รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 1 สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา โรงเรยี นอนุบาลเทศบาลนครภเู ก็ต ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ ตามที่โรงเรียนโรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต ได้ดำเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๐ ตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประกาศของกระทรวงมหาดไทย โดยจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อ หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเสนอต่อสาธารณชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรบั การประเมินคณุ ภาพภายนอก บัดนี้การดำเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา เสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงขอเสนอผลการประเมินคุณภาพภายใน สถานศกึ ษา แสดงในตาราง สรปุ ผลได้ดงั นี้ ระดบั การศึกษาปฐมวยั มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ คา่ เฉล่ีย ระดับ สรปุ ผลการ ๔.๕๐ คุณภาพ ประเมิน มาตรฐานด้านปัจจัยทางการศึกษา มาตรฐานท่ี ๑ ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มีความสามารถในการจัดประสบการณ์ ดเี ยย่ี ม ได้มาตรฐาน การเรียนรูท้ ี่เน้นเดก็ เปน็ สำคญั มาตรฐานที่ ๒ ผู้บริหารสถานศึกษา มีคุณธรรม จริยธรรม มีภาวะผู้นำ ๔.๕๐ ดเี ยี่ยม ได้มาตรฐาน และมีความสามารถในการบริหารจดั การศึกษา มาตรฐานที่ ๓ สถานศกึ ษามจี ำนวนเด็กมี ทรัพยากร และสภาพแวดลอ้ มที่ส่งเสริม ๔.๐๐ ดมี าก ไดม้ าตรฐาน สนบั สนนุ ให้ เปน็ สงั คมแห่งการเรียนรู้ ๔.๐๐ ดมี าก ไดม้ าตรฐาน มาตรฐานด้านกระบวนการทางการศกึ ษา มาตรฐานที่ ๔ สถานศึกษาดำเนนิ การบริหารจัดการศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน มาตรฐานที่ ๕ สถานศึกษาจดั ทำหลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวัยทีเ่ น้นเด็กเป็นสำคัญ ๔.๕๐ ดเี ยย่ี ม ได้มาตรฐาน มาตรฐานท่ี ๖ สถานศกึ ษาสนบั สนนุ การใช้แหลง่ เรียนร้แู ละภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิ่น ๔.๐๐ ดมี าก ไดม้ าตรฐาน มาตรฐานท่ี ๗ สถานศกึ ษาจัดระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา ๔.๕๐ ดีเยย่ี ม ได้มาตรฐาน ดีเยี่ยม ได้มาตรฐาน มาตรฐานท่ี ๘ สถานศึกษาพัฒนาตามนโยบาย และแนวทางการปฏิรูปการศึกษา ๔.๕๐ ท่เี ปน็ มาตรการเสรมิ เพอ่ื ยกระดับคุณภาพการศกึ ษาให้สูงขึ้น มาตรฐานดา้ นผลผลติ ทางการศึกษา ไดม้ าตรฐาน มาตรฐานท่ี ๙ เดก็ มพี ัฒนาการดา้ นรา่ งกายเหมาะสมตามวยั ๕.๐๐ ดีเย่ียม ได้มาตรฐาน มาตรฐานที่ ๑๐ เดก็ มพี ัฒนาการด้านอารมณแ์ ละจติ ใจเหมาะสมตามวยั ๕.๐๐ ดีเยย่ี ม ได้มาตรฐาน มาตรฐานที่ ๑๑ เดก็ มพี ัฒนาการดา้ นสงั คม เหมาะสมตามวัย ๕.๐๐ ดเี ย่ยี ม ไดม้ าตรฐาน มาตรฐานที่ ๑๒ เดก็ มพี ัฒนาการดา้ นสตปิ ัญญาเหมาะสมตามวยั ๕.๐๐ ดเี ยย่ี ม ไดม้ าตรฐาน มาตรฐานท่ี ๑๓ สถานศกึ ษาบรรลผุ ลตามเปา้ หมาย ปรชั ญา วิสยั ทัศน์ และจุดเนน้ ๕.๐๐ ดเี ยย่ี ม ได้มาตรฐาน มาตรฐานที่ ๑๔ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และเด็กมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ ๔.๕๐ ดเี ยย่ี ม ไดม้ าตรฐาน ของผู้ปกครองและชมุ ชน ค่าเฉลี่ยรวม ๔.๕๗ ดเี ยี่ยม ไดม้ าตรฐาน สรปุ ผลการประเมินคุณภาพภายในระดับการศกึ ษาปฐมวยั • คา่ เฉลีย่ รวมผลการประเมินคณุ ภาพ เทา่ กบั ๓.๘๙ มีคณุ ภาพระดบั ดเี ยย่ี ม การรบั รองมาตรฐานการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา • มีค่าเฉลี่ยผลประเมนิ คณุ ภาพ เพราะผลการประเมินระดับคณุ ภาพองิ เกณฑแ์ ละอิงสถานศกึ ษา ใช่ ❑ ไม่ใช่ มคี า่ เฉล่ยี ตัง้ แต่ 3.00 ขนึ้ ไป • มคี ่าเฉลยี่ ของผลประเมินในระดบั ดีขนึ้ ไปไม่ต่ำกวา่ 11 มาตรฐาน ใช่ ❑ ไมใ่ ช่ • ไม่มผี ลประเมนิ คุณภาพของมาตรฐานอยใู่ นระดับปรับปรงุ ใช่ ❑ ไม่ใช่ สรุปวา่ ผลการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษาในภาพรวม ได้ ❑ ไม่ได้ มาตรฐานคณุ ภาพขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า 2 ตอนท่ี ๑ ขอ้ มลู พ้ืนฐาน ๑. ขอ้ มลู ทั่วไป 1.1 ชื่อโรงเรียน ชือ่ โรงเรยี น (ภาษาไทย) โรงเรียนอนบุ าลเทศบาลนครภเู ก็ต ชือ่ โรงเรียน (ภาษาอังกฤษ) Phuket Municipal Kindergarten School สถานทีต่ ง้ั เลขที่ 454/2 ถนนภูเก็ต ตำบลตลาดใหญ่ อำเภอเมอื ง จงั หวดั ภูเก็ต รหัสไปรษณยี ์ 83000 โทรศัพท์ 0-7621-7653โทรสาร 0-7621-7653 เวบ็ ไซต์ www.phuketkidsschool.com [email protected] สีประจำโรงเรียน ชมพู-เทา สีชมพู หมายถงึ ความรัก ความสดช่ืนเบกิ บาน สีเทา หมายถึง สตปิ ัญญาและความสามารถ สังกดั เทศบาลนครภูเก็ต อำเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต เปดิ สอนระดับปฐมวยั 1.2 ประวัตขิ องสถานศึกษา สภาเทศบาลนครภเู กต็ ไดม้ มี ติในการประชุมสมัยสามัญ สมยั ท่ี 16/2544 เมื่อ วันพฤหัสบดีที่ 2 สิงหาคม 2544 เห็นชอบให้จัดตั้งโรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต (เทศบาล 6) เพื่อ รองรบั การศึกษาระดบั ปฐมวัย (อายุ 3-6 ปี) เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2549 ได้มีการประกาศจัดตั้งโรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต ตามประกาศเทศบาลนครภูเก็ตลงวันท่ี 14 พฤศจิกายน 2549 ในปีงบประมาณ 2548 เทศบาลนครภูเก็ต ได้จัดสรรงบประมาณเป็นเงิน 9,740,000 บาท เพ่อื ก่อสร้างอาคารเรยี น 1 เปน็ อาคารคอนกรตี เสรมิ เหล็ก 2 ชน้ั 10 ห้องเรียน ส่งมอบอาคารเรียน เมอ่ื วันที่ 26 มถิ นุ ายน 2550 โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภู เก็ต ได้เปิดการเรียนการสอนอย่างเป็นทางการ ในปีการศึกษา 2551 เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2551 โดยได้มีการโอนย้ายนักเรียน และบุคลากร ระดับอนุบาลของโรงเรียนเทศบาลบ้านบางเหนียว มาสังกัดโรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต ในขณะนนั้ มนี ักเรียน 8 หอ้ งเรียน จำนวน 324 คนครแู ละบุคลากร จำนวน 12 คน โดยมีนายวินัย สุรยิ ปราการ ผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาลบ้านบางเหนียว รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรยี นอนุบาลเทศบาลนครภเู กต็ ปีงบประมาณ 2557 เทศบาลนครภูเก็ต ได้จัดสรรงบประมาณเป็นเงิน 25,800,000 บาท เพ่ือกอ่ สร้างอาคารเรยี น 2 เปน็ อาคารคอนกรีตเสริมเหลก็ 3 ชัน้ ปีงบประมาณ 2558 เทศบาลนครภูเก็ต ได้จัดสรรงบประมาณเป็นเงิน 33,350,000 บาท เพอื่ กอ่ สรา้ งอาคารเรยี น 3 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก4 ชั้น 20 หอ้ งเรียน ปัจจุบัน มีห้องเรียนจำนวน 15 ห้อง นักเรียนจำนวน 43๗ คน ครูและบุคลากรจำนวน 41 คน ภายใต้การบริหารงานของ นางธนวรรณ อารยี ์พงศ์ ผู้อำนวยการสถานศกึ ษา
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 3 แผนผังบรเิ วณโรงเรียน แผนผงั ภายในสถานศึกษา
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 4 ทีต่ ง้ั สถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภเู กต็ ตัง้ อยูเ่ ลขท่ี454/2 ถนนภูเกต็ ตำบล ตลาดใหญ่ อำเภอเมือง จังหวัดภเู กต็ รหสั ไปรษณยี ์ 83000 โทรศัพท์ 0-7621-7653 มีเน้ือ ที่ทั้งหมด 2ไร่ 3 งาน 68.7 ตารางวา สังกัดสำนักการศึกษา เทศบาลนครภูเก็ต จัดการเรียนการสอน ใน ระดับปฐมวยั โดยใชห้ ลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช 2546 อาณาเขต ตดิ บ้านพกั ขา้ ราชการสำนักงานศุลกากร จงั หวดั ภูเก็ต ทิศเหนือ ห้องสมุดประชาชน เทศบาลนครภูเกต็ ทศิ ตะวันออก และศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เล็กเทศบาลนครภูเกต็ 1 ติดชุมชนซอยต้นโพธิ์ ทิศตะวนั ตก ติดชุมชนซอยตน้ โพธ์ิ ทศิ ใต้ ข้อมูลอาคารเรียน โรงเรียนอนบุ าลเทศบาลนครภูเก็ต มอี าคารเรยี นทง้ั สนิ้ 3 หลงั อาคารเรียน 1 อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ชั้น10ห้องเรียนงบประมาณ 9,740,000.- บาทสร้าง เมอื่ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2548ส่งมอบวนั ท่ี 26 มถิ ุนายน 2550ใช้งานครงั้ แรกเม่อื วันที่ 12 พฤษภาคม 2551 อาคารเรยี นท่ี 1 เป็นอาคารคอนกรตี เสริมเหล็ก 2 ชนั้ ชั้นที่ 1 ประกอบดว้ ย หอ้ งเก็บอปุ กรณก์ ารแสดง หอ้ งพัสดุ หอ้ งพกั ครู ห้องพยาบาล หอ้ งชมรมผปู้ กครอง หอ้ งนาฏศิลป์ ช้ันท่ี 2 ประกอบดว้ ย หอ้ งดนตรี หอ้ งภาษาจีน ห้องศลิ ปะ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า 5 หอ้ งโขน อาคารเรยี น 2 อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 ชั้น10 ห้องเรียนสร้างเมื่อปี พ.ศ.2557 เข้าใช้งาน เมอื่ วนั ที่ 9 พฤษภาคม 2558 อาคารเรียนที่ 2 เป็นอาคารคอนกรตี เสรมิ เหล็ก 3 ช้ัน ช้นั ท่ี 1 ประกอบดว้ ย ห้องศูนยก์ ารเรียนรปู้ ฐมวัย ห้องสมุด ห้องประกอบอาหาร และโรงอาหาร ชน้ั ท่ี 2 ประกอบดว้ ย ห้องอนุบาล 2/1 ห้องอนุบาล 2/2 หอ้ งวิชาการ หอ้ งมาตรฐานการศึกษา หอ้ งภาษาองั กฤษ อนุบาล 2 ชั้นที่ 3 ประกอบดว้ ย หอ้ งอนบุ าล 2/3 ห้องอนุบาล 2/4 หอ้ งอนบุ าล 2/5 หอ้ งอนบุ าล 2/6 หอ้ งอนบุ าล 2/7
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า 6 อาคารเรยี น 3 อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 4 ชั้น สร้างเมื่อปี พ.ศ.2559 เข้าใช้งานเมื่อวันท่ี 1 พฤษภาคม 2560 อาคารเรียนที่ 3 เป็นอาคารคอนกรตี เสรมิ เหลก็ 4ชัน้ ชัน้ ที่ 1 ประกอบดว้ ย ห้องธุรการ ห้องประชุม ชน้ั ท่ี 2 ประกอบดว้ ย ห้องอนุบาล 1/1 ห้องอนบุ าล 1/2 ห้องอนุบาล 1/3 ห้องอนุบาล 1/4 ช้ันที่ 3 ประกอบดว้ ย ห้องอนบุ าล 1/5 ห้องอนุบาล 1/6 หอ้ งอนุบาล 1/7 ห้องอนบุ าล 1/8 ช้นั ที่ 4 ประกอบดว้ ย ห้องภาษาอังกฤษ อนุบาล 1 ห้องห้องผอู้ ำนวยการ ห้องคอมพิวเตอร์ หอ้ งจริยธรรม
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 7 ๒. ข้อมลู ผู้บรหิ าร ๑) นางธนวรรณ อารียพ์ งศ์ ตำแหนง่ ผู้อำนวยการสถานศกึ ษา วฒุ กิ ารศึกษาสงู สดุ ปรญิ ญาครศุ าสตรมหาบัณฑติ สาขาการบริหารการศึกษา โทรศพั ท์ ๐๘๐ – ๑๒๐๘๕๘๕ e-mail [email protected] ดำรงตำแหนง่ ท่ีโรงเรียนแห่งนต้ี ง้ั แต่วนั ที่ ๑๓ เดอื น มกราคม พ.ศ.๒๕๕๕ จนถงึ ปัจจุบัน เป็นเวลา ๖ ปี ๔ เดือน ๒) นางสาวปาล์มวรรณ อินจนั ทร์ ตำแหน่งรองผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา วฒุ กิ ารศกึ ษาสงู สดุ ประกาศนยี บัตรบณั ฑติ สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา โทรศพั ท์ ๐๘๑ – ๕๓๘๐๗๕๙ e-mail [email protected] ดำรงตำแหน่งท่โี รงเรียนแหง่ น้ตี ัง้ แตว่ นั ที่ ๑๓ เดอื น มกราคม พ.ศ.๒๕๕๕ จนถงึ ปัจจุบัน เปน็ เวลา ๖ ปี ๔ เดือน ๓. ข้อมูลครแู ละบุคลากรสนบั สนุนการสอน 3.1 ขา้ ราชการครู/พนกั งานครู ที่ ชื่อ – ชื่อสกุล อายุ อายุ ตำแหน่ง/ วุฒิ วิชาเอก สอนกลุ่ม ภาระสอน จำนวนคร้งั ราชการ วิทยฐานะ สาระ (ช่วั โมง/ และชว่ั โมงที่ เขา้ รบั การ การเรยี นรู้ สัปดาห)์ พัฒนา/ ๑ นางสาวจนั ทนา ทรัพย์เจริญวงศ์ ๕๘ ๑๙ ชำนาญการ ศษ.บ. ปฐมวยั ศกึ ษา ปฐมวยั ๒๐ ปีปัจจบุ ัน พิเศษ ๒๐ ๕/๕๔ ๒๐ ๒ นางรตั นาวดี หมนื่ ปราบ ๕๙ ๑๒ ชำนาญการ ค.บ. การศกึ ษาปฐมวัย ปฐมวยั ๖/๖๖ ๒๐ ๖/๖๖ ๓ นางสาวจรุ ี ไสยรนิ ทร์ ๕๕ ๑๙ ชำนาญการ ค.บ. การศึกษา ปฐมวัย ๑๔ ๒๐ ๗/๘๔ นอกระบบ ๑๔ ๑๒/๑๓๘ ๒๐ ๘/๙๖ 4 นางสาวอำมร บญุ รงั ษี ๕๑ ๑๒ ชำนาญการ ค.บ. การศกึ ษาปฐมวยั ปฐมวยั ๒๐ ๑๓/๑๓๒ ๒๐ ๖/๗๘ 5 นางชฎาพร ทวิสวุ รรณ ๔๐ ๑๒ ชำนาญการ ค.บ. การศึกษาปฐมวัย ปฐมวัย ๑๖ ๑๐/๑๑๔ ๒๐ ๙/๙๐ 6 นางจรรจรุ ีย์ คล้ายเถาว์ ๔๐ ๑๒ ชำนาญการ ค.บ. การศึกษาปฐมวยั ปฐมวัย ๒๐ ๖/๖๐ ๗/๖๖ ๗ นางสาวคนั ธารัตน์ ช่วยเมือง ๔๐ ๑๔ ชำนาญการ ค.บ. การศกึ ษาปฐมวยั ปฐมวัย ๒๐ ๗/๗๘ ๒๐ ๘ นางวนดิ า พลเยีย่ ม ๔๐ ๑๒ ชำนาญการ ค.บ. การศึกษาปฐมวัย ปฐมวยั ๒๐ ๑๐/๑๐๘ ๒๐ ๑๐/๑๓๒ ๙ นางจติ รา แจ้งจุล ๔๐ ๑๒ ชำนาญการ ค.บ. การศึกษาปฐมวัย ปฐมวัย ๑๑/๑๐๘ ๖/๖๖ ๑๐ นางสาวแววเดอื น ชัยวิเศษ ๔๕ ๑๒ ชำนาญการ ค.บ. การศึกษาปฐมวัย ปฐมวยั ๑๑ นางสุณยี ์ จงจำรญู ศกั ดิ์ ๕๖ ๑๒ ชำนาญการ ค.บ. การศกึ ษาปฐมวัย ปฐมวยั ๑๒ นางพวงศรี แซ่ตัน ๔๐ ๑๒ ชำนาญการ ค.บ. การศึกษาปฐมวยั ปฐมวัย ๑๓ นางสาวกัญญารตั น์ ณ ตะกั่ว ๓๔ ๕ - ค.บ. การศกึ ษาปฐมวัย ปฐมวัย ทงุ่ ๑๔ นางสาวกาญจนา สงวนงาม ๔๐ ๑๕ ชำนาญการ ค.บ. การศึกษาปฐมวัย ปฐมวัย ๑๕ นางสาวนิภาพร ในรมั ย์ ๓๙ ๑๕ ชำนาญการ ค.บ. การศึกษาปฐมวยั ปฐมวยั ๑๖ นางสาวขนษิ ฐา เชาวส์ มชาติ ๓๖ ๗ - ค.บ. การศกึ ษาปฐมวัย ปฐมวัย ๑๗ นางสาวนยั นา ปลอดบตุ ร ๓๕ ๗ - ค.บ. การศึกษาปฐมวัย ปฐมวัย
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า 8 3.2 พนักงานจ้าง(ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีสอน) สอนกล่มุ ภาระงาน จำนวน ที่ ชอ่ื – ชื่อสกุล อายุ อายุ วฒุ ิ สาขาวชิ า สาระ จ้างดว้ ยเงนิ สอน ชั่วโมง งาน การเรียนรู้/ (ชัว่ โมง/ ทเี่ ข้ารับ สัปดาห์) การพัฒนา ชน้ั (ปปี จั จุบัน) ๑ นางสาวสกุ ฤตา ศรโี ล ๔๐ ๔ ค.บ. การศึกษาปฐมวยั ปฐมวยั รายไดเ้ ทศบาล ๒๑ ๗/๖๖ ธร ๒๕ ๒ ๒๖ ๒ ค.บ. คอมพวิ เตอร์ ปฐมวยั รายได้เทศบาล ๑๕ ๖/๖๐ ๒ นายพีระพล ศรีธรรม ศึกษา ๖/๖๖ ๓ นางสาวชลุ ีพร กจิ ชู ค.บ. การศกึ ษาปฐมวัย ปฐมวัย เงินรายได้ ๒๐ สถานศึกษา 3.3 ขา้ ราชการ/พนักงานจา้ ง/ลกู จ้าง (สนบั สนนุ การสอน) ที่ ชอ่ื – ช่ือสกลุ อายุ ตำแหน่ง วุฒิ สาขา ปฏบิ ัติหน้าท่ี จ้างด้วยเงนิ ๑ นางสาวอรจิรา ๒๓ เจา้ หน้าทีพ่ สั ดุ ปวส. คอมพวิ เตอรธ์ ุรการ พสั ดุ เงนิ รายไดเ้ ทศบาล ทองเหลือง ๒ นางสาวกติ ยิ า คงใหม่ ๒๗ เจา้ หน้าทธ่ี ุรการ รป.ศ. รัฐประศาสนศาสตร์ ธรุ การ รายไดส้ ถานศกึ ษา ๓ นางสาวอัญชลี ล่ิมศิลา ๓๒ เจา้ หนา้ ทก่ี ารเงนิ บธ.บ. การบรหิ ารทรัพยากร การเงิน รายไดส้ ถานศึกษา มนษุ ย์ ๔ น.ส.กมลชนก วรพทิ ยา ๒๘ ครูพ่เี ลย้ี ง ปวช. การบัญชี ครูพเ่ี ล้ียง รายไดส้ ถานศึกษา ภรณ์ ๕ นางสาวเขมนจิ ละมา้ ย ๒๙ ครพู ี่เลยี้ ง อนุปรญิ ญา ปฐมวัยศกึ ษา ครูพเ่ี ลย้ี ง รายไดส้ ถานศึกษา ๖ นายเอกกจิ ภู่มาลี ๕๒ ครูพเิ ศษ ปรญิ ญาตรี ศศ.บ.โสตทศั นศึกษา ครพู ิเศษ(โขน) รายได้สถานศึกษา ๗ นางสาวกญั ญา แสงอรณุ ๒๗ ครูพิเศษ ปริญญาตรี นาฏศลิ ปไ์ ทยศึกษา ครูพเิ ศษ รายได้สถานศึกษา (นาฏศลิ ป)์ ๘ นางสวุ รรณา วลิ เลย่ี มส์ ๖๒ ครพู ิเศษ ศศ.บ. ภาษาอังกฤษ ครูพิเศษ รายไดส้ ถานศกึ ษา (ภาษาอังกฤษ) 3.4 สรุปจำนวนบุคลากร 3.4.1 จำนวนบุคลากรจำแนกตามประเภท/ตำแหนง่ และวฒุ ิการศกึ ษา ประเภท/ตำแหน่ง จำนวนบคุ ลากร (คน) รวม ตำ่ กว่า ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาเอก ๑ ปรญิ ญาตรี ๑ - ๒ 1. ผ้บู ริหารสถานศึกษา - - ๑๗ - ผ้อู ำนวยการ - -๑ ๓ - ๒๐ - รองผู้อำนวยการ -๑- - - รวม - ๑ ๑ 2. สายงานการสอน - ขา้ ราชการ/พนักงานครู - ๑๗ - - พนักงานจ้าง(สอน) - ๓ - รวม - ๒๐ - 3. สายงานสนับสนนุ การสอน - พนกั งานจ้างเงินรายได้ ๕
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 9 - ครูพี่เล่ียง ๒ -- - - ๓ ๕ - ๘ รวม ๓ ๒๖ ๑ ๓๐ รวมทงั้ สิน้ แผนภมู แิ สดงรอ้ ยละของวุฒิการศึกษาสูงสดุ ของบคุ ลากร 3.33% 10.00% ตา่ กวา่ ปริญญาตรี ปริญญาตรี ปริญญาโท 86.67% แผนภมู ิแสดงร้อยละของบคุ ลากรจาแนกตามประเภทตาแหน่ง 6.67% 26.67% ผูบ้ ริหารสถานศึกษา สายงานการสอน สายงานสนับสนนุ การสอน 66.67%
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า 10 3.4.2 จำนวนครจู ำแนกตามกลมุ่ สาระการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ จำนวน คดิ เปน็ ร้อยละ จำนวนช่วั โมงสอนเฉลย่ี ช่วั โมง/สัปดาห์ ปฐมวัย ๒๐ ๑๐๐ รวมครผู ู้สอนทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้ ๒๐ 100 ของครูภายในกลมุ่ สาระฯ ๑๙ ๑๙ แผนภมู แิ สดงรอ้ ยละของบคุ ลากรจาแนกตามกล่มุ สาระการเรยี นรู้ ปฐมวัย 100.00%
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 11 4. ขอ้ มูลนักเรียน 4.1 จำนวนนกั เรียนในโรงเรยี น ปกี ารศกึ ษา 2560 ท้ังส้ิน ๔๓๗ คน จำแนกตามระดบั ช้ันทีเ่ ปิดสอน ระดับชั้นเรียน จำนวนห้อง เพศ รวม จำนวนเฉลย่ี ชาย หญงิ ตอ่ ห้อง อ.๑ (๔ ขวบ) ๘ ๑๑๐ ๑๐๙ ๒๑๙ ๒๗.๓๘ อ.๒ (๕.ขวบ) ๗ ๑๐๔ ๑๑๔ ๒๑๘ ๓๑.๑๔ รวมทงั้ สิ้น ๑๕ ๒๑๔ ๒๒๓ ๔๓๗ ๒๙.๑๓ จำนวนเด็กพเิ ศษในโรงเรยี น ชาย - คน หญิง - คน รวม จำนวน - คน อตั ราสว่ นนกั เรียน : ครรู ะดบั อนุบาล = ๑ : ๒๒ เป็นไปตามเกณฑ์ ไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑ์ 4.2 จำนวนนักเรียน เปรยี บเทยี บ 3 ปีการศกึ ษายอ้ นหลงั ปีการศึกษา ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐ เปรยี บเทยี บจานวนนักเรียนระดบั ช้ันอนบุ าล ปกี ารศึกษา 2558 - 2560 ปี ก.ศ.2560 ปี กศ.2559 ปี กศ.2558 อนบุ าล 2 218 อนุบาล 1 211 180 219 208 208
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 12
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 13 5. ข้อมูลผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนในระดับสถานศึกษา (ปีที่ผา่ นมา ปกี ารศึกษา ๒๕๕๙) 5.1 ระดบั การศึกษาปฐมวัย ผลพัฒนาการเด็กระดบั ชน้ั อนบุ าลปที ่ี 1 จำนวน สรุปผลการประเมินพัฒนาการ สรุป เดก็ ระดับ ระดับชน้ั ที่ประเมิน ด้านร่างกาย ดา้ นอารมณ์ ดา้ น ดา้ น รวม ค่าเฉลี่ย คณุ ภาพ จิตใจ สังคม สติปัญญา พัฒนาการ ค่าเฉล่ยี คา่ เฉล่ีย คา่ เฉลย่ี ค่าเฉลย่ี ๓ ๓ ชน้ั อนุบาลปที ่ี 1/1 ๓๒ ๒.๘๔ ๒.๘๘ ๒.๘๔ ๒.๘๘ ๑๑.๔๔ ๒.๘๖ ๓ ๓ ช้นั อนุบาลปที ี่ 1/2 ๓๑ ๒.๙๔ ๒.๙๗ ๒.๙๗ ๒.๘๑ ๑๑.๖๙ ๒.๙๒ ๓ ๓ ชนั้ อนุบาลปีที่ 1/๓ ๓๑ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๒.๘๑ ๑๑.๘๑ ๒.๙๕ ๓ ชนั้ อนุบาลปีที่ 1/๔ ๓๐ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๒.๗๐ ๑๑.๗๐ ๒.๙๓ ๓ ชั้นอนุบาลปีที่ 1/๕ ๓๐ ๓.๐๐ ๒.๙๗ ๒.๘๗ ๒.๙๐ ๑๑.๗๔ ๒.๙๔ ชั้นอนบุ าลปีที่ 1/๖ ๓๐ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๑๒.๐๐ ๓.๐๐ ชั้นอนุบาลปที ่ี 1/๗ ๒๔ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๑๒.๐๐ ๓.๐๐ รวม ๒๐๘ ๒๐.๗๘ ๒๐.๘๒ ๒๐.๖๘ ๒๐.๑๐ ๘๒.๓๘ ๒๐.๖๐ คา่ เฉลี่ย ๒.๙๗ ๒.๙๗ ๒.๙๕ ๒.๘๗ ๑๑.๗๗ ๒.๙๔ สรปุ ระดับคุณภาพ ๓ ๓ ๓๓ สรปุ พัฒนาการ ๓ ๓ ๓๓ จานวนนักเรียนมีผลการประเมนิ พฒั นาการ ระดับช้นั อนบุ าล 1 250 208 208 200 208 208 201 195 176 200 150 100 50 13 8 32 ดา้ นอารมณ์ จิตใจ ดา้ นสงั คม ดา้ นสตปิ ัญญา 7 0 ดา้ นร่างกาย ระดับ 3 (ด)ี ระดบั 2(พอใช)้ ระดับ 1 (ปรับปรุง) นักเรยี นท้ังหมด ผลพฒั นาการเดก็ ระดับชน้ั อนบุ าลปที ่ี 2 ระดบั ชน้ั จำนวน สรุปผลการประเมนิ พัฒนาการ รวม ค่าเฉล่ยี
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า 14 เด็ก ด้านร่างกาย ดา้ นอารมณ์ ดา้ น ด้าน สรุป ทป่ี ระเมิน จิตใจ สงั คม สติปัญญา ระดบั คณุ ภาพ ๓๑ คา่ เฉลย่ี คา่ เฉลี่ย ค่าเฉลี่ย คา่ เฉลยี่ พฒั นาการ ๓๑ ช้ันอนบุ าลปที ี่ ๒/1 ๓๑ ๒.๙๗ ๓.๐๐ ๒.๙๗ ๒.๙๗ ๑๑.๙๑ ๒.๙๘ ๓ ชั้นอนบุ าลปีท่ี ๒/2 ๒๘ ๓.๐๐ ๒.๙๗ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๑๑.๙๗ ๒.๙๙ ๓ ช้นั อนุบาลปีที่ ๒/๓ ๓๐ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๑๒.๐๐ ๓.๐๐ ๓ ชั้นอนบุ าลปีท่ี ๒/๔ ๓๐ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๒.๙๖ ๒.๗๕ ๑๑.๗๑ ๒.๙๓ ๓ ชั้นอนุบาลปที ่ี ๒/๕ ๓๐ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๒.๘๗ ๑๑.๘๗ ๒.๙๗ ๓ ช้ันอนุบาลปีที่ ๒/๖ ๒๑๑ ๓.๐๐ ๒.๘๔ ๓.๐๐ ๒.๘๗ ๑๑.๖๘ ๒.๙๒ ๓ ชั้นอนุบาลปีท่ี ๒/๗ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๑๒.๐๐ ๓.๐๐ ๓ ๒๐.๙๔ ๒๐.๘๑ ๒๐.๙๓ ๒๐.๔๖ ๘๓.๑๔ ๒๐.๗๙ รวม ๒.๙๙ ๒.๙๗ ๒.๙๙ ๒.๙๒ ๑๑.๘๘ ๒.๙๗ ๓ คา่ เฉลีย่ ๓ ๓ ๓ ๓ สรปุ ระดบั คุณภาพ ๓ ๓ ๓ ๓ สรุปพฒั นาการ จานวนนักเรยี นมผี ลการประเมินพัฒนาการ ระดับช้นั อนุบาล 2 250 211 208 211 209 211 211 211 195 200 150 100 50 3 2 16 ดา้ นอารมณ์ จิตใจ ดา้ นสังคม ดา้ นสตปิ ัญญา 0 ด้านรา่ งกาย ระดบั 3 (ด)ี ระดบั 2(พอใช)้ ระดบั 1 (ปรบั ปรุง) นกั เรยี นทงั้ หมด ๕.๒ ขอ้ มลู นักเรยี นดา้ นอ่ืนๆ
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า 15 ท่ี รายการ จำนวน คิดเปน็ (คน) ร้อยละ* ๑. จำนวนนักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง และสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ รวมทั้งรู้จัก ๔๐๖ ๙๒.๙๐ ดูแลตนเองให้มีความปลอดภยั ๔๓๗ ๑๐๐ ๒. จำนวนนักเรียนที่ปลอดจากปัญหาทางเพศ ยาเสพติด และสิ่งมอมเมา เช่น สุรา บุหร่ี เคร่อื งดืม่ แอลกอฮอล์ เกม ฯลฯ ๐ ๐ ๓๑ ๗.๐๙ ๓. จำนวนนักเรียนทม่ี คี วามบกพร่องทางรา่ งกาย/เรียนรว่ ม ๑๒๑ ๒๗.๖๘ ๔. จำนวนนกั เรียนมีภาวะทุพโภชนาการ ๐ ๕. จำนวนนักเรียนท่มี ีปญั ญาเลิศ ๐ ๐ ๖. จำนวนนักเรยี นที่ตอ้ งการความช่วยเหลือเป็นพเิ ศษ ๐ ๐ ๗. จำนวนนักเรียนทีอ่ อกกลางคนั (ปีการศึกษาปจั จุบัน) ๐ ๐ ๘. จำนวนนักเรยี นทม่ี ีเวลาเรียนไม่ถงึ ร้อยละ ๘๐ ๒๑๘ ๐ ๙. จำนวนนักเรยี นทีเ่ รยี นซ้ำชั้น ๑๐๐ ๑๐ จำนวนนักเรยี นท่ีจบหลกั สตู รปฐมวยั ๔๓๗ . ๑๐๐ ๑๑ จำนวนนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ วรรณศิลป์ กีฬา ๔๓๗ . และนนั ทนาการ ท้งั ในและนอกหลกั สตู ร ๑๐๐ ๑๒ จำนวนนกั เรียนทีม่ คี ุณลักษณะเปน็ ลกู ท่ดี ขี องพ่อ แม่ ผู้ปกครอง ๔๓๗ . ๑๐๐ ๑๓ จำนวนนกั เรยี นที่มคี ณุ ลกั ษณะเป็นนกั เรยี นท่ดี ีของโรงเรยี น ๔๓๗ . ๑๐๐ ๑๔ จำนวนนักเรียนที่ทำกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมทั้งในและนอก ๔๓๗ . โรงเรียน ๑๐๐ ๑๕ จำนวนนักเรียนที่มีบันทึกการเรียนรู้จากการอ่าน และบันทึกการสืบค้น . จากเทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งสม่ำเสมอ ๖. ข้อมูลอาคารสถานที่ จำนวน ๓ หลงั ท่ี รายการ ๑ หลงั ๑. อาคารเรยี น ๑ สนาม ๒. ห้องน้ำ/ห้องส้วม (มีห้องนำ้ – ห้องส้วมในห้องเรยี นทกุ หอ้ งและแยกเอกเทศ) ๓. สนามเด็กเลน่
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 16 ๗. ขอ้ มลู งบประมาณ งบประมาณรายรับรายจา่ ยเงินรายได้สถานศกึ ษา ประจำปงี บประมาณ ๖๐ รายไดส้ ถานศึกษา รายรบั รายจา่ ย (บาท) (บาท) ๑,๕๐๐,๙๑๑.๒๖ เงินอดุ หนนุ ท่ัวไป ๑,๕๐๓,๖๐๐.๐๐ ๑,๓๐๕,๙๙๙.๓๔ โครงการอาหารกลางวนั ๑,๓๐๖,๐๐๐.๐๐ ๒๐,๐๐๐.๐๐ ๗,๖๐๙.๕๐ พฒั นาหลักสตู ร ๒๐,๐๐๐.๐๐ ๙๙,๖๘๘.๐๐ ๔๙,๙๕๐.๔๒ เช่ือมตอ่ อินเทอร์เน็ต ๙,๖๐๐.๐๐ ๑๗,๖๖๔.๐๐ ๑,๒๓๔,๒๔๕.๒๖ พัฒนาห้องสมุด ๑๐๐,๐๐๐.๐๐ ๗๔๘,๒๒๕.๘๖ ๘๘,๒๐๐.๐๐ พัฒนาแหล่งเรียนรตู้ ลอดชวี ติ ๕๐,๐๐๐.๐๐ ๑๒๙,๙๐๐.๐๐ ๗๑,๗๒๙.๔๐ โครงการรณรงคป์ อ้ งกนั ยาเสพติดและโรคเอดส์ ๑๘,๐๐๐.๐๐ ๑๘๖,๑๙๐.๐๐ ๔,๕๒๘,๔๘๐.๐๑ เงินอดุ หนนุ เฉพาะกจิ (เรยี นฟรี ๑๕ ปี) ๑,๒๓๙,๑๑๖.๐๐ ๑๗๙,๔๒๔.๐๐ ๓๕,๐๐๐.๐๐ เงนิ รายหวั ๗๔๘,๒๒๖.๐๐ ๘,๓๕๓.๐๐ ๓๙๔,๑๐๐.๐๐ คา่ อุปกรณ์การเรียน ๘๘,๒๐๐.๐๐ ๒๒๕,๐๐๐.๐๐ ๙๔๒,๒๐๐.๐๐ ค่าเครอ่ื งแบบนกั เรยี น ๑๒๙,๙๐๐.๐๐ ๑,๒๖๗,๗๘๙.๒๔ ๑๖๑,๗๐๐.๐๐ ค่าแบบเรยี น ๘๖,๖๐๐.๐๐ ๙๙๘,๕๔๓.๐๐ ๑๔,๔๔๒.๓๔ ค่าพฒั นาผเู้ รยี น ๑๘๖,๑๙๐.๐๐ ๒๓๔,๒๙๙.๔๓ เงนิ รายไดโ้ รงเรยี น ๔,๓๖๙,๕๕๐.๐๐ ๗๒๙.๐๐ ๖๖,๙๐๐.๐๐ เงินกองทนุ สปสช. ๐.๐๐ ๗,๒๖๓,๖๓๖.๕๓ ทนุ การศึกษา ๓๕,๐๐๐.๐๐ เงนิ บรจิ าค ๙,๐๐๐.๐๐ คา่ อาหารเสรมิ ๓๙๔,๑๐๐.๐๐ ค่าสอนจินตคณิต ๒๒๕,๐๐๐.๐๐ ค่าจา้ งครูพ่ีเล้ยี ง ๙๔๒,๒๐๐.๐๐ คา่ จ้างครูสอนภาษาองั กฤษ ๑,๒๖๘,๖๐๐.๐๐ กจิ กรรมพัฒนานกั เรยี นอนุบาล ๒ ๑๖๑,๗๐๐.๐๐ ค่าจา้ งสอนดนตรอี ัจฉรยิ ภาพ ๑,๐๑๗,๙๐๐.๐๐ เงนิ รับฝากช่ัวคราว ๑๔,๔๕๐.๐๐ คา่ เคร่อื งใช้ส่วนตวั ๒๓๔,๓๐๐.๐๐ ค่าคมู่ อื นักเรยี น ๔๐๐.๐๐ กจิ กรรมพัฒนานักเรยี นอนุบาล ๑ ๖๖,๙๐๐.๐๐ รวม ๗,๑๑๒,๒๖๖.๐๐ รายรบั สงู กว่ารายจา่ ย จำนวน ๑๕๑,๓๗๐.๕๓ บาท เงินรายไดส้ ะสม เมื่อวันท่ี 30 กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๐ จำนวน ๗๑๙,๖๘๒.๙๕ บาท
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า 17 ขอ้ มลู สภาพชมุ ชนโดยรวม ๘.1 สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะ เป็นชุมชนเมืองค่อนข้างแออัด มีประชากร ประมาณ ๓,๐๐๐ คน บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนเทศบาลบ้านบางเหนียว และชุมชน ซอยต้นโพธิ์ อาชีพหลักของชุมชน คือ รับจ้าง และค้าขายทั่วไป ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรมทอ้ งถิ่น ทเี่ ป็นท่ีรจู้ กั โดยท่วั ไป คอื ประเพณถี อื ศลี กินผกั และประเพณพี ้อตอ่ ๘.๒ ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษา อาชีพหลัก คือ รับจ้าง ส่วนใหญ่นับถือศาสนา พุทธ ฐานะทางเศรษฐกจิ /รายได้โดยเฉล่ียตอ่ ครอบครัว ต่อปี ๗๒,๐๐๐ บาท ๘.๓ โอกาสและข้อจำกัดของโรงเรยี น โอกาสของสถานศึกษากับความร่วมมือในด้านต่าง ๆ ของชุมชนเป็นแหล่งเรียนรู้ เป็นจุดศึกษา ใหก้ บั โรงเรยี นตลอดจนร่วมกนั พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ข้อจำกัดของสถานศึกษากับความร่วมมือของชุมชน ประชากรในชุมชนส่วนใหญ่มีอาชีพรับจ้าง และคา้ ขายทั่วไป การใหค้ วามรว่ มมือกบั สถานศกึ ษาจึงมีข้อจำกดั ด้านเวลา
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า 18 ๘. โครงสร้างหลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต จัดสอนตามหลักสูตรสถานศึกษา ตามหลักสูตร การศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕46 โดยโรงเรยี นได้จัดสัดสว่ นสาระการเรยี นรู้ และเวลาเรยี น ดังแสดงในตาราง สัปดาหท์ ่ี กลุ่มการเรียนรู้ หน่วย ระยะเวลาในการจดั ประสบการณ์ ๑ – ๖ เรอื่ งราวเก่ยี วกบั ตัวเดก็ แรกรบั ประทบั ใจ ๒ สปั ดาห์ (๑๐ วัน) กนิ ดีอยเู่ ป็น เลน่ อยา่ งสรา้ งสรรค์ ๒ สปั ดาห์ (๑๐ วัน) ขยบั กาย สบายชวี ี ๒ สปั ดาห์ (๑๐ วนั ) ๗ – ๑๖ เร่ืองราวเกีย่ วกับบุคคล หนูนอ้ ยอ่นุ รัก ๑ สัปดาห์ (๕ วัน) และสถานทแ่ี วดลอ้ มเด็ก โรงเรยี นและชมุ ชน ๒ สัปดาห์ (๑๐ วนั ) อาชพี ในฝัน ๒ สัปดาห์ (๑๐ วนั ) ไข่มุกอนั ดามันสวรรคเ์ มอื งใต้ ๓ สัปดาห์ (๑๕ วนั ) อาเซียนรว่ มใจ ๒ สปั ดาห์ (๑๐ วัน) ๑๗ – ๒๔ ธรรมชาตริ อบตัว ธรรมชาติแสนมหศั จรรย์ ๓ สปั ดาห์ (๑๕ วนั ) ฤดูกาลหรรษา ๓ สปั ดาห์ (๑๕ วนั ) พชื ผกั แปลงรา่ ง ๒ สัปดาห์ (๑๐ วัน) ๒๕ – ๓๖ ส่ิงตา่ ง ๆ รอบตวั เดก็ ไทยแลนด์แดนสมายด์ ๒ สัปดาห์ (๑๐ วนั ) ถนนสขี าว ๒ สัปดาห์ (๑๐ วัน) สาระแห่งสีสนั สร้างฝันนักคดิ ๒ สัปดาห์ (๑๐ วนั ) การสอ่ื สารไร้พรมแดน ๒ สปั ดาห์ (๑๐ วนั ) ผู้นำพอเพียง ๒ สัปดาห์ (๑๐ วนั ) อะ๊ อ๊ะ ตาวิเศษเห็นนะ ๒ สปั ดาห์ (๑๐ วัน) หมายเหตุ ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ สามารถยืดหยุ่นลำดับที่ และเวลาในการจัดประสบการณ์หรือหน่วย การเรียนรู้ต่าง ๆ ได้ รวมเวลาในการจัดประสบการณ์ทั้งสิ้น ๓๖ สัปดาห์ โดยสัปดาห์ที่ ๑ เป็นการเตรียม ความพรอ้ มและปรับพฤติกรรมเดก็ โดยใหผ้ ู้ปกครองนำนกั เรียนมาสร้างความคุน้ เคยกับโรงเรยี น ซ่ึง เป็นสิ่งแวดล้อมใหม่ของผู้เรียน สวนสัปดาห์ที่ ๓๗ – ๔๐ เป็นสัปดาห์นำเสนอผลงานตามรูปแบบ การ จัดกิจกรรมแบบโครงการ (ระยะสรุปและนำเสนอผลงาน และช่วงเตรียมการวัดและประเมินพัฒนาการเด็ก เพื่อ เตรยี มรายงานตอ่ ผบู้ รหิ ารและผู้ปกครอง)
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 19 สัดส่วนเวลาในการจัดกจิ กรรมในแต่ละวัน จำนวนชว่ั โมงทจี่ ดั กจิ กรรม กิจกรรมประจำวัน อนบุ าล ๑ อนบุ าล ๒ หมายเหตุ เทอม ๑ เทอม ๒ เทอม ๑ เทอม ๒ หอ้ ง ห้อง ห้อง หอ้ ง ห้อง ห้อง หอ้ ง หอ้ ง ปกติ IEP ปกติ IEP ปกติ IEP ปกติ IEP ๑. กจิ กรรมพนื้ ฐานด้านการ ๐.๕ ๐.๕ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑. การพัฒนาพื้นฐาน เคลื่อนไหวร่างกาย พัฒนากลา้ มเน้อื ด้านสังคมศึกษาเพ่ือ มดั ใหญ่ กลา้ มเน้อื มดั เล็ก สร้างรอยต่อ ป.๑ ๒. กิจกรรมพฒั นาอารมณ์-จติ ใจ และปลกู ฝงั คุณธรรม จรยิ ธรรม ๑.๕ ๑ ๑ ๐.๕ ๑ ๐.๕ ๑ ๐.๕ กลมุ่ สาระสงั คม และการพฒั นาสังคมนิสยั ๒. เพิ่มวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เพอื่ สร้างรอยต่อ ป.๑ ๓. กจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบสะเต็ม ๑ ๑.๕ ๑.๕ ๑ ๑ ๑.๕ ๑.๕ ๒ ก ล ุ ่ ม ส า ร ะ ว ิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ศกึ ษา การเรียนรูแ้ บบโครงงาน Project Approach คณติ ศาสตร์ แ ล ะ ค ณ ิ ต ศ า ส ต ร์ ๔. กิจกรรมสง่ เสรมิ การเรียนร้ภู าษา ๑ ๑.๕ ๑ ๒ ๑ ๑.๕ ๑.๕ ๒ อนุบาล ๒ เทอม ๒ แบบสมดลุ ภาษา ๓. จัดกิจกรรม เพือ่ ๕. กจิ กรรมอนรุ ักษค์ วามเปน็ ไทย ๑ ๐.๕ ๑ ๐.๕ ๑ ๐.๕ ๑ ๐.๕ ส่งเสริมพัฒนาการ ด้านภาษาไทย ๖. ภูมิคมุ้ กันชวี ติ และเทคโนโลยี ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ อังกฤษ จีน เพื่อสร้าง ๗. นอนพกั ผ่อนและกจิ วตั รประจำวนั ๑ ๑ ๐.๕ ๑ ๑ ๑ - - รอยตอ่ ป.๑ ๔. เพิ่มเติมส่งเสริม ส า ร ะ เ ท ค โ น โ ล ยี เพื่อสร้างรอยต่อ ป.๑ (กลุ่มสาระการงาน อาชีพ และเทคโนโลยี รวมชั่วโมง ๗ ๗ ๗๗๗ ๗ ๗ ๗ จากตารางจะเห็นว่า การจัดกิจกรรม ๔ กลุ่มสาระ จะต้องส่งเสริมให้กับเด็กทุกคน ซ่งึ มรี ายละเอยี ดของกิจกรรมต่าง ๆ ทกี่ ลา่ วมา ดังน้ี ๑. กิจกรรมพื้นฐานด้านการเคลื่อนไหวร่างกาย พัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่ กล้ามเนื้อมัดเล็ก ถือเป็นกิจกรรมที่ต้องจัดใหเ้ ด็กในแตล่ ะวนั เช่นกิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมศิลปะสรา้ งสรรค์ ๒. กิจกรรมพัฒนาอารมณ์ – จิตใจ และปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม และการพัฒนาสังคมนิสัย เป็นการปลูกฝังให้เด็กมีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง และผู้อื่น มีความเชื่อมั่น กล้าแสดงออก มี วินัยในตนเอง รับผิดชอบ ซื่อสัตย์ ประหยัด เมตตากรุณา เอื้อเฟื้อ แบ่งปัน มีมารยาทและ ปฏบิ ตั ติ นตามวฒั นธรรมไทย และศาสนาท่นี ับถือ ๓. กิจกรรมเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์เป็นการพัฒนาให้เด็กได้มี ความสามารถในการคิดแก้ปัญหา ความคิดรวบยอด ทางคณิตศาสตร์ และมีทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 20 ๙. แหลง่ เรยี นรู้ ภูมิปญั ญาท้องถนิ่ ๙.๑ ห้องสมุดมีพื้นที่ขนาด ๗๒ ตารางเมตร หนังสือในห้องสมุดมีจำนวน ๒๕๐ เล่ม มีวารสาร/ หนังสือพิมพ์ มีเครื่องคอมพิวเตอร์ให้บริการสืบค้นเทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุด จำนวน ๒ เครื่อง มีจำนวนนักเรียนที่ใช้ห้องสมุด (ในปีการศึกษาที่รายงาน) เฉลี่ย ๙๐ คน ต่อวัน คิดเป็นร้อยละ ๒๓.๒๕ ของนักเรียนทั้งหมด โรงเรียนจัดมุมหนังสือนิทานไว้บริการนักเรียนทุกห้องเรียน ขนาดพื้นที่สำหรับจัดมุม หนังสือในห้องเรียน มีพื้นที่ห้องเรียนละ ๔ ตารางเมตร จำนวน ๑๕ ห้องเรียน หนังสือในมุมหนัง สือ ทุกห้องเรียน จำนวน ๔,๖๐๐ เล่ม มีนักเรียนเข้าใช้มุมหนังสือ เฉลี่ย ๔๓๗ คนต่อวัน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ของนักเรียนทั้งหมด บริการให้นักเรียนและผู้ปกครองสามารถยืมหนังสือนิทานกลับบ้าน อย่างน้อยคนละ ๑ เล่มต่อสัปดาห์ และมีตะกร้าหนังสือคืนความรู้สู่ชุมชนไว้บริการสำหรับผู้ปกครองที่มานั่งรอรับนักเรียน หลังเลกิ เรยี น มีผู้ปกครองมาใชบ้ รกิ ารเฉลย่ี ๕๐ คนต่อวัน ๙.๒ ห้องปฏิบัติการท้งั หมด ๘ ห้อง จำแนกเป็น 1) หอ้ งศูนยก์ ารเรียนรนู้ ักเรยี นระดับปฐมวัย จำนวน ๑ ห้อง 2) ห้องอิเลก็ ทรอนกิ ส์ จำนวน ๑ หอ้ ง 3) ห้องสมดุ จำนวน ๑ หอ้ ง 4) หอ้ งภาษาอังกฤษ จำนวน ๒ หอ้ ง 5) ห้องนาฏศิลป์ จำนวน ๑ ห้อง 6) ห้องโขน จำนวน ๑ หอ้ ง 7) ห้องดนตรี จำนวน ๑ หอ้ ง ๙.๓ เครือ่ งคอมพิวเตอรท์ ัง้ หมด จำนวน ๑๐ เคร่อื ง จำแนกเปน็ 1) ใช้เพ่อื การเรยี นการสอน จำนวน ๑ เครื่อง ๒) ใช้เพอ่ื สนบั สนนุ การบรหิ ารสถานศึกษา จำนวน ๙ เคร่ือง แหล่งเรยี นร้ภู ายในโรงเรียน สถิตกิ ารใช้ จำนวนครงั้ /ปี ท่ี ชอ่ื แหลง่ เรยี นรู้ ๖๐๐ ๑. หอ้ งศูนยก์ ารเรียนรนู้ ักเรยี นระดบั ปฐมวัย ๒๐๐ ๒. หอ้ งอิเล็กทรอนกิ ส์ ๒๐๐ ๓. มุมหนังสอื ๖๐๐ ๔. หอ้ งสมดุ ๑,๘๐๐ ๕ หอ้ งภาษาองั กฤษ ๒๐๐ ๖. ห้องนาฏศิลป์ ๒๐๐ ๗. หอ้ งโขน ๖๐๐ ๘. ห้องดนตรี ๒๐๐ ๙. ศนู ย์นำ้ – ศนู ย์ทราย ๖๐๐ ๑๐. สนามเดก็ เล่น
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า 21 ๙.๔ แหล่งเรยี นร้ภู ายนอกโรงเรียน สถิติการใช้ จำนวนครงั้ /ปี ที่ ช่ือแหล่งเรยี นรู้ ๑ ๑. ชุมชนยา่ นเมืองเก่า ถนนถลาง ๑ ๒. ศาลเจ้าแสงธรรม ๑ ๓. พิพิธภัณฑ์ภูเก็ตไทยหวั ๑ ๔. พพิ ิธภัณฑ์เพอรานากันนทิ ัศน์ ๑ ๕. วดั ไชยธาราราม (วดั ฉลอง) ๑ ๖. เตาเผาขยะเทศบาลนครภูเกต็ ๑ ๗. สถานแสดงพันธุ์สัตว์นำ้ ภูเกต็ ๑ ๘. สวนทานตะวันตำบลวชิ ติ ๑ ๙. ศูนยก์ ารเรียนรู้เพอื่ การพฒั นาเศรษฐกจิ พอเพียงตน้ แบบชมุ ชนบ้านกู้กู ๑ ๑๐. ไร่วานิช ๑ ๑๑. หา้ งสรรพสนิ คา้ บกิ๊ ซีภูเกต็ ๑ ๑๒. สวนผกั ลูกหลานลงุ ป่าคลอก ๑ ๑๓. ปา่ ชายเลนคลองมุดง ตำบลวิชติ ๑ ๑๔. รา้ นเพาะพันธป์ุ ลากดั ตลาดทา้ ยรถเกา่ ๑ ๑๕. รา้ นไอศครีมลงุ ดำ ๑ ๑๖. โรงงานปรบั ปรงุ คุณภาพนำ้ เทศบาลนครภเู กต็ ๑ ๑๗. นำ้ ตกกะทู้ ๑ ๑๘. ศาลเจ้าพ้อต่อกง๊ บางเหนียว ๑ ๑๙. สวนสาธารณสะพานหิน ๔๐ ๒๐. ศนู ย์พฒั นาทกั ษะและการเรยี นรู้ ICT ภเู กต็ ๑ ๒๑. หาดปา่ ตอง จงั หวัดภเู กต็ ๑ ๒๒. ลานมังกร อา้ ยเหล็งออ๋ ง พญามังกรทะเล
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 22 ๙.๕ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้ทรงคุณวุฒิ วิทยากร ที่สถานศึกษาเชิญมาให้ความรู้แก่ครู นักเรยี น ท่ี ชอ่ื -สกลุ ให้ความรเู้ ร่อื ง จำนวนครั้ง/ปี ๑. นางนิตยา แซต่ นั ขนมเต่า “อัง่ กู๊” ๑ ๒. นางสาวไทฟ่ ่าง แซ่หลวิ ขนมเตา่ “อ่งั ก”ู๊ ๑ ๓. นางปราณี มานะจิตต์ ขนมเต่า “อง่ั ก๊”ู ๑ ๔. นางสาวณิชาภทั ร โยธารกั ษ์ ขนมเตา่ “อั่งก”ู๊ ๑ ๕. นางมณฑา รกั สงบ อาหารพื้นเมอื งภเู กต็ “นำ้ พรกิ หยำ” ๑ ๖. นางดวงใจ ชา้ งทอง อาหารพื้นเมอื งภเู กต็ “อวิ ปงึ ” ๑ ๗. นางสุพิศ แผส่ กุลไพศาล อาหารพื้นเมืองภูเก็ต “ตโู บ”้ ๑ ๘. นางจันทนา บัวแก้ว อาหารพน้ื เมอื งภูเก็ต “ตโู บ”้ ๑ ๙. นางปราณี มานะจติ ร อาหารพน้ื เมืองภูเกต็ “โอเอว๋ ” ๑ ๙. นางลำพูน มที รัพย์ อาหารพ้ืนเมืองภูเก็ต “ปอเป๊ยี ” ๑ ๑๐. นางโสจริ ตั น์ รงุ่ เรือง อาหารพนื้ เมืองภูเก็ต “นำ้ พรกิ กุ้งเสยี บ” ๑ ๑๑. นางสาวธญั ชนก ประจงคา้ อาชีพในฝัน “พนกั งานโรงแรม” ๑ ๑๒. นางสาวจารเุ นตร สงั ขฉ์ มิ อาชีพในฝัน “ชา่ งเสรมิ สวย” ๑ ๑๓. นางสาวไทฟ่ า่ ง แซ่หลมิ อาชพี ในฝัน “มัคคุเทศก”์ ๑ ๑๔. นางปิยรตั น์ แพงสาร อาชพี ในฝัน “เชฟโรงแรม” ๑ ๑๕. นายบุญยงค์ แกลว้ ณรงค์ อาชีพในฝัน “พนกั งานดบั เพลงิ ” ๑ ๑๖. นางสาวสุภาภรณ์ จนั ทร์คอ้ ม อาชพี ในฝนั “ชา่ งเสริมสวย” ๑ ๑๗. นางสาวธนาภรณ์ เฉลมิ สขุ อาชีพในฝนั “นกั กายภาพบำบัด” ๑ ๑๘. นายภวนิ ทร์ สบื สะอาด อาชีพในฝนั “ช่าง วิทยกุ ารบิน” ๑ ๑๙. พ.จ.อ.ววิ ฒั น์ หนหู มอก อาชีพในฝนั “ทหารเรอื ” ๑ ๒๐. นางสาวอัมพกิ า ฤกษอ์ ดุ ม อาชพี ในฝนั “นกั เขียนข่าว” ๑ ๒๑. นายประยูร สทุ น อาชพี ในฝัน “ก่อสรา้ ง” ๑ ๒๒. นางสาวรุ่งนภา เชาว์สมชาติ อาชีพในฝัน “นักกายภาพบำบัด” ๑ ๒๓. นายสวุ ทิ ย์ แกว้ เจอื อาชพี ในฝนั “ช่างภาพอสิ ระ” ๑ ๒๔. นายดอน ลม้ิ นนั ทพสิ ฐิ วิทยากรชุมชนย่านเมอื งเกา่ ถนนถลาง ๑ ๒๕. นายสมยศ ปาทาน วทิ ยากรชมุ ชนย่านเมอื งเกา่ ถนนถลาง ๑ ๒๖. นายประยรู จ่ันเพชร วทิ ยากร “สวนผกั ลกู หลานลุง ปา่ คลอก” ๑ ๒๗. นายจำรสั ภูมภิ ถู าวร วทิ ยากรศนู ยก์ ารเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพยี งก้กู ู ๑ ๒๘. นายชำนาญ ยอดแกว้ วทิ ยากรศนู ย์การเรียนรเู้ ศรษฐกจิ พอเพียงกู้กู ๑ ๒๙. นายบรรเลง แซอ่ ึ่ง วิทยากรศาลเจา้ แสงธรรม ๑ ๓๐. นายสุรเชษฐ เจรญิ ผล วทิ ยากรพพิ ิธภณั ฑภ์ ูเกต็ ไทยหัว ๑ ๓๑. นางเดือนแรม ลอื เสียง วิทยากรพพิ ธิ ภัณฑ์ภเู กต็ ไทยหวั ๑
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 23 ๓๒. งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั การป้องกนั อัคคภี ัยในสถานศกึ ษา ๑ ผลงานดีเดน่ ในรอบปีท่ีผ่านมา 1๐.1 ผลงานดเี ดน่ ประเภท ระดับรางวลั /ช่ือรางวลั ท่ไี ดร้ บั /วนั ทีไ่ ดร้ บั หน่วยงานที่ให้ สถานศึกษา สถานศกึ ษารางวลั พระราชทาน สำนักงานเขตพื้นท่ี ระดับก่อนประถมศกึ ษา ขนาดใหญ่ การศกึ ษาประถมศึกษา นางชฎาพร ทวสิ ุวรรณ ประจำปีการศกึ ษา 2560 ภเู กต็ ตำแหน่งครู คศ. 2 คณะศกึ ษาศาสตร์ 1. เด็กหญิงปณิตา หนูหมอก ผ้วู จิ ัยในโครงการวิจัย เรอ่ื ง ผลการจดั การ มหาวิทยาลยั ราชภัฏภเู กต็ 2. เด็กหญงิ เพชรดี ดบี ุก เรียนร้แู บบสะเต็มศกึ ษาทมี่ ีตอ่ การคิด เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี 3. เดก็ หญงิ พรกนก ขวญั นอ้ ย แก้ปัญหาของเดก็ ปฐมวัยในจงั หวดั ภเู กต็ เทศบาลนครสรุ าษฎร์ธานี 4. ด.ช. ประกาศน ธนกฤตกนั ตก์ ร รางวัลชนะเลศิ เหรียญทอง อนั ดบั 1 5. ด.ช. จารุทัศน์ ผวั้ สกลุ จากการแขง่ ขนั โครงงานระดับปฐมวยั คณะศิลปะศาสตร์ 6. ด.ญ. พชิ ชาญา ทองบญุ ในงานมหกรรมการจัดการศึกษาท้องถิ่น มหาวิทยาลยั สยาม ระดับภาคใต้ ครัง้ ที่ 13 ประจำปี 2560 กรุงเทพฯ 7. ด.ช. ประกาศน ธนกฤตกนั ตก์ ร “สรุ าษฎรธ์ านี เมืองคนดวี ิชาการ” 8. ด.ช. ภณัฐ ตั้งสิรมิ ติ ร ณ จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี 9. ด.ญ. สกุ ญั ญา แก้วเจอื รางวลั เหรียญทอง จากการแข่งขนั ตอ่ เลโก้ สร้างสรรค์ ระดับปฐมวยั จากการแข่งขนั ทกั ษะทางวชิ าการนกั เรยี นระดบั ปฐมวัย ในงานมหกรรมการจดั การศกึ ษาท้องถิ่น ระดบั ภาคใต้ ครง้ั ที่ 13 ประจำปี 2560 “สุราษฎรธ์ านี เมอื งคนดวี ชิ าการ” ณ จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี รางวลั รองชนะเลิศอบั ดับ 2 จากการแขง่ ขนั ทักษะภาษาองั กฤษ Wings Musical Storytelling Contest ระดบั ปฐมวัย เมอื่ วนั ท่ี 21 มกราคม 2560 ณ หอประชุมใหญ่ อาคารเฉลิมพระเกยี รติ มหาวทิ ยาลัยสยาม กรุงเทพมหานคร
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 24 ประเภท ระดบั รางวัล/ชอ่ื รางวลั ที่ไดร้ ับ/วนั ทไี่ ดร้ บั หนว่ ยงานทใี่ ห้ 10. เดก็ ชายอนิ ทัช ทองยอ่ น ได้รบั รางวัลเหรยี ญทองแดงจากการแข่งขนั มหาวทิ ยาลัยกรงุ เทพธนบรุ ี กฬี าเทควันโด รายการ “GH Bank เทควัน 11. เด็กชายอนิ ทัช ทองย่อน โดยุวชน-เยาวชน ชิงชนะเลศิ แหง่ ประเทศ ศูนย์การคา้ เซน็ ทรลั พลาซา ไทย” ประจำปี 2561 รนุ่ อายไุ มเ่ กนิ 6 ปี จังหวดั สุราษฎรธ์ านี เพศชาย น้ำหนกั 22 – 24 กก. เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2561 ณ อาคารชาญชยั อเคเดยี ม มหาวทิ ยาลัย กรงุ เทพธนบรุ ี ไดร้ ับรางวัลชนะเลิศจากการแข่งขัน กฬี าเทควนั โด รายการ “กุย้ หลนิ เมอื งไทย เทควนั โด แชมเป้ยี นชิพ ครง้ั ท่ี 1 ” ชิงถว้ ยผ้วู ่าราชการจงั หวดั สุราษฎร์ธานี นายวิชวุทย์ จนิ โต รุ่นยวุ ชน อายุ 5 – 6 ปี ชาย น้ำหนัก 20 – 22 กก. เมอื่ วันที่ 17 กมุ ภาพันธ์ 2561 ณ สรุ าษฎรธ์ านี ฮอลล์ ชนั้ 4 ศนู ย์การคา้ เซน็ ทรัลพลาซา จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 25 1๐.2 งาน/โครงการ/กจิ กรรม/ผลงานทีป่ ระสบผลสำเร็จจนไดร้ บั การยอมรับ หรือเป็นตวั อยา่ งการปฏิบัติ (ระดบั ปฐมวยั /การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน) ท่ี ชอ่ื อธบิ ายตัวบง่ ชค้ี วามสำเร็จ หรอื ระดบั ความสำเรจ็ งาน/โครงการ/กิจกรรม/ฯลฯ 1. ครูมีทักษะในการจดั การเรียนรู้ 1 โครงการอบรมพัฒนารูปแบบการจดั ประสบการณ์ แบบ Project Approach สามารถ ออกแบบการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ การเรียนรู้แบบ Project Approach ในชนั้ เรียน ไปบรู ณาการสหู่ นว่ ยการเรียนรู้ทสี่ อดคลอ้ ง กับหลักสตู รสถานศกึ ษา ปฐมวัย 2. ครู 93.33 สามารถนำเสนอวิธปี ฏิบตั ิท่ดี ี เก่ยี วกบั การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ แบบ Project Approach ผา่ นกิจกรรม OPEN HOUSE 3. เกิดชมุ ชนการเรยี นรเู้ ชงิ วชิ าชพี รว่ มกัน ในโรงเรียน 4. นักเรยี นมที กั ษะกระบวนการ ทางวทิ ยาศาสตร์ (ชา่ งสังเกต ช่างคดิ ชา่ งถาม และหาคำตอบ) 5. นักเรยี นระดบั อนุบาล 2 ไดร้ บั รางวัล ชนะเลศิ เหรียญทอง อันดบั 1 จากการแข่งขนั โครงงานปฐมวัยในการจดั การศกึ ษาทอ้ งถน่ิ ระดับภาคใต้ คร้งั ที่ 13 ประจำปี 2560 “สุราษฎรธ์ านี เมืองคนดี วชิ าการ” ณ จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี ประกอบด้วย 1. เด็กหญิงปณติ า หนูหมอก 2. เดก็ หญิงเพชรดี ดีบกุ 3. เดก็ หญงิ พรกนก ขวญั น้อย ฝกึ ซ้อมโดย 1. นางชฎาพร ทวสิ วุ รรณ ครู คศ. 2 2. นางสาวสุเป้ยี นยี ์ ยูโซะ พนกั งานจา้ ง
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า 26 ๑๐.๓ โครงการ/กิจกรรมพิเศษ ที่ดำเนินการตามนโยบายชาติ นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จุดเน้น แนวทางการปฏิรูป การศกึ ษา ฯลฯ ได้แก่ 1. นโยบายดา้ นความมนั่ คง แนวทางหลัก : พัฒนาหลกั สตู ร กระบวนการเรียนการสอน : เนน้ การเรียนการสอน เพือ่ เกดิ ความ ปรองดอง ความสามคั คีเพ่ือนชว่ ยเพ่ือนโดยใชร้ ูปแบบ Active Learning โดยใช้โครงการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน (Project Approach) รูปแบบการเรียน การสอนแบบโครงการ (Project Approach) เป็นรูปแบบหนึ่งที่น่าสนใจ และได้รับความนิยมอย่าง แพร่หลายในโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาต่าง ๆ มากมาย โดยเฉพาะในการจัดการเรียนการสอน ในระดับการศึกษาปฐมวัย ได้มีการนำรูปแบบนี้มาปรับใช้อย่างกว้างขวางทั้งในโรงเรียนรัฐและเอกชน เพราะเป็นการเรียนรู้อย่างลุ่มลึก สืบค้นเรื่องราวต่าง ๆ ตามที่ผู้เรียนสนใจ อีกทั้งเป็นการตอบสนองต่อ ธรรมชาติความอยากรู้อยากเห็นของเด็ก ความสนใจใคร่รู้ และสนองต่อการเรียนรู้แบบลงมือกระทำโดย เน้นเด็กเป็นศูนย์กลาง ซึ่งทั้งหมดถือเป็นหลักการทางการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่เด็กปฐมวัย อย่างเหมาะสม และรูปแบบการเรียนการสอนนี้ยังเป็นพื้นฐานสำคัญของการเตรียมความพร้อมเด็กสู่ ความเป็นเลศิ ด้านวทิ ยาศาสตร์ได้อกี ดว้ ย 2. นโยบายด้านด้านการผลิต พัฒนากำลงั คนและสร้างความสามารถในการแข่งขนั แนวทางทางหลกั : ผลติ พัฒนากำลังคนและงานวจิ ยั ทส่ี อดคลอ้ งกบั การพฒั นาประเทศ 2.1 การยกระดบั มาตรฐาน พัฒนาหลกั สตู ร ส่อื และครดู า้ นภาษา 2.1.1 พฒั นาวชิ าภาษาอังกฤษในสถานศึกษา ปัจจุบันความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการ และระบบการสื่อสารมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่าง รวดเร็ว การเจริญเติบโตของเทคโนโลยีสารสนเทศจากนานาประเทศเริ่มเข้าสู่ประเทศไทย และสารสนเทศ ส่วนใหญ่เป็นภาษาอังกฤษ ซึ่งจัดได้ว่าเป็นภาษาสากล ระบบการศึกษาไทยจึงควรพัฒนาให้คนไทย มีความสามารถในการใช้ภาอังกฤษเพอื่ ให้สามารถส่ือสารได้เท่าเทยี มกับอารยประเทศ โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต เล็งเห็นความสำคัญของการใช้ภาษาอังกฤษในปัจจุบัน จึงมีการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษแบบเข้มข้นในสถานศึกษา โดยพิจารณาให้นักเรียนที่มีความสามารถ พิเศษด้านภาษาอังกฤษ ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง เป็นรูปธรรม มีการจัดการเรียนรู้ที่เปลีย่ นแปลงนำไปส่กู าร แข่งขันในระดับต่างๆ ภาษาอังกฤษซึ่งเป็นภาษาสากล จึงเป็นเรื่องที่มีความสำคัญและมีความจำเป็นอย่างมาก การพัฒนาให้ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร จึงเป็นประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับจังหวัดภูเก็ตในยุค ปัจจุบนั โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต สังกัดสำนกั การศึกษา เทศบาลนครภูเก็ต เป็นโรงเรียนระดบั ปฐมวัย ขนาดใหญ่ จัดการศึกษาให้แก่นักเรียนชั้นอนุบาล ๑ และอนุบาล ๒ (อายุ ๕ – ๖ ปี) ในเขตบริการ ตำบล ตลาดใหญ่ และตำบลตลาดเหนอื อำเภอเมือง จังหวดั ภูเกต็ ในปีการศึกษา ๒๕60 โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต มีนโยบายเปิดการเรียนการสอน โครงการโรงเรยี นสองภาษา (English Program) จำนวน 2 หอ้ ง คือ ชั้นอนบุ าล ๑ จำนวน ๑ ห้อง จำนวนนกั เรียน ห้องละ 2๕ คน และอนบุ าล ๒ จำนวน ๑ ห้อง จำนวนนักเรียนห้องละ 2๕ คน รวมจำนวนนักเรยี นทงั้ สนิ้ 5๐ คน
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า 27 ๑๑. ผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษาในปที ่ีผ่านมา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๙ 1๑.1 ระดับการศกึ ษาปฐมวัย ระดับการศกึ ษาปฐมวยั มาตรฐาน/ตัวบง่ ชี้ คา่ เฉลี่ย ระดับ สรุปผลการ คณุ ภาพ ประเมิน มาตรฐานดา้ นปัจจัยทางการศึกษา มาตรฐานท่ี ๑ ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มีความสามารถในการจัดประสบการณ์ ๓.๐๐ ดี ได้มาตรฐาน การเรยี นรทู้ เี่ นน้ เด็กเปน็ สำคัญ มาตรฐานที่ ๒ ผู้บริหารสถานศึกษา มีคุณธรรม จริยธรรม มีภาวะผู้นำ และมี ๓.๕๐ ดี ไดม้ าตรฐาน ความสามารถในการบริหารจดั การศึกษา มาตรฐานที่ ๓ สถานศึกษามจี ำนวนเด็กมี ทรัพยากร และสภาพแวดลอ้ มที่ส่งเสริม ๓.๕๐ ดี ไดม้ าตรฐาน สนบั สนุนให้ เป็นสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ มาตรฐานด้านกระบวนการทางการศึกษา มาตรฐานที่ ๔ สถานศกึ ษาดำเนนิ การบริหารจัดการศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ๓.๕๐ ดี ได้มาตรฐาน มาตรฐานท่ี ๕ สถานศกึ ษาจดั ทำหลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวัยทเี่ นน้ เด็กเป็นสำคัญ ๓.๐๐ ดี ได้มาตรฐาน มาตรฐานท่ี ๖ สถานศกึ ษาสนับสนุนการใช้แหล่งเรยี นร้แู ละภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ ๓.๐๐ ดี ได้มาตรฐาน มาตรฐานท่ี ๗ สถานศึกษาจดั ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ๓.๐๐ ดี ได้มาตรฐาน มาตรฐานท่ี ๘ สถานศึกษาพัฒนาตามนโยบาย และแนวทางการปฏิรูปการศึกษา ๔.๕๐ ดเี ยีย่ ม ไดม้ าตรฐาน ทเ่ี ปน็ มาตรการเสรมิ เพือ่ ยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาใหส้ งู ข้ึน มาตรฐานด้านผลผลิตทางการศกึ ษา มาตรฐานท่ี ๙ เดก็ มพี ฒั นาการดา้ นรา่ งกายเหมาะสมตามวัย ๕.๐๐ ดเี ย่ียม ไดม้ าตรฐาน มาตรฐานท่ี ๑๐ เด็กมีพัฒนาการดา้ นอารมณ์และจติ ใจเหมาะสมตามวยั ๕.๐๐ ดเี ยี่ยม ได้มาตรฐาน มาตรฐานที่ ๑๑ เด็กมพี ัฒนาการด้านสังคม เหมาะสมตามวัย ๕.๐๐ ดเี ยี่ยม ไดม้ าตรฐาน มาตรฐานที่ ๑๒ เดก็ มพี ัฒนาการด้านสตปิ ัญญาเหมาะสมตามวยั ๔.๕๐ ดีเยย่ี ม ได้มาตรฐาน มาตรฐานท่ี ๑๓ สถานศึกษาบรรลุผลตามเปา้ หมาย ปรัชญา วิสัยทัศน์ และจดุ เน้น ๓.๕๐ ดี ได้มาตรฐาน มาตรฐานท่ี ๑๔ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และเด็กมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ ๔.๕๐ ดีเยี่ยม ได้มาตรฐาน ของผปู้ กครองและชมุ ชน คา่ เฉล่ียรวม ๓.๘๙ ดีมาก ไดม้ าตรฐาน สรปุ ผลการประเมินคณุ ภาพภายในระดับการศึกษาปฐมวยั • ค่าเฉลย่ี รวมผลการประเมินคณุ ภาพ เท่ากบั ๓.๘๙ มีคุณภาพระดบั ดีมาก การรับรองมาตรฐานการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา • มีค่าเฉลีย่ ผลประเมนิ คณุ ภาพ เพราะผลการประเมินระดับคณุ ภาพองิ เกณฑ์และอิงสถานศึกษา มคี า่ เฉลี่ยตัง้ แต่ 3.00 ขึน้ ไป ใช่ ❑ ไม่ใช่ • มคี ่าเฉล่ียของผลประเมนิ ในระดบั ดขี ึน้ ไปไมต่ ่ำกวา่ 11 มาตรฐาน ใช่ ❑ ไม่ใช่ • ไม่มีผลประเมินคณุ ภาพของมาตรฐานอย่ใู นระดับปรบั ปรงุ ใช่ ❑ ไม่ใช่ สรปุ วา่ ผลการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษาในภาพรวม ได้ ❑ ไมไ่ ด้ มาตรฐานคณุ ภาพขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า 28 จดุ เด่น ๑. บคุ ลากรจบการศึกษาระดับปรญิ ญาตรดี ้านการศกึ ษาปฐมวยั มคี ุณวุฒิตรงตามงานที่ไดร้ ับมอบหมาย ๒. นกั เรียนมีสขุ นสิ ัย สุขภาพทางกาย และสขุ ภาพจติ ดี ๓. นักเรยี นมีความสามารถด้านศิลปะ ดนตรี และกฬี า และมคี วามกลา้ แสดงออก ๔. บคุ ลากรไดร้ ับการพฒั นาอย่างต่อเนอ่ื ง ๕. มีอาคารสถานทีเ่ ออ้ื ต่อการจดั การเรยี นรรู้ ะดับปฐมวยั จุดทค่ี วรพฒั นา ๑. พฒั นานักเรียนใหม้ ที กั ษะการอา่ นออก เขยี นได้ ๒. พฒั นานักเรียนมคี วามสามารถในการส่ือสาร ๒ ภาษา ๓. พฒั นานกั เรียนให้มสี ขุ ภาพแข็งแรง ๔. บคุ ลากรขาดทกั ษะในการจดั การเรียนรู้แบบ Active Learning ๕. ขาดบคุ ลากรทีม่ คี วามถนดั เฉพาะทาง และความสามารถเฉพาะทาง ๖. บุคลากรขาดทกั ษะการทำงานเปน็ ทีม ครบู างส่วนขาดความรู้ ความชำนาญในการใชส้ อ่ื เทคโนโลยี ทที่ นั สมัย ขอ้ เสนอแนะ ๑. จัดกจิ กรรมส่งเสรมิ ให้นกั เรยี นอ่านออกเขียนได้ ๒. จัดกิจกรรมให้นักเรยี นสามารถสื่อสารได้ ๒ ภาษา ๓. จดั กจิ กรรมส่งเสริมให้นกั เรียนมีพัฒนาการครบทุกดา้ น คือ ร่างกาย อารมณ์ สังคม จิตใจ และ สตปิ ญั ญา โดยผ่านประสาทสัมผสั ท้ัง ๕ ๔. จดั กิจกรรมให้นกั เรียนมสี ุขภาพแขง็ แรง ๕. จดั กิจกรรมส่งเสริมนกั เรยี นตามศกั ยภาพ ดา้ นคอมพิวเตอร์ วิทยาศาสตร์ และการแสดงออก เปน็ ตน้ ๖. จัดกิจกรรมส่งเสริมด้านวชิ าการแก่นักเรียนที่มีความพรอ้ ม และซ่อมเสริมนกั เรยี น ที่มีความบกพร่อง ดา้ นพฒั นาการ ๗. ควรจัดกิจกรรมให้กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ชมรมผู้ปกครอง และผู้ปกครอง ได้เข้ามามีส่วน ร่วมในโรงเรียน ๘. พฒั นาบุคลากรใหม้ ีทกั ษะการจดั การเรียนรแู้ บบ Active Learning ๙. พัฒนาครูและบุคลากร เพื่อให้มีทักษะในการทำงานเป็นทีม เข้าใจบทบาทของตนเอง และส่งเสริม การทำผลงานทางวิชาการ ๑๐.พัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การท้งั ๔ ฝ่าย ใหก้ ารทำงานเปน็ ระบบ ไดม้ าตรฐาน ๑๑.พฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพภายในใหไ้ ด้มาตรฐาน และมีการนเิ ทศตดิ ตามอยา่ งตอ่ เน่ือง
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 29 ๑๒. ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม นำหนกั คะแนน ระดบั คะแนน ท่ไี ด้ คณุ ภาพ ๑๒.๑ ระดับการศกึ ษาปฐมวยั ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดีมาก ระดบั การศกึ ษาปฐมวัย ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดีมาก ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดีมาก กลุ่มตวั บ่งชพ้ี ื้นฐาน ๑๐.๐๐ ๑๐.๐๐ ดมี าก ตวั บ่งช้ีที่ ๑ เด็กมพี ัฒนาการดา้ นรา่ งกายสมวัย ๑๐.๐๐ ๑๐.๐๐ ดมี าก ตวั บง่ ช้ีที่ ๒ เด็กมพี ัฒนาการดา้ นอารมณแ์ ละจติ ใจสมวัย ๓๕.๐๐ ๓๓.๐๐ ดีมาก ตวั บ่งชี้ท่ี ๓ เดก็ มีพฒั นาการดา้ นสังคมสมวัย ตัวบ่งชท้ี ี่ ๔ เด็กมพี ฒั นาการด้านสตปิ ญั ญาสมวัย ๑๕.๐๐ ๑๔.๐๐ ดมี าก ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๕ เด็กมคี วามพรอ้ มศึกษาตอ่ ในขัน้ ตอ่ ไป ๕.๐๐ ๔.๗๓ ดีมาก ตวั บ่งชท้ี ่ี ๖ ประสิทธิผลของการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้นเด็กเป็น ๒.๕๐ ๒.๕๐ ดมี าก สำคัญ ตวั บ่งชที้ ี่ ๗ ประสทิ ธภิ าพของการบริหารจัดการและการพฒั นาสถานศกึ ษา ๒.๕๐ ๒.๕๐ ดีมาก ตวั บ่งชี้ท่ี ๘ ประสิทธผิ ลของระบบการประกันคณุ ภาพภายใน กลุ่มตัวบง่ ชี้อัตลักษณ์ ๒.๕๐ ๒.๕๐ ดมี าก ตวั บง่ ชี้ที่ ๙ ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ ๒.๕๐ ๒.๕๐ ดีมาก และวตั ถปุ ระสงคข์ องการจัดต้ังสถานศกึ ษา ตัวบ่งชี้ท่ี ๑๐ ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจดุ เด่นท่สี ่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ ๑๐๐.๐๐ ๙๖.๗๓ ดีมาก ของสถานศึกษา กลุม่ ตัวบ่งชี้มาตรการสง่ เสรมิ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑ ผลการดำเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาท ของสถานศกึ ษา ตัวบ่งชี้ที่ ๑๒ ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่สอดคล้องกับแนว ทางการปฏริ ปู การศกึ ษา คะแนนรวม ผลรวมคะแนนประเมินสถานศกึ ษา ๙๖.๗๓ คะแนน มีคณุ ภาพระดบั ดมี าก ผลการรบั รองมาตรฐานคณุ ภาพ รับรอง ❑ ไมร่ บั รอง
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 30 ๑๓. การพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษาตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีของสถานศกึ ษา 1๓.๑ การบริหารจดั การศึกษา โรงเรียนอนบุ าลเทศบาลนครภูเกต็ ไดจ้ ดั แบ่งโครงสรา้ งการบรหิ ารงานเปน็ ๔ ฝ่าย โดยแบ่งเป็น ฝ่ายบริหารวิชาการ ฝา่ ยบรหิ ารงบประมาณ ฝา่ ยบริหารบุคลากร และฝ่ายบริหารทว่ั ไป ผู้บริหารยึดหลักการบรหิ าร/เทคนคิ การบรหิ ารโดยใชโ้ รงเรยี นเป็นฐาน โครงสร้างการบรหิ ารงานโรงเรียนอนบุ าลเทศบาลนครภเู กต็ แผนภูมิโครงสร้างการบรหิ ารโรงเรียนอนบุ าลเทศบาลนครภเู กต็ 16.2 วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนา อัตลักษณ์ และเอกลักษณ์ ของสถานศกึ ษา วิสยั ทศั น์ \" โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภเู กต็ เป็นเลศิ ด้านการบรหิ ารจดั การ นักเรียนมีสุขภาวะสมวัย สอ่ื สาร 2 ภาษา ก้าวทันเทคโนโลยี และมที กั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ \"
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 31 พันธกิจ ๑. พัฒนานักเรียนให้มีสขุ ภาวะสมวัย ๒. พัฒนานักเรียนให้เป็นคนดี มีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น มีระเบียบวินัย มีความ รบั ผดิ ชอบ ร่าเริงแจม่ ใส มั่นใจในตนเองมจี ิตสาธารณะและรกั ทอ้ งถน่ิ ๓. พัฒนานักเรียนให้มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการ Project Approach ๔. พฒั นานักเรยี นให้มที ักษะในการส่อื สาร ภาษาที่ 2 ๕. ส่งเสรมิ ความเป็นเลิศนักเรยี นท่มี ีความสามารถพิเศษ ๖. พัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรให้สามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้ด้วยกระบวนการ Active Learning ๗. พฒั นาระบบการบริหารจดั การให้ไดม้ าตรฐานโดยใช้โรงเรยี นเปน็ ฐาน ๘. พัฒนาระบบประกนั คณุ ภาพดว้ ยกระบวนการมสี ว่ นรว่ ม ๙. พัฒนาสื่อนวัตกรรม แหล่งเรียนรู้ และเทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อพัฒนาคุณภาพในการจัดการ เรยี นการสอน และการบริหารจัดการ ๑๐.พัฒนาอาคารสถานที่ สภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้สะอาดปลอดภัยร่มรื่น เอื้อต่อการ เรยี นรู้ และเอ้ือต่อการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ขี องครูและบคุ ลากร ๑๑.สง่ เสริมความสัมพันธร์ ะหว่างโรงเรยี น บ้าน และชมุ ชนเพอ่ื รว่ มมือกนั พัฒนาการศึกษา ยทุ ธศาสตรแ์ ละกลยุทธ์ ยทุ ธศาสตร์ แนวทางการพฒั นา หนว่ ยงานที่รบั ผดิ ชอบ ฝ่ายบริหารวชิ าการ 1. ยุทธศาสตร์ 1.1 แนวทางการพฒั นาผ้เู รียนมีพฒั นาการสมวัย ฝ่ายบริหารทว่ั ไป ฝา่ ยปกครอง การพัฒนาคุณภาพ 1.2 แนวทางการพัฒนาสืบสานความเป็นไทยใส่ใจส่ิงแวดลอ้ ม ฝา่ ยปกครอง ผเู้ รยี น ๑.๓ แนวทางการพฒั นาเดก็ ดี มีคุณธรรม น้อมนำเศรษฐกจิ ฝ่ายบรหิ ารทว่ั ไป พอเพยี ง ฝ่ายบรหิ ารบคุ ลากร ฝา่ ยบริหารบุคลากร ๑.๔ แนวทางการพฒั นาส่งเสรมิ ความสามารถพิเศษ ฝ่ายบริหารวิชาการ ตามศักยภาพของผู้เรียน ฝ่ายบรหิ ารวิชาการ ๑.๕ แนวทางการพฒั นาสขุ ภาพดชี วี ีมสี ุข ฝา่ ยบรหิ ารท่วั ไป 2. ยทุ ธศาสตร์ 2.1 แนวทางการพฒั นาพฒั นาการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ ฝา่ ยบริหารทั่วไป การพัฒนาครู 2.2 แนวทางการพัฒนาสรา้ งวิสัยทศั นค์ รู ให้เป็นครมู ืออาชพี 3. ยุทธศาสตร์ 3.1 แนวทางการพัฒนาพัฒนาระบบประกันคุณภาพ พัฒนาระบบบรหิ าร 3.2 แนวทางการพัฒนาพฒั นาหลักสตู รสถานศึกษา จดั การให้มี และหลกั สตู รทอ้ งถนิ่ ประสิทธภิ าพ 3.3 แนวทางการพัฒนาพฒั นาระบบบริหารจัดการ เพอ่ื ม่งุ สคู่ ุณภาพ 3.4 พัฒนาส่อื และเทคโนโลยเี พื่อการศึกษา
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 32 ยทุ ธศาสตร์ แนวทางการพัฒนา หน่วยงานทร่ี บั ผิดชอบ ฝ่ายบริหารทว่ั ไป 4. ยทุ ธศาสตร์ 4.1 แนวทางการพัฒนาพัฒนาอาคารสถานท่ี ฝ่ายบรหิ ารทว่ั ไป พัฒนาอาคาร 4.2 แนวทางการพัฒนาพัฒนาสภาพแวดล้อม และภูมิทศั น์ ฝ่ายบริหารทั่วไป ฝา่ ยบรหิ ารท่วั ไป สถานที่ และ ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ สภาพแวดล้อม ให้เอ้ือต่อการเรยี นรู้ 5. ยุทธศาสตร์ 5.1 แนวทางการพัฒนาส่งเสรมิ การมสี ่วนรว่ มระหวา่ งโรงเรยี น พฒั นาเครอื ขา่ ย กับชมุ ชน เข็มแข็ง 5.2 แนวทางการพฒั นาประชาสัมพันธ์ขา่ วสารสูช่ ุมชน จดุ ม่งุ หมายเพ่ือการพัฒนา โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต จัดการศึกษาระดับปฐมวัย สำหรับเด็กอายุ ๕ – ๖ ปี โดยมุ่งพัฒนา ผู้เรียนให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา ทเ่ี หมาะสมกับวยั ความสามารถและความแตกตา่ งระหว่างบุคคล จงึ กำหนดจุดหมายเพอื่ การพฒั นา ดงั น้ี ๑. นกั เรียนมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานปฐมวยั ๒. ครูมคี วามรู้ ความสามารถในการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ มีคุณธรรม จริยธรรม มีความเป็น ประชาธิปไตย และเป็นครมู ืออาชพี ๓. สถานศึกษามีระบบบรหิ ารจดั การโดยใชโ้ รงเรียนเปน็ ฐานไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ๔. สถานศึกษามีระบบการประกนั คณุ ภาพทไ่ี ด้มาตรฐานเพ่ือเตรยี มความพรอ้ มรบั การประเมนิ สมศ. ๕. สถานศึกษามีวัสดุ อปุ กรณ์ และสือ่ การเรยี นการสอนเพยี งพอ ๖. สถานศึกษามอี าคารสถานที่ ภมู ทิ ัศน์ และสภาพแวดล้อมที่ดี ๗. ชมุ ชนเข้ามามสี ่วนรว่ มในการจดั การศกึ ษา อตั ลักษณข์ องสถานศกึ ษา “สขุ ภาพดี รา่ เริงแจ่มใส ม่นั ใจในตนเอง” เอกลกั ษณข์ องสถานศึกษา “โรงเรยี นส่งเสรมิ สขุ ภาพ”
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 33
๑๐. ผลการดำเนินงานตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีการศึกษา 2560 ของ 1) ผลการดำเนินงานโครงการ/กจิ กรรมตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปขี องสถานศกึ ษ ๑. ยุทธศาสตร์ การพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน 1.1 แนวทางการพัฒนาผเู้ รยี นมีพัฒนาการสมวัย สอดคลอ้ งกับ วัตถุประสงค ที่ โครงการ/กิจกรรม มาตรฐาน/ ทตี่ ง้ั ไว้ ผล ตัวบง่ ชที้ ี่ ๑ โครงการส่งเสรมิ และพฒั นา 9.2 , 10.1 , ๑. เพือ่ ใหน้ ักเรียนไดร้ บั ๑. นกั ประสบการณ์การเรียนรู้ใหก้ ับ 10.2 , 10.3 , การส่งเสรมิ พฒั นาการ สง่ เสร นักเรียนระดับปฐมวยั 11.5 , 12.1 , ท้ัง ๔ ด้าน ตาม ท้งั ๔ กิจกรรม Smart Child Smile 12.2 , 12.3 , หลกั สตู รการศึกษา หลักส Family 12.4 , 12.5 ปฐมวัย ปฐมว ๒. เพือ่ ให้ผู้ปกครอง ๒. ผ้ปู มีความรู้ความเขา้ ใจ ความ เก่ียวกบั การจดั จัดกา การศึกษาระดับปฐมวัย ปฐมว
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 34 งสถานศึกษา ษา ค์ เป้าหมาย ผลการประเมนิ เชงิ คุณภาพ ลการดำเนินงาน ทต่ี ั้งไว้ ผลการดำเนนิ งาน และขอ้ เสนอแนะ กเรียนไดร้ ับการ เชิงปรมิ าณ เชิงปรมิ าณ ผลการประเมินเชงิ ริมพฒั นาการ ๑. ร้อยละของนกั เรียน ๑. นกั เรียนมพี ฒั นาการ คณุ ภาพ ๔ ดา้ น ตาม ทมี่ พี ฒั นาการทง้ั ๔ ด้าน ท้ัง ๔ ดา้ น เหมาะสม นักเรยี นโรงเรยี นอนบุ าล สูตรการศึกษา อยใู่ นระดบั ดี ตามวยั จำนวน เทศบาลนครภูเก็ต ไดร้ บั วัย ๒. รอ้ ยละของผปู้ กครอง ๑๔๒ คน คิดเป็นรอ้ ย การสง่ เสรมิ พฒั นาการ ปกครองมีความรู้ ทีม่ คี วามรู้ ความเขา้ ใจ ละ๖๘.๒๖ ทั้ง ๔ ด้าน ตามหลักสตู ร มเขา้ ใจเกยี่ วกับการ เกยี่ วกับการจดั การศึกษา ๒. ผูป้ กครองมีความรู้ การศกึ ษาปฐมวัยและ ารศกึ ษา ระดบั ระดบั ปฐมวยั ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ผู้ปกครองมคี วามรู้ วัย เชิงคุณภาพ การจดั การศกึ ษาระดบั ความเข้าใจเกีย่ วกบั การ ๑. นกั เรยี นมพี ัฒนาการ ปฐมวยั จำนวน จัดการศกึ ษาระดับ ทง้ั ๔ ดา้ น เหมาะสม ๑๔๒ คน คิดเป็น ปฐมวยั มากขน้ึ ตามวยั รอ้ ยละ ๖๘.๒๖ ขอ้ เสนอแนะ ๒. ผู้ปกครองมคี วามรู้ เชงิ คณุ ภาพ ๑. ในปีต่อไปฐานขนม ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั การ ๑. นักเรยี นมีพัฒนาการ ควรทำขนมแบบไทยๆ จดั การศึกษาระดับปฐมวยั ท้ัง ๔ ด้าน เหมาะสม ๒. ผรู้ ับผดิ ชอบกิจกรรม ตามวยั จัดถงั ขยะใหค้ รบทุกฐาน ๒. ผู้ปกครองมคี วามรู้ ๓. รองเทา้ เดก็ ควรเกบ็ ความเข้าใจเก่ียวกับการ ไวห้ น้าหอ้ งเรียนของ จัดการศึกษาระดบั ตนเอง ปฐมวัย
สอดคล้องกับ วตั ถปุ ระสงค มาตรฐาน/ ที่ โครงการ/กิจกรรม ตัวบง่ ชท้ี ่ี ทตี่ ง้ั ไว้ ผล ๒ โครงการสง่ เสรมิ และพัฒนา 9.2 , 10.1 , 1. เพ่อื ให้นกั เรียนได้รับ 1. นกั ประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับ 10.2 , 10.3 , นกั เรยี นระดบั ปฐมวัย 11.5 , 12.1 , การส่งเสริมพัฒนาการ การส กิจกรรมอบรมพัฒนานกั เรียน 12.2 , 12.3 , เพ่ือเตรยี มความสชู่ ้ันอนบุ าล ๑ 12.4 , 12.5 ท้งั 4ด้านตามหลักสูตร ทง้ั 4 การศึกษาปฐมวยั การศ 3. เพอื่ เตรียมความ 3. นัก พร้อมนักเรียนในการ พร้อม อยู่รว่ มกับเพือ่ นใหม่ กบั เพ คณุ ครคู นใหม่ และ คนให เรยี นรู้การอยใู่ นสงั คม การอ ไดอ้ ย่างมีความสุข มีควา 4. เพ่อื ใหน้ กั เรียน 4. นกั มีความสขุ และมีความ และม พรอ้ มในการมาโรงเรยี น ในกา
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 35 ค์ เป้าหมาย ผลการประเมนิ เชิงคณุ ภาพ ลการดำเนนิ งาน ท่ตี ง้ั ไว้ ผลการดำเนนิ งาน และขอ้ เสนอแนะ กเรยี นไดร้ บั เชงิ ปรมิ าณ เชงิ ปริมาณ การดำเนินงาน ส่งเสริมพัฒนาการ 1. นกั เรยี นรอ้ ยละ 1. นักเรยี นรอ้ ยละ เป็นไปตามวตั ถุประสงค์ 4 ด้านตามหลกั สตู ร 100 ไดร้ ับการสง่ เสรมิ 100 ไดร้ ับการสง่ เสริม และเปา้ หมาย ศึกษาปฐมวยั พัฒนาการทงั้ 4 ดา้ น พฒั นาการท้งั 4 ดา้ น กเรียนมคี วาม ตามหลกั สูตรการศึกษา ตามหลักสตู รการศกึ ษา มในการอยรู่ ว่ ม ปฐมวัย ปฐมวัย พอื่ นใหม่ คณุ ครู ๒. นกั เรียนร้อยละ 90 3. นักเรยี นรอ้ ยละ หม่ และเรยี นรู้ มีความพร้อมในการอยู่ 100 มคี วามพร้อม อยใู่ นสังคมได้อยา่ ง ร่วมกับเพ่อื นใหม่ คุณครู ในการอยูร่ ว่ มกับเพ่อื น ามสขุ คนใหม่ และเรียนรู้การอยู่ ใหม่ คุณครคู นใหม่ กเรียนมคี วามสขุ ในสงั คมได้อย่างมี และเรียนรกู้ ารอยูใ่ น มีความพร้อม ความสขุ สังคมได้อยา่ งมีความสขุ ารมาโรงเรยี น ๓. นกั เรียนรอ้ ยละ 90 4. นกั เรียนร้อยละ มีความสขุ และมีความ 100 มีความสุข พร้อมในการมาโรงเรยี น และมีความพรอ้ ม เชงิ คณุ ภาพ ในการมาโรงเรยี น ๑. นกั เรยี นมคี วามพรอ้ ม เชิงคุณภาพ ในการอยู่ร่วมกบั เพือ่ น ๑. นักเรียนมคี วาม ใหม่ คุณครคู นใหม่ พร้อมในการอยรู่ ่วมกับ และเรียนรูก้ ารอยู่ในสงั คม เพอ่ื นใหม่ คณุ ครู ไดอ้ ย่างมีความสขุ คนใหม่ และเรียนรู้ การอยใู่ นสงั คม ไดอ้ ย่างมีความสขุ
สอดคลอ้ งกบั วัตถุประสงค มาตรฐาน/ ท่ี โครงการ/กจิ กรรม ตัวบง่ ช้ีที่ ท่ตี ัง้ ไว้ ผล ๓ โครงการสง่ เสรมิ และพฒั นา 9.2 , 10.1 , 1. เพื่อใหน้ กั เรยี น 1. นัก ประสบการณ์การเรยี นรู้ให้กับ 10.2 , 10.3 , นกั เรยี นระดบั ปฐมวัย 11.5 , 12.1 , ไดร้ บั การสง่ เสรมิ ส่งเสร กจิ กรรมอบรมพฒั นานกั เรียน 12.2 , 12.3 , อนุบาลเพือ่ เตรยี มความพรอ้ ม 12.4 , 12.5 พัฒนาการทงั้ 4 ด้าน ทั้ง 4 เข้าส่ชู ัน้ ป.1 ตามหลกั สตู รการศกึ ษา การศ ปฐมวัย 2. ผ้ปู 2. เพือ่ ให้ผู้ปกครอง ความ มคี วามรู้ความเข้าใจ ความ และใหค้ วามสำคัญ จัดกา ต่อการจดั การศึกษา ๓. นัก ปฐมวัย พร้อม ๓. เพอื่ พัฒนาศักยภาพ ระดับ นักเรียนให้มีความพรอ้ ม ในการเรยี นตอ่ ระดับ ช้ัน ป.1
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า 36 ค์ เป้าหมาย ผลการประเมินเชงิ คณุ ภาพ ลการดำเนินงาน ที่ต้งั ไว้ ผลการดำเนินงาน และขอ้ เสนอแนะ กเรียนได้รับการ เชงิ ปริมาณ เชิงปริมาณ การดำเนนิ งาน ริมพัฒนาการ เปน็ ไปตามวตั ถุประสงค์ 4 ด้านตามหลักสูตร ๑. นกั เรยี นร้อยละ 100 1. นักเรียนรอ้ ยละ และเปา้ หมาย ศกึ ษาปฐมวยั ปกครองมีความรู้ ได้รับการสง่ เสรมิ 100 ได้รบั การสง่ เสรมิ มเข้าใจและให้ มสำคญั ตอ่ การ พฒั นาการทง้ั 4 ดา้ น พฒั นาการทั้ง 4 ด้าน ารศึกษาปฐมวัย กเรียนมีความ ตามหลักสตู รการศกึ ษา ตามหลกั สูตรการศกึ ษา มในการเรียนตอ่ บชัน้ ป.1 ปฐมวัย ปฐมวัย 2. ผูป้ กครองร้อยละ 2. ผปู้ กครองรอ้ ยละ 80 มีความเขา้ ใจ และให้ 100 มคี วามเขา้ ใจ ความสำคญั ตอ่ การจดั และใหค้ วามสำคัญต่อ การศกึ ษาปฐมวัย การจดั การศึกษา ๓. นกั เรยี นรอ้ ยละ 100 ปฐมวัย มคี วามพร้อมในการเข้า เชิงคุณภาพ ศึกษาต่อระดบั ช้ัน ป.1 นกั เรียน มคี วามพรอ้ ม เชงิ คณุ ภาพ ในการเข้าศึกษาต่อ นักเรียนมีความพร้อม ระดบั ชน้ั ป.1 ในการเข้าศึกษาต่อ ของนกั เรียน ระดบั ชัน้ ป.1
สอดคล้องกบั วัตถุประสงค มาตรฐาน/ ท่ี โครงการ/กิจกรรม ตัวบง่ ชีท้ ี่ ที่ตง้ั ไว้ ผล ๔ โครงการสง่ เสริมและพฒั นา 5.4 , 5.5 , 9.2 ๑. เพ่ือสง่ เสรมิ ให้ ๑. นัก ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ใหก้ ับ , 10.1 , 10.2 , นกั เรียนมพี ัฒนาการ ทีเ่ หม นักเรยี นระดบั ปฐมวยั 10.3 , 11.5 , ท่ีเหมาะสมตามวยั ๒. นัก กจิ กรรมส่งเสรมิ พฒั นาการ 12.1 , 12.2 , ๒. เพือ่ ให้นักเรียนได้รบั พฒั น เด็กปฐมวยั 12.3 , 12.4 , การพัฒนาทกุ ดา้ น เตม็ ต 12.5 เตม็ ตามศกั ยภาพ ๕ โครงการสง่ เสริมและพฒั นา 9.2 , 10.1 , ๑.เพือ่ สง่ เสริมให้ ๑.นัก ประสบการณ์การเรียนรูใ้ หก้ ับ 10.2 , 10.3 , นักเรยี นได้รู้จักประวัติ ประว นกั เรยี นระดบั ปฐมวัย 11.5 , 12.1 , ชวี ติ และวรรณกรรม วรรณ กิจกรรมวนั สนุ ทรภู่ 12.2 , 12.3 , ของสนุ ทรภู่ 12.4 , 12.5 ๒.เพ่อื สง่ เสรมิ ให้ ๒.นกั นกั เรยี นกลา้ แสดงออก แสดง ในทางที่ถกู ท่คี วรมี ที่ควร คณุ ลักษณะที่ ที่ พงึ ประสงค์ พึงปร
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 37 ค์ เปา้ หมาย ผลการประเมินเชิงคุณภาพ ลการดำเนนิ งาน ที่ตั้งไว้ ผลการดำเนินงาน และข้อเสนอแนะ กเรยี นมพี ฒั นาการ เชงิ ปริมาณ เชิงปรมิ าณ บรรลตุ ามเปา้ หมาย มาะสมตามวยั นกั เรยี นที่เขา้ ร่วม กเรียนไดร้ ับการ 1. นักเรียนท่ีมพี ัฒนาการ 1. นักเรยี นทีม่ ี กิจกรรมมีพัฒนาการ นาทุกดา้ น เหมาะสมตามวยั ตามศกั ยภาพ ลา่ ชา้ เข้ารว่ มกจิ กรรม พัฒนาการลา่ ช้า ผลการดำเนินงานเปน็ ไป กเรียนไดร้ จู้ ัก ร้อยละ ๘๐ เขา้ รว่ มกจิ กรรม ตามวัตถปุ ระสงค์ วตั ิชีวติ และ ข้อเสนอแนะ ณกรรมของสุนทรภู่ เชงิ คุณภาพ รอ้ ยละ 100 ๑.ควรมรี ะยะเวลาในการ กเรยี นกลา้ เตรยี มและซอ้ มการ งออกในทางท่ีถูก นกั เรยี นท่ีเขา้ ร่วมกจิ กรรม เชงิ คุณภาพ แสดงเพมิ่ ขน้ึ รมคี ุณลกั ษณะ ๒.การจัดกจิ กรรม มีพัฒนาการเหมาะสม นกั เรยี นที่เข้ารว่ ม ควรแยกเป็น ๒ ประเภท ระสงค์ และนกั เรยี นคนละกล่มุ ตามวยั กจิ กรรมมีพฒั นาการ คือการแสดงละคร และการประกวดตวั เหมาะสมตามวัย ละครวรรณคดี ๓.ควรเพมิ่ การประกวด ๑. รอ้ ยละ ๙๕ ของ ๑.นักเรยี นเข้าร่วม ชดุ ตัวละครจากวัสดุ รไี ซเคิล นกั เรยี นได้รู้จกั ประวตั ิ กจิ กรรม จำนวน ๓๘๒ ชีวิต และวรรณกรรมของ คน คิดเป็นรอ้ ยละ สนุ ทรภู่ กวีเอกของโลก ๘๖.๘๑ ๒.ร้อยละของนักเรียน ๒.นกั เรยี นไดร้ จู้ กั ท่ีกล้าแสดงออกมคี วาม ประวตั ชิ วี ติ และ มั่นใจในตนเอง วรรณกรรมของสุนทรภู่ จำนวน ๓๓๗ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๘๑.๒๐ ๓.นกั เรยี นกล้า แสดงออกในทางทีถ่ ูกท่ี ควรมีคุณลักษณะท่ี พงึ ประสงค์ จำนวน ๓๓๙ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๘๑.๖๘
สอดคลอ้ งกบั วัตถุประสงค ที่ โครงการ/กิจกรรม มาตรฐาน/ ทีต่ ้งั ไว้ ผล ตวั บ่งช้ีท่ี ๖ โครงการสง่ เสรมิ และพฒั นา 6.1 , 6.2 , 9.2 ๑.เพอื่ ให้นกั เรยี นไดร้ บั ๑.นกั ประสบการณ์ การเรียนรใู้ ห้กับ , 10.1 , 10.2 , การสง่ เสริมพัฒนาการ ส่งเสร นักเรยี นระดบั ปฐมวัย 10.3 , 11.5 , ทง้ั ๔ ด้านตามหลกั สูตร ๔ ด้า กจิ กรรมเรียนรู้เมืองเกา่ ถนน 12.1 , 12.2 , การศกึ ษา การศ ถลาง 12.3 , 12.4 , ๒.เพอ่ื ใหน้ กั เรียนไดร้ ับ ๒.นัก 12.5 ประสบการณจ์ ากการ ประส เรยี นรูจ้ ากแหลง่ ขอ้ มลู จากแ และสถานทจ่ี รงิ สถาน ปฐมวัย
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 38 ค์ เป้าหมาย ผลการประเมนิ เชงิ คุณภาพ ที่ตั้งไว้ ผลการดำเนนิ งาน และข้อเสนอแนะ ลการดำเนนิ งาน เชงิ ปรมิ าณ ๑.นกั เรียนมพี ฒั นาการ ผลการดำเนินงานเปน็ ไป กเรยี นไดร้ บั การ ๑. รอ้ ยละของนักเรยี นทม่ี ี ทั้ง ๔ ด้าน ตาม ตามวตั ถปุ ระสงค์ ริมพฒั นาการ ทั้ง พัฒนาการทั้ง ๔ ดา้ น หลักสตู รการศึกษา ขอ้ เสนอแนะ านตามหลกั สูตร อย่ใู นระดับดี ปฐมวัยดงั น้ี ๑.ควรจัดกจิ กรรมให้ ศึกษาปฐมวยั ๒. รอ้ ยละของนักเรยี นที่ - ด้านร่างกายนักเรียน เหมาะกับนกั เรียนในการ กเรียนได้รบั ได้รับประสบการณ์ตรง สามารถใชก้ ล้ามเน้ือ เดินทาง สบการณ์ตรง จากแหลง่ ข้อมลู และ ใหญใ่ นการเดนิ ทาง ๒.ควรตกลงกบั วทิ ยากร แหลง่ ข้อมูลและ สถานทจี่ รงิ ทัศนศึกษาแหลง่ เรียนรู้ ในการใหค้ วามรแู้ ก่ นทจ่ี ริง เชิงคณุ ภาพ จำนวน ๔๑๔ คน นักเรียนเพือ่ ใหน้ ักเรยี น ๑. นักเรียนมีพฒั นาการ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐ - มคี วามเข้าใจมากย่ิงขน้ึ ด้านอารมณ์ – จิตใจ ทัง้ ๔ ดา้ นเหมาะตามวยั นกั เรยี นมคี วามสุข ๒. นักเรยี นไดร้ บั ในการร่วมกิจกรรม ประสบการณต์ รง จำนวน ๔๑๔ คน จากแหล่งขอ้ มูลและ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐ สถานทจี่ ริง - ดา้ นสงั คม นักเรยี น สามารถอย่รู ว่ มกับผู้อ่ืน ไดอ้ ย่างมีความสุขและ ชว่ ยเหลอื ซ่ึงกันและกัน เรียนรู้ สังคม ถนนคน เดนิ ชีวติ ความเปน็ อยู่ ของคนภูเก็ต
สอดคล้องกบั วัตถุประสงค์ ท่ี โครงการ/กจิ กรรม มาตรฐาน/ ทต่ี ้งั ไว้ ผล ตัวบง่ ชที้ ่ี ๗ โครงการส่งเสรมิ และพัฒนา 6.1 , 6.2 , 9.2 ๑.เพื่อให้นักเรียนได้รบั ๑.นัก ประสบการณ์ การเรียนร้ใู หก้ ับ , 10.1 , 10.2 , การส่งเสรมิ พัฒนาการ สง่ เสร นักเรยี นระดับปฐมวยั 10.3 , 11.5 , ท้ัง ๔ ด้านตามหลกั สูตร ๔ ดา้ กจิ กรรมเรยี นรวู้ ัดคบู่ า้ นคูเ่ มือง 12.1 , 12.2 , การศกึ ษา การศ 12.3 , 12.4 , 12.5 ๒.เพ่ือใหน้ กั เรียนได้รับ ประสบการณจ์ ากการ ๒.นัก เรยี นรูจ้ ากแหลง่ ขอ้ มลู ประส และสถานท่ีจริง จากแ ปฐมวัย สถาน
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า 39 ลการดำเนนิ งาน เปา้ หมาย ผลการประเมินเชิงคุณภาพ ทีต่ งั้ ไว้ ผลการดำเนนิ งาน และขอ้ เสนอแนะ กเรียนไดร้ ับการ เชงิ ปรมิ าณ ๑.นักเรยี นมีพฒั นาการ ผลการดำเนนิ งานเป็นไป ริมพฒั นาการ ทั้ง ๑. ร้อยละของนกั เรยี นทม่ี ี ทัง้ ๔ ด้าน ตาม ตามวตั ถุประสงค์ านตามหลกั สูตร พัฒนาการทัง้ ๔ ด้านอย่ใู น หลักสูตรการศกึ ษา ขอ้ เสนอแนะ ศกึ ษาปฐมวยั ระดับดี ปฐมวัยดงั นี้ ๑.ควรจดั กิจกรรมให้ ๒. รอ้ ยละของนกั เรยี นท่ี - ด้านรา่ งกายนกั เรียน เหมาะกับนกั เรยี นในการ กเรียนไดร้ บั ได้รับประสบการณ์ตรง สามารถใช้กล้ามเนอื้ เดนิ ทาง สบการณต์ รง จากแหลง่ ขอ้ มลู และสถานท่ี ใหญ่ในการเดนิ ทาง ๒.ควรมีวิทยากรในการ แหล่งข้อมลู และ จรงิ ทศั นศึกษาแหลง่ เรียนรู้ ใหค้ วามรู้แก่นักเรยี น นทีจ่ รงิ จำนวน ๔๑๔ คน เพ่อื ให้นักเรียนมีความ เชิงคณุ ภาพ คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๐๐ เขา้ ใจมากยิง่ ข้ึน ๑. นักเรียนมีพัฒนาการทั้ง -ดา้ นอารมณ์ – จติ ใจ ๔ ดา้ นเหมาะตามวัย นกั เรียนมีความสขุ ใน ๒. นักเรยี นไดร้ ับ การรว่ มกจิ กรรม ประสบการณ์ตรง จำนวน ๔๑๔ คน จากแหลง่ ขอ้ มลู และสถานท่ี คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๐๐ จรงิ - ด้านสงั คม นกั เรียน สามารถอยรู่ ว่ มกับผูอ้ นื่ ได้อย่างมคี วามสุขและ ชว่ ยเหลอื ซึ่งกันและกัน เรียนรู้ สังคม ถนนคน เดิน ชีวติ ความเป็นอยู่ ของคนภเู กต็ รู้จักวดั ฉลองซ่ึงเป็นวดั คู่บา้ นคู่เมอื ง
ท่ี โครงการ/กิจกรรม สอดคล้องกบั วตั ถุประสงค์ มาตรฐาน/ ทตี่ ั้งไว้ ผล ๘ โครงการสง่ เสริมและพฒั นา ตวั บ่งชที้ ี่ ประสบการณ์ การเรียนรู้ใหก้ ับ นักเรียนระดบั ปฐมวยั กจิ กรรมเรยี นร้วู ดั ค่บู ้านคูเ่ มือง (ต่อ)
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า 40 ลการดำเนินงาน เปา้ หมาย ผลการประเมินเชงิ คณุ ภาพ ท่ตี ั้งไว้ ผลการดำเนนิ งาน และขอ้ เสนอแนะ ศาลกรมหลวงชมุ พร เขตอุดมศกั ดิ์ และ เตาเผาขยะของเทศบาล นครภูเก็ต จำนวน ๓๙๒ คน คิดเป็นร้อย ละ ๙๔.๖๙ - ดา้ นสตปิ ญั ญา นกั เรียนไดร้ บั ความรู้ เกีย่ วกับความเปน็ มา ของจังหวัดภูเก็ต รจู้ ัก วดั ฉลองซึ่งเปน็ วัด คบู่ า้ นคเู่ มือง ศาลกรม หลวงชมุ พรเขตอดุ ม ศักดิ์ และเตาเผาขยะ ของเทศบาลนครภเู ก็ต จำนวน ๓๘๒ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๙๒.๒๗๒. นักเรียนประสบการณ์ ตรงจากแหลง่ ขอ้ มลู และสถานท่จี ริง จำนวน ๔๐๑ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๙๖.๘๖
สอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงค์ ที่ โครงการ/กจิ กรรม มาตรฐาน/ ท่ตี ้ังไว้ ผล ตวั บง่ ชี้ที่ ๙ โครงการจัดการเรียนรแู้ บบรู ณา 6.1 , 6.2 , 9.2 ๑.เพอ่ื ส่งเสริมให้ ๑.นกั การโดยใชแ้ หลง่ เรียนรูแ้ ละภมู ิ , 10.1 , 10.2 , นักเรยี นไดเ้ รยี นรู้ เก่ยี วก ปัญญาท้องถิ่น 10.3 , 11.5 , เก่ยี วกับประเพณีพ้อต่อ พ้อต่อ กจิ กรรมเรยี นร้แู บบบูรณาการ 12.1 , 12.2 , ๒.เพอ่ื สง่ เสริมให้ ๒.นกั พอ้ ตอ่ 12.3 , 12.4 , นกั เรยี นมคี วามรกั และ มคี วา 12.5 ความภาคภูมใิ จใน ในปร ประเพณีทอ้ งถน่ิ ๓.เกิด ๓.เพอื่ เป็นการประสาน ระหว ความร่วมมือระหว่าง ภมู ิปัญ ชมุ ชน ภมู ิปัญญา โรงเร ทอ้ งถ่นิ กับโรงเรยี น
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 41 ลการดำเนนิ งาน เปา้ หมาย ผลการประเมนิ เชงิ คุณภาพ ที่ตง้ั ไว้ ผลการดำเนินงาน และขอ้ เสนอแนะ กเรยี นได้เรยี นรู้ กับประเพณี เปา้ หมายเชิงปริมาณ นักเรยี นได้เรยี นรู้ ผลการดำเนนิ งานเปน็ ไป อ กเรยี นมีความรกั ๑.รอ้ ยละ ๙๕ ของนกั เรียน เกี่ยวกบั ประเพณพี ้อต่อ ตามวตั ถุประสงค์ ามภาคภูมใิ จ ระเพณที ้องถน่ิ ได้เรยี นร้เู ก่ยี วกับประเพณี ร้อยละ ๘๗.๗๐ ขอ้ เสนอแนะ ดความร่วมมือ วา่ งชมุ ชน พอ้ ต่อ นักเรียนมีความ ๑. อยากใหม้ ีการจัด ญญาทอ้ งถ่ินกบั รียน ๒.รอ้ ยละของนักเรยี นที่มี ภาคภมู ิใจในประเพณี กิจกรรมนอกห้องเรยี น ความรกั และความ ท้องถน่ิ รอ้ ยละ ๘๓.๘๐ บอ่ ยๆ ภาคภูมใิ จในประเพณี ๒.กจิ กรรมทำขนมเตา่ ทอ้ งถนิ่ ควรมวี สั ดุอปุ กรณ์ในการ เป้าหมายเชิงคณุ ภาพ จัดกิจกรรมใหพ้ ร้อม เชน่ ๑.นกั เรียนไดเ้ รยี นร้เู ก่ยี วกบั แกส๊ หมอ้ นึง่ และอื่นๆ ประเพณพี ้อตอ่ ตามความเหมาะสม ๒.นักเรียนมคี วามรักและ ความภาคภูมใิ จในประเพณี ทอ้ งถนิ่
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384