Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 57 Public Administration Kanyawan 2203101

57 Public Administration Kanyawan 2203101

Description: 57 Public Administration Kanyawan 2203101

Search

Read the Text Version

Plato กล่าวว่า ผู้ปกครอง กค็ อื ราชาปราชญ์ (Philosopher King) ฉลาดเลศิ ลา้ โดยกาเนิด ได้รับการ ฝึ กอบรมให้เป็ นผู้ปกครอง - ความยุตธิ รรมเป็ นคุณธรรมสูงสุด รัฐทด่ี ที ส่ี ุด คอื รัฐ ทใ่ี ห้ความยตุ ธิ รรมแก่ประชาชนอย่างเท่าเทยี มกนั - ไม่เห็นด้วยกบั ประชาธิปไตยแบบกรีก โดยเฉพาะ ประชาธิปไตยแบบเสียงข้างมากทไ่ี ด้ตดั สินประหาร ชีวติ Socrates

Aristotle (384 – 322 B.C) เป็ นลูกศิษย์ของ Plato และได้รับการยกย่องว่าเป็ นบดิ าแห่งรัฐศาสตร์ - เรียนท่ี Academy 19 ปี กบั Plato - Plato ไปสอนหนังสือ Alexander the Great แห่ง Mecedonia ได้เอารัฐธรรมนูญกว่า 158 ฉบับ จากเมอื งทต่ี ีได้ให้ Aristotle ได้ศึกษา

- Aristotle ได้ศึกษาแบบเปรียบเทยี บ และ ได้ จาแนกรูปแบบการปกครอง ออกเป็ น 6 รูปแบบ โดยใช้เกณฑ์ จานวนผู้ปกครอง กบั ความมี จริยธรรมของผู้ปกครอง ดงั นี้

รปู แบบการปกครอง อรสิ โตเตลิ คานงึ ถงึ รฐั ที่ดที ี่สุ หรอื รฐั ท่ีเลวที่สดุ อยู่ที่รปู แบบการปกครอง แต่ คนในรฐั นนั้ อาจจะประพฤติดใี นรฐั ท่ีเลวได้ จานวนผู้ปกครอง เพ่ือประชาชน เพ่อื ผู้ปกครอง คนเดยี ว ราชาธิปไตย(Monarchy ทุชนาธิปไตย คณะ ) (Tyranny ) ประชาชนทง้ั หมด คณาธิปไตย อภชิ นาธิปไตย ( Oligarchy) (Aristocracy ) ประชาธิปไตย มชั ฌมิ วิถอี ธิปไตย ( Democracy) ( Polity)

*** ยคุ กรีก แนวคดิ ทางการเมอื ง ไม่สนับสนุน ระบอบประชาธิปไตย แต่สนับสนุนผู้มคี วาม ฉลาด มีความสามารถท่จี ะปกครองได้ คอื ระบบ สมบูรณาญาสิทธิราช***

แนวคดิ ทางการเมืองของเพลโตและ อริสโตเตลิ ได้ถูกนา มากล่าวถึงอยู่เสมอ และมี อทิ ธิพลต่อแนวความคดิ ทางการเมืองของคนใน ยคุ ต่อ ๆ มาโดยตลอดเวลา แต่กระน้ันกด็ ใี นยุค โรมนั นีก้ ม็ นี ักคดิ อยู่สองพวกทตี่ ่อต้านระบบ นครรัฐแบบของเพลโตและอริสโตเตลิ

และกล่มุ ทไี่ ม่ห็นด้วยกบั ปรัชญาของท้งั สองคน คอื อพิ คิ ูเรียน (Epicureans) และซินิค (Cynics) ส่วนกล่มุ สโตอคิ (Stoics) ซ่ึงเป็ นกลุ่ม สุดท้ายทจี่ ะกล่าวถึงน้ัน มอี ทิ ธิพลต่อการ ปกครองของโรมนั มาก

กลุ่มอพิ คิ วิ เรียนแนวความคดิ นีเ้ กดิ จากนกั คดิ ชาวเอเธนส์ทช่ี ื่อ เอม็ พคิ ูรัส (Empicurus) มีแนวคดิ พนื้ ฐานความคดิ ต่างกบั เพลโตและอริสโตเตลิ อย่าง มาก ส่วนใหญ่เพราะพวกอพี คิ ูเรียนเป็ นกลุ่มที่ ค่อนข้างร่ารวย วตั ถุนิยม และมที รัพย์สินมาก จงึ มี แนวคดิ ทสี่ า คญั คอื การแสวงหาความสุขและการ รักษาความม่ันคงทางทรัพย์สิน

