Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตร หน้าที่พลเมืองตามรอยพระยุคลบาทรัชกาลที่เก้า 2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

หลักสูตร หน้าที่พลเมืองตามรอยพระยุคลบาทรัชกาลที่เก้า 2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

Description: หลักสูตรรายวิชา สค23088 หน้าที่พลเมืองตามรอยพระยุคลบาทรัชกาลที่เก้า 2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

Search

Read the Text Version

หลักสตู ร รายวชิ า สค23088 หนา้ ทพ่ี ลเมอื งตามรอยพระยุคลบาทรัชกาลที่เกา้ 2 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ สำนักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวดั ประจวบคีรีขนั ธ์ สำนกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร

คำนำ กกกกกกกเอกสารหลักสตู รรายวชิ า สค23088 หนา้ ที่พลเมืองตามรอยพระยุคลบาทรชั กาลทเี่ ก้า 2 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ จัดทำข้ึนเพ่ือให้นักศึกษาได้ศึกษาเรียนรู้ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับหน้าที่พลเมือง ความหมายและความสำคัญของหน้าที่พลเมืองตามรอยพระยุคลบาทรัชกาลท่ี 9 หน้าที่พลเมือง ตามรอยพระยุคลบาทรัชกาลที่ 9 ด้วยทศพิธราชธรรม ตามพระราชดำรัส ตามหลักการทรงงาน ตามพระราชจริยวัตร และพระราชกรณียกิจ และสามารถประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ ส่งผลให้ หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 จุดหมาย ข้อที่ 1 มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมท่ีดีงาม และสามารถอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข ข้อท่ี 3 มีความสามารถในการประกอบสัมมาอาชีพ ให้สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัด และตามทัน ความเปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกจิ สังคม และการเมือง ข้อที่ 4 มที กั ษะการดำเนินชีวิตทดี่ ี และสามารถ จัดการกับชีวิต ชุมชน สังคม ได้อย่างมีความสุข ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ข้อที่ 5 มีความเข้าใจ ประวัติศาสตร์ชาติไทย ภูมิใจในความเป็นไทย โดยเฉพาะภาษา ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี กีฬา ภูมิปัญญาไทย ความเป็นพลเมืองดี ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนายึดม่ันในวิถีชีวิต และการ ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ข้อที่ 6 มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และข้อที่ 7 เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีทักษะในการ แสวงหาความรู้ สามารถเข้าถึงแหล่งเรยี นรู้ และบูรณาการความรู้มาใชใ้ นการพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ บรรลไุ ดด้ ียิง่ ๆ ขนึ้ กกกกกกกเอกสารหลักสตู รฉบบั นป้ี ระกอบดว้ ย (1) ผงั มโนทศั น์ (2) คำอธบิ ายรายวิชา (3) รายละเอียด คำอธบิ ายรายวชิ า (4) โครงสร้างหลักสูตร (5) รายละเอียดของเนื้อหาหัวเรื่องที่ 1 – 7 ได้แก่ หัวเร่ือง ท่ี 1 ความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับหน้าท่ีพลเมือง หัวเรื่องท่ี 2 ความหมายและความสำคัญของหน้าที่ พลเมืองตามรอยพระยุคลบาทรัชกาลท่ี 9 หัวเรื่องท่ี 3 หน้าท่ีพลเมืองตามรอยพระยุคลบาทรัชกาล ท่ี 9 ด้วยทศพิธราชธรรม หัวเรื่องท่ี 4 หน้าท่ีพลเมืองตามรอยพระยุคลบาทรัชกาลที่ 9 ตามพระราชดำรัส หัวเรือ่ งที่ 5 หนา้ ท่พี ลเมอื งตามรอยพระยุคลบาทรัชกาลที่ 9 ตามหลกั การทรงงาน หวั เรอ่ื งท่ี 6 หน้าท่ี พลเมืองตามรอยพระยุคลบาทรัชกาลท่ี 9 ตามพระราชจริยวัตรและพระราชกรณียกิจ และหัวเร่ืองที่ 7 การประยุกตใ์ ช้หน้าทพ่ี ลเมืองตามรอยพระยุคลบาทรชั กาลท่ี 9 ในชวี ิตประจำวัน (6) บรรณานุกรม และ (7) ภาคผนวก กกกกกกกเอกสารฉบับน้ี สำเร็จลงได้ด้วยดี เน่ืองจากได้รับการสนับสนุนและการให้คำปรึกษา ของ นางโกศล หลักเมือง รองผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ รองศาสตราจารย์ ดร.พัชรี ศรีสังข์ อาจารย์ประจำ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และนางสาวสุธิกานต์ แย้มนิล ผู้อำนวยการ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหวั หิน จังหวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ รวมถงึ ผู้ให้ ข้อมูลในการพัฒนาหลักสูตร ได้แก่ พระราชสุทธิโมลี เจ้าคณะจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ฝ่ายธรรมยุต

เจ้าอาวาสวัดธรรมิการามวรวิหาร ดร.สำราญ ไกรทอง ผู้แทนชุมชน นายกฤษฏา นุตะโร ผู้แทน เครือข่ายชมรมคนรักในหลวงจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และนายตรีเพชร สายสกล ผู้แทนองค์กร นักศึกษา กศน.อำเภอเมอื งประจวบคีรีขนั ธ์ ตลอดจนได้รับความร่วมมือในการจัดทำเอกสารหลกั สูตร จากข้าราชการครู บรรณารักษ์ ครูอาสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรียน ครู กศน.ตำบล ครูศนู ย์การเรยี น ชุมชน บรรณารักษ์อัตราจ้าง และเจ้าหน้าท่ีบริหารงานท่ัวไป สังกัด ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอเมอื งประจวบคีรขี ันธ์ จังหวัดประจวบครี ีขันธ์ ศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบครี ีขันธ์ ขอขอบพระคุณ และ ขอขอบคุณทุกท่านมา ณ ที่นีด้ ว้ ย (นางสาวขวัญจติ ต์ ศรจี ันทนากุล) ผู้อำนวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอเมอื งประจวบคีรีขันธ์

ประกาศ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอเมอื งประจวบคีรีขนั ธ์ เร่ือง ประกาศใช้หลกั สตู รวชิ าเลอื ก สค23088 หนา้ ท่ีพลเมืองตามรอยพระยุคลบาทรชั กาลทเี่ กา้ 2 …………………………………………………………………………….... กกกกกกกตามท่ีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ได้ทรงมีพระมหา กรุณาธิคุณต่อปวงชนชาวไทยอย่างมากมาย ทำให้ปวงชนชาวไทยได้สำนึกถึงพระองค์และต้องการ เรยี นรู้ สืบสานตามรอยพระยุคลบาท ประกอบกับสถานศกึ ษามีหนา้ ที่ปลูกฝงั ให้นกั ศึกษาได้ปฏิบัติตน ตามหน้าทพี่ ลเมอื งดี ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของบทบาทในการปลูกฝังหน้าท่ีพลเมืองดีให้กับ นักศึกษาได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยเฉพาะหน้าที่พลเมืองดี ตามรอยพระยุคลบาทของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลท่ี 9 จึงได้จัดทำหลักสูตร สค23088 หน้าท่ีพลเมืองตาม รอยพระยุคลบาทรัชกาลท่ีเก้า 2 เพ่ือใช้ในการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงาม และ สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข ภายใต้การปฏิบัติตนตามหน้าที่พลเมืองดี ให้กับนักศึกษา ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัด ประจวบครี ีขนั ธ์ และไดผ้ า่ นความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาแลว้ กกกกกกกดังน้ัน เพ่ือให้การจัดการศึกษาหลักสูตรรายวิชาเลือก สค23088 หน้าท่ีพลเมืองตามรอย พระยุคลบาทรัชกาลท่ีเก้า 2 เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล จึงขอประกาศใช้หลกั สูตรน้ี กับนักศึกษาของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ ที่ลงทะเบยี นเรียน ตั้งแต่ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2560 เป็นตน้ ไป กกกกกกกประกาศ ณ วันท่ี 29 เดือน กันยายน พ.ศ.2560 (นางสาวขวัญจติ ต์ ศรีจนั ทนากุล) ผอู้ ำนวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอเมอื งประจวบครี ีขันธ์

ความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา กกกกกกกตามที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลท่ี 9 ได้ทรงมีพระมหา กรุณาธิคุณต่อปวงชนชาวไทยอย่างมากมาย ทำให้ปวงชนชาวไทยได้สำนึกถึงพระองค์และต้องการ เรียนรู้ สืบสานตามรอยพระยุคลบาท ประกอบกับสถานศึกษามีหน้าท่ีปลูกฝังให้นักศึกษาได้ปฏิบัติ ตนตามหน้าท่ีพลเมืองดี ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมื อง ประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของบทบาทในการปลูกฝังหน้าท่ี พลเมืองดีให้กับนักศึกษาได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยเฉพาะหน้าท่ีพลเมืองดี ตามรอยพระยุคลบาทของ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รชั กาลที่ 9 จึงได้จัดทำหลักสตู ร สค23088 หนา้ ที่ พลเมืองตามรอยพระยุคลบาทรัชกาลทเี่ ก้า 2 เพื่อใชใ้ นการปลูกฝงั คุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยมทด่ี ีงาม และสามารถอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข ภายใต้การปฏิบัติตนตามหน้าที่พลเมืองดี ให้กับ นกั ศึกษาของศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จงั หวัด ประจวบคีรขี ันธ์ กกกกกกกเพื่อให้การจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยเฉพาะรายวิชาเลือก สค23088 หน้าที่พลเมือง ตามรอยพระยุคลบาทรัชกาลท่ีเก้า 2 บรรลุจุดมุ่งหมายและนักศึกษาได้ปฏิบัติตนในฐานะพลเมืองดี และตามรอยพระยุคลบาทรัชกาลท่ี 9 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล ให้ผู้เกี่ยวข้องกับ การจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมือง ประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ร่วมมือกันจัดการศึกษา ตั้งแต่ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2560 กกกกกกกท้งั นี้ ตั้งแตว่ ันที่ 29 เดือน กันยายน พ.ศ.2560 (นายชศู ักดิ์ อนพุ งศ์พชิ ิตกลุ ) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา

สารบัญ ผงั มโนทศั น…์ ………………………………………………………………………………………………………………. หนา้ คำอธิบายรายวชิ า.............................................................................................................. ........ 1 รายละเอียดคำอธบิ ายรายวชิ า……………………………………………………………………………………….. 2 โครงสร้างหลกั สตู ร..................................................................................................................... 3 กกกสรุปสาระสำคัญ................................................................................................................ .. 8 กกกผลการเรยี นรูท้ ่ีคาดหวงั ...................................................................................................... 8 กกกขอบขา่ ยเนื้อหา................................................................................................................... 16 กกกการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้……………………………………………………………………………….. 17 กกกสื่อและแหล่งเรยี นร.ู้ ............................................................................................................ 17 กกกการวดั และประเมนิ ผล……………………………………………………………………………………………. 18 หวั เรือ่ งท่ี 1 ความรู้พ้ืนฐานเก่ียวกับหน้าทพ่ี ลเมือง.................................................................... 20 กกกสาระสำคัญ.................................................................................................................... ..... 20 กกกตัวชวี้ ัด…………………………………………………………………………………………………………………. 20 กกกขอบขา่ ยเน้ือหา…………………………………………………………………………………………………….. 20 กกกเนื้อหา………………………………………………………………………………………………………………….. 20 กกกการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้........................................................................................... 21 กกกส่ือและแหลง่ เรยี นร.ู้ ............................................................................................................ 27 กกกการวัดและประเมินผล..................................................................................................... ... 27 หัวเรื่องที่ 2 ความหมายและความสำคญั ของหนา้ ท่ีพลเมืองตามรอยพระยุคลบาทรชั กาลที่ 9.. 28 กกกสาระสำคญั .................................................................................................................... ..... 29 กกกตัวชว้ี ดั …………………………………………………………………………………………………………………. 29 กกกขอบข่ายเนื้อหา…………………………………………………………………………………………………….. 29 กกกเน้ือหา………………………………………………………………………………………………………………….. 29 กกกการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู.้ .......................................................................................... 29 กกกส่ือและแหล่งเรียนร.ู้ ............................................................................................................ 31 กกกการวดั และประเมนิ ผล........................................................................................................ 31 หัวเรอ่ื งท่ี 3 หนา้ ที่พลเมืองตามรอยพระยุคลบาทรัชกาลท่ี 9 ดว้ ยทศพิธราชธรรม................... 32 กกกสาระสำคญั .................................................................................................................... ..... 33 กกกตวั ชี้วัด…………………………………………………………………………………………………………………. 33 กกกขอบข่ายเนื้อหา…………………………………………………………………………………………………….. 35 กกกเนื้อหา………………………………………………………………………………………………………………….. 35 กกกการจัดประสบการณ์การเรียนร.ู้ .......................................................................................... 35 53

สารบัญ (ตอ่ ) กกกสื่อและแหล่งเรียนร.ู้ ............................................................................................................ หน้า กกกการวัดและประเมินผล........................................................................................................ 53 หวั เรอื่ งที่ 4 หนา้ ท่ีพลเมอื งตามรอยพระยคุ ลบาทรชั กาลท่ี 9 ตามพระราชดำรสั ...................... 54 กกกสาระสำคัญ......................................................................................................................... 55 กกกตวั ชว้ี ัด…………………………………………………………………………………………………………………. 55 กกกขอบขา่ ยเน้ือหา…………………………………………………………………………………………………….. 57 กกกเน้ือหา………………………………………………………………………………………………………………….. 57 กกกการจัดประสบการณ์การเรียนร.ู้ .......................................................................................... 58 กกกส่ือและแหล่งเรยี นร.ู้ ............................................................................................................ 88 กกกการวัดและประเมนิ ผล........................................................................................................ 88 หวั เรื่องที่ 5 หน้าท่ีพลเมืองตามรอยพระยคุ ลบาทรชั กาลที่ 9 ตามหลักการทรงงาน................. 89 กกกสาระสำคญั ......................................................................................................................... 90 กกกตัวชว้ี ดั …………………………………………………………………………………………………………………. 90 กกกขอบข่ายเนื้อหา…………………………………………………………………………………………………….. 90 กกกเน้ือหา………………………………………………………………………………………………………………….. 90 กกกการจดั ประสบการณ์การเรียนร.ู้ .......................................................................................... 91 กกกส่ือและแหลง่ เรียนรู.้ ............................................................................................................ 113 กกกการวัดและประเมินผล........................................................................................................ 113 หัวเรอ่ื งที่ 6 หน้าที่พลเมืองตามรอยพระยุคลบาทรัชกาลท่ี 9 ตามพระราชจรยิ วัตร 114 และพระราชกรณียกจิ ................................................................................................................ กกกสาระสำคญั .................................................................................................................... ..... 115 กกกตวั ชี้วัด…………………………………………………………………………………………………………………. 115 กกกขอบข่ายเน้ือหา…………………………………………………………………………………………………….. 116 กกกเนื้อหา………………………………………………………………………………………………………………….. 117 กกกการจัดประสบการณ์การเรยี นร.ู้ .......................................................................................... 117 กกกส่ือและแหล่งเรยี นรู้............................................................................................................. 141 กกกการวัดและประเมินผล.................................................................................................... .... 142 หวั เรอ่ื งท่ี 7 การประยุกต์ใช้หนา้ ท่พี ลเมืองตามรอยพระยุคลบาทรชั กาลท่ี 9ในชวี ติ ประจำวนั . 144 กกกสาระสำคญั .................................................................................................................... ..... 145 กกกตวั ชว้ี ัด…………………………………………………………………………………………………………………. 145 146

สารบญั (ตอ่ ) กกกขอบข่ายเน้ือหา…………………………………………………………………………………………………….. หน้า กกกเนื้อหา………………………………………………………………………………………………………………….. 146 กกกการจัดประสบการณ์การเรยี นร้.ู .......................................................................................... 147 กกกสื่อและแหลง่ เรยี นรู้............................................................................................................. 184 กกกการวดั และประเมินผล........................................................................................................ 184 บรรณานุกรม………………………………………………………………………………………………………………. 185 ภาคผนวก...................................................................................................................... ............ 186 กกกก ใบความรู้…………………………………………………………………………………………………………. 190 กกกข ใบงาน............................................................................................................................ 191 กกกค เครอื่ งมือวดั ความก้าวหนา้ ............................................................................................. 249 กกกง เครอ่ื งมือวัดผลรวม……………………………………………………………………………………………. 264 กกกจ ประกาศแตง่ ตั้งที่ปรึกษาและผรู้ ว่ มให้ขอ้ มลู พัฒนาหลักสูตร........................................... 282 กกกฉ คำสั่งแตง่ ตั้งคณะกรรมการพฒั นาหลกั สูตร................................................................... 296 299

7. การประยกุ ต์ใช้หนา้ ท่พี ลเมอื งตามรอย 1. ความรู้พ้นื พระยคุ ลบาทรัชกาลท่ี 9 ในชวี ติ ประจาวัน เกย่ี วกับหน้าที่พ จานวน 30 ช่ัวโมง จานวน 10 ช 7.1. ด้วยทศพิธราชธรรม วชิ า หน้าท่ีพลเ 7.2. ตามพระราชดารัส ตามรอยพระยุคลบาทรัช 7.3. ตามหลกั การทรงงาน จานวน 120 ช่ัว 6. หนา้ ทพี่ ลเมืองตามรอยพระยคุ ลบาท รัชกาลที่ 9 ตามพระราชจริยวัตร และพระราชกรณียกจิ จานวน 30 ชั่วโมง 6.1 พระราชจริยวัตร 6.2 พระราชกรณียกจิ 5. หน้าที่พลเมืองตา 6.1.1 ครอบครวั 6.2.1 โรงเรยี น รชั กาลท่ี 9 ตามห 6.2.2 ทอ้ งถิน่ จานวน 10 6.1.2 ความออ่ นนอ้ ม 6.2.3 ประเทศ ถอ่ มตวั ภาพประกอบ 2 ผังมโนทศั น์ หลักสูตร วชิ าห ระดับมัธยม

นฐาน 2. ความหมายและความสาคญั ของหน้าทพี่ ลเมอื งตาม พลเมือง ชว่ั โมง รอยพระยคุ ลบาทรชั กาลที่ 9 จานวน 2 ชวั่ โมง เมือง 3. หน้าทีพ่ ลเมืองตามรอยพระยคุ ลบาท ชกาลทีเ่ กา้ 2 รชั กาลท่ี 9 ด้วยทศพธิ ราชธรรม วโมง จานวน 8 ช่ัวโมง ามรอยพระยุคลบาท 4. หน้าท่พี ลเมืองตามรอยพระยคุ ลบาท หลักการทรงงาน รัชกาลที่ 9 ตามพระราชดารัส 0 ชวั่ โมง จานวน 30 ชั่วโมง หนา้ ทพ่ี ลเมืองตามรอยพระยุคลบาทรัชกาลที่เกา้ 2 1 มศึกษาตอนต้น

2 คาอธบิ ายรายวิชา สค23088 วชิ า หนา้ ทพี่ ลเมืองตามรอยพระยคุ ลบาทรัชกาลทีเ่ ก้า 2 จานวน 3 หน่วยกิต มาตรฐานท่ี 5.3 กกกกกกกปฏบิ ัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย มีจิตสาธารณะ เพอื่ ความสงบสุขของสงั คม ศึกษาและฝึกทกั ษะ กกกกกกกความรพู้ ้นื ฐานเกี่ยวกบั หนา้ ที่พลเมือง ความหมาย และความสาคญั ของหน้าทพี่ ลเมอื ง ตามรอยพระยคุ ลบาท รชั กาลที่ 9 หน้าทพี่ ลเมอื งตา มรอยพระยคุ ลบาท รชั กาลที่ 9 ดว้ ย ทศพิธราชธรรม ตามพระราชดา รัส หลกั การทรงงาน พระ ราชจรยิ วัตร และพระราช กรณียกิจ และ การประยกุ ตใ์ ช้หนา้ ทพ่ี ลเมอื งตามรอยพระยคุ ลบาทรัชกาลท่ี 9 ในชวี ิตประจาวัน กกกกกกกเพอ่ื ให้ผู้เรยี นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และสามารถปฏบิ ัติหนา้ ที่พลเมืองตามรอยพระยุคลบาท รัชกาลท่ี 9 รวมถงึ มีจติ สาธารณ ะ มคี วามรั บผดิ ชอบ เกดิ จิตสานึกเทิดทนู ในพระมหากรณุ าธิคุณ ของรัชกาลที่ 9 ท่มี ตี ่อประชาชนชาวไทย ตลอดจนภาคภมู ิใจทเี่ กดิ เปน็ คนไทย การจดั การประสบการณก์ ารเรียนรู้ กกกกกกกบรรยาย กาหนดประเด็นในการศึกษาค้นควา้ ร่วมกนั จากสื่อการเรยี นรู้ท่ีหลากหลาย บนั ทกึ ผลการศึกษาค้นควา้ ลงในเอกสารการเรยี นรู้ ดว้ ยตนเอง (กรต.) พบกลุ่ม อภิปราย แลกเ ปลี่ยนเรียนรู้ วิเคราะห์ข้อมูลท่ีได้ และสรปุ กา รเรียนรรู้ ่วมกนั บนั ทกึ ลงในเอกสารในการเรียนรู้ ดว้ ยตนเอง (กรต.) นาผลสรปุ การเรียนรทู้ ีไ่ ด้ไป ประยุกต์ใช้ ในชวี ติ ประจาวนั และเ ขียนเอกสารรายงานผลการ ปฏิบัติ หนา้ ทพ่ี ลเมืองตามรอยพระยุคลบาทรชั กาลท่ี 9 จรงิ ดว้ ยทศพิธราชธรรม ตามพระราชดารัส และ ตามหลกั การทรงงาน การวัดและประเมินผล กกกกกกกประเมินความก้าวหน้าดว้ ยวธิ ีการ สังเกต ซกั ถาม ตอบคาถาม ตรวจเอกสารการเรียนรู้ ด้วยตนเอง (กรต.) และตรวจ เอกสารรายงานผลการ ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีพลเมืองตามรอยพระยุคลบาท รัชกาลท่ี 9 จริง ด้วยทศพิธราชธรรม ตามพระราชดารัส และตามหลักการทรงงาน และประเมิน ผลรวม ดว้ ยวธิ ีการให้ตอบแบบทดสอบ วดั ความรู้ ตอบแบบสอบถาม วดั ทกั ษะ การนาไปใชใ้ น ชวี ติ ประจาวัน และตอบแบบสอบถามวดั เจตคตติ อ่ วิชาหนา้ ทพี่ ลเมอื งตามรอยพระยคุ ลรบัชากทาลทเ่ี กา้ 2

3 รายละเอยี ดคาอธิบายรายวิชา สค23088 วชิ า หน้าทพี่ ลเมืองตามรอยพระยคุ ลบาทรัชกาลท่ีเกา้ 2 จานวน 3 หนว่ ยกิต ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ มาตรฐานท่ี 5.3 กกกกกกกปฏบิ ตั ติ นเปน็ พลเมืองดีตามวถิ ีประชาธิปไตย มีจิตสาธารณะ เพอ่ื ความสงบสุขของสังคม ท่ี หัวเรอ่ื ง ตัวชว้ี ดั เนื้อหา จานวน (ช่ัวโมง) 1. ความรู้พน้ื ฐาน 1. บอกความหมายของหนา้ ที่ 1. ความหมายของหน้าท่ี เกี่ยวกับหน้าที่ 10 พลเมือง พลเมอื งได้ พลเมือง 1. 1.1 ความหมายของ พลเมอื ง 1. 1.2 ความหมายของ พลเมืองดี 1. 1.3 ความหมายของ หนา้ ทีพ่ ลเมือง 2. ความสาคญั ของหน้าท่ี 2. อธบิ ายและตระหนกั ถงึ พลเมอื ง ความสาคัญของหน้าทพ่ี ลเมอื ง 3. แนวทางการปฏิบัติตน 3. บอกแนวทางการปฏบิ ตั ติ น ในการเป็นสมาชกิ ท่ดี ีของ ในการเปน็ สมาชิกที่ดขี องสังคม สังคม ได้ 3. 3.1 ดา้ นกฎหมาย 3.2 ดา้ นวฒั นธรรม 3.3 ดา้ นประเพณีไทย 3.4 ด้านสิทธหิ นา้ ที่ ตาม ระบอบประชาธิปไตย 3.4 3.4.1 ครอบครวั 3.4 3.4.2 โรงเรียน 3.4 3.4.3 ทอ้ งถ่นิ 3.4 3.4.4 ประเทศ 3.5 สิทธิมนษุ ยชนขน้ั พ้ืนฐาน

4 ท่ี หัวเร่อื ง ตัวชี้วัด เนื้อหา จานวน (ชวั่ โมง) 4. บอกคณุ ธรรมของการเป็น 4. คุณธรรมของการเปน็ พลเมอื งดีได้ พลเมอื งดี 2. ความหมายและ 1. บอกความหมายหน้าที่ 1. ความหมายของหน้าที่ 2 ความสาคญั ของ พลเมืองตามรอยพระยคุ ลบาท พลเมืองตามรอยพระยคุ ล หน้าทพ่ี ลเมอื งตาม รัชกาลท่ี 9 ได้ บาทรชั กาลที่ 9 รอยพระยคุ ลบาท 2. อธบิ ายและตระหนักถงึ 2. ความสาคญั ของหนา้ ที่ รชั กาลท่ี 9 ความสาคัญของหน้าท่ีพลเมอื ง พลเมอื งตามรอยพระยุคล ตามรอยพระยุคลบาทรชั กาล บาทรชั กาลที่ 9 ที่ 9 3. หนา้ ทพ่ี ลเมืองตาม 1. วิเคราะหห์ น้าทีพ่ ลเมอื ง 1. ความหมายของ 8 รอยพระยคุ ลบาท ตามรอยพระยคุ ลบาทรชั กาลที่ ทศพธิ ราชธรรม รัชกาลท่ี 9 ดว้ ย 9 ดว้ ยทศพธิ ราชธรรมตาม 2. แนวทางการปฏบิ ัติ ทศพธิ ราชธรรม สถานการณ์ท่กี าหนดใหไ้ ด้ หนา้ ทพ่ี ลเมืองตามรอยพระ 2. ตระหนกั ถึงความสาคญั ของ ยุคลบาทรชั กาลท่ี 9 ด้วย หนา้ ทพ่ี ลเมืองตามรอย ทศพิธราชธรรม พระยุคลบาทรัชกาลที่ 9 ด้วยทศพิธราชธรรม 4. หน้าท่ีพลเมืองตาม 1. วเิ คราะหห์ น้าที่พลเมอื ง 1. หนา้ ท่พี ลเมืองตามพระ 30 รอยพระยุคลบาท ตามรอยพระยคุ ลบาทรชั กาลที่ ราชดารัส ความสขุ ในการ รัชกาลที่ 9 ตาม 9 ตามพระราชดารสั ความสขุ ดาเนนิ ชีวิต พระราชดารสั ในการดาเนนิ ชีวติ เกี่ยวกบั เด็ก 1. 1.1 สุขกาย นกั เรียน และเยาวชน และ 1. 1.2 สขุ ใจ นักศกึ ษา เกี่ยวกับปรัชญาของ 1. 1.3 สุขในการอยู่ เศรษฐกิจพอเพยี งตาม ร่วมกนั สถานการณ์ทีก่ าหนดใหไ้ ด้ 2. หนา้ ทีพ่ ลเมืองตามพระ 2. ตระหนักถึง ความสาคัญ ราชดารัส เกย่ี วกบั เด็ก ของหนา้ ท่พี ลเมอื งตามรอย นกั เรียนและเยาวชน พระยุคลบาท รชั กาลท่ี 9 และนกั ศึกษา ตามพระราชดารสั 2. 2.1 วยั เด็ก และการ ปลกู ฝงั คุณธรรม 2. 2.2 นักเรียน และ เยาวชน 2. 2.3 นกั ศกึ ษา

5 ที่ หัวเรอื่ ง ตัวชวี้ ดั เน้อื หา จานวน (ชั่วโมง) 2. 2.4 วยั ทางาน และ การศึกษา 2. 2.5 หนา้ ท่ี และความ รบั ผดิ ชอบต่อบา้ นเมอื ง 3. หน้าทีพ่ ลเมอื งตาม พระราชดารสั ทเ่ี ก่ยี วข้อง กับปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง 3. 3.1 ความพอประมาณ 3. 3.2 ความมีเหตุผล 3. 3.3 ความมภี ูมคิ ุ้มกัน 3. 3.4 เงอ่ื นไขความรู้ 3. 3.4 3.4.1 ความรู้ 3. 3.4 3.4.2 หลักวิชา และหลักวิชาการ 3. 3.4 3.4.3 รอบรู้ รอบคอบ และระมดั ระวัง 3. 3.5 เงื่อนไขคณุ ธรรม 3. 3.5 3.5.1 คณุ ธรรม 3. 3.5 3.5.1 1) ความ ซอ่ื สัตยส์ จุ ริต 3. 3.5 3.5.1 2) ความ เพียร พากเพยี ร และอดทน 3. 3.5 3.5.1 3) สติ และ ปญั ญา 3. 3.5 3.5.1 4) ไม่ เบยี ดเบียน มเี มตตา 3. 3.5 3.5.1 5) ตั้งใจดี คิดดี และทาดี 3. 3.5 3.5.1 6) ความ รบั ผิดชอบ รับผิด และ รับชอบ

6 ท่ี หัวเร่อื ง ตัวชี้วัด เนื้อหา จานวน (ชว่ั โมง) 3. 3.5 3.5.2 หนา้ ที่ 3. 3.5 3.5.2 1) ประโยชน์ส่วนรวม ประโยชนส์ ่วนตน และ เสยี สละ 3. 3.5 3.5.2 2) ความ สามคั คีรว่ มมอื และ ปรองดอง 3. 3.5 3.5.2 3) ความสุข ความเจรญิ 5. หนา้ ท่ีพลเมืองตาม 1. วเิ คราะห์หนา้ ท่พี ลเมือง 1. หลกั การทรงงาน 10 รอยพระยุคลบาท ตามรอยพระยคุ ลบาทรชั กาลที่ 2. แนวทางการปฏบิ ัติ รชั กาลที่ 9 ตาม 9 ตามหลกั การทรงงานใน หน้าท่พี ลเมืองตามรอยพระ หลกั การทรงงาน สถานการณ์ ทีก่ าหนดใหไ้ ด้ ยุคลบาทรัชกาลที่ 9 ตาม 2. ตระหนกั ถึงตามรอยพระ หลักการทรงงาน ยุคลบาทรัชกาลท่ี 9 ตามหลกั การทรงงาน 6. หนา้ ทีพ่ ลเมืองตาม 1. วเิ คราะห์หนา้ ที่พลเมืองตาม 1. หน้าท่ีพลเมอื งตามรอย 30 รอยพระยคุ ลบาท รอยพระยคุ ลบาทรัชกาลท่ี 9 พระยคุ ลบาทรัชกาลที่ 9 รชั กาลท่ี 9 ตาม ตามพระราชจรยิ วตั ร และพระ ตามพระราชจรยิ วัตร พระราชจรยิ วตั ร ราชกรณยี กจิ ในสถานการณ์ 1. 1.1 ครอบครัว และพระราช ที่กาหนดให้ได้ 1. 1.2 ความออ่ นนอ้ ม กรณยี กิจ 2. ตระหนักถงึ ความสาคัญของ ถ่อมตัว หน้าทีพ่ ลเมอื งตามรอยพระ 2. หน้าทีพ่ ลเมอื งตามรอย ยุคลบาทรชั กาลท่ี 9 ตามพระ พระยุคลบาทรัชกาลท่ี 9 ราชจรยิ วตั ร และพระราช ตามพระราชกรณียกิจ กรณียกจิ 2. 2.1 โรงเรยี น 2. 2.2 ท้องถ่นิ 2. 2.3 ประเทศ 7. การประยกุ ต์ใช้ 1. ปฏบิ ัติหนา้ ท่ีพลเมืองตาม การประยกุ ต์ใช้หนา้ ที่ 30 หนา้ ทพ่ี ลเมืองตาม รอยพระยคุ ลบาทรชั กาลท่ี 9 พลเมอื งตามรอยพระยคุ ล รอยพระยุคลบาท ในชีวิตประจาวันได้ บาทรชั กาลท่ี 9 ใน รชั กาลที่ 9 ใน 2. ตระหนักถงึ ความสาคัญเห็น ชีวิตประจาวัน ชีวติ ประจาวัน คณุ ค่าของการประยุกตใ์ ช้ 1. ด้วยทศพธิ ราชธรรม

7 ที่ หวั เรอื่ ง ตวั ชี้วัด เน้ือหา จานวน (ช่วั โมง) หนา้ ทพ่ี ลเมืองตามรอยพระ 2. ตามพระราชดารัส ยุคลบาทรัชกาลที่ 9 ใน 3. ตามหลกั การ ชีวติ ประจาวัน ทรงงาน

8 โครงสรา้ งหลักสตู รรายวชิ า สค23088 วชิ า หนา้ ที่พลเมืองตามรอยพระยุคลบาทรัชกาลท่เี กา้ 2 จานวน 3 หนว่ ยกติ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น สรปุ สาระสาคัญ กกกกกกก1. หวั เรื่องท่ี 1 ความรพู้ ้ืนฐานเก่ยี วกบั หน้าที่พลเมอื ง กกกกกกก1. 1.1 หนา้ ทพ่ี ลเมือง หมายถึง การทีบ่ คุ คลในชมุ ชน สงั คม ประเทศ ต้องปฏิบตั ิตาม กฎหมาย ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวฒั นธรรมของชาติ คาสั่งสอน ของพอ่ แม่ ครูอาจารย์ มคี วาม สามัคคเี ออื้ เฟือ้ เผ่อื แผซ่ ่ึงกันและกัน ร้จู กั รับผิดชอบช่ัวดีตามหลักจริยธรรม และหลักธรรมของศาสนา มีความรอบรู้ มีสติปัญญา ขยันขนั แขง็ สร้างความเจรญิ กา้ วหนา้ ใหแ้ กต่ นเอง ครอบครัว สงั คม และ ประเทศชาติ กกกกกกก1. 1.2 ความสาคัญของหนา้ ทีพ่ ลเมอื งทม่ี ีต่อประเทศชาติ (1) ต้องจงรกั ภักดแี ละรักษาไว้ ซ่ึงสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ (2) ต้องรักษาไว้ซ่งึ การปกครองระบอบประชาธิปไตย (3) ต้องช่วยกนั ปูองกันประเทศ (4) ต้องปฏิบตั ติ ามกฎหมายบ้านเมอื งอยา่ งเครง่ ครดั (5) ตอ้ งให้ความ รว่ มมือช่วยเหลอื แก่ราชการ และ (6) ตอ้ งเสยี ภาษีอากรตามทก่ี ฎหมายบัญญตั ไิ ว้ กกกกกกก1. 1.3 แนวทางการปฏิบตั ติ นในการเป็นสมาชิกทด่ี ีของสงั คมตอ้ งปฏบิ ัตติ ามกฎหมาย วัฒนธรรม ประเพณี และปฏิบัตติ นตามสิทธิหนา้ ท่ีตามระบอบประชาธปิ ไตย กกกกกกก1. 1.4 คุณธรรมของการเป็นพลเมอื งท่ีดี มี 8 ประการ คือ (1) ความจงรกั ภักดตี ่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ (2) การยึดม่ันในหลักธรรมของศาสนาทต่ี นเองนบั ถือ (3) ความซ่อื สัตย์ (4) ความเสยี สละ (5) ความรับผดิ ชอบ (6) การมรี ะเบียบวินัย (7) การตรงตอ่ เวลา และ (8) ความ กล้าหาญทางจรยิ ธรรม กกกกกกก2. หัวเร่ืองที่ 2 ความหมาย และความสาคัญของหนา้ ทีพ่ ลเมืองตามรอยพระยคุ ลบาท รชั กาลท่ี 9 กกกกกกก2. 2.1 หนา้ ท่พี ลเมอื งตามรอยพระยุคลบาท รชั กาลท่ี 9 หมายถงึ การที่ประชาชน หรือ บคุ คลในประเทศไทย ไดน้ อ้ มนาแนวทางการปกครองดว้ ยทศพิธราชธรรม พระราชดารสั ทสี่ าคญั หลกั การทรงงาน รวมถงึ พระราชจริยวตั ร และพระราชกรณยี กจิ ท่ีทรงเปน็ แบบอยา่ ง เป็นที่ยอมรบั ทง้ั ในระดบั ประเทศ และนานาประเทศของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช มาศึกษาเรยี นรู้ และนาไปเป็นแนวทางปฏบิ ัติในการดาเนนิ ชีวติ หรือการประกอบอาชพี เพอื่ ให้ตนเอง มคี ณุ ภาพชีวิตท่ดี ี มคี วามเขม้ แข็ง และม่ันคง สง่ ผลต่อเน่อื งตอ่ การพัฒนาประเทศ และโลกได้ กกกกกกก2. 2.2 ความสาคญั ของหนา้ ท่ีพลเมืองตามรอยพระยุคลบาทรัชกาลที่ 9 ชว่ ยให้พลเมืองมี จติ สาธารณะ มีส่วนร่ วม หรือให้ความร่วมมอื ทาภารกิจ เพ่อื ส่วนรวมของสาธารณะ หรือของชาติ ทาใหส้ งั คมประเทศมคี วามมนั่ คงผาสุก และเจริญกา้ วหนา้ ได้

9 กกกกกกก3. หวั เรื่องที่ 3 หนา้ ท่ีพลเมืองตามรอยพระยุคลบาทรัชกาลท่ี 9 ดว้ ยทศพธิ ราชธรรม กกกกกกก3. 3.1 ทศพธิ ราชธรรม หมายถงึ หลกั ธรรมหรอื จริยวัตรประจาพระเจา้ แผ่นดนิ หรือเป็น คณุ ธรรมประจาตนของผู้ปกครองบา้ นเมอื ง และยงั ประโยชน์สุขใหเ้ กิดแกป่ ระชาชน บุคคลธรรมดา ท่เี ปน็ ผูบ้ รหิ ารระดับสงู ในทุกองคก์ ร สามารถใช้ทศพิธราชธรรมในการปกครององคก์ รของตนเองใหม้ ี ความเป็นไปโดยธรรม กกกกกกก3. 3.2 แนวทางปฏบิ ตั ิหน้าที่พลเมอื งตามรอยพระยุคลบาทรัชกาลที่ 9 ดว้ ยทศพิธราชธรรม มี 10 ประการ คอื กกกกกกก3. 3.2 3.2.1 ทาน คือ การให้ หมายถึง การสละทรัพย์ ส่งิ ของ เพ่อื ช่วยเหลอื คนทด่ี ้อย และออ่ นแอกว่า แนวปฏบิ ัติของพลเมืองดี ดว้ ย การเป็นผใู้ ห้ นอกเหนอื จากการบรจิ าคเป็นทรัพย์สนิ หรือสงิ่ ของแกผ่ ูย้ ากไร้ ผู้ด้อยโอกาส และผตู้ กทุกข์ไดย้ ากตามทเี่ ราทาอย่เู สมอแล้ว เรากอ็ าจจะให้ น้าใจแก่ผอู้ น่ื ได้ เชน่ ให้กาลังใจแกผ่ ตู้ กอย่ใู นห้วงทกุ ข์ ให้ขอ้ แนะนาท่เี ป็นความรูแ้ กผ่ ู้รว่ มงานหรอื ผ้ใู ตบ้ งั คบั บัญชา ใหร้ อยย้ิม และปิยวาจาแก่ญาตพิ ่ีน้อง เพอ่ื นฝงู รวมถงึ บคุ คลท่ีมารับบริการจากเรา เป็นตน้ การเป็นผู้ให้ นอกเหนอื จากการบรจิ าคเปน็ ทรพั ยส์ นิ หรือสิ่งของแก่ผู้ยากไร้ ผ้ดู ้อยโอกาส แลว้ สามารถใหค้ าแนะนา หรอื ใหก้ าลงั ใจดังกลา่ ว ยังสามารถใหอ้ ภยั ทาน คอื การยกโทษใหก้ ับบุคคล ทีท่ าใหเ้ รารู้สกึ ไม่สบายใจ หรือทาใหเ้ ราไดร้ ับกระทบกระเทอื น ทง้ั ด้านวาจา กาย และใจดว้ ย กกกกกกก3. 3.2 3.2.2 ศลี คอื การต้งั อยใู่ นศีล หมายถงึ มคี วามประพฤตดิ ีงาม เปน็ ตัวอยา่ งทด่ี ีแก่ คนท่ัวไป แนวปฏบิ ัตขิ องพลเมอื งดี ด้วยการประพฤติท่ดี ีงาม ตามหลักศาสนาของตน อย่างนอ้ ยก็ ขอใหเ้ ราได้ปฏิบตั ิตามศีล 5 คอื ไม่ฆ่าสัตว์ตดั ชวี ติ ไมล่ ักขโมยของของผูอ้ ่นื ไม่ ล่วงละเมิดลกู เมียเขา ไม่พูดโกหก หรือพดู สอ่ เสียดยุยง และควรทาตนให้ห่างไกลจากเหลา้ บหุ รี่ หรืออบายมุขต่าง ๆ นอกจากน้ีให้นาศลี 5 ท่ยี ดึ ถือปฏิบตั ิไปควบคมุ พฤตกิ รรมของตนเอง ใหเ้ คารพกฎหมายของบา้ นเมอื ง อย่างเครง่ ครัด กจ็ ะช่วยใหส้ ังคมไทยอยูร่ ่วมกนั ได้อยา่ งมคี วามสุข กกกกกกก3. 3.2 3.2.3 ปริจจาคะ คอื บริจาค หมายถงึ การเสยี สละความสุขสาราญของตนเพ่ือ ประโยชน์สุขของหมู่คณะ แนวปฏบิ ัติของพลเมอื งดี ดว้ ยการ เสยี สละความสุขส่วนตนเพื่อความสขุ หรือประโยชน์ของสว่ นรวม ซึ่งอาจจะเป็นครอบครวั หนว่ ยงาน หรอื เพือ่ นรว่ มงานของเราก็ได้ เช่น ครอบครัว พ่อบ้านเสยี สละความสขุ สว่ นตวั ดว้ ยการเลิกดืม่ เหล้า ทาใหล้ ูกเมยี มีความสุข และเพื่อน บ้านกส็ ุขด้วย เพราะไมต่ ้องฟงั เสียงอาละวาด ดา่ ทอทุบตีกนั หรือบคุ คลอาจจะเสียสละเวลาชว่ งทีต่ ้อง อยูก่ ับครอบครัวในตอนเยน็ อย่ชู ว่ ยเพอื่ นทางาน หรอื ไปเขา้ คา่ ยพัฒนาชนบท อาสาไป ดแู ลเดก็ ใน สถานเลี้ยงเด็กกาพร้าเป็นครงั้ คราว หรอื เสยี สละรา่ งกาย /อวัยวะหลังตายแล้วเพื่อการศกึ ษา เปน็ ตน้ ซงึ่ การเสยี สละดังกล่าวถอื ว่าไดเ้ ป็นการบรจิ าค เสียสละความสุขส่วนตัว เพ่อื ส่วนรวม กกกกกกก3. 3.2 3.2.4 อาชชวะ คือ ความซ่ือตรง หมายถึง มคี วามซ่ือสตั ย์สจุ ริต มคี วามจริงใจ ไม่ กลับกลอก แนวปฏบิ ตั ขิ องพลเมอื งดี ด้วยการ ดาเนนิ ชีวิตและปฏิบตั ภิ ารกิจ /หน้าทก่ี ารงานต่าง ๆ ดว้ ยความซือ่ สตั ยส์ จุ ริต ไม่คดิ คดโกง หรอื หลอกลวงผอู้ ื่น เช่น ถ้าเราขายของ กไ็ มเ่ อาของไม่ดีไป หลอกขายลกู ค้า เปน็ ขา้ ราชการ พนกั งานบริษัท หา้ งรา้ น ก็ไม่คอ รปั ชน่ั ทั้งเวลา ทรัพย์สินของ หน่วยงานตน เพราะถ้าทกุ คนเอาเป รียบหรอื โกงกนิ ขาดความซ่ือสัตย์ สจุ ริต จะทาให้หนว่ ยงาน เสยี หาย เดอื ดร้อน แม้เราจะได้ทรัพย์สนิ ไปมากมาย แตเ่ ราไม่เจริญกา้ วหน้า ถูกคนรมุ ประณาม และ

10 แมค้ นอน่ื จะไม่รู้ แตต่ ัวเราย่อมรูอ้ ยแู่ ก่ใจ จะไม่มีความสุ ขกาย สบายใจ เพราะกลัวคนอ่นื จะมารู้ ความลับตลอดเวลา ผู้ท่ีประพฤติตนดว้ ยความซ่ือตรง แม้ไม่ร่ารวยเงินทอง แตก่ ม็ คี วามสขุ ทั้งกาย ใจได้ กกกกกกก3. 3.2 3.2.5 มัททวะ คอื ความออ่ นโยน หมายถึง มีกริ ยิ าสภุ าพ มสี ัมมาคารวะ วาจา ออ่ นหวาน มีความน่มุ นวล ไมเ่ ย่อหยิง่ ไมห่ ยาบคาย แนวปฏิบัติของพลเมอื งดี ดว้ ยการ ทาตัวสุภาพ นุ่มนวล ไมเ่ ยอ่ หยงิ่ ถือตัว หรือแสดงกิริยาวาจา หยาบคายกบั ใคร ไม่ว่าจะเปน็ ผ้ใู หญ่ ผู้น้อยหรอื เพ่อื น ในระดบั เดียวกัน การทาตวั เป็นผ้ทู ีม่ ีความอ่อนนอ้ มถอ่ มตน จะทาให้ไปที่ไหนคนก็ ให้การต้อนรบั เพราะอยใู่ กลแ้ ล้วสบายใ จ ไม่รอ้ นรุ่ม หากบุคคลแสดงกิ ริยาหยาบคาย ก้าวร้าว คนกถ็ อยหา่ ง ดงั นน้ั หลักธรรมข้อนี้ จงึ เปน็ การสร้างเสน่ห์อยา่ งหนึง่ ใหแ้ ก่ตัวเราดว้ ย กกกกกกก3. 3.2 3.2.6 ตบะ คอื ความเพยี ร หมายถึง การเพียรพยายามไม่ใหค้ วามมวั เมาเข้า ครอบงาจิตใจ ไม่ลุ่มหลงกับอบายมขุ และสงิ่ ชัว่ ร้าย ไมห่ มกม่นุ กับความสุขสาราญ แนวปฏิบัตขิ อง พลเมอื งดี ดว้ ยการ ใหป้ ฏิบตั หิ น้าทีก่ ารงานท่ีรบั ผิดชอบด้วยความมุมานะ อดทน ขยัน มงุ่ มน่ั และทา แตส่ งิ่ ที่ดี ความถกู ต้อง ฝาุ ฟันอุปสรรคต่าง ๆ จนประสบความสาเรจ็ ด้วยความพากเพียรนีจ้ ะทาให้ เราภาคภูมใิ จเมื่องานสาเร็จ และจะทาให้เรามปี ระสบการณ์เก่งกลา้ ขน้ึ นอกจากนี้ ยงั สอนให้เราสู้ชวี ิต ไมย่ อมแพอ้ ะไรงา่ ย ๆ กกกกกกก3. 3.2 3.2.7 อักโกธะ คือ ความไม่โกรธ หมายถึง มจี ติ ใจมนั่ คง มีความสุขมุ เยอื กเย็น อดกลน้ั ไมแ่ สดงความโกรธหรือความไม่พอใจให้ปรากฏ แนวปฏิบัตขิ องพลเมอื งดี ดว้ ย การฝกึ ฝน ควบคมุ อารมณ์ของตนเอง ไมใ่ ห้เป็นคนโมโหงา่ ย และพยายามระงบั ยับย้งั ความโกรธอยู่เสมอ แม้ใน หลาย ๆ สถานการณ์จะทาไดย้ าก แตห่ ากเราสามารถฝกึ ฝน ไมใ่ ห้เปน็ คนโมโหง่าย และพยายามระงบั ยับย้ังความโกรธอยู่เสมอ จะเป็นประโยชนต์ ่อเราหลายอยา่ ง เช่น ทาให้เราสุขภาพจิตดี หน้าตาผ่องใส ข้อสาคญั ทาให้เรารักษามิตรไมตรหี รือสัมพนั ธภาพกับผูอ้ ่นื ไว้ได้ อนั มีผลให้บคุ คลนนั้ เปน็ ท่ีรกั และ เกรงใจของคนที่ตดิ ตอ่ ดว้ ย กกกกกกก3. 3.2 3.2.8 อวิหงิ สา คอื ความไม่เบยี ดเบยี น หมายถึง ไม่กดขขี่ ม่ เหง กลั่นแกลง้ รงั แก คนอน่ื ไมห่ ลงในอานาจ ทาอนั ตรายต่ อร่างกายและทรพั ย์สินผอู้ น่ื ตามอาเภอใจ แนวปฏบิ ัตขิ อง พลเมืองดี ดว้ ยการไม่เบยี ดเบียนหรือบบี คนั้ กดขี่ผอู้ ืน่ รวมไปถึง การไมใ่ ชอ้ านาจไปบังคบั หรอื หาเหตุ กล่ันแกลง้ คนอ่ืนด้วย เช่น ไมไ่ ปข่มเหงรังแกผูด้ ้อยกว่า ไมไ่ ปข่มข่ใู หเ้ ขากลัวเราหรอื ไปบีบบงั คับเอา ของรัก ของหวง มาจากเขา เปน็ ตน้ นอกจากไม่เบยี ดเบยี นคนด้วยกนั แล้ว เรายังไม่ควรเบียดเบียน ธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ้ ม และสัตวอ์ ีกด้วย เพราะมิฉะนน้ั ผลร้ายจะย้อนกลบั มาส่เู รา และสงั คม อยา่ งท่ี เห็นในปจั จุบนั จากภยั ธรรมชาตติ ่าง ๆ กกกกกกก3. 3.2 3.2.9 ขนั ติ คือ ความอดทน หมายถงึ การอดทนต่อสิง่ ทง้ั ปวง สามารถอดทนต่อ งานหนัก ความยากลาบาก ทัง้ อดทน อดกลั้นต่อคาตฉิ ินนนิ ทา แนวปฏิบัติของพลเมอื งดี ดว้ ยการ ให้ เราอดทนต่อความยากลาบากทกุ สถานการณ์ ไม่ทอ้ ถอย และไม่หมดกาลงั กาย กาลังใจท่ีจะดาเนิน ชวี ิต และทาหนา้ ท่กี ารงานต่อไปจนสาเร็จ รวมทง้ั อดทนต่อการไม่ได้รับความสุขสาราญ ไมไ่ ดร้ ับความ สะดวก สบาย ความอดทนจะทาให้เราชนะอปุ สรรคท้งั ปวงไม่ว่าเล็กหรือใหญ่ และจะทาให้เราแกรง่ ขน้ึ เข้มแขง็ ขึน้

11 กกกกกกก3. 3.2 3.2.10 อวโิ รธนะ คือ ความเท่ยี งธรรม หมายถงึ ไมป่ ระพฤตผิ ดิ ประพฤติปฏบิ ตั ิ ตนอยู่ในความดีงาม ไมห่ วัน่ ไหวในเร่ื องดเี ร่ืองร้าย แนวปฏบิ ตั ิของพลเมอื งดี ดว้ ยการควรกระทา การงานหรอื ดาเนินชีวิตท่ถี กู ต้อง และให้ความเปน็ ธรรมกบั บุคคลที่เก่ยี วขอ้ ง ด้วยความยุติธรรม และ เท่ยี งธรรม กกกกกกก4. หัวเร่ืองท่ี 4 หนา้ ท่พี ลเมอื งตามรอยพระยุคลบาทรชั กาลที่ 9 ตามพระราชดารสั กกกกกกก4. 4.1 หนา้ ที่พลเมืองตามพระราชดารัส ความสุขในการดาเนินชวี ิต กกกกกกก4. 4.1 4.1.1 สขุ กาย จะเกดิ ขึ้นได้ พลเมืองตอ้ งมสี ภาวะร่างกายท่ีมีความสมบรู ณ์ แข็งแรง เจรญิ เตบิ โตอย่างปกติ มคี วามต้านทานโรคได้ดี ปราศจากโรคภยั ไข้เจ็บ รวมถึงดูแล สขุ ภาพจิต ด้านการแสวงหาความรู้ใหม้ ีปัญญารูเ้ ทา่ ทนั จะทาให้จติ ใจดี ควบคุมจติ ได้ นอกจากนต้ี ้อง แสวงหาความรู้ท่ที าใหเ้ ข้าใจ สบายใจ หรือรูเ้ ท่าทันการเปล่ยี นแปลง เพอ่ื ใหส้ ามารถดาเนนิ ชวี ติ ได้ อย่างปกติ รวมถึงทางานได้ดว้ ย กกกกกกก4. 4.1 4.1.2 สขุ ใจ จะเกดิ ขนึ้ ได้ พลเมืองต้องมสี ภาวะของจติ ใจท่ีมีความสดชื่นแจม่ ใส สามารถควบคุมอารมณ์ให้มัน่ คง ปรับตัวให้เขา้ กับการเปลย่ี นแปลงทางสงั คมและสง่ิ แวดล้อมไดเ้ ป็น อย่างดี จากการทบ่ี ุคคลนน้ั ใชค้ วามรู้ท่มี อี ยูป่ ระกอบกบั มสี ัมพนั ธภาพกบั บุคคลอน่ื อนั ดี และมรี า่ งกาย ทแ่ี ข็งแรงจึงจะทาให้มคี วามสขุ ใจได้ กกกกกกก4. 4.1 4.1.3 สขุ ในการอยรู่ ่วมกัน จะเกดิ ข้นึ ไดพ้ ลเมืองตอ้ งมี ความรกั ความสามคั คี ความปรองดอง และความสงบสขุ ในสังคม ทีเ่ กดิ จากทุกคนได้รับความยตุ ธิ รรม กกกกกกก4. 4.2 หนา้ ทีพ่ ลเมอื งตามพระราชดารสั เกี่ยวกับเด็ก นกั เรยี นและเยาวชน และนักศกึ ษา กกกกกกก4. 4.2 4.2.1 วยั เด็ก และการปลูกฝงั คุณธรรม จะเกิดข้ึนได้ จากการอบรมเลยี้ งดสู ่งั สอน ขัดเกลาของทุกฝุายทัง้ ครอบครัวและโรงเรียน ใหเ้ ห็นคณุ คา่ ของความดี ความสจุ รติ มคี วามประพฤติ เรียบร้อย มีเหตุผลหรือสติปญั ญานน้ั เอง โดยการเป็นแบบอย่างทด่ี ี เพ่อื ให้เดก็ เห็นเป็นตัวอยา่ ง และ ยดึ เปน็ แบบอย่างใหไ้ ด้ กกกกกกก4. 4.2 4.2.2 นกั เรียน และเยาวชนต้องไดร้ ับการปลูกฝังถา่ ยทอดความรทู้ แ่ี ทจ้ ริง เพอื่ ให้ สามารถร้เู ทา่ ทนั ฉลาดและคิดสร้างสรรค์ ทาประโยชน์ใหก้ บั ตนเองและสว่ นรวม กกกกกกก4. 4.2 4.2.3 นักศึกษาเปน็ ผทู้ ม่ี ีความพร้อมทั้งวัยวุฒิและคุณวฒุ ิ ฉะนนั้ จงึ ตอ้ งมีความเพยี ร ความอดทน มสี ติปญั ญา รู้จกั ใช้เหตุผล และเลือกส่ิงท่ีดีงามมาประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ของตนเอง กกกกกกก4. 4.2 4.2.4 วยั ทางาน และการศึกษา กกกกกกก4. 4.2 4.2.4 1) วัยทางาน ย่อมเจอปัญหาและอุปสรรคเสมอ เมือ่ เจอปัญหาใหห้ าทางแก้ไข ถ้าแกค้ นเดียวไมไ่ ดก้ ใ็ หค้ นท่เี ก่ยี วขอ้ งช่วยกันคดิ หาทางแกไ้ ข กกกกกกก4. 4.2 4.2.4 2) การศกึ ษา สรา้ งคนใหม้ ีความรู้ ความสามารถ เปน็ พนื้ ฐานทจ่ี าเปน็ ใน การพฒั นาตนเองและประเทศชาติ กกกกกกก4. 4.2 4.2.5 หนา้ ที่ และความรบั ผดิ ชอบตอ่ บ้านเมอื งของคนในชาติตอ้ งมคี วามรกั ความสามคั คี มีเหตผุ ล มีความรู้ ชว่ ยกนั สรา้ งความเจรญิ ปลูกฝงั ความดีงามให้กบั จิตใจของคนในชาติ รวมถงึ รกั ษาวฒั นธรรมประเพณที ่เี ปน็ แบบแผนของไทยให้คงอยตู่ ลอดไป

12 กกกกกกก4. 4.3 หน้าทีพ่ ลเมืองตามพระราชดารสั ท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง กกกกกกก4. 4.3 4.3.1 ความพอประมาณ จะเกดิ ขึ้นได้ โดยรจู้ ักตนเอง มีความซ่ือสัตยแ์ ละความ เพียร เดินทางสายกลาง และพอใจในสง่ิ ท่ีตนมีอยู่ กกกกกกก4. 4.3 4.3.2 ความมเี หตผุ ล ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมุง่ สอนใหพ้ ลเมือง ไทย มคี วามคิดอย่างรอบคอบ โดยพจิ ารณาจากปัจจยั ที่เกย่ี วข้องและคานงึ ถงึ ผลทจ่ี ะเกดิ ขึ้นจากการ กระทานัน้ กกกกกกก4. 4.3 4.3.3 ความมีภมู ิคมุ้ กนั คอื เป็นการเตรียมตวั ใหพ้ รอ้ มตอ่ การเปล่ียนแปลงในทกุ ดา้ นด้วยการวิเคราะห์ความเสยี่ ง ใชป้ ระสบการณเ์ ดิมมาชว่ ยตัดสินใจ และรวบรวมมาใช้ในโอกาส ต่อไป กกกกกกก4. 4.3 4.3.4 เงือ่ นไขความรู้ กกกกกกก4. 4.3 4.3.4 1) ความรู้ มหี ลายประเภท ไดแ้ ก่ ความรทู้ ่เี กีย่ วขอ้ งกับการดาเนนิ ชวี ิต การประกอบอาชีพ การศึกษา รวมถึงความรทู้ เ่ี กี่ยวขอ้ งกบั การพฒั นาจติ ใจ ทาใหบ้ คุ คลมคี วาม เจรญิ ก้าวหน้าได้ กกกกกกก4. 4.3 4.3.4 2) หลกั วิชา คอื เนอ้ื หาความรู้ และหลกั วิชาการ คือ นาความรมู้ าจดั กระบวนการเรียนรู้ กกกกกกก4. 4.3 4.3.4 3) รอบรู้ รอบคอบ และระมัดระวัง เปน็ การศึกษาหาขอ้ มลู ก่อนการ ปฏิบตั โิ ดยคานงึ ผลท่ีจะตามมาอย่างรอบคอบ และระมดั ระวัง กกกกกกก4. 4.3 4.3.5 เงื่อนไขคุณธรรม แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ คุณธรรมและหนา้ ที่ กกกกกกก4. 4.3 4.3.5 1) คณุ ธรรม กกกกกกก4. 4.3 4.3.5 1) (1) ความซือ่ สัตยส์ จุ รติ เป็นพ้นื ฐานของความดีทกุ อยา่ ง กกกกกกก4. 4.3 4.3.5 1) (2) ความเพยี ร พากเพยี ร และอดทน จะเกดิ ข้นึ ไดจ้ ากการฝึกฝนจน เกิดเป็นนิสัย และกระตุ้นใหเ้ กดิ การทางานอยา่ งจรงิ จงั จนสาเรจ็ กกกกกกก4. 4.3 4.3.5 1) (3) สติ และปัญญา เปน็ ความสามารถในตัวบคุ คล ท่จี ะทราบได้จาก พฤตกิ รรมทีบ่ ุคคลแสดงออก ระดบั ของสตปิ ัญญาสังเกตไดจ้ ากการแสดงออกท่มี คี วามคลอ่ งแคลว่ รวดเรว็ ความถกู ต้อง ความสามารถในการคิด การแกป้ ัญหาและการปรบั ตัว การใช้แบบทดสอบวัด สติปัญญาจะทาใหท้ ราบระดบั สติปัญญาชัดเจนขึ้น กกกกกกก4. 4.3 4.3.5 1) (4) ไมเ่ บยี ดเบยี น มเี มตตา จะเกิดขึ้นได้ โดยการปลูกฝงั คุณธรรมจาก ครอบครวั และสง่ิ แวดล้อม กกกกกกก4. 4.3 4.3.5 1) (5) ตง้ั ใจดี คิดดี และทาดี หากคิดดกี จ็ ะมีความรสู้ กึ ทดี่ ี เมอ่ื มี ความรสู้ ึกท่ีดกี จ็ ะมีคาพูดทด่ี ี สง่ ผลให้มีการกระทาทด่ี ดี ้วย กกกกกกก4. 4.3 4.3.5 1) (6) ความรับผิดชอบ รบั ผิด และรบั ชอบ จะแสดงถงึ ความเอาใจใส่ มุง่ ม่ันต่อภารกิจทท่ี า ทุกคนตอ้ งมคี วาม รบั ผิดชอบตอ่ หนา้ ที่การงาน การศึกษา อื่น ๆ อยา่ งเตม็ ความสามารถเพ่ือให้บรรลุผลสาเร็จตามจุดมงุ่ หมาย และยอมรบั ผลการกระทาทีจ่ ะเกดิ ข้นึ

13 กกกกกกก4. 4.3 4.3.5 2) หน้าที่ กกกกกกก4. 4.3 4.3.5 2) (1) ประโยชนส์ ว่ นรวม ประโยชนส์ ว่ นตน และเสยี สละ การทา ประโยชน์ ใหส้ ว่ นรวม เสยี สละเพื่อให้ประเทศชาตมิ คี วามเจริญซึ่งเป็นความรับผิดชอบของทกุ คน และไม่เห็นแกป่ ระโยชนส์ ่วนตน กกกกกกก4. 4.3 4.3.5 2) (2) ความสามัคคี รว่ มมอื ปรองดอง เกิดจากความร่วมมอื ร่วมใจเป็น อนั หนึง่ อันเดียวกนั คณุ ธรรมนีน้ ับว่าสาคญั มากในหมคู่ ณะ เปน็ คุณธรรมที่กอ่ ให้เกิดความสุขอยา่ งยง่ิ แกห่ มู่คณะ กกกกกกก4. 4.3 4.3.5 2) (3) ความสขุ ความเจริญ เกดิ ขนึ้ จาก บุคคลท้ังหมดมเี จตนากระทา เพื่อใหม้ คี วามสุข ความเจรญิ จะต้องไม่เบียดเบียน หรือแกง่ แย่งผูอ้ ่ืนมา กกกกกกก5. หัวเรื่องท่ี 5 หนา้ ท่ีพลเมืองตามรอยพระยคุ ลบาทรัชกาลท่ี 9 ตามหลกั การทรงงาน กกกกกกก5. 5.1 หลักการทรงงาน หมายถึง การปฏบิ ตั ิหน้าท่ี หรอื ภารกจิ หรอื กิจกรรมของ พระมหากษตั ริย์ ทรงยดึ การดาเนินงานในลกั ษณะทางสายกลางท่ีสอดคล้องกับสง่ิ ที่อยรู่ อบตวั และ สามารถปฏบิ ตั ไิ ด้จริง ทรงมคี วามละเอยี ดรอบคอบและทรงคิดคน้ แนวทางพฒั นา เพือ่ มงุ่ สปู่ ระโยชน์ ตอ่ ประชาชนสูงสดุ มี 23 ข้อ ไดแ้ ก่ (1) ศึกษาขอ้ มูลอยา่ งเป็นระบบ (2) ระเบิดจากข้างใน (3) แก้ ปัญหาทจี่ ุดเล็ก (4) ทาตามลาดับข้นั (5) ภูมิสังคม (6) องค์รวม (7) ไม่ตดิ ตารา (8) ประหยัด เรียบง่าย ไดป้ ระโยชนส์ ูงสุด (9) ทาให้ง่าย (10) การมสี ่วนรว่ ม (11) ประโยชนส์ ว่ นรวม (12) บรกิ ารรวมท่ีจดุ เดียว (13) ใชธ้ รรมชาติ ชว่ ยธรรมชาติ (14) ใชอ้ ธรรมปราบอธรรม (15) ปลกู ปาุ ในใจคน (16) ขาดทุน คือกาไร (17) การพ่ึงตนเอง (18) พออย่พู อกนิ (19) เศรษฐกิจพอเพยี ง (20) ความซื่อสัตย์สุจริต จรงิ ใจต่อกนั (21) ทางานอยา่ งมีความสุข (22) ความเพียร และ (23) รู้ รกั สามคั คี กกกกกกก5. 5.2 หนา้ ทีพ่ ลเมอื งตามรอยพระยคุ ลบาทรชั กาลท่ี 9 ตามหลักการทรงงาน ทีเ่ ก่ียวข้อง กับคุณธรรมของการเปน็ พลเมอื งดี มี 9 ขอ้ ไดแ้ ก่ (1) การมีสว่ นร่วม มสี ว่ นรว่ มและคิดถึงส่วนรวม (2) ต้องยดึ ประโยชนส์ ่วนรวม (3) บรกิ ารจุดเดียว (4) ขาดทนุ คอื กาไร (5) การพึง่ ตนเอง (6) ความ ซ่ือสตั ยส์ ุจริต จรงิ ใจต่อกัน (7) ทางานอย่างมคี วามสุข (8) ความเพียร และ (9) รู้ รัก สามัคคี กกกกกกก6. หวั เร่อื งท่ี 6 หนา้ ท่ีพลเมืองตามรอยพระยุคลบาทรชั กาลที่ 9 ตามพระราชจรยิ วตั ร และพระราชกรณียกิจ กกกกกกก6. 6.1 หน้าที่พลเมืองตามรอยพระยคุ ลบาทรัชกาลที่ 9 ตามพระราชจรยิ วัตร ได้แก่ กกกกกกก6. 6.1 6.1.1 ครอบครวั กกกกกกก6. 6.1 6.1.1 1) ในฐานะบตุ ร ควรเชื่อฟังคาส่งั สอนของบิดามารดาโดยเฉพาะในเรอ่ื ง ของความรับผิดชอบ ควรมกี ารนาไปปฏิบัติอยา่ งเคร่งครัด นอกจากน้ใี นฐานะบุตรตอ้ งมีความกตญั ญู ต่อบดิ ามารดา และควรแสดงความรักเคารพต่อบดิ ามารดาอย่างสมา่ เสมอ กกกกกกก6. 6.1 6.1.1 2) ในฐานะพอ่ ต้องอบรมสง่ั สอนบตุ รให้เป็นคนดี มีความเสียสละ รบั ผดิ ชอบหนา้ ท่ที ่ีตอ้ งปฏบิ ัติใหด้ ี โดยเฉพาะในวัยเยาว์ต้ องตง้ั ใจศกึ ษาเล่าเรียนและทางานท่พี ่อแม่ หรอื ครูมอบหมายให้ทาเป็นอยา่ งดี นอกจากนี้พ่อแม่ต้องส่งเสรมิ ใหบ้ ตุ รไดอ้ อกกาลงั กาย เพ่อื ให้ รา่ งกายแขง็ แรง ใช้เวลาวา่ งให้เป็นประโยชน์ รวมถงึ แนะนาสง่ เสริมให้บุตรไดเ้ รยี นรู้ ศลิ ปะ ดนตรี เพ่อื ขดั เกลาจิตใจใหอ้ อ่ นโยน

14 กกกกกกก6. 6.1 6.1.1 3) ในฐานะสามี ต้องเป็นสภุ าพบรุ ษุ ต้องให้เกียรติสุภาพสตรี ดแู ลคู่ครอง ดว้ ยความรกั ให้เกียรติกนั และกัน เมอื่ พบปญั หาตอ้ งรว่ มกนั ตดั สินใจแกไ้ ขปัญหาอยา่ งตงั้ ม่นั ในความ ซื่อสตั ยส์ ุจริตและความปรารถนาดี กกกกกกก6. 6.1 6.1.1 4) ในฐานะผนู้ าครอบครวั ตอ้ งเปน็ แบบอยา่ งในการปฏิบตั ิดี ปฏบิ ัติชอบ ใหบ้ ุตรได้เห็นและทาตาม รวมถึงสงั่ สอนให้บุตรทางานทีเ่ ปน็ บทบาทของตวั เองให้ดที ส่ี ดุ กกกกกกก6. 6.1 6.1.2 ความอ่อนน้อมถ่อมตวั ได้แก่ กกกกกกก6. 6.1 6.1.2 1) กบั ประชาชนท่ัวไป ควรให้การเคารพอ่อนน้อมถอ่ มตวั กบั ผทู้ ม่ี อี าวุโส กวา่ และแสดงความสภุ าพออ่ นโยนกับผทู้ ี่มอี าวุโสเทา่ กัน หรอื นอ้ ยกว่า กกกกกกก6. 6.1 6.1.2 2) กับพระสงฆ์ เมอ่ื พบพระสงฆ์ควรยกมอื ไหว้ เพอื่ แสดงความเคารพ ใน ฐานะทพ่ี ระสงฆ์เป็นผสู้ บื ทอดพระพทุ ธศาสนาให้คงอยคู่ กู่ ับคนไทย กกกกกกก6. 6.1 6.1.2 3) กับญาติพ่ีนอ้ ง ต้องดแู ลญาตพิ นี่ ้อง และให้ความเคารพญาติผูท้ ีม่ อี าวโุ ส กว่าดว้ ยความออ่ นน้อมถ่อมตวั และผู้ท่ีมีอาวุโสเท่ากนั หรือนอ้ ยกว่ากแ็ สดงความสุภาพออ่ นโยน กกกกกกก6. 6.2 หน้าทพี่ ลเมืองตามรอยพระยคุ ลบาทรชั กาลท่ี 9 ตามพระราชกรณยี กิจ กกกกกกก6. 6.2 6.2.1 โรงเรยี น ถา้ พลเมืองมีฐานะหรือมีเงินเหลือเกบ็ กส็ ามารถสงเคราะหเ์ งิน ดังกลา่ ว สนบั สนนุ กิจกรรมการศกึ ษาของโรงเรยี น หรอื สถาบันการศกึ ษาในชุมชนทีต่ ัวเองเปน็ สมาชกิ อยู่ ในกรณีทไี่ มม่ เี งนิ สามารถชว่ ยเหลอื ดา้ นแรงกายกับภารกจิ ที่โรงเรยี นต้องการใหช้ ่วยเหลอื กไ็ ด้ กกกกกกก6. 6.2 6.2.2 ทอ้ งถนิ่ ต้องมสี ่วนร่วมในการพัฒนาทอ้ งถน่ิ ของตัวเองทุกด้าน ท้ังด้าน แรงกายหรือเงนิ ตามโอกาสอันควร กกกกกกก6. 6.2 6.2.3 ประเทศ พระราชกรณยี กิจของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพล อดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั การพฒั นาระดับประเทศ ได้แก่ ศูนยศ์ ึกษาการพัฒนาอนั เน่อื ง มาจากพระราชดาริ จานวน 6 แหง่ คอื (1) ศนู ยศ์ กึ ษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเน่ืองมาจาก พระราชดารจิ ังหวัดเชยี งใหม่ ตัง้ อย่ใู นภาคเหนอื (2) ศูนยศ์ ึกษาการพัฒนาภพู านอันเนือ่ งมาจาก พระราชดาริจงั หวดั สกลนคร ต้ังอยใู่ นภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ (3) ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซอ้ น อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริจงั หวัดฉะเชงิ เทรา ต้งั อยู่ในภาคตะวันออก (4) ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นา อา่ วคุ้งกระเบนอนั เน่ืองมาจากพระราชดารจิ ังหวดั จันทบรุ ี ตั้งอยู่ในภาคตะวนั ออก (5) ศูนย์ศกึ ษา การพัฒนาห้วยทรายอันเน่อื งมาจากพระราชดารจิ งั หวัดเพชรบรุ ี ตงั้ อยใู่ นภาคตะวันตก และ (6) ศนู ย์ ศกึ ษาการพฒั นาพิกุลทองอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดารจิ งั หวดั นราธิวาส ต้ังอยใู่ นภาคใต้ กกกกกกก7. หวั เรอ่ื งท่ี 7 การประยุกตใ์ ช้หนา้ ทีพ่ ลเมืองตามรอยพระยคุ ลบาทรชั กาลที่ 9 ในชวี ติ ประจาวนั กกกกกกก7. 7.1 การน้อมนาทศพธิ ราชธรรมไปใช้ในชีวิตประจาวัน สามารถใช้กบั ครอบครัว ท่ี ประกอบด้วย หวั หนา้ ครอบครวั สมาชิกในครอบครวั และเครือญาติ การศกึ ษา ประกอบดว้ ย เพ่อื น ผูเ้ รยี น หรือนักศึกษา และครบู าอาจารย์ การประกอบอาชีพการงาน ประกอบด้วย เพ่อื นร่วมอาชพี และนายจา้ งหรือผูบ้ ังคบั บญั ชา และการพัฒนาชมุ ชน ทอ้ งถนิ่ และสงั คม ประกอบด้วย สมาชกิ ใน ชุมชน และผูน้ า ได้เปน็ อย่างดี คอื ทาน ด้วยการให้บรจิ าคส่ิงของ ทรพั ย์ หรือแรง กาย ช่วยเหลอื กจิ กรรม หรือภารกจิ ทเี่ กยี่ วข้อง ให้คาแนะนา หรือความรู้ท่เี กีย่ วข้อง และให้อภัยเมอ่ื ได้รับความร้สู กึ หรือการกระทาทีไ่ ม่ถูกตอ้ งกับตนเอง ศลี คือ การละเวน้ ในส่ิงที่เปน็ ข้อห้าม ของศลี 5 ใหป้ ระพฤตใิ น

15 สิง่ ท่ดี งี าม ปริจจาคะ คอื การเสยี สละ ส่วนทีเ่ กย่ี วขอ้ งกับตนเองเพื่อประโยชน์ของสว่ นรวม อาชชวะ คอื ความซ่อื ตรง ให้ปฏบิ ัติงานหรือภารกิจท่เี กีย่ วขอ้ งท้ังต่อหน้าและลบั หลัง ด้ว ยความซอ่ื สตั ย์สุจริต มัททวะ คือ ความออ่ นโยน ใหค้ านงึ ถึงอายุ ถา้ เปน็ ผอู้ าวโุ สต้องปฏิบตั ดิ ้วยความอ่อนนอ้ มถอ่ มตวั ให้การเคารพ ส่วนผู้ทีม่ ีอายุเสมอกนั หรอื ออ่ นกว่าใหป้ ฏบิ ัติดว้ ยความสุภาพอ่อนโยน ตบะ คือ ความ เพียร ความอดทน ใหป้ ฏบิ ัติภารกจิ ดว้ ยความขยัน มงุ่ มั่ น อดทน ต้งั ใจใหส้ าเร็จลุลว่ ง อกั โกธะ คือ ความไมโ่ กรธ ตอ้ งควบคมุ อารมณ์ ของตนเองใหส้ งบ มีสตติ ลอดเวลา เพอ่ื แสดงออก ถงึ พฤติกรรม ท่เี หมาะสมกบั กาลเทศะทุกสถานการณ์ อวิหงิ สา คือ ความไม่เบยี ดเบยี น ไมเ่ อารัดเอาเปรียบ ดว้ ยการไมเ่ อาทรัพยส์ นิ หรือส่ิงของสว่ นรว มหรือของผ้อู น่ื มาใช้เพือ่ ส่วนตน ไม่พูดจา หรอื มกี ิรยิ า สอ่ เสียด กริ ิยาสอ่ เสยี ด เบียดเบยี นผูอ้ ืน่ ทงั้ ทางกาย วาจา และใจ ขันติ คือ ความอดทน ต้องมคี วาม อดทนในภารกิจที่มอบหมาย หรืออดทนต่อสถานการณ์ท่ีไม่พึงประสงค์ ไมย่ ่อท้อ ไมท่ อ้ ถอย และ อวโิ รธนะ คอื ความเท่ียงธ รรม ให้วางตวั เป็นกลาง ไม่เอนเอยี งไปทีบ่ ุคคลใดหรอื กลุ่มใดกล่มุ หนึ่ง ไม่ หว่นั ไหว ไปกับคาพดู การกระทา ให้มีความยตุ ิธรรม เท่ียงตรง กกกกกกก7. 7.2 การนอ้ มนาพระราชดารสั ไปใช้ในชวี ติ ประจาวัน ครอบครวั ต้องให้ความสาคญั กบั การอบรมเล้ยี งดบู ตุ รหลานให้เป็นคนดี มีคุณธรรม มีสตปิ ัญญาเฉลยี วฉลาด และมีเหตุมผี ล การศกึ ษา ตอ้ งอบรม นกั เรียน นักศึกษา และบัณฑติ ทีเ่ พง่ิ จบหรือศิษย์เก่าทจี่ บไปนานแล้วใหม้ ีความรู้วชิ าการ และคณุ ธรรม การประกอบอาชีพ การงาน ทกุ อาชพี ต้องเน้นการพัฒนาอาชพี ตง้ั ใจ ศึกษาพัฒนา อาชพี ประกอบอาชพี ดว้ ยความรู้ ความสาม ารถ ประกอบอาชีพดว้ ยความพอเพยี ง ประหยดั พงึ่ ตนเอง รอบคอบ ค่อย ๆ พฒั นาตามลาดบั เพื่อปูองกนั ความผดิ พลาด ใชข้ อ้ มูลหรือสอื่ สารท่ีเป็น ประโยชน์ และตอ้ งมีคณุ ธรรมในอาชีพของตนเอง และ การพัฒนาชมุ ชน ท้องถนิ่ และสงั คม ตอ้ งมี วชิ าการและ ผู้ปฏิบัติร่วมมอื กนั พฒั นาดว้ ยดี ต้องพฒั นาใหส้ อดคลอ้ งกับบรบิ ทแต่ละพนื้ ที่ เนน้ ความ เขม้ แข็งของชุมชน ทอ้ งถ่นิ ดว้ ยการอาศยั การแลกเปลยี่ นเรยี นร้กู ับบคุ คล หรือองคก์ รภายนอกชุมชน เขา้ มามสี ่วนรว่ มพฒั นาด้วยความรกั ความสามัคคี กระบวนการพฒั นาต้องเปน็ ลาดับขน้ั ตอน ประหยดั ถูกหลกั วชิ า เพ่ือปูองกนั ความล้มเหลวจากการพฒั นา กกกกกกก7. 7.3 การน้อมนาหลักการทรงงานไปใช้ในชีวิตประจาวนั ครอบครัว ใชไ้ ด้ 10 ขอ้ คอื (1) การมสี ่วนรว่ ม (2) ประโยชน์ส่วนรวม (3) ขาดทุนคอื กาไร (4) การพึง่ ตนเอง (5) พออยูพ่ อกิน (6) เศรษฐกิจพอเพียง (7) ความซื่อสัตย์ สุจริต จริงใจต่อกนั (8) ทางานอยา่ งมีความสขุ (9) ความเพยี ร และ (10) รู้ รกั สามัคคี การศึกษา ใช้ได้ 21 ข้อ คือ (1) ศกึ ษาขอ้ มลู อยา่ งเปน็ ระบบ (2) ระเบิด จากข้างใน (3) แกป้ ัญหาที่จุดเลก็ (4) ทาตามลาดับขั้น (5) ภูมิสังคม (6) องค์รวม (7) ไม่ตดิ ตารา (8) ประหยดั เรยี บงา่ ย ไดป้ ระโยชนส์ ูงสดุ (9) ทาให้งา่ ย (10) การมสี ่วนร่วม (11) ประโยชน์สว่ นรวม (12) บรกิ ารรวมที่จุดเดยี ว (13) ปลกู ปาุ ในใจคน (14) ขาดทนุ คอื กาไร (15) การพงึ่ ตนเอง (16) พออยู่ พอกนิ (17) เศรษฐกิจพอเพียง (18) ความซื่อสัตย์ สจุ รติ จริงใจต่อกัน (19) ทางานอยา่ งมีความสุข (20) ความเพยี ร และ (21) รู้ รกั สามัคคี การประกอบอาชีพการงาน ใช้ได้ 22 ขอ้ (1) ศกึ ษาขอ้ มลู อย่างเป็นระบบ (2) ระเบดิ จากขา้ งใน (3) แก้ปญั หาท่ีจดุ เลก็ (4) ทาตามลาดบั ขัน้ (5) ภูมิสงั คม (6) องคร์ วม (7) ไมต่ ิดตารา (8) ประหยัด เรยี บง่าย ได้ประโยชนส์ งู สดุ (9) ทาใหง้ า่ ย(10) การมีส่วนร่วม (11) ประโยชน์ส่วนรวม (12) บริการรวมทีจ่ ดุ เดยี ว (13) ใชธ้ รรมชาติ ชว่ ยธรรมชาติ (14 ) ปลกู ปาุ ในใจคน (15) ขาดทนุ คอื กาไร (16) การพงึ่ ตนเอง (17) พออยูพ่ อกนิ (18) เศรษฐกิจพอเพยี ง

16 (19) ความซอ่ื สัตย์ สจุ รติ จรงิ ใจตอ่ กนั (20) ทางานอยา่ งมคี วามสุข (21) ความเพียร และ (22) รู้ รัก สามัคคี และ การพฒั นาชุมชนท้องถ่นิ และสังคม สามารถใชห้ ลกั การทรงงาน ใชไ้ ด้ 23 ข้อ คือ (1) ศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ (2) ระเบดิ จากขา้ งใน (3) แก้ปญั หาที่จุดเลก็ (4) ทาตามลาดบั ขนั้ (5) ภูมิสงั คม (6) องคร์ วม (7) ไมต่ ดิ ตารา (8) ประหยดั เรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด (9) ทาให้ง่าย (10) การมสี ่วนร่วม (11) ประโยชนส์ ว่ นรวม (12) บริการรวมทจ่ี ุดเดียว (13) ใชธ้ รรมชาติ ช่วยธรรมชาติ (14) ใชอ้ ธรรมปราบอธรรม (15) ปลูกปาุ ในใจคน (16) ขาดทุนคือกาไร (17) การพง่ึ ตนเอ(ง18) พออยู่ พอกนิ (19) เศรษฐกจิ พอเพยี ง (20) ความซอ่ื สตั ย์ สุจริต จริงใจตอ่ กัน (21) ทางานอยา่ งมีความสขุ (22) ความเพยี ร และ ( 23) รู้ รัก สามัคคี มาใชใ้ นการพฒั นาชุมชน ทอ้ งถิ่น และสังคม ให้เจรญิ ก้าวหน้าได้ ผลการเรียนรทู้ ค่ี าดหวัง กกกกกกก1. บอกความรู้พน้ื ฐานเก่ยี วกับหน้าทพ่ี ลเมืองและความหมายของหนา้ ทพ่ี ลเมอื งตามรอย พระยคุ ลบาทรชั กาลที่ 9 ได้ กกกกกกก2. ตระหนกั ถงึ ความสาคญั ของหนา้ ท่ีพลเมืองและความสาคัญของหนา้ ทพี่ ลเมอื งตามรอย พระยคุ ลบาทรชั กาลที่ 9 กกกกกกก3. วิเคราะหห์ นา้ ที่พลเมืองตามรอยพระยุคลบาทรัชกาลท่ี 9 ดว้ ยทศพิธราชธรรม และ ตามพระราชดารัส ในสถานการณท์ ีก่ าหนดให้ได้ กกกกกกก4. ตระหนักถงึ ความสาคัญของหนา้ ทพ่ี ลเมืองตามรอยพระยคุ ลบาทรชั กาลที่ 9 ดว้ ย ทศพิธราชธรรม และตามพระราชดารสั กกกกกกก5. สามารถประยุกต์ใช้หนา้ ทีพ่ ลเมอื งตามรอยพระยคุ ลบาทรัชกาลท่ี 9 ดว้ ย ทศพิธราชธรรม และตามพระราชดารัส ในชีวติ ประจาวนั ได้ กกกกกกก6. ตระหนกั ถงึ ความสาคัญ เหน็ คุณค่าของการประยุกตใ์ ช้หน้าที่พลเมอื ตงามรอยพระยุคลบาท รชั กาลท่ี 9 ในชวี ติ ประจาวัน ขอบข่ายเน้ือหา กกกกกกกขอบข่ายเน้ือหาหลกั สตู รวชิ า สค23088 หน้าทีพ่ ลเมอื งตามรอยพระยคุ ลบาทรัชกาลที่เกา้ 2 มี จานวน 120 ช่ัวโมง ดังนี้

17 หวั เรอ่ื งที่ 1 ความรูพ้ ้ืนฐานเกยี่ วกับหน้าท่พี ลเมอื ง จานวน 10 ชั่วโมง หัวเรอื่ งท่ี 2 2 ชวั่ โมง หวั เรือ่ งท่ี 3 ความหมายและความสาคัญของหน้าที่พลเมอื ง 8 ชั่วโมง หัวเรื่องที่ 4 30 ชั่วโมง หัวเรอ่ื งที่ 5 ตามรอยพระยุคลบาทรชั กาลท่ี 9 จานวน 10 ชว่ั โมง หัวเร่ืองที่ 6 30 ชว่ั โมง หวั เรื่องท่ี 7 หนา้ ทพ่ี ลเมอื งตามรอยพระยคุ ลบาทรชั กาลที่ 9 30 ชั่วโมง ดว้ ยทศพธิ ราชธรรม จานวน หน้าทพ่ี ลเมอื งตามรอยพระยุคลบาทรัชกาลที่ 9 ตามพระราชดารัส จานวน หน้าทพี่ ลเมอื งตามรอยพระยคุ ลบาทรัชกาลที่ 9 ตามหลักการทรงงาน จานวน หน้าทพ่ี ลเมอื งตามรอยพระยุคลบาทรชั กาลที่ 9 ตามพระราชจรยิ วัตร และพระราชกรณียกิจ จานวน การประยุกต์ใช้หน้าที่พลเมืองตามรอยพระยคุ ลบาท รัชกาลที่ 9 ในชีวติ ประจาวัน จานวน การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ กกกกกกก1. บรรยาย กกกกกกก2. กาหนดประเดน็ การศกึ ษาคน้ ควา้ รว่ มกนั จากสื่อการเรียนรู้ทหี่ ลากหลาย กกกกกกก3. บันทกึ ผลการศกึ ษาคน้ คว้าลงในเอกสารการเรียนรดู้ ้วยตนเอง (กรต.) กกกกกกก4. พบกล่มุ กกกกกกก5. อภิปรายแลกเปลยี่ นเรียนรู้ กกกกกกก6. วเิ คราะห์ขอ้ มลู ทีไ่ ด้ และสรุปการเรียนรู้รว่ มกนั บนั ทกึ สรปุ การเรยี นรูใ้ นเอกสารการ เรียนรดู้ ว้ ยตนเอง (กรต.) กกกกกกก7. นาสรุปผลการเรียนรู้ที่ไดไ้ ปประยกุ ต์ใชจ้ ริงในชีวิตประจาวัน กกกกกกก8. เขยี นเอกสารรายงานผลการปฏิบตั หิ น้าที่พลเมืองตามรอยพระยคุ ลบาทรัชกาลที่ 9 จริง ดว้ ยทศพิธราชธรรม ตามพระราชดารสั และตามหลกั การทรงงาน สื่อและแหลง่ เรียนรู้ กกกกกกก1. สือ่ เอกสาร ไดแ้ ก่ (1) ใบความรู้ (2) ใบงาน (3) หนงั สือทีเ่ กย่ี วขอ้ ง ได้แก่ หนา้ ทีพ่ ลเมอื ง ทศพิธราชธรรม ตามรอยพระยคุ ลบาทรัชกาลท่ี 9 พระราชดารสั รัชกาลที่ 9 หลกั การทรงงาน รัชกาลท่ี 9 พระราชจรยิ วตั ร และพระราชกรณียกจิ (4) วารสารที่เก่ยี วข้อง ได้แก่ หน้าทพ่ี ลเมือง ทศพิธราชธรรม ตามรอยพระยคุ ลบาทรัชกาลที่ 9 พระราชดารสั รชั กาลท่ี 9 หลกั การทรงงาน รชั กาลที่ 9 พระราชจริยวตั ร และพระราชกรณยี กจิ และ (5) หนังสือเรียน สาระการพัฒนาสงั คม รายวิชา สค 23088 หนา้ ทพ่ี ลเมืองตามรอยพระยุคลบาทรชั กาลท่ีเกา้ 2 กกกกกกก2. สอื่ อิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ (1) เวบ็ ไซตท์ เ่ี ก่ยี วขอ้ ง และ (2) รายการที่เกย่ี วข้องกบั รชั กาล ที่ 9 ทางสถานวี ิทยุโทรทศั น์

18 กกกกกกก3. สือ่ บุคคลและภูมิปัญญา กกกกกกก3. 3.1 เจา้ คณะจงั หวดั ประจวบคีรขี ันธ์ กกกกกกก3. 3.2 เจา้ คณะตาบล ๆ ในอาเภอเมอื งประจวบครี ขี นั ธ์ กกกกกกก3. 3.3 วิทยากรชมรมคนรกั ในหลวงจังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ กกกกกกก3. 3.4 นายคงณฐั โชติภทั รศรี ภูมิปญั ญาทอ้ งถิน่ กกกกกกก4. สอ่ื แหล่งเรียนรู้ในชมุ ชน ได้แก่ กกกกกกก4. 4.1 หอ้ งสมดุ ประชาชนจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กกกกกกก4. 4.2 กศน.ตาบล/เทศบาลทุกแหง่ และศูนย์การเรียนชุมชน ในอาเภอเมอื ง ประจวบครี ีขันธ์ กกกกกกก4. 4.3 พิพิธภัณฑจ์ งั หวดั ประจวบคีรีขันธ์ กกกกกกก4. 4.4 ศูนยว์ ิจยั และพฒั นาประมงชายฝั่งประจวบครี ขี นั ธ์ การวัดและประเมินผล กกกกกกก1. ประเมินความกา้ วหนา้ 60 คะแนน ดว้ ยวธิ กี าร กกกกกกก1. 1.1 การสังเกต กกกกกกก1. 1.2 การซกั ถาม และตอบคาถาม กกกกกกก1. 1.3 ตรวจเอกสารการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง (กรต.) 40 คะแนน กกกกกกก1. 1.4 ตรวจเอกสารรายงานผลการปฏบิ ัตหิ นา้ ที่พลเมืองตามรอยพระยุคลบาทรัชกาลท9่ี จรงิ ด้วยทศพธิ ราชธรรม ตามพระราชดารสั และตามหลักการทรงงาน 20 คะแนน กกกกกกก2. ประเมนิ ผลรวม 40 คะแนน ด้วยวธิ ีการ กกกกกกก2. 2.1 ตอบแบบทดสอบวัดความรู้ จานวน 40 คะแนน กกกกกกก2. 2.2 ตอบแบบสอบถามวัดทกั ษะการนาไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั กกกกกกก2. 2.3 ตอบแบบสอบถามวัดเจตคตติ อ่ วิชาหนา้ ท่ีพลเมอื งตามรอยพระยคุ ลบาทรัชกาล ทเี่ ก้า 2 กกกกกกก3. ให้นาคะแนนท่ีไดจ้ ากขอ้ 1 (ข้อ 1.3 , 1.4) และ ขอ้ 2 (ข้อ 2.1) มารวมกัน แล้วตัดสิน ผลการเรียนออกเป็น 8 ระดบั ดงั นี้ ได้คะแนน 80 – 100 ได้เกรด 4 หมายถึง ดีเย่ียม ไดค้ ะแนน 75 - 79 ไดเ้ กรด 3.5 หมายถงึ ดมี าก ไดค้ ะแนน 70 - 74 ไดเ้ กรด 3 หมายถงึ ดี ได้คะแนน 65 - 69 ไดเ้ กรด 2.5 หมายถงึ ค่อนขา้ งดี ไดค้ ะแนน 60 - 64 ไดเ้ กรด 2 หมายถงึ ปานกลาง ได้คะแนน 55 - 59 ไดเ้ กรด 1.5 หมายถงึ พอใช้ ได้คะแนน 50 - 54 ได้เกรด 1 หมายถงึ ผา่ นเกณฑข์ ั้นตา่ ทก่ี าหนด ได้คะแนน 0 - 49 ไดเ้ กรด 0 หมายถงึ ตา่ กว่าเกณฑ์ท่กี าหนด

19 กกกกกกก4. สาหรบั ผลการประเมินทกั ษะการนาไปใช้ในชีวิตประจาวันของนกั ศกึ ษา ข้อ 2.2 และ เจตคติตอ่ วิชาหน้าท่พี ลเมอื งตามรอยพระยุคลบาทรัชกาลทเ่ี กา้ 2 ข้อ 2.3 ของนักศึกษาใหค้ รผู ู้สอน นามาเป็นพน้ื ฐานในการปรบั ปรงุ คุณภาพการจดั การเรียนรู้ เพ่ือใหน้ กั ศึกษามที กั ษะการนาไปใช้ใน ชีวติ ประจาวัน และเจตคตติ ่อวชิ านีใ้ ห้อยูใ่ นระดับดีมากย่ิง ๆ ขน้ึ

20 หวั เรอ่ื งที่ 1 ความรพู้ นื้ ฐานเก่ยี วกบั หนา้ ทพ่ี ลเมือง สาระสาคัญ กกกกกกก1. หน๎าทพ่ี ลเมอื ง หมายถึง การท่บี ุคคลในชมุ ชน สังคม ประเทศ ต๎องปฏบิ ัตติ ามกฎหมาย ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี และวัฒนธรรมของชาติ คาสัง่ สอน ของพอํ แมํ ครูอาจารย๑ มคี วามสามัคคี เอ้ือเฟอ้ื เผอ่ื แผํซึ่งกนั และกนั รูจ๎ ักรบั ผิดชอบช่ัวดีตามหลักจรยิ ธรรม และหลักธรรมของศาสนา มคี วาม รอบรู๎ มสี ตปิ ญ๓ ญา ขยนั ขนั แข็ง สร๎างความเจรญิ ก๎าวหน๎าใหแ๎ กํตนเอง ครอบครัว สงั คม และ ประเทศชาติ กกกกกกก2. ความสาคญั ของหนา๎ ทีพ่ ลเมืองท่มี ีตํอประเทศชาติ (1) ตอ๎ งจงรกั ภักดแี ละรกั ษาไวซ๎ ่งึ สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ๑ (2) ต๎องรักษาไว๎ซึง่ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย (3) ต๎อง ชวํ ยกันปอู งกันประเทศ (4) ตอ๎ งปฏิบตั ิตามกฎหมายบา๎ นเมืองอยํางเครํงครัด (5) ตอ๎ งใหค๎ วามรํวมมอื ชวํ ยเหลือแกรํ าชการ และ (6) ต๎องเสยี ภาษอี ากรตามทีก่ ฎหมายบัญญตั ิไว๎ กกกกกกก3. แนวทางการปฏิบัติตนในการเป็นสมาชกิ ทด่ี ีของสังคมตอ๎ งปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย วฒั นธรรม ประเพณี และปฏิบตั ติ นตามสิทธหิ นา๎ ที่ตามระบอบประชาธปิ ไตย กกกกกกก4. คณุ ธรรมของการเป็นพลเมืองทดี่ ี มี 8 ประการ คือ (1) ความจงรักภักดีตํอชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ ๑ (2) การยดึ ม่นั ในหลักธรรมของศาสนาที่ตนเองนับถือ (3) ความซอ่ื สตั ย๑ (4) ความเสียสละ (5) ความรบั ผิดชอบ (6) การมีระเบยี บวินัย (7) การตรงตอํ เวลา และ (8) ความ กล๎าหาญทางจรยิ ธรรม ตวั ชวี้ ดั กกกกกกก1. บอกความหมายของหน๎าท่ีพลเมอื งได๎ กกกกกกก2. อธบิ ายและตระหนักถงึ ความสาคญั ของหน๎าทพี่ ลเมือง กกกกกกก3. บอกแนวทางการปฏิบัตติ นในการเปน็ สมาชกิ ทดี่ ีของสังคมได๎ กกกกกกก4. บอกคุณธรรมของการเป็นพลเมืองดีได๎ ขอบขา่ ยเนือ้ หา กกกกกกก1. ความหมายของหนา๎ ที่พลเมือง กกกกกกก1. 1.1 ความหมายของพลเมอื ง กกกกกกก1. 1.2 ความหมายของพลเมอื งดี กกกกกกก1. 1.3 ความหมายของหน๎าทีพ่ ลเมือง กกกกกกก2. ความสาคญั ของหน๎าทีพ่ ลเมอื ง กกกกกกก3. แนวทางการปฏิบตั ติ นในการเป็นสมาชกิ ทด่ี ขี องสังคม กกกกกกก3. 3.1 ด๎านกฎหมาย กกกกกกก3. 3.2 ด๎านวัฒนธรรม

21 กกกกกกก3. 3.3 ดา๎ นประเพณไี ทย กกกกกกก3. 3.4 ด๎านสิทธหิ น๎าท่ตี าม ระบอบประชาธปิ ไตย กกกกกกก3. 3.4 3.4.1 ครอบครวั กกกกกกก3. 3.4 3.4.2 โรงเรียน กกกกกกก3. 3.4 3.4.3 ท๎องถน่ิ กกกกกกก3. 3.4 3.4.4 ประเทศ กกกกกกก4. คณุ ธรรมของการเป็นพลเมอื งดี เน้ือหา กกกกกกก1. ความหมายของหน้าที่พลเมอื ง กกกกกกก1. 1.1 ความหมายของพลเมือง กกกกกกก1. 1.1 พลเมอื ง (Citizen) หมายถงึ พลเมือง มาจากภาษาลาตินวาํ eiver (พลเมอื ง) ซงึ่ เคยใช๎ในยุคโบราณซ่ึงเกี่ยวกบั ประชาธิปไตยในกรกี และโรมนั ตํอมายคุ กลางไมไํ ด๎นามาใชแ๎ ตคํ าวาํ พลเมอื งก็ไดม๎ ีการนากลบั มาใชอ๎ ีกครั้งในชํวงของการปฏิวัติในประเทศองั กฤษ สหรัฐอเมรกิ า และ ฝรั่งเศสในปลายศตวรรษที่ 18 การเปน็ พลเมืองมหี ลายมติ ิ การทีจ่ ะเป็นพลเมืองนนั้ ตอ๎ งมี องคป๑ ระกอบ (Abowitz & Harnish , 2006) ดงั ตอํ ไปน้ี กกกกกกก1. 1.1 ขอ๎ ที่ 1 มีเอกลักษณท๑ ่ีมาจากความเป็นสมาชิกของชุมชนทางการเมือง กกกกกกก1. 1.1 ข๎อท่ี 2 ยึดถอื คาํ นยิ มเฉพาะและอุดมคติ กกกกกกก1. 1.1 ข๎อที่ 3 มีสทิ ธิและหน๎าที่ กกกกกกก1. 1.1 ขอ๎ ท่ี 4 มสี ํวนรวํ มทางการเมอื ง กกกกกกก1. 1.1 ข๎อท่ี 5 มคี วามรค๎ู วามเขา๎ ใจเกยี่ วกบั การเมืองการปกครอง กกกกกกก1. 1.1 พลเมอื ง หมายถงึ ชาวเมอื งหรือประชาชนทปี่ ฏบิ ตั ิตามระเบยี บกฎเกณฑข๑ อง สังคม มคี วามรบั ผิดชอบตํอหน๎าที่และรูจ๎ ักบทบาทหนา๎ ทข่ี องตนเอง ปฏบิ ตั ิตนไดอ๎ ยํางเหมาะสมไมํ ละเมิดสทิ ธแิ ละเสรีภาพของบคุ คลอื่น กกกกกกก1. 1.1 พลเมือง หมายถงึ ประชาชนที่ประพฤติปฏิบัตติ ามระเบียบกฎเกณฑ๑ของสงั คมมี ความรบั ผิดชอบตอํ หนา๎ ที่ของตนเอง ร๎ูจักบทบาทหนา๎ ทข่ี องตนเอง และปฏิบัติตนไดอ๎ ยาํ งเหมาะสมไมํ ละเมดิ ลวํ งล้าสิทธแิ ละเสรีภาพของบคุ คลอน่ื กกกกกกก1. 1.1 พลเมอื ง หมายถึง หมํูคนทเ่ี ปน็ ของประเทศใดประเทศหนึง่ คนทง้ั หมดซ่ึงเป็น กาลังของประเทศ ท้ังในทางเศรษฐกจิ การทหาร และสนบั สนุนผู๎มีอานาจตํอรองอานาจกบั ประเทศ อ่ืน โดยนยั ของความหมาย คาวํา พลเมอื ง หมายถึง คนที่สนับสนนุ เป็นกาลังอานาจของผ๎ปู กครอง เป็นคนทอี่ ยูํในการควบคมุ ดูแลของผูป๎ กครอง กกกกกกก1. 1.1 กลําวโดยสรุป พลเมอื ง หมายถงึ พลังหรอื กาลังคนของประเทศ ซึง่ อยํูในฐานะ เปน็ เจ๎าของประเทศ ทีม่ สี ญั ชาติของประเทศนน้ั ๆ มสี ิทธิและหนา๎ ที่ ตามกฎหมายของประเทศน้นั มีคํานิยม มีสวํ นรวํ มทางการเมือง เป็นผ๎ูสนบั สนุนผป๎ู กครอง ในการควบคมุ ดูแลบุคคลในประเทศให๎ อยํรู วํ มกันอยํางมีความสขุ

22 กกกกกกก1. 1.2 ความหมายของพลเมืองดี กกกกกกก1. 1.2 พลเมืองดี หมายถงึ ผู๎ทป่ี ฏบิ ัตหิ น๎าท่ีพลเมอื งได๎ครบถว๎ น ท้ังกจิ ที่ตอ๎ งทา และกิจที่ ควรทา กกกกกกก1. 1.2 พลเมอื งดี หมายถงึ พลเมอื งทม่ี คี ุณลกั ษณะท่ีสาคัญ คือเปน็ ผทู๎ ีย่ ดึ ม่ันในหลกั ศลี ธรรมและคุณธรรมของศาสนา ปฏบิ ัตติ นตามกฎหมาย ดารงตนเป็นประโยชนต๑ อํ สังคม โดยมีการ ชํวยเหลอื เก้อื กลู กัน อนั จะกอํ ให๎เกิดการพัฒนาสังคม และ ประเทศชาติ กกกกกกก1. 1.2 กิจทีค่ วรทา คอื สง่ิ ที่คนสวํ นใหญเํ ห็นวําเป็นหน๎าท่ี จะต๎องทา หรือละเว๎นการ กระทา ถ๎าไมํทาหรอื ละเว๎นการกระทาจะได๎รบั ผลเสียโดยทางออ๎ มเชนํ ได๎รับการดูหมน่ิ เหยียดหยาม หรือไมคํ บค๎าสมาคมดว๎ ย ผกู๎ ระทากิจท่คี วรทาจะได๎รับการยกยอํ งสรรเสริญจากคนในสังคม โดยทั่วไป สิ่งที่ระบุกิจที่ควรทาไดแ๎ กํ วฒั นธรรมประเพณี เปน็ ต๎น กกกกกกก1. 1.2 พลเมอื งดมี ีหนา๎ ท่ตี ๎องปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย ขนบธรรมเนียมประเพณแี ละ วัฒนธรรมของชาติ คาสัง่ สอนของพํอแมํ ครูอาจารย๑ มคี วามสามัคคีเอือ้ เฟ้ือเผอ่ื แผซํ ง่ึ กนั และกัน ร๎ูจกั รบั ผิดชอบชั่วดตี ามหลกั จรยิ ธรรม และหลกั ธรรมของศาสนา มคี วามรอบร๎ู มีสติป๓ญญา ขยนั ขันแข็ง สรา๎ งความเจรญิ กา๎ วหน๎าใหแ๎ กตํ นเอง ครอบครัว สงั คม และประเทศชาติ กกกกกกก1. 1.2 กลาํ วโดยสรปุ พลเมอื งดี หมายถงึ ผูท๎ ี่ปฏบิ ตั หิ น๎าทพี่ ลเมอื งไดค๎ รบถ๎วน ทั้งกจิ ที่ ตอ๎ งทา และกจิ ทค่ี วรทา หน๎าท่ี กจิ ท่ี ตอ๎ งทาหรือควรทาเป็นส่งิ ทก่ี าหนดให๎ทา หรือหา๎ มมิให๎กระทา ถา๎ ทาก็จะกํอใหเ๎ กดิ ผลดี เกดิ ประโยชนต๑ อํ ตนเอง ครอบครัว หรือสงั คมสํวนรวมแลว๎ แตกํ รณี ถา๎ ไมํทา หรอื ไมํละเวน๎ การกระทาตามทก่ี าหนด จะได๎รบั ผลเสยี โดยตรง คือได๎รับโทษ หรือถกู บังคับ เชนํ ปรบั จาคกุ หรอื ประหารชวี ิต เปน็ ต๎น โดยทัว่ ไปสง่ิ ท่ีระบกุ ิจที่ตอ๎ งทา ไดแ๎ กํ กฎหมาย เปน็ ตน๎ กกกกกกก1. 1.3 ความหมายของหน๎าท่พี ลเมือง กกกกกกก1. 1.3 หนา๎ ทพี่ ลเมอื ง หมายถึง ตอ๎ งปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ขนบธรรมเนยี มประเพณแี ละ วฒั นธรรมของชาติ คาสง่ั สอนของพํอแมํ ครูอาจารย๑ มีความสามัคคเี อ้ือเฟอ้ื เผอ่ื แผซํ งึ่ กนั และกนั ร๎ูจกั รับผดิ ชอบชว่ั ดีตามหลกั จรยิ ธรรม และหลกั ธรรมของศาสนา มีความรอบรู๎ มีสติปญ๓ ญา ขยันขนั แข็ง สรา๎ งความเจริญกา๎ วหน๎าให๎แกตํ นเอง ครอบครวั สังคม และประเทศชาติ กกกกกกก2. ความสาคญั ของหน้าท่พี ลเมือง กกกกกกก2. ความสาคัญของหนา๎ ที่พลเมืองท่ีมตี อํ ประเทศชาติ ได๎แกํ กกกกกกก2. 2.1 ตอ๎ งจงรักภักดแี ละรักษาไวซ๎ ึง่ สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย๑ ซึง่ เป็นสถาบนั สูงสดุ ของชาติ เปน็ ท่เี คารพสักการ ะบูชา ของประชาชนชาวไทยทุกคนนอกจากน้ีสถาบันดงั กลําว ยงั เปน็ เอกลักษณ๑ของชาตไิ ทยด๎วย ดังนั้นตราบใดท่สี ถาบนั ทง้ั สามยังคงอยํู คนไทยก็จะดารงอยํูได๎ กกกกกกก2. 2.2 ตอ๎ งรกั ษาไวซ๎ ึ่งการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ประเทศไทยปกครองโดย ระบอบประชาธิปไตย ซึง่ มพี ระมหากษัตริยเ๑ ปน็ ประมขุ และรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสงู สดุ ของ ประเทศไทย ประชาชนทุกคนจึงมหี น๎าทีร่ กั ษาไว๎ ซงึ่ การปกครองระบอบประชาธิ ปไตย และ รัฐธรรมนญู ของชาติก็ได๎กาหนดไว๎วาํ เป็นหน๎าท่ขี องคนไทยทุกคนทจี่ ะต๎องดารงรกั ษาไว๎ซงึ่ การ ปกครองในระบอบประชาธิปไตย

23 กกกกกกก2. 2.3 ตอ๎ งชํวยกนั ปูองกันประเทศ ประเทศชาตเิ ป็นของประชาชนไทยทุกคน ดงั นนั้ ใน ฐานะทเี่ ราเปน็ สํวนหนึ่งของประเทศ จงึ ตอ๎ งมหี นา๎ ทร่ี ักษาไว๎ซ่งึ ความเป็นเอกราชและความมั่นคงของ ชาติ โดยการปูองกันประเทศชาตใิ ห๎พ๎นจากภยั อนั ตรายตําง ๆ ซงึ่ เกดิ จากศัตรทู งั้ ภายในและภายนอก ประเทศ เมื่อมีเหตุรา๎ ยขึน้ ในประเทศ ตาํ งก็ตอ๎ งชวํ ยกนั และปราบปรามให๎ความรวํ มมือกบั เจา๎ หน๎าที่ ของบา๎ นเมอื งอยาํ งเต็มที่ โดยเฉพาะอยํางย่งิ เปน็ งานโดยตรงท่ชี ายไทยทุกคนจะต๎องเขา๎ รับราชการ ทหาร กกกกกกก2. 2.4 ต๎องปฏิบตั ิตามกฎหมายบา๎ นเมืองอยํางเครํงครัด กฎหมายบา๎ นเมือง หมายถึง กตกิ าหรอื ระเบียบกฎเกณฑท๑ ีว่ าํ งไวใ๎ ห๎ประชาชนทกุ คนปฏบิ ัติ เพอ่ื ความสงบเรียบร๎อยของบ๎านเมือง ในการปกครองระบอบประชาธิปไตย ไดก๎ าหนดใหป๎ ระชาชนทกุ คนมีสวํ นรํวมในการพิจารณาเหน็ ชอบ และกาหนดกฎหมายข้นึ ใช๎ในประเทศ โดยการเลือกต้งั ผูแ๎ ทนตน เพอ่ื ไปปฏบิ ตั หิ น๎าทอี่ อกกฎหมายใน สภานติ ิบัญญัติติจงึ เทํากบั วาํ ประชาชนทกุ คนรํวมกนั ตรากฎหมาย ออกมาใช๎รํวมกนั ประชาชนทกุ คน จึงควรปฏิบตั อิ ยํางเครงํ ครัด เพ่ือความสงบเรยี บรอ๎ ย และความผาสุกรํวมกัน กกกกกกก2. 2.5 ตอ๎ งใหค๎ วามรวํ มมือชวํ ยเหลือแกํราชการ เจา๎ หน๎าทเ่ี ปน็ ตัวแทนของรฐั บาลในการ ท่ีจะให๎บริการแกํประชาชน และปฏบิ ัติงานใหเ๎ ปน็ ไปตามกฎหมายของบา๎ นเมอื ง ชวํ ยเปน็ หูเป็นตาแกํ เจา๎ หนา๎ ที่บา๎ นเมอื ง เพือ่ ชวํ ยปูองกันปราบปรามโจรผูร๎ า๎ ย หรือผู๎เป็นภยั ตํอความสงบสขุ ของบา๎ น เมอื ง เมือ่ ประชาชนทกุ คนตํางใหค๎ วามรํวมมอื กัน รกั ษาความสงบเรยี บร๎อยของบา๎ นเมือง ประเทศชาตกิ ็จะ อยอูํ ยาํ งสงบสขุ และปลอดภยั จากศตั รทู ั้งภายใน และภายนอก กกกกกกก2. 2.6 ต๎องเสยี ภาษีอากรตามทีก่ ฎหมายบญั ญตั ไิ ว๎ ประเทศชาตจิ ะรุงํ เรือง และประชาชน จะมีความสงบสุขอยไํู ด๎ ตอ๎ งอาศัยการบรหิ ารราชการแผนํ ดนิ ของรฐั บาล เปน็ หน๎าทีส่ าคญั ท่ีประชาชน ชาวไทยจะตอ๎ งชวํ ยกนั เสียภาษีอากร เพอ่ื เรา จะไดม๎ กี าลงั ทหารไว๎ปูองกันเอกราช ของชาติ มีถนน ทางดี ๆ ไวใ๎ ช๎ มีโรงเรยี นให๎ลูกหลานได๎ศกึ ษาเลําเรยี น มีโรงพยาบาลสาหรับรักษา เม่ือเราเจ็บไข๎ ได๎ปวุ ย เป็นตน๎ กกกกกกก3. แนวทางการปฏบิ ตั ติ นในการเปน็ สมาชิกทดี่ ีของสงั คม กกกกกกก3. 3.1 ด๎านกฎหมาย กกกกกกก3. 3.1 กฎหมาย คอื กฎเกณฑ๑ ขอ๎ บังคับท่ีใชค๎ วบคมุ ความประพฤติของมนุษย๑ใน สงั คม กฎหมาย มีลักษณะเป็นคาสัง่ ข๎อห๎าม ทมี่ าจากผูม๎ อี านาจสูงสุดในสงั คม ใช๎บงั คบั ไดท๎ ว่ั ไป ใครฝาุ ฝนื จะตอ๎ งไดร๎ บั โทษ หรือสภาพบงั คับอยาํ งใดอยาํ งหนง่ึ กกกกกกก3. 3.1 พลเมอื งทกุ คนต๎องปฏบิ ตั ิตามกฎระเบียบ ขอ๎ บังคบั ของสังคม และบทบญั ญัติของ กฎหมาย เชนํ ไมํลวํ งละเมดิ สทิ ธิของผอู๎ น่ื หรอื ไมํกระทาความผิดตามท่กี ฎหมายกาหนดก็จะทาใหร๎ ฐั ไมํตอ๎ งเสียงบประมาณในการปูองกัน ปราบปราม และจบั กมุ ผทู๎ กี่ ระทาความผดิ มาลงโทษ นอกจากน้ี ยงั ทาใหส๎ งั คมมีความเป็นระเบยี บสงบสขุ ทุกคนอยํูรวํ มกนั อยํางสมานฉนั ท๑ ไมหํ วาดระแวงคดิ รา๎ ย ตํอกัน พลเมืองดีต๎องเคารพกฎหมาย และทาตามกฎหมายรัฐธรรมนญู กกกกกกก3. 3.2 ดา๎ นวฒั นธรรม กกกกกกก3. 3.2 วฒั นธรรม คือ แบบแผนการกระทา หรือผลการกระทาทีพ่ ัฒนาจากสภาพเดมิ ตามธรรมชาติให๎ดีงาม ยัง่ ยืน จนเป็นท่ยี อมรับของคนในสังคม เชํน กริ ิยา มารยาท การพดู การแตงํ กาย การรับประทานอาหาร เป็นต๎น วัฒนธรรมการไหว๎ เป็นวฒั นธรรมภายนอกที่มกั ได๎รับ

24 การตอบสนองจากผูไ๎ ด๎รับดว๎ ยการไหวต๎ อบ นอกจากนี้ ยังมวี ัฒนธรรมไทยอ่ืน ๆ ท่งี ดงาม เชํน การกราบ การทาบญุ ตักบาตร การแตํงกายแบบไทย เปน็ ต๎น กกกกกกก3. 3.2 3.2.1 พลเมอื งดยี ํอมเปน็ ทีต่ อ๎ งการของสังคมทกุ สังคม สถาบนั และสถานะของ ตนเอง ดังน้นั พลเมอื งดจี ึงตอ๎ งได๎รับการปลกู ฝง๓ วฒั นธรรมสิ่งท่ดี ีงาม โดยเฉพาะสังคมแรก คือ ครอบครัว ตอ๎ งอบรมให๎คนไทยมีสมั มาคารวะตํอผู๎อาวโุ ส มคี วามเสยี สละ ซื่อสตั ยส๑ ุจริต ตรงตํอเวลา เปน็ ต๎น กกกกกกก3. 3.2 3.2.2 สอนให๎เยาวชนรจู๎ ัก และปฏิบตั ิตนตามสถานภาพ และบทบาทของตนเอง โดยมีความรับผดิ ชอบ รบั ฟ๓งความคิดเหน็ ของผอ๎ู ื่น เคารพกฎหมาย ปฏิบตั ิตามขนบธรรมเนียม ประเพณี และวฒั นธรรมการปลกู ฝ๓งสง่ิ ทด่ี งี าม กกกกกกก3. 3.2 3.2.3 พลเมอื งดที ุกคนต๎องปฏิบัตติ ามวัฒนธรรมของสงั คมทต่ี นเองเปน็ สมาชิก กกกกกกก3. 3.3 ด๎านประเพณีไทย กกกกกกก3. 3.3 ประเพณี คอื ส่ิงทป่ี ฏิบตั ิสบื ทอดกนั มา และถือวําเป็นส่งิ ทด่ี งี าม สิง่ ทง่ี ดงามของ แตลํ ะสงั คม อาจเหมอื นกัน คลา๎ ยกนั หรือแตกตํางกนั ได๎ และส่งิ ทงี่ ดงามของสงั คมหนง่ึ เม่ือเวลา ผํานไปอาจเปน็ สง่ิ ท่ีไมงํ ดงามได๎ ดังนนั้ ประเพณีไทยอาจมกี ารปรับปรงุ เปลย่ี นแปลงไปกับสภาพสังคม กกกกกกก3. 3.3 พลเมอื งดีจึงควรรกั ษาประเพณี แตํถา๎ พบวําประเพณมี คี วามล๎าหลังไมทํ นั สมยั ก็ สามารถปรับปรุงใหเ๎ หมาะสมกับสภาพสงั คมท่ีเปลี่ยนไป กกกกกกก3. 3.4 ด๎านสทิ ธิหน๎าท่ตี ามระบอบประชาธิปไตย กกกกกกก3. 3.4 การเป็นสมาชิกทด่ี ขี องสงั คมตามสิทธิหนา๎ ท่ตี ามระบอบประชาธิปไตยมี 4 ระดับ ดงั น้ี กกกกกกก3. 3.4 3.4.1 ระดับครอบครวั กกกกกกก3. 3.4 3.4.1 หนา๎ ที่ของครอบครัวผลติ สมาชิกให๎แกสํ ังคม อบรมบมํ เพาะคํานิยมทดี่ ีงาม ปลกู ฝง๓ ขนบธรรมเนยี ม แบบแผนทางสงั คม และกลอํ มเกลาให๎สมาชิกในครอบครัว เพอื่ เปน็ สมาชกิ ท่ีดี ของสังคมตํอไป ให๎ความอบอุํนแกสํ มาชิกในครอบครัว เพ่อื ใหส๎ มาชกิ ผ๎ูนน้ั เขา๎ สํูสังคมและเป็ นสมาชิก ท่ดี ขี องสังคม ใหก๎ ารศกึ ษาแกํสมาชิกของครอบครัว ซึง่ หนา๎ ที่ของสมาชกิ ในครอบครวั หลกั สาคัญตาม ระบอบประชาธิปไตย ดังน้ี กกกกกกก3. 3.4 3.4.1 1) ให๎ความเคารพเชอื่ ฟง๓ ผู๎นาในครอบครวั กกกกกกก3. 3.4 3.4.1 2) ดแู ลครอบครัวให๎สามารถอยไํู ดท๎ ง้ั ด๎านเศรษฐกจิ และความเป็นอยอํู ื่น ๆ กกกกกกก3. 3.4 3.4.1 3) ไมํสร๎างความแตกแยกแกํครอบครัว กกกกกกก3. 3.4 3.4.1 4) ไมํสรา๎ งความเดอื ดรอ๎ นแกํครอบครัว กกกกกกก3. 3.4 3.4.1 5) เคารพกฎเกณฑข๑ องครอบครัว และแบบแผนทางสังคม กกกกกกก3. 3.4 3.4.1 6) สรา๎ งอาชีพและรายไดใ๎ หเ๎ พียงพอกบั สมาชิกในครอบครวั กกกกกกก3. 3.4 3.4.1 7) ทานบุ ารุงครอบครัว ดแู ลสมาชกิ ที่เจ็บปวุ ย และสมาชิกทช่ี ํวยเหลอื ตัวเองไมไํ ด๎ กกกกกกก3. 3.4 3.4.1 ดงั นัน้ ครอบครวั มีหนา๎ ท่วี างแผนอนาคต กาหนด และควบคุม คาํ ใชจ๎ ําย ในครอบครวั ใหม๎ ีความสมดุล สอดรบั กับรายได๎ เพือ่ ครอบครัวจะไดไ๎ มเํ ดือดร๎อน

25 กกกกกกก3. 3.4 3.4.2 ระดบั โรงเรียน กกกกกกก3. 3.4 3.4.2 เม่ือเราอยใํู นโรงเรยี น เราทกุ คนมีหน๎าที่ทต่ี ๎องปฏบิ ัติตํอโรงเรียนเพราะ โรงเรยี นเป็นสถานท่ที ่ีให๎ความรู๎ ซง่ึ เราตอ๎ งอยรูํ ํวมกบั คนอืน่ ๆ อกี มากมาย ดังนั้นเราจงึ จาเป็นต๎อง ปฏิบตั ติ ามกฎระเบยี บของหอ๎ งเรียนและโรงเรยี น เพือ่ ทีจ่ ะไดอ๎ ยํูรวํ มกันอยํางมีความสขุ และเกิด ความเป็นระเบยี บเรยี บรอ๎ ย บทบาทหน๎าทต่ี ามระบอบประชาธปิ ไตยในโรงเรยี นมีดังน้ี กกกกกกก3. 3.4 3.4.2 1) เมือ่ มาโรงเรียน เราต๎องปฏบิ ัติตามกฎระเบยี บของโรงเรยี น เชํน แตงํ กายใหถ๎ กู ตอ๎ งตามระเบยี บ มาใหท๎ นั เข๎าแถวเคารพธงชาตใิ นตอนเชา๎ กกกกกกก3. 3.4 3.4.2 2) เมือ่ อยูํในโรงเรียน เราต๎องชวํ ยกันรกั ษาความสะอาดในหอ๎ งเรยี น และ ในบริเวณตําง ๆ ของโรงเรยี น ทิง้ ขยะลงในถังขยะท่โี รงเรียนจดั ให๎ กกกกกกก3. 3.4 3.4.2 3) ให๎ความเคารพเช่ือฟ๓งครูอาจารย๑ ตั้งใจเรียนหนงั สอื รวมทงั้ ทางาน ตําง ๆ ทีค่ รมู อบหมายด๎วยความตั้งใจและเอาใจใสํ กกกกกกก3. 3.4 3.4.2 4) ปฏบิ ัติตนในการเป็นผูน๎ าและผตู๎ ามทดี่ ีในหอ๎ งเรยี นและโรงเรียน ต๎องรู๎ วาํ เมอ่ื เราเปน็ ผ๎ูนาในการทากิจกรรมตําง ๆ ควรปฏิบตั ติ นอยาํ งไร และเมือ่ เปน็ ผต๎ู ามควรปฏิบตั ิตน อยํางไร กกกกกกก3. 3.4 3.4.2 5) รูจ๎ กั แสดงความคิดเหน็ ตามสิทธขิ องตนเองในห๎องเรียนและโรงเรียน รวมทัง้ รจ๎ู กั รับฟ๓งความคิดเห็นของผ๎ูอ่ืน และเคารพข๎อตกลงของคนสวํ นใหญํ กกกกกกก3. 3.4 3.4.2 6) ถ๎าเกิดข๎อขัดแยง๎ กนั ในหอ๎ งเรียนและโรงเรยี น ให๎แก๎ปญ๓ หาด๎วยหลัก เหตุผล ไมใํ ช๎อารมณห๑ รอื พละกาลังในการแกป๎ ๓ญหา เพราะไมใํ ชวํ ธิ แี กป๎ ญ๓ หาท่ีถกู ต๎อง แตกํ ลับจะทาให๎ เกิดป๓ญหาอนื่ ๆ ตามมา กกกกกกก3. 3.4 3.4.2 7) ในการแขํงขันทากิจกรรมตําง ๆ ของโรงเรียน เชนํ การแขํงกีฬา การประกวดในดา๎ นตาํ ง ๆ ตอ๎ งฝึกฝนตนเองให๎เป็นผรู๎ ูจ๎ ักแพ๎ ชนะ และให๎อภัย รวมทั้งยอมรับใน คาตดั สนิ ของคณะกรรมการ กกกกกกก3. 3.4 3.4.3 ระดับท๎องถน่ิ กกกกกกก3. 3.4 3.4.3 การปฏบิ ัติตนในฐานะสมาชกิ ของชุมชน บุคคลสามารถ ปฏิบตั ิตนตามระบอบประชาธปิ ไตยได๎หลายวิธี ดงั นี้ กกกกกกก3. 3.4 3.4.3 1) ปฏบิ ัติตนตามกฎระเบียบของชมุ ชน เชนํ ปฏิบัตติ ามกฎจราจร โดย ข๎ามถนนตรงทางมา๎ ลาย หรอื สะพานลอย ไมํวิ่งข๎ามถนนตัดหนา๎ รถ ไมทํ ิง้ ขย ะลงในที่สาธารณะ ไมํ ทาลายสงิ่ ของทเี่ ปน็ ของสาธารณะ และทรัพยส๑ นิ สํวนตัวของผูอ๎ นื่ ให๎ได๎รับความเสยี หายเพราะความ สนุกสนานของตนเอง กกกกกกก3. 3.4 3.4.3 2) เข๎ารวํ มกจิ กรรมของชุมชน เพอ่ื ชํวยรักษาและเผยแพรวํ ฒั นธรรม ประเพณขี องชมุ ชนไว๎ ในแตํละชมุ ชนจะมขี นบธรรมเนียมป ระเพณีท่ีปฏิบัติสืบทอดกนั มา เชนํ ประเพณีการทาบญุ เม่ือถงึ วันสาคัญทางศาสนา ประเพณวี ันสงกรานต๑ ประเพณวี ันลอยกระทง กกกกกกก3. 3.4 3.4.3 3) บาเพญ็ ประโยชน๑ตอํ ชุมชน เชํน ชํวยเก็บเศษขยะทพี่ บเหน็ ในบริเวณ ตาํ ง ๆ ชํวยดูแลตน๎ ไม๎ ดอกไมใ๎ นสวนสาธารณะของชมุ ชน

26 กกกกกกก3. 3.4 3.4.3 4) รํวมกันอนรุ ักษท๑ รัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล๎อมในชมุ ชน โดยให๎ ทุกคนในชมุ ชนมีจิตสานกึ ในการรกั ษาสิง่ แวดลอ๎ ม เชํน ชุมชนทม่ี ปี ุาชายเลน ควรจะรํวมใจกันอนรุ กั ษ๑ ปาุ ชายเลน เพ่อื ให๎เปน็ ทีอ่ ยขํู องสตั ว๑ตําง ๆ รวมทั้งยังเป็นแหลงํ หลบภัยของลูกสตั วน๑ า้ และชุมชนทอ่ี ยํู ตดิ ชายทะเล ควรรวํ มใจกันรกั ษาความสะอาดของชายหาด เพ่อื ใหเ๎ ปน็ แหลํงทอํ งเท่ยี วท่ียง่ั ยนื ของ ชุมชน การอนุรกั ษ๑ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ๎ มในชมุ ชนควรเป็นความรํวมมอื กนั หลายฝุาย ระหวํางบา๎ น โรงเรียน และชุมชน กกกกกกก3. 3.4 3.4.4 ระดบั ประเทศ กกกกกกก3. 3.4 3.4.4 บุคคลปฏบิ ัติตนในการเป็นสมาชกิ ทด่ี ีของประเทศตามระบอบ ประชาธิปไตย ดว๎ ยการมสี วํ นรวํ มในกจิ กรรมทางการเมอื งการปกครองในระบ อบประชาธปิ ไตย ประชาชนสามารถมสี วํ นรํวมได๎ ดงั นี้ กกกกกกก3. 3.4 3.4.4 1) การใชส๎ ทิ ธใิ นการเลือกตั้งระดบั ตําง ๆ เมอื่ อายคุ รบ 18 ปีบรบิ ูรณ๑ ทุก คนต๎องไปใช๎สทิ ธเิ ลอื กตัง้ ทั้งในระดบั ประเทศ เชํน การเลอื กตัง้ สมาชกิ สภาผูแ๎ ทนราษฎร การเลอื กตงั้ สมาชิกวฒุ ิสภา และการเลือกต้งั ระดับทอ๎ งถิน่ เชํน การเลือกตัง้ ผว๎ู าํ กรงุ เทพมหานคร การเลอื กต้งั สมาชิกองค๑กรสวํ นทอ๎ งถนิ่ เป็นต๎น เพอื่ เลือกตวั แทนไปทาหน๎าทบ่ี รหิ ารประเทศหรอื ทอ๎ งถิ่นตํอไป กกกกกกก3. 3.4 3.4.4 2) การมสี วํ นรวํ มในการตรวจสอบการใชอ๎ านาจรัฐ ในการปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตยนั้น ประชาชนทกุ คนลว๎ นมีสํวนรํวม ในการ สอดสอํ งดูแลการบรหิ ารราชการ แผํนดินของรัฐบาล หรอื ตรวจสอบการทางานของเจ๎าหนา๎ ท่ีในองคก๑ รตําง ๆ เพ่ือไมใํ ห๎ ใช๎อานาจไป ในทางทไ่ี มถํ กู ต๎อง กกกกกกก3. 3.4 3.4.4 3) การเป็นแกนนาปลุกจิตสานกึ ใหแ๎ กํผูอ๎ น่ื ในการรํวมกจิ กรรมทางการ เมืองการปกครอง ได๎แกํ การใช๎สทิ ธิเลือกต้ังและการมีสวํ นรํวมในการตรวจสอบอานาจของรัฐ โดย การเป็นแกนนานั้น สามารถปฏิบัตไิ ด๎หลายอยําง เชํน ประกาศ โฆษณา ประชาสมั พนั ธ๑ การเข๎าไป ชี้แจงเปน็ รายบุคคล การจัดใหม๎ กี ารประชุมเพือ่ แสดงความคดิ เหน็ ตํอประเดน็ ทมี่ ีผลกระทบตํอสงั คม กกกกกกก4. คณุ ธรรมของการเป็นพลเมอื งดี กกกกกกก4. คุณธรรมของการเปน็ พลเมอื งดี มี 8 ขอ๎ ไดแ๎ กํ คือ กกกกกกก4. 4.1 ความจงรกั ภกั ดีตอํ ชาติ ศาสนา และพระมหากษตั รยิ ๑ หมายถงึ การท่บี คุ คลมี ความนึกถงึ ความสาคญั ของความเปน็ คนไทย มจี ติ ใจฝก๓ ใฝศุ าสนา และตระหนกั ถึงพระมหากรุณาธิคุณ ของพระมหากษตั ริยป๑ ฏบิ ัตติ นในการผดุงรกั ษาสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษตั รยิ ๑ใหค๎ งอยคูํ ูํ สังคมไทย ตลอดไป กกกกกกก4. 4.2 การยดึ ม่ันในหลกั ธรรมของศาสนาท่ีตนเองนับถือ ทกุ ศาสนามีหลักศลี ธรรมทชี่ วํ ย สร๎างจิตใจของคนใหก๎ ระทา ดี ไมํเบียดเบียนกัน มใี จเอ้อื เฟือ้ เผอื่ แผแํ กกํ นั สมาชิกในสงั คมสมควร ศรทั ธาในศาสนาทต่ี นนบั ถอื แลว๎ ปฏิบตั ติ ามหลกั ศลี ธรรมของศาสนาทีต่ นนบั ถอื อยาํ งสมา่ เสมอ กกกกกกก4. 4.3 ความซอ่ื สตั ย๑ หมายถึง การกระทาทีถ่ กู ตอ๎ งตรงไปตรงมา ไมํยึดเอาส่ิงของผอู๎ ่ืนมา เปน็ ของตน บุคคลควรซอื่ สัตยต๑ ํอตนเอง คือ กระทา ตนให๎เปน็ คนดี และบคุ คลควรซอ่ื สตั ยต๑ อํ บคุ คล อนื่ ๆ หมายถงึ กระทาดี และถูกตอ๎ งตามหน๎าทต่ี ํอผ๎ูอนื่ กกกกกกก4. 4.4 ความเสียสละ หมายถงึ การคานึงถึงประโยชนข๑ องสงั คมสวํ นรวมมากกวํา ประโยชน๑สวํ นตน และยอมเสยี สละประโยชน๑สวํ นตนเพือ่ ประโยชน๑แกผํ ู๎อ่นื และสวํ นรวม

27 กกกกกกก4. 4.5 ความรบั ผดิ ชอบ หมายถึง การยอมรบั การกระทาของตนเอง หรือการทางานตาม หน๎าทีท่ ่ีไดร๎ ับมอบหมายให๎สาเรจ็ ลลุ วํ ง กกกกกกก4. 4.6 การมรี ะเบยี บวินยั หมายถงึ การกระทาทีถ่ ูกตอ๎ งตามกฎเกณฑ๑ทสี่ งั คมกาหนดไว๎ กกกกกกก4. 4.7 การตรงตํอเวลา หมายถงึ การทางานหรือทาหน๎าทท่ี ่ีได๎รบั มอบหมายใหส๎ าเร็จ ลลุ วํ ง ทันตรงตามเวลาท่ีกาหนด โดยใชเ๎ วลาอยาํ งคุ๎มคํา กกกกกกก4. 4.8 ความกล๎าหาญทางจริยธรรม หมายถงึ การกระทาทแี่ สดงออกในทางทถี่ กู ที่ควร โดยไมเํ กรงกลัวอิทธิพลใด ๆ ความกล๎านีไ้ มํใชํการอวดดี แตํเปน็ การแสดงออกอยาํ งมีเหตุผล เพอื่ ความถกู ต๎อง การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ กกกกกกก1. กาหนดประเด็นการศกึ ษาค๎นคว๎ารํวมกนั จากสอ่ื การเรยี นร๎ูทห่ี ลากหลาย กกกกกกก2. บันทึกผลการศกึ ษาค๎นควา๎ ลงในเอกสารการเรียนร๎ดู ว๎ ยตนเอง (กรต.) กกกกกกก3. พบกลํมุ กกกกกกก4. อภปิ รายแลกเปลย่ี นเรียนรู๎ กกกกกกก5. วิเคราะหข๑ ๎อมลู ที่ได๎ และสรปุ การเรยี นรูร๎ วํ มกนั บันทึกสรุปการเรยี นร๎ูในเอกสารการ เรียนรด๎ู ๎วยตนเอง (กรต.) สื่อและแหลง่ เรียนรู้ กกกกกกก1. สอื่ เอกสาร ไดแ๎ กํ กกกกกกก1. 1.1 ใบความร๎ู เร่อื งท่ี 1 สิทธแิ ละหน๎าท่ีพลเมอื ง กกกกกกก1. 1.2 ใบงาน หัวเรื่องที่ 1 ความรพู๎ ื้นฐานเกีย่ วกบั หน๎าทพี่ ลเมือง กกกกกกก1. 1.3 ชื่อหนงั สอื เรียน สาระการพฒั นาสงั คม รายวชิ า สค13113 หนา๎ ท่พี ลเมอื งตาม รอยพระยคุ ลบาทรัชกาลทีเ่ ก๎า 1กกกกกกก1. กกกกกกก1. 1.4 ชือ่ หนังสอื สิทธิ เสรีภาพ และหน๎าที่ของพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย ผแู๎ ตํง กลํมุ งานผลิตเอกสาร สานักประชาสัมพันธ๑ สานกั งานเลขาธิ การสภาผ๎แู ทนราษฎร ปีทพ่ี ิมพ๑ พ.ศ. 2556 โรงพมิ พ๑ สานกั การพมิ พ๑ สานักงานเลขาธกิ ารสภาผ๎แู ทนราษฎร กกกกกกก2. ส่อื อิเลก็ ทรอนิกส๑ ได๎แกํ กกกกกกก2. 2.1 ชือ่ บทความ พลเมอื งดขี องประเทศชาติและสงั คมโลก ผ๎แู ตงํ พิมพ๑ พิมพน๑ ภัทร สืบค๎นจาก https://www.academia.edu/8265830 กกกกกกก2. 2.2 ช่อื บทความ พลเมอื ง ผแ๎ู ตํง สานักงานราชบณั ฑติ ยสภา สืบค๎นจาก http://www.royin.go.th/?knowledges กกกกกกก3. สอื่ แหลงํ เรยี นร๎ูในชมุ ชน ได๎แกํ กกกกกกก3. 3.1 ห๎องสมุดประชาชนจังหวัดประจวบครี ขี นั ธ๑ กกกกกกก3. 3.2 กศน.ตาบล/เทศบาลทุกแหํง และศูนย๑การเรียนชุมชน ในอาเภอเมือง ประจวบครี ีขันธ๑

28 การวัดและประเมนิ ผล กกกกกกก1. ประเมินความกา๎ วหนา๎ ดว๎ ยวธิ กี าร กกกกกกก1. 1.1 การสงั เกต กกกกกกก1. 1.2 การซักถาม และตอบคาถาม กกกกกกก1. 1.3 ตรวจเอกสารการเรียนรู๎ด๎วยตนเอง (กรต.) กกกกกกก2. ประเมนิ ผลรวม ดว๎ ยวธิ ีการ กกกกกกก2. 2.1 ตอบแบบทดสอบวัดความร๎ู หัวเรอื่ งท่ี 1 ความรูพ๎ ้ืนฐานเกี่ยวกับหน๎าที่พลเมอื ง จานวน 3 ข๎อ กกกกกกก2. 2.2 ตอบแบบสอบถามวดั เจตคติตอํ วชิ าหนา๎ ที่พลเมอื งตามรอยพระยุคลบาท รชั กาลที่เกา๎ 2

29 หัวเรือ่ งที่ 2 ความหมายและความสาคัญของหน้าที่พลเมือง ตามรอยพระยุคลบาทรัชกาลที่ 9 สาระสาคญั กกกกกกก1. หนา๎ ที่พลเมอื งตามรอยพระยคุ ลบาท รัชกาลที่ 9 หมายถงึ การท่ีประชาชน หรือบุคคล ในประเทศไทย ไดน๎ ๎อมนาแนวทางการปกครองด๎วยทศพิธราชธรรม พระราชดารัสท่ี สาคญั หลกั การ ทรงงาน รวมถงึ พระราช จริยวตั ร และพระราชกรณียกิจ ที่ทรงเป็นแบบอยาํ งเป็นที่ยอมรับ ท้ังใน ระดับประเทศ และนานาประเทศของ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช มาศกึ ษา เรียนร๎ู และนาไปเป็นแนวทางปฏบิ ตั ิในการดาเนนิ ชวี ติ หรือการประกอบอาชพี เพ่ือใหต๎ นเอง มีคุณภาพชวี ติ ทด่ี ี มีความเข๎มแข็ง และมัน่ คง สํงผลตอํ เนือ่ งตอํ การพฒั นาประเทศ และโลกได๎ กกกกกกก2. ความสาคญั ของหน๎าทีพ่ ลเมอื งตามรอยพระยคุ ลบาทรัชกาลท่ี 9 ชวํ ยให๎พลเมอื งมจี ิต สาธารณะ มีสํวนรํวมหรอื ใหค๎ วามรํวมมือทาภารกิจ เพอ่ื สวํ นรวมของสาธารณะ หรอื ของชาติ ทาให๎ สังคม ประเทศ มคี วามม่ันคงผาสุก และเจรญิ ก๎าวหน๎าได๎ ตวั ช้วี ดั กกกกกกก1. บอกความหมายหนา๎ ทพี่ ลเมอื งตามรอยพระยุคลบาทรชั กาลที่ 9 ได๎ กกกกกกก2. อธิบายและตระหนักถึงความสาคญั ของหนา๎ ทีพ่ ลเมืองตามรอยพระยุคลบาท รชั กาลท่ี 9 ขอบข่ายเนอ้ื หา กกกกกกก1. ความหมายของหนา๎ ทีพ่ ลเมอื งตามรอยพระยคุ ลบาทรัชกาลที่ 9 กกกกกกก2. ความสาคัญของหนา๎ ท่พี ลเมอื งตามรอยพระยคุ ลบาทรชั กาลท่ี 9 เนือ้ หา กกกกกกก1. ความหมายของหน้าทพี่ ลเมืองตามรอยพระยคุ ลบาทรชั กาลท่ี 9 กกกกกกก1. 1.1 ความหมายของหนา๎ ที่พลเมอื ง กกกกกกก1. 1.1 หนา๎ ทพ่ี ลเมอื ง หมายถึง การทบ่ี คุ คลในชุมชน สงั คม ประเทศ ต๎องปฏิบตั ติ าม กฎหมาย ขนบธรรมเนียมประเพณี และวฒั นธรรมของชาติ คาส่ังสอนของพอํ แมํ ครูอาจารย๑ มคี วาม สามัคคี เอ้อื เฟ้อื เผื่อแผํซงึ่ กันและกัน ร๎ูจกั รบั ผดิ ชอบชวั่ ดีตามหลกั จรยิ ธรรม และหลักธรรมของศาสนา มคี วามรอบร๎ู มสี ติป๓ญญา ขยนั ขันแขง็ สร๎างความเจริญกา๎ วหน๎าให๎แกตํ นเอง ครอบครั ว สังคม และ ประเทศชาติ

30 กกกกกกก1. 1.2 ความหมายตามรอยพระยคุ ลบาท กกกกกกก1. 1.2 ยุคลบาท จากพจนานุกรมราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2554 ได๎ใหค๎ วามหมายไวว๎ าํ เทา๎ ท้ังคูํ โดยมากใชแ๎ กํพระมหากษัตรยิ ๑และสมเด็จพระบรมราชินนี าถ กกกกกกก1. 1.2 ตามรอยพระยคุ ลบาท มีความหมายตอํ ไปนี้ กกกกกกก1. 1.2 ตามรอยพระยุคลบาท หมายถึง วธิ ีคิด วธิ ีทรงงาน วธิ ีปฏิบตั ิ ทล่ี ว๎ นเปน็ แบบอยาํ ง ทค่ี วรแกกํ ารนาไปเปน็ แนวทางปฏิบัติและดาเนนิ ชีวติ กกกกกกก1. 1.2 ตามรอยพระยุคลบาท หมายถงึ ทรงเปน็ แบบอยํางที่ดีในการดาเนนิ ชีวิตและการ ทางาน สามารถนอ๎ มนาไปปฏบิ ตั ไิ ด๎ กกกกกกก1. 1.2 กลาํ วโดยสรุป ตามรอยพระยคุ ลบาท หมายถงึ การเรียนร๎วู ธิ คี ิด วิธีทรงงาน วธิ ี ปฏิบตั ิทท่ี รงเปน็ แบบอยํางที่ดีของพระมหากษตั ริย๑ เพ่อื นามาใชเ๎ ปน็ แนวทางในการดาเนนิ ชวี ิต หรือ การประกอบอาชีพ กกกกกกก1. 1.3 ความหมายของรัชกาลท่ี 9 กกกกกกก1. 1.3 รชั กาลท่ี 9 หมายถงึ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหิตลา ธิเบศรรามาธิบดีจักรีนฤบดนิ ทรสยามินทราธิราชบรมนาถบพติ ร พระมหากษัตรยิ ๑ลาดบั ที่ 9 แหํง ราชวงศ๑จกั รที ี่มคี ณุ ูปการตอํ ประเทศไทย และนานาประเทศ โดยไดพ๎ ระราชทานปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงเพื่อใช๎ในการพัฒนาคุณภาพชวี ิต สิ่งแวดลอ๎ มใหม๎ ีความม่ังคง และยั่งยืน กกกกกกก1. 1.4 ความหมายของหนา๎ ทพี่ ลเมอื งตามรอยพระยุคลบาทรชั กาลท่ี 9 กกกกกกก1. 1.4 สามารถนาความหมายของหน๎าท่ีพลเมอื ง ความหมายของพระยุคลบาทและ ความหมายของรชั กาลท่ี 9 ดังกลาํ วข๎างตน๎ มารวบรวมเป็นความหมายของหนา๎ ทพ่ี ลเมอื งตา มรอย พระยคุ ล บาท รัชกาลท่ี 9 ได๎วาํ หมายถึง การทป่ี ระชาชนหรอื บุคคลในประเทศไทย ได๎นอ๎ มนา แนวทางการปกครองดว๎ ยทศพิธราชธรรม พระราชดารัสท่สี าคัญ หลกั การทรงงาน รวมถึงพระราช จริยวัตร และพระราชกรณียกิจ ท่ีทรงเปน็ แบบอยําง เปน็ ทีย่ อมรับทั้งในระดับประเทศ และนานา ประเทศของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมาศกึ ษาเรยี นร๎ู และนาไปเป็นแนวทาง ปฏิบัติในการดาเนินชวี ิต หรอื การประกอบอาชีพ เพ่ือให๎ตนเองมคี ุณภาพชวี ิตทด่ี ี มีความเขม๎ แข็ง และ มั่นคง สงํ ผลตํอเนอ่ื งตอํ การพัฒนาประเทศ และโลกได๎ กกกกกกก2. ความสาคญั ของหน้าที่พลเมอื งตามรอยพระยคุ ลบาท รชั กาลที่ 9 กกกกกกก2. ความสาคญั ของหนา๎ ที่พลเมอื งตอํ ประเทศชาตโิ ดยทวั่ ไป พลเมืองไทยทกุ คนตอ๎ งจงรกั ภกั ดีตํอสถาบนั ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย๑ ซึง่ เป็นเอกลกั ษณ๑ของชาตไิ ทยใหด๎ ารงอยไูํ ด๎ ตอ๎ ง รกั ษาระบ อบการปกครองประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ๑ทรงเป็นประมุข ต๎องชํวยกนั รักษา ปูองกันประเทศชาตริ ํวมมือกับเจา๎ หน๎าทอ่ี ยํางเต็มที่ ตอ๎ งปฏบิ ตั ิตามกฎหมายบา๎ นเมืองอยาํ งเครํงครดั เพื่อความผาสกุ ของคนในชาติ ต๎องชํวยเหลือราชการเมื่อยามบ๎านเมอื งมีภยั ตํอความสงบสุข และตอ๎ ง เสียภาษอี ากร จากความสาคัญของหน๎าทพ่ี ลเมอื งดงั กลาํ ว จะเหน็ ได๎วําความสาคัญของหนา๎ ทพี่ ลเมือง โดยทวั่ ไป ต๎องให๎ความรวํ มมือแกํราชการในการปฏิบั ติภารกิจเพื่อสํวนรวมมากกวาํ สํวนตน การที่ พลเมอื งได๎เรียนรู๎ยึดแนวปฏบิ ตั ขิ อง พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช รัชกาลที่ 9 ทรงปฏิบัตภิ ารกิจเพอ่ื ประโยชนส๑ ํวนรวมของพลเมอื งไทย จะทาให๎พลเมอื งไทยได๎เรยี นรู๎ ซึมซบั เกิด ความซาบซ้ึง ตระหนักถึงความสาคัญของการมจี ิ ตสาธารณะ หรือทาภารกิจเพ่ือสวํ นรวมอยาํ ง

31 เครงํ ครัดได๎งาํ ยขน้ึ สงํ ผลตอํ การดารงอยํขู องชาตไิ ทยดังกลาํ ว เพราะหนา๎ ทีพ่ ลเมอื งมหี น๎าทีป่ ฏบิ ตั เิ พ่ือ สวํ นรวมดว๎ ยไมใํ ชปํ ฏบิ ัติแตภํ ารกิจสํวนตวั เทํานัน้ ถา๎ พลเมอื งทกุ คนรบั ร๎ู ตระหนกั รวํ มมือทาภารกจิ สํวนรวม ตามบทบาทท่ีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช รัชกาลท่ี 9 ไดท๎ รงทาเป็น แบบอยํางยอํ มสํงผลตอํ ความมน่ั คงของประเทศ กกกกกกก2. กลําวโดยสรุป ความสาคญั ของหนา๎ ที่พลเมืองตามรอยพระยุคลบาท รัชกาลท่ี 9 ชํวยให๎พลเมอื งมีจิตสาธารณะ มสี ํวนรวม หรอื ให๎ความรํวมมือทาภารกิจเพื่อสํวนร วมของสาธารณะ หรอื ของชาติ ทาใหส๎ ังคมประเทศมีความมน่ั คงผาสุก และเจรญิ กา๎ วหนา๎ ได๎ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ กกกกกกก1. กาหนดประเดน็ การศึกษาคน๎ ควา๎ รวํ มกนั จากสือ่ การเรยี นร๎ูทห่ี ลากหลาย กกกกกกก2. บันทึกผลการศกึ ษาค๎นควา๎ ลงในเอกสารการเรียนร๎ูดว๎ ยตนเอง (กรต.) กกกกกกก3. พบกลํุม กกกกกกก4. อภปิ รายแลกเปลยี่ นเรียนรู๎ กกกกกกก5. วเิ คราะห๑ขอ๎ มลู ทีไ่ ด๎ และสรุปการเรยี นร๎รู วมกนั บนั ทึก สรปุ การเรียนรู๎ในเอกสารการ เรยี นรูด๎ ๎วยตนเอง (กรต.) สื่อและแหลง่ เรียนรู้ กกกกกกก1. สื่อเอกสาร ไดแ๎ กํ กกกกกกก1. 1.1 ใบความร๎ู เรอื่ งที่ 2 การเรยี นร๎ูตามรอยพระยคุ ลบาท กกกกกกก1. 1.2 ใบงาน หัวเรอ่ื งท่ี 2 ความหมายและความสาคญั ของหนา๎ ทพี่ ลเมืองตามรอย พระยคุ ลบาทรชั กาลท่ี 9 กกกกกกก1. 1.3 ช่อื หนงั สอื พจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลมิ พระเกียรติ พระบาทสมเดจ็ พระเจา๎ อยหูํ ัวเน่ืองในโอกาสพระราชพธิ ีมหามงคลเฉลิมพระขนมพรรษา 7 รอบ 5 ธนั วาคม 2554 ผ๎แู ตงํ ราชบณั ฑิตสถาน ปีทพ่ี มิ พ๑ พ.ศ. 2556 สานกั พมิ พ๑ ศริ วิ ฒั นาอนิ เตอร๑พรน้ิ ท๑ จากดั กกกกกกก1. 1.4 ชอ่ื หนงั สือ การเดนิ ตามรอยพระยคุ ลบาท เศรษฐกิจพอเพียง ชวํ ยแกป๎ ญ๓ หาความ ยากจนและการทุจริต ผูแ๎ ตงํ สมพร เทพสิทธา ปที ่พี ิมพ๑ พ.ศ. 2546 โรงพิมพ๑ศรีเมอื งการพิมพ๑ กกกกกกก1. 1.5 ช่ือหนงั สอื โครงการเรียนร๎ตู ามรอยพระยคุ ลบาท ผ๎แู ตงํ สานักสงํ เสริมกจิ การ การศึกษา สานักปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปที พี่ ิมพ๑ ม.ป.ป. สถานที่พิมพ๑ ม.ป.พ. กกกกกกก1. 1.6 ชือ่ หนังสือเรยี น สาระการพัฒนาสังคม รายวชิ า สค23088 หน๎าท่พี ลเมอื งตาม รอยพระยุคลบาทรัชกาลที่เกา๎ 2 กกกกกกก2. สอื่ อิเล็กทรอนกิ ส๑ ไดแ๎ กํ กกกกกกก2. 2.1 ชือ่ บทความความหมายของคนดี ผแ๎ู ตงํ ทักษด๑ นยั สร๎อยคา สืบคน๎ จาก http://www.gotoknow.org2posts2244587

32 กกกกกกก2. 2.2 ช่ือบทความ พลเมืองดตี ามวถิ ีประชาธปิ ไตย ผ๎แู ตงํ ปณิตา ปตตาทานงั สบื คน๎ จาก http://www.thistudyfocas.com/สงั คมศึกษา/หนา๎ ทพ่ี ลเมอื ง กกกกกกก3. สอื่ แหลํงเรยี นรูใ๎ นชุมชน ได๎แกํ กกกกกกก3. 3.1 หอ๎ งสมดุ ประชาชนจังหวดั ประจวบครี ีขนั ธ๑ กกกกกกก3. 3.2 กศน.ตาบล/เทศบาล ทกุ แหงํ และศนู ย๑การเรยี นชมุ ชน ในอาเภอเมอื ง ประจวบครี ีขนั ธ๑ การวัดและประเมินผล กกกกกกก1. ประเมนิ ความกา๎ วหนา๎ ดว๎ ยวิธกี าร กกกกกกก1. 1.1 การสงั เกต กกกกกกก1. 1.2 การซกั ถาม และตอบคาถาม กกกกกกก1. 1.3 ตรวจเอกสารการเรียนร๎ูดว๎ ยตนเอง (กรต.) กกกกกกก2. ประเมินผลรวม ด๎วยวธิ กี าร กกกกกกก1. 2.1 ตอบแบบทดสอบวัดความร๎ู หัวเรอื่ งที่ 2 ความหมายและความสาคัญของหนา๎ ที่ พลเมอื งตามรอยพระยุคลบาทรชั กาลที่ 9 จานวน 1 ขอ๎ กกกกกกก1. 2.2 ตอบแบบสอบถามวดั เจตคติตํอวิชาหน๎าท่พี ลเมอื งตามรอยพระยุคลบาท รชั กาลทเ่ี ก๎า 2

33 หัวเรอ่ื งที่ 3 หนา้ ท่ีพลเมืองตามรอยพระยคุ ลบาทรชั กาลท่ี 9 ดว้ ยทศพธิ ราชธรรม สาระสาคัญ กกกกกกก1. ทศพิธราชธรรม หมายถึง หลักธรรมหรอื จรยิ วัตรประจาพระเจา๎ แผนํ ดนิ หรอื เปน็ คณุ ธรรมประจาตนของผป๎ู กครองบ๎านเมือง และยังประโยชน๑สขุ ให๎เกิดแกํประชาชน บุคคลธรรมดา ที่เปน็ ผบ๎ู รหิ ารระดับสูงในทกุ องค๑กร สามารถใช๎ทศพิธราชธรรมในการปกครององค๑กรของตนเองใหม๎ ี ความเปน็ ไปโดยธรรม กกกกกกก2. แนวทางปฏิบตั ิหน๎าทีพ่ ลเมอื งตามรอยพระยคุ ลบาทรชั กาลท่ี 9 ดว๎ ยทศพธิ ราชธรรม มี 10 ประการ คอื กกกกกกก2. 2.1 ทาน คอื การให๎ หมายถึง การสละทรพั ย๑ ส่ิงของ เพ่ือชวํ ยเหลอื คนทีด่ อ๎ ยและ ออํ นแอกวาํ แนวปฏบิ ัติของพลเมอื งดี ด๎วยการเป็นผูใ๎ ห๎ นอกเหนือจากการบริจาคเปน็ ทรพั ยส๑ ินหรือ สงิ่ ของแกผํ ยู๎ ากไร๎ ผ๎ดู ๎อยโอกาส และผ๎ตู กทกุ ข๑ไดย๎ ากตามท่ีเราทาอยูํเสมอแล๎ว เรากอ็ าจจะให๎น้าใจแกํ ผอู๎ ื่นได๎ เชนํ ให๎กาลงั ใจแกผํ ต๎ู กอยํใู นหว๎ งทุกข๑ ใหข๎ ๎อแนะนาทเ่ี ปน็ ความรแ๎ู กผํ ู๎รํวมงานหรอื ผใ๎ู ต๎บังคบั บัญชา ใหร๎ อยย้มิ และปยิ วาจาแกญํ าตพิ ่นี ๎อง เพื่อนฝงู รวมถงึ บคุ คลที่มารับบรกิ ารจากเรา เป็นตน๎ การเป็นผูใ๎ ห๎ นอกเหนอื จากการบริจาคเปน็ ทรพั ยส๑ ินหรือสง่ิ ของแกํผยู๎ ากไร๎ ผดู๎ อ๎ ยโอกาส แล๎วสามารถใหค๎ าแนะนา หรอื ใหก๎ าลงั ใจดังกลําว ยงั สามารถให๎อภัยทาน คือ การยกโทษใหก๎ บั บุคคล ทที่ าให๎เราร๎ูสึกไมสํ บายใจ หรือทาใหเ๎ ราไดร๎ ับกระทบกระเทอื น ทั้งด๎านวาจา กาย และใจดว๎ ย กกกกกกก2. 2.2 ศีล คือ การตั้งอยใูํ นศลี หมายถึง มคี วามประพฤติดงี าม เป็นตัวอยาํ งที่ดีแกคํ น ทัว่ ไป แนวปฏิบัติของพลเมืองดี ดว๎ ยการประพฤตทิ ่ดี งี าม ตามหลักศาสนาของตน อยํางนอ๎ ยกข็ อให๎ เราไดป๎ ฏิบัติตามศลี 5 คือ ไมฆํ าํ สตั วต๑ ดั ชวี ติ ไมํลกั ขโมยของของผ๎ูอืน่ ไมลํ วํ งละเมิดลูกเมียเขา ไมํพูด โกหก หรอื พดู สํอเสียดยยุ ง และควรทาตนให๎หาํ งไกลจากเหล๎า บหุ รี่ หรืออบายมุขตําง ๆ นอกจากนี้ ให๎นาศีล 5 ทยี่ ดึ ถอื ปฏิบัติไปควบคมุ พฤติกรรมของตนเอง ใหเ๎ คารพกฎหมายของบ๎านเมืองอยาํ ง เครงํ ครดั กจ็ ะชวํ ยให๎สงั คมไทยอยูํรวํ มกนั ไดอ๎ ยาํ งมคี วามสขุ กกกกกกก2. 2.3 ปริจจาคะ คือ บริจาค หมายถึง การเสยี สละความสุขสาราญของตนเพื่อประโยชน๑ สขุ ของหมํูคณะ แนวปฏบิ ตั ิของพลเมืองดี ดว๎ ยการ เสียสละความสขุ สํวนตนเพือ่ ความสุขหรอื ประโยชน๑ของสวํ นรวม ซ่งึ อาจจะเป็นครอบครวั หนวํ ยงาน หรอื เพ่อื นรํวมงานของเรากไ็ ด๎ เชํน ครอบครัว พํอบา๎ นเสียสละความสุขสํวนตวั ด๎วยการเลิกด่มื เหลา๎ ทาให๎ลกู เมยี มคี วามสุข และเพ่ือน บา๎ นก็สขุ ดว๎ ย เพราะไมํตอ๎ งฟง๓ เสียงอาละวาด ดําทอทุบตกี นั หรอื บุคคลอาจจะเสียสละเวลาชํวงท่ตี ๎อง อยูํกบั ครอ บครัวในตอนเย็นอยูชํ วํ ยเพ่อื นทางาน หรือไปเข๎าคํายพัฒนาชนบท อาสาไปดูแลเดก็ ใน สถานเลยี้ งเดก็ กาพร๎าเปน็ ครัง้ คราว หรือเสียสละรํางกาย /อวัยวะหลงั ตายแล๎วเพอ่ื การศกึ ษา เปน็ ตน๎ ซึ่งการเสยี สละดังกลําวถอื วาํ ไดเ๎ ป็นการบรจิ าค เสยี สละความสุขสวํ นตัว เพอ่ื สํวนรวม

34 กกกกกกก2. 2.4 อาชชวะ คือ ความซอื่ ตรง หมายถึง มคี วามซ่อื สัตย๑สจุ รติ มคี วามจรงิ ใจ ไมกํ ลับกลอก แนวปฏิบตั ิของพลเมืองดี ดว๎ ยการ ดาเนินชวี ิตและปฏบิ ตั ิภารกจิ /หนา๎ ท่ีการงานตาํ ง ๆ ด๎วยความ ซื่อสัตย๑สจุ ริต ไมํคดิ คดโกง หรือหลอกลวงผู๎อื่น เชํน ถ๎าเราขายของ กไ็ มํเอาของไมดํ ีไปหลอกขาย ลกู คา๎ เป็นข๎าราชการ พนกั งานบริษัท หา๎ งรา๎ น กไ็ มคํ อรปั ชัน่ ทง้ั เวลา ทรัพยส๑ ินของหนํวยงานตน เพราะถา๎ ทกุ คนเอาเปรียบหรือโกงกิน ขาดความซือ่ สตั ย๑สุจริต จะทาให๎หนวํ ยงานเสียหายเดือดร๎อน แม๎เราจะไดท๎ รัพย๑สนิ ไปมากมาย แตเํ ราไมํเจริญก๎าวหน๎า ถูกคนรุมประณาม และแมค๎ นอนื่ จะไมรํ ู๎ แตํตัวเรายํอมรอู๎ ยํูแกํใจ จะไมํมีความสุขกาย สบายใจ เพราะกลวั คนอื่นจะมารคู๎ วามลบั ตลอดเวลา ผู๎ทีป่ ระพฤตติ นดว๎ ยความซ่อื ตรง แมไ๎ มํร่ารวยเงินทอง แตํกม็ ีความสุขท้งั กาย ใจได๎ กกกกกกก2. 2.5 มัททวะ คอื ความออํ นโยน หมายถึง มกี ิริยาสภุ าพ มีสัมมาคารวะ วาจาออํ นหวาน มคี วามนมํุ นวล ไมเํ ยํอหยง่ิ ไมหํ ยาบคาย แนวปฏบิ ัตขิ องพลเมืองดี ด๎วยการ ทาตวั สุภาพ นมุํ นวล ไมํเยอํ หย่ิง ถอื ตัว หรือแสดงกิรยิ าวาจา หยาบคายกบั ใคร ไมํวําจะเปน็ ผูใ๎ หญํ ผนู๎ ๎อยหรอื เพ่ือนในระดับ เดยี วกนั การทาตวั เป็นผูท๎ ีม่ คี วามออํ นน๎อมถํอมตน จะทาให๎ไปทีไ่ หนคนก็ให๎การต๎อนรบั เพราะอยูํใกล๎ แล๎วสบายใจ ไมํรอ๎ นรํุม หากบคุ คลแสดงกิรยิ าหยาบคาย ก๎าวรา๎ ว คนก็ถอยหาํ ง ดังน้ัน หลกั ธรรมข๎อน้ี จึงเปน็ การสร๎างเสนหํ ๑อยํางหนึง่ ให๎แกํตัวเราด๎วย กกกกกกก2. 2.6 ตบะ คือ ความเพยี ร หมายถงึ การเพยี รพยายามไมใํ ห๎ความมวั เมาเข๎าครอบงา จติ ใจ ไมลํ มํุ หลงกบั อบายมุขและส่งิ ช่ัวร๎าย ไมหํ มกมนํุ กับความสขุ สาราญ แนวปฏิบตั ิของพลเมอื งดี ดว๎ ยการให๎ปฏิบตั ิหนา๎ ทกี่ ารงานทีร่ ับผิดชอบดว๎ ยความมมุ านะ อดทน ขยัน มํุงมัน่ และทาแตํสงิ่ ทีด่ ี ความถูกต๎อง ฝุาฟ๓ นอุปสรรคตําง ๆ จนประสบความสาเร็จ ดว๎ ยความพากเพยี รนจ้ี ะทาใหเ๎ รา ภาคภมู ิใจเม่ืองานสาเร็จ และจะทาให๎เรามีประสบการณเ๑ กงํ กล๎าขึน้ นอกจากนี้ ยังสอนใหเ๎ ราส๎ูชีวติ ไมยํ อมแพอ๎ ะไรงาํ ย ๆ กกกกกกก2. 2.7 อักโกธะ คอื ความไมํโกรธ หมายถึง มจี ติ ใจมนั่ คง มคี วามสขุ มุ เยือกเยน็ อดกลัน้ ไมแํ สดงความโกรธหรือความไมพํ อใจให๎ปรากฏ แนวปฏบิ ตั ขิ องพลเมอื งดี ด๎วยการฝกึ ฝนควบคุม อารมณข๑ องตนเอง ไมํใหเ๎ ปน็ คนโมโหงําย และพยายามระงบั ยบั ย้งั ความโกรธอยํเู สมอ แม๎ในหลาย ๆ สถานการณจ๑ ะทาได๎ยาก แตหํ ากเราสามารถฝกึ ฝน ไมใํ ห๎เป็นคนโมโหงาํ ย และพยายามระงับยบั ย้ัง ความโกรธอยูํเสมอ จะเป็นประโยชน๑ตอํ เราหลายอยาํ ง เชนํ ทาให๎เราสขุ ภาพจิตดี หน๎าตาผอํ งใส ข๎อ สาคัญ ทาให๎เรารักษามิตรไมตรีหรือสมั พันธภาพกับผอ๎ู ่นื ไว๎ได๎ อนั มผี ลใหบ๎ คุ คลนัน้ เปน็ ทร่ี กั และเกรงใจ ของคนทตี่ ิดตอํ ด๎วย กกกกกกก2. 2.8 อวหิ ิงสา คือ ความไมเํ บียดเบยี น หมายถึง ไมํกดขข่ี มํ เหง กลน่ั แกลง๎ รงั แกคนอน่ื ไมหํ ลงในอานาจ ทาอันตรายตํอราํ งกายและทรัพย๑สนิ ผอู๎ ่ืนตามอาเภอใจ แนวปฏบิ ัติของพลเมอื งดี ดว๎ ยการไมํเบียดเบียนหรือบีบค้นั กดข่ีผูอ๎ ื่น รวมไปถงึ การไมใํ ชอ๎ านาจไปบังคบั หรือหาเหตกุ ลั่นแกลง๎ คนอ่นื ด๎วย เชํน ไมํไปขํมเหงรงั แกผ๎ูด๎อยกวํา ไมไํ ปขํมขใูํ หเ๎ ขากลัวเราหรอื ไปบีบบงั คับเอาของรัก ของ หวงมาจากเขา เปน็ ต๎น นอกจากไมํเบยี ดเบียนคนดว๎ ยกนั แล๎ว เรายังไมํควรเบยี ดเบยี นธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ๎ ม และสตั วอ๑ ีกด๎วย เพราะมฉิ ะนนั้ ผลรา๎ ยจะยอ๎ นกลับมาสูํเรา และสังคม อยํางที่เห็ นใน ปจ๓ จุบันจากภัยธรรมชาตติ าํ ง ๆ

35 กกกกกกก2. 2.9 ขันติ คอื ความอดทน หมายถึง การอดทนตํอสิ่งท้ังปวง สามารถอดทนตํองานหนกั ความยากลาบาก ท้ังอดทน อดกลนั้ ตอํ คาติฉนิ นินทา แนวปฏิบัติของพลเมืองดี ด๎วยการ ใหเ๎ ราอดทน ตํอความยากลาบากทุกสถานการณ๑ ไมทํ ๎อถอย และไมํหมดกาลงั กาย กาลังใจทจ่ี ะดาเนินชวี ิต และทา หน๎าท่กี ารงานตํอไปจนสาเรจ็ รวมท้งั อดทนตํอการไมํไดร๎ ับความสขุ สาราญ ไมไํ ด๎รบั ความสะดวก สบาย ความอดทนจะทาให๎เราชนะอุปสรรคทัง้ ปวงไมํวําเล็กหรือใหญํ และจะทาให๎เราแกรํงข้ึน เขม๎ แขง็ ขึ้น กกกกกกก2. 2.10 อวโิ รธนะ คอื ความเทย่ี งธรรม หมายถึง ไมํประพฤติผดิ ประพฤตปิ ฏบิ ตั ิตนอยํใู น ความดงี าม ไมํหวัน่ ไหวในเร่อื งดเี รอื่ งรา๎ ย แนวปฏิบตั ิของพลเมืองดี ดว๎ ยการควรกระทาการงาน หรือ ดาเนินชีวิตทถ่ี ูกตอ๎ ง และใหค๎ วามเป็นธรรมกบั บุคคลทีเ่ กี่ยวข๎อง ด๎วยความยตุ ิธรรม และเท่ยี งธรรม ตัวช้วี ัด กกกกกกก1. วเิ คราะห๑หนา๎ ท่พี ลเมืองตามรอยพระยุคลบาทรชั กาลท่ี 9 ด๎วยทศพิธราชธรรมตาม สถานการณท๑ ่ีกาหนดให๎ได๎ กกกกกกก2. ตระหนกั ถงึ ความสาคัญของหนา๎ ที่พลเมืองตามรอยพระยุคลบาทรชั กาลที่ 9 ดว๎ ยทศพธิ ราชธรรม ขอบข่ายเนอ้ื หา กกกกกกก1. ความหมายของทศพิธราชธรรม กกกกกกก2. แนวทางการปฏิบตั ิหน๎าท่ีพลเมอื งตามรอยพระยคุ ลบาทรชั กาลท่ี 9 ดว๎ ยทศพธิ ราชธรรม เนื้อหา กกกกกกก1. ความหมายของทศพธิ ราชธรรม กกกกกกก1. ทศพธิ ราชธรรม หมายถงึ หลกั ธรรมประจาพระองค๑ หรอื เป็นคณุ ธรรมประจาตน ของผู๎ปกครองบา๎ นเมอื ง ใหม๎ คี วามเป็นไปโดยธรรม และยงั ประโยชนส๑ ุขใหเ๎ กดิ แกํประชาชนจนเกดิ ความช่นื ชมยินดี ซ่ึงความจรงิ แลว๎ ไมํได๎จาเพาะเจาะจงสาหรับพระเจ๎าแผนํ ดนิ หรือผูป๎ กครองแผํนดนิ เทํานั้น บคุ คลธรรมดาท่ีเปน็ ผู๎บริหารระดบั สูงในทกุ องคก๑ รกพ็ งึ ใชห๎ ลกั ธรรมเหลําน้ี กกกกกกก1. ทศพธิ ราชธรรม หมายถงึ จริยวตั รที่พระเจา๎ แผนํ ดินทรงประพฤติเป็นหลกั ธรรมประจา พระองค๑ หรือคณุ ธรรมของผปู๎ กครองบ๎านเมือง กกกกกกก1. ทศพธิ ราชธรรม หมายถงึ ความซ่อื ตรง ทรงมีพระราชอธั ยาศยั อันประกอบดว๎ ยความ ซือ่ ตรง ดารงในสตั ย๑สุจริต กกกกกกก1. ทศพิธราชธรรม หมายถึง หลกั ธรรมอนั เปน็ เครอ่ื งยดึ เหนีย่ วนา้ ใจของกนั และกนั เห็น เหตใุ หต๎ นเอง และหมูํคณะกา๎ วไปสูํความเจริญรงํุ เรือง

36 กกกกกกก1. กลาํ วโดยสรุป ทศพธิ ราชธรรม หมายถึง เป็นหลักธรรมหรอื จรยิ วัตรประจาพระเจ๎า แผนํ ดนิ หรอื เป็นคณุ ธรรมประจาตนของผป๎ู กครองบา๎ นเมือง และยังประโยชนส๑ ขุ ให๎เกดิ แกํประชาชน บุคคลธรรมดาทเ่ี ป็นผ๎ูบรหิ ารระดับสงู ในทกุ องค๑กร สามารถใชท๎ ศพิธราชธรรมในการปกครององคก๑ ร ของตนเองใหม๎ ีความเปน็ ไปโดยธรรม กกกกกกก2. แนวทางการปฏิบตั ิหน้าที่พลเมอื งตามรอยพระยคุ ลบาท รชั กาลท่ี 9 ด้วยทศพธิ ราชธรรม กกกกกกก2. ทศพิธราชธรรมที่พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ใช๎ ปกครองประเทศไทยและพลเมืองไทย ควรตามรอยพระยคุ ลบาท มี 10 ประการ ดังนี้ กกกกกกก2. 2.1 ทาน คือ การให๎ การสละทรัพย๑ สง่ิ ของ เพอ่ื ชํวยเหลือคนท่ีดอ๎ ยและออํ นแอกวาํ กกกกกกก2. 2.1 นับแตํปีพุทธศักราช 2493 หลงั จากพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษกแลว๎ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช รชั กาลท่ี 9 ได๎ทรงบาเพ็ญทานบารมมี ากมายจนเหลือที่จะพรรณนา ได๎สุดส้นิ ครบถว๎ นทัง้ สองประการ คือ \"ธรรมทาน\" ซง่ึ ถอื เป็นทานอนั เลศิ ทางพระพทุ ธศาสนาสามารถ แก๎ความทุกขย๑ ากขาดแคลนทางจิตใจ ทาให๎ใจเป็นสุขและตั้งอยํูในความดงี าม โดยไดพ๎ ระราชทาน พระบรมราโชวาทแฝงด๎วยคตธิ รรมเปน็ เครอื่ งเตอื นใจในเร่ืองตาํ ง ๆ แกพํ สกนกิ รตามสถานะ และ วาระโอวาทอยูํเสมอ ในท๎องถน่ิ ทต่ี อ๎ งการความร๎ู ไดพ๎ ระราชทานความร๎ู และตรสั แนะนา ในส่งิ อันจะ ทาประโยชนม๑ าให๎ ด๎วยพระมหากรุณาธคิ ณุ ทจ่ี ะทรงชํวยดับทุกข๑ ความเดือดรอ๎ นในจติ ใจของ ประชาชน ทัง้ มวล นอกจากธรรมทานแลว๎ \"อามิสทาน \" หรือ \"วัตถุทาน \" กท็ รงมีพระเมตตาใน พระราชหฤทยั เปน็ ลน๎ พ๎น ไดพ๎ ระราชทานพระราชทรัพยแ๑ ละวตั ถุสงิ่ ของตําง ๆ เพอ่ื แก๎ความทกุ ข๑ยากขาดแคลนทาง กายใหแ๎ กพํ สกนกิ รเสมอมา ในการบาเพญ็ ทางบารมีน้ี ได๎ทรงบาเพญ็ ตามทพี่ ระพทุ ธเจา๎ ตรัสสอน ทุก ประการ คอื ทรงบาเพ็ญครบถ๎วนตามคณุ สมบัตขิ องทาน 3 ประการ ได๎แกํ คณุ สมบัติของทาน ประการท่ีหนึง่ คือ การพระราชทานใหแ๎ กบํ คุ คลที่สมควรได๎รับการอนเุ คราะหโ๑ ดยมไิ ดท๎ รงเลอื ก เชื้อชาติหรอื ศาสนา คณุ สมบตั ิของทานประการท่สี อง คือ ถงึ พรอ๎ มดว๎ ยเจตนาโดยทรงมพี ระเมตตา คณุ เปย่ี มลน๎ ในพระราชหฤทยั ทัง้ กอํ นการพระราชทาน ขณะพระราชทาน และหลงั การพระราชทาน แลว๎ คณุ สมบัติของทานประการท่สี าม คือ วตั ถุท่พี ระราชทานนน้ั ล๎วนเปน็ ประโยชน๑แกรํ าษฎรผ๎ูรบั พระราชทาน ใหพ๎ น๎ จากการขาดแคลนไดอ๎ ยํางไมํมีข๎อสงสัย นอกจากนีย้ งั ทรงบาเพ็ญทานใหเ๎ ป็นบุญ ตามท่พี ระพทุ ธองคท๑ รงสอนไว๎ คอื บาเพญ็ ให๎เปน็ เครอื่ งชาระกิเลสอันมคี วามละโมบ เป็นต๎น ตัวอยํางเชํน \"สวนหลวง ร.9\" ซ่งึ ชาวไทยรํวมใจกนั สร๎างข้ึน เพื่อถวายเป็นราชสกั การะ ก็มไิ ดท๎ รง สงวนไว๎สาหรับพระองค๑ แตํไดพ๎ ระราชทานใหเ๎ ป็นสาธารณสถาน เพือ่ ประโยชน๑สขุ แหํงปวงชนชาว ไทยทั้งมวล สวํ นโครงการหลวง โครงการพระราชดาริตาํ ง ๆ ทม่ี อี ยนูํ บั พันโครงการทั่วประเทศ รวมทั้ง \"ศูนยศ๑ ึกษาการพฒั นาอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ \" ซงึ่ โปรดใหต๎ งั้ ข้ึนในภาคตําง ๆ เพอ่ื ศกึ ษาพน้ื ท่ี และวจิ ัยปรบั ปรุงพนั ธพุ๑ ืชผลใหเ๎ หมาะแกํท๎องถน่ิ อนั เปน็ การแก๎ไขตน๎ เหตแุ หงํ ป๓ญหาเพอื่ พฒั นา ประเทศใหไ๎ ดผ๎ ลนน้ั จดั เป็นการบาเพ็ญทานใหเ๎ ปน็ กุศล คอื เปน็ กิจของคนดี คนมปี ๓ญญา ถกู กาลสมัย เหมาะแกํความตอ๎ งการของผรู๎ บั ไมํทาให๎พระองค๑ หรอื ผใ๎ู ดเดอื ดร๎อน การบาเพญ็ ทานให๎เปน็ กุศลของ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 จึงยงั ผลใหไ๎ พรํฟูาหนา๎ ใสไดโ๎ ดยท่วั หน๎ากนั

37 ภาพทรงใหว๎ ตั ถุทาน ภาพทรงให๎ธรรมทาน กกกกกกก2. 2.1 หนา๎ ท่พี ลเมอื งดี มแี นวปฏิบตั ิ ได๎แกํ การเปน็ ผใ๎ู ห๎ นอกเหนือจากการบริจาคเป็น ทรพั ยส๑ ินหรอื สิ่งของแกํผ๎ูยากไร๎ ผดู๎ ๎อยโอกาส และผต๎ู กทกุ ข๑ได๎ยากตามทเี่ ราทาอยเํู สมอแล๎ว เราก็ อาจจะใหน๎ ้าใจแกผํ ูอ๎ ่ืนได๎ เชนํ ใหก๎ าลงั ใจแกผํ ๎ตู กอยใํู นหว๎ งทุกข๑ ให๎ขอ๎ แนะนาที่เป็นความร๎ู แกํผ๎ูรวํ มงาน หรอื ผ๎ูใต๎บังคับบญั ชา ให๎รอยย้มิ และปิยวาจาแกญํ าตพิ ่นี ๎อง เพอื่ นฝงู รวมถงึ บคุ คลท่มี า รบั บริการจากเรา เป็นต๎น การเปน็ ผ๎ใู ห๎ นอกเหนอื จากการบรจิ าคเป็นทรัพยส๑ นิ หรอื สิ่งของแกํผย๎ู ากไร๎ ผ๎ดู อ๎ ยโอกาสแล๎ว สามารถให๎คาแนะนา หรอื ให๎กาลงั ใจดงั กลําว ยงั สามารถใหอ๎ ภยั ทาน คือ การยกโทษ ให๎กับบุคคลที่ทาใหเ๎ รารสู๎ ึกไมํสบายใจ หรอื ทาให๎เราได๎รบั กระทบกระเทอื น ท้งั ดา๎ นวาจา กาย และใจดว๎ ย กกกกกกก2. 2.2 ศลี คอื การตงั้ อยํูในศีล หมายถึง มีความประพฤตดิ ีงาม เป็นตวั อยํางทด่ี ีแกคํ นทั่วไป กกกกกกก2. 2.2 พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช รัชกาลที่ 9 ทรงปฏิบัติพระองค๑ ใหเ๎ ป็นท่ีประจักษต๑ ลอดมาวํา ทรงเครํงครัดในการรกั ษาศีล และทรงมนี า้ พระทัยนบั ถือ พระพทุ ธศาสนา โดยบริสุทธ์ิ ดังจะเหน็ ได๎จากการเสด็จออกทรงผนวชรกั ษาศีล 227 ขอ๎ ของพระภกิ ษุใน บวรพทุ ธศาสนา เม่ือวนั ท่ี 22 ตุลาคม พ.ศ. 2499 ณ พระอโุ บสถวดั พระศรรี ัตนศาสดาราม และเม่อื ทรงผนวชแล๎วได๎ เสดจ็ มาประทับรักษาศลี ตามพุทธบัญญตั ิ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร โดยประทับ ณ \"พระตาหนกั ป้๓ นหยํา\" แล๎วจึงเสดจ็ มาประทบั ณ \"พระตาหนักทรงพรต \" ตามขตั ติยราชประเพณี แม๎เมื่อทรงลาผนวชแลว๎ พระองค๑ยงั คงเสด็จมาประทับนง่ั สมาธกิ รรมฐานเป็นครั้งคราว ณ พระตาหนักทรงพรตนต้ี ลอดระยะเวลา แหงํ การทรงผนวช ทรงดารงพระองคไ๑ ดง๎ ดงามบรสิ ุทธ์ิ สมควรแกํการเป็นพุทธสาวก จนเปน็ ที่ เลือ่ มใส

38 ศรทั ธา แกํพสกนกิ รโดยทวั่ หนา๎ เมือ่ ทรงลาผนวชมาอยพูํ ระราชฐานะแหงํ พระมหากษัตริยา ธิราชแลว๎ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช รชั กาลท่ี 9 ยงั ทรงประพฤติอยํูในศลี โดยบรสิ ุทธ์ิ กลําวคอื ทรงประพฤติพระราชจริยวตั รในทางพระวรกาย และในทางพระวาจาใหส๎ ะอาดง ดงาม ถกู ตอ๎ งอยํูเป็นนจิ ไมํเคยบกพรํอง ไมวํ ําจะเปน็ ศลี ในการปกครอง หรอื ศลี ในทางศาสนากต็ าม ในดา๎ น ศีลในการปกครอง คอื การประพฤติตนตามกฎหมายและจารี ตประเพณีอันดงี ามนนั้ ไมเํ คยปรากฏ เลยวาํ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช รชั กาลที่ 9 ทรงใชพ๎ ระราชอานาจของ พระองค๑เหนือกฎหมาย และไมเํ คยมแี ม๎แตํสักครั้งเดยี วทีจ่ ะทรงละทง้ิ จารีตประเพณีอันดีงามของชาติ และของพระราชวงศ๑ พระเกียรตคิ ุณในขอ๎ น้เี ปน็ ทซ่ี ึมซาบ ในใจของชาวไทยเป็นอยํางดี นบั จาก กาลเวลาท่ีลวํ งผํานมาตราบจนถึงทุกวนั น้ี สํวนศีลในทางศาสนา อยาํ งนอ๎ ยคอื ศีลหา๎ อนั เป็นศลี หรือ กฎหมายที่ใชใ๎ นการปกครองแผํนดินมาตัง้ แตํอดตี กํอนพุทธกาลน้นั พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหา ภูมพิ ลอดลุ ยเดช รชั กาลที่ 9 ไดท๎ รงสมาทานรกั ษาอยํางเครงํ ครัด และทรงสนับสนนุ ให๎พสกนิกรของ พระองค๑สมาทานรักษาศลี อยาํ งเครงํ ครดั สาหรบั ผท๎ู มี่ ไิ ด๎นับถอื พุทธศาสนา พระองคท๑ รง สนบั สนนุ ให๎ ยดึ มัน่ ตามคาสอนแหํงศาสนาอนั ตนศรัทธา ดว๎ ยทรงตระหนักวําทกุ ศาสนามหี ลกั คาสอนทีน่ าไปสูํการ ประพฤตดิ ี ศาสนาจึงเป็นส่งิ จาเปน็ สาหรบั การอยรํู ํวมกนั ของชนหมํมู าก แม๎บดั นใ้ี นการปกครองจะมี กฎหมายอยูแํ ล๎ว กย็ ังตอ๎ งอาศยั ศาสนาเป็นเคร่อื งอุปการะดว๎ ยกฎหมายบังคบั ได๎ เพียงแคกํ าย สํวนศาสนาสามารถเข๎าถงึ จิตใจ น๎อมนาไปปฏิบตั ติ าม โดยไมตํ อ๎ งบังคับ การท่ีพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช รชั กาลท่ี 9 ทรงปกครองบ๎านเมืองด๎วยกฎหมายและศาสนา ประกอบกับการท่ที รงสมาทานศีลอยาํ งเครํงครดั ดังปรากฏในที่ทกุ สถาน ชาวไทยจงึ มคี วามสุขสงบ และวัฒนาดว๎ ยศลี บารมีแหงํ พระองค๑ ภาพทรงสนทนาธรรมกับสมเดจ็ พระสงั ฆราช

39 ภาพทรงผนวช กกกกกกก2. 2.2 หน๎าที่พลเมืองดี มีแนวปฏิบตั ิ ได๎แกํ การประพฤติท่ดี งี าม ตามหลกั ศาสนาของตน อยาํ งน๎อยก็ขอให๎เราได๎ปฏิบตั ติ ามศีล 5 คือ ไมฆํ ําสัตวต๑ ดั ชวี ติ ไมลํ กั ขโมยของของผอ๎ู น่ื ไมลํ วํ งละเมดิ ลกู เมยี เขา ไมพํ ูดโกหก หรอื พูดสํอเสยี ดยุยง และควรทาตนใหห๎ ํางไกลจากเหล๎า บหุ รี่ หรือ อบายมุข ตาํ ง ๆ นอกจากนใี้ ห๎นาศีล 5 ทีย่ ึดถอื ปฏิบัตไิ ปควบคุมพฤติกรรมของตนเอง ให๎เคารพกฎหมายของ บ๎านเมืองอยาํ งเครงํ ครัด กจ็ ะชวํ ยให๎สังคมไทยอยรํู วํ มกนั ไดอ๎ ยาํ งมีความสุข กกกกกกก2. 2.3 ปริจจาคะ คอื บริจาค หมายถงึ การเสยี สละความสุขสาราญของตน เพื่อประโยชน๑ สุขของหมํคู ณะ กกกกกกก2. 2.3 ในด๎านการบริจาค การเสยี สละความสุขสาราญของตน เพอื่ ประโยชน๑สุขของหมํูคณะ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ทรงยดึ ถือประโยชน๑และความเจรญิ ของชาติ ศาสนา รวมท้ังประโยชน๑สขุ ของพสกนิกร สาคญั ยงิ่ กวําพระองคเ๑ อง พระราชกรณียกิจ นานัปการจึงเปน็ ไปเพอื่ ความวฒั นา และประโยชน๑สุขของชาวไทย ด๎านการสงเคราะห๑ ได๎ทรงเสยี สละ พระราชทรัพย๑ และส่งิ ของจานวนมากมายจนสดุ ทจ่ี ะประมาณได๎ เพ่อื ดับความทุกขย๑ ากของพสกนิกร ในยามประสบภัยพิบัติ และในถน่ิ ทรุ กันดาร ทรงสละพระราชทรัพย๑เพอื่ พัฒนาการศกึษาใหแ๎ กํเยาวชนไทย โดยโปรดให๎มีโครงการจดั ตั้งโรงเรยี นในถิ่นยากจนตําง ๆ โครงการสารานกุ รมไทยสาหรับเยาวชน และ ทุนอานนั ทมหดิ ลเพื่อสํงนักเรียนไทยไปศึกษาตาํ งประเทศ เปน็ ตน๎ ทรงสละพระราชทรัพย๑นบั จานวน ไมํนอ๎ ย ในการพระราชทานพระบรมราชปู ถมั ภแ๑ กํมูลนิธิและสาธารณสถานตําง ๆ เพื่อประโยชนส๑ ุข ของชาวไทย ทรงเสยี สละพระราชทานท่นี าของทรัพย๑สินสวํ นพระมหากษัตริยใ๑ นจังหวัดตําง ๆ กวาํ 50,000 ไรํ ให๎เข๎าอยูํในโครงการปฏริ ูปทดี่ ิน เม่อื ปี พ.ศ.2518 เพ่ือแบํงปน๓ ท่ที ากนิ ให๎แกเํ กษตรกรท่ี ยากจน การท่ที รงบริจาคพระราชทรัพย๑ วัตถุสงิ่ ของ และท่ดี ิ นจานวนมหาศาล รวมทง้ั การที่ทรง เสียสละปฏิบัติ พระราชภารกจิ ทั้งนอกและในประเทศ พระราชภารกิจในโครงการ พระราชดารนิ ับพันๆ โครงการทัว่ ประเทศน้ี ยํอมเป็นทีป่ ระจักษช๑ ดั ในความเสียสละอนั ใหญหํ ลวงของพระองค๑ ดว๎ ยทรง เสียสละเวลา พระปรีชาสามารถ และความสาราญพระราชหฤทยั ทั้งมว ล ทรงยอมรบั ความเหน็ดเหน่ือย พระวรกายทกุ ประการเพ่อื พสกนกิ รชาวไทยอยาํ งแท๎จรงิ จะเหน็ ได๎วําพระองคท๑ รงเสยี สละความสุข สาราญของตนเพือ่ ประโยชนส๑ ขุ ของพสกนิกรน่ันเอง

40 ภาพเสด็จเยย่ี มพสกนกิ ร ภาพทรงมอบทนุ อานนั ทมหิดลเพอ่ื สงํ นักเรยี นไทยไปศกึ ษา ตํางประเทศ กกกกกกก2. 2.3 หน๎าทพ่ี ลเมืองดี มีแนวปฏบิ ตั ิ ไดแ๎ กํ การเสยี สละความสุขสํวนตน เพือ่ ความสุข หรอื ประโยชน๑ของสํวนรวม ซ่ึงอาจจะเป็นครอบครัว หนํวยงาน หรอื เพอ่ื นรํวมงานของเราก็ได๎ เชํน ครอบครวั พอํ บ๎านเสยี สละความสขุ สวํ นตวั ดว๎ ยการเลิกดมื่ เหลา๎ ทาใหล๎ กู เมยี มีความสขุ และเพื่อน บ๎านก็สขุ ดว๎ ย เพราะไมตํ อ๎ งฟง๓ เสยี งอาละวาด ดําทอทบุ ตกี นั หรอื บคุ คลอาจจะเสยี สละเวลาชวํ งที่ต๎อง อยูกํ ับครอบครัวในตอนเย็นอยชูํ วํ ยเพ่อื นทาง าน หรือไปเขา๎ คํายพฒั นาชนบท อาสาไปดแู ลเดก็ ใน สถานเลี้ยงเด็กกาพรา๎ เปน็ ครั้งคราว หรอื เสียสละราํ งกาย /อวัยวะหลงั ตายแล๎วเพื่อการศึกษา เปน็ ตน๎ ซ่ึงการเสยี สละดังกลําวถือวาํ ได๎เปน็ การบรจิ าค เสียสละความสุขสวํ นตัว เพ่ือสํวนรวม กกกกกกก2. 2.4 อาชชวะ คอื ความซื่อตรง หมายถงึ มีความซ่ือสตั ย๑สจุ ริต มีความจริงใจ ไมกํ ลับ กลอก กกกกกกก2. 2.4 อันทศพธิ ราชธรรมขอ๎ ที่สี่ คอื อาชชวะ หรือความซือ่ ตรงน้ี พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช รชั กาลท่ี 9 ได๎ทรงปฏบิ ตั อิ ยเํู ปน็ นจิ สาหรับผู๎ทีม่ ีอายุคงจะจากัน ได๎ดวี ําหลังจากทไ่ี ดท๎ รงดารงสริ ิราชสมบตั ิแล๎ว ในวันท่ี 19 สงิ หาคม พ.ศ. 2489 อันเป็นวนั กาหนด เสด็จกลับไปทรงศึกษาตํอในตาํ งประเทศ ระหวํางประทับรถพระทนี่ ่ังเพือ่ เสด็จพระราชดาเนินไปข้ึน เครื่องบินนนั้ ไดม๎ เี สียงร๎องมาจากกลมํุ พสกนกิ รทเ่ี ฝาู สงํ เสดจ็ วาํ \"อยําทิง้ ประชาชน \" และไดม๎ พี ระราช