Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สารานุกรมประวัติศาสตร์ ประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน

สารานุกรมประวัติศาสตร์ ประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน

Description: สารานุกรมประวัติศาสตร์ ประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน.

Search

Read the Text Version

สารานกุ รมประวัตศิ าสตรป์ ระเทศเพ่อื นบา้ นในอาเซยี น ห้ามชาวจนี เดนิ เรอื ค้าขายในบริเวณหนานหยาง หลงั จากนั้น หลกั ฐานท่นี ักเดินเรือจีน บันทกึ ไวเ้ กย่ี วกับสงิ คโปรก์ ็ลดนอ้ ยลง อย่างไรก็ดี บันทึกของชาวมลายูให้ข้อมูลเก่ียวกับพัฒนาการในสิงคโปร์ช่วง ปลายครสิ ตศ์ ตวรรษที่ ๑๔ ไว้ โดยระบวุ ่า ในบรเิ วณน้ันมอี าณาจักรเลก็ ๆ ท่ขี ึ้นอยกู่ ับ จักรวรรดศิ รีวิชยั กระจายตัวอย่ทู ว่ั ไป เม่อื ศรวี ิชยั หมดอำ� นาจลง อาณาจกั รทีเ่ คยขึน้ กับ ศรีวิชยั กต็ ง้ั ตนเปน็ อสิ ระ สว่ นเตอมาเซะก์นัน้ เผชญิ กบั การแขง่ ขันกนั ในการขยายอำ� นาจ ระหว่างอาณาจักรของชาวไทยกับจักรวรรดิมัชปาหิต (Majapahit) ท่ีมีอ�ำนาจ ในบรเิ วณดงั กลา่ วมากอ่ น มหี ลกั ฐานวา่ กองทพั ของชาวไทยเคยยกทพั มาลอ้ มเตอมาเซะก์ แต่ถูกขับไล่กลบั ไปได้สำ� เร็จ ในช่วงดังกล่าว เช้ือสายผู้ครองแคว้นปาเลิมบังหรือปาเล็มบัง (Palembang) ซ่ึงมีช่ือในภาษาสันสกฤตว่า ปรเมศวร (Parameswara ค.ศ. ๑๓๔๔-๑๔๑๔) แข็งข้อ ตอ่ จกั รวรรดมิ ชั ปาหิต ผปู้ กครองจกั รวรรดิมชั ปาหิตจึงลงโทษด้วยการบงั คบั ให้ปรเมศวร ย้ายจากปาเล็มบังไปอยู่ที่หมู่เกาะรีเอาลิงกา (Riau Lingga) และต่อไปยังเตอมาเซะก์ ซึง่ ปรเมศวรไดส้ งั หารผู้ปกครองชาวพน้ื เมอื งและยึดอ�ำนาจในเตอมาเซะก์ แตต่ ่อมาเขาก็ ถกู ไลอ่ อกไปจากเตอมาเซะก์ แตไ่ มแ่ นช่ ดั วา่ ผขู้ บั ไลเ่ ปน็ ชาวชวาหรอื ชาวไทยในสมยั อยธุ ยา ทกี่ ำ� ลงั ขยายอำ� นาจเขา้ มาโดยรว่ มมอื กบั บางแควน้ ในมลายู หลงั จากเตอมาเซะกถ์ กู โจมตี แล้ว ยังคงมีชุมชนท่ียังตั้งถ่ินฐานอยู่ในเกาะดังกล่าวโดยอยู่ใต้อ�ำนาจของชาวมลายู ซ่ึงมศี นู ยก์ ลางอยูท่ ่ีเมอลากา (Melaka) หรอื มะละกา (Malacca) ในการนี้ เตอมาเซะก์ มักจัดหาคนเรือและช่วยมะละกาในสงครามโดยใช้กองเรือพายทีพ่ วกตนมีความชำ� นาญ หลังจากโปรตเุ กสเขา้ ยดึ ครองมะละกาใน ค.ศ. ๑๕๑๑ สุลต่านมะละกาลีภ้ ยั ไป อย่ทู ี่โจโฮรล์ ามา (Johor Lama) เหนือปากแมน่ ำ้� โจโฮร์ ผดู้ ูแลเมอื งทา่ (Shahbandar) แนะน�ำสุลต่านมะละกาให้ใช้เกาะสิงคโปร์เป็นสถานีการค้าโพ้นทะเล ส่วนโปรตุเกส ตอ้ งการลดกำ� ลงั ทางเรอื รวมทงั้ อำ� นาจทางการเมอื งของชาวมลายลู ง จงึ บกุ เขา้ ทำ� ลายเมอื ง โจโฮรล์ ามาใน ค.ศ. ๑๕๘๗ ต่อมาใน ค.ศ. ๑๖๑๓ กองทพั โปรตเุ กสก็ได้เผาศนู ย์กลาง 294

สาธารณรัฐสงิ คโปร์ การค้าของมลายูใกล้ปากแม่น�้ำสิงคโปร์ สุลต่านโจโฮร์จึงหนีออกจากโจโฮร์ลามาไป ต้ังท่ีมั่นใหม่ที่หมู่เกาะรีเอาลิงกา ในช่วงดังกล่าว สิงคโปร์และดินแดนริมฝั่งโจโฮร์ ตลอดจนเกาะต่าง ๆ ใกล้เคียงตกอยู่ใต้อ�ำนาจของเตอเม็งกง (Temenggong) ผู้เป็น เสนาบดีคนสำ� คัญคนหนึ่งใน ๒ คนของสุลตา่ นยะโฮร์ การเขา้ มาของชาวตะวนั ตกท�ำใหก้ ารคา้ ซงึ่ มสี ว่ นส�ำคญั ต่อเศรษฐกจิ ของโจโฮร์ เสยี หายอยา่ งมาก เนอ่ื งจากตอ้ งเผชญิ กบั แรงกดดนั จากการแขง่ ขนั ทางการคา้ ทมี่ มี ะละกา เป็นฐานสำ� คัญ เม่ือประสบปัญหาดงั กลา่ ว ผ้ทู ่ีอยตู่ ามชายฝง่ั ทะเลและผูน้ ำ� ของพวกเขา จึงหันไปพึ่งวิธกี ารแบบโจรสลัด อยา่ งไรกด็ ี แมว้ า่ จะมปี ญั หาโจรสลดั แตก่ ารพบหลกั ฐานทางโบราณคดใี นระยะ หลังท�ำให้เช่ือได้ว่าระหว่างต้นคริสต์ศตวรรษที่ ๑๔ ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ ๑๗ นั้น เศรษฐกิจและการเป็นศูนย์กลางการค้าของสิงคโปร์มีช่วงที่รุ่งเรืองสลับกับช่วงท่ีซบเซา ในช่วงที่รุ่งเรืองสูงสุดนั้นสันนิษฐานว่า เกาะสิงคโปร์เป็นศูนย์กลางการค้าที่พ่อค้า จากหลากหลายเชอื้ ชาติ เชน่ จีน อนิ เดยี อาหรับ ชวา มาแวะพกั และต้งั ถน่ิ ฐาน เชอื่ กัน ว่าในช่วงดังกลา่ ว เกาะสงิ คโปรม์ ปี ระชากรอาศยั อย่ปู ระมาณ ๑๐,๐๐๐ คน หลังจากน้นั เกาะสงิ คโปรก์ ก็ ลายเปน็ สว่ นหนง่ึ ของรฐั สลุ ตา่ นโจโฮร-์ รเี อา (Sultanate of Johor-Riau) ในคริสต์ศตวรรษท่ี ๑๗ ชาวฮอลันดาได้ขยายอ�ำนาจเข้ามาแทนท่ีโปรตุเกส ฮอลนั ดามาถึงภูมิภาคน้ใี นปลายคริสต์ศตวรรษที่ ๑๖ และเมื่อถงึ ตน้ คริสต์ศตวรรษที่ ๑๗ กค็ อ่ ย ๆ ขยายอำ� นาจโดยใชบ้ รษิ ทั อนิ เดยี ตะวนั ออกของฮอลนั ดาหรอื วโี อซี (Dutch East India Company; Vereenigde Oostindische Compagnie–VOC) เปน็ กลไกส�ำคญั ส่วนอังกฤษก็เป็นอีกชาติหนึ่งท่ีเข้ามาเข้ามาในบริเวณนี้ในเวลาไล่เล่ียกับฮอลันดา ซ่ึงตั้งสถานีการค้า (Factory) ไว้ตามเมืองต่าง ๆ หลายแห่ง ในระยะแรก ฮอลันดา และอังกฤษมักร่วมมือกันต่อต้านโปรตุเกสท่ีเข้ามามีอ�ำนาจอยู่ก่อน แต่ไม่นานก็หันมา ต่อสแู้ ขง่ ขันกนั เองและทำ� สงครามกันหลายคร้ัง 295

สารานกุ รมประวตั ศิ าสตร์ประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน องั กฤษเขา้ มามบี ทบาทในภมู ภิ าคนมี้ ากขนึ้ เมอื่ จกั รพรรดนิ โปเลยี น (Napoleon) แหง่ ฝรงั่ เศสเขา้ ยดึ ครองฮอลนั ดาใน ค.ศ. ๑๗๙๕ ฮอลนั ดาจงึ ยกมะละกาและอาณานคิ ม ของตนในดินแดนโพ้นทะเลให้อังกฤษ เพื่อกันฝร่ังเศสมาอ้างสิทธ์ิยึดอาณานิคมของ ฮอลนั ดาไปดว้ ย แมใ้ นการตกลงนี้ รฐั บาลองั กฤษจะถอื วา่ เปน็ การตกลงฉนั มติ ร แตอ่ งั กฤษ ก็ไม่ต้องการให้ฮอลันดาร้ือฟื้นการผูกขาดการค้าขึ้นมาอีก จึงสั่งให้ร้ือท�ำลายป้อม อาฟาโมซา (A’Famosa) ในชว่ งกลางทศวรรษ ๑๘๐๐ และพยายามบังคับชาวฮอลนั ดา ในมะละกาใหย้ า้ ยไปอยทู่ ปี่ นี งั ซงึ่ ในขณะนน้ั เปน็ ศนู ยก์ ลางการคา้ ขององั กฤษในคาบสมทุ ร มลายู ป้อมอาฟาโมซาถูกท�ำลายลงเกือบหมด ใน ค.ศ. ๑๘๐๗ ทอมัส สแตมฟอร์ด แรฟเฟลิ ส์ (Thomas Stamford Raffles) ซึ่งอย่ทู ่ปี ีนงั มาพกั ผ่อนท่ีมะละกาเหน็ ความ ส�ำคญั ของป้อมนีใ้ นแง่ประวตั ศิ าสตร์ จงึ แนะน�ำใหย้ ตุ กิ ารร้ือ ป้อมอาฟาโมซาจึงคงเหลอื เพยี งซมุ้ ประตทู ่เี รยี กว่า Porta de Santiago หลังจากนนั้ ใน ค.ศ. ๑๘๐๘ องั กฤษก็คืน มะละกาให้ฮอลนั ดา อยา่ งไรกต็ าม การแขง่ ขนั ในการแสวงหาผลประโยชนใ์ นเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ระหว่างอังกฤษกับฮอลันดายังด�ำเนินต่อไป เม่ือแรฟเฟิลส์เดินทางมาถึงสิงคโปร์ ใน ค.ศ. ๑๘๑๙ นั้น สิงคโปร์อยู่ในช่วงที่เศรษฐกิจซบเซาโดยมีผู้อยู่อาศัยประมาณ ๑,๐๐๐ คน ในจ�ำนวนนเ้ี ปน็ ชาวมลายแู ละชาวจีนจำ� นวนไล่เล่ียกัน ประชากรสว่ นใหญ่ ของสงิ คโปรใ์ นขณะนน้ั คอื ชาวเรอื จากกลั ลงั (Kallang) เซเลอตาร์ (Seletar) และชนเผา่ เกอลัม (Gelam) โดยมีชาวมลายูคมุ อ�ำนาจทางการเมือง สงิ คโปรใ์ นขณะน้นั เปน็ เพยี ง ตลาดการคา้ เล็ก ๆ ทีช่ าวมลายแู ละชาวเรอื มาค้าทาสและสิง่ ของท่ปี ลน้ มา นอกจากน้นั กม็ ชี าวจนี ทำ� ไรอ่ ยู่ตามเชงิ เขาในบริเวณใกล้เคียงซงึ่ มีจำ� นวนไม่มากนัก อังกฤษเขา้ ไปมี บทบาทในสิงคโปร์โดยแรฟเฟลิ สไ์ ดร้ ับอนญุ าตจากผู้ปกครอง โจโฮรใ์ หบ้ ริษัทอนิ เดยี ตะวันออกขององั กฤษ (British East India Company) สรา้ งสถานกี ารคา้ ท�ำให้ฮอลันดาไมพ่ อใจมากเพราะถือวา่ ตนมสี ิทธเ์ิ หนอื สิงคโปร์ กรณี พิพาทคร้ังน้ีน�ำไปสู่การท�ำสนธิสัญญาแองโกล-ดัตช์ (Anglo-Dutch Treaty) ใน ค.ศ. ๑๘๒๔ ซงึ่ แบง่ เขตอทิ ธพิ ลในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตร้ ะหวา่ งองั กฤษกบั ฮอลนั ดา 296

สาธารณรัฐสงิ คโปร์ คอื ใหค้ าบสมทุ รมลายเู ปน็ เขตอทิ ธพิ ลขององั กฤษ และหมเู่ กาะอนิ เดยี ตะวนั ออกเปน็ เขต อทิ ธพิ ลของฮอลันดา หลังจากนั้น อังกฤษรวมเมืองท่าส�ำคัญทั้งสามในบริเวณช่องแคบมะละกา คอื สิงคโปร์ ปีนงั และ มะละกา เข้าเปน็ หน่วยบรหิ ารเดยี วกนั เรียกว่า สเตรตส์เซตเทิล- เมนตส์ (Strait Settlements) อยู่ภายใต้การบริหารของบริษัทอินเดียตะวันออกของ องั กฤษ ในระยะแรกมศี นู ยก์ ารบรหิ ารทป่ี นี งั ตอ่ มาใน ค.ศ. ๑๘๓๒ กย็ า้ ยไปอยทู่ สี่ งิ คโปร์ เมอื่ สงิ คโปรเ์ ตบิ โตขนึ้ ทง้ั ในดา้ นประชากรและเศรษฐกจิ การปกครองในลกั ษณะ เดิมเริ่มไม่มีประสิทธิภาพท่ีจะบริหารจัดการเขตดังกล่าว ด้วยเหตุนี้ รัฐบาลอังกฤษ จึงยกเลิกการบริหารของบริษัทอินเดียตะวันออก และต่อมายกระดับสเตรตส์ เซตเทิลเมนตส์เปน็ คราวนโ์ คโลนี (Crown Colony) ใน ค.ศ. ๑๘๖๗ คราวนโ์ คโลนีน้ี บริหารโดยข้าหลวง (Governor) ภายใต้กระทรวงอาณานิคม (Colonial Office) ที่ลอนดอน โดยมีสภาบริหาร (Executive Council) และสภาที่ปรึกษาด้านกฎหมาย (Legislative Council) ให้การชว่ ยเหลือสนับสนนุ ข้าหลวงในการบรหิ าร แม้ว่าสมาชิก ของสภาท้งั สองจะไมไ่ ด้มาจากการเลือกต้ัง แตก่ ม็ ีตัวแทนจากคนในท้องถิ่นไดร้ ับแตง่ ต้ัง เข้ามามากขึ้นอย่างต่อเน่ือง ผู้บริหารอาณานิคมได้ผลักดันนโยบายหลายอย่างเพ่ือ แก้ปัญหาที่สะสมมานาน เช่น ปัญหาการทารุณกรรมต่อชาวจีนท่ีเข้ามาใช้แรงงานและ ปกปอ้ งสตรจี นี ทถี่ กู บงั คบั ใหค้ า้ ประเวณี รวมทงั้ กวาดลา้ งสมาคมลบั ตา่ ง ๆ อยา่ งไรกต็ าม ปัญหาสังคมหลายด้านก็ยังคงอยู่ เช่น การขาดแคลนท่ีอยู่อาศัย การบริการด้าน สาธารณสขุ ทไี่ ม่เพยี งพอ ใน ค.ศ. ๑๙๐๖ กลุ่มที่เคล่ือนไหวเพือ่ ล้มลา้ งราชวงศช์ งิ ของจีน ซงึ่ มีซนุ ยัตเซน (Sun Yatsen) เปน็ ผนู้ ำ� ไดจ้ ดั ตง้ั สาขาขน้ึ ในสงิ คโปร์ สาขาดงั กลา่ วทำ� หนา้ ทเ่ี ปน็ ศนู ยก์ ลาง ของการเคล่ือนไหวในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ท้ังหมดด้วย กลุ่มที่เคล่ือนไหวในสิงคโปร์ เหล่าน้ีได้พิมพ์เผยแพร่หนังสือพิมพ์รายวันชื่อ Chong Shing ซ่ึงมีเนื้อหาเกี่ยวกับ การปฏวิ ัติ พิมพเ์ ผยแพรว่ ันละประมาณ ๑,๐๐๐ ฉบับ นอกจากนั้นยงั มกี ารรวบรวมเงิน 297

สารานกุ รมประวตั ิศาสตร์ประเทศเพอื่ นบา้ นในอาเซียน เพ่ือสนับสนุนการปฏิวัติ รวมทง้ั อ�ำนวย ความสะดวกส�ำหรับชาวจีนท่ีต้องการ เดินทางจากสิงคโปร์ไปประเทศจีนเพ่ือ ร่วมในการปฏิวตั ิ สงครามโลกครง้ั ที่ ๑ ซ่งึ เกิดข้ึนระหวา่ ง ค.ศ. ๑๙๑๔–๑๙๑๘ นน้ั ไมไ่ ดส้ ง่ ผลกระทบตอ่ สงิ คโปรม์ ากนกั เน่ืองจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไม่ได้ เรอื รบอังกฤษในอทู่ ีฐ่ านทพั เรอื สงิ คโปร์ เป็นสมรภูมิของสงคราม หลังสงคราม ค.ศ. ๑๙๔๑ สิ้นสุดลงและญ่ีปุ่นมีท่าทีขยายอ�ำนาจ มากขน้ึ รฐั บาลองั กฤษจงึ ตดั สนิ ใจลงทนุ สร้างฐานทัพเรือขนาดใหญ่ในสิงคโปร์ เพื่อถ่วงดุลอ�ำนาจของจักรวรรดิญ่ีปุ่น ฐานทพั เรอื ดงั กลา่ วซง่ึ สรา้ งเสรจ็ ใน ค.ศ. ๑๙๓๙ และใชง้ บประมาณถงึ ๕๐๐ ลา้ น ดอลลารส์ หรฐั นนั้ มที งั้ อแู่ หง้ (dry dock) และอูล่ อย (floating dock) ขนาดใหญ่ และมีคลังน้�ำมันที่สามารถสนับสนุน ภารกิจทางนาวีของอังกฤษได้หลาย ฐานทัพเรือสิงคโปรเ์ มื่อ ค.ศ. ๑๙๕๓ เดอื น รวมทง้ั ตดิ ตง้ั ปนื ใหญข่ นาด ๑๕ นวิ้ บรเิ วณชายฝง่ั เพอื่ ปอ้ งกนั ฐานทพั เรอื และมฝี งู บนิ ประจำ� การเพอื่ สนบั สนนุ ภารกจิ ในการ ปกป้องสิงคโปร์ด้วย ความเพียบพร้อมดังกล่าวท�ำให้ฐานทัพเรือสิงคโปร์ถูกเรียกว่า “ยบิ รอลตารแ์ หง่ ตะวนั ออก” (Gibraltar of the East) อยา่ งไรกต็ าม จดุ ออ่ นของฐานทพั เรือน้ีคือการไม่มีกองเรือประจ�ำอยู่ โดยฝ่ายอังกฤษมีแผนว่าหากเกิดสงครามจึงจะส่ง กองเรือจากยุโรปเข้ามาประจ�ำการแต่เม่ือสงครามเร่ิมข้ึนในยุโรปตั้งแต่ ค.ศ. ๑๙๓๙ ก�ำลงั ทางเรือเกือบทัง้ หมดกถ็ กู ใช้ไปในการสู้รบในสมรภมู ยิ โุ รป 298

สาธารณรัฐสิงคโปร์ เมื่อเกิดสงครามมหาเอเชียบูรพาขึ้นในช่วงปลาย ค.ศ. ๑๙๔๑ ญี่ปุ่นมี วัตถุประสงค์ที่จะเข้ายึดครองเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพื่อระดมทรัพยากรทางธรรมชาติ ตา่ ง ๆ ไวท้ ำ� สงครามกบั มหาอำ� นาจตะวนั ตกและเสรมิ สรา้ งความมน่ั คงของจกั รวรรดญิ ปี่ นุ่ สงิ คโปรซ์ ง่ึ เปน็ ฐานทพั สำ� คญั ของฝา่ ยพนั ธมติ รในภมู ภิ าคนถี้ อื เปน็ เปา้ หมายหลกั ทส่ี ำ� คญั ของญป่ี นุ่ ในการปอ้ งกนั สงิ คโปรน์ นั้ ผบู้ ญั ชาการทหารขององั กฤษเชอื่ วา่ ฝา่ ยญป่ี นุ่ จะบกุ เขา้ โจมตจี ากทางทะเล เนอื่ งจากการบกุ จากทางเหนอื จะตอ้ งผา่ นปา่ ทบึ ในมลายาซงึ่ เปน็ อุปสรรคต่อการเคลื่อนก�ำลังพล ด้วยเหตุน้ี ฝ่ายอังกฤษจึงมั่นใจว่าฐานทัพและ ป้อมปราการที่ถูกสร้างขึ้นเพ่ือเผชิญกับการคุกคามทางทะเลจะสามารถต้านทานการบุก ของญป่ี นุ่ ได้ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ เมอ่ื องั กฤษตดั สนิ ใจสง่ กองเรอื รบขนาดใหญม่ าเสรมิ กำ� ลงั ท่ีสิงคโปร์ ส่วนฝ่ายญ่ีปุ่นรู้แผนการของอังกฤษดีจึงตัดสินใจยกพลขึ้นบกท่ีโกตาบารู (Kota Bharu) เมอื งหลวงของรฐั เกอลนั ตนั หรอื กลนั ตนั (Kelantan) ทางเหนอื ของมลายา เมอื่ วนั ที่ ๘ ธนั วาคม ค.ศ. ๑๙๔๑ อีก ๒ วนั ตอ่ มา เรอื รบหลักของอังกฤษ ๒ ลำ� คอื เรือรบหลวงพรินซ์ออฟเวลส์ (HMS Prince of Wales) และเรือรบหลวงรีพัลส์ (HMS Repulse) ก็ถูกจม ส่วนกำ� ลงั ทางอากาศกส็ ง่ มาไม่ทัน ทำ� ใหส้ งิ คโปร์เผชิญกบั การ ถูกโจมตีทางอากาศอย่างรุนแรง สูญเสียชีวิตและทรัพย์สินจ�ำนวนมาก กองทัพญ่ีปุ่น เคลื่อนลงใต้อย่างรวดเร็วโดยใช้รถถังขนาดเบา ขณะท่ีกองทหารราบของฝ่ายพันธมิตร ซงึ่ ปราศจากรถถงั ไมส่ ามารถตา้ นทานการรกุ คบื ของฝา่ ยญป่ี นุ่ ได้ กำ� ลงั ทง้ั หมดจงึ ถอยไป ตั้งม่ันท่ีสิงคโปร์ หลังจากสู้รบกันอย่างดุเดือด ฝ่ายพันธมิตรในสิงคโปร์ต้องยอมจ�ำนน ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. ๑๙๔๒ ในการน้ีเชื่อว่ามีทหารอังกฤษ ออสเตรเลีย และ อนิ เดียกวา่ ๑๐๐,๐๐๐ คนถูกจบั เป็นเชลยศึก เม่ือยึดครองสิงคโปร์ได้ ญ่ีปุ่นเปลี่ยนชื่อสิงคโปร์เป็น “เซียวนันโตะ” (Syonan-to) ซึ่งมีความหมายว่า แสงสว่างของเกาะในภาคใต้ (Light of the South Island) ตลอดชว่ ง ๓ ปแี หง่ การยดึ ครองนนั้ ทหารญปี่ นุ่ ไดป้ กครองสงิ คโปรอ์ ยา่ งเขม้ งวด โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อประชากรเชื้อสายจีน มีการสังหารและจับกุมคุมขังคนเช้ือสายจีน จ�ำนวนมาก เน่ืองจากฝ่ายทหารญ่ีปุ่นเชื่อว่าชาวจีนบางส่วนในสิงคโปร์ให้การสนับสนุน 299

สารานกุ รมประวัตศิ าสตรป์ ระเทศเพื่อนบา้ นในอาเซยี น การทำ� สงครามตอ่ ตา้ นญป่ี นุ่ ในจนี นอกจากนนั้ ชาวสงิ คโปรต์ อ้ งเผชญิ กบั ความยากลำ� บาก จากการขาดแคลนปจั จยั ในการดำ� รงชีพอย่างรุนแรงเกือบทกุ ดา้ น หลังจากทญ่ี ่ีปุ่นยอม จ�ำนนต่อฝ่ายพันธมิตรในวันที่ ๑๕ สิงหาคม ค.ศ. ๑๙๔๕ สิงคโปร์ต้องเผชิญกับ การจลาจลวุ่นวายอันเกิดจากสุญญากาศแห่งอ�ำนาจอยู่ระยะหน่ึงก่อนที่ฝ่ายอังกฤษ จะกลับเข้ามาปลดอาวุธทหารญ่ีปุ่นในช่วงกลางเดือนกันยายน ค.ศ. ๑๙๔๕ ในการน้ี องั กฤษไดจ้ ดั ตง้ั สำ� นกั งานบรหิ ารกจิ การทหารองั กฤษ (British Military Administration) ข้ึนเพื่อบริหารมลายาและสิงคโปร์ไปจนถึงเดือนมีนาคม ค.ศ. ๑๙๔๖ ผลจากสงคราม ทำ� ให้โครงสร้างพนื้ ฐานตา่ ง ๆ ในสิงคโปร์ถูกท�ำลายเสียหายอย่างมาก ไมว่ ่าจะเปน็ ไฟฟา้ ประปา โทรศพั ท์ รวมทงั้ เครือ่ งมอื เครื่องจักรในบรเิ วณท่าเรือกอ็ ยูใ่ นสภาพทใี่ ชก้ ารไม่ได้ นอกจากน้ันยังขาดแคลนอาหาร เกิดโรคระบาด รวมทั้งมีอาชญากรรมเกิดข้ึนบ่อยคร้ัง ความไมพ่ อใจตอ่ สภาพความเปน็ อยตู่ า่ ง ๆ เหลา่ น้ี ทำ� ใหเ้ กดิ การนดั หยดุ งานหลายครงั้ ใน ค.ศ. ๑๙๔๗ ตั้งแตป่ ลาย ค.ศ. ๑๙๔๗ เปน็ ต้นมา เศรษฐกิจสงิ คโปร์จงึ ค่อย ๆ ดขี นึ้ ตาม ลำ� ดบั ซง่ึ เปน็ ผลมาจากการเปน็ คนกลางซอื้ ขายดบี กุ และยางพาราทปี่ ระเทศอตุ สาหกรรม ตะวนั ตกตอ้ งการเพ่มิ ขนึ้ อยา่ งรวดเร็วในช่วงหลงั สงคราม ความล้มเหลวในการปกป้องสิงคโปร์ท�ำให้ความเชื่อม่ันท่ีชาวสิงคโปร์มีต่อ อังกฤษถกู สั่นคลอน ดว้ ยเหตุนี้ การเคลอื่ นไหวเพอ่ื ตอ่ ตา้ นอาณานคิ มจงึ ขยายตวั มากขน้ึ ส่วนอังกฤษก็พยายามปรับการบริหารเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์หลังสงคราม โดยให้ชาวสิงคโปร์มีส่วนร่วมในการปกครองสิงคโปร์มากข้ึน การเลือกต้ังครั้งแรกใน สงิ คโปรจ์ ดั ขน้ึ ในเดอื นมนี าคม ค.ศ. ๑๙๔๘ แตก่ ารเลอื กตงั้ ดงั กลา่ วเปน็ การเลอื กตงั้ ทคี่ อ่ น ขา้ งจำ� กดั เนอ่ื งจากมจี ำ� นวนสมาชกิ ๖ คนเทา่ น้ันทีจ่ ะได้รบั เลอื กตั้งเขา้ สสู่ ภาที่ปรกึ ษา ดา้ นกฎหมายจากจ�ำนวนสมาชกิ ทั้งหมด ๒๕ คน ในการนีม้ เี ฉพาะคนในบงั คับอังกฤษ (British Subject) เท่านั้นที่มีสิทธิ์ลงคะแนน ในการเลือกตั้งคร้ังนี้ สมาชิกจากพรรค สงิ คโปรก์ ้าวหน้า (Singapore Progressive Party) ได้รบั เลือก ๓ คน สว่ นสมาชิกอีก ๓ คนเปน็ ผสู้ มัครอิสระ หลงั การเลือกตง้ั ๓ เดอื น ฝ่ายนิยมคอมมิวนิสต์ไดจ้ ับอาวุธขึ้น ต่อต้านการปกครองของอังกฤษในมลายา ขณะท่ีการสู้รบในมลายาก�ำลังด�ำเนินอยู่นั้น อังกฤษไดส้ กดั กั้นการเคลอ่ื นไหวของฝา่ ยนิยมคอมมวิ นิสต์ในสิงคโปร์อยา่ งเข้มงวด 300

สาธารณรัฐสิงคโปร์ การเลอื กต้ังครัง้ ท่ี ๒ มขี น้ึ ใน ค.ศ. ๑๙๕๑ จำ� นวนสมาชิกในสภาท่ีปรกึ ษาดา้ น กฎหมายซึ่งมาจากการเลอื กตง้ั เพม่ิ ขนึ้ เปน็ ๙ คน สมาชิกจากพรรคสงิ คโปรก์ ้าวหนา้ ได้ รบั เลือก ๖ คน ใน ค.ศ. ๑๙๕๓ เมื่อการคกุ คามจากฝ่ายนยิ มลทั ธิคอมมิวนิสต์ในมลายา เบาบางลง องั กฤษไดป้ รบั การบริหารในสงิ คโปร์อกี ครั้งหน่ึง โดยใหจ้ ดั ต้ังสภานิติบญั ญตั ิ (Legislative Assembly) ข้ึนแทนสภาที่ปรึกษาด้านกฎหมาย ในสภานิติบัญญัติซึ่งมี สมาชิกท้ังหมด ๓๒ คนน้ัน สมาชิกจ�ำนวน ๒๕ คนจะมาจากการเลือกต้ัง ในการน้ี มีมุขมนตรี (Chief Minister) เป็นหัวหน้าฝ่ายบริหารซ่ึงได้รับเลือกจากสภานิติบัญญัติ ส่วนฝ่ายอังกฤษยังคงมีอ�ำนาจในด้านความมั่นคงภายในและการต่างประเทศ รวมท้ัง ยังมสี ิทธใ์ิ นการยับย้งั การออกกฎหมายตา่ ง ๆ การเลอื กตง้ั ใน ค.ศ. ๑๙๕๕ เปน็ ไปอยา่ งคกึ คกั มพี รรคการเมอื งเขา้ รว่ มในการ แข่งขันหลายพรรค การแก้ไขคุณสมบัติของผู้ที่มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียงเลือกต้ังมีผลให้ จ�ำนวนผู้ท่ีมีสิทธ์ิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งเพิ่มมากข้ึนกว่าการเลือกต้ังเม่ือ ค.ศ. ๑๙๕๑ ปรากฏวา่ พรรคสงิ คโปร์ก้าวหนา้ ได้รบั เลือกต้งั เพียง ๔ คน พรรคทป่ี ระสบความสำ� เรจ็ ในการเลือกตง้ั ครัง้ น้ี ไดแ้ ก่ พรรคแรงงานซง่ึ น�ำโดยเดวิด มารแ์ ชลล์ (David Marshall) ชาวสงิ คโ์ ปรเ์ ชอ้ื สายอนิ เดีย ดว้ ยเหตุน้ี พรรคแรงงานจึงไดเ้ ป็นแกนน�ำจัดต้งั รัฐบาลผสม ส่วนพรรคกิจประชาซ่ึงเพิ่งก่อต้ังขึ้นใน ค.ศ. ๑๙๕๔ น้ันได้รับเลือกตั้งเข้าสู่สภาจ�ำนวน ๓ คน พรรคกจิ ประชาท่ีเพิ่งกอ่ ตง้ั ขนึ้ ใหมม่ ลี ี กวนยู (Lee Kuan Yew) นกั การเมือง หนุ่มซึ่งได้รบั การศึกษาจากอังกฤษร่วมอยดู่ ว้ ย ในการประชมุ ก่อตงั้ พรรคซ่งึ มีผเู้ ขา้ รว่ ม กวา่ ๑,๕๐๐ คนนัน้ ลี กวนยูไดร้ ับเลือกเปน็ เลขาธิการพรรค พรรคการเมอื งพรรคน้มี ี อุดมการณ์แบบสังคมนิยม และเป็นพันธมิตรกับสหภาพแรงงานต่าง ๆ ซ่ึงมีบางส่วน ทน่ี ิยมลัทธคิ อมมวิ นิสต์ ความร่วมมือดังกล่าวมขี น้ึ เพือ่ ประโยชน์ในการเลอื กต้ัง เพราะ พรรคกิจประชาจัดต้ังขึ้นโดยชนชั้นกลางท่ีได้รับการศึกษาแบบอังกฤษและพูดภาษา อังกฤษ จึงจ�ำเป็นต้องมีฐานสนับสนุนจากมวลชนท่ีพูดภาษาจีนซึ่งชาวจีนบางส่วน 301

สารานุกรมประวัตศิ าสตรป์ ระเทศเพือ่ นบา้ นในอาเซยี น โดยเฉพาะพวกท่ีอยู่ในสหภาพแรงงานต่าง ๆ นิยมลัทธิคอมมิวนิสต์ ในขณะเดียวกัน ฝ่ายนิยมลัทธิคอมมิวนิสต์ก็ต้องอาศัยพรรคกิจประชามาบังหน้าเพื่อด�ำเนินกิจกรรม ทางการเมือง เพราะพรรคคอมมิวนิสต์มลายา (Malayan Communist Party–MCP) เปน็ พรรคนอกกฎหมาย ในการเลือกตั้งเม่ือ ค.ศ. ๑๙๕๕ ลี กวนยูได้รับเลือกตั้งในเขตเลือกต้ัง ตันยงปาการ์ (Tanjong Pagar) และไดเ้ ป็นผูน้ �ำฝา่ ยค้าน ในชว่ งดังกล่าว ลี กวนยูทำ� งาน ทางการเมืองอย่างมุ่งม่ันและท�ำให้พรรคกิจประชาเป็นที่รู้จักในฐานะพรรคการเมืองที่มี แนวคิดเอียงซ้ายและต่อต้านลัทธิอาณานิคม แต่เน้นการต่อสู้ในแนวทางรัฐธรรมนูญ โดยไม่ใช้ความรุนแรง ด้วยเหตุนี้ เขาจึงร่วมในการเจรจาเรื่องรัฐธรรมนูญที่จัดขึ้น ๒ ครง้ั ท่ีกรงุ ลอนดอน ในปลายทศวรรษ ๑๙๕๐ ความขัดแย้งระหว่างกล่มุ ที่สนบั สนุนลี กวนยูกบั ฝา่ ย นิยมลทั ธคิ อมมิวนสิ ต์มมี ากขึ้น แต่การทล่ี ิม ยฮู ็อก (Lim Yew Hock) มุขมนตรีขณะนนั้ ส่ังจับกุมพวกนิยมลัทธิคอมมิวนิสต์จ�ำนวนมาก ท�ำให้บทบาทของฝ่ายนิยมลัทธิ คอมมิวนิสต์ในพรรคกิจประชาลดลงไปอย่างมาก แนวทางทางการเมืองของพรรค กจิ ประชาไดร้ บั การตอบรบั จากชาวสงิ คโปรม์ ากขน้ึ ตามลำ� ดบั ดงั จะเหน็ ไดว้ า่ ในการเลอื กตง้ั ทั่วไปเม่ือเดือนมิถุนายน ค.ศ. ๑๙๕๙ พรรคกิจประชาได้ท่ีนั่งในสภานิติบัญญัติถึง ๔๓ ที่นั่งจากทัง้ หมด ๕๑ ทีน่ ัง่ ในช่วงน้นั สงิ คโปรไ์ ด้รับฐานะเป็นรฐั ปกครองตนเอง ยกเว้น ด้านการปอ้ งกนั ประเทศและการต่างประเทศทอี่ ังกฤษยงั ควบคุมอยู่ ลี กวนยจู ึงได้เป็น นายกรฐั มนตรีคนแรกของสงิ คโปร์ในฐานะรฐั ปกครองตนเอง แม้จะมชี ัยในการเลือกตั้ง แต่ความขัดแย้งในพรรคก็ยังคงด�ำรงอยู่ ด้วยเหตุนี้ สมาชิกสภานิติบัญญัติของพรรค กิจประชา ๑๓ คน รว่ มกับผ้นู ำ� ส�ำคัญท่ีมหี ัวเอยี งซ้าย ๖ คนจากสหภาพแรงงานต่าง ๆ ได้ จัดตั้งพรรคการเมืองใหม่ ชื่อ พรรคแนวร่วมสังคมนิยม (Barisan Socialist) ใน ค.ศ. ๑๙๖๑ เม่ือแรกก่อตั้งพรรคนี้ มีมวลชนสนับสนุนมากพอท่ีจะเป็นคู่แข่งของพรรค กจิ ประชาได้ เพราะบคุ ลากรสำ� คญั และสมาชกิ ของพรรคกจิ ประชาอกี จำ� นวนหนง่ึ แปรพกั ตร์ 302

สาธารณรัฐสิงคโปร์ ไปอยกู่ บั พรรคใหม่ เหตุการณ์นี้เป็นที่รจู้ กั ต่อมาวา่ “การแตกแยกครั้งใหญ่ ค.ศ. ๑๙๖๑” (The Big Split of 1961) แต่ลี กวนยูก็สามารถประคับประคองพรรคให้รอดพ้นจาก วกิ ฤตการณ์ได้ ตัง้ แต่เขา้ มบี ทบาททางการเมืองในทศวรรษ ๑๙๕๐ ลี กวนยูและผ้นู �ำในพรรค กิจประชากลุ่มเดยี วกบั เขาเห็นความจำ� เป็นทจี่ ะต้องให้สงิ คโปรร์ วมกบั สหพันธรัฐมลายา เพราะเห็นว่าดินแดน ๒ ส่วนนี้มีความผูกพันใกล้ชิดทั้งในทางประวัติศาสตร์และในด้าน เศรษฐกจิ ในการน้ี เขาจึงรณรงค์อย่างแข็งขนั ให้มีการรวมกนั อยา่ งไรกต็ าม กล่มุ นิยม ลัทธิคอมมิวนิสต์ในพรรคกิจประชาต่อต้านการรวมดังกล่าว เพราะเห็นว่าพรรคท่ีเป็น แกนนำ� รฐั บาลของสหพนั ธรฐั มลายา คอื พรรคแนวรว่ มองคก์ ารชาตนิ ยิ มมลายหู รอื อมั โน (United Malays National Organization–UMNO) มนี โยบายตอ่ ตา้ นคอมมวิ นสิ ตอ์ ยา่ ง รุนแรง นอกจากน้ัน ผู้น�ำพรรคอัมโนก็ไม่สนับสนุนการรวมสิงคโปร์เข้ากับสหพันธรัฐ มลายา เพราะไม่ไว้ใจพรรคกิจประชาและหวน่ั เกรงวา่ ประชากรสิงคโปร์ซง่ึ ส่วนใหญเ่ ปน็ คนเชื้อสายจีนจะท�ำให้ดุลทางเชื้อชาติในสหพันธรัฐมลายาสูญเสียไป แต่การที่พวกนิยม คอมมิวนิสต์มีแนวโน้มว่าจะมีบทบาททางการเมืองมากข้ึนในสิงคโปร์ท�ำให้อัมโน เปล่ยี นใจหันมาสนับสนุนการรวมสิงคโปร์เข้ากบั สหพนั ธรฐั มลายา ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. ๑๙๖๑ ความพยายามของลี กวนยูท่ีจะโน้มน้าวให้ นายกรฐั มนตรี ตนกู อบั ดลุ เราะหม์ าน (Tunku Abdul Rahman) แหง่ สหพนั ธรฐั มลายา รวมสิงคโปร์เข้ากับมลายาก็ประสบความส�ำเร็จ เม่ือตนกู อับดุล เราะห์มานเสนอ ความคดิ เรือ่ งการจัดตงั้ ประเทศมาเลเซยี ทป่ี ระกอบด้วยสหพนั ธรัฐมลายา สิงคโปร์ และ ดินแดนตอนเหนอื ของเกาะบอรเ์ นยี วทอ่ี งั กฤษยงั ปกครองอยู่ขณะนน้ั ได้แก่ ซาบะฮ์หรอื ซาบาฮ์ (Sabah) ซาราวะกห์ รอื ซาราวกั (Sarawak) และบรไู น (Brunei) ในการออกเสยี ง ประชามตเิ มอ่ื วันท่ี ๑ กนั ยายน ค.ศ. ๑๙๖๓ กวา่ ร้อยละ ๗๐ ของผูท้ ่มี าออกเสียงเหน็ ด้วยกับการรวมประเทศในลักษณะดังกล่าว สองสัปดาห์ต่อมา สิงคโปร์จึงเข้าเป็นส่วน หน่งึ ของมาเลเซียซง่ึ จัดต้ังขนึ้ อยา่ งเป็นทางการเม่ือวนั ที่ ๑๖ กันยายน ค.ศ. ๑๙๖๓ ส่วน 303

สารานุกรมประวตั ศิ าสตรป์ ระเทศเพอื่ นบา้ นในอาเซยี น บรูไนตัดสินใจไม่ร่วมกับมาเลเซียท่ีจัดต้ังข้ึนดังกล่าว หลังจากการจัดต้ังมาเลเซีย ลี กวนยเู ปน็ หนง่ึ ในบรรดาสมาชกิ รฐั สภาสงิ คโปรจ์ ำ� นวน ๑๕ คนทไ่ี ดเ้ ขา้ รว่ มอยใู่ นรฐั สภา ของมาเลเซยี อยา่ งไรก็ดี สิงคโปร์รวมอยกู่ บั มาเลเซียได้เพียง ๒๓ เดือนเทา่ นน้ั ความขัดแย้งจากปัญหาต่าง ๆ ขยายตัวขึ้นตามล�ำดับ หลังการก่อตั้งประเทศ มาเลเซียใน ค.ศ. ๑๙๖๓ สาขาของอัมโนในสงิ คโปรไ์ ด้เข้าร่วมในการเลือกตง้ั ในสิงคโปร์ เมอ่ื ค.ศ. ๑๙๖๓ ด้วย ซงึ่ ไม่เป็นไปตามขอ้ ตกลงทอี่ มั โนท�ำไว้กับพรรคกจิ ประชาวา่ จะไม่ เข้าร่วมลงแข่งขันในการเลือกต้ังในสิงคโปร์ช่วงแรก ๆ ที่ประเทศน้ีก่อต้ังใหม่ แม้ว่า ผสู้ มคั รของอมั โนจะไมไ่ ดร้ บั การเลอื กตง้ั แตค่ วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งอมั โนกบั พรรคกจิ ประชา ก็เส่ือมลง และเพ่ือตอบโต้การกระท�ำดังกล่าวของอัมโน ตัวแทนของพรรคกิจประชา กเ็ ข้ารว่ มลงเลือกต้ังในระดับประเทศใน ค.ศ. ๑๙๖๔ ความขดั แยง้ ทางเชอ้ื ชาตริ ะหวา่ งชาวจนี กบั ชาวมลายใู นสงิ คโปรน์ บั เปน็ ปญั หา ส�ำคัญอีกประการหน่ึง ชาวจีนในสิงคโปร์ไม่พอใจท่ีรัฐบาลมาเลเซียให้สิทธิแก่ชาวมลายู เปน็ พเิ ศษกวา่ ชนเชอื้ สายอ่ืน ความขดั แยง้ ระหวา่ งชาวจีนกบั ชาวมลายซู ึ่งสะสมมาจาก ความขัดแย้งต่าง ๆ หลายกรณี ก่อให้เกิดการจลาจลครั้งใหญ่ใน ค.ศ. ๑๙๖๔ ซ่ึงมี คนเสียชีวติ และบาดเจบ็ จ�ำนวนมาก ลี กวนยู ยซู อฟ บนิ อิสฮาก 304

สาธารณรฐั สงิ คโปร์ ปัญหาทางเศรษฐกิจก็เป็นอีกปัญหาหน่ึงท่ีน�ำไปสู่การแยกประเทศ รัฐบาลที่ กัวลาลัมเปอร์เกรงว่าพลังอ�ำนาจทางเศรษฐกิจของสิงคโปร์จะส่งผลกระทบต่อดุลแห่ง อำ� นาจโดยรวมในมาเลเซยี ทำ� ใหส้ นิ คา้ ทสี่ ง่ จากสงิ คโปรไ์ ปยงั สว่ นอนื่ ๆ ของมาเลเซยี ตอ้ ง เผชญิ กบั ขอ้ จำ� กดั หลายดา้ น แมจ้ ะมกี ารตกลงกนั กอ่ นหนา้ นวี้ า่ จะไมม่ กี ารกดี กนั แตก่ ไ็ มม่ ี การด�ำเนินการอยา่ งเป็นรูปธรรมแต่อยา่ งใด ความขดั แยง้ ตา่ ง ๆ เหล่าน้ไี มส่ ามารถยตุ ิไดด้ ้วยการเจรจา เมอ่ื มีการปราศรัย และเขียนโจมตีอีกฝ่ายหนึ่งผ่านสื่อต่าง ๆ ความบาดหมางจึงรุนแรงข้ึน เมื่อเห็นว่า ไม่สามารถแกไ้ ขปัญหาระหวา่ งกันได้ จึงมกี ารตัดสนิ ใจแยกสิงคโปรอ์ อกจากมาเลเซีย ใน วนั ที่ ๙ สงิ หาคม ค.ศ. ๑๙๖๕ รฐั สภามาเลเซยี ลงมติ ๑๒๖ ตอ่ ๐ ยอมรบั การแยกสงิ คโปร์ ออกจากสหพนั ธรฐั และในเวลาไลเ่ ลยี่ กนั รฐั สภาของสงิ คโปรก์ ไ็ ดผ้ า่ นกฎหมายตง้ั สงิ คโปร์ เป็นสาธารณรัฐท่ีมีอ�ำนาจอธิปไตยของตนเอง สาธารณรัฐท่ีต้ังข้ึนใหม่นี้มียูซอฟ บิน อิสฮาก (Yusof bin Ishak) เปน็ ประธานาธบิ ดคี นแรก และลี กวนยู เป็นนายกรัฐมนตรี ในการบรหิ ารประเทศเกดิ ใหม่ทขี่ าดแคลนทรัพยากรเกอื บทกุ ด้านน้ี ลี กวนยู พยายามจดั ตงั้ คณะรฐั บาลทเี่ ขม้ แขง็ และมรี ะบบราชการทปี่ ระกอบดว้ ยบคุ ลากรซง่ึ มคี วาม รู้ ความสามารถ และซอื่ สตั ย์สจุ รติ อยา่ งแท้จริง รวมทั้งพฒั นากองทพั ให้เข้มแขง็ ขึน้ ใน ด้านการตา่ งประเทศ นอกจากจะพยายามสานสมั พันธก์ ับประเทศเพอื่ นบ้านซึ่งมปี ัญหา ทลี่ ะเอยี ดออ่ นหลายดา้ นทจ่ี ำ� เปน็ ตอ้ งแกไ้ ขแลว้ สงิ คโปรย์ งั กำ� หนดแนวทางความสมั พนั ธ์ ระหว่างประเทศที่ท�ำให้สิงคโปร์เป็นท่ียอมรับและมีบทบาทในระดับนานาชาติโดยเน้น การให้ความสำ� คญั กับกรอบความร่วมมอื พหภุ าคี ตงั้ แต่ ค.ศ. ๑๙๕๙-๑๙๙๐ สงิ คโปร์อยู่ภายใตก้ ารปกครองของนายกรัฐมนตรี เพยี งคนเดียวคือ ลี กวนยู ทัง้ นี้ เปน็ เพราะพรรคกิจประชาซงึ่ ลี กวนยูรว่ มก่อตงั้ ตัง้ แต่ ค.ศ. ๑๙๕๔ น้ัน มีชัยชนะในการเลือกต้ังเกือบทุกคร้ัง ไม่ว่าจะเป็นการเลือกตั้งท่ัวไป จำ� นวน ๖ คร้งั ใน ค.ศ. ๑๙๖๘, ๑๙๗๒, ๑๙๗๖, ๑๙๘๐, ๑๙๘๔ และ ๑๙๘๘ รวมท้ัง ชนะการเลือกตงั้ ซอ่ มเม่อื มที ีน่ ง่ั ในรฐั สภาว่างลงอกี ๑๑ ครั้ง ใน ๑๒ คร้งั การทพ่ี รรค 305

สารานุกรมประวัติศาสตรป์ ระเทศเพอ่ื นบ้านในอาเซียน กิจประชากุมอ�ำนาจทางการเมืองมาตลอด โดยที่พรรคฝ่ายค้านได้รับการเลือกตั้งเป็น ผแู้ ทนราษฎรแตเ่ พยี งเลก็ นอ้ ยนน้ั ทำ� ใหส้ งิ คโปรก์ ลายเปน็ ประเทศทม่ี ลี กั ษณะการปกครอง แบบมพี รรคการเมอื งเด่นเพียงพรรคเดยี ว ระบบการปกครองดงั กลา่ วมผี ลใหร้ ฐั บาลและพรรคกจิ ประชามอี ำ� นาจคอ่ นขา้ ง มากในการกำ� หนดทศิ ทางของชาติ สงิ คโปรม์ กี ฎหมายทเี่ ขม้ งวดโดยเฉพาะเรอื่ งทเี่ กยี่ วกบั ความสงบและความปลอดภยั ของชาติ เจา้ หนา้ ทขี่ องทางการมกั ตอบโตค้ วามเหน็ ของชาติ ตะวันตกซ่ึงวิจารณ์กฎหมายท่ีเข้มงวดดังกล่าวว่าเรื่องเหล่านี้เป็นสิ่งท่ีประเทศท่ีมีความ เสยี่ งดา้ นความมัน่ คงสงู เช่นสิงคโปรจ์ �ำเปน็ ตอ้ งกระท�ำ ในการวางแผนเพอ่ื การพฒั นาประเทศ รฐั บาลเขา้ มาดแู ลเรอื่ งตา่ ง ๆ หลายดา้ น นอกจากการพฒั นาทางเศรษฐกจิ จะไดร้ บั การวางแผนและบรหิ ารงานอยา่ งรอบคอบแลว้ รัฐบาลสิงคโปร์ยังได้วางนโยบายหรือมีข้อชี้น�ำเก่ียวกับวิถีชีวิตของชาวสิงคโปร์หลาย ลักษณะด้วย เช่น เรอ่ื งจำ� นวนบุตรทค่ี ูส่ มรสพงึ มี รวมทงั้ บางเรือ่ งทเี่ กีย่ วกับการประพฤติ ปฏิบตั ติ นในทีส่ าธารณะและทบ่ี ้าน นโยบายหรอื แนวทางตา่ ง ๆ เหลา่ นีเ้ ปน็ สิง่ ที่ไดร้ บั การชี้น�ำจากรัฐโดยผา่ นการออกกฎระเบียบและการรณรงคโ์ ฆษณาผา่ นส่ือสารมวลชน ในช่วงต้นทศวรรษ ๑๙๘๐ บทบาทของฝ่ายค้านมีเพิ่มมากขึ้นเล็กน้อย ความเปลย่ี นแปลงนเ้ี หน็ ไดจ้ ากการเลอื กตง้ั ซอ่ มทจ่ี ดั ขนึ้ ใน ค.ศ. ๑๙๘๑ ทง้ั นสี้ มาชกิ พรรค ฝา่ ยคา้ น ได้แก่ โจชวั เบนจามนิ ชยั รัตนัม (Joshua Benjamin Jeyaretnam) ตวั แทน จากพรรคกรรมกรได้รับการเลือกตั้งเข้าสู่สภา และใน ค.ศ. ๑๙๘๔ ในการเลอื กต้งั ท่ัวไป ผู้ลงคะแนนเสียงก็เลือกชัยรัตนัมกลับเข้าไปอีกคร้ัง รวมท้ังสมาชิกฝ่ายค้านอีกคนคือ เคียม ซที ง (Chiam See Tong) ก็ไดร้ ับการเลอื กต้งั ด้วย ส�ำหรับการเลอื กตง้ั ในเดอื น สิงหาคม ค.ศ. ๑๙๙๑ ก็มีสมาชิกฝ่ายค้านได้รับการเลือกต้ังเข้าสู่สภาท้ังหมด ๔ คน ในขณะเดยี วกนั ประชาชนไดเ้ ลอื กคนของพรรคกจิ ประชากลบั เขา้ มาครองอำ� นาจอกี ครงั้ ดว้ ยคะแนนเสยี งลดลง ความเปลยี่ นแปลงทางการเมอื งซง่ึ เกดิ จากประชากรรนุ่ หนมุ่ สาว และเศรษฐกจิ ทเี่ ปลย่ี นแปลงไปแมจ้ ะไมก่ ระทบตอ่ การเมอื งโดยภาพรวมแตก่ เ็ ปน็ สญั ญาณ 306

สาธารณรัฐสิงคโปร์ ท่ีพรรคกิจประชามิอาจเพิกเฉยได้และได้พยายามปรับปรุงการปฏิบัติหน้าที่ของพรรค อยา่ งตอ่ เน่อื ง รวมทงั้ เตรียมการสำ� หรบั การขึ้นมาบริหารประเทศของผู้น�ำรุน่ ที่ ๒ ในชว่ ง ต้นทศวรรษ ๑๙๙๐ เศรษฐกิจของสิงคโปร์มีโครงสร้างท่ีเน้นกิจกรรมในภาคอุตสาหกรรมและ ภาคบรกิ ารเปน็ หลัก เนอ่ื งจากสงิ คโปร์เปน็ ประเทศทีม่ ขี นาดเลก็ และตัวเมืองขยายตัวไป ครอบคลุมพ้ืนท่ีส่วนใหญ่ ดังนั้น จึงมีพื้นท่ีส�ำหรับเกษตรกรรมเหลืออยู่เพียงเล็กน้อย การทสี่ งิ คโปรต์ งั้ อยบู่ นเสน้ ทางการเดนิ เรอื ทส่ี ำ� คญั ของโลก ซง่ึ เปน็ จดุ เชอื่ มตอ่ มหาสมทุ ร อินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก ท�ำให้สิงคโปร์ได้รับการพัฒนาเป็นเมืองท่าที่ส�ำคัญของ ภูมภิ าคน้ีมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษท่ี ๑๙ นับตั้งแต่ ค.ศ. ๑๙๖๕ จนถึงปัจจุบัน ศักยภาพ ดังกล่าวของสิงคโปร์กย็ งั คงด�ำรงอยู่ นอกจากน้นั รฐั บาลสงิ คโปรซ์ งึ่ มี ลี กวนยู เปน็ ผนู้ ำ� ยงั ปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพดา้ นการทา่ เรอื ใหท้ นั สมยั อยตู่ ลอดเวลาอกี ดว้ ย ในการนี้ รฐั บาล สนบั สนุนใหม้ กี ารพัฒนาอตุ สาหกรรมท่ีตอ่ เนอ่ื งกบั กิจการทา่ เรอื เช่น อุตสาหกรรมการ ซ่อมบ�ำรุงเรือสินค้า อุตสาหกรรมการกลั่นน้�ำมัน อุตสาหกรรมปิโตรเคมี นอกจากนั้น การท่ีสิงคโปร์เป็นเมืองท่าท่ีส�ำคัญของภูมิภาค ท�ำให้เกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจในภาค บริการท่ีต่อเนื่องจ�ำนวนมาก เช่น การธนาคาร การประกันภัย รวมทั้งการค้าส่งและ คา้ ปลกี การกำ� หนดใหส้ งิ คโปรเ์ ปน็ เมอื งทา่ ปลอดภาษี ทำ� ใหส้ งิ คโปรเ์ ปน็ ศนู ยก์ ลางการคา้ ท่ีมีความโดดเด่น สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เดินทางเข้ามาในสิงคโปร์ได้เป็นจ�ำนวน มาก นอกจากนน้ั การพฒั นาดา้ นการศกึ ษาเพอ่ื สรา้ งทรพั ยากรมนษุ ยท์ มี่ ที กั ษะสงู หลายดา้ น รวมทง้ั ระบบสาธารณูปโภคทไี่ ด้รับการพฒั นาอย่างต่อเนือ่ ง ท�ำใหบ้ ริษทั ข้ามชาติต่าง ๆ มักเลือกสิงคโปร์เป็นท่ีต้ังของส�ำนักงานใหญ่ประจ�ำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อยา่ งไรกต็ าม แมว้ า่ จะมีการเติบโตทางเศรษฐกิจสงู แต่เศรษฐกจิ สิงคโปรก์ เ็ ป็นเศรษฐกจิ ท่ีเปราะบาง เพราะต้องพึ่งพิงปัจจัยหลายประการ  ส่วนใหญ่เป็นปัจจัยที่ผันแปรไปกับ การเปลี่ยนแปลงทางด้านการเมืองและเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคและระดับโลก ซึง่ สิงคโปรไ์ ม่สามารถควบคุมได้ 307

สารานุกรมประวตั ิศาสตร์ประเทศเพ่อื นบา้ นในอาเซียน ในทศวรรษ ๑๙๖๐ ความเป็นเมืองท่า ศูนย์กลางการค้าและการเดินเรือ (entrepôt trade) ถือได้ว่าเป็นเศรษฐกิจหลกั ของสงิ คโปร์ อยา่ งไรก็ตาม ในขณะนน้ั อตั ราการวา่ งงานคอ่ นขา้ งสงู และกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ทม่ี อี ยไู่ มส่ ามารถสรา้ งงานไดเ้ พยี งพอ รฐั บาลจงึ ตดั สนิ ใจพฒั นาประเทศโดยเนน้ อตุ สาหกรรมทใ่ี ชแ้ รงงานจำ� นวนมาก  ในการนี้ รฐั บาลไดเ้ สนอแรงจงู ใจตา่ ง ๆ อยา่ งมากเพอื่ ดงึ ดดู นกั ลงทนุ ตา่ งชาตใิ หเ้ ขา้ มากอ่ ตง้ั โรงงาน เพ่อื สร้างงานในสงิ คโปร์ การพัฒนาเศรษฐกจิ ตามแนวทางดงั กล่าว ท�ำให้มกี ารจา้ งงาน เพม่ิ ขน้ึ และมกี ารจา้ งงานอยา่ งเตม็ ทใี่ นตน้ ทศวรรษ ๑๙๗๐ จนเกดิ การขาดแคลนแรงงาน และต้องว่าจ้างแรงงานต่างชาติจากประเทศเพ่ือนบ้านเข้ามาท�ำงานอุตสาหกรรม หลายด้าน หลงั จากประสบความสำ� เร็จในช่วงทศวรรษ ๑๙๖๐ แลว้ สิงคโปร์กไ็ ด้ปรับ กลยุทธท์ างเศรษฐกิจของทศวรรษ ๑๙๗๐ ใหม่ โดยหนั ไปเน้นการพฒั นาอุตสาหกรรมที่ ใชท้ นุ และเทคโนโลยีระดบั สูง และพัฒนาธุรกจิ ภาคบรกิ ารทก่ี อ่ ให้เกดิ มูลค่าเพ่มิ ระดบั สงู การขยายฐานเศรษฐกจิ ดงั กลา่ วชว่ ยใหส้ งิ คโปรส์ ามารถปรบั ตวั กบั วกิ ฤตการณน์ ำ�้ มนั และ ภาวะถดถอยของเศรษฐกจิ โลกชว่ งกลางถงึ ปลายทศวรรษ ๑๙๗๐ ได้ค่อนข้างรวดเร็ว กฎหมายส�ำคัญคือ กฎหมายสร้างแรงจูงใจด้านเศรษฐกิจ (Economic Incentive Act) ที่ดึงดูดให้มีการลงทุนจากต่างประเทศเข้ามายังสิงคโปร์ นำ� ออกใช้ใน ค.ศ. ๑๙๖๗ ใหส้ ทิ ธแิ กน่ กั ลงทนุ ในการยกเวน้ ภาษเี ปน็ เวลา ๕ ปใี นกจิ การเพอ่ื การสง่ ออก มกี ารจดั ตงั้ สำ� นกั งานสง่ เสรมิ การลงทนุ ในตา่ งประเทศขน้ึ หลายแหง่ เชน่ นวิ ยอรก์ ชคิ าโก ลอนดอน ปารสี โตเกียว ฮอ่ งกง นอกจากนั้น ในชว่ งตน้ ทศวรรษ ๑๙๗๐ ยังมกี ารออก มาตรการหลายด้านซ่ึงสนับสนุนให้มีการก่อต้ังบริษัทผลิตสินค้าท่ีใช้เทคโนโลยีช้ันสูงข้ึน ในสิงคโปร์ ในต้นทศวรรษ ๑๙๘๐ น้นั ได้รเิ ร่มิ ใชเ้ กณฑ์การจูงใจส่งเสริมการลงทนุ ที่หลาก หลายมากข้นึ ในการนี้ มลู ค่าเพมิ่ (value added) ความเหมาะสมของคา่ ใชจ้ ่ายในการ ฝกึ อบรมตอ่ คนงาน ๑ คน รวมทง้ั สดั สว่ นของเจา้ หนา้ ทเี่ ทคนคิ และแรงงานฝมี อื ตอ่ จำ� นวน แรงงานทั้งหมดจะมีผลต่อการส่งเสริมการลงทุนด้วย อย่างไรก็ตาม การท่ีเศรษฐกิจ ทว่ั โลกคอ่ นขา้ งซบเซา ในชว่ งกลางทศวรรษ ๑๙๘๐ ขณะทคี่ า่ ใชจ้ า่ ยในการลงทนุ ประกอบ 308

สาธารณรัฐสิงคโปร์ กิจการเพิ่มสูงขึ้น ท�ำให้ปริมาณการเข้ามาลงทุนในสิงคโปร์ลดลงเป็นอย่างมาก ดังนั้น ตง้ั แตก่ ลางทศวรรษ ๑๙๘๐ เป็นตน้ มา รัฐบาลสิงคโปรจ์ งึ ได้ปรบั นโยบายในการพฒั นา สิงคโปร์ที่นอกจากเน้นอุตสาหกรรมท่ีใช้เทคโนโลยีสูงแล้ว ยังเพิ่มการพัฒนาสิงคโปร์ให้ เปน็ ศนู ยก์ ลางอตุ สาหกรรมการผลติ ทเี่ นน้ การออกแบบเพอ่ื เพมิ่ มลู คา่ ใหแ้ กผ่ ลติ ภณั ฑอ์ กี ดว้ ย นอกจากนน้ั รฐั บาลสงิ คโปรไ์ ดว้ างแผนทจ่ี ะใหส้ งิ คโปรเ์ ปน็ ศนู ยก์ ลางของบรษิ ทั ขา้ ม ชาตซิ ง่ึ จะเขา้ มาทำ� การคน้ ควา้ วจิ ยั และทำ� งานดา้ นเทคโนโลยรี ะดบั สงู ในประเทศสงิ คโปร์ โดยท่ีสาขาการผลิตใหญ่ท่ีจะใช้แรงงานอาจไปต้ังในประเทศเพ่ือนบ้านใกล้เคียงของ สงิ คโปร์ซ่งึ แรงงานยงั ถูกอยู่ เช่น ตั้งศนู ย์วจิ ยั และการพัฒนาอยทู่ ส่ี ิงคโปร์ แตโ่ รงงานผลิต อย่ใู นมาเลเซยี การปรบั นโยบายตา่ ง ๆ รวมทง้ั การฟน้ื ตวั ของเศรษฐกจิ โลกทำ� ใหน้ บั ตงั้ แตป่ ลาย ทศวรรษ ๑๙๘๐ เศรษฐกจิ ของสงิ คโปรฟ์ น้ื ตวั ขนึ้ เรอื่ ย ๆ จนผลติ ภณั ฑม์ วลรวมในประเทศ หรอื จดี พี ี (gross domestic product_­­ GDP) ขยายตัวสงู ขึ้นมาก ปัจจัยหลักทม่ี สี ่วนให้ เกิดการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ ได้แก่ การที่อุปสงค์ด้านการผลิตของอุตสาหกรรมบริการ ดา้ นการขนสง่ และการคมนาคมเพมิ่ มากขนึ้ นอกจากนนั้ อตุ สาหกรรมผลติ เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ ทใี่ ช้เทคโนโลยสี ูงมสี ว่ นชว่ ยเศรษฐกจิ ของประเทศไดม้ าก สงิ คโปรส์ ามารถผลิตอปุ กรณ์ คอมพวิ เตอร์ โทรศพั ทเ์ คลอื่ นทไี่ ดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ จนส่งออกไดม้ ากขน้ึ และค่อย ๆ เข้ามาแทนที่การกลนั่ น้�ำมันซงึ่ เคยทำ� รายได้ให้แก่ประเทศเป็นอนั ดบั ๑ ทศวรรษ ๑๙๙๐ เปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ ของการปรบั โก๊ะ จก๊ ตง เปล่ียนการปกครองสิงคโปร์จากผู้น�ำกลุ่มเก่ามาเป็น ผู้น�ำรุ่นใหม่ ในวันที่ ๒๘ พฤศจิกายน ค.ศ. ๑๙๙๐ โก๊ะ จ๊กตง (Goh Chok Tong) ได้รับการคัดเลือก จากพรรคกิจประชาและคณะรัฐมนตรีให้เป็น นายกรัฐมนตรีคนท่ี ๒ ของสิงคโปร์ ภายหลัง การลาออกจากต�ำแหน่งของลี กวนยู ซึ่งปกครอง 309

สารานุกรมประวัติศาสตรป์ ระเทศเพ่อื นบ้านในอาเซยี น มา ๓๑ ปี ถา้ นบั จาก ค.ศ. ๑๙๕๙ แตล่ ี กวนยยู งั คงดำ� รงตำ� แหนง่ รฐั มนตรอี าวโุ สในรฐั บาล ชุดใหม่ และใน ค.ศ. ๑๙๙๓ สิงคโปร์ก็เริ่มใช้ระบบประธานาธิบดีแบบใหม่ ซ่ึงมาจาก การเลอื กตั้งโดยตรงจากประชาชนซ่ึง อง เทงชง (Ong Teng Cheong) ไดร้ ับเลอื กเปน็ ประธานาธิบดี ในชว่ งเปลยี่ นผา่ น ผนู้ �ำรนุ่ แรกของสงิ คโปรถ์ อื วา่ การสรรหาคนรนุ่ ใหมท่ ม่ี คี วาม สามารถเปน็ ผนู้ ำ� รนุ่ ที่ ๒ เป็นเร่ืองส�ำคัญ เพ่อื ให้แนใ่ จวา่ การปกครองบรหิ ารประเทศจะ ดำ� เนนิ ไปอยา่ งตอ่ เนอ่ื งดว้ ยดตี ามนโยบายของพรรคกจิ ประชา คณุ สมบตั ขิ องผนู้ ำ� รนุ่ ใหม่ ทคี่ าดหวงั คอื เปน็ คนหนมุ่ อายรุ าว ๓๐-๔๕ ปที ไี่ ดร้ บั การศกึ ษาแบบองั กฤษ มคี วามรคู้ วาม สามารถสงู ทางดา้ นวชิ าการและการบรหิ าร มคี วามสามารถเชงิ วเิ คราะหแ์ ละการใชเ้ หตผุ ล ในการตดั สินใจ มองการณไ์ กล และกลา้ ตดั สนิ ใจทำ� ในส่งิ ท่ตี นเหน็ วา่ ถกู ตอ้ งแมจ้ ะขดั ต่อ ความคิดเหน็ สาธารณชนเพื่อผลลพั ธท์ ีด่ ีใน ๑๐-๒๐ ปขี ้างหนา้ โก๊ะ จ๊กตง ซึง่ เปน็ นายกรฐั มนตรคี นท่ี ๒ ของสงิ คโปร์ต้งั แตเ่ ดือนพฤศจิกายน ค.ศ. ๑๙๙๐ ถงึ เดอื นสงิ หาคม ค.ศ. ๒๐๐๔ สำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี เกยี รตนิ ยิ ม อันดบั ๑ สาขาวชิ าเศรษฐศาสตร์ ใน ค.ศ. ๑๙๖๔ จากมหาวทิ ยาลัยสงิ คโปร์ (ตอ่ มาคอื มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์) แล้วเข้ารับราชการอยู่ระยะหน่ึงก่อนได้ทุนไปศึกษาต่อ ด้านเศรษฐศาสตร์การพัฒนา (Development Economics) ท่ีวิทยาลัยวิลเลียมส์ (Williams College) ในสหรฐั อเมรกิ า ระหวา่ ง ค.ศ. ๑๙๖๖–๑๙๖๗ ตอ่ มาไดร้ บั คดั เลอื ก ใหไ้ ปทำ� งานทบ่ี รษิ ทั เดนิ เรอื เนปจนู โอเรยี นตลั ไลนส์ (Neptune Oriental Lines) ซงึ่ เปน็ รัฐวิสาหกจิ ท่ีสำ� คัญแห่งหนึ่งของสิงคโปรใ์ น ค.ศ. ๑๙๖๙ โกะ๊ จ๊กตงมผี ลงานดีเด่นและ ได้เลื่อนเป็นผู้อ�ำนวยการบริหารของบริษัทในอีก ๔ ปีต่อมา ความสามารถโดดเด่น ของเขาท�ำให้กลุ่มผู้น�ำของพรรคกิจประชาสนใจและชักชวนให้เป็นตัวแทนของพรรค ลงสมคั รรับเลือกตัง้ เปน็ สมาชกิ รัฐสภาในการเลือกต้งั ค.ศ. ๑๙๗๖ เขาชนะการเลือกต้ัง ได้เป็นผู้แทนของเขตมารีนพาเรด (Marine Parade) และเร่ิมต้นชีวิตทางการเมือง นับแตน่ ้ันมา 310

สาธารณรัฐสิงคโปร์ ใน ค.ศ. ๑๙๗๙ เขาได้เปน็ ผชู้ ่วยรองเลขาธิการพรรคกจิ ประชา และไดร้ ับมอบ หมายให้วางระบบการคัดสรรผู้สมัครรับเลือกต้ังของพรรคซ่ึงถือว่าเป็นงานส�ำคัญมาก เพราะเทา่ กบั เปน็ การเลือกสรรบุคคลที่จะมาท�ำหนา้ ทีบ่ รหิ ารประเทศนั่นเอง เน่ืองจาก พรรคกิจประชาเป็นพรรครัฐบาลมาตลอดตั้งแต่ ค.ศ. ๑๙๕๙ แต่เดิมการคัดเลือกใช้วิธี ชกั น�ำกนั เขา้ มา โกะ๊ จก๊ ตงแก้ไขใหก้ ารเสนอชื่อเปน็ ไปอยา่ งมีระบบ กำ� หนดกลุ่มบคุ คล ท่สี ามารถเสนอชื่อผสู้ มัครได้ ซ่งึ ได้แก่ รัฐมนตรี สมาชกิ รฐั สภา ขา้ ราชการชั้นผ้ใู หญ่ และ ผบู้ รหิ ารระดบั สงู ของบรษิ ทั มขี น้ั ตอนการสมั ภาษณห์ ลายรอบ มกี ารตรวจสอบคณุ สมบตั ิ ผู้สมัครอย่างละเอียดในด้านอุปนิสัย แรงจูงใจ และความสามารถในการท�ำงานเป็นหมู่ คณะ นอกจากนี้ เขายังเสนอให้น�ำแบบทดสอบท่ีมีมาตรฐานมาใช้โดยเน้นการวัด คุณสมบัติ ๓ ประการ ได้แก่ ความสามารถในการวิเคราะห์ จินตนาการ และการรับรู้ ความจรงิ มาทดสอบผแู้ ทนพรรคทมี่ ีแนวโน้มวา่ จะได้ทำ� งานบรหิ ารระดับสงู ด้วย ในด้านการบริหารประเทศ โก๊ะ จ๊กตงเคยด�ำรงต�ำแหน่งรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงต่าง ๆ หลายกระทรวง เช่น กระทรวงการค้าและอุตสาหกรรม กระทรวง สาธารณสขุ กระทรวงกลาโหม กอ่ นหน้าท่จี ะได้เปน็ รองนายกรัฐมนตรีคนที่ ๑ ใน ค.ศ. ๑๙๘๕ การด�ำรงต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนท่ี ๒ ของสิงคโปร์ต่อจากลี กวนยูที่ครอง ต�ำแหนง่ นีน้ านถงึ ๓๑ ปีเปน็ เรื่องยาก โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ลี กวนยเู ปน็ ผนู้ �ำท่โี ดดเด่นและ ประสบความส�ำเร็จอย่างสูงในการสร้างสิงคโปร์ให้เป็นประเทศที่เจริญก้าวหน้าทาง เศรษฐกิจในระดับต้น ๆ ของเอเชีย และเป็นตัวอย่างของการบริหารจัดการท่ีดีจนผู้น�ำ รัฐบาลหลายประเทศชืน่ ชมและศกึ ษาเปน็ แบบอยา่ ง ในการพิสูจน์ตนเองว่าเขาได้รับความไว้วางใจจากประชาชน โก๊ะ จ๊กตง ได้ประกาศให้มีการเลือกต้ังท่ัวไปใน ค.ศ. ๑๙๙๑ เร็วกว่าก�ำหนด แม้พรรคกิจประชา จะชนะการเลือกตั้ง แต่ก็เสียที่นั่งให้แก่พรรคฝ่ายค้านไป ๔ ที่น่ัง มากกว่าเดิมซ่ึงเคย เสียไปเพียงท่ีเดียว นอกจากน้ัน คะแนนเสียงที่ประชาชนลงให้ผู้แทนพรรคกิจประชา ก็ลดลงจากร้อยละ ๖๑.๘ เป็นร้อยละ ๖๑ สาเหตุซึ่งพรรคฝ่ายค้านได้เสียงเพ่ิมข้ึนใน 311

สารานกุ รมประวตั ศิ าสตร์ประเทศเพื่อนบ้านในอาเซยี น สภา เพราะกลมุ่ ผใู้ ชแ้ รงงานชาวสงิ คโปรเ์ ชอื้ สายจนี ไมพ่ อใจนโยบายของพรรคกจิ ประชา ท่ีสนับสนุนพวกชนชั้นกลางซ่ึงพูดภาษาอังกฤษและชาวมลายูฐานะยากจน แม้การ ทคี่ ะแนนนยิ มของพรรคลดลงจะไมเ่ กยี่ วกบั การเปน็ นายกรฐั มนตรขี องโกะ๊ จก๊ ตงโดยตรง แตก่ ท็ ำ� ให้เขาไมส่ บายใจนัก ดา้ นการเมอื งภายในนนั้ เขาประสบความสำ� เรจ็ ในการรกั ษาความสมั พนั ธอ์ ยา่ ง เหมาะสมกับลี กวนยู รัฐมนตรีอาวุโส และใช้ประสบการณ์รอบรู้ของลี กวนยูให้เป็น ประโยชนต์ ่อประเทศ วธิ ีการทำ� งานเป็นหมู่คณะของเขา การปรึกษาหารอื เพื่อตดั สินใจ ร่วมกัน เป็นท่ีพอใจของคณะรัฐมนตรีและได้ผลดีในการท�ำงาน ประชาชนเคารพและ ชนื่ ชมความสามารถของเขา รวมทงั้ อปุ นสิ ยั เปน็ กนั เอง ซอื่ ตรง และไวใ้ จได้ ความชน่ื ชอบ ของประชาชนท่ีมีต่อโก๊ะ จ๊กตง มีผลให้คะแนนความนิยมของพรรคกิจประชาในหมู่ ประชาชนค่อย ๆ เพ่มิ สูงขนึ้ ด้วย ในประเดน็ เรือ่ งการเปน็ ผูน้ �ำทเ่ี ขม้ แขง็ และเดด็ ขาดน้นั โก๊ะ จก๊ ตงแสดงใหเ้ ห็น หลายครงั้ วา่ เขามคี วามหนกั แนน่ และมวี นิ ยั เชน่ กรณลี งโทษดว้ ยการเฆย่ี นวยั รนุ่ อเมรกิ นั คนหนึ่งที่ท�ำผิดกฎหมายเพราะไปท�ำลายทรัพย์สินสาธารณะใน ค.ศ. ๑๙๙๔ แม้ว่า จะถูกกดดันอย่างหนักจากสหรัฐอเมริกาซึ่งวิจารณ์การลงโทษในลักษณะดังกล่าว แต่ โก๊ะ จ๊กตงก็ยังยืนยันให้ด�ำเนินการตามกฎหมายสิงคโปร์ ด้านความม่ันคงของ พรรคกิจประชา โก๊ะ จ๊กตงน�ำพรรคกิจประชาให้ชนะการเลือกต้ังและได้เป็นรัฐบาล อย่างต่อเนื่อง ท�ำให้พรรคได้รับคะแนนนิยมจากประชาชนเพ่ิมข้ึนอีกด้วย ต้ังแต่ การเลอื กตง้ั ทั่วไป ค.ศ. ๑๙๘๔ เป็นตน้ มา คะแนนความนยิ มของพรรคมแี นวโน้มลดลง เร่อื ย ๆ แตใ่ นการเลอื กตง้ั ทั่วไป ค.ศ. ๑๙๙๗ และ ค.ศ. ๒๐๐๑ คะแนนนิยมของพรรค สงู ขึ้นจากรอ้ ยละ ๖๑ ใน ค.ศ. ๑๙๙๑ เป็นรอ้ ยละ ๖๕ และรอ้ ยละ ๗๓.๕ ตามลำ� ดบั การเลอื กต้งั ค.ศ. ๑๙๙๗ พรรคกิจประชาน�ำเร่ืองการพัฒนาห้องชดุ การเคหะ แห่งชาตเิ ปน็ ประเด็นส�ำคญั ในการหาเสยี งเพราะประชาชนเกอื บรอ้ ยละ ๙๐ อาศยั อย่ใู น ห้องชุดของรัฐบาล ส�ำหรับคนทั่วไปห้องชุดเป็นสมบัติมีค่า หนทางหน่ึงท่ีจะเพิ่ม 312

สาธารณรัฐสงิ คโปร์ คุณภาพชีวิตของชาวสิงคโปร์ก็คือ การพัฒนาห้องชุดให้ทันสมัยและสะดวกสบาย มากขน้ึ ในการน้ี พรรคกิจประชาประกาศว่าสนับสนุนการพัฒนาห้องชุดดังกล่าว ซึ่ง พรรคกจิ ประชากป็ ระสบชยั ชนะอย่างงดงาม การเลอื กตงั้ เดอื นพฤศจกิ ายน ค.ศ. ๒๐๐๑ มขี น้ึ หลงั ปญั หาภาวะเศรษฐกจิ ตกตำ่� ในเอเชียท่ีเร่ิมต้นต้ังแต่ ค.ศ. ๑๙๙๗ และหลังเหตุการณ์ก่อการร้ายในสหรัฐอเมริกา เมื่อเดือนกันยายน ค.ศ. ๒๐๐๑ แม้ฝ่ายค้านจะโจมตีรัฐบาลเร่ืองปัญหาการว่างงาน การจ้างชาวต่างประเทศผู้เช่ียวชาญมาท�ำงานในสิงคโปร์ และปัญหาค่ารักษาพยาบาล ที่สูงข้ึนมาก แต่พรรคกิจประชาก็ได้รับคะแนนเสียงท่วมท้นจากประชาชนเพราะชาว สิงคโปร์ตระหนกั ดวี า่ ปญั หาเศรษฐกิจตกต่ำ� ไมไ่ ด้เปน็ ผลจากการปฏิบัตงิ านของรฐั บาล โก๊ะ จ๊กตงพยายามส่งเสริมบรรยากาศให้ชาวสิงคโปร์มีส่วนร่วมทางการเมือง และสังคมมากขึ้น มีการอนุญาตให้มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็นทางการเมืองและ วิพากษ์วิจารณ์นโยบายของรัฐบาลในหน้าหนังสือพิมพ์และในที่สาธารณะได้บ้าง ใหเ้ สรภี าพในการแสดงออกมากขน้ึ ท้งั ในการพูดในทชี่ มุ นมุ ชน ในด้านศลิ ปะ ภาพยนตร์ และละคร สามารถนำ� เสนอเรอื่ งทเี่ ปน็ ปญั หาขดั แยง้ ในสงั คมได้ เชน่ โรคเอดส์ ชวี ติ ในหอ้ ง ชุดการเคหะแหง่ ชาติ การผ่อนคลายน้ีส่วนหน่ึงเป็นเพราะลักษณะนิสัยของโก๊ะ จ๊กตง อีกประการ หนึ่งเป็นเพราะประชากรสิงคโปร์ในสมัยนี้มีการศึกษาดีขึ้นและมีไม่น้อยซึ่งไม่พอใจรัฐท่ี ใชอ้ ำ� นาจควบคมุ มากเกนิ ไป ชาวสงิ คโปรซ์ งึ่ มคี วามรดู้ จี �ำนวนหนง่ึ เบอื่ หนา่ ยสงั คมสงิ คโปร์ ไมว่ า่ จะเพราะนโยบายเขม้ งวดของรฐั บาล หรอื ความเครยี ดในการดำ� รงชวี ติ หรอื เพราะ ปัญหาค่าครองชีพสูง พากันอพยพไปอยู่ต่างประเทศ ในทศวรรษ ๑๙๙๐ มีผู้อพยพ ไปต่างประเทศรวมแล้วถึง ๑๐๐,๐๐๐ คน ซึ่งนับว่าเป็นจ�ำนวนสูงมากเม่ือเทียบกับ ประชากรของสงิ คโปร์ รฐั บาลกต็ ระหนกั วา่ การควบคมุ มากเกนิ ไปมสี ว่ นทำ� ใหช้ าวสงิ คโปร์ ก้าวไม่ทันการเปล่ียนแปลงของโลกาภิวัตน์ เม่ือรัฐบาลต้องการพัฒนาเศรษฐกิจที่ใช้ ความรู้เป็นฐาน (Knowledge-Based Economy) จึงต้องผ่อนปรนการควบคุม 313

สารานกุ รมประวัติศาสตรป์ ระเทศเพ่ือนบา้ นในอาเซยี น อยา่ งเดด็ ขาดลงบา้ ง โดยเฉพาะในยคุ อนิ เทอรเ์ นต็ ซงึ่ การแลกเปลย่ี นขอ้ มลู ขา่ วสารสะดวก และรวดเรว็ นอกจากนี้ รฐั บาลยังหวงั ว่าถา้ คนมีสว่ นร่วมในประเดน็ ปญั หาต่าง ๆ ของ ชุมชนและประเทศชาติ ก็จะท�ำให้เกิดความผูกพันระหว่างกันและผูกพันกับชาติ สรา้ งความมน่ั คงใหแ้ กป่ ระเทศไดท้ างหนงึ่ และลดปญั หาการอพยพไปตา่ งประเทศไดบ้ า้ ง รฐั บาลพยายามปรบั ปรงุ การบรหิ ารใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและใกลช้ ดิ ประชาชน โดย แบ่งการบรหิ ารจดั การเป็น ๒ ระดบั คอื ระดับหน่วยงานรัฐบาล และระดับสภาพฒั นา ชมุ ชน โครงการนเี้ รม่ิ ตน้ ใน ค.ศ. ๑๙๙๗ สภาพฒั นาชมุ ชนมนี ายกเทศมนตรเี ปน็ ประธาน ท�ำหน้าทีด่ แู ลบริหารจัดการชมุ ชนตา่ ง ๆ ในดา้ นสวัสดกิ ารสงั คม เชน่ การจัดสรรทุนการ ศกึ ษา การชว่ ยเหลอื คนชรา การปรบั ปรงุ ทอ่ี ยอู่ าศยั โดยหวงั วา่ สภาพฒั นาชมุ ชนจะท�ำให้ ผู้บรหิ ารมโี อกาสใกลช้ ดิ กบั คนในชุมชน เข้าใจและเหน็ ใจกันดีข้ึน รฐั บาลตงั้ ความหวังวา่ นโยบายดงั กลา่ วจะทำ� ใหป้ ญั หาในชมุ ชนไดร้ ับการแกไ้ ขกันเองในแต่ละชุมชน ในด้านสังคม สิงคโปร์มีปัญหาอัตราการเกิดของประชากรลดลงมาโดยตลอด ยกเวน้ แตใ่ น ค.ศ. ๑๙๘๘ ทอี่ ตั ราการเกดิ เพมิ่ ขนึ้ เลก็ นอ้ ยเปน็ รอ้ ยละ ๑.๙๘ ของประชากร ทง้ั ประเทศ เนอื่ งจากตรงกบั ปมี งั กรทองซงึ่ เชอ่ื กนั วา่ เดก็ ทเ่ี กดิ ในปนี จี้ ะมโี ชควาสนารงุ่ เรอื ง ใน ค.ศ. ๒๐๐๐ อตั ราการเกิดลดลงมาถงึ ร้อยละ ๑.๔๘  รฐั บาลวติ กว่าถา้ อตั ราการเกดิ ไม่เพิ่มขึ้น ในไม่ช้าสังคมสิงคโปร์จะมีผู้สูงอายุมากข้ึนและขาดคนวัยท�ำงานอันมีผลเสีย ต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจ สาเหตุท่ีอัตราการเกิดเพิ่มข้ึนน้อยลงมาจากสตรีมี การศึกษาดีข้ึนและมีโอกาสท�ำงานได้มากข้ึน เห็นเร่ืองการแต่งงานและการมีครอบครัว เป็นภาระ จะแตง่ งานเมือ่ มีความมนั่ คงทางหนา้ ท่ีการงานแล้ว ด้วยเหตุน้ี อายเุ ฉลย่ี ของ เจา้ สาวจึงมีแนวโนม้ สูงขึ้นเร่อื ย ๆ การทีส่ ตรีแต่งงานชา้ ท�ำใหม้ ีบตุ รได้นอ้ ยลง ในตอนแรก รฐั บาลพยายามชว่ ยสง่ เสรมิ ใหส้ ตรที ม่ี กี ารศกึ ษาดแี ละมสี ถานภาพ ทางการเงนิ ดมี ีบตุ รหลาย ๆ คน เช่น ใหแ้ รงจงู ใจด้วยการลดหย่อนภาษี โดยเน้นความ สำ� คญั ของการเพม่ิ คณุ ภาพของประชากรมากกวา่ การเพมิ่ อตั ราการเกดิ อยา่ งไรกด็ ี ตงั้ แต่ ค.ศ. ๒๐๐๐ เปน็ ตน้ มา เมอื่ อตั ราการเกดิ ไมเ่ พม่ิ ขน้ึ แตก่ ลบั ลดลง รฐั บาลจงึ หนั มามงุ่ เพม่ิ 314

สาธารณรัฐสิงคโปร์ อัตราการเกิดและส่งเสริมให้สตรีทั่วไปมีบุตร ไม่จ�ำเพาะแต่สตรีที่มีการศึกษาสูง โก๊ะ จ๊กตงเสนอแผนการให้เงินสะสมพัฒนาเด็ก ในการนี้ บิดามารดาผู้มีบุตรมากกว่า ๑ คนเมื่อเปิดบัญชีเงินฝากสะสมทรัพย์ให้แก่บุตร รัฐบาลก็จะสมทบเงินฝากให้ด้วย นอกจากน้ี ยังออกกฎหมายอนุญาตให้สตรีลาคลอดโดยไดร้ บั เงนิ ค่าจา้ งสำ� หรับบตุ รคนท่ี ๓ ไดน้ านถึง ๘ สปั ดาห์ เท่ากับการลาคลอดบตุ รคนท่ี ๑ และ ๒ ดว้ ย ในด้านเศรษฐกิจ โก๊ะ จ๊กตงเผชิญปัญหาท้าทายความสามารถของรัฐบาลใน ปลายทศวรรษ ๑๙๙๐ แมว้ ิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจซึง่ เริ่มตน้ ใน ค.ศ. ๑๙๙๗ ไม่ส่งผล รุนแรงต่อสงิ คโปร์เทา่ ประเทศอ่นื ๆ ในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ เนือ่ งจากความเขม้ แข็ง ทางการคลังและความสามารถของกลุ่มผู้บริหารประเทศท่ีรับมือแก้ปัญหาได้อย่างฉับไว แต่อัตราการเติบโตทางเศรษฐกจิ ของสงิ คโปร์ใน ค.ศ. ๑๙๙๘ ลดลงบา้ งและการว่างงาน กเ็ พม่ิ ขน้ึ รฐั บาลวเิ คราะหว์ า่ เปน็ เพราะพลงั การแขง่ ขนั ของสงิ คโปรล์ ดลง เนอ่ื งจากตน้ ทนุ การผลติ สงู เกนิ ไป สงิ คโปรจ์ ำ� เปน็ ตอ้ งลดตน้ ทนุ การผลติ ลง เชน่ ลดเงนิ สมทบของนายจา้ ง เขา้ กองทุนกลางส�ำรองเลย้ี งชพี (Central Provident Fund) ลดค่าท่ดี นิ ค่าเชา่ โรงงาน ค่าสาธารณูปโภค นอกจากนี้ ยังต้องมุ่งพัฒนาเศรษฐกิจที่มีฐานความรู้รองรับ ท้ังทาง ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ อิเล็กทรอนิกส์ เภสัชกรรม วิศวกรรมเคมี และพันธุ วศิ วกรรมศาสตร์ รฐั บาลตงั้ กองทนุ จา้ งผเู้ ชยี่ วชาญตา่ งชาตแิ ละกองทนุ เพอ่ื การลงทนุ ดา้ น วิทยาศาสตร์ ท้ังหมดนี้เพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ ส่วนการแก้ ปญั หาแรงงานนน้ั รฐั บาลตง้ั กองทนุ เพอ่ื เพม่ิ ความรแู้ ละพฒั นาทกั ษะความสามารถใหแ้ ก่ ผู้วา่ งงานและผูข้ าดความรูเ้ ฉพาะทาง มีการจดั ฝึกอบรมระยะสนั้ ใหแ้ กค่ นเหลา่ น้ี ในชว่ ง ค.ศ. ๑๙๙๙–๒๐๐๑ มผี ้สู มัครเข้าฝกึ อบรมโครงการตา่ ง ๆ ถงึ ๕๓,๐๐๐ คน ใน ค.ศ. ๒๐๐๑ ภาวะเศรษฐกจิ ของสงิ คโปรถ์ ดถอยลงอีก โก๊ะ จก๊ ตงเสนอให้ สงิ คโปรห์ าตลาดใหมใ่ หอ้ อกไปไกลกวา่ บรรดาประเทศเพอ่ื นบา้ นใหค้ รอบคลมุ ถงึ ประเทศ ในรัศมที เี่ ครือ่ งบนิ บนิ ถงึ ไดภ้ ายใน ๗ ชวั่ โมง ซงึ่ จะมปี ระชากรถงึ ๒,๘๐๐ ลา้ นคนทจ่ี ะเปน็ ตลาดใหมข่ องสงิ คโปรไ์ ด้ อีกวิธีหนึง่ คือ การขยายกิจการไปในตา่ งแดน เช่น การรว่ มมือ สร้างอุทยานอุตสาหกรรม (Industrial Park) ในจีน รวมท้ังพัฒนาความสามารถของ 315

สารานกุ รมประวตั ศิ าสตร์ประเทศเพ่อื นบ้านในอาเซยี น ชาวสงิ คโปรใ์ นการเปน็ ผปู้ ระกอบการ ใหม้ ีความริเร่ิมสรา้ งสรรค์ กล้าเสีย่ ง ส่งเสรมิ คนเก่ง ที่เปน็ ชาวสิงคโปร์ และสรรหาคนเกง่ จากภายนอกมาช่วยเสริม นอกจากนนั้ สงิ คโปรย์ งั เปน็ ผเู้ สนอใหก้ อ่ ตงั้ สามเหลยี่ มแหง่ การเตบิ โต (Growth Triangle) ระหวา่ งสิงคโปร์ มาเลเซยี ท่รี ัฐยะโฮร์ และอนิ โดนีเซยี ทีห่ มู่เกาะรเี อา (Riau) ทั้ง ๓ ประเทศจะร่วมมือกันสร้างศูนย์อุตสาหกรรมเพ่ือดึงดูดการลงทุนจากต่างชาติ โครงการนี้เป็นท่ีสนใจของนักลงทุนชาวญี่ปุ่นและชาวตะวันตกซ่ึงต้องการฐานการผลิต เครอื่ งอปุ กรณไ์ ฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ ผลงานท่สี �ำคัญอีกประการหนงึ่ ของโกะ๊ จ๊กตง คือ ความคิดในการสรา้ งกรอบ ความรว่ มมือทางเศรษฐกิจระหว่างเอเชียกบั ยโุ รปทเ่ี รยี กวา่ การประชุมเอเชยี -ยุโรปหรือ อาเซม (Asia-Europe Meeting–ASEM) แม้ว่าขณะน้ันอาเซียนจะมีการประชุม ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในเอเชีย-แปซิฟิกหรือเอเปก (Asia-Pacific Economic Cooperation–APEC) แต่สิงคโปร์ก็ยังคงต้องการให้ความร่วมมือทางเศรษฐกิจนั้น มีความหลากหลายมากขึ้นโดยการขยายความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมกับ ประเทศตา่ ง ๆ ในยุโรป ใน ค.ศ. ๑๙๙๔ สงิ คโปรแ์ ละฝรง่ั เศสรว่ มมอื กันเสนอใหจ้ ัดการ ประชมุ ระหวา่ งกลมุ่ ประเทศอาเซยี น จนี ญป่ี นุ่ และเกาหลใี ต้ กบั ประเทศในสหภาพยโุ รป ทุกประเทศท่ีเก่ียวข้องต่างเห็นชอบและเร่ิมประชุมคร้ังแรกที่กรุงเทพมหานครใน ค.ศ. ๑๙๙๖ อาเซมจึงเป็นหนทางเปดิ ตลาดใหมใ่ หแ้ กอ่ าเซยี นอีกทางหนง่ึ หลังจากบริหารประเทศมานานถึง ๑๔ ปี โก๊ะ จ๊กตงก็ส่งมอบภารกิจให้แก่ ลี เซี่ยนลุง (Li Hsien Loong) บุตรชายของลี กวนยู ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีคนท่ี ๓ ของสงิ คโปร์ใน ค.ศ. ๒๐๐๔ ลี เซยี่ นลงุ จบปรญิ ญาตรจี ากมหาวทิ ยาลยั เคมบรดิ จ์ (Cambridge University) ประเทศอังกฤษ ต่อมาได้ไปศึกษาท่ีสหรัฐอเมริกา ที่สถาบันรัฐศาสตร์ จอห์น เอฟ. เคนเนดี (John F. Kennedy School of Government) มหาวทิ ยาลยั ฮารเ์ วริ ด์ (Harvard University) ได้ปริญญาโทด้านรัฐประศาสนศาสตร์ เขากลับมารับราชการทหาร 316

สาธารณรัฐสงิ คโปร์ ที่สิงคโปร์จนได้ยศพลจัตวา จึงลาออกมาสมัครรับเลือกต้ังและได้รับเลือกเป็นสมาชิก รัฐสภาใน ค.ศ. ๑๙๘๔ ในด้านการบริหาร ลี เซ่ียนลุงมีประสบการณ์ทางการเมือง อย่างมากในต�ำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงข่าวสาร รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงศิลปวัฒนธรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการคา้ และอุตสาหกรรม รฐั มนตรีว่าการกระทรวงการคลงั เป็นตน้ การปราศรัยในโอกาสเข้ารับต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรีเม่ือเดือนสิงหาคม ค.ศ. ๒๐๐๔ น้ัน ลี เซ่ียนลุงได้ให้ค�ำม่ันสัญญาว่า จะยังคงยึดแนวบริหารประเทศแบบ เปดิ กวา้ งและปรกึ ษาหารอื ตามแบบรฐั บาลชดุ เดมิ และไดย้ ำ�้ แนวนโยบายดงั กลา่ วอกี ครงั้ ในการปราศรัยในโอกาสวันชาติในเดือนเดียวกันว่า จะใช้แนวทางใหม่ ๆ ท่ีกล้าหาญ ในการบริหารบ้านเมือง และจะสร้างสังคมท่ีเปิดและรวมคนทุกกลุ่มโดยต่อยอดจาก ความส�ำเร็จของผนู้ ำ� คนกอ่ น ๆ อกี ทงั้ ยงั กำ� หนดวสิ ยั ทศั นท์ จ่ี ะเปน็ ประโยชนต์ อ่ สงิ คโปร์ ในระยะยาวอกี ด้วย สว่ นคณะรฐั มนตรที จ่ี ดั ตงั้ ภายหลงั การเลอื กตงั้ ในเดอื นพฤษภาคม ค.ศ. ๒๐๐๕ นั้น ยังคงเป็นชุดเดิมเป็นส่วนใหญ่ หลังจากด�ำรงต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นเวลา ๒๐ เดอื น ลี เซยี่ นลงุ กป็ ระกาศใหม้ กี ารเลอื กตงั้ ทวั่ ไปเมอื่ วนั ท่ี ๖ พฤษภาคม ค.ศ. ๒๐๐๖ การเลือกตัง้ คร้งั นี้พรรคกจิ ประชาส่งผูส้ มคั รรับเลือกตัง้ ๘๔ คน ตามจ�ำนวนที่นง่ั ท้งั หมด ในรัฐสภา พรรคฝ่ายค้านส่งผู้สมัคร ๔๗ คน ท�ำให้พรรคกิจประชาไร้คู่แข่งขันส�ำหรับ ท่ีน่ัง ๓๗ ที่น่ัง ผลการเลือกตั้งก็เหมือนครั้งก่อน พรรคกิจประชาได้ท่ีนั่งเท่าเดิม แต่ได้คะแนนลดลงเหลือร้อยละ ๖๖.๖๐ ของคะแนนเสียงทั้งหมด ซึ่งแต่เดิมได้ร้อยละ ๗๕.๒๙ ส่วนพรรคแรงงานซึ่งส่งผู้สมัคร ๒๐ คนได้รับเลือกตั้งเพียงคนเดียวคือ เลา เกียเคียง (Low Thia Khiang) ส่วนกลุ่มพันธมิตรประชาธิปไตย แห่งสิงคโปร์ ส่งผู้สมัคร ๒๐ คนและได้รับเลือกคนเดียวเช่นกันคือ เคียม ซีทง บรรยากาศ การรณรงคห์ าเสยี งในการเลอื กตง้ั ครง้ั นค้ี อ่ นขา้ งคกึ คกั เนอื่ งจากพรรคกรรมกรอยใู่ นชว่ ง ฟน้ื ฟูพรรคโดยการสง่ ผูส้ มคั รหน่มุ สาวเข้าแข่งขนั 317

สารานุกรมประวัติศาสตรป์ ระเทศเพือ่ นบา้ นในอาเซียน ในความพยายามท่ีจะแสดงภาพลักษณ์ของรัฐบาลที่เปิดกว้างทางการเมืองนั้น ในวันชาติ ค.ศ. ๒๐๐๘ ลี เซ่ียนลุงได้ประกาศนโยบายเปิดเสรีทางการเมืองให้มากข้ึน โดยการผอ่ นคลายขอ้ จำ� กดั ทางการเมอื ง ๓ เรอื่ ง ในเรอ่ื งแรก รฐั บาลเสนอแกไ้ ขกฎหมาย ว่าด้วยภาพยนตร์ (Films Act) ซึ่งเคยห้ามพรรคการเมืองผลิตและฉายภาพยนตร์ เพอ่ื เปา้ หมายทางการเมอื ง ดว้ ยเกรงวา่ จะเปน็ การยวั่ ยใุ หเ้ กดิ ความขดั แยง้ อยา่ งไมม่ เี หตผุ ล เรื่องท่ี ๒ รัฐบาลยกเลิกการห้ามผู้สมัครรับเลือกต้ังผลิตสื่อแนวใหม่ ได้แก่ พอดแคสต์ (podcast) และวอดแคสต์ (vodcast) เพอื่ แจกจา่ ยในการรณรงคห์ าเสยี งกอ่ นการเลอื กตงั้ และเรื่องสุดท้าย รัฐบาลยกเลิกการห้ามการประท้วงและเรียกร้องในที่สาธารณะ โดยกลุ่มผู้ประท้วงสามารถรวมตัวกันได้ในบริเวณมุมนักพูดในสวนฮองลิม (Speaker’s Corner in Hong Lim Park) โดยไมต่ อ้ งขออนญุ าตลว่ งหนา้ จากทางตำ� รวจ แตก่ ารชมุ นมุ ก็ยังอย่ภู ายใตก้ ารดูแลของคณะกรรมการบริหารสวนสาธารณะแหง่ ชาติ ใน ค.ศ. ๒๐๐๙ ลี เซี่ยนลงุ ไดป้ ระกาศในเดอื นพฤษภาคมว่าจะปรบั ปรงุ ระบบ การเมืองเพ่ือเปิดโอกาสให้รัฐสภามีตัวแทนประชาชนจากหลากหลายกลุ่มมากขึ้น เช่น เพิ่มจ�ำนวนสมาชิกทม่ี าจากการแต่งตง้ั (Nominated Member of Parliament–NMP) จากจ�ำนวนไมเ่ กนิ ๖ คน เป็นไมเ่ กนิ ๙ คน ซง่ึ จะอยูอ่ ยา่ งถาวรจนครบวาระ ส่วนในกลุ่ม สมาชิกที่ไม่ได้เป็นตัวแทนของเขตเลือกต้ังใดจากพรรคฝ่ายค้าน (Non-constituency Member of Parliament–NCMP) ซ่งึ เดิมใหม้ ีจำ� นวนไม่เกิน ๖ คน จะเพ่ิมเปน็ ไม่เกนิ ๙ คน นอกจากน้ัน รัฐบาลจะเพิม่ จำ� นวนเขตเลือกตั้งเดย่ี วจาก ๙ เขต เปน็ ๑๒ เขต และ ลดจำ� นวนเขตเลอื กตง้ั กลมุ่ (Group Representation Constituency–GRC) ลง เนอื่ งจาก พรรคฝ่ายค้านพบปญั หาการหาผูส้ มัครในจำ� นวนมาก ๆ เพ่อื ลงสมัครในเขตเลือกตง้ั กลุ่ม ภารกิจท่ีทา้ ทายรัฐบาลลี เซยี่ นลุงท่เี ขา้ มาด�ำรงตำ� แหนง่ ใน ค.ศ. ๒๐๐๔ ก็คอื การด�ำเนินโครงการฟื้นฟูระบบเศรษฐกิจของสิงคโปร์ซ่ึงได้รับจากผลกระทบของภาวะ เศรษฐกจิ โลกถดถอยใน ค.ศ. ๒๐๐๑ และโรคซารส์ ระบาด ค.ศ. ๒๐๐๓ สภาพแวดล้อม ภายนอกประเทศทเ่ี ปน็ อปุ สรรคตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของสงิ คโปรม์ หี ลายประการ เชน่ ภาวะ เศรษฐกิจชะลอตัวในสหรัฐอเมริกา  ราคาน้�ำมันในตลาดโลกท่ีเพ่ิมสูงขึ้นตลอดเวลา 318

สาธารณรฐั สงิ คโปร์ บรรษัทข้ามชาติหลายแห่งท่ีเคยมีส�ำนักงานอยู่ในสิงคโปร์ได้ย้ายไปต้ังส�ำนักงานท่ีเมือง ชา่ งไหห่ รือเซี่ยงไฮ้ (Shanghai) และเมืองใหญ่ ๆ ของจนี นอกจากน้นั สงิ คโปร์ยังต้อง แข่งขันกับประเทศเพื่อนบ้านในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีค่าแรงต�่ำกว่าสิงคโปร์ การท่าเรือของสิงคโปร์ต้องแข่งกับมาเลเซีย และสายการบินของสิงคโปร์ต้องแข่งกับ สายการบินราคาประหยัดของประเทศเพือ่ นบา้ น รัฐบาลสิงคโปร์ได้ด�ำเนินกลยุทธ์หลายด้านเพ่ือคงไว้ซึ่งความสามารถในการ แข่งขัน เช่น ปรับปรุงยกระดับอุตสาหกรรมบางด้านเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศ สรา้ งแหล่งท่องเทยี่ วแบบบรู ณาการ (Integrated Resorts) ซง่ึ มคี าสโิ นรวมอย่ดู ว้ ยเพื่อ แขง่ ขันกบั สวนสนุกดิสนยี ์ (Disney Theme Park) ในฮ่องกง กระตุ้นใหบ้ รษิ ทั ที่รัฐบาล ร่วมลงทนุ (Government Linked Companies–GLC) เพมิ่ การลงทุนในต่างประเทศ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ บรษิ ทั เตอมาเซะกโ์ ฮลดงิ ส์ (Temasek Holdings) ดงึ ดดู การลงทนุ ของ ต่างชาตใิ นอุตสาหกรรมใหม่ ๆ เชน่ อตุ สาหกรรมชวี เวช (Biomedical Industry) โดยภาพรวมแล้วภาวะเศรษฐกิจของสิงคโปร์ยังประสบปัญหาเชิงโครงสร้างท่ี ส�ำคัญ ๒ ประการ ประการแรก การลงทุนของรัฐบาลสิงคโปร์ในต่างประเทศประสบ ปัญหาการขาดทุน ส่วนประการที่ ๒ มีการวิพากษ์วิจารณ์ว่า การพัฒนาเศรษฐกิจ ตามยุทธศาสตร์ในช่วงที่ผ่านมาแม้จะอ�ำนวยผลดีต่อระบบเศรษฐกิจระดับชาติ แต่ผล ตอบแทนต่อชาวสิงคโปร์ยังน้อยมากเม่ือเปรียบเทียบกับผลประโยชน์ท่ีคนต่างชาติและ ธรุ กจิ ตา่ งชาตใิ นสงิ คโปร์ได้รบั โดยเฉพาะเม่อื เปรยี บเทียบกบั เศรษฐกจิ อตุ สาหกรรมใหม่ อย่างเช่น เกาหลใี ต้ ฮอ่ งกง ไตห้ วัน นอกจากนั้น การรบั แรงงานต่างชาติและผ้เู ชยี่ วชาญ ต่างชาติเข้ามาท�ำงานจ�ำนวนมากก็เริ่มสร้างความอึดอัดให้แก่ชาวสิงคโปร์ในเร่ือง การแข่งขันด้านการท�ำงานและท่ีอยู่อาศัย ตลอดจนความแตกต่างเร่ืองนิสัยใจคอ ชวี ิตความเป็นอยู่ และคา่ นิยม ดว้ ยเหตนุ ้ี รฐั บาลจึงได้ตงั้ คณะกรรมการด้านยุทธศาสตร์ เศรษฐกิจ (Economic Strategies Committee–ESC) เพื่อปรับแผนยุทธศาสตร์ของ ชาติที่จะส่งเสริมการเติบโตของระบบเศรษฐกิจและกระจายผลประโยชน์ให้ชาวสิงคโปร์ อย่างทวั่ ถึง 319

สารานกุ รมประวัติศาสตรป์ ระเทศเพอ่ื นบ้านในอาเซียน ในการวางแนวทางการพัฒนาประเทศ รัฐบาลสิงคโปร์ให้ความสนใจเรื่องการ เติบโตเป็นมหาอ�ำนาจของประเทศจีนและอินเดีย และผลกระทบอันกว้างไกลในระบบ โลกซงึ่ อาจมผี ลใหม้ กี ารเปลย่ี นศนู ยอ์ ำ� นาจทางเศรษฐกจิ ของโลกจากซกี โลกตะวนั ตกมายงั ซกี โลกตะวนั ออก นับตัง้ แต่ทศวรรษ ๒๐๐๐ เป็นตน้ มา จนี ไดก้ ลายมาเปน็ คคู่ า้ ทสี่ �ำคัญ ของญปี่ นุ่ เกาหลใี ต้ และหลายประเทศในกลมุ่ อาเซยี น สว่ นอนิ เดยี กเ็ รม่ิ มบี ทบาทเพมิ่ ขน้ึ ด้วย ด้วยเหตุนี้ สิงคโปร์จึงพยายามปรับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจให้สอดคล้อง กบั ทศิ ทางดงั กลา่ ว ในดา้ นความมน่ั คงนน้ั สงิ คโปรม์ ไิ ดม้ องวา่ จนี เปน็ ภยั คกุ คามตอ่ อำ� นาจ อธิปไตยและบูรณภาพแห่งดินแดนของสิงคโปร์เพราะสิงคโปร์ไม่เกี่ยวข้องในข้อพิพาท บริเวณทะเลจนี ตอนใต้ แตส่ ิงคโปร์เกรงกลวั ภัยคุกคามในอนาคตหากมีการเปลยี่ นแปลง ทางการเมืองภายในประเทศจีนแล้วรัฐบาลจีนท่ีชาตินิยมจัดอาจมีนโยบายท่ีก่อให้เกิด ความขดั แยง้ กบั ประเทศในอาเซยี นจนกระทบตอ่ เสถยี รภาพของภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออก เฉยี งใต้ สว่ นอนิ เดยี นนั้ สงิ คโปรม์ องวา่ การเตบิ โตของอนิ เดยี มคี วามสำ� คญั ตอ่ เสถยี รภาพ ในภูมิภาคโดยเป็นการถ่วงดุลอ�ำนาจกับจีนโดยยังคงมีสหรัฐอเมริกาเป็นประเทศ มหาอ�ำนาจท่ีมบี ทบาทในการถ่วงดุลทสี่ �ำคญั ภายหลงั จากทป่ี ระธานาธบิ ดีเอส. อาร์. นาทาน (S. R. Nathan) ประกาศยบุ สภาเมอื่ วนั ที่ ๑๙ เมษายน ค.ศ. ๒๐๑๑ ลี เซี่ยนลงุ ก็ไดก้ �ำหนดวันเลือกตง้ั ให้เป็นวันท่ี ๗ พฤษภาคม การเลอื กตงั้ ครง้ั นเี้ ปน็ ครัง้ ท่ี ๒ ภายใตร้ ัฐบาลลี เซ่ียนลุง แตเ่ ป็นคร้ังที่ ๑๑ นบั จากการก่อตงั้ สาธารณรัฐสิงคโปร์ แมผ้ ลการเลือกตัง้ กระทบตอ่ การครองอ�ำนาจของ พรรคกิจประชาในรัฐสภาแค่เพียงเล็กน้อย กล่าวคือ พรรคกิจประชาได้ ๘๑ ที่น่ัง โดยไดค้ ะแนนเสียงรอ้ ยละ ๖๐.๑๖ ในขณะที่พรรคแรงงานได้ ๖ ทน่ี งั่ (ร้อยละ ๑๒.๘๒) หากเปรยี บเทียบกบั การเลอื กต้ังครั้งกอ่ นใน ค.ศ. ๒๐๐๖ พรรคกิจประชาได้ ๘๒ ท่ีนง่ั (รอ้ ยละ ๖๖.๖๐) ในขณะทพ่ี รรคแรงงานไดเ้ พยี ง ๑ ทน่ี งั่ แตพ่ รรคกจิ ประชาไดร้ บั คะแนน เสียงลดลงถึงรอ้ ยละ ๖.๔๖ นอกจากนน้ั ผู้สมัครซ่ึงเปน็ สมาชิกคนส�ำคัญของพรรค ๒ คน คือ จอร์จ โย ยง-บุน (George Yeo Yong-Boon) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวง การตา่ งประเทศ และลมิ ซยุ เซ (Lim Swee Say) อดตี รฐั มนตรปี ระจำ� สำ� นกั นายกรฐั มนตรี ยังแพก้ ารเลือกตง้ั ทเี่ ขตอัลจเู นียด (Aljunied) อกี ดว้ ย 320

สาธารณรฐั สงิ คโปร์ การเลือกต้ังคร้ังนี้ถือเป็นจุดหักเหของการเมืองสิงคโปร์ โดยลี เซ่ียนลุงเห็นว่า การเลือกต้ังนเี้ ปน็ การกำ� หนดผู้นำ� รนุ่ ใหม่ของสิงคโปร์ เน่ืองจากสงิ คโปร์ใน ค.ศ. ๒๐๑๑ แตกตา่ งไปจาก ค.ศ. ๒๐๐๖ เป็นอยา่ งมาก ดังนน้ั พรรคกิจประชาจึงตอ้ งหนั มาส�ำรวจ ตวั เองอย่างจริงจัง คะแนนนยิ มของพรรคกิจประชาเสอ่ื มถอยลงมากจากหลายสาเหตุ ประการแรก ประชาชนวิตกกังวลเรื่องปัญหาค่าครองชีพท่ีสูงข้ึน ในขณะท่ี คา่ จ้างและรายได้ไมข่ ยับตาม ปญั หาเร่ืองช่องว่างระหวา่ งคนรวยและคนจน ปญั หาเรือ่ ง ทอี่ ยอู่ าศยั และการคมนาคม ปญั หาการบรกิ ารดา้ นสาธารณสขุ และปญั หาเรอ่ื งคนตา่ งชาติ ที่เข้ามาเปน็ กรรมกร หรือเป็นผู้เช่ยี วชาญในสิงคโปร์ทมี่ ีจ�ำนวนกวา่ ๑ ลา้ นคน ซง่ึ ถกู มอง วา่ เขา้ มาแย่งอาชีพและทีอ่ ยู่อาศยั เปน็ ตน้ ประการที่ ๒ ความส�ำเรจ็ ของสิงคโปรใ์ นการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารจนบรรลุเป้าหมายการสร้างให้สิงคโปร์เป็น “Intelligent Island” เพื่อให้ อินเทอร์เน็ตกลายเป็นเคร่ืองมือท่ีส�ำคัญของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ มีผลท�ำให้ การส่ือสารในหมู่เครือข่ายภาคประชาสังคมภายในประเทศและระหว่างประเทศเป็นไป ได้อย่างกวา้ งขวางมากขึ้น ดังนนั้ การที่รฐั บาลแก้ไขรฐั ธรรมนญู และเปิดให้มีการรณรงค์ หาเสียงโดยใช้สื่อสมัยใหม่ได้ จึงเป็นการเปิดพื้นที่ทางการเมืองให้แก่พรรคการเมือง ทงั้ หลายในการชแี้ จงนโยบายของพรรค แนะนำ� ตวั ผสู้ มคั รหนา้ ใหม่ รวมทงั้ วพิ ากษว์ จิ ารณ์ นโยบายของรฐั บาลดว้ ย ประการท่ี ๓ เป็นผลมาจากลักษณะของผู้ลงคะแนนเสียงเลือกตั้งซ่ึงมีจ�ำนวน ราว ๒.๒ ล้านคน โดยท่ีร้อยละ ๔๖ เป็นผู้ที่มีอายุต้ังแต่ ๒๐-๔๔ ปี ซึ่งเกิดหลังจากท่ี สิงคโปรเ์ ป็นเอกราชใน ค.ศ. ๑๙๖๕ คนกลุ่มนี้ขาดความรู้และความสนใจในผลงานอัน ยงิ่ ใหญข่ องพรรคกจิ ประชาทผ่ี ลกั ดนั ใหส้ งิ คโปรห์ ลดุ พน้ จากสถานะโลกทส่ี ามและกา้ วไป สู่โลกที่หนึ่งได้ส�ำเร็จ พวกเขาจึงไม่ได้ชื่นชมผลงานในอดีตของพรรคกิจประชาเหมือน ชาวสิงคโปร์ร่นุ ก่อน ลี เซี่ยนลุงพยายามตอบสนองความเปล่ียนแปลงเหล่าน้ีโดยเสนอนโยบาย ตา่ ง ๆ ท่คี �ำนงึ ถงึ ประโยชนข์ องประชาชนทกุ เพศ วัย อาชพี ฐานะ ชนชน้ั และเชอ้ื ชาติ 321

สารานุกรมประวัตศิ าสตรป์ ระเทศเพอื่ นบ้านในอาเซียน และจัดตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ซ่ึงปราศจากอดีตผู้น�ำท้ัง ๒ คนและมีรัฐมนตรีหลายคน ทเ่ี ป็นคนร่นุ ใหม่เขา้ บรหิ ารประเทศ นับตั้งแต่ก่อตั้งสาธารณรัฐสิงคโปร์จนถึงปัจจุบัน สิงคโปร์ได้เปลี่ยนแปลงจาก ประเทศโลกทส่ี ามซง่ึ เปราะบางในดา้ นความอยรู่ อด กลายเปน็ ประเทศทไ่ี ดร้ บั การยอมรบั วา่ เปน็ ประเทศทพ่ี ัฒนาแลว้ เป็นศูนย์กลางการคา้ และบริการท่ีส�ำคัญของภมู ิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ มีพ้ืนฐานดา้ นต่าง ๆ ที่รองรับการทำ� ธุรกิจทค่ี อ่ นข้างสมบรู ณ์ไมว่ ่าจะ เป็นทรัพยากรมนุษย์ เครือข่ายการส่ือสาร ระบบขนส่งมวลชนในประเทศ ท่าเรือ สนามบินและสายการบินชั้นน�ำ ซึ่งสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้มักได้รับการจัดล�ำดับโดยสถาบัน ประเมินชน้ั น�ำให้อย่ใู นอันดับตน้ ๆ อยอู่ ยา่ งต่อเนื่อง ด้วยเหตนุ ี้ นอกจากจะมีนกั ธรุ กจิ ตา่ งชาตจิ ำ� นวนมากเดนิ ทางเข้ามาท�ำธุรกิจแล้ว ยังมีนกั ทอ่ งเที่ยวจำ� นวนมากเดินทางมา ทอ่ งเที่ยวสงิ คโปร์อกี ดว้ ย ดังจะเห็นได้วา่ ตามข้อมูลใน ค.ศ. ๒๐๑๒ น้ัน มีนกั ทอ่ งเทย่ี ว เดนิ ทางมาทอ่ งเที่ยวสงิ คโปรม์ ากถงึ ๑๑ ลา้ นคน ความส�ำเร็จในการพัฒนาประเทศตามที่ได้กล่าวมาน้ี มีผลท�ำให้ชาวสิงคโปร์ มีมาตรฐานการครองชีพสูงโดยมีผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติต่อประชากรเม่ือปรับ ตามค่าครองชพี แลว้ สงู ถึงประมาณ ๗๘,๗๐๐ ดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งสูงเป็นอนั ดับที่ ๔ ของ โลกตามขอ้ มลู ของธนาคารโลก ค.ศ. ๒๐๑๓ แมว้ า่ ความสำ� เรจ็ เหลา่ นส้ี ว่ นหนงึ่ จะเปน็ ผล มาจากปจั จัยตา่ ง ๆ เชน่ ทีต่ ้ัง ปัจจยั ภายนอกอ่นื ๆ ทเ่ี อ้ืออ�ำนวย แต่ไม่อาจปฏเิ สธไดว้ ่า ความส�ำเร็จเหล่าน้ีส่วนใหญ่เป็นผลมาจากความสามารถในการปรับตัวอย่างเหมาะสม ทันต่อเหตุการณ์ ซ่ึงท�ำให้ประเทศขนาดเล็กมากและมีทรัพยากรธรรมชาติน้อยมาก เช่นสิงคโปร์ก้าวหน้าดังที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน แม้ว่าลี กวนยูผู้ซึ่งมีบทบาทส�ำคัญในการ สรา้ งชาติให้รุ่งเรืองได้ถึงแก่อสัญกรรมในชว่ งปลายเดอื นมีนาคม ค.ศ. ๒๐๑๕ แตก่ ็เช่อื ได้ว่าโครงสร้างทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม ที่ลี กวนยูและ ผู้น�ำในร่นุ ตอ่ มาได้วางรากฐานไว้จะนำ� พาสงิ คโปร์ใหก้ ้าวหนา้ ต่อไปได้อย่างม่ันคง. (นภดล ชาตปิ ระเสริฐ) 322

สาธารณรัฐสิงคโปร์ บรรณานุกรม เพ็ชรี สุมิตร ผู้แปล. ประวัติศาสตร์สิงคโปร์. แปลจาก A History of Singapore. Ernest C.T. Chew and Edwin Lee, editors. กรงุ เทพฯ : มลู นิธิโครงการ ตำ� ราสงั คมศาสตรแ์ ละมนุษยศาสตร์, ๒๕๕๗. Abshire, Jane E. The History of Singapore. Santa Barbara, California: Greenwood, 2011. Acharya, Amitav. Singapore’s Foreign Policy: The Search for Regional Order. Singapore: World Scientific Publishing Co. Pte. Ltd., 2008. Baker, Jim. Crossroads: A Popular History of Malaysia and Singapore. Singapore: Marshall Cavendish International (Asia) Private Limited., 2012. Osborne, Milton. Southeast Asia: An Introductory History. Crows Nest, New South Wales: Allen & Unwin, 2013. Ricklefs, M.C. and others. A New History of Southeast Asia. Basingstoke, Hampshire: Palgrave Macmillan, 2010. Turnbull, C.M. A History of Modern Singapore. Singapore: NUS Press Singapore, 2009. 323



สาธารณรฐั สงั คมนิยมเวยี ดนาม สาธารณรัฐสังคมนยิ มเวียดนาม Socialist Republic of Vietnam สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ตั้งอยู่บริเวณที่เคยเรียกว่า “อินโดจีน” (Indochina) ในภูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ มเี มอื งหลวงชอ่ื หา่ โหนอ่ ย หรอื ฮานอย (Hà Bôฺ i; Hanoi) เวียดนามเคยอยู่ใต้การปกครองของจีนเป็นเวลานานประมาณ ๑,๐๐๐ ปี และตกอยู่ใต้อ�ำนาจของฝร่ังเศสต้ังแต่ประมาณครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษ ที่ ๑๙ จนถึงประมาณกลางคริสต์ศตวรรษที่ ๒๐ ท�ำให้เวียดนามมีประสบการณ์ ยาวนานในการต่อสู้กับต่างชาติท่ีเข้ามารุกราน ภายหลังสงครามโลกครั้งท่ี ๒ เวียดนามได้ประกาศเอกราช แต่ก็ต้องต่อสู้กับฝรั่งเศสที่ต้องการกลับเข้ามาปกครอง อินโดจีนอีก สงครามครั้งน้ียุติลงด้วยการท่ีฝรั่งเศสถอนตัวออกไป แต่เวียดนาม ตอ้ งแบง่ ออกเป็น ๒ ประเทศ คือ เวียดนามเหนือ ซง่ึ ปกครองด้วยระบอบคอมมวิ นสิ ต์ และเวียดนามใต้ ซึ่งมุ่งพัฒนาไปในแนวทางทุนนิยม หลังจากน้ัน เวียดนามทั้ง ๒ ประเทศก็ท�ำสงครามกัน โดยแต่ละฝ่ายต่างมีมหาอ�ำนาจหนุนหลัง ท�ำให้เวียดนาม มีบทบาทส�ำคัญในความขัดแย้งและการต่อสู้ในสงครามเย็นใน ค.ศ. ๑๙๗๕ เวียดนามเหนือเป็นฝ่ายมีชัย และเวียดนามรวมเป็นประเทศเดียวอีกคร้ังหน่ึง ใน ระยะแรกรัฐบาลเวียดนามด�ำเนินนโยบายปรับเปล่ียนเวียดนามใต้ให้เป็นสังคมนิยม 325

สารานุกรมประวัตศิ าสตรป์ ระเทศเพื่อนบ้านในอาเซยี น แต่ไม่ประสบผลส�ำเร็จ และต้ังแต่ปลายทศวรรษ ๑๙๘๐ เป็นต้นมา ก็ได้เร่ิมปฏิรูป ประเทศไปในแนวทางเสรนี ยิ มและทนุ นยิ มมากขน้ึ เปน็ ผลใหเ้ ศรษฐกจิ ของประเทศเตบิ โต อย่างต่อเน่ือง ในวนั ที่ ๒๗ กรกฎาคม ค.ศ. ๑๙๙๕ เวียดนามกเ็ ข้ารว่ มเปน็ สมาชกิ ลำ� ดับ ท่ี ๗ ของสมาคมประชาชาติแหง่ เอเชยี ตะวันออกเฉียงใตห้ รอื อาเซียน (Association of Southeast Asian Nations–ASEAN) ซง่ึ กำ� ลงั พฒั นาไปสกู่ ารรวมตวั หรอื บรู ณาการระดบั ภมู ิภาคเอเชียตะวันออกเฉยี งใตใ้ นปัจจบุ นั เวียดนามต้ังอยู่ทางตะวันออกสุดของอินโดจีน ครอบคลุมพ้ืนท่ี ๓๓๑,๒๑๐ ตารางกิโลเมตร และมีชายฝั่งทะเลยาว ๓,๒๖๐ กิโลเมตร ต้ังแต่อ่าวไทยด้านตะวันตก เฉียงใต้ ทะเลจีนใต้ ขึน้ ไปจนถงึ อา่ วตงั เกยี๋ (Tonkin) ทางตะวันออกเฉยี งเหนือ ประเทศ เวียดนามมีพื้นที่ลักษณะคล้ายรูปตัวเอส (S) ความยาวจากเหนือสุดถึงใต้สุด ๑,๖๕๐ กโิ ลเมตร มพี รมแดนทางดา้ นเหนอื ตดิ กบั จนี ทงั้ ทางบกและทางทะเล พรมแดนทางเหนอื และทางตะวันตกติดกับลาวทางบก และพรมแดนทางตะวันตกเฉียงใต้ติดกับกัมพูชา ทั้งทางบกและทางทะเล ภูมิประเทศของเวียดนามส่วนใหญ่เป็นภูเขาและป่าทึบ มีพ้ืนที่ราบประมาณ ร้อยละ ๒๐ เท่านั้น พ้ืนท่ีเขตภูเขามีประมาณร้อยละ ๔๐ และเป็นเขตป่าร้อนช้ืนซ่ึง เดิมมีประมาณร้อยละ ๔๐ ปัจจุบันเหลือเพียงประมาณร้อยละ ๒๐ พื้นที่ตอนเหนือ ส่วนใหญ่เป็นที่สูง (highlands) มียอดเขาสูงสุดชื่อ ฟานซีปัง (Phan Xi Pang) สูง ๓,๑๔๓ เมตร ได้รบั สมญาวา่ “หลังคาอินโดจีน” (Roof of Indochina) อยู่ในจังหวดั หล่าวกาย (Lao Cai) พนื้ ท่สี �ำคัญอกี สว่ นหน่งึ ของภาคเหนือ คือ เขตดินดอนสามเหลีย่ ม ปากแม่นำ�้ แดง (Red River Delta) ซง่ึ เปน็ เขตต้ังถิน่ ฐานดั้งเดิมของชาวเวียดนาม ส่วน พน้ื ทที่ างใต้ประกอบดว้ ยทลี่ ุ่มในเขตดินดอนสามเหล่ียมปากแม่นำ�้ โขง (Mekong Delta) เขตเทอื กเขาอนั นมั (Annamite Range) เขตปา่ ทบึ ทค่ี รอบคลมุ พน้ื ทกี่ วา้ งขวาง และเขต ทสี่ งู ภาคกลาง (Central Highlands)  พนื้ ทอี่ กี สว่ นหนงึ่ ของเวยี ดนามคอื เขตทล่ี มุ่ ชายฝง่ั ซ่ึงเร่ิมต้ังแต่ตอนใต้ของเขตดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น�้ำแดงไปจนถึงเขตดินดอน สามเหลี่ยมปากแม่น้�ำโขง  พ้ืนที่ส่วนนี้แม้จะเป็นพ้ืนท่ีแคบ ๆ โดยเฉพาะทางตอนกลาง ของประเทศ แตก่ เ็ ปน็ พน้ื ทีอ่ ดุ มสมบูรณเ์ หมาะแก่การปลกู ข้าว 326

สาธารณรัฐสงั คมนิยมเวียดนาม ภูมิอากาศของเวียดนามมีความหลากหลายและแตกต่างกันไปในแต่ละเขต เพราะตั้งอยู่ในละติจูดที่แตกต่างกันและความสูงต่�ำของพื้นที่ก็ต่างกันอย่างมาก โดย ท่วั ไปกล่าวไดว้ ่า เวียดนามมี ๔ ฤดู ได้แก่ ฤดูใบไม้ผลิ เริ่มตงั้ แตเ่ ดอื นมีนาคมถงึ เมษายน มีฝนตกเล็กน้อยและความช้ืนสูง อุณหภูมิประมาณ ๑๗–๒๓ องศาเซลเซียส ฤดูร้อน ตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงสิงหาคม อากาศร้อนและมีฝน อุณหภูมิประมาณ ๓๐–๓๙ องศาเซลเซียส เดือนที่ร้อนที่สุดคือเดือนมิถุนายน ฤดูใบไม้ร่วงต้ังแต่เดือนกันยายนถึง พฤศจกิ ายน อณุ หภมู ปิ ระมาณ ๒๓–๒๘ องศาเซลเซยี ส และฤดหู นาวตง้ั แตเ่ ดอื นธนั วาคม ถงึ กุมภาพนั ธ์ อุณหภูมิประมาณ ๗–๒๐ องศาเซลเซียส แตบ่ างปอี ณุ หภมู อิ าจลดลงถงึ ๐ องศาเซลเซียส เดือนท่หี นาวเย็นท่ีสุดคือเดอื นมกราคม เวียดนามแบง่ ออกเป็น ๓ ภูมภิ าคหลกั คือ ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ เมืองหลกั ของทง้ั ๓ ภาค ไดแ้ ก่ กรุงฮานอย ซึง่ เป็นเมอื งหลวง ปัจจุบนั (ค.ศ. ๒๐๑๓) มีประชากร ๒,๖๐๐,๐๐๐ คน (หรือ ๖,๕๐๐,๐๐๐ คน หากรวมพ้ืนท่ีในเขตปกครอง มหานครด้วย) ตั้งอยู่บริเวณดินดอนสามเหล่ียมปากแม่น้�ำแดง เป็นท้ังศูนย์การบริหาร และศูนย์ธุรกิจการค้าในภาคเหนือและมีสนามบินนานาชาติน้อยบ่าย (Noi Bai Inter- national Airport) เมอื งโฮจิมินหซ์ ติ ี (Ho Chi Minh City) หรอื ไซง่ อ่ น (Saigon) ใน อดตี เปน็ เมอื งหลวงของเวยี ดนามใต้หรอื สาธารณรฐั เวียดนาม (Republic of Vietnam) ในช่วง ค.ศ. ๑๙๕๕-๑๙๗๕ มีประชากรประมาณ ๗,๙๐๐,๐๐๐ คน เป็นศูนย์กลาง ธุรกิจการค้า การน�ำเข้าสง่ ออก และเปน็ เมืองท่าสำ� คัญ มีสนามบนิ นานาชาติตันเซนิ ญัต (Tan Son Nhat International Airport) และท่าเรือไซ่ง่อน (Saigon Port) ส่วน เมืองเว้ เมืองเอกของจังหวัดเถื่อเทียน-เว้ (Thua Thien-Hue) ซ่ึงอยู่ในภาคกลางของ เวียดนาม มปี ระชากรประมาณ ๓๔๐,๐๐๐ คน (รวมประชากรของจังหวัดเถือ่ เทียน-เว้ ประมาณกว่า ๑,๐๐๐,๐๐๐ คน) เว้เป็นเมืองหลวงของเวียดนามสมัยราชวงศ์งเหวียน (Nguyen Dynasty ค.ศ. ๑๘๐๒–๑๙๔๕) ปจั จบุ ันเปน็ แหลง่ ทอ่ งเที่ยวท่สี ำ� คญั แห่งหนงึ่ ของเวยี ดนาม นอกจากนั้นยังมีเมืองส�ำคัญอื่น ๆ อีกหลายเมือง เช่น เมืองไฮฟองหรือ ห่ายฝ่อง (Hai Phong) เป็นทั้งเมืองท่าและเขตอุตสาหกรรมส�ำคัญในภาคเหนือ 327

สารานกุ รมประวัติศาสตรป์ ระเทศเพอ่ื นบ้านในอาเซยี น พระราชวงั โบราณที่เมอื งเว้ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมเคมี ตอ่ เรือ และวสั ดุก่อสรา้ ง มที ่าเรือส�ำคญั ท่ีมีชอ่ื เดยี วกับเมือง ไฮฟองต้ังอยูห่ ่างจากกรุงฮานอย ๑๒๐ กโิ ลเมตร มีประชากรประมาณ ๑,๘๐๐,๐๐๐ คน เมอื งดานังหรือด่าหนงั (Danang) มปี ระชากรประมาณ ๑,๒๐๐,๐๐๐ คน เป็นศูนย์กลาง ธุรกิจ การท่องเท่ียว และเป็นเมืองท่าส�ำคัญของภาคกลาง มีสนามบินนานาชาติ ดานัง (Da Nang International Airport) และท่าเรอื น้ำ� ลึกเตยี นซา (Tien Sa Seaport) สว่ นเมอื งสำ� คญั ทางภาคใตย้ ังมอี ีกหลายเมือง เชน่ เมืองเก่นิ เทอ (Can Tho) มปี ระชากร ๑,๒๐๐,๐๐๐ คน เป็นเมืองอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารท่ีส�ำคัญและเป็นแหล่งปลูกข้าว ใหญ่ที่สุดของเวียดนาม เมืองเต่ียนซาง (Tien Giang) มีประชากร ๑,๖๐๐,๐๐๐ คน เมืองนี้ต้ังอยู่ในบริเวณดินดอนสามเหล่ียมปากแม่น�้ำโขง มีดินอุดมเหมาะแก่ การเพาะปลูกพืชเขตร้อน เป็นแหล่งผลิตข้าวและผลไม้เมืองร้อนต่าง ๆ เช่น ทุเรียน มะม่วง ฝร่ัง และเมืองบาเสียะ-หวุงเต่า (Ba Dia-Vung Tau) มีประชากรเกือบ ๑,๐๐๐,๐๐๐ คน เป็นเมืองที่ผลิตน้�ำมันดิบและก๊าชธรรมชาติ เวียดนามสามารถ ผลติ นำ�้ มนั ไดม้ ากทส่ี ดุ ในคาบสมทุ รอนิ โดจนี แหลง่ ผลติ สำ� คญั อยทู่ างภาคตะวนั ออกเฉยี งใต้ ของเมือง เรยี กว่า บัก๊ โห่ (Bac Ho) หรือ “White Tiger” เวยี ดนามมปี ระชากรมากกวา่ ๙๐ ลา้ นคน ตามตวั เลขประมาณการ ค.ศ. ๒๐๑๒ และมีกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ถึง ๕๔ กลุ่ม กลุ่มชาติพันธุ์หลัก ได้แก่ กิญ (Kinh) หรือ 328

สาธารณรฐั สังคมนิยมเวียดนาม เหวียต (Viet) ซ่ึงมีจ�ำนวนประมาณร้อยละ ๘๖ ของประชากรทั้งหมด กลุ่มชาติพันธุ์ อ่ืน ๆ ซ่ึงแต่ละกลุ่มมีประชากรไม่ถึงร้อยละ ๒ ได้แก่ เต็ย (Tay) ท้ายหรือไท (Thai) เหมื่อง (Muong) ขแมร์ (Khmer) หนุ่ง (Nung) มง้ (Hmong) และจีนหรอื หวา่ (Hoa) ก่อน ค.ศ. ๑๙๗๕ มีคนเชื้อสายจีนในเวียดนามประมาณ ๙๐๐,๐๐๐ คน ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ทางภาคใต้ โดยเฉพาะในเมืองไซ่ง่อนหรือโฮจิมินห์ซิตีในปัจจุบัน แต่หลงั ค.ศ. ๑๙๗๕ การเปลย่ี นแปลงระบบการเมอื งและเศรษฐกจิ ไปสสู่ งั คมนยิ ม ท�ำให้ ชาวเวียดนามเช้ือสายจีนเดินทางออกจากเวียดนาม และเม่ือความขัดแย้งระหว่างจีน กับเวยี ดนามรนุ แรงมากข้นึ ในชว่ ง ค.ศ. ๑๙๗๘–๑๙๗๙ ท�ำใหช้ าวเวียดนามเช้ือสายจนี เดินทางออกนอกประเทศอีกระลอกหนึ่ง รวมแล้วประมาณ ๔๕๐,๐๐๐ คน ส่วนหน่ึง เดินทางออกจากเวียดนามทางเรือในฐานะผู้ลี้ภัย คนเหล่าน้ีจึงถูกเรียกว่า “มนุษย์เรือ” (boat people) และอีกส่วนหน่ึงเดินทางข้ามชายแดนทางเหนือของเวียดนามไปยัง จนี ตอนใต้ เวยี ดนามมปี ระวตั คิ วามเปน็ มาตงั้ แตย่ คุ กอ่ นประวตั ศิ าสตร์ ชาวเวยี ดนามเรมิ่ ตง้ั รกรากในเขตดนิ ดอนสามเหลย่ี มปากแมน่ ำ�้ แดงในเวยี ดนามตอนเหนอื มหี ลกั ฐานวา่ มกี าร ปลกู ขา้ วในเขตทร่ี าบน�้ำทว่ มถงึ ในบรเิ วณลมุ่ แมน่ �้ำมา (Ma) และแมน่ ำ้� แดงตงั้ แตป่ ระมาณ ๑,๒๐๐ ปกี อ่ นคริสตศ์ ักราช ความเจริญท่ีปรากฏ ได้แก่ วฒั นธรรมดง่ เซิน (Don Son Culture) ซงึ่ เปน็ วฒั นธรรมยคุ สมั ฤทธกิ์ อ่ นประวตั ศิ าสตรใ์ นเขตลมุ่ แมน่ ำ้� แดงในเวยี ดนาม ตอนเหนือ ลักษณะเด่นของวัฒนธรรมนี้ คือ กลองมโหระทกึ ท�ำดว้ ยสมั ฤทธ์ิ นอกจากน้ัน ยังมีวัตถุโบราณอื่น ๆ เช่น อาวุธ เคร่ืองมือเครื่องใช้ต่าง ๆ อันแสดงถึงความก้าวหน้า ของเทคโนโลยีการหล่อสัมฤทธซ์ิ งึ่ สนั นิษฐานว่าเกดิ ขึ้นในท้องถ่ิน มใิ ชน่ �ำมาจากภายนอก แหลง่ วัฒนธรรมด่งเซนิ มอี ยเู่ ป็นจ�ำนวนมาก เพราะตง้ั แตป่ ระมาณ ๑,๐๐๐ ปกี ่อนคริสต์ ศกั ราชจนถงึ ตน้ ครสิ ตศ์ กั ราช วฒั นธรรมนแี้ พรอ่ อกไปอยา่ งกวา้ งขวางในเอเชยี ตะวนั ออก เฉยี งใต้ อย่างไรกด็ ี วฒั นธรรมด่งเซินมลี ักษณะรว่ มกนั บางประการ คอื โลงศพรปู เรอื และไหส�ำหรบั ใสศ่ พ บา้ นเรอื นแบบยกพน้ื ใตถ้ นุ สูง การเค้ยี วหมากและการท�ำใหฟ้ ันด�ำ 329

สารานุกรมประวัตศิ าสตร์ประเทศเพือ่ นบา้ นในอาเซียน ตามต�ำนานของเวียดนาม กล่าวถึงราชวงศ์ห่งบัง (Hong Bang) ที่ก่อตั้งอาณาจักรแรกของเวียดนาม คือ อาณาจักรวันลาง (Van Lang ๒,๘๗๙–๒๕๘ ปีกอ่ นครสิ ต์ศกั ราช) ซึ่ง ถกู พชิ ติ โดยอาณาจกั รเอวิ หลกั (Au Lac) ของชนเผา่ หลกั เหวยี ต (Lac Viet) และ เอวิ เหวียต (Au Viet) ตอ่ มา ใน ๒๐๗ ปี ก่อนคริสต์ศักราช นายพลจีนผู้หนึ่ง กลองมโหระทกึ สมั ฤทธ์ิ เข้ามายึดครองอาณาจักรเอิวหลักและ เปลย่ี นชอ่ื เป็น หนานเยว่ (Nan Yue) หรือหนานเหวียต (Nan Viet) ซ่ึงถูกรวมเขา้ เป็น สว่ นหนงึ่ ของจกั รวรรดจิ นี สมยั ราชวงศฮ์ น่ั (Han Dynasty) เมอื่ ๑๑๑ ปกี อ่ นครสิ ตศ์ กั ราช ในระยะที่เวียดนามตกอยู่ใต้อ�ำนาจของจีนประมาณ ๑,๐๐๐ ปี มีการลุกข้ึน ต่อต้านอ�ำนาจจีนหลายคร้ัง เช่น เร่ืองราวของสตรีสองพี่น้องสกุลจุง (Trung Sisters ประมาณ ค.ศ. ๑๒–๔๓) และคุณหญิงเจียว (Lady Thrieu ในช่วงคริสต์ศตวรรษ ท่ี ๓) แต่การต่อต้านก็ประสบความส�ำเร็จอยู่ช่ัวคราวเท่าน้ัน อย่างไรก็ตาม โง เกว่ียน (Ngo Quyen) ขุนพลของเวียดนาม สามารถเอาชนะกองทัพเรือจีนของราชวงศ์ฮ่ันใต้ ในสมัยห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร ได้ท่ีแม่น�้ำบัคดัง (Bach Dang) ใกล้อ่าวฮาลอง (Ha Long Bay) ในเวยี ดนามตอนเหนอื จึงสามารถปลดแอกจนี ไดใ้ น ค.ศ. ๙๓๙ หลงั ได้เอกราช เวียดนามมีชอื่ ใหม่วา่ ไดเหวียต (Dai Viet หรือ Great Viet) ก็พัฒนาระบบรัฐท่ีเข้มแข็งตามแบบอย่างวัฒนธรรมและความคิดทางการเมืองของ จีน และมีราชวงศ์ปกครองอย่างต่อเน่ืองสืบมา เวียดนามในสมัยราชวงศ์ มียุคทองคือ สมยั ราชวงศล์ ้ี (LyDynasty) และราชวงศเ์ จน่ิ (Tran Dynasty) ระหวา่ ง ค.ศ. ๑๐๐๐–๑๔๐๐ โดยเฉพาะในสมัยราชวงศ์เจิ่น ไดเหวียตสามารถต่อต้านการรุกรานของจีนสมัยราชวงศ์ 330

สาธารณรฐั สังคมนยิ มเวยี ดนาม หยวน (Yuan Dynasty) ไดถ้ ึง ๓ คร้ังในชว่ งคริสตศ์ ตวรรษที่ ๑๓ ขุนพลซ่ึงเป็นผนู้ �ำใน การตอ่ ต้านจนี ในครั้งนี้ คือ เจิน่ ฮุง ดา๋ ว (Tran Hung Dao) ในสมยั ราชวงศ์นี้ พระพทุ ธ- ศาสนาร่งุ เรืองมากและเป็นศาสนาประจำ� ชาติ ราชวงศ์โห่ (Ho Dynasty) ขึ้นมาปกครองเวียดนามในระยะส้ัน ๆ ระหว่าง ค.ศ. ๑๔๐๐–๑๔๐๗ หลังจากนั้น จนี สมัยราชวงศ์หมงิ (Ming Dynasty) ก็สง่ กองทัพ เข้ามายึดครองเวียดนาม เล เหล่ย (Le Loi) น�ำชาวเวียดนามก่อกบฏและท�ำสงคราม ต่อต้านจีนอยู่กว่า ๑๐ ปี จนได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาดใน ค.ศ. ๑๔๒๘ แล้วก็ต้ัง ราชวงศ์เล (Le Dynasty) ข้ึนปกครองเวียดนาม เป็นสมัยท่ีเวียดนามรุ่งเรืองสูงสุดใน ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ ๑๕ โดยเฉพาะในสมัยจักรพรรดิเล ท้ัญ ตง (Le Thanh Tong ครองราชย์ ค.ศ. ๑๔๖๐–๑๔๙๗) พัฒนาการส�ำคัญประการหนึ่งของเวียดนามภายหลังได้รับเอกราชจากจีน คือ เวียดนามขยายตัวจากเขตต้ังรกรากด้ังเดิมลงมาทางใต้ ชนชาติที่ได้รับผลกระทบ มากจากการขยายตัวของเวียดนามลงมาทางใต้ คือ จาม (Cham) ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษ ท่ี ๑๑ กองทัพเวียดนามยกมาทางทะเลเข้าโจมตีอาณาจักรจัมปา (Champa) ทางใต้ ถงึ ๒ ครัง้ แมว้ า่ ในชว่ งคริสต์ศตวรรษที่ ๑๔ เมื่อราชวงศ์เจนิ่ ของเวียดนามเสือ่ มอ�ำนาจ กษัตรยิ ท์ ี่เขม้ แข็งของจมั ปาองค์หน่งึ คือ แจ่ บ็อง งา (Che Bong Nga) สามารถโจมตี นครหลวงของเวียดนามคือทังล็อง (Thang-Long หรือฮานอยปัจจุบัน) ได้ถึง ๓ คร้ัง แต่ในช่วงคริสต์ศตวรรษต่อมา กษัตริย์ราชวงศ์เลก็เริ่มรุกรานจัมปาใหม่ และ ใน ค.ศ. ๑๔๗๑ กองทพั เวียดนามกย็ ดึ เมืองวชิ ยั (Vijaya) ราชธานขี องจัมปาได้ รวมท้งั ดนิ แดนสว่ นใหญข่ องอาณาจักรน้ี ซึง่ อยู่ในเขตภาคกลางของเวยี ดนามปจั จุบัน ชัยชนะของเวียดนามต่อชนชาติจามคร้ังนี้มิได้หมายถึงการสิ้นสุดของ อาณาจกั รจมั ปา เพราะยงั มกี ษตั รยิ จ์ ามทป่ี กครองดนิ แดนบางสว่ นอยจู่ นถงึ ครสิ ตศ์ ตวรรษ ท่ี ๑๘ รวมทั้งยังมีชนชาติจามส่วนหนึ่งหลงเหลืออยู่ในเวียดนามจนถึงปัจจุบัน จัมปามี ลกั ษณะเช่นเดียวกับอาณาจกั รโบราณอน่ื ๆ สว่ นมาก ทีม่ ิได้มศี ูนยอ์ ำ� นาจอยูท่ ่ีใดที่หนง่ึ เพยี งแห่งเดียว แต่เป็นเครอื ข่ายของชุมชนที่มคี วามสมั พนั ธ์ดา้ นชาติพันธุ์ ภาษา การค้า และการเมือง ความรเู้ กย่ี วกับทง้ั ดนิ แดนและประชากรในอาณาจักรจมั ปายังมีน้อยมาก 331

สารานุกรมประวัตศิ าสตร์ประเทศเพอ่ื นบา้ นในอาเซียน การที่เวียดนามขยายตัวลงมาทางใต้มิใช่เป็นเพียงการขยายอ�ำนาจควบคุม เท่านน้ั แตช่ าวเวียดนามยังคงเข้าไปต้งั ถ่นิ ฐานในดนิ แดนท่ยี ดึ มาจากชาวจามด้วย ระบบ การต้งั ถิน่ ฐานทเี่ รียกวา่ ดง่ เดยี่ น (don dien) เปน็ รูปแบบซ่ึงเวยี ดนามรบั มาจากจนี ด้วย การให้ทหารและชาวนาท่ีไม่มีท่ีดินไปหักร้างถางพงเพ่ือปลูกข้าว และจัดตั้งหมู่บ้านข้ึน หลงั จากน้นั ๓ ปี กน็ �ำทด่ี ินเหลา่ น้เี ขา้ มาอยูใ่ นระบบการปกครองของทางการ ที่ดนิ ส่วน ที่เหลือจากการจัดต้ังหมู่บ้านตกเป็นของรัฐ เม่ือมีการหักร้างถางพงและต้ังถิ่นฐาน ณ ท่ีใดที่หน่ึงแล้ว ก็จะรุกคืบหน้าเพ่ือขยายการตั้งถิ่นฐานออกไปอีก ด้วยวิธีการนี้ ชาวเวียดนามจึงขยายตัวลงมาทางใต้ แม้กษัตริย์ราชวงศ์เลทรงให้แจกจ่ายท่ีดินอย่างกว้างขวาง แต่ชาวนาจ�ำนวน มากก็ยังไม่มีท่ีดินท�ำกิน เพราะขุนนางข้าราชการและผู้น�ำทหารยังคงครอบครองท่ีดิน จ�ำนวนมาก ชัยชนะต่ออาณาจักรจัมปาใน ค.ศ. ๑๔๗๑ ท�ำให้ปัญหานี้บรรเทาลงบ้าง เม่ือชาวนาซ่ึงอพยพลงใต้ตามเส้นทางชายฝั่งทะเลเข้ามาท�ำกินในเขตท่ีดินร่วมซ่ึงเป็น ของรฐั แต่กระน้ัน ทีด่ ินใหมส่ ่วนใหญก่ จ็ ัดสรรไว้ส�ำหรับข้าราชการ และแมเ้ วียดนามจะ ม่ังคั่งและเข้มแข็งมากข้ึน แต่โครงสร้างทางสังคมก็ยังคงเหมือนเดิม ที่ดินจึงเป็นปัญหา ในเวียดนามตลอดมา ปัญหาอีกประการหนึ่งท่ีตามมากับการขยายตัวลงมาทางใต้ คือ การขาด ความเป็นอันหน่ึงอันเดียวกันทางการเมือง “การเดินทางลงใต้” (Nam Tien–March to the South) ก่อใหเ้ กิดกลุ่มอ�ำนาจข้นึ หลายกลุ่มในเวียดนาม  เมือ่ ถึงคริสตศ์ ตวรรษ ที่ ๑๖ ความขัดแย้งและสงครามกลางเมืองท�ำให้ตระกูลจิ่ญ (Trinh) ขึ้นมามีอ�ำนาจ ในเวียดนามตอนเหนือ (แม้ว่าราชวงศ์เลยังคงด�ำรงอยู่) ส่วนทางใต้ตระกูลงเหวียน (Nguyen) ก็เข้มแข็งขึ้นเรื่อย ๆ จนใน ค.ศ. ๑๖๘๗ ก็สามารถก่อต้ังนครหลวงข้ึนท่ีเว้ (Hue)  เวยี ดนามถกู แบง่ เปน็ ๒ สว่ น โดยมกี ำ� แพงกนั้ จากเทอื กเขาอนั นมั ไปจนถงึ ฝง่ั ทะเล ท่ีด่งเฮ้ย (Dong Hoi ไม่ไกลจากเส้นขนานท่ี ๑๗ ซึ่งแบ่งเวียดนามตามข้อตกลงเจนีวา ค.ศ. ๑๙๕๔) ตระกูลงเหวียนสร้างก�ำแพงเพ่ือป้องกันการรุกรานจากพวกจ่ิญ ก�ำแพงน้ี สรา้ งเสรจ็ ใน ค.ศ. ๑๖๓๑ มคี วามสูง ๖ เมตร และยาว ๑๘ กิโลเมตร 332

สาธารณรฐั สังคมนิยมเวยี ดนาม ในต้นคริสต์ศตวรรษท่ี ๑๗ อ�ำนาจของตระกูลงเหวียนแผ่ขยายอย่างรวดเร็ว ครอบคลุมดินดอนสามเหล่ียมปากแม่น้�ำโขงซ่ึงเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรกัมพูชา ใน ค.ศ. ๑๖๒๐ กษตั รยิ ก์ มั พชู า คอื พระเจา้ ไชยเชษฐาที่ ๒ (Chey Chettha II ครองราชย์ ค.ศ. ๑๖๑๘-๑๖๒๘) ทรงอภเิ ษกสมรสกบั ธดิ าของ งเหวยี น ฟกุ งเหวยี น (Nguyen Phuc Nguyen) ผ้นู ำ� คนสำ� คญั คนหนงึ่ ของตระกูลงเหวียน สามปตี อ่ มาพระเจ้าไชยเชษฐาท่ี ๒ ก็ทรงอนญุ าตให้ชาวเวียดนามตงั้ ดา่ นศุลกากรขึ้นทเ่ี มอื งไพรนคร [(Prey Nokor) ใกล้ ๆ กบั โฮจมิ นิ หซ์ ติ ขี องเวยี ดนามปจั จบุ นั ] เมอ่ื สนิ้ ครสิ ตศ์ ตวรรษที่ ๑๗ ดนิ แดนสว่ นนขี้ องเขต สามเหลี่ยมปากแม่น้�ำโขงก็ตกอยู่ใต้การปกครองของเวียดนาม ท�ำให้กัมพูชาไม่สามารถ ออกสทู่ ะเลทางด้านน้ไี ด้อีกต่อไป ใน ค.ศ. ๑๗๒๐ เวยี ดนามมชี ยั ชนะเดด็ ขาดเหนอื อาณาจกั รจมั ปา ทำ� ใหก้ ษตั รยิ ์ จัมปาองค์สุดท้ายต้องหนีไปกัมพูชาพร้อมกับชาวจามจ�ำนวนมาก อ�ำนาจของเวียดนาม มน่ั คงเขม้ แขง็ ยง่ิ ขน้ึ สามารถขยายตวั รกุ คบื หนา้ มาในเขตดนิ ดอนสามเหลยี่ มปากแมน่ ำ�้ โขง ได้อยา่ งต่อเน่ืองโดยไมม่ ีการสู้รบรนุ แรงกบั ชาวกัมพชู า  อกี ๑ ศตวรรษต่อมา เวียดนาม สามารถครอบครองดินแดนอันอุดมสมบูรณ์ของเขตดินดอนสามเหล่ียมปากแม่น้�ำโขง ส่วนที่เป็นเวียดนามตอนใต้ปัจจุบันไว้ได้ท้ังหมด การขยายอ�ำนาจของเวียดนามลงมา ทางใตด้ ำ� เนนิ ไปอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ผนู้ ำ� ตระกลู งเหวยี นสง่ เสรมิ ใหท้ หารทป่ี ลดประจำ� การแลว้ เขา้ ไปต้ังรกรากอยู่ในเขตแดนกมั พชู า เม่อื ถึงกลางครสิ ตศ์ ตวรรษที่ ๑๘ ดนิ แดนกัมพูชา ทัง้ หมดในเวียดนามตอนใตก้ ็เป็นสว่ นหนึ่งของอาณาจกั รงเหวยี น ขณะน้ัน บริเวณดินดอนสามเหล่ียมปากแม่น�้ำโขงยังเป็นดินแดนท่ีเหมาะแก่ การบุกเบิกอย่างมาก มีที่ดินอยู่มากเมื่อเทียบกับอาณาบริเวณท่ีมีประชากรหนาแน่น อยา่ งเขตดนิ ดอนสามเหลยี่ มปากแมน่ �้ำแดง และมีสภาพสังคมท่มี ีลักษณะ “เปดิ ” ด้วย เชน่ หมบู่ า้ นยงั ไมม่ กี �ำแพงหรอื รวั้ ตน้ ไมล้ อ้ มรอบ และประชากรกม็ คี วามหลากหลายดา้ น ชาตพิ นั ธ์ุ นอกจากชาวเวยี ดนาม จาม และกมั พชู าแลว้ ยงั มชี าวจนี สว่ นหนง่ึ ซง่ึ เปน็ กลมุ่ ทย่ี งั จงรักภักดีต่อราชวงศ์หมิงของจีนที่ถูกโค่นล้มไปแล้ว เดินทางมาโดยเรือส�ำเภา ๕๐ ล�ำ ใน ค.ศ. ๑๖๗๙ ชาวจีนเหล่านี้เข้ามาประกอบอาชีพท�ำนาและค้าขาย ผู้น�ำงเหวียน 333

สารานกุ รมประวตั ิศาสตรป์ ระเทศเพ่อื นบ้านในอาเซยี น คอ่ ย ๆ อาศยั คนจนี เหลา่ นก้ี ดดนั ชาวกมั พชู าออกไปจากดนิ ดอนสามเหลย่ี มปากแมน่ ำ้� โขง เกือบหมดสนิ้ เม่อื ถงึ กลางคริสต์ศตวรรษท่ี ๑๘ การขยายตวั ของเวยี ดนามลงใตย้ งั นำ� ไปสกู่ ารเผชญิ หนา้ และแขง่ ขนั ทางอำ� นาจ กับไทยท่ีพยายามเข้าไปมีอิทธิพลเหนืออาณาจักรกัมพูชามาต้ังแต่ช่วงคริสต์ศตวรรษ ที่ ๑๕–๑๖ ขณะน้ันสงครามกับพม่าท�ำให้ไทยไม่สามารถมุ่งความสนใจมาท่ีกัมพูชา ได้อย่างเต็มท่ี แต่หลังจากไทยกอบกู้เอกราชจากพม่าได้อย่างรวดเร็วภายหลังการเสีย กรงุ ศรอี ยธุ ยาครัง้ ที่ ๒ ใน ค.ศ. ๑๗๖๗ กห็ ันกลับมาร้อื ฟ้ืนอ�ำนาจท่ีเคยมีเหนอื กมั พชู า แต่การพยายามขยายอ�ำนาจของไทยครั้งน้ีท�ำให้ต้องเผชิญกับเวียดนามในช่วงเวลา ไม่นานนัก เพราะเวียดนามก็เข้าไปมีอิทธิพลเหนือราชส�ำนักกัมพูชาด้วยเช่นกัน ตั้งแต่ ค.ศ. ๑๗๗๔ เกิดกบฏไตเซิน (Tayson Rebellion) ในเวียดนาม พวกกบฏซ่ึงมีพ่ีน้อง ๓ คนเป็นผ้นู ำ� สามารถเอาชนะตระกูลจิญ่ ในเวยี ดนามตอนเหนือและตระกูลงเหวยี นใน เวยี ดนามตอนใต้ จงึ ทำ� ใหเ้ วยี ดนามรวมกนั เปน็ อนั หนง่ึ อนั เดยี วกนั ได้ และกอ่ ตง้ั ราชวงศใ์ หม่ ข้ึน แต่ราชวงศ์นี้ก็อยู่ได้ไม่นาน เชื้อสายของพวกงเหวียนซ่ึงมี งเหวียน ฟุก อ๊ัญ (Nguyen Phuc Anh คนไทยรู้จักในนาม องค์เชียงสือ) เป็นผู้น�ำ กลับมาปราบปราม พวกไตเซิน งเหวยี น ฟกุ อ๊ัญก่อต้ังราชวงศ์งเหวียนขน้ึ ปกครองเวียดนามใน ค.ศ. ๑๘๐๒ มีราชธานที เี่ วแ้ ละข้ึนครองราชยท์ รงพระนามว่า จกั รพรรดซิ าลอง (Gia-long ครองราชย์ ค.ศ. ๑๘๐๒-๑๘๒๐) ในระหว่างการต่อสู้กับพวกไตเซินน้ัน งเหวียน ฟุก อ๊ัญได้รับความช่วยเหลือ จากบาทหลวงคาทอลิกชาวฝร่ังเศสช่ือ ปีโญ เดอ เบแอน (Pigneau de Béhaine) ผู้น�ำชาวคริสต์ในโคชินไชนา (Cochinchina) ซึ่งเป็นดินแดนตอนใต้ของเวียดนาม เบแอนขอความชว่ ยเหลอื จากฝรงั่ เศส แตไ่ มเ่ ปน็ ผล เพราะในฝรงั่ เศสเกดิ การปฏวิ ตั ใิ หญใ่ น ค.ศ. ๑๗๘๙ เสยี กอ่ น  หลงั จากนนั้ ฝรง่ั เศสกต็ อ้ งเขา้ ไปพวั พนั กบั สงครามเปน็ เวลาหลายปี เมื่องเหวียน ฟุก อั๊ญได้ข้ึนครองราชย์จึงทรงเป็นมิตรที่ดีกับฝรั่งเศสและให้คณะ มชิ ชันนารเี ผยแผศ่ าสนาได้ 334

สาธารณรฐั สังคมนิยมเวียดนาม โบราณสถานอาณาจักรจัมปา ทีเ่ มอื งหม่เี ซิน ภายหลังสงครามนโปเลียน (Napoleonic Wars) ใน ค.ศ. ๑๘๑๕ ฝรั่งเศส ท่ถี กู องั กฤษกีดกนั ออกไปจากเอเชยี ต้งั แต่ครสิ ต์ศตวรรษท่ี ๑๘ กพ็ ยายามกลบั มารื้อฟ้ืน ความสัมพันธ์กับเวียดนามใหม่เพ่ือฟื้นฟูอิทธิพลฝร่ังเศสในเอเชีย แต่ฝร่ังเศสก็ล้มเหลว มาตลอด โดยเฉพาะในเวียดนาม กษัตริย์ท่ีครองราชย์สืบต่อจากจักรพรรดิซาลอง คือ จักรพรรดิมิญ หม่าง (Minh Mang ครองราชย์ ค.ศ. ๑๘๒๐–๑๘๔๑) จักรพรรดิ เทียว จิ (Thieu Tri ครองราชย์ ค.ศ. ๑๘๔๑–๑๘๔๗) และจกั รพรรดติ อื ด๊ึก (Tu Duc ครองราชย์ ค.ศ. ๑๘๔๘–๑๘๘๓) ทรงนยิ มลทั ธขิ งจอื่ หรือขงจอ๊ื (Confucianism) และ ตอ่ ต้านการเผยแผค่ ริสต์ศาสนาอยา่ งรนุ แรง ทรงต่อตา้ นท้งั บาทหลวงและชาวเวยี ดนาม ทเ่ี ปลย่ี นไปนบั ถอื ครสิ ตศ์ าสนา การกดขช่ี าวคาทอลกิ ในเวยี ดนามเปน็ สาเหตแุ ละขอ้ อา้ ง ส�ำคญั ของฝร่ังเศสในการใช้ก�ำลงั ตอบโต้ การทเ่ี วยี ดนามตอ่ ตา้ นครสิ ตศ์ าสนาเนอ่ื งมาจากความแตกตา่ งของพนื้ ฐานความ เชื่อที่คริสต์ศาสนายึดมั่นในความส�ำคัญของปัจเจกบุคคล ในขณะท่ีลัทธิขงจ่ือให้ความ ส�ำคัญต่อเสถียรภาพทางสังคม ผู้น�ำเวียดนามเกรงว่าหากชาวเวียดนามตกไปอยู่ภายใต้ 335

สารานุกรมประวตั ศิ าสตร์ประเทศเพ่ือนบ้านในอาเซียน จกั รพรรดิมิญ หมา่ ง จักรพรรดิตือ ด๊กึ อทิ ธพิ ลของครสิ ตศ์ าสนา จะเปน็ การยากทจ่ี ะควบคมุ ประชากรทส่ี ว่ นใหญเ่ ปน็ ชาวนา และ เช่ือว่าการเผยแผ่คริสต์ศาสนาจะมีผลกระทบต่อความเป็นปึกแผ่นของสังคม เจ้าหน้าที่ เวียดนามจงึ จบั กมุ คมุ ขงั ชาวเวียดนามท่เี ป็นคาทอลิกและเนรเทศมชิ ชันนารฝี รั่งเศส หลังสมัยจักรพรรดิซาลอง บาทหลวงต่างชาติในเวียดนามประสบชะตากรรม รนุ แรงหลายคน ใน ค.ศ. ๑๘๓๓ สงั ฆนายก (bishop) ชาวฝรงั่ เศสคนหนง่ึ ถกู ประหารชวี ติ และใน  ค.ศ. ๑๘๓๕ บาทหลวงฝรั่งเศสอีกคนหน่ึงชื่อ มาร์ชอง (Marchand) ก็ถูกประหารชีวิตจากการถูกกล่าวหาว่าเข้าไปมีส่วนร่วมในการกบฏ หลังจากน้ัน ก็มีการสั่งประหารชีวิตและเนรเทศมิชชันนารีและผู้ที่เป็นคาทอลิกอีกจ�ำนวนมาก ในชว่ ง ค.ศ. ๑๘๓๓–๑๘๔๐ มีบาทหลวงตา่ งชาติอยา่ งนอ้ ย ๑๐ คน (ชาวฝร่งั เศส ๗ คน และสเปน ๓ คน) ถูกประหารชีวิต คณะบาทหลวงและชุมชนคาทอลิกในเวียดนาม จึงรอ้ งเรียนเรอื่ งการกดข่ีทางศาสนาไปยงั รฐั บาลฝร่งั เศส ขณะน้ันฝร่ังเศสไม่เต็มใจและไม่อยู่ในฐานะที่จะให้การช่วยเหลือใด ๆ แก่ มิชชันนารีได้ ฝร่ังเศสแทบจะไม่เหลืออิทธิพลและผลประโยชน์ด้านการค้าและการทูต ในดินแดนตะวันออกไกลอีกแล้ว อังกฤษมีฐานอ�ำนาจท้ังทางเรือและการพาณิชย์อยู่ใน 336

สาธารณรัฐสงั คมนิยมเวยี ดนาม อินเดียที่เข้มแข็งจนยากที่ชาติใดจะส่ันคลอนได้ อย่างไรก็ดี มีปัจจัยหลัก ๒ ประการ ท่ีท�ำให้สถานการณ์นี้เปลี่ยนไป คือ การฟื้นฟูศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ซึ่งมี ศูนย์กลางอยู่ในประเทศฝร่ังเศส ก่อนจะแผ่ขยายออกไปทั่ววงการคาทอลิกในยุโรป ภายหลังการส้ินอำ� นาจของจกั รพรรดินโปเลียนท่ี ๑ (Napoleon I) อกี ประการหน่ึง คือ จกั รพรรดนิ โปเลยี นที่ ๓ (Napoleon III) ขนึ้ มามอี ำ� นาจในฝรง่ั เศสในกลางครสิ ตศ์ ตวรรษ ท่ี ๑๙ ทรงปรารถนาอย่างแรงกล้าท่ีจะฟื้นฟูสถานะและเกียรติภูมิของฝรั่งเศสใน ต่างประเทศ ปจั จัยท้ัง ๒ ประการน้มี ีส่วนสำ� คญั ในการผลักดันจักรวรรดินยิ มฝรง่ั เศสใน ตะวันออกไกลตง้ั แตช่ ่วงกลางครสิ ต์ศตวรรษที่ ๑๙ เป็นตน้ มา ขณะนน้ั เวยี ดนามอยใู่ นสมยั ของจกั รพรรดเิ ทยี ว จิ ซง่ึ ยงั คงต่อตา้ นการเผยแผ่ ครสิ ตศ์ าสนา พระองคส์ งั่ จบั กมุ มชิ ชนั นารจี ำ� นวนหนง่ึ ตดั สนิ จำ� คกุ หรอื ตดั สนิ ประหารชวี ติ ด้วยข้อกล่าวหาว่าปลุกปั่นให้เกิดการปฏิวัติ แต่การลงโทษประหารจริง ๆ มีน้อยมาก เพราะราชสำ� นกั เวห้ วนั่ เกรงวา่ จะตอ้ งปะทะกบั ฝรง่ั เศส แตไ่ มว่ า่ จะถกู กดขต่ี อ่ ตา้ นอยา่ งไร มิชชันนารีคาทอลิกก็ยังคงเข้าไปในอันนัม (Annam ภาคกลางของเวียดนาม) และ ตังเกยี๋ (ภาคเหนือของเวยี ดนาม) อนั เปน็ ดนิ แดนเวียดนามท่ีประชาชนไมน่ ยิ มจกั รพรรดิ เทียว จิ เท่าใดนัก (ราชวงศง์ เหวยี นมฐี านอ�ำนาจอย่ทู างใต้ของเวยี ดนาม) พวกมิชชันนารี จึงหาท่ีหลบซ่อนในดินแดนส่วนนี้ได้ไม่ยากนัก จักรพรรดิตือ ดึ๊กที่สืบราชสมบัติต่อมา ก็ยังทรงมีนโยบายต่อต้านคาทอลิกดังเดิม มิชชันนารีพยายามกดดันให้รัฐบาลฝรั่งเศส เขา้ มาแทรกแซงเพอื่ ชว่ ยเหลอื มากขนึ้ ทกุ ที ในชว่ งนมี้ ชี าวคาทอลกิ ในเวยี ดนามเปน็ จำ� นวน หลายหมื่นคนแล้ว จักรพรรดินโปเลียนที่ ๓ ทรงมีความปรารถนาแรงกล้าท่ีจะส่งเสริมบทบาท ของฝร่ังเศสในต่างประเทศและยังทรงต้องใช้คริสตจักรโรมันคาทอลิกในฝรั่งเศสเป็น ฐานสนับสนุนทางการเมืองในช่วงนั้นด้วย พระองค์จึงพร้อมและเต็มใจท่ีจะสนองตอบ การรอ้ งขอความชว่ ยเหลอื ของมชิ ชนั นารที งั้ ในจนี และเวยี ดนาม ดงั นนั้ เมอื่ คณะมชิ ชนั นารี ในดินแดนตะวันออกไกลร่วมกันส่งค�ำร้องขอให้ฝรั่งเศสส่งเรือรบ ๓–๔ ล�ำมาคุ้มครอง คณะมิชชันนารีจากการกดข่ีปราบปรามทางศาสนาซ่ึงก�ำลังด�ำเนินอยู่อย่างกว้างขวาง 337

สารานกุ รมประวตั ศิ าสตร์ประเทศเพื่อนบา้ นในอาเซียน เพ่ือธ�ำรงไว้ซ่ึงเกียรติภูมิของฝรั่งเศสและผลประโยชน์ของคณะมิชชันนารี ฝร่ังเศส จงึ เรมิ่ ปฏบิ ตั กิ ารครง้ั สำ� คญั ดว้ ยการสง่ กองกำ� ลงั ขน้ึ ฝง่ั โจมตแี ละยดึ เมอื งตรู าน (Tourane หรือดานังปัจจุบัน) ได้ในเดือนกันยายน ค.ศ. ๑๘๕๘ จากน้ันฝรั่งเศสยึดไซ่ง่อนได้ใน เดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. ๑๘๕๙  อีก ๓ ปตี ่อมา ฝรัง่ เศสกส็ ามารถยึดดินแดนและกดดันจน ราชส�ำนักเวียดนามยอมท�ำสนธิสัญญายก ๓ จังหวัดในเขตดินดอนสามเหล่ียม ปากแมน่ ำ้� โขง คอื เบยี นหวา่ (Bien Hoa) ซาดญิ่ (Gia Dinh) และดญิ่ เตอื ง (Dinh Tuong) ใหแ้ กฝ่ รง่ั เศส ตอ่ มาใน ค.ศ. ๑๘๖๓ ฝรง่ั เศสกไ็ ดก้ มั พชู าเปน็ รฐั ในอารกั ขา (protectorate) การขยายอำ� นาจของฝร่ังเศสมไิ ดห้ ยดุ ยงั้ อยเู่ พียงนน้ั ใน ค.ศ. ๑๘๖๗ ฝรั่งเศส ยึดดนิ แดนอกี ๓ จงั หวดั ทเ่ี หลอื ของเวยี ดนามตอนใต้ คือ เจาดก๊ (Chau Doc) ฮา่ เตียน (Ha Tien) และหวิญลอ็ ง (Vinh Long) ไวไ้ ดท้ งั้ หมด และจดั ต้ังดนิ แดนนี้เปน็ อาณานิคม เรยี กว่า โคชินไชนา ฝร่ังเศสยึดเวยี ดนามได้ทัง้ หมดใน ค.ศ. ๑๘๘๔ และรวมดนิ แดนท่ี ยึดไดท้ ัง้ หมดจัดตงั้ อนิ โดจนี ของฝร่ังเศส (French Indochina) ขึ้นเมื่อวนั ท่ี ๑๗ ตุลาคม ค.ศ. ๑๘๘๗ ดนิ แดนสว่ นตา่ ง ๆ มสี ถานะตา่ งกนั คอื โคชนิ ไชนาหรอื ภาคใตข้ องเวยี ดนาม มีสถานะเป็นอาณานคิ ม (colony) ดินแดนอกี ๒ ภาคของประเทศ คือ ภาคกลางหรือ อันนัมและภาคเหนือหรือตังเกี๋ย และกัมพชู ามฐี านะเปน็ รัฐในอารกั ขา การขยายอำ� นาจ ของฝรั่งเศสช่วงสุดท้ายต้ังแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ ๑๙ จนถึงต้นคริสต์ศตวรรษท่ี ๒๐ ฝรง่ั เศสสามารถผนวกดนิ แดนทง้ั หมดของลาวและกมั พชู า (สยามยงั ปกครองพระตะบอง เสียมราฐ และศรีโสภณของกัมพูชาจนถึง ค.ศ. ๑๙๐๗) ให้เป็นส่วนหน่ึงของอินโดจีน ของฝรั่งเศส ดงั นั้น เมอ่ื ถึงช่วงนีฝ้ ร่ังเศสกไ็ ดค้ รอบครองอนิ โดจนี ท้งั หมด การปกครองและบริหารอินโดจีนอยู่ในความรับผิดชอบของข้าหลวงใหญ่ (Governor-General) ทเ่ี ปน็ พลเรอื น แตอ่ ยภู่ ายใตอ้ ำ� นาจควบคมุ ของรฐั มนตรกี ระทรวง ทหารเรือและอาณานคิ ม (Ministère de la marine et des colonies) ในกรงุ ปารีส ขา้ หลวงใหญม่ ผี ชู้ ว่ ยประกอบดว้ ย ผบู้ ญั ชาการกองกำ� ลงั ภาคพน้ื ดนิ ผบู้ ญั ชาการทหารเรอื เลขาธกิ าร หวั หน้าฝ่ายตุลาการ และผอู้ �ำนวยการด้านศลุ กากรและสรรพสามติ รวมทั้ง มีสภาท่ปี รึกษาซง่ึ ไม่มีอำ� นาจควบคมุ ใด ๆ เหนอื ขา้ หลวงใหญ่ 338

สาธารณรัฐสังคมนยิ มเวยี ดนาม ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ ๑๙ ถึงต้นคริสต์ศตวรรษท่ี ๒๐ ฝรั่งเศสจัดการ ปกครองให้อินโดจีนของฝรั่งเศสมีความเป็นอันหน่ึงอันเดียวกันท้ังด้านการบริหาร และด้านการเงิน มีการบริหารกิจการของอาณานิคม เช่น ศุลกากร ไปรษณีย์ ป่าไม้ การพาณิชย์แบบรวมศูนย์และจัดระบบงบประมาณรวมจากรายได้ที่จัดเก็บจาก ภาษที างออ้ ม (ภาษศี ลุ กากร อากรฝิ่น อากรสุรา และอน่ื ๆ) สว่ นรายไดจ้ ากภาษที างตรง คอื ภาษที ่ีดินและภาษีรายหวั (poll tax) ก�ำหนดใหอ้ ยใู่ นสว่ นงบประมาณของภมู ิภาค ต่าง ๆ นอกจากนั้น ยังมีการก่อต้ังสถาบันวิชาการขึ้น คือ กิจการภูมิศาสตร์อินโดจีน (Indochina Geographical Service) และส�ำนักฝรั่งเศสแห่งปลายบุรพาทิศ (École française d’Extrême-Orient) เพ่ือศึกษาค้นคว้าเร่ืองราวของอินโดจีน ในดา้ นตา่ ง ๆ ใน ค.ศ. ๑๙๑๑–๑๙๑๔ มกี ารปฏิรปู ระบบยุตธิ รรมและพัฒนาการศึกษาของ ประชาชน  ในชว่ งนแี้ มจ้ ะขยายจำ� นวนผแู้ ทนในสภาทปี่ รกึ ษาในภมู ภิ าคตา่ ง ๆ แตแ่ นวโนม้ โดยรวมกลับเป็นการปกครองโดยตรงมากข้ึน เพราะรัฐบาลฝร่ังเศสต้องการลดภาระ ค่าใช้จ่ายในการปกครอง และหารายได้จากท้องถ่ินมาใช้ในการปรับปรุงกิจการต่าง ๆ ใหด้ ขี นึ้ พรอ้ มกบั สง่ เสรมิ ใหช้ าวยโุ รปเขา้ ไปลงทนุ ในอนิ โดจนี โดยเฉพาะในเวยี ดนาม เชน่ ในกิจการเหมืองแร่และยางพาราโดยอาศัยเงินทุนจากธนาคารอินโดจีน (Banque de l’Indochine) เปน็ สว่ นใหญ่ เงนิ ทนุ จากภาคเอกชนทหี่ ลง่ั ไหลเขา้ ไปในชว่ ง ค.ศ. ๑๙๒๔– ๑๙๓๒ มีจ�ำนวนถึง ๓,๐๐๐ ล้านฟรังก์  เงินทุนเหล่านี้ประกอบกับเงินกู้ของภาครัฐ เพ่ือน�ำไปใช้สร้างทางรถไฟและถนน มีส่วนท�ำให้เศรษฐกิจขยายตัวอย่างรวดเร็ว กิจกรรมทางเศรษฐกิจส�ำคัญคือการส่งออกวัตถุดิบและการน�ำเข้าสินค้าส�ำเร็จรูป จากประเทศฝร่ังเศส สินค้าท่ีมีการส่งออกมากที่สุดคือ ข้าว ผลจากการสร้าง คันดินป้องกันน�้ำท่วมในตังเกี๋ยและการขุดคลองชลประทานในโคชินไชนา ท�ำให้ สามารถขยายพ้ืนท่ีปลูกข้าวออกไปเป็น ๒๕ ล้านไร่ใน ค.ศ. ๑๙๑๓ และเพ่ิมเป็น ๓๕ ลา้ นไร่ใน ค.ศ. ๑๙๓๘ การทฝี่ รงั่ เศสแบง่ เวยี ดนามออกเปน็ ๓ สว่ นนน้ั เพราะตอ้ งการใหเ้ วยี ดนามแบง่ แยกกนั เพือ่ ปกครองไดง้ า่ ยขนึ้ (divide and rule) ในเอกสารราชการฝร่ังเศสแทบจะไม่ 339

สารานกุ รมประวัติศาสตรป์ ระเทศเพื่อนบ้านในอาเซยี น ใช้ค�ำว่า “เวยี ดนาม” (Vietnam) หรือ “ชาวเวยี ดนาม” (Vietnamese) เลย แตเ่ รียก เป็นสว่ น ๆ วา่ ตงั เก๋ยี อันนมั และโคชนิ ไชนา ฝร่งั เศสเรียกชาวเวยี ดนามว่า “อนั นามติ ” (Annamite) แทนที่จะเรียกว่า “ชาวเวียดนาม” ความไม่เป็นเอกภาพของเวียดนาม เห็นได้จากการท่ีมีชาวเวียดนามจ�ำนวนไม่น้อยร่วมมือกับฝร่ังเศส เช่น พวกท่ีเป็นล่าม ชาวเวียดนามที่เป็นคาทอลิก คนพวกนี้เป็นก�ำลังหลักในกองก�ำลังก่ึงทหารท่ีจัดตั้งขึ้นใน ช่วงแรก นอกจากนี้ ยังมีขุนนางข้าราชการที่เป็นเจ้าของที่ดินและทรัพย์สินซ่ึงต้องการ ให้ฝร่ังเศสคุ้มครองฐานะความมั่งค่ังของตน คนเหล่าน้ีเรียกว่า “กอลาโบราเตอร์” (collaborateurs) ท�ำใหก้ ารปกครองของฝร่ังเศสง่ายขึน้ พวกที่ให้ความร่วมมือกับฝรั่งเศสส่วนมากไม่มีความรู้หรือประสบการณ์ ในด้านการปกครองมาก่อน ส่วนใหญ่ได้แก่ ล่ามและเจ้าหน้าที่ระดับล่างซึ่งท�ำหน้าท่ี เสมียนและพนักงานในระบอบปกครองอาณานิคม ท�ำให้ฝร่ังเศสต้องเข้ามาปกครอง โดยตรงมากข้ึน โดยเฉพาะเมื่อไม่มีขุนนางในระบอบเดิมของเวียดนามที่สามารถ ตีความเพื่อบังคับใช้ประมวลกฎหมายของเวียดนามได้ เจ้าหน้าที่ฝร่ังเศสก็ไม่สามารถ ด�ำเนินการในกิจการท่ีซับซ้อน เช่น การอ�ำนวยความยุติธรรม การเก็บภาษี การศึกษา ดงั นน้ั ฝรงั่ เศสจงึ เลกิ ใชร้ ะบบกฎหมายของเวยี ดนาม แลว้ นำ� ระบบของฝรงั่ เศสมาใชแ้ ทน ชาวฝรง่ั เศสกเ็ ขา้ มาเกย่ี วขอ้ งโดยตรงกบั กจิ การของทอ้ งถน่ิ และเขา้ ไปทำ� หนา้ ทใี่ นตำ� แหนง่ ต่าง ๆ เพิม่ ขึน้ และเมอ่ื มีการใชโ้ ทรเลขชว่ ยในการตดิ ต่อสอ่ื สาร การด�ำเนินงานในเรอ่ื ง ต่าง ๆ ก็มกี ารรวบอำ� นาจเข้าส่ศู ูนยก์ ลางมากขนึ้ ดว้ ย การทำ� ลายความเปน็ อนั หนง่ึ อนั เดยี วกนั ของเวยี ดนามทำ� ใหเ้ วยี ดนามสว่ นตา่ ง ๆ แตกต่างกันมากขึ้น  ฮานอยและเว้ยังคงเป็นรากฐานของวัฒนธรรมดั้งเดิม โดยเฉพาะ เมืองเว้ อันเป็นที่ตั้งของราชส�ำนักนั้น ถือว่าเป็น “เวียดนามจารีต” รวมทั้งอันนัม กย็ งั เปน็ เขตทยี่ ดึ มน่ั ในขนบธรรมเนยี มดง้ั เดมิ มากทสี่ ดุ ในขณะทฮี่ านอยเปน็ ทงั้ ศนู ยก์ ลาง การปกครองและการศึกษา ส่วนโคชินไชนาซ่ึงเป็นเขตท่ีตั้งถ่ินฐานใหม่ได้รับอิทธิพล จากฝรงั่ เศสมากทส่ี ดุ โดยเฉพาะเมอื งไซง่ อ่ นในโคชนิ ไชนาทฝ่ี รงั่ เศสผนวกเปน็ อาณานคิ ม ตง้ั แตแ่ รกเรมิ่ ได้รบั การพัฒนาไปจนคล้ายเมอื งชายทะเลทางตอนใต้ของฝรง่ั เศส 340

สาธารณรฐั สงั คมนยิ มเวียดนาม ระบอบปกครองอาณานิคมยังได้ท�ำลายรากฐานท้ังทางสถาบันสังคมและ เศรษฐกิจท่ีเคยช่วยยึดเหน่ียวสังคมเวียดนามและช่วยผ่อนคลายผลกระทบจากความ เหล่ือมล�้ำเอารัดเอาเปรยี บทมี่ ีอยู่ เช่น การมที ี่ดินชมุ ชน (communal land) ในหมบู่ ้าน ท�ำให้คนในหมู่บ้านท่ีไม่มีท่ีดินท�ำกินสามารถใช้ประโยชน์จากที่ดินชุมชนตามที่คณะ กรรมการหมบู่ า้ นกำ� หนด เพื่อยกระดบั ฐานะของตนเอง จากนนั้ ก็จะหมุนเวียนไปใหค้ น อน่ื ทมี่ ปี ญั หาแบบเดยี วกนั ไดใ้ ชป้ ระโยชนต์ อ่ ไป วฒั นธรรมและโครงสรา้ งดงั้ เดมิ ของสงั คม หมบู่ า้ น โดยเฉพาะความเปน็ อสิ ระของหมบู่ า้ น (ในสมยั จารตี มคี ำ� กลา่ ววา่ “กฎหมายของ จักรพรรดิหยุดอยู่ท่ีประตูเข้าหมู่บ้าน”) หมดสิ้นไป ฝร่ังเศสน�ำระบบการเลือกตั้งคณะ กรรมการหมบู่ า้ นเขา้ มาแทนทร่ี ะบบการจดั ตง้ั แบบเดมิ ทอี่ าศยั ระบบอาวโุ สเปน็ หลกั และ จดั ทำ� ทะเบยี นคนเกดิ และคนตายทเี่ รยี กวา่ “เอตาซวี ลี ” (état civil) อยา่ งสมำ่� เสมอ ทำ� ให้ สามารถเกบ็ ภาษีรายหวั ไดอ้ ยา่ งท่ัวถงึ มากกวา่ เดมิ ระบบทุนนิยมท่ีเข้ามามีผลให้ระบบการผลิตเพ่ือยังชีพเปลี่ยนไปเป็นการผลิต เพ่ือการค้า ชาวนาและเกษตรกรถูกดึงเข้าไปผูกพันกับกลไกและความไม่แน่นอนของ ระบบตลาดโดยปราศจากหลักประกันการยังชีพท่ีเคยมีอยู่ในโครงสร้างสังคมหมู่บ้าน แบบเดมิ การขยายพื้นทปี่ ลูกขา้ วในเวียดนามตอนใตอ้ ยา่ งกว้างขวาง ท�ำให้ผู้ท่ีไมม่ ที ด่ี ิน ท�ำกินอพยพเข้ามาในดินแดนส่วนน้ีเป็นจ�ำนวนมาก  อย่างไรก็ตาม การถือครองท่ีดิน ขนาดใหญ่อยู่ในมือคนจ�ำนวนน้อย พวกนี้รวมกับผู้ประกอบธุรกิจและข้าราชการ ระดับสูงในระบอบปกครองอาณานิคมกลายเป็น “ชนช้ันน�ำที่เป็นชาวพ้ืนเมือง” ซ่ึงใน ค.ศ. ๑๙๓๗ มรี วมกนั ไมเ่ กนิ ๑๐,๕๐๐ ครอบครวั หรอื รอ้ ยละ ๐.๕ ของประชากรทงั้ หมด แม้ว่าในแง่ของถ่ินที่อยู่ โลกทัศน์ และแบบแผนการด�ำรงชีวิต คนพวกนี้จัดว่าเป็น “ชาวเมือง” แต่ก็ดำ� รงสถานะทางสังคมอย่ไู ดด้ ว้ ยผลประโยชนจ์ ากชนบทเป็นสำ� คัญ ประชากรส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ ๗๐ เป็นชาวนาท่ียากจน เป็นผู้เช่าที่ดิน ทำ� กนิ หรอื เปน็ กรรมกรผใู้ ชแ้ รงงานด้านเกษตรกรรม ผลกระทบจากความเปล่ยี นแปลง ทางเศรษฐกจิ ไมว่ ่าจะเปน็ กลไกตลาด ระบบการเก็บภาษีเป็นเงนิ หรือภาระดา้ นค่าเชา่ ท่ดี ินและดอกเบย้ี ทส่ี งู ขนึ้ ทำ� ใหป้ ระชากรทกุ ข์ยากและยากจนลง คนเหล่านขี้ าดโอกาส ทจ่ี ะเปลยี่ นสถานะของตน โดยเฉพาะภาระดา้ นภาษที ำ� ใหป้ ระชากรในชนบทไดร้ บั ความ ทุกข์ยากมากท่สี ดุ 341

สารานุกรมประวตั ิศาสตร์ประเทศเพอ่ื นบ้านในอาเซียน ระบอบปกครองอาณานิคมใช้เจ้าหน้าท่ีและก�ำลังทหารจ�ำนวนมากท�ำให้ ส้ินเปลืองงบประมาณรายจ่าย เมื่อถึง ค.ศ. ๑๙๑๐ จ�ำนวนเจ้าหน้าที่ที่เป็นคนฝรั่งเศส ในอินโดจีนมีประมาณ ๕,๐๐๐ คน ซึ่งเกือบเท่ากับเจ้าหน้าที่อังกฤษทั้งหมดในอินเดีย ในช่วงเดียวกัน จึงมีการข้ึนภาษีอย่างมาก และงบประมาณที่เพ่ิมข้ึนก็มาจากการเก็บ ภาษีสรรพสามติ จากเคร่อื งด่ืมแอลกอฮอล์ เกลอื และฝิน่ เชน่ มกี ารให้สมั ปทานผกู ขาด การผลิตเคร่อื งดม่ื แอลกอฮอล์แก่บริษัทฟงแตน (Fontaine) ของฝรัง่ เศสใน ค.ศ. ๑๙๐๒ การบริโภคเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์กลายเป็นการบังคับทางอ้อม เพราะแต่ละหมู่บ้าน ต้องเสียภาษีเครื่องด่ืมชนิดนี้ในปริมาณที่ได้สัดส่วนกับจ�ำนวนประชากรในหมู่บ้าน เพ่อื ให้ไดเ้ งินภาษตี ามที่ทางการกำ� หนด ในสมัยอาณานิคม สังคมเวียดนามเปล่ียนไปอย่างมาก การศึกษาแบบจารีต หมดความสำ� คญั ไป มรี ะบบการศกึ ษาแผนใหมต่ ามแบบตะวนั ตกทเ่ี รยี กวา่ แบบ “ฝรงั่ เศส- เวียดนาม” เข้ามาแทนที่ มีวัตถุประสงค์ส�ำคัญคือ ฝึกคนระดับล่างให้เป็นเจ้าหน้าท่ี ในระบอบปกครองอาณานิคม ตั้งแต่ ค.ศ. ๑๘๖๒ มีการน�ำอักษรโกว๊กหงอื (quoc ngu– อกั ษรโรมนั ทป่ี รบั ปรงุ เพอื่ ใชเ้ ขยี นภาษาเวยี ดนามแทนอกั ษรเดมิ ทปี่ รบั ปรงุ มาจากอกั ษรจนี ) มาใชใ้ นโคชินไชนา และการใช้อกั ษรนี้กค็ อ่ ย ๆ แพรห่ ลายไปท่ัวประเทศ ใน ค.ศ. ๑๘๙๖ รัฐบาลอาณานิคมออกค�ำสั่งให้ใช้อักษรโกว๊กหงือในบางวิชาในการสอบเข้ารับราชการ ตามแบบจารีต และหลัง ค.ศ. ๑๙๐๓ ก็บังคับให้เขียนเรียงความเป็นภาษาฝรั่งเศสใน การสอบดว้ ย ในตงั เกย๋ี การสอบแบบจารตี ใชอ้ ยจู่ นถงึ ค.ศ. ๑๙๑๕ สว่ นในอนั นมั ระบบน้ี ใช้อยู่จนถงึ ปตี ่อมาเทา่ นนั้ การจัดการศึกษาของฝรั่งเศสมิได้มุ่งแต่เพียงยกระดับความก้าวหน้าทาง ปัญญาและวัฒนธรรมของชาวเวียดนามเป็นส�ำคัญ แต่ต้องการฝึกอบรมคนท้องถิ่น ส�ำหรับท�ำงานในส่วนตา่ ง ๆ ของระบอบปกครองอาณานิคมดว้ ย นอกจากน้ัน ฝรัง่ เศส ไม่ต้องการให้ชนช้ันน�ำเวียดนามผูกพันกับวัฒนธรรมด้ังเดิมของตน หรือมีส�ำนึกที่เป็น อิสระทางวัฒนธรรม การศึกษาค้นคว้าระดับสูงที่จัดต้ังขึ้นก็เพื่อประโยชน์ในทางปฏิบัติ เช่น วทิ ยาลัยแพทยท์ ี่ก่อตง้ั ขน้ึ ใน ค.ศ. ๑๙๐๑ สำ� หรับฝกึ ผู้ชว่ ยแพทย์ หรอื สถาบันวิจยั 342

สาธารณรฐั สงั คมนยิ มเวียดนาม ทีท่ �ำการของขา้ หลวงใหญ่แหง่ อินโดจีนของฝรัง่ เศส ในเมอื งไซ่งอ่ น เพื่อการศึกษาค้นคว้าเร่ืองราวของอินโดจีนท่ีเป็นประโยชน์แก่ฝรั่งเศส เช่น การค้นคว้า ทางโบราณคดี ภูมิศาสตร์ เป็นหลัก  ใน ค.ศ. ๑๙๐๖ มีการก่อต้ังมหาวิทยาลัย อินโดจีน (University of Indochina) [ปัจจุบันคือมหาวิทยาลัยแห่งชาติเวียดนาม (Viet Nam National University, Hanoi)] ใช้ภาษาฝร่งั เศสในการสอน มหาวทิ ยาลยั แห่งน้ีไม่มีคณะวิทยาศาสตร์หรือวิศวกรรมศาสตร์ และหลังจากท่ีเปิดมาแล้ว ๓๐ ปี กม็ ีนกั ศึกษาเพยี ง ๖๐๐ คนเท่านนั้ อย่างไรก็ดี เวียดนามยังมีความเหล่ือมล�้ำด้านโอกาสทางการศึกษาอยู่มาก เช่น โอกาสทางการศึกษาระดับสูงกว่าประถมศึกษาจ�ำกัดอยู่แต่เฉพาะคนกลุ่มเล็ก ๆ ในช่วง ค.ศ. ๑๙๒๐–๑๙๓๘ เกือบร้อยละ ๙๐ ของนักเรียนที่เข้าเรียนช้ันประถมปีท่ี ๑ ไมม่ โี อกาสทจ่ี ะเรยี นตอ่ เกนิ ชน้ั ประถมปที ่ี ๓ การศกึ ษาสำ� หรบั เดก็ อายุ ๑๐ ขวบขน้ึ ไป เป็นเอกสิทธิ์ของคนจ�ำนวนน้อย ใน ค.ศ. ๑๙๒๓ มีเด็กชาวเวียดนามเพียง ๘๓ คน ได้เข้าเรียนในโรงเรียนมัธยมของรัฐ ทั้งนี้ ไม่นับนักเรียนท่ีเข้าเรียนโรงเรียนมัธยมของ เอกชนที่มีจ�ำนวนน้อยกว่า และเม่ือถึง ค.ศ. ๑๙๔๔ มหาวิทยาลัยท่ีมีอยู่แห่งเดียวก็มี นักศกึ ษาเพยี ง ๑,๑๐๙ คนเทา่ น้ัน 343