Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมลงเรือแป๊ะ

รวมลงเรือแป๊ะ

Published by waiyasusri, 2021-02-13 06:22:42

Description: รวมลงเรือแป๊ะ

Search

Read the Text Version

ว่าตลาดคลองผดุงฯ  ติดปากทั่วไป  แต่หลายคนเรียกว่าตลาดนายกฯ  ŧàÃÍ× á»Ðˆ :: ท่ีเรียกว่าตลาดลุงตู่ก็มีบ้าง  กลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวแหล่งเผยแพร่  สินค้าท้องถิ่นราคาถูกเพราะต้นทุนต่ำาและผู้ผลิตนำามาจำาหน่ายเอง  คุณเรณู  ตังคจิวางกูร  รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝา่ ยการเมือง  ซ่ึงเคยเป็นรองเลขาธิการนายกฯ ฝา่ ยราชการประจำามาก่อนเป็น  แม่บ้านใหญ่  จะว่าเป็นผู้จัดการตลาดก็ได้   พอเสร็จงานไปหนหนึ่งก็จะติดตลาดใหม่หมุนเวียนไปตาม  เทศกาลหรือผลิตภัณฑ์  โดยมีกระทรวงต่างๆ  รับเป็นเจ้าภาพ  ส่วน  ใหญ่จะเน้นผลิตภัณฑ์การเกษตรและวิถีชีวิตชุมชน  แต่ผลิตภัณฑ์  อ่ืนๆ  ก็นำามาจำาหน่ายและแสดงได้  เช่น  ผลิตภัณฑ์พลังงาน  งานวิจัย  กีฬา  งานของขวัญ  สินค้าเพ่ือสุขภาพ  สินค้าจากชายแดนใต้  ผลไม ้ อัญมณีและเครื่องประดับ  เอสเอ็มอี  ระยะหลังตลาดคลองผดุงฯ  ติด  แอร์เย็นฉ่ำาน่าเดิน  วันเสาร์วันอาทิตย์ลูกค้าแน่นขนัด  หนักเข้าก็มีการ  แสดงดนตรีบ้าง มีบริการนวดฝา่ เท้าบ้าง และให้เน้นการเผยแพร ่ ความรู้คู่กับการจำาหน่าย  เช่น  แนะวิธีผลิต  วิธีถนอมรักษาสินค้า  สอนการจดั การการตลาดและความรู้เกยี่ วกบั เอสเอ็มอี   แขกบ้านแขกเมืองมาเย่ียมคารวะนายกฯ พอเจรจาความเมือง  เสร็จ  ท่านก็ชวนให้ไปเดินตลาดคลองผดุงฯ  กลายเป็นพระยาน้อยชม  ตลาดไปตามๆ  กัน    คราวนี้ตลาดคลองผดุงฯ  ออกข่าวโทรทัศน์ไปทั่ว  โลก ฝร่งั เรียกวา่  P.M.’s Market หรอื  Government House Market   ท่ีน่ายินดีคือกลายเป็นช่องทางให้ผู้ผลิตนำาสินค้ามาขายแก ่ ผู้บริโภคได้โดยตรง  คนเดินตลาดไม่ใช่แค่ชาวบ้านร้านช่องท่ัวไป  แต ่ เป็นระดับผู้นำาประเทศต่างๆ  และแขกของรัฐบาล  เรียกว่ายุคนั้นใคร  ไม่เคยไปเป็นพระยาน้อยชมตลาดคลองผดุงฯ  ไม่เข้ากับรัฐนิยม  ดีท่ ี ไม่ถูกเชิญไปปรับทัศนคติ  แต่ของเขาดีราคาถูก  อาหารดี  ดนตร ี เพราะ  น่าไปเดินจริงๆ  ด้วย    บางทีก็เป็นช่องทางให้ติดต่อซ้ือขายส่ง  เป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างดี จากเดือนมกราคม  พ.ศ.๒๕๕๘ ซ่ึง  เปิดตลาดครั้งแรกจนถึงเดือนธันวาคม  พ.ศ.๒๕๖๐ ซ่ึงตลาดวาย  201

:: ิวษ ุณ เค ืรองาม ปดิ ตลาด รวมเวลา ๓ ป ี มกี ารจดั งานประมาณ ๔๐ ครง้ั  มผี ปู้ ระกอบ  การมาขาย  ๘,๐๑๙  ราย  มีพระยาน้อยชมตลาด  ๓,๙๗๘,๖๙๖  คน  รวมยอดขายปลีก-ขายส่ง  ๑,๙๓๖  ล้านบาทเศษ   นำยกฯ ภำคภมู ใิ จกบั งำนนมี้ ำก ทำ่ นสง่ เสรมิ ใหท้ กุ จงั หวดั นำาไปจัด  โดยให้เน้นสินค้าเกษตรและสินค้าชาวบ้านท่ีนำามาขายตรง  ท้ังน้ีอาจหมุนเวียนไปท่ีต่างๆ  ไม่ต้องติดตลาดถาวร  ท้ังให้เน้นความ  สะอาด  การรักษาความปลอดภัยและราคาถูก  ไม่เอาเปรียบผู้บริโภค  คราวนี้ก็ติดตลาดกันใหญ่  ไปตรวจราชการจังหวัดไหนท่านนายกฯ  ก ็ ขอดูตลาด  เม่ือตลาดคลองผดุงฯ  ปิดกิจการ  รัฐบาลก็ให้จัด  “ตลาด  ประชารัฐ”  ขึ้นแทนในลักษณะเดียวกัน  โดยให้กระทรวงมหาดไทย  และกระทรวงพาณิชย์เป็นผู้ขยายผล  ตลาดประชารัฐมีในทุกจังหวัด  และอาจต้ังชอ่ื ใหแ้ ปลกแตกตา่ งออกไปไดโ้ ดยใชต้ ลาดคลองผดงุ กรุง-  เกษมเป็นโมเดล   หลายคนวิจารณ์ว่าตลาดคลองผดุงฯ เป็นของเล่นของนายกฯ  ประยุทธ์  จะเล่นไม่เล่นก็ไม่ทราบ  แต่ช่วยให้คนทำามาค้าขายและทำา  มาหากินได้  ของแบกะดินสามารถมาวางขายในเต็นท์ติดแอร์ข้าง  ทำาเนียบรัฐบาลได้โดยไม่ต้องขึ้นห้าง  และเรียกลูกค้ามาเป็นพระยา  น้อยชมตลาดได้เป็นล้านๆ  คน  ทำารายได้เป็นพันล้านบาทอย่างนี้ก ็ น่าเลน่ อยู่หรอก!   ตลาดประชารฐั มลี กั ษณะเปน็ ตลาดนดั กลางวนั  อาจจดั เวยี นไป  ทโี่ นน่ ทน่ี ต่ี ามแตจ่ ะนดั กนั  พอเย็นพ่อค้าแม่ขายก็ขนของกลับ หลาย  จังหวัดพัฒนาอีกระดับเป็น  “ถนนคนเดิน”  ซึ่งเน้นการเดินเล่น  การ  ทอ่ งเทยี่ ว การจบั จา่ ยใชส้ อย อาหารการกนิ มากกวา่ การซอ้ื หาผกั หญา้   ปลา  ปู  หมู  เห็ด  เป็ด  ไก่  โดยมากมักติดตลาดถนนคนเดินตอนเย็น  แดดร่มลมตกไปจนถึงดึกด่ืน  และมีนันทนาการบันเทิงเริงรมย์มา  ดึงดูดความสนใจด้วย  เช่น  เล่นมายากล  เล่นดนตรี  มีบริการนวด  ฝ่าเทา้ 202

  นายกฯ  ไปตรวจราชการท่ีไหนถ้าเป็นกลางวันก็แวะตลาด  ŧàÃÍ× á»Ðˆ :: ประชารัฐ  ถ้าตอนเย็นก็แวะถนนคนเดิน  เช่น  คราว  ครม.สัญจรไป  สุโขทัย  นครสวรรค์  บุรีรัมย์  เรียกว่าเดินชิมไปตลอดทาง  ท่ีจังหวัดเลย  ท่านติดใจรูปแบบถนนคนเดินอำาเภอเชียงคานมาก  ชมเชยว่าดีเด่น  ๓  ประการคือ  ๑.  สภาพแวดล้อมและสถานที่ดีเรียกว่าโลเกช่ัน  เหมาะเป็นถนนทางตรงเลียบแม่นำ้าโขง  สะอาดตา  อาคารบ้านเรือน  รักษาสถาปัตยกรรมเดิมไว้ได้  ๒.  สินค้าดี  คือหลากหลายไม่ใช่ขาย  ผัดไทยเอาอย่างตามๆ  กัน  ต้ังแต่ต้นถนนยันท้ายถนน  หากแต่หลาก  หลายคุณภาพก็ดี  ถ้าเป็นอาหารก็เป็นของแปลกๆ  พื้นบ้าน  รสชาติด ี อร่อย  ถ้าเป็นสินค้าอื่นราคาไม่แพง  ๓.  บรรยากาศดี  คือเดินเท่ียว  แล้วรู้สึกปลอดภัย  สะอาด  มีห้องน้ำา  มีท่ีนั่งพักผ่อนแก้เม่ือย  รอง  นายกฯ  สมคิดเสริมว่าเสียดายที่ยังดึงดูดนักท่องเที่ยวต่างชาติได ้ ไม่มาก  ขอให้สายการบินรับไปจัดแพ็กเกจทัวร์  เช่น  เท่ียวเชียงใหม ่ เทยี่ วเขาคอ้  นา้ำ หนาว ภกู ระดงึ  เพมิ่ เงนิ อกี นดิ จะบวกเชยี งคานใหด้ ว้ ย  เร่ืองมาร์เกตต้ิงแล้วอาจารย์สมคิดท่านเก่งนัก   ตลาดประชารฐั และตลาดถนนคนเดนิ มลี กั ษณะเปน็ ตลาดชมุ ชน  การจัดการตลาดชุมชนไม่ง่ายเลยดังท่ีอาจารย์ศรีศักดิ์  วัลลิโภดมเคย  อธิบายว่า  ตลาดชุมชนจะเป็นแหล่งท่องเท่ียวแบบยั่งยืนต้องให้คน  ท้องถิ่นจดั กนั เอง ดแู ลกนั เอง เป็นไกด์กนั เอง แล้วรายได้ต้องกระจาย  อยู่ในท้องถิ่นนั้น  แต่ท่ีผ่านมาทางการมักไปจัดให้  บางทีสินค้าก็มา  จากแหล่งอื่น  กรมศิลปากรจัด  ททท.จัด  กระทรวงพาณิชย์จัด  อาจ  ได้คนเดิน  ได้เห็นของ  ได้เห็นสถานที่  ได้เห็นประวัติศาสตร์  แต่ไม่ม ี ชวี ติ ชวี าของผคู้ นในทอ้ งถน่ิ  เรอ่ื งนจ้ี งึ ตอ้ งจดั ใหเ้ ปน็ แบบประชารฐั จรงิ ๆ  คอื รว่ มมือกันทกุ ฝา่ ย   ตลาดประชารัฐเป็นตลาดท้องถิ่นคล้ายตลาดสด เป็นตลาด  ของชาวบ้าน  โดยชาวบ้าน  เพื่อชาวบ้าน  ชาวบ้านทำา  ชาวบ้านซื้อ  ชาวบ้านขาย  ชาวบ้านใช้  ชาวบ้านเจริญ  จึงมีจุดอ่อนคือไม่มีการ  ศึกษาวิจัยเพ่ือพัฒนาคุณภาพสินค้าให้ดียิ่งๆ  ข้ึน  ไม่มีการตลาดท ่ี 203

:: ิวษ ุณ เค ืรองาม ทันสมัย ไม่มีการนำาเสนอท่ีน่าประทับใจ  ซึ่งการจะยกระดับตลาด  ประชารัฐทันทีคงทำาไม่ได้  ต้นทุนจะสูง  ราคาสินค้าจะแพงโดยใช่เหต ุ และชาวบ้านชาวท้องถิ่นทำาเองไม่ไหว  แต่สิ่งที่ควรทำาคือการต่อยอด  อีกระบบและอีกรูปแบบหนึ่ง  โดยนำาแนวคิดเร่ืองตลาดนัดไปต่อยอด  กับแนวคิดเร่ืองประชารัฐ  ซ่ึงหมายถึงความร่วมมือระหว่างภาครัฐกับ ภาคประชาชน   ก่อนหน้าน้ีเรามีประชารัฐด้านการศึกษาที่รัฐร่วมกับภาคประ-  ชาชนบริหารจัดการโรงเรียนร่วมกัน  ประชารัฐด้านโครงสร้างพื้นฐาน  ท่ีรัฐร่วมกับภาคประชาชนเข้าดำาเนินการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน  ตา่ งๆ เชน่  ถนน สะพาน ไฟฟา้  ประปา ขนสง่  คมนาคม โทรคมนาคม  คราวน้ีก็มาถึงประชารัฐด้านตลาดซ่ึงหมายความว่ารัฐร่วมกับภาค  ประชาชนเปิดตลาดรูปแบบใหม่  มีการบริหารจัดการที่ดี  มีการ  พัฒนาผลผลิตหรือสินค้า  มีการตลาดที่ทันสมัย  โดยจัดต้ังข้ึนในรูป  ของบริษัท  ประชารัฐรักสามัคคี  จำากัด  ในทุกจังหวัด  เป็นการลงทุน  ถือหุ้นโดยเอกชน  รับซื้อสินค้าจากชาวบ้านมาขายและส่งออก  จัดส่ง  204

ครูบาอาจารย์  นักวิจัยไปช่วยพัฒนารูป  รส  กลิ่น  เสียงให้สินค้าน่าดู  ŧàÃÍ× á»Ðˆ :: นา่ กนิ  นา่ ใช ้ แลว้ เปดิ ตลาดหรอื ศนู ยบ์ รกิ ารสนิ คา้ ตามปากทางเขา้ เมอื ง  หรือริมทางหลวงท่ีนักท่องเท่ียวผ่าน   บางแห่งก้าวไปอีกข้ันตอนด้วยการร่วมมือกันหลายจังหวัด  เพราะบางจังหวัดเป็นได้แค่แหล่งปลูก  แหล่งผลิต  แต่การตลาดยังไม ่ กา้ วหนา้  เชน่  โครงการพฒั นาธญั พชื ประเภทงาหรอื ถว่ั ของแมฮ่ อ่ งสอน  ใบชาของเชียงราย  ไข่เค็มดินสอพองของลพบุรี  มะขามหวานของ  เพชรบูรณ์  ผลิตภัณฑ์ยางพาราของบึงกาฬ  พอทำาในรูปหลายจังหวัด  หรือเป็นกลุ่มจังหวัดก็สามารถขยายตลาดได้มากขึ้น   ยังมีคลองอีกหลำยสำยที่รัฐบำลสั่งให้พัฒนำ ท�ำให้น�้ำ  สะอำด ปลูกไม้ดอกตลอดล�ำคลอง  และจัดกำรกับปัญหำคน  บกุ รกุ  เชน่  คลองลำดพรำ้ ว คลองเปรมประชำกร แตก่ ม็ ผี คู้ ดั คำ้ น  เพรำะเสียผลประโยชน์หรือเกรงจะได้รับผลกระทบกระเทือน  อยู่เหมือนกนั 205

รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ฉบับนีเ้ ปนฉบบั ที่ ๒๐ และเปน รฐั ธรรมนูญ ๒ รชั กาล

รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย   ต้นเดือนสิงหำคม พ.ศ.๒๕๕๗ หลังจำกกำรตั้งนำยก  รฐั มนตรแี ตย่ งั ไมต่ ง้ั คณะรฐั มนตร ี ขณะนนั้ มแี มน่ าำ้ เกดิ ขน้ึ แลว้  ๒ สาย  คือ  คสช.และ  สนช.  กำาลังจะมีสายที่  ๓  คือ  ครม.หลังจากนั้นตาม รัฐธรรมนูญฉบับช่ัวคราว  คสช.จะต้องจัดให้มีแม่นำ้าอีก  ๒  สายคือ  สปช.หรอื สภาปฏริ ปู แหง่ ชาต ิ และคณะกรรมาธกิ ารยกรา่ งรฐั ธรรมนญู   ฉบบั ถาวร หรอื  กมธ. ถ้าทำาได้จบกค็ รบ ๕ สาย   บัดนั้น คสช.ก็เริ่มคิดหนักว่าจะหาใครมาเป็นคณะกรรมาธิการ  ยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่  ๓๖  คน  คณะกรรมาธิการน้ีถ้าเป็นสมัย  ก่อนก็คือ  สสร.หรือสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ  ปัญหาใหญ่คือต้อง  หาหัวให้ได้ก่อน  มีชื่อที่หลุดมาตามหน้าหนังสือพิมพ์  ๓  คน  คือ  “บวรศักด์ิ วิษณุ มีชัย” หนงั สอื พมิ พฉ์ บบั หนง่ึ ถงึ กบั พาดหวั เลยทเี ดยี ว  วา่  “รธน.ใหมบ่ วมแน”่  ฟงั แลว้ นา่ ตกใจเหมอื นบา้ ๆ บวมๆ ยุบหนอพอง  หนอ  ปรากฏว่าท่ีจริงเป็นอักษรย่อ  บ.  =  บวรศักด์ิ  ว.  =  วิษณุ  ม.  =  มีชัย ข่าวน้ีไม่ผิดความจริงเสียทีเดียว  เดิมทีมี พ.อีกช่ือคือพรเพชร  แต่อาจารย์พรเพชรไปเป็นประธาน  สนช.กำากับแม่น้ำาสายหน่ึงเสีย  207

:: ิวษ ุณ เค ืรองาม แล้ว  คราวนี้ก็เหลือแต่  “บวม”  ละครับ    ความจริงงานน้ีไม่ใช่มีคนทำา  ไดอ้ ยแู่ คน่  ้ี แตเ่ หน็ เขด็ ขยาดกนั ไปหมด กลวั ทาำ ไมไ่ ดบ้ า้ ง คสช.ไมร่ จู้ กั   บ้าง  คสช.ไม่วางใจบ้าง  และบางคนอาจไม่อยากทำางานกับ  คสช.  กเ็ ปน็ ได้   การเป็นแคนดิเดต ๑ ใน ๓ อย่างนี้ไม่ใช่เร่ืองน่าปลาบปล้ืมใจ  ไม่ใช่ทกุ ขลาภ แตเ่ ปน็  “ทกุ ข”์  โดยไม่ม ี “ลำภ”  ตอนแรก คสช.ลงมือ ทาบทามทั้ง  ๓  คนจริงๆ  โดยวางสเปกคือต้องเป็นผู้มีความรู้ท้ังหลัก  กฎหมายและวิธีการยกร่างกฎหมาย ต้องมีเวลาว่างเพราะเกือบต้อง  ทำางานเต็มเวลา เรยี กว่ารา่ งเร็ว เสร็จเรว็  ต้องเป็นทย่ี อมรับของสงั คม พอควร  ไม่ใช่ประกาศออกมาแล้วมีคนถามว่า  “ใครวะ”  จะร้องย้ีบ้าง  ฮ้อบ้างก็ช่างเถอะ  นานาจิตตัง  คนรักเท่าผืนหนัง  คนชังเท่าผืนเสื่อ  ฝา่ ยไมช่ อบ คสช.กม็  ี ฝา่ ยเชยี ร ์ คสช.กม็  ี แมย้ ดึ อาำ นาจแลว้ เสอ้ื เหลอื ง เสือ้ แดงย่อมไม่อาจหมดไปไดท้ ันท ี และต้องเป็นที่ยอมรบั ของคนทจี่ ะ  มาเป็นกรรมาธิการร่วมด้วยอีก  ๓๕  คน  ไม่ใช่ว่ากรรมาธิการเก่งกว่า  อาวโุ สกว่าจนประธานคุมเกมไมไ่ ด้   ส่วนท่ีอาจมีคนเดาว่า “ต้องส่ังได้” น้ันไม่มีใครพูดถึง และไม่  จาำ เปน็ ตอ้ งพดู เพราะคาำ วา่  “ลงเรอื แปะ๊ ” กม็ นี ยั อยแู่ ลว้ วา่  พรวดพราด  สวนทางไม่ได้  แต่จะถึงกับส่ังได้น้ัน  หัวหน้า  คสช.พูดชัดว่าถ้าผมต้อง  ให้พวกคุณรับคำาส่ังซ้ายหันขวาหัน  ผมร่างเองไม่ดีกว่าหรือ  ท่ีต้องตั้ง  จงึ ไมใ่ ชเ่ พอ่ื จะสงั่  เพราะอะไรด ี ไมด่  ี อะไรถกู  อะไรผดิ  อะไรเหมาะกบั   ประเทศ  คุณเก่งกว่าผม  ผมเองยังบอกไม่ถูก  แล้วจะไปส่ังได้อย่างไร  คุณก็ทำาของคุณไป  จงเป็นตัวของตัวเอง  แต่ถ้าคนน้ันทัก  คนน้ีท้วง  คสช.ก็เป็นคนหน่ึงในน้ัน  คุณก็ช่วยรับไปตรึกตรองพิจารณา  รัฐธรรม-  นูญไม่ใช่กฎหมายธรรมดา  ฉะน้ันจะดุ่ยๆ  ร่างไม่ได้  ทุกสถาบัน  ทุก  องค์กรที่ถูกพาดพิงถึงในรัฐธรรมนูญรวมท้ังประชาชนย่อมได้รับผล  กระทบตามน้ันท้ังน้ัน  จึงย่อมมีสิทธิ์มีเสียงแนะนำาและทักท้วง  คุณ  รบั ไปพิจารณากแ็ ล้วกัน ไมเ่ อาดว้ ยก็ไมว่ า่ กนั   อยู่มาๆ ผมก็ตกรอบแรกเพราะหัวหน้า คสช.บอกว่าต้องการ  208

ให้ไปช่วยทางรัฐบาลมากกว่า  เมื่อทำาทางโน้นแล้วก็แบ่งภาคมาทำา  ŧàÃÍ× á»Ðˆ :: ทางน้ีไม่ได้  เพราะจะขาดสเปกเรื่องทำางานฟูลไทม์เดี๋ยวร่างช้าคนจะ  ดา่ เอา ทนี จ้ี าก “บวม” กเ็ หลอื  “บม” ละครบั  อาจารยบ์ วรศกั ดน์ิ น้ั ใคร ให้เป็นอะไร  แกก็มักไม่ยอมเป็นอยู่แล้วจึงเบี่ยงบ่ายว่าอาจารย์มีชัย  ควรเป็น  ไหนๆ  ก็กระบี่มือหนึ่ง  ข้าน้อยเป็นศิษย์มิอาจเทียบรัศมีวัด  รอยเท้า  ขอเป็นกรรมาธิการธรรมดา  จะให้เป็นเลขานุการก็ยอม  แถม  เสนออีกว่าอาจารย์วิษณุจะไปท่ีชอบๆ  อยู่ทางรัฐบาลก็เชิญ  แต่ควร  มีตัวแทนรัฐบาลอยู่ใน  กมธ.จะได้เชื่อมสัญญาณกัน  จึงควรเข้ามา  เป็น กมธ.ด้วยแม้ไม่เป็นประธานก็ตาม ผมสะดุ้งโหยง รีบกระโดดหน ี เพราะไหนๆ  ก็รอดแล้วไม่รู้มาชักใบให้เรือแป๊ะเสียทำาไม   หัวหน้า คสช.เห็นว่าไม่เหมาะ เพราะจะกลายเป็นว่าคณะ  รัฐมนตรีส่งคนไปควบคุม  กมธ.  ถ้าเป็นคนจาก  สนช.และ  สปช.อาจ  มาน่ังใน  กมธ.ได้  แต่ไม่ควรมีคนจากซีกรัฐบาล  ลงท้ายผมก็รอด  อาจารย์มีชัยออกตัวว่าอายุมากแล้ว  ทำามาหลายหนแล้ว  อาจารย ์ บวรศักด์ิเคยผ่านการร่างรัฐธรรมนูญมาแล้วเหมือนกัน  และเป็นคน  หนมุ่ กวา่  สขุ ภาพดกี วา่  มวลชนกองหนนุ กม็ อี ยเู่ ชน่ สถาบนั พระปกเกลา้   จงึ ควรรบั เปน็ ประธาน หลงั จากโอโ้ ลมปฏโิ ลมอยนู่ าน อาจารยบ์ วรศกั ดิ์ ก็เลยโอเค  เป็นอันว่าลงเรือแป๊ะอีกคน  และเพ่ือให้มีฐานที่ยืนเชื่อมโยง  กับการปฏิรูปก็ได้ให้ไปเป็นสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติอีกตำาแหน่ง  ซ่ึงสภาน้ันกไ็ ดเ้ ลือกอาจารยเ์ ทียนฉาย กีระนันท์เป็นประธานสภา   อาจารยบ์ วรศกั ดไ์ิ ดร้ บั เลอื กเปน็ รองประธานสภาคกู่ บั  ดร.ทศั นา  บุญทอง  ส่วนอาจารย์มีชัยท่านก็ปลอดโปร่งโล่งใจไปทำางานอื่นตาม ปกติ  แรกๆ  ไม่ได้อยู่ในแม่น้ำาสายใดทั้งส้ิน  ท่านเคยเล่าว่าสมัยก่อน  พอเขายึดอำานาจเสร็จ  เขาก็มักส่งรถทหารไปรับตัวท่านมาจากบ้าน  เข้ากองบัญชาการ  อยู่ก็ไม่ดี  หนีก็ไม่ทัน  คร้ังนี้ไม่มีใครมายุ่งกับท่าน  ซ่ึงก็ดีแล้ว  หัวหน้า  คสช.หรือแม่ทัพนายกองท่านมีชัยก็ไม่เคยรู้จัก  ทั้งพลเอกประยุทธ์  พลเอกประวิตร  ถ้าว่าตามหน้าท่ีก็เคยพบกันก่อน  มีการรัฐประหารแต่ไม่เคยสนทนาหารือกันเป็นส่วนตัว  เรายังแซว  209

:: ิวษ ุณ เค ืรองาม กันว่าสงสัยว่าหนนี้  คสช.คงส่งรถไปรับแล้วกระมัง  แต่คงจะหลงหรือ ติดไฟแดงอยู่แถวแจ้งวัฒนะหรือมิฉะน้ันก็ลงทางด่วนผิดด่าน  เช้ารุ่ง  ข้ึนหลังวันยึดอำานาจ  “บวม”  ทั้ง  ๓  จึงเผ่นหนีไปนอก  อาจารย์มีชัย  ไปเวยี ดนามกับผม   อย่างไรก็ตาม ในเวลาต่อมาอีกแรมปีท่านก็หนีไม่พ้น เมื่อ  ตาำ แหนง่ ใน คสช.วา่ งลงและ คสช.ตอ้ งการผู้หลกั ผใู้ หญท่ างกฎหมาย  เขาไปเชิญท่านมาเป็น  คสช.จนได้  และเป็นพลเรือนเพียงคนเดียวใน  ๑๕  คน    พูดถึงสภาปฏิรูปแห่งชาติหรือ  สปช.เป็นแม่น้ำาอีกสายหนึ่ง  มีหน้าท่ีเสนอแผนการปฏิรูปประเทศในด้านต่างๆ    ผมเสนอให้เรียก  ย่อๆ  แต่แรกว่า  สปช.จะได้เข้าชุดกับ  สนช.  อาจารย์บวรศักดิ์คัดค้าน  ว่าฟังเหมือนชื่อหลักสูตรเสริมสร้างประสบการณ์ชีวิตของกระทรวง  ศึกษาธิการ  จะให้เรียก  สปท.ลงท้าย  สปช.ก็ชนะ  แต่ต่อมาอีก  ๑  ปี  เมื่อมีการยุบ  สปช.และต้องต้ังสภาใหม่ชื่อสภาขับเคล่ือนการปฏิรูป  ประเทศ  คราวนี้ทุกคนเห็นเป็นเอกฉันท์ว่าสภาใหม่น้ีควรใช้ตัวย่อว่า  สปท. แตอ่ าจารยบ์ วรศักดิ์ไม่ไดก้ ลับเขา้ มาเปน็ สมาชกิ อกี   กมธ.นั้นเม่ือได้ตัวอาจารย์บวรศักด์ิเป็นประธานแล้ว การหา  คนมาเป็นกรรมาธิการอีก  ๓๕  คนก็อาศัยการพิจารณาร่วมกันหลาย  ฝ่าย  พอครบแล้วงานก็เดิน  จังหวะน้ัน  ครม.ก็ตั้งข้ึนแล้ว  สปช.ก็ตั้ง  แล้ว  เป็นอันว่าครบแม่นำ้า  ๕  สาย  คราวน้ีจะไหลลงอ่าวไทยหรือออก  อา่ วตังเก๋ียก็แลว้ แตบ่ ุญแตก่ รรม   คณะกรรมำธิกำรยกร่ำงรัฐธรรมนูญหรือ กมธ.ท�ำงำน ขยันขันแข็งเอาจริงเอาจังมาก  มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน  ด้วย  ซึ่งใช้เวลาร่าง  ๑  ปีก็แล้วเสร็จ  เป็นที่รู้ในหมู่คณะรัฐมนตรีมา  ตั้งแต่แรกต้ังรัฐบาลแล้วว่ารัฐบาลน่าจะมีเวลาทำางาน  ๑  ปี  ซึ่งจะ  พอดีกับเวลาที่ใช้ในการร่างรัฐธรรมนูญ  หากจะยืดเยื้อออกไปอีกก ็ ราว  ๘  เดือนเพราะต้องบวกเวลาที่ต้องใช้ในการลงประชามติ  (ต่อมา  210

มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับช่ัวคราวให้มีการลงประชามติร่างรัฐ-  ŧàÃÍ× á»Ðˆ :: ธรรมนูญฉบับใหม่)  และเวลาในการจัดการเลือกตั้ง  ตลอดจนการตั้ง  รัฐบาลใหม่หลังเลือกต้ังซ่ึงรวมเวลาท้ังหมดตั้งแต่เร่ิมยกร่างแล้วน่า  จะอยปู่ ระมาณปคี รึ่ง   เม่ือร่างรัฐธรรมนูญฉบับ กมธ.หรือเรียกให้ง่ายว่าฉบับอาจารย์  บวรศกั ดเ์ิ สรจ็ ลง ขนั้ ตอนตอ่ ไปคอื สง่ ไปให ้ สปช.พจิ ารณาเพอื่ ขอความ เห็นชอบ  ถ้าไม่ผ่านร่างนั้นก็ตกไป  ซึ่ง  กมธ.และ  สปช.จะต้องถูกยุบ  ถ้าผ่านยังต้องนำาไปให้ประชาชนออกเสียงลงประชามติท่ัวประเทศ  อกี ครง้ั  หากผา่ นจงึ จะนาำ ขนึ้ ทลู เกลา้ ฯ ถวายเพอื่ ทรงลงพระปรมาภไิ ธย ประกาศใช้ ฟังแลว้ ต้องผ่านหลายดา่ น   มปี ญั หำเกดิ ข้นึ ในเวลำน้นั ๓ ข้อ ๑.  เน้ือหาสาระบางส่วนของรัฐธรรมนูญดูจะยังไม่เป็นท่ีถูกอก  ถูกใจผู้คนโดยเฉพาะ  สนช.และ  สปช.  ซึ่ง  สปช.มีบทบาทโดยตรง  ว่าจะให้ผ่านหรือไม่ผ่านร่างรัฐธรรมนูญฉบับน้ี  มีคำากล่าวหาว่าร่าง รัฐธรรมนูญนี้ตั้งองค์กรใหม่เพ่ิมข้ึนมากอันจะเป็นการสิ้นเปลืองงบ ประมาณและกอ่ ใหเ้ กดิ ภาระแกร่ ฐั และประชาชนในเรอื่ งอน่ื ๆ นอกจาก นั้นก็เป็นหลักการและถ้อยคำาในมาตราโน้นมาตรานี้รวมหลายมาตรา  ท่ียังมีคนไม่เห็นด้วย  ซึ่งเป็นธรรมดาใครจะมาเห็นด้วยตรงกันหมดได้    ๒. ถ้าร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ผ่าน สปช.แล้วก็ต้องไปออกเสียง  ลงประชามติกันอีก  ซ่ึงจะต้องใช้งบประมาณนับพันล้านบาท  และจะ  ผ่านการลงประชามติหรือไม่ก็ไม่รู้  ข้อท่ีว่าอาจไม่ผ่านนั้นมีความเป็น  ไปไดส้ งู อาจเนอ่ื งมาจากการไมช่ อบเนอื้ หาสาระหรอื การไมช่ อบ คสช.  ก็ได้  เพราะถ้าล้มร่างรัฐธรรมนูญได้ก็เหมือนได้ล้ม  คสช.ไปด้วย  คือ  สะใจดี  แต่ที่เหนือความคาดคิดแต่ต้นคือ  มีขบวนการแนวร่วมมุม  กลับอยากล้มร่างรัฐธรรมนูญเสียในการลงประชามติทั้งที่เป็นพวก  แฟนคลับของ  คสช.หรือ  คสช.นิยม  คือเชียร์  คสช.  แต่เพราะเกรงว่า  ถ้าร่างรัฐธรรมนูญผ่านแล้วก็จะต้องเลือกตั้งเร็ว  คสช.จะพ้นไปเร็ว  คราวน้ีจะไปเข้าล็อกในข้อ  ๓.  จึงอาจชวนกันออกเสียงไม่ผ่านการทำา  211

:: ิวษ ุณ เค ืรองาม ประชามติ  ซึ่งถ้าเป็นอย่างน้ันล้มเสียในช่วงการออกเสียงของ  สปช.  อันเป็นด่านแรกไม่ดีกว่าหรือ  จะได้ไม่ต้องไปเสียเงินทำาประชามติ  พันสองพันล้านบาทแล้วตกไปจนต้องกลับมาร่างใหม่อยู่ดี   ๓. มีการพูดจากันหนาหูในเวลาน้ันว่าบ้านเมืองในปี ๒๕๕๘  เพ่ิงปีเดียวหลังการยึดอำานาจ  สถานการณ์บ้านเมืองยังไม่เรียบร้อย  ดีนัก  ปฏิบัติการใต้ดินยังมีอยู่  การสืบสาวราวเร่ืองการทุจริตเพิ่งจะ  เร่ิมต้น  การปฏิรูปยังไปไม่ถึงไหน  ความสามัคคีปรองดองยังไม่เกิด  รัฐบาลก็กำาลังทำางานด้านต่างๆ  ตัวเป็นเกลียว  หัวเป็นนอตอยู่  ถ้า  ร่างรัฐธรรมนูญฉบับน้ีผ่านก็แปลว่าต้องจัดการเลือกตั้งโดยเร็ว  มีคน  ตั้งคำาถามทางส่ือต่างๆ  เหมือนกันว่า  บ้านเมืองพร้อมจะให้มีการ  เลือกตั้งจริงหรือความสงบเรียบร้อยท่ีพอเห็นอยู่บ้างใน  ๑ ปีนี้จะมี  ตอ่ ไปไหมถ้ารัฐบาลใหม่ซง่ึ เปน็ ใครยังไมร่ ู้เข้ามาบรหิ ารทันที   ที่น่าสนใจก็คือมีบางพรรคการเมืองมาปรารภเหมือนกันว่า  พรรคเองก็ยังบอบชำ้า  ยังไม่พร้อมเข้าสู่การเลือกตั้ง  ในท่ีสุดจะมีพรรค  สองพรรคที่เงินหนาทุนแน่นพร้อมจะกระโจนสู่สนามเลือกตั้งและได้  อาำ นาจรัฐไปในท่ีสุดจงึ ควรทอดเวลาออกไปกอ่ นสักระยะ   ขอ้  ๓. นไี้ มส่ จู้ ะเปน็ ธรรมกบั  กมธ.นกั ถา้ จะมาลม้ รา่ งรฐั ธรรมนญู   ของเขาเพราะเหตุนี้  แต่เวลานั้นกระแสความรู้สึกตามข้อ  ๓.  มีมาก  มากจนย้อนกลับไปกระทบข้อ  ๒.  คือการไม่ผ่านประชามติ  ผมเข้าใจ  ว่า  คสช.ไม่ติดใจข้อ  ๑.  คือเนื้อหาสาระมากนัก  จุดอ่อนนั้นคงมีแต่ก็  งงๆ กันอยู่ไม่รูว้ า่ บัญญัตอิ ยา่ งน้แี ปลวา่ อะไร แตก่ งั วลกบั ขอ้  ๒. และ  ข้อ  ๓.  มาก  มีการสำารวจความคิดเห็นและเลียบเคียงถามกลุ่มต่างๆ  หลายกลุ่ม  ซ่ึงก็ได้คำาตอบท่ีน่าสนใจว่าผ่านไม่ผ่านยังไม่ติดใจเท่ากับ  วา่ ความสงบเรียบร้อยจะกลบั คนื มาไหม เขากลัวตรงนต้ี ่างหาก   คสช.นำาข้อมูลท้ังหมดมาพิจารณาและมีความเห็นว่ายากต่อ  การช้ีชัด  เพราะเป็นการอ่านสถานการณ์ในอนาคต  จึงขอให้  สปช.ใช้  วิจารณญาณเองและฟรีโหวต  คือสุดแต่ใจจะไขว่คว้า  ถ้าไม่ผ่านก็ไป  ร่างใหม่  ถ้าผ่านก็ค่อยไปลุ้นกันอีกทีในการทำาประชามติ    คำาว่าฟร ี 212

โหวตในทางการเมืองมีนัยว่า  วันท่ี  ๖  กันยายน  พ.ศ.๒๕๕๘  สภา  ŧàÃÍ× á»Ðˆ :: ปฏิรูปแห่งชาติลงมติ  ๑๓๕  ต่อ  ๑๐๕  ไม่เห็นชอบกับร่างรัฐธรรมนูญ  ฉบบั น ี้ ทจี่ รงิ แพช้ นะกนั ไมม่ ากแตร่ า่ งนนั้ ตอ้ งตกไปพรอ้ มกบั การสน้ิ สดุ   ของ  กมธ.และ  สปช.ในเวลาต่อมา    อาจารย์บวรศักด์ิ  อุวรรณโณ  ประธาน กมธ.ไดอ้ อกมาเปดิ ใจวา่ ทไ่ี มผ่ า่ นเพราะ “เขำอยำกอยนู่ ำน”  ทาง  คสช.มีคนออกมาตอบกลับเหมือนกันว่า  “อำจใช่ แต่ต้องถำมว่ำ เขำทว่ี ำ่ นะ่ ใคร” น่าจะพูดเสียใหม่ว่า “เขำอยำกให้ คสช.อยู่นำน”  ก็ว่ากันไป   หลังจากนั้นก็มีการแต่งตั้งสมาชิกสภาขับเคล่ือนการปฏิรูป  ประเทศหรอื  สปท.ขนึ้ ทาำ หนา้ ทว่ี างแผนการปฏริ ปู ประเทศตอ่ จาก สปช.  ท่ีสลายตัวไป  และเตรียมการแต่งต้ังคณะผู้ยกร่างรัฐธรรมนูญคณะ  ใหม่  ซึ่งเปล่ียนช่ือไม่ให้ซำ้ากับของเดิมเป็น  “คณะกรรมกำรร่ำงรัฐ-  ธรรมนญู ” หรอื  กรธ. มปี ระธาน ๑ คน และกรรมการอีก ๒๐ คน รวม  เปน็  ๒๑ คน   แลว้ ทีนจ้ี ะหำประธำนมำจำกไหน ส่ือพากันคาดเดาว่า  บ.ก็แล้ว  ว.ก็แล้ว  คราวนี้ถึงที  ม.จะลง  เรอื แปะ๊ สกั ท ี แตใ่ ครไปถาม ม.ทา่ นกป็ ฏเิ สธวา่ อยา่ มายงุ่ กบั ผม ๑ ปที  ่ี ผ่านมาผมมีความสุขดีอยู่แล้ว “นัตถิ  สันติ  ปะรัง  สุขัง สุขใดยิ่งกว่า  ความสงบเป็นไม่มี”  เหมือนพระสวดบังสุกุลไปโน่น   ความจริงหัวหน้า คสช.เล็งไว้ ๓-๔ คนเหมือนกันแต่ทุกคน  ขอเป็นแค่กรรมการธรรมดา  เพราะตามสเปก  กรธ.จะไม่ได้ร่างแค ่ รัฐธรรมนูญ  แต่จะต้องร่างกฎหมายลูกอีกร่วม  ๑๐  ฉบับ  ถ้าสุขภาพ  กายสุขภาพจิตไม่ดี  บารมีไม่พอ  มือไม่ถึง  ชั้นเชิงไม่ชำ่าชอง  แล้วริ  มาเป็นประธานเห็นจะเอาตัวรอดยาก  ลงท้ายก็กลับมาเหลือ  ๒  ทาง เลือก  คือให้ผมลาออกจากรองนายกรัฐมนตรีไปทำาหน้าที่น้ี  หรือเชิญ  อาจารย์มีชัยเข้ามาเป็น  สำาหรับผมแล้วทางเลือกน้ีเหมือนหนีเสือปะ  จระเข้  หัวหน้า  คสช.สั่งว่าให้ไปต๊ืออาจารย์มีชัยเองก็แล้วกัน  ว่าแล้ว  ท่านก็ไปราชการต่างประเทศ  ทางนี้พลเอกประวิตรรองนายกรัฐมนตรี  213

:: ิวษ ุณ เค ืรองาม และ  คสช.ซ่ึงว่าไปแล้วท่านก็เป็นเหมือนผู้จัดการรัฐบาลอย่างในสมัย รัฐบาลเลือกตั้งเป็นผู้เจรจาขอให้อาจารย์มีชัยช่วยรับ  ท่านยกแม่น้ำา  ทั้ง  ๕  เก่งกว่าผมเสียอีก  จนอาจารย์มีชัยอ่อนลงยอมพลั้งปากว่าขอ  คุยกับท่านนายกฯ  ก่อน  อาจแนะนำาทางเลือกหรือตัวเลือกอื่นให้  เม่ือ  นายกฯ  กลับจากต่างประเทศแล้วก็เชิญอาจารย์มีชัยไปพบท่ีทำาเนียบ  รัฐบาล  และยืนยันคำาเชิญว่าขอให้ช่วยกัน   นายกฯ ก็คงชักแม่น้ำาท้ัง ๕ อีกนั้นแหละ ใครฟังท่านมักคล้อย  ตามอยู่แล้ว  ย่ิงท่านนายกฯ  รู้อยู่เต็มอกว่าปัญหาของประเทศมีอะไร  ถ้ารัฐธรรมนูญออกมาหน้าตาประหลาดจะทำาอย่างไร  ร่างนี้จะต้องไป ทำาประชามติด้วย  ถ้าไม่ผ่านจะเกิดอะไรขึ้น  เร่ืองอย่างนี้คงได้เปิดอก  คยุ กนั ในการหารือสองต่อสองราว ๑ ช่ัวโมง   ผมไม่ได้อยู่ในท่ีเกิดเหตุ แต่หลับตาเห็นภาพว่าน่าจะเหมือน  เวลาท่านออกโทรทัศน์คืนวันศุกร์  ๒  ทุ่มคร่ึง  และเดาว่าน่าจะจบลง ดว้ ยประโยควา่  “เข้ำใจตรงกนั นะ” เพราะสุดทา้ ยอาจารยม์ ีชยั ก็เข้าใจ  และขออนุญาตออกจากห้องไปแถลงกับกองทัพนักข่าวหน้าห้องว่า  ไดเ้ ข้าใจตรงกนั วา่ ถา้ จะใหท้ ่านร่างก็จะขอร่างภายใต้กรอบ ๕ ขอ้  คอื   ๑. ร่างให้เป็นท่ียอมรับตามกติกาสากล แต่ก็จะให้สอดคล้อง  กบั สภาพปญั หา ประเพณ ี และวถิ ีชีวิตคนไทยด้วย   ๒. ใหม้ ีกลไกในการปฏริ ปู และการสร้างความปรองดอง   ๓. ต้องมีมาตรการป้องกันไม่ให้นักการเมืองเข้ามาแสวงหา  ผลประโยชน์   ๔. ตอ้ งมแี นวทางขจดั การทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบโดยจะเรยี ก  วา่ ต้านโกงก็วา่ ได้   ๕. ตอ้ งสรา้ งกลไกใหป้ ระชาชนมสี ว่ นรว่ มในการพฒั นาประเทศ   กรอบบางขอ้ เปน็ สงิ่ ทห่ี วั หนา้  คสช.ขอใหเ้ พมิ่ เขา้ มาและเหน็ ชอบ  รว่ มกนั  เมอื่ เขา้ ใจตรงกนั  อาจารยม์ ชี ยั กอ็ อกมาตงั้ โพเดยี มแถลงตามนี้  สอ่ื พาดหวั วา่  เป็นอนั ว่าลงเรือแปะ๊ จนได้ “งวดน้ีซื่อแป๋มำเอง” สว่ นกรรมการอกี  ๒๐ คนนน้ั กช็ ว่ ยกนั พจิ ารณา พอไดร้ ายชอื่ มา  214

พลเอกประวติ รกใ็ หผ้ มโทร.ไปทาบทามและแจกแจงภารกจิ หยง่ั อารมณ์ ŧàÃÍ× á»Ðˆ :: ก่อน ถ้ารายใดปฏิเสธก็ผ่านไป ถ้ารายใดรับ ท่านก็จะพูดสายเชญิ   เองอกี ครงั้  ไมม่ รี ายใดปฏเิ สธเลย มแี ตบ่ างรายอยตู่ า่ งประเทศตอ้ งโทร.  ตามหาเปน็ ทวี่ นุ่ วายหลายวนั  บางรายพอรู้ว่า คสช.โทร.มา ตกใจเสียง  หลงว่าจนป่านนี้เขายังเรียกให้คนไปรายงานตัวกันอีกหรือ  บางรายได้  รับการทาบทามก่อนแล้วว่าเขาจะต้ังให้เป็น  สนช.  สปท.อยู่แล้ว  ถ้า  มาเป็น กรธ.ก็ไปรับเป็นทางโน้นไม่ได้ ทา่ นถามเหมอื นกนั วา่ เปน็  ๒  อยา่ งไดไ้ หม ผมตอบวา่ ไมไ่ ด ้ ทา่ นกเ็ สยี งออ่ ยยอมรบั ทางน ี้ อยา่ งนเี้ สยี   สละมาก ออ้ ! มีอยู่รายหนึ่งตอบรับแล้ว แต่ไปรู้ว่าถ้าพ้นจากหน้าท่ี  กรธ.แล้วจะไปสมัคร  ส.ส.หรือเป็น  ส.ว.ไม่ได้  ท่านจึงปฏิเสธในภาย  หลัง  แจ้งว่าตั้งใจจะลงสมัครผู้แทนฯ    กรธ.เร่ิมกำรยกร่ำงรัฐธรรมนูญในทันที ระหว่ำงนั้นก็มี การรบั ฟงั ความเหน็ ของประชาชนมาเปน็ ลาำ ดบั  ในสว่ นของ ครม.และ  คสช.เองนั้น  ผมยืนยันได้ว่าไม่เคยมีการติดต่อท้ังในและนอกรูปแบบ กบั  กรธ. จน กรธ.บางคนเอะใจวา่ เงยี บผดิ ปกต ิ ไดย้ นิ วา่ สมยั อาจารย์  บวรศักด์ิร่างก็เงียบอย่างน้ี  สุดท้ายร่างก็ตกไป  สงสัยว่าเงียบกริบ  อย่างนี้น่าจะตกไปอีก  แต่  สนช.และ  สปท.น้ันความที่สมาชิกมีเป็น  ร้อยต่างคนก็ต่างความเห็นจึงเอะอะโวยวายทักโน่นท้วงน้ีแทบทุกวัน  มีบ้างเหมือนกันท่ีบางประเด็นโผล่มาลงหนังสือพิมพ์ก็ได้รู้พร้อมๆ  กัน ในตอนนั้น  เช่น  ประเด็นบัตรเลือกต้ังใบเดียวใช้เลือกทั้ง  ส.ส.แบ่งเขต และ  ส.ส.บัญชีรายช่ือ  ประเด็นท่ีมาของนายกฯ  ประเด็นสิทธิเสรีภาพ ใหมๆ่  ประเดน็ หนา้ ทขี่ องรฐั  ซงึ่ คณะทป่ี รกึ ษา คสช.ทมี่ พี ลเอกประวติ ร  เปน็ ประธานใหค้ วามสนใจและใหผ้ มศกึ ษาแลว้ ไปรายงานในทปี่ ระชมุ อยบู่ ้างว่าคอื อะไร ดหี รอื ไมอ่ ยา่ งไร   บางทีก็เชิญผู้รู้ภายนอก เช่น นักวิชาการ นักการเมือง นัก  ประชาสังคม  (เอ็นจีโอ)  มาแสดงความเห็นบ้าง  แต่ไม่เคยเชิญ  กรธ.  ผู้ใดมาแม้แต่คร้ังเดียว  คณะที่ปรึกษาเห็นอย่างไรก็จะรายงานไปยัง  215

:: ิวษ ุณ เค ืรองาม คสช.คณะใหญ ่ ซึ่งหวั หนา้  คสช.มกั มีบญั ชาวา่   “รอไว้ให้ตกผลึก ตอนน้ัน กรธ.ต้องส่งร่ำงท่ีสมบูรณ์ให้ศำล สภำฯ ครม.  และ คสช.ดูตำมกฎหมำยอยู่แล้ว เอำไว้แสดงควำมเห็น เป็นทำงกำรทีเดียว” กรธ.รเู้ รอ่ื งกไ็ มไ่ ดต้ น่ื เตน้ อะไร เพราะถงึ อยา่ งไร คสช.หรอื องคก์ ร  ใดก็ตามไม่มีสิทธ์ิควำ่าร่างเสียในช้ันน้ี  ไม่เหมือนคราว  สปช.ท่ีมีสิทธ ์ิ ควำ่า  หากแต่คราวนี้ต้องนำาไปสู่สนามประชามติวัดดวงกันตอนน้ันเลย  แต่ถ้า  คสช.ไม่พอใจ  โอกาสควำ่าในช้ันประชามติก็เป็นไปได้มาก  โดย  เฉพาะถา้  คสช.ออกมาแบะท่าช้ีนาำ ให้เหน็ ข้อเสีย   เม่ือร่างเสร็จในต้นปี ๒๕๕๙ กรธ.ได้ส่งร่างไปขอความเห็น  เปน็ ทางการจากผเู้ กย่ี วขอ้ ง ในสว่ นของ ครม.และ คสช.ไดแ้ สดงความ  เห็นทักท้วงโดยเปิดเผยส่งไปหลายหน้าหลายประเด็น บางประเด็นไม่ ถงึ กบั คดั คา้ นแตแ่ สดงความกงั วลวา่ จะนาำ ไปสปู่ ญั หาอนื่  ซง่ึ  กรธ.กไ็ ด้ ทบทวนและปรับแก้ตามให้บางประเด็น  แต่หลายประเด็นยังยืนตาม  ความเห็นเดิม  ตอนนั้นแหละที่มีเสียงฮ่ึมๆ  จากคนโน้นคนน้ีเหมือน กันว่า  “ไหนว่ำลงเรือแป๊ะ”  ส่ือบางสำานักเร่ิมเสนอข่าวว่า  “กรธ.งัดข้อ คสช.” “กรธ.โอดขอท่ียืนในสังคมบ้ำง”  แต่แป๊ะตัวจริงยังคงใช้ความ สงบสยบความเคล่ือนไหว ออกโทรทัศน์ทุกค่ำาวันศุกร์ด้วยอาการปกต ิ ไม่เคยพดู ถงึ รฐั ธรรมนญู สักแอะ   ในท่ีสุดร่างนั้นก็ต้องไปสู่การลงประชามติท่ัวประเทศ มีเสียง  อยากควา่ำ รา่ งรฐั ธรรมนญู ในการทาำ ประชามตอิ ยเู่ หมอื นกนั ดว้ ยเหตผุ ล เดิมๆ  คือ  ๑.  ไม่ชอบเน้ือหาสาระ  ๒.  ไม่ชอบ  คสช.  คราวนี้อาจมีอีก  ข้อเพิ่มเขา้ มาคือ ๓. ไม่ชอบ กรธ. หรอื มฉิ ะนนั้ ก ็ ๔. ยังไม่อยากเลือก  ตงั้  ยงั ไมอ่ ยากให ้ คสช.พน้ ไปเรว็  แต ่ คสช.พจิ ารณาแลว้ เหน็ วา่ เนอ้ื หา แม้ไม่ถูกใจท้ังหมดแต่ก็พอรับได ้ รายละเอียดยังพอมีเวลาไปเขียนใน  กฎหมายลูก  หากร่างรัฐธรรมนูญไม่ผ่านประชามติจะเสียหายแก ่ คสช.และประเทศมากกวา่  ส่วนเรื่องอื่นน้ันยังจะพอจดั การได้    แรงกดดันจากต่างประเทศที่อยากเห็นการกลับคืนสู่ประชา-  216

ธิปไตยแบบมีการเลือกตั้งโดยไม่ชักช้าก็มีส่วนอยู่  ไม่ใช่ว่าเพราะเขา  ŧàÃÍ× á»Ðˆ :: เห็นเป็นเผด็จการทรราชย์อะไรหรอก  ดังที่ระหว่างนั้นก็ยังคบค้า  สมาคมไปมาหาสู่กันดี  บางประเทศปากก็พูดในท่ีแจ้งเหมือนต่อต้าน  เรากลายเปน็ วา่ โลกปดิ ลอ้ มประเทศไทย แตโ่ ดยสว่ นตวั หรอื ในยามไม ่ ต้องเป็นข่าวแล้วก็ชมเชยให้กำาลังใจท้ังน้ัน  บ้านเมืองสงบเขาก็พลอย  ปลอดโปรง่ โลง่ ใจไปดว้ ย การคา้ การลงทนุ ของคนของเขากไ็ ปไดร้ าบรน่ื   ในที่สุดอะไรก็ไม่สำาคัญเท่ากับผลประโยชน์  ถ้าแลกกันได้หรือทำาให ้ เขาสบายใจได้ทุกอย่างก็ลงตัว  ถ้ายังไม่ลงตัว  ไม่ใช่ว่ารังเกียจรังงอน  อะไรหรอก เพียงแตผ่ ลประโยชนย์ ังไม่ยตุ ิเทา่ นน้ั   มาระยะหลงั เวลาไทยไปประชมุ อาเซยี น เอเปก หรอื การประชมุ ทวิภาคี  พหุภาคีที่ไหนเขาก็ต้อนรับขับสู้ดี  นักท่องเที่ยวต่างชาติก็แห ่ เข้ามาเยือน  เช่นปี  ๒๕๖๑  ยอดนักท่องเที่ยวสูงถึง  ๓๘  ล้านคน  จัด  เปน็ ประเทศยอดนยิ มอนั ดับ ๓-๔ ของโลก   แต่อย่างไรก็ตาม กระแสประชาธิปไตยแบบมีการเลือกต้ังเป็น  เทรนด์ของโลก  เป็นหลักประกันความแน่นอนชัดเจนโปร่งใสหลาย  อย่าง  จึงเป็นกติกาสากลท่ีใครก็ตามจะมาเท่ียวเออออห่อหมกออก  นอกหน้ากับการเมืองที่ไม่มีการเลือกต้ังไม่ได้  ส่วนท่ีว่าเลือกตั้งแล้ว  จะทุจริตโกงการเลือกต้ังซื้อสิทธิ์ขายเสียง  หรือต้ังรัฐบาลแล้วทุจริต  คดโกง  เขาถือว่าเป็นกติกาภายในของแต่ละประเทศจะจัดการกันเอง  และเขาก็ไม่มีประสบการณ์จากเรื่องเช่นนี้เสียด้วย   ในการลงประชามตคิ ราวน ้ี รฐั ธรรมนญู ฉบบั ชว่ั คราวบญั ญตั วิ า่   อาจเสนอประเด็นเพมิ่ เติมให้ประชาชนลงประชามติแถมด้วยกไ็ ด้ตาม  ท่ี สนช.และ  สปท.เสนอให้  ครม.เลือก  ๑  ข้อ  ซ่ึง  ครม.ก็ได้เลือก  ประเด็นเกยี่ วกบั การหาตวั ผูเ้ ป็นนายกรัฐมนตรใี นช่วงเวลา ๕ ปีแรก   ในระหว่างนั้น คสช.จัดให้มีการเดินสายสร้างความรับรู้ความ  เข้าใจเก่ียวกับเนื้อหาของร่างรัฐธรรมนูญ  ซึ่งเท่ากับเป็นการแสดงโดย  ปรยิ ายวา่  คสช.สนบั สนนุ รา่ งรฐั ธรรมนญู นน้ั เอง ทมี เดนิ สายมตี วั แทน  กรธ.ตัวแทน  กกต.  และผมในฐานะตัวแทนรัฐบาล  มีการเปิดเวทีท ี่ 217

:: ิวษ ุณ เค ืรองาม กทม.  เชียงใหม่  โคราช  และนครศรีธรรมราช  คือครบทุกภาค  แต่ละ  แหง่ มตี วั แทนจากพรรคการเมอื งตา่ งๆ กลมุ่ วชิ าการ กลมุ่ ประชาสงั คม  ชาวบ้านท่ัวไป  ตลอดจนพระสงฆ์องค์เจ้า  ข้าราชการมาร่วมประมาณ  ๗๐๐-๑,๐๐๐  คน  หลายเวทีมีข้อเสนอดีๆ  ที่เสียดายว่า  กรธ.นำากลับ  ไปแก้ไขไม่ทันเสียแล้ว ส่วนประเภทใครจะช้ีแจงอะไรกช็ ไ้ี ป แตพ่ วก  เอาแต่ตะโกน  “ลุงตู่สู้ๆ ลุงตู่สู้ตำย ลุงตู่ไว้ลำย สู้ตำยลุงตู่”  เหมือน  เชยี ร์ฟุตบอลประเพณีจุฬา-ธรรมศาสตร์ก็มีเหมือนกัน   ที่เชียงใหม่ตอนเลิกเวทีมีกลุ่มคนมาขอถ่ายรูปแล้วถามว่าพวก  ผมอยากลงเรือแป๊ะกับเขาด้วย  ไปลงกันที่ท่าไหนหรือครับ!   ผลการลงประชามติในวันที่ ๗ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๙ ปรากฏ  วา่ รา่ งรฐั ธรรมนญู ไดร้ บั ความเหน็ ชอบอยา่ งทว่ มทน้ ถงึ  ๑๖,๘๒๐,๔๐๒  ต่อ  ๑๐,๕๙๘,๐๓๗  คะแนน  และคำาถามพ่วงที่ว่าเห็นด้วยไหมว่าใน  ๕  ปีแรกให้ที่ประชุมร่วมของรัฐสภาให้ความเห็นชอบคนที่สมควรเป็น  นายกรฐั มนตรกี ไ็ ดร้ บั ความเหน็ ชอบอยา่ งมากมายถงึ  ๑๕,๑๓๒,๐๕๐  ต่อ  ๑๐,๙๒๖,๖๔๘  คะแนน  เป็นอันว่าผ่านฉลุย  จากน้ัน  กรธ.ก็ต้อง  นำาร่างรัฐธรรมนูญกลับมาแก้ไขให้สอดคล้องกับมติความเห็นพ่วง  แล้วส่งศาลรัฐธรรมนูญตรวจสอบและส่งให้รัฐบาลนำาข้ึนทูลเกล้าฯ  ถวายเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย   เหตุเหล่ำน้ีเกิดในสมัยรัชกำลที่ ๙ ระหว่ำงนั้นเกิดเหตุอันน่ำ วิปโยคข้ึนเมอ่ื พระบำทสมเด็จพระปรมินทรมหำภูมิพลอดุลยเดช บรม นำถบพติ ร รชั กำลท ่ี ๙ เสดจ็ สวรรคตในวนั ท ่ี ๑๓ ตลุ ำคม พ.ศ.๒๕๕๙ เมื่อขึ้นรัชกาลใหม่ ร่างรัฐธรรมนูญยังอยู่ท่ีสำานักราชเลขาธิการ  จากการประสานกันผ่านทางสำานักราชเลขาธิการทำาให้ทราบว่ามีบท  บัญญัติบางมาตราท่ีไม่เกี่ยวกับราชการแผ่นดินโดยตรง หากแต่เป็น  เร่ืองราชการในพระองค์ซ่ึงควรปรับแก้เสียก่อนให้เข้ากับกาลสมัยใน  รชั กาลใหม่   รัฐบาลจึงรับพระราชกระแสใส่เกล้าฯ มาดำาเนินการโดยหารือ  ความเป็นไปได้และวิธีการกับ  กรธ.และ  สนช.  ตลอดจนผู้เก่ียวข้อง  218

โดยเห็นว่าเพ่ือให้ทุกอย่างเป็นไปโดยเรียบร้อยและไม่ขัดต่อกฎหมาย  ŧàÃÍ× á»Ðˆ :: เพราะบทบัญญัติท่ีจะต้องแก้ไขเพ่ิมเติมเป็นเร่ืองในหมวดพระมหา  กษตั รยิ  ์ ซง่ึ วา่ ตามๆ กนั มาโดยไมเ่ คยแกไ้ ขหรอื รา่ งขน้ึ ใหมอ่ ยแู่ ลว้  เมอื่   ขึ้นรัชกาลใหม่ก็นับว่าเป็นเหตุใหม่ที่ไม่ได้คาดคิดจึงควรปรับแก้เสีย  ในช่วงน้ีให้เข้ากับราชประเพณีใหม่ดีกว่าจะไปใช้วิธีแก้ไขรัฐธรรมนูญ  ในอนาคต  จึงดำาเนินการแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวอีกคร้ังเพ่ือ  เปิดทางให้แก้ไขร่างใหม่ที่ค้างคาอยู่ได้เฉพาะในบางประเด็นเท่าน้ัน  จากน้ันจึงแก้ไขร่างท่ีค้างคาอยู่แล้วส่งกลับเข้า  สนช.ให้เห็นชอบการ  แก้ไขร่างรัฐธรรมนูญในส่วนท่ีเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์และนำาขึ้น  ทลู เกลา้ ฯ ถวาย   ซ่ึงก็ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดพิธีพระราชทานรัฐธรรม-  นญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ เมอ่ื วนั ท่ ี ๖ เมษายน  พ.ศ.๒๕๖๐  ณ  ท้องพระโรงพระท่ีน่ังอนันตสมาคม  ท่ามกลางสโมสร  สันนิบาตซ่ึงประกอบด้วย  ครม.  คสช.  สนช.  กรธ.  สปท.  รวมเป็น  แม่นำ้า  ๕  สาย  และองค์กรอิสระ  ตลอดจนคณะทูตานุทูต  โดยม ี พลเอก  ประยุทธ์  จันทร์โอชา  นายกรัฐมนตรี  เป็นผู้ลงนามรับสนอง  พระราชโองการ   หลังจากน้ันก็เป็นการร่างกฎหมายลูกหรือกฎหมายประกอบ  รฐั ธรรมนญู อกี  ๑๐ ฉบับ   เม่ือถึงวันที่ ๑๒ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๑ กฎหมายลูกทั้ง ๑๐  ฉบบั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาครบถว้ น กรธ.กส็ น้ิ สดุ ลงตาม สปท.  ซึ่งส้ินสุดไปก่อนต้ังแต่ประกาศใช้กฎหมายว่าด้วยแผนและข้ันตอน  การปฏิรูปประเทศแล้ว   ณ วนั ท ่ี ๑๒ กนั ยายน พ.ศ.๒๕๖๑ เหลอื แมน่ า้ำ อย ู่ ๓ สาย คอื   คสช.  ครม.  และ  สนช.   รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทยฉบับน้ีเป็นฉบับท่ี ๒๐  ในประวัติกำรปกครอง ๘๖ ปีของไทย และเป็นรัฐธรรมนูญ ๒  รชั กำล คอื รำ่ งในสมยั รชั กำลท ่ี ๙ ประกำศใชใ้ นสมยั รชั กำลท ่ี ๑๐ 219

ทา นนายกฯ เปน ฝา ยปลอบผมวา มสี ตนิ ะพ!ี่ ผมเปน ฝา ยปลอบทา นกลบั วา ทาํ ใจดีๆ นะครับทา น! วา แลวเราทั้งสองก็กลน้ั น้ําตาไมอยู  

การเสด็จสวรรคต ของรชั กาลท ี่ ๙ หลัง พ.ศ.๒๕๔๙ พระพลำนำมัยของพระบำทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว  รัชกาลที่  ๙  ไม่สู้แข็งแรงนักจนต้องเสด็จฯ  ไปประทับ  รักษาพระองค์ท่ีโรงพยาบาลศิริราชเป็นระยะๆ เมื่อพระอาการบรรเทา  ลงก็แปรพระราชฐานไปประทบั ท่วี ังไกลกังวล หวั หินบา้ งบางครงั้  เม่ือ  ทรงพระสำาราญก็จะเสด็จพระราชดำาเนินไปทอดพระเนตรสถานท ่ี หรอื กจิ การตา่ งๆ โดยเฉพาะทไ่ี ดท้ รงวางรากฐานการพฒั นาไวใ้ หซ้ งึ่ เปน็   เรอ่ื งชมุ่ ชนื่ พระราชหฤทัยอย่างย่ิง แต่ที่สำาคัญคือยังความปลื้มปีติมา  สู่พสกนิกรสุดจะพรรณนา  อาทิ  คราวเสด็จฯ  สถานพักฟื้นตากอากาศ  บางปู  หรือคราวเสด็จฯ  ไปทอดพระเนตรโครงการช่ังหัวมันท่ีจังหวัด  เพชรบุรี  เสด็จฯ  ทางชลมารคเพื่อทอดพระเนตรโครงการต่างๆ  ท่ีเกาะ  เกรด็  เสด็จฯ ท่ีท่าน้ำาโรงพยาบาลศิริราช   เมื่อรัฐบาลชุดพลเอก  ประยุทธ์  จันทร์โอชาเข้าถวายสัตย์  ปฏิญาณในวันท่ี  ๔  กันยายน  พ.ศ.๒๕๕๗  ไม่มีผู้ใดคาดคิดว่าจะ  เป็นการเข้าเฝ้าฯ  ถวายสัตย์ปฏิญาณของคณะรัฐมนตรีเต็มคณะเป็น  ชุดสุดท้ายในรัชกาล  ขณะนั้นคณะรัฐมนตรีมีความหวังเต็มเปี่ยมว่า  221

:: ิวษ ุณ เค ืรองาม จะได้เข้าเฝ้าฯ  ในโอกาสอ่ืนๆ  อีก  การเข้าเฝ้าฯ  ในวันนั้นมีข้ึนที่ห้อง  ประชุมตึกเฉลิมพระเกียรติ  โรงพยาบาลศิริราช  หลังจากน้ันแม้นายก รัฐมนตรีจะนำารัฐมนตรีที่ปรับคณะรัฐมนตรีใหม่บางคนเข้าถวายสัตย ์ ปฏิญาณ  แต่ก็เป็นเพียงบางคนไม่เต็มคณะเช่นคร้ังก่อนโน้น   พระอาการประชวรเป็นท่ีทราบแก่ประชาชนตลอดมาตามประ-  กาศหรือแถลงการณ์สาำ นกั พระราชวงั ฉบบั ตา่ งๆ วา่ เสดจ็ พระราชดาำ เนนิ ไปประทบั รกั ษาพระอาการประชวร ณ โรงพยาบาลศิริราชตั้งแต่วันท ี่ ๓  ตุลาคม  พ.ศ.๒๕๕๗  คราใดท่ีมีประกาศแถลงถึงพระอาการซึ่ง  บางครง้ั กเ็ ขา้ ใจยากวา่ หมายถงึ อะไร ประชาชนจะรอฟงั ขา่ วพระอาการ  ประชวรดว้ ยความปรวิ ติ ก   สิ่งท่ีจะพอทำาได้เพราะไม่รู้จะทำาอื่นใดมากไปกว่านี้คือ การ  ทำาความดีเพ่ือแผ่นดิน  รักษาความสงบสันติ  มิให้ไม่ทรงพระสำาราญ  เมื่อทอดพระเนตรข่าวบ้านเมือง  การสวดมนต์ภาวนาถวายพระพร  ชัยมงคลตามวัดวาอาราม  บ้านช่องและโรงพยาบาลศิริราช  บทสวด  มนต์โพชฌังคปริตรน้ันหลายคนสวดจนจำาได้ข้ึนใจในคราวน้ัน  และ  ติดตามด้วยการพร้อมใจกันแต่งกายสีเหลืองอันเป็นสีวันจันทร์วัน  พระบรมราชสมภพไปถวายแจกันดอกไม้และลงนามถวายพระพรท ี่ โรงพยาบาลศิรริ าช บางคนทาำ อย่างนีท้ กุ วันหรือทุกสัปดาห์   ๒-๓ วันก่อนวันท่ี ๑๓ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๙ ข่าวพระอาการ  ประชวรเรม่ิ หนาหขู นึ้  ประชาชนตา่ งรอฟงั แถลงการณส์ าำ นกั พระราชวงั   ด้วยใจจดใจจ่อและพากันไปอออยู่ท่ีโรงพยาบาลศิริราชหนาแน่น  กว่าทุกวันท่ีผ่านมา  หลายคนใบหน้าเศร้าหมอง  ต่างกอดพระบรม  ฉายาลักษณ์ไว้แนบอก    ในวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๙ ตอนเช้านายกรัฐมนตรีเดิน  ทางไปประชุมกับภาคเอกชนเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจภาคตะวัน  ออกทจ่ี งั หวดั ชลบรุ  ี แตก่ ต็ อ้ งเดนิ ทางกลบั โดยดว่ น ปลอ่ ยใหร้ องนายกฯ  สมคิดปฏิบัติภารกิจแทนและเรียกให้ผมไปพบท่ีอาคารมูลนิธิรอยต่อ  ๕  จังหวัด  อันเป็นที่ทำางานของพลเอก  ประวิตร  วงษ์สุวรรณ  ณ  ท่ีน้ัน 222

ท่านนายกฯ น่ังหน้าเครียดอยู่กับพลเอกประวิตรและพลเอกอนพุ งษ ์ ŧàÃÍ× á»Ðˆ :: ทา่ นนายกฯ สง่ั สนั้ ๆ วา่ สถานการณไ์ มส่ ดู้  ี ขอใหต้ ดิ ตามขา่ ว ชว่ ยเตรยี ม  การและชว่ ยกนั สวดมนต ์ ขอให้ประเทศชาติไม่ต้องเผชิญกับเร่ืองร้าย  แรงท่ีสดุ ในชวี ิตของพวกเรา   เช้ำวันพฤหัสบดีที่ ๑๓ ตุลำคม  พ.ศ.๒๕๕๙ ผมเชิญ เจ้าหน้าท่ีผู้เกี่ยวข้องในฝ่ายรัฐบาลมาหารือเป็นการภายใน  ผมเคย  ตกอยู่ในสภาพอย่างนี้แล้วเม่ือคราวสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราช-  ชนนีเสด็จสวรรคตในปี  ๒๕๓๙  ขณะนั้นผมเป็นเลขาธิการคณะรัฐ-  มนตรีและจังหวะนั้นมีการเปลี่ยนนายกรัฐมนตรีจากคุณชวน  หลีกภัย  เปน็ คณุ บรรหาร ศลิ ปอาชาพอดใี นคนื ทส่ี วรรคต แตค่ รงั้ นเ้ี รอ่ื งใหญก่ วา่   นั้นมากหลายเท่า เวลาบ่าย  ๓  โมงผมได้ไปหารือกับคุณกฤษณ ์ กาญจนกุญชร  ราชเลขาธิการที่ทำาเนียบองคมนตรี  ท่านแจ้งว่าบัดน ี้ มาถึงวาระท่ีวิกฤต  การมีสติและเตรียมการอย่างมีสติ  รอบคอบ  ถูกต้อง  สมบูรณ์  เป็นเร่ืองสำาคัญ  ถ้ามัวแต่ตกใจหรือช็อกจะทำาอะไร  ไม่ถูกแล้วจะเกิดภาวะชะงักจนเสียงานได้  หารือได้ครู่หนึ่งท่านราช-  เลขาฯ ก็ได้รบั โทรศัพท์ให้รีบไปที่โรงพยาบาลศิริราช   ผมพอเดาสัญญาณได้ว่าเกิดอะไรข้ึนก็รู้สึกเสียววาบใจหาย  วบู  ขากลบั ระหว่างน่ังรถกลับที่ทำางาน นำา้ ตาไหลกล้ันไมอ่ ยู่จนตำารวจ  ติดตามที่มาด้วยถามว่า  “ไหวไหมครับ” พอ  ๔  โมงเย็นก็เริ่มชัดเจนว่าน่าจะเกิดเหตุอะไรข้ึน  ครั้นเวลา  ประมาณ  ๑๘.๐๐  น.  จึงเร่ิมมีประกาศสำานักพระราชวังแจ้งข่าวการ  เสด็จสวรรคตว่าพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช  บรมนาถบพิตรเสด็จสวรรคตแล้วในวันน้ี  (๑๓  ตุลาคม  พ.ศ.๒๕๕๙)  เวลา ๑๕.๕๒ น. สริ พิ ระชนมพรรษาปที  ี่ ๘๙ ทรงครองราชสมบตั  ิ ๗๐ ปี    รฐั บำลนเ้ี ปน็ คณะรัฐมนตรชี ุดสุดทำ้ ยในสมยั รชั กำลท ี่ ๙ หลังประกาศของทางราชการผมรีบนำาเอกสารและการเตรียม  การไปรายงานสรุปกราบเรียนนายกรัฐมนตรีที่ห้องทำางาน  ตึกไทย  223

:: ิวษ ุณ เค ืรองาม คู่ฟ้า  ทำาเนียบรัฐบาล  โผล่เข้าไปเห็นท่านนายกฯ  นั่งน่ิงหน้าตาเศร้า หมองอยู่หน้าโทรทัศน์  ตาแดงกำ่า  ไม่พูดไม่จา  ต่างคนต่างน่ิงกันอยู่  สักพักจึงได้หารือกันด้วยอาการเหมอื นตา่ งพยายามกลน้ั สะอนื้  ทา่ น  นายกฯ  เป็นฝ่ายปลอบผมว่า  มีสตินะพี่!  ผมเป็นฝ่ายปลอบท่านกลับ  วา่  ทำาใจดีๆ นะครับท่าน! ว่าแล้วเราทั้งสองก็กล้ันน้ำาตาไม่อยู่   การเตรียมการของรัฐบาลเป็นเรื่องการออกแถลงการณ์ของ  นายกรฐั มนตรตี อ่ ประชาชน การสงั่ ลดธงครงึ่ เสา การประกาศไวอ้ าลยั   ถวายเป็นเวลา  ๑  ปีตามแบบเม่ือครั้งรัชกาลที่  ๘  เสด็จสวรรคต  และ  การเตรยี มการอญั เชญิ องคพ์ ระรชั ทายาทขน้ึ ทรงราชย ์ สว่ นการเตรยี ม  การพระราชพิธีเก่ียวกับพระบรมศพ  ไม่ใช่กิจที่รัฐบาลจะทำาแต่ต้อง  ประสานกับสำานกั พระราชวัง และรอพระราชวินิจฉัย   การก่อสร้างพระเมรุมาศได้ดำาเนินการในเวลาต่อมา  โดยมี  พลเอก ธนะศักด ์ิ ปฏิมาประกร รองนายกรัฐมนตรี ในฐานะผู้กำากับ  ราชการกระทรวงวัฒนธรรมเป็นประธาน  แต่งานทุกอย่างสำาเร็จลงได้ ด้วยพระบารมีของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระเทพรัตนราช-  สุดาฯ  สยามบรมราชกุมารี  โดยเฉพาะสมเด็จพระเทพรัตนฯ  น้ันทรง  รับเป็นองค์ประธานที่ปรึกษาคณะกรรมการอำานวยการและทรงพระ กรุณาเสด็จพระราชดำาเนินมาร่วมประชุมคณะกรรมการอำานวยการ  ท่ีทำาเนียบรัฐบาลทุกครั้ง  สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรับส่ังแก่ท่านนายกฯ  ว่าถ้ามีอะไรก็ให้ปรึกษาสมเด็จพระเทพรัตนฯ  ถ้าต้องวินิจฉัยชี้ขาด  เพราะมีหลายทางเลือกจึงค่อยเสนอข้ึนไปถึงพระองค์ท่าน   งานพระบรมศพเป็นงานใหญ่ที่สุดในแผ่นดินเท่าที่ชีวิตคนเรา  จะได้ประสบพบพาน  ต้องใช้สถาปนิก  วิศวกร  จิตรกร  ปฏิมากร  และ  ช่างฝีมือทุกประเภท  ไหนจะต้องระดมหาไม้หาอุปกรณ์  กระดาษ  ผ้าวัสดุต่างๆ  ต้นไม้มาใช้ก่อสร้าง  ประดับ  ตกแต่ง  สมเด็จพระเทพ-  รัตนฯ  ทรงพระอุตสาหะเสด็จพระราชดำาเนินทรงตรวจการก่อสร้าง  และพระราชทานคำาแนะนำาแก่ผู้เก่ียวข้องอย่างใกล้ชิดท่ีบริเวณก่อ  สรา้ งหลายครง้ั  งานนกี้ ระทรวงวฒั นธรรม กรมศลิ ปากร บรษิ ทั กอ่ สรา้ ง  224

เอกชน  และช่างหลวงช่างสมัครเล่นต่างทำางานถวายสุดฝีมือ  พลเอก  ŧàÃÍ× á»Ðˆ :: ธนะศกั ดกิ์ ม็ สี ว่ นควรไดร้ บั คาำ ชมเชยในความเอาใจใสด่ แู ลอยา่ งละเอยี ด  ถี่ถว้ นตามวิสัยนายทหารเก่าทค่ี นุ้ เคยกบั งานโยธาอย่างดี   ท่านนายกฯ เองก็เรียกดูรายงานการก่อสร้างทุกวันจนข้ึนใจ  รายละเอยี ดตา่ งๆ ทกุ ขน้ั ตอน ทา่ นเคยเปรยวา่ เพยี งแคฐ่ านะพสกนกิ ร  ไพร่ฟ้า  ข้าแผ่นดิน  เราก็ต้องทำาถวายเต็มท่ีอยู่แล้ว  นี่เป็นรัฐบาล  ถือ  ว่ามีหน้าที่โดยตรง  ต้องทำามากกว่าเต็มที่เป็น  ๒  เท่า  และในฐานะที่  เราเคยเป็นข้าทูลละอองธุลีพระบาทถวายการรับใช้ใต้เบื้องพระยุคล-  บาทในยามยังมีพระชนม์อยู่  มีพระมหากรุณาธิคุณต่อเราเป็นส่วน  ตัวล้นเหลือ  มาถึงบัดน้ีเป็นโอกาสสุดท้ายท่ีเราจะได้ทำางานถวาย  ขอ  ให้ทำาให้เต็มท่ีเพ่ิมข้ึนอีกเป็น  ๓  เท่า  ทำาด้วยกาย  ทำาด้วยใจนะ  ขาด  อะไร ต้องการอะไรใหบ้ อกรฐั บาล   งำนพระบรมศพสำ� เรจ็ เสรจ็ สนิ้ ดว้ ยควำมเรยี บรอ้ ยสมบรู ณ์ สง่างาม  มีพระราชาธิบดี  พระราชวงศ์  ผู้แทนพระองค์  ประมุขและ หัวหน้ารัฐบาลหลายประเทศมาร่วมงานถวายพระเพลิง  เมื่อวันท่ี  ๒๖  ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๐ ประชาชนเองกใ็ หค้ วามรว่ มมอื อย่างดดี ้วยความ  จงรักภักดีในการช่วยดูแลรักษาความสงบเรียบร้อยทั่วทั้งแผ่นดิน ผู้ท ่ี ควรได้รับคำาชมเชยอีกฝ่ายหนึ่งคือคณะอาสาสมัครจิตอาสาตามโครง  การของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  รัชกาลท่ี  ๑๐  ซึ่งสมัครเข้ามาช่วยงาน  อยา่ งเตม็ ใจ แบง่ เบาภาระของทางการในการรกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ย  การจัดแถวประชาชน  การทำาอาหารเล้ียงผู้ร่วมงานและผู้ช่วยงาน  การดูแลรักษาพยาบาลผู้ปว่ ย เรียกว่างานนี้เป็นงานของชาติ ใคร  ช่วยอะไรได้ช่วยกันทั้งน้ัน ไม่มีเขา ไม่มีเรา ไม่มีสเี สือ้  ไมม่ ีฝา่ ย   คณะจติ อาสานต้ี อ่ ไปจะพฒั นาไปเปน็ คณะทาำ ความดดี ว้ ยหวั ใจ  ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ  พระราชทานผ้าผูกคอ  หมวกและบัตร  แสดงตน  โดยให้เข้ารับพระราชทานอย่างเป็นทางการเบ้ืองหน้าพระ  ฉายาลักษณ์  มีผู้เข้าร่วมโครงการทั่วประเทศหลายล้านคน  กิจกรรม  225

:: ิวษ ุณ เค ืรองาม คือการบำาเพ็ญประโยชน์ต่อสาธารณะ  เช่น  ทำาความสะอาดสถานที่  ตา่ งๆ ช่วยขดุ ลอกคคู ลอง เก็บผักตบชวา   พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพในหลวงรัชกาลที่ ๙ ท่ ี ท้องสนามหลวงในวันท่ี  ๒๖  ตุลาคม  พ.ศ.๒๕๖๐  เป็นงานย่ิงใหญ ่ ตอนเช้ามืดมีการจัดร้ิวขบวนอัญเชิญพระบรมโกศจากพระที่น่ังดุสิต  มหาปราสาท  เคลื่อนออกจากพระบรมมหาราชวังไปเข้าขบวนราชรถ  ท่ีหน้าวัดพระเชตุพนตามแบบธรรมเนียมโบราณแล้วยาตราเข้าสู่  พระเมรุมาศ  ณ  ท้องสนามหลวง  ระยะทางไม่ไกลนัก  แต่ขบวนต้อง  เดินด้วยจังหวะสโลว์  มาร์ช  และรักษาระยะให้งดงามเข้ากับจังหวะ  เพลงพญาโศก  เพลงสรรเสริญเสือปา่   เพลงสรรเสริญพระนารายณ์    ในการซ้อมใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทรงพระกรุณา  เสดจ็ รว่ มด้วยในวันจริง สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำาเนินด้วย  พร้อมพระบรมวงศานุวงศ์  เป็นขบวนท่ีสง่างามแต่น่าโศกสลดรันทด  ใจแกร่ าษฎรสองขา้ งทางและผชู้ มการถา่ ยทอดทางโทรทศั นห์ ลายลา้ น  คนท่ัวประเทศ  ซึ่งจะอยู่ในความทรงจำาของชาวไทยไปนานแสนนาน    ผมเป็นประธานคณะกรรมการฝ่ายพิธีการจึงได้รับเลือกให้เข้า  ร่วมขบวนในแถวนำาพระบรมโกศด้วย  นอกจากผมก็มีท่านนายกฯ  ในฐานะประธานคณะกรรมการอำานวยการ  ผู้บัญชาการทหารสูงสุด  พลเอก  ธนะศักด์ิ  ปฏิมาประกร  ประธานคณะกรรมการฝ่ายจัดสร้าง พระเมรุมาศ  พลเอก  อุดมเดช  สีตบุตร  ผู้แทนคณะกรรมการฝา่ ย  รักษาความสงบเรียบร้อย คุณวีระ โรจน์พจนรัตน์  รัฐมนตรีว่าการ  กระทรวงวัฒนธรรม  ประธานคณะกรรมการฝ่ายจดหมายเหตุ  และ  คุณพัชราภรณ์ อินทรียงค์ “ปลัดหนิง”  ปลัดสำานักนายกรัฐมนตรี  ประธานคณะกรรมการฝ่ายงบประมาณ  ซึ่งเป็นผู้หญิงคนเดียวใน  ขบวนคณะกรรมการ   ในการซอ้ มใหญค่ รง้ั แรก ผมเดนิ ตปุ ดั ตเุ ปไ๋ มเ่ ขา้ กบั จงั หวะเพราะ  ไม่เคยเดินอย่างน้ี  ท้ังยังเหน่ือยและอากาศร้อนมาก  สุขภาพก็ไม่ดีอย ู่ แล้ว เคยเข้าขบวนคู่เคียงพระบรมโกศหนหน่ึงในงานพระเมรสุ มเดจ็   226

พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนเี มอื่  ๒๐ ปกี อ่ นในฐานะเลขาธกิ าร ครม.  ŧàÃÍ× á»Ðˆ :: แตต่ อนนน้ั ยงั หนมุ่ แนน่  แขง็ แรงกวา่ นมี้ าก ทา่ นนายกฯ ซึ่งเดินอยู่ข้าง  หน้าผมคงสังเกตเห็นและเป็นห่วงสุขภาพพลานามัยผมอยู่แล้วว่าจะ  ล้มลงจึงแอบกระซิบถามบ่อยๆ  ว่าไหวไหม  รุ่งขึ้นท่านก็ส่งนายทหาร  มาจับผมซ้อมเด่ียวอยู่นานสองนาน  พอเข้าขบวนซ้อมใหญ่อีกครั้งชัก  เดนิ ไดค้ ลอ่ ง  ทส่ี าำ คญั คอื นายกฯ แนะเคลด็ ลบั วา่  “ผมเปน็ ทหำร เดนิ ขึงขังอกผำยไหล่ผึ่งได้ พี่ไม่ใช่ทหำร เดินให้เข้ำจังหวะก็พอไม่ต้องเอำ อยำ่ งผม แตท่ ะมดั ทะแมงเขำ้ ไว ้ มโี ดรนลอยอยขู่ ำ้ งบนหลำยตวั นะจะ๊ ” ครน้ั ถึงวันจรงิ  ต้องแต่งเต็มยศ เหรียญตรา สายสะพายเต็มอก  หนักกว่าเวลาซ้อม  แต่ความมานะจึงกัดฟันทนว่าน่ีเป็นการสนองพระ  มหากรุณาธิคุณครั้งสุดท้ายเป็นไงเป็นกัน  เอาเป็นว่าแฟนคลับท่ีดูทีว ี หลายคนชมว่ากลมกลืนเข้าจังหวะไปกับคนอื่นได้ดี  ไม่รู้เลยว่ายาก  เขญ็ เหมอื นตอ้ งขา้ มนทสี ที นั ดรมา แตผ่ มกภ็ าคภมู ใิ จถอื วา่ นเ่ี ปน็ มงคล  และเกียรตปิ ระวัตหิ นง่ึ ในชวี ติ ทจ่ี ะเล่าใหล้ กู หลานฟงั   คณะรัฐมนตรีมีโอกาสข้ึนพระเมรุมาศถวายพระเพลิงและได ้ อยู่รอรับและส่งเสด็จสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  รัชกาลท่ี  ๑๐  ในการถวาย  พระเพลิงจริงตอนดึกของวันที่  ๒๖  ตุลาคมเป็นคณะสุดท้าย  ได้เห็น  ตั้งแต่พนักงานปิดพระฉากบังเพลิง  เห็นแสงไฟและควันลอยจากพระ  เมรุมาศสู่สรวงสวรรค์จนกระท่ังไฟมอดดับลง  สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  เสด็จลงจากพระเมรุมาศตอนดึกมากแล้ว  ทอดพระเนตรเห็นนายก  รัฐมนตรีนำาคณะรัฐมนตรีมายืนส่งเสด็จอยู่ท่ีเชิงบันไดพระเมรุมาศ  มพี ระราชกระแสรบั สงั่ วา่ ไฟมอดแลว้  ทกุ อยา่ งเรยี บรอ้ ยด ี ขอบใจมาก  ขอให้ไปพักผ่อนได ้ อีกไม่ก่ีช่ัวโมงก็จะต้องมางานเก็บพระบรมอัฐิและ  เชิญพระบรมอัฐิกลับเข้าพระบรมมหาราชวังอีก   เม่ือเสร็จงำนพระรำชพิธีแล้ว ทรงพระกรุณำโปรดเกล้ำฯ  ใหน้ �ำเงนิ ที่มีผทู้ ูลเกล้ำฯ ถวำยโดยเสดจ็ พระรำชกุศลตลอดเวลำ ที่มีพระรำชพิธีและพระรำชทำนเงินอื่นสมทบ พระรำชทำนแก่ โรงพยำบำลตำ่ งๆ ทว่ั ประเทศเปน็ เงนิ ประมำณ ๒,๕๐๐ ลำ้ นบำท 227

ไมว า ในรชั กาลใด แมจะยงั ไมม พี ระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก ความเปน พระมหากษตั รยิ  ก็เกดิ ขึ้นแลวโดยสมบูรณ  

การขึน้ ครองราชสมบตั ิ ของรชั กาลที่ ๑๐ ตำมรัฐธรรมนูญและโบรำณรำชประเพณ ี เมื่อส้ินรัชกำล ลงไม่ว่าเพราะเหตุใดก็ตาม  การเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลใหม่จะ  นับต่อเนื่องไปทันทีตามคตินิยมเช่นเดียวกับในนานาประเทศว่า  “ควำมเป็นพระมหำกษัตริย์จะไม่หยุดชะงักว่ำงเว้นไปได้”    ในอังกฤษ  เมื่อพระมหากษัตริย์ไม่ว่าเป็นชายหรือหญิงเสด็จสวรรคตลงจะม ี ประกาศทางการ ๒ ประโยคตอ่ เนอื่ งกนั ทนั ทวี า่  “The King (Queen)  is  dead.  Long  Live  the  King  (Queen)”    King  คำาแรกหมายถึง  รัชกาลท่ีเพิ่งส้ินสุดลง  King  คำาที่  ๒  หมายถึงรัชกาลท่ีเพ่ิงเร่ิมต้นใหม ่   ดังน้ัน เม่ือรัชกาลท่ี ๖ เสด็จสวรรคตในวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน  พ.ศ.๒๔๖๘ รชั สมยั ของพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั  รชั กาล  ท่ี  ๗  ก็เริ่มทันทีในวันนั้น  เม่ือรัชกาลท่ี  ๗  ทรงสละราชสมบัติในวันท ี่ ๒  มีนาคม  พ.ศ.๒๔๗๗  แม้การรับราชสมบัติของรัชกาลที่  ๘  จะมีขึ้น ในอีกหลายวันต่อมา  แต่รัชสมัยก็นับย้อนหลังไปต่อเน่ืองในวันท่ี  ๒  มีนาคม  พ.ศ.๒๔๗๗  และเช่นเดียวกัน  เมื่อรัชกาลท่ี  ๘  เสด็จสวรรคต ในวันที่  ๙  มิถุนายน  พ.ศ.๒๔๘๙  รัชสมัยของรัชกาลท่ี  ๙  ก็เร่ิมข้ึนใน  229

:: ิวษ ุณ เค ืรองาม วันเดยี วกัน และถือว่าเปน็ วนั แรก ปีแรกในรัชกาล   อนงึ่  ตามธรรมเนยี มนนั้  การรบั ราชสมบตั จิ ะมใี นวนั ใดกต็ ามเมอื่   ส้ินพุทธศักราชเดียวกันนั้นและข้ึนวันท่ี  ๑  มกราคมของพุทธศักราช  ใหม่  จะเร่ิมนับเป็นปีที่  ๒  ของรัชกาล  ไม่ได้นับวันชนวัน  ปีชนปี  หรือ  นับให้ครบ  ๓๖๕  วัน  หรือครบรอบ  ๑๒  เดือนแต่อย่างใด  ดังนั้นใน  พ.ศ.๒๕๕๙  จึงเป็นปีที่  ๑  ในรัชกาลที่  ๑๐  พอถึงวันท่ี  ๑  มกราคม  พ.ศ.๒๕๖๐  ก็เป็นปีที่  ๒  ในรัชกาลปัจจุบัน   ในการเป็นพระมหากษัตริย์ การเริ่มรัชกาลไม่ได้ผูกกับพระราช  พิธีบรมราชาภิเษก  หากแต่ผูกกับการทรงตอบรับการอัญเชิญขึ้นทรง  ราชยห์ รอื ครองราชสมบตั  ิ เพราะถอื วา่ พระราชพธิ เี ปน็ เรอื่ งของโบราณ ราชประเพณี  และต้องพิจารณาความเหมาะสม  ความพร้อม  และ  ฤกษ์ผานาทีหลายอย่างประกอบกัน  พูดอีกนัยหน่ึงคือการอัญเชิญ  ขึ้นครองราชย์เป็นเรื่องของกฎหมายและการรับรู้ของประชาชน  ส่วน  พิธีบรมราชาภิเษกเป็นเร่ืองของโบราณราชประเพณีและการรับรู้ของ  เทพยดาฟา้ ดนิ  และพระผู้เปน็ เจา้ ตามคตใิ นศาสนาพราหมณ์   ในอังกฤษพิธีบรมราชาภิเษกกษัตริย์อังกฤษจะมีหลังการ  ครองราชย์  ๒-๓  วัน  แต่บางรัชกาลก็ทอดเวลานานกว่านั้น  ในภูฏาน  เมื่อเจ้าชายจ๊ิกมี่ข้ึนเป็นกษัตริย์ต่อจากพระราชบิดาซ่ึงสละราชสมบัติ  เม่ือทรงครองราชย์แล้ว  พิธีบรมราชาภิเษกทอดระยะเวลาออกไปเป็น  ป ี เพราะโหรคาำ นวณวา่ ในช่วงก่อนน้นั ไม่มีศภุ มงคลวาร   ในประเทศไทยเองในอดีตก็เคยเป็นเช่นนั้น เพราะบางครั้งต้อง  รอให้ถวายพระเพลิงพระบรมศพในหลวงรัชกาลก่อนให้เสร็จสิ้น  บาง  ครั้งก็เป็นเพราะเหตุผลอ่ืน  รัชกาลที่  ๑  ท่ี  ๕  และท่ี  ๖  ทรงทำาพิธีบรม  ราชาภิเษก  ๒  คร้ัง  รัชกาลท่ี  ๑  น้ัน  คร้ังแรกเป็นอย่างย่อเพราะยัง  เตรียมการไม่พร้อม ต่อมาเม่ือพร้อมแล้วจึงจัดอีกคร้ัง  รัชกาลท่ี ๕  ทรงทำาอย่างย่อ  เมื่อขึ้นครองราชสมบัติในปี  ๒๔๑๑  แต่เพราะยังทรง  พระเยาว์จึงต้องมีผู้สำาเร็จราชการแทนพระองค์ไปก่อน  ต่อเม่ือทรง  พระเจริญและทรงผนวชแล้วก็ได้มีพระราชพิธีบรมราชาภิเษกอีกคร้ัง 230

ในป ี ๒๔๑๖ ŧàÃÍ× á»Ðˆ ::   รชั กาลท ่ี ๖ โปรดเกลา้ ฯ ใหจ้ ดั ครง้ั แรกไปแลว้  ตอ่ มาอกี ไมน่ าน  ก็ทรงให้ตั้งการพระราชพิธีอีกคร้ังเรียกว่า  พระราชพิธีบรมราชาภิเษก  สมโภช  รัชกาลท่ี  ๘  ทรงรับราชสมบัติขณะมีพระชนมายุน้อย  และยัง  ประทับอยู่ท่ีสวิตเซอร์แลนด์  ต่อมาก็เกิดสงครามโลกคร้ังท่ี  ๒  แม้จะ  เคยเสด็จฯ  กลับประเทศไทยก็เป็นช่วงระยะเวลาสั้นๆ  โดยยังต้อง  เสด็จฯ  กลับไปศึกษาต่อ  และเม่ือเสด็จฯ  กลับประเทศไทยอีกครั้ง  ในปี  ๒๔๘๘  รัฐบาลก็ยังไม่พร้อมจะจัดพระราชพิธีถวายจนกระท่ัง  เสด็จสวรรคตในปี  ๒๔๘๙  โดยไม่ทันมีพระราชพิธีบรมราชาภิเษก    รชั กาลท ่ี ๙ ทรงรบั ราชสมบตั ใิ นวนั ท ี่ ๙ มถิ นุ ายน พ.ศ.๒๔๘๙  แต่ขณะนั้นต้องเสดจ็ ฯ กลบั ไปทรงศกึ ษาต่อทปี่ ระเทศสวติ เซอรแ์ ลนด์  และยังไม่ได้จัดการพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพรัชกาลท่ี  ๘  จนกระทั่งถึงวันที่  ๕  พฤษภาคม  พ.ศ.๒๔๙๓  จึงมีพระราชพิธีบรม  ราชาภิเษกคือทอดเวลานานถึง  ๔  ปี  แต่ไม่ว่าในรัชกาลใด  แม้จะยัง  ไม่มีพระราชพิธีบรมราชาภิเษก  ความเป็นพระมหากษัตริย์ก็เกิดขึ้น  แล้วโดยสมบูรณ์ท้ังทางนิตินัยคือทางกฎหมายและพฤตินัย  การนับ  ระยะเวลาการเป็นพระมหากษัตริย์ของรัชกาลท่ี  ๙  จึงนับจากวัน  ครองราชย์หรือวันรับราชสมบัติในวันที่  ๙  มิถุนายน  พ.ศ.๒๔๘๙  ซง่ึ เมอื่ นบั ถงึ วาระทเี่ สดจ็ สวรรคตรวมเวลาได ้ ๗๐ ป ี สว่ นวนั บรมราชา-  ภเิ ษกหรอื วนั สวมมงกฎุ และรบั เศวตฉตั รนนั้ นบั จากวนั ท ี่ ๕ พฤษภาคม  พ.ศ.๒๔๙๓  ซ่ึงพอถึงปี  ๒๔๙๔  และปีต่อๆ  มาเราเรียกวันที่  ๕  พฤษภาคมว่าวันฉัตรมงคล  หรือวันรำาลึกถึงการรับเศวตฉัตร  (ไม่ใช ่ วันข้ึนครองราชย์)  รวมระยะเวลาที่บรมราชาภิเษก  ๖๖  ปี   กำรขนึ้ ครองรำชย์จงึ ตำ่ งจำกกำรบรมรำชำภเิ ษก เม่ือพระบำทสมเด็จพระปรมินทรมหำภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร  รัชกาลที่  ๙  เสด็จสวรรคตในตอนบ่ายของวันท่ี  ๑๓  ตุลาคม  พ.ศ.๒๕๕๙  การข้ึนครองราชย์ของรัชกาลที่  ๑๐  จึงเป็นเรื่อง  231

:: ิวษ ุณ เค ืรองาม ที่ตอ่ เนือ่ งนับจากวันนน้ั มาเพอื่ ไมใ่ หข้ าดสาย แมจ้ ะทรงรบั คำาอัญเชญิ   ขึน้ ทรงราชยใ์ นวันที ่ ๑ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๙ ก็ตาม   พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๙ ได้ทรงพระกรุณา  โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ถาปนาสมเดจ็ พระเจา้ ลกู ยาเธอ เจา้ ฟา้ วชริ าลงกรณฯ  พระราชโอรสพระองค์เดียว  เป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ  สยาม มกุฎราชกุมาร  ตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยสืบราชสันตติวงศ์  พระ  พุทธศักราช  ๒๔๖๗  ซึ่งตราข้ึนต้ังแต่สมัยรัชกาลที่  ๖  ไว้ก่อนแล้วเมื่อ วันท่ี  ๑๖  ธันวาคม  พ.ศ.๒๕๑๕  และตามกฎมณเฑียรบาลฉบับน้ัน  เมื่อราชบัลลังก์ว่างลงก็ต้องอัญเชิญสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ  สยามมกุฎราชกุมารในฐานะองค์พระรัชทายาทข้ึนทรงราชย์โดยมิพัก  ต้องสงสัย  แต่เพื่อให้ทุกอย่างชัดเจนและเป็นทางการก็ต้องมีการ  อัญเชิญข้ึนครองราชย์ตามบทบัญญัติในมาตรา  ๒๓  ของรัฐธรรมนูญ  พ.ศ.๒๕๕๐  ซึ่งรัฐธรรมนูญฉบับช่ัวคราว  พ.ศ.๒๕๕๗  ที่ใช้อยู่ในขณะ  น้ันให้นำามาใช้บังคับต่อไป  โดยวางหลักไว้เป็นอันหน่ึงอันเดียวกัน  ตลอดมาดังน้ี 232

  “ในกรณที ร่ี ำชบลั ลงั กห์ ำกวำ่ งลงและเปน็ กรณที พ่ี ระมหำกษตั รยิ ์ ŧàÃÍ× á»Ðˆ :: ได้ทรงแต่งตั้งพระรัชทำยำทไว้ตำมกฎมณเฑียรบำลว่ำด้วยกำรสืบ รำชสันตติวงศ์ พระพุทธศักรำช ๒๔๖๗ แล้ว ให้คณะรัฐมนตรีแจ้ง ให้ประธำนรัฐสภำทรำบ และให้ประธำนรัฐสภำเรียกประชุมรัฐสภำ เพ่ือทรำบ และให้ประธำนรัฐสภำอัญเชิญองค์พระรัชทำยำทข้ึนทรง รำชย์เป็นพระมหำกษัตริย์สืบไป แล้วให้ประธำนรัฐสภำประกำศให้ ประชำชนทรำบ” ดังนั้นเพื่อให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ  นายกรัฐมนตรีจึงขอพระ  ราชทานพระราชวโรกาสเข้าเฝ้าทูลละอองพระบาทสมเด็จพระบรม  โอรสาธิราชฯ  สยามมกุฎราชกุมาร  ท่ีพระท่ีนั่งอัมพรสถาน  พระราชวัง ดุสิตในคืนวันท่ี  ๑๓  ตุลาคม  พ.ศ.๒๕๕๙  นั้นเอง  โดยได้เตรียม การเรียกประชุมคณะรัฐมนตรีและคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ ทำาเนียบรัฐบาลรออยู่หลังกลับจากเข้าเฝ้าฯ  และประสานประธาน  สภานติ บิ ญั ญตั แิ หง่ ชาตเิ พอื่ เรยี กประชมุ สภานติ บิ ญั ญตั แิ หง่ ชาตเิ ตรยี ม  ดำาเนินการต่อไปตามอำานาจหนา้ ที่ทเี่ กีย่ วขอ้ ง   แต่เมื่อกลับมาจากเฝ้าฯ ตอน ๓ ทุ่ม นายกรัฐมนตรีได้แจ้งท ่ี ประชุม  ครม.และ  คสช.ว่ามีพระราชดำารัสว่าขณะน้ีเป็นยามทุกข์โศก อย่างใหญ่หลวงของบ้านเมือง  พระองค์เองก็อยู่ระหว่างทรงสลดพระ  ราชหฤทัยร่วมกับประชาชนท้ังชาติ  ส่ิงท่ีต้องทำาเฉพาะหน้าในขณะน้ี คือการเตรียมการพระราชพิธีเกี่ยวกับพระบรมศพให้เรียบร้อย  ส่วน การอัญเชิญข้ึนครองราชย์น้ันเป็นขั้นตอนทางพิธีการ  ขอให้ร้ังรอไว ้ กอ่ น เมอ่ื ถงึ วาระอนั ควรจงึ คอ่ ยดาำ เนนิ การตอ่ ไป ยงิ่ การบรมราชาภเิ ษก ย่งิ ควรรอไว้ก่อน   ครม.และ คสช.รับพระราชดำารัสใส่เกล้าฯ และแจ้งให้ประธาน  สนช.ทราบ  การประชุมที่ทำาเนียบรัฐบาลในคืนนั้นจึงมีแต่วาระแจ้ง  ข่าวการเสด็จสวรรคตของรัชกาลท่ี  ๙  ที่ประชุมยืนไว้อาลัยถวายด้วย  ความเศร้าสลดสุดจะพรรณนา  เพราะเป็นปรากฏการณ์ท่ีไม่เคยพบ  233

:: ิวษ ุณ เค ืรองาม มาก่อนในชีวิตของใครทั้งน้ัน  และถวายพระพรขอให้สมเด็จพระเจ้า  อยู่หัวพระองค์ใหม่ทรงพระเจริญเหมือนที่อังกฤษพูดว่า  The  King  is  dead.  Long  Live  the  King.  ท่านนายกฯ  ขอให้ผมชี้แจงขั้นตอน  ท่ีรัฐบาลจะต้องดำาเนินการต่อไปให้ท่ีประชุมทราบ และได้มีการมอบ  หมายหน้าที่ความรับผิดชอบแก่ฝ่ายต่างๆ  โดยละเอียด   เมื่อการบำาเพ็ญพระราชกุศลถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู ่ ในพระบรมโกศผ่านพ้นไปแล้ว  ๗  วัน  ๑๕  วัน  จนถึง  ๕๐  วัน  ซึ่งเรียก  ว่าปัญญาสมวาร  จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ  ให้เริ่มดำาเนินการ  ตามรัฐธรรมนญู ต่อไปได้   นายกรัฐมนตรีได้มีหนังสือในนามคณะรัฐมนตรีกราบเรียน  ประธานสภานติ บิ ญั ญตั แิ หง่ ชาตวิ า่  กอ่ นการเสดจ็ สวรรคตของรชั กาล  ท่ี  ๙  ได้มีการสถาปนาองค์พระรัชทายาทไว้แล้ว  ประธานสภาฯ  จึง เรียกประชุมสภาฯ  เพ่ือทราบ  ครั้นถึงวันที่  ๑  ธันวาคม  พ.ศ.๒๕๕๙  เม่ือเสร็จพิธีบำาเพ็ญพระราชกุศล  ณ  พระที่น่ังดุสิตมหาปราสาทใน  คำ่าวันน้ัน  ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ  ให้นายพรเพชร  วิชิตชลชัย  ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ  เข้าเฝ้าทูลละอองพระบาทท่ีท้อง  พระโรงพระท่ีนั่งอัมพรสถาน  พร้อมด้วยพลเอก  ประยุทธ์  จันทร์โอชา  นายกรัฐมนตรี  นายวีระพล  ต้ังสุวรรณ  ประธานศาลฎีกา  และพลเอก  เปรม  ติณสูลานนท์  ประธานองคมนตรี  เพ่ืออัญเชิญข้ึนรับราชสมบัต ิ เม่ือทรงรับราชสมบัติแล้วก็เสด็จสถิตในท่ีสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวย้อน  หลงั ไปถงึ วนั ท่ ี ๑๓ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๙   นำยกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีจึงเป็นนำยกฯ และ ครม.ชุด แรกในรัชกำลท ่ี ๑๐ ตอ่ เนอ่ื งมำ สำาหรับพระนามาภิไธยก่อนบรมราชาภิเษกนั้น ทรงพระกรุณา  โปรดเกล้าฯ  ให้ใช้ว่า  “สมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวมหำวชิรำลงกรณ  บดนิ ทรเทพยวรำงกรู ” สาำ นกั พระราชวงั ใหอ้ า่ นสรอ้ ยพระนามาภไิ ธย  ว่า  “บดิน-ทระ-เทพยะ-วรางกูร”  ซึ่งเป็นสร้อยพระนามาภิไธยเดียว  234

กับเมื่อครั้งเฉลิมพระนามาภิไธยเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ  ŧàÃÍ× á»Ðˆ :: สยามมกฎุ ราชกุมาร   ในระหว่างท่ียังไม่ทรงรับบรมราชาภิเษกตามโบราณราชประ-  เพณี  แม้จะทรงเป็นพระมหากษัตริย์โดยสมบูรณ์ทุกประการ  แต่ตาม  โบราณราชประเพณีจะออกพระนามว่าสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ยังไม ่ เป็นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ดังเช่นกรณีสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ทุกพระองค์ในอดีตก่อนจะมีพระราชพิธีบรมราชาภิเษก  ทั้งจะยังทรง  รับสัปตปฎลเศวตฉัตร  (ฉัตรขาว  ๗  ชั้น)  ไม่ใช่นพปฎลมหาเศวตฉัตร  (ฉัตรขาว  ๙  ช้ัน)  คำากราบบังคมทูลพระกรุณาจะไม่ใช้ว่า  “ขอเดชะ”  และเม่ือมีพระราชบัญชาจะยังไม่ใช้ว่า  “พระบรมราชโองการ”  แต ่ ใช้  “พระราชโองการ”  เม่ือนายกรัฐมนตรีลงนามรับพระราชบัญชาก ็ ใช้ว่า  “ผู้รับสนองพระราชโองการ”  แม้แต่คำาว่า  “บรม”  ก็จะละเสีย  ในคาำ ราชาศัพท์ตา่ งๆ   ซึ่งสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวทรงพระกรุณำโปรดเกล้ำฯ ให ้ อนุโลมตำมโบรำณรำชประเพณีดงั กล่ำวทกุ ประกำร 235

สมเด็จพระสงั ฆราชพระองคใหม ทรงมีจริยวัตรงดงามเปนทเ่ี ลือมใสศรัทธา แหง พระภิกษสุ งฆท กุ นิกาย และบรรดาพทุ ธศาสนิกชน  

สถาปนา สมเด็จพระสังฆราช สมเด็จพระสังฆรำชเป็นต�ำแหน่งผู้ปกครองสูงสุดของ คณะสงฆ์ไทยซึ่งก็คือฝ่ายเถรวาท  แต่ก็มีส่วนในการปกครองคณะ  สงฆ์มหายาน  อาทิ  จีนนิกาย  อนัมนิกายในประเทศไทยด้วย  ในส่วน  ของเถรวาทน้ัน  แม้พระภิกษุจะมีวัตรปฏิบัติบางอย่างต่างกันอยู่บ้าง ดังท่ีแบ่งออกเป็นฝ่ายมหานิกายและฝ่ายธรรมยุติกนิกาย  สมเด็จพระ  สังฆราชก็ยังเป็นประมุขท้ังหมดไม่ว่าพระองค์จะอยู่ในนิกายใดก็ตาม  โดยจะทรงบัญชาการปกครองคณะสงฆ์ผ่านทางมหาเถรสมาคม  สรอ้ ยพระนามของสมเดจ็ พระสงั ฆราชจงึ มวี า่  “สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก”  สว่ นพระนามทจี่ ะโปรดสถาปนาอาจมตี า่ งๆ กนั ออกไป อาท ิ “อรยิ วงศ-  ญาณ” “อรยิ วงศาคตญาณ” “ญาณสงั วร” หรอื ในกรณเี ปน็ พระราชวงศ์ ก็จะมีพระนามในทางราชวงศ์  อาทิ  กรมพระปรมานุชิตชิโนรส  กรม-  พระยาปวเรศวริยาลงกรณ์  กรมพระยาวชิรญาณวโรรส  กรมหลวง  ชินวรสริ ิวฒั น ์ กรมหลวงวชริ ญาณวงศ์   เมอ่ื ตาำ แหนง่ สมเดจ็ พระสงั ฆราช พระนามวา่ สมเดจ็ พระญาณ-  สังวร  วัดบวรนิเวศวิหาร  สิ้นพระชนม์เม่ือเดือนตุลาคม  พ.ศ.๒๕๕๖  237

:: ิวษ ุณ เค ืรองาม สมเด็จพระราชาคณะผู้มีอาวุโสสูงสุดโดยสมณศักดิ์ในขณะน้ันคือ  เปน็ สมเดจ็ พระราชาคณะกอ่ นรปู อนื่  และมสี ขุ ภาพดพี อจะปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี ได้  ได้แก่  สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์  วัดปากน้ำา  ภาษีเจริญ  จึง  เป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่แทน  เมื่อพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระ-  ญาณสังวร  สมเด็จพระสังฆราช  สกลมหาสังฆปริณายก  ในเดือน  ธันวาคม  พ.ศ.๒๕๕๘  แล้วก็เป็นท่ีคาดหมายว่าจะมีการสถาปนา  สมเด็จพระสังฆราชพระองค์ใหม่ต่อไป   ที่จริงก็ไม่ได้เป็นเร่ืองจำาเป็นว่าจะต้องสถาปนาสมเด็จพระ  สงั ฆราชพระองคใ์ หมต่ อ่ เนอื่ งกนั ไปทนั ท ี เพราะธรรมเนยี มทเี่ คยปฏบิ ตั ิ มที กุ รปู แบบไมว่ า่ สถาปนาทนั ท ี หรอื ทอดเวลาออกไปนานหลายเดอื น หรอื หลายป ี แตต่ ามกฎหมายคณะสงฆใ์ นขณะนนั้ ถา้ จะสถาปนาแลว้   ให้สถาปนาจากสมเด็จพระราชาคณะผู้มีอาวุโสสูงสุดโดยสมณศักดิ์  (ไม่ใช่โดยพรรษา คือไม่ได้ดูว่าอายุมากกว่าหรืออุปสมบทมาก่อน แต ่ ดูทกี่ ารไดเ้ ปน็ สมเด็จกอ่ น)   ในช่วงเวลานั้น มีข่าวลือจนถึงขั้นมีการดำาเนินคดีอาญาจริงจัง  กับพระภิกษุบางรูปด้วยข้อหาต่างๆ  เช่น  กรณีวัดพระธรรมกายและ  กรณีวัดปากน้ำาภาษีเจริญ  ท่ามกลางเสียงวิจารณ์ที่อื้ออึง  รัฐบาลจึง  ตัดสินใจยังไม่ดำาเนินการใดๆ  เก่ียวกับการเสนอสถาปนาสมเด็จพระ  สังฆราช  เพราะเกรงจะนำาไปสู่ความแตกแยกร้าวฉานในหมู่พุทธ-  ศาสนิกชน  แต่มหาเถรสมาคมก็ได้เป็นฝ่ายเสนอช่ือไปยังรัฐบาลซ่ึงท ี่ จริงก็สามารถดำาเนินการได้ตามกฎหมาย  แต่การจะเสนอต่อไปตาม  ขนั้ ตอนหรือไม ่ เปน็ อำานาจของนายกรัฐมนตรี   หลักกฎหมายในเวลานั้นมีว่า ถ้าจะเสนอก็ต้องเสนอชื่อสมเด็จ  พระราชาคณะผู้มีอาวุโสสูงสุดโดยสมณศักดิ์  ซ่ึงก็คือสมเด็จพระมหา-  รัชมังคลาจารย์  วัดปากน้ำา  หลักกฎหมายนี้มีเม่ือ  พ.ศ.๒๕๓๕  ตาม  มติมหาเถรสมาคมในขณะนั้นที่ให้แก้ไขเช่นน้ี  หากบัดน้ีเห็นว่าหลัก  เกณฑ์นี้แข็งกระด้างหรือตึงเกินไป  จะหย่อนลงได้ให้มีทางเลือกอื่น  238

หลายทางก็ต้องแก้ไขพระราชบัญญัติคณะสงฆ์เสียใหม่  เมื่อข้ึน  ŧàÃÍ× á»Ðˆ :: รัชกาลใหม่  ความจำาเป็นจะต้องมีผู้ดำารงตำาแหน่งประมุขคณะสงฆ์  กม็ มี ากขน้ึ  เพราะตอ้ งเปน็ ประธานฝา่ ยบรรพชติ ในพระราชพธิ บี าำ เพญ็ พระราชกุศลถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในพระบรมโกศ  และ ต่อไปจะต้องเป็นประธานฝ่ายคณะสงฆ์ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก  ตลอดจนการแก้ปัญหาภายในคณะสงฆ์  ซ่ึงขณะนั้นมีเรื่องอ้ือฉาว  มวั หมองเกดิ ขน้ึ หลายเรอ่ื ง เชน่  กรณเี จา้ อาวาสวดั พระธรรมกาย กรณี  กลา่ วหาวา่ พระภกิ ษเุ กย่ี วพนั กบั รถเบนซน์ าำ เขา้ ผดิ กฎหมาย กรณที จุ รติ เงินอุดหนุนช่วยเหลือวัดดังท่ีเรียกว่า  “ทุจริตเงินทอนวัด”   รัฐบาลจึงนำาความกราบบังคมทูลพระกรุณาขอพระราชทาน  พระราชานุญาตแก้ไขเพ่ิมเติมกฎหมายคณะสงฆ์  โดยเปล่ียนหลัก  การจากท่ีว่าต้องสถาปนาสมเด็จพระสังฆราชจากสมเด็จพระราชา  คณะผู้มีอาวุโสสูงสุดโดยสมณศักดิ์หรือเป็นสมเด็จก่อนรูปอื่น  ไปเป็น  ว่าให้สถาปนาจากสมเด็จพระราชาคณะรูปใดรูปหนึ่งตามพระราช  อัธยาศยั  ซงึ่ กก็ ลบั ไปสโู่ บราณราชประเพณเี ดมิ น่ันเอง   เมื่อการแก้ไขกฎหมายเรียบร้อยแล้ว รัฐบาลได้นำาความกราบ  บงั คมทลู พระกรณุ าเมอื่ วนั ท ี่ ๒๗ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๐ วา่ บดั นสี้ มควร  สถาปนาสมเด็จพระสังฆราชเพ่ือปฏิบัติพระศาสนกิจในงานพิธีสำาคัญ  และทรงบัญชาการปกครองคณะสงฆ์โดยจัดทำารายชื่อและประวัติ กราบบงั คมทูลข้นึ ไปเรียงตามลาำ ดบั อาวโุ ส คอื  สมเดจ็ พระมหารชั มงั -  คลาจารย์ วัดปากนำ้า มหานิกาย สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ วดั สมั พนั ธ-  วงศ์  ธรรมยุต  (อาพาธ)  สมเด็จพระมหามุนีวงศ์  วัดราชบพิธ  ธรรมยุต  สมเด็จพระวันรัต  วัดบวรนิเวศ  ธรรมยุต  สมเด็จพระธีรญาณมุนี  วัด เทพศิรินทร์  ธรรมยุต  สมเด็จพระพุทธชินวงศ์  วัดพิชยญาติการาม  มหานิกาย  สมเด็จพระพุฒาจารย์  วัดไตรมิตร  มหานิกาย  และสมเด็จ พระพทุ ธโฆษาจารย ์ วดั ญาณเวศกวนั  มหานิกาย พร้อมท้ังสังฆทัศนะ  ดว้ ย ซง่ึ ทรงพระกรณุ าโปรดใหส้ ถาปนาสมเดจ็ พระมหามนุ วี งศ ์ (อมั พร  239

:: ิวษ ุณ เค ืรองาม อมฺพรมหาเถร)  วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม  ธรรมยุต  เป็นสมเด็จ พระอริยวงศาคตญาณ  สมเด็จพระสังฆราช  พระองค์ที่  ๒๐  แห่ง  กรงุ รัตนโกสนิ ทร์   สมเด็จพระสังฆราชพระองค์ใหม่ทรงมีจริยวัตรงดงามเป็นท ี่ เลอื่ มใสศรทั ธาแหง่ พระภกิ ษสุ งฆท์ กุ นกิ าย และบรรดาพทุ ธศาสนกิ ชน  เคยเสด็จไปทรงศึกษาจนสำาเร็จได้รับปริญญาโทจากประเทศอินเดีย  ถือว่าทรงเป็นสมเด็จพระสังฆราช  “นักเรียนนอก”  พระองค์แรก  เคย ปฏิบัติศาสนกิจเป็นเจ้าอาวาสวัดไทยในประเทศออสเตรเลีย  ตรัส  ภาษาอังกฤษได้ดี  ทรงคุ้นเคยกับชาวต่างประเทศหลายคน  ในช่วง  เดียวกันนั้นครั้งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  รัชกาลที่  ๑๐  ยังทรงเป็นสมเด็จ  พระบรมโอรสาธิราชฯ  สยามมกุฎราชกุมาร  และทรงศึกษาอยู่ท ี่ วิทยาลัยทหารดันทรูนที่กรุงแคนเบอร์รา  ได้เสด็จที่วัดหลายครั้งและ ทรงคุ้นเคยมาต้ังแต่เจ้าพระคุณยังเป็นพระราชาคณะชั้นผู้น้อย ทรง สนพระทัยการศึกษาคณะสงฆ์ดังท่ีทรงเป็นศิษย์เก่า  และบัดนี้ทรง  เป็นนายกสภามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย  ท้ังยังทรงเป็น  พระนักปฏิบัติกรรมฐาน  ทรงเป็นศิษย์พระอาจารย์ฝั้น  อาจาโร  พระ  พักตร์ยิ้มละไม พระวาจาไพเราะแฝงด้วยธรรม เปน็ ทปี่ ลาบปลมื้ แก่  ผู้ไดพ้ บเห็น   วัดราชบพิธเป็นวัดสำาคัญสร้างในสมัยรัชกาลท่ี ๕ สถาปัตย-  กรรมงดงามไม่เหมือนแห่งอื่น  วัดนี้เคยมีสมเด็จพระสังฆราชมาก่อน  แล้ว  ๒  พระองค์  คือ  สมเด็จพระสังฆราชเจ้า  กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์  และสมเดจ็ พระอรยิ วงศาคตญาณ สมเดจ็ พระสงั ฆราช (วาสน ์ วาสน-  มหาเถร)  ซ่ึงเป็นพระราชอุปัทยาจารย์คราวที่สมเด็จพระบรมโอรสา-  ธิราชฯ  สยามมกุฎราชกุมารทรงผนวช   ในปี ๒๕๖๑ ปัญหาในการปกครองคณะสงฆ์รุนแรงข้ึน พระ  ราชาคณะผู้ใหญ่ชั้นหิรัญบัฏ รองสมเด็จพระราชาคณะและกรรมการ  มหาเถรสมาคมบางรูปต้องคดีอาญา  ประจวบกับขณะน้ันกรรมการ มหาเถรสมาคมซ่ึงเปรียบให้เข้าใจง่ายเข้ากับทางโลกก็คือ ครม.สงฆ ์ 240

และสภานิติบัญญัติสงฆ์กำาลังจะครบวาระลง  ท่ีมีอยู่ก็อาพาธไม่ได้  ŧàÃÍ× á»Ðˆ :: เข้าประชุมต่อเน่ืองมานานปีบ้าง  รัฐบาลจึงนำาความกราบบังคมทูล  ถวายความเห็นว่าสมควรปรับปรุงแก้ไของค์ประกอบเสียใหม่  โดย  ถือว่าเป็นองค์กรบริหารต่างพระเนตรพระกรรณ จึงควรให้การแต่งต้ัง  กรรมการมหาเถรสมาคมทุกรูปเปน็ ไปตามพระราชอัธยาศัย   นับตั้งแต่ปี  ๒๕๖๐  เป็นต้นมา  มีประเพณีดีงามอย่างหนึ่ง  เกิดข้ึนคือทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ  ให้มีพิธีเจริญพระพุทธมนต์  ณ  พระลานพระราชวงั ดสุ ติ  ตอนพลบคาำ่  เดอื นละครง้ั ตามวนั ทท่ี รงกาำ หนด  เพ่ือถวายพระราชกุศลแด่สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถใน  รชั กาลท ี่ ๙ ตามหวั ขอ้ ธรรมะว่า “ธรรมรำชนิ ”ี และเพื่อให้เกิดความสิริสวัสดิ์พิพัฒนมงคลแก่อาณาประชา  ราษฎร  ตลอดจนเกิดความสงบร่มเย็นสามัคคี  เพราะโปรดเกล้าฯ  ให ้ รัฐบาล  องค์กรต่างๆ  และประชาชนเข้าร่วมพิธีด้วยโดยพร้อมเพรียง กนั  ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหเ้ ชญิ พระพทุ ธรปู สาำ คญั จากพระทนี่ ง่ั อัมพรสถานมาเป็นประธาน  ทรงอาราธนาสมเด็จพระสังฆราชเป็น  ประธานฝ่ายสงฆ์และมีผู้แทนพระองค์มาปฏิบัติภารกิจ  และโปรด เกล้าฯ  ให้พิมพ์หนังสือสวดมนต์พระราชทานแก่ทุกคน  ปกหนังสือม ี ภาพการ์ตูนฝีพระหัตถ์  หนังสือสวดมนต์นี้ใครมาร่วมสวดทุกเดือนก็  จะได้รับพระราชทานทุกคร้ัง  ถ้าเก็บสะสมไว้วันหนึ่งจะเป็นทั้งมงคล  และของมคี า่ หายาก   กำรสวดมนตแ์ ตล่ ะครงั้ ใชเ้ วลำประมำณ ๒ ชว่ั โมงเศษ และ  ตำมด้วยกำรเจรญิ จติ ภำวนำแผเ่ มตตำท�ำจติ ใจให้สงบอีกด้วย 241

นายกรฐั มนตรที ุกสมัยจะขอพระราชทาน พระมหากรุณาเขาเฝา ฯ เพือกราบบงั คมทูล ถวายรายงานขอราชการเสมอ

พระมหากษตั ริยก์ บั รฐั บาล     เป็นธรรมเนียมในประเทศท่ีแม้จะมีกำรปกครองแบบ ประชาธิปไตย  แต่ยังมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข  ท่ีรัฐบาลจะต้อง  ถวายพระเกียรติพระมหากษัตริย์ด้วยการถวายรายงานข้อราชการ  สำาคัญให้ทรงทราบเป็นระยะๆ  ซึ่งเป็นไปตามหลักในระบบกฎหมาย  รัฐธรรมนูญของอังกฤษที่ว่า  “พระมหำกษัตริย์ทรงมีพระรำชสิทธิท่ีจะ ไดร้ บั กำรกรำบถวำยบงั คมทลู ‘Right to be in formed’ เพอื่ ประกอบ พระรำชวินิจฉัย อำทิ เม่ือเวลำถวำยร่ำงพระรำชบัญญัติใดขึ้นไปให้ ทรงลงพระปรมำภิไธย หำกเคยมีกำรกรำบบังคมทูลรำยงำนสถำน- กำรณ์อันจ�ำเป็นต่อกำรออกพระรำชบัญญัติน้ัน ทั้งในส่วนของเสียง เรียกร้องต้องกำรและเสียงต่อต้ำนคัดค้ำนก็จะเป็นประโยชน์ในกำร จะทรงพิจำรณำ จำกพระรำชสิทธิข้อน้ีจะท�ำให้เกิดพระรำชสิทธิอื่น ตำมมำอีก ๒ ประกำรคือ พระรำชสิทธิท่ีจะพระรำชทำนค�ำแนะน�ำ แก่รัฐบำล (Right to advise) และพระรำชสิทธิท่ีจะทรงตักเตือน และให้กำ� ลังใจ (Right to warn and encourage)” ดงั นนั้  นายกรฐั มนตรที กุ สมยั จะขอพระราชทานพระมหากรณุ า  243

:: ิวษ ุณ เค ืรองาม เขา้ เฝา้ ฯ เพอื่ กราบบงั คมทลู ถวายรายงานขอ้ ราชการเสมอ ในประเทศ อังกฤษและอีกหลายประเทศมีประเพณีท่ีนายกรัฐมนตรีจะมีหนังสือ  กราบบังคมทูลพระกรุณาเป็นประจำาทุกสัปดาห์  แม้แต่อยู่ระหว่าง  การแปรพระราชฐานหรือเสด็จฯ  ไปต่างประเทศก็จะมีการเชิญกล่อง  หนังสือกราบบังคมทูลไปถวายโดยไม่ต้องรอให้ทรงสอบถาม  สำาหรับ  ในประเทศไทยก็มีประเพณีปฏิบัตินี้โดยมีการขอเข้าเฝ้าฯ  เดือนละ  อย่างน้อย  ๑  คร้ัง  ส่วนการมีหนังสือกราบบังคมทูลจะเป็นไปตาม  สถานการณ์และความเหมาะสม   ในสมัยรัชกาลที่ ๙ เมื่อครั้งที่ยังทรงมีพระพลานามัยสมบูรณ ์ และทรงพระสำาราญ  นายกรัฐมนตรีจะขอพระราชทานเฝ้าฯ  เป็นการ  ภายในเสมอ  บางคร้ังอยู่ระหว่างการแปรพระราชฐานก็จะโปรดเกล้าฯ  ใหเ้ ขา้ เฝา้ ฯ ทต่ี า่ งจงั หวดั  เชน่  พระตาำ หนกั ภพู านราชนเิ วศน ์ สกลนคร  พระตำาหนักภูพิงคราชนิเวศน์  เชียงใหม่  พระตำาหนักทักษิณราช  นิเวศน์  นราธิวาส  บ่อยครั้งท่ีโปรดเกล้าฯ  ให้นายกรัฐมนตรีโดยเสด็จ  พระราชดำาเนินไปในการทรงเย่ียมราษฎรหรือทอดพระเนตรโครงการ  ต่างๆ อันเน่อื งมาจากพระราชดำารดิ ้วย   ในตอนปลายรชั กาล พระพลานามยั ไมส่ ดู้ นี กั  คณะแพทยก์ ราบ  บังคมทูลขอให้ทรงงดปฏบิ ตั พิ ระราชภารกจิ เพอื่ ประทบั รกั ษาพระองค ์ เปน็ ระยะๆ จงึ ไมส่ ะดวกทร่ี ฐั บาลจะขอพระราชทานเฝา้ ฯ ถวายรายงาน  ดงั กาลกอ่ น สง่ิ ทจี่ ะทาำ ไดค้ อื การมหี นงั สอื ถงึ ราชเลขาธกิ ารเพอ่ื รายงาน  เรื่องต่างๆ  ทั้งน้ีสุดแต่จะพิจารณานำาความกราบบังคมทูลในเวลาอัน  สมควร   ในสมยั รชั กำลใหมน่  ี้ ในชว่ งตน้ ภำยหลงั กำรเสดจ็ สวรรคต ของรัชกาลท่ี  ๙  จนถึงเวลาถวายพระเพลิงเสร็จส้ิน  นายกรัฐมนตร ี มีเหตุจะต้องขอพระราชทานเฝ้าฯ  เพ่ือกราบบังคมทูลถวายรายงาน เก่ียวกับการสร้างพระเมรุมาศ  และการพระราชพิธีถวายพระเพลิง พระบรมศพ  ตลอดจนรับพระราชวินิจฉัยหลายคร้ัง  ในคราวหน่ึงได ้ 244

รับพระราชกระแสใส่เกล้าฯ  มาแจ้งคณะรัฐมนตรีว่าทรงมีพระราช  ŧàÃÍ× á»Ðˆ :: ปรารภ  ๔  ประการคอื   ๑. ขอให้ทุกฝ่ายช่วยกันทำาให้ประชาชนมีความสุขในการดำารง  ชีวิตและมีทางออกในการแก้ไขปัญหาต่างๆ  อย่าให้รู้สึกว่าอึดอัด  ขดั ข้องหรือตนั จนไม่มที างออก   ๒. ช่วยกันสร้างความรับรู้สึกภาคภูมิใจในประวัติศาสตร์ ชาต ิ พนั ธุ ์ และอตั ลกั ษณ์ของไทย   ๓. รณรงค์ให้คนมวี นิ ยั และเคารพกฎหมาย   ๔.  ส่งเสริมการมีจิตอาสา จิตสาธารณะ ไม่ทำาอะไรท่ีเห็นแก ่ ประโยชนส์ ว่ นตนฝ่ายเดียว   ในเวลาตอ่ มา พระราชปรารภนปี้ รากฏเปน็ รปู ธรรมใหเ้ หน็ ในงาน  อนุ่ ไอรกั  คลายความหนาว และกิจกรรมจิตอาสา เราทำาความดีด้วย  หัวใจ  ขุดลอกคูคลองห้วยหนองคลองบึง  และยังจะแสดงออกทางกิจ  กรรมอืน่ ๆ อีกหลายเรื่อง   นายกรัฐมนตรีให้นโยบายแก่คณะรัฐมนตรีด้วยว่า เนื่องจาก  ราชสำานักได้มีการจัดระเบียบราชการใหม่จึงจำาเป็นที่ทางราชการจะ  ต้องนำาความกราบบังคมทูลถวายรายงานผ่านทางราชเลขานุการใน  พระองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวหรือราชเลขาธิการทุกครั้งก่อน  ที่จะมีกิจกรรม  โครงการ  หรือข่าวสารท่ีกระทบถึงราชการในพระองค ์ หน่วยงานในราชสำานักและสถาบันพระมหากษัตริย์  ดังน้ัน  ขอให้รอ  จนเม่ือได้รับแจ้งว่าทรงทราบฝ่าละอองธุลีพระบาทแล้วหรือมีพระ  ราชานุญาตแล้วจงึ จะดำาเนินการตอ่ ไปได้  ในบางกรณนี ายกรฐั มนตร ี จะมีหนังสือกราบบังคมทูลพระกรุณาทรงทราบโดยตรงหรือขอพระ  ราชทานเฝ้าฯ  เป็นการภายในเพื่อกราบบังคมทูลถวายรายงานใน  เรือ่ งที่ไม่เกีย่ วกับการเมอื ง หลกั การเช่นนนี้ า่ จะเป็นประเพณีวธิ ีปฏิบัติ  สบื ไปเบ้ืองหน้า   ตอ่ มาไดม้ พี ระราชดาำ รวิ า่  การพระราชทานพระมหากรณุ าธคิ ณุ   แก่ผู้วายชนม์ด้วยการพระราชทานน้ำาอาบศพ  พระราชทานเคร่ือง  245

:: ิวษ ุณ เค ืรองาม ประกอบเกียรติยศศพ  เช่น  หีบศพ  โกศศพน้ัน  ทุกวันน้ีจำากัดอยู่แต่ ศพในกรงุ เทพมหานครและจงั หวดั ใกล้เคยี ง ทั้งท่ผี วู้ ายชนม์ในจงั หวดั   ห่างไกลทั่วประเทศก็ควรได้รับพระมหากรุณาอย่างเดียวกัน แต่สำานัก  พระราชวังขาดกำาลังพลด้านนี้  จึงมีพระราชานุญาตให้รัฐบาลโดย  กระทรวงวัฒนธรรมรับไปดำาเนินการแทนสำานักพระราชวังตั้งแต่วันท ่ี ๑  พฤษภาคม  พ.ศ.๒๕๖๒  เป็นต้นไป   เมื่อกล่าวถึงการจัดระเบียบราชการในราชสำานักใหม่ สมควร  อธิบายเพ่ิมเติมว่าในสมัยก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง  เคยมีการ  ต้ังกระทรวงวังเป็นผู้รับผิดชอบกิจการราชสำานักและราชการในพระ  องค์ท้ังหมด  มีเสนาบดีกระทรวงวังเป็นผู้บังคับบัญชาปรากฏราช  ทนิ นามวา่  เจา้ พระยาธรรมาธกิ รณาธบิ ด ี ในบางสมยั กระทรวงนเี้ ปลย่ี น  ชอ่ื เป็นกระทรวงมุรธาธร   เมื่อเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕ พระราชภาระลด  ลง  งานบางอย่างของกระทรวงน้ีต้องโอนไปเป็นของรัฐบาล  เหลืออยู่  ก็แต่เฉพาะที่เป็นราชการในพระองค์โดยแท้  จึงจัดระเบียบเป็นสำานัก  พระราชวัง  ดูแลราชสำานัก  พระราชวัง  พระราชพิธี  มีเลขาธิการพระ  ราชวังเป็นผู้บังคับบัญชา  ตำาแหน่งน้ีเรียกโดยย่อว่า  “เลขาวัง”  ผู้ครอง  ตำาแหน่งน้ีที่เรารู้จักกันดีในอดีต  เช่น  พลตรี  หม่อมทวีวงศ์ถวัลยศักด์ิ  ดร.กลั ย ์ อศิ รเสนา ณ อยธุ ยา นายแกว้ ขวญั  วชั โรทยั  (นอ้ งชายฝาแฝด  ของนายขวัญแก้ว  วัชโรทัย  เป็นรองเลขาธิการพระราชวัง)  และนาย  จริ าย ุ อศิ รางกรู  ณ อยธุ ยา อกี หนว่ ยคกู่ นั คอื สาำ นกั ราชเลขาธกิ าร ดแู ล  รับผิดชอบราชการด้านเอกสารหนังสือทั้งท่ีมีมาถึงพระมหากษัตริย ์ และพระบรมวงศานุวงศ์และส่งออกไปจากราชสำานัก  ตลอดจนการ  ขอพระราชทานพระมหากรุณาธิคุณในเร่ืองต่างๆ  ผู้บังคับบัญชา  หน่วยงานนี้คือ  ราชเลขาธิการ  เรียกโดยย่อว่า  “ราชเลขา”  ผู้ดำารง  ตาำ แหนง่ นท้ี รี่ จู้ กั กนั ดใี นอดตี คอื  หมอ่ มหลวงทวสี นั ต ์ ลดาวลั ย ์ หมอ่ ม-  ราชวงศ์  พีรพงษ์  เกษมศรี  นายอาสา  สารสิน  และนายกฤษณ์  กาญจนกญุ ชร 246

  ข้าราชการที่ทำางานใน ๒ หน่วยงานนี้เรียกว่า “ข้ำรำชกำร ŧàÃÍ× á»Ðˆ :: พลเรือนในพระองค์”  ซึ่งรัฐธรรมนูญบัญญัติว่าการแต่งต้ังและการ  พ้นจากตำาแหน่งให้เป็นไปตามพระราชอัธยาศัย  จึงไม่จำาเป็นว่าจะ  ครบเกษียณอายุเมื่อมีอายุ ๖๐ ปี ดังเช่นข้าราชการฝ่ายอ่ืน นอกจากน ี้ ยังมีส่วนราชการอ่ืนท่ีเกี่ยวข้องแต่ไม่เป็นราชการในพระองค์  เช่น  กรมราชองครักษ์ หัวหนา้ นายตำารวจราชสำานกั   ในสมัยรัชกาลน้ีมีพระราชดำาริให้จัดระเบียบราชการใหม่ให้  เป็นระเบียบแบบแผน  จึงมีการตราพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร  ราชการในพระองค์  พ.ศ.๒๕๖๐  และพระราชกฤษฎีกาจัดระเบียบ  ราชการและการบรหิ ารงานบคุ คลของราชการในพระองค ์ พ.ศ.๒๕๖๐  หลักการคือให้มีส่วนราชการในพระองค์เป็นคำากลางๆ  ประกอบด้วย  ส่วนราชการ ๓ สว่ น ไดแ้ ก่   ๑. สำานักพระราชวัง ซึ่งมีสถานะและอำานาจหน้าที่มากกว่า  เดิม  โดยมีพลอากาศเอก  สถิตพงษ์  สุขวิมลเป็นราชเลขานุการใน  พระองค์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  (หลังบรมราชาภิเษกแล้วได้เป็นราช  เลขานกุ ารในพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ) และเลขาธกิ ารพระราชวงั   และมีกรมลดหลั่นลงไป  ได้แก่  ศาลาว่าการสำานักพระราชวัง  กรม  ราชเลขานุการในพระองค์  กรมกิจการในพระบรมวงศานุวงศ์  กรม  มหาดเล็ก  กรมสนับสนุน  กรมกิจการพิเศษ  และส่วนราชการอ่ืนที่จะ  กำาหนดตอ่ ไป   ๒. สำานักงานองคมนตรี รับผิดชอบกิจการเก่ียวกับองคมนตร ี (แยกมาจากสำานักราชเลขาธิการแต่เดิมมาตั้งเป็นกรมใหม่)  โดยให้  องคมนตรมี สี ถานะเปน็ ข้าราชการในพระองค์ดว้ ย   ๓. หน่วยบัญชำกำรถวำยควำมปลอดภัยรักษำพระองค ์ ซึ่งรวมงำนถวำยควำมปลอดภัยจำกต�ำรวจและทหำรมำไว้ใน  หน่วยเดียวกนั   247

เรอื งนี้ใครจะถกู ใครจะผิด เขา ไปทําไม เขาไปไดอ ยางไร ไมม ีใครสนใจ ความประสงคมีอยางเดยี ว คอื ขอใหเ ด็กกลับออกมาโดยปลอดภัย  

ปฏบิ ตั กิ ารถา้� หลวงฯ ๒๕๖๑     ปัญหำในกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดินของรัฐบำลมีทั้งที่ ต้องแก้ในระดับชาติและระดับท้องถิ่น  มีทั้งที่เป็นเรื่องเล็กและเร่ือง  ใหญ ่ บางเรอ่ื งใหญร่ ะดบั โลก อยา่ งเรอ่ื งปฏบิ ตั กิ ารคน้ หาและชว่ ยเหลอื   เยาวชนทีมหมูป่าอะคาเดมีแม่สาย  ๑๓  คน  ซึ่งเกิดขึ้นที่ถ้ำาหลวง-ขุน  นา้ำ นางนอน อาำ เภอแมส่ าย จงั หวดั เชยี งราย ตงั้ แตว่ นั ท ่ี ๒๓ มถิ นุ ายน  ถึงวันที่  ๑๐  กรกฎาคม  พ.ศ.๒๕๖๑  รวม  ๑๗  วันน้ันนับว่าน่าสนใจ  มาก  เรื่องนี้ทำาให้ประเทศไทยเป็นข่าวพาดหัวหนังสือพิมพ์เกือบทั่ว  โลกต่อเน่ืองกันกว่า ๒ สัปดาห์ โทรทัศน์ต่างประเทศเสนอข่าวความ  คบื หนา้ แทบทกุ วัน   เดชะบุญคุณพระช่วยท่ีจบลงด้วยดี แฮปปี้เอนด้ิง ได้ช่ือเสียง  กนั ไปทกุ ฝา่ ย ภารกจิ ทที่ วั่ โลกคดิ วา่ เปน็ มชิ ชนั่ อมิ พอสสเิ บลิ  เลยกลาย  เปน็ อะเมซ่ิงไทยแลนด!์     เร่ืองเร่ิมต้นเหมือนจะเป็นเร่ืองเล็กระดับท้องถ่ิน ผู้ช่วย ผู้ฝึกสอนหรือโค้ชฟุตบอล  ๑  คน  และนักฟุตบอลเยาวชนอีก  ๑๒  คน  249

:: ิวษ ุณ เค ืรองาม ซ่ึงรวมตัวกันเป็นทีมหมูป่าอะคาเดมีแม่สายทีมเล็กๆ  โนเนม  ชวนกัน  ไปซอ้ มฟตุ บอลตามปกตทิ ส่ี นามบา้ นจอ้ ง ตาำ บลโปง่ ผา อาำ เภอแมส่ าย  จังหวัดเชียงราย  ซ้อมเสร็จก็ชวนกันขี่จักรยานเดินทางไปเท่ียวและ  สำารวจบริเวณถำ้าหลวงฯ  ภายในวนอุทยานถ้ำาหลวง-ขุนน้ำานางนอน  โดยจอดรถจักรยานไว้ที่ปากถ้ำาหลวงฯ  เม่ือวันท่ี  ๒๓  มิถุนายน  ซ่ึง  กะว่าไม่กี่ชั่วโมงจะกลับออกไป   ตกเย็นเจ้าหน้าที่ได้รับแจ้งว่าทีมเยาวชนหายไปไม่กลับบ้าน  และเหน็ รถจกั รยานจอดอยหู่ นา้ ถาำ้ จงึ เอะอะกนั ขน้ึ  วนั ท ่ี ๒๔ มถิ นุ ายน จึงเริ่มระดมทีมกู้ภัยเข้าไปค้นหาในถ้ำา  เมื่อเข้าไปได้เป็นกิโลเมตรจึง  พบรองเทา้ และกระเปา๋ ทงิ้ อย ู่ พบวา่ ในถาำ้ มดื มดิ และมนี าำ้ ทว่ มสงู  คราว  นี้เร่ืองจึงใหญ่ขึ้นเป็นปัญหาระดับจังหวัดและระดับประเทศ  เพราะ ไม่ใช่เร่ืองพลัดหลงธรรมดา  แต่เป็นการเผชิญกับภัยธรรมชาติที่น่า  สะพรึงกลัว  เมื่อสื่อต่างๆ  นำาเสนอข่าว  ผู้คนทั่วประเทศก็หันมา  สนใจ   วนั ท ี่ ๒๕ มถิ นุ ายน นายกรฐั มนตรสี ง่ั การใหร้ ฐั มนตรมี หาดไทย  และผู้เก่ียวข้องรีบไปช่วยเหลือ  สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงทราบฝ่า-  ละอองธุลีพระบาทก็มีพระราชกระแสต้ังแต่แรกให้เร่งระดมความ  ช่วยเหลือเต็มความสามารถ  เจ้าหน้าที่จึงประสานขอความช่วยเหลือ  จากหน่วยทำาลายใต้นำ้าจู่โจมหรือหน่วยซีล  (SEAL)  ของกองทัพเรือ  เพราะภารกิจค้นหาชักจะสลับซับซ้อนและยุ่งยากเสียแล้ว  ต่อมาก็  ต้องขอความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์จากทั่ว  ประเทศและต่างประเทศ  ความยากลำาบากคือความมืดและถำ้าท่ีแคบ  บ้าง  กว้างบ้าง  ลึกบ้าง  เล้ียวลดคดเค้ียว  น้ำาท่วมบางช่วงท่วมมิดหัว  เหมอื นใตบ้ าดาล   อะไรไมส่ าำ คญั เทา่ กบั ตอ้ งแขง่ กบั เวลา ในถาำ้ นน้ั เดก็ จะมอี ากาศ  หายใจไหม  มีอาหารให้กินประทังชีวิตไหม  มีสัตว์ร้ายและภยันตราย  อื่นๆ  หรือไม่  ฝนก็ทำาท่าจะตกหนักซึ่งหมายถึงน้ำาจะสูงและเชี่ยว  250


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook