แจกฟรีหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐเฉานพาะครผู ู้สอน สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง วฒั นธรรมและการดำเนนิ ชวี ติ ในสงั คม เศรษฐศาสตร์ และภมู ศิ าสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ตามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั สาระภมู ศิ าสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ม.๒ คมู่ อื ครู อจท. ใชป้ ระกอบการสอนค่กู ับหนงั สือเรียน เพ่มิ คำแนะนำการใช้ เพม่ิ คำอธิบายรายวชิ า ม.๒เพ่มิ Pedagogy เพ่ิม Teacher Guide Overview เพม่ิ Chapter Overview เพมิ่ ขอ้ สอบเนน้ การคดิ เพ่ิม กจิ กรรม st Century Skills 21 ดร. ดำรงค์ ฐานดี จรนิ ทร์ เทศวานชิ ÎÎ.- วชิ ยั ภโู่ ยธนิ ดร. อภสิ ทิ ธ์ิ เอย่ี มหนอ่ สคุ นธ์ สนิ ธพานนท์ วโิ รจน์ เอย่ี มเจรญิ ดร. ตรี ณ พงศม์ ฆพฒั น์ จนิ ดา แซจ่ งึ ภาพปกนม้ี ขี นาดเทา่ กบั หนงั สอื เรยี นฉบบั จรงิ ของนกั เรยี น ผ้เู รียบเรียงคูม่ อื ครู ระวิวรรณ ตงั้ ตรงขนั ติ นราธปิ แก้วทอง
คู่มือครู Teacher Script สงั คมศกึ ษำ ม. 2ศำสนำ และวัฒนธรรมฯ ชน้ั มัธยมศึกษาปท ่ี 2 ตามมาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตัวชีว้ ัด สาระภมู ศิ าสตร ์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) กลมุ่ สาระการเรียนร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ผเู้ รียบเรยี งหนังสอื เรยี น ผูต้ รวจหนังสือเรยี น บรรณาธิการหนังสือเรยี น รศ. ดร.ด�ารงค์ ฐานดี รศ. ดร.พนั ธ์ทิพย ์ จงโกรย นายสมเกยี รติ ภู่ระหงษ์ ผศ.วิชัย ภโู่ ยธิน ดร.พนู ศกั ด ์ิ ไม้ โภคทรัพย์ นางสุคนธ ์ สนิ ธพานนท์ นายมโนธรรม ทองมหา ศ. ดร.ตีรณ พงศม์ ฆพัฒน์ รศ.จรนิ ทร ์ เทศวานชิ รศ. ดร.อภิสทิ ธ์ิ เอ่ียมหน่อ ผศ.วิโรจน์ เอี่ยมเจรญิ นาวสาวจินดา แซ่จงึ ผู้เรยี บเรียงคู่มอื ครู นางระวิวรรณ ตั ง้ั ตรงขันติ นางสคุ นธ ์ สั นิ ธพานนท ์ ดร.วัธนยี ว์ รรณ ัอรุ าสขุ นายวิทยา ัยุวภษู ติ านนท์ พิมพค รง้ั ที่ 1 สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญตั ิ รหสั สนิ คา 2243140
ค�ำแนะน�ำกำรใช้ คมู่ อื ครู รายวชิ า สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรมฯ ม.2 จดั ทา� ข้ึนเพื่อให้ครูผู้สอนใช้เป็นแนวทางวางแผนการจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและประกันคุณภาพผู้เรียน ตาม นโยบายของส�านกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เพม่ิ คําแนะนาํ การใช้ ชวยสรำงควำมเขำใจ เพ่ือใชคูมือครูได นาํ นาํ สอน โซน 1สรปุ ประเมนิ อยำ งถูกตอ งและเกดิ ประสิทธิภำพสงู สุด เพิ่ม คําอธบิ ายรายวชิ า แสดงขอบขำยเน้ือหำสำระของรำยวชิ ำ ขนั้ นาํ แแผผนนทที่แีแ่ สสดดงงทเต่ีขง้ัตแกลาะรอปาณกคาเรขอตงขขอองงปทระวเปีทแศใอนฟทรวกิ ีปาแอฟรกิ า ซง่ึ ครอบคลมุ มำตรฐำนกำรเรยี นรแู ละตวั ชวี้ ดั ตำมทห่ี ลกั สตู ร Geographic Inquiry Process (ตอ ) 30 Wํ 20 Wํ 10 ํW 0 ํ 10 ํE 20 Eํ 30 ํE 500 40มEํ าต0ราสว น 150: 5Eํ 2,010,00,00000601,Eํ 500 กม. 50 ํN 5. นักเรียนแบงกลุม เลนเกมแขงขันตอบปญหา เขตปกครองตนเอง ดนิ แดนโพนทะเล N ก�ำหนด 1. มาเดรา (โปรตเุ กส) 1. มายอต (ฝรง�ั เศส) เก่ียวกับที่ตั้งและอาณาเขตของทวีปแอฟริกา 50 Nํ พรอมทั้งระบุตําแหนงสําคัญของสถานที่ตาม แผนทแี่ สดงทต่ี งั้ และอาณาเขตของประเทศใน 2. หมเู กาะคะแนรี (สเปน) 2. เรอนู ย� ง (ฝรง�ั เศส) ทวีปแอฟริกา จากหนังสือเรียนสังคมศึกษาฯ 3. เซวตา (สเปน) 3. เซนตเ ฮเลนา อสั เซนชนั และ ม.2 เชน 4. เมลยี า (สเปน) ตรสิ ตนั ดากนู ยา (สหราชอาณาจกั ร) • ดนิ แดนบางสว นของทวปี แอฟรกิ า ทะเลแคสเปยน เพิ่ม Pedagogy ชวยสรำงควำมเขำใจในกระบวนกำรออกแบบ 40 Nํ ม ห า ส มุ ท ร ตกิ ท ะ เ ล ดํ า 40 ํN กำรจัดกำรเรียนกำรสอนแบบ Active Learning ไดอยำงมี มอี าณาเขตตดิ ตอ กับทวีปใด แ อ ต แ ล น ติ ก ทะเล ประสิทธภิ ำพ (แนวตอบ ทวีปเอเชยี ) ท วี ป ยุ โ ร ป เอเดรยี • หากเดินเรือบริเวณดา นตะวนั ออกของ เพม่ิ Teacher Guide Overview ชว ยใหเห็นภำพรวมของกำร ทวีปแอฟรกิ า แสดงวาเดินเรอื อยูบรเิ วณ มาเดรา ยชิบอรงอโแมลคตรบาอ็ รกรเาซโบกวัตตาเมทลยี าะ เลเ ตมนู ตเิูนดซิสติ รียิโเปลีตอาวอซิดรรา ท วี ป เ อ เ ชี ย จัดกำรเรียนกำรสอนท้ังหมดของรำยวิชำกอนท่ีจะลงมือ มหาสมุทรใด หมเู กาะคะแนรี แอลเจียร สอนจริง (แนวตอบ มหาสมุทรอนิ เดยี ) อาวเปอรเซีย 30 Nํ • ประเทศอยี ปิ ตต ั้งอยูทางทิศใดของทวีป เ ร เ นี ย น เสนทรอปกออฟแคนเซอร เพิ่ม Chapter Overview ชว ยสรำ งควำมเขำ ใจและเหน็ ภำพรวม แอฟรกิ า ไคโร ในกำรออกแบบแผนกำรจัดกำรเรยี นรูแ ตล ะหนว ย (แนวตอบ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือของทวีป) แอฟริกาเหนือ30 Nํ เอลอายรนู น สะฮารา แ อ ล จี เ รี ย ลิ เ บี ย อี ยิ ป ต ทะเลแดง บเเซซันเบสโยีจิสกเนดแลูนรเนมศาซกกรากอูนกาากนินมนามยลรรลัแูโสเ-ีีกไรบอโีอตู บเฟอลกวริยี สิรรนนชียบีทอเิเีซาเีตตวรานยีเบ นโากมยยี าาตโมกดุสซอบวิ ุโัวกูรรรกมากวนิอาาเักกาาซนกาวฟาดโราลตตากู าโอููเเลีโโกมบาอเกซมวินแปิเนเคีออลบเนารวนิ ซนะเโทปมีตานิ ไตอ-รโเูมเนินมนราโซียวลไปิาลจโอบกนาี นิบแเลูจีเกคราเี บาจเยี รมบบายออรวอออนุาลิ ซรเงสดลซรสนู ูอาาคันาวธกธดิลนิอาาเาชงรอชราน็ณโบซณจกงัาาากรรเีมฐัดัฐนแาคออฟงรกิโกากลรเบาวซซงนัรุานุูทดดดซาจีูดาบแยบู คูจาาูกกิกมุนทนมัาบนั ลปนรูคี าดาาลซราาทาเมู เไเนคอนโเแแรนออียบอธโดดรสียิดโมเิ ดโิสทาามอรอาราาบยี ามเบหจาปจาบิ บิสโยูตูตโมมี ซี กุทอาารดวอิชเอูนิ เดเดนียเวสเ ิท20ํN Nํ20 มาดา ักสการ ม า เ ลี ย 10 Nํ ํN 0ํ 0ํแอฟริกาตะวนั ตก แอฟรกิ ากลาง ตแะอวฟนั รอิกอาก10 แอฟรกิ าใต10 Sํ อัสเซนชัน Sํ นแาอมวงินิเดโบฮกแกุยี ลอาฟบกาอรโบติกแโสราเนวใมซาาลตเนูซซซพมารารกิมูฮทิเาเาบอลรเอาบบัรโัมเเยี รซเบอี วยาโสบทามวมเลานาิลปาอูโตลตงเเาสนิวนวบทีี ริ กอปกอคอำฟอแโคมคธอปโบิรอันรนิคตามโีอทเายามมรนยาสน าอืโงอนญั รงนตาหรลสำ้ โิ ลกัววษงณ 10 Sํ โ ม ัซ ม 20 Sํ ม ห า ส มุ ท ร แ อ ต แ ล น ติ ก มาดา ักสการ 30 Sํ เซนตเ ฮเลนา 20 Sํ อา ววอลวสิ 10 ํW 0 ํ 10 Eํ 1 :ก5า2บ,0ูเ0ว0ร,ด0ี00 เซ1เช:ล8ส7,0ม0อ0ร,0ิเ0ช0ียส กาบูเวรดี 20 ํN คอโมโรส เซเวชิกตลอสเร1ีย0 ํS 30 มอรเิ ตเนยี ไปรอา เซเนกัล มายอต มพออรรติเชหลยี ุยสส แกมเบีย 20 Sํ 50 ํE เรอูนยี ง เพม่ิ Chapter Concept Overview ชวยใหเห็นภำพรวม กินี-บสิ เซา Concept และเนอ้ื หำส�ำคัญของหนว ยกำรเรียนรู 10 ํN กินี 60 ํE แหลง นำ้ Projection: Azim20utํWhal Equidistant 40 ํE 20 Eํ 30 ํE COPYRIGHT © Aksorn CharoenTat ACT. Co.,Ltd ๒6๔ เพม่ิ ข้อสอบเน้นการคิด/ข้อสอบแนว O - NET เพื่อเตรียม เกร็ดแนะครู ขอ สอบเนน การคิด ควำมพรอ มของผูเ รยี นสกู ำรสอบในระดับตำง ๆ ครูควรจัดกิจกรรมเสริมใหนักเรียนทุกคนฝกอานแผนท่ีแสดงที่ต้ังและ ขอ ใดกลาวถึงท่ตี ง้ั ของทวปี แอฟรกิ าไดถกู ตอ ง เพิ่ม กิจกรรม 21st Century Skills กจิ กรรมทจ่ี ะชว ยพัฒนำ อาณาเขตของประเทศในทวีปแอฟริกา และใหนักเรียนคนควาขอมูลเพ่ิมเติม 1. มีเสน ศนู ยสูตรลากผานกลางทวีป ผูเรียนใหมีทักษะท่ีจ�ำเปนส�ำหรับกำรเรียนรูและกำรด�ำรงชีวิต จากแหลงเรียนรูตางๆ เกี่ยวกับองคประกอบและสัญลักษณที่แสดงบนแผนที่ 2. มคี ลองสุเอซใชเ ปนเสนทางออกสมู หาสมทุ รแอตแลนตกิ เพอ่ื ใหน กั เรยี นทกุ คนมคี วามเขา ใจและสามารถอา นแผนทไ่ี ดอ ยา งถกู ตอ ง และ 3. ทะเลแดงกนั้ พรมแดนระหวางทวีปแอฟรกิ ากับทวีปยุโรป ในโลกแหง ศตวรรษที่ 21 แจกแผนทโี่ ครงรา งของทวปี แอฟรกิ าใหน กั เรยี นฝก ทกั ษะการใชแ ผนท่ี โดยเขยี น 4. ชองแคบยิบรอลตารก้ันพรมแดนระหวา งทวปี แอฟริกากบั ชื่อประเทศ เมืองหลวง และอาณาเขตติดตอ ลงบนแผนที่โครงราง พรอมทั้ง ระบายสใี หส วยงาม แลว นําสงครูผูส อน ทวปี เอเชีย ส่ือ Digital โซน 3(วเิ คราะหคําตอบ ตอบขอ 1. ทวีปแอฟริกามีเสนศูนยสูตรลาก โซน 2ศกึ ษาคน ควา เพม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั แผนทแ่ี สดงทตี่ ง้ั และอาณาเขตของประเทศ ผานกลางทวีป มีคลองสุเอซเปนเสนทางออกสูมหาสมุทรอินเดีย มีทะเลแดงก้ันระหวางทวีปแอฟริกากับทวีปเอเชีย และชองแคบ ในทวีปแอฟรกิ า ไดที่ http://worldmap.harvard.edu/africamap/ ยบิ รอลตารก นั้ ระหวา งทวีปแอฟรกิ ากบั ทวีปยโุ รป) เพิ่ม STEM Project แนวทำงกำรจัดกำรศึกษำใหผูเรียนเกิด T264 กำรเรียนรูและสำมำรถบูรณำกำรควำมรูทำงวิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี กระบวนกำรทำงวศิ วกรรม และคณติ ศำสตร์ไปใช เช่อื มโยงและแกปญหำในชีวติ จรงิ โซน 1 ช่วยครจู ัด โซน 2 ชว่ ยครูเตรียมสอน กำรเรยี นกำรสอน โดยประกอบด้วยองคป์ ระกอบต่าง ๆ ทีเ่ ป็นประโยชนส์ �าหรบั แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ครูผู้สอน ครู เพอื่ นา� ไปประยุกต์ใชจ้ ดั กจิ กรรมการเรยี นรูใ้ นชัน้ เรียน โดยแนะน�าขัน้ ตอนการสอน และการจดั กิจกรรมอยา่ งละเอยี ด เพ่อื ให้นกั เรยี นบรรลุผลสัมฤทธิต์ ามตวั ชี้วดั เกร็ดแนะครู น�ำ สอน สรุป ประเมนิ ความรู้เสรมิ ส�าหรับคร ู ขอ้ เสนอแนะ ขอ้ สังเกต แนวทางการจัด กจิ กรรมและอื่น ๆ เพอื่ ประโยชน์ในการจัดการเรียนการสอน นักเรยี นควรรู้ ความรูเ้ พ่ิมเติมจากเนอื้ หา สา� หรับอธิบายเสรมิ เพิม่ เติมให้ กบั นกั เรียน
โดยใชห้ นงั สอื เรยี น สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรมฯ ม.2 และแบบฝก สมรรถนะและการคดิ หนา ทพ่ี ลเมอื งฯ ม.2 เศรษฐศาสตร ม.2 ภมู ศิ าสตร ม.2 ของบรษิ ทั อกั ษรเจรญิ ทศั น ์ อจท. จา� กดั เป็นส่อื หลัก (Core Material) ประกอบการสอน และการจดั กจิ กรรมการเรยี นรใู้ หส้ อดคลอ้ งตามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชวี้ ดั ของกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 โดยคมู่ อื ครมู อี งคป์ ระกอบทงี่ า่ ยตอ่ การใชง้ าน ดงั น้ี โซน 1 นาํ สอน สรปุ ประเมนิ โซน 3 ชว่ ยครเู ตรยี มนักเรียน ñ. Åѡɳзҧ¡ÒÂÀÒ¾¢Í§·ÇÕ»áÍ¿Ã¡Ô Ò ขน้ั สอน ประกอบด้วยแนวทางการจัดกิจกรรมและเสนอแนะ แนวข้อสอบ เพอ่ื อา� นวยความสะดวกให้แกค่ รผู ูส้ อน แอฟรกิ าเปน็ ทวปี ทมี่ ขี นาดใหญเ่ ปน็ อนั ดบั ๒ ของโลก รองจากทวปี เอเชยี มเี นอื้ ทปี่ ระมาณ ขนั้ ที่ 1 การตง้ั คาํ ถามเชงิ ภมู ศิ าสตร ๓๐ ล้านตารางกิโลเมตร หรือประมาณร้อยละ ๒๐ ของพ้ืนที่ท่ีเป็นแผ่นดินของโลก ถือได้ว่า 1. นักเรียนทุกคนชวยกันบอก หรือเลาเก่ียวกับ กจิ กรรม 21st Century Skills เป็นทวปี ที่มีทรัพยากรธรรมชาตทิ ม่ี ีค่าอยูเ่ ป็นจา� นวนมาก โดยเฉพาะแร่ต่าง ๆ เชน่ นา้� มัน เพชร ทองคา� ทองแดง ปา่ ไม ้ และสตั วป์ า่ ประชากรประกอบไปดว้ ยชนเผา่ ตา่ ง ๆ ซง่ึ บางเผา่ ยงั คงดา� รงชวี ติ ความรูเดิมของทวีปแอฟริกา แลวใหเขียน กิจกรรมท่ีให้นักเรียนได้ประยุกต์ใช้ความรู้มาสร้างชิ้นงาน แบบดง้ั เดิม ชาวยุโรปมกั เรยี กวา่ “ทวีปมดื ” หรอื “กาฬทวีป” เนื่องจากเป็นดินแดนท่ไี มม่ ีคนรจู้ กั ขอมูลของตนเองลงบนกระดาน เชน ทําเล หรอื ทา� กจิ กรรมรวบยอดเพอ่ื ใหเ้ กดิ คณุ ลกั ษณะทร่ี ะบใุ นทกั ษะ มากอ่ น และยากตอ่ การเดนิ ทางสา� รวจ ภายหลงั ไดร้ บั เอกราชจากชาตติ ะวนั ตก จงึ ไดร้ บั การพฒั นา ทีต่ ั้ง อาณาเขต แหลง ทองเท่ียว สงิ่ ทเ่ี ปน ท่สี ดุ แห่งศตวรรษท่ ี 21 และเร่มิ มีบทบาทในประชาคมโลกมากขน้ึ ในโลก ช่ือประเทศ ภัยพิบัติทางธรรมชาติ ๑.๑ ทําเลทตี่ ้งั และอาณาเขต ทรัพยากรธรรมชาติ ตลอดจนแนวทางการ ขอ้ สอบเนน้ การคดิ ทวปี แอฟรกิ าตง้ั อย่รู ะหวา่ งละติจูด ๓๗ องศาเหนือ ถึง ๓๕ องศาใต้ ลองจิจูด ๑๗ องศา จดั การปญ หาตา ง ๆ ตะวันตก ถึง ๕๑ องศาตะวันออก อยู่บริเวณทางใต้ของทวีปยุโรปและทางตะวันตกเฉียงใต้ของ 2. ครใู หน กั เรยี นดภู าพ หรอื คลปิ วดิ โี อทเ่ี กย่ี วขอ ง ตัวอย่างข้อสอบที่มุ่งเน้นการคิด มีทั้งปรนัย - อัตนัย พร้อม ทวีปเอเชีย มที ะเลเมดเิ ตอร์เรเนียนและทะเลแดงเป็นเขตก้นั มีเส้นศนู ย์สูตรผ่านกลางทวปี ท�าให้ กบั ลกั ษณะทางกายภาพของทวปี แอฟรกิ า หรอื เฉลยอยา่ งละเอยี ด คร่งึ หนง่ึ ของทวีปแอฟรกิ าอยทู่ างซีกโลกเหนือ และอีกคร่ึงหน่ึงอย่ทู างซีกโลกใต้ โดยมอี าณาเขต ใช PPT ทแี่ สดงขอ มลู เกย่ี วกบั กบั ทาํ เลทตี่ งั้ และ ตดิ ตอ่ ดงั นี้ อาณาเขตของทวปี แอฟรกิ า แสดงความคดิ เหน็ กจิ กรรมเสริมสร้างคุณลกั ษณะอันพึงประสงค ทิศเหนอื และตอบ Geo Question จากหนังสือเรียน สงั คมศึกษาฯ ม.2 เพม่ิ เติม กิจกรรมเสนอแนะแนวทางการเสริมสร้างคณุ ลักษณะ อันพึงประสงค์ จดทะเลเมดเิ ตอร์เรเนียนและชอ่ งแคบยิบรอลตาร์1 ทิศใต้ จดมหาสมุทรแอตแลนตกิ และมหาสมทุ รอนิ เดีย กจิ กรรมท้าทาย ทิศตะวนั ออก จดมหาสมทุ รอนิ เดยี และทะเลแดง ทิศตะวันตก จดมหาสมุทรแอตแลนติกและอา่ วกนิ ี เสนอแนะแนวทางการจดั กจิ กรรม เพอื่ ตอ่ ยอดสา� หรบั นกั เรยี น ทเ่ี รยี นรไู้ ดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และตอ้ งการทา้ ทายความสามารถใน ทร่ี าบกวา้ งใหญ ่ ถอื เป็นลักษณะทางกายภาพหลักที่พบได้มากในทวีปแอฟริกา ระดบั ท่สี ูงขึ้น Queeostion กจิ กรรมสรา้ งเสรมิ จากลักษณะท�าเลท่ีต้ังและอาณาเขตของทวีปแอฟริกา ส่งผลต่อลักษณะภูมิอากาศ หรือทรัพยากร เสนอแนะแนวทางการจดั กจิ กรรมซอ่ มเสรมิ สา� หรบั นกั เรยี นท่ี ธรรมชาติอยา่ งไร ควรได้รบั การพัฒนาการเรียนรู้ ๒6๕ กจิ กรรม Geo - Literacy (ภูมิศาสตร) เสนอแนะแนวทางการจดั กจิ กรรมเพอ่ื ใหน้ กั เรยี นเขา้ ใจลกั ษณะ ขอ สอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู ทางกายภาพของโลก ปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งมนษุ ยก์ บั สง่ิ แวดลอ้ ม และนา� ความร้ไู ปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจา� วนั ได้ เพราะเหตใุ ดทวีปแอฟริกาจึงไดรบั สมญานามวา “ทวปี มืด” ครคู วรใหน กั เรยี นคน ควา เพมิ่ เตมิ เกยี่ วกบั ทะเลทรายอนื่ ๆ ในทวปี แอฟรกิ า หรอื “กาฬทวปี ” เชน ทะเลทรายคาลาฮารี ทะเลทรายนามิบ ทะเลทรายนเู บยี และทะเลทราย ลิเบีย โดยแนะนําใหนักเรียนคนควาจากหองสมุด หรืออินเทอรเน็ต เพ่ือสรุป 1. มีโรคภยั ไขเจ็บมาก ลกั ษณะสาํ คัญและเปรียบเทยี บความเหมอื น ความตา งของทะเลทรายตา งๆ 2. ไดรับการพัฒนานอ ย 3. ชนพืน้ เมอื งลาหลงั และมีผวิ สดี ํา นักเรียนควรรู 4. มคี วามลึกลบั ทุรกันดารในดานสภาพแวดลอ ม 1 ชอ งแคบยบิ รอลตาร ชอ งแคบระหวา งทวปี ยโุ รปกบั ทวปี แอฟรกิ า เชอ่ื มทะเล โซน 3(วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. เน่ืองจากทวีปแอฟริกาเปนทวีป เมดิเตอรเรเนียนกับมหาสมุทรแอตแลนติกท่ีเมืองยิบรอลตาร ประเทศสเปน กับเมืองเซวตา ประเทศโมร็อกโก สวนที่แคบท่ีสุดประมาณ 13 กิโลเมตร ทมี่ ขี นาดใหญ มคี วามแตกตา งกนั ทางดา นกายภาพ และวฒั นธรรม กวางที่สดุ ประมาณ 37 กิโลเมตร ของชนเผาตางๆ ท่ีดํารงชีวิตแบบดั้งเดิม ทําใหทวีปนี้ไมคอยมี คนรจู ักและเขาไปสํารวจทวีปนนี้ อยมาก) โซน 2 T265 บรู ณาการอาเซียน แนวทางการวดั และประเมนิ ผล ความรู้เสรมิ หรอื การเช่อื มโยงในเรือ่ งท่เี กยี่ วข้องกบั ประชาคม เสนอแนะแนวทางการบรรลุผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ อาเซยี น นกั เรยี นตามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั ทห่ี ลกั สตู รกา� หนด สื่อ Digital การแนะนา� แหลง่ เรยี นร้แู ละแหลง่ คน้ ควา้ จากส่อื Digital ตา่ ง ๆ
ค�ำอธิบายรายวิชา สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรมฯ กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 2 เวลาเรียน 80 ช่ัวโมง / ปี ศกึ ษา วเิ คราะหบ์ ทบาท ความสำ� คญั และความสมั พนั ธข์ องสถาบนั ทางสงั คม ความคลา้ ยคลงึ และความแตกตา่ งของวฒั นธรรมไทย และวัฒนธรรมของประเทศในภมู ิภาคเอเชยี เพื่อน�ำไปส่คู วามเขา้ ใจอันดีระหว่างกนั ขอ้ มูลข่าวสารทางการเมืองการปกครองท่มี ผี ลกระทบ ตอ่ สงั คมไทยสมยั ปจั จบุ นั กระบวนการในการตรากฎหมาย การปกปอ้ งคุ้มครองผู้อ่นื ตามหลกั สทิ ธมิ นุษยชน การปฏบิ ัตติ นตามสถานภาพ บทบาท สทิ ธิ เสรภี าพ และหนา้ ทใ่ี นฐานะพลเมืองดี โดยใชก้ ระบวนการคดิ กระบวนการสบื ค้นขอ้ มลู กระบวนการทางสงั คม กระบวนการ เผชิญสถานการณ์และแกป้ ญั หา กระบวนการปฏิบัติ และกระบวนการกลมุ่ เพอ่ื ให้เกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ และปฏิบตั ติ นตามหน้าที่ของการ เปน็ พลเมอื งดี ดำ� รงชวี ติ รว่ มกนั ในสงั คมไทยและสงั คมโลกอยา่ งสนั ตสิ ขุ มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม และมคี ณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคใ์ นดา้ นรกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ซ่ือสตั ยส์ ุจริต มวี ินยั ใฝ่เรยี นรู้ มุ่งมนั่ ในการทำ� งาน มจี ติ สาธารณะ รักความเป็นไทย ศกึ ษา วเิ คราะห์ระบบเศรษฐกิจแบบต่าง ๆ การพึง่ พาอาศัยกนั และการแข่งขันกันทางเศรษฐกจิ ในภูมิภาคเอเชีย การกระจายของ ทรพั ยากรในโลกทส่ี ง่ ผลตอ่ ความสมั พนั ธท์ างเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ การแขง่ ขนั ทางการคา้ ในประเทศและตา่ งประเทศทส่ี ง่ ผลตอ่ คณุ ภาพ สนิ คา้ ปรมิ าณการผลติ และราคาสินคา้ ปัจจัยท่ีมีผลตอ่ การลงทนุ และการออม ปัจจยั การผลิตสินค้าและบรกิ าร และปจั จยั ทีม่ อี ิทธพิ ลต่อการ ผลติ สินคา้ และบริการ เสนอแนวทางการพฒั นาการผลติ ในท้องถนิ่ ตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง การคมุ้ ครองสทิ ธิของตนเองในฐานะ ผบู้ รโิ ภค โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสบื ค้นขอ้ มลู กระบวนการทางสงั คม กระบวนการเผชิญสถานการณแ์ ละแก้ปัญหา กระบวนการ ปฏบิ ตั ิ และกระบวนการกลมุ่ เพอ่ื ใหม้ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจความสมั พนั ธท์ างเศรษฐกจิ สามารถใชท้ รพั ยากรทมี่ อี ยจู่ ำ� กดั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และคุ้มค่า เข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือการด�ำรงชีวิต สามารถส่ือสารสิ่งท่ีเรียนรู้ มีคุณธรรมจริยธรรม และมีคุณลักษณะ อนั พึงประสงค์ในด้านมวี ินัย ใฝเ่ รยี นรู้ มุ่งมัน่ ในการท�ำงาน มีจติ สาธารณะ อยอู่ ย่างพอเพยี ง ศกึ ษาการใชเ้ ครอ่ื งมอื ทางภมู ิศาสตรส์ �ำรวจ สบื คน้ มาตราส่วน ทิศ และสญั ลกั ษณ์ ลักษณะทางกายภาพ ทำ� เลที่ตงั้ ของกิจกรรม ทางเศรษฐกิจ สงั คม รวมถงึ ปจั จยั ทางกายภาพ ปจั จยั ทางสงั คมทมี่ ีผลตอ่ ทำ� เลท่ีต้ังของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมในทวีปยโุ รป และ ทวปี แอฟรกิ า สาเหตกุ ารเกดิ ภยั พบิ ตั ิ ประเดน็ ปญั หาจากปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพกบั มนษุ ย์ รวมถงึ แนวทางการจดั การ ภัยพิบัติ การจัดการทางทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา โดยใช้เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ในการสืบค้น วิเคราะห์ และสรุปข้อมลู ตามกระบวนการทางภูมศิ าสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ใช้ทกั ษะทางภูมิศาสตร์ดา้ นการสังเกต การแปลความขอ้ มูล ทางภูมศิ าสตร์ การคดิ เชงิ พน้ื ที่ การคดิ แบบองคร์ วม การใช้เทคโนโลยี การใชเ้ ทคนิคและเครือ่ งมือทางภูมศิ าสตร์ การคิดเชิงภมู สิ มั พนั ธ ์ การใชส้ ถติ ิพื้นฐาน รวมถงึ ทกั ษะด้านการสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใหเ้ กดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ มคี วามสามารถทางภูมศิ าสตร์ กระบวนการทางภมู ศิ าสตร์ ทกั ษะทางภมู ศิ าสตร์ และมที กั ษะในศตวรรษที่ 21 ดา้ นการสอ่ื สาร การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ความสามารถใน การคิดและแกป้ ญั หา มคี ุณลักษณะดา้ นจติ สาธารณะ มวี นิ ัย ใฝ่เรียนรู้ ม่งุ มัน่ ในการทำ� งาน มีส่วนรว่ มในการจดั การภยั พบิ ตั ิและการอนุรกั ษ์ ส่งิ แวดลอ้ มในทวีปยโุ รปและทวีปแอฟรกิ า ตวั ช้วี ัด ส 2.1 ม.2/1 - 4, ส 2.2 ม.2/1 - 2 ส 3.1 ม.2/1 - 4, ส 3.2 ม.2/1 - 4 ส 5.1 ม.2/1 - 3, ส 5.2 ม.2/1 - 4 รวม 21 ตัวชว้ี ดั
Pedagogy คมู่ ือครู ส งั ค มศึกษำฯ ม.2 ใชป้ ระกอบกบั หนงั สอื เรยี นรายวชิ าสงั คมศกึ ษาศาสนาและวฒั นธรรมหนา้ ทพ่ี ลเมอื งวฒั นธรรม และการดา� เนนิ ชวี ติ ในสงั คม เศรษฐศาสตร์ และภมู ศิ าสตร์ ม.2(ฉบบั อนญุ าต) ผจู้ ดั ทา� ไดอ้ อกแบบการจดั การเรยี นร ู้ และเทคนคิ การสอน ตามรปู แบบการจดั การเรยี นการสอนในกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม และสาระภมู ศิ าสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกจิ กรรมการเรยี นร ู้(Instructional Design) ใหผ้ เู้ รยี นมคี วามร ู้ ความเขา้ ใจ ความสามารถ และทกั ษะกระบวนการทางภมู ศิ าสตร ์ ทส่ี ะทอ้ นแนวทางการจดั การเรยี นรู้ ทใี่ หผ้ เู้ รยี นไดล้ งมอื ทา� รจู้ กั การโตต้ อบ ตลอดจนการวเิ คราะหป์ ญั หา อนั เปน็ การจดั การเรยี นรแู้ บบ Active Learning ตลอดจน สะทอ้ นถงึ สมรรถนะสา� คญั และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผเู้ รยี นทหี่ ลกั สตู รกา� หนดไว ้ โดยครสู ามารถนา� ไปใชจ้ ดั การเรยี นรู้ ในชนั้ เรยี นไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ซงึ่ ในรายวชิ าน ี้ ไดน้ า� รปู แบบการสอนแบบสบื เสาะหาความร ู้ (5Es Instructional Model) และรปู แบบการสอนการรเู้ รอ่ื งภมู ศิ าสตร ์ (Geo - Literacy) มาใชใ้ นการออกแบบการสอน ดงั นี้ รปู แบบกำรสอนแบบสืบเสำะหำควำมรู้ (5Es Instructional Model) ด้วยจุดประสงค์ของการจัดการเรียนการสอนสังคมศึกษาฯ เพื่อช่วยให้ กระeEตngุ้นaคg1วeาmมeสnนt ใจ ผู้เรียนได้พัฒนาวิธีคิด ท้ังความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ สาํ รวEexจpแloลrะaคti้นoหn า วจิ ารณ ์ มที กั ษะสา� คญั ในการคน้ ควา้ หาความร ู้ และมคี วามสามารถในการแกป้ ญั หา Eelขaยาย อย่างเป็นระบบ ผู้จัดท�าจึงได้เลือกใช้รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ตeEรvaวlจuaสtiอonบผล 5 าม ู้รtion2 (5Es Instructional Model) ซงึ่ เปน็ ขนั้ ตอนการเรียนรู้ทมี่ งุ่ ใหผ้ เู้ รยี นไดม้ ีโอกาส 5Es สรา้ งองคค์ วามรู้ด้วยตนเองผ่านกระบวนการคดิ และการลงมือท�า เปน็ เครื่องมอื สา� คัญเพือ่ การพัฒนาทกั ษะการเรยี นรแู้ หง่ ศตวรรษท ี่ 21 ควาbมoเrข4a้าtiใoจn Eอxpธ3laิบnาaยคว นอกจากใชร้ ูปแบบการสอนแบบ 5Es เป็นวิธีการหลักแล้ว ยงั มีรูปแบบ การจัดการเรียนการสอนอ่ืน ๆ เช่น การแก้ปัญหา การรู้เรื่องภูมิศาสตร์ เพื่อกระตุ้น ให้ผู้เรยี นเกดิ ความสนใจด้วยรูปแบบทหี่ ลากหลาย วธิ กี ำรสอน (Teaching Method) ผจู้ ดั ทา� เลอื กใชว้ ธิ สี อนทหี่ ลากหลาย เชน่ การทดลอง การสาธติ การอภปิ รายกลมุ่ ยอ่ ย เปน็ ตน้ เพอ่ื สง่ เสรมิ การเรยี นรู้ รูปแบบการสอนต่าง ๆ ท่ีเลือกน�ามาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพ และพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดองค์ความรู้จากประสบการณ์การคิด และการลงมือทา� ดว้ ยตนเอง อนั จะชว่ ยใหผ้ เู้ รียนมีความรแู้ ละเกดิ ทักษะที่จา� เป็นต่อการนา� ไปปรบั ใช้ในชวี ติ ประจา� วนั เทคนิคกำรสอน (Teaching Technique) ผจู้ ดั ทา� เลอื กใชเ้ ทคนคิ การสอนทหี่ ลากหลายและเหมาะสมกบั เรอ่ื งทเ่ี รยี น เพอื่ สง่ เสรมิ วธิ สี อนใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากขนึ้ เช่น การใชค้ า� ถาม การเล่นเกม เพื่อนช่วยเพอื่ น เปน็ ตน้ ซง่ึ เทคนิคการสอนต่างๆ จะชว่ ยให้ผู้เรียนเกดิ การเรยี นรอู้ ยา่ งมี ความสขุ ในขณะทีเ่ รยี นและสามารถปฏบิ ตั ิกิจกรรมไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ รวมทั้งได้พฒั นาทักษะในศตวรรษท่ ี 21 อกี ด้วย • ทักษะกำรแกป ญ หำ ทกั ษะกำรเรยี นรู้ท่ไี ด้ • ทกั ษะกำรคิดสรำงสรรค์ • ทักษะกำรท�ำงำนรว มกนั • ทักษะทำงภมู ศิ ำสตร์ • ทกั ษะกำรคดิ อยำงมวี จิ ำรณญำณ • ทกั ษะกำรส่ือสำร
เป้าหมายการจดั การการเรียนการสอนสาระภมู ิศาสตร์ • ลักษณะทางกายภาพของโลก รู้ ความสความ • ความเขา้ ใจระบบธรรมชาตแิ ละมนษุ ย์ • การใชแ้ ผนท่ีและเคร่ืองมือทางภมู ศิ าสตร์ ษะ • การใช้เหตุผลทางภูมิศาสตร์ • กระบวนการทางภูมิศาสตร์ สาระ ามารถ • การตัดสนิ ใจอยา่ งเป็นระบบ • การใชภ้ ูมสิ ารสนเทศ กระบว • ปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหวา่ งมนษุ ยก์ ับสงิ่ แวดลอ้ ม ภูมิศาสตร์ คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ทางกายภาพ นการ ทัก • การสังเกต สมรรถนะส�ำคัญ • การแปลความข้อมูลทางภมู ิศาสตร์ • การใชเ้ ทคนิคและเคร่อื งมือทางภูมิศาสตร์ • การต้ังค�ำถามเชิงภูมิศาสตร์ • การคดิ เชงิ ภมู ิสมั พันธ์ • การรวบรวมขอ้ มลู • การคดิ แบบองคร์ วม • การจัดการขอ้ มูล • การใชเ้ ทคโนโลยี • การวิเคราะหข์ ้อมูล • การใชส้ ถิติพน้ื ฐาน • การสรปุ เพือ่ ตอบคำ�ถาม นอกจากใชร้ ปู แบบการสอนการรเู้ รื่องภมู ิศาสตร์ (Geo - literacy) เปน็ วิธกี ารหลกั ในการจัดการเรยี นการสอนแลว้ ยงั ม ี รปู แบบการจัดการเรยี นการสอนอ่นื ๆ ไดแ้ ก่ รปู แบบการสอนแบบ 5Es วิธกี ารสอน เทคนิคการสอน • กระตุน้ ความสนใจ • การสาธติ • ใช้คำ�ถาม • สำ� รวจค้นหา • การทดลอง • เลา่ เหตุการณ์ที่น่าสนใจและทนั สมยั • อธบิ ายความรู้ • การใช้กรณตี วั อย่าง • ใช้ผังกราฟกิ • ขยายความรู้ • การอภปิ รายกลมุ่ ย่อย • การออกนอกสถานที่ • ตรวจสอบผล • การเลน่ เกม การจัดการเรียนการสอนตามแนวทางดังกลา่ ว จะทำ� ให้ผู้เรยี นไดพ้ ัฒนาทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 อันจะน�ำไปส่กู ารนำ� ไป ปรบั ใชไ้ ด้จริงในการด�ำเนนิ ชวี ิต เพ่ือให้ผ้เู รยี นไดร้ เู้ ทา่ ทนั ตอ่ การเปลยี่ นแปลงตา่ ง ๆ ท่อี าจเกิดขึน้ ในอนาคตได้
Teacher Guide Overview สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมฯ ม.2 หน่วย ตวั ช้ีวัด ทกั ษะทไ่ี ด้ เวลาทใ่ี ช้ การประเมนิ ส่ือที่ใช้ การเรยี นรู้ 1 - เหน็ คุณค่าในการปฏบิ ัตติ น - ทักษะการสงั เคราะห์ - ต รวจแบบทดสอบ - หนังสือเรียน ตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ ก่อนเรียน สงั คมศึกษาฯ ม.2 พลเมืองดี หนา้ ที่ในฐานะพลเมอื งดตี าม - ตรวจการทำ�แบบฝกึ - แบบฝึกสมรรถนะ ตามวถิ ี วถิ ปี ระชาธปิ ไตย สมรรถนะและการคิด และการคดิ หน้าทพ่ี ลเมืองฯ ม.2 หนา้ ทพ่ี ลเมืองฯ ม.2 ประชาธิปไตย - ประเมินการนำ�เสนอ - แ บบวดั และบันทกึ ผล 5 ผลงาน การเรียนร้ ู - ตรวจผลงาน/ชน้ิ งาน หน้าทพ่ี ลเมืองฯ ม.2 ช่ัวโมง - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบทดสอบก่อนเรยี น การทำ�งานรายบุคคล - แบบทดสอบหลงั เรียน - สงั เกตพฤตกิ รรม - PowerPoint การทำ�งานกลุ่ม - ประเมนิ คุณลักษณะ อนั พงึ ประสงค์ - ตรวจแบบทดสอบ หลงั เรียน 2 1. อ ธิบายและปฏิบัติตนตามกฎหมายที่ - ทกั ษะการทำ�ใหก้ ระจ่าง - ตรวจแบบทดสอบ - หนงั สือเรยี น เกย่ี วขอ้ งกับตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน - ทกั ษะการนำ�ความรูไ้ ปใช้ กอ่ นเรยี น สงั คมศกึ ษาฯ ม.2 กฎหมายกบั และประเทศ - ตรวจการทำ�แบบฝกึ - แบบฝึกสมรรถนะ การด�ำ เนิน สมรรถนะและการคดิ และการคิด ชีวิตประจำ�วนั 2. อธิบายกระบวนการในการตรากฎหมาย หนา้ ที่พลเมอื งฯ ม.2 หน้าที่พลเมอื งฯ ม.2 - ประเมินการนำ�เสนอ - แบบวัดและบันทกึ ผล ผลงาน การเรยี นรู้ 6 - ตรวจผลงาน/ชิน้ งาน หนา้ ท่ีพลเมืองฯ ม.2 - สังเกตพฤติกรรม - แบบทดสอบกอ่ นเรียน ช่ัวโมง การทำ�งานรายบคุ คล - แบบทดสอบหลังเรยี น - สงั เกตพฤติกรรม - PowerPoint การทำ�งานกลมุ่ - ประเมนิ คุณลกั ษณะ อนั พึงประสงค์ - ตรวจแบบทดสอบ หลังเรยี น 3 - วเิ คราะหข์ อ้ มลู ขา่ วสารทางการเมือง - ทกั ษะการวิเคราะห์ - ต รวจแบบทดสอบ - ห นังสือเรียนสังคม การปกครองทีม่ ีผลกระทบต่อสังคมไทย กอ่ นเรยี น ศกึ ษาฯ ม.2 เหตกุ ารณแ์ ละ สมยั ปจั จุบนั - ตรวจการทำ�แบบฝึก - แ บบฝึกสมรรถนะ การเปลย่ี นแปลง สมรรถนะและการคดิ และการคดิ สำ�คัญของ หนา้ ทพี่ ลเมอื งฯ ม.2 หน้าทพี่ ลเมอื งฯ ม.2 ระบอบการ - ประเมินการนำ�เสนอ - แบบวัดและบันทกึ ผล ผลงาน การเรยี นรู้ ปกครองไทย 5 - ตรวจผลงาน/ชิ้นงาน หน้าที่พลเมอื งฯ ม.2 ชั่วโมง - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบทดสอบกอ่ นเรียน การทำ�งานรายบุคคล - แบบทดสอบหลังเรียน - สังเกตพฤตกิ รรม - PowerPoint การทำ�งานกลมุ่ - ประเมนิ คุณลักษณะ อันพงึ ประสงค์ - ตรวจแบบทดสอบ หลังเรยี น
หน่วย ตัวช้วี ดั ทักษะท่ไี ด้ เวลาทีใ่ ช้ การประเมิน สอื่ ทีใ่ ช้ การเรียนรู้ 4 - วเิ คราะหบ์ ทบาท ความสำ�คัญ - ทกั ษะการวเิ คราะห์ - ตรวจแบบทดสอบ - หนังสือเรียน และความสมั พันธข์ องสถาบันทางสงั คม ก่อนเรียน สังคมศึกษาฯ ม.2 สถาบนั - ตรวจการทำ�แบบฝึก - แบบฝึกสมรรถนะ ทางสังคม สมรรถนะและการคิด และการคดิ หน้าทพี่ ลเมอื งฯ ม.2 หนา้ ที่พลเมืองฯ ม.2 - ประเมินการนำ�เสนอ - แ บบวัดและบันทึกผล ผลงาน การเรียนรู้ 3 - ตรวจผลงาน/ชน้ิ งาน หนา้ ท่พี ลเมืองฯ ม.2 - สังเกตพฤติกรรม - แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ชว่ั โมง การทำ�งานรายบคุ คล - แบบทดสอบหลงั เรียน - สงั เกตพฤตกิ รรม - PowerPoint การทำ�งานกล่มุ - ประเมนิ คณุ ลักษณะ อนั พึงประสงค์ - ตรวจแบบทดสอบ หลังเรยี น 5 - อธบิ ายความคลา้ ยคลงึ และความแตกต่าง - ทกั ษะการเปรยี บเทยี บ - ตรวจแบบทดสอบ - หนงั สอื เรยี น ของวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของ กอ่ นเรียน สงั คมศึกษาฯ ม.2 วัฒนธรรม ประเทศในภมู ภิ าคเอเชยี เพ่อื นำ�ไปสู่ - ตรวจการทำ�แบบฝึก - แบบฝกึ สมรรถนะ ของไทยและ ความเข้าใจอนั ดรี ะหวา่ งกัน สมรรถนะและการคิด และการคิด วฒั นธรรมของ หนา้ ทีพ่ ลเมืองฯ ม.2 หนา้ ทพ่ี ลเมืองฯ ม.2 ประเทศในภูมภิ าค - ป ระเมินการนำ�เสนอ - แบบวัดและบนั ทกึ ผล ผลงาน การเรยี นรู้ เอเชยี 4 - ตรวจผลงาน/ชิ้นงาน หน้าทพ่ี ลเมืองฯ ม.2 ชวั่ โมง - สังเกตพฤติกรรม - แบบทดสอบกอ่ นเรียน การทำ�งานรายบคุ คล - แบบทดสอบหลังเรยี น - สังเกตพฤตกิ รรม - PowerPoint การทำ�งานกลมุ่ - ประเมนิ คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ - ตรวจแบบทดสอบ หลังเรยี น 6 - วิเคราะหป์ จั จยั ทม่ี ีผลต่อการลงทนุ - ทกั ษะการรวบรวมข้อมลู - ตรวจแบบทดสอบ - หนังสือเรยี น และการออม - ทักษะการวเิ คราะห์ กอ่ นเรียน สงั คมศึกษาฯ ม.2 การออม - ทกั ษะการสร้างความรู้ - ตรวจการทำ�แบบฝึก - แบบฝกึ สมรรถนะ และการลงทุน สมรรถนะและการคิด และการคิด เศรษฐศาสตร์ ม.2 เศรษฐศาสตร์ ม.2 - ประเมินการนำ�เสนอ - แบบวดั และบันทกึ ผล ผลงาน การเรยี นรู้ 4 - ตรวจผลงาน/ชิ้นงาน เศรษฐศาสตร์ ม.2 - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบทดสอบก่อนเรยี น ชว่ั โมง การทำ�งานรายบุคคล - แบบทดสอบหลงั เรียน - สังเกตพฤตกิ รรม - PowerPoint การทำ�งานกลุม่ - ประเมนิ คุณลักษณะ อันพงึ ประสงค์ - ตรวจแบบทดสอบ หลังเรยี น
หนว่ ย ตัวชว้ี ัด ทักษะทีไ่ ด้ เวลาทีใ่ ช้ การประเมิน ส่อื ที่ใช้ การเรียนรู้ - อ ธิบายปัจจัยการผลิตสินค้าและบรกิ าร - ทกั ษะการวเิ คราะห์ - ท ักษะการประยกุ ต์ใช้ - ต รวจแบบทดสอบ - ห นังสอื เรยี น 7 และปจั จัยท่ีมีอทิ ธพิ ลตอ่ การผลติ สินค้า กอ่ นเรียน สงั คมศกึ ษาฯ ม.2 และบริการ ความรู้ - ตรวจการทำ�แบบฝึก - แ บบฝกึ สมรรถนะ การผลิตสนิ คา้ สมรรถนะและการคิด และการคดิ และบรกิ าร เศรษฐศาสตร์ ม.2 เศรษฐศาสตร์ ม.2 - ประเมนิ การนำ�เสนอ - แบบวดั และบนั ทกึ ผล ผลงาน การเรยี นรู้ 3 - ตรวจผลงาน/ช้นิ งาน เศรษฐศาสตร์ ม.2 - สังเกตพฤติกรรม - แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ช่วั โมง การทำ�งานรายบคุ คล - แบบทดสอบหลังเรยี น - สังเกตพฤตกิ รรม - PowerPoint การทำ�งานกลุ่ม - ประเมนิ คณุ ลักษณะ อันพงึ ประสงค์ - ตรวจแบบทดสอบ หลังเรียน 8 - เสนอแนวทางการผลติ ในทอ้ งถ่นิ ตาม - ทกั ษะการวเิ คราะห์ - ต รวจแบบทดสอบ - ห นังสอื เรยี น ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง - ท ักษะการประยุกต์ใช้ ก่อนเรยี น สังคมศกึ ษาฯ ม.2 เศรษฐกจิ ความรู้ - ต รวจการทำ�แบบฝึก - แบบฝกึ สมรรถนะ พอเพียงกบั สมรรถนะและการคิด และการคดิ การผลิตสนิ คา้ เศรษฐศาสตร์ ม.2 เศรษฐศาสตร์ ม.2 และบรกิ าร - ประเมินการนำ�เสนอ - แบบวดั และบนั ทึกผล ผลงาน การเรยี นรู้ 3 - ตรวจผลงาน/ช้นิ งาน เศรษฐศาสตร์ ม.2 - สังเกตพฤติกรรม - แบบทดสอบก่อนเรยี น ชั่วโมง การทำ�งานรายบุคคล - แบบทดสอบหลังเรยี น - สังเกตพฤตกิ รรม - PowerPoint 4 การทำ�งานกลมุ่ - ประเมินคุณลักษณะ ชว่ั โมง อนั พงึ ประสงค์ - ตรวจแบบทดสอบ หลังเรยี น 9 - อภิปรายแนวทางการคุ้มครองสทิ ธิของ - ทักษะการวเิ คราะห์ - ต รวจแบบทดสอบ - หนงั สือเรยี น ตนเองในฐานะผบู้ รโิ ภค - ทกั ษะการสร้างความรู้ ก่อนเรยี น สังคมศึกษาฯ ม.2 การคมุ้ ครอง - ทักษะกระบวนการ - ต รวจการทำ�แบบฝกึ - แบบฝึกสมรรถนะ ผูบ้ รโิ ภค คิดตัดสนิ ใจ สมรรถนะและการคิด และการคดิ เศรษฐศาสตร์ ม.2 เศรษฐศาสตร์ ม.2 - ประเมนิ การนำ�เสนอ - แบบวดั และบันทึกผล ผลงาน การเรยี นรู้ - ตรวจผลงาน/ช้นิ งาน เศรษฐศาสตร์ ม.2 - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบทดสอบก่อนเรียน การทำ�งานรายบคุ คล - แบบทดสอบหลังเรยี น - สังเกตพฤติกรรม - PowerPoint การทำ�งานกลมุ่ - ประเมินคุณลักษณะ อันพงึ ประสงค์ - ตรวจแบบทดสอบ หลงั เรยี น
หนว่ ย ตัวชีว้ ัด ทักษะทไ่ี ด้ เวลาทีใ่ ช้ การประเมนิ ส่ือท่ีใช้ การเรยี นรู้ 10 1. อภิปรายระบบเศรษฐกิจแบบต่าง ๆ - ทักษะการรวบรวมขอ้ มลู - ต รวจแบบทดสอบ - หนงั สือเรียน 2. ยกตัวอย่างทสี่ ะท้อนให้เหน็ การพ่งึ พา - ทกั ษะการวเิ คราะห์ ก่อนเรียน สงั คมศกึ ษาฯ ม.2 ระบบเศรษฐกิจ - ทกั ษะการเปรยี บเทียบ - ตรวจการทำ�แบบฝึก - แบบฝกึ สมรรถนะ การพึง่ พา อาศยั กนั และการแขง่ ขันทางเศรษฐกจิ - ทักษะการให้เหตผุ ล สมรรถนะและการคิด และการคดิ การแขง่ ขัน ในภูมภิ าคเอเชยี - ทกั ษะการสรา้ งความรู้ เศรษฐศาสตร์ ม.2 เศรษฐศาสตร์ ม.2 ทางเศรษฐกจิ 3. วเิ คราะหก์ ารกระจายของทรัพยากร - ประเมินการนำ�เสนอ - แ บบวดั และบันทกึ ผล ในทวปี เอเชีย ในโลกทสี่ ง่ ผลต่อความสมั พนั ธท์ าง ผลงาน การเรียนรู้ เศรษฐกิจระหว่างประเทศ - ตรวจผลงาน/ช้ินงาน เศรษฐศาสตร์ ม.2 3 - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบทดสอบกอ่ นเรียน 4. วิเคราะห์การแขง่ ขนั ทางการค้าใน การทำ�งานรายบุคคล - แบบทดสอบหลงั เรียน ประเทศและตา่ งประเทศที่สง่ ผลตอ่ ช่วั โมง - สังเกตพฤติกรรม - PowerPoint คุณภาพสนิ ค้า ปริมาณการผลติ และ ราคาสินค้า การทำ�งานกลมุ่ - ประเมนิ คุณลกั ษณะ อนั พงึ ประสงค์ - ตรวจแบบทดสอบ หลงั เรยี น 11 - อธิบายมาตราสว่ น ทศิ และสญั ลักษณ์ - การสงั เกต - ตรวจแบบทดสอบ - หนังสอื เรียน - การแปลความขอ้ มลู กอ่ นเรียน สงั คมศกึ ษาฯ ม.2 การอ่าน ทางภมู ศิ าสตร์ - ตรวจการทำ�แบบฝกึ - แบบฝึกสมรรถนะ และแปล - การใชเ้ ทคนคิ และเครอ่ื งมอื สมรรถนะและการคดิ และการคิด ความหมาย ภูมิศาสตร์ ม.2 ภูมิศาสตร์ ม.2 แผนท่ี ทางภมู ศิ าสตร์ - ประเมนิ การนำ�เสนอ - แบบวัดและบันทกึ ผล - การใชเ้ ทคโนโลยี ผลงาน การเรียนรู้ - ตรวจผลงาน/ชิน้ งาน ภูมศิ าสตร์ ม.2 4 - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบทดสอบก่อนเรียน การทำ�งานรายบุคคล - แบบทดสอบหลงั เรียน ช่วั โมง - สงั เกตพฤตกิ รรม - PowerPoint การทำ�งานกลมุ่ - ประเมนิ คณุ ลกั ษณะ อนั พึงประสงค์ - ตรวจแบบทดสอบ หลังเรียน
หน่วย ตวั ชี้วัด ทักษะท่ไี ด้ เวลาทใ่ี ช้ การประเมิน ส่ือทใี่ ช้ การเรียนรู้ 1. วิเคราะห์ลกั ษณะทางกายภาพของทวปี - การสงั เกต - ตรวจแบบทดสอบ - หนงั สือเรียน 12 ยโุ รปและทวีปแอฟริกา โดยใช้เครอ่ื งมือ - การแปลความขอ้ มลู ก่อนเรียน สงั คมศึกษาฯ ม.2 ทางภมู ิศาสตรส์ บื ค้นขอ้ มูล ทางภมู ศิ าสตร์ - ต รวจการทำ�แบบฝึก - แบบฝกึ สมรรถนะ ทวีปยุโรป 2. วิเคราะห์สาเหตกุ ารเกิดภยั พบิ ัติและ - ก ารใช้เทคนิคและ สมรรถนะและการคิด และการคดิ ผลกระทบในทวปี ยุโรปและทวปี แอฟรกิ า เครอ่ื งมอื ทางภูมศิ าสตร์ ภูมศิ าสตร์ ม.2 ภูมศิ าสตร์ ม.2 13 3. สำ� รวจและระบุทำ� เลทีต่ ง้ั ของกิจกรรม - การคิดเชิงพน้ื ที่ - ประเมินการนำ�เสนอ - แ บบวดั และบันทึกผล ทางเศรษฐกจิ และสังคมในทวปี ยุโรป - การคิดแบบองค์รวม ผลงาน การเรยี นรู้ ภมู ิศาสตร์ ทวปี แอฟริกา และทวีปแอฟริกา - การใช้เทคโนโลยี - ตรวจผลงาน/ชิน้ งาน ม.2 4. วเิ คราะห์ปัจจัยทางกายภาพและปัจจยั - สังเกตพฤติกรรม - แบบทดสอบก่อนเรียน ทางสงั คมทสี่ ง่ ผลต่อท�ำเลที่ตั้งของ 20 การทำ�งานรายบุคคล - แบบทดสอบหลงั เรยี น กิจกรรมทางเศรษฐกจิ และสงั คมในทวปี - สังเกตพฤติกรรม - PowerPoint ยุโรปและทวปี แอฟรกิ า ชัว่ โมง การทำ�งานกลุ่ม 5. สืบค้น อภปิ รายประเด็นปญั หาจาก - ประเมนิ คุณลกั ษณะ ปฏิสัมพนั ธ์ระหว่างส่งิ แวดล้อมทาง อันพึงประสงค์ กายภาพกับมนษุ ย์ท่เี กิดข้ึนในทวีปยโุ รป - ตรวจแบบทดสอบ และทวปี แอฟรกิ า หลังเรยี น 6. วเิ คราะห์แนวทางการจัดการภัยพบิ ตั ิ และการจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ มในทวีปยุโรป และทวีป แอฟริกาทย่ี ั่งยืน 1. วิเคราะหล์ กั ษณะทางกายภาพของทวปี - การสงั เกต - ต รวจแบบทดสอบ - หนังสอื เรยี น ยุโรปและทวีปแอฟรกิ าโดยใชเ้ ครือ่ งมือ - การแปลความขอ้ มลู ทาง ก่อนเรยี น สงั คมศกึ ษาฯ ม.2 ทางภมู ิศาสตร์สบื คน้ ขอ้ มลู ภูมิศาสตร์ - ตรวจการทำ�แบบฝกึ - แบบฝกึ สมรรถนะ 2. วเิ คราะหส์ าเหตกุ ารเกดิ ภยั พบิ ตั แิ ละ - ก ารใชเ้ ทคนิคและ สมรรถนะและการคดิ และการคดิ ผลกระทบในทวีปยโุ รปและทวปี แอฟรกิ า เครื่องมอื ทางภมู ศิ าสตร์ ภูมิศาสตร์ ม.2 ภมู ศิ าสตร์ ม.2 3. สำ� รวจและระบุทำ� เลทต่ี ง้ั ของกิจกรรม - การคิดเชงิ พน้ื ที่ - ป ระเมินการนำ�เสนอ - แ บบวัดและบันทึกผล ทางเศรษฐกจิ และสงั คมในทวีปยุโรป - การคดิ แบบองคร์ วม ผลงาน การเรียนรู้ และทวปี แอฟริกา - การใช้เทคโนโลยี - ตรวจผลงาน/ชิ้นงาน ภูมิศาสตร์ ม.2 4. วิเคราะห์ปจั จัยทางกายภาพและปจั จัย - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบทดสอบกอ่ นเรียน ทางสงั คมท่ีส่งผลตอ่ ท�ำเลที่ต้ังของ 16 การทำ�งานรายบคุ คล - แบบทดสอบหลังเรียน กิจกรรมทางเศรษฐกจิ และสังคม - สงั เกตพฤตกิ รรม - PowerPoint ในทวีปยุโรปและทวปี แอฟริกา ชว่ั โมง การทำ�งานกลุ่ม 5. สบื คน้ อภปิ รายประเดน็ ปญั หาจาก - ประเมนิ คณุ ลักษณะ ปฏิสัมพันธร์ ะหวา่ งส่งิ แวดลอ้ มทาง อนั พงึ ประสงค์ กายภาพกบั มนุษยท์ เี่ กิดข้ึนในทวปี ยุโรป - ตรวจแบบทดสอบ และทวีปแอฟรกิ า หลังเรียน 6. วเิ คราะห์แนวทางการจัดการภัยพิบัติ และการจดั การทรัพยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดล้อมในทวีปยโุ รป และทวปี แอฟรกิ าทีย่ ั่งยนื
สารบัญ Chapter Title Chapter Teacher Overview Script หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 พลเมอื งดตี ามวิถี ประชาธิปไตย T1 - T2 T3 • พลเมืองดีตามวิถปี ระชาธปิ ไตย T23 - T24 T4 - T9 • สถานภาพ บทบาท สทิ ธิ เสรภี าพ หนา้ ที่ ในฐานะพลเมืองดี T10 - T13 T61 - T62 ตามวิถีประชาธปิ ไตย • ผลจากการปฏบิ ัติตนเปน็ พลเมอื งดีตามวถิ ีประชาธิปไตย T77 - T78 • แนวทางการส่งเสริมให้ปฏิบตั ติ นเป็นพลเมอื งดตี าม T91 - T92 T13 - T15 วถิ ปี ระชาธิปไตย T16 - T22 หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 2 กฎหมายกบั การดำ�เนนิ T 25 ชีวติ ประจำ�วัน T26 • ความหมายและความสำ� คญั ของกฎหมาย T27 - T31 • กระบวนการในการตรากฎหมาย T32 - T38 • กฎหมายทเี่ กี่ยวข้องกบั ตนเองและครอบครวั T38 - T60 • กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกบั ชุมชนและประเทศชาติ T 63 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 เหตกุ ารณ์และการ เปล่ียนแปลงสำ�คญั ของ T64 - T73 ระบอบการปกครองไทย • เหตุการณ์และการเปลยี่ นแปลงส�ำคญั ของระบอบการเมือง การปกครองของไทย T73 - T76 • การเลือกรับข้อมลู ขา่ วสารเกย่ี วกับการเมืองการปกครอง T 79 ของไทยในสงั คมปัจจบุ นั T80 - T81 T82 - T88 หน่วยการเรยี นรู้ท ี่ 4 สถาบนั ทางสงั คม T88 - T90 • ความหมายและความสำ� คัญของสถาบนั ทางสังคม T93 • บทบาทของสถาบันทางสังคม • ความสมั พนั ธ์ของสถาบันทางสงั คม T 94 T95 - T96 หนว่ ยการเรียนรู้ท ี่ 5 วฒั นธรรมของไทยและ T97 - T103 วฒั นธรรมของประเทศ T104 - T116 ในภูมิภาคเอเชยี • ความรูเ้ ก่ียวกบั วฒั นธรรม • ทีม่ าของวฒั นธรรม • ลักษณะของวฒั นธรรมไทย • ความคลา้ ยคลึงและความแตกต่างระหวา่ งวฒั นธรรมไทย กบั วฒั นธรรมของประเทศในภมู ิภาคเอเชยี
Chapter Title Chapter Teacher Overview Script หนว่ ยการเรียนรู้ท ่ี 6 การออมและการลงทนุ T117 - T118 T119 T145 - T146 • การออม T120 - T131 • การลงทนุ T165 - T166 T132 - T142 • ความแตกตา่ งระหว่างการออมและการลงทนุ T142 - T144 T179 - T180 หนว่ ยการเรียนรู้ท ่ี 7 การผลิตสนิ คา้ และบริการ T201 - T202 T147 • ความหมาย ความสำ� คัญ ของการผลิตสินค้าและบริการ T148 - T149 • ปัจจัยในการผลิต T150 - T153 • หลักการผลิตสนิ ค้าและบรกิ ารอย่างมีประสทิ ธภิ าพ T153 - T156 • ปัจจยั ท่ีมีอิทธิพลตอ่ การผลติ สินค้าและบรกิ าร T157 - T158 • การนำ� เทคโนโลยมี าใชใ้ นการผลิตสนิ ค้าและบรกิ าร T159 - T160 • ลกั ษณะของการผลติ สนิ ค้าและบรกิ ารของไทย T160 - T164 หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 8 เศรษฐกิจพอเพยี งกบั การ T167 ผลิตสนิ ค้าและบริการ T168 - T170 • หลักการของปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง T171 - T174 • วิเคราะหก์ ารผลติ สินคา้ และบรกิ ารในท้องถนิ่ T175 - T178 • การประยกุ ตใ์ ช้เศรษฐกจิ พอเพยี งในการผลิตสินค้าและ T181 บรกิ ารในทอ้ งถ่นิ T182 - T185 หนว่ ยการเรียนรู้ท ่ี 9 การค้มุ ครองผู้บริโภค T185 - T191 T191 - T195 • การคมุ้ ครองสทิ ธผิ บู้ ริโภค T196 - T200 • กฎหมายคมุ้ ครองผ้บู รโิ ภค • หน่วยงานค้มุ ครองผู้บรโิ ภค T203 • แนวทางการปกปอ้ งและคมุ้ ครองสิทธิของผู้บริโภค T204 - T208 หน่วยการเรียนรู้ท ี่ 10 ระบบเศรษฐกิจ การพ่ึงพา T208 - T210 การแข่งขันทางเศรษฐกิจ T210 - T213 ในทวีปเอเชีย T213 - T217 T218 - T220 • ระบบเศรษฐกิจ • การพ่งึ พาและการแข่งขันทางเศรษฐกิจในเอเชีย • ทรัพยากรกบั ความสมั พนั ธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ • การแข่งขันทางการคา้ ภายในประเทศและตา่ งประเทศ • ผลของการแข่งขันทางการค้าในประเทศและต่างประเทศ
Chapter Title Chapter Teacher Overview Script หน่วยการเรยี นรู้ที่ 11 กำรอำ่ นและแปลควำมหมำย T221 - T222 T223 แผนท่ี T233 - T236 T224 - T229 • องคป์ ระกอบของแผนท่ี T287 - T290 T230 - T232 • การอา่ นและแปลความหมายแผนท่ี T237 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 12 ทวีปยุโรป T238 - T252 T253 - T255 • ลกั ษณะทางกายภาพของทวีปยโุ รป T256 - T261 • ลกั ษณะประชากรของทวีปยุโรป T262 - T273 • ลักษณะสังคมและวฒั นธรรมของทวปี ยโุ รป T274 - T280 • ลกั ษณะเศรษฐกจิ ของทวปี ยุโรป T281 - T286 • ภัยพบิ ัตแิ ละแนวทางการจดั การของทวีปยุโรป • ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ มและแนวทาง T291 การจดั การของทวีปยุโรป T292 - T307 T308 - T311 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 13 ทวปี แอฟรกิ ำ T312 - T317 T318 - T329 • ลกั ษณะทางกายภาพของทวปี แอฟรกิ า T330 - T334 • ลกั ษณะประชากรของทวีปแอฟรกิ า T335 - T341 • ลกั ษณะสงั คมและวัฒนธรรมของทวปี แอฟริกา • ลักษณะเศรษฐกจิ ของทวปี แอฟริกา T342 - T344 • ภยั พบิ ัตแิ ละแนวทางการจดั การของทวีปแอฟริกา • ปัญหาทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มและแนวทาง การจดั การทรพั ยากรของทวปี แอฟริกา บรรณำนุกรม
Chapter Overview แผนการจดั สือ่ ที่ใช้ จุดประสงค์ วิธสี อน ประเมนิ ทกั ษะที่ได้ คณุ ลกั ษณะ การเรยี นรู้ อนั พงึ ประสงค์ แผนฯ ที่ 1 - หนงั สอื เรียน 1. อธบิ ายลักษณะส�ำคญั การจัดการ - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น - ทกั ษะการ 1. มีวินัย สงั คม สงั คมศึกษาฯ ม.2 ของสงั คมประชาธปิ ไตย เรียนรแู้ บบ - ตรวจการทำ� แบบฝกึ สมรรถนะ สงั เคราะห์ 2. ใฝ่เรยี นรู้ ประชาธปิ ไตย - แบบฝกึ สมรรถนะ ได้ (K) ร่วมมอื : และการคดิ หนา้ ท่ีพลเมืองฯ 3. มุ่งมน่ั ในการ และการคดิ 2. วเิ คราะห์คณุ ลักษณะ เทคนิคคคู่ ดิ ม.2 ทำ� งาน 1 หนา้ ทีพ่ ลเมืองฯ ม.2 พลเมืองดีตามวถิ ี สส่ี หาย - ตรวจใบงาน ที่ 1.1, 1.2 - แบบทดสอบก่อนเรียน ประชาธปิ ไตยได้ (K) - ประเมนิ การน�ำเสนอผลงาน 1. มวี ินยั ชัว่ โมง - PowerPoint 3. เสนอแนวทางการ - สงั เกตพฤติกรรม 2. ใฝเ่ รยี นรู้ การท�ำงานรายบุคคล 3. มงุ่ มัน่ ในการ - ใบงานที่ 1.1, 1.2 ปฏิบตั ติ นตามสังคม - สังเกตพฤตกิ รรม ทำ� งาน ประชาธิปไตยและ การท�ำงานกล่มุ สามารถนำ� ไปปฏิบตั ิ - ป ระเมินคณุ ลกั ษณะ จริงในชีวติ ประจำ� วนั อนั พึงประสงค์ ได้ (P) 4. เหน็ คณุ คา่ ของการปฏบิ ตั ิ ตนตามสังคม ประชาธิปไตย เพิม่ มากข้นึ (A) แผนฯ ที่ 2 - หนังสือเรียน 1. อธิบายความส�ำคญั ของ สบื เสาะ - ตรวจการทำ� แบบฝกึ สมรรถนะ - ทักษะการ สถานภาพ สงั คมศกึ ษาฯ ม.2 สถานภาพ บทบาท สทิ ธิ หาความรู้ และการคิดหนา้ ทีพ่ ลเมอื งฯ สังเคราะห์ บทบาท สิทธิ - แบบฝึกสมรรถนะ เสรีภาพ หนา้ ทข่ี อง (5Es ม.2 เสรภี าพ หนา้ ท่ี และการคดิ ประชาชนชาวไทยได้ (K) Instructional - ตรวจใบงานท่ี 1.3 ในฐานะพลเมอื งดี หนา้ ท่พี ลเมืองฯ ม.2 2. วิเคราะห์ผลของการ Model) - ประเมินการน�ำเสนอผลงาน ตามวถิ ี ประชาธิปไตย - PowerPoint ปฏบิ ตั ติ นเปน็ พลเมอื งดี - สังเกตพฤติกรรม - ใบงานที่ 1.3 ตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตยได้ การท�ำงานรายบุคคล 2 (K) - สังเกตพฤตกิ รรม 3. เสนอแนวทางการ การท�ำงานกลุม่ ชั่วโมง ปฏบิ ตั ติ นตามสถานภาพ - ประเมินคุณลักษณะ บทบาทสิทธิ เสรภี าพ อนั พึงประสงค์ หนา้ ทใ่ี นฐานะพลเมอื งดี ตามวิถปี ระชาธปิ ไตย และสามารถนำ� ไปปฏบิ ตั ิ จรงิ ในชีวติ ประจำ� วัน ได้ (P) 4. เห็นคุณค่าของการ ปฏบิ ตั ติ นตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรภี าพ หนา้ ทใี่ นฐานะพลเมอื งดี ตามวถิ ีประชาธิปไตย เพ่มิ มากขน้ึ (A) T1
แผนการจัด สอ่ื ที่ใช้ จดุ ประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะท่ีได้ คุณลักษณะ การเรียนรู้ อนั พึงประสงค์ 1. มีวินยั แผนฯ ท่ี 3 - หนงั สอื เรียน 1. อ ธิบายแนวทางการ สืบเสาะ - ตรวจการทำ� แบบฝึก - ทักษะการ 2. ใฝ่เรยี นรู้ แนวทางการ สงั คมศกึ ษาฯ ม.2 ส่งเสรมิ ให้ปฏบิ ตั ิตน หาความรู้ สมรรถนะและการคดิ สังเคราะห์ 3. มุ่งม่นั ในการ ส่งเสริมให้ - แบบฝกึ สมรรถนะ เป็นพลเมอื งดีตามวถิ ี (5Es หนา้ ทพี่ ลเมอื งฯ ม.2 ท�ำงาน ปฏิบตั ติ นเป็น และการคดิ ประชาธิปไตยได้ (K) Instructional - ตรวจการท�ำแบบวดั และ พลเมืองดตี าม หน้าทพี่ ลเมอื งฯ ม.2 2. เสนอแนวทางการ Model) บนั ทึกผลการเรยี นรู้ วิถีประชาธิปไตย - แ บบวัดและบนั ทกึ สง่ เสริมให้ปฏิบตั ิตน หนา้ ทพี่ ลเมอื งฯ ม.2 1 ผลการเรียนรู้หนา้ ที่ เป็นพลเมอื งดตี ามวิถี - ตรวจใบงานที่ 1.4 พลเมอื งฯ ม.2 ประชาธปิ ไตย และนำ� ไป - ประเมินการน�ำเสนอผลงาน ชวั่ โมง - แบบทดสอบหลังเรยี น ประยกุ ตป์ ฏบิ ตั ิได้ (P) - สงั เกตพฤติกรรม - PowerPoint 3. เหน็ คณุ ค่าของการ การท�ำงานรายบุคคล - ใบงานท่ี 1.4 ปฏบิ ัตติ นเปน็ พลเมือง - สังเกตพฤตกิ รรม ดตี ามวิถีประชาธิปไตย การท�ำงานกลมุ่ เพ่ิมมากขน้ึ (A) - ประเมินคุณลกั ษณะ อนั พึงประสงค์ - ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน T2
นาํ นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ๑หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี พลเมอื งดตี ามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย ขน้ั นาํ (วธิ สี อนโดยการจดั การเรยี นรู ¡Òû¯ÔºÑµÔµ¹à»š¹ ¾ÅàÁ×ͧµÒÁÇÔ¶Õ แบบรว มมอื : เทคนคิ คคู ดิ สส่ี หาย) »ÃЪҸԻäµÂ ÁÕ¤ÇÒÁ ÊíÒ¤ÑÞµ‹Í¹Ñ¡àÃÕ¹áÅÐ 1. ครูแจงใหนักเรียนทราบถึงวิธีสอนโดยการ ?Êѧ¤Áä·ÂÍ‹ҧäà จดั การเรยี นรแู บบรว มมอื : เทคนคิ คคู ดิ สส่ี หาย ชื่อเรื่องที่จะเรียนรู จุดประสงคการเรียนรู การอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คมประชาธปิ ไตย สมาชกิ ทกุ คนจะตอ้ งรจู้ กั บทบาทหนา้ ทข่ี องตนในฐานะ และผลการเรยี นรู พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย คือ ต้องเป็นบุคคลที่มีคุณธรรมและจริยธรรมเป็นหลักในการ ดา� เนนิ ชวี ติ รจู้ ักการทา� งานร่วมกนั มสี ่วนร่วมรับผิดชอบในกจิ กรรมทางสงั คม เคารพกติกาของ 2. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน สังคมประชาธิปไตยด้วยการเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของ หนวยการเรียนรูที่ 1 เร่ือง พลเมืองดีตามวิถี ประเทศดว้ ยความรบั ผดิ ชอบและมีจิตสา� นกึ ท่ดี ี ซง่ึ ถา้ ทกุ คนตระหนักถึงความสา� คัญและปฏิบัตติ น ประชาธิปไตย เปน็ พลเมอื งดีตามวิถปี ระชาธิปไตยได ้ ยอ่ มส่งผลตอ่ การพัฒนาประเทศใหเ้ จริญกา้ วหน้า และจะ ช่วยให้การอยู่ร่วมกันในสังคมด�าเนินไปได้อย่างสงบสุข รวมทั้งจรรโลงให้การปกครองระบอบ 3. ครพู ูดขอ ความใหนักเรียนฟง วา ประชาธิปไตยมคี วามม่ันคง “ประชาธปิ ไตย คอื การปกครองของประชาชน โดยประชาชน และเพอ่ื ประชาชน” จากนนั้ ให นักเรียนรวมกันอภิปรายวา ขอความดังกลาว สะทอนถึงความหมายของประชาธิปไตย อยางไร (แนวตอบ ประชาธิปไตยเปนการปกครอง ที่ถือวาประชาชนทุกกลุม ทุกเพศ ทุกวัย ทกุ อาชีพ มีสิทธิ หนาที่ และความรบั ผดิ ชอบ ตอบานเมืองเทาเทียมกัน ท้ังในดานการ ปกครองและการดาํ เนินชีวติ ของตนเอง) ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ส ๒.๑ ม.๒/๒ เห็นคุณค่าในการปฏิบัติตนตามสถานภาพ • ส ถานภาพ บทบาท สทิ ธ ิ เสรภี าพ หนา้ ท ี่ ในฐานะพลเมอื งดี บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หน้าท่ีในฐานะพลเมืองดีตามวิถี ตามวถิ ปี ระชาธิปไตย ประชาธิปไตย • แนวทางส่งเสริมให้ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดี ตามวิถี ประชาธปิ ไตย ๑ เกร็ดแนะครู การเรียนเรื่องพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย มุงใหนักเรียนตระหนักถึงความสําคัญในการปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ และหนาท่ี ในฐานะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย รวมถึงทราบแนวทางท่ีชวยสงเสริมการปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีไดอยางเหมาะสมและสามารถปฏิบัติตนเปนพลเมืองดี ของสงั คม ซงึ่ ครคู วรจดั การเรียนรูโ ดยใหน กั เรยี นทาํ กิจกรรมตอ ไปน้ี • สาํ รวจคนควาขอมูลเกีย่ วกับสถานภาพ บทบาท สทิ ธิ เสรภี าพ หนา ที่ และแนวทางปฏิบัตติ นเปน พลเมืองดีตามวิถีประชาธปิ ไตย • อธิบายสถานภาพ บทบาท รวมถึงสทิ ธิ เสรภี าพ และหนา ทีข่ องตนเอง • เขียนบรรยายการปฏบิ ัตติ นเปนพลเมืองดีตามวิถปี ระชาธิปไตยของตนเอง พรอมทั้งบอกผลดที เี่ กดิ จากการปฏิบตั ิ T3
นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั สอน ๑. พลเมอื งดตี ามวถิ ปี ระชาธิปไตย 1. ครูสนทนากับนักเรียนเก่ียวกับคุณลักษณะ การปกครองระบอบประชาธิปไตยเป็นการปกครองที่ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครอง ของพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย แลวใช เป็นการสนองความต้องการพื้นฐานทางธรรมชาติของมนุษย์ ท่ีมีความต้องการเสรีภาพ ความ คาํ ถามใหน กั เรียนไดว เิ คราะหร วมกนั เชน เสมอภาค และการเคารพในศักดิ์ศรขี องความเป็นมนุษย์ • ในการดําเนินชีวิตประจําวัน นักเรียน การด�าเนินชีวิตในสังคมประชาธิปไตยน้ัน จะต้องปฏิบัติตนให้สอดคล้องกับหลักการ สามารถปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถี และอุดมคติของประชาธิปไตย กลา่ วคือ ต้องยอมรับว่าทุกคนเสมอภาคกัน เคารพสิทธิเสรีภาพ ประชาธปิ ไตยไดอยางไร ของกันและกัน รวมทั้งจะต้องปฏิบัติหน้าที่และรับผิดชอบต่อครอบครัว สังคม และประเทศชาติ (แนวตอบ เชน เคารพสทิ ธิ เสรีภาพของกนั อ ย่างเคอรด่งีตคปรดัระธานาธิบดีเอบราแฮม ลิงคอลน์ 1 (Abraham Lincoln) แห่งสหรัฐอเมริกา ได้แสดง และกัน ยอมรบั ความคดิ เหน็ ของผอู ืน่ และ วาทะเกี่ยวกับค�าว่า “ประชาธิปไตย” ไว้ว่า “ประชาธิปไตยคือการปกครองของประชาชน โดย ใชเ หตผุ ลเปน หลกั ในการแกไ ขปญ หาตา งๆ) ประชาชน และเพื่อประชาชน” • การปฏิบตั ิตนเปน พลเมืองดีตามวิถี จากวาทะดังกล่าว สะท้อนความหมายของประชาธิปไตยได้ว่า “เป็นการปกครองที่ถือว่า ประชาธปิ ไตยมีความสําคัญตอ ประเทศ ประชาชนทุกกลุ่ม ทุกเพศ ทุกฐานะ และทุกอาชีพ มีสิทธิ หน้าท่ี และความรับผิดชอบต่อ ชาติอยา งไร บ้านเมืองเท่าเทียมกัน ท้ังในด้านการปกครองและการด�าเนินชีวิตของตนเอง” ซึ่งสามารถแยก (แนวตอบ เพราะเปนแนวทางพ้ืนฐานในการ อธิบายเปน็ สองความหมายได ้ ดงั นี้ ปฏิบัติตนตอผูอื่น ซ่ึงจะทําใหสมาชิกใน ๑. ประชาธปิ ไตยในดา้ นการปกครอง หมายถงึ ระบอบการปกครองท่เี ปิดโอกาสให้ สังคมสามารถอยูรวมกันไดอยางมีความสุข ประชาชนมสี ทิ ธทิ ีจ่ ะปกครองตนเองหรือเลอื กผู้แทนเข้าไปท�าหน้าทปี่ กครองประเทศแทนตน และสามารถพฒั นาประเทศชาตใิ หก า วหนา ๒. ประชาธปิ ไตยในดา้ นการดา� เนนิ ชวี ติ หมายถงึ การดา� เนนิ ชวี ติ ของประชาชนตาม ไปไดอยา งมัน่ คง เปนระเบยี บเรียบรอ ย) วิถีทางประชาธปิ ไตย อนั ไดแ้ ก ่ การเคารพสทิ ธเิ สรภี าพของกนั และกัน การยอมรับความคิดเหน็ ของผู้อ่ืน และการใช้เหตุผลเป็นหลักในการพิจารณาปัญหาต่างๆ ที่เกิดข้ึนในสังคม โดยใช้เสียง ข้างมากเป็นแนวทางในการแกไ้ ขปัญหานัน้ ๆ อยา่ งสนั ติวิธี การปฏิบตั ติ นเป็นพลเมืองดตี ามวิถปี ระชาธิปไตยมีความสา� คญั ต่อประเทศในทกุ ด้าน เชน่ ทา� ใหส้ งั คมและประเทศชาตมิ กี ารพฒั นาไปไดอ้ ยา่ งมนั่ คง และมคี วามเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ย เพราะ เม่ือสมาชิกทุกคนในสังคมปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ เสียสละประโยชน์ ส่วนตนเพอ่ื ประโยชนส์ ว่ นรวม ปฏิบัตติ นตามกฎระเบยี บ กติกาของสงั คม ไม่ละเมดิ สทิ ธขิ องผอู้ ื่น มีความเอ้ือเฟื้อเผื่อแผ่และมีน้�าใจต่อกัน โดยยึดหลักธรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ เป็นพ้ืนฐาน ในการปฏิบัติต่อผู้อื่น ก็ย่อมจะท�าให้สมาชิกในสังคมสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข เกิด ความสัมพันธ์ท่ีดีระหว่างสมาชิกในสังคม ช่วยลดความขัดแย้งในสังคม สังคมมีความเป็น ระเบียบเรยี บรอ้ ย มีความเขม้ แข็งและมีความเจริญกา้ วหนา้ อยา่ งยงั่ ยนื 2 นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคดิ 1 เอบราแฮม ลิงคอลน ประธานาธิบดีคนที่ 16 ของสหรัฐอเมริกา ดํารง ในความคดิ ของนักเรียน พลเมืองดีตามวถิ ีประชาธิปไตย ตาํ แหนง ระหวา ง ค.ศ. 1861-1865 เปน ผทู ด่ี าํ เนนิ การประกาศยกเลกิ ระบบทาสใน ควรมีคณุ สมบตั ิอยา งไร สหรฐั อเมรกิ าไดส าํ เรจ็ และเปน บคุ คลทป่ี ระสบความสาํ เรจ็ ในการบรหิ ารประเทศ ตามแนวทางประชาธิปไตย เอบราแฮม ลงิ คอลน ถกู ลอบสังหารเม่ือ ค.ศ. 1865 (แนวตอบ มคี ณุ สมบตั หิ ลายประการ เชน มหี ลกั การประชาธปิ ไตย ในการดาํ เนนิ ชวี ติ ปฏบิ ตั ติ นตามกฎหมาย รจู กั สทิ ธิ เสรภี าพ และ บูรณาการอาเซียน หนา ทข่ี องตนและเคารพในศกั ดศิ์ รคี วามเปน มนษุ ยข องผอู นื่ ยดึ มน่ั ในศีลธรรมและจริยธรรมทางศาสนา ดํารงตนใหเ กดิ ประโยชนตอ ครูเพิ่มเติมความรูวา การปฏิบัติตนตามวิถีประชาธิปไตยไดอยางถูกตอง สังคมและประเทศชาติ) จะเปนประโยชนตอประชาคมอาเซียน เนื่องจากในเสาหลักแรกของอาเซียน หรอื ประชาคมการเมอื งและความมน่ั คงของอาเซยี น (ASEAN Political Security Community: APSC) มีจุดมุงหมายสําคัญเพื่อสงเสริมสันติภาพใหประเทศ สมาชิกอาเซียนอยูรวมกันไดอยางสันติ และมีคานิยมรวมกันในการสงเสริม Tระบอบประชาธปิ ไตย 4
นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ๑.๑ ลักษณะสา� คญั ของสงั คมประชาธิปไตย ขนั้ สอน โดยท่ัวไปลักษณะท่ีเรียกได้ว่าเป็น “สังคมประชาธิปไตย” คือ สังคมที่ผู้คนส่วนใหญ่ของ ประเทศมวี ฒั นธรรมทางการเมอื งแบบประชาธปิ ไตย ยอมรบั และเชอ่ื มน่ั หลกั การทางการปกครอง 2. ครซู กั ถามนกั เรยี นถงึ ตวั อยา งเกยี่ วกบั ลกั ษณะ แบบประชาธิป๑ไ)ต ยอ �าสนงั คามจอปรธะิปชไาตธยปิ 1เไปตย็นมขลี อักงษปณวะงทช่สีนา� คหญั ม าดยงั ถนึงี้ ประชาชนผู้เป็นพลเมืองของรัฐ สาํ คญั ของสงั คมประชาธปิ ไตย และคณุ ลกั ษณะ เป็นเจ้าของอ�านาจสูงสุด หรืออ�านาจอธิปไตยในการปกครองประเทศ ประเทศทป่ี กครองระบอบ ของพลเมืองดีตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย ประชาธิปไตยต้องมีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ หรือเป็นแม่บทของ กฎกตกิ าของสงั คม เพอื่ ใชก้ า� หนดแนวทางสา� หรบั ฝา่ ยปกครอง ซงึ่ ในบางประเทศรฐั ธรรมนญู อาจ 3. ครแู บง นกั เรยี นเปน กลมุ กลมุ ละ 4 คน คละกนั ไม่ได้จดั ทา� เปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษรก็ได้ ตามความสามารถ โดยใหน กั เรยี นแตล ะกลุม ดงั นน้ั ลกั ษณะสา� คญั ประการหนงึ่ ของสงั คมประชาธปิ ไตยกค็ อื ประเทศตอ้ งเปดิ โอกาส รวมกันศึกษาความรูเร่ือง ลักษณะสําคัญของ ใหป้ ระชาชนปกครองตนเอง หรอื เลอื กผแู้ ทนไปปกครองแทนตน ตามทร่ี ฐั ธรรมนญู อนั เปน็ กฎหมาย สังคมประชาธิปไตย และคุณลักษณะของ สงู สดุ ในการปกครองประเทศกา� หนดไว้ ซงึ่ หากประเทศใดท่ปี กครองระบอบประชาธิปไตย แตไ่ ม่ พลเมอื งดตี ามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย จากหนงั สอื เรยี น เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการปกครองประเทศตามท่ีรัฐธรรมนูญก�าหนด เช่น สังคมศึกษาฯ ม.2 หรือจากแหลงการเรียนรู ไมอ่ นญุ าตใหป้ ระชาชนเขา้ ชอ่ื กนั เพอื่ เสนอกฎหมายทเ่ี กยี่ วกบั สทิ ธเิ สรภี าพของประชาชนและหนา้ ท่ี อื่นๆ เชน หนังสือในหองสมุด เว็บไซตใน ของรฐั กไ็ ม่ถือว่าประเทศนน้ั มกี ารปกครองในระบอบประชาธิปไตยทสี่ มบูรณ์ อินเทอรเ น็ต โดยครแู นะนําเพม่ิ เตมิ ๒) เป็นสังคมท่ียึดหลักความเสมอภาค สังคมประชาธิปไตยจะยึดหลักการว่า 4. ครสู มุ นกั เรยี นแตล ะกลมุ นาํ เสนอผลการศกึ ษา พลเมืองทกุ คนมีความเท่าเทยี มกนั ตามกฎหมายในฐานะพลเมอื งของรฐั ไม่วา่ เชอ้ื ชาติใด ศาสนา จากน้ันครตู ั้งคําถาม เชน ใด ภาษาใด ถนิ่ กา� เนดิ ใด หรอื เพศใด เชน่ ประชาชนทกุ คนมสี ทิ ธอิ อกเสยี งลงคะแนนเลอื กตง้ั คนละ • เพราะเหตใุ ดในสงั คมประชาธปิ ไตยจงึ ถอื วา ๑ เสียง โดยเทา่ เทียมกนั ได้รับการบริการจากรัฐอย่างเท่าเทยี มกนั อํานาจอธิปไตยเปนของประชาชน หลกั นติ ธิ รรม๓2 )เป เน็ ปห็นลสกั ังในคกมาทรปี่คกนคใรนอสงังปครมะเยทึดศ (แนวตอบ เพราะระบอบประชาธิปไตยมี และในการด�าเนินชวี ิต หมายความว่า ประเทศ เปาหมายสําคัญใหประชาชนเขามามี ที่ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยต้องมี สวนรวมในการคิดและตัดสินใจทางการ รัฐธรรมนูญท่ีให้หลักประกันทางกฎหมาย เมอื งการปกครองอยางเทาเทียมกัน) 5. ครใู หน กั เรยี นยกตวั อยา งการปฏบิ ตั ติ นทแ่ี สดง ใหเ หน็ ถึงสงั คมท่ยี ดึ หลกั ความเสมอภาค (แนวตอบ เชน นกั เรยี นทกุ คนในชัน้ เรยี นมสี ทิ ธิ ในการแสดงความคิดเห็น มีสิทธิในการลง คะแนนเสยี งเลือกต้งั ประธานนกั เรยี น) เกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของประชาชน เอาไว้ ซึ่งรัฐบาลจะละเมิดมิได้ เช่น ศักดิ์ศรี ความเป็นมนุษย์ สิทธิในทรัพย์สิน เสรีภาพ ในการนับถอื ศาสนา การเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครอง ประเทศด้วยการไปใช้สิทธิเลือกต้ังเป็นลักษณะส�าคัญ ประการหน่ึงของสงั คมประชาธปิ ไตย ๓ ขอ สอบเนน การคดิ นักเรียนควรรู ขอ ใดแสดงถงึ ลกั ษณะของการเปนสังคมประชาธิปไตย 1 อาํ นาจอธปิ ไตย อาํ นาจสงู สดุ ในการปกครองประเทศ ไดแ ก 1. มผี ูนําทางการเมืองที่มาจากการแตงตง้ั 2. ประชาชนยอมรบั ความแตกตา งทางความคดิ • อาํ นาจนติ บิ ญั ญตั ิ (รฐั สภา) คอื อาํ นาจในการออกกฎหมาย 3. เมอื่ เกดิ ความขดั แยงมกั ใชความรุนแรงในการแกปญ หา • อาํ นาจบรหิ าร (คณะรฐั มนตร)ี คอื อาํ นาจในการบรหิ ารประเทศ โดยการนาํ 4. รัฐบาลมีอํานาจในการแทรกแซงการเผยแพรขอมูลขาวสาร กฎหมายมาบงั คบั ใช • อาํ นาจตลุ าการ (ศาล) คอื อาํ นาจในการดาํ เนนิ คดตี ามกฎหมาย ของสื่อมวลชน โดยอํานาจท้ังสามจะเปนอิสระจากกัน มีการคานอํานาจซึ่งกันและกัน เพอื่ ปอ งกนั ไมใ หอ าํ นาจใดอาํ นาจหนง่ึ มอี าํ นาจมากกวา กนั เพอื่ ปด กนั้ การใชอ าํ นาจ (วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. เพราะในสังคมประชาธิปไตย ไปในทางทผี่ ดิ แลว สรา งความเดอื ดรอ นใหก บั ประชาชน ประชาชนทุกคนมีสิทธิ เสรีภาพเทาเทียมกัน ทุกคนมีสิทธิที่ 2 หลกั นติ ธิ รรม หมายถงึ การปกครองทท่ี กุ คนมคี วามเสมอภาคกนั ตามกฎหมาย แสดงออกซึง่ ความเปนประชาธิปไตยโดยอยภู ายใตกฎหมาย เมือ่ ไมม ผี ใู ดอยเู หนอื กฎหมาย หรอื มอี ภสิ ทิ ธใิ์ ดๆ สทิ ธิ เสรภี าพของมนษุ ยต อ งไดร บั สังคมมีความคิดเห็นที่แตกตางกัน จะตองใชหลักเหตุและผลใน การยอมรบั และนบั ถอื บคุ คลจะมคี วามผดิ เมอื่ กฎหมายบญั ญตั วิ า เปน ความผดิ การตดั สนิ ปญ หาและขอขัดแยง เพ่ือการอยรู ว มกนั อยา งสงบสขุ ) บุคคลจะถูกลงโทษตองกระทํา โดยการพิจารณาพิพากษาของศาลยุติธรรมที่มี อาํ นาจอสิ ระและเดด็ ขาดตามกฎหมายของรฐั T5
นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั สอน ๔) เปน็ สังคมที่ยดึ หลกั การประนีประนอม1 สมาชิกในสงั คมประชาธิปไตยจะต้อง 6. ครใู หน กั เรยี นดภู าพการลงคะแนนเลอื กตง้ั จาก ร้จู ักยอมรับความคิดเห็นของผู้อนื่ ไม่ดงึ ดนั แตค่ วามคิดของตนเปน็ สา� คัญ พยายามทีจ่ ะประสาน หนงั สอื เรยี น สงั คมศกึ ษาฯ ม.2 แลว ตง้ั คาํ ถาม ความคดิ ของตนใหส้ อดคลอ้ ง หรอื ประสานประโยชนก์ บั ทรรศนะของคนอนื่ ใหไ้ ด ้ เพอ่ื ปอ้ งกนั ความ ใหน กั เรยี นรว มกนั อภปิ รายวา จากภาพสะทอ น ขัดแย้ง ไม่ยึดมั่นในความคิดของตนอย่างไม่ยอมผ่อนปรนแก้ไข และต้องใช้เหตุผลให้มากท่ีสุด ใหเห็นถึงลักษณะของสังคมประชาธิปไตย ในการตัดสินปญั หาต่าง ๆ อยางไร หลักการประนีประนอม คือ การยอมรับการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งโดยสันติวิธี (แนวตอบ คนในสังคมมีสิทธิ เสรีภาพในการ ด้วยการยอมผ่อนปรนให้แก่กัน ผู้ที่มีจิตใจเป็นประชาธิปไตยต้องไม่นิยมการแก้ไขปัญหาด้วยวิธี เลือกตัวแทนเขาไปทําหนาที่แทนตนเอง เพ่ือ รุนแรง เพราะ “ปรัชญาประชาธิปไตยโดยพื้นฐานไม่ปรารถนาให้มีการใช้ก�าลัง และการล้มล้าง สรางประโยชนแกสังคมสว นรวม) ด้วยวิธีการรุนแรง เพราะถ้ามีการใช้ก�าลังและความรุนแรงแล้ว ก็แสดงให้เห็นว่ามนุษยไม่มีหรือ ไมใ่ ช้เหตุผล ซ่ึงจะขัดกบั หลักความเชอื่ ขั้นมลู ฐานของประชาธปิ ไตยที่ถอื ว่ามนษุ ยม เี หตผุ ล” 7. ครูซักถามเก่ียวกับประสบการณการเขารวม กิจกรรมประชาธิปไตย เชน การเลือกตั้ง ๕) การยอมรับการตัดสินใจของฝายข้างมาก โดยฝ่ายข้างมากก็จะต้องเคารพ ประธานนกั เรยี น การเลอื กตง้ั ประธานชมรมของ นักเรียน พรอมทั้งแสดงความคิดเห็นเพ่ิมเติม แคตวาล่ มะกคลิดมุ่เหท็นมี่ ทผี ่ีแลตปกรตะโ่ายงชขนอแ์งฝลา่ะอยาขช้าพีงนแอ้ตยก ตหา่ มงกานัยค ยวอ่ ามมจวะ่าม คีในวปามระคเดิทเศหปน็ รแะตชกาตธปิา่ งไกตนัยหนนั้รอื ขปดั รแะชยาง้ ชกนนั 2 วาประสบการณด งั กลา วสอนใหเปนพลเมอื งดี เกยี่ วกบั แนวทางการแกป้ ญั หาของสงั คมหรอื ประเทศ แตเ่ มอ่ื องคก์ รทม่ี อี า� นาจตดั สนิ ชข้ี าดปญั หานน้ั ตามวถิ ีประชาธปิ ไตยอยา งไร เช่น สภาผู้แทนราษฎร หรือคณะรัฐมนตรี ได้รับฟังความคิดเห็นของทุกกลุ่มฝ่ายแล้วได้ตัดสิน เรื่องท่ีเป็นปัญหาน้ันด้วยเสียงข้างมาก ปัญหาน้ันก็ควรจะต้องยุติ หรือตัวอย่างในโรงเรียน การลงคะแนนเสียงเลือกต้ังนับเป็นตัวอย่างหน่ึงของการสอนให้รู้จักการใช้เสียงข้างมากในการเลือกบุคคลท่ีจะมาเป็น ตัวแทนของนกั เรยี น ๔ นักเรียนควรรู กจิ กรรม สรา งเสรมิ 1 หลกั การประนปี ระนอม คอื การไมถ อื เอาความคดิ หรอื ความเชอ่ื ของตนเอง ใหนักเรียนจับคูกันเขียนแผนผังความคิดเกี่ยวกับลักษณะของ ถกู ตองเพียงฝายเดียว จะตองยอมรับฟงความคิดเหน็ ของผอู นื่ ดวยความจรงิ ใจ สงั คมประชาธปิ ไตย แลว สมุ ตวั แทนนกั เรยี นออกมานาํ เสนอผลงาน เพอื่ นาํ มาปรบั ปรงุ ความคดิ ของตนเองใหถ กู ตอ ง ไมก ลา วหาผอู นื่ อยา งไรเ หตผุ ล ทหี่ นาช้ันเรียน พรอมอธิบายสาระสาํ คัญ โดยใหคิดเสมอวาความจริงในเรื่องเดียวกันอาจแสดงออกไดหลายรูปแบบ หลายแงมุมแมวาจะมจี ุดยืนเปนของตนเอง แตก็ตองเคารพจุดยนื ของผอู ่ืนดว ย เชนกัน เพอื่ สรา งความเขา ใจอนั ดีตอ กันในระยะยาว 2 ความคดิ เหน็ แตกตา งกนั หรอื ขดั แยง กนั ในสงั คมประชาธปิ ไตย ทกุ คนมสี ทิ ธิ เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น แสดงเหตุผล จึงอาจทําใหมีความคิดเห็นที่ แตกตา งและขดั แยง กนั ได ดงั นน้ั จงึ ตอ งใชห ลกั เหตผุ ลในการพดู คยุ แกไ ขปญ หา เพ่อื ลดความขัดแยงดังกลา ว โดยไมใ ชค วามรุนแรง T6
นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ถ้านักเรียนส่วนมากในโรงเรียน เห็นว่านักเรียนควรช่วยกันพัฒนาโรงเรียนวันละคร่ึงชั่วโมง ขนั้ สอน แต่ขณะเดียวกันกม็ นี ักเรียนสว่ นนอ้ ยทไี่ มเ่ หน็ ดว้ ย นักเรยี นฝ่ายข้างมากกไ็ มค่ วรจะใช้กา� ลังบงั คบั นกั เรยี นฝา่ ยขา้ งนอ้ ยทไี่ มเ่ หน็ ดว้ ยใหป้ ฏบิ ตั ติ าม แตค่ วรรบั ฟงั เหตผุ ลของนกั เรยี นสว่ นนอ้ ย พรอ้ ม 8. ครูใหนักเรียนอภิปรายรวมกันถึงความสําคัญ ชแี้ จงและรว่ มกนั พจิ ารณาแนวทางการแกป้ ญั หาอยา่ งรอบคอบ และคา� นงึ ถงึ ผลกระทบทอี่ าจเกดิ ขน้ึ ของหลักการใชเหตุผลในสังคมประชาธิปไตย เพอื่ ใหน้ กั เรยี นฝา่ ยข้างนอ้ ยยนิ ดีปฏิบัติตามด้วยความเตม็ ใจ ความขดั แย้งก็จะไม่เกดิ ขนึ้ เปน็ ต้น แลวต้ังคําถามเพ่ือฝกการวิเคราะหขอมูล เพ่ิมเตมิ เชน ๖) เป็นสังคมที่ยึดหลักการ • นักเรียนใชเหตุผลเปนเครื่องมือในการ เคารพเหตุผล คนในสังคมประชาธิปไตยต้อง กาํ หนดการกระทําตางๆ ในชวี ติ ประจาํ วนั เป็นผู้ที่เคารพเหตุผลมากกว่าบุคคล รับฟัง อยางไร ความคิดเห็นที่แตกต่างของผู้อื่น ร่วมกันเสนอ (แนวตอบ ในการกระทาํ สิ่งตา งๆ เราจะตอง แนวทางแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ทางสังคมโดยใช้ อาศัยเหตุผลเปนเครื่องมือในการพิจารณา เหตุผล หลีกเล่ียงความรุนแรง รวมถึงจะต้อง ไตรตรองเพื่อตัดสินใจเลือกกระทํา เชน ยอมรับว่าทุกคนมีสติปัญญาและเหตุผลในวง การใชเหตุผลเพ่ือพิจารณาขาว เหตุการณ จ�ากัด โดยอาจมีทรรศนะที่ถูกต้องในเร่ืองหน่ึง ปจ จบุ นั จากสอ่ื ตา งๆ หรอื การใชเ หตผุ ลเพอ่ื และอาจไมถ่ กู ตอ้ งในอกี เรอ่ื งหนงึ่ ได ้ ประชาธปิ ไตย แสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนและในแหลง จะด�าเนินไปได้ด้วยดีก็ต่อเมื่อมีการรับฟังความ การรู้จักรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นถือเป็นการปฏิบัติตน ชุมชน) ตามแนวทางประชาธปิ ไตย • หากจะตองทํางานรวมกับบุคคลที่มีอาวุโส คิดเห็นของทกุ ฝ่าย เพอ่ื ค้นหาเหตผุ ลและความถกู ต้องท่แี ทจ้ ริงนนั่ เอง เพราะเหตผุ ลเทา่ น้นั ทจ่ี ะ มากกวา นักเรียนจะปฏิบัติตนอยางไร จรรโลงให้ประชาธปิ ไตยด�าเนนิ ไปได้ ในฐานะพลเมืองดีตามวิถปี ระชาธปิ ไตย (แนวตอบ ในสังคมประชาธิปไตยจะตอง ๗) ประชาชนทกุ คนมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ สว่ นรวม ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สว่ นรวม เคารพเหตผุ ลมากกวา บคุ คล กลา วคอื ในการ จะเกดิ ขึ้นจากความรสู้ ึกของคนในสงั คมวา่ ตนเป็นเจา้ ของประเทศ และประเทศเป็นของคนทกุ คน ทาํ งานรว มกนั ทกุ คนจะตอ งรจู กั รบั ฟง ความ ซึ่งการประพฤติปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีท่ีมีความรับผิดชอบ เช่น การช่วยกันรักษาสมบัติของ คิดเห็นของทุกฝาย โดยใชเหตุผลในการ สว่ นรวมหรอื สาธารณสมบัต ิ เช่น ถนน สวนสาธารณะ แหล่งน�า้ เป็นตน้ พิจารณาไตรตรองและโตแยงเพื่อแสวงหา ความจริง โดยจะตองเคารพในศักด์ิศรีซ่ึง ๑.2 คุณลกั ษณะพลเมืองดีตามวถิ ีประชาธิปไตย กนั และกนั ) ในสงั คมประชาธปิ ไตยน้นั ประชาชนทุกคนมสี ิทธิเสรีภาพอย่างเทา่ เทียมกัน และทุกคนจะ ต้องปฏิบัติตามบทบัญญัติของกฎหมายอย่างเคร่งครัด สังคมประชาธิปไตยจึงจะสามารถพัฒนา กา้ วหนา้ และอา� นวยความผาสุกใหแ้ กส่ มาชกิ ในสงั คมได้ ทัง้ น ี้ สมาชิกของสงั คมควรมคี ณุ ลกั ษณะ ท่ีสอดคล้องกับหลักการของระบอบประชาธิปไตย โดยคุณลักษณะที่ส�าคัญของพลเมืองดีตามวิถี ประชาธิปไตย มดี งั น้ี ๑) ตอ้ งเปน็ บคุ คลทเี่ คารพในเหตผุ ล พลเมอื งดตี ามวถิ ปี ระชาธปิ ไตยตอ้ งเปน็ ผมู้ ี คณุ ลกั ษณะทเ่ี คารพในเหตผุ ล ขอ้ เทจ็ จรงิ ทเี่ ปน็ ทปี่ ระจกั ษ ์ รบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของทกุ ฝา่ ย เพอ่ื คน้ หา เหตผุ ลและความถกู ตอ้ งท่แี ทจ้ ริง 5 ขอสอบเนน การคดิ เกร็ดแนะครู เมื่อนักเรียนมีความคิดเห็นที่แตกตางจากเพื่อน นักเรียนควร ครอู าจใหน กั เรยี นทาํ กจิ กรรมรว มกนั เพอื่ สง เสรมิ คณุ ลกั ษณะของพลเมอื งดี ทําอยางไรจึงถือไดวาเปนการปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถี ตามวิถีประชาธิปไตย เชน จัดการเสวนารวมกันเพื่อหาแนวทางรักษาความ ประชาธิปไตย สะอาดบริเวณโรงเรียน หรือใหรวมกันแสดงความคิดเห็นในการรักษาภูมิทัศน ของโรงเรียน ซึ่งจะเปนการปลูกฝงใหนักเรียนรูจักการแสดงความคิดเห็น 1. ตอ วา เพื่อนอยางรนุ แรง การรับฟงความคิดเห็นผูอื่น และการมีสวนรวมในกิจกรรมท่ีเปนประโยชนตอ 2. ไมส นทนากับเพอ่ื นคนนน้ั อกี สว นรวมตามแนวทางประชาธปิ ไตย 3. รบั ฟง ความคิดเหน็ ของเพ่ือน 4. เลิกคบหาสมาคมกบั เพื่อนคนน้ี สื่อ Digital (วเิ คราะหคําตอบ ตอบขอ 3. หลักการสําคัญขอหน่ึงตามวิถี ศกึ ษาคนควาขอมลู เพิ่มเติมเก่ยี วกบั พลเมอื งดใี นสงั คมประชาธปิ ไตย ไดที่ ประชาธปิ ไตย คือ การเคารพในความคิดเหน็ ที่แตกตางของผูอื่น http://km.ru.ac.th/hrd/Journal/vol_1No1/chalida_2.pdf ซึ่งการรับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืนและแสดงความคิดเห็นของ ตนเองอยา งมเี หตผุ ล จะชว ยลดความขดั แยง และสรา งความเขา ใจ T7 อนั ดตี อ กัน)
นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั สอน ๒) ต้องเป็นบุคคลที่เคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ พลเมืองดีตามวิถี ประชาธิปไตยต้องเคารพศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ที่เท่าเทียมกัน โดยไม่มีการเลือกปฏิบัติ 9. ครูอาจใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันคิด ทกา่ีไรมม่เปีส็น่วนธรรร่วมม ทหางรกือาดรูหเมมือ่ินงเ หทยาียงดเศหรยษาฐมกกิจัน แยลึดะใหหล้โักอกคาวสามทเาทงส่าเงั ทคียมม1กันในสิทธิ เสรีภาพ รวมถึง กิจกรรมจิตอาสาเพื่อพัฒนาโรงเรียนหรือ ชุมชน แลวเขียนรางเปนแผนงาน จากน้ัน จติ สาธารณะ๓2 )ค อื ต อ้ มงสีเป�านน็ กึบรคุ บั คผลดิ ทชมี่อบี ในหนา้ ที่ นําไปปฏิบัติและบันทึกผลการปฏิบัติลงใน ของตนที่มีตอ่ สว่ นรวม รับร้สู ิทธ ิ เสรีภาพ ของ กระดาษรายงานแลว นาํ สงครูในชว่ั โมงถัดไป บุคคลอ่นื ท่อี ย่รู ว่ มเป็นสังคมเดยี วกนั ตลอดจน เขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมทางสงั คมดว้ ยความ 10. ครูใหนักเรียนแตละกลุมจับคูกันทําใบงาน เต็มใจ ดังน้ัน พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ดงั น้ี ต้องมีความรับผิดชอบต่อหน้าท่ีท่ีตนมีต่อ • คูท่ี 1 ทาํ ใบงานที่ 1.1 เร่ือง สงั คม ครอบครัว โรงเรียน ชุมชน และประเทศชาต ิ ประชาธิปไตย มีความกระตือรือร้นเข้ามามีส่วนร่วมในการ • คทู ี่ 2 ทําใบงานที่ 1.2 เร่อื ง คุณลักษณะ แก้ไขปัญหาของชุมชนหรือองค์กรที่สังกัดอยู่ พลเมอื งดีตามวถิ ีประชาธิปไตย 11. นักเรียนแตละคูชวยกันตรวจสอบความ ถูกตองของใบงานที่ตนรับผิดชอบ แลวผลัด กันอธบิ ายผลงานใหเพื่อนอกี คูหนึ่งฟง พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยนั้นต้องเป็นบุคคลที่มี เช่น ร่วมมือแก้ไขปัญหาต่าง ๆ และพัฒนา จติ สาธารณะ และมีความเสยี สละตอ่ สว่ นรวม สภาพแวดล้อมของโรงเรียนและชุมชนให้ดีขึ้น ดงั นัน้ กลา่ วไดว้ า่ จติ สาธารณะเปน็ องคป์ ระกอบทีส่ �าคัญของวิถีประชาธปิ ไตย ๔) ต้องเป็นบุคคลท่ีเคารพกฎหมาย พลเมืองดีตามวถิ ีประชาธิปไตยต้องเคารพ กฎหมายและปฏิบัติตามกฎหมายของบ้านเมืองอย่างเคร่งครัด เนื่องจากกฎหมายเป็นเครื่องมือ ทป่ี ระสงคใ์ หเ้ กดิ ความเปน็ ระเบยี บ เกดิ ความสงบสขุ ในสงั คม รวมทงั้ เพอ่ื คมุ้ ครองผลประโยชนข์ อง ประชาชนโดยรวม ดงั นนั้ พลเมอื งดตี ามวถิ ปี ระชาธปิ ไตยจงึ ตอ้ งเคารพกฎหมายและชว่ ยกนั ทา� ให้ กฎหมายบ้านเมืองมคี วามศักดสิ์ ทิ ธ์ิ เช่น การรับราชการทหารตามทก่ี ฎหมายบญั ญตั ิ ไม่บกุ รกุ ท่ี สาธารณะ ไม่ขับรถผดิ กฎหมาย เปน็ ต้น ๕) ตอ้ งเปน็ บคุ คลทม่ี คี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมในการดา� เนนิ ชวี ติ ประจา� วนั พลเมอื งดี ตามวิถีประชาธิปไตยต้องเป็นบุคคลท่ีมีคุณธรรมและจริยธรรมในการด�าเนินชีวิตประจ�าวันให้เป็น ไปตามหลกั ศาสนา วฒั นธรรมของชาตแิ ละชมุ ชนทตี่ นอาศยั อย ู่ อนั เปน็ คณุ ตอ่ คนทยี่ ดึ ถอื และปฏบิ ตั ิ ในการดา� เนนิ ชวี ติ ซงึ่ จะช่วยทา� ให้สังคมประชาธิปไตยเปน็ สงั คมทม่ี คี วามสงบสขุ และเจรญิ รงุ่ เรอื ง คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมทสี่ า� คญั เชน่ ความละอายและเกรงกลวั ในการกระทา� ชวั่ การมคี วามซอ่ื สตั ย์ สจุ ริต เปน็ ตน้ 6 นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด 1 โอกาสทางสังคม การเปดโอกาสใหทุกคนในสังคมไดรับบริการจากรัฐ การประพฤติตนของบคุ คลในขอใดแสดงออกถงึ การเคารพ และหนว ยงานตา งๆ อยา งเทา เทยี มกนั เชน การเปด โอกาสใหค นพกิ ารไดเ ขา รบั ศักด์ศิ รคี วามเปนมนุษย การศกึ ษาและการชว ยเหลือจากรฐั ใหแสดงความสามารถตางๆ รบั เขาทํางาน การใหผทู ่พี นโทษเขา รับการศกึ ษา ฝกอาชีพ และเขา ทํางาน 1. นาราไมล อเลยี นเพอื่ นกลุม LGBT 2 จติ สาธารณะ หรอื จติ อาสา คอื จติ ทค่ี ดิ สรา งสรรค เปน กศุ ล และมงุ ทาํ ความดี 2. นัฐดนยั ไมค บคากบั คนตา งศาสนา เปนประโยชนตอสวนรวม มีความคิดในทางที่ดี ไมทําลายบุคคล วัฒนธรรม 3. นรชี อบดูหมนิ่ คนทมี่ ฐี านะดอยกวา ประเทศชาติ และสิ่งแวดลอม เชน การชวยเหลือกิจกรรมตางๆ ในชุมชน 4. นพดลดแู ลรักษาสิ่งแวดลอมในชมุ ชน ดังนั้น จึงควรปลูกฝงใหคนในชาติไดเห็นความสําคัญถึงการเขารวมกิจกรรม เพือ่ สวนรวม (วเิ คราะหค ําตอบ ตอบขอ 1. การไมลอเลียนเพ่ือนกลุม LGBT หรอื บคุ คลทม่ี คี วามหลากหลายทางเพศ แสดงใหเ หน็ ถงึ การเคารพ ในศกั ด์ศิ รีความเปนมนุษยท เ่ี ทา เทียมกัน) T8
นาํ สอน สรปุ ประเมนิ เสริมสาระ ขน้ั สอน ความสาํ คัญของพลเมืองดี 12. ครใู หอ าสาสมัครนกั เรียน 2-3 กลุม นําเสนอ พลเมอื งดมี คี วามสา� คญั ตอ่ ประเทศชาตอิ ยา่ งมาก การปฏบิ ตั ติ นเปน็ พลเมอื งดคี วรเรม่ิ จากตนเอง ผลงานในใบงานหนา ชน้ั เรยี น และใหก ลมุ อน่ื ซงึ่ ความส�าคัญของการเป็นพลเมอื งดสี ามารถจ�าแนกได ้ ๓ ประการ ดังนี้ ที่มผี ลงานแตกตางกันไดน าํ เสนอเพ่มิ เตมิ ๑. ดา้ นสงั คม 13. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมที่เกี่ยวกับสังคม การท่ีคนในสังคมเป็นพลเมืองดี ย่อมท�าให้สังคมเกิดความสงบ ประชาธปิ ไตย ในแบบฝก สมรรถนะฯ หนาท่ี เรียบรอ้ ย เพราะทกุ คนปฏิบัติตามบทบาท สิทธ ิ หนา้ ทข่ี องตนเอง พลเมืองฯ ม.2 เพ่ือเปนการบานสงครูใน ตามวถิ ปี ระชาธิปไตย เคารพกฎหมาย ดา� เนนิ ชีวติ บนพน้ื ฐานของ ช่ัวโมงถดั ไป ศลี ธรรม รู้จักเสยี สละเพ่อื ส่วนรวม ใช้เหตผุ ลในการตดั สนิ ปัญหา ดังน้ัน ปัญหาสังคมต่าง ๆ ย่อมลดน้อยลง ไม่ว่าจะเป็นปัญหา ขนั้ สรปุ หากคนในสังคมรู้จักเสียสละเพื่อ ยาเสพตดิ ปัญหาการพนนั หรอื ปญั หาอาชญากรรม ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูเก่ียวกับ สว่ นรวม สงั คมกจ็ ะสงบสขุ และนา่ อยู่ สังคมประชาธิปไตย หรือใช PPT สรุปสาระ สาํ คญั ของเนอื้ หา ตลอดจนความสาํ คญั ของสงั คม ๒. ดา้ นเศรษฐกิจ ประชาธิปไตยตอ การดําเนินชีวติ ประจําวนั พลเมอื งดยี อ่ มประกอบอาชพี สจุ รติ มคี วามรบั ผดิ ชอบในหนา้ ที่ การงานของตน มีความขยัน อดทน รู้จักเก็บออม และรู้จัก ขนั้ ประเมนิ ใช้จ่ายอย่างมีเหตุผลสมควรตามฐานะ ด�าเนินชีวิตตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ซึ่งถ้าหากคนส่วนใหญ่ในสงั คม 1. ครูประเมินผลโดยสังเกตจากการตอบคําถาม ปฏบิ ตั ไิ ดเ้ ชน่ น ้ี ยอ่ มชว่ ยใหร้ ะบบเศรษฐกจิ ของชาตมิ เี สถยี รภาพ การรวมกันทํางาน และการนําเสนอผลงาน มั่นคง คนในสงั คมกอ็ ยดู่ ี กินดี หนา ชน้ั เรยี น การออมเงนิ และการใชจ้ า่ ยอยา่ งมเี หตผุ ล 2. ครตู รวจสอบผลจากการทาํ ใบงาน และแบบฝก สมรรถนะฯ หนาท่พี ลเมอื งฯ ม.2 ย่อมสง่ ผลดีต่อระบบเศรษฐกจิ ของชาติ การไปใชส้ ทิ ธเิ ลอื กตงั้ ถอื เปน็ การมี ๓. ดา้ นการเมอื งการปกครอง สว่ นรว่ มทางการเมอื งรปู แบบหนง่ึ พลเมอื งดีย่อมปฏิบตั ิตามสทิ ธ ิ หนา้ ท ี่ อันพงึ มตี ามที่รัฐธรรมนูญ ทีพ่ ลเมอื งดีพึงปฏิบตั ิ แหง่ ราชอาณาจกั รไทยก�าหนดไว้ เชน่ ไมล่ ะเมิดสิทธิเสรีภาพของ ผู้อนื่ รบั ฟงั ความคดิ เห็นผอู้ นื่ เคารพกฎหมาย มสี ่วนร่วมในการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย เช่น การออกไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ไม่ขายเสียง สนใจติดตามรับรู้ข่าวสารทางการเมือง แสดงความ คดิ เหน็ ทางการเมอื งอยา่ งมเี หตผุ ล และชว่ ยเปน็ หเู ปน็ ตา เฝา้ ระวงั ผทู้ ม่ี พี ฤตกิ รรมสอ่ ไปในทางไม่หวังดตี อ่ ประเทศชาติ ๗ ขอสอบเนน การคดิ แนวทางการวัดและประเมินผล นักเรียนคนใดตอไปนี้ที่เม่ือเติบโตขึ้นจะเปนพลเมืองดีในวิถี ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจเน้ือหา เร่ือง สังคมประชาธิปไตย ประชาธปิ ไตย ไดจากการสืบคน และนาํ เสนอผลงานหนา ชนั้ เรยี น โดยศึกษาเกณฑการวัดและ ประเมินผลจากแบบประเมินการนําเสนอผลงานที่แนบมาทายแผนการจัดการ 1. โอช อบขม ขเู พ่ือนเม่อื ขอยืมเงนิ เรียนรหู นว ยท่ี 1 เรือ่ ง พลเมอื งดีตามวิถปี ระชาธิปไตย 2. เอม กั ลอกขอสอบเพอื่ นเปนประจาํ 3. เอกชวยเหลือกจิ กรรมตางๆ ในชมุ ชน แบบประเมินการนาเสนอผลงาน 4. แอมไมร ูส กึ ทกุ ขรอนเมอื่ เพอ่ื นมาขอคาํ ปรึกษา คาช้ีแจง : ให้ผู้สอนประเมินผลการนาเสนอผลงานของนักเรยี นตามรายการ แลว้ ขดี ลงในช่องที่ (วิเคราะหค าํ ตอบ ตอบขอ 3. การชวยเหลือกิจกรรมตางๆ ใน ตรงกับระดับคะแนน ชุมชนของเอก แสดงใหเห็นถึงการเปนบุคคลท่ีมีจิตสาธารณะ ตองการเขาไปมีสวนรวมแกไขปญหา หรือพัฒนาชุมชนใหดีขึ้น ลาดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดับคะแนน 1 ถือเปนลักษณะสําคัญอยางหน่ึงของการเปนพลเมืองดีในวิถี 32 ประชาธปิ ไตย) 1 ความถูกต้องของเนื้อหา 2 การลาดบั ข้นั ตอนของเร่ือง 3 วธิ ีการนาเสนอผลงานอย่างสรา้ งสรรค์ 4 การใชเ้ ทคโนโลยใี นการนาเสนอ 5 การมีส่วนรว่ มของสมาชกิ ในกลมุ่ รวม ลงชอ่ื ...................................................ผปู้ ระเมนิ ............/................./................ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมินสมบรู ณช์ ดั เจน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ เป็นส่วนใหญ่ ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินบางสว่ น เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ 12 - 15 ดี 8 - 11 พอใช้ ต่ากวา่ 8 ปรับปรุง T9
นาํ นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั นาํ (5Es Instructional Model) ๒. สถานภาพ บทบาท สทิ ธิ เสรภี าพ หนา้ ท่ี ในฐานะพลเมอื งดี ตามวิถีประชาธิปไตย ขนั้ ท่ี 1 กระตนุ ความสนใจ ในการดา� เนินชีวติ ประจ�าวนั เราตอ้ งคา� นึงถงึ สถานภาพ บทบาท สทิ ธ ิ หน้าท ่ี ของตนเอง 1. ครแู จง ใหน กั เรยี นทราบถงึ วธิ สี อนแบบสบื เสาะ อยูเ่ สมอ เพราะถือเป็นหวั ใจส�าคญั ของการปฏบิ ัตติ นเป็นพลเมอื งดีตามวิถีประชาธปิ ไตย และเป็น หาความรู 5Es ชื่อเร่อื งท่ีจะเรียนรู จุดประสงค แนวทางท่ีท�าให้เราปฏิบัติสิ่งต่าง ๆ ทั้งต่อตนเองและผู้อื่นได้ถูกต้องเหมาะสม ส่งผลให้สังคม การเรยี นรู และผลการเรยี นรู ส่วนรวมมีความสงบ เป็นระเบียบ อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ประเทศมีความม่ันคงและพัฒนา ไดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื 2. ครูสุมถามนักเรียนใหแสดงความคิดเห็นใน สถานการณ เชน การหา มไมใ หค นแปลกหนา 2.๑ ความหมายและความส�าคัญของสถานภาพ บทบาท สิทธิ เขา มายงั ทพี่ กั อาศยั การลงโทษลกู จา งของตน เสรภี าพ และหนา้ ที่ของประชาชนชาวไทย โดยการทุบตีจนบาดเจ็บ การตอวาผูที่นับถือ ศาสนาทตี่ า งจากตน การทาํ ลายสาธารณสมบตั ิ ๑) สถานภาพ หมายถึง ต�าแหนง่ ทางสงั คมทีบ่ คุ คลไดร้ บั จากการเปน็ สมาชิกของ เพอื่ ตอตานนโยบายของรฐั สงั คม สถานภาพแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คอื สถานภาพท่ีติดตัวมาแต่ก�าเนดิ เชน่ เปน็ ชาย เปน็ หญงิ เปน็ พอ่ เปน็ แม ่ เป็นลูก เปน็ หลาน เป็นคนไทย เป็นต้น และสถานภาพท่ไี ดม้ าด้วยการ 3. ครูนําภาพประชาชนลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ใช้ความร้คู วามสามารถของบุคคล เช่น เปน็ คร ู เปน็ นกั เรียน เป็นแพทย์ เป็นต้น ภาพประชาชนขามถนนตรงทางมาลาย ภาพ ประชาชนทาํ ความสะอาดชมุ ชนมาใหน กั เรยี น ๒) บทบาท หมายถงึ การปฏิบตั ิตนตามสถานภาพของตนเอง ซง่ึ ในแตล่ ะคนก็มี ดู จากนน้ั ครตู ง้ั คาํ ถามกระตนุ ความสนใจ เชน บทบาทท่ีคล้ายคลึงหรือแตกต่างกันไป และในตัวบุคคลหนึ่งอาจมีบทบาทหลายบทบาท เช่น • นกั เรียนเคยปฏบิ ตั ิตนตามภาพเหลานี้ นายด�ารงเดชมีลูกหนึ่งคน นายด�ารงเดชมีสถานภาพเป็นพ่อมีบทบาทในการเล้ียงดู ให้ความรัก หรือไม เมอื่ ปฏบิ ตั แิ ลว รูสกึ อยา งไร ความอบอนุ่ ใหก้ ารศกึ ษา และอบรมสงั่ สอนลกู ใหเ้ ปน็ คนด ี ขณะเดยี วกนั ในฐานะทนี่ ายดา� รงเดชเปน็ • นกั เรยี นคดิ วา การปฏบิ ตั ติ นตามภาพเหลา นี้ สงผลดตี อการอยรู ว มกันในสงั คมอยา งไร ประชาชนไทยคนหนงึ่ นายดา� รงเดชกม็ บี ทบาท ในการเป็นพลเมืองด ี เช่น มีความหวงแหนใน ชาต ิ ศาสนา และสถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ ปฏบิ ตั ิ ตามกฎกตกิ าบา้ นเมืองอยา่ งเครง่ ครัด เป็นตน้ ๓) สทิ ธ ิ หมายถงึ ประโยชนข์ อง บคุ คลทก่ี ฎหมายใหก้ ารรบั รองและความคมุ้ ครอง เช่น บุคคลผู้มีสัญชาติไทยมีสิทธิได้รับการ สง่ เสรมิ สนบั สนนุ และไดร้ บั การชว่ ยเหลอื จากรฐั ไตดา้มรับบบทรบิกัญาญรสัตาิแธหา่งรรณัฐธสรุขรแมลนะูญส วเัสชดน่ ิก าสริทจธาทิกรจี่ ัฐะ1 นักเรยี นมีบทบาทส�าคัญ คือ การต้งั ใจศกึ ษา หาความร้ ู สทิ ธใิ นการรบั รขู้ อ้ มลู ขา่ วสาร สทิ ธใิ นกระบวนการ และเคารพกฎระเบียบของโรงเรยี น ยตุ ธิ รรม เปน็ ตน้ 8 นักเรียนควรรู กิจกรรม สรางเสรมิ 1 สวสั ดกิ ารจากรฐั การทร่ี ฐั ใหห ลกั ประกนั แกป ระชาชนทกุ คนอยา งเทา เทยี ม ใหนักเรียนยกตัวอยางบุคคลท่ีนักเรียนรูจัก หรือบุคคลที่มี กันในดานปจจัยพื้นฐานท่ีจําเปนสําหรับการมีคุณภาพชีวิตท่ีดี โดยรัฐจัดใหมี ชอ่ื เสยี งมา 5-6 คน (โดยคละสถานภาพ บทบาท และหนาทกี่ ัน) บรกิ ารพน้ื ฐานทสี่ าํ คญั เชน หลกั ประกนั ดา นสขุ ภาพ ดา นการศกึ ษา การมงี านทาํ จากนน้ั บอกวา แตล ะคนมสี ถานภาพ บทบาท สทิ ธิ หนา ที่ เสรภี าพ ดานสาธารณปู โภคพน้ื ฐาน อยางไร และมคี วามเกย่ี วของเชื่อมโยงระหวา งบุคคลกนั อยา งไร T10
นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ๔) เสรีภาพ หมายถึง ความมีอิสระในการกระท�าของบุคคลท่ีอยู่ในขอบเขตของ ขนั้ สอน กฎหมาย เช่น เสรภี าพในการพดู การเขียน เสรภี าพในการแสดงความคิดเหน็ สิทธิเสรีภาพ เป็นสิ่งท่ีรัฐธรรมนูญให้การรับรองและคุ้มครองไว้อย่างหลากหลาย ขน้ั ท่ี 2 สํารวจคน หา ตราบเท่าท่ีไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอื่น หรือไม่ขัดต่อศีลธรรมอันดีของประชาชน รวมทง้ั ไมก่ ระทบต่อความมั่นคงของรัฐและกระทบต่อความสงบเรียบร้อย 1. ครใู หน กั เรียนแบงกลุม ศกึ ษาคนควา เกี่ยวกับ สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หนา ท่ีใน ๕) หนา้ ท ี่ หมายถงึ ภาระหรอื ความรบั ผดิ ชอบของบคุ คลทจี่ ะตอ้ งปฏบิ ตั ิ เชน่ หนา้ ที่ ฐานะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย จาก ของบดิ าทม่ี ตี อ่ บตุ ร หนา้ ทข่ี องชนชาวไทยท่ีบัญญตั ไิ ว้ในรฐั ธรรมนูญ เช่น บคุ คลมหี น้าที่รกั ษาไว้ หนังสือเรียน สังคมศึกษาฯ ม.2 หรือจาก ซง่ึ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ บคุ คลมหี นา้ ทไ่ี ปใชส้ ทิ ธเิ ลอื กตง้ั เมอื่ มอี ายคุ รบ ๑๘ ปบี ริบรู ณ์ แหลง การเรยี นรูอน่ื ๆ เชน หนงั สอื ในหอ งสมุด บุคคลมหี นา้ ท่ีพทิ ักษ์ ปกป้อง และรว่ มสืบสานศลิ ปวฒั นธรรมของชาต ิ เปน็ ต้น เว็บไซตในอินเทอรเ น็ต 2.2 ก ารปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามสถานภาพ บทบาท สิทธ ิ 2. ครูแนะนําแหลงขอมูลสารสนเทศท่ีนาเชื่อถือ เสรภี าพ และหน้าท่ี ใหก ับนกั เรียนเพ่ิมเติม การปฏิบัติเป็นพลเมืองดีจะต้องค�านึงถึง ความรบั ผิดชอบทง้ั ต่อตนเอง ครอบครวั สังคม ขนั้ ท่ี 3 อธบิ ายความรู และประเทศชาต ิ ความรบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเอง เชน่ การตง้ั ใจ 1. สมาชิกแตละคนในกลุมนําขอมูลท่ีตนไดจาก ศึกษาเล่าเรียน ไม่ยุ่งเกี่ยวกับอบายมุข รู้จัก การรวบรวม มาอธิบายแลกเปลี่ยนความรู ประหยดั อดออม ระหวา งกัน ความรบั ผดิ ชอบตอ่ ครอบครวั เชน่ เชอื่ ฟงั ค�าส่ังของพ่อแม่ ปฏิบัติตามกฎระเบียบใน 2. จากน้ันสมาชิกในกลุมชวยกันคัดเลือกขอมูล ทน่ี ําเสนอเพื่อใหไดขอ มูลที่ถูกตอง 3. นักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนนําเสนอขอมูล หนาชั้นเรียนตามประเด็นที่ศึกษา อภิปราย และตอบคําถามรวมกนั ครอบครวั ส่วนความรับผิดชอบต่อประเทศชาติน้ัน ในฐานะพลเมืองดีจะต้องช่วยกันพัฒนาบ้าน การศึกษาอบรมเป็นการพัฒนาคนให้มีความสมบูรณ์ เมือง เพื่อให้ประเทศไทยน่าอยู่อาศัย ซ่ึงการ ทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา อีกท้ังมีสว่ นสา� คัญ ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามสถานภาพบทบาท ในการพฒั นาสงั คมให้เจรญิ กา้ วหน้าตอ่ ไปได้ สิทธ ิ เสรภี าพ๑ แ) ลกะหานรเา้ ขท้า่ีขรอับงกตนารอศยา่ึกงษเหา1มอาบะรสมม สกาามรศารึกถษการเะปท็น�ากไดาร ้ ดพงััฒนนี้ าคนให้มีความสมบูรณ์ ท้งั ร่างกาย จิตใจ และสตปิ ญั ญา เพอื่ น�าความรู้ไปใช้ในการดา� เนินชีวิตอยา่ งมีความสุข และเปน็ พ้ืนฐานในการประกอบอาชีพที่ม่ันคง รวมท้ังน�าความรู้ที่ได้รับมาพัฒนาประเทศชาติให้เจริญ ก้าวหนา้ ตอ่ ไปได้ 9 ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู ขอใดเปนการปฏบิ ัตติ นเปนพลเมอื งดตี ามสถานภาพ บทบาท 1 การเขารับการศึกษา ประชากรไทยมีสิทธิเสมอกันในการเขารับการศึกษา สิทธิ เสรภี าพ และหนา ท่ีของพลเมืองดีตามวถิ ีประชาธปิ ไตย ไมน อ ยกวา 12 ป ซง่ึ รัฐจะตอ งจดั ใหอ ยา งทว่ั ถงึ และมคี ุณภาพ โดยรฐั จะอดุ หนนุ คาใชจา ย สวนผยู ากไร ผพู กิ ารหรอื ทุพพลภาพ และผทู ีอ่ ยใู นสภาวะยากลาํ บาก 1. การนอนหลับทับสทิ ธ์ิ ในการศกึ ษาก็ตองไดร บั สทิ ธทิ างการศึกษาโดยทดั เทียมกันกบั บุคคลอน่ื 2. การเขารับการเกณฑท หาร 3. การหลบเล่ียงการเสียภาษีอากร สื่อ Digital 4. การใชไฟฟา และน้ําอยางฟุมเฟอย ศึกษาคนควาขอมูลเพ่ิมเติมเกี่ยวกับสิทธิ เสรีภาพขั้นพื้นฐานตามกรอบ (วิเคราะหค ําตอบ ตอบขอ 2. เพราะการเขา รบั การเกณฑท หาร รฐั ธรรมนญู ในบรบิ ทของสงั คมไทย ไดท ่ี http://www.peace.mahidol.ac.th/th/ ถือเปนหนาท่ีอยางหนึ่งของปวงชนชาวไทยตามที่รัฐธรรมนูญ บญั ญตั ไิ ว นอกจากน้ี ยังมีหนาทีอ่ ื่นๆ อีก เชน หนา ที่ในการเสีย ภาษอี ากร หนา ทใี่ นการไปใชส ทิ ธเิ ลอื กตง้ั หนา ทใ่ี นการรกั ษาไวซ ง่ึ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย) T11
นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั สอน ๒) การปฏบิ ตั ติ นตามกฎหมาย เมอ่ื ทกุ คนปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายอยา่ งเครง่ ครดั ยอ่ ม สร้างความเปน็ ระเบยี บเรยี บร้อยแกส่ งั คม ขนั้ ท่ี 3 อธบิ ายความรู ๓) การนบั ถอื ศาสนาและปฏบิ ตั ติ ามพธิ กี รรมทางศาสนาทต่ี นนบั ถอื เชน่ การ 4. ครูอานขอความตัวอยางใหนักเรียนฟง และ เข้ารว่ มพธิ ีกรรมทางศาสนา ปฏิบตั ิตนตามหลักธรรมทางศาสนา ถ้าพลเมอื งทกุ คนปฏบิ ัตติ นเปน็ สุมนักเรียนใหแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ ศาสนกิ ชนทด่ี ีต่อศาสนาแลว้ ยอ่ มกอ่ ให้เกดิ ความสงบสุข มคี วามมั่นคงทางจิตใจ สามารถเผชญิ สถานภาพ บทบาท สทิ ธิ เสรีภาพ หรือหนา ที่ ปญั หาตา่ ง ๆ ทเี่ ขา้ มาในชวี ติ สามารถจดั ระเบยี บ โดยขอความตัวอยาง เชน ชวี ติ ในสงั คม และสามารถควบคมุ ความประพฤติ • วรเจตนกลาวแสดงความคิดเห็นทางการ ตนเองในสังคมได้ เมอื งบนเวทีสาธารณะ • ณัฐพงษเดินทางไปลงคะแนนเสียงเลือกต้ัง และภูมิปัญญ๔า) ทก้อางรถส่ินบื 1 สเาพนื่อศนลิ �าปมวาฒัปรนับธใรชร้ใมน สมาชิกสภาผูแ ทนราษฎร การด�าเนินชีวิตและถ่ายทอดไปยังสังคมอื่นๆ เชน่ ประเพณวี ันสงกรานต ์ ซง่ึ มีการสรงน�้าพระ 5. ครใู หน กั เรยี นยกตวั อยา งบคุ คลในสงั คมทเ่ี ปน และรดน�้าด�าหัวผู้ใหญ่ เป็นการแสดงออกถึง แบบอยางในดานการสืบสานศิลปวัฒนธรรม ความมีสัมมาคารวะ ความกตัญญูต่อศาสนา และภมู ปิ ญ ญาทอ งถนิ่ แลว อภปิ รายถงึ ลกั ษณะ และผู้อาวุโส เป็นวันรวมญาติพี่น้องท่ีแสดงถึง การดําเนินชีวิตของบุคคลดังกลาว ตลอดจน ศิลปวัฒนธรรมอันดีงามของไทยอาจสูญหายไป ถ้าหาก ความสามัคคีปรองดอง และในวันสงกรานต์น้ี ประโยชนท ป่ี ระเทศชาตจิ ะไดร บั จากการสบื สาน เยาวชนของชาตไิ ม่ร่วมกนั สืบสาน วฒั นธรรมและภมู ปิ ญ ญาทอ งถ่นิ เปน็ ชว่ งอากาศรอ้ นกแ็ สดงใหเ้ หน็ ถงึ ภมู ปิ ญั ญาไทยทส่ี ามารถเลอื กประเพณที มี่ กี ารสาดนา�้ เลน่ นา�้ เพื่อบรรเทาความร้อน และเพ่ือความสนกุ สนานอีกดว้ ย 6. ครูใหนักเรียนรวมกันวิเคราะหเพิ่มเติมถึง นอกจากน้ี ยังเป็นการเผยแพร่ วธิ กี ารอนุรกั ษท รพั ยากรธรรมชาติ หรอื การใช ทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน และอภิปราย ขอมูลรว มกนั วัฒนธรรมประเพณีแก่ชาวต่างชาติ ดึงดูดให้ ชาวต่างชาติเข้ามาท่องเท่ียวในประเทศไทย และท�าให้เป็นฤดูกาลท่องเท่ียวน�ารายได้เข้าสู่ ประเทศได้อีกทางหน่ึง ๕) การร่วมมือในการอนุรักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสภาพแวดลอ้ มทาง ธรรมชาติ โดยการใช้ทรัพยากรให้เกิดคุณค่า มากที่สุด ลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติท่ีหา ไดย้ าก โดยการหาสง่ิ อนื่ มาทดแทน เชน่ การใช้ พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานน�้า การปลูกป่าชายเลนเป็นการช่วยอนรุ ักษ์ทรัพยากร พลงั งานชีวมวล พลงั งานชวี ภาพ เป็นตน้ ธรรมชาติของประเทศไดอ้ กี ทางหน่ึง ๑0 นักเรียนควรรู กจิ กรรม ทาทาย 1 ภูมิปญญาทองถ่ิน เปนความรูของชาวบานในทองถิ่น ซ่ึงไดมาจาก ใหนักเรียนสํารวจตนเองวาไดปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตาม ประสบการณและความคิดสรางสรรค รวมทง้ั ความรทู ่สี ั่งสมมาต้ังแตบ รรพบุรษุ สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ และหนาที่อยางไรบาง สืบทอดจากคนรุนหน่ึงสูคนอีกรุนหน่ึง มีการปรับเปล่ียนประยุกตจนเกิดเปน แลว จากการปฏบิ ตั นิ น้ั สง ผลดอี ยา งไร โดยใหเ ขยี นบนั ทกึ ลงในสมดุ ความรูใหมตามสภาพทางสังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอม เชน ภูมิปญญา แลวนํามาเลาใหเ พื่อนในช้นั เรยี นฟง เกย่ี วกับการทาํ มาหากนิ การจับปลา การทอผา การสานภาชนะดว ยไมไ ผ T12
นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ๖) การปฏิบัติตนตามค่านิยม1ท่ีดีงาม ค่านิยมท่ีดีงามของไทยมีหลายประการ ขนั้ สอน ไม่วา่ จะเป็นความรักชาต ิ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ มีความรับผิดชอบ ขยันหม่ันเพียร มคี วามรกั ข้นั ที่ 3 อธิบายความรู และภูมิใจในความเป็นไทย ซ่ึงพลเมืองดีควรน�าไปปฏิบัติในชีวิตประจ�าวัน เช่น การเข้าร่วมใน กิจกรรมท่ีแสดงออกถึงความเคารพเทิดทูนในสถาบันพระมหากษัตริย์ การอนุรักษ์และเผยแพร่ 7. ครูและนักเรียนอภิปรายรวมกันเกี่ยวกับ วัฒนธรรมไทย การเสียสละและทา� ประโยชน์เพือ่ ส่วนรวม เปน็ ตน้ การปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามสถานภาพ บทบาท สทิ ธิ เสรภี าพ และหนาท่ี ตลอดจน ๗) การไปใช้สิทธเิ ลือกตั้ง ผลของการปฏบิ ตั ิ และสมุ ตวั แทนนกั เรยี นเพอื่ ตอบคําถาม เชน ต้องไปใช้สิทธิเลือกต้ังเพื่อเลือกคนดีเข้าไปเป็น • นกั เรยี นคดิ วา การประหยดั และรจู กั วางแผน ตวั แทนบรหิ ารบา้ นเมอื ง ทง้ั ในระดบั ทอ้ งถนิ่ และ การใชเงิน สงผลดีตอตนเอง ครอบครัว ระดบั ประเทศ โดยปราศจากการรบั สนิ จา้ งรางวลั และประเทศชาตอิ ยา งไร (แนวตอบ การประหยัดและอดออมเปนการ ๘) การป้องกันประเทศ การที่ สรางภูมิคุมกันทางดานการใชจายเงินใน ปจจบุ ัน อนาคต หรอื ในยามฉกุ เฉนิ รวมถงึ ประเทศชาติจะมีความมั่นคงปลอดภัยได้นั้น เปนการวางแผนการใชจายเงินอยางคุมคา ประชาชนทกุ คนจะตอ้ งมสี ว่ นรว่ มในการปอ้ งกนั สรางความมั่นคงใหก บั ชีวติ ครอบครัว ท้ังน้ี ประเทศ รักษาเกยี รตภิ ูม ิ ผลประโยชนข์ องชาติ การประกอบอาชพี ทส่ี ุจรติ ด้วยความขยันหม่ันเพียร การออมยงั เปน ปจ จยั สาํ คญั ตอ การขยายตวั และสาธารณสมบัติของแผ่นดิน อีกทั้งร่วมมือ เป็นการสรา้ งรายได้ใหก้ บั ตนเองและประเทศชาติ ทางเศรษฐกิจ และสงเสริมเสถียรภาพ ในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั นอกจากน ้ี ประชาชนทวั่ ไปสามารถสอดสอ่ งดแู ลเพอื่ ปอ้ งกนั ทางเศรษฐกิจใหก ับประเทศชาติ) ผคู้ ิดทา� ลายประเทศได้ เมอ่ื พบเห็นอะไรผดิ ปกติ ตอ้ งแจ้งให้ทางการรบี ด�าเนนิ การแก้ไข ๙) การประกอบอาชพี ทสี่ จุ รติ ดว้ ยความขยนั หมนั่ เพยี ร ถอื เปน็ การสรา้ งรายได้ ให้กับตนเองและประเทศชาติ สง่ ผลใหเ้ กดิ สภาพคล่องทางการเงิน ทา� ใหม้ คี วามเปน็ อยูท่ ด่ี ี ๑๐) การประหยัดและอดออม รูจ้ ักวางแผนการใช้จ่ายเงนิ เพือ่ ให้ไดส้ ่ิงของทีค่ ุม้ คา่ ทา� ใหฐ้ านะทางเศรษฐกจิ มนั่ คง พลเมอื งทดี่ ที กุ คนควรมวี นิ ยั ในการใชจ้ า่ ย รจู้ กั ประหยดั ไมส่ รุ ยุ่ สรุ า่ ย ซง่ึ จะเปน็ ผลดีตอ่ ตนเอง ครอบครัว และประเทศชาติ ๓. ผลจากการปฏบิ ตั ิตนเป็นพลเมืองดีตามวถิ ีประชาธิปไตย การปฏบิ ตั ติ นเปน็ พลเมอื งดตี ามวถิ ปี ระชาธปิ ไตยนนั้ มคี วามสา� คญั อยา่ งมากตอ่ ตนเอง สงั คม และประเทศชาต ิ ดังน้ี ๑. ท�าให้สังคมและประเทศชาติมีการพัฒนาไปได้อย่างมั่นคง เมื่อสมาชิกทุกคน ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ของตนด้วยความรับผิดชอบ รู้จักการเสียสละประโยชน์ส่วนตนเพ่ือ ผลประโยชน์ส่วนรวม มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และมีน้�าใจต่อกัน โดยยึดหลักศีลธรรมเป็นพื้นฐาน ในการปฏิบัติต่อกัน เชน่ นักเรียนมหี น้าที่ตัง้ ใจศกึ ษาหาความร ู้ และฝกึ ฝนพฒั นาศกั ยภาพของตน อยู่เสมอ เพื่อต่อไปในอนาคตจะได้น�าความรู้ความสามารถที่มีไปใช้ในการประกอบอาชีพของตน อยา่ งสจุ ริต และเปน็ ทรพั ยากรมนุษย์ท่ีมคี ุณภาพในการพฒั นาประเทศชาตติ อ่ ไป ๑๑ ขอสอบเนน การคดิ นักเรียนควรรู ขอใดคือบทบาทสําคัญที่สุดของประชาชนในการมีสวนรวม 1 คานิยม คือ แนวความคิด ความเช่ือ อุดมการณท่ีคนในสังคมยอมรับวา ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยตามทีร่ ฐั ธรรมนูญกําหนด เปน สงิ่ ดงี าม มคี ณุ คา ควรแกก ารนาํ ไปเปน แนวทางปฏบิ ตั ิ เพอ่ื ประโยชนส ขุ ของ ตนเองและสวนรวม คานิยมท่ีดีของสังคมไทย เชน การยกยองคนมีคุณธรรม 1. รวมกันจดั ตั้งพรรคการเมือง ศีลธรรม มเี มตตากรณุ าตอกนั มีน้ําใจ ชวยเหลอื ซ่งึ กันและกัน 2. ไปชว ยนกั การเมอื งทช่ี ่นื ชอบหาเสียง 3. แสดงความคิดเห็นทางการเมอื งตามส่ือตา งๆ 4. ไปใชสิทธทิ างการเมอื งของตนเองในการเลือกตั้งทกุ คร้ัง (วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. เพราะการไปใชสิทธิเลือกต้ัง ถือเปนการมีสวนรวมทางการเมืองการปกครองท่ีพึงปฏิบัติ และ ยังถือเปนหนาท่ีของชาวไทยตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ แหง ราชอาณาจกั รไทย) T13
นาํ สอน สรุป ประเมนิ ขนั้ สรปุ ๒. ท�าให้เกิดความรักและความสามัคคีในสังคม เม่ือสมาชิกทุกคนในสังคมรู้จัก เสียสละ ร่วมมอื รว่ มใจกนั ทา� กิจกรรมตา่ ง ๆ เพอื่ ส่วนรวม เช่น การร่วมกันอนุรักษส์ ภาพแวดล้อม ข้นั ที่ 4 ขยายความเขาใจ ในทอ้ งถน่ิ ของตน ไมใ่ หม้ กี ารบกุ รกุ ทา� ลายปา่ การรว่ มบา� เพญ็ สาธารณประโยชนใ์ นวนั สา� คญั ตา่ งๆ เช่น ร่วมกันปลูกป่าในวันเข้าพรรษา เป็นต้น 1. ครูใหน กั เรยี นทําใบงานที่ 1.3 เร่อื ง สถานภาพ ซึ่งการท�างานร่วมกันนั้น ย่อมจะเป็นการสร้าง บทบาท สทิ ธิ เสรภี าพ หนา ทใ่ี นฐานะพลเมอื งดี ความสมั พันธท์ ด่ี รี ะหวา่ งกัน เกดิ ความรักความ ตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย โดยครแู นะนําเพ่มิ เติม สามัคคีของคนในชุมชนและประเทศชาติ และ เป็นการฝึกตนเองให้มีวิถีชีวิตในการอยู่ร่วมกัน 2. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกสมรรถนะฯ หนาท่ี พลเมอื งฯ ม.2 เกย่ี วกบั เรอ่ื ง สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หนาที่ในฐานะพลเมืองดีตาม วิถีประชาธิปไตย เพื่อเปนการบานสงครูใน ช่ัวโมงถดั ไป อย่างเหมาะสม ๓. ทา� ใหส้ งั คมมคี วามเปน็ ระเบยี บ เรียบร้อย เพราะทุกคนมีความรับผิดชอบต่อ รตะนเบเอยี งบแ ลกะตสกิ ่วานขรอวงมส งั ครู้จมัก1 เกชาน่ ร ปกฏาริบขัตา้ ิตมนถตนานมตกรฎง พลเมืองดีควรร่วมมือกันประกอบกิจกรรมเพื่อประโยชน์ ทางม้าลายหรอื ใชส้ ะพานลอย เปน็ ตน้ ร่วมกันของสังคมในวันส�าคัญทางศาสนา เช่น ร่วมกัน ทา� ความสะอาดศาสนสถาน ๔. ทา� ใหส้ มาชกิ ในสงั คมอย่อู ย่างสนั ต ิ ถา้ สมาชกิ ในสังคมอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งมีความสขุ ย่อมส่งผลให้มีสุขภาพจิตท่ีดี เพราะเม่ือสมาชิกทุกคนปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดี โดยเร่ิมตั้งแต่ การเปน็ สมาชกิ ทด่ี ขี องครอบครวั โรงเรยี น และชมุ ชน จะทา� ใหเ้ กดิ ความสมั พนั ธท์ ด่ี รี ะหวา่ งกนั ของ ทกุ ๆ คน ไมเ่ กดิ ชอ่ งวา่ งทที่ า� ใหเ้ กดิ ความแตกแยกหรอื ความไมไ่ วว้ างใจกนั เชน่ การชว่ ยเหลอื กนั ในชมุ ชน การรว่ มกนั ทา� ความสะอาดชมุ ชนทต่ี นอาศยั อย ู่ โดยทช่ี มุ ชนไมแ่ บง่ เชอื้ ชาต ิ ศาสนา แบง่ สี แบ่งกล่มุ เปน็ ตน้ การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีเป็นหน้าท่ี ของสมาชกิ ในสงั คม ไมว่ า่ จะอยใู่ นสงั คมขนาดเลก็ หรอื ขนาดใหญ ่ เพราะการเปน็ พลเมอื งดจี ะทา� ให้ การอยู่ร่วมกันในสังคมเป็นไปอย่างสันติสุขและ พัฒนาสังคมให้เจริญก้าวหน้าต่อไปโดยสมาชิก ทกุ คนจะตอ้ งมหี ลกั การหรอื แนวทางในการปฏบิ ตั ิ ตนอยา่ งเหมาะสม นกั เรยี นควรไดพ้ ฒั นาตนเอง ใหเ้ ปน็ สมาชกิ ทดี่ ขี องครอบครวั โรงเรยี น ชมุ ชน การที่สมาชิกในสังคมรู้จักเสียสละร่วมมือร่วมใจกัน และเป็นพลเมืองดีของสังคมและประเทศชาติ ทา� กจิ กรรมตา่ ง ๆ เพอ่ื สว่ นรวม จะทา� ใหส้ งั คมมแี ตค่ วามรกั ตามวิถีประชาธปิ ไตย และความสามัคคกี ัน ๑2 นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคดิ 1 กติกาของสังคม เปนสิ่งที่ชวยใหคนในสังคมมีการประพฤติปฏิบัติไปใน การกระทําของบุคคลใดตอไปนี้ถือเปนการปฏิบัติตนเปน แนวทางเดยี วกนั ซงึ่ เปนสงิ่ ทีม่ ีความสาํ คัญอยา งมากตอการอยรู ว มกนั ในสังคม พลเมอื งดตี ามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย ในฐานะทเ่ี ราเปน พลเมอื งของสงั คม เราจงึ ควรเคารพในกตกิ าของสงั คม เพอ่ื ให สงั คมเกิดความสงบสุข 1. แกวใชชวี ิตอยา งสันโดษไมยุง เก่ยี วกับชาวบาน 2. แดงเลือกคบเฉพาะเพ่อื นทม่ี ีฐานะทางการเงินดี สื่อ Digital 3. นอ ยเขา รว มกับเพื่อนบานทาํ ความสะอาดทางเดินของ ศกึ ษาคน ควา ขอ มลู เพม่ิ เตมิ เกยี่ วกบั การลดความขดั แยง เพอ่ื การอยรู ว มกนั ชมุ ชน อยา งสันติตามวิถีประชาธปิ ไตย ไดท่ี http://www.kpi.ac.th/wiki/index.php 4. ตอมทะเลาะกบั เพื่อนบา นเพราะมคี วามเหน็ ทางการเมอื ง T14 ไมตรงกัน (วิเคราะหค าํ ตอบ ตอบขอ 3. เพราะเปนลักษณะของการมีจิต สาธารณะของคนในชุมชน ซ่ึงรวมแรงรวมใจกันทํากิจกรรมอัน เปน ประโยชนต อ ชมุ ชนของตนเอง อนั เปน รากฐานสาํ คญั ของสงั คม ประชาธิปไตย)
นาํ สอน สรปุ ประเมิน เสริมสาระ ขน้ั ประเมนิ หลกั การสาํ คัญของประชาธปิ ไตย ขน้ั ท่ี 5 ตรวจสอบผล ประชาชน การปกครองใน สิทธิเสรีภาพ 1. ครูและนักเรียนรวมกันตรวจสอบผลจากการ จะมโี อกาสที่เท่ากัน ระบอบประชาธิปไตย ของประชาชน ตอบคาํ ถาม การทาํ ใบงาน และการทาํ แบบฝก ในทางการเมือง จ�าเป็นต้องรับฟังเสียง ไดร้ บั การคมุ้ ครอง สมรรถนะฯ หนา ที่พลเมอื งฯ ม.2 เศรษฐกจิ สังคม สว่ นนอ้ ย และตดั สนิ โดยรัฐธรรมนญู ดว้ ยเสยี งขา้ งมาก 2. ครูประเมินผลโดยสังเกตจากการตอบคําถาม และการศึกษา การรวมกันทํางาน และการนําเสนอผลงาน เปน็ เกณฑ์ หนา ชัน้ เรยี น 3. ครตู รวจสอบผลจากการทาํ ใบงาน และแบบฝก สมรรถนะฯ หนาที่พลเมอื งฯ ม.2 อ�านาจอธิปไตย หลกั การสาํ คัญของ ยดึ กฎหมาย เปน็ ของ ประชาธปิ ไตย เปน็ หลักในการ ประชาชน ปกครองประเทศ เเผนผงั หลักการส�าคญั ของประชาธิปไตย ๑. อ�านาจสูงสุดในการปกครองประเทศ ซ่ึงเรียกกันว่า “อ�านาจอธิปไตย” เป็นอ�านาจท่ีมาจาก ปวงชนของประเทศ แบ่งการใชอ้ �านาจเป็น ฝา่ ยนติ ิบญั ญตั ิ ฝา่ ยบริหาร และฝ่ายตลุ าการ ๒. ความเสมอภาคภายใต้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยถือว่าทุกคนเสมอภาคเท่ากัน โดยความเสมอภาคในระบอบประชาธิปไตยจะให้ความส�าคัญกับความเสมอภาคทางโอกาสในทาง การเมือง เศรษฐกจิ สงั คม และการศึกษา ๓. สิทธิและเสรีภาพของประชาชน จะได้รับการคุ้มครองโดยรัฐธรรมนูญ เช่น สิทธิในทรัพย์สิน สทิ ธทิ างการเมอื ง เป็นตน้ นอกจากน้ ี ประชาชนมเี สรภี าพทีจ่ ะพดู เขยี นและวิพากษ์วิจารณ์ได้ภายใน กรอบของกฎหมาย รวมทง้ั มีหนา้ ทีท่ ่จี ะต้องปฏบิ ตั ิตามทีก่ �าหนดไว้ในรัฐธรรมนูญอีกด้วย เชน่ หนา้ ท่ีใน การไปใช้สิทธิเลือกต้ัง หน้าที่ในการเสียภาษีอากร หน้าท่ีในการรักษาไว้ซ่ึงการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย เป็นต้น ๔. การยึดถือกฎหมายเป็นหลักในการปกครอง ซึ่งหมายความว่าประชาชนทุกคนมีหน้าที่ที่จะ ต้องเคารพกฎหมาย ส่วนรัฐบาลมีหน้าท่ีที่จะต้องบังคับใช้กฎหมายต่อประชาชนทุกคนทุกกลุ่มอย่าง เทา่ เทียมและเสมอภาคกนั ๕. การปกครองในระบอบประชาธิปไตยเป็นการปกครองของประชาชน โดยประชาชน และ เพอ่ื ประชาชน จงึ มคี วามจา� เปน็ ตอ้ งอาศยั หลกั การเสยี งขา้ งมาก เพราะเสยี งเอกฉนั ทค์ งจะเปน็ ไปไดน้ อ้ ย จงึ กา� หนดใหใ้ ช้เสียงข้างมากเป็นเกณฑ์ แตใ่ นขณะเดียวกันกต็ อ้ งรบั ฟังเสยี งสว่ นน้อยด้วย ทีม่ า : ส�านกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ๑๓ ขอ สอบเนน การคิด แนวทางการวัดและประเมินผล ในระบอบการเมอื งการปกครองที่ดี ตองประกอบดว ยหลักการ ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจเนื้อหา เร่ือง สถานภาพ บทบาท สําคัญอะไรบา ง สทิ ธิ เสรภี าพ หนาที่ในฐานะพลเมอื งดตี ามวถิ ปี ระชาธิปไตย ไดจากการสืบคน และนาํ เสนอผลงานหนา ชน้ั เรยี น โดยศกึ ษาเกณฑก ารวดั และประเมนิ ผลจากแบบ (แนวตอบ ระบอบการเมอื งการปกครองทด่ี จี ะตองมีหลักสาํ คัญ ประเมนิ การนาํ เสนอผลงานทแี่ นบมาทายแผนการจัดการเรยี นรหู นวยที่ 1 เรื่อง ที่ประกอบดวย กฎหมาย ศีลธรรม และความยุติธรรม ซึ่งหาก พลเมอื งดีตามวิถปี ระชาธปิ ไตย การปกครองในประเทศใดประกอบดว ยหลกั การสาํ คญั 3 ประการ ก็ยอมสงผลใหการบริหารประเทศอยูบนพื้นฐานความถูกตอง แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน โปรงใส ประเทศชาติสามารถพัฒนาไดอยางเต็มทแี่ ละประชาชน มคี วามอยดู ีกนิ ดี) คาชแ้ี จง : ให้ผู้สอนประเมนิ ผลการนาเสนอผลงานของนักเรียนตามรายการ แลว้ ขดี ลงในช่องที่ ตรงกบั ระดับคะแนน ลาดบั ที่ รายการประเมนิ ระดับคะแนน 1 32 1 ความถกู ต้องของเน้อื หา 2 การลาดับขนั้ ตอนของเรื่อง 3 วธิ ีการนาเสนอผลงานอยา่ งสรา้ งสรรค์ 4 การใชเ้ ทคโนโลยีในการนาเสนอ 5 การมสี ่วนร่วมของสมาชิกในกลมุ่ รวม ลงชอ่ื ...................................................ผู้ประเมิน ............/................./................ เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมนิ สมบรู ณ์ชัดเจน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมินเป็นส่วนใหญ่ ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมินบางสว่ น เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 12 - 15 ดี T15 8 - 11 พอใช้ ตา่ กว่า 8 ปรบั ปรงุ
นาํ นํา สอน สรปุ ประเมนิ ขนั้ นาํ (5Es Instructional Model) ๔. แนวทางการสง่ เสริมให้ปฏบิ ตั ติ นเป็นพลเมืองดตี ามวถิ ี ประชาธปิ ไตย ข้ันที่ 1 กระตุนความสนใจ ในสังคมท่ีเป็นประชาธิปไตย การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีเป็นปัจจัยส�าคัญท่ีจะท�าให้สังคม 1. ครนู าํ ตวั อยา งขา วใหน กั เรยี นสนทนารว มกนั วา ประชาธปิ ไตยเปน็ สังคมท่มี ีความสงบสุขและช่วยพัฒนาประเทศชาติใหม้ ีความเจรญิ กา้ วหน้าหรอื จากตัวอยางขาวดังกลาวมีความเก่ียวของกับ อาจกล่าวไดว้ ่า ถา้ ชาวไทยทุกคนปฏบิ ตั ิตนเปน็ พลเมืองดตี ามวถิ ีประชาธิปไตย ประเทศไทยกจ็ ะ แนวทางการสง เสรมิ ใหป ฎบิ ตั ติ นเปน พลเมอื งดี เจรญิ ก้าวหนา้ ทดั เทียมกับนานาอารยประเทศและจะอยู่ร่วมกนั ได้อยา่ งสงบสขุ ตามวิถปี ระชาธปิ ไตยอยางไร ๔แน.๑วท ากงากรารทปา�ฏกบิ จิตั ติกนรเรป็นมพทลี่สเมง่ อื เงสดรตี ิมามกวิถรีปะรบะชวานธปิกไาตรยททสี่าา�งคปัญร มะีดชงั านธี้ ิปไตย1 2. ครูใหนักเรียนรวมกันยกตัวอยางกิจกรรมใน กระบวนการทางประชาธิปไตย แลวสนทนา ประกอบการตัง้ คาํ ถาม เชน สงิ่ สา� คญั ของการเปน็ พลเมอื งดตี ามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย คอื การปฏบิ ตั ติ นและดา� เนนิ ชวี ติ ตาม • นกั เรยี นเคยเขา รว มกจิ กรรมใดบา ง และเมอื่ วถิ ปี ระชาธปิ ไตย ซงึ่ ถา้ หากสมาชกิ ในสงั คมเขา้ รว่ มกจิ กรรมตา่ ง ๆ ตามกระบวนการประชาธปิ ไตย เขา รว มแลว รสู กึ อยางไร ก็จะช่วยให้ทุกคนอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข ไม่เกิดความรุนแรง มีการเคารพสิทธิเสรีภาพซ่ึงกัน • กิจกรรมในกระบวนการทางประชาธิปไตย และกัน เมื่อเกิดความขัดแย้งก็สามารถแก้ไขได้โดยใช้เหตุผล ท้ังน้ี การท�ากิจกรรมร่วมกันใน ดังกลา ว มวี ตั ถปุ ระสงคเ พื่ออะไร กระบวนการทางประชาธิปไตยไม่ได้มีเพียงแต่กิจกรรมทางการเมืองการปกครองเท่านั้น แต่ยังมี กจิ กรรมอกี หลายดา้ นทสี่ ามารถดา� เนนิ ตามกระบวนการประชาธปิ ไตยไดใ้ นทกุ ภาคสว่ นของสงั คม 3. ครูสุมถามนักเรียนถึงแนวทางการสงเสริมให เริ่มจากการปฏิบัติภายในครอบครัว โรงเรียน ชุมชน ไปจนถึงสังคม ซึ่งการท�ากิจกรรมท่ีช่วย ปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย สง่ เสริมกระบวนการทางประชาธปิ ไตย มีดงั นี้ ในความรูค วามเขาใจของนักเรยี นเพม่ิ เติม ศึกษาหาความร้เู กย่ี วกบั น�ากระบวนการประชาธปิ ไตย ขนั้ สอน กระบวนการประชาธิปไตย มาปรับใช้ในชวี ติ ประจ�าวัน • อา่ นหนังสอื • รับฟงั ความคดิ เห็นผู้อ่นื ข้ันที่ 2 สาํ รวจคน หา • คน้ คว้าขอ้ มลู • แสดงความคิดเหน็ อยา่ งมีเหตุผล • เข้ารว่ มงานเสวนา • ยอมรบั เสยี งสว่ นมากและเคารพเสยี ง ครใู หน กั เรยี นแบง กลมุ กลมุ ละ 5-7 คน ศกึ ษา • พดู คยุ แลกเปลี่ยนความรู้กบั ผู้อ่ืน กิจกรรม สว่ นนอ้ ย คนควาเก่ียวกับแนวทางการสงเสริมใหปฏิบัติตน ที่สง่ เสรมิ เปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย จากหนังสือ กระบวนการทาง เรยี น สงั คมศกึ ษาฯ ม.2 หรอื จากแหลง การเรยี นรู อน่ื ๆ เชน หนงั สอื ในหอ งสมดุ เวบ็ ไซตใ นอนิ เทอรเ นต็ โดยครูแนะนาํ เพิ่มเตมิ เผยแพร่ความรู้ดา้ นประชาธปิ ไตย ประชาธปิ ไตย ติดตามขา่ วสารขอ้ มลู เกีย่ วกับ • ปฏิบตั ติ นให้ผู้อน่ื เห็นเป็นตัวอยา่ ง กระบวนการประชาธปิ ไตย • ชักชวนผอู้ ืน่ ใหป้ ฏิบัตติ าม • สนใจตดิ ตามขา่ วสารขอ้ มลู ทางดา้ น • จ ดั กจิ กรรมทีใ่ ห้ความรดู้ ้าน การเมอื งอยเู่ สมอ ประชาธิปไตย • ม วี ิจารณญาณในการเลอื กรบั ขอ้ มลู ขา่ วสาร ๑๔ นักเรียนควรรู กิจกรรม สรางเสรมิ 1 กิจกรรมท่ีสงเสริมกระบวนการทางประชาธิปไตย เปาหมายของการทํา ใหนักเรียนวางแผนการปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถี กิจกรรมสงเสริมกระบวนการทางประชาธิปไตย ก็เพ่ือเปนการปูพื้นฐาน ประชาธิปไตยวา นักเรียนคิดจะปฏิบัติตนอยางไรบาง โดยเขียน ประชาธิปไตยใหแกนักเรียน จะไดรูจักและปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท แผนการปฏิบัติลงในสมุดบันทึก จากน้ันปฏิบัติตนตามแผนท่ี หนาที่ และสิทธิของตนเองตามวิถีประชาธิปไตยไดอยางถูกตอง และสามารถ วางไว แลวทําการสรุปผลวาจากการปฏิบัติตนนั้น กอใหเกิด ดํารงตนใหอ ยใู นสังคมไดอ ยา งเปนสุข ผลดีอยา งไรบา ง กิจกรรม ทาทาย ใหนักเรียนคิดหาแนวทางท่ีจะชวยสงเสริมการปฏิบัติตนเปน พลเมอื งดตี ามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย แลว เขยี นอธบิ ายลงในกระดาษ A4 วามีแนวทางใดบาง และมีวิธีใดที่จะชักชวนใหคนรอบขางปฏิบัติ ตนเปน พลเมอื งดตี ามแนวทางทนี่ กั เรยี นวางไว แลว นาํ สง ครผู สู อน T16
นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ๑) ศึกษาหาความรู้เก่ียวกับกระบวนการทางประชาธิปไตย การท่ีเราเป็น ขนั้ สอน พลเมอื งของประเทศทม่ี กี ารปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย เราควรมคี วามสนใจศกึ ษาหาความรู้ ในหลักการรวมถึงกระบวนการทางประชาธิปไตยท่ีถูกต้อง ซึ่งสามารถท�าได้หลายวิธี เช่น อ่าน ขัน้ ท่ี 3 อธิบายความรู หนงั สอื เกย่ี วกบั กระบวนการทางประชาธปิ ไตย คน้ ควา้ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั กระบวนการทางประชาธปิ ไตย จากหน่วยงานรฐั ทีเ่ ก่ยี วข้อง เขา้ ร่วมนทิ รรศการท่ใี ห้ความรู้ด้านประชาธิปไตย เข้าร่วมงานเสวนา 1. สมาชิกแตละคนในกลุมนําขอมูลท่ีตนไดจาก ในหวั ขอ้ ทเ่ี กย่ี วกบั ประชาธปิ ไตย พดู คยุ แลกเปลยี่ นความรกู้ บั ผทู้ ม่ี คี วามรใู้ นเรอ่ื งกระบวนการทาง การรวบรวม มาอธิบายแลกเปลี่ยนความรู ประชาธิปไตย ระหวางกัน ๒) นา� กระบวนการประชาธิปไตยมาปรับใช้ในชีวิตประจ�าวัน กระบวนการทาง 2. จากนน้ั สมาชกิ ในกลมุ ชว ยกนั คดั เลอื กขอ มลู ท่ี ประชาธิปไตยน้ัน มิได้ใช้ในด้านการเมืองการปกครองเพียงอย่างเดียว แต่สามารถน�ามาปรับใช้ นาํ เสนอเพ่อื ใหไ ดขอ มลู ท่ถี ูกตอ ง ในการด�าเนินชีวิตประจ�าวันได้ท้ังในครอบครัว โรงเรียน และชุมชน เช่น เม่ืออยู่ในครอบครัว ควรเคารพและปฏิบัติตามกฎระเบียบหรือข้อตกลงภายในครอบครัวอย่างเคร่งครัด ปฏิบัติต่อ 3. นักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนนําเสนอขอมูล สมาชิกในครอบครัวด้วยความเอื้ออาทร เปิดโอกาสให้สมาชิกทุกคนแสดงความคิดเห็นอย่างมี หนาช้ันเรียนตามประเด็นที่ศึกษา อภิปราย เหตผุ ล และไม่ใชค้ วามรนุ แรงในการแก้ปญั หาภายในครอบครัว เมือ่ อยใู่ นโรงเรยี น ควรเข้ารว่ มใน และตอบคาํ ถามรว มกันตามเวลาที่กาํ หนด กกาิจรกลรงรคมะตแ่านงน ๆเ สตยี างมเลกอื รกะตบง้ัวปนรกะาธราทนานงกัปเรระยี ชนา1 ธกิปารไตตดัยส เนิ ชใ่นจ เลกอืากรเเลขอืา้ รกว่ หมวั ชหมนรา้ มหกอ้ จิ งกโรดรยมใชอ้วยธิา่ งีกเาสรรโ ีหเมวอ่ืต ต้องท�างานกลุ่มก็มีการปรึกษาหารือกัน รับฟังความคิดเห็นของเพื่อน และเคารพในสิทธิและ 4. ครใู หนกั เรียนใชสมารต โฟนสบื คน ขาวทแ่ี สดง เสรีภาพของทุกคน เม่ืออยู่ในชุมชน ควรมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีเป็นประโยชน์ต่อชุมชน ถึงสิทธิ เสรีภาพของประชาชนชาวไทยตาม เช่น ร่วมกันท�าความสะอาดถนนในชุมชน เก็บขยะในแหล่งน�้าของชุมชน เข้าร่วมเป็นสมาชิก บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร สหกรณข์ องชมุ ชน ไทย เชน การชมุ นมุ อยา งสงบ การจดั ตง้ั พรรค การเมอื ง การรว มกนั เปน สมาคม การตรวจสอบ การใชอาํ นาจรฐั จากนนั้ นําขอ มลู มาอภิปราย รว มกัน 5. ครใู หน กั เรยี นรว มกนั เสนอแนวทางการใชส ทิ ธิ เสรภี าพในโรงเรยี นอยา งเหมาะสม และบอกถงึ ผลดที จี่ ะเกดิ ขนึ้ จากนนั้ อภปิ รายขอ มลู รว มกนั ๓) เผยแพรค่ วามรดู้ า้ นประชาธปิ ไตย เมอ่ื เรามคี วามรแู้ ละสามารถปฏบิ ตั ติ นตาม กระบวนการทางประชาธปิ ไตยได้อยา่ งถกู ตอ้ ง เราก็ควรเผยแพรใ่ ห้ผอู้ น่ื ไดร้ บั ทราบโดยการพูดคยุ ให้ผู้อ่ืนเห็นความส�าคัญของการปฏิบัติตนตามกระบวนการทางประชาธิปไตย โดยการปฏิบัติตน ใหเ้ หน็ เป็นตัวอย่าง มกี ารพูดคยุ ชักชวนให้ผู้อ่ืน ปฏบิ ตั ติ าม รวมถงึ สง่ เสริมกิจกรรมท่ีกอ่ ใหเ้ กดิ การปฏบิ ตั ติ นตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย เชน่ การจดั กิจกรรมให้ความรู้ความเข้าใจในกระบวนการ ทางประชาธปิ ไตย จดั การอภปิ รายเพอื่ แลกเปลยี่ น ความคดิ เหน็ ในประเดน็ ทเี่ กย่ี วกบั ประชาธปิ ไตย เผยแพร่ข้อมูลหรือแนวทางปฏิบัติตนตาม กระบวนการประชาธปิ ไตยทถ่ี กู ตอ้ งผา่ นสอ่ื ตา่ ง ๆ อยา่ งเหมาะสม การอภปิ รายแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ เปน็ อกี หนงึ่ กจิ กรรม ทสี่ ่งเสรมิ กระบวนการประชาธปิ ไตย ๑5 กิจกรรม เสรมิ สรางคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค นักเรียนควรรู ครใู หนักเรยี นทํากิจกรรมตนไมป ระชาธปิ ไตย โดยแบง นักเรยี น 1 การลงคะแนนเสยี งเลือกตั้งประธานนักเรยี น มขี ้นั ตอน ดงั นี้ ออกเปน 2 กลุม ใหออกแบบตน ไมโดยใชกระดาษหรือวัสดอุ นื่ ตาม 1. ผูม สี ิทธิเลือกตง้ั ตรวจสอบรายช่อื ผูม ีสิทธิเลอื กตงั้ ความเหมาะสม ดังนี้ 2. แสดงบตั รประจาํ ตัวนักเรียน และลงลายมือชื่อ 3. รับบตั รเลอื กต้งั กลุมท่ี 1 ออกแบบตน ไมต น ที่ 1 โรงเรยี นของเรา 4. เขาคหู า และกาเลือกเพยี งเบอรเ ดียวเทา น้นั กลุมท่ี 2 ออกแบบตนไมตน ท่ี 2 ประเทศของเรา 5. หยอนบัตรลงหีบเลอื กต้ัง ใหสมาชิกในกลุมรวมกันระดมสมองวา เราจะเสริมสราง ประชาธิปไตยในโรงเรียนและประเทศของเราอยางไร แลวเขียน สื่อ Digital ลงในใบไม ผลไม ไปตดิ บนตน ไมของกลมุ ตนเอง จากนนั้ คดั เลอื ก ความคิดเห็นกลุมละ 5 ขอ นํามาอภิปรายแนวทางการปฏิบัติตน ศึกษาคน ควา ขอ มลู เพ่มิ เตมิ เก่ยี วกับการจดั ตง้ั พรรคการเมือง ไดที่ และผลจากการปฏิบตั ิ http://www.ect.go.th/thai/party/ T17
นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขนั้ สอน ๔) ติดตามข่าวสารข้อมูลท่ีเกี่ยวกับกระบวนการประชาธิปไตย โดยติดตาม ขนั้ ที่ 3 อธบิ ายความรู ข่าวสารขอ้ มูลผ่านสื่อตา่ ง ๆ เช่น วิทย ุ โทรทศั น ์ หนงั สอื พิมพ์ อนิ เทอร์เนต็ อย่างมีวิจารณญาณ และน�าข่าวสารข้อมูลท่ีได้รับมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการด�าเนินชีวิตประจ�าวัน หรือน�ามาพูดคุย 6. นักเรียนแตละกลุมอธิบายการมีสวนรวมและ แลกเปล่ียนกันกับบุคคลรอบข้างเพื่อให้เกิดการแสดงความคิดเห็นทางด้านประชาธิปไตยอย่าง รับผิดชอบในกิจกรรมทางสังคม พรอมกับยก สรา้ งสรรค ์ เกิดมมุ มองใหมๆ่ ในการพฒั นากระบวนการทางประชาธิปไตย และช่วยสร้างจติ ส�านกึ ตัวอยางกิจกรรมทางสังคมที่มีบทบาทสําคัญ ทางด้านประชาธิปไตยใหแก่สมาชกิ ในสงั คม ในการพัฒนาสังคมประชาธิปไตย แลวเขียน อธิบายบนกระดาน วิเคราะห และอภิปราย ๔.2 การมีส่วนรว่ มและรบั ผดิ ชอบในกจิ กรรมทางสงั คม ขอ มลู รวมกนั พลเมอื งดใี นสงั คมประชาธปิ ไตยจะตอ้ งมสี ว่ นรว่ มและรบั ผดิ ชอบในกจิ กรรมทางสงั คมอยา่ ง 7. ครูสุมนักเรียนนําเสนอกิจกรรมทางสังคม ต่อเนอ่ื ง จงึ จะท�าให้สมาชิกในสังคมประชาธปิ ไตยอยู่ร่วมกนั ดว้ ยความรักและสามัคค ี และพัฒนา ท่ีนักเรียนสนใจอยากเขาไปมีสวนรวมคนละ สังคมให้เจริญก้าวหน้ามากขึ้นเร่ือย ๆ กิจกรรมทางสังคมที่มีความส�าคัญต่อการพัฒนาสังคม 1 กิจกรรม โดยใหน ักเรียนนําเสนอถงึ ลักษณะ ประชาธปิ ไตยท่พี ลเมืองดีจะต้องมสี ว่ นร่วมและรบั ผิดชอบในการปฏิบัติใหเ้ ปน็ ผลส�าเรจ็ มดี งั น้ี ของกิจกรรม วิธีปฏิบัติในการเขารวม และ ๑. การบ�าเพญ็ สาธารณประโยชน์ เชน่ ดแู ลรกั ษาสาธารณสมบตั ขิ องชมุ ชน อนุรกั ษ์ ประโยชนของกจิ กรรมท่ีมตี อสงั คม ทรพั ยากรธรรมชาติ ๒. การเสยี สละเพ่อื ส่วนรวม ช่วยเหลอื ผ้ดู อ้ ยโอกาสตามกา� ลงั และความสามารถของ ตนเอง เออื้ เฟื้อเผอ่ื แผ่มนี า้� ใจตอ่ ผ้อู นื่ ไม่เอารดั เอาเปรียบสงั คมส่วนรวม และปฏิบัตติ ่อผอู้ ืน่ ดว้ ย ความเทา่ เทยี ม ๓. เขา้ รว่ มทา� กจิ กรรมทมี่ ปี ระโยชน ์ เชน่ เลน่ กฬี า เลน่ ดนตร ี สรา้ งสรรคผ์ ลงานศลิ ปะ ในขณะเดียวกันก็หลีกเลี่ยงและไม่ให้การส่งเสริมในอบายมุขท้ังหลาย ไม่ว่าจะเป็นยาเสพติด การพนัน หรอื สอื่ ที่ไม่เหมาะสม หากพบเห็นการกระทา� ท่ไี ม่เหมาะสมดังกลา่ วก็แจ้งใหเ้ จา้ หนา้ ที่ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งทราบเพือ่ ด�าเนินการตอ่ ไป ๔. การร่วมมือกันสงเคราะห์คน พกิ ารหรอื ทพุ พลภาพ ให้ได้รบั สงิ่ อา� นวยความ สะดวกตา่ ง ๆ และมคี ณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ตี ามสมควร ๕. การร่วมมือกันในการป้องกัน สาธารณภยั ตา่ งๆ มิใหเ้ กิดข้นึ กับชมุ ชนของตน เช่น ต้องไม่ตัดไม้ท�าลายป่า อันเป็นสาเหตุ ส�าคัญทที่ �าใหเ้ กิดอทุ กภัย เปน็ ตน้ ก ารเข้าร่วมในกิจกรรมทางสังคมเป็นสิ่งส�าคัญต่อการ พัฒนาเด็กและเยาวชนให้เติบโตทั้งทางร่างกายและจิตใจ เพ่อื เปน็ พลเมืองท่ดี ีของสงั คมตอ่ ไปในอนาคต ๑6 เกร็ดแนะครู กจิ กรรม สรา งเสรมิ ครูควรจัดใหนักเรียนไดมีสวนรวมและรับผิดชอบในกิจกรรมทางสังคม ใหนักเรียนเขียนเรียงความบอกเลาประสบการณของตนเอง เชน การจดั กีฬาตานภัยยาเสพตดิ ภายในโรงเรียน การเขา รวมกจิ กรรมปลูกปา ท่ีเคยไดเขาไปมีสวนรวมและรับผิดชอบในกิจกรรมทางสังคม ชายเลน กิจกรรมอาสาสมคั รอานหนังสือใหค นตาบอด ทั้งน้ี เพือ่ ใหน ักเรยี นได โดยใหบอกถึงลักษณะกิจกรรมท่ีเขารวมและผลดีท่ีไดรับจากการ บาํ เพญ็ ตนใหเปน ประโยชนต อชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ เพ่ือชว ยขดั เกลา ทํากิจกรรม จากนน้ั ออกมาเลา ใหเพอื่ นฟง หนาชน้ั เรยี น จิตใจของนักเรียนใหมีความเสียสละ ความเมตตากรุณา และมีจิตสาธารณะ เพอ่ื สว นรวม กจิ กรรม ทา ทาย T18 ใหนักเรียนคิดโครงการที่มีเปาหมายเพ่ือสงเสริมการมี สว นรว มและรบั ผิดชอบในกิจกรรมทางสงั คม แลวเขียนในรปู แบบ การเสนอโครงการ โดยใหมรี ายละเอียดตางๆ ไดแก ช่อื โครงการ ผูรับผิดชอบโครงการ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงคและ เปา หมาย วิธกี ารดําเนนิ งาน แผนปฏิบตั งิ าน และระยะเวลาการ ดาํ เนนิ โครงการ
นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ๖. การร่วมมือกันท�านุบ�ารุงศาสนสถานให้เป็นสถานที่เหมาะแก่การพัฒนาจิตใจ ขน้ั สอน ของสมาชิกในสังคม และการประกอบกิจกรรมเพื่อส่วนรวม สามารถท�าได้โดยการลงแรง เช่น การท�าความสะอาดบริเวณวัด หรือซ่อมแซมส่วนท่ีเสียหาย รวมถึงการบริจาคเงินหรือปัจจัย ข้นั ท่ี 3 อธิบายความรู ต่าง ๆ ตามก�าลงั ความสามารถของเรา ๗. การร่วมมือกันอนุรักษ์ หรือฟื้นฟูจารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะหรือ 8. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเพ่ิมเติมถึง วฒั นธรรมอนั ดงี ามของท้องถ่นิ และของชาติ ความสําคัญของสาธารณสถานภายในชุมชน และบอกถึงวิธีการปฏิบัติตนเพื่อดูแลรักษา ๔.๓ การดแู ลรกั ษาสาธารณประโยชนแ ละสง่ิ แวดลอ้ มของชุมชน สาธารณสถานเหลาน้นั และประเทศ 9. ครูใหนักเรียนใชสมารตโฟนสืบคนขาวที่ พลเมืองดีในสังคมประชาธิปไตยจะต้องดูแลรักษาสาธารณประโยชน์และสิ่งแวดล้อม เก่ียวของกับการรองเรียนปญหาสาธารณ- ของชุมชนและประเทศ ท้ังนี้เพราะสาธารณสถานสร้างไว้เพ่ือประโยชน์ร่วมกันของสังคม และ สถาน แลวอภิปรายรวมกันในชั้นเรียนเพ่ือหา สิ่งแวดล้อมที่ดีเป็นปัจจัยท่ีจะช่วยให้สังคมมีความสะดวกสบายและมีคุณภาพชีวิตท่ีดี ซึ่งมี สาเหตุของปญหาและแนวทางการดูแลรักษา แนวทางในการปฏบิ ตั ติ นเพอื่ วตั ถุประสงคด์ งั กลา่ วหลายแนวทาง ดังน้ี สาธารณสถานรว มกนั ๑. ชว่ ยรกั ษาและบา� รงุ ถนนหนทางใหอ้ ยใู่ นสภาพด ี เพอ่ื จะไดใ้ ชป้ ระโยชนร์ ว่ มกนั เปน็ เวลานาน เชน่ ผใู้ ชร้ ถบรรทกุ ไมค่ วรบรรทกุ นา้� หนกั เกนิ กวา่ ทก่ี ฎหมายกา� หนด เพราะจะทา� ใหถ้ นน หนทางชา� รุดและเสือ่ มสภาพเร็วขน้ึ ทา� ให้สิน้ เปลืองงบประมาณ เปน็ ต้น ๒. ป้องกันมิให้บุคคลใดท�าลายสาธารณสถานท่ีประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน เช่น ทีพ่ กั รมิ ทางหรือท่พี กั รอรถประจ�าทาง สวนสาธารณะ เปน็ ต้น การอนรุ กั ษ์สง่ิ แวดลอ้ มและรักษาสาธารณประโยชน์ของนักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร ์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม ่ เปน็ การสรา้ ง ประโยชน์ใหแ้ ก่สังคม ถือเปน็ แนวทางหนึ่งในการปฏิบัตติ นเปน็ พลเมอื งดี ๑๗ ขอ สอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู นกั เรยี นสามารถมสี ว นรว มในการดแู ลรกั ษาสาธารณประโยชน ครูอาจใหนักเรียนแบงกลุมเพ่ือจัดทําโครงการจิตอาสาพัฒนาสาธารณ- และสิ่งแวดลอมในชมุ ชนของตนเองไดด วยวิธีใดบาง ประโยชนและรักษาส่ิงแวดลอมในโรงเรียนหรือชุมชน โดยแตละกลุมกําหนด หลักการ วัตถุประสงค ระยะเวลา วิธีการดําเนินการ ผลที่คาดวาจะไดรับ (แนวตอบ ทําไดห ลายวธิ ี เชน ไมข ีดเขียนหรือทาํ ลายตูโทรศพั ท เมอ่ื โครงการไดร บั การอนมุ ตั ิ แลว จงึ นาํ ไปปฏบิ ตั แิ ละบนั ทกึ ผล จากนน้ั สง ตวั แทน สาธารณะ โบราณสถาน โบราณวัตถตุ างๆ ไมท้ิงขยะลงในแมน ้าํ ออกมาสรปุ ทห่ี นาชน้ั เรยี น ลาํ คลองในหมบู า น ชว ยกันสรางศาลาพกั รอ น หรือท่พี ักผโู ดยสาร และบํารุงรักษาใหอยูในสภาพดี คอยสอดสองดูแลไมใหมีการ ลกั ลอบตดั ไมท ําลายปา หากพบเบาะแสใหรบี แจงเจาหนาท่ี) T19
นาํ สอน สรุป ประเมนิ ขนั้ สรปุ ๓. คุ้มครองส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมให้คงอยู่ในสภาพดีตลอดไป และ ป้องกันมิให้เกิดมลพิษต่อส่ิงแวดล้อม ซ่ึงอาจก่อให้เกิดผลกระทบที่จะเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ขั้นที่ 4 ขยายความเขาใจ และสวัสดภิ าพของสมาชกิ ในสังคม ตลอดจนทรพั ยากรธรรมชาติ ๔. ป้องกันมิให้บุคคลใดท�าให้ 1. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายและทบทวน สงิ่ แวดลอ้ มเสอ่ื มโทรม อนั จะทา� ใหค้ ณุ ภาพชวี ติ ความรู โดยชวยกันสรุปสาระสําคัญ หรือใช ของสมาชกิ ในสงั คมเสอ่ื มโทรมลง เช่น จะต้อง PPT สรุปสาระสําคญั ของเน้อื หาทีไ่ ดศกึ ษามา มีมาตรการในการควบคุมไม่ให้บุคคลใดท้ิงขยะ ลงไปในแม่น้�าล�าคลอง ซ่ึงจะท�าให้น�้าเน่าเสีย 2. ครูใหน ักเรยี นทําใบงานที่ 1.4 เรอื่ ง พฤตกิ รรม และทา� ใหส้ ตั วน์ า้� ด�ารงชวี ติ อยูไ่ มไ่ ด้ รวมทงั้ ต้อง ของพลเมอื งดี ป้องกันมิให้ผู้ ใดตัดไม้ท�าลายป่า ซึ่งจะท�าให้ สภาพแวดลอ้ มธรรมชาตเิ สยี หายและขาดความ 3. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกสมรรถนะฯ หนาที่ พลเมืองฯ ม.2 เกี่ยวกับเร่ือง แนวทางการ สงเสริมใหปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตาม วิถีประชาธิปไตย เพ่ือเปนการบานสงครูใน ชวั่ โมงถัดไป ก ารมสี ว่ นรว่ มในการดแู ลรกั ษาสง่ิ แวดลอ้ มของชมุ ชนและ สมดุล อันเปน็ สาเหตขุ องอทุ กภัยและภัยแล้งที่ ประเทศ ถอื เปน็ การสรา้ งประโยชน์ใหแ้ กส่ งั คมทพี่ ลเมอื งดี เกิดขึ้นในหลาย ๆ พื้นทข่ี องประเทศไทย ทุกคนพงึ ปฏิบตั ิ ๕. ส่งเสรมิ และให้ความรว่ มมือในการใชพ้ ลงั งาน อนั เปน็ สาธารณประโยชนท์ ี่ส�าคญั ในการขบั เคลอื่ นความกา้ วหนา้ และการดา� รงชวี ติ ประจา� วนั ของพลเมอื งในประเทศ เชน่ พลงั งานนา้� พอนลุรังักงาษนพ์ ไลฟงั ฟงาา้ น พ ลเชงั ง่นา นกเาชร้อื ใชเพ้พลลิงัง งเพานือ่ ทนดา� ไแปทสนกู่ ากรามรีพใชลพ้ งั งลาังนงาใชน้ออยยา่่างงยป่ังรยะนืห ยโดดั ยแแลนะควุม้ทคางา่ 1ก ตารลใอชด้แจลนะ การหมุนเวียนพลงั งานเพื่อน�ากลับมาใชใ้ หม่อย่างมีประสทิ ธภิ าพ การใชพ้ ลงั งานทางเลอื ก เช่น พลังงานแสงอาทติ ย์ พลังงานลม ถอื เปน็ การชว่ ยอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาตขิ องประเทศ ๑8 ไดอ้ ีกทางหนึง่ นักเรียนควรรู ขอ สอบเนน การคิด 1 การใชพลังงานอยา งประหยดั และคมุ คา สามารถทําได ดงั น้ี ใครมบี ทบาทสาํ คัญทส่ี ุดในการแกไ ขปญหาสิง่ แวดลอ ม 1. วธิ ปี ระหยดั นา้ํ เชน ปด กอ กนาํ้ ใหส นทิ ทกุ ครงั้ เมอ่ื เลกิ ใชง าน เลอื กใชอ ปุ กรณ เสื่อมโทรมภายในชุมชน ประหยัดนา้ํ เชน กอกประหยัดนํ้า ชักโครกประหยดั นาํ้ หมนั่ ตรวจสอบ การรั่วซึมของนํ้าภายในบา น 1. สาํ นกั งานเขต 2. วิธีประหยดั ไฟฟา เชน ปด เครื่องใชไ ฟฟาทกุ ครง้ั เมอื่ เลกิ ใชง าน เลือกใช 2. กรมควบคมุ มลพิษ อุปกรณไ ฟฟา แบบประหยดั พลงั งาน ปดไฟในเวลาพกั เทย่ี ง หรอื เมือ่ เลิก 3. เจาหนาท่ีส่ิงแวดลอ ม ใชงาน ควรปด เครอื่ งปรับอากาศทุกครั้งหากออกจากหองเกิน 1 ชั่วโมง 4. สมาชกิ ภายในชุมชน และตง้ั อุณหภมู ิที่ 25 องศาเซลเซยี ส ขึ้นลงอาคารช้นั เดยี วไมควรใชล ฟิ ต 3. วิธีประหยัดนํ้ามัน เชน ดับเครื่องยนตทุกครั้งเม่ือตองจอดรถนานๆ (วิเคราะหค าํ ตอบ ตอบขอ 4. สมาชกิ ในชุมชนจะตองตระหนัก ตรวจสอบลมยางเปนประจํา ควรใชเกียรใหเหมาะสมกับสภาพเสนทาง วา ปญ หาสงิ่ แวดลอ มในชมุ ชน เปน ปญ หาของสว นรวม ตอ งเขา มา ไมบ รรทุกน้ําหนักเกนิ พิกัด รับรู รับทราบ รวมถึงเขามามีสวนรวมในการหาแนวทางแกไข ปญ หา ซง่ึ หากชาวบา นมกี ารแสดงความคดิ เหน็ และรบั ฟง กนั กจ็ ะ T20 นาํ ไปสกู ารรว มมอื เพอ่ื แกป ญ หาสงิ่ แวดลอ มไดอ ยา งยง่ั ยนื แสดงถงึ การเปน ชุมชนที่สามารถพงึ่ พาตนเองได)
นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ๖. ดูแลรักษาทางน�้าสาธารณะอันเป็นหน่ึงในเส้นทางคมนาคมที่ส�าคัญของประเทศ ขนั้ ประเมนิ มใิ หม้ สี ง่ิ กดี ขวางทท่ี า� ใหท้ างนา้� ตนื้ เขนิ และตอ้ งไมร่ กุ ลา�้ ทางสาธารณะจนไมส่ ามารถใชส้ ญั จรไปมาได้ ๗. ดูแลรักษา และอนุรักษ์โบราณสถาน โบราณวัตถุ อันเป็นสาธารณสมบัติ และ ข้นั ท่ี 5 ตรวจสอบผล สาธารณประโยชน์ของชุมชนและประเทศ เช่น การไม่ขีดเขียน การไม่ท�าลาย การไม่หยิบฉวย หรอื กระท�าการใด ๆ ท่กี ่อให้เกิดความเสยี หายกับโบราณสถาน โบราณวัตถุ ซึ่งถือเป็นสมบตั ลิ �า้ ค่า 1. ครูและนักเรียนรวมกันตรวจสอบผลจากการ ของพลเมืองทุกคนในประเทศที่จะต้องช่วยกนั ดแู ลรกั ษาใหค้ งอยู่สบื ไป ตอบคาํ ถาม การทาํ ใบงาน และการทาํ แบบฝก สมรรถนะฯ หนา ทพี่ ลเมอื งฯ ม.2 ในการศกึ ษา โบราณสถาน เป็นมรดกอันมีค่าของชาติ พลเมืองดีต้องร่วมกันดูแลรักษาในฐานะสาธารณสมบัติและสาธารณประโยชน์ เกี่ยวกับแนวทางการสงเสริมใหปฏิบัติตนเปน ท่ีส�าคญั ของประเทศใหค้ งอยู่ต่อไป พลเมอื งดตี ามวิถีประชาธิปไตย จากทก่ี ลา่ วมาขา้ งตน้ จะเหน็ ไดว้ า่ หากสมาชกิ ในสงั คมทกุ คนสามารถพฒั นาตนเอง 2. ครูมอบหมายใหนักเรียนทําช้ินงาน/ภาระงาน ใหเ้ ปน็ พลเมืองดีของสงั คม คอื เป็นคนที่เคารพในเหตผุ ล ปฏบิ ตั ิตนตามสถานภาพ บทบาท (รวบยอด) รายงานผลการปฏิบัติตนเปน สทิ ธ ิ หนา้ ท ี่ เคารพสทิ ธเิ สรภี าพของบคุ คลอน่ื มจี ติ สาธารณะ เคารพกฎหมาย และมคี ณุ ธรรม พลเมอื งดตี ามวถิ ีประชาธิปไตย จริยธรรม ตามวถิ ีประชาธปิ ไตยได ้ ย่อมจะสง่ ผลดีท้งั ตอ่ ตนเอง สงั คม และความสงบสุขของ ประเทศชาติโดยรวม ซึ่งถา้ คนไทยส่วนใหญ่ประพฤตปิ ฏบิ ัตติ นเปน็ พลเมอื งด ี ประเทศก็จะเกดิ 3. ครใู หน กั เรยี นทาํ แบบวดั ฯ หนา ทพ่ี ลเมอื งฯ ม.2 ความสงบสุข ปราศจากความขดั แย้ง ประเทศชาติกย็ ่อมพัฒนาเจรญิ ก้าวหน้าได้อย่างรวดเรว็ เร่ือง พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย เพ่ือ ทดสอบความรูทไ่ี ดศ ึกษามา 4. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน หนวยการเรียนรูที่ 1 เร่ือง พลเมืองดีตาม วถิ ปี ระชาธปิ ไตย 5. ครูประเมินผลโดยสังเกตจากการตอบคําถาม การรวมกันทํางาน และการนําเสนอผลงาน หนาช้นั เรียน 6. ครูตรวจสอบผลจากการทําใบงาน แบบฝก สมรรถนะฯ และแบบวดั ฯ หนา ทพ่ี ลเมอื งฯ ม.2 ๑9 กิจกรรม 21st Century Skills แนวทางการวัดและประเมินผล ครแู บง นักเรียนออกเปน 2 กลมุ ทํากจิ กรรม “ออกแบบชมุ ชน ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจเนื้อหา เรื่อง แนวทางการสงเสริม ประชาธิปไตย” โดยใหแตละกลุมสืบคนขอมูลชุมชนตนแบบจาก ใหปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ไดจากการตอบคําถาม แหลง การเรียนรตู า งๆ และวเิ คราะหลกั ษณะชุมชนของตนเอง เชน การรวมกันทํางานและการและนําเสนอผลงานหนาช้ันเรียน โดยศึกษาเกณฑ การมีสวนรวมในกิจกรรมตางๆ ของสมาชิกในชุมชน ปญหาใน การวัดและประเมินผลจากแบบประเมินการนําเสนอผลงานที่แนบมาทาย ชุมชน การปองกนั แกไ ขและพฒั นาชุมชน เพอ่ื นาํ ขอ มลู ที่สบื คนมา แผนการจัดการเรยี นรูห นว ยท่ี 1 เร่ือง พลเมืองดีตามวิถีประชาธปิ ไตย ใชในการออกแบบชุมชนประชาธิปไตย โดยใหกําหนดกิจกรรมใน ชมุ ชน 1 กจิ กรรม และกาํ หนดบทบาทของบุคคล ไดแ ก ผูน าํ ชมุ ชน แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน และสมาชิกในชุมชน สมาชิกแตละกลุมนําเสนอชุมชนของตนเอง ในรปู แบบทีห่ ลากหลาย คาช้แี จง : ใหผ้ ู้สอนประเมนิ ผลการนาเสนอผลงานของนักเรียนตามรายการ แลว้ ขดี ลงในชอ่ งท่ี ตรงกบั ระดับคะแนน ลาดับท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1 32 1 ความถกู ต้องของเนอื้ หา 2 การลาดับขน้ั ตอนของเรื่อง 3 วธิ กี ารนาเสนอผลงานอย่างสร้างสรรค์ 4 การใช้เทคโนโลยีในการนาเสนอ 5 การมสี ว่ นร่วมของสมาชิกในกลุ่ม รวม ลงชื่อ...................................................ผ้ปู ระเมิน ............/................./................ เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินสมบูรณช์ ดั เจน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ เป็นสว่ นใหญ่ ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินบางสว่ น เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 12 - 15 ดี 8 - 11 พอใช้ T21 ต่ากวา่ 8 ปรบั ปรุง
นาํ สอน สรปุ ประเมนิ เฉลย คําถามประจาํ หนวยการเรียนรู คÓถาม ประจÓหน่วยการเรียนรู้ ๑. สงั คมประชาธิปไตยมีลกั ษณะทีส่ �าคัญอยา่ งไร จงอธบิ าย 1. ลักษณะสําคัญของสังคมประชาธิปไตย เชน ๒. การเป็นพลเมอื งดี มคี ณุ ลกั ษณะอย่างไร ให้อธบิ ายพรอ้ มยกตวั อยา่ งประกอบ เปนสังคมท่ียึดหลักความเสมอภาค ยึดหลัก ๓. จงยกตัวอยา่ งผลที่เกิดจากการปฏิบตั ิตนเปน็ พลเมืองดีตามสถานภาพ บทบาท สทิ ธิ เสรีภาพ นิติธรรม เคารพในการตัดสินใจของฝาย ขา งมาก และใชเ หตุผลในการแกป ญ หา และหน้าท่ีทเ่ี กิดในชมุ ชน และประเทศชาติ ๔. นกั เรยี นสามารถปฏิบัติตนเป็นพลเมอื งดีของชมุ ชนและประเทศชาตไิ ดอ้ ย่างไรบา้ ง 2. 1) เปนบุคคลที่เคารพในเหตุผล เชน รับฟง ๕. จ งวเิ คราะหผ์ ลที่ได้รับจากการปฏบิ ตั ติ นเป็นพลเมืองดีตอ่ ตนเอง ชมุ ชน และประเทศชาติ ความคิดเหน็ ของผอู นื่ ๖. แนวทางส่งเสริมให้ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย สามารถท�าได้อย่างไร 2) เคารพศกั ดศิ์ รคี วามเปน มนษุ ย เชน ไมเ ลอื ก จงอธบิ าย ปฏบิ ัติ ไมแ สดงการดหู ม่นิ ตอ บุคคลอื่น กจิ กรรม สร้างสรรคพ์ ัฒนาการเรียนรู้ 3) เปนบุคคลท่ีมีจิตสาธารณะ เชน ชวยเก็บ เศษขยะภายในชมุ ชน กิจกรรมท ่ี ๑ น ักเรยี นแบง่ กลุ่ม โดยใหแ้ ต่ละกลมุ่ ระบสุ ถานภาพของตนเอง จากนั้นเช่อื มโยง 4) เปน บุคคลทีเ่ คารพกฎหมาย เชน การขบั รถ ถึงบทบาท สทิ ธิ เสรภี าพ และหนา้ ท่ีในฐานะการเปน็ พลเมืองดีท่ีมตี อ่ โรงเรียน ตามกฎจราจร เสียภาษอี ากรใหร ฐั ชมุ ชน และประเทศชาติ เป็นแผนผังความคดิ ใสก่ ระดาษรายงานส่งครผู สู้ อน 5) เปนบุคคลที่มีคุณธรรม จริยธรรมในการ กิจกรรมท ี่ ๒ น ักเรียนแบ่งกลุ่ม ร่วมกันสืบค้นบุคคลที่เป็นตัวอย่างของพลเมืองดีตามวิถี ดาํ เนนิ ชวี ิตประจําวนั เชน มีความซ่ือสัตย สุจริตในหนาท่ีการงาน มีความเสียสละตอ ประชาธปิ ไตยทเ่ี ปน็ ทร่ี ู้จกั ในสังคมไทย อภปิ รายเช่อื มโยงแนวทางการปฏิบัติตน สวนรวม เปน็ พลเมอื งดที นี่ กั เรยี นสามารถปฏบิ ตั ติ ามได ้ รวมถงึ ผลทจี่ ะไดร้ บั จากการปฏบิ ตั ิ นา� เสนอผลการอภิปรายร่วมกนั หน้าช้นั เรียน 3. เชน ทําใหสมาชิกในสังคมอยูรวมกันอยาง สันติสุข สังคมมีความเปนระเบียบเรียบรอย กจิ กรรมท ่ี ๓ ใ ห้นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ ท�ากจิ กรรม จติ อาสาพฒั นาชุมชน โดยให้แตล่ ะคนวางแผน เพราะทุกคนรจู กั รับผิดชอบตามบทบาท สิทธิ เสรีภาพ และหนา ที่ ท้ังตอ ตนเอง ชุมชน และ การทา� งาน เลอื กสถานท ี่ วธิ กี ารทา� กจิ กรรม และระยะเวลาทที่ า� เขยี นแผนการทา� งาน ประเทศชาติ ส่งครูเม่อื ลงมอื ปฏิบตั ิจรงิ ให้บันทกึ ผลการปฏิบตั งิ าน พร้อมถ่ายภาพประกอบ นา� เสนอผลงานในช้นั เรยี นและติดปา้ ยนเิ ทศ 4. ดําเนินชีวิตโดยยึดหลักกฎหมายและศีลธรรม เชน การประกอบอาชีพสุจริต การปฏิบัติ 20 ตามคานิยมท่ีดีงาม การรวมกันดูแลรักษา ส่ิงแวดลอมในชมุ ชน 5. ทําใหมีชีวิตท่ีสงบสุข มีความกาวหนาใน หนาท่ีการงาน และมีความมั่นคงในชีวิต อีกทั้งกอใหเกิดความรักและความสามัคคี ในสงั คมและประเทศชาติ 6. เชน การทาํ กจิ กรรมรว มกนั ในกระบวนการทาง ประชาธิปไตย การมีสวนรวมและรับผิดชอบ ในกิจกรรมทางสังคม และการดูแลรักษา สาธารณประโยชนของชุมชน เฉลย แนวทางประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาทักษะ ประเมินความรอบรู • ใชในการประเมินความรอบรูในหลักการพื้นฐาน กระบวนการความสัมพันธของขั้นตอนการปฏิบัติงาน รวมถึงทักษะการคิดในเรื่องตางๆ โดยท่ัวไป ซ่งึ เปนงาน หรอื ชิน้ งานที่ใชเ วลาไมน าน สาํ หรบั ประเมินรูปแบบน้ีอาจเปน คาํ ถามปลายเปด หรอื ผังมโนทศั น นิยมสําหรบั ประเมนิ ผูเ รียนรายบุคคล ประเมินความสามารถ • ใชในการประเมินความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแกปญหา ความสามารถในการใชทักษะชีวิต และ ความสามารถในการใชเทคโนโลยีของผูเรียน โดยงานหรือช้ินงานจะสะทอนใหเห็นถึงทักษะและระดับความสามารถในการนําความรูไปประยุกตใช ในชวี ติ ประจาํ วันในฐานะพลเมืองทด่ี ีของสังคม อาจเปนการประเมนิ จากการสังเกต การเขียน การตอบคาํ ถาม การวเิ คราะห การแกปญหา ตลอดจน การทํางานรว มกัน ประเมินทักษะ • ใชในการประเมินการแสดงทักษะของผูเรียน ในฐานะการเปนพลเมืองที่ดีของสังคมที่มีความซับซอน และกอเกิดเปนความชํานาญในการนํามาเปน แนวทางปฏิบัติจริงในชีวิตประจําวันอยางย่ังยืน เชน ทักษะในการส่ือสาร ทักษะในการแกปญหา ทักษะชีวิตในดานตางๆ โดยอาจมีการนําเสนอ ผลการปฏบิ ัติงานตอผูเกีย่ วขอ ง หรือตอสาธารณะ สงิ่ ทต่ี อ งคาํ นงึ ในการประเมนิ คอื จาํ นวนงานหรอื กจิ กรรมทผ่ี เู รยี นปฏบิ ตั ิ ซง่ึ ผปู ระเมนิ ควรกาํ หนดรายการประเมนิ และทกั ษะทตี่ อ งการประเมนิ ใหช ดั เจน T22
Chapter Overview แผนการจัด ส่อื ท่ีใช้ จดุ ประสงค์ วธิ สี อน ประเมิน ทกั ษะท่ีได้ คณุ ลกั ษณะ การเรยี นรู้ อันพงึ ประสงค์ 1. มีวนิ ัย แผนฯ ท่ี 1 - หนงั สอื เรียน 1. อ ธบิ ายขนั้ ตอนในการ การจดั การ - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น - ทกั ษะการท�ำให้ 2. ใฝ่เรียนรู้ กระบวนการใน สังคมศึกษาฯ ม.2 ตรากฎหมายได้อย่าง เรยี นรแู้ บบ - ตรวจการทำ� แบบฝกึ สมรรถนะ กระจ่าง 3. มุ่งมั่นในการ การตรากฎหมาย - แบบฝกึ สมรรถนะ ถูกต้อง (K) ร่วมมอื : และการคดิ หนา้ ทพี่ ลเมอื งฯ ท�ำงาน ม.2 และการคดิ 2. จ�ำแนกขน้ั ตอนในการ เทคนิคคคู่ ิด - ตรวจใบงานท่ี 2.1 หน้าทพี่ ลเมอื งฯ ม.2 ตรากฎหมายได้ (P) - ประเมนิ การน�ำเสนอผลงาน 1 - แบบทดสอบก่อนเรียน 3. เห็นคณุ ค่าของ - สงั เกตพฤตกิ รรม ช่วั โมง - PowerPoint กระบวนการในการตรา การท�ำงานรายบคุ คล - ใบงานท่ี 2.1 กฎหมายเพ่ิมมากขึน้ - สังเกตพฤตกิ รรม (A) การท�ำงานกลุ่ม - ประเมนิ คุณลักษณะ อันพงึ ประสงค์ แผนฯ ท่ี 2 - หนงั สือเรยี น 1. อธิบายวิธีการปฏบิ ัตติ น สบื เสาะ - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน - ทกั ษะการน�ำ 1. มวี ินัย กฎหมายท่ี สังคมศกึ ษาฯ ม.2 ตามกฎหมายทเี่ กย่ี วขอ้ ง หาความรู้ - ตรวจการทำ� แบบฝกึ สมรรถนะ ความรู้ไปใช้ 2. ใฝ่เรียนรู้ เกี่ยวขอ้ งกบั - แบบฝึกสมรรถนะ กบั ตนเองและครอบครวั (5Es และการคิดหน้าทพี่ ลเมอื งฯ 3. มุง่ มน่ั ในการ ตนเองและ และการคิด ได้ (K) Instructional ม.2 ทำ� งาน ครอบครัว หนา้ ทพี่ ลเมอื งฯ ม.2 2. วเิ คราะห์ผลการปฏบิ ัติ Model) - ตรวจใบงานที่ 2.1 - แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ตนตามกฎหมายท่ี - ประเมนิ การน�ำเสนอผลงาน 2 - PowerPoint เกีย่ วข้องกบั ตนเอง - สงั เกตพฤติกรรม - ใบงานท่ี 2.2 และครอบครวั ได้ (K) การท�ำงานรายบคุ คล ชั่วโมง 3. ประยกุ ต์ใชก้ ฎหมายท่ี - สังเกตพฤติกรรม เกีย่ วขอ้ งกับตนเอง การท�ำงานกลมุ่ และครอบครัวในชีวิต - ประเมินคณุ ลกั ษณะ ประจำ� วนั ได้ (P) อันพงึ ประสงค์ 4. เหน็ คณุ ค่าของการ ปฏิบัตติ นตามกฎหมาย ท่เี กยี่ วขอ้ งกับตนเอง และครอบครวั เพ่มิ มากขึ้น (A) T23
แผนการจดั ส่ือที่ใช้ จุดประสงค์ วิธสี อน ประเมิน ทกั ษะที่ได้ คณุ ลกั ษณะ การเรยี นรู้ อนั พงึ ประสงค์ แผนฯ ที่ 3 - หนงั สือเรียน 1. อธิบายแนวทางการ สบื เสาะ - ต รวจการทำ� แบบฝึก - ทักษะการน�ำ 1. มีวินัย กฎหมายท่ี สังคมศกึ ษาฯ ม.2 ปฏิบตั ติ นตามกฎหมาย หาความรู้ สมรรถนะและการคดิ ความรู้ไปใช้ 2. ใฝ่เรียนรู้ เกี่ยวขอ้ ง - แบบฝึกสมรรถนะ ทเ่ี ก่ยี วข้องกบั ชุมชน (5Es หนา้ ทีพ่ ลเมอื งฯ ม.2 3. มงุ่ ม่นั ในการ กับชุมชนและ และการคิด และประเทศชาตไิ ด้ (K) Instructional - ตรวจการท�ำแบบวดั และ ทำ� งาน ประเทศชาติ หน้าท่พี ลเมอื งฯ ม.2 2. วเิ คราะหผ์ ลการ Model) บนั ทกึ ผลการเรยี นรู้ - แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ปฏิบัตติ นตามกฎหมาย หนา้ ทีพ่ ลเมืองฯ ม.2 3 - PowerPoint ท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั ชุมชน - ตรวจใบงานที่ 2.3 - ใบงานท่ี 2.3 และประเทศชาตไิ ด้ (K) - ประเมนิ การน�ำเสนอผลงาน ชวั่ โมง 3. ประยกุ ต์ใช้กฎหมายท่ี - สังเกตพฤตกิ รรม เก่ยี วขอ้ งกับชุมชนและ การท�ำงานรายบุคคล ประเทศชาติในชีวติ - สังเกตพฤตกิ รรม ประจำ� วันได้ (P) การท�ำงานกลมุ่ 4. เหน็ คณุ ค่าของการ - ป ระเมินคุณลักษณะ ปฏิบตั ิตนตามกฎหมาย อนั พงึ ประสงค์ ทเี่ กี่ยวขอ้ งกับชมุ ชน - ตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี น และประเทศชาติ เพ่ิมมากขึน้ (A) T24
นาํ นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ๒หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ กฎหมายกบั การดาํ เนนิ ชวี ติ ขนั้ นาํ (วธิ กี ารสอนโดยการจดั การ ประจาํ วนั ¡®ËÁÒÂÁÕ¤ÇÒÁÊíÒ¤ÑÞ เรียนรูแบบรวมมอื : เทคนิคคูคิด) µ‹Í¡ÒôíÒà¹Ô¹ªÕÇÔµ¢Í§ àÃÒÍ‹ҧäà áÅжŒÒàÃÒ 1. ครูแจงใหนักเรียนทราบถึงวิธีสอนโดยการ »¯ÔºÑµÔµ¹¶Ù¡µŒÍ§µÒÁ จัดการเรียนรูแบบรวมมือ : เทคนิคคูคิด ¡®ËÁÒ¨Ðà¡Ô´¼Å´Õ ช่ือเรื่องที่จะเรียนรู จุดประสงคการเรียนรู ?Í‹ҧäà และผลการเรียนรู เมอ่ื คนหมมู่ ากมาอยู่รว่ มกนั เปน็ สงั คม จ�าเปน็ ที่จะตอ้ งมี กฎ ระเบยี บ ขอ้ บงั คับ ใหค้ นใน 2. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียนหนวย สงั คมประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ าม เพอื่ สรา้ งความสงบสขุ ใหเ้ กดิ ขน้ึ กบั สงั คม ซงึ่ กฎ ระเบยี บ และขอ้ บงั คบั การเรยี นรทู ี่ 2 เรอื่ ง กฎหมายกบั การดาํ เนนิ ชวี ติ ดังกล่าว ก็คอื “กฎหมาย” ประจาํ วนั กฎหมายที่ส�าคัญของประเทศไทยน้ันมีอยู่มากมาย ซ่ึงในท่ีน้ีจะกล่าวถึงกฎหมายส�าคัญท่ี เกี่ยวข้องกับตนเองและครอบครัว ได้แก่ กฎหมายเกี่ยวกับความสามารถของผู้เยาว์ กฎหมาย 3. ครนู าํ สนทนาดว ยการยกตวั อยา งขา วเหตกุ ารณ บตั รประจา� ตวั ประชาชน กฎหมายแพง่ เกย่ี วกบั ครอบครวั เชน่ การหมน้ั การสมรส การรบั รองบตุ ร กรณีศึกษาเกี่ยวกับการปฏิบัติและการละเวน การรบั บตุ รบญุ ธรรม และกฎหมายทเ่ี กย่ี วกบั ชมุ ชนและประเทศ ไดแ้ ก ่ กฎหมายเกย่ี วกบั ภาษอี ากร การปฏิบัติตามกฎหมาย และตั้งคําถาม กฎหมายแรงงาน กฎหมายปกครอง กฎหมายเกี่ยวกบั การอนุรักษ์ธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม เพื่อกระตุน ความสนใจของนักเรยี น เชน • นักเรียนเคยปฏิบัติตามกฎหมายใดบาง และมวี ธิ กี ารปฏิบตั อิ ยางไร (แนวตอบ ปฏิบัติตามกฎหมายจราจร เชน ขามถนนตรงทางมาลายหรือสะพานลอย เพ่ือใหเกิดความปลอดภัยท้ังตอตนเองและ ผใู ชรถใชถนนทัว่ ไป) ตัวชี้วัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง • ก ฎหมายท่เี กยี่ วข้องกับตนเอง ครอบครวั เช่น กฎหมาย ส ๒.๑ ม.๒/๑ อธิบายและปฏบิ ัตติ นตามกฎหมายที่ เก่ียวกับความสามารถของผู้เยาว์ กฎหมายบัตรประจ�าตัว เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครวั ชุมชน และประเทศ ประชาชน กฎหมายแพ่งเกยี่ วกับครอบครัว เชน่ การหม้ัน ส ๒.๒ ม.๒/๑ อธิบายกระบวนการในการตรากฎหมาย การสมรส การรบั รองบุตร การรบั บุตรบุญธรรม • กฎหมายที่เก่ยี วกบั ชมุ ชนและประเทศโดยสงั เขป - กฎหมายเก่ียวกับการอนรุ กั ษธ์ รรมชาติ - ก ฎหมายเก่ียวกับภาษีอากร และเน้นการกรอกแบบแสดงรายการ ภาษีเงินไดบ้ คุ คลธรรมดา - กฎหมายแรงงาน - กฎหมายปกครอง • กระบวนการในการตรากฎหมาย - ผูม้ สี ทิ ธเิ สนอรา่ งกฎหมาย - ขน้ั ตอนการตรากฎหมาย ๒๑ - การมีส่วนรว่ มของประชาชนในกระบวนการตรากฎหมาย เกร็ดแนะครู การเรียนเร่อื งกฎหมายกับการดําเนนิ ชีวติ ประจําวันมงุ เนนใหนกั เรียนมคี วามรูพ นื้ ฐานในกฎหมาย ไดแ ก กฎหมายที่เกยี่ วกับตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน และ ประเทศชาติ รวมถงึ กระบวนการในการตรากฎหมาย เพ่อื ใหน กั เรยี นปฏบิ ัติตามกฎหมายไดอยา งถูกตอ ง ดงั นั้น ครคู วรจดั การเรยี นรโู ดยใหนักเรียนทาํ กิจกรรม ดังตอ ไปน้ี • ศกึ ษาคน ควาขอมลู กฎหมายท่ีเก่ียวของกบั ตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน และประเทศชาติ • เขยี นแผนผังเพ่อื อธิบายกระบวนการตรากฎหมายของไทย • จัดทําส่อื เผยแพรค วามรูเก่ียวกบั แนวทางการสงเสริมใหค นในสงั คมปฏิบตั ิตนตามกฎหมาย T25
นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขนั้ สอน ๑. ความหมายและความสำคญั ของกฎหมาย 1. ครูใหนักเรียนชวยกันอธิบายวากฎหมายคือ ๑.๑ ความหมาย อะไร โดยออกมาเขยี นบนกระดาน จากนั้นครู เลอื กความหมายทน่ี ักเรียนเขียนมาอธบิ าย ความหมายของ “กฎหมาย” น้นั มนี กั ปรัชญาและนักกฎหมายใหค้ า� นยิ ามไวแ้ ตกตา่ งกัน เช่น หลวงจา� รูญเนติศาสตร ์ อธบิ ายว่า “กฎหมาย คือ กฎข้อบงั คบั ว่าด้วยการปฏบิ ตั ิซ่ึงผมู้ ีอ�านาจ 2. ครูนําขาวเก่ียวกับการกระทําของบุคคลที่มี ของประเทศได้บัญญตั ิขน้ึ และบงั คบั ใหผ้ ู้ท่ีอยใู่ นสงั กดั ของประเทศนนั้ ถอื ปฏบิ ัติตาม” ท้งั กระทาํ ถูกกฎหมายและผดิ กฎหมาย มาให พจนานุกรมศพั ทก์ ฎหมายไทย ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๔ อธบิ ายความหมาย นักเรียนวิเคราะหรวมกันวา การกระทําใด ของ “กฎหมาย” ว่า คือ กฎท่ีสถาบันหรือผ้มู ีอ�านาจสงู สุดในรฐั ตราข้นึ หรอื เกิดจากจารีตประเพณี เปนการกระทําที่เหมาะสม การกระทําใด อันเป็นท่ียอมรับนับถือเพ่ือใช้ในการบริหารประเทศ เพื่อใช้บังคับบุคคลให้ปฏิบัติตาม หรือเพื่อ เปนการกระทําที่ไมเหมาะสม และผลที่ไดรับ ก�าหนดระเบียบแหง่ ความสมั พันธ์ระหวา่ งบคุ คลหรอื ระหว่างบุคคลกบั รัฐ เปนอยา งไร จากท่ีกล่าวมาข้างต้น สรุปได้ว่า “กฎหมาย หมายถึง ข้อบังคับของรัฐอันเป็นส่วนหน่ึง ของการจดั ระเบยี บทางสงั คม เพอ่ื ใชค้ วบคมุ ความประพฤตขิ องพลเมอื ง หากผใู้ ดกระทา� การฝา่ ฝนื 3. ครูสุมนักเรียนจํานวน 2-3 คน ยกตัวอยาง จะต้องไดร้ ับโทษหรอื ผลรา้ ยอยา่ งใดอย่างหน่งึ โดยเจ้าหน้าท่ีของรัฐเป็นผู้ดา� เนินการบงั คบั ” กฎหมายที่นักเรียนรูจักคนละ 1 ตัวอยาง พรอมทั้งอธิบายพอสังเขปวาเปนกฎหมาย ๑.๒ ความส�าคัญของกฎหมาย เกีย่ วกบั อะไร จากน้ันครตู ้งั คําถาม เชน • กฎหมายมคี วามสาํ คญั อยา งไร ทุกสังคมจ�าเป็นต้องมีการก�าหนดกฎระเบียบข้ึนมา เพื่อควบคุมและจัดระเบียบสังคม ซ่ึง (แนวตอบ กฎหมายชวยใหสังคมมคี วามเปน กฎระเบียบของสงั คมขนาดใหญก่ ็คอื กฎหมายน่ันเอง ความส�าคญั ของกฎหมายสรุปได้ ดังนี้ ระเบียบ เปนสิ่งที่ควบคุมความประพฤติ ๑. สรา้ งความเปน็ ระเบยี บแกส่ งั คมและประเทศชาต ิ หากทกุ คนรถู้ งึ สทิ ธขิ องตนตาม และปฏิบัติของคนในสังคมใหเปนไปอยาง สบงทบบสญั ขุ ญ เตัชขิน่ อ สงกทิ ฎธิใหนมทารยพั วยา่ ม์สินมี าสกิทนธอ้ ิใยนเกพายี รงปใดระ แกลอะบไอมาล่ ชว่ ีพงล1า้� สทิ ธขิ องผอู้ นื่ สงั คมนนั้ กจ็ ะมแี ตค่ วาม ถูกตองตามบทบาทหนาท่ี รวมถึงเปน ๒. ท�าให้การบริหารและพฒั นาประเทศเป็นไปอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ การทีป่ ระชาชน แ บ บ แ ผ น ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ เ พื่ อ ใ ห สั ง ค ม มี ส่วนใหญ่ของประเทศรู้ถึงหน้าที่และปฏิบัติหน้าท่ีของตนตามกฎหมายอย่างเคร่งครัดก็จะท�าให ้ ระเบียบ สงผลใหคนในสังคมอยูรวมกันได การบริหารประเทศของรัฐบาลเป็นไปอยา่ งราบรืน่ และมสี ่วนช่วยพฒั นาประเทศให้เจรญิ กา้ วหนา้ อยางสงบสขุ ) เช่น หนา้ ท่ีในการเสยี ภาษีอากร หนา้ ทีใ่ นการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๓. เป็นหลักในการจัดระเบียบการด�าเนินชีวิตให้แก่ประชาชน ท�าใหส้ ังคมเกิดความ 4. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปความรูเก่ียวกับ เปน็ ระเบยี บเรียบร้อยขน้ึ เชน่ เม่ือมีเด็กเกิดใหม่ กฎหมายกก็ �าหนดใหเ้ จา้ บา้ นหรอื บดิ ามารดาไป ความหมายของกฎหมายและความสําคัญ แจ้งเกิด เพื่อขอรับสูติบัตรเป็นหลักฐานการเกิด เม่ืออายุครบ ๗ ปี กฎหมายก็ก�าหนดให้ต้อง ของกฎหมาย ท�าบัตรประจ�าตัวประชาชน เม่ือเสียชีวิต กฎหมายก็ก�าหนดให้ต้องแจ้งเจ้าหน้าที่เพื่อขอรับ ใบมรณบัตร กล่าวไดว้ า่ กฎหมายมีความสา� คญั ต่อสังคมเป็นอยา่ งมาก หากคนในสังคมรแู้ ละปฏบิ ัตติ น ตามกฎหมาย นอกจากจะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ประเทศชาตแิ ลว้ ผทู้ ไ่ี ดร้ บั ผลประโยชนส์ งู สดุ กค็ อื บคุ คล ผปู้ ฏบิ ัติตนตามกฎหมายนัน่ เอง ๒๒ นักเรียนควรรู ขอ สอบเนน การคิด 1 สิทธิในการประกอบอาชีพ เปนสทิ ธิ เสรภี าพอยา งหนึ่งของปวงชนชาวไทย หากทกุ คนปฏิบตั ิตามกฎหมายอยา งเครง ครดั ยอมสงผลตอ ซึ่งรฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทยไดม ีการรบั รองไว เชน สังคมและประเทศชาตอิ ยา งไร • บุคคลยอมมีเสรีภาพในการประกอบกิจการหรือประกอบอาชีพและ 1. ประเทศมีความอุดมสมบรู ณ การแขงขันโดยเสรีอยา งเปนธรรม 2. คนในสงั คมมีฐานะร่าํ รวยมั่งคง่ั 3. ไมมคี วามขดั แยงเกดิ ขน้ึ ในสังคม • บุคคลยอมมีสิทธิไดรับหลักประกันความปลอดภัยและสวัสดิภาพ 4. สงั คมเปนระเบยี บเรียบรอยและสงบสขุ ในการทํางาน รวมทั้งหลักประกันในการดํารงชีพท้ังในระหวางการ ทํางานและเม่อื พนภาวการณทาํ งาน ท้งั น้ี ตามทกี่ ฎหมายบัญญตั ิ (วิเคราะหคาํ ตอบ ตอบขอ 4. เพราะกฎหมายบญั ญัติข้นึ เพอ่ื การ จดั ระเบยี บทางสงั คม ถอื เปน กตกิ าทสี่ มาชกิ ในสงั คมตอ งปฏบิ ตั ติ าม บูรณาการอาเซียน หากทุกคนปฏิบัติตามกฎหมายอยางเครงครัดก็ยอมสงผลดี เชน ลดปญหาอาชญากรรม ลดอุบัติเหตุทางจราจร คนในสังคมจึง สําหรับประเทศไทยมีกฎหมายมากมายและจําเปนตองปรับปรุงแกไข อยูรวมกันไดอ ยางมคี วามสขุ รวมถงึ มคี วามปลอดภัยในชวี ติ และ กฎหมายตางๆ เพ่ือรองรับการเปล่ียนแปลงในสภาวการณปจจุบัน และเพ่ือ ทรพั ยสิน) ใหการบงั คับใชก ฎหมายอยูใ นเกณฑมาตรฐานสากลของประชมคมอาเซยี น T26
นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ๒. กระบวนการในการตรากฎหมาย1 ขนั้ สอน การตรากฎหมายแต่ละประเภท จะต้องเป็นไปตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายท่ีให้อ�านาจ 5. ครแู บง นกั เรยี นเปน กลมุ กลมุ ละ 6 คน คละกนั ในการตรากฎหมายไว ้ ดังน้ี ตามความสามารถ คอื เกง ปานกลางคอ นขา ง ๑. พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู เกง ปานกลางคอ นขางออ น และออน แลวให นกั เรยี นแตล ะกลมุ จบั คกู นั เปน 3 คู จากนน้ั ให กฎหมายที่ตราข้ึนในรูปแบบพระราชบัญญัติ เพ่ือก�าหนดรายละเอียดที่เป็นกฎเกณฑ์ส�าคัญเพิ่มเติม แตล ะครู ว มกนั ศกึ ษาความรเู รอื่ ง กระบวนการ บทบญั ญตั แิ หง่ รฐั ธรรมนญู ในบางมาตราทบี่ ญั ญตั หิ ลกั การไวอ้ ยา่ งกวา้ ง ๆ ในเรอ่ื งใดเรอื่ งหนง่ึ ใหม้ คี วามกระจา่ ง ในการตรากฎหมาย จากหนังสือเรียน สงั คม แจง้ ชดั เจน และสมบูรณย์ ิง่ ขนึ้ ซึ่งไม่ต้องบญั ญตั ิไวใ้ นตวั บทแห่งรัฐธรรมนูญให้มคี วามยาวมากเกินไป และ ศกึ ษาฯ ม.2 หรอื จากแหลง การเรยี นรอู น่ื ๆ เชน เพ่อื ทจี่ ะไดส้ ะดวกแกก่ ารแกไ้ ขเพ่มิ เติม การเสนอรา่ งพระราชบัญญัติประกอบรฐั ธรรมนญู จะเสนอได้ก็แตโ่ ดย หนงั สือในหองสมดุ เวบ็ ไซตใ นอินเทอรเนต็ คณะรัฐมนตรีโดยข้อเสนอแนะของศาลฎีกา ศาลรัฐธรรมนูญ หรือองค์กรอิสระท่ีเกี่ยวข้อง หรือสมาชิกสภา ผู้แทนราษฎรจ�านวนไมน่ อ้ ยกวา่ ๑ ใน ๑๐ ของจ�านวนสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรเทา่ ทม่ี ีอยู่ 6. ครูใหนักเรียนแตละกลุมนําขอมูลมาอภิปราย รว มกนั และนาํ ขอ มลู มาจดั ทาํ เปน ตารางแสดง ๒. พระราชบัญญัติ กระบวนการในการตรากฎหมายแตล ะประเภท ไดแก พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ บทบญั ญตั ิแห่งกฎหมายท่พี ระมหากษตั รยิ ์ทรงตราขน้ึ โดยค�าแนะน�าและยินยอมของรัฐสภา ซ่ึงประกอบ พระราชบัญญัติ พระราชกําหนด พระราช- ดว้ ยสภาผูแ้ ทนราษฎรและวฒุ ิสภา การเสนอร่างพระราชบญั ญตั ิจะเสนอได้กแ็ ตโ่ ดยคณะรฐั มนตร ี สมาชกิ สภา กฤษฎีกา กฎกระทรวง และขอบัญญัตอิ งคกร ผ้แู ทนราษฎรจา� นวนไมน่ ้อยกว่า ๒๐ คน หรือผมู้ สี ิทธเิ ลอื กตั้งจา� นวนไมน่ ้อยกว่า ๑๐,๐๐๐ คน โดยจะเข้าชอ่ื ปกครองสวนทองถ่ิน พรอมท้ังอธิบายวาเปน เสนอกฎหมายได้เฉพาะหมวดสิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย และหมวดหน้าท่ีของรัฐเท่าน้ัน โดยการ กฎหมายอะไรพอสังเขป พจิ ารณาร่างพระราชบัญญัตติ ้องเสนอตอ่ สภาผแู้ ทนราษฎรก่อน ๓. พระราชกา� หนด กฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นตามค�าแนะน�าของคณะรัฐมนตรี เพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉินท่ีมีความ จา� เปน็ รีบดว่ น อันมิอาจจะหลีกเลีย่ งได ้ เพอ่ื ประโยชนใ์ นการรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัย สาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรอื ป้องกนั ภยั พบิ ัติสาธารณะ เมือ่ ได้มกี ารตราพระราช- ก�าหนดขึ้น รัฐบาลตอ้ งนา� พระราชก�าหนดน้ันเสนอต่อสภาผแู้ ทนราษฎรและวุฒสิ ภาในการประชุมรัฐสภา เพ่อื ให้รัฐสภาใหค้ วามเหน็ ชอบและมีผลบงั คับใช้เป็นพระราชบัญญัติตอ่ ไป ๔. พระราชกฤษฎีกา กฎหมายทีพ่ ระมหากษตั รยิ ท์ รงตราขึน้ โดยค�าแนะนา� ของคณะรฐั มนตรี หรอื ฝ่ายบรหิ าร ตามอา� นาจที่ ก�าหนดไวใ้ นรฐั ธรรมนูญ หรอื ตามพระราชบญั ญตั ิ หรอื ตามพระราชกา� หนด เพือ่ การบรหิ ารราชการแผ่นดิน ของรัฐบาล โดยพระราชกฤษฎีกาถอื วา่ มศี กั ดต์ิ �า่ กว่าพระราชบัญญตั ิและพระราชกา� หนด ๕. กฎกระทรวง กฎหมายท่ีออกตามพระราชบัญญัติ หรือพระราชก�าหนด อันเป็นกฎหมายแม่บท ออกโดยฝ่ายบริหาร อนั ได้แก ่ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี ๖. ขอ้ บญั ญัติองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ กฎหมายทอ่ี งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ แตล่ ะแหง่ ตราขนึ้ และใชบ้ งั คบั เปน็ การทวั่ ไปภายในเขตอา� นาจของ องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ นนั้ เชน่ เทศบญั ญัติ ข้อบญั ญัตกิ รุงเทพมหานคร เปน็ ตน้ ๒3 ขอ สอบเนน การคดิ เกร็ดแนะครู ขอ ใดตอไปน้เี กยี่ วของกับพระราชกําหนด ครูควรอธิบายลําดับช้ันของกฎหมายไทยวามีอะไรบาง แลวใหนักเรียนได 1. กฎหมายแมบ ท ออกโดยฝายบริหาร มีสวนรว มในการทํากิจกรรม เชน ใหนักเรียนบอกการเรียงลาํ ดับกฎหมายไทย 2. ใชในกรณฉี กุ เฉินทีม่ ีความจาํ เปนรีบดวน ใหถูกตอง โดยที่ครูควรอธิบายเพ่ิมเติมวาในกฎหมายแตละลําดับมีความ 3. ตราขน้ึ เพื่อใชใ นเขตองคก รปกครองสว นทองถน่ิ แตกตางกันอยางไร เชน พระราชบัญญัติเปนกฎหมายที่พระมหากษัตริย 4. กฎหมายทพี่ ระมหากษตั รยิ ท รงตราขน้ึ ตามคาํ แนะนาํ ของวฒุ สิ ภา ทรงตราข้ึน โดยคําแนะนําและคํายินยอมของรัฐสภา ซึ่งตางจากพระราช- กฤษฎกี าทพ่ี ระมหากษตั รยิ ท รงตราขน้ึ โดยคาํ แนะนาํ ของคณะรฐั มนตรหี รอื ฝา ย (วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. พระราชกําหนด คือ กฎหมาย บริหาร ท่ีพระมหากษัตริยทรงตราขึ้นตามคําแนะนําของคณะรัฐมนตรี ในกรณีฉุกเฉิน เรงดวน เพื่อรักษาความปลอดภัยของประเทศ นักเรียนควรรู ปอ งกนั ภยั พบิ ตั สิ าธารณะ รกั ษาความมนั่ คงทางเศรษฐกจิ ตวั อยา ง พระราชกําหนด เชน พระราชกาํ หนดบรรษัทบรหิ ารสินทรัพยไ ทย 1 กระบวนการในการตรากฎหมาย กระบวนการหรือวิธีการในการออก พ.ศ. 2544 พระราชกําหนดกองทุนสงเสริมการประกันภัยพิบัติ กฎหมายเพ่ือบังคับใช ซึ่งเปนอํานาจหนาที่ของรัฐสภา โดยจะตองเปนไปเพ่ือ พ.ศ. 2555) ประโยชนส ุขสว นรวมของประชาชน เชน พระราชบญั ญัติ พระราชกาํ หนด T27
นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขนั้ สอน ๒.๑ ข้ันตอนการตรากฎหมาย 7. ครูใหน กั เรยี นแตละกลุม รวมกันศกึ ษาขัน้ ตอน ในทนี่ จ้ี ะขอกลา่ วถงึ กระบวนการตราพระราชบญั ญตั ิ เพอ่ื เปน็ ตวั อยา่ งในการศกึ ษา โดยทวั่ ไป การตรากฎหมายจากหนังสือเรียน สังคม รา่ งพระราชบญั ญตั นิ น้ั สามารถกา� หนดเรอื่ งตา่ ง ๆ ตามหลกั การทป่ี ระสงคจ์ ะใหม้ ผี ลบงั คบั ในสงั คม ศกึ ษาฯ ม.2 ประกอบการดแู ผนผงั กระบวนการ ได้ทุกเรอื่ ง มขี ้อจ�ากดั เพยี งว่าต้องไมข่ ดั หรอื แยง้ กบั รัฐธรรมนูญ หรือขดั ตอ่ หลกั กฎหมายอน่ื ตราพระราชบัญญัติ จากน้ันอภิปรายแสดง รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทยกา� หนดไว้ว่า รา่ งพระราชบญั ญัติใหเ้ สนอต่อสภาผูแ้ ทน ความคิดเห็นรว มกนั ราษฎรกอ่ น โดยฝา่ ยที่จะเสนอร่างพระราชบญั ญตั ไิ ดน้ นั้ มี ๓ ฝา่ ย คอื คณะรฐั มนตร ี สมาชกิ สภา ผแู้ ทนราษฎรจา� นวนไม่นอ้ ยกว่า ๒๐ คน และผู้มีสทิ ธเิ ลือกตง้ั จา� นวนไมน่ อ้ ยกว่า ๑๐,๐๐๐ คน ทา� การเขา้ ชอ่ื เสนอกฎหมาย ซงึ่ ในกรณผี มู้ สี ทิ ธเิ ลอื กตงั้ เสนอกฎหมายนน้ั จะสามารถเสนอกฎหมาย เฉพาะหมวดสทิ ธเิ สรภี าพของปวงชนชาวไทย และหมวดหนา้ ทขี่ องรฐั เทา่ นนั้ ตามวธิ ขี องกฎหมาย วา่ ด้วยการเขา้ ชอ่ื เสนอกฎหมายของผมู้ สี ิทธิเลือกตง้ั กระบวนการตราพระราชบญั ญตั ิ เสนอร่าง พ.ร.บ. คณะรัฐมนตรี รัฐสภา พระมหากษัตรยิ ์ ทรงลงพระปรมาภไิ ธย เสนอรา่ ง พ.ร.บ. สภราาษผแู้ฎทรน วุฒิสภา สส. จ�านวน นายกรัฐมนตรี ไมน่ ้อยกว่า ๒๐ คน ประกาศใน ราชกจิ จานุเบกษา เสนอรา่ ง พ.ร.บ. ผู้มีสิทธิเลือกต้งั พระราชบัญญัติ จ�านวนไม่น้อยกว่า ๑๐,๐๐๐ คน มีผลบังคับใช้ (เสนอได้เฉพาะกฎหมายทเี่ กย่ี วกับ หมวดสทิ ธิเสรีภาพของปวงชน ชาวไทย และหมวดหน้าที่ของรัฐ) ๒๔ เกร็ดแนะครู ขอ สอบเนน การคิด ครูอาจจัดกิจกรรมใหนักเรียนไดเขารวม เชน จัดแขงขันการตอบปญหา พระราชบญั ญตั จิ ะมีผลบงั คบั ใชอ ยางสมบูรณเ มื่อใด โดยใหค รเู ปน ผตู งั้ คาํ ถามตา งๆ ทเ่ี กย่ี วกบั กระบวนการในการตรากฎหมาย แลว 1. วุฒิสภามมี ตเิ หน็ ชอบ ใหน กั เรยี นแขง ขนั กนั ตอบเพอื่ สะสมคะแนน ซง่ึ จะชว ยกระตนุ การคดิ ของนกั เรยี น 2. พระมหากษัตรยิ ท รงลงพระปรมาภไิ ธย รวมถึงเปนการเปดโอกาสใหนักเรียนไดมสี ว นรวมในการทาํ กิจกรรม 3. ภายหลงั จากประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา 4. นายกรฐั มนตรนี าํ ขนึ้ ทลู เกลา ฯ ถวายพระมหากษตั รยิ ส่ือ Digital (วิเคราะหค าํ ตอบ ตอบขอ 3. รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย ศกึ ษาคน ควา ขอ มลู เพม่ิ เตมิ เกยี่ วกบั กระบวนการพจิ ารณารา งพระราชบญั ญตั ิ ไดบัญญัติไววา รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญและราง ไดท ี่ http://www.kpi.ac.th/wiki/index.php พระราชบัญญัติจะตราข้ึนเปนกฎหมายได ก็แตโดยคําแนะนํา และคํายินยอมของรัฐสภา และเมื่อพระมหากษัตริยทรงไดลง T28 พระปรมาภิไธย หรือถือเสมือนวาไดทรงลงพระปรมาภิไธยตาม รัฐธรรมนูญนี้แลว ใหประกาศในราชกิจจานุเบกษาเพื่อบังคับใช เปนกฎหมายตอไป)
นาํ สอน สรปุ ประเมนิ การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติจะต้องเสนอให้สภาผู้แทนราษฎรพิจารณาก่อน โดยมี ขน้ั สอน กระบวนการตราพระราชบัญญัตใิ นรัฐสภา ดงั ตอ่ ไปน้ี 8. ครูนําขาวเกี่ยวกับการพิจารณารางพระราช- ๑) การพจิ ารณาในสภาผ้แู ทนราษฎร ไดก้ �าหนดเปน็ ๓ วาระ ดงั นี้ บัญญัติของสภาผูแทนราษฎรมาใหนักเรียนดู แลวใหนักเรียนรวมกันสรุปขาววา เปนการ วาระท่ี หนึ่ง ขัน้ รับหลกั การ พิจารณารางพระราชบัญญัติอะไร มีขั้นตอน อยา งไร และมผี ลสรปุ อยา งไร จากนน้ั อภปิ ราย สภาจะพิจารณาและลงมติว่า จะรับหลักการไว้พิจารณาต่อไปหรือไม่ โดยผู้เสนอร่าง แสดงความคดิ เหน็ รวมกนั พระราชบญั ญตั ฉิ บบั นน้ั จะชแี้ จงหลกั การและเหตผุ ลประกอบการเสนอของรา่ งพระราช- บญั ญตั ิ เมอ่ื ผเู้ สนอชแี้ จงแลว้ กใ็ หส้ มาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรอภปิ รายได ้ ไมว่ า่ จะอภปิ ราย 9. ครูใหนักเรียนรวมกันเขียนแผนผังแสดง คา้ น หรือสนบั สนุน หรือถามขอ้ สงสัย หรอื ตั้งข้อสังเกต ประธานสภาผู้แทนราษฎรจะ กระบวนการตราพระราชบัญญัติในรัฐสภา เปิดโอกาสให้ผู้เสนอร่างตอบชี้แจงตามท่ีมีผู้ต้ังค�าถามหรือให้ข้อสังเกต เม่ือจบการ โดยเร่ิมจากวาระท่ี 1 ไปจนถึงวาระที่ 3 ลงบน กระดานหนาชั้นเรียน ประกอบการอธิบาย ฉอภบิปับรนาหี้ ยรแอื ลไ้วม ่ แปตรใ่ะนธบานางสกภราณจะีทขี่ปอรมะชตุมิจาจกะลทง่ีปมรตะชใิ หุมส้ วง่ ่าคจณะระับกหรรลมักากธาิกราแรห1พ่งจิพารระณราาชหบลัญักกญาัตริ หรือแสดงความคิดเหน็ รวมกนั แหง่ รา่ งพระราชบญั ญตั นิ น้ั กอ่ นกไ็ ดเ้ พอ่ื ประโยชนใ์ นการพจิ ารณา เมอื่ พจิ ารณาเสรจ็ แลว้ ก็จะท�ารายงานเสนอตอ่ สภาเพ่ือเขา้ สู่การพิจารณาของสภาตอ่ ไป วาระที่ สอง ข้นั พจิ ารณาในรายละเอยี ดของร่างพระราชบญั ญตั ิ มี ๒ ลักษณะ คือ ๑. สภาผู้แทนราษฎรมีมติให้ด�าเนินการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติโดยคณะ กรรมาธิการเต็มสภา ซึ่งจะใช้ส�าหรับการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติท่ีมีความจ�าเป็น ไรมีบ่มด่วากนนทัก่จี ะโตดอ้ ยงจอะอไกมใ่มชขี ้บนั้ งั ตคอับน กหารรือยเ่ืนปคน็ า�กขาอรพแปจิ ารรญณตั าตร2ิ ่างพระราชบญั ญตั ิที่มรี ายละเอยี ด ๒. สภาผู้แทนราษฎรมีมติแต่งต้ังและมอบหมายให้คณะกรรมาธิการคณะใดคณะ หนึง่ เปน็ ผู้พจิ ารณา การพิจารณาในลักษณะน ้ี หากวา่ สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรทีไ่ ม่ได้ รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมาธิการในคณะกรรมาธิการชุดนั้นเห็นควรแก้ไขเพิ่มเติมร่าง พระราชบญั ญตั ิ กใ็ หเ้ สนอคา� ขอ “แปรญตั ต”ิ ตอ่ ประธานคณะกรรมาธกิ ารทพ่ี จิ ารณารา่ ง พระราชบัญญัติน้ันได ้ ภายใน ๗ วนั วาระที่ สาม ข้ันลงมติเห็นชอบ สภาผแู้ ทนราษฎรจะลงมติเหน็ ชอบ แลว้ ใหส้ ่งตอ่ ไปยงั วุฒสิ ภา แตถ่ า้ ไมเ่ หน็ ชอบ ร่างพระราชบญั ญตั ิน้นั ก็เปน็ อันตกไป ๒5 ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู ในการพิจารณารางพระราชบัญญัติในวุฒิสภา ถาสภาลงมติ 1 คณะกรรมาธกิ าร ตามขอบังคับการประชมุ สภาผูแทนราษฎร พ.ศ. 2551 เหน็ ชอบ บคุ คลใดจะตองนาํ ขนึ้ ทลู เกลาถวายฯ พระมหากษัตรยิ กําหนดใหสภาต้ังคณะกรรมาธิการสามัญขึ้น 35 คณะ คณะละ 15 คน เชน เพอ่ื ทรงลงพระปรมาภไิ ธย คณะกรรมาธกิ ารการศึกษา คณะกรรมาธกิ ารเด็ก เยาวชน สตรี ผสู ูงอายุ และ ผูพกิ าร เพื่อพจิ ารณารายละเอียดของรา งกฎหมายใหรอบคอบ 1. นายกรฐั มนตรี 2 แปรญัตติ หมายถึง การแกถอยคําหรือเน้ือความในรางกฎหมายที่สภา 2. ประธานรัฐสภา รับหลักการแลว การแปรญัตตินั้นจะตองแปรเปนรายมาตรา การแปรญัตติ 3. ประธานศาลรฐั ธรรมนูญ โดยเพิ่มมาตราใหม หรือตัดทอนมาตราเดิม ตองไมขัดกับหลักการแหง 4. เลขาธกิ ารสํานักพระราชวงั พระราชบญั ญัตนิ ้ัน (วิเคราะหค ําตอบ ตอบขอ 1. หลงั จากทวี่ ฒุ สิ ภาใหค วามเหน็ ชอบ ในรางพระราชบัญญัติแลว นายกรัฐมนตรีจะตองเปนผูนําขึ้น ทูลเกลาถวายฯ พระมหากษัตริย เพ่ือทรงลงพระปรมาภิไธย และประกาศใชในราชกิจจานุเบกษา เพอ่ื ใหม ผี ลบังคับใชตอ ไป) T29
นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขนั้ สอน ๒) การพจิ ารณาในวฒุ ิสภา ใหก้ ระทา� เปน็ ๓ วาระ เช่นเดยี วกับการพิจารณาของ 10. ครูนําขาวเก่ียวกับการพิจารณาในวุฒิสภา สภาผแู้ ทนราษฎรแตจ่ ะตอ้ งพจิ ารณาตามกา� หนดเวลา กลา่ วคอื ถา้ หากเปน็ กรณขี องการพจิ ารณารา่ ง หรือการทํางานของวุฒิสภา มาใหนักเรียนดู พระราชบญั ญตั ทิ วั่ ไปตอ้ งพจิ ารณาใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภายใน ๖๐ วนั แตถ่ า้ เปน็ รา่ งทเ่ี กย่ี วดว้ ยเรอ่ื งการเงนิ แลวใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็น ตอ้ งพจิ ารณาใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภายใน ๓๐ วนั เวน้ แตว่ ฒุ สิ ภาจะไดล้ งมตขิ ยายเวลาออกไปเปน็ กรณพี เิ ศษ เก่ียวกับขาวดังกลาววา มีขั้นตอนอยางไร ไมเ่ กนิ ๓๐ วนั หากวฒุ สิ ภาพจิ ารณาไมเ่ สรจ็ ทนั ตามกา� หนดเวลาจะถอื วา่ วฒุ สิ ภาไดใ้ หค้ วามเหน็ ชอบ และมีผลสรุปอยางไร จากนั้นอภิปรายแสดง ร่างพระราชบญั ญัตินน้ั การพิจารณาของวุฒสิ ภาทา� ได ้ ๓ กรณ ี คือ ความคิดเห็นรวมกนั ๑. เห็นชอบ แล้วให้นายกรัฐมนตรีด�าเนินการน�าขึ้นทูลเกล้าฯ เพ่ือทรงลง พระปรมาภไิ ธย แ๒ล.ะ ปไมระเ่ หกน็าศชใอนบร าเปชกน็ จิกจาารนทุเวี่ บฒุ กสิ ษภาาใชยบับ้ ยงั คงั้ รบั า่ เงปพน็ รกะฎราหชมบาญั ยตญ่อตั ไ1นิปนั้ ไวก้ อ่ นและสง่ กลบั 11. ครูใหนักเรียนรวมกันเขียนแผนผังแสดง คืนไปยังสภาผูแ้ ทนราษฎร กระบวนการพิจารณาในวุฒิสภา ลงบน ๓. แก้ไขเพิ่มเติม โดยด�าเนินการแจ้งให้สภาผู้แทนราษฎรทราบเพ่ือจัดต้ัง กระดานหนาช้ันเรียนประกอบการอธิบาย คณะกรรมาธกิ ารรว่ มกนั พจิ ารณารา่ งพระราชบญั ญตั นิ น้ั เมอ่ื พจิ ารณาเสรจ็ แลว้ กจ็ ะรายงานและเสนอ หรือแสดงความคดิ เห็นรวมกัน รา่ งพระราชบญั ญตั ทิ คี่ ณะกรรมาธกิ ารไดพ้ จิ ารณารว่ มกนั ตอ่ สภาผแู้ ทนราษฎรและวฒุ สิ ภา ถา้ สภา ทั้งสองเห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติท่ีคณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาแล้วให้ถือว่าร่าง 12. ครูใหนักเรียนแตละกลุมจับคูกันทําใบงานท่ี พระราชบญั ญัตนิ ัน้ ไดร้ ับความเห็นชอบของรฐั สภา ให้นายกรัฐมนตรนี า� ขน้ึ ทูลเกล้าฯ เพอ่ื ทรงลง 2.1 เรื่อง กระบวนการในการตรากฎหมาย พระปรมาภิไธย และประกาศในราชกิจจานเุ บกษาใชบ้ งั คับเป็นกฎหมายต่อไป ดังนี้ ทั้งนร้ี า่ งพระราชบัญญัติใดทร่ี ัฐสภาให้ความเห็นชอบแลว้ ก่อนทีน่ ายกรฐั มนตรีจะนา� • คูที่ 1 ทําใบงานที่ 2.1 ตอนที่ 1 ขนึ้ ทลู เกลา้ ฯ ถวาย เพอื่ พระมหากษตั รยิ ท์ รงลงพระปรมาภไิ ธย ถา้ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร สมาชกิ • คูที่ 2 ทําใบงานที่ 2.1 ตอนท่ี 2 วฒุ ิสภา หรือสมาชิกของท้งั สองสภารวมกันมีจ�านวนไม่น้อยกว่า ๑ ใน ๑๐ ของจ�านวนสมาชกิ • คูท่ี 3 ทําใบงานที่ 2.1 ตอนที่ 3 ทั้งหมดเท่าท่ีมีอยู่ของท้ังสองสภา เห็นว่าร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวมีข้อความขัดหรือแย้งต่อ รฐั ธรรมนูญน้ ี หรอื กระบวนการตรากฎหมายไม่ถกู ตอ้ งตามบทบญั ญตั แิ หง่ รฐั ธรรมนูญน ้ี ให้เสนอ ความเห็นตอ่ ประธานสภาผู้แทนราษฎร หรือประธานวฒุ สิ ภา หรือประธานรัฐสภา เพือ่ ให้ประธาน สภาทไี่ ดร้ บั ความเหน็ สง่ เรอ่ื งตอ่ ไปยงั ศาลรฐั ธรรมนญู วนิ จิ ฉยั และแจง้ ใหน้ ายกรฐั มนตรที ราบตอ่ ไป ถ้าศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าร่างพระราชบัญญัติน้ันมีข้อความขัดหรือแย้งต่อ รฐั ธรรมนญู และขอ้ ความดงั กลา่ วเปน็ สาระสา� คญั หรอื วนิ จิ ฉยั วา่ รา่ งพระราชบญั ญตั นิ น้ั ตราขนึ้ โดย ไมถ่ ูกต้องตามบทบญั ญตั แิ ห่งรัฐธรรมนูญน้ี ใหร้ ่างพระราชบญั ญัตนิ ัน้ เป็นอันตกไปท้งั ฉบับ ถ้าศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าร่างพระราชบัญญัตินั้นมีข้อความขัดหรือแย้งต่อ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยนี้แต่ไม่เป็นสาระส�าคัญ ให้เฉพาะข้อความที่ขัดหรือแย้งน้ัน เปน็ อันตกไป รา่ งพระราชบญั ญัติฉบบั นน้ั ยงั สามารถประกาศใชบ้ งั คับได ้ นอกจากกระบวนการตราพระราชบญั ญตั ิ ยงั มกี ระบวนการตรากฎหมายอนื่ ทนี่ า่ สนใจ ซึ่งมขี ัน้ ตอนท่แี ตกตา่ งกนั ไป เชน่ การตราพระราชก�าหนด ซงึ่ เป็นการตราขึ้นเม่อื คณะรฐั มนตร ี เห็นว่ามีความจ�าเป็นฉุกเฉินเร่งด่วนก็จะน�าพระราชก�าหนดเสนอต่อรัฐสภา เพื่อพิจารณาโดยเร็ว ๒แ6ละมีมติเห็นชอบหรอื ไม่เห็นชอบใหใ้ ชเ้ ป็นกฎหมายต่อไป นักเรียนควรรู กจิ กรรม สรางเสริม 1 ยับย้ังรางพระราชบัญญัติ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ใหนักเรียนสืบคนพระราชบัญญัติของไทย แลวนํามาเขียน มาตรา 139 กําหนดไววา ในระหวางท่ีมีการยับยั้งรางพระราชบัญญัติใด บันทึกลงในตารางใหไดมากที่สุด โดยบอกช่ือพระราชบัญญัติ ตามมาตรา 137 คณะรัฐมนตรีหรือสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจะเสนอราง และอธบิ ายวา เปนพระราชบัญญตั ิที่เก่ยี วกับเร่อื งใดพอสงั เขป พระราชบัญญัติที่มีหลักการอยางเดียวกันหรือคลายกันกับหลักการของราง พระราชบญั ญตั ทิ ต่ี อ งยบั ยง้ั ไวม ไิ ด ในกรณที ส่ี ภาผแู ทนราษฎรหรอื วฒุ สิ ภาเหน็ วา รางพระราชบัญญัติท่ีเสนอหรือสงใหพิจารณานั้น เปนรางพระราชบัญญัติท่ีมี หลักการอยางเดียวกันหรือคลายกันกับหลักการของรางพระราชบัญญัติท่ีตอง ยบั ยงั้ ไว ใหป ระธานสภาผแู ทนราษฎรหรอื ประธานวฒุ สิ ภาสง รา งพระราชบญั ญตั ิ ดังกลาวใหศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย ถาศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวาเปนราง พระราชบัญญัติที่มีหลักการอยางเดียวกันหรือคลายกันกับหลักการของราง พระราชบญั ญตั ิทตี่ องยบั ยัง้ ไว ใหรางพระราชบญั ญตั ินน้ั เปน อันตกไป T30
นาํ สอน สรุป ประเมนิ ๒.๒ การมีส่วนรว่ มของประชาชนในการตรากฎหมาย ขน้ั สอน เป็นแนวทางหนึ่งที่แสดงให้เห็นถึงอ�านาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย ตามหลักการ 13. นกั เรยี นแตล ะคชู ว ยกนั ตรวจสอบความถกู ตอ ง ปกครองในระบอบประชาธิปไตยของไทย ดังท่ีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติไว้ โดย ของใบงานท่ีตนรับผิดชอบ แลวผลัดกัน กอ่ นการตรากฎหมายทกุ ฉบบั ของรฐั รฐั ตอ้ งจดั ใหม้ กี ารรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของประชาชน วเิ คราะห์ อธิบายผลงานใหเ พือ่ นในกลุมฟง ผลกระทบต่อประชาชน เพ่ือประกอบการพิจารณาในกระบวนการตรากฎหมายทุกข้ันตอน นอกจากน ้ี ประชาชนยังมสี ทิ ธิในการมีส่วนร่วมเพอ่ื ตรากฎหมายดว้ ยตนเอง ท้งั ในระดบั ชาตแิ ละ 14. ครใู หน กั เรยี นทาํ กจิ กรรมเกยี่ วกบั กระบวนการ ระดับท้องถนิ่ ในการตรากฎหมาย ในแบบฝกสมรรถนะฯ ในระดบั ชาต ิ ประชาชนผมู้ สี ทิ ธเิ ลอื กตงั้ จา� นวนไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๐,๐๐๐ คน มสี ทิ ธเิ ขา้ ชอื่ เสนอ หนาท่ีพลเมืองฯ ม.2 เพื่อเปนการบานสงครู กฎหมาย เฉพาะกรณีตาม หมวด ๓ ทว่ี ่าด้วยเรื่อง สิทธแิ ละเสรีภาพของปวงชนชาวไทย และ ในช่ัวโมงถัดไป หมวด ๕ ท่วี ่าด้วยเร่อื ง หน้าท่ีของรฐั ตามกฎหมายว่าดว้ ยการเขา้ ชื่อเสนอกฎหมาย ในระดบั ทอ้ งถิ่น การดา� เนนิ งานขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน ประชาชนผมู้ ีสิทธิเลือกต้งั ขนั้ สรปุ ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีสิทธิเข้าชื่อกันเพ่ือเสนอข้อบัญญัติหรือเพ่ือถอดถอนสมาชิกสภา ท้องถ่นิ หรือผบู้ รหิ ารท้องถน่ิ ได้ตามหลักเกณฑ์ วธิ กี าร และเง่ือนไขที่กฎหมายบญั ญตั ิ ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูเกี่ยวกับ กระบวนการในการตรากฎหมาย หรือใช PPT เรอื่ งนา่ รู้ สรปุ สาระสาํ คญั ของเนอ้ื หา ตลอดจนความสาํ คญั ของกระบวนการในการตรากฎหมายตอการ ข้ันตอนการเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชน ดาํ เนนิ ชวี ติ ประจําวัน ตามพระราชบญั ญตั ิว่าดว้ ยการเขา้ ชือ่ เสนอรา่ งกฎหมาย พ.ศ. ๒556 ขน้ั ประเมนิ ๑ ประชาชนผู้ริเริ่มเสนอกฎหมาย ๒ ประธานรัฐสภาตรวจสอบหลักการ ไมน่ อ้ ยกวา่ ๒๐ คน ยน่ื เรอื่ งพรอ้ ม และเนือ้ หาของร่างกฎหมาย 1. ครูประเมินผลโดยสังเกตจากการตอบคําถาม ร่างกฎหมายต่อประธานรัฐสภา การรวมกันทํางาน และการนําเสนอผลงาน หนาชน้ั เรียน ส่งคนื หไไลปมกัตเ่ ปกา็นามร เปน็ ไปตาม หลักการ 2. ครตู รวจสอบผลจากการทาํ ใบงาน และแบบฝก สมรรถนะฯ หนา ท่พี ลเมอื งฯ ม.2 3 ประชาชนผู้ริเร่ิมรวบรวมรายชื่อผู้มีสิทธิ เลือกตั้ง ๑๐,๐๐๐ ชื่อ พร้อมส�าเนาบัตร ๔ ย่ืนประธานรฐั สภาตรวจสอบภายใน ประชาชน ๔๕ วัน 6 ประธานรัฐสภาประกาศรายชือ่ 5 ประธานรัฐสภาตรวจสอบความมีตัวตน และสทิ ธเิ ลอื กตง้ั ตามทก่ี ฎหมายกา� หนด 7 หากพบวา่ จา� นวนผเู้ ขา้ ชอื่ ไมถ่ งึ ๑๐,๐๐๐ ชอื่ ๘ ประธานรัฐสภาน�าร่างกฎหมายเข้าสู่ ให้หาเพ่มิ ให้ครบ ภายใน ๙๐ วนั ระเบียบวาระการประชุมของสภาผู้แทน ราษฎรต่อไป ๒7 กิจกรรม ทาทาย แนวทางการวัดและประเมินผล ใหน กั เรยี นจดั ทาํ ปา ยโปสเตอรท อี่ ธบิ ายถงึ กระบวนการเขา ไป ครสู ามารถวดั และประเมนิ ความเขา ใจเนอื้ หา เรอื่ ง กระบวนการในการตรา มีสวนรวมในการตรากฎหมายของประชาชน โดยใหมีรูปภาพ กฎหมาย ไดจ ากการสบื คน และนาํ เสนอผลงานหนา ชน้ั เรยี น โดยศกึ ษาเกณฑก าร ประกอบพรอมคําอธิบาย รวมทั้งวิเคราะหถึงผลดีท่ีเกิดจากการ วัดและประเมินผลจากแบบประเมินการนําเสนอผลงานที่แนบมาทายแผนการ มีสวนรวมของประชาชนในการตรากฎหมาย จัดการเรยี นรูห นว ยที่ 2 เร่ือง กฎหมายกบั การดาํ เนนิ ชีวติ ประจําวัน แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน คาชีแ้ จง : ใหผ้ ู้สอนประเมินผลการนาเสนอผลงานของนักเรียนตามรายการ แลว้ ขดี ลงในชอ่ งที่ ตรงกับระดบั คะแนน ลาดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดับคะแนน 1 32 1 ความถูกต้องของเนอื้ หา 2 การลาดบั ข้นั ตอนของเรื่อง 3 วิธกี ารนาเสนอผลงานอย่างสร้างสรรค์ 4 การใช้เทคโนโลยใี นการนาเสนอ 5 การมสี ว่ นร่วมของสมาชกิ ในกลุม่ รวม ลงชอื่ ...................................................ผูป้ ระเมิน ............/................./................ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมินสมบรู ณ์ชดั เจน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมินเป็นส่วนใหญ่ ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ บางส่วน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 12 - 15 ดี 8 - 11 พอใช้ ตา่ กวา่ 8 ปรบั ปรงุ T31
นาํ นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขนั้ นาํ (5Es Instructional Model) ๓. กกฎฎหหมมายาทยเี่ กท่ียเี่วกขอ้ ่ยี งกวบั ขต้อนเงอกงแับละตครนอบเอครงัวแทีน่ ลักะเรคียนรคอวบรรคู้ ไรด้แวั ก ่ กฎหมายแพ่ง1เกี่ยวกบั ขนั้ ท่ี 1 กระตนุ ความสนใจ ความสามารถของผู้เยาว์ กฎหมายเก่ียวกับบัตรประจ�าตัวประชาชน และกฎหมายแพ่งเกี่ยวกับ 1. ครูแจงใหนักเรียนทราบถึงวิธีสอน ช่ือเรื่อง ครอบครวั ท่ีจะเรียนรู จุดประสงค และผลการเรียนรู 3.๑ ก ฎหมายแพ่งเกยี่ วกบั ความสามารถของผู้เยาว์ ผู้เยาว์ คือ เด็กหรือบุคคลซึ่งยังไม่บรรลุนิติภาวะ บุคคลที่จะพ้นจากการเป็นผู้เยาว์มี 2. ครูสอบถามนักเรียนวาในการดําเนินชีวิต ๒ กรณ ี คอื เมอ่ื อายคุ รบยสี่ บิ ปบี รบิ รู ณ์ และเมอื่ ท�าการสมรสตามบทบญั ญตั ขิ องกฎหมาย คอื ชาย ประจําวัน นักเรียนตองเก่ียวของกับกฎหมาย หญงิ เมอ่ื มอี ายคุ รบสบิ เจด็ ปบี รบิ รู ณ ์ และไดร้ บั ความยนิ ยอมจากผแู้ ทนโดยชอบธรรม ซงึ่ ไดแ้ ก ่ บดิ า ใดบาง และมคี วามสาํ คญั อยางไร มารดาหรอื ผู้ปกครอง (ในกรณีทไ่ี ม่มบี ิดามารดา จะมีบคุ คลซึง่ ศาลแตง่ ต้ังข้นึ เพอ่ื ปกครองผู้เยาว์ เป็นผู้ปกครองแทน) 3. ครูสุมใหนักเรียนยกตัวอยางกฎหมายที่ กฎหมายถอื วา่ บคุ คลผอู้ ยใู่ นวยั เยาวย์ งั ออ่ นทงั้ ดา้ นสตปิ ญั ญา รา่ งกาย ความคดิ อา่ น ความร้ ู เกี่ยวของกับตนเองและครอบครัวที่นักเรียน ความชา� นาญ และไหวพรบิ ยงั ไมส่ มบรู ณพ์ อ อาจจะถกู ผอู้ น่ื เอาเปรยี บได ้ ดงั นน้ั กฎหมายจงึ จา� กดั รูจ ัก คนละ 1 ตวั อยา ง โดยอธิบายพอสังเขป ความสามารถของผเู้ ยาว ์ โดยผเู้ ยาวจ์ ะใชส้ ทิ ธทิ า� กจิ การใด ๆ ทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ ผลผกู พนั กนั ทางกฎหมาย จ ะตอ้ งไผดแู้ ร้ ทบั นคโวดายมชยอนิ บยธอรมรจมา กคผอื แู้ บทคุ นคโลดซยชงึ่ จอะบทธ�ารนรมติ กิ หรรรอืม2ตแอ้ ทงนใหผผ้เู้ ยแู้ าทวน์ หโดรอืยใชหอค้ บวธารมรยมนิกยระอทมา� แกกาผ่ รเู้แยทานว์ 4. ครูนําขาวจากหนังสือพิมพมาใหนักเรียนดู ในการทผี่ เู้ ยาวจ์ ะท�านติ กิ รรม โดยปกติ ไดแ้ ก่ บดิ า มารดา เวน้ แตไ่ ม่มบี ิดา มารดา กจ็ ะไดแ้ ก่ แลวใหนักเรียนชวยกันเลือกขาวท่ีมีประเด็น บุคคลอืน่ ท่มี อี �านาจตามกฎหมายในการปกครองดแู ลผ้เู ยาว ์ ซงึ่ เรยี กวา่ “ผปู้ กครอง” กฎหมายเกย่ี วกบั ตนเองและครอบครวั จากนนั้ นิติกรรมท่ีผู้เยาว์สามารถกระท�าได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากผู้แทน ครอู ธบิ ายกฎหมายจากขา วเพม่ิ เติม โดยชอบธรรม ไดแ้ ก่ ๑. การกระท�าท่ีจะได้ซ่ึงสิทธิอันใดอันหนึ่งหรือเพ่ือเป็นการให้หลุดพ้นจากหน้าที่ ขนั้ สอน อนั ใดอนั หนึ่ง เป็นกิจการท่ีเป็นประโยชนแ์ ก่ผ้เู ยาว์ฝ่ายเดียว ไม่มที างเสีย เชน่ รับทรพั ยส์ ินของ ผู้อ่ืนโดยไม่มขี อ้ ผูกมดั หรือเง่ือนไขใด ๆ การรบั ปลดหนจ้ี ากเจา้ หน ี้ เปน็ ต้น ขนั้ ที่ 2 สาํ รวจคน หา ๒. กิจการท่ีจะต้องทา� เองเฉพาะตัว เชน่ การรบั รองบตุ ร เป็นตน้ ครใู หนักเรยี นแบง กลุม ศึกษาคน ควา เกย่ี วกับ กฎหมายแพงเกี่ยวกับความสามารถของผูเยาว กฎหมายเกี่ยวกับบัตรประจําตัวประชาชน และ กฎหมายแพง เกย่ี วกบั ครอบครวั จากหนงั สอื เรยี น สังคมศึกษาฯ ม.2 หรือจากแหลงการเรียนรูอ ื่นๆ เชน หนงั สือในหองสมุด เว็บไซตใ นอนิ เทอรเน็ต ๓. กิจการท่ีเป็นการสมควรแห่งฐานานุรูปและเป็นการจ�าเป็นเพื่อการเล้ียงชีพตาม สมควร เช่น การซอื้ ของกิน การซือ้ อปุ กรณ์การเรยี นท่เี หมาะสม เป็นตน้ กิจการทเ่ี ปน็ การสมควร แหง่ ฐานานรุ ูป๔น. ั้นผ เู้ใยหา้พวิจ์อาารจณท�าาพดวูนิ า่ ัยสกิ่งรใรดมส3ไมดคเ้ วมรือ่ กอับาสยภคุ ารพบสขบิอหงผา้ เู้ปยบี ารวิบ์ รู ณ์ ประโยชน์ของการปฏิบัตติ นตามกฎหมายแพ่งเกีย่ วกับความสามารถของผเู้ ยาว์ คอื การที่ ผเู้ ยาวท์ า� กจิ การใด ๆ โดยไดร้ บั ความยนิ ยอมจากผแู้ ทนโดยชอบธรรมกอ่ นนน้ั ทงั้ นย้ี กเวน้ นติ กิ รรม บางอย่างท่ีผู้เยาว์สามารถท�าได้ด้วยตนเอง ย่อมจะท�าให้ผู้เยาว์ไม่ถูกผู้อื่นเอาเปรียบ ท้ังในด้าน ทรพั ย์สนิ เงนิ ทอง ด้านแรงงาน ดา้ นโอกาสในการพฒั นาตนเอง และดา้ นการศึกษาและวิชาชีพ ๒๘ นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคดิ 1 กฎหมายแพง กฎหมายแพงวา ดวยสิทธแิ ละหนา ทีข่ องบุคคล เชน สภาพ บคุ คลในขอใดตอไปน้ีถือเปนผูเ ยาว บคุ คล ทรพั ย หนี้ นติ กิ รรม ครอบครวั มรดก การกระทาํ ผดิ ทางแพง ถอื วา เปน การ 1. ดาวดาํ รงตําแหนงเปน สมาชิกวฒุ ิสภา ละเมิดตอบุคคลที่เสียหาย มีโทษ คอื ตองชดใชค า เสียหายท่ีตีคา เปน ตวั เงินได 2 อด๊ี เขารับการตรวจคัดเลือกเกณฑท หาร 2 นิติกรรม คือ การท่ีบุคคลแสดงเจตนากระทําไปโดยประสงคจะใหมีผล 3. ฝนไปทาํ บัตรประจําตวั ประชาชนใบแรกท่อี าํ เภอ ผกู พันใชบงั คบั ไดต ามกฎหมาย ตวั อยา งนติ กิ รรม เชน สญั ญาซื้อขาย สัญญา 4. จอมจบการศึกษาระดบั ปริญญาโทจากประเทศอังกฤษ กยู มื เงิน สัญญาเชา ทรัพย สญั ญาเชา ซอื้ 3 พินัยกรรม คือ หนังสือที่เจาของมรดกทําขึ้นไว เพื่อแสดงเจตจํานงวา (วเิ คราะหค าํ ตอบ ตอบขอ 3. ผเู ยาว คอื บคุ คลทม่ี อี ายยุ งั ไมค รบ เมือ่ ตนเองตายไปแลว ตอ งการยกทรัพยส ินตางๆ ใหแ กใ ครหรอื ตองการแตงตง้ั 20 ปบริบูรณ ซึ่งตามพระราชบัญญัติบัตรประจําตัวประชาชน ใหผ ใู ดเปน ผจู ดั การมรดก โดยพนิ ยั กรรมจะมผี ลตอ เมอ่ื เจา ของมรดกตายไปแลว (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2546 กาํ หนดใหผทู ่ีมอี ายคุ รบ 7 ปบ ริบรู ณ ตอง ผูเยาวสามารถทํานิติกรรมเองได โดยไมตองไดรับความยินยอมจากผูแทน ย่ืนคําขอมีบัตรประจําตัวประชาชนใบแรก การท่ีฝนไปทําบัตร โดยชอบธรรม เพราะเปนการแสดงเจตนากําหนดการเผ่อื ตายในเรอื่ งทรัพยสนิ ประจําตัวประชาชนใบแรก ฝนจึงถือวาเปนผูเยาว สวนผูที่ดํารง ของตนท่ีจะยกใหใครก็ไดตามความสมัครใจ ซึ่งตามกฎหมายบุคคลท่ีมีอายุ ตําแหนง สว. ตองมีอายุไมต่ํากวา 40 ปบริบูรณ ผูท่ีเขารับการ 15 ปบ ริบรู ณ สามารถทําพินัยกรรมได ตรวจเลือกเกณฑทหารตองมีอายุ 21 ปบริบูรณ สวนผูท่ีจบ การศึกษาระดบั ปริญญาโทนน้ั โดยทัว่ ไปอยใู นวยั ผูใ หญทงั้ สนิ้ ) T32
นาํ สอน สรปุ ประเมนิ 3.๒ กฎหมายเกี่ยวกับบัตรประจ�าตัวประชาชน ขนั้ สอน บัตรประจ�าตัวประชาชน คือ เอกสารส�าคัญท่ีใช้พิสูจน์ตัวบุคคล ภูมิล�าเนา และสถานะ ขั้นที่ 3 อธบิ ายความรู บางอย่างของบคุ คลได้ 1. สมาชิกแตละคนในกลุมนําขอมูลที่ตนไดจาก กฏหมายเก่ยี วกับบตั รประจาํ ตัวประชาชน การรวบรวม มาอธิบายแลกเปล่ียนความรู ระหวา งกนั ข้อมลู สา� คญั ในบัตรประจ�าตัวประชาชน 2. จากนั้นสมาชิกในกลุมชวยกันคัดเลือกขอมูล ชอื่ และนามสกุล บัตรประจำตวั ประชาชน Thai National ID Card เลขประจ�าตัวของผูถ้ ือบตั ร ท่ีนําเสนอเพ่ือใหไดขอมูลที่ถกู ตอ ง เIdลeขnปtรifiะcจaำtตioัวnปNระuชmาbชeนr 0 0000 00000 00 0 รูปถ่าย วนั เดือน ปเี กิด ชื่อ/นามสกุล นางสาว ชใู จ ใจดี 3. นักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนนําเสนอขอมูล ท่อี ย่ตู ามทะเบียนบา้ น LNaasmt enamMeisJ saCidheoeojai 170 170 หนาช้ันเรียนตามประเด็นท่ีศึกษา อภิปราย ทอ่ี ยู xxxxxx xxDเxกaxtดิ eวoxันfxBทxir่ีtxh11xJมxa.xnคx1.9x822525 และตอบคาํ ถามรวมกนั วนั ออกบตั ร 160 160 150 150 4. ครูใหนักเรียนนําบัตรประจําตัวประชาชนของ ตนเองมารวมกันแจกแจงรายละเอียดที่อยู 4 ม.ิ ย. 2554 (นายเอกชัย รกั ชัพ) 2 ม.ิ ย. 2560 140 140 ในบัตรของแตละคนวามีอะไรบาง พรอมทั้ง วD4นั aJuอtenอeกoบ2f0ัตI1sรs1ue เจา หนา ทีอ่ อกบตั ร วD2นั aJuบtenัตeรoห2f0มE1ดx7pอiาrยyุ 0000-00-00000000 อธิบายวา บัตรประจําตัวประชาชนมีความ สาํ คญั อยา งไร ลายมอื และตราประจ�าตา� แหนง่ (แนวตอบ บัตรประจําตัวประชาชนมีความ ของเจ้าพนักงานผู้ออกบัตร สําคัญ เพราะเปนเอกสารหรือหลักฐานท่ีใช พิสูจนทราบและยืนยันตัวบุคคลท่ีมีสัญชาติ หลักเกณฑ์ของผู้ทจี่ ะต้องมบี ตั รประจ�าตัวประชาชน ไทย ซึ่งในบตั รประจาํ ตวั ประชาชนจะมขี อมลู ที่สําคัญตางๆ ปรากฏอยู ไดแก เลขท่ีบัตร • ตอ้ งเปน็ ผมู้ สี ญั ชาตไิ ทย หมายเหต ุ : ผู้ทไ่ี ดร้ บั การยกเว้นไม่ตอ้ งมี ประจําตัวประชาชน 13 หลัก ภาพถายของ • มอี ายตุ ง้ั แต ่ ๗ ปบี รบิ รู ณ์ บัตรประจ�าตัวประชาชน เช่น พระภิกษุ ผูถือบัตร ชื่อ-นามสกุลของผูถือบัตร วันเกิด ถงึ ๗๐ ปบี รบิ รู ณ์ สามเณร ของผถู ือบตั ร ท่ีอยขู องผูถ อื บัตร วันออกบตั ร • มชี อื่ อยใู่ นทะเบยี นบา้ น และวนั หมดอายุ) การขอมีบตั รประจ�าตัวประชาชน1 บัตรประจำตัวประชาชน Thai National ID Card การขอเปลยี่ นบตั รใหม่ IเdลeขnปtรifiะcจaำtตioัวnปNระuชmาbชeนr 0 0000 00000 00 0 ในกรณี ตอ้ งขอภายใน ๖๐ วนั นบั ตง้ั แต่ ช่ือ/นามสกลุ นางสาว ชูใจ ใจดี • ว นั ทม่ี อี ายคุ รบ ๗ ปบี รบิ รู ณ์ LNaasmt enamMeisJ saCidheoeojai • บตั รหาย 7 ท่ีอยู xxxxxx xxDเxกaxtิดeวoxนัfxBทxirี่txh11xJมxa.xnคx1.9x822525 170 170 • วนั ทไี่ ดร้ บั สญั ชาตไิ ทย หรอื วนั ทไ่ี ด้ กลับคืนสัญชาติไทยตามกฎหมาย 160 160 วา่ ดว้ ยสญั ชาติ 150 150 • ทวนัะเทบนี่ ยี านยบทา้ ะนเ2บ ยตี นามเพกมิ่ฎชหอื่มใานยวา่ ดว้ ย 44วันมJuอ.ิ ยnอ.eก2บ2505ตั 14ร1 (นายเอกชยั รักชัพ) ว22นั มJuห.ิ ยnม.eด225อ06า10ย7ุ 140 140 Date of Issue เจา หนาทอี่ อกบัตร Date of Expiry 0000-00-00000000 ทะเบยี นราษฎร • ว นั ทพ่ี น้ สภาพจากการยกเวน้ บัตรหักบตั รประจำตัวประชาชน Thai Nationช่อื /นามเIลdสขกeุลปntรifiะcจaำนtตioวัาnปงรNสะuNLชเmาDaaากmsวชabtิดtนeeenrชวaoันใูmfMจทBe0iirs่ีtJใsh01จa1Ci0ดdมhJี0ae.onค0eo1.9j0a280i250205000 0 170 • บตั รชา� รดุ ไมต่ อ้ งมบี ตั รประจา� ตวั ประชาชน xxx xxxx xxxx xxxxxทีอ่ ยู 160 170 150 160 150 xxx4ว4DนัมJa.ิอuยtอn.eeก2o5บ25f0ัต4I1รs1sue (นเจาายหเอนกา ทชยัอี่ อรกักบชตัพั ร) 2ว2DนัมJa.ิหuยtnม.ee2ดo5อ26f0า0E1ย7xุ piry 140 140 0000-00-00000000 ใบแจงเปล่ียนชอื่ • แกไ้ ขชอ่ื ตวั - ชอ่ื สกลุ ๒9 ขอ สอบเนน การคดิ นักเรียนควรรู ขอ มลู ใดไม ปรากฏอยใู นบัตรประจาํ ตวั ประชาชน 1 การขอมีบัตรประจําตัวประชาชน หลักฐานที่จะตองใชในการขอมีบัตร 1. ท่อี ยขู องผูถ อื บตั ร ประจําตัวประชาชน ไดแก สําเนาทะเบียนบาน สูติบัตร หากบิดามารดาเปน 2. อาชีพของผูถือบตั ร คนตา งดา ว ใหน าํ ใบสาํ คญั ประจาํ ตวั บุคคลตางดาวมาแสดงดวย และหลักฐาน 3. ภาพถา ยของผูถ ือบัตร การเปลี่ยนชอ่ื -สกุล 4. หมายเลขประจาํ ตวั 13 หลกั 2 ทะเบยี นบา น เปน เอกสารทน่ี ายทะเบยี นออกใหบ า นแตล ะหลงั ซงึ่ ปลกู สรา ง โดยไดรับอนุญาตถูกตองตามกฎหมาย ในทะเบียนบานจะมีขอมูลสําคัญ (วิเคราะหคาํ ตอบ ตอบขอ 2. เพราะในบัตรประจําตัวประชาชน แสดงอยู เชน เลขทีบ่ า น ชอื่ ผูเปนเจาบาน ชื่อผูอ ยูอ าศยั จะไมระบอุ าชพี ของผถู ือบตั ร สว นทอี่ ยู ภาพถา ย และหมายเลข ประจําตัว 13 หลัก ถือเปนขอมูลสําคัญท่ีตองปรากฏอยูบนบัตร ประจาํ ตัวประชาชน) T33
นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั สอน ๑) หลกั เกณฑข์ องผทู้ จี่ ะตอ้ งมบี ตั รประจา� ตวั ประชาชน ตอ้ งเปน็ ผมู้ สี ญั ชาตไิ ทย อายุตั้งแต่เจ็ดปีบริบูรณ์จนถึงเจ็ดสิบปีบริบูรณ์ และมีช่ืออยู่ในทะเบียนบ้าน ผู้ที่ได้รับการยกเว้น ขนั้ ที่ 3 อธบิ ายความรู ไม่ตอ้ งมบี ัตรประจ�าตัวประชาชน เช่น ภิกษุ สามเณร ๒) การขอมีบัตรประจ�าตัวประชาชน ในการขอมีบัตรประจ�าตัวประชาชน ผู้ขอ 5. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเพิ่มเติมถึง ต้องยื่นขอต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ีภายในหกสิบวันนับต้ังแต่วันท่ีมีอายุครบเจ็ดปีบริบูรณ์ หรือวัน หลักเกณฑของผูท่ีจะตองมีบัตรประจําตัว ที่ได้รับสัญชาติไทย หรือได้กลับคืนสัญชาติไทยตามกฎหมายว่าด้วยสัญชาต ิ หรือวันที่ศาลได้ม ี ประชาชนตามกฎหมาย รวมถึงผูที่กฎหมาย วค่า�าดพ้วิพยากกาษราทถะึงเทบี่สียุดนใรหา้มษีสฎัญร1 ชหาตรืิไอทวยัน ทหี่พร้นือสวภันาทพ่ีนจาายกทกะาเบรีไยดน้รเัพบก่ิมาชรื่อยใกนเทวะ้นเไบมีย่ตน้อบง้ามนีบตัตามรปกรฎะหจม�าตายัว ยกเวนไมตองใหมีบัตรประจําตัวประชาชน ประชาชน วามหี ลกั เกณฑอ ะไรบา ง บตั รประจา� ตวั ประชาชนมอี ายใุ ชไ้ ดแ้ ปดปนี บั แตว่ นั ออกบตั ร เมอ่ื บตั รหมดอายผุ ถู้ อื บตั ร (แนวตอบ ผูท่จี ะตองมีบตั รประจาํ ตวั ประชาชน จะตอ้ งยนื่ ขอมีบัตรใหมต่ อ่ พนักงานเจา้ หนา้ ท่ภี ายในกา� หนดหกสบิ วัน นบั ต้ังแต่วนั ท่บี ัตรเดิมหมด คือ มีสัญชาติไทย อายุตั้งแต 7-70 ป บริบรู ณ และมีชอ่ื อยใู นทะเบียนบา น สวนผทู ่ี ไดรับการยกเวนตามกฎหมาย เชน นักบวช ภกิ ษุ สามเณร) อายุ แต่ผู้ท่ีถือบัตรจะขอมีบัตรใหม่ก่อนวันท่ีบัตรเดิมหมดอายุได้ โดยยื่นค�าขอต่อพนักงาน เจ้าหนา้ ที่ภายในกา� หนดหกสบิ วันกอ่ นวนั ที่บตั รเดมิ หมดอายุ ๓) การขอเปล่ียนบัตรประจ�าตัวประชาชนใหม่ ผู้ถือบัตรประจ�าตัวประชาชน จะขอเปล่ียนบัตรใหม่โดยยื่นค�าขอต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ีภายในก�าหนดหกสิบวัน นับต้ังแต่วันท ่ี บตั รหายหรือถกู ท�าลายหรือวันทบ่ี ตั รชา� รุดในสาระส�าคัญ หรอื วนั ทแ่ี กไ้ ขช่ือตัว ชือ่ สกุล หรอื ชือ่ ตัว และชือ่ สกุลในทะเบยี นบ้าน (ในกรณีทผี่ ้ถู อื บตั รไดย้ า้ ยทีอ่ ยู่จะขอเปล่ยี นบัตรใหมก่ ็ได้) ในการปฏิบัติตนตามกฎหมายเกี่ยวกับบัตรประจ�าตัวประชาชนส่งผลดีท้ังต่อตนเอง ทอ้ งถน่ิ และประเทศชาต ิ ในดา้ นการตดิ ตอ่ กบั หนว่ ยงานตา่ งๆ ทงั้ ทางราชการและเอกชนทต่ี อ้ งการ หลักฐานการแสดงตนเอง อายุ และภมู ิล�าเนาของผถู้ ือบัตร เชน่ การฝากเงินธนาคาร การเปิด-ปดิ บญั ช ี การใชส้ ทิ ธเิ ลอื กตง้ั ทง้ั ในระดบั ทอ้ งถนิ่ และ ระดบั ประเทศ การรบั เงนิ ธนาณตั ิ การสมคั รงาน นอกจากน้ี บัตรประจ�าตวั ประชาชนยงั เปน็ หลกั ฐานส�าคัญของบุคคลในระหว่างการเดินทาง หรอื เม่อื เกิดอุบัตเิ หตใุ นสถานทตี่ า่ ง ๆ ดงั นน้ั ประชาชนผมู้ บี ตั รประจา� ตวั ประชาชนทกุ คนตอ้ งพกบตั รประจา� ตวั ประชาชน ติดตัวเสมอเม่ือต้องเดินทางออกไปท�าธุระ นอกบ้าน ทั้งนี้การฝ่าฝืนไม่พกบัตรประจ�าตัว ประชาชนผู้มบี ตั รประจ�าตัวประชาชน ควรพกบตั รประจา� ประชาชนย่อมมีความผิดตาม พ.ร.บ. บัตร ตวั ประชาชนตดิ ตวั เพอ่ื สทิ ธปิ ระโยชนท์ จ่ี ะไดร้ บั จากบรกิ าร ประจา� ตวั ประชาชน มโี ทษปรบั ไมเ่ กนิ ๒๐๐ บาท ของรัฐ และแสดงตอ่ เจ้าพนกั งาน 30 นักเรียนควรรู ขอ สอบเนน การคิด 1 การทะเบียนราษฎร เปนการจัดเก็บขอมูลเก่ียวกับจํานวนพลเมืองของ เพราะเหตใุ ดพลเมืองไทยจงึ ตอ งทําบตั รประจาํ ตัวประชาชน ประเทศ เริ่มตั้งแตการแจงเกิด การเพ่ิมช่ือในทะเบียนบาน การแจงยายที่อยู การแจงตาย หรือการแจงเก่ียวกับบาน เปนตน ซึ่งเปนขอมูลท่ีมีปริมาณมาก (แนวตอบ เพราะบัตรประจําตัวประชาชนเปนเอกสารท่ีทาง จะตอ งจดั เกบ็ และแกไ ขใหถ กู ตอ งเปน ปจ จบุ นั โดยเฉพาะการใชแ ละประมวลผล ราชการออกใหกับประชาชนผูมีสัญชาติไทยเพ่ือใชพิสูจนทราบ ขอมูลเกี่ยวกับประชากร เพื่อประโยชนในดานความมั่นคงของชาติ การพิสูจน และยนื ยนั ตวั บคุ คลในการขอใชส ทิ ธหิ รอื ประกอบธรุ กรรมตา งๆ ที่ ตัวบคุ คล และการใชในการวางแผนพัฒนาประเทศทุกดา น เกีย่ วของกบั ภาครัฐและเอกชน และเปนเอกสารลาํ ดบั แรกที่กอ ให เกิดสทิ ธิอ่ืนๆ ตามมา ดว ยเหตุนี้ ผทู ีเ่ ปน เจาของบตั รจึงตอ งเก็บ รกั ษาบตั รไวเ ปน อยา งดี อยา ใหส ญู หาย หากรวู า บตั รสญู หายเมอื่ ใด ใหร ีบเเจง ตอ พนกั งานเจา หนา ที่ ณ ท่ีวาการอําเภอ สํานักงานเขต สํานักงานเทศบาล หรือสถานที่ทาํ บัตร ณ ศูนยก ารคา ตางๆ ที่อยู ใกลโดยเร็วทสี่ ดุ เพอื่ ขอมบี ัตรใหม) T34
นาํ สอน สรปุ ประเมนิ 3.3 กฎหมายแพง่ เกยี่ วกบั ครอบครัว ขน้ั สอน นักเรียนในฐานะที่เป็นสมาชิกคนหน่ึงในครอบครัว ควรเรียนรู้และท�าความเข้าใจเก่ียวกับ ขัน้ ท่ี 3 อธบิ ายความรู กฎหมายแพ่งที่เกี่ยวกับครอบครัว ซ่ึงเป็นกฎหมายท่ีอยู่ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่าด้วยเร่ืองของครอบครัว โดยเร่ืองท่ีนักเรียนควรศึกษา ได้แก่ การหมั้น การสมรส มรดก 6. ครูนําขาวจากส่ือตางๆ ที่นําเสนอในประเด็น กฎหมายแพง เกี่ยวกับครอบครัวมาใหนักเรียน การรบั รองบุต๑ร) แกละากราหรมรบั้ันบ ุตหรมบาญุ ยธถรึงร มการที่ชายหญิงท�าสัญญา1กันว่าจะท�าการสมรสกัน เม่ือม ี ดู จากน้นั วิเคราะหรวมกันในประเด็น เชน • เนอื้ หาของขา ว การหม้ันเกิดขึ้นแล้ว ถ้าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งผิดสัญญาไม่อาจท�าการสมรส อีกฝ่ายหน่ึงย่อมมีสิทธิ • ความเกี่ยวของของขาวกับกฎหมายแพง เรียกค่าทดแทนได ้ แต่จะฟอ้ งศาลให้ศาลบังคับใหอ้ กี ฝ่ายหนึ่งท�าการสมรสไม่ได้ เก่ียวกับครอบครัว ๑.๑) เงื่อนไขการหม้ัน ชายและหญงิ ที่จะทา� การหม้นั กันได้น้ัน ทงั้ ชายและหญิง ตอ้ งมอี ายคุ รบสบิ เจด็ ปีบริบูรณ ์ และต้องไดร้ บั ความยินยอมจากบิดามารดาในกรณที ม่ี ที ง้ั บดิ าและ มารดา แต่ในกรณีที่บิดาหรือมารดาเสียชีวิตหรือถูกถอนอ�านาจปกครองหรือไม่อยู่ในสภาพหรือ ฐานะท่ีอาจให้ความยินยอม ก็ให้บิดาหรือมารดาที่มีอ�านาจสมบูรณ์ตามกฎหมายเป็นผู้ให้ความ ยินยอม ในกรณที ผ่ี ้เู ยาวเ์ ปน็ บตุ รบญุ ธรรมของผ้ใู ดกต็ อ้ งให้ผู้นนั้ เปน็ ผูใ้ หค้ วามยนิ ยอม ในกรณีทไี่ ม่มีบุคคลซง่ึ อาจให้ความยนิ ยอมในขอ้ ๑.๑) ได้ หรือบคุ คลดังกล่าว ถูกถอนอ�านาจปกครอง ก็ใหผ้ ปู้ กครองตามคา� สงั่ ของศาลเปน็ ผูใ้ ห้ความยนิ ยอมแทน ๑.๒) ของหมั้น ในการหม้ันชายจะมอบของหมั้นให้แก่หญิงเพื่อเป็นหลักฐาน การหมั้นและเป็นประกันว่าจะท�าการสมรสกับหญิง การหมั้นจะสมบูรณ์เมื่อฝ่ายชายได้ส่งมอบ หรือโอนทรัพย์สนิ อันเปน็ ของหม้ันใหแ้ กห่ ญิง เมอ่ื หมัน้ แลว้ ให้ของหม้ันตกเป็นสิทธแิ กห่ ญิง สว่ นสนิ สอดถอื เปน็ ทรพั ยส์ นิ ซงึ่ ฝา่ ยชายมอบใหแ้ กบ่ ดิ ามารดา ผรู้ บั บตุ รบญุ ธรรม หรือผู้ปกครองฝ่ายหญิงแล้วแต่กรณี เพ่ือตอบแทนการท่ีหญิงยอมสมรส ถ้าไม่มีการสมรสโดยมี เหตุส�าคัญอันเกิดแก่หญิงหรือมีพฤติการณ์ซึ่งฝ่ายหญิงต้องรับผิดชอบท�าให้ชายไม่สมควรหรือ ไมอ่ าจสมรสกับหญิงนน้ั ฝ่ายชายเรียกสนิ สอดคนื ได้ เมือ่ มกี ารหมนั้ แล้ว ถ้าฝ่ายใดผดิ สัญญาหมัน้ อกี ฝ่ายหนงึ่ มีสทิ ธเิ รยี กให้รับผดิ ชอบใชค้ ่าทดแทนไดเ้ ช่นกนั ในกรณที ี่ฝา่ ยหญงิ เป็นฝา่ ยผดิ สัญญา ห มั้นให้คืนของหม้ันแกฝ่ ๑่า.ย ชทาดยแดท้วนยค โวดายมคเสา่ ทียหดแายท2ตน่อนกั้นาอยาหจรเอืรยีชก่อื ไเสดยี ้ ดงแงั ตห่อง่ ไชปานยห้ี รอื หญิงนัน้ ๒. ทดแทนความเสียหายเนื่องจากการที่คู่หมั้น บิดามารดา หรือบุคคล ผู้กระท�าการในฐานะ เช่น บิดามารดาได้ใช้จ่ายหรือต้องตกเป็นลูกหน้ี เน่ืองจากการเตรียมการ สมรสโดยสจุ ริตและตามสมควร ๓. ทดแทนความเสียหายเนื่องจากกรณีคู่หม้ันได้จัดการทรัพย์สินหรือ การอนื่ อนั เกยี่ วแกอ่ าชพี หรอื การทา� มาหากนิ ของตนไปโดยสมควร โดยคาดหมายวา่ จะมกี ารสมรส 3๑ ขอ สอบเนน การคดิ เกร็ดแนะครู พรเทพอายุ 18 ป ตอ งการหมัน้ กับนาํ้ คา งอายุ 17 ปบริบูรณ ครอู าจเชญิ ผทู ม่ี คี วามเชย่ี วชาญทางดา นกฎหมายมาเปน วทิ ยากรใหค วามรู ท้งั สองจะหมน้ั กันไดหรอื ไม เพราะเหตุใด กฎหมายแพงเกย่ี วกบั ครอบครวั เชน การหมน้ั การสมรส มรดก หรอื กองมรดก การรับรองบตุ ร การรบั บุตรบญุ ธรรม แลวใหน ักเรียนซักถามขอสงสยั ตา งๆ 1. ได เพราะทัง้ สองคนอายคุ รบ 17 ปบ ริบรู ณ 2. ได เมอ่ื บดิ ามารดาท้งั สองฝา ยใหความยินยอมดว ย นักเรียนควรรู 3. ไมได เพราะท้งั สองตองบรรลุนติ ภิ าวะ 4. ไมไ ด เพราะตองไดรับคําส่งั จากศาลกอ น 1 ทาํ สญั ญา การทําสญั ญาระหวางการหมั้นวาจะทําการสมรสนี้เปน ลักษณะ ของการตกลงกันดวยวาจา ซึ่งไมจําเปนตองทําสัญญาเปนลายลักษณอักษร (วเิ คราะหคาํ ตอบ ตอบขอ 2. ชายและหญิงจะทําการหม้ันได เพราะถือวามบี ุคคลท่ี 3 ไดรวมรับรเู ปนสกั ขีพยานแลว น้ัน นอกจากมอี ายคุ รบ 17 ปบ ริบรู ณแ ลว ตอ งไดร บั ความยินยอม จากบดิ ามารดาดว ย แตห ากบดิ าหรอื มารดาเสยี ชวี ติ กใ็ หบ ดิ าหรอื 2 ทดแทนความเสียหาย เม่ือมีการหม้ันแลว หากฝายหนึ่งฝายใดผิดสัญญา มารดาที่มอี าํ นาจสมบูรณตามกฎหมายเปน ผใู หค วามยนิ ยอม) หม้ัน อีกฝายหน่ึงมีสิทธิเรียกรองใหรับผิดชอบชดใชคาทดแทน สิทธิเรียกคา ทดแทนนั้นใหม ีอายคุ วาม 6 เดือน นับแตว นั ท่ีผดิ สญั ญาหมัน้ คาทดแทนท่ีจะใช แกกนั ใหศ าลวนิ ิจฉัยตามควรแกพ ฤติการณ T35
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360