กล่มุ ซินนิค แนวความคดิ เกดิ จาก การเป็ นคนต่างด้าวถูกกดดนั ทางสังคมมาก จงึ ต่อต้านพวกผู้ดี ต้องการสร้างสังคมใหม่ ทไี่ ม่มี ครอบครัว ไม่มีชาติและไม่ จาเป็ นต้องมกี ฎหมาย

กล่มุ พวกสโตอคิ (Stoics) แนวคดิ นีม้ ีอทิ ธิพลต่อ ความคดิ ทางการเมอื งของชาวโรมันและต่อแนวความคดิ ใน สมยั หลงั มากและเป็ นต้นกา เนิดแนวความคดิ ของรัฐบาล โลก (world-state) หรือเรียกว่าอาณาจกั รแห่งภราดรภาพ (universal of brotherhood) ในปัจจุบันอกี ด้วย เราสามารถ สรุปแนวความคดิ ของพวกสโตอคิ ได้ดงั นี้

1. รัฐบาลโลกและกฎของพระเจ้า พวกสโตอคิ เช่ือมน่ั ในพระเจ้า 2. ความเสมอภาค เน่ืองจากพวกสโตอคิ เชื่อว่า มนุษย์เกดิ มาเป็ นพนี่ ้องกนั พวกสโตอคิ จึงเช่ือในความ เท่าเทยี มกนั ของมนุษย์โดยไม่ตดั สินจากฐานะทาง สังคม นอกจากนีพ้ วกสโตอคิ ยงั ต่อต้านระบบทาสอกี ด้วย

 ดงั น้ัน วชิ ารัฐศาสตร์ในสมยั โรมนั ทโี่ รมนั ได้ถ่ายทอด ไว้คอื กฎหมาย ซึ่งมรี ากฐานมาจากแนวคดิ ของลทั ธิสโตอกิ ส์ (Stoicism) ซึ่งยอมรับความเสมอภาคของมนุษย์

ลกั ษณะของแนวความคดิ ทางการเมอื งยุคโรมัน คอื การสร้างสถาบันทางกฎหมายอย่างสมบูรณ์และดีทสี่ ุด พวกเขาพยายามดดั แปลงกฎหมายให้อยู่ในรูปทสี่ ามารถนา ไปใช้ได้ จริง ๆ และยงั มอี าณาจกั รทกี่ ว้างใหญ่เพอ่ื ใช้ในการทดสอบระบบ กฎหมายและการปกครอง โรมนั แสดงให้เห็นว่ามนุษย์เป็ นผู้มี อานาจทางการเมืองที่แท้จริงไม่ใช่พระเจ้า ดังน้ันชาวโรมันจึงถอื ว่าผู้ปกครองคอื ผ้ทู รี่ ับอานาจไปจาก ประชาชนประชาชนจึงเปรียบเสมอื นหน่วย ๆ หน่ึงในทางกฎหมายที่ จะถูกล่วงละเมิดมไิ ด้

แนวคดิ ทางการเมอื งยคุ กลาง เมอ่ื โรมนั ถูกทา ลายโดยอานารยชน (คนเถ่ือน) พวกนิวตนั (Neuton) เยอรมนั กฎหมายกถ็ ูกทา ลายไป พร้อมกบั อารยธรรมโรมนั ไปด้วย ส่ิงทเี่ หลอื อยู่หลงั การ ล่มสลายของโรมนั กค็ อื ความป่ าเถื่อน โหดร้าย ไร้ กฎระเบียบ ด้วยเหตุนีร้ ะบบสังคมจึงต้องมกี ารจดั ใหม่ ขนึ้ การจดั ระเบยี บสังคมใหม่นีม้ ี 2 ส่ิงทม่ี คี วามสา คญั คอื ศาสนาคริสต์และระบบฟิ วดลั (เป็ นระบบความสัมพนั ธ์ แบบอุปถมั ภ์หรือระบบศักดนิ า)

เซนต์ ออกัสติน ถือว่า ผู้มีอานาจสูงสุดทางการเมือง คือ สถาบัน กษัตริย์ ผู้มีอานาจสูงสุดทางศาสนา ได้แก่ สถาบันสันตะปาปา อย่างไรก็ ตาม ในประเทศท่ีพลเมืองส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ อานาจกษัตริย์ ได้รับช่วงจากสถาบนั สนั ตะปาปา เซนต์ อะไควนัส สนับสนุนอานาจศาสนจักรนาการปกครอง เช่นเดียวกับ ออกุสตนิ ในยุคกลาง แต่ท่านได้คดิ หาทางออกด้วยทฤษฎี 2 อานาจอิสระ เพราะต่างก็มีเป้ าหมายของตนโดยเฉพาะ อานาจทัง้ สองนี้ แม้จะเป็ นอิสระจากกันทางท่ีมาก็ตาม แต่ในทางปฏิบัติ จะแยกจากกัน โดยเดด็ ขาดไม่ได้ จงึ มีหน้าท่สี ่งเสริมกันให้เกดิ ผลดีทงั้ 2 ฝ่ าย อานาจท่ีถ่วงดุลกันมี 2 ขัว้ จะก่อให้เกิดความขัดแย้ง นาไปสู่การ จราจล ทาให้เกิดสงครามทางการเมือง ดังนัน้ จึงควรจะมีผู้มีอานาจท่ี แท้จริงแต่เพียงผู้เดียว แต่แนวความคิดนีก้ ็นาไปสู่ระบบเผด็จการ ในท่สี ุด 65

การต่อสู้กนั ระหว่างแนวความคดิ ทางโลก (รัฐ) และ แนวความคดิ ทางธรรม(ศาสนา) เป็ นการต่อสู้ทม่ี ีมาตลอดยุค กลาง จนกระทงั่ ประมาณศตวรรษท่ี 14 ความเจริญทางวตั ถุท่ี แพร่สะพดั มาจากตะวนั ออกสู่ตะวนั ตก อนั เป็ นสาเหตุทท่ี าให้ ศาสนาถงึ คราวพ่ายแพ้ ระบบฟิ วดลั เสื่อมสลาย และในยุคนีเ้ อง แมคเคยี เวลลี ได้ร่วมกบั ผู้นาทางศาสนาบางท่านพยายามทจี่ ะ แยกศาสนาออกจากการปกครอง

แนวคดิ ทางการเมอื งในยุคฟื้ นฟูและสมยั ใหม่ ปรัชญาการเมอื งในยุคนีส้ นับสนุนอานาจเดด็ ขาด(Absolutism) มนี ักคดิ 4 ท่านนี้ แต่มี 3 ท่านทสี่ นับสนุนอานาจเด็ดขาด คอื 1. Niccolo Machiavelli (1469-1527) 2. Jean Bodin (1530-1596) 3. Thomas Hobbes (1588-1679) 4. John Lock

เหตุทนี่ ักคดิ ท้งั 3 สนับสนุนความคดิ และบุคคลคน เดยี วปกครอง เพราะ - บ้านเมอื งเต็มไปด้วยสงคราม - สมัยน้ันศาสนาคริสต์ครอบงาการเมือง การปกครอง ซ่ึง เน้นบุคลกิ ภาพอสิ ระของมนุษย์ ทาให้เป็ นอปุ สรรคต่อการ ปกครองด้วยอานาจเด็ดขาด - ระบบศักดินาสมัยกลาง ขุนนางมอี านาจมาก กษัตริย์ไม่มี อานาจเน่ืองจากถูกศาสนาครอบงา

ท้งั 3 ท่าน แสวงหาความชอบธรรมให้ระบบกษตั ริย์ โดยมี วธิ ีทต่ี ่างกนั คอื  Machiavelli แยกศีลธรรมออกจากการเมอื ง หรือแยก ศาสนาออกจาการปกครอง (มาตนิ ลูเธอร์ สนับสนุน)  Bodin บุกเบกิ แนวความคดิ รัฐาธิปไตย (รัฐ + อธิปไตย)  Hobbes ใช้หลกั เหตุผลว่าด้วยธรรมชาตขิ องมนุษย์

1. Niccolo Machiavelli (1469-1527) - คลงั่ ไคล้ในหนงั สือ และอานาจ - ชอบความสนุกสนาน และอาหารช้ันดี - ความคดิ การเมืองของเขา เป็ นในเชิงขาดศีลธรรม - เขยี นหนังสือ The Prince เพอ่ื ให้ตวั เองได้รับการ สนับสนุน

“The Prince” (1531) - แสวงหาและรักษาไว้ซ่ึงอานาจทางการปกครอง โดยไม่คานึงถึงศีลธรรม - ความคดิ ทางการเมืองอยู่บนสมมตฐิ านในการมอง มนุษย์ ว่ามีธรรมชาตอิ ย่างไร ซึ่งตามมุมมองใน หนังสือเล่มนีม้ องว่า มนุษย์อกตญั ญู โลเล ซ่อนเร้น โลภโมโทสัน กลวั ความตาย ฯลฯ

ผู้ปกครองควรมคี ุณสมบัติ ดงั นี้ 1)มองโลกตามความเป็ นจริง 2)คุณสมบตั ผิ สมกนั ระหว่างสิงโตกบั สุนัขจิง้ จอก คอื เป็ น หลกั ในทุกสิ่ง เป็ นศูนย์กลางของอานาจ เข้มแขง็ เห็นแก่ตวั อยู่เหนือคนอนื่ ท้งั ความคดิ และจิตใจ ไม่ใช้ความกรุณา ในทางทผ่ี ดิ ต้องพร้อมทใ่ี ช้ความโหดร้าย กล่าวคอื ใช้ อานาจเด็ดขาด เพอื่ ทจ่ี ะรักษาความสงบเรียบร้อย ความ โหดร้ายเด็ดขาดทาร้ายเพยี งคนบางคน แต่การปกป้ อง สังคมถอื เป็ นส่ิงสาคญั

3) ต้องทาให้ผู้อนื่ ท้งั รักท้งั กลวั แต่ถ้าทาใดเพยี ง อย่างใดอย่างหน่ึง ต้องทาให้กลวั เพราะ 3.1) ธรรมชาตขิ องมนุษย์ “...เขาจะอยู่กบั ท่าน ประกาศว่าจะสละชีวติ ทรัพย์สิน ลูกเต้าให้แก่ท่าน ตราบเท่าทที่ ่านยงั เป็ น ประโยชน์ และอนั ตรายยงั อยู่ไกล แต่เม่อื อนั ตรายเข้า มาใกล้ เขาจะไม่เป็ นพวกท่านอกี ต่อไป...”

3.2) มนุษย์โดยธรรมชาตกิ ล้าล่วงเกนิ คนทต่ี นรักได้มากกว่า คนที่ตนกลวั “สายใยแห่งความรักมนุษย์ตดั มนั ได้ ถ้ามีผลประโยชน์ สายใยแห่งความกลวั จะมอี ยู่ ยากทจี่ ะลมื เลอื น” 3.3) การทาให้คนรักขนึ้ อยู่กบั จติ ใจของคนผู้น้ัน การทาให้ กลวั ขนึ้ อยู่กบั ตวั บุคคลเอง

แต่การสร้างความกลัวต้องไม่ทาให้เกดิ ความ เกลียดชัง โกรธแค้น เพราะจะนาไปสู่การส่องสุม คดิ ร้ายต่อผู้ปกครอง ดงั นัน้ จงึ มีวธิ ีการป้ องกัน ไม่ให้คนอ่นื โกรธ คือ การละเมดิ ทรัพย์สินของ ราษฎรและคนอ่นื และการไม่ล่วงเกินเกยี รตยิ ศ และลูกเมียของคนอ่ืน “คนเราพ่อตายไม่นานกล็ ืม แต่ใครมาละเมดิ ล่วงเกนิ เรา ไม่มีวนั ท่จี ะลืม”

สรุปความคดิ การเมือง ของ แม็คเคยี เวลลี คอื ศลิ ปะของการรักษาอานาจ สร้างเอกภาพทาง การเมือง สร้างความม่ันคงในการปกครอง มคี วาม สงบเรียบเรียบ ต้องแยกศลี ธรรมออกจาก การเมือง เพราะอานาจแสดงถงึ ความชอบธรรม ของวธิ ีการ จะใช้วธิ ีไหนๆ กไ็ ด้ ไม่ต้องคานึงถงึ ศลี ธรรม สามารถอ่านเพ่มิ เตมิ ได้จาก “เจ้าผู้ปกครอง” (The Prince) สมบตั ิ จนั ทรวงศ์ (แปล) กรุงเทพ: สานักพมิ พ์คบไฟ, 2542

2. Jean Bodin (1530-1596) - เป็ นอาจารย์สอนกฎหมาย และเป็ นตุลาการ - มคี วามคดิ เห็นว่า การเมอื ง คอื การปกครองด้วย ความยตุ ธิ รรมและศีลธรรม “6 บรรพว่าด้วยสาธารณรัฐ” (The Six Books of the Commonwealth) (1576)

สาธารณรัฐ คอื ประชาคมมนุษย์ทม่ี ีการปกครองอย่างมี ศีลธรรม มิใช่ทาสหรือคนรับใช้ แต่เป็ นราษฎร ซึ่งจะไม่มีสิทธิ ต่อต้านอานาจรัฐ ต้องเคารพกฎหมาย ในประชาคมมนุษย์มี อานาจเดด็ ขาดสูงสุดถาวร คอื อานาจทเี่ กดิ มาพร้อมกบั การมรี ัฐ สนองเพอ่ื ให้มีรัฐ อานาจนีไ้ ม่ถูกจากดั โดยระยะเวลา หรือ กฎหมาย ท้งั นีม้ ใิ ช่เพราะไม่มกี ฎหมาย แต่เพราะอานาจนีเ้ ป็ นผู้ ออกกฎหมาย ซึ่งในปัจจุบนั กค็ อื อานาจนิตบิ ญั ญตั ิ Bodin ได้ เรียกอานาจนีว้ ่า อานาจอธิปไตย ทสี่ ามารถทจ่ี ะออกกฎ และ ยกเลกิ กฎได้

รัฐกบั อานาจอธิปไตยเป็ นของคู่กนั ทาให้เกดิ เป็ น พนื้ ฐานในการจัดรูปแบบการปกครอง 3 รูปแบบ ใช้เกณฑ์ ของอานาจอธิปไตยเป็ นตัวแบ่ง คอื 1) ระบอบกษัตริย์ อานาจอธิปไตยอยู่ทคี่ นเพยี งคนเดียว 2) อภชิ นาธิปไตย อานาจอธิปไตยอยู่ทคี่ นกล่มุ น้อย 3) ประชาธิปไตย ประชาชนมสี ่วนรวมในการใช้อานาจ อธิปไตย

ในทศั นะของ Bodin เห็นว่า ระบอบกษตั ริย์ เป็ น การปกครองทดี่ ที ส่ี ุด เพราะ 1) สอดคล้องกบั ธรรมชาติ เช่น ครอบครัวมหี ัวหน้า ครอบครัว คอื พ่อ โลกมีพระเจ้าเพยี ง 1 องค์ 2) ระบอบกษตั ริย์ หรือการปกครองเพยี ง 1 คน จะมี หลกั ประกนั เอกภาพแห่งอานาจทมี่ ัน่ คง 3) ระบอบกษตั ริย์จะสามารถเลอื กคนฉลาด เข้าใจ กจิ กรรมบ้านเมืองได้ดกี ว่า

Bodin กล่าวว่า อภชิ นาธิปไตยและประชาธิปไตย เป็ นระบอบการเมอื งทต่ี ้องมสี ภา ซ่ึงประกอบด้วยคนดี และคนบ้า ส่วนระบอบกษตั ริย์ในทศั นะของจะไม่เป็ น ทรราช เพราะระบอบทรราชย์จะปกครองราษฎรเยยี่ งทาส แต่ระบอบกษตั ริย์นี้ ราษฎรเคารพกฎหมาย ส่วนกษตั ริย์ เคารพกฎธรรมชาติสอดคล้องกบั หลกั ศีลธรรม เสรีภาพ และกรรมสิทธิของพลเมืองจงึ ยงั มอี ยู่ อานาจอธิปไตย แม้ว่าจะสูงสุดเดด็ ขาด กแ็ บ่งแยกไม่ได้ และมีขอบเขตการ ใช้ซึ่งถูกจากดั ด้วยศีลธรรม

3. Thomas Hobbes (1588-1679) - อยู่ในยคุ ทกี่ ษตั ริย์มอี านาจเดด็ ขาดในยโุ รป ถูกคุกคามอย่างหนัก มีการสู้รบฆ่าฟัน เขาจงึ หนีไปอยู่ท่ี Paris เป็ นอาจารย์สอน คณติ ศาสตร์แก่ผู้ทจ่ี ะเป็ นกษตั ริย์ในอนาคตขององั กฤษ - ในปี 1642 พระเจ้า Charles เกดิ ความขดั แย้งกบั รัฐสภา ภายใต้ การนาของ Oliver Cromwell เหตุการณ์จบลงด้วยชัยชนะของ Cromwell ในปี 1651 และได้ปกครองประเทศองั กฤษในช่วงน้ัน

“Leviathan” (1651) หนังสือของ ฮ็อบ Leviathan คอื ส่ิงมีชีวติ ทมี่ พี ลานุภาพสูงสุดหนังสือ เล่มนีส้ ะท้อนแก่นปรัชญาการเมอื งของ Hobbes ซึ่งเขา เขยี นขนึ้ ด้วยความกลวั สภาพท่ไี ม่สงบเรียบร้อยและ ความกระหายที่จะเห็นสันติภาพ ปรัชญาความคดิ ใน หนังสือเล่มนี้ มีดงั นี้

1) ฐานคตกิ ารมองมนุษย์ : มนุษย์ใน ธรรมชาตมิ ีความเหน็ แก่ตัว กระหายและรักตัว กลัวตาย มเี หตุผลเหนือสัตว์ สามารถคานึงถงึ ผลประโยชน์ท่จี ะได้รับ และมีความเท่าเทยี ม กันในการมีความหวัง เพ่อื บรรลุส่งิ ท่ตี ้องการ ทงั้ ยงั มคี วามเท่าเทยี มกันในปัญญาความคิด หรือเล่ห์กลท่จี ะเข้าถงึ เป้ าหมายได้

2) มนุษย์ในสภาวะธรรมชาติ : มนุษย์ทุกคนเป็ นศัตรู หรือค่แู ข่งกัน มนุษย์เป็ นสุนัขป่ าสาหรับมนุษย์ด้วยกัน แต่จะ เข้าร่วมกันเพ่อื ป้ องกันอนั ตรายอย่างเดยี วกนั สังคมมนุษย์จงึ ไม่มีความสงบสุข มีแต่การต่อสู้ แก่งแย่ง จนกลายเป็ น สงคราม มนุษย์จะอย่ใู นสภาวะหวาดกลัว ต้องเผชิญอันตราย ตลอดเวลา ในสภาวะธรรมชาติ มนุษย์ไม่มีกรรมสิทธิใน ทรัพย์สนิ แต่ละคนเป็ นเจ้าของในส่ิงท่สี ามารถแย่งมาได้ และ เป็ นเจ้าของตราบเท่าท่ยี ังแข็งแรงพอและรักษาไว้ได้ มนุษย์ จะต้องออกจากสภาวะนี้ มเิ ช่นนัน้ จะถกู ทาลายกันทงั้ หมด

3) ทางออกสู่สันติ : คือ การมีรัฐท่มี ี อานาจเดด็ ขาด และในความรักตัวกลัวตาย ทาให้มนุษย์ยนิ ยอมละทงิ้ สภาวะธรรมชาติ ความมีเหตมุ ีผลทาให้มนุษย์คิดถงึ บทบัญญัติ แห่งสันตภิ าพ (กฎธรรมชาต)ิ

สรุปแนวคดิ ของ Hobb ผู้จดั ต้งั รัฐ : ประชาชนทาสัญญาจดั ต้งั รัฐเพอ่ื คุ้มครอง ส่วนรวม และยอมสละสิทธิทจ่ี ะตดิ ว่าอะไรดี อะไรชั่ว หรือส่ิง ใดเป็ นความยตุ ธิ รรม แต่จะผูกมดั ตนเองกบั สิ่งทดี่ ี หรือ ยุตธิ รรม ตามทอี่ งค์อธิปัตย์บญั ชา องค์อธิปัตย์มอี านาจสูงสุด ประชาชนต้องปฏิบัตติ าม จะเรียกร้อง ฟ้ องร้องไม่ได้ องค์อธิปัตย์จะมีอานาจสูงสุด เดด็ ขาด และมหี น้าทใี่ ห้ความสงบสุขและสันตภิ าพแก่ราษฎร ตามเจตจานงทจ่ี ะมุ่งให้เกดิ สันตภิ าพ

สรุปแนวคดิ ของ Hobb อานาจทใ่ี ห้แก่องค์อธิปัตย์นีจ้ ะเรียกคนื จากรัฐ ไม่ได้ ยกเว้นว่า องค์อธิปัตย์อ่อนแอลงจนคุ้มครองราษฎร ไม่ได้ ประชาชนกจ็ ะรอดพ้นจากพนั ธะ และสามารถ ปกครองตนเอง แล้วจงึ จะเลอื กองค์อธิปัตย์องค์ใหม่

จอนห์ ลอ็ ค (JohnLocke) เป็ นนักคดิ ท่ี สนับสนุนเสรีภาพของประชาชน เมอ่ื พูดถึงลทั ธิ ประชาธิปไตยเรามกั จะอ้างแนวคดิ ของลอ็ คอยู่เสมอ ลอ็ คได้เขยี นหนังสือหลายเล่มทส่ี นับสนุนเสรีภาพ ทางศาสนา ส่วนเสรีภาพในทางการเมอื งลอ็ คเขยี น หนังสือเรื่อง Two Treaties of Government ซ่ึง เป็ นหนังสือเกย่ี วกบั แนวคดิ ทางการเมอื งเกยี่ วกบั เสรีภาพ

***สรุปแนวความคดิ ของลอ็ ค เป็ นแนวความคดิ มคี วามสาคญั มาก ในปัจจุบนั แนวความนีไ้ ด้รับการ สนับสนุนจนกระทงั่ ได้รับการสร้างเป็ นสถาบนั กฎหมาย คอื มกี ารรับรองถงึ สิทธิเสรีภาพส่วนบุคคลไว้ในกฎหมาย หลายฉบับ และเป็ นรากฐานของระบอบประชาธิปไตยทใี่ ช้ กนั อยู่ในปัจจุบัน***

ปรัชญาการเมืองแบบเสรีนิยม (Liberalism) สังคมในศตวรรษท่ี 18 การปฏวิ ัตอิ ุตสาหกรรม เร่ิมต้นท่ปี ระเทศอังกฤษ ซ่งึ กค็ อื อุตสาหกรรมทอผ้า การค้าและเศรษฐกจิ เกดิ ขนึ้ มากมาย การเตบิ โตของชน ชัน้ กลางหรือชนชัน้ กฎุมพี (Bourgeois) ความ ต้องการใน เสรีภาพ ความสุข ความก้าวหน้า คุณธรรม หลักเหตุผล การแสวงหาอานาจทางเศรษฐกจิ / แสวงหาอานาจทางการเมอื ง

บทสรุป แนวคดิ ทางการเมืองหรือรัฐศาสตร์มี ความเป็ นมาอนั ยาวนาน ได้มีการพัฒนา แนวคิดเปล่ียนแปลงไปตามยุคสมัย ซ่งึ เร่ิมต้นมาตงั้ แต่สมัยกรีก เพลโตเป็ นบุคคล สาคญั ท่ไี ด้รับการยกย่องว่า เป็ นบดิ าของวิชา ทฤษฎีการเมือง ซ่งึ มีแนวคดิ ว่ารัฐในอุดมคติ คือจะต้องปกครองโดยคนท่เี รียกว่าราชา ปราชญ์ อริสโตเตลิ ได้รับการยกย่องว่า เป็ น บดิ าของวิชารัฐศาสตร์

บทสรุป (ต่อ) สมัยต่อมาได้แก่สมัยโรมันซ่ึงเน้นกฎหมาย เป็ นหลักสาคญั และกฎหมายเป็ นมรดกสืบต่อมา รวมถงึ สมัยปัจจุบนั สมัยต่อมาได้แก่ สมัยกลาง เป็ นสมัยท่ใี ห้ความสาคญั แก่ศาสนา วชิ ารัฐศาสตร์ ได้ถกู จดั ให้เป็ นแขนงหน่ึงของวชิ าเทววทิ ยา ต่อมา เป็ นสมัยใหม่ ซ่งึ มาเคียเวลลีเป็ นผู้นาปรัชญา การเมืองสมัยใหม่มาใช้ มีแนวคิดให้ความสนใจใน ส่งิ ท่มี ีอย่จู ริง ไม่ให้เช่ือในส่ิงท่มี องไม่เหน็ อย่างไรกต็ ามแนวคิดทางการเมืองใน สมัยปัจจุบนั ได้เป็ นไปตามกระแสโลกาภวิ ัตน์ เทคโนโลยเี ข้ามามีบทบาทในทางการเมือง อย่างเหน็ ได้ชัด



ความหมายของรัฐ นักรัฐศาสตร์ ได้ ให้ ความหมายของคาว่ ารัฐไว้ อย่ าง หลากหลาย อาจสรุปได้ดงั นี้ จรูญ สุภาพ(2520:14) ได้ให้ความหมายของรัฐ ไว้ว่า รัฐ หมายถงึ ชุมชนทางการเมืองท่ปี ระชาชนอาศัยอย่รู วมกนั โกวทิ ย์ พวงงาม (2534:30) ได้ให้ความหมายของรัฐไว้ว่า รัฐ หมายถงึ ชุมชนของมนุษย์จานวนหน่ึงซ่งึ ครอบครองดนิ แดน ท่มี ีอาณาเขตแน่นอน รวมกันอยู่ภายใต้รัฐบาลเดยี วกัน

ความหมายของรัฐ ฮาโรลดี ลาสเวลล์ และอบั ราฮัม เคปแลน (Harold Lasswell and Abraham Kaplan) อ้างถงึ ในสุพจน์ บุญวเิ ศษ (2537:34) ได้ให้ความหมายของรัฐไว้ว่า รัฐหมายถงึ กล่มุ คนทร่ี วมกนั เป็ นระเบยี บ และอาศัยอยู่ในอาณาเขตร่วมกนั และมีอานาจอธิปไตยสูงสุดในอาณาเขตน้ัน

สรุปได้ว่า รัฐ (State) หมำยถึง ชมุ ชนทำงกำรเมือง (The political community)ที่อยใู่ นดินแดนที่มี อำณำเขตแนน่ อน และมีรัฐบำลที่เป็นอสิ ระจำกกำรควบคมุ ภำยนอก ซ่งึ คาว่า “รัฐ” มีควำมหมำยคล้ำยกบั ประเทศ และชำติ จะ ตำ่ งกนั ตรงที่มีควำมหมำยเน้นบำงที่ไมเ่ หมือนกนั กลำ่ วคือ รัฐ มกั จะ เน้นถงึ ควำมผกู พนั ทำงกำรเมือง อนั หมำยถงึ กำรท่ีประชำชนอยู่ ภำยใต้ระบบกำรเมืองอยำ่ งเดยี วกนั มีอธิปไตยอนั เดยี วกนั (จรูญ สภุ ำพ 2514: 25) สว่ นคำวำ่ ประเทศ มกั จะเน้นเก่ียวกบั สภำพ ภมู ศิ ำสตร์ ทงั้ นี้ คาว่ารัฐ ประเทศ และชาติ บางครัง้ สามารถใช้ แทนกันได้

องค์ประกอบของรัฐ รัฐเป็นชุมชนทางการเมือง ท่ีอยใู่ นดินแดน ที่มีอาณาเขต แน่นอน และมีรัฐบาลที่เป็นอิสระปราศจากการควบคุมจาก ภายนอก ดงั น้นั รัฐจึงควรมีองคป์ ระกอบ4 ประการ ดงั น้ีคือ 1. ประชากร รัฐทุกรัฐตอ้ งมีประชากรอาศยั อยจู่ ึงจะเป็น รัฐได้ จานวนประชากรจะมีมากหรือนอ้ ยไม่ใช่สาระสาคญั แต่ ควรจะมีจานวนเพียงพอท่ีจะสามารถแบ่งหนา้ ท่ีกนั ไดอ้ ยา่ ง เพยี งพอ

องค์ประกอบของรัฐ ลกั ษณะของประชากรไม่จาเป็นตอ้ งมีเช้ือชาติ เดียวกนั หมด อาจมีเช้ือชาติ ศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณี ภาษาและวฒั นธรรมท่ีแตกต่างกนั ได้ ขอ้ สาคญั ตอ้ งมีสญั ชาติ เดียวกนั สญั ชาติเป็นตวั กาหนดฐานะความเป็นพลเมืองของรัฐ คุณภาพประชากรเป็ นส่วนสาคญั ทส่ี ุดในการพฒั นารัฐ ให้เจริญรุ่งเรือง ปัจจุบนั ถอื ว่าสหรัฐอเมริกาเป็ นประเทศทม่ี ี ความมง่ั คง่ั ทสี่ ุด และเป็ นประเทศมหาอานาจ ท้งั ๆ ทปี่ ระชากร ส่วนหน่ึงอพยพจากทอ่ี นื่ แต่ผู้ทอ่ี พยพมาส่วนใหญ่เป็ นผู้มี การศึกษาดี มีความรู้ทางเทคโนโลยี บุคคลเหล่านีไ้ ด้ไปสร้าง ความเจริญให้แก่สหรัฐอเมริกาอย่างใหญ่หลวง

องค์ประกอบของรัฐ 2. ดินแดน รัฐทุกรัฐตอ้ งมีดินแดน ดว้ ยเหตุน้ี ดินแดนที่ พวกเร่ร่อนไปตามถิ่นต่างๆ โดยยดึ ถือครอง ชวั่ คราวน้นั ไม่เป็นรัฐ กรณีดินแดนกเ็ ช่นเดียวกนั กบั ประชากร กล่าวคือ ไม่มีกฎเกณฑท์ ่ีแน่นอนวา่ จะตอ้ งมีขนาดกวา้ งใหญ่เพยี งใด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook