อน (A)
127 11. นักเรียนมีความสนใจใฝ่รู้ในการสืบค้นข้อมูลและอธิบายพลังงานนิวเคลียร์ฟชชันและฟวชัน และ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งมวลกับพลงั งานทปี่ ลดปล่อยออกมาจากฟชชันและฟวชนั (A) 12. นักเรียนมีความสนใจใฝ่รู้หรืออยากรู้อยากเห็น และทํางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ในการสืบค้น ข้อมูลและอธิบายการเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า รวมทั้งสืบค้นและอภิปรายเกี่ยวกับเทคโนโลยีท่ี นํามาแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการทางด้านพลังงานโดยเน้นด้านประสิทธิภาพและความคุ้มค่าด้าน คา่ ใชจ้ า่ ย (A) 13. นักเรียนมีความสนใจใฝ่รู้หรืออยากรู้อยากเห็น และทํางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ในการสังเกต และอธิบายการสะทอ้ นการหักเหการเลีย้ วเบนและการรวมคล่นื (A) 14. นักเรียนมีความสนใจใฝร่ ู้หรืออยากรู้อยากเห็น และทํางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ในการสังเกต และอธิบายความถีธ่ รรมชาติการสนั่ พ้องและผลทเ่ี กดิ ข้ึนจากการสนั่ พอ้ ง (A) 15. นักเรียนมีความสนใจใฝร่ ู้หรืออยากรู้อยากเห็น และทํางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ในการสังเกต และอธบิ ายการสะทอ้ นการหกั เหการเลีย้ วเบนและการรวมคลนื่ ของคลน่ื เสียง (A) 16. นักเรียนมีความสนใจใฝ่รู้หรืออยากรู้อยากเห็น และทํางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ในการสืบค้น ข้อมูลและอธิบายความสัมพนั ธ์ระหว่างความเขม้ เสียงกับระดับเสียงและผลของความถ่ีกับระดบั เสียงที่มตี ่อการได้ ยนิ เสยี ง (A) 17. นักเรียนมีความสนใจใฝ่รู้หรืออยากรู้อยากเห็น และทํางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ในการสังเกต และอธิบายการเกิดเสียงสะท้อนกลบั บีต ดอปเพลอร์ และกํารสนั่ พ้องของเสยี ง (A) 18. นักเรียนมีความสนใจใฝ่รู้หรอื อยากรู้อยากเห็น และทํางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ในการสืบค้น ข้อมูลและยกตวั อยา่ งการนาํ ความรู้เกี่ยวกับเสยี งไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ ประจาํ วนั (A) 19. นักเรียนมีความสนใจใฝร่ ู้หรืออยากรู้อยากเห็น และทํางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ในการสังเกต และอธิบายการมองเหน็ สขี องวตั ถแุ ละความผิดปกติในกํารมองเหน็ สี (A) 20. นักเรียนมีความสนใจใฝ่รู้หรืออยากรู้อยากเห็น และทํางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ในการสังเกต และอธิบายการทาํ งานของแผ่นกรองแสงสีการผสมแสงสีการผสมสารสีและการนําไปใช้ประโยชน์ในชวี ิตประจําวัน (A)
138 21. นักเรียนมีความสนใจใฝ่รู้หรอื อยากรู้อยากเห็น และทํางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ในการสืบคน้ ข้อมูลและอธิบายคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ส่วนประกอบคลนื่ แมเ่ หล็กไฟฟา้ และหลกั การทํางานของอุปกรณ์บางชนิดท่ี อาศยั คลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟ้า (A) 22. นักเรียนมีความสนใจใฝ่รู้หรืออยากรู้อยากเห็น และทํางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ในการสืบค้น ข้อมูลการสื่อสาร โดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในการส่งผ่านสารสนเทศและเปรียบเทียบการสื่อสารด้วยสัญญาณ แอนะ ลอ็ กกับสญั ญาณดิจิทัลได้ (A) 3. คาอธบิ ายรายวิชา ศึกษา วิเคราะห์ และแปลความหมายของปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ ระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว ความเร็ว ความเร่ง ลักษณะของแรง การหาแรงลัพธ์ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน การเคลื่อนที่แบบ โพรเจกไทล์ การเคลือ่ นทแี่ บบวงกลมและปริมาณท่ีเก่ยี วข้องกับการเคล่ือนทีแ่ บบวงกลม แรงสศู่ นู ย์กลาง ความเร่ง สศู่ นู ย์กลาง การประยุกต์ใช้ความรกู้ ารเคล่อื นทแ่ี บบวงกลมในการอธิบายการเคลอ่ื นทข่ี องรถบนถนนโค้ง การแกวง่ ของวัตถุติดปลายเชือก การสั่นของวัตถุติดปลายสปริง แรงโน้มถ่วงและสนามโน้มถ่วง การเคลื่อนที่ของวัตถุใน สนามโน้มถ่วงของโลก ประโยชน์จากสนามโน้มถ่วง แรงไฟฟ้าและสนามไฟฟ้า ผลของสนามไฟฟ้าต่ออนุภาคที่มี ประจุไฟฟ้า ประโยชน์จากสนามไฟฟ้า แรงแม่เหล็กและสนามแม่เหล็ก ผลของสนามแม่เหล็กต่ออนุภาคที่มีประจุ ไฟฟ้า ผลของสนามแม่เหล็กต่อตัวนําที่มีกระแสไฟฟ้า ประโยชน์จากสนามแม่เหล็ก แรงนิวเคลียร์อย่างเข้ม แรง นิวเคลียร์อย่างอ่อน พลังงานในชีวิตประจําวัน พลังงานทดแทนประเภทสิ้นเปลือง พลังงานทดแทนประเภท หมนุ เวยี น ไฟฟา้ จากพลังงานนิวเคลยี ร์ ไฟฟ้าจากพลงั งานแสงอาทิตย์ พลังงานนิวเคลียร์ฟิชชัน พลังงานนิวเคลียร์ ฟิวชัน เทคโนโลยีด้านพลังงาน คลื่นกล ส่วนประกอบของคลื่นกล อัตราเร็วของคลื่น สมบัติของคลื่น เสียง สมบัติ ของเสียง ระดับเสียง ความเข้มเสียง หูกับการได้ยิน บีต ดอปเพลอร์ ความถี่ธรรมชาติและการสั่นพ้อง การนํา ความรู้เรื่องเสียงไปใช้ประโยชน์ แสง ตากับการมองเห็น การผสมแสงสี การผสมสารสี และการใช้ประโยชน์ การ บอดสี คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ประโยชน์ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า อุปกรณ์ควบคุม ระยะไกล การใชค้ ลืน่ แมเ่ หล็กไฟฟ้าในการสอ่ื สารขอ้ มูล สัญญาณแอนะล็อก และสญั ญาณดจิ ิทัล โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสํารวจตรวจสอบ การสืบค้น ขอ้ มลู การสังเกต การวเิ คราะห์ การอภิปราย และการสรุปผล เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด และความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนํา ความร้ไู ปใชใ้ นชวี ติ ประจาํ วัน ตลอดจนมีจติ วิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคา่ นิยมท่เี หมาะสม
194 รหัสตวั ช้วี ัด ว 2.2 ม.5/1 ม.5/2 ม.5/3 ม.5/4 ม.5/5 ม.5/6 ม.5/7 ม.5/8 ม.5/9 ม.5/10 ว 2.3 ม.5/1 ม.5/2 ม.5/3 ม.5/4 ม.5/5 ม.5/6 ม.5/7 ม.5/8 ม.5/9 ม.5/10 ม.5/11 ม.5/12 รวม 22 ตัวชี้วดั
รายวิชาพ้ืนฐาน โครงสรา้ งรายวชิ า 150 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 รหสั วิชา ว32102 กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2564 จานวน 60 ชัว่ โมง เวลา หนว่ ยท่ี ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ (ชว่ั โมง) 16 1 แรงและการเคล่อื นที่ 3 1.1 การเคลอ่ื นทแ่ี นวตรง 6 1.2 แรงและกฎการเคล่ือนที่ของนิวตนั 2 1.3 การเคล่ือนทแ่ี บบโพรเจกไทล์ 2 1.4 การเคล่อื นที่แบบวงกลม 3 1.5 การเคล่ือนทแี่ บบสนั่ 18 2 แรงในธรรมชาติ 5 2.1 แรงจากสนามโน้มถ่วง 10 2.2 แรงจากสนามแมเ่ หล็ก 3 2.3 แรงในนิวเคลียส 8 สอบกลางภาค 4 3 พลงั งาน 1 3.1 พลงั งานในชวี ิตประจําวัน 3 3.2 พลังงานนิวเคลียร์ 18 3.3 เทคโนโลยีดา้ นพลงั งาน 6 4 คลืน่ 6 4.1 คลนื่ กล 3 4.2 คลน่ื เสียง 4.3 คลนื่ แม่เหลก็ ไฟฟ้า
หนว่ ยท่ี ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ 116 4.4 ประโยชนข์ องคลื่นแมเ่ หล็กไฟฟา้ เวลา สอบปลายภาค (ช่วั โมง) รวมท้ังหมด 3 60
12 17 แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ผนกาเรร่ือจงดั แกรงาแรลเะรกยี านรเรคู้ล่อื นท่ี หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1
01 183 แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 1 เรื่อง การเคลื่อนท่ีแนวตรง
1194 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1 สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ รายวิชาวิทยาศาสตรก์ ายภาพ 2 (ฟสิ กิ ส์) ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 ปีการศึกษา 2564 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 แรงและการเคลื่อนที่ เรือ่ ง การเคลือ่ นทแี่ นวตรง เวลา 3 ชัว่ โมง 1. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวช้วี ัด มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจําวัน ผลของแรงที่กระทําต่อวัตถุ ลักษณะการ เคล่อื นท่แี บบตา่ งๆ ของวตั ถุ รวมทง้ั นาํ ความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ ว 2.2 ม.5/1 วิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลความเร็วกับเวลาของการเคลื่อนที่ของวัตถุเพื่ออธิบาย ความเรง่ ของวัตถุ 2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. นักเรียนสามารถแปลความหมายข้อมูลความเร็วกับเวลาของการเคล่ือนที่ของวัตถุเพื่ออธิบายความเร่ง ของวตั ถไุ ด้ (K) 2. นักเรียนสามารถวเิ คราะห์ข้อมลู ความเร็วกับเวลาของการเคลือ่ นที่ของวตั ถเุ พอ่ื อธบิ ายความเร่งของวัตถุ ได้ (K) 3. นักเรียนสามารถปฏิบัติการสืบค้นข้อมูลในการวิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลความเร็วกับเวลา ของการเคล่ือนทขี่ องวตั ถเุ พ่ืออธบิ ายความเร่งของวัตถุได้ (P) 4. นกั เรยี นมีความสนใจใฝ่รู้หรืออยากรู้อยากเหน็ เกีย่ วกบั ข้อมลู ความเร็วกับเวลาของการเคลือ่ นที่ของวัตถุ เพ่ืออธิบายความเร่งของวัตถุ (A) 3. สาระสาคญั การเคลื่อนที่ เป็นการเปลี่ยนตําแหน่งของวัตถุ ผลของการเปลี่ยนตําแหน่งจะได้ขนาดความยาวของ เส้นทางการเปลี่ยนตําแหน่ง เรียกว่า ระยะทาง จึงเป็นปริมาณสเกลาร์ แต่ถ้าการเปลี่ยนตําแหน่งนั้นมีทิศทางที่ แน่นอน คือ มีทิศจากตําแหน่งเริ่มต้นไปยังตําแหน่งสุดท้าย สิ่งที่ได้จะมีทั้งขนาดและทิศทาง เรียกว่ า การ กระจัด จึงเป็นปริมาณเวกเตอร์ การเคลื่อนที่ของวัตถุต่างๆ เมื่อนําไปเทียบกับเวลา จะทําให้รู้ว่าวัตถุนั้นเคลื่อนท่ี เรว็ หรือช้า เรยี กวา่ มอี ัตราเร็ว หรือความเร็ว โดยอตั ราเร็วคดิ จากอัตราการเปล่ียนแปลงระยะทาง จึงเปน็ ปริมาณส
1250 เกลาร์ สว่ นความเรว็ คิดจากอตั ราการเปล่ยี นแปลงการกระจัด และเป็นปริมาณเวกเตอร์ การเคล่อื นท่ีของวัตถุใด ๆ เมื่อความเร็วไม่เท่าเดิม แสดงว่ามีการเร่งให้วัตถุนั้นเกิดการเปลี่ยนแปลง ซึ่งเรียกว่า เกิดความเร่งขึ้นกับวัตถุน้ัน และขนาดของความเร่งสามารถหาได้จากอตั ราการเปลี่ยนแปลงความเรว็ ความเรง่ จึงเปน็ ปริมาณเวกเตอร์ 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 ด้านความรู้ (K) - ความหมายของการเคลือ่ นท่ีแนวตรง - นยิ ามของปรมิ าณตาง ๆ ท่เี ก่ยี วของกบั การเคล่ือนทแี่ นวตรง 4.2 ดา้ นทกั ษะ (P) - การคาํ นวณหาปรมิ าณทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การเคลือ่ นท่ีในแนวตรง 4.3 คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A) 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 2. ซือ่ สัตย์สจุ รติ 3. มีวินยั 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยอู่ ย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทํางาน 7. รกั ความเปน็ ไทย 8. มจี ิตสาธารณะ 5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน/ภาระงาน 6.1 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 เร่ือง แรงและการเคล่อื นที่ 6.2 ใบงานที่ 1.1 เรอื่ ง ระยะทางและการกระจดั 6.3 ใบงานที่ 1.2 เร่ือง อตั ราเรว็ และความเรว็ 6.4 ใบงานท่ี 1.3 เรอ่ื ง ความเร่ง 6.5 ผังมโนทศั น์ เร่อื ง การเคล่อื นที่แนวตรง 6.6 แบบฝึกหดั เรื่อง การเคล่ือนทีแ่ นวตรง จากแบบฝกึ หัด วทิ ยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟสิ กิ ส์) ม.5
1261 7. กจิ กรรมการเรยี นรู้ แนวคิด/รปู แบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ชัว่ โมงที่ 1 ขน้ั นํา กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูแจง้ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ให้นกั เรียนทราบ 2. ครูให้นักเรียนทําแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความรู้เดมิ ของนักเรียนเป็นรายบุคคลก่อนเข้าสู่ กจิ กรรม 3. ครูถามคําถามกระตุ้นว่า จากรูปด้านล่างในการเคลื่อนที่ของวัตถุทั้งสองลักษณะ มีปริมาณใด ท่ี เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนท่ีบ้าง และให้นักเรียนช่วยกันตอบคําถามปากเปล่าโดยไม่มีการเฉลยวา่ ถูกหรอื ผดิ รูปรถยนตแ์ ล่นด้วยอตั ราเร็วคงที่ รปู เดก็ ผลักรถใหเ้ คลอื่ นท่ี
2127 4. ครูใช้คําถามเพื่อให้นักเรียนเกิดปัญหาและสืบเสาะหาความรู้เพื่อให้ได้คําตอบ โดยใช้คําถาม Big Question จากหนังสือเรียน วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) ม.5 ว่า “อะไรคือต้นเหตุสําคัญที่ทําให้ วัตถสุ ามารถเคลื่อนทีไ่ ด”้ (แนวตอบ : แรง เป็นสิ่งที่ทําให้วัตถุเปลี่ยนรูปร่าง เปลี่ยนทิศทาง เกิดการเคลื่อนที่หรือหรือหยุดนิ่งได้ ซ่งึ แรงสามารถเปลย่ี นความเร็วของวตั ถไุ ด้ หรือกลา่ วไดว้ า่ แรงทําใหว้ ตั ถุเกิดความเรง่ ) 5. ครถู ามคําถาม Prior Knowledge จากหนงั สือเรยี น กบั นักเรียนวา่ “การเคล่อื นท่ีแนวตรงลักษณะใดท่ี ไม่มีการเคล่ือนท่แี บบอน่ื ๆ” (แนวตอบ : การเคลื่อนท่แี นวตรงในแนวระดบั และการเคลื่อนทแ่ี นวตรงในแนวด่ิง) ขน้ั สอน สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครูให้นกั เรียนสบื เสาะหาความรู้ เรือ่ ง การเคลอ่ื นที่แนวตรง จากหนังสอื เรียน 2. ครูใช้สถานการณ์จําลองผลักรถทดลองให้เคลื่อนที่ในแนวตรงบนโต๊ะ และปล่อยลูกบอลให้ตกลงสู่พื้น หอ้ ง แล้วต้ังคําถามกบั นกั เรยี นวา่ • ทัง้ รถทดลองและลูกบอลมแี นวการเคล่อื นที่อยา่ งไร (แนวตอบ : เคล่ือนทเี่ ปน็ แนวเส้นตรง) • ลักษณะการเคล่อื นที่ของทง้ั สองกรณีเหมือนกันหรือแตกตา่ งกนั อย่างไร (แนวตอบ : เคล่อื นทเ่ี ป็นแนวเสน้ ตรงเหมอื นกัน แต่จะต่างกันตรงทร่ี ถทดลองจะเคล่ือนทีเ่ ป็นแนว เส้นตรงในแนวระดบั ส่วนลูกบอลจะเคล่อื นท่ีเป็นแนวเสน้ ตรงในแนวดิง่ ) 3. ครูให้นักเรียนศึกษาปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของวัตถุในส่วนของ เรื่อง ระยะทางและการ กระจดั จากหนงั สือเรียน 4. ครพู ดู คุยซักถามเกี่ยวกับเรื่องระยะทางและการกระจัดพรอ้ มต้งั ประเดน็ คําถาม เพื่อใหน้ ักเรียนแสดง ความคดิ เห็น เชน่ • ถา้ นักเรยี นเดนิ จากโรงเรียนกลบั บา้ นโดยท่เี ดินตรงไปทางทิศใต้ 500 เมตร แล้วเดินต่อไปทางทิศ ตะวันออกอีก 150 เมตร แล้วเดินต่อไปทางทิศหนืออีก 500 เมตร จงึ ถงึ บา้ น นักเรยี นคิดว่าระยะ ทางการเดินจากโรงเรยี นกลบั บ้านเป็นเทา่ ไร (แนวตอบ : ระยะทางทงั้ หมดเท่ากบั 500 + 150 + 500 = 1,150 เมตร)
1283 • จากการเดนิ ทางกลบั บ้านของนักเรียน อยากทราบว่าระหวา่ งโรงเรยี นและบ้านของนกั เรียนมีการ กระจดั เท่าไร (แนวตอบ : การกระจดั เทา่ กบั 1,150 – 1,000 = 150 เมตร ในทศิ ตะวนั ออก) 5. ครูให้นักเรียนสืบเสาะหาความรู้ข้อเปรียบเทียบหรือข้อแตกต่างระหวา่ งระยะทางและการกระจัด จาก สื่อต่าง ๆ เช่น จากหนังสือเรียน อินเทอร์เน็ต แล้วเขียนสรุปตามความเข้าใจของตนเองลงในสมุด 6. ครใู ห้นกั เรียนวเิ คราะห์ตวั อย่างท่ี 1.1 จากหนงั สอื เรียน “เด็กคนหนึ่งวง่ิ จากจุดเริ่มต้น A ไปยงั ตําแหน่ง B แล้ววิง่ ยอ้ นกลบั ไปตําแหนง่ C จงหาระยะทางและการกระจดั ของเด็กคนนี้” รูปแสดงตําแหน่งท่ีเดก็ ชายคนหน่ึงว่งิ ไปจากจดุ A ไปยงั จุด C วิธที า ระยะทาง วัดความยาวตามเสน้ ทางวง่ิ A B C จะได้ ระยะทาง = 550 เมตร + 200 เมตร = 750 เมตร การกระจัด วดั จากจุดเรมิ่ ตน้ A ไปในแนวตรงถงึ จดุ สดุ ทา้ ย C จะได้ การกระจัด = 350 เมตร ดงั น้นั เดก็ นน้วี ่งิ ได้ระยะทาง 750 เมตร และมีการกระจดั 350 เมตร มีทิศ A ไป C 7. ครแู จกใบงานท่ี 1.1 เร่อื ง ระยะทางและการกระจัด ใหน้ ักเรียน จากน้ันมอบหมายให้นักเรียนศึกษาและ ลงมือทํา
2149 ช่ัวโมงท่ี 2 ข้ันสอน สารวจค้นหา (Explore) 8. ครูให้นักเรียนสืบเสาะหาความรู้ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของวัตถุต่อ โดยเรื่องต่อไปที่จะได้ ศกึ ษา คอื อัตราเร็วและความเรว็ จากหนังสอื เรยี น 9. ครูแจกใบงานท่ี 1.2 เรอื่ ง อัตราเรว็ และความเร็ว ใหน้ กั เรียนนาํ กลับไปศึกษาเปน็ การบ้าน 10. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนทาํ งานร่วมกับผู้อื่นอยา่ งสร้างสรรค์ จากนน้ั รว่ มกนั สืบเสาะหรือวเิ คราะห์ ตวั อย่างท่ี 1.2 จากหนังสอื เรียน “นายธนากรเดนิ จากจดุ A ไปยังจดุ B เดินต่อไปยังจุด C แล้วไปยงั จุด D ในเวลา 20 วินาที ดังรูป” B 50 เมตร C 40 เมตร 30 เมตร A 90 เมตร D รปู แสดงเสน้ ทางการเดินของนายธนากรจากจดุ A ไปยงั จดุ D ก. จงหาระยะทางท้ังหมดท่ีนายธนากรเดินจากจุด A ไปยังจดุ D วิธที า ระยะทาง = ระยะ AB + ระยะ BC + ระยะ CD = 40+50+30 = 120 เมตร ดังนน้ั ระยะทางท้ังหมดเทา่ กับ 120 เมตร ข. จงหาการกระจัดของการเดนิ ของนายธนากรคร้ังน้ี วิธที า การกระจัด = ระยะ AD = 90 เมตร ดงั นน้ั การกระจดั ของการเดนิ คร้ังนี้เท่ากับ 90 เมตร
250 ค. จงหาอตั ราเรว็ เฉลยี่ ในการเดิน ระยะทางท่ีวตั ถเุ คลอ่ื นท่ไี ด้ วิธที า จากสมการ อัตราเร็วเฉล่ีย = ช่วงเวลาทีใ่ ช้ = 120 20 = 6 ������/������ ดังนั้น อตั ราเรว็ เฉล่ยี ในการเดินเทา่ กบั 6 เมตรต่อวินาที ง. จงหาความเรว็ เฉล่ยี ในการเดนิ ทาง วิธที า จากสมการ ความเรว็ เฉลีย่ = การกระจัดท่ีวตั ถุเคล่อื นที่ได้ = 90 ชว่ งเวลาทีใ่ ช้ 20 = 4.5 ������/������ ดังนนั้ ความเร็วเฉลี่ยในการเดนิ เทา่ กบั 4.5 เมตรต่อวินาที ทิศทางจาก A ไปยงั D 11. ครสู นทนากับนักเรียนวา่ ยงั มีอกี หน่งึ วธิ ีท่สี ามารถใช้เพื่อหาอัตราเรว็ ในการเคลื่อนท่ีของวัตถุได้ คือ การ ใช้เคร่ืองเคาะสัญญาณเวลา จากนั้นครูให้นักเรียนใช้โทรศัพท์มือถือสแกน QR Code เร่ือง เครื่อง เคาะสัญญาณเวลา จากหนังสือเรียน เพื่อเป็นการศึกษาเนื้อหาเพิ่มเติมที่นอกเหนือจากหนังสือ เรียน วิดีโอจากการ สแกน QR Code เร่ือง เครื่องเคาะสัญญาณเวลา 12. ครสู ุ่มนักเรียน 8 คน โดยเลอื กคนทม่ี ีความสามารถสูง ผลการเรียนดอี นั ดบั ตน้ ๆ ของชัน้ เรียน ออกมาหน้า ชัน้ เรียน เพ่อื ทาํ หน้าทเ่ี ปน็ หวั หนา้ กลุ่ม จากนนั้ ครใู ห้นักเรียนในชน้ั เรียนทกุ คนนบั เลข 1-8 คนละ 1 เลข ตามลําดับไปเรอื่ ย ๆ จนคนทกุ คน
261 13. ครูสุ่มกําหนดเลขให้หัวหน้ากลุ่มแต่ละคน โดยไม่เรียงลําดับ แล้วให้นักเรียนทุกคนแยกเข้ากลุ่มของ ตนเอง ตามเลขท่ีแตล่ ะคนนับได้ จากนั้นครใู ห้นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มร่วมกันศกึ ษาและลงมือปฏบิ ัตกิ จิ กรรม การหาอัตราเรว็ เฉล่ยี จากหนงั สอื เรยี น (หมายเหต:ุ ครเู ร่ิมประเมนิ นักเรยี น โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤตกิ รรมการทํางานกลุ่ม) อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูนําอภิปรายหลักในการศึกษาการเคลื่อนที่แนวตรง ตําแหน่งของวัตถุจะมีการเปลี่ยนแปลงในแนว เส้นตรง จึงต้องมีการบอกตําแหน่งของวัตถุและเพื่อความชัดเจน การบอกตําแหน่งของวัตถุจะต้อง เทียบกับจุดอ้างองิ หรือตาํ แหน่งอ้างองิ (Reference Point) ซึ่งเปน็ จุดหรือตาํ แหน่งท่ีอยนู่ ง่ิ เราสามารถ ใช้เส้นจํานวนในการบอกตําแหน่ง โดยให้จุด 0 เป็นจุดอ้างอิงได้ โดยถ้าวัตถุอยู่ห่างจากจุดอ้างอิงไป ทางขวา ใช้เครื่องหมายเปน็ บวก (+) แต่ถ้าวตั ถุอยู่หา่ งจากจดุ อา้ งอิงไปทางซา้ ยใช้เครือ่ งหมายเปน็ ลบ(-) 2. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั อภิปรายผลการศกึ ษากจิ กรรมการหาอตั ราเร็วเฉลย่ี ช่ัวโมงที่ 3 ขัน้ สอน สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครูอภิปรายร่วมกับนักเรียนเกี่ยวกับอัตราเร็วและความเร็วว่า เกิดจากการเปลี่ยนแปลงระยะทางเมื่อ เทียบกับเวลา แล้วครูถามคําถามเพื่อชักชวนเข้าสู่เนื้อหาที่กําลังจะศึกษาต่อไปว่า อัตราการ เปลี่ยนแปลงความเร็วหรือความเร็วที่เปลี่ยนแปลงไปเมื่อเทียบกับเวลาบ่งบอกถึงปริมาณใ ดในวิชา ฟิสิกส์ โดยครูเปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระ และจะยังไม่เฉลยว่าคําตอบที่ นักเรียนตอบนนั้ ถกู หรือผดิ 2. ครใู หน้ กั เรยี นสืบเสาะหาความรู้ เรอื่ ง ความเร่ง จากหนงั สือเรยี น 3. ครใู ห้นกั เรยี นวเิ คราะหต์ ัวอย่างที่ 1.3 จากหนังสือเรยี น โดยให้จดบันทึกลงในสมดุ (หมายเหตุ: ครูเร่มิ ประเมนิ นักเรยี น โดยใช้แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทาํ งานรายบคุ คล) “รถคนั หนึง่ แลน่ อยบู่ นทางตรงดว้ ยความเร็ว 5 เมตรต่อวินาที เมือ่ ผา่ นไป 4 วนิ าที ความเรว็ เปลย่ี นเปน็ 17 เมตรต่อวินาที รถคันนีม้ ีความเร่งเฉลีย่ เท่าใด”
272 วธิ ที า จากสมการ ������������������ = ∆������ ∆������ ������������������ = 17������/������−5������/������ 4 ������ ������������������ = 3������/������2 ดงั น้นั รถคนั น้ีมีความเรง่ เฉล่ยี 3 เมตรตอ่ วนิ าที2 ทิศเดยี วกบั การเคลือ่ นที่ของรถ อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครสู มุ่ ตวั แทนนกั เรียน 4-5 คน ออกมาหนา้ ชน้ั เรยี น จากนนั้ ให้ตวั แทนนกั เรยี นแต่ละคนแสดงวิธีทําจาก โจทย์ปัญหาในตัวอย่างที่ 1.3 บนกระดานหน้าช้ันเรียน 2. นกั เรียนทุกคนแกโ้ จทยป์ ญั หาที่แสดงการคาํ นวณหาปริมาณที่เก่ียวข้องกบั การเคล่อื นท่ีในแนวตรง 3. ครูแจกใบงานที่ 1.3 เรื่อง ความเรง่ ใหน้ ักเรยี นศึกษาและลงมอื ทํา ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครูนําอภิปรายสรุปเนื้อหา โดยเปิด PowerPoint เรื่องที่สอนไปแล้วควบคู่ไปด้วย โดยมีหัวข้อและ ใจความสําคญั เพือ่ ใหน้ ักเรียนอธิบายความหมายของการเคล่อื นที่แนวตรงได้ ดงั น้ี • การเคลื่อนที่แนวตรง คือ การเคลื่อนที่ไปตามเส้นทางที่เป็นเส้นตรงหรือกล่าวได้ว่ามีแนวการ เคลื่อนที่เป็นเส้นตรง สามารถแบ่งได้ 2 กรณี คือ การเคลื่อนที่แนวตรงตามแนวระดับ และการ เคลอ่ื นท่ีแนวตรงตามแนวด่ิงหรอื การตกแบบเสรี • ระยะทาง คือ ระยะทั้งหมดที่วัตถุเคลื่อนที่วัดตามแนวการเคลื่อนที่จริงของวัตถุตั้งแต่จุดเริ่มต้น จนถึงจุดสดุ ทา้ ย ระยะทางเป็นปรมิ าณสเกลาร์ • การกระจัด คือ การระบุตําแหน่งของจุดสุดท้ายเทียบกับจุดเริ่มต้นของการเคลื่อนที่โดยไม่คํานึงถึง เส้นทางการเคลื่อนที่ ขนาดของการกระจัดเป็นระยะที่วัดจากจุดเริ่มต้นจนถึงจุดสุดท้าย โดยวัด เป็นเสน้ ตรงเช่อื มตอ่ ระหวา่ งจดุ การกระจัดเป็นปรมิ าณเวกเตอร์ • อตั ราเร็ว คอื ระยะทางทว่ี ตั ถุเคลื่อนท่ีได้ในหน่งึ หน่วยเวลหรืออตั ราการเปลย่ี นแปลงระยะทางโดย ไมค่ าํ นึงถึงทศิ ทาง อตั ราเรว็ เปน็ ปรมิ าณสเกลาร์ • ความเร็ว คือ การกระจัดที่เปลี่ยนแปลงไปในหนึ่งหน่วยเวลาหรืออัตราการเปลี่ยนแปลงการ กระจัด ความเรว็ เปน็ ปริมาณเวกเตอร์ • ความเร่ง คือ ความเร็วที่เปลี่ยนแปลงไปในหนึ่งหน่วยเวลาหรืออัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็ว ความเรง่ เป็นปริมาณเวกเตอร์
2283 2. ครูให้นักเรียนทําสรุปผังมโนทศั น์ (Concept Mapping) เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง ลงในกระดาษ A4 พรอ้ มทงั้ ตกแตง่ ใหส้ วยงาม (หมายเหตุ : ครเู ริม่ ประเมินนักเรียน โดยใชแ้ บบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน) 3. ครสู ุ่มเลอื กนักเรยี นออกไปนาํ เสนอผงั มโนทัศน์ของตนเองหน้าชน้ั เรยี น และนําเสนอช้นิ งานของผเู้ รยี น เพอื่ ชี้แจงจุดดแี ละจดุ บกพร่องของนักเรียน (หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมนิ นักเรียน โดยใชแ้ บบประเมนิ การนําเสนอผลงาน) 4. ครูให้นักเรียนศึกษาและทําแบบฝึกหัดจาก Topic Question เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง จาก หนังสือเรยี น ลงในสมดุ แลว้ นํามาสง่ ครทู ้ายชัว่ โมง 5. ครูมอบหมายการบ้านให้นักเรียนทําแบบฝึกหัด เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง จากแบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์ กายภาพ 2 (ฟสิ กิ ส)์ ม.5 มาส่งครูในชวั่ โมงถดั ไป ขน้ั สรุป ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั สรปุ ความร้เู กี่ยวกับ การเคลอ่ื นที่แนวตรง โดยครูใหน้ กั เรยี นจดบันทึกลงใน สมุดบนั ทกึ ประจาํ ตัว 2. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบก่อนเรยี น เพ่ือตรวจสอบความเขา้ ใจกอ่ นเรียนของนักเรียน 3. ครตู รวจสอบผลจากการทําใบงานท่ี 1.1 เรื่อง ระยะทางและการกระจัด 4. ครตู รวจสอบผลจากการทําใบงานที่ 1.2 เรอ่ื ง อัตราเรว็ และความเรว็ 5. ครตู รวจสอบผลจากการทําใบงานที่ 1.3 เร่อื ง ความเร่ง 6. ครูตรวจแบบฝกึ หัดจาก Topic Question เรือ่ ง การเคลื่อนทแ่ี นวตรง ในสมดุ 7. ครูตรวจสอบแบบฝึกหัด เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง จากแบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) ม.5 8. ครูประเมนิ ผล โดยการสงั เกตพฤติกรรมการตอบคาํ ถาม พฤติกรรมการทาํ งานรายบคุ คล และการ ทาํ งานกลุ่ม 9. ครูวัดและประเมินผลจากชิ้นงานการสรุปเนื้อหา เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง ที่นักเรียนได้สร้างขึ้น จากขัน้ ขยายความเข้าใจเปน็ รายบุคคล
294 8. สื่อ/แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนงั สอื เรียน วทิ ยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟสิ ิกส์) ม.5 หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 แรงและการเคลื่อนที่ 2) แบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) ม.5 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 แรงและการเคล่ือนท่ี 3) แบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยการเรยี นรูท่ ี่ 1 แรงและการเคลอื่ นท่ี 4) ใบงานท่ี 1.1 เรื่อง ระยะทางและการกระจดั 5) ใบงานที่ 1.2 เรือ่ ง อตั ราเร็วและความเร็ว 6) ใบงานที่ 1.3 เรอ่ื ง ความเร่ง 7) PowerPoint เรื่อง การเคล่อื นทแี่ นวตรง 8.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1) ห้องเรียน 2) ห้องสมุด 3) แหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ 9. การวดั และประเมินผล รายการวัด วิธีวัด เครือ่ งมอื เกณฑ์การประเมิน 9.1 การประเมินชิน้ งาน/ - ตรวจผังมโนทศั น์ เรื่อง - แบบประเมินชิ้นงาน/ - ระดบั คุณภาพ 2 ภาระงาน การเคลือ่ นทีแ่ นวตรง ภาระงาน ผา่ นเกณฑ์ 9.2 การประเมนิ ก่อนเรียน - ตรว จแบบท ด ส อ บ - แบบทดสอบก่อนเรยี น - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - แบบทดสอบก่อนเรียน กอ่ นเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แรงและการเคล่ือนท่ี 9.3 การประเมนิ ระหวา่ ง - ตรวจใบงานท่ี 1.1 - ใบงานท่ี 1.1 - ร้อยละ 60 ผา่ เกณฑ์ ระหว่างเรยี น - ตรวจใบงานท่ี 1.2 - ใบงานที่ 1.2 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 1) การเคลื่อนท่ีแนวตรง - ตรวจใบงานท่ี 1.3 - ใบงานที่ 1.3 - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - ตรวจแบบฝกึ หัด - แบบฝึกหัด - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 2) การนําเสนอผลงาน - ประเมนิ การนําเสนอ - แบบประเมินการ - ระดับคุณภาพ 2 ผลงาน นําเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์
3205 รายการวดั วิธีวัด เครอ่ื งมอื เกณฑ์การประเมนิ 3) พฤติกรรมการทํางาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม - ระดบั คุณภาพ 2 รายบุคคล (สมรรถนะของ การทํางานรายบุคคล รายบุคคล ผา่ นเกณฑ์ ผู้เรยี น) 4) พฤติกรรมการทาํ งาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - ระดบั คณุ ภาพ 2 กลุ่ม การทํางานกลุ่ม การทาํ งานกลุ่ม ผา่ นเกณฑ์ 5) คุณลกั ษณะอนั พงึ - สังเกตความมวี ินยั - แบบประเมนิ - ระดบั คุณภาพ 2 ประสงค์ ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งมนั่ คุณลกั ษณะ ผ่านเกณฑ์ ในการทาํ งาน อนั พงึ ประสงค์ 10. กิจกรรมเสนอแนะ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 11. บนั ทักผลหลงั การสอน สรุปผลการเรยี นการสอน นักเรยี นท้ังหมดจานวน.............คน จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ จานวนนักเรยี นทผ่ี ่าน จานวนนกั เรยี นที่ไมผ่ ่าน จานวน (คน) รอ้ ยละ จานวน (คน) ร้อยละ
3216 12. ปัญหา/อุปสรรค/การแก้ไข .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 13. ขอ้ เสนอแนะ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ................................................................ () ตาํ แหน่งครูวทิ ยฐานะ....................................... ลงช่อื ................................................................ () หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ลงชอ่ื ................................................................ () รองผูอ้ าํ นวยการกล่มุ บรหิ ารงานวิชาการ ความคิดเห็นของหวั หน้าสถานศกึ ษา ได้ทําการตรวจแผนการจัดการเรียนรูข้ อง...............................................................................แล้วมีความ คิดเห็นดงั นี้ 1. เป็นแผนการเรยี นรู้ที่ ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรับปรงุ
3227 2. การจัดกิจกรรมได้นาํ เอากระบวนการเรยี นรู้ เนน้ ผู้เรยี นเป็นสาํ คัญมาใช้ในการสอนได้อยา่ งเหมาะสม ยงั ไมเ่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สําคญั ควรปรับปรงุ พฒั นาต่อไป 3. ข้อเสนอแนะอ่นื ๆ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................................ () ผ้อู ํานวยการโรงเรียน........................................
3238 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 คําชแ้ี จง : ให้นกั เรียนเลอื กคําตอบทีถ่ ูกตอ้ งที่สุดเพียงข้อเดยี ว 1. ปรมิ าณทางฟิสกิ ส์แบง่ ออกเปน็ กป่ี ระเภท ประกอบดว้ ยอะไรบ้าง 1. 1 ประเภท คอื ปริมาณแรง 2. 2 ประเภท คอื ปรมิ าณเวลา และปรมิ าณเวกเตอร์ 3. 2 ประเภท คอื ปรมิ าณสเกลาร์ และปรมิ าณเวกเตอร์ 4. 3 ประเภท คือ ปริมาณสเกลาร์ ปรมิ าณเวกเตอร์ และปรมิ าณวิทยาศาสตร์ 5. 3 ประเภท คือ ปริมาณสเกลาร์ ปรมิ าณเวกเตอร์ และปรมิ าณการเคล่อื นทขี่ องวตั ถุ 2. ขอ้ ใดเปน็ ปรมิ าณเวกเตอร์ 1. เวลา 2. ความเร็ว 3. อัตราเรว็ 4. ตําแหนง่ 5. ระยะทาง 3. ขอ้ ใดเป็นนกั วิทยาศาสตร์-คณิศาสตร์ ทก่ี ลา่ วถึง “กาํ ลงั สองของดา้ นตรงข้ามมมุ ฉากเทา่ กับผลรวมของกาํ ลังสอง ของอกี สองด้านท่ีเหลอื ” 1. นวิ ตนั 2. แอมแปร์ 3. ไอนส์ ไตน์ 4. พีทาโกรสั 5. แมกซเ์ วลล์
2394 4. ข้อใดเป็นปริมาณเวกเตอร์ท้งั หมด 1. นาํ้ หนัก เวลา 2. ความเรง่ มวล 3. อตั ราเรว็ ความเรง่ 4. ระยะทาง อตั ราเร็ว 5. การกระจดั ความเรว็ 5. ความหมายของปริมาณเวกเตอร์ขอ้ ใดถูกต้องทส่ี ดุ 1. ปริมาณท่ีมีขนาดใหญ่ 2. ปรมิ าณท่ีมขี นาดเทา่ กัน 3. ปริมาณทม่ี ที ิศทางแนน่ อน 4. ปริมาณทม่ี ที งั้ ขนาดและทิศทาง 5. ปรมิ าณที่มีขนาดเพยี งอยา่ งเดยี ว 6. ถ้าโยนวัตถขุ ึ้นในแนวด่ิง การเคลอื่ นทขี่ องวตั ถุจะเปน็ อยา่ งไร 1. วตั ถุมีความเรว็ คงตวั 2. วตั ถมุ ีความเร็วมากขน้ึ 3. วัตถมุ คี วามเร็วเป็นศูนย์ 4. วัตถุเคลอื่ นท่ีเร็วและชา้ สลบั กัน 5. วตั ถมุ ีความเร็วลดลงตลอดเวลา 7. แรงในข้อใดทีก่ ระทาํ ตอ่ วัตถุ แลว้ ทาํ ให้วตั ถุเคล่อื นทรี่ อบจดุ หมุน 1. แรงพยุง 2. แรงไฟฟา้ 3. แรงปฏกิ ริ ยิ า 4. แรงเสยี ดทาน 5. แรงสูศ่ นู ย์กลาง
350 8. นักวิทยาศาสตรท์ ี่ศกึ ษาเกยี่ วกบั แรงและการเคลื่อนท่ีคือใคร 1. นิวตัน 2. ดารว์ ิน 3. คูลอมบ์ 4. เมนเดล 5. แอมแปร์ 9. การเคลอ่ื นท่ีในขอ้ ใดแตกตา่ งจากข้ออ่ืน 1. รถจกั รยานไตถ่ งั 2. รถยนตว์ ่งิ รอบวงเวียน 3. การเคล่ือนที่ของดาวเทยี ม 4. การแกวง่ ของลูกตมุ้ นาฬกิ า 5. รถจกั รยานยนต์เคลอื่ นท่ีบนถนนโค้ง 10. เด็กผู้ชายเดินไปทางทิศเหนือระยะทาง 30 เมตร จากนั้นเลี้ยวขวาเดินมุ่งหน้าไปทางทิศตะวันออกเป็น ระยะทาง 40 เมตร จงึ ถึงจดุ หมาย จงหาระยะทางและการกระจดั ของเดก็ ผชู้ ายที่เคลื่อนท่ีได้ 1. ระยะทาง 10 เมตร และการกระจัด 30 เมตร 2. ระยะทาง 30 เมตร และการกระจดั 40 เมตร 3. ระยะทาง 40 เมตร และการกระจดั 70 เมตร 4. ระยะทาง 70 เมตร และการกระจัด 10 เมตร 5. ระยะทาง 70 เมตร และการกระจดั 50 เมตร เฉลย 1. 3 2. 2 3. 4 4. 5 5. 4 6. 5 7. 5 8. 1 9. 4 10. 5
3361 ใบงานที่ 1.1 เรอ่ื ง ระยะทางและการกระจัด ชือ่ ..............................................................นามสกุล.................................................ชั้น ม.5/..............เลขท.่ี ............. คาชีแ้ จง : ให้นักเรยี นตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1. รถคันหน่ึงเคล่ือนที่ไปทางทิศตะวันออกเป็นระยะ 10 กิโลเมตร จากนั้นเคลื่อนท่ีกลับไปทางทิศตะวันตกเป็น ระยะ 4 กโิ ลเมตร จงหาระยะทางและการกระจัดของรถคนั น้ี 2. วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่จากจุด A ไปทางทิศตะวันออกถึงจุด B เป็นระยะทาง 12 เมตร แล้วเคลื่อนที่ต่อไปทางทิศ เหนือถงึ จดุ C เปน็ ระยะ 5 เมตร ดงั ภาพ จงหาระยะทางและการกระจัดของการเคลื่อนท่ี C 5 A 12 m B
372 เฉลยใบงานท่ี 1.1 เรื่อง ระยะทางและการกระจดั คาชี้แจง : ใหน้ ักเรยี นตอบคาถามต่อไปน้ี 1. รถคันหนึ่งเคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันออกเป็นระยะ 10 กิโลเมตร จากน้ันเคล่ือนท่ีกลับไปทางทิศตะวันตกเป็น ระยะ 4 กโิ ลเมตร จงหาระยะทางและการกระจดั ของรถคนั น้ี วธิ ที า 10 การกระจดั 4 km จากภาพสามารถหาระยะทางได้จาก ระยะทาง = 10 km + 4 km = 14 km จากภาพสามารถหาการกระจดั ไดจ้ าก การกระจดั = 10 km – 4 km = 6 km ดงั น้นั ระยะทางเทา่ กบั 14 กโิ ลเมตร และการกระจดั เท่ากับ 6 กโิ ลเมตร ในทศิ ตะวนั ออก 2. วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่จากจุด A ไปทางทิศตะวันออกถึงจุด B เป็นระยะทาง 12 เมตร แล้วเคลื่อนที่ต่อไปทางทิศ เหนอื ถึงจดุ C เป็นระยะ 5 เมตร ดังภาพ จงหาระยะทางและการกระจดั ของการเคลื่อนท่ี C 5 A 12 m B
383 วิธที า ระยะทาง = AB + BC = 12 m + 5 m ระยะทาง = 17 m การกระจัด = AC = √(12)2 + (5)2 = √144 + 25 = √169 = 13 m ดงั นัน้ ระยะทางท้งั หมดเท่ากบั 17 เมตร และการกระจัดเท่ากับ 13 เมตร ทศิ ทางจากจดุ A ไปจดุ C
349 ใบงานที่ 1.2 เร่อื ง อัตราเร็วและความเร็ว ชอ่ื ..............................................................นามสกุล.................................................ชั้น ม.5/..............เลขท.่ี ............. คาช้ีแจง : ใหน้ ักเรยี นตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1. อัตราเรว็ และความเรว็ เหมอื นหรอื แตกต่างกนั อย่างไร 2. รถยนต์คันหนึ่งเคลื่อนที่จากจุด A ไปทางทิศตะวันออกถึงจุด B เป็นระยะทาง 1,200 เมตร ใช้เวลาในการ เคลอ่ื นท่ี 2 นาที ไปทางทิศตะวนั ออก จงหาว่ารถคันนมี้ ีอตั ราเรว็ และความเรว็ เท่าใด A 1,200 m B 3. นักเรียนคนหนึ่งวิ่งรอบสนามฟุตบอลที่มีความกว้าง 50 เมตร และมีความยาว 100 เมตร ครบ 1 รอบ ในเวลา 300 วนิ าที และหยดุ ตรงจุดเร่ิมต้นพอดี ระยะทางและอัตราเรว็ ในการว่งิ ของนกั เรยี นคนน้เี ปน็ เทา่ ไร
4305 เฉลยใบงานท่ี 1.2 เร่ือง อตั ราเรว็ และความเรว็ คาช้แี จง : ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปน้ี 1. อตั ราเรว็ และความเร็วเหมอื นหรอื แตกต่างกันอย่างไร ตอบ อัตราเร็วและความเร็วเป็นปรมิ าณที่บอกถึงการเคล่ือนท่ีของวัตถุว่าเคลื่อนที่ได้เร็วเท่าไรเหมือนกัน โดย จะตา่ งกันตรงท่ีอัตราเร็วเปน็ ปริมาณสเกลาร์ท่บี อกขนาดอย่างเดียว แต่ความเรว็ เป็นปริมาณเวกเตอร์ที่บอกท้ัง ขนาดและทิศทาง 2. รถยนต์คันหนึ่งเคลื่อนที่จากจุด A ไปทางทิศตะวันออกถึงจุด B เป็นระยะทาง 1,200 เมตร ใช้เวลาในการ เคลือ่ นท่ี 2 นาที ไปทางทศิ ตะวนั ออก จงหาว่ารถคันน้ีมีอัตราเรว็ และความเร็วเท่าใด A 1,200 m B วิธีทา เวลาในการเคลื่อนท่ี 2 นาที เท่ากบั 120 วินาที สามารถหาอัตราเร็วได้จากสมการ ระยะทาง อตั ราเร็ว = เวลา อัตราเร็ว = 1,200 ������ 120 s อัตราเร็ว = 10 ������/������ สามารถหาความเร็วไดจ้ ากสมการ ความเร็ว = การกระจัด เวลา ความเรว็ = 1,200 ������ 120 s ความเร็ว = 10 ������/������
3461 ดังนน้ั อตั ราเร็วเทา่ กับ 10 เมตรตอ่ วนิ าที และความเรว็ เทา่ กับ 10 เมตรตอ่ วนิ าที ไปในทศิ ตะวันออก 3. นักเรียนคนหนึ่งวิ่งรอบสนามฟุตบอลที่มีความกว้าง 50 เมตร และมีความยาว 100 เมตร ครบ 1 รอบ ในเวลา 300 วนิ าที และหยุดตรงจดุ เริม่ ตน้ พอดี ระยะทางและอัตราเร็วในการวงิ่ ของนกั เรยี นคนนเี้ ป็นเทา่ ไร วธิ ีทา ระยะทางท้ังหมด = 100 + 50 + 100 + 50 = 300 ������ อัตราเรว็ = ระยะทาง เวลา อตั ราเร็ว = 300 ������ 300 ������ อตั ราเร็ว = 1 ������/������ ดงั น้ัน ระยะทางทงั้ หมดเท่ากบั 300 เมตร และมอี ัตราเร็็วในการวง่ิ เทา่ กับ 1 เมตรตอ่ วินาที
3472 ใบงานที่ 1.3 เรือ่ ง ความเรง่ ชอื่ ..............................................................นามสกุล.................................................ชั้น ม.5/..............เลขที่.............. คาชี้แจง : ให้นกั เรยี นตอบคาถามตอ่ ไปน้ี 1. รถยนต์คันหนึ่งเคลื่อนที่บนถนนตรงจากหยุดนิ่งจนกระทั่งมีความเร็วเป็น 20 เมตรต่อวินาที ในช่วงเวลา 10 วินาที ความเร่งเฉลยี่ ของรถยนตค์ ันนม้ี ีคา่ เทา่ ใด 2. ถ้าวัตถุ A เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วเริ่มต้น 5 เมตรต่อวินาที เมื่อเวลาผ่านไป 10 วินาที วัตถุ A ยังเคลื่อนที่อยู่ใน แนวการเคลอื่ นที่เดิม โดยความเร็วเปลย่ี นไปเป็น 20 เมตรต่อวินาที จงหาความเรง่ เฉลยี่ ของวัตถุ A 3. รถจักรยานยนต์คันหนึ่งเริ่มเคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง และมีความเร่งเฉลี่ย 3 เมตรต่อวินาที2 ถ้าใช้เวลา 10 วินาที รถจักรยานยนตน์ จี้ ะเคลอ่ื นท่ีดว้ ยความเรว็ เทา่ ไร
4338 เฉลยใบงานที่ 1.3 เรอ่ื ง ความเร่ง คาช้แี จง : ให้นกั เรยี นตอบคาถามตอ่ ไปน้ี 1. รถยนต์คันหนึ่งเคลื่อนที่บนถนนตรงจากหยุดนิ่งจนกระทั่งมีความเร็วเป็น 20 เมตรต่อวินาที ในช่วงเวลา 10 วนิ าที ความเร่งเฉลย่ี ของรถยนตค์ ันนม้ี คี า่ เทา่ ใด วธิ ที า จากสมการ ความเรง่ เฉลี่ย = ความเรว็ ที่เปล่ียนไป ช่วงเวลาท่ีใช้ ความเร่งเฉลย่ี = 20 ������/������ − 0 ������/������ 10 s ความเร่งเฉล่ยี = 20 ������/������ 10 s ความเร่งเฉล่ยี = 2 ������/������2 ดงั นั้น ความเรง่ เฉล่ยี เทา่ กบั 2 เมตรตอ่ วนิ าที2 2. ถ้าวัตถุ A เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วเริ่มต้น 5 เมตรต่อวินาที เมื่อเวลาผ่านไป 10 วินาที วัตถุ A ยังเคลื่อนที่อยู่ใน แนวการเคล่ือนทเ่ี ดิม โดยความเร็วเปล่ยี นไปเปน็ 20 เมตรต่อวินาที จงหาความเรง่ เฉลี่ยของวัตถุ A วธิ ีทา จากสมการ ความเรง่ เฉล่ีย = ความเร็วทีเ่ ปล่ียนไป ช่วงเวลาทใี่ ช้ ความเรง่ เฉล่ยี = 20 ������/������ − 5 ������/������ 10 s ความเรง่ เฉลีย่ = 15 ������/������ 10 s ความเร่งเฉลี่ย = 1.5 ������/������2 ดงั น้ัน ความเร่งเฉลย่ี เทา่ กับ 1.5 เมตรต่อวนิ าที2
4349 3. รถจักรยานยนต์คันหนึ่งเริ่มเคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง และมีความเร่งเฉลี่ย 3 เมตรต่อวินาที2 ถ้าใช้เวลา 10 วินาที รถจกั รยานยนตน์ จ้ี ะเคล่ือนทด่ี ว้ ยความเรว็ เทา่ ไร วธิ ที า จากสมการ ความเรง่ เฉล่ยี = ความเร็วท่เี ปลย่ี นไป ชว่ งเวลาท่ใี ช้ ความเรง่ เฉลี่ย = ความเรว็ ปลาย − ความเร็วต้น 10 s 3 ������/������2 = ความเรว็ ปลาย − 0 10 s 3 ������/������2 × 10 s = ความเร็วปลาย ความเรว็ ปลาย = 30 ������/������ ดังนัน้ ความเร็วปลายเทา่ กับ 30 เมตรตอ่ วนิ าที
4450 แบบประเมินผลงานผังมโนทศั น์ คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กําหนด แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรงกับ ระดบั คะแนน ลาดบั ที่ รายการประเมิน ระดับคุณภาพ 4 3 21 1 ความสอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงค์ 2 ความถูกตอ้ งของเนื้อหา 3 ความคิดสร้างสรรค์ 4 ความเป็นระเบียบ รวม ลงชือ่ ................................................... ผู้ประเมิน ............../................./................
461 เกณฑป์ ระเมนิ ผังมโนทศั น์ ประเดน็ ท่ีประเมิน ระดับคะแนน 1. ผลงานตรงกบั 432 1 จดุ ประสงคท์ ่ี กาหนด ผลงานสอดคล้องกบั ผลงานสอดคลอ้ งกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคลอ้ ง กบั จุดประสงค์ 2. ผลงานมีความ จุดประสงค์ทุก จุดประสงคเ์ ป็นสว่ น จุดประสงค์บาง ถกู ตอ้ งสมบูรณ์ เนอื้ หาสาระของ ประเดน็ ใหญ่ ประเดน็ ผลงานไมถ่ ูกต้องเปน็ 3. ผลงานมีความคดิ ส่วนใหญ่ สร้างสรรค์ เนอ้ื หาสาระของ เน้อื หาสาระของ เนอื้ หาสาระของ ผลงานไมแ่ สดง แนวคิดใหม่ ผลงานถูกต้อง ผลงานถกู ต้องเป็น ผลงานถูกต้องเปน็ ครบถ้วน สว่ นใหญ่ บางประเด็น ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมีแนวคดิ ผลงานมคี วาม ความคดิ สร้างสรรค์ แปลกใหมแ่ ตย่ งั ไม่ นา่ สนใจ แตย่ ังไม่มี แปลกใหม่และเป็น เป็นระบบ แนวคดิ แปลกใหม่ ระบบ 4. ผลงานมคี วาม ผลงานมคี วามเป็น ผลงานส่วนใหญม่ ี ผลงานมีความเปน็ ผลงานสว่ นใหญ่ไม่ เปน็ ระเบยี บ ระเบยี บแสดงออกถงึ ความเปน็ ระเบยี บแต่ ระเบียบแตม่ ี เป็นระเบียบและมี ความประณีต ยงั มี ขอ้ บกพร่องบางส่วน ขอ้ บกพร่องมาก ขอ้ บกพร่องเล็กน้อย เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14–16 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตํา่ กว่า 8 ปรับปรงุ
472 แบบประเมินการนำเสนอผลงาน คาช้แี จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรง กับระดับคะแนน ลาดับที่ รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1 32 1 ความถูกต้องของเนื้อหา 2 ความคิดสร้างสรรค์ 3 วิธกี ารนาํ เสนอผลงาน 4 การนาํ ไปใช้ประโยชน์ 5 การตรงตอ่ เวลา รวม ลงช่ือ ................................................... ผปู้ ระเมิน ............/................./.................. เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ สมบรู ณ์ชดั เจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมินเปน็ สว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมินบางสว่ น เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 14 – 15 ดีมาก 11 – 13 ดี 8 – 10 พอใช้ ต่ํากว่า 8 ปรบั ปรุง
4483 แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล คาชแ้ี จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรียน แลว้ ขดี ✓ลงในช่องที่ตรงกบั ระดับคะแนน สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน รวม ลาดบั ชือ่ -สกุลของนกั เรียน ความสามารถใน ความสามารถใน ความสามารถใน 15 การสอ่ื สาร การคิด การแก้ปัญหา คะแนน 5432 1 5432 1 5 4 3 2 1 ลงช่อื ................................................... ผูป้ ระเมิน ............/.................../................
494 เกณฑ์การให้คะแนนสมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น พฤตกิ รรมบ่งช้ี ระดบั คะแนน 1. ความสามารถ 5 (ดีมาก) 4 (ดี) 3 (ปานกลาง) 2 (พอใช)้ 1 (ปรบั ปรุง) ในการสอ่ื สาร ไมม่ ีความสามารถ มคี วามสามารถใน มีความสามารถใน มคี วามสามารถใน มีความสามารถใน ในการสือ่ สาร 2. ความสามารถ ในการคิด การส่ือสาร การสอ่ื สาร การสอื่ สาร การสื่อสาร ไม่มีความสามารถ ในการคิด การ 3. ความสามารถ ออกมาไดด้ ีเยี่ยม ออกมาได้ดี ชดั ออกมาได้ระดับ ออกมาได้ระดับ ตัดสนิ ใจ เกยี่ วกับ ในการ ปญั หาของตนเอง แกป้ ญั หา ชัดเจน เจร ปานกลาง ไม่ ปานกลาง ควร ไม่สามารถ ชดั เจน ปรบั ปรงุ แก้ปญั หาเฉพาะ หนา้ ได้ มคี วามสามารถใน มีความสามารถใน มคี วามสามารถใน มีความสามารถ การคดิ อยา่ ง การคิดตดั สินใจ การคิด ตัดสนิ ใจ ตัดสนิ ใจเกี่ยวกับ สร้างสรรค์ เกี่ยวกบั ปญั หา เกีย่ วกบั ปญั หา ปญั หาของตนได้ ตัดสินใจเกี่ยวกับ ของตนไดด้ ี ของตนเองได้ ไมด่ เี ท่าทีค่ วร ปญั หาของตนเอง ไดเ้ หมาะสม มคี วามสามารถ มีความสามารถ มีความสามารถ มคี วามสามารถ แก้ปญั หาเฉพาะ แก้ปัญหาเฉพาะ แกป้ ญั หาเฉพาะ แก้ปญั หาเฉพาะ หนา้ ได้ทุก หน้าไดเ้ กือบทุก หน้าไดบ้ าง หน้าได้ยังไม่ดี สถานการณ์ สถานการณ์ สถานการณ์ เทา่ ทค่ี วร เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 14 – 15 ดมี าก 11 – 13 ดี 8 – 10 พอใช้ ต่ํากวา่ 8 ปรบั ปรงุ
5405 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ คาชแ้ี จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรง กบั ระดับคะแนน การมี ลาดับท่ี ช่อื –สกลุ การแสดง การ การทางาน ความมี ส่วนรว่ ม รวม ของนักเรยี น ความ ยอมรับฟงั ตามท่ี นา้ ใจ ในการ 15 คิดเหน็ ไดร้ บั ปรบั ปรุง คะแนน คนอื่น ผลงาน มอบหมาย กลมุ่ 321321321321321 ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน ............./.................../...............
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395