Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 57 Public Administration Kanyawan 2203101

57 Public Administration Kanyawan 2203101

Description: 57 Public Administration Kanyawan 2203101

Search

Read the Text Version

K.Kanyawan Kamnedsin Lecturer “Political Science Master Deegree” Public Administration Program Faculty Humanities and Social Sciences Bansomdejchaopraya Rachabhat University

1. เข้าเรียนสาย 3 ครัง้ เชค็ เป็ นขาด 1 ครัง้ (80 % ของเวลาเรียน) 2. เข้าเรียนสายเกนิ 30 นาที ถือเป็ นขาดเรียน (ยกเว้นเหตุสุดวสิ ัย ) 3. โทรศัพท์ใช้ระบบส่ันเท่านัน้ 4. ห้ามใช้โน๊ตบุ๊ค และโทรศัพท์ มือถอื ระหว่างการบรรยาย 5. แต่งกายถกู ต้องตามระเบียบมหาวทิ ยาลัย ถอื เป็ นขาดเรียน 6. ขาดเรียนต้องส่งใบลาทุกครัง้ 7. ขาดสอบโดยไม่จาเป็ นเกรด E กรณีเดยี วเท่านัน้ เจบ็ ป่ วยต้องมี ใบรับรองแพทย์ (พจิ ารณาเป็ นราย ๆ )

How toscore ! - คะแนนเกบ็ ระหว่างภาคเรียน 60 คะแนน เข้าเรียน +พฤตกิ รรมในชัน้ เรียน 20 คะแนน รายงาน + รายงานหน้าชัน้ เรียน 20 คะแนน ทดสอบกลางภาค 20 คะแนน 40 คะแนน - คะแนนสอบปลายภาค

บทเรียนในวชิ านี้ บทท่ี 1.ลักษณะท่วั ไปของวชิ ารัฐศาสตร์ บทท่ี 2.แนวความคดิ ทางการเมือง บทท่ี 3.รัฐ บทท่ี 4.อานาจอธิปไตย บทท่ี 5.สถาบันทางการเมือง บทท่ี 6.กระบวนการทางการเมือง บทท่ี 7.ความสัมพนั ธ์ระหว่างรัฐกบั ประชาชน บทท่ี 8.การมีส่วนร่วมทางการเมือง บทท่ี 9.ลัทธิและอุดมการณ์ทางการเมือง บทท่ี 10.ความสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศ

 มนุษย์ไม่สามารถดารงชีวติ อยู่ได้เพยี งลาพงั บนโลก ใบนีไ้ ด้ เพราะมนุษย์เป็ นสตั ว์สงั คมและเป็ นสัตว์ การเมอื ง (We can not live alone.)  การเมอื งเกดิ จากความเป็ นจริงท่วี ่า ความจาเป็ น ต่างๆ ของมนุษย์มีจากัดในขณะท่คี วามต้องการ ของมนุษย์มีอย่างไม่จากดั การเมืองจงึ เกดิ ขนึ้ มา เพ่อื ท่จี ะเป็ นกฎเกณฑ์ในการแบ่งสรรความจาเป็ น ต่างๆ เหล่านี้

ประโยชน์ในการศึกษาวชิ ารัฐศาสตร์  ประโยชน์ในแง่ขององค์ความรู้ท่จี ะใช้ในการ ประกอบอาชีพท่เี ก่ียวกับการเมือง การปกครอง ทงั้ ใน ระดบั ส่วนกลางและส่วนท้องถ่นิ แต่ส่งิ ท่มี ีความสาคัญโดยตรงและเป็ นเป้ าหมายหลักใน การเรียนรัฐศาสตร์ คอื  ต้องการให้บณั ฑิตท่จี บมากลายเป็ นพลเมืองของ ระบอบประชาธิปไตย รู้จักใช้สทิ ธิ เคารพหน้าท่ี เคารพกฎหมายและความเท่าเทยี ม มีส่วนร่วมทางการ เมือง มีภมู ริ ู้และภมู ธิ รรมและเป็ นหน่ึงในแรง สร้างสรรค์ประชาธปิ ไตย”



รัฐศาสตร์ (POLITICAL SCIENCE) เป็ นศาสตร์ท่วี ่าด้วยเรื่องรัฐ รัฐศาสตรเป็ นศาสตร์ท่ีเกยี่ วกบั การเมือง (POLITICS) หรือ อานาจ รัฐศาสตร์ เป็ นศาสตร์ทีว่ ่าด้วยรัฐบาล หรือการปกครอง(GOVERNMENT) ดังน้ัน จึงสรุปได้ว่า รัฐศาสตร์ คอื ศาสตร์แห่งรัฐ

David Easton “รัฐศาสตร์เป็ นศาสตร์ท่วี ่าด้วย การเลือกสรรส่ิงท่ดี ีให้คนในสังคมได้อยู่กนิ ใช้อย่างมีคุณภาพ” รัฐศาสตร์ ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Political Science เป็ นการศกึ ษาถงึ เร่ืองราวทางการเมือง อานนท์ อาภาภริ ม (2545 : 1) ได้ให้ความหมายของคา ว่า รัฐศาสตร์ ไว้ว่า รัฐศาสตร์เป็ นศาสตร์ท่วี ่าด้วยรัฐ ซ่งึ ถือว่า เป็ นสาขาหน่ึงของสังคมศาสตร์ท่กี ล่าวถงึ ทฤษณีการจดั ตัง้ องค์การรัฐบาลและการดาเนินงานของรัฐ

จรูญ สุภาพ (2514 : 3) ได้ให้ความหมายของคาว่า รัฐศาสตร์ ไว้ว่า รัฐศาสตร์เป็ นศาสตร์ท่วี ่าด้วยรัฐ ซ่งึ จัดว่าเป็ น สาขาหน่ึงของวิชาสังคมศาสตร์ท่กี ล่าวถงึ ทฤษฎีการจัดองค์การ การเมอื งการปกครอง รัฐบาล และวธิ ีดาเนินการต่าง ๆ ของรัฐ ฮาโรลด์ ดี. ลาสเวลล์ (Harold D. Lasswell 1958) อ้างถงึ ในมูฆอรี ยหี นะ (2534 : 2) ได้ให้ความหมาย ของคาว่า รัฐศาสตร์ ไว้ว่า รัฐศาสตร์เป็ นศาสตร์ท่ศี กึ ษาเร่ือง ของการเมือง เพ่ือดูว่า ใครได้อะไร เม่ือใด และอย่างไร โดยคา ว่า ใคร ได้แก่ ผู้นาทางการเมือง พรรคการเมือง กลุ่ม ผลประโยชน์ ตลอดจนผู้มีสิทธ์ิเลือกตัง้ ซ่ึงต่างเข้าไปมีส่วนร่วม ในกระบวนการทางการเมอื ง สรุปได้ว่า รัฐศาสตร์เป็ นการศกึ ษาในเร่ืองการเมือง การ ปกครอง กจิ กรรมทางการเมืองและการจัดสรรส่ิงท่มี ีคุณค่าให้แก่ สังคม science ในท่นี ่ีหมายถงึ ศาสตร์หรือวชิ าการ

คำวำ่ รัฐศาสตร์ กบั การเมือง มกั ใช้แทนกนั ได้ แตก่ ็ มขี ้อแตกตำ่ งท่สี ำคญั คอื รัฐศาสตร์ (Political Science) เป็นเรื่องทห่ี นกั ไปในทำงวทิ ยำกำรหรือศำสตร์ที่มีกำร จดั ระบบหมวดหมอู่ ย่ำงชดั เจน(อำนำจสงู สดุ ของรัฐ) การเมอื ง (Politic) มีลกั ษณะหนกั ไปในเชงิ กำรกระทำหรือเป็นกิจกรรม (อำนำจทำงกำรเมอื งของรัฐ)

การเมือง (Politics) มาจากรากศัพท์ในภาษากรีกว่า โพลสิ (Polis) ซ่ึงหมายถึง รัฐ หรือนครรัฐ (City State) หรืออกี นัยหนึ่ง การเมืองก็ คอื กจิ กรรมเกย่ี วกบั การทคี่ นจานวนหน่ึงมาร่วมกนั เป็ นประเทศหรือ รัฐ ****การเมอื งหมายถึง การแสวงหาผลประโยชน์ หรือ กล่าวอกี นัยหนง่ึ กค็ อื การแข่งขนั กนั เพอื่ การแสวงหาอานาจ ซึ่งส่งผลกระทบต่อสังคมท้งั คม *****

สภาพของวชิ ารัฐศาสตร์ วทิ ยาการของโลกปัจจุบนั แบ่งสภาพของวชิ ารัฐศาสตร์ ออกออกเป็ น 3 สาขา 1. วทิ ยาศาสตร์ธรรมชาติ (Natural Science) วทิ ยาศาสตร์ธรรมชาติ คอื ความรู้ทไ่ี ด้รับจากการศึกษา ธรรมชาตแิ ละปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ โดยการใช้วธิ ีการ ทางวทิ ยาศาสตร์ ซ่ึงได้แก่การต้งั สมมตฐิ าน การวางแผน รวบรวมข้อมูล การวเิ คราะห์ข้อมูล การทารายงาน และการ ทดสอบ 2. สังคมศาสตร์ (Social Science) สังคมศาสตร์ คอื ความรู้ทเี่ กย่ี วกบั สังคมมนุษย์ทอ่ี ยู่ ร่วมกนั ในสังคม 3. มนุษยศาสตร์ (Humanities) มนุษยศาสตร์ คอื ความรู้ทกี่ ล่าวถงึ คุณค่าและผลงาน ของมนุษย์

การศึกษารัฐศาสตร์ กค็ อื การศึกษาวชิ าการเมือง โดยใช้ศาสตร์หรือวชิ าการเข้ามาวเิ คราะห์ การศึกษาวชิ ารัฐศาสตร์เป็ นการศึกษากลุ่มหน่ึง ของสาขาวชิ าสังคมศาสตร์ที่เกย่ี วข้องกบั ทฤษฎี องค์การ รัฐบาล แนวปฏบิ ตั ขิ องรัฐ ปัจจุบนั จะ เน้นทีก่ ารศึกษาระบบการเมือง

1. ทฤษฎกี ารเมืองและประวตั ิความคดิ ทางการเมอื ง (Political and History of Political Though)มุ่งศึกษาเกี่ยวกบั หลกั การ ทฤษฎีบท แนวคิดทางรัฐศาสตร์  2. สถาบันทางการเมือง (Political Institutions) มุ่งศึกษานิยามระบบองคป์ ระกอบและอานาจของสถาบนั ทาง การเมือง ซ่ึงรวมถึงนโยบายการจดั ต้งั และโครงสร้างของการ ปกครองของรัฐ การปกครองทอ้ งถ่ิน และการปกครอง เปรียบเทียบ 16

3. กฎหมายสาธารณะ (Public laws) ศึกษาถึงรากฐานของรัฐรวมท้งั ปัญหาการแบ่งแยกอานาจ คน้ ควา้ ความสมั พนั ธ์ของกฎหมายสูงสุดของรัฐ  4.พรรคการเมอื ง กล่มุ อทิ ธิพลและประชามติ (Political Parties, Pressure Groups and Public Opinion) ศึกษาถึงบทบาทและจุดประสงคข์ องการจดั ต้งั ตลอดจนผลของ พรรคการเมือง กลุ่มอิทธิพลและประชามติ 17

5.รัฐประศาสนศาสตร์ (public administration) การศึกษาถึงการจดั กาลงั คน เงิน และวสั ดุ ในอนั ท่ีจะปฏิบตั ิใหเ้ ป็นไปตาม เจตจานงของการปกครองของรัฐ  6.ความสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศ(international relations) ศึกษาถึงดา้ นนโยบาย หลกั การและวิธีการในความสมั พนั ธ์ระหวา่ งรัฐ ขอ้ มูลต่างๆเหล่าน้ีมีบทบาทสาคญั ในการกาหนดบทบาทของแต่ละรัฐใน เวทีการเมืองระหวา่ งประเทศ 18

1. แนวปรัชญา ปรัชญาการเมือง โดยเฉพาะการศกึ ษาในยคุ กรีกโบราณและ ยุโรปยคุ กลาง ส่วนการศึกษาในช่วงปลาย ค.ศ. 1900 นักปรัชญา เรียกว่า ทฤษฎกี ารเมอื ง ซ่งึ ในยคุ กรีกโบราณ (Ancient Greeks) มีนักปรัชญาท่นี ่าสนใจคอื โสเครตสิ เพลโต และ อริสโตเตลิ ยุคต่อมาหลังจากยุคศาสนาเส่ือมอานาจเกิดนักปรัชญา ท่นี ่าสนใจคอื มาเคยี เวลลี (Niccolo Machiavelli) เก่ียวกับศิลปะของอานาจ 19

ยคุ แนวคดิ สญั ญำประชำคมเกิดผ้นู ำเสนอแนวคิดคอื โธมสั ฮอบส์ (Thomas Hobbes) จอห์น ลอ็ ค (John Locke) และฌอง ชำคส์ รุสโซ (Jean Jacques Rousseau) และ ยงั มอี ีกหลำยทำ่ นในเวลำตอ่ มำเชน่ มองเตสดเิ ออ (Montesquieu) เฮเกล (Hegal) เบนธึม (Jeremy Bentham) มิลล์ (John Stuart Mill) และข้อเสนอของ คำร์ล มำร์กส์ (Karl Marx) 20

การศึกษารัฐศาสตร์ในแนวปรัชญาตามเน้ือหาและ วธิ ีการดงั กล่าวปรัชญาการเมอื ง เป็ นแนวทางเก่าแก่ การศึกษาธรรมชาติของระบบการเมอื งทีด่ ที ี่สุด เนือ้ หา จงึ อยู่ในลกั ษณะของความควรหรือไม่ควร อะไรดี อะไรเลว โดยนาเอาจริยธรรมหรือศีลธรรมเข้ามา กาหนด จงึ เป็ นประโยชน์ในแง่ท่เี ป็ นการสร้างรากฐาน ทางทฤษฎใี ห้แก่การศึกษารัฐศาสตร์ในปัจจุบัน โดยท่ี การศึกษารัฐศาสตร์ในแนวปรัชญาน้ันได้มสี ่วนช่วย อย่างสาคญั ในการกาหนดเค้าโครงของเนือ้ หาสาระที่ เป็ นหัวใจสาคญั หรือองค์ประกอบสาคญั ของวชิ า รัฐศาสตร์ 21

2. แนวสถาบันและโครงสร้าง การศึกษารัฐศาสตร์แนวสถาบนั และโครงสร้างให้ความสนใจท้งั ใน ส่วนทเี่ ป็ นสถาบนั ทางการเมืองการปกครอง เน้นในเชิงพฤตกิ รรม เชิงเปรียบเทยี บและเชิงพฒั นา โดยทไ่ี ด้รับอทิ ธิพลทางความคดิ เกย่ี วกบั ระเบียบวธิ ีจากวทิ ยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และชีววทิ ยา เนือ้ หาเกยี่ วกบั สถาบันทางการเมือง ในฐานะทเี่ ป็ นส่วนประกอบ หรือระบบย่อยของระบบการเมอื ง ท้งั ทีเ่ ป็ นสถาบันที่เป็ น ทางการและไม่เป็ นทางการ สถาบนั ของรัฐและประชาชน 22

3. แนวระบบและวฒั นธรรมทางการเมือง การศึกษารัฐศาสตร์แนวระบบและวฒั นธรรมทางการเมอื งมี เนือ้ หาสาคญั เกย่ี วกบั ลกั ษณะร่วมทเ่ี หมือนหรือคล้ายคลงึ กนั ของ ระบบการเมือง ข้นั ตอนและการทางานของระบบการเมือง การ ดารงอยู่ของระบบการเมอื ง และความแตกต่างของระบบ การเมือง

ปัจจยั สาคญั ทม่ี สี ่วนกาหนดความแตกต่างของระบบการเมือง คอื วฒั นธรรมทางการเมอื ง โดยเฉพาะวฒั นธรรมทางการเมอื ง ของมวลชน และวฒั นธรรมทางการเมอื งของชนช้ันนา ท้งั นี้ เน่ืองจากวฒั นธรรมทางการเมืองน้ัน เป็ นตัวกาหนดแบบแผน พฤตกิ รรมทางการเมอื ง ท้งั พฤตกิ รรมของประชาชนทัว่ ไป พฤตกิ รรมทางการเมืองของผู้ปกครองและองค์กรอานาจหรือ สถาบนั ทางการเมอื งในระบบการเมือง

4. แนวทางพฤตกิ รรมศาสตร์ การศึกษาทางพฤตกิ รรมศาสตร์ของรัฐศาสตร์ ได้ใช้วธิ ีการศึกษาที่ ตรงตามวธิ ีศึกษาทางศาสตร์ (Scientific Method) อย่างแท้จริงหรือ เรียกว่าการศึกษารัฐศาสตร์เชิงพฤตกิ รรมนิยม (Behavioralism) คอื มี ลกั ษณะเป็ นการศึกษาเชิงวเิ คราะห์ และการศึกษาเชิงประจักษ์ไปพร้อม ๆ กนั การศึกษารัฐศาสตร์เชิงพฤติกรรมนีจ้ ะต้องนาเอาความรู้ เกยี่ วกบั พฤตกิ รรมทางการเมอื งของมนุษย์จากสาขาวชิ าต่าง ๆ เข้ามาร่วมด้วย

วชิ ารัฐศาสตร์เป็ นวชิ าทจี่ ดั รวมอยู่ในสังคมศาสตร์ เป็ น การศึกษาท่ีเกย่ี วกบั รัฐซ่ึงเป็ นท่รี วมของประชาชน ประชาชนกบั รัฐ ไม่สามารถแยกออกจากกนั ได้ เป็ นการศึกษาถงึ ลกั ษณะหลกั เกณฑ์ และวธิ ีการปกครองของมนุษย์ ฉะน้ัน การศึกษาวชิ ารัฐศาสตร์จงึ ต้องอาศัยความรู้ของสาขาวชิ าการอน่ื ประกอบด้วย สาหรับ การศึกษาความสัมพนั ธ์ระหว่าง วชิ ารัฐศาสตร์กบั วชิ าการอนื่ ดงั นี้

ความสัมพนั ธ์ระหว่างวชิ ารัฐศาสตร์กบั สาขาวชิ าอนื่ 1. ความสัมพนั ธ์ระหว่างวชิ ารัฐศาสตร์กบั วชิ าประวตั ศิ าสตร์ - ประวตั ศิ าสตร์ให้หลกั ฐานเกย่ี วกบั เหตุการณ์ต่าง ๆ ในอดตี ทาให้นัก รัฐศาสตร์เข้าใจแนวทางปรากฏการณ์ของรัฐ - ประวตั ศิ าสตร์ให้ข้อมูลเกย่ี วกบั สภาพของรัฐในอดตี - ข้อมูลในอดตี ทาให้นกั รัฐศาสตร์สามารถใช้เป็ นฐานในการวเิ คราะห์ แนวโน้มทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ ในอนาคต

วชิ าเศรษฐศาสตร์ต้องศกึ ษาเร่ืองการผลิต การใช้ ทรัพยากร และการบริโภค ดังนัน้ จงึ เก่ยี วข้องกบั ประชาชน และการปกครอง นักปกครองจงึ นาเอาวชิ าเศรษฐศาสตร์ มากาหนดนโยบายทางการเมือง เพราะเร่ืองของเศรษฐกิจ จะเก่ยี วข้องกบั ประชาชนโดยตรง ทกุ คนต้องดารงชีวติ มี การใช้จ่ายและแบ่งปันผลผลติ ดงั นัน้ จงึ ต้องมกี ารนา หลักเกณฑ์และข้อเทจ็ จริงทางเศรษฐกจิ มากาหนดนโยบาย หรือการกระทาทางการเมืองและการปกครอง

“ภมู ศิ าสตร์” เป็ นวชิ าท่กี ล่าวถงึ ความสาคัญของรัฐ เชงิ ภมู ศิ าสตร์ ท่มี ีผลกระทบต่อการเมืองการปกครอง ของประเทศนัน้ ๆ โดยสภาพทางภมู ศิ าสตร์ สภาพทาง ภมู ศิ าสตร์มีความสาคัญต่อการปกครองและการดาเนิน นโยบายทงั้ ภายในและภายนอกประเทศ ซ่งึ การท่จี ะ เข้าใจปัญหาการเมืองของรัฐใด จาเป็ นต้องศกึ ษาสภาพ ภมู ศิ าสตร์ของรัฐนัน้ ๆ ด้วย

“สังคมวิทยา” เป็ นวิชาท่ศี กึ ษาถงึ สังคมหรือ ปัญหาต่าง ๆ ของสังคม “มานุษยวิทยา” เป็ นแขนงวชิ าหน่ึงท่สี ัมพนั ธ์ กับสังคมวิทยาศกึ ษาเก่ยี วกับตวั มนุษย์และวชิ า รัฐศาสตร์ต้องอาศยั เนือ้ หาของวิชาดังกล่าว เพราะรัฐต้องเก่ียวข้องกบั สังคม ชุมชน และ มนุษย์

“จติ วทิ ยา” เป็ นวิชาท่ศี กึ ษาถึงอารมณ์และ จติ ใจของคน เพ่อื เป็ นข้อมูลในการจงู ใจให้ ประพฤตปิ ฏิบัติในส่งิ ท่เี ป็ นประโยชน์ ซ่งึ วิชานี้ จะเป็ นประโยชน์ในการช่วยให้เกิดความเข้าใจ ท่ถี กู ต้องเก่ยี วกับพฤตกิ รรมของคน เพ่อื ใช้เป็ น แนวทางในการกาหนดนโยบายการเมืองท่ี เหมาะสมต่อไป

6. ความสัมพนั ธ์ระหว่างวชิ ารัฐศาสตร์กบั ปรัชญาและ จริยศาสตร์ รัฐศาสตร์กบั ปรัชญาและจริยศาสตร์ เป็ นศาสตร์ ทว่ี ่าด้วยเหตุผลและความถูกต้อง เช่น หลกั เสรีภาพ เสมอภาค ความยตุ ธิ รรม ศีลธรรม และคุณธรรม เป็ น ต้น

“นิติศาสตร์” เป็ นวชิ าทว่ี ่าด้วยกฎเกณฑ์ข้อบงั คบั ทช่ี ่วยให้มนุษย์ อยู่ร่วมกนั ในสังคมอย่างมรี ะเบยี บ ซ่ึงถอื ว่ากฎหมายเป็ นปัจจยั หน่ึงทท่ี าให้ประเทศคงอยู่ได้อย่างมน่ั คง กฎหมายจงึ เป็ น เคร่ืองมอื ทชี่ ่วยส่งเสริมให้การเมืองและรัฐดาเนินได้โดย ปราศจากอุปสรรค ดงั น้ันจงึ ต้องมีกฎหมายเพอื่ ใช้บังคบั ในรัฐ เสมอ

8. รัฐศาสตร์กบั วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รัฐศาสตร์กบั วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มคี วามสัมพนั ธ์กนั มาก เพราะประเทศที่มคี วามสามารถทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กจ็ ะมคี วามเจริญทางเศรษฐกจิ และจะหาทางส่งเสริมการ คดิ ค้นอาวุธและส่ิงประดษิ ฐ์ใหม่ ๆ ความเจริญทางวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ทาให้เกดิ อานาจทางการเมอื ง นอกจากนีม้ ุ่งใช้ ความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในการปรับปรุงส่งเสริม เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมของประเทศ ทาให้ประชาชนอยู่ ดกี นิ ดี

*** สรุป รัฐศาสตร์หมายถงึ ศาสตร์ทเี่ กย่ี วข้องกบั การเมอื ง หรือศาสตร์ทวี่ ่าด้วยรัฐ ซึ่งจัดเป็ นสาขาหนึ่งของสังคมศาสตร์ท่ี กล่าวถงึ ทฤษฎี การจดั องค์การทางการเมือง การปกครอง รัฐบาลและวธิ ีดาเนินการต่าง ๆ ของประเทศ ซึ่งมคี วามหมาย ตรงกบั การเมืองหรือการปกครองและสามารถใช้แทนกนั ได้ เพราะการเมอื งหมายถึงการแข่งขนั กนั เพอ่ื หรือการแสวงหา อานาจ ซ่ึงส่งผลกระทบต่อสังคมท้งั สังคม ***



แนวคดิ ทางการเมอื ง (Political concept or Political Thoughts) หรือแนวความคดิ ตรงกบั ความหมายใน ภาษาองั กฤษว่า Concept คอื ความคดิ ความเข้าใจในเรื่อง การเมอื งของบุคคลหน่ึง หรือหลายคน ทแ่ี สดงออกมาเพอ่ื ทาความเข้าใจว่าสิ่งๆ น้ันคอื อะไร และควรเป็ นไปอย่างไร

แนวความคดิ ทางการเมอื ง political concept ส่งผลให้เกิด เหตุการณ์ต่าง ๆ ได้มากกว่าท่เี ราคิด บางเร่ือง ทา ให้เกดิ ความขัดแย้ง นา ไปสู่สงครามและ การสูญเสีย เพราะว่าความคดิ ทางการเมืองจะมี อิทธิพลเหนือจติ ใจมนุษย์ อาจทา ให้เกลียดชัง หรือเช่ือฟังอย่างลุ่มหลง

ความคดิ (Idea) คอื มโนภาพท่เี รามีต่อปรากฏการณ์ ใดๆ หรือเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง มี 2 ลักษณะ คือ 1.ความคดิ คานึง (Thought) คอื ความคิด ใคร่ ครวญเก่ ียวกับเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง 2.แนวความคิด หรือ มโนทัศน์ (Concept) คอื การ สร้างภาพเก่ยี วกับเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง ส่ิงใดส่ิงหน่ึง ซ่งึ เป็ น รูปธรรมหรือนามธรรมก็ได้ และอาจจะมีอยู่ในโลกแห่ง ความเป็ นจริง หรือในโลกแห่งจนิ ตนาการกไ็ ด้

แนวความคดิ เบอื้ งต้นเกยี่ วกบั การเมือง สมัยกรีก การศกึ ษาในยุคนี้ มกี ารศกึ ษาทงั้ ด้าน ปรัชญาและวทิ ยาศาสตร์ จะเน้นความสาคญั ของ ศีลธรรมจรรยา มุ่งเสาะหาส่งิ ท่ดี ที ่สี ุดมาให้รัฐ (การศกึ ษารัฐศาสตร์ในแนวอุดมคติ) นักรัฐศาสตร์ หรือปราชญ์คนสาคัญในสมัยกรีกนีไ้ ด้แก่ โสเคร ตสิ เพลโตและอริสโตเตลิ

ยุคกรีก เราหมายถึงวิถีชีวติ ทางการเมืองใน สมยั กรีกโบราณ ซ่ึงเป็นระยะเวลากวา่ สองพนั ปี ท่ีผา่ น มาแลว้ โดยในที่น้ีเราจะพดู ถึงแนวคิดของนกั คิดทาง การเมือง 3 คนคือ โซเกรติส เพลโต และอริสโตเติล ก่อนท่ีเราจะทา ความเขา้ ใจถึงแนวความคิดของ 3คนน้ี จะแสดงใหเ้ ห็นถึงสภาพทางสังคมและสถาบนั ทาง การเมืองของกรีกโบราณ ซ่ึงเรียกวา่ city-state หรือ นครรัฐ

นครรัฐกรีก คอื ระบบการปกครองทแี่ ต่ละ นครรัฐ มอี า นาจอธิปไตยเป็ นของตวั เองรัฐบาลมี อานาจท่จี ะดา เนินนโยบายท้งั ภายในและภายนอก ประเทศได้ แต่ละนครรัฐเข้ามารวมอยู่ด้วยกนั ใน ลกั ษณะทต่ี ่างฝ่ ายต่างมีอานาจอธิปไตยเป็ นของ ตัวเองสภาพทางสังคมของกรีกมลี กั ษณะทเ่ี ป็ นชน ช้ัน ซ่ึงแบ่งออกได้เป็ น 3 ประเภทคอื 1. ทาส (slave) เป็ นชนช้ันตา่ สุดของสังคม 2. คนต่างด้าว (metics) 3.พลเมอื ง (citizen)

แนวคดิ ทางการเมอื งของยุคกรีก สาหรับในเร่ืองแนวความคิดทางการเมืองในยคุ กรีก น้ี จะขอยกบุคคลซ่ึงมีความสาคญั ในทางความคิด ทางการเมืองมา 3 คน คือโสเครติส เพลโต และ อริสโตเติล Socrates เป็นชาวนครรัฐเอเธนส์ (Athens) และ โสเครตสี ได้รับการยกย่องว่าเป็ น “บดิ าแห่ง ปรัชญา”

Socrates มุ่ง - แสวงหาความรู้ทถี่ ูกต้องทเ่ี ป็ นความรู้สากล - ใช้วธิ ี Dialectic ต้งั คาถามให้ผู้อน่ื ตอบ เมอ่ื อกี ฝ่ ายหนึ่ง ตอบ กต็ ้งั คาถามโต้แย้ง จนอกี ฝ่ ายหน่ึงจนแต้ม โดยจะต้องใช้ เหตุผล และหลกั ทางตรรกวทิ ยา - ความจริง ความรู้ ความยุติธรรม - ไม่เชื่อในความเท่าเทยี มกนั ของคน - ผู้ปกครองทดี่ คี วรต้องมคี วามรู้ และสติปัญญา

- เขาไม่เห็นด้วยกบั การปกครองแบบ ประชาธิปไตยของกรีก เน่ืองจาก 1.การใช้เสียงข้างมากเป็ นสิ่งทไี่ ม่ถูกต้อง เพราะ คนส่วนใหญ่ไม่มเี วลา และไม่มคี วามฉลาด - เขาไม่เห็นด้วยกบั การปกครองแบบ ประชาธิปไตยของกรีก เน่ืองจาก

2.ผู้นาทางการเมืองจะมาจากการเลือกตงั้ สนับสนุนของคนส่วนใหญ่ ทาให้ได้ผู้ปกครองท่ไี ม่ มีความรู้ แต่เป็ นผู้ปกครองท่ไี ด้รับความนิยมจาก เสียงส่วนใหญ่จากประชาชน - การยึดปรัชญาท่อี าศัย “คุณธรรม คือ ความรู้” (Virtue is Knowledge) เป็ นฐานกดั กร่ อนข้ ออ้ างของระบอบประชาธิปไตยในเร่ ืองการ มีวธิ ีการปกครองท่มี ีประสิทธิภาพ และความ ยุตธิ รรม ทาให้เสรีภาพในการอภปิ รายหมดคุณค่า

- วจิ ารณ์เสรีภาพของชาวเอเธนส์ด้วยความขมขนื่ - ส่ิงท่ีนักการเมืองผลติ คอื ขยะ - วธิ ี Dialectic ทาให้คนส่วนหน่ึงเกดิ ความราคาญ เพราะ Socrates โต้แย้งและสอนให้คนสงสัยในทุกส่ิง ข้อกล่าวหาว่า Socrates สร้างเทพเจ้าองค์ใหม่ ข้อหาบ่อนทาลายและมอมเมาเยาวชน ถูกคณะลูกขุนตดั สิน ให้ดมื่ ยาพษิ Hemlock สิ้นชีวติ

- ไม่มใี ครรู้เกย่ี วกบั ชีวติ ส่วนตวั ของ Socrates ส่วนมาก จะรู้มาจากคาบอกเล่าของ Plato และการตคี วามของนัก คดิ ในยคุ ต่อๆ มา - ถึงแม้ว่า Socrates จะไม่เห็นด้วยกบั ระบอบ ประชาธิปไตยแบบกรีก แต่เขากเ็ คารพในกฎหมายของรัฐ

Plato เป็ นลูกศิษย์ของ Socrates Plato และ ได้รับการยกย่องว่าเป็ นบดิ าของวชิ าทฤษฎกี ารเมอื ง - ความรู้ทแ่ี ท้จริง คอื คุณธรรมและเหตุผล -ไม่เชื่อในเร่ืองของความเท่าเทยี มกนั เพราะคนเรามี ความสามารถและความถนัดแตกต่างกนั

- เขยี นหนังสือเล่มหนงึ่ ช่ือ The Republic (อตุ มรัฐ) เสนอ รูปแบบการปกครองของรัฐทด่ี เี ลศิ ในอุดมคติ แบ่งคน ออกเป็ น 3 ชนช้ัน ตามความสามารถ โดยใช้การศึกษาเป็ น ตัวจาแนก ได้แก่ 1. ชนช้ันต่า – ชาวนา ช่าง พ่อค้า 2. ชนช้ันกลาง – นักรบ ทหาร ป้ องกนั นครรัฐจากศัตรู 3. ชนช้ันสูง – เป็ นผู้ปกครอง มีเหตุผลและสตปิ ัญญา สูงสุด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook