Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 57 Public Administration Kanyawan 2203101

57 Public Administration Kanyawan 2203101

Description: 57 Public Administration Kanyawan 2203101

Search

Read the Text Version

 สถาบนั ตุลาการมีหน้าทโี่ ดยตรงในการคุ้มครองสิทธิและ เสรีภาพตามหลกั กฎหมายของประชาชน กล่าวคอื เป็ นองค์กร ทางการเมอื งทใ่ี ช้อานาจของรัฐในการชี้ขาด ตัดสิน กรณพี พิ าท ตลอดจนคดคี วามท้งั หลายท้งั ปวงให้เป็ นไปตามตัวบทกฎหมาย ท้งั นีเ้ พอื่ จุดมุ่งหมายในการปกป้ องและธารงไว้ซ่ึงความยุตธิ รรม ตามที่กฎหมายกาหนดไว้

 สถาบันตุลาการ หมายถงึ ศาลและผู้พพิ ากษาท้งั หลายทป่ี ฏิบัติ หน้าที่ในศาลต่างๆ ตามเขตอานาจศาลในแต่ละระดบั และแต่ละ ประเภท  ฝ่ ายตุลาการไม่มอี านาจโดยตรงในการวางนโยบายของรัฐ แต่ ด้วยอานาจหน้าทขี่ องสถาบันตุลาการแล้ว ฝ่ ายตุลาการมสี ่วน เป็ นอย่างมากในการวางนโยบายของประเทศ เพราะการตคี วาม กฎหมายเป็ นหน้าทขี่ องฝ่ ายตุลาการ

1. การแต่งตัง้ : บำงระบบกำรเมืองมีระบบกำรเข้ำสู่ ตำแหน่งของผ้พู ิพำกษำ เป็นแบบกำรแตง่ ตงั้ ใน ประเทศไทยมีคณะกรรมกำรตลุ ำกำร (ก.ต.) เป็นผู้ พิจำรณำคดั เลือกและแตง่ ตงั้ ผ้พู ิพำกษำ ใน สหรัฐอเมริกำ ผ้ทู ่ีแตง่ ตงั้ ผ้พู ิพำกษำศำลสหพนั ธ์คือ ประธำนำธิบดี ทงั้ นีโ้ ดยผำ่ นกำรรับรองจำกวฒุ สิ ภำ ทงั้ นีท้ งั้ คณะกรรมกำรตลุ ำกำรและวฒุ ิสภำคอื ผ้ทู ี่มี ควำมสำคญั ในกำรกลนั่ กรองผ้พู พิ ำกษำ

2. การเลือกตัง้ : สำหรับบำงประเทศให้ประชำชนเป็นผู้ เลือกตงั้ ผ้พู พิ ำกษำเองในบำงระดบั เช่นในประเทศ สหรัฐอเมริกำให้ประชำชนในมลรัฐเป็นผ้เู ลือกตงั้ ผู้ พพิ ำกษำของศำลบำงประเภทในมลรัฐ ซง่ึ ทำให้ผู้ พพิ ำกษำได้รับควำมภำคภมู ใิ จวำ่ เป็นตวั แทนของ ประชำชน

โครงสร้ำงของตลุ ำกำรไทยในปัจจบุ นั มีสว่ นประกอบท่ี สำคญั 2 ประกำร คือ 1. ศำล 2. ผ้พู พิ ำกษำหรือตลุ ำกำร

1. ศาลธรรมดา หมำยถงึ ศำลทว่ั ไปทมี่ ีอำนำจในกำรวนิ ิจฉยั คดตี ำมกฎหมำย โดยทวั่ ไปแบง่ ออกเป็นศำลยตุ ิธรรม ศำล ปกครอง และศำลทหำร 2. ศาลพเิ ศษ คือศำลทม่ี ไิ ด้มีอำนำจวนิ ิจฉยั คดีควำมทว่ั ไป แตม่ ี อำนำจวนิ ิจฉยั คดเี ป็นลกั ษณะทำงกำรเมือง ซงึ่ ได้แกศ่ ำล รัฐธรรมนญู

สถาบนั ทางการเมืองทกี่ ล่าวมาท้งั หมด ไม่ ว่าจะเป็ นสถาบัน พระมหากษัตริย์ สถาบนั รัฐธรรมนูญ สถาบันนิตบิ ญั ญตั ิ สถาบนั บริหาร และ สถาบนั ตุลาการ ท้งั หมดมีวตั ถุประสงค์ เดยี วกนั คอื ใช้อานาจอธิปไตยเพอื่ ประโยชน์สุข ของประชาชน



ความหมายของกระบวนการทางการเมืองทก่ี ล่าวมาอาจ สรุปได้ว่า กระบวนการทางการเมอื ง หมายถงึ วธิ ีการใช้อานาจ ทางการเมอื ง ซ่ึงเกดิ ขนึ้ มาพร้อมกบั การทมี่ นุษย์รวมกนั อยู่เป็ น กล่มุ สังคม และเป็ นการนานโยบายไปใช้ให้เกดิ ผลดตี ่อสังคม กล่มุ ต่างๆทม่ี บี ทบาทในกระบวนการทางการเมืองซึ่ง รวมถงึ กล่มุ ผลประโยชน์ต่างๆ สมาคม องค์การเอกชน(NGOs) กลุ่มวชิ าชีพต่างๆกล่มุ การเมือง พรรคการเมือง ระบบราชการ รัฐสภา คณะรัฐมนตรี หรือฝ่ ายบริหาร คอื ประธานาธิบดแี ละ สถาบันตุลาการ เป็ นต้น ซ่ึงในทีน่ ีจ้ ะได้ศึกษาถึงเรื่อง รัฐบาล รัฐสภา พรรคการเมอื ง และกลุ่มผลประโยชน์เป็ นต้น

1. รัฐบาล รัฐบาลหรือสถาบันฝ่ ายบริหารเป็ นองค์การทส่ี าคญั ทสี่ ุดองค์การหนึ่ง ในการแสดงออกซึ่งอานาจอธิปไตย ประเภทของรัฐบาล 1) รัฐบาลระบบรัฐสภา 2 ) รัฐบาลระบบประธานาธิบดี 3 ) ระบบกง่ึ ประธานาธิบดี

ประเภทของรัฐบาล 1) ระบบรัฐสภา หลกั การสาคญั ของรัฐบาลแบบน้ี คือ คณะรัฐมนตรีส่วนใหญ่ มาจากสมาชิกรัฐสภา เพราะถือวา่ สมาชิกรัฐสภาเป็นตวั แทนของ ประชาชน ฉะน้นั รูปแบบการปกครองจึงกาหนดใหน้ ายกรัฐมนตรี เป็นสมาชกสภาผแู้ ทนราษฎรซ่ึงในทางปฏิบตั ิและโดย ขนบธรรมเนียมประเพณีจะมีการแต่งต้งั นายกรัฐมนตรีจากหวั หนา้ พรรคการเมืองท่ีมีเสียงขา้ งมากในรัฐสภา

การบริหารประเทศนี้ คณะรัฐมนตรีจะต้องรับผดิ ชอบต่อ สภา ทมี่ อี านาจควบคุมด้านการคลงั ของประเทศและเป็ นสภาที่ ได้รับการเลอื กต้งั โดยตรงจากประชาชน ฉะน้ันระยะเวลาของ การอยู่ในตาแหน่งของคณะรัฐมนตรีย่อมขนึ้ อยู่กบั รัฐสภา กล่าวคอื ถ้ารัฐสภาไม่รับรองนโยบายของคณะรัฐมนตรีชุดใด คณะรัฐมนตรีชุดน้ันกต็ ้องลาออก ตาแหน่ง หรือมฉิ ะน้ันกต็ ้องมี การยบุ สภา เพอ่ื จัดให้มกี ารเลอื กต้งั ทวั่ ไปขนึ้ มาใหม่

รัฐบาลระบบรัฐสภาแล้วมที ้งั ข้อดแี ละข้อเสียดังต่อไปนี้ ข้อดขี องรัฐบาลระบบรัฐสภา การปกครองของรัฐบาลระบบรัฐสภามกี ารประสานงานและ ร่วมมอื กนั อย่างดี ระหว่างฝ่ ายบริหารและฝ่ ายนิติบัญญตั ิ และยงั สามารถถ่วงดุลในการบริหารงานได้อกี ด้วย ข้อเสียของรัฐบาลระบบรัฐสภา การปกครองของรัฐบาลระบบรัฐสภาอาจขาดเสถยี รภาพทางการเมอื ง ในกรณที รี่ ัฐสภาไม่มีศักยภาพ สมาชิกของพรรคการเมอื งไม่มวี นิ ยั และ ขาดความรับผดิ ชอบในหน้าท่ีของตนประเทศทีม่ ีรัฐบาลปกครองระบบ นี้ เช่น องั กฤษ ญป่ี ่ นุ สิงค์โปร์ อนิ เดยี และไทย เป็ นต้น

2) รัฐบาลระบบประธานาธิบดี รูปแบบนีม้ ีแหล่งกาเนิดเร่ิมแรกในสหรัฐอเมริกา ภายหลงั จาก สหรัฐอเมริกาได้ประกาศอสิ ระภาพแยกตวั เองออกมาจากอาณานิคม องั กฤษ ผู้นาสหรัฐอเมริกาในสมัยก่อต้งั ประเทศ ได้คดิ ระบบการ ปกครองแบบการแยกอานาจ (Separativn of powers) คอื การแยก อานาจหน้าทฝ่ี ่ ายบริหารกบั ฝ่ ายนิตบิ ญั ญตั ิ หลกั การสาคญั ของการแยก อานาจได้แก่ ประธานาธิบดเี ป็ นผู้สรรหาและแต่งต้งั คณะรัฐมนตตรี การปกครองระบบประธานาธิบดกี าหนดให้ประมุขของรัฐและ ประมุขของฝ่ ายบริหารเป็ นบุคคลคนเดยี วกนั รูปแบบการปกครอง ระบอบประธานาธิบดเี ป็ นหัวหน้าฝ่ ายบริหารเพยี งคนเดยี ว ประธานาธิบดเี ป็ นตาแหน่งท่ไี ด้รับการเลอื กต้งั โดยตรงจากประชาชน ทาให้ประธานาธิบดมี อี านาจในการบริหารประเทศมาก

การปกครองระบอบประธานาธิบดจี งึ เป็ นอสิ ระจากการควบคุม ของรัฐสภา คอื สภาไม่มอี านาจลงมตไิ ม่ไว้วางใจรัฐบาล ซ่ึงแตกต่างจาก ระบบรัฐสภา ทใี่ ห้อานาจรัฐสภาควบคุมการบริหารงานของ คณะรัฐมนตรี รัฐบาลระบบประธานาธิบดแี ล้วมที ้งั ข้อดแี ละข้อเสียดงั นี้ (1) ข้อดขี องรัฐบาลระบบประธานาธิบดี รัฐมนตรีจะเป็ นสมาชิกรัฐสภาในเวลาเดยี วกนั ไม่ได้ ประธานาธิบดมี ี สิทธิทจี่ ะเลอื กบุคคลอน่ื นอกรัฐสภาทมี่ คี วามรู้ความสามารถดารง ตาแหน่งรัฐมนตรีได้ รัฐมนตรีจะมเี วลาเต็มทใี่ นการบริหารงานทตี่ น รับผดิ ชอบ เพราะไม่ต้องประชุมสภา

(2) ข้อเสียของรัฐบาลระบบประธานาธิบดี กรณที ปี่ ระธานาธิบดสี ังกดั พรรคการเมืองทม่ี เี สียงข้าง น้อยในรัฐสภา ประธานาธิบดยี ่อมประสบปัญหาย่งุ ยากในการ บริหารประเทศ เมอื่ ฝ่ ายบริหารต้องการออกพระราชบัญญตั ิ เพอื่ ใช้ในการบริหารประเทศ ประเทศทม่ี รี ัฐบาลปกครองระบบนี้ เช่น สหรัฐอเมริกา เกาหลใี ต้ อนิ โดนีเซีย และฟิ ลปิ ปิ นส์ เป็ นต้น

รูปแบบการปกครองของฝรั่งเศสเป็ นระบบรัฐสภา แต่ประมุข ของประเทศเป็ นประธานาธิบดี ได้รับการเลอื กต้งั โดยตรงจาก ประชาชน ประธานาธิบดมี อี านาจแต่งต้งั นายกรัฐมนตรี และ คณะรัฐมนตรี ร่วมกนั ทาหน้าท่บี ริหารประเทศและประธานาธิบดมี ี อานาจในการยุบสภา รัฐสภา ประกอบด้วย 2 สภาคอื วฒุ สิ ภาและสภาผู้แทนราษฎร วฒุ สิ ภามาจากการเลอื กต้งั โดยทางอ้อม ส่วนสภาผู้แทนราษฎรมาจาก การเลอื กต้งั โดจตรงของประชาชน ทาหน้าทค่ี วบคุมการบริหารงาน ของรัฐฝ่ ายรัฐบาลสภามีอานาจทางลงมตไิ ม่ไว้วางใจคณะรัฐบาลได้ สมาชิกรัฐสภาไม่สามารถดารงตาแหน่งรัฐมนตรีในขณะเดยี วกนั ได้

2. รัฐสภา รัฐสภาหรือสถาบนั ฝ่ ายนิติบัญญตั มิ ีหน้าที่สาคญั โดยตรงในการ ออกกฎหมาย ซ่ึงเป็ นกลไกและเครื่องมือในการบริหารและการปกครอง ของประเทศ นอกจากนีย้ งั ทาหน้าทค่ี ุ้มครองรักษาสิทธิและเสรีภาพของ ประชาชน อนึ่งรัฐสภาในรัฐบาลระบบรัฐสภา รัฐสภาทาหน้าที่ในการตรา กฎหมายและควบคุมการปฏบิ ตั หิ น้าทขี่ องฝ่ ายบริหาร รัฐสภามคี วามสาคญั ในการสร้างความยุตธิ รรมให้เกดิ ขนึ้ กบั ประชาชน และการพยายามปกป้ องรักษาเสถยี รภาพของประชาชน

ปัจจุบันประเทศต่างๆทม่ี รี ัฐสภาน้ันได้แบ่งสภาฝ่ ายนิตบิ ญั ญตั ิ ออกเป็ น 2 ระบบคอื ระบบสภาเดยี ว และระบบสองสภา 1 ระบบสภาเดย่ี ว ระบบสภาเด่ยี วเป็ นระบบทไ่ี ด้รับความนิยมน้อยมาก มักปรากฏ ระบบนีใ้ นการปกครองท้องถิ่นในประเทศไทย และประเทศในทวปี ยุโรป ทใี่ ช้สภาเดยี วเช่น นอรเวย์ สวเี ดน เป็ นต้น 2 ระบบสองสภา ระบบสองสภาคอื มสี ภาหน่ึงเป็ นตวั แทนจากประชาชนทวั่ ไป ส่วนอกี สภาหนึ่งเป็ นสมาชิกทม่ี ีคุณสมบตั พิ เิ ศษบางประการ เช่นมีอายุสูง กว่าสภาทเี่ ป็ นตัวแทนของประชาชน หรือเป็ นตวั แทนของคนบางกลุ่ม บางอาชีพ หรือเป็ นตัวแทนบางคนในมลรัฐ

2.1 สภาล่าง สภาล่างนี้ โดยทว่ั ไปน้ันสมาชิกของสภาล่างจะประกอบด้วยบุคคลทม่ี า จากราษฎรสามญั ทวั่ ไป โดยใช้ประชาชนผู้มสี ิทธิออกเสียงเลอื กต้งั ตามกฎหมาย ของแต่ละประเทศ ฉะน้ัน ตามหลกั การแล้วอานาจหน้าทสี่ าคญั ๆจึงอยู่ทส่ี ภาล่าง เพราะเป็ นสภาทไี่ ด้รับเลอื กต้งั มาจากประชาชน 2.2 สภาสูง สภาสูงนี้ คอื สภาขุนนางในประเทศองั กฤษ ต้งั ขนึ้ เพอื่ ความต้องการในการ แต่งต้งั คนช้ันสูงบางกล่มุ เช่น พระบรมวงศานุวงศ์ ขุนนาง หรือพระทางคริสต์ ศาสนาทด่ี ารงตาแหน่งสาคญั เข้ามาเป็ นตวั แทนของพวกตนในสภา ส่วน สหรัฐอเมริกาได้จดั ต้งั สภาสูงหรือวฒุ สิ ภาเพอ่ื ให้แต่ละมลรัฐมีผู้แทนของตน เป็ นผู้แทนในรัฐสภา มลรัฐละ 2 คนเท่ากนั หมดท้งั 50มลรัฐ โดยไม่คานึงถงึ ว่าจะ เป็ นมลรัฐจานวนประชากรมากหรือน้อยกว่ากนั แต่ประการใด

3. พรรคการเมอื ง(Political Party) พรรคการเมืองเป็ นกระบวนการทางการเมืองทส่ี าคญั ในการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย เพราะการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยเป็ นการปกครองทใี่ ห้ประชาชนมีส่วนร่วมในการ ปกครอง และมีอทิ ธิพลเหนือรัฐบาลโดยผ่านทางสมาชิกสภาผู้แทน ราษฎร  พรรคการเมอื งหมายถงึ กลุ่มบุคคลทม่ี แี นวความคดิ ทางด้าน เศรษฐ์กจิ สังคม และการเมอื ง ทคี่ ล้ายคลงึ กนั มารวมกลุ่มกนั เพอ่ื ลง สมคั รรับเลอื กต้งั และหวงั เป็ นรัฐบาล

พรรคการเมอื งต้องมีองค์ประกอบดังนี้ (1) ต้องเป็ นคณะบุคคลหรือกลุ่มบุคคลทรี่ วมตวั กนั เป็ นองค์การ (2) การรวมตัวของพรรคการเมอื งต้องมีอุดมการณ์ (3) ต้องกาหนดนโยบายสาธารณะ (4) ต้องคดั เลอื กบุคคลเข้าสมคั รรับเลอื กต้ัง (5) ต้องมีจุดประสงค์ในการจัดต้ังรัฐบาล พรรคการเมืองมคี วามสาคญั คอื เป็ นหลกั ประกนั เสรีภาพและความเสมอภาค ของประชาชน เป็ นการช่วยพฒั นาการปกครองระบอบประชาธิปไตย ทาให้ รัฐบาลสามารถดาเนินงานตามความต้องการของประชาชนได้ พรรคการเมืองต้องมลี กั ษณะทส่ี าคญั คอื ต้องมคี วามยง่ั ยนื มน่ั คง ถาวร มสี าขากระจายอยู่ทว่ั ประเทศกจิ กรรมของพรรคการเมอื งต้องมี การกระทาอย่างต่อเนื่อง

 การกาเนิดพรรคการเมืองทกี่ ล่าวมาอาจเกดิ จากทฤษฎี ต่างๆเช่นทฤษฎที างจิตวทิ ยา ทฤษฎที างเศรษฐกจิ และสังคม ทฤษฎอี ุดมคติ ทฤษฎกี ารจดั องค์การ ทฤษฎรี ัฐสภา ทฤษฎี สถาบัน ทฤษฎปี ระวตั ิศาสตร์และสถานการณ์ และทฤษฎี พฒั นาการ เป็ นต้น

จาแนกได้ 8 ทฤษฎี 1. ทฤษฎีทางจิตวทิ ยา (Psychological theories) พรรค การเมืองเกดิ จากมนุษย์ท่มี ีความรู้สกึ นึกคดิ ท่แี ตกต่าง กนั มองโลกในด้านดีและด้านร้ายต่างกันจงึ เกิดพรรค การเมืองท่มี ีแนวคดิ ต่างกัน

2.ทฤษฎที างเศรษฐกิจและสังคม(Socio- economic theories) เป็ นทฤษฎที ่เี ช่ือว่า “ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคม” เป็ นส่วนสาคญั ใน การเกดิ พรรคการเมอื ง 3.ทฤษฎอี ดุ มคต(ิ Ideological theories)มนุษย์ มีคุณสมบัตพิ เิ ศษคือ “ความคดิ สร้างสรรค์” (creative thinking) ดงั นัน้ มนุษย์จงึ มกี ารรวมตวั ของกลุ่มแนวคิด เดยี วกนั เกิดเป็ นพรรคการเมืองท่มี ีความยดึ ม่ันใน อุดมการณ์เดยี วกันขนึ้ เป็ นพรรคการเมอื งต่าง ๆ

4. ทฤษฎีเก่ียวกับองค์การ (Organizational theories) พรรคกำรเมืองเกิดจำกกำรรวมกลมุ่ ของบคุ คล และผ้นู ำ (leader)ในทำงกำรเมืองเข้ำมำเป็นสมำชิกเพื่อสร้ำงควำมนิยม และผ้ทู ่ี ต้องกำรแสวงหำผลประโยชน์ทำงกำรเมืองสมคั รเข้ำมำเป็นสมำชิกร่วมด้วย 5. ทฤษฎีรัฐสภา (Parliamentary theories) ทฤษฎีนี ้ เกิดจำกแนวควำมคดิ ของโมริช ดแู วร์แยร์ (Maurice Duverger)นกั รัฐศำสตร์ชำวฝร่ังเศส กลำ่ ววำ่ พรรคกำรเมืองกำเนิด มำ 2 แนวทำง คือกำเนิดพรรคกำรเมืองนอกรัฐสภำ (extra- parliamentary origins)และกำเนิดพรรคกำรเมืองในรัฐสภำ (inner-parliamentary origins)

6. ทฤษฎีว่าด้วยสถาบัน (Institutional theories) เกดิ จากการรวมตัวเป็ นหมู่คณะ (cligue) หรือสโมสรทาง การเมือง แล้วจงึ รวมตัวก่อตงั้ พรรคการเมอื ง 7. ทฤษฎีว่าด้วยประวัตศิ าสตร์และสถานการณ์ (Historical situational) ทฤษฎีนีเ้ ป็ นทฤษฎีท่ีทาให้ ทราบถงึ ประวัตศิ าสตร์วกิ ฤตการณ์ต่างๆ ในการเกดิ พรรคการเมอื ง และ 8. ทฤษฎีว่าด้วยพฒั นาการ Devenlopmental theories) พรรคการเมืองเกดิ จากสภาพแวดล้อมซ่งึ เกดิ จาก พฒั นาการท่สี าคัญ 2 ประการ คือ - การเปล่ียนแปลงทัศนคตขิ องประชาชน - เกดิ จากผู้นาทางการเมือง

การจัดองค์การของพรรคการเมือง 1. องค์การของพรรค พรรคการเมืองจาเป็ นต้องมีการวางแผนและการจดั การ องค์การโดยการแบ่งงานออกเป็ นสาขาต่างๆ และต้องกาหนดสายบงั คับบญั ชา 2. กลไกของพรรค การดาเนินงานจะเป็ นไปอย่างมี ประสิทธภิ าพ จะต้องมีการประสานงานร่วมมือกันทุกส่วนภายใน พรรค 3. นโยบายพรรค เป็ นองค์ประกอบสาคัญในการท่จี ะ เอือ้ อานวยให้พรรคการเมอื งดาเนินงานได้ตามจุดมุ่งหมาย 4. การเงนิ ของพรรค เงนิ เป็ นปัจจัยสาคัญของพรรค การเมอื งในการรณรงค์หาเสียง ทาป้ ายโฆษณาและแผ่นพับฯลฯ 5. การประชุมพรรค มีความสาคัญอย่างย่งิ ในการสร้าง ความผูกพนั ให้แน่นแฟ้ นย่งิ ขนึ้ พรรคจงึ ควรจัดระเบยี บท่ดี ีจะต้องมี การจัดประชุมพรรคทุกระดับอย่างสม่าเสมอ

มีอานาจหน้าท่แี ละความรับผดิ ชอบ 1. กาหนดนโยบายของพรรค 2. การคัดสรรผู้ลงสมัครรับเลือกตงั้ เพ่ือไปเป็ นตวั แทนของ ประชาชน 3. การรณรงค์หาเสียงเลือกตงั้ 4. การจัดตงั้ รัฐบาลเพ่อื เข้ามาบริหารประเทศ 5. การเป็ นฝ่ ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร 6. เผยแพร่อุดมการณ์และนโยบายของพรรค 7. สร้างความรู้ความเข้าใจทางการเมืองให้แก่ประชาชน

 และในปัจจุบันพรรคการเมืองได้มีการปรับบทบาทเพ่อื ให้ ใกล้ชดิ กับประชาชน และเชิญชวนให้ประชาชนเข้ามามสี ่วน ร่วมกบั พรรคการเมืองมากขนึ้ ทงั้ นีเ้ พราะพรรคการเมือง เป็ นกลไกสาคญั ท่จี ะช่วยให้การปกครองประเทศดาเนินไป ในทศิ ทางท่ดี ีขนึ้ พรรคการเมือง หมายถงึ คณะบุคคลทรี่ วมตัวกันเป็ นองค์กร ตามแนวคดิ เหน็ หรือหลักการบางอย่างทเ่ี หน็ พ้องต้องกัน เพ่อื กาหนดประเดน็ ปัญหาและคัดเลือกบุคคลเข้าสมัครรับ เลือกตั้ง มีจุดมุ่งหมายในการควบคุมการดาเนินงานและ นโยบายรัฐบาล

1. เป็ นคณะบุคคลท่รี วบรวมกันเป็ นองค์กร 2. เป็ นการรวมตัวกนั ตามแนวความคิดเหน็ หรือ หลักการบางอย่างท่เี หน็ พ้องต้องกนั 3. มีการกาหนดประเดน็ ปัญหาและนโยบาย

 ระบบของพรรคการเมือง แยกระบบพรรคการเมืองได้ 4 ระบบ 1. ระบบหลายพรรค (Multi- Party System) มีพรรคการเมืองจานวน มาก และในสภาจะมีลกั ษณะรัฐบาลผสม 2. ระบบ 2 พรรค (Two-Party System) อาจมีพรรคการเมอื งมากกว่า 2 พรรคแต่จะมพี รรคการเมอื งใหญ่เพยี ง 2 พรรค ท่ีมีบทบาททางการเมอื งอย่าง มากในสภา 3. ระบบพรรคเด่นพรรคเดียว (One-Party Doninance) พรรคเด่น พรรคเดียวเป็ นพรรคทผ่ี ูกขาดเป็ นรัฐบาลตลอด พรรคเลก็ ๆ กจ็ ะเป็ นเสียงข้าง น้อยในสภาเท่าน้ัน 4. ระบบพรรคเดยี ว (One-Party System) จะพบในประเทศที่ปกครอง แบบเผดจ็ การ หรือระบอบสังคมนิยม จะมพี รรคการเมืองเพยี งพรรคเดียว

ระบบพรรคเดียว(One-Party System) ระบบพรรคเดยี วน้ันทีเ่ ด่นชัดคอื ระบบพรรค การเมืองในสังคมนิยม เช่น สาธารณะรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวยี ดนาม เป็ นต้น ประเทศ เหล่านีจ้ ะมพี รรคคอมมวิ นิสต์ เพยี งพรรคเดยี ว ผูกขาด อานาจทางการเมอื ง

 ระบบพรรคเด่นพรรคเดยี ว(One-party system) : เป็ นรูปแบบท่มี ีพรรคการเมืองหลายพรรคเข้าแข่งขันทาง การเมือง แต่จะมีพรรคการเมืองเพยี งพรรคเดียวท่ไี ด้รับเสียง ข้างมากในสภาส่วนพรรคการเมืองอ่ืนนัน้ จะมีสมาชกิ ท่ไี ด้รับ การเลือกตงั้ ไม่มากนัก การจดั ตัง้ รัฐบาลจงึ เป็ นหน้าท่ขี องพรรค การเมืองท่มี ีเสียงข้างมาก ดังนัน้ การบริหารประเทศจงึ อยู่ ภายใต้การควบคุมของพรรคการเมืองท่ไี ด้รับความไว้วางใจ จากประชาชนเพยี งพรรคเดียว

 ระบบสองพรรค (Two-party system) : คือการท่มี ีพรรคการเมืองใหญ่เพียงสองพรรค เท่านัน้ ท่มี ีโอกาสผลัดเปล่ียนหมุนเวียนกนั จัดตัง้ รัฐบาล โดยเสียงสนับสนุนของสองพรรคนีจ้ ะไม่ แตกต่างกนั มากนัก ส่วนพรรคอ่ืนๆ จะเป็ นเพียง พรรคเลก็ ๆ เท่านัน้

 ระบบหลายพรรค (Multi-party system) : มีลักษณะสาคัญคือ มพี รรคการเมืองเกนิ กว่า 3 พรรคขนึ้ ไป โดยแต่ละพรรคจะมคี ะแนนเสียงสนับสนุนใกล้เคยี ง กนั ไม่มพี รรคใดได้คะแนนเสียงมากเดด็ ขาดพอท่จี ะ จดั ตงั้ รัฐบาลเพยี งพรรคเดยี วได้ ต้องอาศัยความร่วมมือ ระหว่างพรรคการเมืองต่างๆ รวมกันจัดตงั้ รัฐบาลผสม การมีพรรคการเมืองหลายพรรคนี้ แต่ละพรรคย่อมมี อุดมการณ์และแนวคิดท่แี ตกต่างกัน จงึ ทาให้รัฐบาลผสม มักจะล้มลุกคลุกคลาน หรือมีการเปล่ียนรัฐบาลอย่บู ่อยๆ

1. คน ซ่งึ กค็ ือสมาชิกพรรค กรรมการบริหารพรรค รวมถงึ หวั หน้าพรรคและบุคลากรอนั เป็ นเจ้าหน้าท่ี ประจาพรรค 2. สถานท่แี ละอุปกรณ์ หมายถงึ ท่ที างานทงั้ สานักงานใหญ่และสานักงานสาขา ตลอดจน อุปกรณ์เคร่ืองมือเคร่ืองใช้ท่จี าเป็ น เช่น เคร่ืองมือ เคร่ืองใช้สานักงาน

3. การกาหนดและจดั แบ่งโครงสร้างท่สี าคัญ เช่น ท่ี ประชุมใหญ่ ท่ปี ระชุมคณะกรรมการบริหาร สานักงาน เลขาธิการ ฝ่ ายและแผนกต่างๆ เช่น ฝ่ ายการเงนิ การ คลังและการบัญชี ฝ่ ายวชิ าการและวจิ ยั ฝ่ ายข้อมูลและ สาระสนเทศ ฯลฯ มีหน่วยปฏบิ ตั กิ าร มีสานักงานและ กรรมการสาขาต่างๆ เป็ นต้น 4. ความคิดความเช่ือหรืออุดมการณ์ร่วมกัน ซ่งึ ปรากฏ อยู่ในข้อบงั คับพรรค นโยบายพรรค ซ่งึ โดยหลักการจะ เป็ นส่ิงเช่ือมประสานบุคลากรในพรรคเข้าด้วยกัน

1. การให้การศึกษาทางด้านการเมอื งแก่ประชาชน พรรคการเมอื ง จะช่วยกระตุ้นให้ประชาชนได้มีความรู้ความเข้าใจและสนใจใน ปัญหาของบ้านเมืองมากขนึ้ รวมท้งั ตระหนักถึงบทบาทของ ตนเองเพอ่ื เข้าไปมีส่วนร่วมในทางการเมอื ง การให้การศึกษา ด้านการเมอื งแก่ประชาชน สามารถดาเนินการได้หลายลกั ษณะ เช่น จัดอบรม จดั สัมมนา อภปิ ราย แจกจ่ายเอกสารหรือให้ ความรู้ผ่านทางส่ือต่างๆ

2. การสร้างผู้นาทางการเมือง โดยการคัดเลือกหรือสรรหา บุคลากรทางการเมืองมาเป็ นผู้นาในด้านต่างๆ เช่น การ ส่งผู้สมัครรับเลือกตงั้ เพ่อื เข้าไปบริหารประเทศทงั้ ใน ระดบั ท้องถ่นิ และระดบั รัฐ ทงั้ นีเ้ พ่อื เป็ นการสืบทอด ภารกิจ อุดมการณ์ หน้าท่แี ละบทบาทของพรรคการเมอื ง ในอนาคต พรรคการเมืองจงึ ควรให้ความสาคัญต่อการ สร้างผู้นาทางการเมืองท่มี ีความเพยี บพร้อมทงั้ คุณธรรม และความรู้ความสามารถเพ่อื รับใช้สังคมโดยส่วนรวม

3. กระตุ้นให้ประชาชนท่วั ไปมีส่วนร่วมในการ ปกครองประเทศด้วยการเสนอช่ือผู้สมัครรับ เลือกตงั้ ท่มี ีช่ือเสียง และจัดตงั้ สโมสรหรือชมรม ต่างๆ เพ่อื สร้างความสนใจทางการเมือง 4. การเป็ นตัวกลางในการเช่ือมประสานระหว่าง ประชาชน กลุ่มประชาชน หรือกลุ่มผลประโยชน์ ต่างๆ ให้เกดิ ความเข้าใจและประสานการทางานใน สังคมร่วมกัน ตลอดจนการปลุกเร้าประชาชนให้ เกดิ ความต่นื ตวั ทางการเมือง และเป็ นช่องทางให้ ประชาชนเข้ ามีส่ วนร่ วมทางการเมืองต่ อไป

5. เป็ นช่องทางของประชาชนในการแสดงออก อันจะช่วย ผ่อนคลายความตงึ เครียดทางการเมืองท่อี าจจะเกดิ ขนึ้ กับ ประชาชนได้ 6. การกาหนดนโยบายหลักท่สี าคัญเพ่อื นาไปใช้ในการ บริหารและปกครองประเทศ 7. ถ้ายงั ไม่มีโอกาสบริหารประเทศ พรรคการเมืองก็จะทา หน้าท่แี ทนประชาชนในการเรียกร้องหรือกดดันให้รัฐบาล สนองตอบในแนวทางท่เี หน็ ว่าเหมาะสม 8. ทาหน้าท่เี ป็ นรัฐบาลเม่ือได้รับเสียงข้างมาก และทา หน้าท่เี ป็ นฝ่ ายค้านหรือผู้ควบคุมรัฐบาลเม่ือได้รับเสียง ข้างน้อย

ปัญหาของพรรคการเมืองไทย ปัญหาพรรคการเมืองไทย เช่น โครงสร้างพรรค การเมือง ปัญหาผู้บริหารและสมาชิกพรรค และปัญหา วิกฤตการณ์ต่าง ๆท่นี อกเหนือรัฐธรรมนูญ และท่ามกลาง ความเปล่ียนแปลงท่รี วดเร็วเราจะพบกับปัญหาต่าง ๆ มาก ขนึ้ เช่นการซอื้ ตวั สส.เข้าพรรคการเมือง แนวทางแก้ไข แก้ ไขตามโครงสร้ างและแก้ ไขตามสถานการณ์



 ความสัมพนั ธ์ระหว่างรัฐกบั ประชาชนได้มีววิ ฒั นาการมา อย่างยาวนาน อาจสรุปได้ดงั นี้ 1. ความสัมพนั ธ์ในเชิงอานาจรัฐ ความสัมพนั ธ์ในเชิงอานาจรัฐอาจแบ่งออกได้เป็ น 2 ประเภท 1.1. ระบบสังคมเปิ ด ระบบสังคมเปิ ดได้แก่ สังคมในประเทศทมี่ กี ารปกครอง ในระบอบประชาชธิปไตย ซ่ึงเป็ นสังคมทเี่ ปิ ดโอกาสให้ทุกคนเป็ นผู้ กาหนดวถิ ีชีวติ ของตนเอง มีอสิ ระในการแสดงความคดิ เห็น มเี สรีภาพ ในการรวมกล่มุ ทางด้านเศรษฐกจิ สังคมและการเมือง เป็ นต้น

1.2 ระบบสังคมปิ ด ระบบสังคมปิ ดได้แก่สังคมในประเทศทมี่ ีการ ปกครองระบอบเผดจ็ การ เช่น คอมมิวนสิ ต์ ฟาสซิสต์ นาซี เป็ น ต้น รัฐจะไม่ยอมให้ประชาชนรับผดิ ชอบใดๆ ความรับผดิ ชอบ น้ันตกอยู่กบั รัฐ ประชาชนต้องดาเนินชีวติ ไปตามทรี่ ัฐกาหนด และไม่สามารถแสดงความคดิ เห็นใดๆ

2. ความสัมพนั ธ์ในเชิงกฎหมาย การสร้างความสัมพนั ธ์ระหว่างรัฐกบั ประชาชนน้ัน รัฐทุกรัฐในสังคมจะต้องมหี น้าทตี่ ่อประชาชน และประชาชนต่อ รัฐ การบริหารงานของรัฐน้ัน รัฐจะต้องมเี ครื่องมอื เคร่ืองมือ น้ันคอื กฎ ระเบยี บ ข้อห้ามหรือข้อบงั คบั เพอ่ื ควบคุมพฤตกิ รรม ของประชาชนและรัฐทเ่ี รียกว่า “กฎหมาย” ซึ่งเป็ น ความสัมพนั ธ์ระหว่างรัฐกบั ประชาชน

ความหมายของกฎหมาย กฎหมายน้ันมคี วามหมายอยู่หลายประการ ซึ่งความหมาย จะแปรเปลย่ี นไปตามเง่ือนไขต่าง ๆ เช่น ลกั ษณะของสังคมที่ แตกต่างกนั สถานการณ์ทีเ่ ปลยี่ นแปลง ความต้องการของ ประชาชนในสังคม น้ัน ๆ แต่หลกั ทสี่ าคญั และเป็ นความหมายของ กฎหมายโดยทว่ั ไปจะมอี ยู่ 4 ประการ คอื 1. กฎหมายต้องเป็ นคาส่ัง 2. กฎหมายถูกกาหนดขึน้ โดยผู้มอี านาจในสังคม 3. กฎหมายใช้บังคบั และเป็ นทที่ ราบแก่คนทวั่ ไป 4. กฎหมายต้องมสี ภาพบงั คบั แก่ผู้ฝ่ าฝื น

1. กฎหมายเป็ นกฎข้อบังคบั ของรัฐ 2. มีองค์การทมี่ ีอานาจทางนิตบิ ญั ญตั เิ ป็ นผู้บญั ญตั กิ ฎหมาย เพอื่ ใช้บังคบั แก่บุคคลในรัฐ 3. กฎหมายทุกฉบับมผี ลใช้บงั คบั เป็ นการทว่ั ไปภายในดนิ แดน ของรัฐน้ัน 4. กฎหมายทุกฉบับมีผลใช้บงั คบั ตลอดไป จนกว่าจะมีการ ประกาศยกเลกิ โดยองค์การทม่ี ีอานาจทางนิติบญั ญตั ิ 5. มีบทลงโทษแก่ผู้ฝ่ าฝื น

 ขนบธรรมเนียมประเพณี (Custom) เป็ นท่มี าท่สี าคัญท่สี ุดของกฎหมาย ต้นตอจะมา จากนิสัยของสังคม หรือนิสัยทางสังคม ซ่งึ มักจะ เป็ นท่มี าของกฎหมายพนื้ ฐานของรัฐ ส่วนใหญ่จะ ได้รับอิทธิพลจากศาสนาเป็ นส่วนใหญ่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook