Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สารานุกรมประวัติศาสตร์ ประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน

สารานุกรมประวัติศาสตร์ ประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน

Description: สารานุกรมประวัติศาสตร์ ประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน.

Search

Read the Text Version

สารานกุ รมประวัติศาสตรป์ ระเทศเพอื่ นบ้านในอาเซียน ชาวอินเดียมีประมาณร้อยละ ๘ ส่วนใหญ่เป็นชาวฮินดูจากอินเดียใต้ เข้ามา ตัง้ แต่ครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี ๑๙ เชน่ เดยี วกบั ชาวจนี คอื เปน็ แรงงานในมาเลเซียสมยั ท่อี งั กฤษ ปกครอง ชาวพนื้ เมอื งเดมิ ของมาเลเซยี กลายเปน็ ชนกลมุ่ นอ้ ยซงึ่ มหี ลายกลมุ่ รวมประมาณ รอ้ ยละ ๑๑ ของประชากร กระจายอยทู่ ว่ั รฐั ตา่ ง ๆ ในรฐั ซาราวะก์และซาบะฮ์บนเกาะ บอร์เนียว มีกลุ่มใหญ่ ๆ ๖ กลุ่ม ได้แก่ อีบันหรือดายักทะเล บีดายูฮ์หรือดายักบก กาดาซนั หรอื ดูซนุ (Dusun) บาเจา (Bajau) เมอลาเนา (Melanau) และมูรัต (Murat) บนคาบสมุทรมลายูมีชนพ้ืนเมืองด้ังเดิมเหลืออยู่น้อยมาก ได้แก่ พวกเซอมัง (semang ทไี่ ทยเรยี กวา่ เงาะปา่ ) ซงึ่ เชอื่ กนั วา่ เปน็ ชาวพนื้ เมอื งกลมุ่ แรกบนคาบสมทุ ร พวกเซอโนย (Senoi) และจากนุ (Jakun) มเี หลอื อยเู่ พยี งไมก่ พ่ี นั คน พวกนพ้ี ดู ภาษาตระกลู มอญ-เขมร ส่วนพวกทอี่ ยู่บนเกาะบอรเ์ นียว พูดภาษาตระกูลมลายู หลงั ได้รบั เอกราช มาเลเซียต้องการสร้างเอกภาพทางภาษา การสอนภาษาแม่ จึงลดน้อยลง มกี ารสง่ เสรมิ ภาษาแห่งชาติตามกฎหมายภาษาแหง่ ชาติ ค.ศ. ๑๙๖๗ คือ บาฮาซามาเลเซยี หรอื ภาษามลายู โดยใชเ้ ปน็ สอื่ การสอนทว่ั ไป แตถ่ า้ ทอ้ งถน่ิ ใดแสดงความ จ�ำนงก็ยอมให้ใช้ภาษาท้องถิ่นได้ อย่างไรก็ตาม รัฐบาลมาเลเซียตั้งสถาบันภาษาและ หนังสือ (Dewan Bahasa dan Pustaka) ข้ึนเพ่ือส่งเสริมภาษามลายู ยกย่องและ ให้รางวัลแก่ผู้สร้างวรรณกรรมดีเด่นในภาษามลายู ซึ่งถือเป็นภาษากลางของชาติ และ ยังเป็นภาษาทค่ี ลา้ ยคลึงกับภาษาที่ใชใ้ นอินโดนีเซยี บรูไน และชาวสงิ คโปร์จ�ำนวนหน่ึง ก็พูดได้ ส่งผลให้มาเลเซีย อินโดนีเซีย บรูไน และสิงคโปร์ สามารถส่ือสารกันได้ง่าย ภาษามลายจู ึงเป็นภาษาเชงิ เศรษฐกจิ และการคา้ ท่ใี ช้กันอย่างแพรห่ ลาย มาเลเซยี ต้งั อยูร่ ะหวา่ งอินเดยี กบั จนี จึงไดร้ บั อิทธพิ ลทัง้ จากอารยธรรมอินเดีย และจนี อทิ ธพิ ลอนิ เดยี นำ� การแบง่ ชนชนั้ ระหวา่ งผปู้ กครองกบั สามญั ชนเขา้ มาในดนิ แดน มลายู ตลอดจนแนวความคิดทางการเมือง ศาสนา ภาษา และวรรณกรรม ก่อนได้รับ อทิ ธพิ ลจากองั กฤษ ภาษามลายกู วา่ รอ้ ยละ ๕๐ มรี ากฐานมาจากภาษาสนั สกฤต โดยผา่ น มาทางพอ่ คา้ พราหมณ์ และผู้ประกอบกิจการต่าง ๆ วรรณกรรมโบราณของมลายกู ไ็ ด้ รับอิทธิพลจากมหากาพย์มหาภารตะและรามายณะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องท่ีใช้เล่น 144

มาเลเซยี วายงั กลู ติ (wayang kulit) ซงึ่ แกะเปน็ รปู ตวั ละครตา่ ง ๆ ฉลใุ หแ้ สงไฟตะเกยี งลอดไดแ้ ละ ทอดเงาบนจอผา้ ตัวละครมีทั้งฝา่ ยดแี ละฝ่ายชว่ั เทพเจา้ กษัตรยิ ์ มนุษย์ ลิง ฯลฯ ตอ่ มา เม่ืออิทธิพลศาสนาอิสลามมีมากขึ้น หนังจึงหันไปเล่นนิยายพื้นบ้านแทนมหากาพย์ ของชาวฮนิ ดู มเี รอ่ื งเลา่ ทงั้ ตำ� นานและพงศาวดารเกอดะฮ์ (Kedah Annals) วา่ อาณาจกั ร โบราณชื่อลังกาซูกาหรือลังกาสุกะ (Langkasuka) ต้ังขึ้นโดยชนเผ่ารากษสที่มีเข้ียว ดุจงาช้างและกนิ เนื้อมนุษย์ เร่อื งน้มี ีที่มาว่า พระเจ้าแผน่ ดนิ องค์หนง่ึ ได้เสวยเลอื ดมนุษย์ ในน้�ำแกงโดยบังเอิญ จึงติดใจและบัญชาให้อาหารทุกอย่างใส่เลือดมนุษย์ เม่ือเสวยไป นาน ๆ จงึ เริม่ มีเขี้ยวใหญง่ อกออกมา และกลายเป็นพวกกนิ เนื้อมนษุ ย์ ในพงศาวดารมลายู (Malay Annals) ครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี ๑๓ ระบวุ า่ กษตั รยิ ม์ ลายู สืบเชื้อสายมาจากเจ้าชายอินเดีย ๓ องค์ ซึ่งเป็นทายาทของพระเจ้าอะเล็กซานเดอร์ มหาราช ท่ีชาวมลายูเรียกว่า อิสกันดาร์ (Iskandar) นอกจากนี้ จักรวรรดิศรีวิชัย (Srivijaya Empire) ซ่ึงเกิดจากการขยายอ�ำนาจของอาณาจักรปาเลิมบังหรือปาเล็มบัง (Palembang) บนเกาะสมุ าตราเมอื่ ครสิ ตศ์ ตวรรษที่ ๗ กม็ เี ขตแดนครอบคลมุ แหลมมลายู ด้วย ศรีวชิ ยั ได้รบั อทิ ธิพลมาจากอนิ เดีย ดังน้นั อทิ ธิพลทั้งทางดา้ นการเมอื งและภาษา ของอินเดียจึงตกทอดจากศรีวิชัยสู่มาเลเซีย เมื่อจักรวรรดิศรีวิชัยพ่ายแพ้จักรวรรดิ มชั ปาหติ (Majapahit) เจา้ ชายปรเมศวร (Parameswara) แหง่ ราชวงศป์ าเลม็ บงั รวบรวม ก�ำลังมาต้ังอาณาจักรซึ่งต่อมาเป็นจักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่ช่ือว่า จักรวรรดิเมอลากาหรือ มะละกา (Melaka Empire) ในครงึ่ หลงั ของครสิ ตศ์ ตวรรษที่ ๑๔ จกั รวรรดนิ เ้ี รอื งอำ� นาจ อยู่จน ค.ศ. ๑๕๑๑ ท้ังน้ีเพราะมะละกามีท่ีต้ังทางภูมิศาสตร์ท่ีดี คุมช่องแคบมะละกา ซง่ึ อยู่ระหว่างคาบสมทุ รมลายูกบั เกาะสมุ าตรา เป็นจดุ ทีส่ ามารถจอดพักเรอื เพอ่ื รอคอย ลมมรสุมท่ีเหมาะกับทิศทางท่ีต้องการ เรือสามารถเดินทางมาจากจีนด้วยลมมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือ และรอกลบั เม่อื มีลมมรสุมตะวันตกเฉยี งใต้ ท่าเรอื ในมะละกาเป็น ท่ีหลบคล่ืนลมได้เป็นอย่างดี และยังอยู่ใกล้แหล่งสินค้าต่าง ๆ เช่น ดีบุก เคร่ืองเทศ ไม้เนอื้ แขง็ การบูร หวาย ข้ผี งึ้ รงั นก ซงึ่ เปน็ ทต่ี ้องการมาก นอกจากนี้ จักรวรรดมิ ะละกา ยังค�ำนึงถงึ ผลประโยชนข์ องพอ่ คา้ เช่น เกบ็ ภาษตี ำ่� จดั เจา้ หนา้ ทีแ่ ละลา่ มให้พ่อคา้ กลุม่ 145

สารานกุ รมประวัตศิ าสตรป์ ระเทศเพ่ือนบ้านในอาเซียน ต่าง ๆ ทพี่ ูดภาษาต่างกันไวค้ อยอำ� นวยความสะดวก ขจดั ภยั โจรสลัดทีเ่ คยมีชุกชุม ทำ� ให้ มะละกากลายเป็นศูนย์กลางการค้าส�ำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เคร่ืองเทศและผ้าอินเดีย นอกจากน้ี ยังมีอู่ซ่อมเรือ ท่ีพ�ำนัก และสิ่งอ�ำนวยความสะดวกอ่ืน ๆ ปัจจัยส�ำคัญอีก อยา่ งหน่งึ คอื ชาวโอรงั ลาอตุ (Orang Laut) ซ่ึงเคยเป็นก�ำลงั สำ� คญั ของทัพเรอื มาต้งั แต่ สมยั ศรวี ชิ ยั มคี วามจงรกั ภกั ดตี อ่ พระเจา้ ปรเมศวรและผสู้ บื เชอื้ สาย นอกจากน้ี จนี ยงั ชว่ ย คุ้มครองมะละกาจากภัยคุกคามของอาณาจักรอยุธยาและจักรวรรดิมัชปาหิต จีนสมัย ราชวงศ์หมงิ เคยส่งกองเรือซงึ่ มเี จิ้งเหอ (Zheng He) เป็นผคู้ วบคมุ มาคุ้มครองดแู ล และ มชี าวจนี จำ� นวนหนง่ึ มาตงั้ รกรากในมะละกา ชาวจนี รนุ่ แรกทเ่ี ขา้ มาตง้ั ถนิ่ ฐานในมะละกา ในครสิ ต์ศตวรรษที่ ๑๕ เป็นบรรพบุรุษของกลุ่มชนเปอรานากัน (Peranakan) กลมุ่ ชาวจนี เลือดผสมท่เี รยี กกันว่า เปอรานากัน น้ี นับวา่ เป็นชาวจีนกลมุ่ แรก ในมะละกาทอ่ี ยกู่ บั ชาวพน้ื เมอื งอยา่ งกลมกลนื เพราะชายชาวจนี แตง่ งานกบั สตรพี น้ื เมอื ง ชาวมลายู บตุ รสาวท่เี กดิ มาจะไม่แต่งงานกับชาวพ้นื เมอื ง ต้องแต่งงานกบั ชาวจนี เท่านนั้ จากการส�ำรวจส�ำมะโนประชากรของชาวดัตช์ในคริสต์ศตวรรษที่ ๑๘ พบว่ามีชาว เปอรานากนั ประมาณ ๒,๐๐๐ คนในมะละกา แม้กลมุ่ ชนนีจ้ ะรกั ษาสายเลือดจนี แตก่ ร็ ับ ขนบธรรมเนยี มหลายอยา่ งมาจากชาวมลายู ชาวเปอรานากนั พดู ภาษาฮกเกยี้ นผสมมลายู นำ� เครื่องเทศ ผงกะหร่ี และกะทิ มาใชใ้ นการปรุงอาหาร สตรนี ุ่งโสร่งมลายแู ตส่ วมเสือ้ แบบจนี สตรีเปอรานากันมสี ิทธิเสรีภาพมากกว่าสตรจี นี ในประเทศจีน โดยเฉพาะอย่าง ย่งิ ทางด้านเศรษฐกจิ ชาวเปอรานากันนับถอื ศาสนาแบบชาวจนี โดยเนน้ เรอ่ื งการบชู า บรรพบรุ ษุ งานเทศกาล และพธิ กี รรม เช่น พิธีแต่งงาน พธิ ที ำ� ศพ ชายชาวเปอรานากนั เรียกว่า บาบา (Baba) หญิงเรียกว่า ญอนญา (Nyonya) หรือย่าหยา (Yaya) ชาว เปอรานากนั ชำ� นาญทางการคา้ เปน็ คนกลางในการคา้ เพราะพดู ไดท้ งั้ ภาษามลายแู ละจนี เมื่ออังกฤษเข้ามามีอิทธิพลในมลายู พวกน้ีก็นิยมการศึกษาแบบอังกฤษ ท�ำให้คล่องตัว ในการคา้ ขายยิ่งขึน้ และมีฐานะทางเศรษฐกิจสูงในสมยั อาณานคิ ม แม้จะมคี วามทนั สมยั และทันโลก แต่ชาวเปอรานากันก็ยังรักษาวัฒนธรรมและประเพณีเปอรานากันไว้ และ ดำ� รงอยูไ่ ด้ดใี นโลกจีน มลายู และตะวนั ตก 146

มาเลเซยี ยา่ นเมืองเกา่ ในมะละกา ชดุ แต่งงานของชาวเปอรานากนั 147

สารานกุ รมประวัตศิ าสตร์ประเทศเพอ่ื นบา้ นในอาเซยี น อิทธิพลจากอินเดียมิได้มีแต่ศาสนาดั้งเดิมคือ พราหมณ์-ฮินดู และพระพุทธ- ศาสนาเท่านั้น แต่ยังมีอิทธิพลศาสนาอิสลามซึ่งเผยแผ่มายังอินเดียจากตะวันออกกลาง เม่ือศาสนาอิสลามเกิดข้ึนในคาบสมุทรอาหรับในคริสต์ศตวรรษท่ี ๗ แล้ว ก็ค่อย ๆ แผ่ขยายอิทธิพลมาถึงอินเดียในคริสต์ศตวรรษท่ี ๘ มะละกาได้รับอิทธิพลอิสลาม ท้ังโดยตรงจากตะวันออกกลาง และผ่านมาทางอินเดยี พอ่ ค้าทน่ี ำ� ศาสนาอิสลามเข้ามา มะละกามที ง้ั จากตะวนั ออกกลางและอนิ เดยี ตงั้ แตป่ ระมาณครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี ๑๕ เปน็ ตน้ มา เพราะจีนเริ่มนโยบายห้ามชาวจีนเดินเรือออกนอกประเทศในช่วงเวลาดังกล่าว มะละกาจงึ หนั ไปคา้ ขายกบั ตะวนั ออกกลางและอนิ เดยี เมอื่ พบวา่ พอ่ คา้ มสุ ลมิ พอใจคา้ ขาย และผูกไมตรีกับชาวมุสลิมด้วยกัน เช้ือสายรุ่นหลานของพระเจ้าปรเมศวรก็ยอมรับ ศาสนาอิสลาม เล่ากันว่าพระองค์ทรงพระสุบินว่าเห็นเทวดา เม่ือตื่นบรรทมก็สามารถ ท่องคัมภีร์กุรอาน (Quran) ได้ จึงทรงรับศาสนาอิสลามและเปลี่ยนพระนามเป็น มฮุ มั มัด ชาฮ์ (Muhammad Shah) ส่วนชาวมลายูอน่ื ๆ กห็ ันมานบั ถอื ศาสนาอสิ ลาม เพราะตอ้ งการภราดรภาพและความไวว้ างใจระหวา่ งชาวมสุ ลมิ ด้วยกนั นอกจากน้ี ยงั มี เหตผุ ลทางการเมอื งและเศรษฐกจิ ทเ่ี ปลย่ี นมานบั ถอื ศาสนาอสิ ลามดว้ ย เพราะการคา้ สว่ น ใหญ่อยูใ่ นมอื พอ่ ค้าชาวอาหรับ เปอร์เซีย และชาวอนิ เดยี ซึ่งนบั ถือศาสนาอิสลาม ต่อมา ต้ังแตก่ ลางคริสตศ์ ตวรรษท่ี ๑๕ ดนิ แดนสว่ นใหญ่บนปลายแหลมมลายูและเกาะต่าง ๆ ลว้ นหนั ไปนับถอื ศาสนาอสิ ลาม เช่น เกดะห์บนแหลมมลายู ชวา สมุ าตรา เมอื่ ผ้ปู กครอง หรอื สุลต่านเปน็ มสุ ลิม ประชาชนกห็ ันไปนบั ถอื ตาม นับเปน็ การสร้างความสมั พนั ธอ์ ันดี ระหว่างผู้ปกครองกับประชาชน ส่วนด้านเศรษฐกิจนั้น การค้าอยู่ในมือชาวมุสลิมจาก ตะวันออกกลาง อินเดีย และชาวมสุ ลิม ในบรเิ วณเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ท�ำให้สะดวก ในการต่อรองทางธรุ กิจ อาจกล่าวได้ว่า มะละกากลายเป็นศูนย์กลางส�ำคัญทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกจิ การคา้ และศาสนาอสิ ลาม และขยายอทิ ธพิ ลไปยงั คาบสมทุ รมลายแู ละหมเู่ กาะ ตา่ ง ๆ นอกจากน้ี ยงั ท�ำใหภ้ าษามลายเู ปน็ ภาษากลางในการคา้ มคี ำ� ศัพท์ใหม่ ๆ จาก ตะวันออกกลางเข้ามาเพ่ิมในภาษาน้ีด้วย แม้มะละกาจะมีอ�ำนาจสูงสุดในสมัยสุลต่าน 148

มาเลเซีย มันซูร์ ชาฮ์ (Mansur Shah ค.ศ. ๑๔๕๙-๑๔๗๗) เพราะมอี คั รเสนาบดี (เบินดาฮารา– Bendahara) ตุนเปอระก์ (Tun Perak) ท่ีมีความสามารถมาก เขาด�ำรงต�ำแหน่งอัคร เสนาบดตี งั้ แต่ ค.ศ. ๑๔๕๖-๑๔๙๘ ทำ� ใหม้ ะละกามอี ำ� นาจทงั้ ดา้ นการเมอื งและการทหาร กองทพั มะละกาสามารถตอบโตก้ องทพั สยามทมี่ าโจมตจี นตอ้ งลา่ ทพั กลบั ไป และไดค้ รอง อำ� นาจเหนอื ดนิ แดนบนคาบสมทุ รมลายู ยดึ บางสว่ นของเกาะสมุ าตรา รวมทง้ั เกาะเลก็ ๆ ทางใต้ของสิงคโปร์ วีรบุรุษในต�ำนานการสู้รบสมัยน้ีคือ ฮังตัวะฮ์ (Hang Tuah) และ ฮังเจอบัต (Hang Jebat) ซ่ึงเป็นเพื่อนของฮังตัวะฮ์ แต่ภายหลังก็หักหลังเพ่ือนและ กลายเป็นศตั รูกนั อยา่ งไรกต็ าม การทชี่ าวตา่ งชาตเิ ขา้ มาอยใู่ นมะละกาจำ� นวนมาก และมะละกา เป็นดินแดนท่ีร่�ำรวยมหาศาล ท�ำให้เป็นที่หมายปองของชาวโปรตุเกสซ่ึงพยายามโจมตี และก่อกวน เป็นผลให้พ่อค้าย้ายไปค้าขายที่อื่นและหลีกเลี่ยงมะละกา ชาวมะละกา ซ่ึงเป็นต่างชาติก็มิได้มีความภักดีต่อมะละกา จึงมิได้ผนึกก�ำลังร่วมต่อสู้ศัตรู อีก ประการหนึ่ง มะละกาพึ่งการค้ามากเกินไป มิได้ผลิตอาหารเอง เม่ือการค้าถูกกระทบ กระเทอื น มะละกากต็ กอย่ใู นฐานะล�ำบาก เมอ่ื อัครเสนาบดมี ูตาฮีร์ (Mutahir) ซ่ึงด�ำรง ต�ำแหนง่ สบื ต่อจากตนุ เปอระก์ ไม่ซอ่ื สตั ย์สุจรติ เหมอื นตุนเปอระก์ กเ็ กดิ เหตุการณท์ ่นี ำ� ไปสคู่ วามวุ่นวายในราชสำ� นักและความเสอ่ื มของมะละกา ชาวโปรตุเกสเป็นชาติแรกท่ีเข้ามาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีจุดประสงค์ ทางการค้า การเผยแผ่คริสตศ์ าสนา และสรา้ งเกยี รติภมู ิของประเทศ โปรตุเกสนำ� ทพั เรือ มายังมะละกาใน ค.ศ. ๑๕๐๙ เรียกร้องอภิสิทธ์ิทางการค้าและขอสร้างป้อมปราการ แต่ถูกกองทัพมะละกาโจมตีและจับกะลาสีชาวโปรตุเกสประมาณ ๒๐ คนเป็นเชลย ใน ค.ศ. ๑๕๑๑ อัลฟองโซ เด อลั บแู กรเ์ ก (Alfonso de Albuquerque) จึงน�ำกองทัพ เรอื ทใ่ี หญก่ วา่ เดมิ มาโจมตอี กี ครงั้ ทพั โปรตเุ กสมอี าวธุ ดกี วา่ ของชาวมะละกาจงึ ไดช้ ยั ชนะ และมีผลให้เชื้อพระวงศ์ของอาณาจักรมะละกาหนีไปแคว้นปะหัง หลังจากน้ัน ก็ไปที่ แคว้นยะโฮร์ทางใต้ของคาบสมุทรมลายู และไปต้ังมั่นที่เมืองรีเอาบนเกาะเบินตัน (Bentan) 149

สารานกุ รมประวัติศาสตรป์ ระเทศเพอื่ นบา้ นในอาเซียน นอกจากชาวโปรตุเกสจะต้องการความม่ังคั่งจากมะละกาแล้ว พวกเขายัง ตอ้ งการคมุ เสน้ ทางการคา้ จากหมเู่ กาะเครอื่ งเทศไปยงั เกาะมาเกา๊ (Macao) ของจนี และ ต้องการให้ชาวมลายูเปล่ียนมานับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก แต่จุดประสงค์ ข้อหลังน้ีล้มเหลวอย่างส้ินเชิง ความโหดเห้ียมของชาวโปรตุเกสท�ำให้ประชาชนหันมา นบั ถอื ศาสนาอิสลามมากข้ึน พ่อคา้ สว่ นใหญพ่ ยายามหลีกเลี่ยงมะละกา มผี ลให้อาเจะฮ์ (Aceh) ซ่ึงอย่สู ่วนเหนือของเกาะสุมาตรากลายเปน็ ศนู ยก์ ลางการค้าของชาวมุสลิมแทน มะละกา อาเจะฮ์รุ่งเรืองในสมัยสุลต่านอิสกันดาร์ มูดา (Iskandar Muda ครองราชย์ ค.ศ. ๑๖๐๗–๑๖๓๖) พระองค์ขยายอ�ำนาจไปยังคาบสมุทรมลายู ตีได้ปะหังใน ค.ศ. ๑๖๑๗ และรวบรวมเชลยจากปะหังไปเป็นทาสในอาเจะห์ ต่อมาก็ตีได้เกดะห์ ใน ค.ศ. ๑๖๑๙ และโจมตียะโฮรห์ ลายครง้ั จนกระทั่งเช้อื สายเจา้ ยะโฮร์ตอ้ งล้ภี ัยไปทีอ่ น่ื ใน ค.ศ. ๑๖๒๙ อิสกันดาร์ยกทพั บกและทัพเรอื เขา้ โจมตีโปรตเุ กสทมี่ ะละกา แต่กองทพั โปรตุเกสจากกัวหรือโคอา (Goa) ในอินเดียมาช่วยรบทันเวลา ทัพอาเจะฮ์พ่ายแพ้และ ทหารล้มตายไปประมาณ ๑๐,๐๐๐–๒๐,๐๐๐ คน ท�ำให้อ�ำนาจอาเจะฮ์บนคาบสมุทร มลายูเส่อื มลง ชาวตะวันตกชาติท่ี ๒ ที่เข้ามาสร้างอิทธิพลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คือ ฮอลนั ดาหรอื ดตั ช์ (Dutch) ซง่ึ ตา่ งกบั โปรตเุ กสตรงทไ่ี มส่ นใจเรอ่ื งการเผยแผศ่ าสนา ยะโฮร์ ซง่ึ ไมน่ ิยมโปรตเุ กส จงึ รว่ มมือกับชาวดัตชใ์ น ค.ศ. ๑๖๓๙ เพ่ือโจมตีมะละกา มะละกา ยอมแพใ้ น ค.ศ. ๑๖๔๑ ยะโฮร์หวังจะกลบั มาสรา้ งอ�ำนาจในมะละกา แต่ถูกดตั ช์ขัดขวาง อย่างไรก็ตาม ชาวดัตช์ยังต้องการความร่วมมือจากยะโฮร์ต่อไป จึงยอมให้ยะโฮร์ขยาย อ�ำนาจบนคาบสมุทรมลายูยกเว้นมะละกา ยะโฮร์รุ่งเรืองมาจนกระทงั่ ค.ศ. ๑๖๗๓ เมือ่ เกดิ สงครามระหว่างยะโฮร์กับแคว้นจัมบี (Jambi) บนเกาะสมุ าตราซึ่งมสี ุลต่านปกครอง แมย้ ะโฮรช์ นะในคร้ังนั้นแตก่ อ็ ่อนแอลงในสมัยสลุ ต่านมะฮม์ ดู (Mahmud ค.ศ. ๑๖๘๕- ๑๖๙๙) ซ่งึ ขนึ้ ครองราชยเ์ มื่อมีพระชนมายเุ พยี ง ๗ พรรษา จงึ อยู่ใต้อ�ำนาจของผู้ส�ำเร็จ ราชการ แม้เมื่อพระองค์บรรลุนิติภาวะแล้ว ก็ยังไม่เหมาะสมท่ีจะเป็นสุลต่าน เพราะ ทรงมีพระทัยโหดเหี้ยมผิดปรกติ ในที่สุดจึงถูกปลงพระชนม์ในตลาด สุลต่านอับดุล 150

มาเลเซีย ญะลีล รีอายัต ชาฮท์ ี่ ๔ (Abdul Jalil Riayat Shah IV ค.ศ. ๑๖๙๙–๑๗๒๐) ซง่ึ มใิ ช่เชอ้ื พระวงศ์ได้ครองราชย์ต่อมา แต่เนื่องจากเคยร่วมในแผนปลงพระชนม์สุลต่าน ท�ำให้ ประชาชนไม่จงรักภักดี โดยเฉพาะพวกโอรังลาอุตซ่ึงเช่ียวชาญทางทะเลไม่สนับสนุน เพราะพระองคข์ ้ึนครองราชยโ์ ดยไมช่ อบธรรม ชาวดัตช์ก่อต้ังบริษัทอินเดียตะวันออกของฮอลันดาหรือวีโอซี (Dutch East India Company; Vereenigde Oostindische Compagnie–VOC) ใน ค.ศ. ๑๖๐๒ สรา้ งทพั บกและทพั เรอื ของบรษิ ทั เองไวป้ อ้ งกนั บรษิ ทั และขยายอำ� นาจไปในบรเิ วณเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ ชาวดตั ช์ตีได้มะละกาจากโปรตเุ กสใน ค.ศ. ๑๖๔๑ การที่สุลตา่ นแหง่ ยะโฮรช์ ว่ ยชาวดตั ชใ์ นสงครามระหวา่ งดตั ชก์ บั โปรตเุ กสเพอื่ ชว่ งชงิ มะละกา สง่ ผลใหย้ ะโฮร์ ไดส้ ทิ ธพิ เิ ศษจากดตั ช์ เชน่ พอ่ คา้ ยะโฮรส์ ามารถคา้ ขายสนิ คา้ ทชี่ าวดตั ชผ์ กู ขาดแตผ่ เู้ ดยี ว ชาวดตั ชจ์ งึ เปน็ ปจั จยั หนง่ึ ทที่ ำ� ใหค้ วามรงุ่ เรอื งแผข่ ยายภายในคาบสมทุ รมลายู ไมเ่ ฉพาะ แต่ในมะละกาซึ่งตกเป็นของดัตช์อยู่ระยะหน่ึง เมื่อประกอบกับการท่ีชาวดัตช์มุ่ง ความรำ�่ รวยทางการคา้ มากกวา่ การเผยแผศ่ าสนาแบบชาวโปรตเุ กส ทำ� ใหศ้ าสนาอสิ ลาม แผข่ ยายไปในคาบสมทุ รมลายโู ดยไม่มีอปุ สรรค แคว้นหรืออาณาจักรพ้ืนเมืองที่ส�ำคัญในสมัยที่ชาวดัตช์มีอ�ำนาจมีหลายแห่ง ท่ีส�ำคัญคือ รัฐสุลต่านแห่งยะโฮร์ ซ่ึงอยู่ที่ปลายคาบสมุทรมลายูใต้ลงมาจากมะละกา เจ้าผู้ครองอ้างว่าเป็นทายาทจักรวรรดิศรีวิชัยและมะละกา และนับตนเป็นเชื้อสายของ พระเจา้ ปรเมศวรผกู้ อ่ ตงั้ จกั รวรรดิมะละกา ยะโฮร์เร่มิ รุง่ เรืองต้ังแตช่ ว่ ยกองทัพดตั ช์ให้ รบชนะกองทพั โปรตเุ กสทมี่ ะละกาใน ค.ศ. ๑๖๔๑ ดงั กลา่ วแลว้ แตใ่ นบางระยะรฐั สลุ ตา่ น แหง่ ยะโฮรก์ อ็ อ่ นแอเพราะทำ� สงครามกบั ดนิ แดนใกลเ้ คยี ง หรอื มสี ลุ ตา่ นทอี่ อ่ นแอจนเกดิ กบฏชิงบัลลังก์ เม่ือถึงคริสต์ศตวรรษท่ี ๑๘ ยะโฮร์มีปัญหาใหญ่จากชาวบูกิซ (Bugis) จากซลู าเวซซี งึ่ คา้ ขายเครอื่ งเทศและเปน็ ชาวทะเลทเ่ี ชย่ี วชาญในการรบ เมอื่ ชาวบกู ซิ ตอ้ ง เผชิญกับชาวดัตช์ที่มีอาวุธทันสมัยกว่าและคอยแก่งแย่งธุรกิจการค้า จึงต้องเปล่ียน วิถีชีวิตเพื่อความอยู่รอดด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น บางพวกไปเป็นทหารรับจ้างให้กองทัพ ดัตช์และเรียนรู้การใช้อาวุธที่มีประสิทธิภาพ บางพวกย้ายถ่ินฐานไปเป็นกองก�ำลัง 151

สารานุกรมประวัตศิ าสตรป์ ระเทศเพ่อื นบ้านในอาเซียน สนับสนุนสุลต่านแห่งยะโฮร์ อีกพวกหน่ึงไปตั้งถ่ินฐานในเซอลาโงร์หรือสลังงอร์ (Selangor) บริเวณท่ียังไม่มีคนจับจอง เป็นต้น ท่ียะโฮร์ ใน ค.ศ. ๑๗๑๖ พวกบูกิซ สนบั สนนุ ราชาเกอจลี (Raja Kecil) จากแคว้นมนี ังกาเบา (Minangkabau) ในสุมาตรา ซง่ึ อา้ งตนเปน็ เชอ้ื สายสลุ ตา่ นมะฮม์ ดู ผถู้ กู ลอบปลงพระชนม์ มาทวงบลั ลงั กค์ นื จากสลุ ตา่ น อับดุล ญะลลี ซึ่งขน้ึ ครองราชยอ์ ย่างไม่ชอบธรรม ในเบ้อื งแรก พวกบูกซิ สนบั สนุนราชา เกอจีลในสงครามชิงบัลลังก์ แต่เม่ือราชาเกอจีลโจมตีท�ำลายเมืองหลวงของยะโฮร์ พวกบกู ิซรสู้ กึ ว่าถกู หกั หลัง จึงทำ� สงครามกับราชาเกอจลี ซง่ึ มพี วกมีนงั กาเบาสนบั สนุน เป็นเวลานานถึง ๕ ปี เมื่อพวกบูกิซได้ชัยชนะจึงเป็นก�ำลังสนับสนุนโอรสของสุลต่าน อับดุล ญะลลี ข้นึ ครองราชย์ นอกจากสร้างอำ� นาจในยะโฮร์แลว้ พวกบูกซิ ยงั เขา้ ไปในอาณาจกั รอนื่ ๆ เชน่ เกดะห์ เประหรือเปอระก์ (Perak) และเข้าครอบครองสลังงอร์ซึ่งยังไม่มีผู้ใดจับจอง เม่ือชาวมีนังกาเบาเข้าโจมตีสลังงอร์ใน ค.ศ. ๑๗๔๒ พวกบูกิซสามารถขับไล่ออกไปได้ และเห็นความจ�ำเป็นจะต้องสถาปนาสุลต่านขึ้นครองสลังงอร์ สุลต่านองค์แรกคือ ซอลาฮดุ ดนี (Salahuddin) ซง่ึ เรม่ิ ตน้ ราชวงศแ์ ละมเี ชอ้ื สายครองสบื ตอ่ มาจนถงึ ปจั จบุ นั น้ี ในกลางครสิ ตศ์ ตวรรษที่ ๑๘ ชาวบกู ซิ ครอบครองยะโฮร์ เปน็ พนั ธมติ รกบั ปะหงั และหมู่เกาะรีเอากับเกดะห์ซึ่งเป็นแหล่งปลูกข้าวท่ีใหญ่ที่สุด เปอระก์ซึ่งอุดมด้วยดีบุก และครอบครองสลงั งอรซ์ งึ่ กลายเปน็ ฐานสำ� คญั ของชาวบกู ซิ ในชอ่ งแคบมะละกา รวมทง้ั ถ่ินเดิมของชาวบูกิซในหมู่เกาะซูลาเวซี ชาวบูกิซต้องท�ำสงครามเป็นระยะ ๆ กับ ชาวมนี งั กาเบา แตก่ ็ได้ชัยชนะเสมอ ชนชาตเิ ดียวทเี่ ปน็ ศัตรูสำ� คญั ของชาวบกู ิซคอื ดตั ช์ เพราะผลประโยชน์ขัดกัน ชาวดัตช์เห็นว่าชาวบูกิซเป็นโจรสลัดท่ีต้องปราบปราม เมื่อ ชาวบกู ซิ โจมตมี ะละกาใน ค.ศ. ๑๗๘๔ และพา่ ยแพช้ าวดตั ช ์ กำ� ลงั ของชาวบกู ซิ ถกู บนั่ ทอน ดัตช์โจมตสี ลังงอรจ์ นสุลตา่ นสลงั งอรต์ อ้ งลภี้ ัยไปทอ่ี ื่น ต่อมา ดัตช์กย็ ึดไดร้ เี อา ชยั ชนะ ของดัตช์เหนือบูกิซแผ้วทางให้อังกฤษเข้ามาสร้างอ�ำนาจแทนที่และได้ผลประโยชน์ อยา่ งมาก 152

มาเลเซีย ชาวตะวันตกชาตทิ ี่ ๓ ที่เข้ามาในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ คือ อังกฤษ หลัง อังกฤษชนะกองทัพเรืออันยิ่งใหญ่ของสเปน (Spanish Armada) ใน ค.ศ. ๑๕๘๘ องั กฤษกลายเปน็ มหาอำ� นาจทางทะเล องั กฤษกอ่ ตง้ั บรษิ ทั อนิ เดยี ตะวนั ออก (East India Company) ขนึ้ ในวันที่ ๓๑ ธันวาคม ค.ศ. ๑๖๐๐ ซ่งึ เป็นจดุ เร่ิมต้นของการสร้างอิทธพิ ล อังกฤษในอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แรกทีเดียว อังกฤษพยายามเข้าไปที่ เกาะสุมาตรา ชวา และหมู่เกาะโมลุกกะ (Moluccas) เพ่ือค้าเคร่ืองเทศ เมื่อถึง ค.ศ. ๑๖๐๘ จึงเรมิ่ เข้าไปคา้ ทีอ่ ินเดียและตั้งสถานีการคา้ แห่งแรกทสี่ รุ าฏ (Surat) บนฝง่ั ทะเลตะวนั ตกของอินเดยี แต่อังกฤษก็ยงั สนใจการค้าในเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ จนเกิด ขดั แยง้ กบั ชาวดตั ช ์ ใน ค.ศ. ๑๖๒๓ ความขดั แยง้ นำ� ไปสกู่ ารสงั หารหมชู่ มุ ชนพอ่ คา้ องั กฤษ ท่ีเมืองอัมบอยนา (Amboyna) ในหมู่เกาะโมลุกกะ โดยดัตช์อ้างว่ากลุ่มพ่อค้าอังกฤษ วางแผนโจมตีป้อมปราการดตั ช ์ องั กฤษจึงเบนความสนใจไปยังอินเดียและแผน่ ดินใหญ่ ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่ยังคงครอบครองเมืองเบินคูเล็น (Bencoolen) บน เกาะสุมาตราฝั่งตะวันตกซ่ึงอังกฤษมีป้อมปราการและสถานีการค้าตั้งอยู่ เมื่อถึงคริสต์ ศตวรรษท่ี ๑๘ องั กฤษมนี โยบายทจ่ี ะสรา้ งคาบสมทุ รมลายใู หเ้ ปน็ สว่ นหนง่ึ ของจกั รวรรดิ องั กฤษและเปน็ แหลง่ สนิ ค้าส�ำคญั เช่น ใบชา ดบี กุ ผ้าฝา้ ย เคร่อื งเทศ ท้งั น้ีเพราะอำ� นาจ ของดตั ชเ์ สอ่ื มลง ขณะทอ่ี งั กฤษมอี �ำนาจมากขนึ้ นอกจากนี้ ยงั มคี วามขดั แยง้ กนั ระหวา่ ง อาณาจกั รตา่ ง ๆ บนคาบสมุทรมลายู เปน็ โอกาสทอี่ ังกฤษจะเขา้ แทรกแซงทางการเมือง แมอ้ งั กฤษจะเขา้ มาในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตต้ ง้ั แตค่ รสิ ตศ์ ตวรรษที่ ๑๗ แตก่ ็ ให้ความสนใจภูมิภาคน้ีน้อยมาก สาเหตุประการหนึ่งคือ ปัญหาความขัดแย้งและ การแข่งขันจากฮอลันดาซึ่งเข้ามามีบทบาทก่อนอังกฤษ และนอกจากนั้น ผลประโยชน์ ทางการคา้ ก็ไมม่ มี ากพอทจ่ี ะเป็นแรงจงู ใจสำ� คัญ ตัวอย่างทชี่ ดั เจนกรณหี น่ึง คอื อังกฤษ เขา้ มาตดิ ต่อกับอยธุ ยาเพียงช่วั ระยะเวลาสั้น ๆ จากนั้นก็ถอนตวั ออกไป ความสนใจของ องั กฤษเริ่มมมี ากข้ึนในคริสตศ์ ตวรรษที่ ๑๘ เมื่อมีการขยายการค้ากับจีน พร้อม ๆ ความ ต้องการดีบุกท่ีเพ่ิมข้ึน จึงให้ความสนใจดินแดนภาคตะวันตกของคาบสมุทรมลายูท่ีมี แหล่งแร่นอ้ี ยูม่ าก 153

สารานกุ รมประวัติศาสตรป์ ระเทศเพ่อื นบ้านในอาเซยี น การขยายการค้ากับจีนท�ำให้อังกฤษต้องการสถานีการค้าระหว่างกว่างตง (Guangdong) กับกลั กตั ตา [Calcutta ปัจจบุ นั เรียกว่า โกลกาตา (Kolkata)] และความ ต้องการนี้เองท่ีเป็นจุดเร่ิมต้นของการขยายอิทธิพลของอังกฤษในคาบสมุทรมลายูและ แผน่ ดินใหญ่เอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ในเวลาต่อมา ในช่วงเวลาเดยี วกันนี้ ฟรานซิส ไลต์ (Francis Light) ซึ่งท�ำงานใหก้ บั บรษิ ทั ในเมอื งมทั ราส [Madras หรือเจนไน (Chennai) ในปจั จบุ นั ] และทำ� หนา้ ทเี่ ดนิ เรอื คา้ ขายระหวา่ งอนิ เดยี อาเจะห์ และคาบสมทุ รมลายู ได้ รบั คำ� สง่ั ใหต้ ิดต่อสร้างสัมพันธ์กบั เจา้ ผู้ครองแว่นแควน้ ตา่ ง ๆ ในดินแดนนี้ เขาจงึ เข้ามา ตั้งหลกั แหลง่ เพือ่ ท�ำการค้าทงั้ ในอาเจะหแ์ ละเกดะห์ และมีความสัมพนั ธอ์ ันดกี ับสลุ ตา่ น แห่งรัฐเกดะห์ ซ่ึงนอกจากจะมีปัญหาเก่ียวกับการคุกคามจากสยามซ่ึงถือว่าเกดะห์ (หรอื ไทรบุร)ี เป็นรฐั บรรณาการของตนแลว้ ยังต้องเผชิญกบั ความไม่สงบภายในอีกด้วย หลังการกบฏของพระราชวงศเ์ มอื่ ค.ศ. ๑๗๗๐ จนสลุ ตา่ นตอ้ งหนไี ปอยทู่ ร่ี ฐั ปะลสิ ในปี ต่อมา สุลต่านมีหนังสือถึงข้าหลวงอังกฤษแห่งมัทราส ให้ช่วยปราบพวกกบฏเพ่ือให้ พระองค์กลับไปปกครองเกดะห์ตามเดิม และยังขอความช่วยเหลือไปยังฟรานซิส ไลต์ ที่ตดิ ตอ่ คา้ ขายอยูใ่ นอาเจะห์และเกดะห์ขณะนน้ั ดว้ ย ข้าหลวงอังกฤษท่ีมัทราสปฏิเสธค�ำร้องขอความช่วยเหลือของสุลต่านแห่ง เกดะห์ แต่บริษทั ของไลตส์ นใจท่จี ะค้าขายกับเกดะห์ จงึ ใหเ้ ขาเดินทางไปทรี่ ฐั นใ้ี นเดอื น เมษายน ค.ศ. ๑๗๗๑ พร้อมกับเรอื ติดอาวธุ ๒ ล�ำและทหารซปี อย (Sepoy) ๓๐ คน เมือ่ ไลตเ์ ดนิ ทางไปถงึ เกดะห์ กบฏยตุ ลิ งแลว้ เพราะประชาชนไมส่ นบั สนนุ อยา่ งไรกด็ ี สลุ ตา่ น เหน็ โอกาสที่จะมีอังกฤษเขา้ มาปกป้องคุ้มครอง จงึ ทำ� ความตกลงกับไลต์ในฐานะตัวแทน บรษิ ทั ใหบ้ รษิ ทั จดั กองกำ� ลงั ซปี อย ๑๐๐ คนเขา้ มาประจำ� ในเกดะหเ์ พอ่ื ปอ้ งกนั ไมใ่ หศ้ ตั รู ของสุลต่านเข้ามาคุกคามได้อีก โดยบริษัทได้รับสิทธิตั้งส�ำนักงานตัวแทนบริษัทข้ึนที่ เมืองกัวลาเกดะห์ (Kuala Kedah) ซ่ึงอยู่บนชายฝั่งห่างจากเมืองหลวงอลอร์สตาร์ (Alor Setar) ประมาณ ๑๒ กโิ ลเมตร นอกจากนนั้ สลุ ตา่ นและบรษิ ทั จะแบง่ ผลประโยชน์ เท่า ๆ กันจาก ๒ ใน ๓ ของผลกำ� ไรท่บี ริษัทได้รบั ทเี่ หลืออีก ๑ ใน ๓ สว่ นกนั ไว้ส�ำหรับ เป็นคา่ ใชจ้ า่ ยของส�ำนกั งานตัวแทนบริษทั และกองก�ำลังซปี อย 154

มาเลเซยี ในช่วงน้ีสุลต่านคงเห็นโอกาสที่จะหลุดพ้นจากอิทธิพลของสยามซ่ึงขณะน้ัน ก�ำลังติดพันอยู่กับศึกพม่าด้วย จึงเสนอผ่านไลต์ว่า จะยกทั้งดินแดนชายฝั่งตั้งแต่ กัวลาเกดะห์ไปจนถึงปีนัง พร้อมทั้งผลประโยชน์ทางการค้าให้แก่บริษัท เพ่ือแลกกับ การที่อังกฤษจะให้ความคุ้มครองเกดะห์ ไลต์ต้องการให้บริษัทท่ีตนสังกัดหรือบริษัท อินเดียตะวันออกของอังกฤษตั้งฐานเพื่อขยายการค้าในเกดะห์ เขาจึงส่งหนังสือของ สุลต่านไปพร้อมกับรายงานผลท่ีจะได้รับจากการค้ากับรัฐน้ี ไปถึงข้าหลวงแห่งมัทราส (Governor of Madras) แต่ความพยายามของไลต์ไม่เป็นผล เพราะบริษัทอินเดีย ตะวันออกไมต่ อ้ งการเข้ามาเกีย่ วข้องกบั ความขดั แย้งใด ๆ ในดินแดนน ี้ แมส้ ุลตา่ นจะมี หนังสือเป็นการส่วนพระองค์ด้วยค�ำแนะน�ำของไลต์ไปถึงข้าหลวงแห่งมัทราสในเดือน มกราคม ค.ศ. ๑๗๗๒ แตท่ างการองั กฤษก็ยงั คงไมส่ นใจอยเู่ ชน่ เดมิ อยา่ งไรกต็ าม หลงั จากนนั้ องั กฤษพยายามหาจุดแวะพกั ท่ีจะใชเ้ ป็นสถานกี าร คา้ ระหว่างกวา่ งตงกบั กลั กัตตา ดงั นั้น ในเดอื นมถิ ุนายน ค.ศ. ๑๗๘๔ วอรเ์ รน เฮสติงส์ (Warren Hastings) ข้าหลวงใหญ่ (Governor-General) คนแรกแห่งอินเดีย (ค.ศ. ๑๗๗๓-๑๗๘๕) จงึ สง่ รอ้ ยเอก ทอมสั ฟอรเ์ รสต์ (Thomas Forrest) ไปสำ� รวจเกาะ ในทะเลอันดามัน ฟอร์เรสต์เห็นว่าเกาะเซนต์แมตทิว (St. Matthew’s Island) ใน หมู่เกาะมะริด (Mergui) นอกฝั่งตะนาวศรีทางตะวันออกเฉียงใต้สุดของเมียนมาเหมาะ ทอี่ งั กฤษจะใช้เป็นฐาน ในโอกาสน้ี ฟอร์เรสต์ได้ส�ำรวจเกาะปีนังดว้ ย และเหน็ วา่ จะเป็น สถานกี ารคา้ ได้ จงึ ตอ้ งการผนวกเขา้ กบั ขอ้ เสนอทจี่ ะใหต้ งั้ ฐานทพั เรอื ขน้ึ ทเี่ กาะเซนตแ์ มตทวิ ในรายงานท่ีเสนอต่อเฮสติงส์ ฟอร์เรสต์ให้รายละเอียดเกี่ยวกับปีนังพร้อมแผนท่ี หลากหลายของบรเิ วณโดยรอบ ขณะน้ัน ไลต์กลับมาพ�ำนักอยู่ในเกดะห์ (หลังจากท่ีไปค้าขายอยู่ที่เมืองถลาง เป็นเวลานาน) และได้ทราบว่าบริษัทอินเดียตะวันออกพยายามหาฐานที่ม่ัน แต่ยัง ไม่ประสบผลส�ำเร็จ เขาจึงถือโอกาสไปเจรจาขอเช่าเกาะปีนังจากสุลต่านโดยเสนอว่า อังกฤษจะให้การคุม้ ครองเกดะหจ์ ากศตั รเู ปน็ การแลกเปลี่ยน สลุ ตา่ นทรงเหน็ ชอบและ มีหนงั สือไปถงึ ข้าหลวงใหญแ่ หง่ อินเดยี เงือ่ นไขสำ� คญั ในหนงั สือนี้ คือ เพื่อแลกเปลย่ี น 155

สารานกุ รมประวัตศิ าสตรป์ ระเทศเพื่อนบา้ นในอาเซียน ปอ้ มอาฟาโมซา ถ่ายเมือ่ ค.ศ. ๑๙๑๐ โบสถเ์ ซนตป์ เี ตอร์และเซนต์ปอล สร้างเมือ่ ค.ศ. ๑๗๑๐ 156

มาเลเซยี กบั การใหอ้ งั กฤษเชา่ เกาะปนี งั เปน็ สถานกี ารคา้ การซอ่ มเรอื และเตมิ เสบยี ง บรษิ ทั อนิ เดยี ตะวันออกจะต้องคุ้มครองท้ังสุลต่านและน่านน�้ำทางทะเลให้พ้นจากศัตรู และบริษัท จะเปน็ ผ้รู บั ผิดชอบค่าใช้จา่ ยท้งั หมด สลุ ตา่ นทรงแตง่ ตงั้ ไลตเ์ ปน็ ผแู้ ทนนำ� ขอ้ เสนอนไ้ี ปใหแ้ กบ่ รษิ ทั อนิ เดยี ตะวนั ออก ขององั กฤษท่ีกัลกตั ตา เซอร์จอห์น แมกเฟอรส์ นั (Sir John Macpherson) ซ่งึ ดำ� รง ต�ำแหน่งรักษาการข้าหลวงใหญ่แห่งอินเดียเห็นชอบและมีหนังสือตอบรับข้อเสนอไปถึง สุลต่าน แต่กล่าวถึงเร่ืองการให้ความคุ้มครองและความช่วยเหลือทางทหารแต่เพียงว่า ได้สง่ เรอ่ื งน้รี วมท้งั ค่าชดเชยการเชา่ เกาะปีนังไปยงั รฐั บาลองั กฤษเพ่ือขอความเหน็ ชอบ เมอ่ื ขา้ หลวงใหญแ่ หง่ อนิ เดยี รบั ขอ้ เสนอเรอ่ื งการเชา่ เกาะปนี งั แลว้ กแ็ ตง่ ตงั้ ไลต์ เป็นข้าหลวงเพื่อเตรียมการตั้งฐานที่ม่ันท่ีเกาะปีนัง ไลต์เดินทางกลับไปเกดะห์เม่ือวันท่ี ๒๙ มิถนุ ายน ค.ศ. ๑๗๘๖ เมือ่ สลุ ตา่ นทราบคำ� ตอบของแมกเฟอรส์ นั พระองค์ก็ทรง อนุญาตให้ไลต์ครอบครองปีนังเป็นการช่ัวคราวเท่านั้นจนกว่าจะตกลงกับรัฐบาลอังกฤษ ในลอนดอนให้แน่ชัดในเรื่องความช่วยเหลือทางทหารและค่าตอบแทน อย่างไรก็ตาม ไลต์กลับเข้าครอบครองเกาะปีนังอย่างเป็นทางการในวันท่ี ๑๑ สิงหาคม ค.ศ. ๑๗๘๖ ในนามของพระเจา้ จอรจ์ ท่ี ๓ (George III) แหง่ อังกฤษ และตั้งช่ือใหมว่ ่า “เกาะพรนิ ซ์ ออฟเวลส์” (Prince of Wales Island) ต้ังเมืองจอร์จทาวน์ (Georgetown) เป็น เมืองหลวงของรัฐ ซ่ึงถือเป็นจุดเร่ิมต้นของการเข้ามามีอ�ำนาจของอังกฤษในคาบสมุทร มลายูในเวลาต่อมา ปนี งั กลายเปน็ แหลง่ จำ� หนา่ ยสนิ คา้ จากองั กฤษและอนิ เดยี ใหแ้ กพ่ อ่ คา้ พน้ื เมอื ง ตัวอย่างสนิ ค้าจากปนี ัง ได้แก่ ฝ่ิน ส่ิงทอ เหลก็ กล้า ดินปืน และสินคา้ เหล็ก ส่วนอังกฤษ ซือ้ ข้าว ดีบุก เครื่องเทศ เครือ่ งหวาย งาชา้ ง ไมเ้ นอ้ื แข็ง เป็นตน้ นอกจากนี้ ปีนงั ยงั เปน็ ฐานทัพเรือท่ีคอยปกป้องกองเรืออังกฤษ และกีดกันมิให้ฝรั่งเศสเข้าถึงอาณานิคมของ ดัตช์ท่ีอยู่ทางใต้ ความเป็นระเบียบและความคุ้มครองของอังกฤษดึงดูดให้พ่อค้าใน หมู่เกาะต่าง ๆ มาค้าขาย และดึงดูดใหช้ นชาติตา่ ง ๆ ยา้ ยเข้ามาตัง้ ถิน่ ฐานในปนี งั เช่น 157

สารานกุ รมประวัติศาสตร์ประเทศเพ่อื นบา้ นในอาเซียน ชาวจีนซ่ึงมาอยู่อาศัยและเป็นแรงงานมีจ�ำนวนมากท่ีสุด นอกจากนั้น ยังมีชาวอาหรับ บูกซิ อนิ เดยี อเมริกนั เปอร์เซยี สยาม และมลายู สุลต่านแห่งเกดะห์เร่ิมไม่พอใจความเจริญที่จอร์จทาวน์ พระองค์ได้รับเพียง เงินปีจากอังกฤษ และอังกฤษก็ไม่สนใจท่ีจะปกป้องเกดะห์จากราชอาณาจักรสยาม ดงั น้ัน ใน ค.ศ. ๑๗๙๑ สุลต่านจงึ ยกทพั เขา้ โจมตีปีนงั แต่ถกู ฟรานซสิ ไลต์สกดั กนั้ กอง เรือของสลุ ต่านท่เี มืองไปร (Prai) ซง่ึ อย่ตู รงขา้ มเกาะปนี ัง ไลต์ให้อังกฤษซือ้ เมอื งไปรจาก สลุ ตา่ นเพอ่ื ปอ้ งกนั การโจมตใี นอนาคต และเพอ่ื ใชท้ ดี่ นิ นนั้ เพาะปลกู อาหารเลย้ี งเกาะปนี งั ตั้งชอื่ ดนิ แดนใหมน่ วี้ า่ พรอวนิ ซ์เวลสล์ ยี ์ (Province Wellesley) และใชด้ นิ แดนใหม่น้ี ควบคมุ เกดะหไ์ ดส้ ะดวกขน้ึ อยา่ งไรกต็ าม ปนี งั ตงั้ อยเู่ หนอื สดุ ของชอ่ งแคบมะละกาและ ห่างจากช่องแคบซุนดา (Sunda Straits) จงึ มีลกั ษณะทางภูมิศาสตรไ์ ม่เหมาะสมจะเป็น ศูนย์ส�ำคัญของอังกฤษ แต่ก็เป็นตัวช้ีแนะในอนาคตให้ทอมัส สแตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์ (Thomas Stamford Raffles) พิจารณาว่าเกาะสิงคโปร์จะเหมาะกว่าปีนัง เพราะอยู่ บรเิ วณตำ�่ สุดของคาบสมทุ รมลายู อังกฤษเข้าครองอ�ำนาจในมะละกาตั้งแต่ ค.ศ. ๑๗๙๕ เพราะหลังการปฏิวัติ ฝร่ังเศส ค.ศ. ๑๗๘๙ ฝรง่ั เศสเรม่ิ กอ่ กระแสลม้ ลา้ งระบบกษัตรยิ แ์ ละกอ่ ตง้ั สาธารณรฐั ขึ้น ในประเทศอื่น ๆ เหมือนในฝร่ังเศส ประเทศในยุโรปที่มีกษัตริย์จึงร่วมมือกันต่อต้าน ฝรงั่ เศส ใน ค.ศ. ๑๗๙๕ ฝรั่งเศสต้งั สาธารณรัฐหุ่นข้นึ ในเนเธอร์แลนด์ ทำ� ใหก้ ษัตริยด์ ัตช์ ต้องล้ีภัยไปอยู่ประเทศอังกฤษ อังกฤษเกรงว่าฝรั่งเศสจะยึดดินแดนของดัตช์ในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ จึงขอให้พระเจ้าวิลเลียมที่ ๕ (William V) ของดัตช์ยินยอมให้อังกฤษ ดแู ลดินแดนเพื่อมใิ ห้ตกเป็นของฝรั่งเศส อังกฤษน�ำกองทัพจากบริษัทอนิ เดียตะวันออก ของอังกฤษเข้ายึดครองมะละกาแทนท่ีดัตช์ อังกฤษรู้ดีว่าเม่ือสงครามในยุโรประหว่าง ฝรงั่ เศสกบั กลมุ่ ประเทศทม่ี กี ษตั รยิ ส์ นิ้ สดุ ลง องั กฤษจะตอ้ งคนื มะละกาใหด้ ตั ช์ จงึ ตอ้ งการ ทำ� ลายมะละกาให้เปน็ เมอื งรา้ ง เมื่อแรฟเฟิลส์ทราบแผนจงึ ทักทว้ งวา่ จักรวรรดิอังกฤษ มหี น้าทท่ี ำ� ประโยชน์และช่วยเหลอื ชาวพ้ืนเมือง นับว่าแรฟเฟลิ ส์เปน็ คนผิวขาวร่นุ แรก ๆ ทค่ี ดิ เชน่ น ี้ เขาเกลยี้ กลอ่ มใหบ้ รษิ ทั อนิ เดยี ตะวนั ออกขององั กฤษเลกิ แผนท�ำลายมะละกา 158

มาเลเซยี ด้วยการโยกย้ายชาวมะละกาไปยังเกาะปีนัง และท�ำลายป้อมปราการในมะละกาให้ หมดสิ้น เขาให้เหตผุ ลวา่ เปน็ การไร้มนุษยธรรมทจี่ ะบงั คับใหช้ าวยเู รเชีย จีน อนิ เดยี และ มลายู ที่อยู่ในมะละกามาหลายร้อยปีต้องย้ายไปอยดู่ นิ แดนอ่ืน มะละกามิใช่คู่แขง่ ทาง การค้าของปีนังอีกต่อไป และชาวมะละกาจ�ำนวน ๑๕,๐๐๐ คน สามารถจ่ายภาษีให้ องั กฤษใชใ้ นการบรหิ ารและการปอ้ งกนั มะละกาไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ทสี่ ำ� คญั มากคอื ถา้ องั กฤษ ท�ำลายมะละกาหลังจากที่ได้สัญญาว่าจะปกป้องดินแดนของดัตช์ อังกฤษและบริษัท อนิ เดยี ตะวนั ออกขององั กฤษจะสญู เสยี ความนา่ เชอ่ื ถอื ในหมชู่ าวโลก การทบี่ รษิ ทั อนิ เดยี ตะวันออกของอังกฤษรับฟังเหตุผลของแรฟเฟิลส์และเก็บรักษาประตูของป้อมอาฟาโม ซา (A’Famosa) ของโปรตุเกส คอื ปอร์ตา เดอ ซานตอิ าโก (Porta de Santiago) ไว้ ตามค�ำขอร้องของแรฟเฟิลส์ ท�ำให้ประตูป้อมนี้เป็นหน่ึงในโบราณสถานเก่าแก่ที่สุดของ มะละกา วัฒนธรรมผสมจากหลายเช้ือชาติในมะละกาท่ีเก่าแก่กว่า ๕๐๐ ปี ส่งผลให้ มะละกาเป็นเมอื งมรดกโลกในมาเลเซียปัจจบุ ัน และเป็นแหล่งท่องเทยี่ วส�ำคญั ส่วนวิธีการเข้าครอบครองเกาะสิงคโปร์น้ัน แรฟเฟิลส์ด�ำเนินการคล้ายกับ ฟรานซิส ไลต์ คือ จ่ายค่าเช่าสิงคโปร์เป็นรายปีแก่ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งเตอเม็งกุง (Temenggung) แห่งยะโฮร์ ซึ่งเป็นผู้มีอ�ำนาจปกครองยะโฮร์รวมท้ังเกาะสิงคโปร์ด้วย แต่อังกฤษเห็นว่าควรเช่าเกาะจากสุลต่านอย่างเป็นทางการ จึงยกย่องเจ้าชายฮุสเซ็น (Hussein) ข้ึนเปน็ สุลตา่ นแห่งยะโฮรใ์ น ค.ศ. ๑๘๑๙ และจา่ ยคา่ เชา่ สงิ คโปร์แกส่ ลุ ตา่ น เป็นรายปีด้วย แม้จะเป็นท่ีรู้กันว่าสุลต่านฮุสเซ็นเป็นสุลต่านแต่เพียงในนาม เพราะผู้มี อำ� นาจแทจ้ รงิ คือเตอเม็งกงุ เม่อื เตอเมง็ กุงถงึ แก่อนจิ กรรมใน ค.ศ. ๑๘๒๕ บตุ รชายชือ่ อบิ รอฮีม (Ibrahim) ก็สบื ทอดอ�ำนาจจากบิดา และพัฒนาเกาะสงิ คโปรใ์ หเ้ จริญในด้าน การค้าและการเกษตร โดยให้ชาวจีนเข้ามาค้าขายและท�ำการเกษตร อะบูบักร์ (Abu Bakr) บตุ รชายของอบิ รอฮีม กช็ ่วยบดิ าพฒั นาเกาะสงิ คโปร์ให้เจริญยิง่ ขึ้น เป็นผล ให้มีชาวจีนเข้ามาอยู่ในยะโฮร์เป็นจ�ำนวนนับแสนคนในเวลาต่อมา ความร่�ำรวยของ อิบรอฮีมและเช้ือสายท�ำใหอ้ ะลผี เู้ ป็นทายาทของสุลตา่ นฮุสเซ็นไมพ่ อใจ อะลีใชเ้ งนิ อยา่ ง สรุ ยุ่ สรุ า่ ยและมหี นสี้ นิ มาก จงึ ตอ้ งการสว่ นแบง่ จากความมงั่ คงั่ ในสงิ คโปร์ ซง่ึ เปน็ สว่ นหนงึ่ 159

สารานกุ รมประวตั ศิ าสตรป์ ระเทศเพื่อนบา้ นในอาเซียน ของแคว้นยะโฮร์ ในท่ีสุด ข้าหลวงอังกฤษแห่งสิงค์โปร์ คือ วิลเลียม บัตเตอร์เวิร์ท (William Butterworth) จึงให้อะลีและอิบรอฮีมประนีประนอมกันใน ค.ศ. ๑๘๕๕ อิบรอฮีมยอมให้อะลีเป็นสุลต่านครองมูอาร์ (Muar) ซ่ึงเป็นดินแดนส่วนหนึ่งในยะโฮร์ และอิบรอฮีมต้องจ่ายเงินปีให้แก่สุลต่านอะลี ส่วนอะลีต้องสละสิทธ์ิไม่ยุ่งเก่ียวกับ การบรหิ ารอาณาจกั รยะโฮร์ และยอมใหอ้ บิ รอฮมี และทายาทเปน็ ผูค้ รองยะโฮร์ ในครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี ๑๙ เปน็ ยคุ ทช่ี าวยโุ รปมงุ่ สรา้ งเขตอทิ ธพิ ลในทวปี เอเชยี เพอื่ ผลประโยชน์ทางการค้าและการเมอื ง เดมิ นั้น องั กฤษมีข้อตกลงกับดัตชว์ ่า ดินแดนบน คาบสมทุ รมลายเู ปน็ เขตอทิ ธพิ ลขององั กฤษ สว่ นเกาะตา่ ง ๆ ทอ่ี ยใู่ ตล้ งไปจากเกาะสงิ คโปร์ เชน่ เกาะชวา เกาะสมุ าตรา เปน็ เขตอทิ ธพิ ลของดตั ช์ องั กฤษจงึ ใชห้ ลกั การนที้ ำ� ขอ้ ตกลง กับเนเธอรแ์ ลนด์เมื่อ ค.ศ. ๑๘๒๔ ในสนธิสัญญาแองโกล-ดตั ช์ (Anglo-Dutch Treaty) ซ่งึ องั กฤษขอแลกมะละกาของดตั ชก์ ับเบงิ กเู ลนิ (Bengulen) ขององั กฤษบนฝ่ังตะวนั ตก ของเกาะสมุ าตรา เมอ่ื อังกฤษไดม้ ะละกาซงึ่ อยบู่ นคาบสมุทรมลายมู าเป็นของตนในปีนน้ั แล้ว จึงประกาศตงั้ สเตรตสเ์ ซตเทิลเมนตส์ (Straits Settlements) ขึ้นใน ค.ศ. ๑๘๒๖ ประกอบด้วย เกาะปีนัง ซงึ่ องั กฤษเรยี กว่า พรอวนิ ซเ์ วลสล์ ีย์ มะละกา และเกาะสงิ คโปร์ ดินแดนดงั กลา่ วมาน้อี งั กฤษปกครองโดยตรง เม่ือองั กฤษท�ำสนธิสัญญาองั กฤษ-สยาม (Anglo-Siamese Treaty) หรือสนธิ สญั ญาเบอร์นยี ์ (Burney Treaty) ใน ค.ศ. ๑๘๒๖ ซึ่งองั กฤษยอมรับวา่ เกดะห์เปน็ ของ สยาม แตส่ ยามต้องเลิกกา้ วกา่ ยกิจการภายในของตรังกานู กลันตัน และยะโฮร์ อังกฤษ จึงเข้าไปสร้างอิทธิพลในตรังกานูและกลันตัน ด้วยการเข้าไปส่งเสริมอุตสาหกรรมผ้าใน ตรังกานูซึ่งผลิตโสร่งฝ้ายและไหมอย่างดี ชาวมลายูนิยมใช้กันในโอกาสส�ำคัญต่าง ๆ อังกฤษขายเส้นด้ายจากอังกฤษแก่ตรังกานู ท�ำให้สินค้าผ้าถูกลงและขายได้อย่างกว้าง ขวางไปถงึ สงิ คโปร์ ตรงั กานกู ลายเปน็ อาณาจกั รทมี่ นั่ คง สว่ นยะโฮรซ์ งึ่ เสอื่ มอ�ำนาจไปใน ชว่ งตน้ ครสิ ตศ์ ตวรรษที่ ๑๙ นน้ั ฟน้ื ตวั เพราะเบนิ ดาฮาราอะลแี หง่ ยะโฮรเ์ ขา้ ไปคมุ อำ� นาจ ในปะหังท�ำนองเดียวกับท่ีเตอเม็งกุงคุมยะโฮร์ เบินดาฮาราอะลีครองปะหังจนถึง ค.ศ. ๑๘๕๗ และมสี ัมพนั ธท์ างการค้าเป็นอย่างดกี ับชุมชนพอ่ ค้าสงิ คโปร์ 160

มาเลเซยี ระหว่าง ค.ศ. ๑๘๕๘-๑๘๖๓ เกดิ สงครามกลางเมอื งในปะหัง เนื่องจากเบินดา ฮาราอะลีถึงแก่กรรม บุตรชายของเขาคือ ตุนมุตอฮีร (Tun Mutahir) และวันอะห์มัด (Wan Ahmad) แย่งอ�ำนาจกนั มตุ อฮีรผู้พไี่ ดร้ บั การสนับสนุนจากอะบูบักร์แห่งยะโฮร์ ส่วนอะห์มัดไปขอความช่วยเหลือจากสุลต่านอะลีแห่งมูอาร์ ซึ่งก�ำลังหาโอกาสแก้แค้น เตอเมง็ กงุ แหง่ ยะโฮรอ์ ยแู่ ลว้ ตรงั กานูและกลนั ตันเข้าขา้ งอะห์มดั มตุ อฮีรเปน็ ฝา่ ยชนะ ใน ค.ศ. ๑๘๖๑ ดงั นั้น อะห์มัดและผสู้ นบั สนนุ จงึ ต้องหนไี ปตรังกานู และหนตี ่อไปอยทู่ ่ี กรงุ เทพฯ ในอาณาจักรสยาม สยามเห็นเป็นโอกาสท่จี ะแทรกแซงอาณาจักรมลายูทแี่ ย่ง อ�ำนาจกันเอง จงึ ขยายอทิ ธพิ ลเขา้ ไปถงึ ปะหงั ขณะนั้น มะฮ์มูด เจ้าชายมลายูอีกองค์หนึ่งลี้ภัยจากรีเอามาอยู่ในกรุงเทพฯ มะฮ์มูดเป็นเช้ือสายของสุลต่านอับดุล เราะห์มาน (Abdul Rahman) แห่งรีเอา ซ่ึง แรฟเฟลิ สต์ งั้ ใหเ้ ปน็ สลุ ตา่ นแหง่ ยะโฮร ์ มะฮม์ ดู อา้ งสทิ ธทิ ง้ั ในปะหงั และยะโฮร ์ อาณาจกั ร สยามร่วมมอื กับอะหมัด มะฮ์มูด และอะลีแหง่ มอู าร์ ใชต้ รังกานูซง่ึ เป็นเขตอิทธพิ ลของ สยามเป็นทางเข้าบุกอาณาจักรปะหังใน ค.ศ. ๑๘๖๒ โดยมีแผนว่า เมื่อได้ปะหังแล้ว มะฮม์ ูดจะเป็นสลุ ตา่ น และอะหม์ ัดจะเป็นเบินดาฮาราผู้มอี �ำนาจบริหาร ส่วนอะลีจะได้ ผลประโยชน์อย่างไรไม่แน่ชัด มะฮ์มูดและอะห์มัดกับกองทัพเรือสยามด�ำเนินการตาม แผน ท�ำให้ทั้งยะโฮร์และสิงคโปร์เกรงว่าสงครามครั้งน้ีจะกระเทือนต่อผลประโยชน์ทาง เศรษฐกจิ ในปะหงั ตรงั กานู กลนั ตนั ซง่ึ สยามคงตอ้ งการเขา้ มามสี ว่ น อกี ทง้ั ไดผ้ ลประโยชน์ ทางการเมอื งเหนอื ดนิ แดนดงั กลา่ ว และกระเทอื นถงึ การคา้ ในสงิ คโปร์ พนั เอก ออรเ์ ฟอร์ คาเวอนัก (Orfeur Cavenagh) ข้าหลวงแห่งสเตรตส์เซตเทิลเมนตส์ซึ่งต้ังข้ึนใน ค.ศ. ๑๘๒๖ เพื่อดูแลดินแดนอังกฤษในบริเวณช่องแคบมะละกาเรียกร้องให้สยามถอนก�ำลัง แต่สยามเชื่อว่าอังกฤษต้องรักษานโยบายไม่ก้าวก่าย (policy of non-intervention) จึงไม่ยอมถอนก�ำลัง คาเวอนักตอบโต้โดยส่งกองทัพไปขัดขวางสยาม เขาจึงถูกรัฐบาล อังกฤษต�ำหนิว่าไมร่ กั ษานโยบายไมก่ า้ วกา่ ย ผลการรบครัง้ นีค้ อื อะห์มดั ไดค้ รองปะหงั เพราะได้รับการสนับสนุนจากหัวหน้าท้องถ่ินในปะหังเองและเพราะมะฮ์มูดถึงแก่กรรม ด้วย ส่วนสยามก็ตระหนักว่า อังกฤษต้องปกป้องผลประโยชน์ทางการค้าเหนือนโยบาย 161

สารานุกรมประวตั ิศาสตรป์ ระเทศเพือ่ นบ้านในอาเซยี น อนื่ ใด จงึ พอใจรบั เพยี งบรรณาการจากกลนั ตนั และตรงั กานโู ดยใหอ้ าณาจกั รทงั้ สองบรหิ าร ภายในอยา่ งอิสระ เมือ่ ดินแดนในคาบสมุทรมลายตู กอยูใ่ ตอ้ ิทธิพลองั กฤษแล้ว องั กฤษน�ำชาวจนี เข้ามาเป็นแรงงานจ�ำนวนมาก ในแคว้นเปอระก์ เนเกอรีเซิมบีลันหรือเนกรีเซมบิลัน (Negri Sembilan) และสลงั งอร ์ ชาวจีนเร่ิมมีจ�ำนวนมากกว่าชาวมลาย ู ชาวจีนรนุ่ ใหม่ นไี้ มผ่ สมกลมกลนื กบั ชาวมลายเู หมอื นในมะละกา แตร่ วมตวั เปน็ กลมุ่ ๆ ตามภาษาถนิ่ จนี ของแต่ละกลุ่ม กอ่ ใหเ้ กิดปัญหากลมุ่ ชนในขณะนัน้ และในเวลาตอ่ มา โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ในสลงั งอรแ์ ละเปอระก ์ ปญั หาสำ� คญั เกดิ จากแรด่ บี กุ ซงึ่ พบมากบรเิ วณแมน่ ำ�้ สายใหญ่ ๆ ในสลังงอร์ เช่น แมน่ �้ำสลังงอร์ แมน่ ้�ำกลัง (Klang) เช้อื สายเจ้าพน้ื เมืองจึงแย่งอำ� นาจกนั เพ่ือควบคุมเหมอื งและรายไดท้ เ่ี กิดจากดีบกุ ในท่ีสดุ กเ็ กิดสงครามกลางเมอื งเพือ่ แยง่ ชงิ เมืองกลังซึ่งอยู่บริเวณปากแม่น�้ำกลัง ขณะเดียวกัน แรงงานชาวจีนท่ีท�ำเหมืองดีบุกก็ ขดั แยง้ กนั โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ระหวา่ งสมาคมลบั ไฮซาน (Hai San) ทกี่ วั ลาลมั เปอร์ ซง่ึ มี ยัป อาห์ ลอย (Yap Ah Loy) เป็นผนู้ �ำ และสมาคมคฮี นิ (Ghee Hin) ซึ่งคมุ เหมืองที่ ราวัง (Rawang) ซง่ึ เป็นบริเวณเขาทางเหนือของกัวลาลมั เปอร์ ชาวจีน ๒ กลุ่มนเ้ี ขา้ ไป พัวพนั ในสงครามกลางเมืองระหวา่ งเจา้ มลายู ซ่งึ ผู้นำ� ฝ่ายหน่ึงคือ กูดนิ (Kudin) และอกี ฝ่ายหน่ึงคือ มะฮ์ดี (Mahdi) การสู้รบขยายไปถึงบริเวณสเตรตส์เซตเทิลเมนตส์ ท�ำให้ รัฐบาลองั กฤษท่ีนน่ั ตอ้ งระงับการต่อส้ดู ว้ ยการเลอื กข้างฝา่ ยกดู นิ เพราะฝา่ ยมะฮ์ดโี จมตี เรอื องั กฤษบรเิ วณสเตรตสเ์ ซตเทลิ เมนตส ์ กดู นิ ไดช้ ยั ชนะใน ค.ศ. ๑๘๗๓ และเปน็ ตวั อยา่ ง ใหเ้ หน็ ว่ารฐั บาลอังกฤษสามารถเลือกชว่ ยใหฝ้ า่ ยหนึ่งชนะได้ นโยบายไม่ก้าวก่ายกิจการภายในซึ่งอังกฤษยึดถือมานานส้ินสุดลงใน ค.ศ. ๑๘๗๔ เพราะอังกฤษเห็นผลประโยชน์ของตนเป็นส�ำคัญ หากการนิ่งเฉยจะน�ำไปสู่การ เสียผลประโยชน์ โดยเฉพาะอย่างย่ิงทางการค้า อังกฤษก็เลิกนโยบายไม่ก้าวก่าย เซอรแ์ อนดรวู ์ คลาร์ก (Sir Andrew Clarke) ขา้ หลวงคนใหมข่ องสเตรตสเ์ ซตเทลิ เมนตส์ ได้รับมอบหมายให้สามารถก้าวก่ายกิจการภายในของอาณาจักรหรือรัฐมลายูต่าง ๆ ได้ 162

มาเลเซีย ข้าหลวงแหง่ สเตรตเซตเทลิ เมนตส์ (คนนง่ั ) และเจา้ หน้าทฝ่ี ่ายองั กฤษ ในการทำ� สนธิสัญญาปังโกร์ การท�ำเหมืองในรัฐสลงั งอร์ ทศวรรษ ๑๙๑๐ 163

สารานกุ รมประวตั ิศาสตรป์ ระเทศเพ่ือนบ้านในอาเซียน หากเป็นการรักษาความสงบและความมั่นคง ปราบปรามการปล้นสะดมทางทะเล พฒั นาถนน โรงเรยี น การตำ� รวจ ด้วยการแตง่ ตง้ั ผแู้ ทนอังกฤษไวใ้ นรฐั มลายูแตล่ ะรฐั คลารก์ แกไ้ ขปญั หาสงครามกลางเมอื งในสลงั งอรแ์ ละเปอระก์ ดว้ ยการเชญิ ทกุ ฝ่ายมาเจรจาบนเรืออังกฤษซึ่งจอดอยู่ที่เกาะปังโกร์ (Pangkor) ในเดือนมกราคม ค.ศ. ๑๘๗๔ ขอ้ ตกลงทเ่ี กดิ ขึ้นเรยี กวา่ สนธสิ ญั ญาปงั โกร์ (Treaty of Pangkor) ซึง่ ถอื เปน็ จดุ กอ่ ตง้ั มลายาขององั กฤษ (British Malaya) มใี จความสำ� คญั วา่ สลุ ตา่ นแหง่ รฐั ตอ้ ง ยอมรบั ขา้ หลวงองั กฤษประจำ� รฐั (British resident) ซง่ึ รฐั ตอ้ งขอคำ� ปรกึ ษาทกุ เรอื่ งและ ท�ำตามค�ำแนะน�ำทุกเร่ือง ยกเว้นเรื่องศาสนาและขนบธรรมเนียมประเพณี ข้าหลวง ประจ�ำรัฐท�ำหน้าที่เก็บภาษีและควบคุมรายได้ทุกประเภทของรัฐ และชนช้ันหัวหน้า จะได้รับเงินไว้ใช้สอย สนธิสัญญาปังโกร์จึงเป็นการเร่ิมต้นการปกครองโดยอ้อม (indirect rule) ของอังกฤษ ซ่ึงเร่ิมพัฒนารัฐมลายูให้ทันสมัย มีกฎหมายและระเบียบ ภายในรัฐต่าง ๆ บนคาบสมทุ รมลายู ต่อมา องั กฤษยังสง่ ทปี่ รกึ ษาชาวอังกฤษมาประจำ� รฐั ตา่ ง ๆ ด้วย สุลต่านทง้ั หลายพอใจระบบดังกล่าวซึง่ ชว่ ยใหร้ ัฐสงบและมั่นคง ไมต่ ้อง หวาดกลัวว่าจะถกู ศัตรูลม้ ล้าง แตก่ ารน�ำระบบบรหิ ารแบบตะวนั ตกเขา้ มาในรัฐเหล่านก้ี ็ มีผลต่อวัฒนธรรมประเพณีมลายูที่มีมาก่อน ซ่ึงขัดแย้งกับระบบการเมืองและเศรษฐกิจ แบบตะวันตก เศรษฐกิจแบบใหม่มผี ลให้ชนชั้นน�ำชาวมลายูที่มิใช่เชอ้ื เจ้ารำ�่ รวยขึ้นและ มีอ�ำนาจต่อรองมากกว่าสุลต่าน แต่สุลต่านก็พอใจที่อังกฤษสนับสนุนสถานภาพสุลต่าน ของตนให้มั่นคง ทรี่ ฐั เนกรเี ซมบลี นั ซง่ึ อยทู่ างใตร้ ฐั สลงั งอรม์ ปี ญั หาเฉพาะรฐั เนอ่ื งจากบรเิ วณน้ี ชาวมีนังกาเบาจากสุมาตรามาต้ังถ่ินฐานต้ังแต่กลางคริสต์ศตวรรษท่ี ๑๕ ค�ำว่า เนอเทอรีเซิมบีลันหรือเนกรีเซมบีลัน แปลว่า “รัฐทั้งเก้า” ซ่ึงได้แก่ รัฐย่อย (luaks) ตอ่ ไปน้ี สุไหงอจู ง (Sungei Ujong) เจเลบู (Jelebu) โจโฮล (Johol) เริมเบา (Rembau) นานิง (Naning) กลงั เจไล (Jelai) อลู ปู าฮงั (Ulu Pahang) และเซอกามัต (Segamat) แต่ละรัฐมีเจ้าผคู้ รองรฐั ประชากรใน ๙ รฐั ยอ่ ยเหล่าน้ี ท�ำการเกษตรเปน็ สว่ นใหญ่ แต่มี บางสว่ นทำ� เหมอื งดบี กุ เนกรเี ซมบลี นั เคยอยใู่ ตม้ ะละกาและอาณาจกั รยะโฮร์ ตามลำ� ดบั 164

มาเลเซีย แตก่ ม็ อี สิ ระพอสมควร เมอ่ื อาณาจกั รยะโฮรส์ น้ิ สดุ ลงในครสิ ตศ์ ตวรรษที่ ๑๘ ดนิ แดนบาง ส่วนของเนกรีเซมบีลันถูกเฉือนออกไป เช่น พวกบกู ซิ ในสลงั งอร์เฉอื นเอากลงั ไป นานงิ ถกู ผนวกเขา้ กบั มะละกา เซอกามตั กลายไปสว่ นหนง่ึ ของรฐั ยะโฮร ์ อลู ปู าฮงั และเจไลถกู ผนวกกบั รฐั ปะหัง ความหวาดกลวั วา่ ดนิ แดนเนกรเี ซมบีลันจะถกู เฉอื นออกไปอกี ท�ำให้ มีการรวมดินแดนส่วนท่ีเหลือให้อยู่ภายใต้ผู้น�ำรัฐซึ่งเรียกว่า ยังดีเปอร์ตวนเบอซาร์ (Yang di-pertuan besar) แต่เน่ืองจากเจ้าพ้ืนเมอื งมไิ ดด้ ำ� รงต�ำแหนง่ นี้ แตล่ ะรัฐย่อย จึงแย่งกันเป็นใหญ่ด้วยการรบ เพ่ือแบ่งผลประโยชน์จากเหมืองดีบุก เกิดความขัดแย้ง รุนแรงระหว่างดาโต๊ะเกอลานา (Dato Kelana) กับดาโต๊ะบันดาร์ (Dato Bandar) เพือ่ แยง่ ชงิ รายไดจ้ ากภาษดี ีบกุ ใน ค.ศ. ๑๘๗๔ เซอรแ์ อนดรวู ์ คลารก์ ยกยอ่ งให้ดาโตะ๊ เกอลานาเป็นประมุขของสุไหงอูจง ดาโต๊ะจงึ ตอบแทนด้วยการยอมรบั ข้าหลวงองั กฤษ ประจำ� รฐั แตเ่ รอ่ื งกย็ งั ไมย่ ตุ ิ เพราะดาโตะ๊ เกอลานาเยอ่ หยงิ่ เกนิ ไปและปฏเิ สธทจี่ ะยอมรบั อำ� นาจของยงั ดเี ปอรต์ วนเบอซารแ์ หง่ เนกรเี ซมบลี นั ความไมส่ งบยดื เยอื้ ตอ่ ไปอกี ประมาณ ๒๐ ปี อังกฤษจึงรวมเนกรีเซมบีลันใน ค.ศ. ๑๘๙๕ ให้อยู่ภายใต้การปกครองของยังดี เปอร์ตวนเบอซาร์ โดยมขี ้าหลวงองั กฤษประจำ� รัฐดแู ลควบคุม ยังเหลือรัฐมลายูอีก ๒ รัฐ คือ ปะหังและยะโฮร์ ซึ่งยังไม่มีข้าหลวงอังกฤษ ประจ�ำรัฐ ท้ังน้ีเพราะ ๒ รัฐน้ีมีความสงบและเจริญพอควร อังกฤษจึงไม่มีข้ออ้างท่ี จะเข้าไปก้าวก่ายกิจการภายใน รัฐยะโฮร์พัฒนาตนเองจากค�ำแนะน�ำของพ่อค้าชาว อังกฤษในสิงคโปร์ให้เขา้ รูปแบบรัฐตะวนั ตกท่ีมขี ้าราชการผูม้ ีความรบู้ ริหารอยู่ ประกาศ ใช้รัฐธรรมนูญปกครองรัฐใน ค.ศ. ๑๘๙๕ การที่รัฐยะโฮร์มีชาวจีนจ�ำนวนมาก และ มสี นิ คา้ ซง่ึ เปน็ ทตี่ อ้ งการจำ� นวนมาก เชน่ พรกิ ไทย ไมเ้ นอื้ แขง็ โกโก้ สาค ู มเี งนิ ลงทนุ จาก อังกฤษและชาวจีนซ่ึงมาต้ังถ่ินฐาน มีท่าเรือพร้อมบริการดีที่สิงคโปร์ เศรษฐกิจจึงเจริญ มาก และรัฐไมม่ ีปัญหา สว่ นปะหงั มิไดเ้ จริญมากเทา่ ยะโฮร ์ สลุ ตา่ นอะห์มดั แห่งปะหงั ตอ้ งการความสนบั สนนุ จากบรรดาหวั หนา้ ทอ้ งถน่ิ ในชว่ งสงครามกลางเมอื ง จงึ ใหส้ ทิ ธใิ น การเกบ็ ภาษ ี แมส้ งครามจะสงบลงแล้ว พวกหัวหน้าก็ยงั ไมค่ ืนอำ� นาจนีแ้ ก่รฐั บาลของรัฐ อะห์มัดขาดรายได้จากภาษีอากร จึงท�ำตามอย่างยะโฮร์ที่ให้อังกฤษเช่าสิงคโปร์และดิน 165

สารานุกรมประวตั ศิ าสตร์ประเทศเพือ่ นบา้ นในอาเซียน แดนบางสว่ นภายในรฐั อะหม์ ดั ใหช้ าวองั กฤษและชาวจนี เชา่ ทดี่ นิ ไปหาผลประโยชน์ แต่ หวั หนา้ ทอ้ งถน่ิ ไมค่ ดิ วา่ อะหม์ ดั มสี ทิ ธจิ์ ะทำ� เชน่ นนั้ โดยไมไ่ ดร้ บั ความเหน็ ชอบจากพวกเขา ส่วนองั กฤษเกรงว่าอะหม์ ดั จะใหช้ าวยโุ รปชาตอิ ่ืน เช่น ฝรงั่ เศส เยอรมนี เช่าดนิ แดนและ ก่อปัญหาให้อังกฤษ จึงขอให้อะห์มัดยอมรับที่ปรึกษาชาวอังกฤษไปควบคุมรัฐ เขาไม่ ยอมรบั ในเบื้องต้น แตใ่ น ค.ศ. ๑๘๘๘ กย็ อมรับขา้ หลวงองั กฤษประจ�ำรัฐในทำ� นองเดยี ว กับรัฐเปอระก์ สลังงอร์ และเนกรีเซมบีลนั ต่อมา ในรัฐเปอระก์ซึ่งสุลต่านอับดุลลอฮ์ปกครอง ข้าหลวงอังกฤษประจ�ำรัฐ คนแรก คือ เจ. ดบั เบิลย.ู ดับเบลิ ย.ู เบริ ช์ (J. W. W. Birch) ถูกฆาตกรรมใน ค.ศ. ๑๘๗๕ อังกฤษจึงน�ำก�ำลังทหารเข้ามาควบคุมรัฐ สุลต่านอับดุลลอฮ์และหัวหน้าท้องถ่ินบางคน ถกู เนรเทศไปอยเู่ กาะทางทิศตะวันออกของทวีปแอฟริกา อังกฤษต้งั ยซู ฟุ (Yusuf) เป็น สุลต่านแทนอับดุลลอฮ์ เพราะยูซุฟไม่เก่ียวข้องกับฆาตกรรมและยังให้ความร่วมมือกับ อังกฤษเปน็ อยา่ งดี อย่างไรก็ตาม การที่อังกฤษต้องการด�ำเนินการเก็บภาษีเองจากรัฐต่าง ๆ ได้ สร้างความไม่พอใจแก่ชาวมลายูซึ่งเร่ิมมีความคิดชาตินิยมและแสดงความไม่พอใจดังท่ี เกิดขึ้นในรัฐเปอระก์ ต่อมา เกิดสงครามต่อต้านอังกฤษโดยหัวหน้าท้องถิ่นในรัฐปะหัง (ค.ศ. ๑๘๙๑-๑๘๙๕) ในท่ีสุด อังกฤษก็น�ำระบบต้ังข้าหลวงประจ�ำรัฐ (residential system) มาปรับใช้อย่างผ่อนปรน ข้าหลวงรุ่นใหม่พยายามผูกมิตรกับชาวมลายูและ ให้ความนับถือเกรงใจต่อสุลต่าน เรียนรู้ขนบธรรมเนียมและภาษามลายูเพื่อสร้างความ เข้าใจอันดีซ่ึงกันและกัน ช้ีแจงว่าการเปลี่ยนแปลงที่น�ำมาใช้นั้นเป็นไปเพื่อผลประโยชน์ ของชาวมลายูเอง ในระบบเดิมน้ัน ใช้อ�ำนาจปกครองผ่านหัวหน้าท้องถ่ินซ่ึงเป็นผู้เก็บ ภาษี ดแู ลความยตุ ธิ รรมและการปกครองทอ้ งถนิ่ ซง่ึ มอี ำ� นาจลดหลน่ั กนั ไป สว่ นในระบบ ขา้ หลวงประจ�ำรัฐ เจา้ หน้าท่ชี าวอังกฤษปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีแทนหัวหน้าท้องถ่นิ ระดบั สงู แตย่ ัง ใช้ระบบเดิมในระดับล่าง คือ ระดับเปิงฮูลู (Penghulu) หรือนายต�ำบล และระดับ เกตัวกัมปง (ketua kampong) หรือหัวหน้าหมู่บ้านซ่ึงท�ำหน้าที่ตามเดิม ดังน้ัน 166

มาเลเซีย การปกครองระดบั รากหญ้าจึงเปน็ ไปตามขนบธรรมเนียมประเพณีดงั้ เดมิ ในระยะแรก พวกเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นระดับสูงได้รับเงินชดเชยท่ีเสียรายได้จากการเก็บภาษี แต่เม่ือ พวกนีส้ ูงอายุและถึงแก่กรรม เจ้าหน้าทอ่ี ังกฤษก็บริหารงานได้เตม็ ที่ ตามระบบนสี้ ลุ ต่าน มีฐานะสูงสุดในรัฐ แต่ละรัฐมีสภาท่ีปรึกษารัฐ ซ่ึงประกอบด้วยสุลต่าน หัวหน้าท้องถิ่น ระดบั สงู ผนู้ ำ� ชาวจนี ๒ คน และขา้ หลวงประจำ� รฐั ขา้ หลวงเปน็ ผคู้ วบคมุ วาระการประชมุ แต่ก็รกั ษาทา่ ทีว่าเป็นเพียงปรึกษาและขอความเหน็ จากชาวพน้ื เมอื ง ระบบข้าหลวงประจ�ำรัฐของอังกฤษนี้ประสบความส�ำเร็จเพราะเหตุผลหลาย ประการ ประการสำ� คญั คอื การทข่ี า้ หลวงประจำ� รฐั เปอระกถ์ กู สงั หารและองั กฤษตอบโต้ ดว้ ยมาตรการเด็ดขาด ท�ำใหส้ ุลต่านรัฐตา่ ง ๆ เหน็ ตัวอยา่ งและยอมรบั ระบบใหม ่ ผู้นำ� ทอ้ งถิ่นทมี่ ีระดับเจ้าก็ได้รับการยกย่องใหเ้ ป็นสมาชิกสภาทปี่ รกึ ษาแหง่ รฐั คณะทีป่ รกึ ษา และตอ่ มาเมอ่ื มสี ภานติ บิ ญั ญตั ปิ ระจำ� รฐั กไ็ ดเ้ ปน็ สมาชกิ ดว้ ย สลุ ตา่ นและเจา้ ระดบั รองได้ รับเงินปี และเข้ากันได้ดี เพราะอังกฤษคอยดูแลมิให้มีการแย่งชิงอ�ำนาจกันเหมือนเม่ือ กอ่ นองั กฤษเขา้ มา สลุ ตา่ นทเ่ี ชอ่ื ฟงั ขา้ หลวงประจำ� รฐั สามารถสรา้ งวงั ทหี่ รหู รา และบา้ น เมืองก็สงบสุข ส่วนชีวิตในต�ำบลและหมู่บ้านก็ด�ำเนินไปตามขนบประเพณีเหมือนเดิม อังกฤษคอยดูแลรักษากฎหมาย ยกเลิกระบบลูกหน้ีตกเป็นทาสของเจ้าหน้ี จัดระบบ สาธารณสุข และระบบโฉนดที่ดิน ทำ� ให้เกษตรกรมที ีท่ ำ� กนิ ท่เี ปน็ กรรมสิทธขิ์ องตน ระบบข้าหลวงประจ�ำรัฐมีขอ้ เสยี ท่ีส�ำคญั คือ ขา้ หลวงอังกฤษแต่ละรัฐมีอ�ำนาจ มาก แม้จะขึ้นกับข้าหลวง (Governor) แห่งสเตรตส์เซตเทิลเมนตส์ แต่ในทางปฏิบัติ ข้าหลวงประจ�ำรัฐปฏิบัติตามอ�ำเภอใจ การติดต่อกับสิงคโปร์ซ่ึงเป็นศูนย์ใหญ่ของ ข้าหลวงแห่งสเตรตส์เซตเทิลเมนตส์ไม่สะดวกนัก และศูนย์น้ีก็สนใจเฉพาะการปกครอง ปีนงั มะละกา และสิงคโปร์ รัฐอืน่ ๆ ทปี่ กครองด้วยข้าหลวงประจ�ำรฐั จงึ เจริญไม่เท่ากนั และไม่ประสานงานกัน  อังกฤษจึงแก้ปัญหาด้วยการต้ังสหพันธรัฐมลายู (Federated Malay States) ขึ้นใน ค.ศ. ๑๘๙๖ ประกอบด้วยรัฐเปอระก์ ปะหัง สลังงอร์ และ เนกรเี ซมบลี นั ตงั้ กวั ลาลมั เปอรเ์ ปน็ เมอื งหลวงของสหพนั ธรฐั และมตี ำ� แหนง่ ขา้ หลวงใหญ่ 167

สารานุกรมประวตั ิศาสตรป์ ระเทศเพอ่ื นบา้ นในอาเซียน (High Commissioner) เป็นผู้ดูแลควบคุมข้าหลวงประจ�ำรัฐ และประสานนโยบาย ของรัฐ สว่ นรัฐปะลิส เกดะห์ กลนั ตัน และตรังกาน ู ถอื วา่ เปน็ รัฐบรรณาการของสยาม ขณะทีร่ ัฐยะโฮรเ์ ปน็ รฐั อิสระซึ่งองั กฤษคอยใหค้ �ำแนะน�ำอยา่ งไมเ่ ป็นทางการ กัวลาลมั เปอร์ซ่ึงองั กฤษเลอื กเป็นเมอื งหลวง (ช่ือนี้แปลวา่ ปากน�ำ้ ท่ีเตม็ ไปดว้ ย โคลน) มีความส�ำคัญและเจริญข้ึนเมื่อพบแร่ดีบุกจ�ำนวนมากในบริเวณน้ี  ในทศวรรษ ๑๘๖๐ และ ๑๘๗๐ ผนู้ �ำชาวจีนชอ่ื ยปั อาห์ลอย ซึง่ เปน็ ฮกเกีย้ นอพยพจากประเทศจนี เมอ่ื อายุ ๑๗ ปมี าเปน็ กลุ ใี นเหมอื งดบี กุ ต่อมาก็มีอาชีพเปน็ พอ่ ครวั และท�ำธุรกิจขนาด ยอ่ มกอ่ นจะเขา้ ไปทำ� มาหากนิ ทก่ี วั ลาลมั เปอร์ ใน ค.ศ. ๑๘๖๒ และสรา้ งความรำ่� รวยดว้ ย กิจการอสังหาริมทรัพย์และเหมืองดีบุก เมื่อถึง ค.ศ. ๑๘๖๘ เขาก็เป็นท่ีรู้จักในสมญา กปั ตันจีน (Kapitan Cina) ประมุขของชมุ ชนชาวจนี เขาเป็นเจา้ ของท่ีดนิ คร่งึ หน่งึ ของ เมอื งกวั ลาลัมเปอรต์ ั้งแต่ ค.ศ. ๑๘๘๐ เม่อื เกดิ สงครามกลางเมอื งท่รี ฐั สลงั งอร์ ยัปตอ้ ง สูญเสยี ทรัพย์สินทัง้ หมดและยงั มหี นีส้ ินทว่ มตัว กัวลาลมั เปอร์เสยี หายทง้ั เมอื งจากอัคคี ภัยใน ค.ศ. ๑๘๘๑ แต่ยัปก็สรา้ งข้ึนใหม่จนกระทั่งเมอื งกวั ลาลัมเปอรซ์ ึง่ เปน็ เมืองหลวง ของสลังงอรต์ ัง้ แต่ ค.ศ. ๑๘๘๐ ไดร้ ับการยกฐานะเปน็ เมอื งหลวงของสหพันธรฐั มลายใู น ค.ศ. ๑๘๙๖ และกลายเปน็ ศนู ยก์ ลางคมนาคมเพราะองั กฤษสรา้ งทางรถไฟและถนนเชอื่ ม โยงกัวลาลัมเปอรก์ ับรฐั ตา่ ง ๆ ในชว่ งทศวรรษ ๑๘๙๐ เม่อื ถึงตน้ ครสิ ต์ศตวรรษท่ี ๒๐ ผู้คนสามารถเดินทางด้วยรถไฟจากเมืองบัตเตอร์เวิร์ท (Butterworth) ถึงยะโฮร์ กัวลาลัมเปอร์กลายเป็นศูนย์เศรษฐกิจและการเมือง เพราะมีรายได้จากการค้าแร่ดีบุก และยางพารา มีชุมชนชาวจนี อย่ใู นบริเวณตัวเมือง ซงึ่ มีชาวองั กฤษเปน็ ผจู้ ดั การ ความส�ำเร็จของอังกฤษในสหพันธรัฐมลายูท�ำให้อังกฤษต้องการขยายอ�ำนาจ ไปครอบคลุมแหลมมลายูทั้งหมด ด้วยการเข้าไปก้าวก่ายรัฐต่าง ๆ ซึ่งอยู่ใต้อิทธิพล ของสยาม ไดแ้ ก่ ปะลสิ เกดะห์ ปัตตานี กลันตัน และตรังกาน ู เดิมอังกฤษมนี โยบาย ท่ีจะรักษามิตรภาพระหว่างอังกฤษกับสยาม ซ่ึงค้าขายกับอังกฤษและให้ผลก�ำไรสูง แต่ เมอ่ื ถึงต้นคริสต์ศตวรรษท่ี ๒๐ อังกฤษกเ็ ปลยี่ นนโยบายดงั กลา่ ว เพราะเกรงว่าเยอรมนี 168

มาเลเซีย กบั ฝรัง่ เศสจะมาสร้างอทิ ธพิ ลในบริเวณดงั กล่าว เช่น ใน ค.ศ. ๑๘๙๙ เยอรมนมี าเจรจา ขอเกาะลงั กาวีจากสยาม แมส้ ยามจะปฏิเสธกต็ าม อีกประการหนง่ึ องั กฤษกับฝร่งั เศส ท�ำข้อตกลงกันใน ค.ศ. ๑๙๐๔ ท่ีเรียกว่า ความเข้าใจฉันมิตร (Entente Cordiale) มคี วามสำ� คญั ขอ้ หนง่ึ วา่ จะเคารพเขตอทิ ธพิ ลของกนั และกนั และไมเ่ ขา้ ไปกา้ วกา่ ยกจิ การ ภายใน อังกฤษจึงไม่จ�ำเป็นต้องเกรงใจสยามเหมือนแต่ก่อน ต่อมา เยอรมนีก็เสนอ สยามให้ขุดคอคอดกระเพ่ือความสะดวกในการเดินเรือ ซึ่งอังกฤษก็ไม่พอใจแม้สยามจะ ไม่ตกลง แต่ก็อาจตัดสินใจขุดในอนาคตได้ ซ่ึงจะท�ำให้สิงคโปร์หมดความส�ำคัญไปมาก นอกจากน้ี ทง้ั ปตั ตานแี ละกลนั ตนั กก็ ำ� ลงั ตอ้ งการใหอ้ งั กฤษชว่ ยปลดปลอ่ ยตนจากอทิ ธพิ ล สยาม แม้อังกฤษจะไม่ต้องการท�ำให้สยามไม่พอใจ แต่ก็เกรงว่ารัฐทั้งสองจะหันไปให้ เยอรมนชี ว่ ย อังกฤษจงึ เร่ิมมีนโยบายทจี่ ะเขา้ ควบคุมรัฐมลายทู งั้ หมด พฤติกรรมของสุลต่านแห่งรัฐมลายูภาคเหนือท�ำให้อังกฤษห่วงใยในเรื่อง ความมน่ั คงทางการเมอื งทป่ี ราศจากการคกุ คามจากมหาอำ� นาจอนื่ ๆ ในยโุ รป โดยเฉพาะ อย่างยิ่งฝร่ังเศสและเยอรมนี ตัวอย่างเช่น สุลต่านแห่งรัฐเกดะห์จัดงานแต่งงานอย่าง หรหู ราฟ่มุ เฟอื ยถงึ ๕ งานติดต่อกนั ท�ำให้เสยี่ งต่อการล้มละลายหากก้ยู ืมเงนิ มาใช้ไม่ทนั สุลต่านรัฐกลันตันให้สัมปทานเหมืองแร่และการค้าเหนือดินแดน ๑ ใน ๓ ของรัฐแก่ อดตี นายต�ำรวจอังกฤษชอ่ื อาร์. ดับเบิลยู. ดฟั ฟ์ (R. W. Duff) เพ่ือแลกกับเงินมาใช้จา่ ย (๒๐,๐๐๐ ดอลลาร์สหรัฐ) อังกฤษเกรงว่าชาติมหาอ�ำนาจในยุโรปซึ่งเป็นคู่แข่งอาจ เขา้ มาแสวงหาผลประโยชนจ์ ากรฐั ดงั กลา่ วและสรา้ งอทิ ธพิ ลในบรเิ วณน้ี จงึ แกป้ ญั หาดว้ ย การเจรจากบั สยาม แตเ่ ดมิ ในสนธสิ ญั ญาเบาวร์ งิ (Bowring Treaty) ค.ศ. ๑๘๕๕ ระหวา่ ง องั กฤษกบั สยามนน้ั สยามเสยี สทิ ธสิ ภาพนอกอาณาเขตซงึ่ ทำ� ใหอ้ ำ� นาจการศาลของสยาม ไมส่ ามารถบงั คบั ใชก้ บั คนในบงั คบั องั กฤษ (British subjects) องั กฤษจงึ ยน่ื ขอ้ เสนอใหม่ ในสนธิสัญญา ค.ศ. ๑๙๐๙ ที่เรียกว่า สนธิสัญญาอังกฤษ-สยาม (Anglo-Siamese Treaty) ซง่ึ องั กฤษยอมผอ่ นคลายเงอื่ นไขเกย่ี วกบั สทิ ธสิ ภาพนอกอาณาเขต และใหร้ ฐั บาล สยามกเู้ งนิ ๔ ลา้ นปอนดจ์ ากองั กฤษไปสร้างทางรถไฟสายใต้ เพอ่ื แลกกับการยกดินแดน 169

สารานุกรมประวตั ศิ าสตรป์ ระเทศเพือ่ นบ้านในอาเซียน ปะลิส เกดะห์ ตรังกานู และกลันตัน ซ่ึงเดิมเป็นรัฐบรรณาการของสยามให้ไปอยู่ใต้ ความดแู ลขององั กฤษ รวมทงั้ สยามจะไม่อนุญาตใหป้ ระเทศต่างชาตใิ ด ๆ มาขุดคลองที่ คอคอดกระ สว่ นรฐั ปตั ตานซี งึ่ อยเู่ หนอื ขน้ึ มาจาก ๔ รฐั ดงั กลา่ ว ใหร้ วมเปน็ สว่ นหนง่ึ ของ สยามตลอดไป สนธสิ ญั ญาดงั กล่าวกระท�ำข้นึ โดยมไิ ด้ปรกึ ษาสลุ ต่านผ้คู รองนครรัฐเหลา่ น้ันเลย เมื่ออังกฤษได้รัฐปะลิส เกดะห์ ตรังกานู และกลันตันมาแล้ว ก็บังคับให้รัฐ ดงั กลา่ วยอมรบั ทปี่ รกึ ษาชาวองั กฤษเขา้ มาประจำ� รฐั เนอื่ งจากทปี่ รกึ ษาประจำ� รฐั มอี ำ� นาจ นอ้ ยกว่าขา้ หลวงประจำ� รฐั (resident) ในดินแดนสหพนั ธรัฐมลายู รฐั ทั้ง ๔ รวมท้งั รฐั ยะโฮร์ซ่ึงมีที่ปรึกษาในลักษณะเดียวกัน เรียกว่า รัฐมลายูนอกสหพันธ์ (Unfederated Malay States) สรปุ ได้ว่า ก่อนการรุกรานของญี่ปนุ่ ใน ค.ศ. ๑๙๔๑ ซึ่งอยูใ่ นชว่ งสงครามโลก คร้ังท่ี ๒ มลายามีลักษณะการปกครองที่แบ่งได้เป็น ๓ รูปแบบ ได้แก่ สเตรตส์เซต- เทิลเมนตส์ ประกอบด้วย สงิ คโปร์ มะละกา และปนี งั ซึ่งองั กฤษปกครองโดยตรงและ ประกาศยกระดับเป็นอาณานิคมของกษตั รยิ ์อังกฤษ (Crown Colony) ใน ค.ศ. ๑๘๖๗ สหพนั ธรฐั มลายซู ง่ึ ประกอบดว้ ย รฐั เปอระก์ สลงั งอร์ เนกรเี ซมบลี นั และปะหงั ซง่ึ องั กฤษ ปกครองทางอ้อม แต่ละรัฐมีข้าหลวงประจ�ำรัฐ และรัฐต้องยอมรับอ�ำนาจรัฐบาลกลาง ทีก่ รุงกัวลาลัมเปอร์ ทีเ่ หลือคือ รฐั นอกสหพนั ธ์ ได้แก่ รฐั ยะโฮร์ เกดะห์ ปะลิส กลันตนั และตรงั กานู ซงึ่ อังกฤษปกครองทางอ้อมผา่ นสุลต่านมลายูและทป่ี รกึ ษาชาวอังกฤษ นอกจากอังกฤษได้ครองดินแดนบนคาบสมุทรมลายูตั้งแต่ปะลิสลงไปแล้ว ยัง ไดด้ ินแดนบนเกาะบอรเ์ นียว (Borneo) คือรฐั ซาราวกั ซาบาฮ์ และบรไู น [(Brunei) ซึง่ ปัจจบุ นั คอื ประเทศบรูไนดารสุ ซาลาม (Brunei Darussalam)] บอร์เนยี วส่วนท่ีเหลือซ่ึง เรยี กว่า กาลมี นั ตนั (Kalimantan) เป็นของประเทศอนิ โดนเี ซียในปัจจบุ ัน องั กฤษเร่มิ เขา้ ครอบครองบอรเ์ นียวดว้ ยการท่ีชาวอังกฤษชอื่ เจมส์ บรกุ (James Brooke) เชื่อวา่ ผลประโยชนท์ างเศรษฐกจิ และการเมอื งขององั กฤษสามารถพฒั นาควบคไู่ ปกบั ความเปน็ อยทู่ ี่ดีของชาวพืน้ เมืองในอาณานคิ ม เขาเชอื่ วา่ องั กฤษสามารถขยายอำ� นาจไปพรอ้ ม ๆ กบั พฒั นาชาวพืน้ เมอื ง ซึง่ ต่อมาเรียกกนั ว่าเป็น “ภาระของชนผวิ ขาว” เม่ือบดิ าของบรุก 170

มาเลเซยี สิน้ ชวี ิตใน ค.ศ. ๑๘๓๕ บรกุ ใชม้ รดกไปซอ้ื เรือชือ่ รอยัลลิสต์ (the Royalist) แล้วเดิน ทางไปยังโลกตะวันออกเพ่ือส�ำรวจและแสวงหาความรู้ใหม่ด้านวิทยาศาสตร์บนเกาะ บอรเ์ นยี วและกลมุ่ เกาะตะวนั ออก แตใ่ นทส่ี ดุ สง่ิ ทบ่ี รกุ ทำ� สำ� เรจ็ คอื ตงั้ อาณาจกั รซาราวกั ซงึ่ ยนื ยงกวา่ ๑๐๐ ปี กล่าวคือ เม่ือชาวพ้นื เมืองกลุ่มตา่ ง ๆ กอ่ การกบฏแยง่ ชิงอำ� นาจ จากสลุ ตา่ นแหง่ บรไู น บรกุ เขา้ ไปชว่ ยปราบกบฏดว้ ยอาวธุ ทท่ี นั สมยั กวา่ และความสามารถ ในการเจรจาตอ่ รอง ในทสี่ ดุ ราชามดู า ฮาชิม (Raja Muda Hashim) แห่งบรูไนก็ตัง้ บรุก เปน็ ราชาแหง่ ซาราวกั ใน ค.ศ. ๑๘๔๑ เชอ้ื สายของบรกุ ปกครองซาราวกั ตอ่ มาจนถงึ ค.ศ. ๑๙๔๒ เมอื่ ญปี่ นุ่ เขา้ ยดึ ครอง ตอ่ มาใน ค.ศ. ๑๙๔๖ ไวเนอร์ บรกุ (Vyner Brooke) เหลน ของเจมส์ บรุก สง่ มอบรฐั ซาราวักให้แกร่ ัฐบาลองั กฤษ เจมส์ บรุกซ่ึงได้สมญาว่า “ราชา ผวิ ขาวแหง่ ซาราวกั ” (White Raja of Sarawak) นำ� ความสงบสขุ และระเบยี บมาสซู่ าราวกั สร้างความพอใจให้แก่ทั้งชาวอีบันและบีดายูห์ซึ่งเคยดุร้ายและเป็นพวกล่าหัวมนุษย์ ทงั้ ๒ เผา่ เปน็ ศตั รซู งึ่ สรู้ บกนั อยเู่ สมอ แตเ่ มอื่ กลายเปน็ มติ รของเจมส์ บรกุ กช็ ว่ ยเขาปราบ โจรสลัดและเลิกรบกันเอง บรุกกดดันให้สุลต่านแห่งบรูไนมอบดินแดนเพ่ิมให้ซาราวัก หลายหน เพอื่ ตอบแทนทเ่ี ขาชว่ ยปราบโจรสลดั เมอื่ บรไู นยอมยกเกาะลาบวน (Labuan) บรเิ วณชายฝง่ั ดา้ นเหนอื ใหแ้ ก่อังกฤษ ภัยจากโจรสลัดกล็ ดน้อยลง ความสำ� เร็จของบรุก ท�ำให้เขาไดร้ ับบรรดาศักดเิ์ ปน็ เซอร์ใน ค.ศ. ๑๘๔๘ เช่นเดียวกบั ทไ่ี ลต์และแรฟเฟลิ ส์ได้ รับเกียรต ิ นอกจากนี้ บรกุ ยงั ได้รบั แต่งตั้งเปน็ ข้าหลวงแหง่ เกาะลาบวน อาณานิคมใหม่ ของอังกฤษด้วย อย่างไรก็ตาม อังกฤษไม่ยอมรับฐานะราชาแห่งซาราวักของบรุก เพราะยังยดึ นโยบายเดมิ ท่ีจะไม่กา้ วกา่ ยกิจการภายในของรัฐพนื้ เมอื ง การครองอ�ำนาจเปน็ ราชาของบรกุ ถูกท้าทายเป็นระยะ ๆ เช่น ใน ค.ศ. ๑๘๔๙ หวั หนา้ ชาวอบี นั ซง่ึ เรยี กกนั โดยตำ� แหนง่ วา่ ลกั ษมาณา (Laksamana แปลวา่ แมท่ พั เรอื ) ยกกองทัพเข้าโจมตีหมู่บ้านบริเวณชายฝั่งทะเลและปากน้�ำ บรุกต้องปราบปรามอย่าง รุนแรง ทำ� ให้ชาวอบี นั กว่า ๑,๐๐๐ คนถกู สงั หาร แมจ้ ะถือว่าเป็นการปราบโจรสลัด แต่ ชาวอบี นั เหน็ วา่ เปน็ การลกุ ขน้ึ กชู้ าตแิ ละตอ่ ตา้ นชนผวิ ขาว ระหวา่ ง ค.ศ. ๑๘๕๙-๑๘๖๑ ท้ังชาวอีบันและบีดายูห์ก็ลุกขึ้นต่อต้านพร้อมด้วยหัวหน้าชาวมลายูกลุ่มอ่ืน แต่พวก 171

สารานกุ รมประวตั ิศาสตร์ประเทศเพ่ือนบา้ นในอาเซยี น ตอ่ ตา้ นกไ็ มอ่ าจยดึ เมอื งหลวงกชู งิ (Kuching) ของซาราวกั ได ้ องั กฤษไดช้ ยั ชนะเหนอื ชาว พน้ื เมอื งซง่ึ แตกแยกเปน็ หลายกลมุ่ และไมส่ ามคั คกี นั สว่ นการพฒั นารฐั ดำ� เนนิ ไปในระดบั บนเท่านัน้ ระดบั หมู่บา้ นยงั เป็นไปตามวัฒนธรรมด้งั เดมิ รฐั บาลดูแลด้านการศาลและ ขจัดประเพณีล่าหัวมนุษย์และระบบทาสให้หมดไป ชักน�ำชาวจีนให้อพยพไปยังซาราวัก เพ่ือพัฒนาเศรษฐกจิ โครงสรา้ งการปกครองในซาราวกั คอื ราชามอี ำ� นาจสูงสดุ แตก่ ็รบั ฟังสภาทปี่ รกึ ษา (Council Negri) ซึง่ ประกอบด้วย ราชา เจ้าหนา้ ท่ีเขต ผู้แทนชาวมลายู ผนู้ ำ� ชาวบดี ายหู แ์ ละชาวอบี นั และผแู้ ทนชมุ ชนชาวจนี บรกุ พยายามสรา้ งดลุ ระหวา่ งการ พฒั นากบั การอนุรักษ์วฒั นธรรมดั้งเดมิ ชาวอีบันสว่ นใหญ่นยิ มเปน็ ทหารของรฐั และหัน มาจงรักภักดีต่อราชา ความสงบสุขในซาราวักท�ำให้ชาวบอร์เนียวจากถิ่นอ่ืนอพยพเข้า มาต้ังถิน่ ฐานในรฐั น้ี เช่น จากบรไู น จากกาลมี ันตนั ซง่ึ ขณะน้นั อยู่ในการครอบครองของ ฮอลแลนด์ การป้องกันการพัฒนาที่เกินพอดีท�ำให้บรุกปิดกั้นพ่อค้าจากลอนดอนและ สงิ คโปรม์ ใิ หเ้ ขา้ มาลงทุนและใชท้ รัพยากรเพ่อื ประโยชนท์ างธุรกจิ จนเกนิ ควร บรุกและ ทายาทค�ำนงึ ถึงผลประโยชนข์ องชาวพืน้ เมืองจงึ ไม่แสวงหาความรำ่� รวย เลา่ กันวา่ บรุก ตอ้ งกยู้ มื เงนิ จากเศรษฐนิ ชี าวองั กฤษในบนั้ ปลายของชวี ติ เพอ่ื นำ� มาใชส้ อย ชาลส์ บรกุ ซงึ่ ครองซาราวักต่อจากเจมส์ บรุก ยอมใหช้ าวจนี ทน่ี ับถอื คริสตศ์ าสนาและถูกทารณุ กรรม ในประเทศจีน อพยพเข้ามาในซาราวักพร้อมครอบครัว เป็นผลให้ซาราวักมีคริสต์ ศาสนิกชนจำ� นวนมากกว่ารฐั อ่นื ๆ บนคาบสมุทรมลายู และการทชี่ าวจีนอพยพมาอยู่ใน ซาราวักเป็นครอบครัวทำ� ให้อย่กู ันอยา่ งสงบ ไมม่ ีปัญหาสงั คมเหมือนชาวจีนในรฐั อ่นื ๆ สุลต่านแห่งบรูไนซึ่งเป็นรัฐอิสระทางภาคเหนือและภาคตะวันตกของเกาะ บอร์เนียวต้องการหารายได้มาจุนเจือราชส�ำนักและสร้างอ�ำนาจ จึงยอมให้เจมส์ บรุก ผนวกดนิ แดนบางส่วนทางใตข้ องบรไู นเข้ากับซาราวักเพอ่ื แลกกบั เงนิ ปีทีเ่ จมส์ บรุก จา่ ย ใหอ้ ยา่ งสมำ่� เสมอ สว่ นดนิ แดนทางเหนอื สดุ ของเกาะบอรเ์ นยี วซง่ึ เรยี กวา่ บอรเ์ นยี วเหนอื นนั้ สลุ ต่านยกให้ชาลส์ ลี โมเสส (Charles Lee Moses) กงสุลอเมรกิ ันที่บรูไนใน ค.ศ. ๑๘๖๕ โดยหวงั ทงั้ เงนิ ตอบแทนและการถว่ งดลุ อำ� นาจกบั องั กฤษ แตโ่ มเสสมใิ ชน่ กั ธรุ กจิ และยังขาดเงนิ ลงทุน จงึ ขายสทิ ธติ์ ่อใหช้ าวอเมรกิ นั ชอ่ื โจเซฟ ทอร์รยี ์ (Joseph Torrey) 172

มาเลเซีย ซึง่ ก็ไมเ่ ก่งทางธรุ กิจ แม้สลุ ต่านจะตัง้ ทอร์รียเ์ ป็นราชาแห่งอัมบง (Ambong) และมารูดู (Marudu) แตธ่ รุ กจิ กไ็ ปไมร่ อด ทอรร์ ยี จ์ งึ ขายสทิ ธต์ิ อ่ ใหก้ งสลุ ใหญช่ าวออสเตรยี ในฮอ่ งกง คอื บารอน ฟอน โอเวอรเ์ บก็ (Baron von Overbeck) ซงึ่ รว่ มทนุ กบั นกั ธรุ กจิ ชาวองั กฤษ ชื่อ อลั เฟรด เดนต์ (Alfred Dent) เดนต์ซ้ือดินแดนและหุ้นส่วนจากโอเวอรเ์ บ็กใน ค.ศ. ๑๘๘๑ สุลต่านแห่งบรไู นมไิ ด้ผลประโยชน์ดงั ทีห่ วังไว้ รฐั บาลอังกฤษซ่ึงเปล่ยี นนโยบาย จากการไม่ก้าวก่ายมาเป็นนโยบายปกป้องผลประโยชน์ของอังกฤษตัดสินใจเข้ายึด บอรเ์ นียวเหนอื บรูไน และซาราวัก เปน็ รฐั อารกั ขาใน ค.ศ. ๑๘๘๘ เพอ่ื ปกป้องดนิ แดน ดงั กล่าวจากมหาอำ� นาจตะวนั ตกอืน่ ๆ เชน่ เยอรมน ี ต้งั แต่ ค.ศ. ๑๙๐๕ บรไู นยอมรบั ข้าหลวงอังกฤษเข้ามาประจ�ำในบรูไน ส่วนบอร์เนียวเหนือซึ่งต่อมาเรียกว่า ซาบะฮ์ มีฐานะเป็นอาณานคิ มของกษตั ริยอ์ ังกฤษ ความเปล่ียนแปลงในดินแดนมลายาขององั กฤษ (British Malaya) เกิดข้นึ ชัด หลังสงครามโลกครั้งท่ี ๒ โดยเฉพาะอย่างย่ิงหลังจากญี่ปุ่นเข้ายึดครองระหว่าง ค.ศ. ๑๙๔๒-๑๙๔๕ การท่ีกองทัพอังกฤษเพล่ียงพล้�ำระหว่างสงคราม โดยเฉพาะกับญ่ีปุ่น ท�ำให้ชาวมลายูลดความเกรงกลัว เมื่อเสริมด้วยความคิดชาตินิยมซึ่งญ่ีปุ่นน�ำมาปลุกเร้า ชาวมลายแู ละชาวอาณานคิ มในเอเชยี ทว่ั ไป ชาวมลายกู เ็ รมิ่ เคลอื่ นไหวทจี่ ะปกครองตนเอง และเปน็ เอกราช ตวั อยา่ งทก่ี องทพั ญปี่ นุ่ สามารถยดึ มลายาขององั กฤษและเกาะบอรเ์ นยี ว ภายในเวลาเพยี ง ๑๐ สปั ดาห์ แสดงวา่ องั กฤษมไิ ดเ้ ขม้ แขง็ ทางทหารจนตอ่ ตา้ นไมไ่ ด ้ การ ท่อี ังกฤษเคยปกครองมลายาและเปน็ อ�ำนาจเบื้องหลงั สลุ ต่านเริม่ ไม่เป็นทยี่ อมรับ ผู้ทจ่ี ะ ข้ึนมาเป็นใหญ่มิใช่มีแต่เพียงชาวมลายูเท่านั้น ชาวจีนซ่ึงถือว่ามลายาเป็นบ้านเกิดของ พวกเขาเชน่ กันก็ต้องการมีสิทธทิ างการเมอื ง ในขณะเดยี วกัน ลัทธิคอมมิวนสิ ต์ขยายตัว จากสหภาพโซเวียตเขา้ สปู่ ระเทศจีนแล้ว ท�ำให้ชาวจนี ในมลายาถูกเพง่ เล็ง อีกประเดน็ หน่ึงท่ีส�ำคัญคือ ท้ังชาวมลายูและจีน ผู้ท่ีได้รับการศึกษาแบบอังกฤษในมลายาหรือ ประเทศองั กฤษ ซึง่ เคยภมู ิใจในความเป็นชาวบริตชิ เรม่ิ มองตนเองตามชาติพนั ธุ์ว่าเป็น ชาวมลายูหรอื ชาวจีน สง่ิ น้กี ่อให้เกดิ ความแตกแยกและเป็นสาเหตหุ นึ่งทสี่ ิงคโปรซ์ ่ึงเคย เป็นสว่ นหน่งึ ของสเตรตส์เซตเทิลเมนตสแ์ ยกตวั ออกไปเป็นประเทศต่างหาก 173

สารานุกรมประวตั ศิ าสตร์ประเทศเพอ่ื นบ้านในอาเซียน อังกฤษตง้ั สหภาพมลายา (Malayan Union) ใน ค.ศ. ๑๙๔๖ แต่ถกู ต่อตา้ น เพราะมจี ุดมงุ่ หมายที่จะใหช้ นทุกเชอ้ื ชาตมิ สี ิทธเิ ทา่ เทยี มกนั ต่อมาใน ค.ศ. ๑๙๔๘ จงึ กอ่ ตัง้ สหพนั ธ์มลายา (Federation of Malaya) รฐั ตา่ ง ๆ มีอำ� นาจการปกครองทแี่ บ่ง แยกกนั มรี ัฐบาลแหง่ สหพนั ธซ์ ่งึ ขา้ หลวงองั กฤษเปน็ หัวหนา้ และชนเชอ้ื ชาตมิ ลายูจะได้ สทิ ธพิ เิ ศษคอื มอี ำ� นาจทางการเมอื งมากกวา่ ชนอนื่ ๆ ชนเชอ้ื ชาตอิ น่ื ๆ รวมทง้ั ผตู้ อ้ งการ เอกราชสมบรู ณจ์ งึ ไมย่ อมรบั สหพนั ธม์ ลายา หลงั สงครามโลกครงั้ ที่ ๒ ชนชน้ั ผนู้ ำ� มใิ ชค่ น กลุ่มเดิมซ่ึงได้แก่สุลต่านและเช้ือพระวงศ์ รวมท้ังผู้น�ำท้องถิ่นซ่ึงเป็นชาวมลายู แต่เป็น ครอบครัวชนช้ันสูงที่ได้รับการศึกษาแบบอังกฤษ ซึ่งมีบทบาทมากทางการเมืองและ เศรษฐกจิ หลงั สงครามโลก อดุ มการณป์ ระชาธปิ ไตยเรม่ิ แพรห่ ลาย ทกุ คนไมว่ า่ ชาวมลายู หรือเชื้อชาติอื่นใดซึ่งอพยพมาตั้งรกรากในมลายาต้องการสิทธิทางการเมืองเท่ากับชาว มลาย ู บทบาทสำ� คญั ทางเศรษฐกจิ ของชนดงั กลา่ วทำ� ใหพ้ วกเขาตอ้ งการความเสมอภาค กับชาวมลาย ู แม้แต่ชาวมลายูมสุ ลิมทรี่ ับอทิ ธิพลของขบวนการวาฮฮ์ ะบี (Wahhabi) ใน คาบสมทุ รอาหรบั กเ็ รมิ่ ไมย่ อมรบั ความเชอื่ อสิ ลามทอ้ งถนิ่ ซงึ่ สลุ ตา่ นสนบั สนนุ พวกมสุ ลมิ กลุ่มน้ีต้องการปฏิรูปอิสลามให้ปลอดจากความเช่ือและธรรมเนียมท้องถ่ินซึ่งไม่ตรงกับ คำ� สอนด้ังเดิม ชนเชื้อชาติจนี มปี ญั หาตา่ งออกไป หลงั สงครามโลกครง้ั ที่ ๒ ชาวจนี ส่วนหน่ึง ร�่ำรวยมากกว่าชนชาติอ่ืน ๆ ในมลายา และควบคมุ เศรษฐกจิ ในดินแดนน้ี แต่คนจนี อกี จ�ำนวนมากกว่าครึ่งยังล�ำบากและยากจน ส่วนใหญ่เป็นผู้อพยพเข้ามาในช่วงทศวรรษ ๑๙๓๐ พวกน้ีมีทั้งสมาชิกพรรคกว๋อหมินต่ัง (Guomindang) หรือจีนคณะชาติ และ สมาชิกพรรคคอมมวิ นสิ ตม์ ลายา (Malayan Communist Party) ค�ำนวณกันว่ามพี วก คอมมวิ นสิ ตป์ ระมาณ ๓๗,๐๐๐ คน และไดช้ อ่ื วา่ เปน็ พวกทต่ี อ่ ตา้ นการยดึ ครองของญป่ี นุ่ อยา่ งเขม้ แขง็ เมอื่ สงครามโลกคร้งั ท่ี ๒ ยุตลิ ง พวกน้กี ลายเปน็ วรี บรุ ุษของชมุ ชนชาวจีน และทางการอังกฤษก็มอบเหรียญและเงินรางวัลแก่ชาวจีนดังกล่าว คอมมิวนิสต์จีนเป็น กลุ่มการเมืองที่มีระเบียบวินัยมากท่ีสุด ก่อต้ังสาขาในเมืองใหญ่ ๆ และมุ่งท�ำกิจกรรม แรงงาน เมื่อรฐั บาลพรรคแรงงานขององั กฤษเห็นดว้ ยกับกิจกรรมดังกล่าว คอมมิวนสิ ต์ 174

มาเลเซยี จีนก็ย่ิงน�ำความสนับสนุนน้ีมาใช้ให้เป็นประโยชน์ เช่น ก่อต้ังสหภาพ Pan-Malayan General Labour Union ขึ้นใน ค.ศ. ๑๙๔๖ วางแผนนัดหยุดงานและเตรียมการจดั ตง้ั ประเทศมลายาคอมมวิ นสิ ตท์ เ่ี ปน็ อสิ ระ พวกนใี้ ชโ้ รงเรยี นจนี เปน็ ฐานเผยแพรอ่ ดุ มการณ์ และเปิดรับสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ เม่ือแผนการตั้งสหภาพมลายาล้มเหลว ชาวจีนก็ ตระหนักว่า ถ้าไม่ลุกขึ้นต่อสู้ก็จะกลายเป็นพลเมืองชั้นสองในมลายา จึงหันมาใช้ อุดมการณ์คอมมิวนสิ ตเ์ ปน็ เคร่ืองมอื ตอ่ สู้เพอื่ สทิ ธิของตน การต่อสู้ระหว่างพรรคคอมมิวนิสต์กับรัฐบาลมลายาท�ำให้ต้องประกาศ ภาวะฉุกเฉินเป็นเวลาถึง ๑๒ ปี ฝ่ายคอมมิวนิสต์ต่อสู้แบบกองโจรเพ่ือต่อต้านกองทัพ รัฐบาลมลายาซ่ึงอังกฤษส่งกองทัพของเครือจักรภพมาสนับสนุน ทหารหลายพันคน สัญชาติบริติช ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ฟิจิ และแอฟริกัน เข้ามาตั้งม่ันอยู่ในมลายา เพื่อปกป้องมิใหต้ กเปน็ ของฝ่ายคอมมิวนสิ ต ์ กองโจรคอมมวิ นสิ ตถ์ อยรน่ ไปอย่ใู นปา่ ขดุ อาวุธอังกฤษซึ่งฝังซ่อนไว้ในช่วงที่รบกับญ่ีปุ่นมาใช้สู้กับอังกฤษเอง ฝ่ายคอมมิวนิสต์ ประกาศจุดยืนว่าต้องการปลดแอกจากอังกฤษและสถาปนามลายาประชาธิปไตย สังคมนยิ ม (Democratic Socialist Malaya) เรียกกองทัพของตนวา่ กองทัพปลดปล่อย ชนชาติมลายา (Malayan Races Liberation Army–MRLA) ชาวจนี ในกองทัพดงั กล่าว ส่วนใหญ่มาจากชาวจนี ยากจนทไี่ ม่มีทพี่ กั อาศยั และทด่ี ินเป็นของตนเอง ในชว่ ง ๑๒ ปี แหง่ การสรู้ บนี้ เศรษฐกจิ ของมลายาตกตำ�่ มาก การบรหิ ารกข็ าดระเบยี บและประสทิ ธภิ าพ ทง้ั ชาวยโุ รปและนายทุนพื้นเมืองถูกโจมตสี ังหารเปน็ จ�ำนวนมาก ในท่ีสุด นายพล เซอร์แฮโรลด์ บริกส์ (Harold Briggs) ก็วางแผนท่เี รียกกนั ว่า แผนบริกส์ (Briggs Plan) ด้วยการย้ายชาวจีนไร้ท่ีอาศัยจ�ำนวน ๕๐๐,๐๐๐ คนไปยัง “หมบู่ า้ นใหม”่ ซงึ่ อยหู่ า่ งไกลจากปา่ อนั เปน็ ทพ่ี ำ� นกั ของจนี คอมมวิ นสิ ต์ ใหส้ วสั ดกิ ารบา้ น ท่ีอยู่อาศัย โรงเรียน สถานพยาบาล น�้ำประปา ไฟฟ้า ตลอดจนอุปกรณ์ทันสมัยอ่ืน ๆ เพื่อให้ชาวจีนดังกล่าวพอใจและร่วมมือกับรัฐ นอกจากน้ีก็ใช้วิธีส่งหน่วยรบไปตัดก�ำลัง และแหลง่ อาหารของฝา่ ยคอมมวิ นสิ ต์ จดั กองลาดตระเวนทง้ั ทางบกและทางอากาศเขา้ ไป ขจดั หน่วยรบคอมมวิ นิสต์ในปา่ กล่มุ จ่โู จมทางอากาศของอังกฤษทเ่ี รียกว่า ปฏิบัติการ 175

สารานกุ รมประวตั ศิ าสตร์ประเทศเพื่อนบา้ นในอาเซียน พเิ ศษทางอากาศหรอื เอสเอเอส (Special Air Service–SAS) มีชื่อเสยี งมากในการปราบ คอมมิวนิสต์อย่างมีประสิทธิภาพ การให้สินบนสูงในการน�ำจับและให้เบาะแสของ คอมมิวนิสต์ท�ำให้ปราบคอมมิวนิสต์ได้ง่ายขึ้น กล่าวกันว่า ค่าหัวคอมมิวนิสต์ ๑ หัว สงู เทา่ กับคา่ จา้ งกรรมกรจีน ๑ คน เปน็ เวลา ๑๐ ป ี ยง่ิ เป็นคอมมวิ นิสตร์ ะดบั สูงมากกย็ งิ่ ไดร้ บั สนิ บนมากจนนำ� ไปตง้ั ตวั ได ้ การทอี่ งั กฤษใชพ้ ลเมอื งและตำ� รวจมากกวา่ การใชก้ ำ� ลงั ทหารในการปราบคอมมวิ นสิ ต์ ทำ� ใหท้ หารมลายามบี ทบาทนอ้ ยกวา่ ตำ� รวจ นอกจากแผน บริกสจ์ ะไดผ้ ลดแี ล้ว นโยบายของนายพล เซอร์เจรัลด์ เทมเพลอร์ (Gerald Templer) ตั้งแต่ ค.ศ. ๑๙๕๒ ก็ได้ผลดีมากเช่นกัน เทมเพลอร์จัดแบ่งพ้ืนที่เป็นสีด�ำ สีเทา และ สีขาว สีด�ำหมายถึงกลุ่มคอมมิวนิสต์มีอิทธิพลเข้มข้น รัฐจะเข้มงวดแก่ผู้อยู่อาศัย เช่น ห้ามออกจากเคหสถานในยามวกิ าล (curfew) ปันส่วนอาหาร ตรวจคน้ ผ้คู น ขณะทพ่ี ื้นที่ สขี าวจะไดร้ ับการสนบั สนนุ จากรฐั เป็นอย่างดี ผลคอื ขณะที่เทมเพลอรเ์ ป็นขา้ หลวงใหญ่ เปน็ เวลา ๒ ปี จำ� นวนคอมมวิ นสิ ตใ์ นมลายาลดลงมากและมคี วามสงบมากขนึ้ ในเวลาตอ่ มาชาวมาเลเซยี จึงตง้ั ชื่ออทุ ยานแหง่ ชาตเิ ทมเปลอรเ์ พอ่ื เป็นเกยี รตแิ ก่เขา ภาวะฉกุ เฉนิ นำ� ประชาคมจนี เขา้ สกู่ ระแสหลกั ทางการเมอื งและเศรษฐกจิ สรา้ ง ความไม่พอใจแก่ชาวมลายูซึ่งเห็นว่าอังกฤษไม่ควรใช้เงินจ�ำนวนมากสนับสนุนกลุ่มชาว จีนซ่งึ เคยไรท้ ี่อยู่อาศัย และใหส้ ทิ ธิทางการเมอื งแก่ชาวจีนซงึ่ มิใช่ชนพ้ืนเมืองเดิม อกี ทั้ง ไมพ่ อใจทช่ี าวจนี คอมมวิ นสิ ตส์ รา้ งความไมส่ งบเปน็ ระยะเวลานาน ยงั มชี าวจนี อกี ๒ กลมุ่ ทม่ี งุ่ หนา้ คา้ ขาย กลมุ่ หนงึ่ พดู องั กฤษได้ อกี กลมุ่ พดู ภาษาจนี ชาวจนี ดงั กลา่ วไมส่ นใจเรอื่ ง การเมอื ง แตใ่ นทีส่ ุดเมอ่ื มกี ารก่อตง้ั สมาคมจีนมลายาหรอื เอม็ ซีเอ (Malayan Chinese Association–MCA) ใน ค.ศ. ๑๙๔๙ ซง่ึ กลายเปน็ พรรคการเมอื งในชว่ งแรกของทศวรรษ ๑๙๕๐ ชาวจีนก็มีกระบอกเสยี งทีจ่ ะแสดงความตอ้ งการของตน ส่วนประชาคมอนิ เดยี ชว่ งหลงั สงครามโลกคร้ังท่ี ๒ ยงั ไมเ่ ขม้ แขง็ ทางการเมอื ง เหมอื นประชาคมจนี เพราะชาวอินเดียมีเพยี งร้อยละ ๗-๘ ในจ�ำนวนประชากรท้ังหมด ชาวอินเดียประมาณคร่ึงหนึ่งเป็นแรงงานพูดภาษาทมิฬและท�ำงานในไร่ขนาดใหญ่ ห่างไกลจากชุมชนเมือง สว่ นกลุ่มชาวอินเดียที่อยู่ในเมอื งแบ่งเปน็ ๒ พวก คอื อินเดยี ที่ 176

มาเลเซีย พดู ภาษาอังกฤษ และท�ำงานส�ำนกั งาน อกี พวกหนึ่งเป็นแรงงานในเมือง ทัง้ ๓ กลมุ่ นี้ ไมค่ อ่ ยตดิ ตอ่ เกยี่ วขอ้ งกนั ตา่ งกบั ชาวจนี ทพี่ บปะกนั เปน็ สมาคมตามกลมุ่ ภาษาหรอื ธรุ กจิ ชาวอนิ เดยี ที่เกิดในมลายามจี �ำนวนเกนิ ครึง่ เพียงเล็กน้อย ทีเ่ หลือยงั คดิ ว่าอนิ เดยี คือบา้ น เกดิ เมอื งนอนของตน พวกน้ีต่อต้านอังกฤษในฐานะผู้มายึดครองอนิ เดีย เชน่ สมัครเปน็ ทหารในกองทัพแห่งชาติอนิ เดียหรอื ไอเอน็ เอ (Indian National Army–INA) ท่สี ภุ าษ จันทรโพส (Subhas Chandra Bose) ตง้ั ข้นึ เพ่ือสรู้ บปลดปล่อยอนิ เดียจากองั กฤษ และ เรียกรอ้ งชาวอนิ เดียในมลายาใหเ้ ข้าร่วมในชว่ งสงครามโลกยงั ดำ� เนนิ อยู่ กล่มุ การเมอื ง ชาวอินเดยี เพงิ่ เกดิ ขึ้น ใน ค.ศ. ๑๙๔๖ เมอื่ จอหน์ ทวิ ี (John Thivy) ก่อตงั้ สภาคองเกรส อินเดียในมลายาหรอื เอม็ ไอซี (Malayan Indian Congress–MIC) สภาดังกล่าวมิได้เป็น ตัวแทนของชาวอินเดียทั้งหมดในระยะเร่มิ แรก เพราะสมาชิกสว่ นใหญค่ ือ ชาวอนิ เดียท่ี พดู ภาษาอังกฤษ ไม่ใช่ชาวทมิฬซึง่ มอี ยเู่ ปน็ จ�ำนวนมาก กลมุ่ การเมืองน้ีไม่แบง่ แยกกลุ่ม ชน และไมใ่ หค้ วามสนใจชนช้นั กรรมกรชาวอนิ เดียมากนัก ดงั นั้น เอม็ ไอซีจึงมพี ลังน้อย ต้องอาศยั เกาะกลมุ่ กับพรรคเอ็มซเี อของชาวจนี เมอ่ื นายพลเจรลั ด์ เทมเพลอรม์ าปกครองมาเลเซยี ใน ค.ศ. ๑๙๕๒ เขาประกาศ วา่ กำ� ลงั เตรยี มการใหเ้ อกราชแกม่ ลายา เขาทราบดวี า่ ประชาคมมาเลยต์ อ่ ตา้ นการใหส้ ทิ ธิ ทางการเมืองเพิ่มขน้ึ แกช่ นชาติทอ่ี พยพมาจากทอ่ี ่นื เชน่ จีน อินเดยี แต่บรรดาผูม้ าต้ัง ถ่ินฐานภายหลังก็เห็นว่าพวกเขามีสิทธิที่ชอบธรรมเพราะอยู่มาหลายช่ัวคน มากกว่า ชาวมลายจู ากสมุ าตราซง่ึ มาทหี ลงั แตม่ สี ทิ ธเิ พราะเปน็ เชอื้ ชาตมิ าเลย์  พวกเขามสี ว่ นสรา้ ง ความเจรญิ ใหแ้ กม่ ลายาโดยเฉพาะทางเศรษฐกจิ แตเ่ ดมิ องั กฤษใหเ้ สรภี าพทางการศกึ ษา และการเลือกใช้ภาษา ท้ังชาวจีนและอินเดียสามารถตั้งโรงเรียนท่ีสอนเป็นภาษาแม่ ท�ำให้ชน ๒ กลุ่มนี้มีเอกลักษณ์ต่างไปจากชาวมลายู แทนท่ีจะผสมกลมกลืนกับชาว พน้ื เมอื งมลายู พวกเขาพูดภาษาแม่ ยึดถอื วัฒนธรรมและขนบธรรมเนยี มด้ังเดิมของตน ดงั นนั้ เมอื่ ชาวมลายตู อ้ งการใหภ้ าษามลายเู ปน็ ภาษาแหง่ ชาตแิ ละภาษาทส่ี อนในโรงเรยี น ตา่ ง ๆ จึงเปน็ สง่ิ ทย่ี อมรับไดย้ าก 177

สารานุกรมประวตั ิศาสตร์ประเทศเพือ่ นบา้ นในอาเซยี น พรรคองค์การรวมชาติมลายูหรือพรรคอัมโน (United Malays National Organization–UMNO) ตั้งขึน้ ใน ค.ศ. ๑๙๔๖ โดยชาวมลายูทว่ั ท้งั คาบสมุทร มีดาโต๊ะ อนน์ บิน ญะฟัร (Dato Onn Bin Jaafar) มุขมนตรีแห่งรัฐยะโฮร์เป็นหัวหน้า และ มบี ทบาทสำ� คัญตลอดมา เม่ือแรกต้ังมีจุดประสงคท์ ่จี ะตอ่ ตา้ นการทอ่ี งั กฤษเสนอกอ่ ตง้ั สหภาพมลายา ซงึ่ สาระสำ� คญั ขอ้ หนงึ่ คอื จะใหส้ ทิ ธพิ ลเมอื งแกท่ กุ คนทเ่ี กดิ ในมลายา หรอื อยใู่ นมลายาอย่างน้อย ๑๐ ปี ในชว่ งเวลา ๑๕ ปที ี่ผ่านมา บคุ คลอืน่ ทีอ่ ยูใ่ นมลายาครบ ๕ ปีก็สามารถขอเป็นพลเมอื งได้ พลเมืองทุกคนจะได้รบั สิทธิเท่าเทยี มกนั ชนชาตมิ ลายู รบั ไม่ไดท้ ีจ่ ะให้ผ้อู พยพตา่ งเชือ้ ชาติ เช่น จีน และอินเดยี มีสทิ ธเิ ทา่ เทยี มกับพวกเขา หลังการตั้งสหภาพมลายาถูกต่อต้าน เซอร์เจรัลด์ เทมเพลอร์ก็พยายามหา รปู แบบใหม่ เมอ่ื พรรคอมั โนแยกออกเปน็ ๒ พรรค คอื พรรคอมั โนกบั พรรคหลายชนชาติ ทชี่ อื่ วา่ พรรคเอกราชแหง่ มลายาหรอื ไอเอม็ พี (Independence of Malaya Party–IMP) ใน ค.ศ. ๑๙๕๑ ดาโต๊ะ อนน์ บนิ ญะฟรั ซ่งึ เปน็ ผู้ก่อตง้ั พรรคอมั โน ย้ายมาเปน็ หัวหน้า พรรคไอเอม็ พ ี ตนกอู บั ดลุ เราะหม์ าน (Tunku Abdul Rahman) จงึ มาเปน็ หวั หนา้ พรรค อัมโนแทน เขาเป็นอนุชาของสุลต่านแห่งรัฐเกดะห์ และได้รับการศึกษาแบบตะวันตก การมพี รรคใหมซ่ งึ่ รวมเชอ้ื ชาตเิ กดิ ขนึ้ กอ่ ใหเ้ กดิ ความพยายามถว่ งดลุ อำ� นาจระหวา่ งพรรค พรรคอัมโนหันไปร่วมมือกับพรรคเอ็มซีเอเพื่อแข่งขันในการเลือกต้ังสภาประจ�ำเมือง (town councils) และสภาเทศบาล (municipal councils) ซึ่งองั กฤษถือเปน็ จดุ เร่มิ ต้น ของประชาธปิ ไตย พรรคอัมโน และพรรคเอ็มซเี อ ประสบผลสำ� เร็จในการเลอื กต้ัง ท�ำให้ พรรคทัง้ สองเชิญพรรคเอม็ ไอซขี องชาวอนิ เดยี เข้าร่วมด้วย ใน ค.ศ. ๑๙๕๔ โดยตงั้ เปน็ พรรคสหพรรค (Alliance Party) และมตี นกูอับดลุ เราะหม์ านเปน็ หัวหน้าพรรค เม่อื มี การเลือกตง้ั สภานติ ิบญั ญัตสิ หพนั ธ์ (Federal Legislative Council) ใน ค.ศ. ๑๙๕๕ พรรคสหพรรคไดท้ นี่ ง่ั ถงึ ๕๑ จาก ๕๒ ทนี่ ง่ั ตนกอู บั ดลุ เราะหม์ านจงึ ไดข้ น้ึ ดำ� รงตำ� แหนง่ มขุ มนตรคี นแรกแหง่ มลายา การมพี รรคการเมอื งใหญแ่ ละมน่ั คง และภยั จากคอมมวิ นสิ ต์ เบาบางลง ท�ำให้อังกฤษเช่ือว่ามลายาพร้อมแล้วท่ีจะได้เอกราชหรือเมอร์เดกา (Merdeka) ในภาษามลายู อังกฤษต้ังคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญเพื่อมลายาที่เป็น 178

มาเลเซยี เอกราช โดยรับฟังความคิดเห็นและค�ำแนะน�ำจากพรรคอัมโนและพรรคเอ็มซีเอเป็น สว่ นใหญ่ แมด้ ง้ั เดมิ ความแตกแยกเกดิ จากความแตกตา่ งดา้ นเชอ้ื ชาติ ศาสนา ภาษา และ ขนบธรรมเนียม แต่ชนช้ันหัวหน้าในพรรคการเมืองล้วนได้รับการศึกษาแบบอังกฤษ ท่ีมลายาและประเทศองั กฤษ จงึ เป็นพวกท่ีได้รบั แนวความคดิ แบบตะวันตก เชน่ ยึดมัน่ ในหลกั กฎหมาย ประชาธิปไตยแบบรฐั สภา สทิ ธมิ นษุ ยชน และเชอ่ื มนั่ ในเศรษฐกจิ แบบ เสรีนยิ ม การเจรจาจงึ ง่ายขน้ึ ตามข้อตกลงส�ำคัญ ๔ ขอ้ ตอ่ ไปน้ี ขอ้ ท่ี ๑. ชาวมลายูพ้ืนเมืองต้องมีสถานะพิเศษ ซึ่งเรียกว่า ภูมิบุตร (Bumiputera) แปลตรงตัวว่า บุตรแห่งแผ่นดิน ซึ่งรวมไปถึงชาวพ้ืนเมืองด้ังเดิม (Orang Asli) ชาวมลายู และชาวพื้นเมอื งบนเกาะบอรเ์ นียว ซงึ่ ตอ้ งได้รับความคมุ้ ครอง ดา้ นสทิ ธทิ างการเมอื งและการพัฒนาสถานะทางเศรษฐกิจ ข้อที่ ๒. ศาสนาประจ�ำชาติคอื อิสลาม ทกุ คนมีอสิ ระทจี่ ะนับถือศาสนาอื่น ๆ แต่ห้ามเปล่ียนศาสนาของชาวมลายูที่เป็นมุสลิมตั้งแต่เกิด อิสลามเท่าน้ันเป็นศาสนา ที่จะรวมชาวมลายูเปน็ หน่ึงเดียว ข้อที่ ๓. ภาษามลายูเป็นภาษาราชการและภาษาประจ�ำชาติ ภาษาอังกฤษ เป็นภาษาราชการและการศาลในช่วง ๑๐ ปี ของการเปล่ียนผ่าน หลังจากน้ันกิจการ ของรัฐบาลจะใช้ภาษามลายู ขอ้ ที่ ๔. สถานะพิเศษของชาวมลายูต้องได้รับการยอมรับและระบุไว้ใน รฐั ธรรมนญู ทด่ี นิ ทอ่ี งั กฤษเคยอนรุ กั ษไ์ วส้ ำ� หรบั ชาวมลายตู อ้ งไดร้ บั การยอมรบั ชาวมลายู ไดโ้ ควตาในการรบั ราชการ ซง่ึ จะทำ� ใหช้ าวมลายเู ปน็ ชนสว่ นใหญใ่ นวงราชการ อตั ราสว่ น ข้าราชการมลายูและชนชาติอืน่ คือ ๔ ตอ่ ๑ สหพันธ์มลายาได้เอกราชสมบูรณเ์ มอ่ื วนั ท่ี ๓๑ สิงหาคม ค.ศ. ๑๙๕๗ ซงึ่ ถือ เป็นวันชาติ (ต้ังแต่ ค.ศ. ๑๙๖๓ เปลี่ยนชื่อประเทศเป็นสหพันธ์มาเลเซีย) มีกษัตริย์ ปกครองภายใต้รัฐธรรมนูญ กษัตริย์เป็นประมุขของประเทศ เรียกเป็นภาษามลายูว่า ยังดีเปอร์ตวนอากง (Yang di-Pertuan Agong) มีวาระการด�ำรงต�ำแหน่ง ๕ ปี โดย 179

สารานกุ รมประวัติศาสตรป์ ระเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน หมุนเวียนกันในบรรดาสุลต่านหรือผคู้ รองรฐั ๙ รัฐบนคาบสมทุ รมลายู มหี นา้ ท่ีสำ� คัญคอื พทิ กั ษส์ ิทธิของชนชาตมิ ลาย ู กษตั รยิ ์พระองคแ์ รกคอื ตนกอู ับดลุ เราะหม์ าน สุลต่าน แห่งรัฐเนกรีเซมบีลัน ยังดีเปอร์ตวนอากงองค์ปัจจุบันเป็นองค์ท่ี ๑๔ ทรงพระนามว่า ตนกูอับดุลฮาลีม มุอัซซัม ชาห์ สุลต่านแห่งรัฐเกดะห์ทรงด�ำรงต�ำแหน่งกษัตริย์เป็น ครั้งที่ ๒ ตั้งแต่เดือนธันวาคม ค.ศ. ๒๐๑๑ (คร้ังที่ ๑ ทรงด�ำรงต�ำแหน่งระหว่าง ค.ศ. ๑๙๗๐-๑๙๗๕) มาเลเซียปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยแบบรฐั สภา มสี ภา ๒ สภา ไดแ้ ก่ วุฒิสภา ซ่ึงเรยี กวา่ เดวนั เนอการา (Dewan Negara) และสภาผแู้ ทนราษฎรซ่งึ เรยี กวา่ เดวันรักยัต (Dewan Rakyat) มพี รรคการเมอื งหลายพรรค ทสี่ �ำคัญไดแ้ ก่ พรรคอมั โน ซ่ึงเป็นตัวแทนของชนชาติมลายู พรรคเอ็มซีเอ ซึ่งเป็นตัวแทนของชาวจีน และพรรค เอ็มไอซี ซง่ึ เปน็ ตัวแทนของชาวอนิ เดีย ทัง้ ๓ พรรคผนึกกำ� ลงั กันเพือ่ ประโยชนใ์ นการ เลือกต้ัง เรียกว่า พรรคสหพรรค ต้ังแต่ ค.ศ. ๑๙๕๔ โดยแต่ละพรรคยังคงเอกลักษณ์ ของตนและบริหารพรรคของตนเองอย่างอิสระ เพียงแต่ร่วมมือกันเม่ือมีการเลือกตั้ง พรรคอัมโนมีดาโต๊ะ อนน์ บิน ญะฟัร (Dato Onn bin Ja’afar) เป็นผู้ก่อตั้งและ เป็นหวั หน้าพรรคคนแรก ต่อมาตัง้ แต่ ค.ศ. ๑๙๕๑ ตนกอู ับดุล เราะหม์ าน เปน็ หวั หน้า พรรคอัมโนและพรรคสหพรรคซ่ึงตั้งข้ึนใน ค.ศ. ๑๙๕๔ และเป็นหัวหน้าพรรคท้ังสอง จนถึง ค.ศ. ๑๙๗๐ ส่วนพรรคอ่ืนท่ีส�ำคัญ ได้แก่ พรรคปาส (PAS–Parti Islam Se Malaysia) ซ่ึงตั้งขน้ึ ใน ค.ศ. ๑๙๕๑ โดยแยกตัวจากพรรคอมั โน พรรคอัมโนมีข้อตกลงอย่างไม่เป็นทางการกับพรรคเอ็มซีเอและพรรคเอ็มไอซี ว่า ในการเลือกผู้สมัครรับเลือกตั้งต้องจัดให้ชาวมลายูมีผู้แทนเสียงข้างมากในรัฐสภา ใหบ้ คุ ลากรในสถาบนั ตำ� รวจและกองทพั มชี าวมลายเู ปน็ สว่ นใหญ่ และพรรคสหพรรคตอ้ ง รว่ มมอื กนั ในการยกฐานะทางเศรษฐกจิ ของชาวมลายู พรรคเอม็ ซเี อไดร้ บั สง่ิ ตอบแทนวา่ จะมกี ฎหมายยอมรบั ฐานะพลเมอื งของชาวจนี ทเี่ ขา้ มาตง้ั ถน่ิ ฐานในมลายา ดว้ ยเหตนุ ้ี ใน การเลอื กต้ัง ค.ศ. ๑๙๕๙ จงึ มจี ำ� นวนชนชาตมิ ลายใู นเขตเลอื กตั้งลดลงจากร้อยละ ๘๐ ลงมาเป็นประมาณร้อยละ ๕๘ เพราะชาวจีนซึ่งได้สิทธิพลเมืองมีจ�ำนวนมากข้ึน 180

มาเลเซีย ตนกูอบั ดุล เราะหม์ าน สลุ ตา่ นแห่งเนกรีเซมบลี ัน เป็น ยังดีเปอรต์ วนอากง องค์แรกของมาเลเซยี 181

สารานุกรมประวตั ศิ าสตรป์ ระเทศเพอ่ื นบ้านในอาเซยี น สงิ่ ตอบแทนอกี อยา่ งหนงึ่ คอื ชนชาตทิ มี่ ใิ ชม่ ลายสู ามารถตง้ั โรงเรยี นซง่ึ ใชภ้ าษาแมส่ อนใน ระดับประถมศึกษา และมีสิทธิในการนับถือศาสนาของบรรพบุรุษ ส่งผลให้ชาวจีนและ อนิ เดยี รกั ษาวฒั นธรรมดง้ั เดมิ ของตนไวไ้ ด ้ ขอ้ ตกลงทไี่ มเ่ ปน็ ทางการอกี ขอ้ หนงึ่ คอื รฐั บาล จะไมด่ ำ� เนนิ การเปลย่ี นมอื ผถู้ อื ครองทรพั ยส์ นิ จะเคารพสทิ ธขิ องผถู้ อื ครองทรพั ยส์ นิ และ ให้ธุรกิจเสรีด�ำเนินต่อไป โดยหลีกเล่ียงการยกระดับฐานะทางเศรษฐกิจของชาวมลายู หากเปน็ การกระทบกระเทือนสิทธิของชาวจีนและอินเดีย โดยสรุป ข้อตกลงดังกล่าวเป็นการแลกเปลี่ยนท่ีมีผลให้ชาวมลายูเป็นใหญ่ ทางการเมือง แต่ชนชาติจีนและอินเดียยังคงมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ ได้รับสิทธิพลเมือง และรกั ษาวัฒนธรรมดั้งเดิมของตนไว้ได้ ตนกูอับดุล เราะหม์ าน หวั หน้าพรรคอัมโนและ พรรคสหพรรคขนึ้ ดำ� รงตำ� แหนง่ นายกรฐั มนตรคี นแรกของประเทศ พรรคสหพรรคประสบ ความส�ำเรจ็ ในการเลอื กต้ัง ค.ศ. ๑๙๕๙ ค.ศ. ๑๙๖๔ และ ค.ศ. ๑๙๖๙ ใน ค.ศ. ๑๙๖๑ ตนกูอับดุล เราะห์มาน เสนอการรวมสหพันธรัฐมลายากับสิงคโปร์ ซึ่งขณะนั้นยังเป็น อาณานิคมของอังกฤษ และรวมดินแดนใต้ความอารักขาของอังกฤษบนเกาะบอร์เนียว ภาคเหนอื ได้แก่ ซาราวกั ซาบาห์ และบรูไน เข้าดว้ ยกนั เปน็ ประเทศมาเลเซียในรปู ของ สหพนั ธ์ ขอ้ เสนอดงั กลา่ วกอ่ ใหเ้ กดิ การประทว้ งจากอนิ โดนเี ซยี และฟลิ ปิ ปนิ ส ์ อนิ โดนเี ซยี ถือว่าตนมีสิทธิในกาลีมันตันซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของบอร์เนียว จึงเกิดการเผชิญหน้าพร้อม อาวธุ ทเี่ รยี กกนั วา่ นโยบายเผชญิ หนา้ (Konfrontasi) สว่ นฟลิ ปิ ปนิ สก์ อ็ า้ งสทิ ธใิ นซาบาห์ เพราะสุลต่านแห่งซลู ูเคยทำ� สนธิสญั ญายกซาบาหใ์ หแ้ กฟ่ ิลปิ ปินส์ อยา่ งไรก็ตาม ในการ ออกเสยี งประชามติ ค.ศ. ๑๙๖๓ ปรากฏวา่ ซาบาหแ์ ละซาราวกั ตอ้ งการรวมกบั มาเลเซยี สว่ นบรไู นไมต่ อ้ งการ  สงิ คโปรเ์ หน็ ดว้ ยทจี่ ะรวมกบั มาเลเซยี แตอ่ กี ๒๓ เดอื นตอ่ มากแ็ ยก ตัวออกไป ดงั นั้น ประเทศมาเลเซียปัจจุบันจึงประกอบดว้ ยรัฐ ๙ รฐั บนคาบสมทุ รมลายู และรฐั ซาบาห์กบั ซาราวกั บนเกาะบอรเ์ นียว สาเหตุส�ำคัญท่สี ิงคโปรแ์ ยกจากสหพันธ์มาเลเซียใน ค.ศ. ๑๙๖๕ คอื พรรคกจิ ประชาหรือพเี อพี (People’s Action Party–PAP) ของสิงคโปร์ได้รับเลือกเพียงคนเดยี ว ในการเลือกตัง้ ค.ศ. ๑๙๖๔ ลี กวนยู (Lee Kuan Yew) ผนู้ ำ� พรรคกจิ ประชาจึงประกาศ 182

มาเลเซยี ต้ังพรรคร่วมฝ่ายค้านช่ือว่า พรรคมาเลเซียนโซลิดาริตีคอนเวนเชิน (Malaysian Solidarity Convention–MSC) ใชค้ ำ� ขวญั ประจำ� พรรควา่ “มาเลเซยี ของชาวมาเลเซยี ” (Malaysian Malaysia; Malaysians for Malaysia) ซึ่งหมายความว่า ชนชาติมลายู จะไม่เป็นใหญ่เหนือชนกลุ่มอ่ืน เพราะชาวมาเลเซียหมายถึงชนทุกเชื้อชาติในมาเลเซีย จึงขัดต่อข้อตกลงอย่างไม่เป็นทางการก่อนได้รับเอกราชใน ค.ศ. ๑๙๕๗ ดังได้กล่าวไป แล้ว สิงคโปร์ซ่ึงมีชนเช้ือชาติจีนถึงร้อยละ ๗๕ จะท�ำให้ชาวมลายูมิได้เป็นชนกลุ่มใหญ่ ในมาเลเซียอีกต่อไป อีกประการหนึ่ง ความขัดแย้งทางเช้ือชาติซึ่งเกิดขึ้นในสิงคโปร์ ระหวา่ งชาวมลายูกบั ชาวจนี ในช่วงเดือนกรกฎาคมถึงเดือนกนั ยายน ค.ศ. ๑๙๖๔ ทำ� ให้ สิงคโปร์มองว่าฝ่ายหัวรุนแรงในพรรคอัมโนต้องการท�ำลายช่ือเสียงของพรรคกิจประชา ความบาดหมางระหว่างฝ่ายรัฐบาลมาเลเซียกับผู้น�ำทางการเมืองของสิงคโปร์ท�ำให้ มาเลเซยี มมี ติให้สงิ คโปรแ์ ยกออกสหพันธม์ าเลเซยี ในเดือนสงิ หาคม ค.ศ. ๑๙๖๕ ในการเลือกต้ัง ค.ศ. ๑๙๖๙ พรรคสหพรรคได้รับคะแนนเสียงเลือกต้ังลดลง จากรอ้ ยละ ๕๘ เหลือเพยี งร้อยละ ๔๘ เพราะมคี ู่แขง่ เพ่มิ ข้นึ เชน่ พรรคปาส ซงึ่ มจี ุดมุ่ง หมายสำ� คญั คอื การนำ� หลกั การอสิ ลามมาใชใ้ นทางการเมอื ง พรรคปาสกลา่ วหาวา่ พรรค อัมโนซ่ึงเป็นตัวจักรส�ำคัญของพรรคสหพรรคยอมเป็นเคร่ืองมือของชนชาติจีน ท�ำให้ ชนชาตมิ ลายยู งั มฐี านะตำ่� ทางเศรษฐกจิ สว่ นพรรคทเี่ กดิ ใหม่ เชน่ พรรคกจิ ประชาธปิ ไตย หรอื ดเี อพี (Democratic Action Party–DAP) ตอ้ งการใหม้ าเลเซยี เปน็ ของชาวมาเลเซยี พลเมอื งทกุ คนมคี วามเสมอภาคโดยไมค่ �ำนงึ ถงึ เชอ้ื ชาติ ขบวนการประชาชนมาเลเซยี หรอื เอ็มพีเอ็ม (Malaysian People’s Movement–MPM) ซ่ึงมีชื่อเป็นภาษามาเลเซียว่า เกอรากัน รักยัต มาเลเซีย (Gerakan Rakyat Malaysia) ก็เรียกร้องสิทธิเสมอภาค เช่นกัน พรรคนี้มีสมาชิกส่วนใหญ่เป็นนักวิชาการชาวมลายูและจีน ชนชั้นท่ีประกอบ วชิ าชพี (professionals) และฝ่ายค้านรฐั บาล ซึ่งมกั ไม่ใชช่ นชาติมลายู ถงึ แม้ว่าพรรค สหพรรคจะชักชวนให้เลือกพรรคตนเพื่อความมั่นคง ความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ และ ความร่วมมือระหว่างชนชาติ ตลอดจนความเป็นพรรคที่น�ำประเทศไปสู่เอกราช แต่ก็ ปรากฏวา่ คนจ�ำนวนไมน่ อ้ ยหันไปลงคะแนนใหพ้ รรคปาส พรรคดีเอพี เอม็ พเี อ็ม เปน็ ตน้ 183

สารานกุ รมประวัตศิ าสตรป์ ระเทศเพือ่ นบา้ นในอาเซยี น ผลจากการเลอื กตงั้ ชีใ้ ห้เหน็ วา่ ชนชาติท่ีมิใชม่ ลายแู สดงพลังมากขน้ึ ทง้ั ในการ เลือกตั้งระดับประเทศและระดับรัฐ น�ำไปสู่ความไม่สงบในวันท่ี ๑๓ พฤษภาคม ค.ศ. ๑๙๖๙ ซ่ึงเป็นผลมาจากความตึงเครียดระหว่างกลุ่มชนซึ่งสะสมมานานแล้ว งานฉลอง ชัยชนะในการเลือกต้ังของชนที่มิใช่ชาวมลายูน�ำไปสู่การปะทะกันระหว่างชาวมลายูกับ กลมุ่ ชนอนื่ รา้ นคา้ ถกู ปลน้ บา้ นเรอื นถกู เผา เรมิ่ จากในกรงุ กวั ลาลมั เปอรแ์ ละแผข่ ยายไป ยงั บรเิ วณอน่ื ตนกอู บั ดลุ เราะหม์ าน นายกรฐั มนตรจี งึ ขอใหก้ ษตั รยิ ป์ ระกาศภาวะฉกุ เฉนิ สภาท่มี ีสมาชิกชดุ ใหม่เลอื่ นการประชุมออกไป สว่ นการเลอื กตง้ั ในซาบาห์และซาราวกั ก็ เล่อื นไปโดยไมม่ ีก�ำหนด กองทัพเข้ามาดูแลรักษาความสงบในเมืองตา่ ง ๆ มกี ารประกาศ หา้ มออกจากเคหสถานตลอด ๒๔ ชัว่ โมงในบรเิ วณฝง่ั ตะวันตกของคาบสมทุ รมลายู ซง่ึ เป็นบริเวณที่เกดิ เหตปุ ะทะกันมาก ความไมส่ งบคร้งั นมี้ ีผเู้ สียชวี ติ หลายรอ้ ยคน บาดเจบ็ อกี หลายร้อยคน ทรพั ย์สนิ เสียหายมูลค่าหลายล้านดอลลาร์สหรฐั และประชาชนนบั พัน คนไร้ท่ีอยอู่ าศัย ในระยะแรกของการประกาศภาวะฉกุ เฉนิ พรรคอมั โนเขา้ ควบคมุ การปกครอง การบริหารประเทศอยู่ในมือของสภาปฏิบัติการแห่งชาติหรือเอ็นโอซี (National Operations Council–NOC) ซ่ึงตง้ั ข้ึนใหม่ มีรองนายกรัฐมนตรตี นอบั ดุล ราซัก (Tun Abdul Razak) เป็นประธาน เอ็นโอซีมีลักษณะคล้ายคลึงกับรัฐบาลในยุคภาวะฉุกเฉิน ต่อต้านภัยคอมมิวนิสต์ ค.ศ. ๑๙๔๘-๑๙๖๐ มีเครื่องมือส�ำคัญคือ พระราชบัญญัติ ความมน่ั คงภายในหรอื ไอเอสเอ (Internal Security Act–ISA) ซงึ่ เปน็ กฎหมายทใ่ี หอ้ ำ� นาจ รฐั บาลในการจับกุมคุมขังผู้ต้องหาโดยไม่ต้องไต่สวน คณะรฐั บาลชว่ งนป้ี ระกอบดว้ ยนกั การเมอื งจากพรรคอมั โน ขา้ ราชการชน้ั ผใู้ หญ่ ผู้แทนจากฝ่ายทหารและต�ำรวจ และผู้แทนพรรคเอ็มซีเอ ๑ คน ผู้แทนพรรคเอ็มไอซี ๑ คน ดังนน้ั ความแตกต่างระหว่างภาวะฉกุ เฉินต่อตา้ นคอมมวิ นิสต์กับภาวะฉุกเฉินคร้งั น้ีคือ ครั้งหลังนี้มีชาวมลายูชั้นหัวหน้าเป็นผู้ควบคุมทั้งสภาปฏิบัติการแห่งชาติและ คณะรฐั บาลในภาวะฉกุ เฉนิ หลงั การจลาจลไดม้ กี ารประกาศรกู เู นอการา (Rukunegara) หรือหลัก ๕ ประการแห่งชาติ ไดแ้ ก่ 184

มาเลเซีย ๑. เชือ่ ในพระเป็นเจา้ ๒. ภักดีต่อกษัตริยแ์ ละประเทศชาติ ๓. ธำ� รงไว้ซึ่งรัฐธรรมนญู ๔. กฎหมายคอื อ�ำนาจสูงสดุ ๕. ปฏิบตั ติ นตามกฎหมายและศลี ธรรม การจลาจลครั้งนี้ท�ำให้ตนกูอับดุล เราะห์มานหมดอ�ำนาจ แม้ว่าเขายังด�ำรง ตำ� แหนง่ นายกรฐั มนตรขี องคณะรฐั บาลฉกุ เฉนิ แตค่ วามหวงั ของเขาทจี่ ะใหท้ กุ ชนชาตอิ ยู่ ร่วมกันอย่างสันติได้สลายไป เขาจึงลาออกจากต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรีใน ค.ศ. ๑๙๗๐ และตนอบั ดลุ ราซกั ขน้ึ มาเปน็ นายกรฐั มนตรคี นที่ ๒ ของมาเลเซยี การจลาจลครง้ั นท้ี ำ� ให้ พรรคอัมโนพิจารณาปรับเปลี่ยนนโยบาย กลุ่มหน่ึงในพรรคต้องการให้พรรคอัมโนเลิก ออมชอมกับพรรคเอ็มซีเอและพรรคเอ็มไอซี ผู้น�ำกลุ่มนี้ ได้แก่ ตันศรี ญะฟัร อัลบัร (Tan Sri Ja’afar Albar) ซง่ึ เคยต่อตา้ นลี กวนยูใน ค.ศ. ๑๙๖๕ และกลุม่ คนหนุม่ ท่มี ี ดร.มหาธีร์ โมฮัมมัด (Dr. Mahathir Mohammad) ซ่ึงเป็นนายแพทย์จากรัฐเกดะห์ และมูซา ฮิตัม (Musa Hitam) จากรัฐยะโฮร์ เป็นผู้น�ำ กลุ่มคนหนุ่มดังกล่าวนี้เห็นว่า ตนกูอับดุล เราะห์มาน ยอมผ่อนปรนแก่ชนชาติที่มิใช่มลายูมากเกินไป และคอยต�ำหนิ วิพากษว์ จิ ารณก์ ารบริหารของตนกอู บั ดุล เราะหม์ าน อกี กลมุ่ หนงึ่ ซงึ่ มตี นอบั ดลุ ราซัก เป็นผู้น�ำน้ันยึดทางสายกลางและเห็นว่าควรเพิ่มความร่วมมือกับชนชาติอื่น ๆ ของ มาเลเซยี เพราะเขาเหลา่ นอี้ ยู่ในประเทศแล้วจงึ จ�ำเปน็ ตอ้ งอยูร่ ว่ มกนั เมือ่ กลุ่มหลงั เป็น ฝ่ายชนะ ดร.มหาธรี ์ โมฮมั มดั จึงถูกขบั ออกจากพรรค ส่วนมูซา ฮติ ัมตอ้ งลาไปศกึ ษาต่อ ในสหราชอาณาจักร กล่มุ สายกลางวางนโยบายทางการเมอื งและเศรษฐกจิ ใหม่ แม้จะ ส่งเสริมชนชาติมลายู แต่ก็รักษาหลักพ้ืนฐานของการเป็นประเทศพหุชนชาติและ วัฒนธรรม ถือนโยบายวัฒนธรรมแห่งชาติคือ วัฒนธรรมมลายู ประวัติศาสตร์ และ วรรณกรรมมลายู เปน็ รากฐานของสมบตั ชิ าตมิ าเลเซยี เพมิ่ กองกำ� ลงั รกั ษาความปลอดภยั เพ่ิมขนาดกองทัพมากกว่า ๒ เท่าใน ๒ ทศวรรษต่อมา อีกท้ังเพ่ิมอัตราส่วนชาวมลายู ในกองทพั จากรอ้ ยละ ๖๐ เปน็ ร้อยละ ๘๐ 185

สารานกุ รมประวัติศาสตรป์ ระเทศเพ่ือนบ้านในอาเซยี น ตนอบั ดลุ ราซกั ดร.มหาธีร์ โมฮัมมดั มซู า ฮติ มั 186

มาเลเซีย พพิ ธิ ภัณฑ์ในมะละกา สะพานปีนัง 187

สารานกุ รมประวตั ศิ าสตร์ประเทศเพอ่ื นบา้ นในอาเซียน ผลงานสำ� คญั ของตนอบั ดลุ ราซกั ตงั้ แตส่ มยั เปน็ รองนายกรฐั มนตรแี ละรฐั มนตรี วา่ การกระทรวงการตา่ งประเทศ คอื การร่วมมือกับประเทศไทย อินโดนเี ซีย ฟลิ ปิ ปินส์ และสิงคโปร์ กอ่ ตงั้ อาเซยี นในเดอื นสิงหาคม ค.ศ. ๑๙๖๗ ซง่ึ เป็นจดุ เริม่ ต้นในการรว่ มมอื กันสร้างความเจริญม่ันคงในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อข้ึนด�ำรงต�ำแหน่ง นายกรัฐมนตรี เขาก็มีผลงานระดับชาติคือ นโยบายเศรษฐกิจใหม่หรือเอ็นอีพี (New Economic Policy–NEP) ซึง่ เร่มิ ข้นึ ใน ค.ศ. ๑๙๗๑ เน่อื งจากสถานภาพทาง เศรษฐกิจของชาวมลายูยังไม่ดีขึ้น ชาวมลายูยังเป็นเสมือนชนชั้นสอง รัฐบาลหลัง ภาวะฉกุ เฉนิ จงึ เรมิ่ ใชน้ โยบายเศรษฐกจิ ใหม่ เปา้ หมายกค็ อื ตอ้ งขจดั ความยากจนและปรบั โครงสร้างทางเศรษฐกิจใหม่ หากปล่อยให้เศรษฐกิจด�ำเนินไปตามกลุ่มชนเหมือนเดิม ฐานะชาวมลายูก็จะเหมือนเดมิ ดงั น้ัน นโยบายใหม่ตอ้ งแบง่ เป็น ๒ ด้าน ดา้ นแรกต้อง เพมิ่ รายไดแ้ ละโอกาสการท�ำงานใหแ้ กช่ าวมาเลเซยี โดยไมค่ �ำนงึ ถงึ เชอ้ื ชาติ ดา้ นท่ี ๒ ตอ้ ง ปรับโครงสร้างสังคมมาเลเซีย เพื่อมิให้อาชีพบ่งบอกชนชาติแบบเดิม ปรับวิถีชีวิต ชาวชนบทให้ทันสมัย สร้างโอกาสให้ชาวมลายแู ละชาวพน้ื เมอื งอน่ื ๆ เข้ามามีส่วนร่วม ทางเศรษฐกิจในฐานะผรู้ ว่ มกิจการ แผนนี้ตั้งความหวงั ว่าภายใน ค.ศ. ๑๙๙๐ ชาวมลายู จะมอี าชพี หรอื ธุรกจิ ทหี่ ลากหลาย ผลปรากฏวา่ ชาวมลายยู งั นิยมทำ� การเกษตรอยู่มาก แมว้ ่ารฐั จะออกกฎหมายใหบ้ ริษทั ตา่ ง ๆ จัดโควตาแก่ชาวมลายกู ็ตาม อนง่ึ การใหโ้ ควตา ชาวมลายูเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัย มีผลให้ชาวจีนและอินเดียมีท่ีเรียนในประเทศน้อย บิดามารดาต้องส่งบุตรไปศึกษาต่างประเทศ เช่น ท่ีสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย ชาวจีนและอินเดียจึงมีความรู้ดีและได้งานดีกว่าชาวมลายู เพราะมีความรู้ ภาษาอังกฤษดี ไดร้ บั ผลประโยชนอ์ ย่างงามในยุคโลกาภวิ ัตน์ ใน ค.ศ. ๑๙๗๔ รัฐบาลพรรคสหพรรคได้ขยายฐานของพรรคโดยรับพรรคอื่น มาเพ่ิมและเปลี่ยนชื่อพรรคสหพรรคเป็นพรรคแนวร่วมแห่งชาติหรือบารีซานนาซียอนัล (Barisan Nasional) เศรษฐกจิ มาเลเซยี โดยรวมเจรญิ ขนึ้ อยา่ งเหน็ ไดช้ ดั การสง่ เสรมิ การ ลงทุนจากต่างประเทศท�ำใหช้ าวมาเลเซียทุกเชื้อชาติมงี านท�ำทใี่ ห้ผลตอบแทนดี การขุด พบนำ�้ มนั และกา๊ ซธรรมชาตทิ างชายทะเลฝง่ั ตะวนั ออกของคาบสมทุ รมลายแู ละทช่ี ายฝง่ั 188

มาเลเซีย ของรฐั ซาราวักท�ำใหเ้ ศรษฐกจิ มาเลเซยี เจรญิ รงุ่ เรอื งยง่ิ ขึ้น ตง้ั แต่ ค.ศ. ๑๙๘๐ เปน็ ตน้ มา มาเลเซียส่งออกน�้ำมันและสินค้าที่เกี่ยวกับน�้ำมันเป็นมูลค่ากว่า ๓,๒๐๐ ล้านดอลลาร์ สหรฐั นับเปน็ ปริมาณรายได้ท่ีสงู กวา่ ผลิตผลยางพาราถงึ รอ้ ยละ ๒๕ รัฐบาลตัง้ บริษัท อุตสาหกรรมน้�ำมันชื่อ บริษัทน้�ำมันแห่งชาติหรือเปโตรนาส (National Oil Company–PETRONAS) ด�ำเนินนโยบายแนวเดิมคือใช้นโยบายเศรษฐกิจใหม่ เม่ือ อับดุล ราซักถงึ แก่อสัญกรรมใน ค.ศ. ๑๙๗๖ ดาโต๊ะ ฮเู ซน็ อนน์ (Hussein Onn) บตุ ร ชายของดาโต๊ะ อนน์ บิน ญะฟัร เป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อมาจนถึง ค.ศ. ๑๙๘๑ เขามีบทบาทในการเข้าร่วมประชมุ สดุ ยอดอาเซยี นครั้งแรกซงึ่ จัดข้ึนท่ีบาหลี เมอ่ื มหาธรี ์ โมฮมั มดั ขนึ้ เปน็ นายกรฐั มนตรใี น ค.ศ. ๑๙๘๑ นโยบายของรฐั บาล มาเลเซียก็เปล่ียนไป ก่อนหน้านี้ ชาวมลายูเข้าร่วมกิจการที่รัฐบาลเป็นเจ้าของเท่าน้ัน จึงแข่งขันกับบริษัทท่ีเป็นของชนชาติอื่นในมาเลเซียได้ยาก มหาธีร์ต้องการต้ังกลุ่มนัก ธุรกิจชาวมลายูด้วยความเชื่อม่ันว่า นักธุรกิจและนายทุนชาวมลายูจะสามารถยกระดับ ประชาคมมลายไู ด้ เขาจงึ นำ� กจิ การตา่ ง ๆ ของรฐั เชน่ สายการบนิ มาเลเซยี อตุ สาหกรรม ซีเมนต์แห่งมาเลเซีย และชารีกัตเทเลคอมมาเลเซีย (Syarikat Telekom Malaysia) มาขายให้แก่นกั ธรุ กจิ มลายู โครงการทเ่ี ป็นโครงสร้างพนื้ ฐาน เช่น ทางหลวง การประปา การขนส่งมวลชน ก็ยกให้เอกชนมลายูดูแล ส่วนใบอนุญาตต่าง ๆ เช่น สถานีโทรทัศน์ บรกิ ารโทรคมนาคม ก็ออกใหแ้ กส่ ถาบนั เอกชนท่เี ปน็ ของชาวมลาย ู นโยบายดงั กลา่ วได้ ผลเพยี งในระดบั หนงึ่ เพราะบอ่ ยครงั้ บรษิ ทั มลายไู ปจา้ งบรษิ ทั อนื่ ตอ่ เชน่ จา้ งบรษิ ทั ญป่ี นุ่ ใหร้ ับชว่ งไปท�ำ หรือทำ� เองแต่ไม่ไดม้ าตรฐาน ผ้รู บั งานต้องมเี ส้นสายทางการเมอื งจงึ จะ ได้งาน ดังนั้น นโยบายของมหาธรี จ์ ึงใหป้ ระโยชน์ที่มขี ้อจ�ำกดั อีกประการหน่ึง เม่ือเกดิ ภาวะเศรษฐกิจถดถอยเม่ือกลางทศวรรษ ๑๙๘๐ การแกง่ แย่งผลประโยชน์จึงรุนแรงข้ึน ฐานะผูน้ ำ� ของมหาธรี ์ถูกท้าทายใน ค.ศ. ๑๙๘๗ ชนชาตทิ ่มี ิใชม่ ลายกู แ็ สดงความไม่พอใจ ต่อระบบดังกล่าว จึงเกิดการต่อต้าน รัฐบาลตอบโต้ด้วยการจับกุมพวกที่ต่อต้านเพราะ เหน็ ว่าเปน็ ผกู้ อ่ ให้เกดิ ความแตกแยกระหวา่ งเช้อื ชาติ 189

สารานกุ รมประวตั ศิ าสตร์ประเทศเพือ่ นบา้ นในอาเซียน ความเปลีย่ นแปลงท่สี ำ� คญั อกี อย่างหนง่ึ ในสมยั ของมหาธีร์ คอื การลดอำ� นาจ ของกษตั รยิ ์มาเลเซียและการลดอำ� นาจตลุ าการ แม้กษัตริย์หรือยังดเี ปอร์ตวนอากงจะมี อำ� นาจนอ้ ยมาก เพราะอยใู่ ตร้ ฐั ธรรมนญู แตพ่ ระราชวงศก์ ย็ งั มอี ทิ ธพิ ลตอ่ พรรคการเมอื ง ในชว่ ง ค.ศ. ๑๙๘๓-๑๙๘๔ มหาธรี เ์ สนอแกไ้ ขรฐั ธรรมนญู ทใ่ี หอ้ ำ� นาจกษตั รยิ ใ์ นการชะลอ กฎหมายและอำ� นาจในการประกาศภาวะฉกุ เฉนิ แตก่ ม็ ผี คู้ ดั คา้ น ในทสี่ ดุ มหาธรี ส์ ามารถ ยกเลิกเฉพาะข้อทกี่ ษัตรยิ ส์ ามารถชะลอกฎหมาย ต่อมาในต้นทศวรรษ ๑๙๙๐ พรรค อัมโนซ่ึงมหาธีร์เป็นผู้น�ำก็สามารถออกกฎหมายยกเลิกการยกเว้นจากความผิดทาง กฎหมายของพระราชวงศ์ ซง่ึ หมายความวา่ สามารถนำ� กษตั รยิ แ์ ละเชอ้ื พระวงศข์ น้ึ ศาลได้ ส่วนอำ� นาจตุลาการนั้น มหาธรี ์ผลักดันใหอ้ อกกฎหมายใน ค.ศ. ๑๙๘๗ วา่ ศาลไมม่ สี ิทธ์ิ พจิ ารณาคดีที่เกี่ยวข้องกับการกระท�ำของรฐั บาลซึง่ รบั ผดิ ชอบตอ่ รฐั สภาเทา่ น้ัน ในด้านสังคม ความสำ� เรจ็ ในการยกฐานะทางเศรษฐกิจของชาวมลายใู หส้ ูงขึ้น เก่ียวพันกับการท่ีชาวมลายูท้ิงการเกษตรเข้ามาประกอบอาชีพอ่ืนในเมือง จากสังคมที่ อบอนุ่ แวดลอ้ มดว้ ยญาตพิ นี่ อ้ ง มาสสู่ งั คมทเี่ รง่ รบี ตวั ใครตวั มนั ชาวมลายจู งึ ตอ้ งพยายาม หาทย่ี ดึ เหนยี่ ว ศาสนาอสิ ลามเปน็ ทย่ี ดึ เหนยี่ วไดด้ ี จงึ มผี กู้ อ่ ตง้ั องคก์ ารเกยี่ วกบั ศาสนาขนึ้ เชน่ ขบวนการเยาวชนอิสลามแห่งมาเลเซยี หรืออาบมิ (Islamic Youth Movement of Malaysia; Angkatan Belia Islam Malaysia–ABIM) ซ่ึงอันวาร์ อิบรอฮีม (Anwar Ibrahim) เปน็ ผกู้ อ่ ตง้ั ขนึ้ ใน ค.ศ. ๑๙๗๑ อาบมิ เรยี กรอ้ งใหใ้ ชห้ ลกั การของศาสนาอสิ ลาม ในการปกครอง ตลอดจนตั้งธนาคารอสิ ลามทไ่ี ม่ใหด้ อกเบย้ี ตง้ั มหาวิทยาลัยอสิ ลาม ใช้ นโยบายต่างประเทศท่ีเน้นความส�ำคัญของโลกอิสลาม มหาธีร์เองก็ตั้งสถาบันเพ่ือ การเผยแผ่ความเข้าใจศาสนาอิสลามหรืออิกิม (Institute for the Propagation of Islamic Understanding–IKIM) ซ่ึงวิเคราะห์ประเด็นปัญหาปัจจุบันจากมุมมองของ ศาสนาอิสลาม ท�ำให้คนมองว่า รัฐบาลพยายามชี้น�ำศาสนาอิสลามและดึงอิสลามเข้าสู่ กระแสการเมือง ปัญหาสังคมที่ส�ำคัญอีกข้อหน่ึงคือปัญหายาเสพติด แม้รัฐบาลจะออก กฎหมายลงโทษผ้ขู ายยาเสพติดหรือผมู้ ีไว้ในครอบครองดว้ ยการประหารชวี ิต แตป่ ัญหา กย็ ังมไิ ดห้ มดไป 190

มาเลเซีย เนอื่ งจากกระแสอสิ ลามแบบเครง่ ครดั ตอ่ คมั ภรี ก์ รุ อานและกฎหมายอสิ ลามแผ่ ขยายจากตะวนั ออกกลางสดู่ นิ แดนอน่ื ๆ รวมทง้ั มาเลเซยี ในชว่ งทศวรรษ ๑๙๗๐ เรม่ิ ดว้ ย การท่ีอะยาตอลลอฮ์ โคไมนี (Ayatollah Khomeini) น�ำการต่อต้านพระเจ้าชาห์แห่ง อิหร่าน และท�ำการปฏิวัติอิสลามส�ำเร็จใน ค.ศ. ๑๙๗๙ ส่งผลให้ขบวนการดะก์วะฮ์ (Dakwah Movement) ทจี่ ดั ตง้ั ขน้ึ ในประเทศอนิ เดยี ขยายตวั มายงั มาเลเซยี อยา่ งรวดเรว็ ขบวนการนมี้ วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื สง่ เสรมิ ความดแี ละหา้ มปรามความชวั่ สง่ เสรมิ ใหช้ าวมสุ ลมิ อุทิศตนแก่ศาสนาอิสลาม ขบวนการนี้เน้นการน�ำอุดมการณ์อิสลามมาใช้ในชีวิต ประจำ� วนั นอกจากนยี้ งั มอี งคก์ รเปอรก์ มิ (PERKIM) ซง่ึ สง่ เสรมิ การเผยแพรศ่ าสนาอสิ ลาม เช่น การชกั ชวนชาวพืน้ เมืองเดมิ หรอื โอรัง อัสลี ให้นับถือศาสนาอิสลาม โดยตอบแทน ด้วยการช่วยให้คนเหล่าน้ีมีความเป็นอยู่ท่ีดีขึ้น ซ่ึงอาจใช้วิธีจ่ายเงินสนับสนุน ในช่วง ทศวรรษ ๑๙๘๐ เริ่มมีการเรียกร้องให้ใช้กฎหมายศาสนาอิสลามซึ่งเรียกว่า ชารีอะฮ์ (Sharia) ปกครองประเทศ มหาธีร์ตอ้ งเผชิญกบั ปญั หาจากกลุ่มเคร่งศาสนาเหลา่ น้ี เขาพยายามแกป้ ญั หา ด้วยการผูกมิตรกับผู้น�ำส�ำคัญของกลุ่มนี้ คือ อันวาร์ อิบรอฮีม ประธานกลุ่มอาบิม เป้าหมายหลักของอาบิมคือ สร้างสังคมตามหลักศาสนาอิสลาม มหาธีร์เชิญให้อันวาร์ สมัครเป็นสมาชิกพรรคอัมโนและสมัครเข้ารับเลือกตั้ง อันวาร์จึงได้รับเลือกเป็นผู้แทน ราษฎรใน ค.ศ. ๑๙๘๒ และขึ้นด�ำรงต�ำแหน่งรัฐมนตรีช่วยประจ�ำส�ำนักนายกรัฐมนตรี เพอื่ กจิ การศาสนาอสิ ลาม ตอ่ มา อนั วาร์ อบิ รอฮมี กด็ ำ� รงตำ� แหนง่ รฐั มนตรหี ลายกระทรวง จนกระทั่ง ค.ศ. ๑๙๙๓ เขาได้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและเป็นรองนายก รฐั มนตรดี ว้ ย ในระยะแรกดูเสมอื นว่า มหาธรี ์และอนั วาร์ อบิ รอฮมี มีเปา้ หมายเดียวกนั ท่ีจะสร้างโลกใหม่ด้วยหลักสากลของอิสลาม ซ่ึงไม่เคร่งจนถึงขั้นต่อต้านการพัฒนาด้าน เทคโนโลยี หรอื ถงึ ขนั้ รงั เกยี จชนทมี่ ิใชม่ สุ ลมิ อันจะทำ� ใหป้ ระเทศชาติไมม่ นั่ คง หากผ้ใู ด ล�้ำเส้น มหาธีร์ก็จะใช้พระราชบัญญัติความมั่นคงภายในส่ังจับกุม พรรคที่เคร่งศาสนา เช่น พรรคปาส ก็ยงิ่ รณรงคต์ ่อตา้ นรัฐบาล 191

สารานุกรมประวตั ิศาสตรป์ ระเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน มหาธีร์พยายามพยายามวางนโยบายเศรษฐกิจท่ีก้าวหน้าและให้ผลดีรวดเร็ว กว่านโยบายเศรษฐกิจใหม่ที่มีมาก่อน เขาเรียกนโยบายน้ีว่า นโยบายพัฒนาใหม่หรือ เอ็นดพี ี (New Development Policy–NDP) เป็นแผน ๓๐ ปี ระหวา่ ง ค.ศ. ๑๙๙๐- ๒๐๒๐ ทจ่ี ะพัฒนาอตุ สาหกรรมด้วยเทคโนโลยีระดับสงู และท�ำโครงการกอ่ สรา้ งอาคาร ท่ีล�้ำสมัย เช่น สนามบินนานาชาติแห่งใหม่ที่ชานกรุงกัวลาลัมเปอร์ สร้างปุตระจายา (Putrajaya) เปน็ เมืองศูนย์ทำ� การรัฐบาล ตกึ เปโตรนาส (Petronas Towers) เปน็ ต้น นโยบายใหม่น้ีปรากฏชัดในสุนทรพจน์ท่ีมหาธีร์กล่าวต่อสภาธุรกิจแห่งมาเลเซีย (Malaysian Business Council) ใน ค.ศ. ๑๙๙๑ ช่ือว่า “Malaysia: The Way Forward” ซึง่ ตอ่ มาเรยี กว่า วสิ ยั ทศั น์ ๒๐๒๐ ตงั้ เป้าหมายว่ามาเลเซยี จะเป็นประเทศ ที่พฒั นาเต็มทีภ่ ายใน ค.ศ. ๒๐๒๐ เป้าหมายส�ำคัญทเ่ี ขาตั้งไวค้ ือ จะสร้างมาเลเซียทรี่ วม เปน็ หน่งึ เดยี วดว้ ยการสร้างชนชาตมิ าเลเซยี (Malaysian Race) ทอ่ี ย่อู ยา่ งเจริญรุ่งเรอื ง และมคี วามกลมเกลยี วภายใตร้ ะบอบประชาธปิ ไตยมาเลเซยี ในสงั คมทใ่ี หค้ ณุ คา่ แกค่ วาม รู้ ความสำ� เรจ็ และความเปน็ พลวตั ทางดา้ นเศรษฐกจิ เปน็ สงั คมทไี่ ดร้ บั แรงบนั ดาลใจจาก ความอดกลนั้ และความเหน็ อกเหน็ ใจซงึ่ กนั และกนั สง่ิ สำ� คญั คอื มหาธรี ข์ ยายความหมาย ของภูมิบุตรให้ครอบคลุมชนทุกเชื้อชาติในมาเลเซีย แทนที่จะเน้นชนชาติมลายูตาม แนวคิดเดิม มหาธีรก์ ลา่ วถึง ชาวมลายรู ่นุ ใหม่ (Melayu Baru) ทจ่ี ะท�ำใหเ้ ป้าหมายของ เขาบรรลผุ ลชาวมลายรู นุ่ ใหมต่ อ้ งชำ� นาญดา้ นเทคโนโลยี มคี วามคดิ สรา้ งสรรคใ์ นเชงิ ธรุ กจิ มีความมั่นใจในโลกนานาชาติและสามารถน�ำมาเลเซียเข้าสู่ศตวรรษท่ี ๒๑ ด้วยความ ส�ำเร็จอย่างงดงามแผนก้าวข้ามสู่ศตวรรษใหม่ชี้ให้เห็นว่า มหาธีร์พยายามท่ีจะเลิกการ แบง่ แยกเชอื้ ชาติ ซง่ึ ไมจ่ ำ� เปน็ แลว้ ในศตวรรษใหมท่ ชี่ าวมลายมู จี ำ� นวนเพมิ่ ขน้ึ มาก เพราะ มอี ตั ราการเกดิ สงู กวา่ ชนกลมุ่ อนื่ ๆ อกี ประการหนงึ่ ชาวมาเลเซยี เชอื้ ชาตจิ นี และอนิ เดยี ทมี่ คี วามรสู้ งู มกั นยิ มไปประกอบอาชพี ในตา่ งประเทศซงึ่ ใหโ้ อกาสดกี วา่ เพราะไมม่ นี โยบาย ปิดกั้นเหมือนในมาเลเซีย การเคลื่อนย้ายออกนอกประเทศท�ำนองนี้ก่อให้เกิดภาวะ สมองไหล (brain drain) ซ่ึงหากไม่รีบแก้ไขก็จะเกิดผลเสียต่อมาเลเซีย แต่การใช้ 192

มาเลเซีย นโยบายผ่อนปรนโดยให้โอกาสแก่ชนท่ีมิใช่เชื้อชาติมลายูท�ำให้มหาธีร์ต้องเผชิญกับ ผ้คู ดั ค้านจ�ำนวนมากขึ้น วิกฤตการณ์เศรษฐกิจในเอเชีย ค.ศ. ๑๙๙๗ โดยรวมกระเทือนมาถึงภาวะ เศรษฐกิจในมาเลเซีย การคอร์รปั ชันเกิดขนึ้ ในวงการเมอื งรวมท้งั ในพรรคอมั โน ในการ ประชมุ ใหญ่ของพรรคอัมโน ค.ศ. ๑๙๙๘ ผูส้ นับสนุนอนั วาร์ อิบรอฮีมกลา่ วโจมตีการ คอร์รัปชันและระบบเส้นสายเล่นพรรคเล่นพวกอย่างรุนแรง ท�ำให้ดูเหมือนว่าเป็นการ โจมตีมหาธรี โ์ ดยตรง ไม่นานหลงั จากนั้น อนั วาร์ อบิ รอฮมี กถ็ กู กลา่ วหาว่ามีพฤตกิ รรม รกั รว่ มเพศ มหาธรี จ์ งึ ปลดอนั วารอ์ อกจากตำ� แหนง่ รองนายกรฐั มนตรแี ละรฐั มนตรวี า่ การ กระทรวงการคลงั ในวนั ที่ ๒ กันยายน ค.ศ. ๑๙๙๘ และต่อมาก็ขบั อนั วาร์ออกจากพรรค อัมโนด้วย เนือ่ งจากชว่ งนั้นมีการแข่งขนั กีฬาเครอื จกั รภพ (Commonwealth Games) การกล่าวหาอันวาร์จึงถูกระงับไว้ก่อน ท�ำให้อันวาร์สามารถไปแสดงสุนทรพจน์ต่อกลุ่ม ประชาชนที่สนับสนุนเขา ผู้มาชุมนุมฟังอันวาร์พูดก็แสดงความไม่พอใจต่อมหาธีร์ อันวาร์จึงถูกจับกุมตามพระราชบัญญัติความมั่นคงภายในเม่ือวันท่ี ๑๐ กันยายน และ ถูกคมุ ขัง ภรรยาของอันวาร์ คือ แพทยห์ ญิงวนั อะซซิ ะฮ์ อิสมาอลี (Dr. Wan Azizah Ismail) พยายามเรียกรอ้ งความเป็นธรรมแก่สามี แต่ไม่ส�ำเร็จ เม่อื ถึงเดอื นพฤศจิกายน ปเี ดยี วกนั อนั วารถ์ กู พจิ ารณาตามขอ้ กลา่ วหา ๔ กระทง และถกู ตดั สนิ วา่ ผดิ จรงิ ตามขอ้ หา ทงั้ ๔ กระทงในเดอื นเมษายน ค.ศ. ๑๙๙๙ และถูกจำ� คกุ กระทงละ ๖ ปีในเวลาพรอ้ มกัน ท้ัง ๔ กระทง ในการเลือกต้ังทั่วไป ค.ศ. ๑๙๙๙ บารีซานนาซียอนัลจึงได้รับคะแนนเสียง นอ้ ยลงกวา่ ทเ่ี คยได้ เพราะเกดิ การการกอ่ ตงั้ แนวรว่ มทางเลอื กหรอื บารซี านอลั เทอรเ์ นทฟี (Barisan Alternatif) ซง่ึ ประกอบด้วยพรรค ๔ พรรค ไดแ้ ก่ ปาส ดีเอพี พรรคประชาชน มาเลเซียสังคมนิยม (Socialist Malaysian People’s Party–PRM) และพรรค ความยุติธรรมแห่งชาติ (National Justice Party) ซ่ึงมี แพทย์หญิงวัน อะซิซะฮ์ อสิ มาอลี เป็นหวั หนา้ 193