Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 57 Public Administration Kanyawan 2203101

57 Public Administration Kanyawan 2203101

Description: 57 Public Administration Kanyawan 2203101

Search

Read the Text Version

ทมี่ าของกฎหมาย (1) ขนบธรรมเนียมประเพณี (Custom) เป็ นทมี่ าทสี่ าคญั ทส่ี ุดของกฎหมาย ต้นตอจะมาจากนิสัยของ สังคม หรือนิสัยทางสังคม ซึ่งมกั จะเป็ นทม่ี าของกฎหมายพนื้ ฐาน ของรัฐ ส่วนใหญ่จะได้รับอทิ ธิพลจากศาสนาเป็ นส่วนใหญ่

ท่มี าของกฎหมาย (2) การออกกฎหมายของฝ่ ายนิตบิ ญั ญัติ (3) คาส่ังของฝ่ ายบริหาร (เพอื่ ความมั่นคงและปลอดภัย) (4) คาพพิ ากษาของศาล (โดยเฉพาะคาส่ังศาลสูงสุดนามาเป็ น บรรทดั ฐานต่อไป) จารีตประเพณใี ดทถ่ี ูกนามาใช้เป็ นหลกั ในการพจิ ารณาตดั สินคดี ความแล้ว กจ็ ะกลายเป็ นคาพพิ ากษาของศาล ซ่ึงคาพพิ ากษาบาง เรื่องอาจถูกนาไปใช้เป็ นหลกั หรือเป็ นบรรทดั ฐานในการพจิ ารณา ตัดสินคดคี วามต่อ ๆ ไป คาพพิ ากษาของศาลจงึ เป็ นทม่ี าอกี ประการ หนึ่งของระบบกฎหมายไม่เป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร

ที่มาของกฎหมาย (5) บทความทางวชิ าการกฎหมาย (รวบรวมบทความนาเสนอ เป็ นกฎหมาย (6) รัฐธรรมนูญ (กฎหมายแม่บท) (7) สนธิสัญญา สนธิสัญญาคอื ข้อตกลงหรือสัญญาทกี่ ระทาขนึ้ ระหว่างรัฐต้ังแต่ 2 รัฐขนึ้ ไป เมอ่ื ได้ทาสนธิสัญญาซ่ึงกนั และกนั แล้ว ภาคคี ู่สัญญาจะต้องออกกฎหมายเพอื่ ให้สอดคล้องกบั สนธิสัญญาทไี่ ด้กระทาไว้

ทีม่ าของกฎหมาย (8) ประมวลกฎหมาย ประมวลกฎหมาย หมายถงึ การรวบรวมบรรดา กฎหมายทกี่ ระจดั กระจายเข้ารวมกนั ไว้เป็ นหมวดหมู่ เช่น กฎหมา ตราสามดวงของไทย (9) ประชามติ ประชามติหมายถึงการทรี่ ัฐธรรมนูญยนิ ยอมให้ประชาชนมี ส่วนร่วมในการเสนอร่างกฎหมายและมีสิทธิในการออกเสียง ประชามติ

ที่มาของกฎหมาย (10) หลกั ความยุติธรรม หลกั ความยุติธรรมได้แก่ความเสมอภาค กล่าวคอื ในกรณที ่ี ไม่มกี ฎหมายบัญญตั ิไว้ ผู้พพิ ากษากส็ ามารถใช้ดุลยพนิ ิจพพิ ากษา คดีโดยอาศัยหลกั ความยุตธิ รรมหรือหลกั สามญั สานึกมาเป็ นเคร่ือง ประกอบการตัดสินและในบางคร้ังหลกั ความยุตธิ รรมนีไ้ ด้กลายมา เป็ นแหล่งทมี่ าของกฎหมาย

สรุปได้คอื มาจากขนบธรรมเนียมประเพณี ออกโดยฝ่ ายนิติ บญั ญตั ิ เช่นรัฐธรรมนูญ พระราชบญั ญตั ิ เป็ นต้น คาส่ังของฝ่ าย บริหารบริหาร เช่น พระราชกาหนด พระราชกฤษฎกี า และ กฎกระทรวง เป็ นต้น คาพพิ ากษาของศาล บทความทางวชิ าการ รัฐธรรมนูญซึ่งเป็ นกฎหมายแม่บทในการออกกฎหมาย สนธิสัญญา ซ่ึงเป็ นกฎหมายระหว่างประเทศ รัฐจะต้องออกกฎหมายภายในให้ สอดคล้องกนั ประมวลกฎหมายทร่ี วบรวมกฎหมายไว้เป็ น หมวดหมู่ ประชามติ และหลกั ความยุตธิ รรมซึ่งผู้พพิ ากษาต้องมี สามญั สานึกในทางยุติธรรม

ความสาคญั ของกฎหมาย กฎหมายเป็ นเครื่องมอื ของรัฐบาลในการรักษาความสงบ เรียบร้อย และคุ้มครองชีวติ และทระพย์สินของประชาชน ดงั น้ัน กฎหมายมคี วามสาคญั คือ สร้างความเป็ นระเบยี บวนิ ัย ของสังคมและเป็ นมาตรการช่วยแก้ปัญหาสังคม ประโยชน์ของกฎหมาย กฎหมายมีความสาคญั ย่ิงต่อสังคม หากทใี่ ดไม่มีกฎหมายท่นี ่ัน ย่อมขาดสันตภิ าพ ดังน้ันกฎหมายจึงมีประโยชน์ต่อสังคมมนุษย์ มากมาย ดงั จาแนกได้ดังนี้

ประโยชน์ของกฎหมาย (1) กฎหมายเป็ นเคร่ืองมือในการปกครองประเทศ (2) กฎหมายเป็ นเคร่ืองมือสูงสุดของสังคม ซ่ึงจะรักษาไว้ซึ่งอสิ ระภาพ และความเป็ นระเบยี บของบุคคลทุกช้ัน (3) กฎหมายเป็ นสิ่งช่วยป้ องกนั และขจัดปัดเป่ าสิ่งชั่วร้ายให้พ้นไปจาก สังคม กฎหมายจะช่วยประสานความขดั แย้งหรือประสานผลประโยชน์ ผลได้ผลเสียของบุคคลไม่ว่าจะเป็ นไปในด้านความคุ้มครองประโยชน์ ของเอกชนหรือประโยชน์ของส่วนรวม เพราะกฎหมายได้วางกฎ ข้อบงั คบั ของสังคมเอาไว้ ประโยชน์ของกฎหมายทม่ี ีต่อสังคม คอื เป็ นเคร่ืองมอื ในการ ปกครองประเทศ รักษาไว้ซ่ึงอสิ รภาพและความเป็ นระเบยี บของบุคคล ทุกช้ัน และเป็ นส่ิงทช่ี ่วยป้ องกนั ขจัดปัดเป่ าส่ิงช่ัวร้ายให้พ้นไปจาก สังคม

ระบบกฎหมาย นักวชิ าการทางกฎหมายได้แบ่งกล่มุ กฎหมายออกเป็ นหลาย ระบบ สรุปได้ดงั นี้ (1) กฎหมายลายลกั ษณ์อกั ษร (Civil Law) กฎหมายลายลกั ษณ์อกั ษร มีตัวบทเป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร ซึ่งได้ รวบรวมไว้เป็ นประมวลกฎหมายต่างๆ ระบบนีค้ านึงถึงตวั บท กฎหมายเป็ นหลกั ในการพจิ ารณาพพิ ากษาคดี ศาลจะยกตัวบท กฎหมายในมาตราทเ่ี กยี่ วข้องมาเป็ นหลกั ในการวนิ ิจฉัยชี้ขาดในการ ตดั สินคดี ประเทศที่ใช้กฎหมายนี้ ได้แก่ เยอรมันและฝร่ังเศส และ ประเทศไทย เป็ นต้น

ระบบกฎหมาย (2) กฎหมายจารีตประเพณี (Common Law) กฎหมายจารีตประเพณเี ป็ นกฎหมายไม่เป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร มที มี่ าจากจารีตประเพณแี ละคาพพิ ากษาของศาลในคดีก่อนๆ เป็ น บรรทดั ฐาน ประเทศท่ใี ช้กฎหมายนี้ ได้แก่ ได้แก่ องั กฤษ สหรัฐอเมริกาและกลุ่มประเทศในเครือจกั รภพองั กฤษ (3) กฎหมายสังคมนิยม (Socialist Law) กฎหมายสังคมนิยมเป็ นระบบของประเทศสังคมนิยม กฎหมาย ระบบนีจ้ ะให้ความสาคญั แก่รัฐมากกว่าเสรีภาพส่วนบุคคล บุคคลมี หน้าทที่ จะต้องรับใช้รัฐ ประเทศท่ปี กครองระบบสังคมนิยม เช่น สาธารณรัฐประชาชนจีน เป็ นต้น

ระบบกฎหมาย (4)กฎหมายศาสนา (Religious Law) กฎหมายศาสนาคอื กฎหมายที่มาจากคาสอนในทางศาสนา เช่น หลกั คมั ภรี ์ต่างๆ ซึ่งมุ่งสอนการดาเนินชีวติ และความเป็ นอยู่ของคน ในสังคมมากกว่าจะต้งั เป้ าหมายของบ้านเมอื ง ระบบกฎหมาย ศาสนา เช่น ระบบกฎหมายศาสนาอสิ ลามและกฎหมายศาสนาฮินดู เป็ นต้น ระบบกฎหมายอาจคอื การที่ กฎหมายต่างๆ ทจ่ี ดั กลุ่มรวมเข้า ด้วยกนั ได้ มคี วามสัมพนั ธ์หรือมีจุดร่วมกนั ในบางเร่ือง โดย หลกั เกณฑ์ในการจาแนกระบบกฎหมาย คอื การจัดกฎหมายทมี่ ี ปรัชญาเศรษฐกจิ สังคมและการเมอื งร่วมกนั ระบบกฎหมายที่ สาคญั มี 4 ระบบ คือระบบกฎหมายลายลกั ษณ์อกั ษร ระบบกฎหมาย จารีตประเพณี ระบบกฎหมายสังคมนิยมและระบบกฎหมายศาสนา

ประเภทของกฎหมาย กฎหมายน้ันแบ่งได้เป็ น 3 ประเภท คอื 1 .กฎหมายเอกชน(Private Law) กฎหมายเอกชนเป็ นกฎหมายที่บัญญตั เิ กย่ี วกบั ความสัมพนั ธ์ ระหว่างบุคคลกบั บุคคล หรือบุคคลกบั นิติบุคคล ตวั อย่างกฎหมาย เอกชน เช่น กฎหมายเกยี่ วกบั สัญญาตั๋วเงนิ ครอบครัว มรดก พนิ ัยกรรม หุ้นส่วนและบริษัท เป็ นต้น กฎหมายเอกชนแยกสาขาออกได้ดงั นี้ (1) กฎหมายแพ่ง กฎหมายแพ่งเป็ นกฎหมายทบ่ี ญั ญตั เิ กย่ี วกบั สิทธิและหน้าท่ี ของเอกชนโดยทว่ั ไป เช่น ความมีสภาพบุคคล ทรัพย์ หนี้ นิติกรรม ครอบครัว และมรดก

(2) กฎหมายพาณิชย์ กฎหมายพาณชิ ย์เป็ นกฎหมายทบี่ ัญญตั ิเกยี่ วกบั ความสัมพนั ธ์ของบุคคลทป่ี ระกอบการค้าและธุรกจิ เช่น บริษทั ห้างหุ้นส่วน การขนส่งและการประกนั ภัย เป็ นต้น (3) กฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความแพ่ง กฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความแพ่งเป็ นกฎหมายว่าด้วยข้อบงั คบั ทใี่ ช้ การดาเนินคดีเม่ือเกดิ คดพี พิ าทกนั ในทางแพ่ง กฎหมายนีไ้ ด้บญั ญตั ิ ถึงวธิ ีดาเนินคดีตลอดจนบังคบั คดตี ่างๆ ในทางแพ่งขนึ้ กฎหมายมหาชน กฎหมายมหาชนเป็ นกฎหมายทร่ี ัฐเข้าไปมีส่วนร่วมเป็ นคู่กรณดี ้วย กบั เอกชน มีบทบัญญตั เิ กยี่ วกบั การจดั รูปแบบของรัฐ และควบคุม ความสัมพนั ธ์ระหว่างรัฐกบั ประชาชน

กฎหมายมหาชนแยกสาขาได้ดงั นี้ (1) รัฐธรรมนูญ (2) กฎหมายปกครอง (3) กฎหมายอาญา (4) กฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความอาญา (5) พระธรรมนูญศาลยุติธรรม ซ่ึงพระธรรมนูญศาลยุติธรรมเป็ นกฎหมายทกี่ าหนดว่าใน การพจิ ารณาคดีน้ัน ศาลใดจะมีอานาจในการพจิ ารณาคดีประเภทใด อย่างไร ศาลยุติธรรมมศี าลใดบ้าง แต่ละศาลมอี านาจหน้าทเี่ พยี งใด อย่างไร

 กฎหมายระหว่างประเทศ ได้แก่ สนธิสัญญา หรือข้อตกลงระหว่างประเทศทม่ี ีผลบงั คบั ความประพฤติระหว่างรัฐอธิปไตย 1. กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมอื ง ได้แก่ กฎเกณฑ์ ข้อบงั คบั ท่ีว่าด้วยความสัมพนั ธ์ระหว่างรัฐต่อรัฐทจี่ ะปฏบิ ตั ิต่อกนั เมอ่ื มคี วามขัดแย้งหรือเกดิ ข้อพพิ าทขนึ้ เช่น กฎบตั รสหประชาชาติ หรือได้แก่ สนธิสัญญา หรือเกดิ จากข้อตกลงทว่ั ไป ระหว่างรัฐหน่ึง กบั รัฐหนึ่งหรือหลายรัฐทเ่ี ป็ นคู่ประเทศภาคี ซึ่งให้สัตยาบันร่วมกนั แล้วกใ็ ช้บังคบั ได้ เช่น สนธิสัญญาไปรษณยี ์สากล เป็ นต้น

2. กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล ได้แก่ บทบญั ญัตทิ ่วี ่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลรัฐ หน่ึงกบั อกี รัฐหน่ึง เม่ือเกิดความขัดแย้ง ข้อพิพาทขึน้ จะ มีหลักเกณฑ์วธิ ีการพจิ ารณาตัดสินคดคี วามอย่างไร เพ่อื ไม่ให้เกดิ ความได้เปรียบเสียเปรียบกนั เช่น ประเทศไทย เรามี พระราชบัญญัตวิ ่าด้วยการขัดกับแห่งกฎหมาย ซ่งึ ใช้บังคับกับบุคคลท่อี ย่ใู นประเทศไทยกับบุคคลท่อี ยู่ใน ประเทศอ่นื ๆ

3. กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดอี าญา ได้แก่ สนธิสัญญา หรือข้อตกลงเกย่ี วกบั การกระทาความผดิ ทาง อาญาซึ่งประเทศหนึ่งยนิ ยอมหรือรับรองให้ศาลของอกี ประเทศหนึ่ง มี อานาจพจิ ารณาตัดสินคดีและลงโทษบุคคลประเทศของตนทไี่ ปกระทา ความผดิ ในประเทศน้ันได้ เช่น คนไทยไปเท่ียวสหรัฐอเมริกาแล้วกระทา ความผดิ ศาลสหรัฐอเมริกากพ็ จิ ารณาตดั สินลงโทษได้ หรือบุคคลประเทศ หน่ึงกระทาความผดิ แล้วหนีไปอกี ประเทศหนึ่ง เป็ นการยากลาบากทจ่ี ะนา ตวั มาลงโทษได้ จึงมกี ารทาสนธิสัญญาว่าด้วยการส่งตวั ผู้ร้ายข้ามแดน เพอ่ื ให้ประเทศทผ่ี ู้กระทาความผดิ หนีเข้าไปจับตวั ส่งกลบั มาลงโทษ ซึ่งถอื ว่า เป็ นการร่วมมอื กนั ปราบปรามอาชญากรรม ปัจจุบันนีป้ ระเทศไทยทา สนธิสัญญาส่งตวั ผู้ร้ายข้ามแดนกลบั องั กฤษ สหรัฐอเมริกา เบลเยย่ี ม และ อติ าลี ฯลฯ เป็ นต้น

ลาดับศักด์ิของกฎหมาย ลาดบั ศักด์ขิ องกฎหมายในระบบกฎหมายไทย แบ่ง อย่างละเอยี ดเป็ น 7 ช้ัน ได้แก่ 1. รัฐธรรมนูญ 2. พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนูญ 3. พระราชบัญญตั ิ 4. พระราชกาหนด 5. พระราชกฤษฎีกา 6. กฎกระทรวง 7. กฎหมายทต่ี ราโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ

กฎหมำยแมบ่ ท แผนผังแสดงระดบั ชัน้ ของกฎหมาย รัฐธรรมนญู กฎหมำยที่รัฐธรรมนญู ประมวล พระรำช พระรำช ประกำศ ให้อำนำจฝ่ ำยนิตบิ ญั ญตั ิ กฎหมำย บญั ญตั ิ กำหนด พระบรมรำชโองกำร หรือฝ่ ำยบริหำรเป็นผ้อู อก ให้ใช้บงั คบั ดงั เชน่ พระรำชบญั ญตั ิ กฎหมำยท่ีฝ่ ำยบริหำร พระรำช กฎกระทรวง เป็นผ้อู อก กฤษฎีกำ กฎหมำยท่ีองค์กำร เทศบญั ญตั ิ ข้อบญั ญตั ิ ข้อบงั คบั ปกครองสว่ นท้องถิ่น จงั หวดั สขุ ำภิบำล มีอำนำจออก 26 9

สรุป รัฐทุกรัฐจะต้องมกี ารจดั ระเบียบการปกครองภายในรัฐให้ เป็ นระบบและต้องมีการปรับปรุงระบบน้ันให้เหมาะสมกบั กาลเวลาอยู่ เสมอ ท้งั นีจ้ ะต้องรักษาความสงบเรียบร้อย สร้างความเจริญก้าวหน้าแก่ รัฐและอานวยความผาสุกให้แก่ประชาชน ซึ่ง ความสัมพนั ธ์ระหว่าง รัฐกบั ประชาชนในระบอบการปกครองประชาธิปไตยจะเป็ นไปอย่าง ใกล้ชิด รัฐจะมอี านาจน้อย ประชาชนจะมีอานาจมากเป็ นความสัมพนั ธ์ ในแบบสองทาง ส่วนในระบอบเผด็จการความสัมพนั ธ์จะเป็ นในทาง เดยี ว รัฐจะมีอานาจมาก ประชาชนจะมอี านาจน้อย  อย่างไรกต็ ามการบริหารงานของรัฐทุกระบบต้องยดึ กฎหมายอย่าง เคร่งครัด



การมีส่วนร่วมทางการเมอื ง( Political Participation ) ความหมายของคาว่าการมีส่วนร่วมทางการเมือง (Political Participation )มี ผู้ให้ความหมายและแนวคดิ มากมายหลายอย่างต่างกนั ออกไป การมีส่วนร่วมทางการเมอื ง หมายถึง การทป่ี ระชาชนมสี ิทธิตามระบบ การเมืองและกฎหมายกาหนดให้กระทาได้ เป็ นการกระทาท่ตี ้องเกดิ ขึน้ ด้วย ความสมคั รใจของตวั ประชาชนเอง เพอื่ ให้มีอทิ ธิพลต่อการกาหนดนโยบาย ของรัฐท้งั การเมืองการปกครองระดบั ท้องถน่ิ และการเมอื งการปกครอง ระดบั ชาติ อย่างไรกต็ าม แม้การมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครองของ ประชาชนจะเป็ นไปตามสิทธิท่ีระบบการเมอื งและกฎหมายกาหนดให้ ซึ่งการมี ส่วนร่วมของประชาชนทาให้เกดิ พลงั ทางการเมืองในรูปแบบต่างๆมากมาย

การมสี ่วนร่วมทางการเมอื ง การปกครองระบอบประชาธิปไตย หลกั การทม่ี คี วามสาคญั หลกั การ หนึ่ง ทสี่ ่งเสริมการปกครองระบอบนี้ คอื ให้ประชาชนเข้ามามสี ่วนร่วม ทางการเมอื ง o ความหมายของการมสี ่วนร่วมทางการเมอื ง หมายถึง การทบ่ี ุคคล ได้กระทากจิ กรรมทม่ี อี ทิ ธิพลต่อการเมือง หรือมผี ลกระทบต่อการ กาหนดนโยบาย หรือการตดั สินใจ รัฐบาลรับรู้การกระทาดงั กล่าว อาจ เป็ นท้งั การกระทาทเ่ี ป็ นแบบรวมกลุ่มหรือ ไม่รวมกล่มุ ท้งั ทเ่ี ป็ นทางการ ไม่เป็ นทางการ เป็ นการกระทาสาเร็จหรือล้มเหลวกต็ าม แต่ท้งั นีต้ ้อง เป็ นไปตามความสมัครใจ

การมสี ่วนร่วมทางการเมอื ง o ความสาคญั ของการมสี ่วนร่วมทางการเมือง ซ่ึงขนึ้ อยู่กบั หัวข้อทส่ี าคญั คอื ลกั ษณะทางการเมอื ง ดงั นี้ 1. ระบบการปกครองแบบประชาธิปไตย พฤตกิ รรมการมีส่วน ร่วมทางการเมืองของประชาชนท้งั ระดับชาติและระดบั ท้องถ่ิน จะมี ความสาคญั และจาเป็ นมากในระบบการปกครองระบอบประชาธิปไตย 2. ระบบการเมอื งแบบเผดจ็ การ อานาจรัฐในการปกครอง ประเภทผูกขาดอานาจขึน้ อยู่กบั ผู้มอี ทิ ธิพลทางการเมอื งไม่กค่ี นทใี่ ช้ อานาจและอทิ ธิพลในการปกครองประเทศ เพอ่ื สนองความต้องการและ ประโยชน์ให้ตนเองและกล่มุ ลกั ษณะของระบบการเมืองเช่นนีก้ ารมีส่วน ร่วมของประชาชนไม่ได้รับความสาคญั และไม่เป็ นทพ่ี งึ ปรารถนาของ ผู้ปกครอง

3. ลกั ษณะสาคญั ของการมสี ่วนร่วมทางการเมอื ง ( 1 ) ระบบการปกครองแบบประชาธิปไตย พฤตกิ รรมการมสี ่วนร่วม ทางการเมืองของประชาชนท้งั ระดบั ชาติและระดบั ท้องถิน่ ( 2 ) ระบบการเมอื งแบบเผดจ็ การ ลกั ษณะของระบบการเมืองเช่นนีก้ ารมีส่วนร่วมของประชาชนไม่ได้ รับความสาคญั และไม่เป็ นทพ่ี งึ ปรารถนาของผู้ปกครอง ( 3 )การมีส่วนร่วมทางการเมืองมีลกั ษณะ ต่างๆดังต่อไปนี้ (3.1) การกาหนดตัวผู้ปกครอง (3.2) การผลกั ดนั การตัดสินใจของรัฐบาล (3.3) การวิพากษ์วจิ ารณ์รัฐบาล (3.4) การชุมนุมเคลอ่ื นไหวทางการเมอื ง

4. ระดบั การมีส่วนร่วมทางการเมอื ง ได้มีการศึกษาการมีส่วนร่วมทางการเป็ นการศึกษาเกย่ี วกบั พฤตกิ รรมของมนุษย์ หรือมีผลมาจากความรู้ความเข้าใจ และ ความเชื่อทางการเมอื งของบุคคล บุคคลจะมพี ฤตกิ รรมทาง การเมอื ง มีลกั ษณะแตกต่างกนั ตามพฤติกรรม ความเชื่อทศั นคติ ของบุคคลเป็ นสาคญั ซึ่งผลการศึกษาพบว่าบุคคลทมี่ พี ฤตกิ รรม การมีส่วนร่วมทางการเมอื งจากระดบั ตา่ ไปสู่ระดบั สูง คอื เร่ิมต้น จากการเป็ นผู้มีความสนใจตดิ ตามรับฟังข่าวสารทางการเมอื ง จนกระทงั่ สูงสุดคอื การเข้าร่วมเป็ นเจ้าหน้าทขี่ องพรรคการเมอื ง หรือได้รับคดั เลอื กสู่ตาแหน่งทางการเมือง

5. รูปแบบการมีส่วนร่วมทางการเมือง รูปแบบการมีส่ วนร่ วมทางการเมือง 1. การมีส่วนร่วมทางการเมืองแบบเป็ นทางการได้แก่การเลอื กต้งั เป็ นการมีส่วนร่วมทางการเมืองทช่ี ัดเจนทสี่ ุด และการใช้สิทธิ เสรีภาพในการแสดงความคดิ เห็นทางการเมอื ง ได้แก่ การพดู อภปิ ราย เขยี น พมิ พ์ เป็ นต้น 2. การมีส่วนร่วมแบบไม่เป็ นทางการ ได้แก่การเดนิ ขบวน ชุมนุมประท้วง และการก่อความวุ่นวายทางการเมือง เป็ นต้น 6. ปัจจยั ทีส่ ัมพนั ธ์ต่อการมสี ่วนร่วมทางการเมอื ง ได้แก่ ระดบั การศึกษา ระดบั ชนช้ันทางสังคม ความคดิ ความเช่ือทาง การเมอื ง และความรู้สึกว่าตนเองสามารถก่อให้เกดิ การ เปลย่ี นแปลงทางการเมอื งได้

7. วฒั นธรรมทางการเมอื ง การมสี ่วนร่วมทางการเมอื งของประชาชนในแต่ละสังคม ยงั มีความแนบแน่นกบั วฒั นธรรมทางการเมืองของคนในสังคมน้นั ๆ กล่าวคอื ประชาชนจะเข้าไปมสี ่วนร่วมในกจิ กรรมทาง การเมอื งในรูปแบบและระดบั ต่าง ๆ มากน้อยขนึ้ อยู่กบั วฒั นธรรมทางการเมอื งของคนในสังคมน้ันๆ ความหมายของวฒั นธรรมทางการเมือง คอื แบบแผน ทศั นคติ และความเช่ือของบุคคลในพนื้ ทเ่ี ดยี วกนั ซึ่งกจิ กรรม ต่าง ๆ ทางการเมอื งจะเปลยี่ นแปลงได้หรือไม่ได้ ขนึ้ อยู่กบั ปัจจยั ต่าง ๆของสังคมด้วย

วฒั นธรรมทางการเมืองออกเป็ น 3 ประเภท (1) วฒั นธรรมการเมอื งแบบคบั แคบ (Parochial Political culture) จะพบในประเทศด้อยพฒั นาประชาชนส่วนใหญ่ยากจนและไร้การศึกษา ประชาชนเหล่านีข้ าดโอกาสทจี่ ะรับรู้ และเข้าใจต่อระบบการเมือง และ บทบาท หน้าท่ี ต่อระบบการเมอื ง (2) วฒั นธรรมการเมอื งแบบไพร่ฟ้ า (The Subject Political Culter) จะพบในประเทศทก่ี าลงั พฒั นา ประชาชนชนช้ันกลางจะมี โอกาสได้รับการศึกษา และมีฐานะทางเศรษฐกจิ และสังคมเหนือกว่า ความรู้ความเข้ใจเกย่ี วกบั ระบบการเมอื งแบบทวั่ ไป แต่จะถูกปลูกให้ ยอมรับอานาจรัฐ เคารพและปฏิบตั ติ ามกฎหมาย โดยไม่เข้าไปมีส่วน ร่วมทางการเมอื ง

(3) วฒั นธรรมทางการเมอื งแบบมีส่วนร่วม (The Participation Political Culter) จะพบว่าในประเทศทพี่ ฒั นาแล้ว ส่วนใหญ่จะมกี ลุ่ม คนทมี่ คี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั ระบบการเมอื ง และตระหนักถึงคุณค่า และบทบาทของตนทมี่ ตี ่อระบบการเมอื ง ต้องการเข้าไปมีส่วนร่วม ทางการเมือง เพอื่ ควบคุมกากบั และตรวจสอบการบริหารงานของ ผู้ปกครอง วฒั นธรรมทางการเมอื งแบบประชาธิปไตย จะพบในระบอบการ ปกครองแบบประชาธิปไตย และต้องเป็ นสังคมทป่ี ระชาชนมคี วาม เช่ือมัน่ ศรัทธาต่อหลกั การปกครองในระบอบประชาธิปไตย ยอมรับใน สิทธิ เสรีภาพ ความเสมอภาคและศักด์ิศรีความเป็ นมนุษย์ ยอมรับหลกั เสียงข้างมากและเคารพเสียงข้างน้อยมีส่วนร่วมในกจิ กรรมทาง การเมือง วพิ ากษ์วจิ ารณ์ทางการเมอื งอย่างสร้างสรรค์ และต้องไม่มี จติ ใจทเ่ี ป็ นเผด็จการ

และวฒั นธรรมทางการเมอื งที่ส่งผลต่อการเมือง คอื การกล่อมเกลา ทางการเมอื ง เป็ นกระบวนการปลูกฝังวฒั นธรรมทางการเมอื ง ซึ่ง เกยี่ วข้องกบั ความคดิ ความเชื่อ ค่านิยม และอุดมการณ์ทางการเมืองจาก รุ่นหน่ึงสืบต่อ สืบทอดไปยงั อกี รุ่นหน่ึง ซ่ึงกระบวนการกล่อมเกลา และ การเรียนรู้ในทางการเมืองเป็ นส่วนทเ่ี กย่ี วข้องกบั วฒั นธรรมทาง การเมือง มีความจาเป็ นอย่างยง่ิ ทจ่ี ะต้องศึกษาส่ิงต่าง ๆ อาทิ ทัศนคติ ค่านิยม ความเชื่อ ตลอดจนโลกทศั น์ของบุคคลทม่ี ีต่อระบบการเมอื ง และแบบแผนต่าง ๆทเ่ี กดิ ขนึ้ ในตัวมนุษย์



ความหมาย ลักษณะ และอุดมการณ์ทางการเมืองแบบต่างๆ

 อุดมการณ์ (Ideology) เป็ นการแสดงแนวความคดิ เหน็ ต่างๆ ของบุคคลหรือกลุ่มคนท่สี ามารถอธบิ ายสภาพการณ์ ต่างๆ ท่เี กดิ ขนึ้ ไม่เฉพาะแต่เหตกุ ารณ์ในปัจจุบันเท่านัน้ หาก สามารถอธิบายถงึ สภาพการณ์นัน้ ๆ ในอดตี ว่า ทาไมจงึ มี ลักษณะเช่นนัน้ มีอะไรเป็ นผลและสามารถชีแ้ นะถงึ การหาทาง ป้ องกันแก้ไขหรือพฒั นาอันควรจะมีหรือเป็ นไปได้ในอนาคต ดังนัน้ อุดมการณ์จงึ มไิ ด้เป็ นความคดิ ท่เี ล่ือนลอยหรือขาด หลักเกณฑ์ หากแต่เป็ นแรงผลักดนั ให้นาเอาอุดมการณ์นัน้ ๆ มาใช้กับสภาพท่เี ป็ นจริงในชุมชน แล้วมีความคดิ อันแน่วแน่ท่ี จะดาเนินการทกุ วถิ ที าง เพ่อื ให้บรรลุจุดหมายปลายทางแห่ง อุดมการณ์นัน้ ๆ

ชัยอนันต์ สมุทรวณิช อธิบายว่า อุดมการณ์เป็ นเร่ืองของ ความเช่ือโดยไม่จาเป็ นว่าความเช่ือนัน้ จะเป็ นความเช่ือท่ี ถูกต้องด้วยเหตุผล หรือสอดคล้องกับสภาพความเป็ นจริง เสมอไป แต่ความเช่ือ (belief) โดยท่วั ๆ ไปอาจไม่มี ลักษณะเป็ นอุดมการณ์ก็ได้ ความเช่ือท่จี ะเรียกว่าเป็ น อุดมการณ์นัน้ จะต้องเป็ นระบบความคดิ ท่มี ลี ักษณะ สาคัญดงั ต่อไปนี้

1. ความเช่ือน้ันได้รับการยอมรับร่วมกนั ในกลุ่มชน 2. ความเช่ือน้ันจะต้องเกย่ี วกบั เรื่องทม่ี คี วามสาคญั ต่อกล่มุ ชน เข่น หลกั เกณฑ์ในการดาเนินชีวติ 3. ความเชื่อน้ันจะต้องเป็ นความเช่ือทคี่ นหันเข้าหา และใช้ เป็ นแนวทางในการประพฤติปฏบิ ัติตัว และดาเนินชีวติ อย่างสมา่ เสมอและในหลายๆโอกาส 4. ความเชื่อน้ันต้องมสี ่วนช่วยในการยดึ เหน่ียวในกล่มุ เข้าไว้ ด้วยกนั หรือช่วยสนับสนุนหรือให้คนนามาใช้เป็ น ข้ออ้างในการทากจิ การต่างๆ ได้

1. เพ่อื ธารงรักษาระบบและสภาพการณ์เดมิ ของ สังคมไว้ 2. เพ่อื ก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงทงั้ ในตัวระบบและ การจดั ระเบียบสังคม เศรษฐกิจ การเมอื ง 3. เพ่อื ธารงรักษาไว้ซ่งึ สภาพการณ์ใหม่อันเป็ นผล จากการเปล่ียนแปลงเช่นว่านัน้

เป็ นระบบความคดิ ความเช่ือ หรือความศรัทธาของกลุ่ม สังคมใดสังคมหน่ึงท่มี ีต่อระบบการเมือง การปกครอง ซ่งึ ระบบความเช่ือต่างๆ นีจ้ ะสะท้อนให้เหน็ ถงึ รูปแบบ ของการเมือง หลักการในการปกครอง วธิ ีดาเนินการ ปกครองว่าใครจะเป็ นผู้มีอานาจในการปกครอง ผู้ปกครองมีบทบาทและอานาจกว้างขวางเพยี งใด ความสัมพนั ธ์ระหว่างผู้ปกครองและผู้ใต้ปกครองจะมี ลักษณะอย่างไร ผู้อย่ใู ต้ปกครองจะมีสิทธิและเสรีภาพ มากน้อยแค่ไหน

ดงั น้ันอดุ มการณ์ทางการเมอื งจงึ เปรียบเสมอื นกรอบ (frame) ทคี่ อยบงั คบั ให้องค์การทางการเมอื ง สถาบนั ทาง การเมอื งและพฤตกิ รรมทางการเมอื งเป็ นไปในทิศทางที่ สอดคล้องตามเจตนารมณ์แห่งอดุ มการณ์น้ันๆ ซึ่ง อุดมการณ์ทางการเมอื งน้ันอาจจะกาหนดขนึ้ มาโดยรัฐ เป็ นผู้กาหนดเอง หรืออาจจะนาเอาแนวคดิ ของรัฐอนื่ ๆ มา ปรับปรุงให้เข้ากบั สภาพของกลุ่มสังคมทต่ี นอยู่ หรือ บางคร้ังอาจเกดิ จากการผสมผสานของอดุ มการณ์หลายๆ อดุ มการณ์เพอ่ื ให้เกดิ อุดมการณ์ใหม่ทค่ี ดิ ว่าดที ส่ี ุดกไ็ ด้

การศกึ ษาอุดมการณ์ทางการเมอื งทาให้เราเข้าใจถงึ อานาจ บทบาท และอทิ ธิพลของรัฐบาลหรือกลุ่ม ผลประโยชน์ต่างๆ ท่เี ป็ นตัวแสดงทางการเมือง ดงั นัน้ เราสามารถกล่าวในท่นี ีไ้ ด้ว่า อุดมการณ์ทาง การเมืองเป็ นส่งิ ท่มี ีความสาคัญอย่างย่งิ ใน การศกึ ษาวชิ ารัฐศาสตร์

การนาอุดมการณ์ทางการเมืองมาใช้ให้เกดิ ประโยชน์ทาง การเมอื งมี3 ประการด้วยกนั คอื 1. เป็ นการนาอดุ มการณ์มาใช้เพอื่ การปกครองและการรวมกล่มุ คน เข้าไว้ด้วยกนั 2. เป็ นการใช้อุดมการณ์เพอ่ื ประโยชน์ในการชักจูงใจคนให้เสียสละ เพอ่ื เป้ าหมายร่วม หรือกล่าวได้ว่ากระทาเพอื่ อุดมการณ์ ซ่ึง อาจจะเป็ นประโยชน์ต่อผู้นาทางการเมอื งมากกว่าประชาชน ทว่ั ไป ท้งั นีเ้ นื่องจากประชาชนจะถูกขอร้องให้เสียสละทุกส่ิง ทุกอย่างเพอ่ื อุดมการณ์ 3. เป็ นการใช้อดุ มการณ์เพอื่ ประโยชน์ในการขยายอานาจของ รัฐบาล

เสรีนิยมมีจุดเร่ิมต้นสาคัญในศตวรรษท่ี 17 โดย จอห์น ล็อค (John Locke) นักปรัชญาชาว อังกฤษ ทงั้ นีส้ ืบเน่ืองมาจากทฤษฎสี ัญญาประชาคม ซ่งึ แนวคิดของล็อคและนักทฤษฎีอ่นื ๆ รวมกัน เรียกว่า เสรีนิยมแบบต้นตารับ หรือเสรีนิยมแบบ คลาสสิกซ่งึ ยังคงเป็ นท่ใี ช้กันอย่ใู นปัจจุบัน ประกอบด้วยหลัก 8 ประการดงั นีค้ ือ

1. เสรีภำพสว่ นบคุ คล 5. ควำมเสมอภำคแหง่ โอกำส 2. มนษุ ย์โดยธรรมชำติ เป็ นคนดี 6. มนษุ ย์เหมอื นกนั ทกุ แหง่ 3. กำรแก้ปัญหำโดยใช้ หลกั เหตผุ ล 7. กำรมรี ัฐบำลเป็ น ส่ิงจำเป็นแม้จะไมใ่ ช่ 4. กำรเปล่ียนแปลง ส่งิ ทน่ี ่ำพิสมยั เป็นไปในทศิ ทำงแหง่ ควำมก้ำวหน้ำ 8. เศรษฐกิจแบบเสรี

 เสรีนิยมเป็ นอุดมการณ์ท่เี กิดขนึ้ มาในศตวรรษท่ี 17 ซ่งึ ในปัจจุบันสภาพสังคมและเศรษฐกิจมีการ เปล่ียนแปลงไปมากมาย พวกเสรีนิยมในปัจจบุ นั จงึ รับเอาแนวความคิดของพวกอนุรักษนิยมมาปรับ โดยเฉพาะในเร่ืองเศรษฐกจิ ตวั อย่างเช่น พวกเสรี นิยมใหม่ยอมรับความจาเป็ นท่จี ะต้องสร้างรัฐท่มี ี ความเข้มแข็งเพ่อื ชีน้ าธุรกจิ และสร้างรัฐสวัสดกิ าร นอกจากนีพ้ วกเขายงั สนับสนุนให้รัฐบาลช่วยกาจดั ส่ิงปฏกิ ูลของระบบทนุ นิยม เช่น ปัญหาสังคม การ ไร้ท่อี ยู่อาศัย และการว่างงาน เป็ นต้น

 แนวคิดอนุรักษน์ ิยมมกั ถือกนั วา่ เป็นแบบ “หวั เก่า” หรือ “หวั โบราณ” คือชอบสภาวะเดิม และยดึ ถือขนบธรรมเนียมเก่าๆ อยา่ งมนั่ คง อุดมการณ์น้ีตรงกนั ขา้ มกบั พวกเสรีนิยม พวกเสรีนิยมมกั จะเรียกพวก อนุรักษนิยมวา่ “คนท่ีไม่เชื่อวา่ จะมีอะไรท่ีควรทาเป็นคร้ังแรก” พวก อนุรักษน์ ิยมไดร้ ับชื่อวา่ เป็นพวกฝ่ ายขวา พวกปฏิกิริยา (reactionary) พวกระมดั ระวงั (cautions) ทางสายกลาง (moderate) และเช่ืองชา้ (slow) ตามประวตั ิศาสตร์ พวกอนุรักษนิยมเกิดข้ึนเม่ือประมาณศตวรรษท่ี 18 ซ่ึงเป็นการต่อตา้ นอิทธิพลของการปฏิวตั ิฝร่ังเศส อยา่ งไรกต็ ามรากฐาน ของอุดมการณ์อนุรักษน์ ิยมสามารถยอ้ นกลบั ไปไดใ้ นสมยั กรีกโบราณ โดยเฉพาะแนวปรัชญาทางการเมืองของเพลโต ซ่ึงมีความคิดคอ่ นขา้ ง อนุรักษนิยมมาก

1. การรักษาความเป็ นระเบียบเรียบร้อยและเสถียรภาพ 2. ธรรมชาตขิ องมนุษย์มีแก่นแท้ท่ไี ม่ดี 3. ประสบการณ์สาคญั กว่าหลักตรรกะหรือการใช้เหตผุ ล 4. การเปล่ียนแปลงควรค่อยเป็ นค่อยไป ไม่เป็ นไปอย่างรุนแรง และฉับพลันเกนิ ไป 5. เสรีภาพสาคัญกว่าความเสมอภาค 6. ส่งเสริมความเป็ น “อเนกลักษณะ” หรือความ “หลากหลาย” มากกว่าความเป็ น “สากลนิยม” 7. การมรี ัฐบาลเป็ นของจาเป็ น

 ในศตวรรษท่ี 20 อุดมการณ์อนุรักษนิยมมีความเปล่ียนแปลงใน ตัวเองอย่างมาก ถึงแม้ว่าแนวความคดิ ในเร่ืองหลักๆ จะยงั คง เหมือนเดมิ แต่เร่ืองแนวคดิ เร่ืองวิถีทางเศรษฐกจิ ของพวกเขา เปล่ียนแปลงไป พวกอนุรักษนิยมใหม่ (neo- conservatism) จะมีแนวคดิ คล้ายพวกเสรีนิยมเก่าใน เร่ืองทางด้านเศรษฐกจิ โดยต้องการให้รัฐบาลถกู จากัดอานาจใน การเข้าไปแทรกแซงทางเศรษฐกจิ  ปัจจุบนั ทงั้ พวกอนุรักษนิยมใหม่และพวกเสรีนิยมใหม่มีความ คาบเก่ียวกันในหลายด้าน แม้กระท่งั ในคนๆ เดยี วกนั ในบาง กรณีอาจเป็ นอนุรักษนิยม ในบางกรณีอาจเป็ นเสรีนิยม อุดมการณ์ทงั้ สองประการจงึ ไม่สามารถถกู เรียกได้ว่าอย่ทู ่ใี ดท่ี หน่ึงตลอดไป มันได้ถูกนามาใช้อธิบายแนวความคดิ ของบุคคล หรือกลุ่มบุคคลต่อเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หน่ึง

 ฟาสซิสม์ถือกาเนิดในอติ าลีในคริสต์ศตวรรษท่ี 20 โดยกลุ่มการเมืองท่รี วมตวั กนั เพ่อื วัตถุประสงค์ใน การยุตคิ วามเป็ นกลางของอติ าลีในสงครามโลก ครัง้ ท่ี 1 และสนับสนุนให้อิตาลีเข้าร่วมสงคราม แม้ว่าในตอนแรกกลุ่มนีจ้ ะไม่มีเป้ าหมายในการ ก่อตงั้ องค์กรกต็ าม แต่เบนิโต มุสโสลินี (Benito Mussolini) ปัญญาชนสังคม นิยมกไ็ ด้กลายเป็ นสัญลักษณ์ท่โี ดดเด่นของ อุดมการณ์ฟาสซิสม์ในอิตาลี

 ฟาสซสิ ม์เป็ นอุดมการณ์ทางการเมอื งท่เี พ่มิ ประสทิ ธภิ าพในทางการผลติ มากท่สี ุดภายในเวลาท่ี น้อยท่สี ุด เพราะภายใต้ฟาสซสิ ม์ สังคมจะดาเนินไป พร้อมๆ กันภายใต้จุดมุ่งหมายเดยี วกัน ไม่มีใครคดั ค้าน การนาของผู้นา ในแง่หน่ึงฟาสซสิ ม์จงึ เป็ นอุดมการณ์ท่ี อนั ตราย เพราะไม่มีฝ่ ายใดจะช่วยถ่วงดุลการใช้อานาจ ของผู้นาไว้ได้เลย ส่วนความหมายของคาว่าฟาสซสิ ม์ (fasism) นัน้ ถกู นามาใช้จากศัพท์ลาตนิ ว่า Fasces ซ่งึ แปลว่า การผูกไว้ด้วยกัน แต่ใช้ใน ความหมายว่า อานาจท่มี าจากความสามัคคี

1. อานาจสูงสุดของรัฐเหนือปัจเจกชน 2. ชาตนิ ิยมอย่างรุนแรง 3. ประชาธิปไตยแบบต่อต้านเสรีนิยม 4. แสนยานุภาพนิยมและลัทธิก่อการร้าย 5. การปกครองโดยเผดจ็ การ 6. การต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook