Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 57 Public Administration Kanyawan 2203101

57 Public Administration Kanyawan 2203101

Description: 57 Public Administration Kanyawan 2203101

Search

Read the Text Version

องค์ประกอบของรัฐ คาวา่ ดินแดนในที่น้ีหมายความรวมถึง พ้นื ดิน น่านน้าภายใน ( Internal Waters) ซ่ึงรวมถึงแม่น้า ลาคลอง ทะเลสาบ อา่ วท่ีมีความกวา้ งไม่เกิน 24 ไมลท์ ะเล อา่ ว ประวตั ิศาสตร์ ทะเลอาณาเขต (Terrestrial Waters) น่านฟ้ า และรวมถึงสถานท่ีบางแห่งซ่ึงถือวา่ เป็นดินแดน หรืออาณา เขตสมมติ เช่น เรือหลวง อากาศยาน เป็นตน้

องค์ประกอบของรัฐ ทะเลอาณาเขต หมายถึงทอ้ งทะเลที่อยชู่ ายฝ่ังกบั ทะเลหลวง หรือเรียกอีกอยา่ งหน่ึงวา่ ทะเลนานาชาติ ทะเลสากล น่านน้านานาชาติ น่านน้าสากล มีความกวา้ ง ห่างจากชายฝั่งออกไปไม่แน่นอน แลว้ แต่รัฐใดจะ กาหนดเขตเท่าใด และรัฐอ่ืนๆ ยอมรับหรือไม่ สาหรับ ประเทศไทยน้นั ไดก้ าหนดความกวา้ งทางทะเลอาณา เขตไว้ 12 ไมลท์ ะเล เม่ือวนั ที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2509

องค์ประกอบของรัฐ อ่าวประวตั ิศาสตร์ หมายถึง น่านน้าภายในประเทศไทย อยู่ ในพ้นื ที่ 7 จงั หวดั คือ เพชรบุรี สมุทรสงคราม สมุทรสาคร กรุงเทพฯ สมุทรปราการ ฉะเชิงเทรา และชลบุรี (ธีรวฒุ ิ โศภิษฐิ กลุ 2543:20-21) เขตแดนของรัฐโดยปกติจะใชพ้ รมแดนธรรมชาติ เช่น สนั เขา หรือสนั ปันน้า ร่องน้าลึก เป็นตน้ ในส่วนที่ไม่มีพรมแดน ธรรมชาติ หรือมี แต่ตอ้ งการใหม้ ีการเปล่ียนแปลงไปเป็นอยา่ งอื่น รัฐที่เกี่ยวขอ้ งมาจดั ต้งั คณะกรรมการปันเขตแดนเพ่อื กาหนดเขต แดนร่วมกนั ใหเ้ ป็นท่ีแน่นอน ซ่ึงอาจไม่ตรงกบั หลกั สากลกไ็ ด้

สรุป รัฐจะเกดิ ขนึ้ ไม่ได้ ถ้าไม่มีดนิ แดน การมีดนิ แดนที่ เป็ นพรมแดน หรือเส้นเขตแดน อนั เป็ นทเี่ ป็ นทยี่ อมรับกนั ในหมู่ นานาประเทศ หรือการรับรองขององค์การระหว่างประเทศ ดนิ แดนนีอ้ าจแบ่งได้ 2 ประเภท คอื การแบ่งเขตตามสภาพตาม ธรรมชาติ และการแบ่งเขตโดยการกาหนดกนั เอง คาว่า ดนิ แดน นี้ หมายถึง พนื้ ดนิ น่านนา้ และน่านฟ้ าเหนือพนื้ ดนิ อานาจการ ปกครองของรัฐจงึ มีอยู่เหนือดนิ แดนของรัฐน้ัน

3. รัฐบาล รัฐบาลเป็นสงั คมที่มีการรวมตวั กนั ของประชากรทาง การเมือง ดงั น้นั องคก์ ารทางการเมือง คือ รัฐบาล รัฐบาลจึงเป็น ส่วนสาคญั ของรัฐ เพราะรัฐบาลเป็นผทู้ าหนา้ ท่ีในการปกครอง ประเทศ รัฐบาลจะประกอบดว้ ยฝ่ ายนิติบญั ญตั ิ ฝ่ ายบริหาร ปละ ฝ่ ายตุลาการ และจะมีหน่วยงานยอ่ ยๆ ลงไป เรียกวา่ หน่วยงาน การปกครอง หรือหน่วยงานทางการบริหาร ซ่ึงทาหนา้ ท่ีบริการ ประชาชน

3. รัฐบาล สรุปไดว้ า่ รัฐทุกรัฐตอ้ งมีรัฐบาล รัฐบาลน้นั ตอ้ งไดร้ ับ ความยนิ ยอมจากประชาชน รัฐบาลจะอยไู่ ดอ้ ยา่ งยนื ยงถา้ สนองความตอ้ งการของประชาชน รักษาผลประโยชนข์ อง ประชาชน ใหค้ วามยตุ ิธรรมแก่ประชาชน และป้ องกนั การ รุกรานจากต่างชาติได้

ความแตกต่างระหว่างรัฐกบั รัฐบาล 1. รัฐมีความหมายครอบคลมุ กว่า รัฐเป็ นหน่วยรวมทป่ี ระกอบด้วย ....ทุกอย่าง ส่วนรัฐบาลเป็ นส่วนประกอบหนึ่งของรัฐ 2. รัฐมีความต่อเนื่องหรือมีความถาวร ส่วนรัฐบาลเป็ นการปกครอง ชั่วคราว 3. รัฐบาลเป็ นเครื่องมือซึ่งนาอานาจรัฐไปใช้ รัฐบาลเปรียบเป็ น “สมอง” ของรัฐ

ความแตกต่างระหว่างรัฐกบั รัฐบาล 4. รัฐเป็ นตัวแทนซ่ึงคนในสังคมในด้านการทาความร่วมมอื หรือ การใช้เจตจานงร่วมกนั สรุปได้ว่า คาว่ารัฐบาล อาจมีความหมายแคบว่าคาว่า รัฐ รัฐบาล เป็ นเพยี งส่วนหน่ึงของรัฐ เพราะคาว่ารัฐ รวมถึงท้งั รับบาลและประชาชนที่ ถูกปกครอง รัฐบาลเป็ นเพยี งกลไกทที่ าหน้าทใ่ี ห้รัฐ เพอื่ ทาเจตจานงหรือ เป้ าประสงค์ของรัฐ ดังน้ันรัฐจะมีองค์ประกอบ 4 ประการทไ่ี ม่สามารถขาดอย่างใด อย่างหน่ึงได้ คอื 1.ประชากร 2. ดินแดน 3. รัฐบาล และ 4.อานาจอธิปไตย

4. อานาจอธิปไตย อานาจอธิปไตย หมายถงึ อานาจสูงสุดในการ ปกครองประเทศ มอี านาจเหนือบุคคลทุกคน และมี อานาจเหนือองค์กรทุกประเภททอ่ี ยู่ในดนิ แดนของ ประเทศ ประเทศมอี านาจสูงสุดในกจิ การภายในประเทศ และภายนอกประเทศ โดยมรี ัฐบาลเป็ นผู้ใช้อานาจ อธิปไตย

4. อานาจอธิปไตย สรุป อานาจอธิปไตย หมายถงึ อานาจสูงสุดในการ ปกครองประเทศ อานาจอธิปไตยทาให้ประเทศมอี สิ ระ และมคี วามเป็ นเอกราช สามารถบริหารกจิ การได้ท้งั ภายในและภายนอกประเทศได้อย่างเตม็ ทป่ี ราศจากการ ควบคุมจากภายนอก

การกาเนิดของรัฐ รัฐกาเนิดขนึ้ มาได้อย่างไร ? สรุปการเกดิ รัฐได้ดงั นี.้ .. 1. ทฤษฎเี ทวสิทธ์ิ (The Devine Right Theory) 2. ทฤษฏสี ัญญาประชาคม (Social Contract Theory) 3. ทฤษฎธี รรมชาติ (The Natural Theory) 4. ทฤษฎพี ละกาลงั (The Force Theory) 5. ทฤษฎวี วิ ฒั นาการ (The Evolutionary Theory)

1. ทฤษฎีเทวสิทธ์ิ (The Divine Theory) แนวคิดนีม้ ีต้นกาเนิดมาจากอาณาจักรโบราณแถวตะวนั ออกกลาง ทผี่ ู้ปกครองได้รับการยอมรับว่าเป็ นเชื้อสายจากพระเจ้า ทฤษฎีนีถ้ ือว่าเป็ นการกาเนิดรัฐที่เก่าแก่ท่ีสุด โดยมีพนื้ ฐานอยู่บน สมมตฐิ านทวี่ ่า ชนบางหมู่เป็ นผู้ทพ่ี ระผู้เป็ นเจ้าเลอื กสรรประทานมา สรุป ได้เป็ น 3 ประการ ดงั นี้ 1. รัฐเกดิ จากแรงดลบันดาลจากเจตนารมณ์ของพระเจ้า 2. มนุษย์ไม่ได้เป็ นผู้สร้างรัฐ แต่เป็ นเพียงองค์ประกอบหนึ่งของ รัฐเท่าน้ัน

3. ผู้ปกครองรัฐมีหน้าท่ีเสมือนตัวแทนของพระเจ้า ประชาชน ทุกคนต้องเช่ือฟัง และเคารพโดยดุษฎี นักเทววิทยาในยุคแรกๆ ได้ใช้แนวคิดนี้เพ่ือผลประโยชน์ของ ตนเอง ผู้นาทางศาสนาในยุคแรก ไม่ว่าจะเป็ น เซ็นต์ แอมโบรส (Saint Ambrose, ค.ศ.340-397) เซ็นต์ ออกสุ ติน (Saint Augustine, ค.ศ.354-430) หรือ สันตะปาปา เกรเกอรี่ (Pope Gregory the Great, ค.ศ.540-604)

2. ทฤษฎีสญั ญาสงั คม หรือ ทฤษฎีสญั ญา ประชาคม ( Social Contract Theory) อานาจของกษัตริย์ได้ถูกลบล้างด้วยอานาจทฤษฎีที่ทรงพลังนี้ ข้ออ้างประการหนึ่งได้แก่ ทฤษฎีสัญญาประชาคม ซ่ึงพัฒนาขึ้นใน ระหว่างคริสต์ศตวรรษท่ี 17-18 อันมีพื้นฐานอยู่บนแนวคิดอานาจ อธิปไตยปวงชนท่ีถือว่า แหล่งทม่ี าของอานาจรัฐ คอื ประชาชน การทาสัญญาเกดิ ขนึ้ จากประชาชนท้งั ปวง ซึ่งมีอานาจมาตกลงกัน เพอ่ื สถาปนารัฐขนึ้ และให้อานาจรัฐแก่รัฐบาลระดบั หน่ึง

ในอังกฤษ แนวคิดนี้ได้ถูกเบี่ยงเบนไปช่ัวคราว คือ จากที่ สนับสนนุ สิทธิของประชาชน ไปสนับสนนุ อานาจสิทธ์ิขาดของกษตั ริย์ โธมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes, ค.ศ.1588-1679) เป็นผทู้ ี่ใช้ แนวคิดสญั ญาประชาคมไปสนับสนุนอานาจเดด็ ขาดของกษตั ริย์ จอห์น ล็อค (John Locke, ค.ศ.1632-1704) ไดเ้ ป็ นคนนา ความคิดน้ีกลบั ไปสู่ธรรมชาติด้งั เดิมของทฤษฎีน้ี คือ ทาหนา้ ท่ีปกป้ อง ปัจเจกชนจากการคุกคามของฝ่ ายบริหาร

ฌอง ฌาคส์ รุสโซ (Jean Jacques Rousseau) เสนอ เจตนารมณ์ของปวงชน ซึ่งอานาจอธิปไตยเป็ นของชุมชน ไม่ได้ อยู่ท่ีรัฐ รัฐเป็ นเพียงผู้นานโยบายไปปฏิบัติ เพ่ือนาความสุข ความเจริญมาสู่ชุมชน ประชาชนในรัฐเป็ นผู้ปกครอง การ ปกครองตามแนวนี้ มีลักษณะเป็ นประชาธิปไตยโดยตรง แบบ นครรัฐเอเธนส์สมยั กรีกโบราณ

สรุป คอื มนุษย์เป็ นผู้สร้างรัฐ รัฐบาลมลี กั ษณะเป็ น ประชาธิปไตยโดยตรง ชุมชนเป็ นผู้กาหนดนโยบาย รัฐบาลเป็ นผู้นา นโยบายไปปฏิบัตแิ ละอานาจอธิปไตยเป็ นของชุมชน ทฤษฎสี ัญญาประชาคมอาจสรุปได้ดงั นี้ 1. รัฐเกดิ จากมนุษย์ หรือมนุษย์สร้างรัฐ 2. รัฐและรัฐบาลเกดิ จากสัญญา 3. รัฐและรัฐบาลจะต้องเป็ นไปตามเจตนารมณ์ของผ้รู ่วมทาสัญญา 4. สัญญาจะผูกพนั กบั มนุษย์คู่สัญญา

3. ทฤษฎีธรรมชาติ ( Natural Theory) อริสโตเติ้ล (Aristotle พ.ศ.159 - 221) บดิ าของรฐั ศาสตร์ ได้ เสนอทฤษฎธี รรมชาตขิ น้ึ เป็นคนแรก เพ่อื อธบิ ายการก่อกาเนิดของรฐั โดยเช่อื ว่า มนุษยน์ นั้ เกดิ มามคี วามดโี ดยพน้ื ฐาน และมคี วามพยายาม อย่างไม่หยุดยัง้ ท่ีจะเข้าถึงความดีงามขัน้ สุดยอด (อันตวิทยา Teleology) อนั เป็นสงิ่ ซง่ึ ไมม่ วี นั จะบรรลุถงึ เขาเช่อื วา่ มนุษยเ์ ป็นสตั วก์ ารเมอื งโดยธรรมชาติ (Man is a political animal) กลา่ วคอื เป็นธรรมชาตทิ ม่ี นุษยจ์ ะตอ้ งรวมเขา้ ดว้ ยกนั และมีปฏิสมั พนั ธ์ต่อกนั อนั จะก่อให้เกิดชุมชนข้นึ มา รูปแบบท่ีเป็น ทางการของชุมชนมนุษยก์ ค็ อื นครรฐั (Polis)

อริสโตเติล เช่อื วา่ นครรฐั เป็นสงิ่ แวดลอ้ มตามธรรมชาตขิ องสงั คม มนุษยจ์ ะเป็นมนุษย์กต็ ่อเม่อื อยู่ภายในนครรฐั ปจั เจกบุคคลท่อี ยู่ภายนอก นครรฐั นนั้ ถา้ ไมเ่ ป็นเทพเจา้ กต็ อ้ งเป็นสตั วป์ า่ นครรฐั เป็ นส่ิงแวดล้อมเพียงอย่างเดียวที่จะทาให้บุคคลมี ความเป็นมนุษยท์ ่ีแท้จริง มนุษยเ์ ราเมื่อมีความสมบูรณ์ จะเป็ นสตั วป์ ระเสริฐท่ีสุด แต่ ถ้าแยกมนุษยอ์ อกจากกฏหมายและความยุติธรรม (ซึ่งกฏหมายและ ความยุติธรรม จะหาได้กเ็ พียงแต่ในนครรฐั ) แล้วละก็ มนุษยจ์ ะเป็ น สตั วท์ ่ีเลวทรามท่ีสดุ สรุปได้ว่า ทฤษฎีนี้ รฐั เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ หรือเกิดขึ้น จากความต้องการของมนุษยเ์ อง

4. ทฤษฎกี าลงั อานาจหรอื ทฤษฎพี ลกาลงั ( Force Theory) ทฤษฎนี ้ีมจี ุดเรม่ิ ตน้ จากการยดึ ครอง (conquest) การบงั คบั (injustice) และความชวั่ รา้ ย (evil) ดงั นนั้ ผเู้ ขม้ แขง็ กวา่ จงึ สามารถขม่ เหงผทู้ อ่ี อ่ นกวา่ และ ได้สร้างกฎเกณฑ์ (legitimacy) เพ่อื จากดั สิทธิของบุคคลอ่ืน ซ่ึงเป็น แนวความคิดของพวกคริสเตียนในสมัยกลาง ท่ีไม่เห็นด้วยกับกาเนิด อาณาจกั รโรมนั จากแสนยานุภาพ ซง่ึ มาเคยี เวลล่ี (Machiavelli)นกั คดิ ในสมยั ค รสิ เตรยี นศตวรรษท่ี 16 และ โทมศั ฮอบส์ (Thomas Hobbes) นกั คดิ ในสมยั ครสิ เตยี นศตวรรษท่ี 17 ยนื ยนั วา่ อานาจทท่ี รงประสทิ ธภิ าพ แ ล ะ ยัง เ กิด แ น ว คิด ใ น ก ลุ่ ม ลัท ธิช า ตินิ ย ม น า ซีท่ีเ ช่ือ ว่ า อ า น า จ เ ป็ น องค์ประกอบสาคญั ของรฐั บาลทาให้เกิดความถูกต้องและชอบธรรม (might make right) ความคดิ น้ีสญู สลายไปพรอ้ มความพ่ายแพข้ องพวกนาซหี ลงั สงครามโลกครงั้ ท่ี 2

5. ทฤษฎวี ิวฒั นาการ (evolution theory) ทฤษฎวี วิ ฒั นาการเป็นทฤษฎที เ่ี ช่อื วา่ สงั คมการเมอื งมมี าก่อนจะเกดิ รฐั ชาตหิ รอื รฐั สมยั ใหมแ่ ละมวี วิ ฒั นาการตามลาดบั ขนั้ ตงั้ แต่ 1. สงั คมวงศาคณาญาติ (Kinship Society) 2. รฐั ชนเผา่ (Tribal State) 3. นครรฐั (City State) 4. จกั รวรรดิ (Empire) คือการรกุ รานเพ่ือยึดครองขายอาณาเขต ดินแดน 5. รฐั ศกั ดินา (Feudal State) ยคุ กลางเป็นยคุ ที่แขง็ แรงของระบบ ศกั ดินา วิวฒั นาการจากจกั รวรรดิโรมนั ล่มสลาย 6. รฐั ชาติ ( Nation State) รฐั สมยั ใหม่ หลงั ผา่ นพ้นยคุ กลาง - ฟื้ นฟศู ิลปะวิทยาการ - ปฏิวตั ิด้านการค้า และ - การปฏิรปู ศาสนา 7. รฐั โลก (World State) เกิดขึน้ มานานในสมยั พระเจ้านโปเลียน แห่ง ฝรงั่ เศส สงครามโลกครงั้ ที่ 2 และโซเวียตใช้อดุ มการณ์ทางการเมืองของคารล์ มารก์ ซ์ (Karl Marx) ม่งุ ขจดั รฐั ชาติให้หมดไป เป็นความเพ้อฝนั แต่ ปัจจบุ นั แนว การสรา้ งรฐั โลกพฒั นาการตามการประกาศของประธานาธิบดี จอรช์ บชุ เมื่อ สงครามเยน็ สงบลง

ซง่ึ ทฤษฎวี ิวฒั นาการจะพฒั นาไปตามวิวฒั นาการของรฐั 1. รัฐศักดนิ า (Feeudal State) มีวิวัฒนาการตงั้ แต่เกิดรัฐเล็กพัฒนาไปสู่รัฐท่ใี หญ่ตามลาดบั จนกระท่งั อานาจขุนนางถกู กษัตริย์ปราบปรามจงึ สูญสิน้ รัฐศักดนิ า 2. รัฐชาติ หรือรัฐสมัยใหม่ (Modern State) ผ่านพ้นยุค กลางมา - การฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ (The Renaissance) - การปฏวิ ัตดิ ้านการค้า (The Commercial Revolution) - การปฏิรูปศาสนา (The Reformation) หลงั จากทรี่ ัฐศักดนิ าได้เสื่อมสลายลงไปพร้อมๆ กบั อทิ ธิพลของขุนนาง รัฐชาตทิ าให้เกดิ ความรู้สึกผูกพนั ของประชาชนทม่ี คี วามรู้สึกภาคภูมใิ จในความ เป็ นสมาชิกของชุมชนเดยี วกนั มขี นบธรรมเนียมประเพณเี ดยี วกนั มศี าสนา ภาษาเดยี วกนั และมรี ัฐบาลทมี่ อี านาจอธิปไตยทส่ี มบูรณ์

รัฐโลกไม่ใช่ความคดิ ใหม่ หากแต่มีมานานแล้ว จะเหน็ ได้จาก สมัยพระเจ้าอเลก็ ซานเดอร์มหาราช สมันจกั รวรรดโิ รมัน สมัยนโป เลียนมหาราชแห่งฝร่ังเศส หรือเยอรมัน และญ่ีป่ ุนสมัยสงครามโลก ครัง้ ท่ี 2 หรือแม้แต่สหภาพโซเวียตท่ยี ดึ อุดมการณ์ของคาร์ลมาร์กซ์ (Karl Marx) ท่มี ุ่งขจัดรัฐชาตใิ ห้หมดไป ล้วนแต่มุ่งสร้างรัฐโลก ทงั้ สิน้ ในปัจจุบนั ได้มีการสร้างองค์กรต่างๆเหมือนรัฐโลกขนึ้ มา เช่น องค์การสหประชาชาติ เป็ นต้น ซ่งึ แม้จะไม่เหมือนรัฐโลกทเี ดียว แต่ก็ อาจเป็ นก้าวแรกท่จี ะนาไปสู่รัฐโลกได้ รัฐโลกจะต้องมีลักษณะ ดงั นี้ โลกคอื ประเทศเพยี งประเทศเดยี ว และรัฐเอกราชท่มี ีอย่ใู นปัจจุบัน จะ กลายเป็ นส่วนหน่ึงของรัฐโลก รัฐบาลกจ็ ะมเี พยี งรัฐบาลเดยี ว คอื รัฐบาลโลก

รูปแบบของรัฐ ประเภทของรัฐมี2 รูปแบบ ดงั น้ี 1. รัฐเด่ยี ว (Unitary State) รัฐเดี่ยว คือรัฐที่มีรัฐบำลกลำงเป็นองค์กรเดยี วที่มีอำนำจในกำรใช้ อำนำจอธิปไตยทงั้ ในด้ำนกำรบริหำร นิตบิ ญั ญตั ิ และตลุ ำกำร หำก จะมีกำรมอบอำนำจจำกสว่ นกลำงให้แก่ท้องถ่ิน 2. รัฐรวม (Composite State) รัฐรวมแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คอื สหพนั ธรัฐ และสมำพนั ธรัฐ 2.1 สหพนั ธรัฐ (Federal State) สหพนั ธรัฐ เป็ น แบบการรวมรัฐตัง้ แต่ 2 รัฐขนึ้ ไป มารวมกันเป็ นรัฐท่ใี หญ่ขนึ้ โดยมีกฎหมายรัฐธรรมนูญเป็ นกฎหมายสูงสุด โดยคงไว้ซ่งึ รัฐบาล 2 ระดบั คอื รัฐบาลกลาง และรัฐบาลมลรัฐ หรือรัฐบาล ท้องถ่นิ

รูปแบบของรัฐ ประเภทของรัฐมี2 รูปแบบ ดงั น้ี 2.2 สมาพนั ธรัฐ (Confederal State) สมาพนั ธรัฐ เป็ นการ รวมรัฐตงั้ แต่ 2 รัฐขนึ้ ไป โดยมีจุดมุ่งหมายช่ัวคราวเพ่ือกระทาการอย่างใดอย่าง หน่ึงซ่งึ ส่วนใหญ่แล้วจะรวมกันเพ่อื ทาการสงคราม การรวมกันนี้ รัฐท่ีมารวมกัน ต่างกย็ ังคมเป็ นรัฐโดยสมบูรณ์ไม่มีการตงั้ รัฐบาล ไม่มีการสร้างรัฐธรรมนูญ ไม่ มีระบบรัฐสภาและศาล การรับรองรัฐ (Recognition) กำรรับรองรัฐท่ีเกิดขนึ ้ นีต้ ้องเป็นไปด้วยควำมสมคั รใจ ไมใ่ ช่บงั คบั กำรรับรอง รัฐในสงั คมโลก แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท 1. การรับรองตามข้อเทจ็ จริง (De Facto Recognition) 2. การรับรองตามกฎหมาย (De Jure Recognition) มี 2 ประเภท คือ 2.1 การรับรองระหว่างรัฐต่อรัฐ 2.2 การรับรองโดยองค์การระหว่างประเทศ

หน้าท่ขี องรัฐ หน้าท่สี าคัญของรัฐท่ตี ้องกระทามี 2 ประการ 1. หนา้ ที่ภายในประเทศ 1.1 หนา้ ที่รักษาความสงบเรียบร้อยและความมน่ั คงภายใน 1.2 หนา้ ท่ีบริการและสวสั ดิการทางสงั คม 1.3 หนา้ ที่การพฒั นาเศรษฐกิจ สงั คมและการเมือง 2. หนา้ ท่ีภายนอกประเทศ 2.1 การรักษาเอกราชของชาติ 2.2 การรักษาผลประโยชน์ของชาติ 2.3 การรักษาเกียรติภมู ิของชาติ

หนา้ ท่ีของรัฐ หนา้ ท่ีสาคญั ของรัฐที่ตอ้ งกระทามี 2 ประการ 1. หนา้ ที่ภายในประเทศ 1.1 หนา้ ที่รักษาความสงบเรียบร้อยและความมน่ั คงภายใน 1.2 หนา้ ท่ีบริการและสวสั ดิการทางสงั คม 1.3 หนา้ ท่ีการพฒั นาเศรษฐกิจ สงั คมและการเมือง 2. หนา้ ท่ีภายนอกประเทศ 2.1 การรักษาเอกราชของชาติ 2.2 การรักษาผลประโยชนข์ องชาติ 2.3 การรักษาเกียรติภูมิของชาติ

สรุป มนุษยเ์ ป็นสตั วท์ ่ีมีเหตุผล เป็นสตั วก์ ารเมือง ไม่สามารถอยู่ อย่างโดดเดี่ยว จึงมารวมตัวกนั ด้วยสญั ชาตญาณหมู่ เพ่ือผลประโยชน์ร่วมกนั เพ่ือแก้ปัญหาความไม่เสมอภาคระหว่าง ปัจเจกบุคคลและกลุ่ม เพื่อออกกฎหมายควบคมุ ทาให้สงั คมเกิด ความสงบสขุ เป็นการควบคมุ กิเลสมนุษย์ ดงั ท่ีอริสโตเติ้ลกล่าวไว้ ว่า “มนุษยเ์ ป็นสตั วส์ งั คม” ดงั นัน้ รฐั คือการท่ีประชาชนมารวมตวั กนั อยู่อย่างถาวร ในดินแดนที่มีอาณาเขตแน่นอน มีรฐั บาลที่เป็ นอิสระมีอานาจ สงู สดุ ทงั้ กิจการภายในประเทศและนอกประเทศ ซึ่งรฐั นัน้ อาจจะ เป็นรฐั เดี่ยว หรือ สหพนั ธรฐั กไ็ ด้ ฯ

รัฐหมายถงึ ชุมชนทางการเมืองของประชาชน ท่อี าศัยอยู่รวมกันในดนิ แดนเดียวกันท่มี ีอาณาเขต แน่นอนและปราศจากการควบคุมจากรัฐภายนอก และต้ องมีรัฐบาลผ้ ูสร้ างกฎระเบียบและจัดสรร ทรัพยากรท่มี ีคุณค่าให้ประชาชนในรัฐอย่รู ่วมกันได้ อย่างมีความสุข จงึ จะเป็ นรัฐท่สี มบูรณ์



อานาจอธิปไตย อานาจอธิปไตยเป็ นอำนำจสงู สดุ ในกำรปกครองประเทศ อำนำจนีจ้ ะอยทู่ ี่บคุ คลหรือใครเป็ นเจ้ำของ ขนึ ้ อยกู่ บั ระบอบกำร ปกครองของประเทศนนั้ ๆ ความหมายของอานาจอธิปไตย จมุ พล หนิมพำนชิ ได้ให้ควำมหมำยไว้วำ่ อำนำจอธิปไตยคือ อำนำจรัฐท่ีจะออกกฎหมำยบงั คบั ให้เป็นไปตำมกฎหมำยแกท่ กุ คน ภำยในเขตแดนของรัฐ เป็ นอำนำจและเจตนำรมณ์สงู สดุ

อานาจอธิปไตย ความหมายของอานาจอธิปไตย โกวทิ วงศ์สุรวฒั น์ ได้ให้ความหมายของอานาจอธิปไตยไว้ว่า อานาจสูงสุดในการปกครองรัฐ ซึ่งทาให้รัฐมอี านาจบงั คบั ให้มกี ารปฏบิ ตั ิ ตามกฎหมาย และมีอานาจในการดาเนินกจิ การระหว่างประเทศ จรูญ สุภาพ ได้ให้ความหมายขออานาจอธิปไตย หมายถึง อานาจสูงสุดของรัฐในอนั ทจ่ี ะดาเนินกจิ การภายในได้โดยอสิ ระ ท้งั นี้ หมายรวมถึงการกาหนดนโยบายการปกครอง การบริหาร และดาเนิน กจิ การระหว่างประเทศ อานาจนีร้ าษฎรเป็ นเจ้าของและรัฐบาลเป็ นผู้ใช้ แทนราษฎรอกี ช้ันหน่ึง

 อานาจอธิปไตย (sovereignty) คอื ทรี่ วมอานาจที่ ผู้ปกครองหรือรัฐบาลได้ใช้เพอื่ การบริหารและปกครอง ประเทศ การทร่ี ัฐมอี านาจอธิปไตยนี่เอง ทาให้รัฐบาลมี อานาจเหนือองค์กรใดๆท้งั ปวงในสังคม ความหมายง่ายๆ ของอานาจอธิปไตยคอื การเป็ นอานาจสูงสุดในการ ปกครองประเทศ หรืออานาจทางกฎหมายทมี่ ลี กั ษณะ เบ็ดเสร็จเดด็ ขาด (final legal authority)

 คาว่าอานาจเดด็ ขาดของอานาจอธิปไตยน้ัน ถงึ แม้ว่าจะมีนกั รัฐศาสตร์กล่าวว่าเป็ นอานาจที่ไม่จากดั แต่แท้ทจี่ ริงแล้วเป็ น อานาจทจ่ี ากดั อยู่กบั เจตนารมณ์ของประชาชนผู้เป็ นเจ้าของ ประเทศ  กล่าวโดยสรุป อานาจอธิปไตยคอื “อานาจสูงสุดในการปกครอง ประเทศ ซึ่งเป็ นอานาจท่ีจะบงั คบั ให้ประชาชนภายในรัฐปฏบิ ตั ิ หรืองดเว้นปฏบิ ตั ิ และยงั ใช้ในการอ้างสิทธิเพอื่ ป้ องกนั ไม่ให้ กล่มุ อานาจอนื่ ๆ เข้ามามีอานาจเหนือพนื้ ทที่ รี่ ัฐน้ันๆ อ้างอานาจ อธิปไตยอยู่”

คาว่า “อานาจอธิปไตย” เริ่มใช้ในศตวรรษที่ 15 แต่ความคดิ เกย่ี วกบั เร่ืองนีไ้ ด้มมี าก่อนหน้านแี้ ล้ว เช่น Aristotle ใช้คาว่า Supreme Power ซ่ึงหมายถงึ อานาจสูงสุดในรัฐ รัฐหนึ่ง นอกจากนี้ นักกฎหมายโรมนั กไ็ ด้เคยพูดถงึ Fullness of Power หรืออานาจสมบูรณ์ของรัฐ

แนวความคดิ เร่ืองท่มี าของอานาจอธปิ ไตย แบ่งออกได้เป็ น 2 กลุ่มใหญ่ๆ ด้วยกนั คือ ทฤษฎีเทวสิทธ์ิ (หรือลัทธิเทพาธิปไตย-การ ปกครองโดยคนหรือประชาชน) และทฤษฎี สัญญาประชาคม (หรือลัทธิประชาธิปไตย) โดยลัทธิเทวสิทธ์ไิ ด้รับความนิยมลดลงไปมาก ในปัจจุบันเม่ือเปรียบเทยี บกบั ลัทธิ ประชาธปิ ไตย

ในศตวรรษท่ี 16 จงั โบแดง (Jean Bodin) ชาวฝร่ังเศส ใช้ทฤษฎนี ีใ้ นการ สนับสนุนอานาจของกษัตริย์ ในขณะท่ตี ้องการลด อานาจศาสนจกั รไปในตวั โบแดงซ่งึ อย่ฝู ่ าย กษัตริย์ได้คดิ ปรัชญาท่จี ะเพ่มิ อานาจกษัตริย์จงึ ให้ แนวความคดิ ว่าพระเจ้ามอบอานาจอธิปไตยให้แก่ กษัตริย์โดยตรง โดยท่กี ษัตริย์จะมีอานาจสูงสุดใน แผ่นดนิ

1. รัฐมีต้นกาเนิดมาจากเจตนารมณ์ของพระเจ้า โดยลทั ธินีเ้ ชื่อว่า พระเจ้าเป็ นผู้สร้างโลกและทุกๆ อย่าง รัฐกเ็ ป็ นผลติ ผลจาก พระเจ้าด้วยรวมถงึ มนุษย์ ซ่ึงเป็ นผลมาจากเจตนารมณ์ของ พระเจ้า 2. มนุษย์เป็ นองค์ประกอบในการสร้างรัฐ ไม่ได้เป็ นปัจจยั สาคญั ใน การสร้างรัฐ จากการทพี่ ระเจ้าได้สร้างมนุษย์ขนึ้ มานีเ้ อง มนุษย์จงึ เปรียบเสมอื นวตั ถุ เป็ นองค์ประกอบของรัฐ ไม่ได้มี ความสาคญั ในฐานะต้นกาเนิดหรือผู้สร้างรัฐ

3. ผู้ปกครองรัฐซ่ึงเป็ นมนุษย์ ได้รับอาณตั มิ าจากพระเจ้า ไม่ใช่จาก ประชาชน โดยเมือ่ พระเจ้าสร้างโลกเสร็จแล้วกม็ ีพระบัญชาให้ มนุษย์คนหนึ่งช่วยดูแลรัฐ รวมถงึ มนุษย์ ซ่ึงเป็ นส่ิงทพ่ี ระองค์ สร้างขนึ้ 4. ผู้ปกครองรัฐเปรียบเสมือนตวั แทนของพระเจ้า การละเมิดอานาจ รัฐจงึ มโี ทษและมีบาป เพราะถอื ว่าการละเมดิ ต่อตวั แทนของพระ เจ้าเป็ นการละเมดิ ต่อพระเจ้าโดยตรง 5. ประชาชนในรัฐจะต้องเชื่อฟังและเคารพผู้ปกครองรัฐโดยดษุ ฎี เพราะผู้ปกครองเป็ นตวั แทนของพระเจ้า มนุษย์จงึ ไม่สามารถ ปฏเิ สธ ต่อต้านหรือล่มล้างผู้ทพี่ ระองค์ได้ประทานอานาจในการ ปกครองได้

ทฤษฎีนีย้ งั แบ่งได้ออกเป็ น 2 ความคิด คือ ความคดิ แรกเชื่อว่าพระเจ้ามอบอานาจอธิปไตยให้เป็ นของ กษตั ริย์แต่เพยี งผู้เดยี วโดยมตสิ วรรค์ใครจะล่วงละเมิดมไิ ด้ หาก ผู้ปกครองเป็ น ทรราช จะถอื ว่าเป็ นบาปของมนุษย์เอง มนุษย์จงึ ต้องรับกรรมต่อไป ไม่สามรถปลดกษตั ริย์ผู้ได้รับอาณตั มิ าจาก พระเจ้าได้ แนวความคดิ ท่ีสองคอื อานาจอธิปไตยเป็ นของพระเจ้าและพระ เจ้าไม่ได้มอบอานาจอธิปไตยให้ใครคนใดคนหน่ึง แต่มนุษย์จะ เลอื กผู้ทท่ี าหน้าทใี่ ช้อานาจอธิปไตยตามเจตจานงของพระผู้เป็ น เจ้า ซึ่งแนวคดิ หลงั นีใ้ กล้เคยี งกบั แนวความคดิ สัญญาประชาคม ในสมยั ต่อมา

ความคดิ ท่ี 2 เราจะพบจากแนวคดิ ในศตวรรษที่ 17 ของ โธมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbs) นกั รัฐศาสตร์ชาวองั กฤษเป็นผสู้ นบั สนุนพระเจา้ ชาร์ลท่ี 1 และเห็นดว้ ยกบั การปกครองระบอบสมบรู ณาญาสิทธิราชย์ ได้ อธิบายเรื่องอานาจอธิปไตยไวก้ วา้ งขวางกวา่ ของโบแดง โดยเขียน ไวใ้ นหนงั สือเร่ือง Leviathan ในหนงั สือเล่มน้ี โธมสั ฮอบส์ ไดอ้ า้ ง วา่ การใชอ้ านาจน้ีไม่จาเป็นตอ้ งอยภู่ ายใตก้ ฎเกณฑข์ อ้ บงั คบั ใด ๆ และพระมหากษตั ริยซ์ ่ึงเป็นผใู้ ชเ้ จตนารมณ์ของพระองคใ์ นการ ปกครองประเทศน้ีเท่ากบั เป็นการใชอ้ านาจอธิปไตย

ทฤษฎนี ีเ้ ชื่อกนั ว่า อานาจอธิปไตยเป็ นของปวงชน ซ่ึงเป็ นทน่ี ิยมกนั มากในปัจจุบัน และมอี ทิ ธิพลแทนทท่ี ฤษฎเี ทวสิทธ์ิมากขนึ้ ทุกที

แนวคดิ นีเ้ ป็ นแนวคดิ ของ จอห์น ลอ็ ค (John Lock) นักรัฐศาสตร์ชาวองั กฤษได้เขยี นเร่ืองอานาจอธิปไตย ไว้ในหนังสือ The second treatise of civil government โดยอธิบายคาว่าอานาจอธิปไตย (Sovereignty) ควรจะ อยู่กบั สภานิตบิ ัญญตั ิ ซ่ึงเป็ นตวั แทนของปวงชนคอย ป้ องกนั และทกั ท้วง เมอ่ื เห็นว่ารัฐบาลน้ันเข้ามาขดั ขวาง หรือสอดแทรกในสิทธิเสรีภาพส่ วนบุคคล

และอกี แนวคดิ หน่ึงในแนวคดิ สัญญา ประชาคม คอื ฌอง ฌาคส์ รุสโซ (Jean Jacques Rousseau) นักรัฐศาสตร์ชาวฝร่ังเศสมคี วามเห็นว่าอานาจ อธิปไตยเป็ นของประชาชน ตัวแทนของประชาชนคอื รัฐบาล รัฐบาลจะมอี านาจมากน้อยเพยี งใดน้ันอยู่ทอี่ านาจ อธิปไตยซึ่งประชาชนเป็ นผู้มอบให้ และต้องแสดง เจตนารมณ์ไปตามทปี่ ระชาชนต้องการ

1. รัฐเกดิ มาจากมนุษย์หรือประชาชนทมี่ ีเจตจานงร่วมกนั โดย รัฐไม่ได้เกดิ จากพระเจ้าหรือการสร้างของผู้นาหรือบุคคลคน เดยี ว แต่รัฐมาจากความจานงของมนุษย์เพอ่ื อยู่ร่วมกนั 2. มนุษย์ทร่ี ่วมกนั ทาสัญญาประชาคม เป็ นผลทาให้เกดิ รัฐ ด้วย เหตุนีร้ ัฐจงึ เป็ นสมบตั ขิ องประชาชนทุกคนทเ่ี ข้ามาทาสัญญา ร่วมกนั ตรงนีจ้ ะสังเกตว่าแตกต่างจากทฤษฎเี ทวสิทธ์ิ เพราะใน ทฤษฎเี ทวสิทธ์ิจะมองว่ามนุษย์เป็ นแค่องค์ประกอบ ไม่ใช่ปัจจยั หลกั ในการสร้างรัฐเหมอื นในทฤษฎสี ัญญาประชาคมนี้

3. สัญญานีม้ ีผลผูกพนั กบั ประชาชนและผู้ปกครอง ด้วยเหตุที่ ประชาชนเป็ นเจ้าของรัฐนเี้ อง ประชาชนจงึ ร่วมกนั เลอื ก ผู้ปกครอง ซึ่งเป็ นการสัญญาระหว่างประชาชนและผู้ปกครอง 4. สัญญานีท้ าให้เกดิ รัฐและรัฐบาล โดยสัญญาที่ประชาชนทานี้ ผูกมัดผู้ปกครอง และมีส่วนทาให้เกดิ รัฐและรัฐบาล 5. รัฐและรัฐบาลต้องใช้อานาจอธิปไตยตามเจตจานงของ ประชาชนผู้ร่วมทาสัญญา ท้งั นีห้ ากผู้ปกครองไม่ทาตาม เจตจานงของประชาชนผู้เป็ นเจ้าของรัฐ ประชาชนสามารถปลด ผู้ปกครองออกได้ เน่ืองจากละเมดิ สัญญา

การแบ่งแยกอานาจอธิปไตย มองเตสกเิ ออร์ (Montesquieu) นักปรัชญาชาวฝรั่งเศสได้กล่าวถึงการแบ่งแยกอานาจอธิปไตย ออกเป็ น 3 ส่วน มองเตสกเิ ออร์ ได้เขียนไว้ในหนังสือเล่มหน่ึงในปี ค.ศ. 1784 ชื่อว่า “เจตนารมณ์ของกฎหมาย” (L’ sprit de Lois) 1. อานาจนิติบัญญัติ คอื อานาจในการออกกฎหมาย 2. อานาจปฏบิ ัตกิ ารเกย่ี วกบั กจิ การตามกฎหมายมหาชน 3. อานาจปฏิบัติการเกย่ี วกบั กจิ การตามกฎหมายแพ่ง เป็ น อานาจในการลงโทษบุคคล ดังน้ันจะเห็นว่าแนวคดิ ของ มองเตสกเิ ออร์ เป็ นต้นแนวคดิ ของ การบ่งอานาจ และแบ่งองค์กรตามหน้าทข่ี องการใช้อานาจ

แยกอานาจอธิปไตยในแง่ของการใช้ออกได้เป็ น 5 ประเภทดงั นี้ 1. อานาจอธิปไตยทางกฎหมาย (Legal Sovereignty) หมายถงึ อานาจสูงสุดในการออกกฎหมายใช้บงั คบั ภายในรัฐ คาว่า Legal Sovereignty หรือ อานาจอธิปไตยทางกฎหมายนี้ จอห์น ออสตนิ (John Austin) ชาวองั กฤษเป็ นผู้นามาใช้เป็ นคนแรก เขาได้อธิบายว่า สภาผู้แทนราษฎรองั กฤษเป็ นผู้มีอานาจอธิปไตยตามกฎหมายเพราะ เป็ นองค์การเดยี วทมี่ ีอานาจออกกฎหมายได้ และกฎหมายทผ่ี ่านสภา แล้วจะไม่มอี งค์การอนื่ ใดบอกเลกิ ล้มล้างได้ ฉะน้ันอานาจอธิปไตยทาง กาหมายจึงเป็ นเรื่องของรัฐสภา

2. อานาจอธิปไตยทางการเมือง (Political Sovereignty) คอื อานาจอธิปไตยทม่ี าจากการมสี ่วนร่วมทางการเมอื งของประชาชน เช่น การออกเสียงเลอื กต้งั การกาหนดผู้เข้าแข่งขันและตวั บุคคลทจ่ี ะ เข้าไปดารงตาแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพอ่ื จะเข้าไปใช้อานาจ อธิปไตยทผ่ี ่านทางกฎหมาย ดงั น้ันในประเทศประชาธิปไตย อานาจ อธิปไตยทางกฎหมายและอานาจอธิปไตยทางการเมืองจงึ สอดคล้อง ไปในทางเดียวกนั กค็ อื รัฐสภา แต่ในประเทศเผด็จการอาจจะเป็ นคน ละฝ่ ายกไ็ ด้ หากประเทศเผดจ็ การมผี ู้ปกครองผู้เป็ นเผด็จการใช้อานาจ อย่างแท้จริง ในขณะท่อี านาจอธิปไตยทางการเมอื งของประชาชนไม่ สามารถมผี ลทางกฎหมาย

3. อานาจอธิปไตยตามข้อเทจ็ จริง(De Facto Sovereignty) ลกั ษณะของการเกดิ อานาจอธิปไตยตามข้อเทจ็ จริงหรือตาม พฤตนิ ัย สรุปได้ดงั นี้ • เกดิ การปฏวิ ตั ิหรือรัฐประหารเกดิ ขนึ้ • คณะปฏิวตั หิ รือคณะรัฐประหารสามารถล้มล้างอานาจ อธิปไตยตามกฎหมายและสามารถรักษาความสงบ ภายในประเทศไว้ได้ • ประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศให้ความเคารพเช่ือฟังต่อ คณะผู้ปกครองใหม่ • นานาประเทศให้การรับรองคณะรัฐบาลชุดใหม่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook