Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 57 Public Administration Kanyawan 2203101

57 Public Administration Kanyawan 2203101

Description: 57 Public Administration Kanyawan 2203101

Search

Read the Text Version

 ลทั ธิทุนนิยมเป็ นระบบเศรษฐกจิ (ไม่ใช่ระบบการเมอื ง) ที่ เกดิ ขนึ้ และพฒั นามาต้งั แต่สมยั ศตวรรษที่ 19 องค์ประกอบของระบบทุนนิยมทจี่ ะกล่าวต่อไปนีไ้ ด้ ปรากฏอยู่ในผลงานของอาดมั สมทิ (Adam Smith) ท่ี เขยี นเอาไว้ในหนังสือเรื่อง Inquiry into the Nature and Causes of the Wealth of Nations หรือเป็ นทร่ี ู้จักกนั ใน นาม The Wealth of Nations

มีคุณลักษณะ 5 ประการด้วยกันคือ 1. เป็ นระบบเศรษฐกจิ 2. ประชาชนสามารถมีกรรมสิทธ์ิในทรัพย์สนิ 3. มีการแข่งขันเสรี 4. มีระบบเศรษฐกิจแบบตลาด 5. มีอิสระในการบริหาร ลัทธินีเ้ กิดขนึ้ มาเพ่ือต่อต้าน ระบบพานิชยนิยม(mercantilism) คอื ระบบเศรษฐกิจท่อี ย่ภู ายใต้ทฤษฎคี วามม่ันคงของรัฐขนึ้ อยู่กบั ทองคาเงนิ และโลหะอ่ืนๆ ซ่งึ รัฐบาลจะเป็ นผู้ควบคุมระบบ เศรษฐกจิ ทงั้ หมด เพ่อื การหามาซ่งึ โลหะมีค่า ซ่งึ ทงั้ นีค้ วามม่ังค่งั จะ กระจุกอย่ทู ่รี ัฐบาลและพนั ธมิตรของรัฐบาลเพยี งกลุ่มเดยี วเท่านัน้

 คานีถ้ ูกนามาใช้เป็ นครัง้ แรกโดยโรเบริ ์ต โอเวน (Robert Owen) ชาวองั กฤษ ตามประวัตแิ ล้วเขาคนนีเ้ ดมิ ทเี ป็ น เจ้าของโรงงานอุตสาหกรรมและได้กลายเป็ นนักปฏริ ูปสังคม และตงั้ ขบวนการ สหกรณ์ขนึ้ เขาเสนอว่ากระบวนการผลติ และกจิ การการผลติ ควรให้ผู้ใช้แรงงานร่วมกันเป็ นเจ้าของ ซ่งึ แนวคดิ นีไ้ ด้ถูกนาไปใช้ในฝร่ังเศส และต่อมากแ็ พร่หลายไปยงั ประเทศอ่ืนๆ ในยุโรปและสหรัฐอเมริกา ระบบสังคมนิยมนีก้ ็ คือ เป็ นระบบเศรษฐกิจท่มี ีการวางแผนจากส่วนกลางเพ่อื ผลประโยชน์ของชุมชนโดยส่วนรวม ระบบนีถ้ ือได้ว่าเกดิ ขนึ้ มา เพ่อื คัดค้านระบบเศรษฐกจิ แบบทนุ นิยม

สังคมนิยมมีองค์ประกอบดงั นี้ 1. มกี ำรวำงแผนเศรษฐกิจจำกสว่ นกลำงหรือรัฐบำล 2. เอกชนจะได้ผลตอบแทนทำงเศรษฐกิจโดยสว่ น เฉลย่ี ตำมผลงำนของแตล่ ะคน 3. รัฐบำลเข้ำมำควบคมุ กิจกำรท่เี ก่ียวข้องกบั สำธำรณปู โภคของประชำชน

ก. สังคมนิยมแบบอุดมคติ : แนวคดิ นีไ้ ด้รับอทิ ธิพล จากข้อเขียนของธอมัส มอร์ (Thomas More) ในหนังสือช่ือ ยูโธเปี ย (Utopia) แต่ง ขนึ้ ในปี ค.ศ.1516 โดยเป็ นช่ือเกาะท่สี ร้างขนึ้ ใน จนิ ตนาการซ่งึ มีระบบการเมืองสมบูรณ์ท่ดี ี หนังสือ เล่มนีม้ ีอิทธิพลมากจนกระท่งั ช่ือหนังสือได้ กลายเป็ นศัพท์ท่มี ีความหมายในภาษาอังกฤษไป ด้วย คือ หมายถงึ การสร้างจนิ ตนาการ หรือวาด ภาพสภาพสังคมท่เี ลอเลศิ

แนวคิดแบบอุดมคตนิ ีม้ ีลักษณะดงั นีค้ ือ ◦ต่อต้านการมีทรัพย์สนิ เป็ นเจ้าของส่วนตัว และ ต่อต้านการท่ผี ู้มีทรัพย์และต่อต้านการท่ผี ู้มี ทรัพย์สนิ ส่วนตัวมากเอาประโยชน์จากผู้ยากจน ◦ต้องการให้สังคมเป็ นเจ้าของทรัพย์สินหรือความ ม่ังค่ังต่างๆ ◦ ต้องการให้เกิดความสามัคคีกลมเกลียวกันในกร ดาเนินชีวิตภายในสังคม

◦ถอื ว่า การชักชวนให้คนหนั มานิยมสังคมนิยมด้วย วธิ ีการให้การศกึ ษาอย่างท่วั ถงึ ◦ความเช่ือในวิศวกรรมทางสังคม (social engineering) คือมีการใช้ความรู้ทาง สังคมศาสตร์เพ่อื จัดระบบทางสังคมให้เหมาะสม ◦มีแนวคิดคล้ายเสรีนิยม แต่ถือว่ายังไม่เพยี งพอ คือต้องมีอุดมการณ์สังคมนิยมโดยเฉพาะและมุ่ง ให้ แพร่ หลายโดยการให้ การศึกษา

 ข. สังคมนิยมแบบมาร์กซ์ (Marxian Socialism) : สังคมนิยมแบบนีเ้ ป็ นแบบท่ตี ้องการ ให้ส่วนกลาง (รัฐ) หรือ social state มีบทบาทมาก ท่สี ุด กล่าวคือ ต้องการให้ทรัพย์สนิ ไม่ว่าจะเป็ นท่ดี นิ การ ผลิตและผลผลิต การค้าขาย ถอื ว่า เป็ นของกลางท่ี จะต้องดาเนินการหรือจดั การโดยรัฐ ซ่งึ ถอื ได้ว่าเป็ นหลัก ทฤษฎีคอมมวิ นิสต์อนั ถอื ได้ว่าเป็ นสังคมนิยมประเภท หน่ึง ลักษณะสาคัญอกี อย่างหน่ึงกค็ อื การท่มี าร์กซ์ ต้องการให้เกดิ การปฏวิ ัตเิ พ่อื เข้าสู่สภาพสังคมนิยมเตม็ รูปแบบโดยเร็ว ทงั้ นีโ้ ดยเน้นการต่อสู้ระหว่างชนชัน้ เพ่อื ได้มาซ่งึ ระบบสังคมนิยม

 ค. สังคมนิยมแบบประชาธิปไตย (Democratic Socialism) : คอื การผสมผสานหลกั การเมอื งการปกครองแบบประชาธิปไตยเข้ากบั ระบบเศรษฐกจิ ที่รัฐหรือรัฐบาลมีอานาจจากดั เสรีภาพทางเศรษฐกจิ ของเอกชนบางประการด้วยการเข้าดาเนินการเองบางส่วน เพอ่ื ประโยชน์ส่วนรวม ในระบบนีเ้ ท่าทปี่ ฏบิ ตั กิ นั อยู่ในหลายประเทศ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ประเทศองั กฤษได้ให้ความสาคญั กบั ประชาชน ท้งั หลายโดยไม่แยกช้ันวรรณะ แต่พร้อมกนั น้ันกส็ นับสนุนให้ผู้ทใ่ี ช้ แรงงานได้มีบทบาททางเศรษฐกจิ เช่น ได้รับการปฏบิ ัตทิ เ่ี ป็ นธรรม สามารถดูแลรักษาผลประโยชน์ของตนได้ และมอี านาจทางการเมอื ง การปกครองด้วยการรวมตวั กนั ขนึ้ เป็ นพรรคการเมือง และมีโอกาส จัดต้งั รัฐบาลได้

 ผู้วางรากฐานแห่งอุดมการณ์คอมมวิ นิสต์คือ คาร์ล มาร์กซ์ (Karl Marx) เป็ นชาวเยอรมันเชือ้ สายยวิ ในระหว่างท่ี เป็ นนักศกึ ษา มาร์กซ์ได้คุ้นเคยกับความคดิ ของ ฟรีดริค เฮเกล (Friedrich Hegel) เฮเกลได้รับการยกย่องว่าเป็ นผู้ สถาปนาสานักปรัชญาอุดมคตนิ ิยมยุคใหม่ (Modern Idealism) ซ่งึ ถอื ว่าความคดิ เป็ นโครงสร้างส่วนล่าง ซ่งึ มี อทิ ธิพลต่อความเป็ นไปของโครงสร้างส่วนบน อันได้แก่ สภาวะ ทางเศรษฐกจิ สภาวะทางสังคมและวัฒนธรรม รวมทงั้ สภาวะ ทางด้านการเมืองการปกครอง

 แต่มาร์กซ์ซ่งึ ได้รับอทิ ธิพลจากแนวคดิ บางอย่างของเฮ เกิลกลับมองภาพกลับกัน กล่าวคือ มาร์กซ์เหน็ ว่า สภาวะ ทางวตั ถุต่างๆ โดยเฉพาะเร่ืองราวทางเศรษฐกจิ มลี กั ษณะ เป็ น โครงสร้างส่วนล่างซ่งึ มีอทิ ธิพลต่อความคิดและความ เช่ือนานาประการอนั เป็ นโครงสร้างส่วนบน มาร์กซ์เขียน หนังสือเร่ือง ถ้อยแถลงแห่งคอมมิวนิสต์ หรือ คาประกาศ แห่งคอมมิวนิสต์ (Communist Manifesto) เขียนร่วมกบั เพ่อื นสหายของเขาคอื แองเกลส์ ซ่งึ หนังสือ เล่มนีน้ ับได้ว่ามอี ิทธิพลต่ออุดมการณ์และขบวนการ คอมมิวนิสต์และมีอทิ ธิพลต่อการก่อตัวของการปฎวิ ัตใิ น รัสเซยี ในปี 1917

1. การยดึ ทด่ี นิ เป็ นของรัฐและการใช้ค่าเช่าจากทด่ี นิ เหล่าน้ันเพอื่ เป็ นค่าใช้จ่ายของรัฐระหว่างทย่ี งั ไม่บรรลคุ วามเป็ นสังคม คอมมวิ นสิ ต์ 2. ภาษเี งนิ ได้เกบ็ ในอตั ราส่วนทสี่ ูงขนึ้ เมอ่ื มรี ายได้สูงขนึ้ หรือที่ เรียกว่าภาษีก้าวหน้า (progressive tax) 3. ยกเลกิ สิทธิในมรดก 4. ให้มศี ูนย์กลางสินเช่ือ โดยการจดั ต้งั ธนาคารของรัฐ

5. กจิ การขนส่งเป็ นของรัฐ 6. ให้รัฐเป็ นเจ้าของโรงงานมากยง่ิ ขนึ้ และให้มีการ แบ่งสรรท่ดี นิ ใหม่ 7. ให้เป็ นหน้าทข่ี องทุกคนทจี่ ะต้องทางาน 8. ให้มกี ารศึกษาของรัฐแก่ทุกคนและไม่ให้มกี าร ใช้แรงงานเดก็

 สาระสาคัญเก่ียวกับลัทธิคอมมิวนิสต์หรือทฤษฎี มาร์กซสิ ต์ (Marxist) คือ “วภิ าษวธิ ีทางวัตถุ” หรือ “วัตถนุ ิยมเชิงวิภาษ” หรือ “วัตถนุ ิยมวภิ าษ วธิ ี” (Dialectical Materialism) ซ่งึ มี ความเหน็ ว่า ส่งิ ท่มี ีอิทธิพลเหนือชีวิตมนุษย์มาก ท่สี ุด คือ “วัตถุ” ส่วน “จติ ” หรือ “ความคดิ ” จะ ได้รับอทิ ธิพลจากสภาวะทางวัตถุ ดังนัน้ ความดีหรือ ความช่ ัวในทฤษฎีของมาร์ กซ์ จะตีค่ าออกมาในรูป ของวัตถุ

 ลทั ธิวตั ถุนิยมนีถ้ อื ว่าส่ิงทที่ าให้มนุษย์มคี วามสุขกค็ อื การ มปี ัจจัยทางเศรษฐกจิ ดี ดงั น้ันสภาพทางเศรษฐกจิ จงึ มี บทบาทมากทสี่ ุดในชีวติ มนุษย์ ส่วนอารมณ์ ความรู้สึก ความรัก จินตนาการ ปรัชญา ความเชื่อ หรือศรัทธามไิ ด้มี ความหมายสาคญั ต่อมนุษย์ในสายตาของลทั ธินี้ ซึ่งจะ ตรงกนั ข้ามกบั หลกั การของศาสนาต่างๆ ทเ่ี น้น “จิตนิยม” ไม่ใช่ “วตั ถุนิยม”

มาร์กซ์ใช้ศพั ท์ “วภิ าษวธิ ี” ตามการใช้ของเฮเกลิ ท่หี มายถงึ การอธิบายการเปล่ียนแปลงหรือปรากฎการณ์ต่างๆ โดยกระบวนการ 3 อย่าง ดงั นี้ คอื 1. Thesis ได้แก่ ส่ิงท่มี ีหรือเป็ นอย่แู ล้ว 2. Antithesis ได้แก่ ส่งิ ท่ตี รงกนั ข้ามหรือขัดแย้งกบั ส่งิ ท่มี ีหรือเป็ นอยู่แล้ว 3. Synthesis ได้แก่ ผลแห่งการปะทะกนั ของ 2 ส่งิ แรก จุดประสงค์ของอุดมการณ์คอมมวิ นิสต์คือ มุ่งก่อตงั้ สังคมไร้ ชนชัน้ โดยท่ปี ัจจยั การผลิต การกระจายจ่ายปัน และ การแลกเปล่ียนทุกชนิดจะเป็ นของประชาคมรัฐ



คาร์ล ดบั เบลิ ยู ดอยช์ (Karl W. Deutsch 1978:11) ให้ความหมายไว้ว่า ความสัมพนั ธ์ระหว่าง ประเทศ ประกอบด้วยพฤตกิ รรมและการกระทาของรัฐท่มี ี ต่อกนั โดยปราศจากการควบคุมอย่างเพยี งพอ สุรชัย ศริ ิไกร (2550:2) ได้ให้ความหมายไว้ว่า เป็ น การแลกเปล่ียนและปฏสิ ัมพนั ธ์ท่เี กดิ ขนึ้ ข้ามพรมแดนของ รัฐ

ความหมาย (ต่อ) ไมเคิล จี รอสคิน และนโิ คลาส โอ เบอรร์ ี (Michael G. Roskin & Nicholas O. Berry) ใหค้ วามหมาย ไวว้ ่า เป็ นปฏสิ มั พนั ธ์ระหว่างรฐั เค เจ โฮลสติ (K.J.Holsti)หมายถงึ ปฏสิ มั พนั ธ์ หลากหลายรปู แบบระหว่างสมาชกิ ในสงั คมต่าง ๆ โดย อาจเป็ นสมาชกิ ที่รฐั สนบั สนุน และรฐั ไม่สนบั สนุนกไ็ ด้

จากความหมายที่กล่าวมาทง้ั หมดขา้ งตน้  สรปุ ไดว้ ่า ความสมั พนั ธ์ระหว่างประเทศหมายถงึ การแลกเปลยี่ น (Exchange) และการปฏสิ มั พนั ธ์ (Interaction)ท่ีเกดิ ข้ึนขา้ มพรมแดน ในช่วงเวลาใดเวลาหนึง่ โดยรฐั เอง หรอื ตวั แสดงใด ๆ ท่ีไม่ใช่รฐั ในรปู แบบที่ เป็ นทางการและไม่เป็ นทางการ เพอื่ วตั ถปุ ระสงคท์ างการเมืองหรอื วตั ถปุ ระสงค์ อน่ื ๆ โดยความสมั พนั ธ์ท่ีเกดิ ข้ึนจะเป็ นไปไดใ้ นดา้ นความสมั พนั ธ์ที่ดรี ่วมมือ กนั หรอื ความสมั พนั ธ์ในลกั ษณะขดั แยง้ กนั ในมิตทิ างการเมือง การทหาร การ ทูต เศราฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม มิติใดมิติหน่งึ หรอื หลายมิติพรอ้ ม ๆ กนั

การปฏสิ ัมพนั ธ์ทีเ่ กดิ ขึน้ ข้ามพรมแดนของรัฐ จึงมลี กั ษณะคล้ายเหรียญ สองด้าน ซ่ึงประกอบด้วยลกั ษณะสาคญั ดังต่อไปนี้ 1.ความสัมพนั ธ์อย่างเป็ นทางการหรือไม่เป็ นทางการ - อย่างเป็ นทางการ คอื ความสมั พนั ธท์ ี่เกิดจากการกระทาโดย รัฐบาล หรือ ตวั แทนโดยชอบธรรมของรัฐบาล เช่นความสมั พนั ธ์ทางการ ทูต การประชุมสุดยอด การทาสนธิสญั ญาระหวา่ งรัฐ - อย่างไม่เป็ นทางการ คอื การกระทาท่ีมิใช่เกิดจากรัฐ เช่น การก่อ การร้าย การบ่อนทาลาย การลกั ลอบคา้ สินคา้ ผดิ กฎหมาย เป็นตน้

2. ความสัมพนั ธ์ในลกั ษณะความร่วมมอื หรือความขัดแย้ง ความสัมพนั ธ์ในลกั ษณะความร่วมมือ เช่น การเป็ นพนั ธมติ ร การให้ ความช่วยเหลอื ทางเศรษฐกจิ การแลกเปลยี่ นวฒั นธรรม เป็ นต้น ความร่วมมือในลกั ษณะความขดั แย้ง เช่น การก่อการ้าย สงคราม การ แทรกแซงบ่อนทาลาย และการขยายจกั รวรรดนิ ิยม 3. ความสัมพนั ธ์ในลกั ษณะเข้มข้นรุนแรงหรือห่างเหิน ความสัมพนั ธ์ใน ลกั ษณะเข้มข้นรุนแรงมีท้งั ด้านความร่วมมือและความขดั แย้ง เช่น การ เป็ นพนั ธมติ รทแ่ี นบแน่น การลอบสังหารผู้นารัฐบาลของอกี รัฐหน่ึง และการตดั สัมพนั ธ์ทางการทูต เป็ นต้น ความห่างเหิน เช่น การลง โฆษณาโจมตกี นั ช่ัวคราว การส่งนักการทูตไปประจาในประเทสอนื่ ๆ พอ เป็ นพธิ ี เป็ นต้น ดังน้ันจะเห็นได้ว่า ความสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศเปรียบเหมือนเหรียญ สองด้าน อย่างเห็นได้ชัดจากทก่ี ล่าวมาข้างต้น

ขอบเขตความสมั พนั ธ์ระหว่างประเทศ ความสมั พนั ธ์ระหว่างประเทศมีขอบเขตกวา้ งขวางซง่ึ ครอบคลมุ ประเดน็ ต่าง ๆ ดงั ต่อไปน้ี 1.ความสมั พนั ธ์ทางการเมือง (การเมืองระหว่างประเทศ) 2.ความสมั พนั ธ์ทางเศรษฐกจิ 3.ความสมั พนั ธ์ทางสงั คม 4.ความสมั พนั ธ์ทางกฎหมาย(กฎหมายระหว่างประเทศ) 5.ความสมั พนั ธ์ดา้ นวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ขอบเขตของความสัมพนั ธ์เก่ียวข้องกบั เร่ืองต่อไปนี้  ควำมสมั พนั ธ์ทำงสงั คม เป็ นควำมสมั พนั ธ์ระหวำ่ งประเทศที่มี วตั ถปุ ระสงค์ เชน่ กำรแลกเปลยี่ นทำงวฒั นธรรมกำรศกึ ษำ กำรศำสนำ กำรทอ่ งเท่ียว กิจกรรมท่ีได้ดำเนนิ กำร เช่น กำรแลกเปล่ยี น ทนุ กำรศกึ ษำ กำรแสดงนำฏศลิ ป์ ของแตล่ ะประเทศไปเผยแพร่ตำม ประเทศอ่ืน  ควำมสมั พนั ธ์ทำงกำรเมือง เป็ นควำมสมั พนั ธ์ระหวำ่ งประเทศท่ี เกี่ยวข้องกบั ผลประโยชน์ระหวำ่ งประเทศ เช่น กำรทตู กำรทหำร กำร แทรกแซงทำงกำรเมือง กำรกำหนดนโยบำยระหวำ่ งประเทศ

 ความสัมพนั ธ์ทางเศรษฐกจิ เป็ นความสัมพนั ธ์ท่ี เก่ยี วข้องกบั การ “แลกเปล่ียน” ทรัพยากร หรือ บริการ เช่นการซอื้ ขาย การกู้ยืม ประเทศไทยมีความต้องการด้าน อุตสาหกรรม และเทคโนโลยีใหม่ ในขณะเดียวกนั ประเทศทางยุโรปต้องการวตั ถุดบิ และนา้ มนั จาก ตะวนั ออกกลาง ความสัมพนั ธ์ทางเศรษฐกิจ รวมถงึ การ ตงั้ กฎเกณฑ์ในเร่ืองภาษีศุลกากร รวมทงั้ การปิ ดล้อมทาง เศรษฐกจิ

ความสัมพันธ์ทางกฎหมาย เม่ือความสัมพันธ์ระหว่างพรมแดน มากขนึ้ ปัญหาหรือการกาหนดส่ิงท่ปี ฏบิ ตั ริ ่วมกนั ต้องเกิดขึน้ เช่น เกดิ สัญญา กตกิ า หรือข้อตกลงเก่ยี วกับน่านนา้ สากล ระหว่างไทยกับเวียดนาม เป็ นต้น ความสัมพันธ์ทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี เป็ นความสัมพนั ธ์ท่มี ี วัตถุประสงค์ในการแลกเปล่ียนพัฒนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยใี นการใช้ประโยชน์ร่วมกนั ในการแก้ปัญหาของ ชาวโลก เช่น การส่งเสริมค้นคว้า ทดลองด้านวิทยาศาสตร์ในการ ป้ องกันโรคมะเร็ง หรือการประชุมสัมมนาด้านวิทยาศาสตร์ ระหว่างประเทศ

แนวคดิ ทฤษฎคี วามสมั พนั ธ์ระหว่างประเทศ แนวคดิ ทฤษฎที ี่สาคญั ๆ ดงั น้ี 1. แนวคดิ อดุ มคตนิ ิยม (Idealism) เป็ นแนวทางการศึกษา การเมืองในแง่ศีลธรรมหรือจริยธรรม เป็ นแนวคดิ ทเ่ี สนอแนะสิ่ง ทคี่ วรจะเป็ นมากกว่าการทาความเข้าใจ 2. แนวคดิ สัจนิยม (Realism) หรือ อานาจนิยม แตกต่างจากแนวคดิ อดุ มคตนิ ิยม ท้งั นีเ้ พราะนักคดิ แนวสัจ นิยมพจิ ารณาความเป็ นจริงทเ่ี กดิ ขนึ้ ในโลกเป็ นหลกั มองโลกใน แง่ร้ายและไม่พยายามแนะหลกั การทางปรัชญาหรือศีลธรรมเพอ่ื เปลยี่ นแปลงโลก แต่ได้พจิ ารณาตามหลกั ความเป็ นไปในโลก และ เสนอแนะแนวทางในการปรับตวั ตามสภาพความเป็ นจริง เพอ่ื ผลประโยชน์ของชาตเิ ป็ นสาคญั

ดงั น้ัน แนวคดิ สัจนิยม เช่ือว่าทุกรัฐดาเนินการใด ๆ เป็ นไปเพอ่ื รักษาผลประโยชน์ของชาติ โดยอาศัยข้อมูลทาง ประวตั ิศาสตร์ ความเป็ นจริงในความสัมพนั ธ์ระหว่าง ประเทศและแต่ละชาติพยายามส่ งเสริมอานาจของตนโดย วธิ ีต่าง ๆ รักษาอานาจหรือขยายอานาจ อานาจเป็ นเงื่อนไข สาคญั ในการกาหนดนโยบาย การเข้าใจฐานอานาจของรัฐ จะช่วยให้เข้าใจนโยบายของรัฐน้ันด้วย

3. แนวคดิ สัจนิยมใหม่ (Neo-Realism) เคน็ เนธ็ วอลทธ์ (Kenneth N. Waltz) ในปี ค.ศ. 1979 ซึ่งเรียก ได้ว่าเป็ นแนวคดิ ทแี่ ตกแขนงมาจากแนวคดิ สัจนิยม แนวคดิ สัจนิยมใหม่ ในภาวะอนาธิปไตย (Anarchy) ระหว่าง ประเทศ คอื การทปี่ ราศจากรัฐบาล กฎหมาย กฎเกณฑ์ หรือการ บงั คบั บญั ชาทจ่ี ะควบคุมพฤตกิ รรมของรัฐ เพราะรัฐเป็ นผู้แสดง บทบาททสี่ าคญั และจะเข้ามามบี ทบาทในการรักษาความมัน่ คง ปลอดภยั ในแง่ความร่วมมอื เป็ นหลกั แต่กย็ งั เปิ ดทางให้องค์การ ระหว่างประเทศ ได้เข้ามามีบทบาทในเรื่องความมนั่ คงปลอดภยั ทาง การทหาร ส่วนองค์การระหว่างประเทศ ด้านเศรษฐกจิ การค้า และ การลงทุนน้ันจะไม่มบี ทบาทมากนัก

4. แนวคดิ เสรนี ยิ ม(Liberalism) จอหน์ ล็อก (John Locke) กลา่ วถึง รฐั บาลวา่ ทา หนา้ ทรี่ บั ประกนั เสรภี าพของพลเมอื ง สรา้ งความอยดู่ กี ินดี และสามารถ ดารงชวี ติ อยา่ งอสิ ระเตม็ เปี่ยม โดยปราศจากการถกู แทรกแซง กดขี่ กฎหมายทร่ี ฐั บาลกาหนดข้ึนก็เพ่ือพิทกั ษศ์ กั ดศิ์ รแี ละสทิ ธิของประชาชน ทง้ั ในชวี ติ และเสรีภาพ แนวคดิ เสรนี ิยม จะมกี ารจดั ตงั้ องคก์ ารระหวา่ งประเทศ เพื่อ นาไปสคู่ วามรว่ มมือระหวา่ งประเทศ และทาใหอ้ นาธิปไตยระหวา่ ง ประเทศลดนอ้ ยลง เพราะประเทศสมาชกิ ขององคก์ ารระหวา่ งประเทศนน้ั จะยดึ ถือกฎเกณฑแ์ นวบรรทดั ฐาน และจะมอบการปกครองตา่ ง ๆ ซง่ึ จะ นาไปสคู่ วามมง่ั คง่ั ทางเศรษฐกิจ

5. แนวคิดเสรนี ยิ มใหม่ (Neo- liberalism) ในช่วยสดุ ทา้ ยของครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 20 ท่ีนกั วิชาการจานวนมากไม่ พอใจ แนวคดิ ต่าง ๆ ท่ีกล่าวมา โดยมีความเห็นว่า แต่ละแนวไม่มีความ ลงตวั สดุ กู่เกนิ ไป นกั คดิ เสรนี ยิ มใหม่ ยอมรบั ความร่วมมือทางดา้ นเศรษฐกจิ จะสามารถ สรา้ งระบบการปกครองทางการคา้ โดยมีความร่วมมือระหว่างประเทศต่าง ๆ มากยง่ิ ข้นึ เช่น องคก์ ารคา้ โลก (WTO) สหภาพยุโรป (CEU) เป็ นตน้ ซง่ึ จะทาใหโ้ ลกเกดิ เสรภี าพ ความมงั่ คงั่ และความเจรญิ ร่งุ เรอื ง รวมทงั้ จะเนน้ เรอื่ งการคา้ เสรี ท่ีรฐั บาลแต่ละประเทศจะไม่เขา้ มาควบคุม และไม่เขา้ มาแทรกแซงกลไกต่าง ๆ

1. แนวนโยบาย (Policy Orientation) เน้นถึงแนวนโยบายทป่ี ระเทศต่างใช้กนั โดย ศึกษาถึงแนวนโยบายร่วมกนั ของรัฐในการรักษาสันตภิ าพและความมนั่ คงระหว่าง ประเทศ 2.แนวประวตั ศิ าสตร์ (Historical Approach) เรียกอกี อย่างคอื แนวจารีตประเพณี (Traditional Approach) จดั เป็ นแนวการศึกษาทเี่ ก่าแก่ทสี่ ุด ใช้การศึกษาจาก เอกสาร จารึก บันทกึ หลกั ศิลา เป็ นต้น ซึ่งแบ่งการศึกษาแนวประวัตศิ าสตร์ตาม ลกั ษณะสาคัญได้ 2 ลกั ษณะ คอื - ศึกษาสภาพความเป็ นจริง (การศึกษาเชิงประจกั ษ์ Emparical Study) - ศึกษาเชิงประวตั ิศาสตร์(Chronicle Study) นาข้อมูลเชิงประจักษ์มา จดั เรียงเหตุการณ์ต่าง ๆ ทเี่ กดิ ขนึ้ ในเวทคี วามสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศ

3. แนวภูมิรฐั ศาสตร์ (Geopolitical Approach) เป็ น การศกึ ษาถงึ สภาวะแวดลอ้ มทางภูมิศาสตรท์ ี่มีอทิ ธิพลต่อการกระทาของรฐั ซง่ึ มีนกั คดิ ท่ีไดร้ บั การยอมรบั ทางดา้ นภูมิรฐั ศาสตรห์ ลายท่าน ดงั น้ี เซอร์ ฮารล์ ฟอรด์ แมคคนิ เนอร์ (Sir Halford Mackinder)ชาว องั กฤษ เชอื่ ว่า - ผูใ้ ดควบคุมยุโรปตะวนั ออกผูน้ น้ั ครอบครองดนิ แดนใจกลางทวีป (ดนิ แดนยูเร เซยี ) - ผูใ้ ดควบคุมดนิ แดนใจกลางทวีปผูน้ นั้ ครองเกาะโลก (Great Continent หรอื ทวีปยุโรป เอเซยี ) - ผูใ้ ดควบคุมเกาะโลกผูน้ นั้ ครองโลก นโิ คลาส สปิ คแมน (Nicholas Spykman) นกั รฐั ศาสตรช์ าว อเมรกิ นั ผูเ้ ขยี นหนงั สอื The Geography of the place กล่าวถงึ ปัจจยั ทางภมู ิรฐั ศาสตรต์ ามทฤษฎขี อง แมคคนิ เนอร์ แต่มีแนวคดิ คดั คา้ น

แนวทางการศกึ ษาความสมั พนั ธ์ระหว่างประเทศ (ต่อ) - ผูใ้ ดควบคุมรมิ ขอบทวีปผูน้ นั้ ครองดนิ แดนยูเรเซยี - ผูใ้ ดควบคุมดนิ แดนยูเรเซยี ผูน้ น้ั กุมชะตาโลก 4. แนวอานาจ (Power Approach) ศกึ ษาโดยสานกั Political Realism ในสหรฐั อเมรกิ า ฮนั ส์ เจ มอรเ์ กนเธอ กล่าวว่าการเมืองระหว่างประเทศเกย่ี วกบั การด้นิ รน ต่อสแู้ ย่งชงิ ซงึ่ อานาจ ซงึ่ เกยี่ วขอ้ งกบั ผลประโยชนแ์ ห่งชาติ (National Interest)  เค เจ โฮลสติ (K. J. Holsti) ดงั นน้ั จะเหน็ ว่าทุก ๆ ชาตจิ งึ สรา้ งนโยบายต่างประเทศเพอ่ื คุม้ ครองป้ องกนั ผลประโยชนแ์ ละส่วนไดเ้ สยี ของชาตติ น

5. แนวเรอื่ งดลุ อานาจ (The Balanced of Power Approach) มุ่งศกึ ษาการเมืองระหว่าง ประเทศใน 2 ลกั ษณะ คอื - พยายามรกั ษาสภาพเดมิ ของตน ประเทศมหาอานาจมกั จะสรา้ ง กาลงั อานาจ เพอื่ ทดั เทียมกบั มหาอานาจอนื่ ๆ - พยายามเปลย่ี นแปลงสถานภาพเดมิ ของตนจากการสรา้ งกล่มุ ถ่วงดลุ อานาจ รฐั หรอื ชาตเิ ลก็ ๆ ท่ีไม่มีอานาจในการต่อรอง พยายามรวมตวั เพอื่ สรา้ งความทดั เทียมหรอื สรา้ งอานาจต่อรองเพอื่ รกั ษาผลประโยชนข์ องกล่มุ นนั่ เอง

ดาริรัตน์ รัตนรังษี ได้ให้ความหมายของตวั แสดงความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศไว้ว่า ตวั แสดงความสัมพนั ธ์ระหว่าง หมายถงึ ผู้ ท่ที าหน้าท่ใี นการนานโยบายต่างประเทศไปปฏิบัติ หรือผู้มี พฤตกิ รรมในการผลักดนั ให้รัฐต่าง ๆ มีการตดิ ต่อเก่ียวข้องกัน ทงั้ ในด้านการเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดตี ่อกัน ในทาง การเมือง เศรษฐกจิ และสังคม และหมายความถงึ ผู้มีบทบาทใน การสร้างความขัดแย้งจนกลายเป็ นมูลเหตุแห่งการสู้รบและการ ทาสงครามกนั

รสลิน ธารงวทิ ย์ ได้ให้ความหมายของตัวแสดง ความสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศไว้ว่า ตวั แสดงความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศ อาจเป็ นรัฐ หรือหน่วยซ่งึ ไม่ใช้รัฐกไ็ ด้ ธัชชนันท์ อิศรเดช ได้ให้ความหมายของตวั แสดง ความสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศไว้ว่า ตัวแสดงความสัมพนั ธ์ ระหว่างประเทศ หมายถงึ รัฐ หรือตวั แสดงท่ไี ม่ใช่รัฐ อาจเป็ น บุคคล กลุ่มบุคคล หรือองค์การระว่างประเทศ ซ่งึ ก่อให้เกิดการ แลกเปล่ียนและปฏิสัมพันธ์ในทางความสัมพนั ธ์ระหว่าง ประเทศ

สรุป ได้ว่า ตัวแสดงความสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศ หมายถงึ รัฐ หรือตวั แสดงท่ไี ม่ใช่รัฐ อาจเป็ นบุคคล กลุ่มบคุ คล หรือองค์การระหว่างประเทศ ซ่งึ ก่อให้เกดิ การแลกเปล่ียนและปฏสิ ัมพนั ธ์ในทาง ความสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศ

ความสาคญั ของตัวแสดงความสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศ 1.ตัวแสดงจะต้องมีบทบาทหรือโครงสร้างหน้าท่ที ่สี าคญั และต่อเน่ือง ความสาคญั ของโครงสร้างหน้าท่เี กดิ จากการ ท่หี น้าท่ดี งั กล่าวนัน้ มีผลกระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศ อย่างต่อเน่ืองไม่สิน้ สุด 2.ผู้กาหนดนโยบายจะต้องเล็งเหน็ ความสาคญั ของตวั แสดง ดังกล่าว โดยเฉพาะความสาคญั ต่อการกาหนดนโยบาย ต่างประเทศของตน 3.ตัวแสดงนัน้ ๆ จะต้องมีความเป็ นอสิ ระและมีอานาจ อธิปไตยพอสมควรในการตดั สินใจ

ประเภทของตัวแสดงความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ จาแนกตวั แสดงได้ 2 ประเภทใหญ่ 1. รัฐ (State Actor) 2. ไม่ใช่รัฐ ( Non-State Actor) 1.รัฐ (State Actor) 1.1 ความหมายของคาว่า รัฐ 1.2. องค์ประกอบของรัฐ 1.3 ความเป็ นมาของตวั แสดงความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 1.4 ปัจจัยสาคญั ท่ที าให้รัฐมีฐานะเป็ นตวั แสดง 1.5 บทบาทของรัฐในเวทคี วามสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศ 1.6 ประเภทตัวแสดงท่เี ป็ นรัฐในเวทคี วามสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศ

2. ตัวแสดงท่ไี ม่รัฐ (Non-State Actor) 2.1 องค์การระดบั ภมู ภิ าค องค์การระดบั ภมู ิภาค หมายถงึ สถาบนั หรือ สถาบนั ระหว่างรัฐบาลในบริเวณหน่ึง ท่มี ภี าคี สมาชกิ ในอันจากดั ซ่งึ ประกอบด้วยรัฐสมาชิก ท่อี ย่ใู นเขตภมู ภิ าคเดยี วกัน หรือ ตดิ ต่อ ใกล้เคยี งกนั โดยมีสนธิสัญญา หรือตกลง ระหว่างกลุ่ม มกี ารกาหนด องค์การดาเนินงาน เพ่อื ปฏบิ ัตติ ามพนั ธะหรือจุดประสงค์นัน้ ๆ

2.1.1 องค์การระดบั ภมู ภิ าคท่มี ีวตั ถุประสงค์ท่วั ไป 2.1.2 องค์การระดบั ภมู ิภาคท่มี ีวตั ถุประสงค์ เฉพาะด้าน 2.2 องค์การระดบั โลก ตัวแสดงดงั กล่าวอาจเป็ นองค์การสากลท่มี ี สมาชิกประกอบด้วยรัฐส่วนใหญ่ในโลก ซ่งึ อาจ มีขอบเขตของบทบาทไม่จากดั

บทสรุป ตวั แสดงในเวทคี วามสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศ มีเป็ นจานวน มากทงั้ ท่เี ป็ นรัฐและไม่ใช่รัฐ ตวั แสดงมีความสาคัญในฐานะเป็ น หน่วยหน่ึงของการวิเคราะห์ความสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศ ตวั แสดงระดบั รัฐและต่ากว่ารัฐ ได้แก่ บุคคล หรือกลุ่มบุคคล โดยรัฐ เป็ นตวั แสดงหลักในเวทคี วามสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศ ส่วน บุคคลหรือกลุ่มบุคคลแสดงบทบาทในฐานะผู้ดาเนินการให้ เป็ นไปตามนโยบายต่างประเทศ หรือมีส่วนโน้มน้าวหรือกดดัน ในการตดั สินหรือดาเนินนโยบายระหว่างประเทศ

ตวั แสดงระดบั ภมู ภิ าค ได้แก่ องค์การระดบั ภมู ิภาคท่มี ี วัตถุประสงค์ท่วั ไป และมีวตั ถุประสงค์เฉพาะด้าน องค์การ ดงั กล่าวมบี ทบาทสาคญั ในด้านเน้นความร่วมมือของกลุ่มภาคี สมาชกิ เพ่อื ให้ได้มาซ่งึ ผลประโยชน์ของตน ช่วยลดความขัดแย้ง ระหว่างภาคีสมาชกิ อนั มีส่วนช่วยส่งเสริมสันตภิ าพระหว่าง ประเทศ ตวั แสดงระดบั โลก ได้แก่ องค์การสากลและองค์การ ข้ามชาติ องค์การสากลเน้นบทบาทในการร่วมมือระหว่าง ประเทศ เพ่อื ขจดั ความขัดแย้งและส่งเสริมสันตภิ าพ และความ ร่วมมือระหว่างประเทศ ส่วนองค์การข้ามชาตมิ ีบทบาทเสมือน กลุ่มกดดนั ในเวทคี วามสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

เครื่องมอื ในการดาเนินความสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศ  เครื่องมอื ทใี่ ช้ในการดาเนินความสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศมอี ยู่หลายชนิด ทีส่ าคญั 1.เครื่องมอื ทางการทูต (Political Instrument) การทูตเป็ นเคร่ืองมอื ในการดาเนินนโยบายต่างประเทศในทางสันตมิ ากกว่าวิธีใด จงึ ได้มบี ทบาทสาคญั ในการดาเนินนโยบายของทุกประเทศ เป็ นเครื่องมอื ทเี่ สียค่าใช้จ่าย น้อยแต่ได้ผลมากเป็ นการหลกี เลย่ี งทจ่ี ะใช้กาลงั ความรุนแรง การทูตเป็ นสถาบันทช่ี ่วยให้ ชาตทิ ้งั หลายได้ติดต่อกนั สร้างความเข้าอนั ดตี ่อกนั

1.1 ความหมายของการทูต การทูต คอื การดาเนินความสัมพนั ธ์ ระหว่างประเทศด้วยการเจรจาเป็ นสาคญั ต้องอาศัยศิลปะ สตปิ ัญญา และ ความสุขมุ รอบคอบ เป็ นเครื่องมอื สาคญั ในกรดาเนินการ เพอื่ ให้เป็ นไปตาม นโยบาย และเป้ าหมายของนโยบายต่างประเทศ 1.2 ประวตั ขิ องการทูต การทูตมีมาต้งั แต่สมัยกรีก รุ่งเรืองอยู่ในรูปการปกครองแบบนครรัฐต่าง ๆ ก่อนคริสตกาล ประมาณ 500 ปี เจ้าผู้ครองนครกรีกนิยมส่งทูตไปมาหาสู่กนั เพอ่ื ภารกจิ ใดภารกจิ หน่ึง

1.3 การแต่งต้งั นกั การทูต การแต่งต้งั เอกอคั รราชทูตมีข้นั ตอนดงั นี้ รัฐบาลจะเสนอชื่อผุ้ทจี่ ะได้รับ แต่งต้งั ให้เป็ นเอกอคั รราชทูต ไปยงั รัฐบาลทไี่ ปประจาอยู่ เพอื่ ให้ความเห็นชอบ เม่ือ บุคคลน้ันเดนิ ทางไปถงึ ประเทศน้ันแล้วยน่ื สารตราต้งั (Credential) ต่อประมุขของ ประเทศน้ัน จึงจะเป็ นเอกอคั รราชทูตโดยสมบูรณ์ มเี อกสิทธ์ิและได้รับการคุ้มครอง ทางการทูต กล่าวคอื บุคคลในคณะทูตจะได้รับความคุ้มครองท้งั ในทางอาญาและทาง แพ่ง 1.4 ระดบั ของนักการทูต ตามระเบยี บปฏบิ ตั ทิ างการทูต เม่ือประเทศสองประเทศตกลงทจี่ ะให้มีความสัมพนั ธ์ ทางการทูตและแลกเปลย่ี นนักการทูตต่อกนั ส่ิงทจ่ี ะต้องพจิ ารณา คอื ระดบั ของ นักการทูตทไ่ี ปประจา ตามอนุสัญญากรุงเวยี นนาว่าด้วยความสัมพนั ธ์ทางการทูต ค.ศ. 1961 (Vienna Convention on Diplomatic Relations, 1961)

1.4 ระดบั ของนักการทูต (Nuncio) 1.4.1 เอกอคั รราชทูต ( Ambassador )หรือเอก อคั รสมณทูต (Inter - nuneio) 1.4.2 อคั รราชทูต (Minister or Envoy) หรืออคั รสมณทูต 1.4.3 อุปทูต (Large d Affaires) 1.5 บทบาทของนักการทูต นักการทูตมบี ทบาทสาคญั ในการดาเนินความสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศ คอื 1.5.1 เป็ นตวั แทนของรัฐในการสร้างความเข้าใจอนั ดแี ละกระชับมติ รภาพระหว่างกนั 1.5.2 ให้ความช่วยเหลอื และพทิ กั ษ์ผลประโยชน์คนของชาติ 1.5.3 ปฏิบตั ติ ามคาส่ังรัฐบาล ในการรักษาผลประโยชน์ของชาติ

ดงั น้ันจะพบว่า การทูตเป็ นเคร่ืองมอื ในการดาเนิน นโยบายต่างประเทศในทางสันติมากกว่าวธิ ีใด จงึ ได้มบี ทบาท สาคญั ในการดาเนินนโยบายของทุกประเทศ เป็ นเคร่ืองมอื ทเี่ สีย ค่าใช้จ่ายน้อยแต่ได้ผลมากเป็ นการหลกี เลย่ี งทีจ่ ะใช้กาลงั ความ รุนแรง การทูตเป็ นสถาบนั ทช่ี ่วยให้ชาตทิ ้งั หลายได้ตดิ ต่อกนั สร้างความเข้าอนั ดตี ่อกนั

เคร่ืองมอื ในการดาเนินความสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศ 2. เคร่ืองมือทางจิตวทิ ยา (Psychology Intrument) เครื่องมือทางจิตวทิ ยา เป็ นเคร่ืองมือทท่ี ุกประเทศไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้ อย่างเท่าเทยี มกนั ท้งั นีเ้ พราะเคร่ืองมือทจ่ี ะต้องสิ้นเปลอื งค่าใช้จ่ายสูง ในยามสันติ มุ่งต้องการให้ประชาชนประเทศต่าง ๆ มีค่านิยม ทศั นคตทิ ดี่ ี เกย่ี วกบั ประเทศของตน โดยพยายามให้ข่าวสารข้อมูลทดี่ โี น้มน้าวทน่ี ่าเชื่อถอื ว่า ประเทศของตนน้ันเป็ นประเทศทร่ี ักสันตภิ าพและความยุตธิ รรม ในยามสงคราม ไม่ว่าจะเป็ นสงครามเยน็ หรือสงครามทม่ี กี ารใช้อาวุธ เป้ าหมายของการใช้นีจ้ ะเปลยี่ นแปลงไป คอื พยายามทาให้ประชาชนโดยเฉพาะ พนั ธมิตรกบั ตนและทย่ี งั วางตวั เป็ นกลางมีความรู้สึกเป็ นปฏปิ ักษ์ต่อประเทศทเ่ี ป็ น ศัตรู เกลยี ดชังและการต่อต้านประเทศเป็ นศัตรู


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook