Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 57 Public Administration Kanyawan 2203101

57 Public Administration Kanyawan 2203101

Description: 57 Public Administration Kanyawan 2203101

Search

Read the Text Version

เคร่ืองมอื ทางจติ วทิ ยาท่ีสาคญั คอื การโฆษณาชวนเช่ือ (Propaganda) การโฆษณาชวนเชื่อ หมายถงึ ความพยายามท่จี งใจของ บุคคลหรือกลุ่มบุคคลทต่ี ้องการเปลย่ี นทรรศนะ ความรู้สึกนึกคดิ ของ กล่มุ อนื่ ๆ ทน่ี าไปสู่การกระทาตามแนวทางทกี่ าหนดไว้ โดยการใช้ สัญลกั ษณ์ต่าง ๆ องค์ประกอบของการโฆษณาชวนเช่ือ ทสี่ าคญั มี 4 ประการ คอื 1 ต้องมีตวั ผู้โฆษณา 2 ต้องมีสัญลักษณ์ 3 ต้องมีส่ือ 4 ต้องมีกลุ่มบุคคล หรือกลุ่มเป้ าหมาย

เป้ าหมายของการโฆษณาชวนเชื่อ การโฆษณาชวนเชื่อจะต้องมีการกาหนดเป้ าหมาย ท้งั นีเ้ พอื่ จะ ได้กาหนดวธิ ีการและเทคนิคทจ่ี ะนามาใช้ให้บรรลุเป้ าหมาย วธิ ีการและเทคนิคของการโฆษณาชวนเช่ือ วธิ ีการและเทคนิคของการโฆษณาชวนเช่ือ เป็ นศาสตร์ หรือศิลปะของ การโฆษณาชวนเชื่อ มลี กั ษณะคล้ายคลงึ กนั ศิลปะของการโฆษณาและ การขาย และเหมือนกบั นกั โฆษณาและนักขาย ดงั น้ัน วธิ ีการและ เทคนิคการโฆษณาชวนเชื่อ คอื วธิ ีการเสนอเนือ้ หา เทคนิคการ เรียกร้องความสนใจ วธิ ีการทใี่ ห้ได้มาซึ่งการตอบสนองและวธิ ีทจ่ี ะให้ ได้มาซึ่งการยอมรับ

3. เคร่ืองมอื ทางเศรษฐกจิ (Economic Instrument) ปัจจุบันเศรษฐกจิ ได้เข้ามามบี ทบาทสาคญั ในการดาเนินความสัมพนั ธ์ระหว่าง ประเทศเป็ นอย่างมาก ประเทศท่ีมีสถานะทางเศรษฐกจิ ดี ย่อมจะสามารถมี อทิ ธิพลเหนือประเทศอนื่ ได้ และใช้สถานะทางเศรษฐกจิ เป็ นเครื่องมอื ในการ ดาเนินความสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศ เคร่ืองมือทางเศรษฐกจิ ทรี่ ัฐอาจนามาใช้เพอ่ื ให้บรรลเุ ป้ าหมายทางด้าน ต่างประเทศ อาจแบ่งออกได้ เป็ น 3 ลกั ษณะ คือ 1 การค้าระหว่างประเทศ (Foreign Trade) 2 การให้ความช่วยเหลอื ระหว่างประเทศ (Foreign Aids) 3 การลงทุนจากต่างชาติ (Foreign Envestment)

4. เครื่องมือทางการทหาร (Military Intrument) เครื่องมอื ทางการทหารเป็ นเครื่องมอื ที่สาคญั และจาเป็ น เคร่ืองมอื หนึ่ง ในการดาเนินความสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศ โดยทวั่ ไปเวลาใช้มกั ใช้หลงั เครื่องมอื อนื่ ๆ ใช้เพอ่ื การแสดงพลงั อานาจ ใช้เพอ่ื การสร้างความรุนแรง เป็ นเคร่ืองมือทส่ี ่งเสริมการทูต ให้ประสบผลสาเร็จ

เคร่ืองมือในการดาเนินความสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศ ได้แก่เคร่ืองมือ ทางการทูต เครื่องมอื ทางจติ วทิ ยา เครื่องมอื ทางเศรษฐกจิ และเคร่ืองมอื ทางการทหาร ล้วนแต่มีค่าใช้จ่ายต่างกนั โดยเปรียบเทยี บเคร่ืองมือทางการทูต จะมคี ่าใช้จ่ายค่อนข้างน้อย อตั ราความเสี่ยงกม็ นี ้อยและมีประสิทธิภาพ พอสมควร ส่วนเครื่องมอื ทางการทหารมคี วามเส่ียงสูง ค่าใช้จ่ายกค็ ่อนข้างสูง และอาจมีประสิทธิภาพในระยะส้ัน ๆ ส่วนเครื่องมือทางเศรษฐกจิ ต้องเสีย ค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง มีความเส่ียงไม่สูงนัก และจะได้ผลค่อนข้างช้า ในขณะ เคร่ืองมอื ทางจติ วทิ ยา หรือการโฆษณาชวนเชื่อ มักมคี ่าใช้จ่ายและความเสี่ยง ค่อนข้างต่า แต่ไม่ค่อยมีความแน่นอนในประสิทธิภาพ อกี ต้องใช้เวลานานกว่า จะรู้ผล อย่างไรกม็ ปี ระเทศต่าง ๆ อาจเลอื กใช้เครื่องมอื ต่าง ๆ เหล่านี้ ตามความ เหมาะสม

องค์การระหว่างประเทศ องค์การระหว่างประเทศ จงึ เป็ นทางออกของรัฐ ท่ใี ช้เพ่อื จัดระเบยี บความสัมพนั ธ์หรือการปฏบิ ตั ติ ่อ กัน กล่าวอีกอย่างหน่ึง คอื การวางกฎเกณฑ์สาหรับใช้ ปฏบิ ตั ติ ่อกนั หรือดาเนินการร่วมกนั เพ่อื แก้ปัญหาท่ี เกดิ ขนึ้ นอกจากนีอ้ งค์การระหว่างประเทศ ยังใช้เป็ น เวทกี ลางสาหรับรัฐต่าง ๆ มาร่วมตกลงประสาน ผลประโยชน์และเป็ นกลไกสาหรับระงบั ข้อพพิ าท ระหว่างรัฐ รักษาความม่ันคงปลอดภยั และจรรโลง สันตภิ าพท่ถี าวรในโลก

1. ความหมายขององค์การระหว่างประเทศ องค์การระหว่างประเทศ หมายถึง รัฐอธิปไตยต้ังแต่สอง รัฐขนึ้ ไป รวมกนั จดั ต้งั ขึน้ เพอ่ื เป็ นกลไกอย่างหน่ึงในการดาเนิน ความสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศ ท้งั ในด้านเศรษฐกจิ สังคม การเมือง และการทหาร 2. ความสาคญั ขององค์การระหว่างประเทศ ความสาคญั ในการจัดต้ังองค์การระหว่างประเทศ คอื การ ทร่ี ัฐต่าง ๆ มุ่งแสวงหาสันตภิ าพและความมนั่ คงร่วมกนั ได้ ตระหนักถงึ ความจาเป็ นทจ่ี ะต้องต้ังองค์กรขนึ้ เพอ่ื เป็ นเครื่องมือ ในการดาเนินความสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศ

3. จุดมุ่งหมายขององค์การระหว่างประเทศ 3.1 การรักษาไว้ซ่ึงสันติภาพและความม่นั คงระหว่างประเทศ 3.2. การส่งเสริมความร่วมมือในด้านต่าง ๆ ระหว่างรัฐ การจัดต้งั องค์การระหว่างประเทศ เพอ่ื วางหลกั เกณฑ์ใน ความสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศ กล่าวได้อย่างกว้าง ๆ ว่าจุดมุ่งหมายที่ พยายามจะลดความขัดแย้งระหว่างประเทศให้ได้มากทส่ี ุด และ สนับสนุนความร่วมมอื ระหว่างรัฐต่าง ๆ ให้ได้มากทสี่ ุด ในการทร่ี ัฐ มาดาเนินความสัมพนั ธ์ระหว่างกนั

4. บทบาทขององค์การระหว่างประเทศ 4.1 บทบาททางด้านการเมือง โดยท่วั ไปหลักการสาคญั ขององค์การระหว่างประเทศ คือ การ แสวงหาสันตภิ าพและความม่ันคงแก่มวลสมาชกิ 4.2. บทบาททางด้านเศรษฐกิจ บทบาททางด้านเศรษฐกจิ เป็ นบทบาทท่ชี ่วยแก้ไขปัญหา เศรษฐกจิ และมุ่งพัฒนาส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกจิ 4.3 บทบาททางด้านสังคม บทบาททางด้านสังคมเป็ นบทบาทท่มี ุ่งแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ทาง สังคม อันเน่ืองมาจากความก้าวหน้าทางด้านอตุ สาหกรรมและ เทคโนโลยี

จะเหน็ ได้ว่า บทบาทขององค์การระหว่างประเทศเป็ น บทบาทท่สี าคัญโดยเฉพาะทางด้านการเมือง คอื เป็ นการระงบั ข้อ พพิ าทโดยสันตวิ ธิ ี การรักษาความม่ันคงร่วมกนั การควบคุม และ ลดอาวุธ การส่งเสริมหลักการกาหนดตนเอง และการก่อให้เกดิ บูรณาการทางการเมือง ทางด้านเศรษฐกจิ คอื การส่งเสริม พฒั นาด้านเศรษฐกิจ และการส่งเสริมความร่วมมือทางด้าน เศรษฐกิจทงั้ ในระดบั โลกและภมู ิภาค ส่วนทางด้านสังคม คอื การ วางมาตรฐานการประพฤตบิ างประการภายในประเทศ การวาง ระเบียบกฎเกณฑ์ในการตดิ ต่อระหว่างประเทศ และการให้ บริหารระหว่างประเทศ

5. ประเภทขององค์การระหว่างประเทศ องค์การระหว่างประเทศในฐานะเป็ นองค์การระหว่างประเทศ สามารถแยก ออกได้เป็ น 2 ระดบั คือ 5.1 องค์การระหว่างประเทศสากล (Universal Organization) 5.2 องค์การระหว่างประเทศส่วนภูมภิ าค (Regional Organization) องค์การระหว่างประเทศสากล เป็ นองค์การท่ีประเทศส่วนใหญ่ใน โลกเป็ นสมาชกิ มีบทบาทและขอบข่ายกว้างขวางท่ีเก่ียวกับความม่ันคง ปลอดภัย และความร่วมมือทางเศรษฐกจิ สังคม และการเมือง ส่วนองค์การระหว่างประเทศส่วนภูมภิ าค ประเทศส่วนใหญ่ในแต่ ละภมู ภิ าคเป็ นสมาชกิ จะมีบทบาทและขอบข่ายเฉพาะในแต่ละส่วน ภมู ภิ าคในด้านเศรษฐกจิ สังคม และการเมือง เช่นเดยี วกัน

6. ลักษณะขององค์การระหว่างประเทศ องค์การระหว่างประเทศจัดแบ่งออกได้เป็ น 2 ลักษณะ คือ 6.1 ยดึ ถอื ตามบทบาทหน้าท่ใี นการปฏิบัตงิ าน 6.2 ยดึ ตามพืน้ ท่ที างภมู ิศาสตร์ 7.องค์การระหว่างประเทศด้านสังคม องค์การระหว่างประเทศด้านสังคม หมายถงึ หน่วยงานท่ี มีบทบาทและหน้าท่ใี นการแก้ปัญหาระหว่างประเทศ ด้าน สังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม ก่อให้เกดิ ความ เจริญก้าวหน้าทางสังคมของประชาชาตทิ งั้ ปวง

7.1 สานักงานใหญ่ผู้ลีภ้ ัยแห่งสหประชาชาติ (UNHCR) 7.2. องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization :ILO) 7.3 องค์การอนามัยโลก (World Health Organization : WHO) 7.4 องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization : FAO) 7.5 องค์กรศกึ ษาวทิ ยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nation Educational Scientific and Cultural Organization : UNECO)

8. องค์การระหว่างประเทศด้านเศรษฐกิจ ในศตวรรษท่ผี ่านมาได้ก้าวเข้าสู่ยุคโลกาภวิ ัฒน์เกิดความ เจริญอย่างรวดเร็ว ทางด้านเทคโนโลยีและการส่ือสาร ส่งผล ให้การแข่งขันในด้านการค้าระหว่างประเทศ มีความรุนแรง มากขนึ้ องค์การระหว่างประเทศทางด้านเศรษฐกจิ ของสังคม โลก ดแู ลให้ประเทศสมาชกิ ปฏิบัตติ ามกตกิ าของสังคมโลก ผลักดนั ให้ใช้นโยบายเศรษฐกิจเสรีนิยม ส่งเสริมเอกชนให้มี บทบาททางเศรษฐกจิ

8.1. องค์การค้าโลก (World Trade Organization : WTO) หลักการดาเนินงานขององค์การค้าโลก คือ การทาหน้าท่ดี แู ล การค้าสนิ ค้า ครอบคลุมถงึ การค้าบริการ สทิ ธใิ นทรัพย์สนิ ทางปัญญา และมาตรการการลงทุนท่เี ก่ียวกับการค้า โดยพยายามลดอุปสรรค และมาตรการในการกีดกนั ทางการค้า 8.2. กองทนุ การเงนิ ระหว่างประเทศ (International Monetary Fund : IMF) กองทุนการเงนิ ระหว่างประเทศ จดั ตงั้ ขนึ้ เพ่อื ให้ความ ช่วยเหลือประเทศสมาชกิ เม่ือประเทศสมาชิกประสบปัญหาทาง เศรษฐกจิ อย่างรุนแรง ถงึ ขัน้ ต้องขอความช่วยเหลือ ประเทศผู้กู้ จะต้ องทาความตกลงเก่ียวกับแผนการปรับปรุงโครงสร้ างเศรษฐกจิ

8.3 ธนาคารเพ่ือการพฒั นาเอเชีย (The Asian Development Bank : ADB) ธนาคารเพ่ือการพฒั นาเอเชยี มีบทบาทในการ ช่วยเหลือและส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมของ ประเทศสมาชิกในแถบภมู ิภาคเอเชียและตะวันออกไกล ในการพัฒนาสาธารณูปโภคขัน้ พืน้ ฐาน 8.4 สหภาพยุโรป (European Union : EU) สหภาพยุโรปเป็ นการรวมกลุ่มของประเทศในยโุ รป เพ่ือพฒั นาเศรษฐกิจของประเทศในยุโรป มีการใช้เงนิ สกุล เดยี วกันของประเทศส่วนใหญ่

8.5 สมาคมประชาชาตแิ ห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (The Association of Southeast Asian Nations : ASEAN) สมาคมอาเซียนเป็ นสมาคมของประเทศในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ จัดตัง้ ขนึ้ เพ่ือพฒั นาเศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรม และวทิ ยาศาสตร์ ของประเทศในเอเชียตะวนั ออก เฉียงใต้ 8.6 องค์การของประเทศผู้ส่งนา้ มันเป็ นสนิ ค้าออก (Organization of Petroleum Exporting Countries : OPEC ) องค์การโอเปก เป็ นกลุ่มประเทศท่ปี กป้ องพทิ กั ษ์ ผลประโยชน์ของประเทศสมาชิก รักษาราคานา้ มันให้มีเสถียรภาพ และมีรายได้อย่างสม่าเสมอสาหรับประเทศท่ผี ลิตนา้ มัน

8.7 ความตกลงทางการค้าอเมริกาเหนือ (North American Free Trade Agreement : NATA) ความตกลงทางการค้าอเมริกาเหนือ มีวตั ถุประสงค์การ ร่วมมือทางเศรษฐกจิ ด้วยการกาจดั ภาษีศุลกากรท่เี ป็ นอุปสรรคทาง การค้า ส่งเสริมให้มีการแข่งขันท่เี ป็ นธรรมและคุ้มครองทรัพย์สนิ ทาง ปัญญา 8.8 ความร่วมมือทางเศรษฐกจิ ในภมู ิภาคเอเชีย-แปซฟิ ิ ก (Asia Pacific Economic Cooperation : APEC) ความร่วมมือทางเศรษฐกจิ ในภมู ภิ าคเอเชีย – แปซฟิ ิ ก มี วัตถุประสงค์ คือ สนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกจิ ในภูมภิ าค เอเชีย – แปซฟิ ิ ก และของโลก พัฒนาและส่งเสริมระบบการค้าพหุ ภาคี บนรากฐานการค้าเสรี

8.9 การประชุมสหประชาชาตวิ ่าด้วยการค้า และการพฒั นา (United Nations Conferences on Trade and Development : UNCTAD) อังค์ถดั เป็ นองค์การระหว่างประเทศภายใต้กรอบของ องค์การสหประชาชาติ เกิดขนึ้ จากความพยายามและความ ร่วมมอื ของกลุ่มประเทศกาลังพฒั นา ซ่งึ รวมกันเรียกว่ากลุ่ม 77 (G 77) องค์การอังค์ถัดเป็ นการรวมกลุ่มของประเทศกาลัง พฒั นา เพ่อื เรียกร้องให้ประเทศท่พี ฒั นาแล้วร่วมมอื แก้ไข ปัญหาอุปสรรค เก่ยี วกับการค้า การพฒั นาของประเทศกาลัง พัฒนา

9. องค์การระหว่างประเทศด้านการเมือง เม่ือสงครามโลกครัง้ ท่ี 1 สิน้ สุดลง ได้มีการประชุม สันตภิ าพขนึ้ ณ ประราชวงั แวร์ซายส์ ในปี ค.ศ. 1918 ตก ลงจัดตงั้ องค์การสันนิบาตชาติ และแก้ไขข้อขัดแย้งโดย สันตวิ ิธี 9.1 องค์การสหประชาชาติ (The United Nations) องค์การสหประชาชาตกิ ่อตงั้ ขึน้ มา ด้วย เจตนารมณ์ท่จี ะขจดั ภยั พบิ ัตอิ ันเกดิ จากสงคราม ประกัน สิทธิมนุษยชน ตลอดจนส่งเสริมความก้าวหน้าทาง เศรษฐกิจและสังคมของมนุษยชาติ

9.2 องค์การสนธิสัญญาแอตแลนตกิ เหนือ (North Atlantic Treaty Orainzation : NATO) องค์การสนธิสัญญาแอตแลนตกิ เหนือ เป็ น องค์การพันธมติ รทางทหารระหว่างสหรัฐอเมริกา และ ประเทศต่าง ๆ ในยุโรป องค์การนาโต เป็ นองค์การร่วมป้ องกนั ทางทหาร เพ่อื ต้านการรุกรานจากภยั คอมมิวนิสต์ของยุโรป ยดึ หลักแห่งการร่วมป้ องกนั ตนเอง และระงบั ข้อพพิ าทโดย สันตวิ ธิ ี

บทสรุป สังคมระหว่างประเทศ ประกอบไปด้วยรัฐ อธิปไตยเป็ นอันมาก ซ่งึ ต่างถือว่าตนเป็ นผู้มีอานาจ สูงสุด สามารถตดั สินใจกระทาการได้ทกุ อย่าง ตาม อาเภอใจ ปราศจากการควบคุม ท่งั นีเ้ น่ืองจากไม่มี สถาบนั ใดท่มี ีอานาจเหนือกว่ารัฐ และรัฐอธปิ ไตยต่าง ๆ เหล่านัน้ ถอื กาเนิดขนึ้ ในลักษณะท่แี ตกต่างกัน มี ผลประโยชน์ไม่เท่าเทยี มกนั ทาให้รัฐต่าง ๆ ต้องต่อสู่ ดนิ้ รนแข่งขนั กนั ทกุ วถิ ที าง ทงั้ ทางด้านเศรษฐกจิ สังคม และการเมือง เพ่อื การดารงอย่ทู ่ดี ตี ามท่รี ัฐ ต้องการ

กฎหมายระหว่างประเทศ ความหมาย กฎหมายระหว่างประเทศ คอื บรรดากฎ ระเบยี บ ข้อบังคับต่าง ๆ ซ่งึ นานาประเทศต่างยนิ ยอมปฏบิ ตั ใิ นความสัมพันธ์ท่ีดตี ่อกันซ่งึ รวมตลอดซ่งึ กฎเกณฑ์ต่าง ๆ ดงั ต่อไปนี้ (1) กฏเกณฑ์ต่าง ๆ เก่ียวกับหน้าท่ีของสถาบนั หรืองค์กรระหว่าง ประเทศ ความสัมพนั ธ์ระหว่างองค์กรและสถาบนั ระหว่างประเทศนัน้ ๆ กับ รัฐหรือเอกชน (2) กฎเกณฑ์ต่าง ๆ อันเก่ียวกับสทิ ธิและหน้าท่ีของเอกชน หรือ สถาบันใด ๆ ท่ีมีฐานะไม่เท่ารัฐ ในกรณีท่ีเก่ียวข้องกับกจิ การระหว่างประเทศ ทม่ี าของกฎหมายระหว่างประเทศ ท่ีมาของกฎหมายระหว่างประเทศ มาจากจารีตประเพณี สัญญา หรือ สนธิสัญญา คาพพิ ากษาของอนุญาโตตลุ าการ หรือ ศาลยุตธิ รรมและ ผลงานของนักนิตศิ าสตร์ 373

ความแตกต่างระหว่างกฎหมายระหว่างประเทศและกฎหมายในประเทศ กฎหมายระหว่างประเทศแตกต่างจากกฎหมายในประเทศ สรุป ได้ ดังนี ้ 1. กฎหมายในประเทศมาจาก จารีตประเพณี และการนิติ บัญญัติภายในประเทศ ส่วนกฎหมายระหว่างประเทศมาจากจารีต ประเพณีและสัญญาระหว่างรัฐ 2. กฎหมายในประเทศ ผู้ท่ีอยู่ใต้บังคับ ได้แก่ บุคคลธรรมดา และนิตบิ ุคคล ส่วนกฎหมายระหว่างประเทศนัน้ ผู้อย่ใู ต้บังคับคือ รัฐและ องค์กรระหว่างประเทศ และ 3. สาระสาคัญของกฎหมายในประเทศ คือ อานาจอธิปไตย เหนือพลเมือง แต่กฎหมายระหว่างประเทศสาระสาคัญ คือ ข้อตกลง ระหว่างรัฐ 374

ลักษณะสาคัญของกฎหมายระหว่างประเทศ กฎหมายระหว่างประเทศมีลักษณะสาคญั ดังนี้ 1. ไม่มีองค์กรท่ีบัญญัติกฎหมายอย่างเป็ นทางการ มี แต่ขนบธรรมเนียม ประเพณี และข้อตกลงในสังคม 2. ไม่มีตารวจหรือศาลท่ีจะลงโทษผู้กระทาผิดหรือ ตัดสนิ ข้อพพิ าท 3. มักจัดตัง้ กลุ่มเพ่ือทาหน้าท่ีในการป้ องกันตนเอง จากการคุกคามของชนกลุ่มอ่นื 4. ขาดความศักด์ิสิทธ์ิและปราศจากมาตรการบังคับ อันแขง็ ขนั 375

ความศักดสิ์ ิทธิ์ของกฎหมายระหว่างประเทศ ความศักด์สิ ทิ ธ์ิของกฎหมายระหว่างประเทศ มีดังนี้ 1. จุดอ่อนของกฎหมายระหว่างประเทศ คือ การไม่มีความ ศักด์สิ ิทธ์ิและการขาดมาตรการบงั คับ 2. อาจไม่มีแนวทางปฏิบัตดิ ้านความร่วมมือในเร่ือง การค้า การ ทตู และการคมนาคม เป็ นต้น การพจิ ารณาของกฎหมายระหว่างประเทศ กฎหมายระหว่างประเทศอาจพจิ ารณา ได้ 2 ประเดน็ คอื 1. กฎหมายว่าด้วยการค้าและการพาณิชย์ระหว่างประเทศ โดยมี กฎ ระเบยี บขององค์การการค้าโลกเป็ นตวั กาหนด 2. กฎหมายเก่ยี วกบั สันตภิ าพและความม่ันคงระหว่างประเทศ 376


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook