Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 3. แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาชีววิทยา2 (ว30252)

3. แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาชีววิทยา2 (ว30252)

Published by Rawat Yukerd, 2021-07-17 09:23:14

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาชีววิทยา2 (ว30252) โดย ครูเรวัตร อยู่เกิด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสรรพยาวิทยา

Search

Read the Text Version

25 รพยาวทิ ยา ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี งพันธกุ รรมท่เี ป็นสว่ นขยายของเมนเดล I รข่มรว่ มกัน มัลติเปลิ แอลลีล) รายวชิ า ชีววิทยา2 ว30252 ผสู้ อน นายเรวัตร อย่เู กิด รโมโซม สมบัติ และหนา้ ท่ีของสารพนั ธุกรรม การเกิดมิวเทชัน เทคโนโลยีทาง ต ภาวะสมดลุ ของฮาร์ดี-ไวนเ์ บิร์ก การเกดิ สปีชีสใ์ หม่ ความหลากหลายทางชวี ภาพ น รวมท้งั นำความร้ไู ปใช้ประโยชน์ ดลักษณะทางพนั ธกุ รรม ทเ่ี ป็นส่วนขยายของพนั ธุศาสตรเ์ มนเดล

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เนอื้ หาสาระ กจิ กรรม เ ม ื ่ อ จ บ ค า บ เ ร ี ย น ลักษณะทางพันธุกรรมท่ี ข้ันนำ (5 นาที) นักเรียนสามารถ เป็นส่วนขยายของเมนเดล 1. ครูแสดงภาพด้านลา่ งในสอื่ Po 1. อ ธ ิ บ า ย แ ล ะ แบ่งเป็นลักษณะที่ควบคุม ย ก ต ั ว อ ย ่ า ง ก า ร ด้วยยีนเพียงคู่เดียว ได้แก่ ถ่ายทอดลักษณะทาง ก า ร ข ่ ม ไ ม ่ ส ม บ ู ร ณ์ พันธุกรรมที่ไม่เป็นไป (Incomplete ตามกฎของเมนเดลใน dominance) ห ม า ย ถึ ง ร ู ป แ บ บ ก า ร ข ่ ม ไ ม่ แอลลีลหนึ่งไม่สามารถข่ม สมบูรณ์ การข่มร่วมกัน แอลลีลอีกแอลลีลหนึ่งได้ และมลั ติเปลิ แอลได้ (K) อย่างสมบูรณ์ ทำใหฟ้ ีโนไทป์ a. นักเรียนทราบหรือไม 2. เปรียบเทียบความ ของลูกรุ่น F1 ที่ได้จะอยู่ แตกต่างของการข่มไม่ ระหว่างฟีโนไทป์ของรุ่นพ่อ (ดอกลนิ้ มงั กร นักเรียนจะตอ สมบูรณ์และการข่ม แมท่ ่เี ปน็ ฮอมอไซกสั การข่ม b. จากภาพนักเรียนสังเก รว่ มกนั ได้ (K) ร่วมกัน (Codominance) (2 สี คอื สแี ดงและสีขาว) 3. แ ก ้ โ จ ท ย ์ ป ั ญ หา หมายถึงแอลลีลทั้งสองแอล c. ถ้าการถ่ายทอดลักษณะ เกี่ยวกับการถ่ายทอด ลีลแสดงลักษณะเด่นได้เท่า เป็นไปตามกฎของเมนเ ลักษณะทางพันธุกรรม ๆ กัน จึงแสดงออกร่วมกัน ควบคุมลักษณะดอกสีแด ที่ไม่เป็นไปตามกฎของ ทำให้ฟีโนไทป์ของลูกรุ่น F1 ขาว ฟีโนไทป์สีแดงเป็นล เมนเดลในรูปแบบการ ที่ได้จะปรากฏทั้งฟีโนไทป์ ลักษณะด้อย หากผสมด ข่มไม่สมบูรณ์ การข่ม ของรุ่นพ่อแม่ที่เป็นฮอมอ ขาวจะได้ลูกรุ่น F1 เป็นด ร ่ ว ม ก ั น ม ั ล ต ิ เ ปิ ล ไซกัสโดมิแนนท์ และมัลติ เ ป ิล แ อ ลลีล (Multiple 2. ครูแสดงภาพดา้ นล่างในส่ือ Po แอลลลี ได้ (K) allele) หมายถึงลักษณะ นักเรียนสงสัยว่า “จากภาพ

26 มการเรยี นรู้ สือ่ การเรยี นรู้ การประเมินผลการเรยี นรู้ 1. PowerPoint 1. นักเรียนมีส่วนร่วมใน owerPoint แล้วใชค้ ำถามดังนี้ 2. แ บ บ บ ั น ทึ ก การตอบคำถามในชนั้ เรียน กิจกรรมเรื่อง “Life 2. นักเรียนมีส่วนร่วมใน is the colourful การทำกิจกรรมกลุ่มอย่าง stories” ตง้ั ใจ 3. ชุดทดลองเรื่อง 2. นกั เรยี นแกโ้ จทยป์ ัญหา “Life is the ในใบงานในแต่ละหัวข้อ colourful stories” ได้ถกู ต้องตงั้ แตร่ อ้ ยละ 80 4. ใบงานเรื่อง การ ข้ึนไป แ ก ้ โ จ ท ย ์ ป ั ญ ห า 3. น ัก เร ียน จดบ ั น ทึ ก ่ว่าดอกไม้ในภาพคือดอกอะไร? ล ั ก ษ ณ ะ ท า ง ข้อมูลได้ครบถ้วนและ อบไดห้ รอื ไมก่ ไ็ ด)้ พันธุกรรมที่เป็นส่วน ถูกต้องตั้งแต่ร้อยละ 80 กตเห็นดอกลิ้นมังกรกี่สี สีใดบ้าง? ขยายของเมนเดล I ขึน้ ไป (หัวข้อการข่มไ ม่ 4. น ั ก เ ร ี ย น ม ีคะ แน น ะทางพันธุกรรมของดอกลิ้นมังกร ส ม บ ู ร ณ ์ ก า ร ข่ ม ทักษะปฏิบัติงานทดลอง เดล โดยกำหนดให้ยีน R เป็นยีนท่ี ร่วมกัน มัลติเปิล อยู่ในเกณฑด์ ขี น้ึ ไป ดง r เป็นยีนที่ควบคุมลักษณะดอกสี แอลลลี ) 5. คะแนนความร่วมมือ ลักษณะเด่น และฟีโนไทป์สีขาวเปน็ ร่วมใจในการทำงานเป็น ดอกลิ้นมังกรสีแดงพันธุ์แท้กับดอกสี กลุ่มอยูใ่ นเกณฑด์ ขี ้ึนไป ดอกสีอะไร? (สแี ดง) owerPoint แล้วกล่าวเพอื่ กระตุ้นให้ พนักเรียนจะเห็นลูกรุ่น F1 แสดง

จุดประสงค์การเรียนรู้ เน้อื หาสาระ กจิ กรรม 4. ทำการทดลองเรื่อง ทางพันธุกรรมที่ถูกควบคุม ลกั ษณะสชี มพูทงั้ หมด ซงึ่ ถ้าเป การข่มไม่สมบูรณ์ การ ด้วยยีนบนหนึ่งโลคสั ท่ีมีแอล เปน็ สแี ดงทง้ั หมด แสดงว่าในค ข่มร่วมกัน มัลติเปิล ลีลมากกว่า 2 แอลลีลใน ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรร แอลลีล (P) หนึง่ โลคสั กฎของเมนเดล นักเรยี นทราบ 5. ทำงานร่วมกับผู้อ่ืน ครนู ำนกั เรยี นเข้าสู่การทำกจิ ก อยา่ งตัง้ ใจ (A) ขั้นสอน (70 นาท)ี 1. ครแู บง่ นักเรียนออกเป็นกล่มุ แ ละกลุม่ สง่ ตัวแทนออกมารับแบ colourful stories” ครูจะนำ แต่ละกลุม่ ทำกิจกรรมในแต่ละ สรุปกิจกรรมไปทีละตอนจน 3 ตอนดงั น้ี ตอนท่ี 1 Life is mixing of 1) ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มผส โปสเตอร์สีแดงแทนต้น จากนั้นให้นั้นเรียนผสมสี ทั้งสองต้นจนได้สีออกมา ที่สังเกตได้ลงในแบบบันท กิจกรรมดงั นี้

27 มการเรียนรู้ สื่อการเรยี นรู้ การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ป็นไปตามกฎของเมนเดลแล้วควรจะ ความเปน็ จรงิ แล้ว ยงั มีรูปแบบในการ รมอีกหลายรูปแบบที่ไม่เป็นไปตาม บหรอื ไม่ว่ามีรูปแบบใดบ้าง” จากนั้น กรรม แบบสุ่ม กลุม่ ละ 5 คน จากน้ันให้แต่ บบบนั ทกึ กิจกรรมเร่ือง “Life is the ำนักเรียนทำกิจกรรมไปทลี ะตอน เมื่อ ะตอนเรยี บรอ้ ยแลว้ ครูจงึ นำนกั เรียน ครบทุกตอน โดยกิจกรรมออกเป็น colours มีขั้นตอนดงั นี้ สมสีที่ครูกำหนดให้ โดยสมมติให้สี นพ่อ สีโปสเตอร์สีขาวแทนต้นแม่ ซึ่งเปรยี บไดก้ บั การผสมพันธุ์ตน้ พชื าเป็นสีชมพู ให้นักเรียนบันทึกผล ทึกกิจกรรม และตอบคำถามหลังทำ

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เนื้อหาสาระ กจิ กรรม 1.1)ถ้ากำหนดให้ R คือยนี ยนี ที่ควบคุมลกั ษณะว ของสที ผ่ี สมไดค้ ืออะไ 1.2) จีโนไทป์ของสีแดงแล สีแดงควรเปน็ RR ส่วนจ 1.3)ถา้ หากการผสมสนี ีเ้ ปร ท่มี ดี อกสแี ดงกับดอกส พันธกุ รรมในการทดล ไม่ เพราะเหตุใด (ไม เมนเดลแล้ว ฟโี นไทปค์ ว 1.4)ถ้าหากผสมรุ่น P ที่มดี แท้ ลูกรุ่น F1 ที่ได้จะ จงแสดงวิธที ำอย่างละ (จะมีจีโนไทป์ RR’ และม 1.5) จ ง น ิ ย า ม ค ว า ม ห ม า พันธุกรรมแบบข dominance) (การข่มไม่สมบูรณ์หมาย แอลลลี หนึง่ ได้อย่างสมบ อยูร่ ะหวา่ งฟีโนไทป์ของร

28 มการเรยี นรู้ สอ่ื การเรยี นรู้ การประเมินผลการเรียนรู้ นท่คี วบคุมลักษณะวัตถุสีแดง R’ คือ วัตถุสีขาวแล้ว จีโนไทปแ์ ละฟีโนไทป์ ไร (จีโนไทป์คอื RR’ ฟโี นไทป์คือสีชมพู) ละสีขาวควรเป็นอย่างไร (จีโนไทป์ของ จีโนไทปข์ องสีขาวควรเปน็ R’R’) ปรยี บเทยี บได้กบั การผสมพันธ์ขุ องพืช สีขาวแลว้ การถ่ายทอดลกั ษณะทาง ลองนี้เป็นไปตามกฎของเมนเดลหรือ ม่เป็น เพราะถ้าหากเป็นไปตามกฎของ วรมีแค่สองแบบคือสีแดงและสขี าว) ดอกสแี ดงพันธแ์ุ ทก้ ับดอกสีขาวพันธุ์ ะมีจีโนไทป์และฟีโนไทป์เป็นอย่างไร ะเอียด มีฟโี นไทป์สีชมพู) ายของการถ่ายทอดลักษณะทาง ข ่ ม ไ ม ่ ส ม บ ู ร ณ ์ ( Incomplete ยถึงแอลลลี หนึ่งไม่สามารถข่มแอลลลี อกี บรู ณ์ ทำใหฟ้ ีโนไทปข์ องลกู รุ่น F1 ท่ีได้จะ ร่นุ พ่อแม่ท่ีเป็นฮอมอไซกสั )

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหาสาระ กจิ กรรม 2) เมื่อนักเรียนแต่ละกลุ่มบ อธิบายเชื่อมโยงผลของ ลักษณะทางพันธุกรรมแ dominance) ซงึ่ หมายถงึ ลีลอีกแอลลีลหนึ่งได้อย่า F1 ท่ีได้จะอยู่ระหว่างฟีโน เช่น ลักษณะดอกสีชมพขู ของดอกสแี ดงและดอกสขี 3) ครูกล่าวถึงการเขียนจีโน พันธุกรรมที่ข่มกันไม่สมบ ชัดเจน จึงต้องกำหนดยีน แตกต่างกัน เช่น กำหนดใ สแี ดง R’ คือยีนทค่ี วบคมุ ล 4) ครูสุ่มให้นักเรยี นผสมลกู ร ไทป์และฟีโนไทป์ของรุ่น R’R’ = 1 : 2 : 1 และอัตราส = 1 : 2 : 1) ตอนที่ 2 Life shows many 1) ให้นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ผสม ทาเล็บผสมกากเพชรสีแด ตน้ แม่ จากน้นั ใหน้ ัน้ เรยี น

29 มการเรยี นรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ บันทึกข้อมูลเสร็จเรียบร้อยแล้ว ครู งการทำกิจกรรมกับการถ่ายทอด แบบข่มไม่สมบูรณ์ (Incomplete งการที่แอลลีลหนึง่ ไม่สามารถข่มแอล างสมบูรณ์ ทำให้ฟีโนไทป์ของลูกรุ่น นไทป์ของรนุ่ พ่อแม่ท่ีเป็นฮอมอไซกัส ของดอกลิ้นมังกรเกิดจากการรวมกนั ขาว เป็นต้น นไทป์ของการถ่ายทอดลักษณะทาง บูรณ์นี้ว่าจะไม่มียีนเด่นหรือยีนด้อย นที่ควบคุมลักษณะในอีกรูปแบบที่ ใหย้ ีน R คือยนี ทค่ี วบคมุ ลักษณะดอก ลักษณะดอกสขี าว เปน็ ตน้ รุ่น F1 ทไ่ี ด้ แลว้ หาอตั ราส่วนของจโี น น F2 (อัตราส่วนของจีโนไทป์ RR : RR’ : สว่ นของฟีโนไทป์ สีแดง : สชี มพู : สีขาว y colours มสีท่ีครกู ำหนดให้ โดยสมมติให้น้ำยา ดงแทนต้นพ่อ สีโปสเตอร์สีขาวแทน นผสมสี ซึ่งเปรียบไดก้ บั การผสมพันธ์ุ

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหาสาระ กจิ กรรม ต้นพืชทั้งสองต้นจนได้สีอ เพชร ให้นักเรียนบันท กจิ กรรม และตอบคำถามห 1.1) ถ้ากำหนดให้ R คือ คอื ยนี ทีค่ วบคุมลักษ ไทป์ของสีที่ผสมไดค้ (จีโนไทปค์ อื RR’ ฟโี นไ 1.2) จีโนไทป์ของกากเพ เป็นอย่างไร (จีโนไท โนไทป์ของสโี ปสเตอร์ส 1.3) ถ้าหากการผสมสีนี้ พืชที่มีดอกสีแดง ลักษณะทางพันธุก กฎของเมนเดลหรอื เป็นไปตามกฎของเมน สีแดงและสขี าว) 1.4) ถ้าหากผสมรุ่น P ท พันธุ์แท้ ลูกรุ่น F1 อยา่ งไร จงแสดงวธิ ที (จะมีจโี นไทป์ RR’ และ

30 มการเรยี นรู้ สอื่ การเรียนรู้ การประเมินผลการเรยี นรู้ ออกมาเป็นสีขาวและสีแดงของกาก ึกผลที่สังเกตได้ลงในแบบบันทึก หลงั ทำกิจกรรมดงั น้ี อยีนที่ควบคุมลักษณะวัตถุสีแดง R’ ษณะวตั ถสุ ีขาวแล้ว จีโนไทป์และฟีโน คอื อะไร ไทป์คอื สีแดงขาว) พชรสีแดงและสีโปสเตอร์สีขาวควร ทป์ของกากเพชรสีแดงควรเป็น RR ส่วนจี สขี าวควรเปน็ R’R’) เปรียบเทียบได้กับการผสมพันธุ์ของ งกับดอกสีขาวแล้ว การถ่ายทอด กรรมในการทดลองนี้เป็นไปตาม อไม่ เพราะเหตใุ ด (ไมเ่ ปน็ เพราะถ้าหาก นเดลแล้ว จีโนไทป์ควรมีแค่สองแบบคือ ที่มีดอกสีแดงพันธุ์แท้กับดอกสีขาว ที่ได้จะมีจีโนไทป์และฟีโนไทป์เป็น ทำอย่างละเอียด ะมีฟีโนไทปส์ ชี มพู)

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เน้อื หาสาระ กิจกรรม 1.5) จงนิยามความหม พนั ธุกรรมแบบข่มรว่ (การข่มรว่ มกันหมายถ ได้เท่า ๆ กัน จึงแสดง ที่ได้จะปรากฏทั้งฟีโน มิแนนท์) 2) เมื่อนักเรียนแต่ละกลุ่มบ อธิบายเชื่อมโยงผลของ ลักษณะทางพันธุกรรมแ หมายถึงการที่แอลลีลทั้ เท่า ๆ กัน จึงแสดงออกร ที่ได้จะปรากฏทั้งฟีโนไท โดมิแนนท์ เช่น ลักษณะข เขา้ คู่กับแอลลีล IB เป็นตน้ 3) ครูกล่าวถึงการเขียนจีโน พันธุกรรมที่ข่มกันไม่สมบ ชัดเจน จึงต้องกำหนดยีน แตกต่างกันออกไป เช่น ลกั ษณะหมู่เลอื ด A สว่ น B เปน็ ตน้

มการเรยี นรู้ สอ่ื การเรยี นรู้ 31 มายของการถ่ายทอดลักษณะทาง วมกัน (Codominance) การประเมินผลการเรียนรู้ ถงึ แอลลีลทงั้ สองแอลลลี แสดงลกั ษณะเด่น งออกร่วมกัน ทำให้ฟีโนไทป์ของลูกรุ่น F1 นไทป์ของรุ่นพ่อแม่ที่เป็นฮอมอไซกัสโด บันทึกข้อมูลเสร็จเรียบร้อยแล้ว ครู งการทำกิจกรรมกับการถ่ายทอด แบบข่มร่วมกัน (Codominance) งสองแอลลีลแสดงลักษณะเด่นได้ ร่วมกัน ทำให้ฟีโนไทป์ของลูกรุ่น F1 ทป์ของรุ่นพ่อแม่ที่เป็นฮอมอไซกัส ของหมเู่ ลอื ด AB ทีเ่ กิดจากแอลลีล IA น นไทป์ของการถ่ายทอดลักษณะทาง บูรณ์นี้ว่าจะไม่มียีนเด่นหรือยีนด้อย นที่ควบคุมลักษณะในอีกรูปแบบที่ กำหนดให้ยีน IA เป็นยีนที่ควบคุม IB เปน็ ยนี ทค่ี วบคุมลักษณะหมู่เลือด

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหาสาระ กิจกรรม 4) ครูส่มุ ใหน้ กั เรยี นผสมลกู ร ไทป์และฟีโนไทป์ของรุ่น R’R’ = 1 : 2 : 1 และอัตรา สขี าว = 1 : 2 : 1) ตอนท่ี 3 Life is controlled 1) ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มผสม ต่าง ๆ ดงั นี้ กรณีที่ 1 ระหว่างน้ำยา โปสเตอร์สขี าว กรณที ี่ 2 ระหวา่ งน้ำยาทา เลบ็ สใี ส กรณที ี่ 3 ระหว่างนำ้ ยาทา กรณที ี่ 4 ระหว่างสีโปสเต กรณที ี่ 5 ระหวา่ งสโี ปสเต กรณที ี่ 6 ระหวา่ งน้ำยาทา หลังจากนั้นให้นักเรียนบ กิจกรรม และตอบคำถามห 1.1) ถ้ากำหนดให้ IA คือ คือยีนที่ควบคุมลักษ ควบคุมลักษณะสีใส ได้ในแต่ละกรณีคือ

32 มการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ รนุ่ F1 ท่ีได้ แล้วหาอัตราสว่ นของจีโน น F2 (อัตราส่วนของจีโนไทป์ RR : RR’ : าส่วนของฟีโนไทป์ สีแดง : สีแดงขาว : d by more than two colours มสีที่ครูกำหนดให้ โดยแบ่งเป็นกรณี าทาเล็บผสมกากเพชรสีแดงกับสี าเล็บผสมกากเพชรสีแดงกบั น้ำยาทา าเล็บผสมกากเพชรสแี ดงกันเอง ตอรส์ ขี าวกับน้ำยาทาเล็บสีใส ตอรส์ ีขาวดว้ ยกนั เอง าเลบ็ ดว้ ยกนั เอง ันทึกผลที่สังเกตได้ลงในแบบบันทึก หลงั ทำกจิ กรรมดังนี้ อยีนที่ควบคุมลักษณะวัตถุสีแดง IB ษณะวัตถุสีขาวแล้ว และ i คือยีนท่ี ส จีโนไทป์และฟีโนไทป์ของสีที่ผสม ออะไรบ้าง (กรณีที่ 1 จีโนไทป์คือ IAIB ฟี

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหาสาระ กจิ กรรม โนไทป์คือสีแดงขาว, ก , กรณีที่ 3 จีโนไทป์ค ไทป์คือ IBi ฟีโนไทป์ค ไทปค์ ือสีขาว และกรณ 1.2) ถ้ากำหนดให้ฟีโนไ ยีนท่ีควบคุมลักษณะ ก่แี บบ อะไรบ้าง (มี 1.3) การเขา้ คกู่ นั ของแอ ทางพันธกุ รรมที่เป็น ของแอลลีล IA กับแอล แอลลลี i) 1.4) การเขา้ คู่กันของแอ ทางพันธุกรรมทไี่ มเ่ ป คู่กันแล้วมจี ีโนไทป์แ แอลลีล IA และแอลลีล ไทปค์ ือสแี ดงขาว) 1.5) การเข้าคู่กันของแอ พันธุกรรมที่ไม่เป็น ถ่ายทอดลักษณะท ร่วมกันหรอื Codomin

มการเรยี นรู้ สื่อการเรยี นรู้ 33 กรณที ่ี 2 จีโนไทป์คือ IAi ฟีโนไทป์คือสีแดง การประเมินผลการเรียนรู้ คือ IAIA ฟีโนไทป์คือสีแดง, กรณีที่ 4 จีโน คือสีขาว, กรณีที่ 5 จีโนไทป์คือ IBIB ฟีโน ณที ่ี 6 จโี นไทปค์ อื ii ฟโี นไทปค์ อื สีใส) ไทป์ของสีถูกควบคุมด้วยยีนแล้ว ะสขี องวัตถุในการทดลองน้ีมีแอลลีล 3 แบบคือ IA, IB และ i) ลลีลใดบ้างทีม่ ีการถ่ายทอดลักษณะ นไปตามกฎของเมนเดล (การเข้าคู่กัน ลลีล i และการเข้าคู่กันของแอลลีล IB กับ ลลีลใดบ้างทีม่ ีการถา่ ยทอดลักษณะ ปน็ ไปตามกฎของเมนเดล เม่ือมาเข้า และฟโี นไทปค์ อื อะไร (การเข้าค่กู นั ของ ล IB โดยจะมีจีโนไทป์คือ IAIB และมีฟีโน อลลีลที่มีการถ่ายทอดลักษณะทาง นไปตามกฎของเมนเดลนั้น มีการ ทางพันธุกรรมในรูปแบบใด (การข่ม nance)

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เน้อื หาสาระ กจิ กรรม 1.6) ลักษณะการเกิดหม ลักษณะหมู่เลือด A เลือด B และ i คือแ แล้วแอลลีลต่าง ๆ และแต่ละแบบทำใ IAi ทำให้เกิดหมเู่ ลือด A เกิดหมเู่ ลอื ด AB และ 1.7) จงนิยามความหม พนั ธุกรรมแบบมัลต (มัลติเปิลแอลลีล (M พันธกุ รรมทถ่ี ูกควบคุม 2 แอลลีลในหนง่ึ โลคัส 2) เมื่อนักเรียนแต่ละกลุ่มบ อธิบายเชื่อมโยงผลของ ลักษณะทางพันธุกรรมแ allele) หมายถึงลักษณะ ยีนบนหนึ่งโลคัสที่มีแอลล เช่น ลักษณะทางพันธุกร ลักษณะที่ควบคุมด้วยยีน เป็นแอลลีลที่ควบคุมการ แดง (ทำให้มีหมู่เลือด A)

มการเรียนรู้ ส่อื การเรยี นรู้ 34 มู่เลือด ถ้า IA คือแอลลีลที่ควบคุม A, IB คือแอลลีลที่ควบคุมลักษณะหมู่ การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ แอลลีลที่ควบคุมลกั ษณะหมู่เลือด O ๆ เหล่านี้สามารถเข้าคู่กันได้กี่แบบ ห้เกิดหมู่เลือดใดบ้าง (6 แบบคือ IAIA, A IBIB, IBi ทำให้เกิดหมู่เลือด B, IAIB ทำให้ ii ทำใหเ้ กิดหมเู่ ลอื ด O) มายของการถ่ายทอดลักษณะทาง ตเิ ปลิ แอลลลี (Multiple allele) Multiple allele) หมายถึงลักษณะทาง มด้วยยีนบนหนึ่งโลคัสที่มีแอลลีลมากกว่า ส) บันทึกข้อมูลเสร็จเรียบร้อยแล้ว ครู งการทำกิจกรรมกับการถ่ายทอด แบบมัลติเปิลแอลลีล (Multiple- ะทางพันธุกรรมที่ถูกควบคุมด้วย ลีลมากกว่า 2 แอลลีลในหนึ่งโลคัส รรมของหมู่เลือดระบบ ABO เป็น น 3 แอลลีลคือ IA, IB และ i โดย IA รสร้างแอนติเจน A บนผิวเม็ดเลือด ), IB เป็นแอลลีลที่ควบคุมการสร้าง

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เน้อื หาสาระ กิจกรรม แอนติเจน B บนผิวเม็ดเ i เป็นแอลลีลที่ควบคุมให เลือดแดง (ทำให้มีหมู่เล แอลลีลแต่ละแบบโดยถา แบบและแตล่ ะแบบแสดงห 2. ครูนำนกั เรยี นรว่ มกนั อภิปรา ใหน้ กั เรียนแตล่ ะกลมุ่ รายงาน และเพื่อนในชั้นเรียนได ผลการทดลองที่ผิดเพี้ยนไป ข้อสรุปนน้ั ใหถ้ กู ตอ้ ง 3. นักเรียนทำโจทย์ในกิจกรรม โดยให้เวลานกั เรียนคิดรว่ มก มาแสดงวิธีคิดบนกระดานห นักเรียนในชั้นเรียน โดยมีคร ปัญหาในการแก้โจทย์ปญั หา ขั้นสรปุ (15 นาที) 1. ครูสุ่มเรียกนักเรียนเพื่อต แตล่ ะหวั ขอ้ ดังนี้

35 มการเรยี นรู้ ส่อื การเรยี นรู้ การประเมินผลการเรียนรู้ เลือดแดง (ทำให้มีหมู่เลือด B) และ ห้ไม่มีการสร้างแอนติเจนบนผิวเม็ด ลือด O) จากนั้นครูให้นักเรียนจับคู่ ามนักเรียนว่าสามารถจับคู่กันได้ก่ี หมเู่ ลอื ดใดบา้ ง ายผลการทดลองของแต่ละกลุม่ โดย นผลการทดลองของกลุ่มตนเองให้ครู ้รับทราบ หากกลุ่มใดมีข้อสรุป ป ครูช่วยปรับความเข้าใจและแก้ไข ม 15.3 หน้า 25 ข้อ 1,4 และ 6 กันเป็นกลุ่ม จากนั้นสุ่มเรียกนักเรียน หน้าชั้นเรียน เพื่อเรียนรู้ร่วมกันกับ รูคอยช่วยเหลือเมื่อนักเรียนประสบ ตอบคำถามตรวจสอบความเข้าใจใน

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เน้อื หาสาระ กจิ กรรม 1.1ถ้ากำหนดให้ A เป็น เปน็ ยีนทีค่ วบคุมลกั ษ มีจโี นไทป์ AA’ กบั A 1) ดอกไม้ทั้งสอง ถา่ ยทอดลักษณะ ไม่สมบูรณ์ (Inco ขาว) 2) ลูกรุ่น F1 ที่ได้จ ไทป์เป็นอย่างไ เทา่ กับ 1 : 1 และ สขี าว เทา่ กบั 1 : 1 1.2ถ้ากำหนดให้ A เป็น เป็นยีนที่ควบคุมลักษ ท่ีมจี ีโนไทป์ AA’ ด้วย 1) ดอกไม้ที่จะนำม ถ่ายทอดลกั ษณะ รว่ มกนั (Codom 2) ลูกรุ่น F1 ที่ได้จ ไทป์เปน็ อยา่ งไร เท่ากับ 1 : 2 : 1 ดอกสขี าวแดง : ดอ

36 มการเรยี นรู้ ส่อื การเรียนรู้ การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ นยีนที่ควบคุมลักษณะดอกสีขาว A’ ษณะดอกสีดำแล้ว เมื่อผสมดอกไม้ที่ A’A’ จงตอบคำถามตอ่ ไปนี้ งดอกมีฟีโนไทป์อย่างไร หากการ ะทางพันธุกรรมเปน็ ไปในรูปแบบข่ม omplete dominance) (สีเทาและสี จะมีอัตราส่วนของจีโนไทป์และฟีโน ไร (อัตราส่วนของจีโนไทป์ AA’ : A’A’ ะอัตราสว่ นของฟีโนไทป์ ดอกสีเทา : ดอก 1) นยีนที่ควบคุมลักษณะดอกสีขาว A’ ษณะดอกสีแดงแล้ว เมื่อผสมดอกไม้ ยกนั เอง จงตอบคำถามต่อไปน้ี มาผสมมีฟีโนไทป์อย่างไร หากการ ะทางพันธุกรรมเป็นไปในรูปแบบข่ม minance) (ดอกสขี าวแดง) จะมีอัตราส่วนของจีโนไทป์และฟีโน (อตั ราสว่ นของจโี นไทป์ AA : AA’ : A’A’ และอัตราส่วนของฟีโนไทป์ ดอกสีแดง : อกสีขาว เทา่ กับ 1 : 2 : 1)

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เน้อื หาสาระ กิจกรรม 1.3กำหนดให้ IA เป็นแอ เลือด A IB เป็นแอลล B และ i เป็นแอลลีล O ถ้าหากพ่อและแม โอกาสแสดงหมู่เลือด เลือด A : หม่เู ลอื ด B : ห 2. ครูมอบหมายให้นักเรียนท ลักษณะทางพันธกุ รรมทเ่ี ปน็ ข่มไม่สมบูรณ์ การข่มร่วมกนั

37 มการเรียนรู้ สือ่ การเรียนรู้ การประเมินผลการเรียนรู้ อลลีลที่ควบคุมให้แสดงลักษณะหมู่ ลลี ทีค่ วบคุมใหแ้ สดงลกั ษณะหมู่เลือด ลที่ควบคุมให้แสดงลักษณะหมู่เลือด ม่มีจีโนไทป์ IAi และ IAIB แล้วลูกจะมี ดใดได้บ้าง ในอัตราส่วนเท่าใด (หมู่ หมเู่ ลือด AB ในอตั ราสว่ น 2 : 1 : 1) ทำใบงานเรื่องการแก้โจทย์ปัญหา นสว่ นขยายของเมนเดล I (หวั ข้อการ น มลั ติเปิล แอลลลี )

โรงเรยี นสรร กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทย แผนการจดั การเรยี นรู้ เรื่อง ลักษณะทาง (หวั ขอ้ พอลยี นี และความ ภาคการศกึ ษาปลาย ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 4/พ และ 4/1 สาระชีววทิ ยา 2. เขา้ ใจการถา่ ยทอดลักษณะทางพันธุกรรม การถา่ ยทอดยนี บนโคร ดเี อน็ เอ หลกั ฐานข้อมลู และแนวคดิ เกี่ยวกบั ววิ ัฒนาการของสงิ่ มชี วี ิต กำเนิดของส่ิงมีชีวติ ความหลากหลายของส่ิงมชี ีวติ และอนกุ รมวิธาน ผลการเรยี นรู้ ม.4/4 สืบค้นขอ้ มูล วเิ คราะห์ และเปรยี บเทยี บลักษณะทางพนั ธกุ รร

38 รพยาวทิ ยา ยาศาสตร์และเทคโนโลยี งพนั ธุกรรมทเี่ ปน็ ส่วนขยายของเมนเดล II มแปรผนั ทางพนั ธุกรรม) รายวชิ า ชวี วิทยา2 ว30252 ผ้สู อน นายเรวัตร อยเู่ กิด รโมโซม สมบตั ิ และหน้าที่ของสารพันธกุ รรม การเกดิ มวิ เทชัน เทคโนโลยีทาง ต ภาวะสมดุลของฮาร์ดี-ไวนเ์ บิร์ก การเกิดสปีชสี ์ใหม่ ความหลากหลายทางชวี ภาพ น รวมท้ังนำความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ รม ทีม่ กี ารแปรผันไม่ต่อเน่ือง และลักษณะทางพันธกุ รรมท่ีมีการแปรผนั ต่อเนื่อง

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เน้ือหาสาระ กิจกรรม เ ม ื ่ อ จ บ ค า บ เ ร ี ย น ลักษณะทางพันธุกรรมท่ี ขนั้ นำ (5 นาที) นักเรยี นสามารถ เป็นส่วนขยายของเมนเดล 1. ครใู ช้คำถามเพือ่ ทบทวนบทเรยี 1. อ ธ ิ บ า ย แ ล ะ ที่ควบคุมด้วยยีนหลายคู่คือ 1.1)ลักษณะสีของดอกไม้แล ย ก ต ั ว อ ย ่ า ง ก า ร พ อ ล ี ย ี น (Polygene) ถ่ายทอดลักษณะทาง หมายถึงลัก ษ ณะ ท า ง ด้วยยีนกี่คู่ (1 ค)ู่ พันธุกรรมที่ไม่เป็นไป พันธุกรรมที่ถูกควบคุมด้วย 1.2) นักเรียนทราบหรือไม่ว่า ตามกฎของเมนเดลใน ย ี น ม า ก ก ว ่ า ห น ึ ่ ง คู่ ควบคุมดว้ ยยนี ก่ียีน รปู แบบพอลยี ีนท่ีพบใน (Polygenic traits) เ ช่ น จากนั้นครูนำนักเรียนเข้าสู่ก ลักษณะสีของเมล็ดข้าวสาลี colours variation” ชวี ติ ได้ (K) 2. แ ก ้ โ จ ท ย ์ ป ั ญ หา ถกู ควบคมุ ด้วยยีนท้งั หมด 3 ขน้ั สอน (80 นาที) เกี่ยวกับการถ่ายทอด คู่ ซึ่งลักษณะทางพันธุกรรม 2. ครูแบง่ นักเรียนออกเป็นกลมุ่ แ ลักษณะทางพันธุกรรม ที่ถูกควบคุมด้วยท้ังยนี เพียง ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมารับ ที่ไม่เป็นไปตามกฎของ คู่เดียวหรือหลายคู่ จะทำให้ shows colours variation” เมนเดลในรูปพอลียีนที่ เกดิ ลักษณะทางพนั ธุกรรมที่ พบในชีวติ ได้ (K) แตกต่างกันออกไป หรือท่ี 1) ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มผส 3. จำแนกประเภทและ เรียกว่าความแปรผันทาง และสีเหลืองตามกรณีต ทดลองจำนวน 7 หลอด ยกตัวอย่างความแปร พ ั น ธ ุ ก ร ร ม (genetic หลอดที่ 1 สนี ำ้ เงนิ 6 m ผ ั น ท า ง พ ั น ธ ุ ก ร ร ม variation) โดยแบ่งได้ 2 หลอดที่ 2 สีนำ้ เงนิ 5 m แบบต่อเนื่องและแบบ รูปแบบได้แก่ 1) ลักษณะ หลอดท่ี 3 สีนำ้ เงิน 4 m ไม่ต่อเนือ่ งได้ (K) ทางพันธุกรรมที่มีการแปร 4. ทำการทดลองได้ ผันต่อเนื่อง (Continuous หลอดที่ 4 สีนำ้ เงนิ 3 m อย่างคล่องแคล่วและมี variation trait) หลอดท่ี 5 สนี ้ำเงิน 2 m หลอดที่ 6 สีน้ำเงิน 1 m ประสิทธิภาพ (P) เป็นลักษณะที่ถูกควบคุม

39 มการเรยี นรู้ ส่ือการเรียนรู้ การประเมินผลการเรยี นรู้ 1. PowerPoint 1. นักเรียนมีส่วนร่วมใน ยนดังนี้ 2. แ บ บ บ ั น ทึ ก การตอบคำถามในชน้ั เรยี น ละลักษณะของหมู่เลือดถูกควบคุม กิจกรรมเรอื่ ง “Life 2. นักเรียนมีส่วนร่วมใน shows colours การทำกิจกรรมกลุ่มอย่าง าลักษณะสีผิว สีตาของมนุษย์นั้นถูก variation” ตัง้ ใจ 3. ชุดทดลองเรื่อง 3. นักเรียนจดบันทึกขอ้ มูล “Life shows ได้ครบถ้วนและถูกต้อง การทำกิจกรรมเรื่อง “Life shows colours ตงั้ แต่รอ้ ยละ 80 ขึน้ ไป variation” 4. นักเรียนมีคะแนนทักษะ 4. ก ร ะ ด า ษ ปฏิบัติงานทดลองอยู่ใน แบบสุ่ม กลุ่มละ 5 คน จากนั้นให้แต่ flipchart บแบบบันทึกกิจกรรมเรื่อง “Life เกณฑ์ดีขึน้ ไป 5. คะแนนความร่วมมือ โดยมีรายละเอยี ดดังนี้ ร่วมใจในการทำงานเป็น สมสารละลายสีผสมอาหารสีน้ำเงิน กลุม่ อยู่ในเกณฑด์ ีข้ึนไป ต่าง ๆ ที่ครูกำหนดให้ลงในหลอด ดังนี้ ml ml สีเหลอื ง 1 ml ml สเี หลอื ง 2 ml ml สีเหลอื ง 3 ml ml สเี หลอื ง 4 ml ml สีเหลือง 5 ml

จุดประสงค์การเรียนรู้ เนือ้ หาสาระ กิจกรรม หลอดที่ 7 สีเหลอื ง 6 m 5. ทำงานร่วมกับผู้อ่ืน ด้วยยีนมากกว่าหนึ่งคู่ และ หลังจากนั้นให้นกั เรียนบ กิจกรรม และตอบคำถาม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สิ่งแวดล้อมส่งผลต่อการ 1.1) อัตราส่วนของปริมา (A) แสดงออกของยีน ทำให้ ต่อสารละลายสีผสม เ ท ่ า ใ ด บ ้ า ง (6:0 เกิดฟีโนไทป์ได้หลากหลาย ตามลำดบั ) รูปแบบ ซึ่งลักษณะดังกล่าว 1.2) หลอดใดแสดงสีน้ำเง สามารถตรวจวัดเชงิ ปริมาณ 1.3) หลอดใดแสดงสีเหล 1.4) จากการผสมสารละ ได้ จึงสามารถเรียกได้อีกชอ่ื ใหม่เกิดขึ้นบ้างหรือ ห น ึ ่ ง ว ่ า เ ป ็ น ล ั ก ษ ณ ะ เ ชิ ง เรยี งลำดับจากหลอ เข้มน้อยที่สุด (มีสีเข ป ร ิ ม า ณ (quantitative ที่สุดไปยังหลอดที่มีค trait) และ 2) ลักษณะทาง หลอดท่ี 3 > หลอดที่ พันธุกรรมที่มีการแปรผันไม่ 1.5) ลั ก ษณะ ขอ ง สี ที่ สั ง หรอื ไม่ (แตกต่างกันไม ต่อเนื่อง (Discontinuous 1.6) ถ้าสารละลายสีผสม variation trait) 1 ค่ทู ี่ควบคมุ ลักษณ นีล้ ักษณะสถี ูกควบค เป็นลักษณะที่ถูกควบคุม โดยยีนเพียงหนึ่งตำแหน่ง ทำใหล้ กั ษณะทางพันธุกรรม แตกตา่ งกนั ชัดเจน

40 มการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ml บันทึกผลที่สังเกตได้ลงในแบบบันทึก มหลังทำกจิ กรรมดังน้ี าตรสารละลายสีผสมอาหารสีนำ้ เงิน มอาหารสีเหลืองในแต่ละหลอดเป็น 0, 5:1, 4:2, 3:3, 2:4, 5:1 แ ล ะ 0:6 งนิ ชดั เจนมากทสี่ ุด (หลอดท่ี 1) ลืองชดั เจนมากท่สี ุด (หลอดท่ี 7) ะลายสีผสมอาหารในแต่ละหลอด มสี ี อไม่ หากมีพบในหลอดใดบ้าง โดย อดทมี่ ีสีเข้มมากที่สุดไปยังหลอดที่มีสี ขียว โดยเรียงจากหลอดที่มีความเข้มมาก ความเข้มน้อยที่สุดได้เป็น หลอดที่ 2 > 4 > หลอดที่ 5 > หลอดที่ 6 ตามลำดบั ) งเกตได้มีความแตกต่างกันชัดเจน ม่ชัดเจน) มอาหาร 1 ml เทยี บเท่ากบั การมียีน ณะสีของสง่ิ มีชีวิตแล้ว ในการทดลอง คมุ ด้วยยีนจำนวนก่คี ู่ (6 ค่)ู

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เน้อื หาสาระ กจิ กรรม 1.7)ถ้ากำหนดให้ B เป็น B’ เป็นยีนทคี่ วบคุม สีผสมอาหาร 1 m หลอดทดลองจะม (หลอดที่ 1 จะมี B อย อยู่ 5 คู่ และมียีน B’ อ มียีน B’ อยู่ 2 คู่, หลอ 3 คู่, หลอดที่ 5 จะมี ที่ 6 จะมี B อยู่ 1 คู่ แ B’ อยู่ 6 คู่ และไมม่ ยี นี 1.8)ถ้ากำหนดให้ B เป็น B’ เปน็ ยนี ท่คี วบคมุ B และ B’ มีความส อยา่ งไร (ถา้ หากมจี ำน เงินหรือเขียวเข้มมาก ตามลำดับ เช่นเดียวก สารละลายมีสีเหลืองช จำนวนนอ้ ยลงกจ็ ะชดั เ 1.9)จงนยิ ามความหมาย พันธุกรรมแบบพอล ลักษณะทางพันธุกรรม (Polygenic traits))

41 มการเรียนรู้ สอ่ื การเรยี นรู้ การประเมนิ ผลการเรียนรู้ นยีนที่ควบคุมลักษณะสีน้ำเงิน ส่วน มลักษณะสีเหลืองแลว้ ถา้ สารละลาย ml เทียบเท่ากับการมียีน 1 คู่ แต่ละ มียีน B และยีน B’ อยู่หลอดละกี่คู่ ยู่ 6 คู่ และไมม่ ียนี B’, หลอดที่ 2 จะมี B อยู่ 1 คู่, หลอดที่ 3 จะมี B อยู่ 4 คู่ และ อดที่ 4 จะมี B อยู่ 3 คู่ และมียีน B’ อยู่ B อยู่ 2 คู่ และมียีน B’ อยู่ 4 คู่, หลอด และมยี นี B’ อยู่ 5 คู่ และหลอดท่ี 7 จะมี น B) นยีนที่ควบคุมลักษณะสีน้ำเงิน ส่วน มลกั ษณะสีเหลืองแลว้ จำนวนของยนี สัมพันธ์กับความเข้มของสีที่เกิดขึ้น นวนยีน B มากก็จะทำให้สารละลายมสี นี ำ้ ก แต่ถ้ามีจำนวนน้อยลงก็จะเข้มน้อยลง กันกับยีน B’ หากมียีน B’ มากก็จะทำให้ ชัดเจนมากหรือมีสีเขียวอ่อนมาก แต่ถ้ามี เจนนอ้ ยลงตามลำดับ) ยของการถา่ ยทอดลักษณะทาง ลยี นี (Polygene) (เป็นการถ่ายทอด มท่ีถกู ควบคมุ ด้วยยีนมากกว่าหน่ึงคู่

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหาสาระ กิจกรรม 2) เมื่อนักเรียนแต่ละกลุ่มบ อธิบายเชื่อมโยงผลขอ ลักษณะทางพันธุกรรมแ ลักษณะทางพันธุกรรมท (Polygenic traits) เช่น ทั้งหมด 3 คู่ โดยกำหน ลักษณะผิวดำ ส่วน A’B ขาว จากนั้นครูใหน้ ักเรีย ไทป์ AA’BB’CC’ ด้วยก การสร้างเซลล์สืบพันธุ์ข พันเนตต์เพือ่ หารูปแบบข ไทป์ได้แล้ว 3) ครูแสดงอัตราส่วนขอ PowerPoint และรูป

42 มการเรียนรู้ ส่ือการเรยี นรู้ การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ บันทึกข้อมูลเสร็จเรียบร้อยแล้ว ครู งการทำกิจกรรมกับการถ่ายทอด แบบพอลียีน (Polygene) หมายถึง ที่ถูกควบคุมด้วยยีนมากกว่าหนึ่งคู่ ลักษณะของสีผิวถูกควบคุมด้วยยนี นดให้ยีน ABC เป็นยีนที่ควบคุมให้ B’C’ เป็นยีนที่ควบคุมให้ลักษณะผิว ยนลองผสมลูกรุน่ F1 ของคนที่มีจีโน กันเอง โดยให้นักเรียนออกมาเขียน ของลูกรุ่น F1 จากนั้นจึงสร้างตาราง ของลูกรุ่น F2 เมื่อนักเรียนเขียนจีโน องฟีโนไทป์รูปแบบต่าง ๆ โดยใช้ส่ือ ปภาพประกอบคำบรรยาย ดงั นี้

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เน้อื หาสาระ กิจกรรม ภาพท่ี ภาพท่ี 2 โค้งปก

มการเรยี นรู้ 43 สื่อการเรียนรู้ การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 1 การผสม F1 ด้วยกนั เอง กติของประชากรทม่ี ีสีผวิ รูปแบบต่าง ๆ

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เน้อื หาสาระ กิจกรรม 3. เมื่อครูและนักเรียนร่วมก เข้าใจเกี่ยวกับความหม พันธุกรรมที่มียีนควบคุม ของยีนแตล่ ะคู่เรียบร้อยแ อธิบายความหมายของคว ภาพที่ 3 ความแป 3.1 ค ว า ม แ ป ร ผ ั น ท า ง หมายถึงลักษณะทาง ส่งิ มชี ีวติ ทงั้ ในชนิดเด 4. ครูสุ่มถามนักเรียนที่มีคว กัน จากนั้นครูถามคำถา ความสงู และสีผิวมีความแ ครูให้ความรู้นักเรียนเก่ียว แปรผันแบบต่อเนื่อง โด ประกอบคำบรรยาย ดังน “ล ั ก ษ ณ ะ ท า ง พ ั น ธ ุ ก (Continuous variation

44 มการเรียนรู้ ส่อื การเรยี นรู้ การประเมนิ ผลการเรียนรู้ กันตอบคำถามเพื่อตรวจสอบความ มายของการถ่ายทอดลักษณะทาง มมากกว่า 1 คู่ และวิธีการเข้าคู่กัน แล้ว ครใู ชภ้ าพดา้ นลา่ งประกอบการ วามแปรผันทางพนั ธกุ รรม ดงั นี้ ปรผนั ทางพันธุกรรมของปีกผีเส้อื งพันธุกรรม (Genetic variation) งพันธุกรรมที่มีความแตกต่างกันใน ดยี วกันและต่างชนิดกัน วามสูงแตกต่างกัน สีผิวเข้มแตกต่าง ามเพื่อให้นักเรียนคิดว่า “ลักษณะ แตกต่างกนั ชัดเจนหรือไม่?” จากนั้น วกับลักษณะทางพันธุกรรมท่ีมีความ ดยใช้สื่อ PowerPoint และรูปภาพ นี้ รรมที่มีการแปรผันต่อเนื่อง n trait) เป็นลกั ษณะทถ่ี กู ควบคุมด้วย

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหาสาระ กิจกรรม ยีนมากกว่าหนึ่งคู่ และสงิ่ ยีน ทำให้เกิดฟีโนไทป์ได เล็กน้อยลดหลั่นกันไป เ กราฟของประชากรที่ม ลักษณะเส้นโค้งปกติดัง ตรวจวัดเชิงปริมาณได้ จ ลักษณะเชิงปริมาณ ( ลักษณะความสูง สีผิวขอ ของผลไม้ เปน็ ต้น” ภาพที่ 4 โค้งปก

45 มการเรยี นรู้ สือ่ การเรยี นรู้ การประเมินผลการเรยี นรู้ งแวดลอ้ มสง่ ผลตอ่ การแสดงออกของ ด้หลากหลายรูปแบบที่แตกต่างกัน เมื่อนำฟีโนไทป์ต่าง ๆ มาเขียนเป็น มีฟีโนไทป์รูปแบบต่าง ๆ ก็จะได้ งภาพ ซึ่งลักษณะดังกล่าวสามารถ จึงสามารถเรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่าเป็น (quantitative trait) ตัวอย่างเช่น องคน การให้นมของวัว และขนาด กตขิ องประชากรทม่ี ีสีผิวรปู แบบตา่ ง ๆ

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เนื้อหาสาระ กจิ กรรม ภาพที่ 5 ลักษณะความสูงซ 5. ครสู มุ่ ถามนักเรียนที่มีลกั ย สองชั้นและลักษณะหนัง เพื่อให้นักเรียนคิดว่า “ล ความแตกต่างกันชัดเจ นักเรยี นเกีย่ วกบั ลกั ษณะท ไม่ต่อเนื่อง โดยใช้สื่อ Po บรรยาย ดงั น้ี “ล ั ก ษ ณ ะ ท า ง พ ั น ธ ุ ก ร (Discontinuous variati โดยยีนเพียงหนึ่งตำแห แตกต่างกันชัดเจน ตวั อย ชั้นเดยี วกับตาสองช้นั หมู ยมิ้ เปน็ ตน้ ”

มการเรียนรู้ 46 สื่อการเรยี นรู้ การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ซง่ึ เป็นลกั ษณะเชงิ ปรมิ าณ (quantitative trait) ยม้ิ และไม่มีลักยิ้ม มีลักษณะหนังตา งตาชั้นเดียว จากนั้นครูถามคำถาม ลักษณะการมีลักยิ้มกับไม่มีลักยิ้มมี จนหรือไม่?” จากนั้นครูให้ความรู้ ทางพนั ธุกรรมทม่ี ีความแปรผันแบบ owerPoint และรูปภาพประกอบคำ รรมที่มีการแปรผันไม่ต่อเนื่อง ion trait) เป็นลักษณะที่ถูกควบคุม หน่ง ทำให้ลักษณะทางพันธุกรรม ยา่ งเชน่ ลักษณะฟีโนไทปข์ องหนังตา มตี ่งิ และหไู มม่ ตี ่ิง มีลกั ยิ้มและไม่มีลัก

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เน้อื หาสาระ กจิ กรรม ภาพท่ี 6 ลกั ษณะทา ขั้นสรุป (5 นาท)ี 3. ครูสุ่มเรียกนักเรียนเพื่อต ดังนี้ 3.1ถ้าลักษณะความสูงถ กำหนดให้ B1B2B3 b1b2b3 เป็นยนี ควบ คนทีม่ ีผิวดำเขม้ ที่สุดก (B1B1B2B2B3B3 และ b 3.2คนท่ีมีลักษณะที่ผิวด มจี ีโนไทปก์ ่ีแบบ อะไ ดว้ ยยีนจำนวน 3 คู่ โ ควบคุมลกั ษณะผวิ ดำ คือ B1b1B2B2B3B3, B1

มการเรยี นรู้ 47 สอ่ื การเรยี นรู้ การประเมนิ ผลการเรียนรู้ างพันธกุ รรมที่มีการแปรผันแบบไม่ตอ่ เนอ่ื ง ตอบคำถามตรวจสอบความเขา้ ใจใน ถูกควบคุมด้วยยีนจำนวน 3 คู่ โดย 3 เป็นยีนที่ควบคุมลักษณะผิวดำ บคุมลกั ษณะผิวขาว แลว้ จีโนไทป์ของ กับคนที่มีผวิ ขาวทส่ี ุดจะเป็นอย่างไร b1b1b2b2b3b3) ดำรองลงมาจากคนทมี่ ผี ิวดำที่สุด จะ ไรบา้ ง ถ้าลกั ษณะสีผิวถกู ควบคุม โดยกำหนดให้ B1B2B3 เป็นยีนที่ ำ b1b2b3 (เขียนจีโนไทปไ์ ด้ 3 รูปแบบ 1B1B2b2B3B3 และ B1B1B2B2B3b3)

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เนื้อหาสาระ กจิ กรรม 3.3ถ้าลักษณะความสูงถ กำหนดให้ B1B2B3B4 b1b2b3b4 เปน็ ยนี ค ของคนท่มี ีผิวดำเขม้ ท อยา่ งไร (B1B1B2B2B3B

มการเรียนรู้ 48 ถกู ควบคุมดว้ ยยนี จำนวน 4 คู่ โดย 4 เป็นยนี ทค่ี วบคุมลักษณะผิวดำ สื่อการเรยี นรู้ การประเมนิ ผลการเรียนรู้ ควบคุมลักษณะผิวขาว แลว้ จีโนไทป์ ทีส่ ุดกับคนที่มีผวิ ขาวท่ีสดุ จะเป็น B3B4B4 และ b1b1b2b2b3b3b4b4)

โรงเรียนสรร กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ิทย แผนการจัดการเรยี นรู้ เรื่อง ลักษณะทางพ (หวั ขอ้ ยีนบนโคร ภาคการศกึ ษาปลาย ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4/พ และ 4/1 สาระชวี วิทยา 2. เข้าใจการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม การถา่ ยทอดยีนบนโคร ดเี อ็นเอ หลักฐานข้อมลู และแนวคดิ เกี่ยวกับวิวัฒนาการของสิง่ มชี วี ิต กำเนดิ ของส่ิงมีชวี ิต ความหลากหลายของสง่ิ มีชีวิต และอนกุ รมวธิ าน ผลการเรียนรู้ ม.4/5 อธิบายการถ่ายทอดยนี บนโครโมโซม และยกตัวอยา่ งลกั ษณะ

49 รพยาวิทยา ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี พนั ธุกรรมที่เปน็ สว่ นขยายของเมนเดล III รโมโซมเดียวกนั ) รายวชิ า ชีววิทยา2 ว30252 ผู้สอน นายเรวัตร อยู่เกดิ รโมโซม สมบัติ และหน้าที่ของสารพันธุกรรม การเกดิ มวิ เทชนั เทคโนโลยีทาง ต ภาวะสมดลุ ของฮาร์ดี-ไวนเ์ บริ ก์ การเกดิ สปีชีสใ์ หม่ ความหลากหลายทางชีวภาพ น รวมท้ังนำความร้ไู ปใช้ประโยชน์ ะทางพันธกุ รรมที่ถูกควบคมุ ดว้ ยยนี บนออโตโซม และยีนบนโครโมโซมเพศ

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหาสาระ กจิ กรรม เ ม ื ่ อ จ บ ค า บ เ ร ี ย น ยีนบนโครโมโซมเดียวกัน ข้นั นำ (5 นาที) นักเรยี นสามารถ หรอื ลิงค์เกจ (linkage) ค1ือ. ครูทบทวนเรื่องการถ่ายทอด 1. อ ธ ิ บ า ย แ ล ะ ยีน 2 โลคัสหรือมากกว่า 2 พร้อมกันสองลักษณะ (Dihyb ย ก ต ั ว อ ย ่ า ง ก า ร โลคัสที่อยู่บนโครโมโซม พ่อที่มีเมล็ดกลมสีเหลือง (R ถ่ายทอดลักษณะทาง เดียวกันและมีการถ่ายทอด ขรุขระสีเขียว (rryy) (กำหนด กลม, r คือยีนที่ควบคุมลักษณ พันธุกรรมที่ไม่เป็นไป ไปด้วยกันพร้อม ๆ กัน และ ลกั ษณะเมล็ดสเี หลือง และ y โดยครูขอตัวแทนนักเรียนห ตามกฎของเมนเดลใน อาจเกิดลักษณะใหม่ในลูก รปู แบบลิงค์เกจที่พบใน รุ่น F1 เนือ่ งจากการเกิดการ ชีวติ ได้ (K) ร ว ม ก ั น ใ ห ม ่ ข อ ง ยี น 2. อธิบายกลไกและ (genetic recombination) วิธีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ขอ ยกตัวอย่างผลของการ จากปรากฏการณ์ไขว้เปลี่ยน ของฟีโนไทป์ของลูกรุ่น F1 ห เกิดการรวมใหมข่ องยีน (crossing over) ในการแบ่ง เซลล์สืบพันธุ์ได้ 4 แบบคือ ½RY (genetic เซลล์แบบไมโอซิส I (ใน แม่จะสรา้ งเซลล์สบื พันธ์ุได้แบบเด recombination) ไ ด้ ระยะโพรเฟส I) ซึ่งจะทำให้ ที่มีจีโนไทป์ ½RrYy, ½Rryy, ½rrY (K) เกดิ ลกั ษณะทางพนั ธุกรรมท่ี ไทป์เมล็ดกลมสีเหลือง : เมล็ดกล 3. ทำงานร่วมกับผู้อื่น ไม่พบในรุ่นพ่อแม่ (non- ขรขุ ระสีเขยี ว เทา่ กับ 1 : 1 : 1 : ได้อย่างมีประสิทธิภาพ parental phenotype) (A) 2. ครใู ช้รูปภาพแสดงรายละเอยี ด ที่พิจารณาพร้อมกันสองลักษ ประกอบคำบรรยายดังนี้ “จากภาพนกั เรยี นจะเห็นว่าย และสีของเมลด็ นน้ั จะอยูบ่ นโค ตามกฎแห่งการแยกและการร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook