Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สารานุกรมประวัติศาสตร์ ประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน

สารานุกรมประวัติศาสตร์ ประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน

Description: สารานุกรมประวัติศาสตร์ ประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน.

Search

Read the Text Version

สารานุกรมประวตั ศิ าสตร์ประเทศเพื่อนบา้ นในอาเซยี น จากอินเดีย คือ พราหมณ์-ฮนิ ดูและพทุ ธ น้อยกวา่ ทปี่ รากฏในประเทศเอเชยี ตะวันออก เฉียงใตอ้ ่ืน ๆ หมเู่ กาะนีเ้ ป็นดนิ แดนแหง่ แรกท่ีตกเปน็ อาณานิคมของชาติตะวันตก ซ่ึง อ้อมโลกมาจากทางตะวันออก ต่อมาได้รับอิทธิพลจากท้ังยุโรปและอเมริกา ช่ือของ ประเทศนเ้ี ปน็ ชอ่ื ประเทศเดยี วทม่ี าจากพระนามของกษตั รยิ ย์ โุ รป ฟลิ ปิ ปนิ สไ์ ดร้ บั อทิ ธพิ ล ความเชื่อและวัฒนธรรมของศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกมายาวนานและซึมลึก มากกวา่ ชาตใิ ด ๆ ในทวปี เอเชีย เมอื่ พน้ จากอ�ำนาจการปกครองของสเปนทคี่ รอบครอง มานานกว่า ๓๐๐ ปี ก็ได้ตกเป็นอาณานคิ มของสหรฐั อเมริกา (ซงึ่ เกอื บจะไม่มีอาณานคิ ม อยู่ท่อี ืน่ ใดในโลก) ต่อมาอีกเกอื บคร่งึ ศตวรรษ ฟลิ ปิ ปินสเ์ ป็นประเทศหมู่เกาะ ต้ังอยู่บนหมเู่ กาะชื่อเดยี วกับประเทศ โดยไมม่ ี ดินแดนทางบกติดต่อกับประเทศใดเลย หมู่เกาะฟิลิปปิน (The Philippine Islands) ตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันออกของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพ้ืนทวีป และอยู่ทางด้าน ตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก ห้วงน้�ำทางตะวันออกของหมู่เกาะคือทะเลฟิลิปปิน (Philippine Sea) ด้านใต้ของหมู่เกาะติดกับทะเลเซเลบีส (Celebes Sea) และมี ทะเลซูลู (Sulu Sea) อยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ คั่นระหว่างฟิลิปปินส์กับมาเลเซียและ อินโดนเี ซยี ท่ีอยใู่ ตล้ งไป โดยมีทะเลจนี ใต้ (South China Sea) ซึง่ อย่ทู างทิศตะวนั ตก และทศิ เหนอื คนั่ ระหวา่ งฟลิ ปิ ปนิ สก์ บั เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตภ้ าคพน้ื ทวปี บรเิ วณประเทศ เวยี ดนาม และประเทศจีน หมเู่ กาะฟลิ ิปปนิ ประกอบด้วย เกาะใหญน่ ้อยรวม ๗,๑๐๗ เกาะ ระยะทางจาก เหนอื สดุ จนถงึ ใตส้ ดุ ยาวประมาณ ๑,๘๕๐ กโิ ลเมตร และกวา้ งจากตะวนั ตกถงึ ตะวนั ออก ประมาณ ๑,๑๓๐ กิโลเมตร พ้ืนท่ีส่วนท่เี ปน็ แผน่ ดินรวมกนั ท้ังสิน้ ประมาณ ๓๐๐,๐๐๐ ตารางกิโลเมตร ความยาวชายฝั่งทะเลรวมกันทั้งส้ินประมาณ ๓๖,๐๐๐ กิโลเมตร ในบรรดาเกาะท้ังหมดของประเทศมีเพียงประมาณร้อยละ ๔๐ (ประมาณ ๒,๘๐๐ เกาะ) ทม่ี ชี อื่ เปน็ ทางการ และมเี พยี งประมาณ ๓๕๐ เกาะทมี่ พี นื้ ทม่ี ากกวา่ ๒.๖ ตารางกโิ ลเมตร เกาะขนาดใหญใ่ นหม่เู กาะน้ีแบง่ ออกเปน็ ๓ กลุ่มดว้ ยกนั คอื กลมุ่ เกาะลูซอน (Luzon) ทางตอนเหนอื มพี น้ื ทร่ี วมประมาณ ๑๔๗,๙๔๘ ตารางกโิ ลเมตร ประกอบดว้ ยเกาะส�ำคญั 244

สาธารณรัฐฟลิ ปิ ปินส์ คือ ลซู อน (Luzon) มนิ โดโร (Mindoro) และปาลาวัน (Palawan) กลุ่มเกาะบซิ ายาส (Visayas) อยูต่ อนกลาง มีพนื้ ท่ีรวมประมาณ ๕๙,๘๗๔ ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วย เกาะส�ำคัญ คือ โบฮอล (Bohol) เซบู (Cebu) เลย์ตี (Leyte) มัสบาเต (Masbate) เนโกรส (Negros) ปาไน (Panay) และซามาร์ (Samar) กล่มุ เกาะทางใตม้ เี กาะหลัก คือ มินดาเนา (Mindanao) รวมถงึ กลุ่มเกาะซูลู (Sulu Archipelago) มีพนื้ ทรี่ วมประมาณ ๑๓๕,๖๒๗ ตารางกโิ ลเมตร ภเู ขาไฟปินาตโุ บระเบิดเมือ่ ค.ศ. ๑๙๙๑ หมู่เกาะฟิลิปปินเป็นส่วนหนึ่งของ “วงแหวนไฟแห่งแปซิฟิก” (Pacific Ring of Fire) เกาะต่าง ๆ เปน็ เกาะภูเขาไฟโดยก�ำเนิด แมเ้ กาะจ�ำนวนมากจะเปน็ ภูเขาไฟดบั สนิทและภูเขาไฟสงบ แต่ยังมีหลายเกาะที่มีภูเขาไฟมีพลังซ่ึงพร้อมจะระเบิดขึ้นได้อีก (มากกวา่ ๑๐ ลูก) เช่น ภูเขาไฟปินาตโุ บ (Pinatubo) บนเกาะลซู อนท่รี ะเบิดขน้ึ ใน ค.ศ. ๑๙๙๑ และถือกันว่าเป็นการระเบดิ ของภเู ขาไฟทร่ี ้ายแรงทส่ี ดุ คร้ังหน่ึงของโลกศตวรรษ ท่ี ๒๐ เกาะต่าง ๆ ของฟลิ ิปปินสม์ ักจะมภี เู ขาหรอื เทือกเขาอยู่บนเกาะทำ� ใหเ้ กดิ ภมู ทิ ัศน์ ท่ีเด่นชัดและเหลือที่ราบชายฝั่งไม่กว้างนัก เทือกเขาส่วนใหญ่ทอดตัวในแนวเหนือ-ใต้ เช่น กอร์ดีเยราเซนตรัล (The Cordillera Central) ซึ่งเป็นสายเทือกเขาหลักของ 245

สารานกุ รมประวตั ศิ าสตรป์ ระเทศเพอื่ นบ้านในอาเซยี น เกาะลซู อนทางตอนเหนอื ฝง่ั ตะวันตก (ความสงู เฉลี่ยประมาณ ๑,๘๐๐ เมตร) ขนานลง มากบั เทอื กเขาเซยี ร์รามาเดร (Sierra Madre) ด้านชายฝง่ั แปซฟิ ิกซงึ่ เปน็ เทือกเขาท่ียาว ที่สุดของประเทศ ตรงกลางระหว่างเทือกเขาท้ังสองคือที่ราบกากายัน (Cagayan) อันอุดมสมบรู ณ์ บนคาบสมทุ รบกิ อล (Bicol) ทางตะวนั ออกเฉยี งใต้ของเกาะลซู อนเป็น ที่ตั้งของภูเขาไฟมาโยน (Mayon-ความสูง ๒,๔๖๒ เมตร) ซึ่งมีชื่อเสียงจากรูปร่าง ทรงกรวยสมมาตรเทียบได้กับภเู ขาไฟฟูจิของญ่ปี ุน่ เกาะปาลาวันซึง่ มีรูปรา่ งแคบ (๔๐ กิโลเมตร) และยาว (๔๐๐ กโิ ลเมตร) ก็มี เทอื กเขาทอดยาวตลอดตรงกลาง ความสงู ระหวา่ ง ๑,๒๐๐–๑,๕๐๐ เมตร ขณะทย่ี อดเขา หลายยอดบนเกาะปาไนและเกาะเนโกรสสูงประมาณ ๑,๘๐๐ เมตรหรือมากกว่านั้น ยอดภเู ขาไฟกนั ลาออน (Canlaon) บนเกาะเนโกรสสงู ถงึ ๒,๔๖๕ เมตร บนเกาะมนิ ดาเนา ซึง่ มขี นาดใหญ่เปน็ ที่ ๒ รองจากเกาะลซู อน มีเทอื กเขาท่ีส�ำคัญหลายเทือก ภูเขาอะโป (Mount Apo) ทางตอนใตส้ งู ถงึ ๒,๙๕๔ เมตร เปน็ ยอดเขาทส่ี งู ทสี่ ดุ ของหมเู่ กาะฟลิ ปิ ปนิ แม่น้�ำสายส�ำคัญของประเทศส่วนมากอยู่บนเกาะใหญ่ท่ีสุดทั้ง ๒ เกาะ คือ บนเกาะลซู อนมีแม่นำ�้ กากายัน (Cagayan) อักโน (Agno) ปมั ปังกา (Pampanga) ปาซกิ (Pasig) และบกิ อล (Bicol) แม่น้ำ� ปาซิกทีไ่ หลผา่ นกรุงมะนลิ าน้ันในอดตี เคยเปน็ เสน้ ทาง คมนาคมทีส่ �ำคญั ในการค้าขายกับดนิ แดนตอนใน แต่ปจั จบุ นั ตื้นเขนิ และเน่าเสียจนแทบ จะใช้การไม่ได้แล้ว ส่วนเกาะมินดาเนามีแม่น้�ำสำ� คัญ ๒ สาย คือ แม่น�้ำมินดาเนากับ อะกซู าน (Agusan)  นอกจากแมน่ �้ำแลว้ ฟลิ ปิ ปนิ สย์ งั มแี หลง่ น�้ำในทะเลสาบทสี่ �ำคญั อกี หลายแหง่ ทะเลสาบที่ใหญ่ท่ีสดุ ของประเทศ คอื ลากูนา เด เบย์ (Laguna de Bay) มเี นอื้ ที่ ๙๒๒ ตารางกโิ ลเมตร อยบู่ นเกาะลซู อน ทางตะวนั ตกเฉยี งใตข้ องทะเลสาบนเี้ ปน็ ทตี่ งั้ ของทะเลสาบตาอลั (Taal) มเี นอื้ ที่ ๒๔๔ ตารางกโิ ลเมตร ซงึ่ เปน็ ทะเลสาบปากปลอ่ ง ภูเขาไฟ และตรงกลางของทะเลสาบยงั มีปล่องภูเขาไฟขนาดเล็กโผล่ขึน้ มาดว้ ย ผนื ดนิ สว่ นใหญข่ องฟลิ ปิ ปนิ สป์ ระกอบดว้ ยดนิ ดำ� อนั อดุ มสมบรู ณเ์ พราะเกดิ จาก เถ้าภูเขาไฟ นอกจากการปลูกข้าวแล้ว ดินบนท่ีราบยังเหมาะส�ำหรับการเพาะปลูกพืช 246

สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ เศรษฐกจิ ทส่ี ำ� คญั ในปจั จบุ นั เชน่ ออ้ ย สบั ปะรด กลว้ ย กาแฟ ปาลม์ นำ�้ มนั ปา่ น บนทส่ี งู และภูเขามีผืนป่าอันเป็นแหล่งทรัพยากรไม้ที่เคยอุดมสมบูรณ์ แต่ในระหว่างกลาง คริสต์ศตวรรษท่ี ๒๐ จนถงึ ต้นคริสต์ศตวรรษท่ี ๒๑ ผนื ปา่ ถกู ทำ� ลายลงกว่าคร่ึงจนเหลือ เพยี งนอ้ ยกวา่ ๑ ใน ๔ ของเนื้อท่ีผืนดินของประเทศในปจั จุบัน ภมู อิ ากาศของฟลิ ปิ ปนิ สอ์ ยใู่ นเขตรอ้ นชนื้ และไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากลมมรสมุ อยา่ ง รุนแรง ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงตุลาคม จากน้ันเปล่ียน เป็นลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือซ่ึงน�ำพาอากาศที่แห้งกว่าและเย็นกว่ามาในระหว่าง เดอื นพฤศจกิ ายนถงึ เดอื นกมุ ภาพนั ธ ์ ฟลิ ปิ ปนิ สต์ อ้ งเผชญิ ภยั จากพายไุ ตฝ้ นุ่ ซง่ึ เคลอื่ นเขา้ มาเปน็ ประจำ� ระหว่างเดือนกรกฎาคมถึงเดือนตลุ าคม ประชากรของฟิลปิ ปินส์ประกอบดว้ ยกล่มุ ชาตพิ ันธ์ทุ ่ีหลากหลาย เรยี กรวมกัน วา่ ชาวฟลิ ิปโิ น (Filipinos) สงั คมฟิลปิ ปนิ สป์ จั จุบันประกอบด้วย กลุ่มชาตพิ ันธ์ทุ แ่ี ตกต่าง กันทางภาษาและวัฒนธรรมเกือบ ๑๐๐ กลุ่ม กลุ่มใหญ่ที่สุด ๒ กลุ่ม คือ ตากาล็อก (Tagalog) ในลูซอน และเซบอู าโน (Cebuano) ในหมเู่ กาะบซิ ายนั ประชากรของแต่ละ กล่มุ มปี ระมาณ ๑ ใน ๕ ของจำ� นวนประชากรของประเทศ ส่วนกลุม่ อน่ื ๆ ท่สี ำ� คัญ เชน่ อิโลกาโน (Ilocano) ทางตอนเหนอื ของลูซอน ฮลิ ไิ กนอน (Hiligaynon) บนเกาะปาไน และเกาะเนโกรส ประชากรประมาณรอ้ ยละ ๘๐ ของประเทศนบั ถือศาสนาคริสตน์ ิกาย โรมันคาทอลกิ และอกี ร้อยละ ๑๐ นบั ถือศาสนาคริสต์นิกายหรอื กลุ่มอื่น ๆ ประชากรที่ นบั ถือศาสนาอสิ ลามมีประมาณร้อยละ ๕ ซึ่งส่วนใหญ่อาศยั อยูท่ างตอนใตข้ องประเทศ บนเกาะมินดาเนาและหมู่เกาะซูลู  ส่วนท่ีเหลือจากน้ันนับถือศาสนาพุทธ (มหายาน) ตลอดจนศาสนาและความเช่อื ดง้ั เดมิ ของชนเผา่ ต่าง ๆ แม้จะมีทฤษฎีที่แย้งกันอยู่หลายทฤษฎีเกี่ยวกับการอธิบายก�ำเนิดและ พัฒนาการของประชากรในหมู่เกาะฟิลิปปิน แต่โดยภาพรวมของผู้คนที่มีลักษณะทาง กายภาพและภูมิหลังทางวัฒนธรรมอันหลากหลายท�ำให้เห็นว่าน่าจะมีการอพยพเข้ามา ต้งั ถน่ิ ฐานหลายระลอกภายใต้เง่อื นไขทแ่ี ตกตา่ งกันออกไปในแต่ละช่วงเวลาและสถานท่ี 247

สารานุกรมประวตั ศิ าสตร์ประเทศเพ่ือนบา้ นในอาเซียน การเข้ามาในช่วงแรกสุดอาจเกิดขึ้นต้ังแต่ปลายยุคน�้ำแข็งสุดท้ายที่ทะเลยังต้ืนมากและ การเดินทางเป็นไปได้โดยง่ายแม้จะใช้เพียงแพหรือเรือแบบปฐมภูมิก็ตาม เมื่อ ค.ศ. ๑๙๖๒ มกี ารขดุ ค้นพบกะโหลกมนุษยท์ ่ีเกา่ ถึง ๒๒,๐๐๐ ปบี นเกาะปาลาวนั แต่หลกั ฐาน ล่าสุดในการค้นพบท่ีกากายันเมื่อ ค.ศ. ๒๐๐๗ แสดงให้เห็นการด�ำรงอยู่ของมนุษย์ ท่ีเก่ากว่าน้ันอีกมาก คือ ๖๗,๐๐๐ ปีมาแล้ว ที่นักโบราณคดีเรียกว่า มนุษย์กัลเลา (Callao Man) ซง่ึ เปน็ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั มนษุ ยใ์ นฟลิ ปิ ปนิ สท์ เี่ กา่ แกท่ ส่ี ดุ เทา่ ทไี่ ดพ้ บมาจนถงึ ปัจจบุ นั นี้ หลกั ฐานเกีย่ วกับมนุษยแ์ ละการตั้งถิ่นฐานในรนุ่ แรก ๆ ดงั กล่าวมอี ย่นู อ้ ยมาก และให้ข้อสรุปท่ียังคงเปน็ สมมติฐานแตกตา่ งกันไปหลายแนวทาง ตอ่ มา เมอ่ื ประมาณไม่ ตำ�่ กวา่ ๕,๐๐๐ ปมี าแลว้ พวกเนกรโิ ต (Negrito) และพวกออสโตรนเี ชยี น (Austronesian) กอ็ พยพเขา้ มา  คนเหลา่ นกี้ ลายเปน็ กลมุ่ ประชากรทสี่ ำ� คญั กอ่ นทจ่ี ะมผี อู้ พยพอกี กลมุ่ หนงึ่ เขา้ มา กลมุ่ หลงั นม้ี คี วามสมั พนั ธท์ างชาตพิ นั ธก์ุ บั ผคู้ นและวฒั นธรรมในดนิ แดนมาเลเซยี และอนิ โดนีเซยี ปจั จบุ ัน จากหลกั ฐานเมื่อประมาณ ๓,๐๐๐ ปีท่ีผ่านมาชวี้ า่ ประชากร ของหมเู่ กาะฟลิ ปิ ปนิ มคี วามแตกตา่ งกนั ในการดำ� รงชพี และวถิ ชี วี ติ มที งั้ กลมุ่ ทอี่ ยลู่ กึ เขา้ ไป ทะเลสาบตาอลั เปน็ ทะเลสาบปากปล่องภูเขาไฟ 248

สาธารณรัฐฟิลปิ ปนิ ส์ ส่วนในของเกาะหรือบนที่สูงซ่ึงหาเลี้ยงชีพด้วยการท�ำไร่เลื่อนลอยและการหาของป่า กลมุ่ ท่ตี งั้ รกรากเป็นหลักแหลง่ และทำ� การเกษตรหลายรูปแบบต้ังแตแ่ บบที่ไม่ซับซ้อนไป จนถงึ การใช้เทคโนโลยีทีก่ ้าวหน้า เช่น การท�ำนาขนั้ บันไดบนเกาะลซู อน รวมถงึ กลุ่มที่มี ความสมั พนั ธก์ บั โลกภายนอกมากทสี่ ดุ คอื พวกทต่ี งั้ ถน่ิ ฐานตามชายฝง่ั ทะเลหรอื ลกึ เขา้ ไป ตามแนวแมน่ ้�ำสายใหญแ่ ละประกอบอาชีพค้าขายกับพอ่ ค้าจากดนิ แดนตา่ ง ๆ ในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ตลอดจนพ่อคา้ จากจีนและญ่ีปนุ่ ประวตั ศิ าสตรฟ์ ลิ ปิ ปนิ สท์ เี่ ขยี นขน้ึ ในสมยั อาณานคิ มหรอื ไดร้ บั อทิ ธพิ ลสบื ทอด มาจากสมัยอาณานิคมนั้น มักกล่าวถึงสังคมวัฒนธรรมของชนพื้นเมืองก่อนสเปนเข้ามา วา่ ยงั อยใู่ นสถานะทไี่ มม่ พี ฒั นาการขนั้ สงู มากนกั โดยเฉพาะรปู แบบการปกครองซงึ่ ยงั ไมม่ ี สถาบนั อนั ซบั ซอ้ นและควบคมุ ดนิ แดนทก่ี วา้ งขวาง หนว่ ยการปกครองอนั เปน็ บรรทดั ฐาน ท่ีงานเขียนทางประวัติศาสตร์โดยทั่วไปมักจะกล่าวเน้นอยู่เสมอคือหน่วยหมู่บ้านขนาด ใหญ่ที่เรียกว่า บารังไก (barangay) ซึ่งหมายถึงเรือ และมีนัยสะท้อนความเป็นมาทาง ประวัติศาสตร์ยุคเริ่มต้นที่บรรพบุรุษของชาวฟิลิปปินส์แต่ละครอบครัวและชุมชนนั้น อพยพมาในเรือล�ำเดียวกันหรือกลุ่มเดียวกันในการเดินทางมาตั้งรกรากบนแผ่นดินใหม่ แห่งน้ี บารังไกส่วนใหญ่มีสมาชิกซ่งึ เป็นเครอื ญาตกิ ันจำ� นวนไมม่ ากกวา่ ๓๐๐-๔๐๐ คน มีหัวหน้าปกครองเรียกว่า ดาตู (datu) บารังไกเหล่าน้ีเป็นหน่วยทางเศรษฐกิจและ การเมืองอันม่ันคงหน่วยใหญ่ที่สุด เป็นอิสระไม่ข้ึนต่อกัน มีพัฒนาการทางสังคมและ วฒั นธรรมทแี่ ตกตา่ งกันออกไปตามเกาะตา่ ง ๆ ของฟิลิปปินส์ งานเขยี นประวตั ศิ าสตรฟ์ ลิ ปิ ปนิ สส์ มยั ใหมท่ อี่ า้ งองิ การคน้ พบหลกั ฐานยอ้ นหลงั ไปมากขน้ึ ชใี้ หเ้ หน็ วา่ ในเวลาตอ่ มา บางชมุ ชนหรอื บารงั ไกไดพ้ ฒั นาการปกครองทซี่ บั ซอ้ น ข้ึนและขยายขอบเขตพื้นที่ออกไปจนอาจเรียกได้ว่าเป็นรัฐหรืออาณาจักร มีผู้ปกครอง ท่ีรับอิทธิพลพราหมณ์-ฮินดูผสมผสานกับวัฒนธรรมมลายูโบราณและเรียกตนเองเป็น ราชา (rajah) บางพ้ืนท่ีอาจเคยตกเป็นส่วนหน่ึงของจักรวรรดิศรีวิชัย (Srivijaya) หรือ จกั รวรรดิมัชปาหติ (Majapahit) แต่คงจะเป็นส่วนชายขอบท่อี ยู่หา่ งจากศูนยก์ ลางของ จกั รวรรดนิ นั้ ๆ มาก หลักฐานชนิ้ แรก ๆ ท่แี สดงถึงอาณาจกั รยุคต้นน้ี คือ จารกึ บนแผน่ 249

สารานุกรมประวัติศาสตร์ประเทศเพ่อื นบา้ นในอาเซยี น ทองแดงที่เรียกวา่ จารึกลากูนา (Laguna-ค้นพบใน ค.ศ. ๒๐๐๗) ท่ีกลา่ วถึงอาณาจกั ร ตอนโด (Tondo) บริเวณอ่าวมะนิลา (เดิมเรียกว่าไมนีลา-Maynila) ซึ่งรุ่งเรืองข้ึนจาก การค้ากับจีน ญ่ีปุ่น มลายู และผู้คนอื่น ๆ อีกหลากหลายจากเอเชียตะวันออกและ ตะวันออกเฉียงใต้ หลักฐานท่ีค้นพบแสดงวา่ อาณาจักรน้ีมีอยู่ตัง้ แต่ ค.ศ. ๙๐๐ จนถึง กลางคริสต์ศตวรรษที่ ๑๖ เมอ่ื สเปนเข้ามา นอกจากนัน้ ยังมอี าณาจักรที่ส�ำคัญอีก เชน่ อาณาจักรบูตูอัน (Butuan) บนเกาะมินดาเนา ที่มั่งค่ังจากทรัพยากรทองค�ำและ การค้าขายกับพ่อค้าหลายชาติในเอเชียตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ ๑๑ ตามที่ปรากฏใน บนั ทึกของจีนและจากหลักฐานทางโบราณคดี รวมถงึ อาณาจักรเซบู ซงึ่ มผี ปู้ กครองเปน็ ราชาในตำ� นานจากเกาะสมุ าตรามาต้ังอาณาจักรและขยายอำ� นาจอยู่ในบรเิ วณน้ี จนถกู ทา้ ทายอ�ำนาจจากดาตลู าปู ลาปู (Lapu Lapu) ในชว่ งท่ีมาเจลลนั เดินทางมาถงึ เซบู ต่อมา เม่ือศาสนาและวัฒนธรรมอิสลามเริ่มเข้ามามีบทบาทในบริเวณน้ี ก็ ปรากฏรฐั ทม่ี สี ลุ ตา่ นเปน็ ผปู้ กครอง เชน่ รฐั สลุ ตา่ นแหง่ ซลู ทู เ่ี ชอื่ กนั วา่ ผปู้ กครองรฐั คนแรก เป็นพ่อค้าชาวอาหรับจากยะโฮร์ (Johor) เดินทางมาถึงตั้งแต่ ค.ศ. ๑๓๘๐ และรฐั แห่งน้ี รุ่งเรอื งขึน้ จากการผลิตไข่มกุ หลงั จากน้นั มีการต้งั รัฐสลุ ต่านทม่ี ากนิ ดาเนาและทล่ี าเนา (Lanao-บนเกาะมินดาเนา) เมือ่ ปลายคริสต์ศตวรรษที่ ๑๕ และต้นครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี ๑๖ ตามล�ำดับ ในช่วงเวลาเดียวกันนี้ รัฐสุลต่านแห่งบรูไนได้ขยายอิทธิพลข้ึนไปถึงบริเวณ อา่ วมะนลิ าบนเกาะลซู อน ทา้ ทายอำ� นาจของราชาแหง่ ตอนโดและตง้ั รฐั บรวิ ารของตนขน้ึ การขยายตวั ของอิสลามเป็นไปอยา่ งรวดเร็วและกวา้ งขวางมากข้ึน จนเปน็ ทกี่ ล่าวกนั ใน ภายหลังว่า หากสเปนเดินทางมาถึงฟิลิปปินส์ช้าไปอีกเพียงครึ่งศตวรรษก็อาจจะได้พบ ชาวฟิลปิ ปินสท์ ่ีเป็นประชากรมุสลิมทั่วไปท้งั หมู่เกาะแล้ว อทิ ธพิ ลจากยโุ รปทชี่ าวฟลิ ปิ ปนิ สไ์ ดส้ มั ผสั ครงั้ แรกนนั้ มาจากทางตะวนั ออกขา้ ม ฟากมหาสมุทรแปซิฟกิ มิใช่มาจากทางทิศตะวันตกอย่างทีช่ าตใิ นเอเชยี อื่น ๆ ต้องเผชิญ เฟอร์ดนิ ันด์ มาเจลลนั (Ferdinand Magellan) ชาวโปรตุเกสท่เี ดินเรอื ให้กษตั ริย์สเปน นำ� กองเรอื เดนิ ทางมาถงึ หมเู่ กาะฟลิ ปิ ปนิ ใน ค.ศ. ๑๕๒๑ มจี ดุ มงุ่ หมายเบอื้ งตน้ ทจี่ ะสำ� รวจ เส้นทางสู่หมู่เกาะเคร่ืองเทศผ่านทวีปอเมริกาและมหาสมุทรแปซิฟิก คณะของเขาได้ 250

สาธารณรัฐฟิลปิ ปนิ ส์ ดาตลู าปู ลาปู เฟอรด์ ินันด์ มาเจลลัน เข้าไปพัวพันกับความขัดแย้งระหว่างกลุ่มชนพ้ืนเมือง ๒ ฝ่าย และในท่ีสุดมาเจลลันถูก ฆา่ ตายในการสูร้ บบนเกาะมกั ตัน (Mactan) ใกล้เกาะเซบู ผ้นู ำ� ชาวฟิลปิ ปินส์แห่งมกั ตัน คอื ดาตลู าปู ลาป ู ไดม้ ชี อ่ื ปรากฏในประวตั ศิ าสตรโ์ ลกในฐานะผสู้ งั หารหวั หนา้ คณะเดนิ ทางรอบโลกชุดแรก แต่ในเวลาต่อมา ประวัติศาสตร์ชาตินิยมของฟิลิปปินส์ได้จารึกชื่อ ของเขาในฐานะผ้นู ำ� การตอ่ ต้านชาวตะวนั ตกครัง้ แรก สเปนสนใจดินแดนแถบน้ีเพราะมุ่งหวังผลประโยชน์จากการค้าเคร่ืองเทศ เช่นเดียวกบั ชาติตะวันตกอนื่ ๆ หลังจากมาเจลลนั เสยี ชีวิตแล้ว สเปนก็ส่งกองเรอื ส�ำรวจ ตามมาอกี แม้จะมีการลงนามในสนธสิ ญั ญาซาราโกซา (Treaty of Zaragoza) ใน ค.ศ. ๑๕๒๙ เพื่อก�ำหนดพิกัดของเส้นแอนตีเมอริเดียนเพ่ือแบ่งเขตอิทธิพลระหว่างสเปน กบั โปรตเุ กสตามสนธสิ ญั ญาตอรเ์ ดซยี สั (Treaty of Tordesillas ค.ศ. ๑๔๙๔) แลว้ กต็ าม แต่ยังคงมีความไมช่ ดั เจนทางเทคนิค มีการเจรจาต่อรอง ตลอดจนมีบริบทแวดลอ้ มทาง ประวตั ศิ าสตรอ์ นื่ ๆ ระหวา่ งประเทศทง้ั สองในเวลาตอ่ มา แมจ้ ะปรากฏชดั เจนในภายหลงั ว่าหมู่เกาะฟิลิปปินทั้งหมดอยู่ในเขตของโปรตุเกสตามเกณฑ์ที่ตกลงกันในสนธิสัญญา แต่สเปนก็ยังคงสามารถยืนยันสิทธิเหนือหมู่เกาะแห่งน้ี (นับตั้งแต่การอ้างว่ามาเจลลัน 251

สารานุกรมประวัตศิ าสตร์ประเทศเพ่ือนบา้ นในอาเซียน เดินทางมาถงึ ท่นี ่กี อ่ นข้อตกลงใน ค.ศ. ๑๕๒๙ รว่ มกับเงอ่ื นไขอ่นื ๆ) โดยแทบจะไมม่ กี าร คดั คา้ นจากฝา่ ยโปรตเุ กสซง่ึ มงุ่ ความสนใจอยทู่ หี่ มเู่ กาะเครอื่ งเทศทางตอนใตก้ บั ยา่ นการ คา้ อื่น ๆ และไม่เหน็ ความส�ำคัญทางเศรษฐกจิ ของฟิลปิ ปินส์ เมื่อมาเจลลันเดินทางมาถึงเกาะทางตะวันออกของเกาะซามาร์เป็นวันฉลอง นักบุญลาซารัสแห่งเบทานีพอดี เขาจึงเรียกชื่อหมู่เกาะบริเวณน้ีว่า หมู่เกาะแห่ง นักบญุ ลาซารัส (Las Islas de San Lázaro ในภาษาสเปน หรอื St. Lazarus’ Islands ในภาษาองั กฤษ) หลงั จากนน้ั เมอื่ รยุ โลเปซ เด บยี าโลโบส (Ruy Lopez de Villalobos) เดนิ ทางพรอ้ มกองเรอื มาถงึ ใน ค.ศ. ๑๕๔๓ เขาเรยี กเกาะบรเิ วณเกาะซามารแ์ ละเลยต์ วี า่ หม่เู กาะแหง่ เฟลิเป (Las Islas de Felipenas) เพ่อื ถวายพระเกยี รติแด่กษตั ริยเ์ ฟลเิ ปท่ี ๒ แห่งราชอาณาจักรสเปนในเวลานั้น ต่อมา ชาวพนื้ เมอื งจงึ เรยี กเปน็ Las Islas de Filipinas และขยายครอบคลมุ ทัง้ หมเู่ กาะฟิลิปปินมาจนปจั จบุ ัน ใน ค.ศ. ๑๕๖๕ มิเกล โลเปซ เด เลกัสปี (Miguel Lopez de Legazpi) น�ำกองเรอื จากเมก็ ซิโก พร้อมทหารสเปนและบาทหลวงคณะออตุสติเนียนมา ตั้งท่ีมั่นของชาวยุโรปแห่งแรกบนเกาะเซบู ซ่ึงเขาใช้ เป็นฐานขยายอ�ำนาจของสเปนออกไปยังเกาะอ่ืน ๆ จนกระทงั่ ใน ค.ศ. ๑๕๗๑ สเปนไดช้ ยั ชนะเหนอื รฐั มสุ ลมิ ท่อี า่ วมะนิลาบนเกาะลซู อน เนอ่ื งจากบริเวณดังกลา่ ว เป็นแหล่งการค้าด้ังเดิมที่ส�ำคัญและมีแหล่งเสบียง อาหารทด่ี ี เลกสั ปี จงึ ตดั สนิ ใจยา้ ยฐานทม่ี น่ั ไปทน่ี นั่ และ เริ่มสร้างเมืองมะนิลาซึ่งกลายเป็นเมืองหลวงแห่ง มิเกล โลเปซ เด เลกสั ปี อินเดียตะวันออกของสเปนสืบมา กับทั้งเป็นจุดเร่ิมต้นท่ีสเปนเข้าปกครองฟิลิปปินส์ เป็นอาณานิคมอย่างเปน็ ทางการ 252

สาธารณรัฐฟลิ ิปปินส์ ถึงแม้ว่าความมุ่งหวังของสเปนท่ีจะแสวงหารายได้จากการค้าเครื่องเทศไม่ ประสบผลส�ำเร็จ เพราะโปรตุเกสยังคงควบคุมหมู่เกาะเครื่องเทศไว้ได้ในช่วงแรก แต่ มะนลิ าไดก้ ลายเปน็ เมอื งทา่ สำ� คญั ใน “การคา้ กลั เลยี น” (Galleon Trade) ทใ่ี ชเ้ รอื สเปน ขนาดใหญข่ นส่งสินค้าและผ้โู ดยสารข้ามมหาสมทุ รแปซฟิ ิกระหวา่ งเมืองมะนลิ ากับเมือง ทา่ อะกาปลุ โก (Acapulco) ในเมก็ ซโิ ก เนอื่ งจากชาวสเปนไมส่ ามารถเขา้ ไปซอื้ ขายสนิ คา้ กบั จนี ไดโ้ ดยตรง ทา่ เรอื มะนลิ าจงึ กลายเปน็ จดุ แลกเปลย่ี นทพ่ี อ่ คา้ จนี นำ� สนิ คา้ ของตนมา ขายเพื่อน�ำเงินเปโซจากอาณานิคมอเมริกันของสเปนกลับไปเมืองจีน อันท่ีจริงการค้า ระหวา่ งเอเชยี ตะวนั ออกและเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตก้ บั ชมุ ชนการคา้ ในหมเู่ กาะฟลิ ปิ ปนิ ได้มมี าช้านานแลว้ การค้ากัลเลียนเข้ามามีบทบาทในการรวมศนู ย์ใหส้ ินคา้ เหลา่ นัน้ มงุ่ ไปสู่มะนิลา เพิ่มปริมาณสินค้าโดยเน้นประเภทและคุณภาพของสินค้าซ่ึงเป็นที่ต้องการ ของชาวยโุ รป พร้อมกับการทำ� กำ� ไรจากเงินทีน่ �ำมาจากเม็กซิโกและเปรูอกี ทอดหนึง่ ดว้ ย เงนิ ของสเปนกลายเปน็ เครอ่ื งแลกเปลยี่ นทแี่ พรห่ ลายในหมพู่ อ่ คา้ ฝง่ั ตะวนั ออกของเอเชยี นบั ตงั้ แตช่ ่วงเวลานี้ ตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ ๑๖ มะนิลากลายเป็นเมืองแบบตะวันตกที่เป็น ศูนย์กลางท้ังทางด้านการปกครอง เศรษฐกิจ และการเผยแผ่ศาสนาของสเปน อุปราช สเปนที่เม็กซิโกแต่งตั้งข้าหลวงใหญ่ (Governor General) เป็นผู้ปกครองสูงสุดของ อาณานคิ ม (เลกสั ปเี ปน็ ขา้ หลวงใหญค่ นแรก) บงั คบั บญั ชากองทหารและขา้ ราชการสเปน ซง่ึ สว่ นใหญจ่ ะประจำ� อยใู่ นมะนลิ า สว่ นในดา้ นศาสนาตงั้ แต่ ค.ศ. ๑๕๗๙ มะนลิ ามฐี านะ เป็นแขวงการปกครองของคริสตจักรโรมันคาทอลิกซ่ึงมีบาทหลวงต�ำแหน่งอาร์ชบิชอป (Archbishop) ปกครอง (ในตอนแรกอยภู่ ายใต้อาร์ชบิชอปแหง่ เมก็ ซิโก ตอ่ มาใน ค.ศ. ๑๕๙๕ สันตะปาปาได้แต่งต้ังอาร์ชบิชอปประจ�ำมะนิลาโดยตรง) มะนิลาจึงเป็นเมือง ท่มี กี �ำแพงลอ้ มรอบ ภายในมีอาคารทที่ �ำการรัฐบาล มหาวิหาร (Cathedral) ค่ายทหาร อาคารรา้ นคา้ โรงเรียน โรงพยาบาล และสงิ่ กอ่ สร้างอืน่ ๆ ตามแบบของสเปนรว่ มสมัย อันเป็นภาพลักษณ์ที่โดดเด่นกว่าเมืองใหญ่อื่น ๆ จ�ำนวนมากในโลกตะวันออกขณะนั้น จนไดร้ ับสมญานามเป็น “ไข่มกุ แหง่ ตะวันออก” (Pearl of the Orient) 253

สารานุกรมประวตั ิศาสตรป์ ระเทศเพื่อนบ้านในอาเซยี น มหาวทิ ยาลัยซันโตโตมสั สร้างเม่ือ ค.ศ. ๑๖๑๑ กล่าวกนั วา่ เป็นมหาวิทยาลัยทเ่ี ก่าทส่ี ดุ ในเอเชียทยี่ ังเปิดสอนอยู่ ในการปกครองฟลิ ปิ ปนิ สช์ ว่ งแรก สเปนนำ� ระบบจากอาณานคิ มลาตนิ อเมรกิ า ทเ่ี รยี กวา่ เอนโกเมยี นดา (Encomienda System) เขา้ มาใชจ้ ดั ระเบยี บการปกครองและ การบรหิ ารทอ้ งถน่ิ โดยแบง่ พน้ื ทซ่ี ง่ึ สเปนยดึ ครองออกเปน็ เขต ๆ แลว้ มอบสทิ ธปิ ระโยชน์ ที่เรียกว่า เอนโกเมียนดา เป็นเคร่ืองตอบแทนหรือรางวัลให้แก่กลุ่มบาทหลวง (friars) องค์กรศาสนา หรือข้าราชการชาวสเปนผู้ท�ำหน้าที่บริหารหรือเป็นทหาร การให้สิทธิ- ประโยชนน์ คี้ รอบคลมุ อำ� นาจในการเกบ็ รวบรวมสว่ ยและการเกณฑแ์ รงงานชาวพนื้ เมอื ง ท่ีอาศยั อยใู่ นบริเวณนนั้ ต่อมา คำ� ว่าเอนโกเมยี นดามักใชห้ มายถึงผืนทด่ี นิ นน้ั ดว้ ย และ ผรู้ ับสทิ ธิประโยชน์ ซง่ึ เรยี กวา่ เอนโกเมนเดโร (encomendero) มักถือว่าท่ีดินแปลงน้ัน เป็นของตน ระบบการเกณฑ์แรงงานภายในเอนโกเมียนดาเรียกกันท่ัวไปในอาณานิคม ของสเปนเกอื บท่ัวโลกวา่ Polo y servicio [เรียกยอ่ วา่ ระบบโปโล (Polo System)] บังคับใช้ส�ำหรบั ชายอายรุ ะหวา่ ง ๑๖-๖๐ ปี ซึ่งถ้าไมส่ ามารถมาทำ� งานตามท่ีถกู เกณฑไ์ ด้ ก็จะตอ้ งจ่ายเงนิ ค่าปรับเปน็ รายวัน ในทางปฏิบัติมกี ารเบียดบงั และใชร้ ะบบอยา่ งฉ้อฉล สร้างความเดือดร้อนให้แก่ชาวฟิลิปปินจนน�ำไปสู่การลุกฮือต่อต้านสเปนหลายคร้ัง 254

สาธารณรัฐฟลิ ิปปินส์ รัฐบาลสเปนตระหนักถึงปัญหาท่ีเกิดข้ึนและได้ประกาศยกเลิกระบบเอนโกเมียนดา ในลาตนิ อเมรกิ าและในฟลิ ปิ ปนิ สใ์ นเวลาประมาณครงึ่ ศตวรรษตอ่ มา แตใ่ นทางปฏบิ ตั จิ รงิ การถอื ครองสทิ ธใิ นทด่ี นิ และความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเจา้ ของกบั เกษตรกรในทดี่ นิ ในรปู แบบ เดิมยงั คงดำ� เนนิ ต่อไป ในขณะที่ข้าราชการและทหารชาวสเปนในฟิลิปปินส์มักมีบทบาทจ�ำกัดอยู่ ในเขตเมอื งหรอื คา่ ยทหาร และไมม่ กี จิ กรรมทสี่ มั พนั ธโ์ ดยตรงกบั ชาวพน้ื เมอื งในเขตชนบท มากนัก บาทหลวงชาวสเปนเป็นกลุ่มบุคคลที่มีจ�ำนวนมากและกระจายตัวออกไป ตามพนื้ ทตี่ า่ ง ๆ ของหมเู่ กาะไมว่ า่ จะเปน็ เขตเมอื งหรอื ชนบท เนอ่ื งจากจดุ ประสงคส์ ำ� คญั ในการยึดครองดินแดนอาณานิคมของสเปนคือการประดิษฐานคริสต์ศาสนานิกาย โรมันคาทอลิกในดินแดนที่ยึดครองได้ ตามพระราชโองการของสันตะปาปาและของ กษตั รยิ แ์ หง่ สเปน แมว้ า่ กอ่ นสเปนเขา้ มาชาวฟลิ ปิ ปนิ สว่ นใหญ่ (ยกเวน้ ดนิ แดนภายใตร้ ฐั สุลต่าน) จะไม่ได้นับถือศาสนาที่มีพระเจ้ายิ่งใหญ่สูงสุด แต่ก็นับถือผีหรือวิญญาณใน ท้องถ่นิ และยดึ ตดิ กบั พธิ ีกรรมตามความเชือ่ เดมิ ของตนอย่างเหนียวแน่น สเปนพบว่าวิธี การเปลี่ยนความเชื่อของประชากรพื้นเมืองท่ีได้ผล คือ การใช้มาตรการปกครองเข้า ควบคุมประชากรด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การยึดครองกรรมสิทธ์ิในที่ดินโดยใช้อ�ำนาจท่ี เหนือกว่าบีบบังคับชาวพ้ืนเมืองให้จ�ำต้องยอมรับคริสต์ศาสนาและวัฒนธรรมคาทอลิก เพ่ือแลกกับการได้กลับมามีกรรมสิทธิ์ในท่ีดินท�ำกินของตนดังเดิม บุคลากรที่มีบทบาท สำ� คญั ในการควบคมุ ดแู ลมาตรการเหลา่ นกี้ ค็ อื เหลา่ บาทหลวงชาวสเปนนนั่ เอง ผบู้ รหิ าร ที่เป็นบาทหลวงได้ท�ำให้เกิดการเปล่ียนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของชาวฟิลิปปิน ในหลายดา้ น นบั ตง้ั แตก่ ารตง้ั ถนิ่ ฐานบา้ นเรอื นทใ่ี หช้ นครสิ เตยี นตอ้ งอาศยั อยภู่ ายในรศั มี เสียงระฆังของโบสถ์ในท้องถิ่น ท�ำให้โบสถ์กลายเป็นศูนย์กลางของชุมชน ไม่เพียงแต่ เพ่ือพิธีกรรมทางศาสนาแต่รวมไปถึงกิจกรรมทางสังคมและวัฒนธรรมอื่น ๆ ด้วย เมื่อ เวลาผ่านไปนับศตวรรษ ความเชื่อและวัฒนธรรมคาทอลิกจึงฝังรากลงในประชากร ชาวฟิลิปปินอย่างลกึ ซ้งึ 255

สารานกุ รมประวตั ศิ าสตรป์ ระเทศเพอ่ื นบา้ นในอาเซยี น อย่างไรก็ตาม สเปนไม่สามารถขยายอิทธิพลของคาทอลิกเข้าไปสู่คนในบาง พนื้ ที่ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในบรเิ วณของประชากรชาวมสุ ลมิ ทสี่ เปนเรยี กวา่ โมโร (Moros) ทางตอนใต้ และในเขตของชนเผา่ บนท่ีสูงอนั หา่ งไกล เชน่ พวกอิโกโรต (Igorots) หรือ พวกอิฟูเกา (Ifugaos) เป็นต้น แม้ในบางเขตท่ีชาวพ้ืนเมืองถูกบังคับให้ยอมรับคริสต์- ศาสนากเ็ กดิ การกบฏเพอื่ เรยี กรอ้ งเสรภี าพทางศาสนาและการยอ้ นกลบั ไปสกู่ ารดำ� รงชวี ติ ตามความเช่ือเดิม เช่น กบฏในเขตกากายัน (ค.ศ. ๑๕๘๙–๑๖๓๐) ที่มีการต่อต้าน ศาสนาอยา่ งรนุ แรงถงึ ขน้ั เผาโบสถแ์ ละฆา่ ฟนั บาทหลวงคาทอลกิ กบั ชาวพน้ื เมอื งครสิ เตยี น อีกจ�ำนวนมาก ในครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี ๑๘ เรมิ่ มกี ารเปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกจิ และสงั คมชว่ งสำ� คญั ในฟิลิปปินส์ พวกลูกผสมจีน (Chinese Mestizo) ท่ีเป็นลูกหลานของชายชาวจีนซึ่ง มกั จะเปน็ ชาวครสิ ตก์ บั หญงิ ฟลิ ปิ ปนิ ส์ มบี ทบาททางเศรษฐกจิ เพมิ่ ขน้ึ ดว้ ยการเปน็ เจา้ ของ ท่ดี ินและหาผลประโยชนจ์ ากผลผลิตสว่ นเกินทางการเกษตร ความเปลย่ี นแปลงทวขี ้ึน อย่างชัดเจนในคร่ึงหลังของศตวรรษนี้ โดยเฉพาะต้ังแต่อังกฤษเข้ายึดมะนลิ าในระหวา่ ง ค.ศ. ๑๗๖๒–๑๗๖๔ อนั เปน็ เหตกุ ารณส์ ว่ นหนงึ่ ของสงครามเจด็ ปี (Seven Years War) ในยโุ รปและอเมรกิ า หลงั จากนน้ั พอ่ คา้ ชาวยโุ รปเรมิ่ สนใจผลผลติ จากหมเู่ กาะแหง่ นม้ี าก ขนึ้ ในชว่ งแรก ๆ พอ่ คา้ ตา่ งชาตติ อ้ งใชก้ ารตดิ สนิ บนหรอื วธิ กี ารอนื่ ๆ เพอื่ ซอ้ื สนิ คา้ เกษตร ที่เคยเป็นส่วยในระบบเดิม แต่ต่อมาความต้องการผลผลิตเหล่าน้ีเพิ่มขึ้น จึงจ�ำเป็นต้อง ขยายพน้ื ท่ดี นิ เพอื่ การเพาะปลูกเพ่มิ ขน้ึ ตามลำ� ดบั เมือ่ ถงึ ทศวรรษ ๑๗๘๐ การผลติ ทางการเกษตรเพื่อการส่งออกกเ็ ร่มิ ขึน้ อยา่ ง จริงจัง เริ่มมีการส่งออกยาสูบและครามจากฟิลิปปินส์ไปสเปนต้ังแต่ ค.ศ. ๑๗๘๓ การ ปลูกอ้อยและป่านอบากา (abaca) ในพื้นท่ีขนาดใหญ่เพ่ือเป็นสินค้าส่งออกก็เร่ิมขึ้น ในชว่ งเวลาเดยี วกนั น ้ี สถานการณท์ างเศรษฐกจิ ชว่ งปลายครสิ ตศ์ ตวรรษที่ ๑๘ ทำ� ใหเ้ กดิ ระบบอาเซียนดา (Hacienda System) ขน้ึ ในฟิลปิ ปินส์ ระบบนใ้ี นอาณานิคมอื่น ๆ ใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เรียกว่า การเพาะปลูกขนาดใหญ่ (plantation) ซ่ึงน�ำรายได้ 256

สาธารณรัฐฟิลิปปนิ ส์ มหาศาลมาสู่เจ้าของท่ีดินและเจ้าของกิจการที่เกี่ยวข้องในอาณานิคม ส่วนใหญ่คือพวก บาทหลวงคาทอลกิ พวกชนช้นั นำ� เดมิ และพวกลกู ผสมจนี ในกรณีของฟิลิปปินส์ แต่ใน ขณะเดียวกันก็ก่อปัญหาทางสังคมและท�ำให้ชาวพื้นเมืองกลายเป็นผู้เช่าหรือกลายเป็น เกษตรกรไรท้ ีด่ นิ ในท่สี ดุ ปญั หาท่ดี นิ ทำ� กินไดก้ ลายเป็นสาเหตุสำ� คญั ส่วนหนึง่ ของความ คับแคน้ ทีน่ ำ� ไปสกู่ ารลุกฮอื จนถงึ การกบฏหลายครง้ั จนสน้ิ คริสต์ศตวรรษท่ี ๑๙ ตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษท่ี ๑๘ จนเข้าสู่คริสต์ศตวรรษท่ี ๑๙ ความ เปลย่ี นแปลงทางการเมอื งและเศรษฐกจิ ในยโุ รปสง่ ผลใหร้ ัฐบาลสเปนตอ้ งผอ่ นคลายการ ผูกขาดทางการค้าและการควบคุมทางการผลิตในดินแดนอาณานิคม การค้ากัลเลียน ปดิ ฉากลงในทศวรรษ ๑๘๑๐ หลงั จากเมก็ ซโิ กประกาศเอกราชใน ค.ศ. ๑๘๒๑ สเปนตอ้ ง ปกครองฟิลปิ ปนิ ส์โดยตรงจึงมปี ัญหาดา้ นระยะทางเพ่มิ ขึน้ อยา่ งมาก ในกลางทศวรรษ ๑๘๓๐ สเปนกเ็ ปดิ ใหพ้ อ่ คา้ ตา่ งชาตคิ า้ ขายไดอ้ ยา่ งเสรที มี่ ะนลิ า การเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ชว่ งนเ้ี ปดิ โอกาสใหพ้ วกลกู ผสมจนี ในฟลิ ปิ ปนิ สป์ รบั ตวั เปน็ ชนชน้ั กลางทเ่ี ขยบิ ฐานะสงู ขน้ึ ท้ังทางเศรษฐกิจและสังคม ซ่ึงหลายตระกูลจะขยายอิทธิพลทางเศรษฐกิจและการเมือง สืบทอดกนั ต่อมา เม่ือถึงคร่ึงหลังของคริสต์ศตวรรษที่ ๑๙ ชนชั้นกลางเหล่านี้มีโอกาสได้รับ การศึกษาแบบตะวันตกมากข้ึน เนื่องจากโรงเรียนท่ีพวกบาทหลวงต้ังเร่ิมเปิดโอกาสให้ ลูกหลานชาวฟิลิปปินได้เข้าเรียนมากกว่าเดิม อันเป็นผลมาจากกระแสแนวคิดเสรีนิยม (Liberalism) ในประเทศสเปน อกี ทัง้ ชาวฟิลิปปินบางสว่ นมที นุ รอนพอทจ่ี ะไดไ้ ปศกึ ษา ตอ่ ในยโุ รป แตข่ า้ ราชการและพวกบาทหลวงชาวสเปนยงั คงใชเ้ สน้ แบง่ ทางชาตพิ นั ธก์ุ ดี กนั พวกลูกผสมและชาวพ้ืนเมือง เพื่อรักษาอ�ำนาจและความม่ังค่ังเอาไว้ในพวกของตน ปัญญาชนชาวฟิลิปปินที่ได้รับการศึกษาแบบตะวันตกเหล่านี้เป็นท่ีรู้จักกันในนาม พวก อลิ สุ ตราโดส (Ilustrados) ซึง่ มใิ ชจ่ �ำกัดอยู่เพียงพวกลกู ผสม (mestizos) แตร่ วมถึงพวก เชือ้ สายของผู้นำ� ตามจารตี เดมิ (insulares) และชนพืน้ เมอื ง (indios) ชาวฟลิ ิปปนิ ดว้ ย พวกอิลุสตราโดสได้สะสมความไม่พึงพอใจที่มีต่อชาวสเปนมากขึ้นเป็นล�ำดับ ในเดือน มกราคม ค.ศ. ๑๘๗๒ เกดิ กบฏคนงานและทหารชาวฟลิ ปิ ปนิ ทอี่ ตู่ อ่ เรอื ในกาบเิ ต (Cavite) 257

สารานกุ รมประวัตศิ าสตร์ประเทศเพ่ือนบา้ นในอาเซียน ซึ่งตั้งอยู่ริมอ่าวตรงข้ามมะนิลา เหตุการณ์ลุกลามและน�ำไปสู่การจับกุมผู้ต้องสงสัยว่า จะไมภ่ ักดีต่อรัฐบาล นักบวชชาวฟิลิปปนิ คนสำ� คญั ๓ คนถูกประหารชวี ติ และพลเรอื น ที่ถูกจับกุมถูกเนรเทศไปยังเกาะกวม หลังจากเหตุการณ์ดังกล่าวไม่นาน นักศึกษา ชาวฟลิ ปิ ปนิ ในมหาวทิ ยาลยั ทกี่ รงุ มาดรดิ รวมตวั กนั ตง้ั สมาคม “ชาวพนื้ เมอื งผกู้ ลา้ หาญ” (Los Indios Bravos—The Brave Indians) และออกหนงั สอื พมิ พ์ ชอื่ La Solidaridad ทีม่ ีการลกั ลอบน�ำเขา้ ไปเผยแพร่ในฟิลิปปินส์ดว้ ย สุสานของนักบวชท้ัง ๓ คน ที่สวนสาธารณะปาโก กรงุ มะนิลา ผนู้ ำ� นกั ศกึ ษาฟลิ ปิ ปนิ คนสำ� คญั (ตอ่ มาเปน็ จกั ษแุ พทย)์ ในชว่ งนค้ี อื โฆเซ รซิ าล (José Rizal) ผู้ประพนั ธ์นวนยิ ายอมตะ ๒ เรื่อง คอื Noli Me Tangere [ค.ศ. ๑๘๘๗ ฉบับแปลไทย ช่ือ อันล่วงละเมิดมิได้ (พ.ศ. ๒๕๔๘)] และ El Filibusterismo (ค.ศ. ๑๘๙๑) ซึ่งวิพากษ์วิจารณ์และโจมตีเจ้าอาณานิคมสเปนท้ังท่ีเป็นข้าราชการและ 258

สาธารณรัฐฟลิ ิปปนิ ส์ บาทหลวงคาทอลิก ส่งอิทธิพลต่อความรู้สึกชาตินิยมฟิลิปปินส์ที่ก่อตัวขึ้นในเวลาต่อมา อยา่ งลึกซง้ึ รซิ าลเดินทางกลบั ฟิลิปปนิ สใ์ น ค.ศ. ๑๘๙๒ และร่วมกบั ผรู้ กั ชาตกิ ลมุ่ หนึ่ง ก่อต้ังสมาคมที่เรียกว่า สันนิบาตฟิลิปปิน (La Liga Filipina—The Filipino Union) ขึ้นในเดือนกรกฎาคม สมาคมนี้ต้ังขึ้นโดยเปิดเผยเพ่ือการช่วยเหลือเก้ือกูลกันระหว่าง ผู้คนท่ัวทั้งหมู่เกาะฟิลิปปินและต่อสู้กับความอยุติธรรมท้ังหลาย โดยมิได้ประกาศว่า ต้องการเอกราชจากสเปน แต่หลังจากนั้นเพียง ๓ วัน ทางการสเปนก็จับกุมริซาลและ เนรเทศเขาไปทจี่ งั หวัดซมั โบองั กาทางตอนใต ้ สมาชิกคนหน่ึงของสมาคม ชอ่ื อนั เดรส โบนิฟาซโิ อ (Andres Bonifacio) เหน็ วา่ การรวมตวั กันเพ่ือเคลอื่ นไหวอยา่ งสนั ติไม่อาจ น�ำไปสู่จุดหมายที่พึงประสงค์ได้จริง จึงรวมกับพรรคพวกกลุ่มหนึ่งก่อต้ังสมาคมลับชื่อ กาติปนู ัน (Katipunan) ซง่ึ ม่งุ มัน่ สู่การได้รบั เอกราชจากสเปนไมว่ า่ จะใช้วิธกี ารใดก็ตาม สมาคมลบั น้ีมีสมาชกิ เพิม่ ขน้ึ อย่างรวดเร็ว มกี ารสะสมอาวธุ และปลูกฝังแนวคิดชาตินยิ ม ผา่ นทางสญั ลกั ษณแ์ ละงานเขยี นต่าง ๆ  อย่างไรก็ดี ใน ค.ศ. ๑๘๙๖ ทางการสเปนได้ ทราบความเคล่อื นไหวของสมาคมนีแ้ ละปราบปรามอยา่ งเฉียบขาด หลงั จากต้องสญู เสยี ในการต่อสู้หลายครั้ง โบนิฟาซิโอพร้อมกับพวกจ�ำนวนหน่ึงล่าถอยไปที่จังหวัดกาบิเต ทางตะวันออกเฉียงใต้ของมะนิลา สมทบกับกองก�ำลังของสมาคมในท้องถิ่นท่ีน�ำโดย โฆเซ รซิ าล อนั เดรส โบนิฟาซโิ อ 259

สารานุกรมประวัตศิ าสตรป์ ระเทศเพอื่ นบ้านในอาเซยี น เอมิลิโอ อากีนัลโด (Emilio Aquinaldo) ซ่ึงต้อนรับโบนิฟาซิโออย่างดีในตอนแรก ในชว่ งเวลาใกลเ้ คยี งกนั นน้ั ทางการสเปนประหารชวี ติ รซิ าล เมอื่ วนั ที่ ๓๐ ธนั วาคม ๑๘๙๖ ทั้ง ๆ ที่เขาไม่เห็นด้วยกับการต่อสู้เพื่อเอกราชโดยใช้ก�ำลังอาวุธ การกระท�ำของสเปน จึงกลับโหมกระพือกระแสความรู้สึกชาตินิยมฟิลิปปินส์มากยิ่งขึ้น หลังจากน้ัน โบนฟิ าซโิ อกบั กลมุ่ ของอากนี ลั โดเรมิ่ ขดั แยง้ กนั และในทส่ี ดุ ลกู นอ้ งของอากนี ลั โดสงั หาร โบนิฟาซโิ อถึงแก่ความตาย ในช่วงปลาย ค.ศ. ๑๘๙๗ พวกกาตปิ นู ันพยายามกอ่ ตงั้ สาธารณรฐั ทเี่ ปน็ อิสระ จากการปกครองของสเปนข้ึน โดยใช้รัฐธรรมนูญที่ร่างตามแนวทางของคิวบา ขณะนั้น การสรู้ บระหวา่ งรฐั บาลสเปนกบั พวกกาตปิ นู นั คงดำ� เนนิ อยู่ แตส่ เปนกำ� ลงั เผชญิ กบั ความ ยุง่ ยากในอาณานิคมทเ่ี หลอื ในทวีปอเมริกา คือ การทำ� สงครามกับกลมุ่ เรียกร้องเอกราช ในคิวบา จึงหาทางยุติข้อขัดแย้งในฟิลิปปินส์ด้วยการเจรจาสงบศึก โดยจ่ายเงินชดเชย จ�ำนวนหนงึ่ ให้แก่อากีนลั โดกบั พรรคพวก และอนญุ าตใหพ้ วกเขาล้ภี ยั ไปอยู่ท่ีฮอ่ งกง ระหว่างเดือนเมษายน–สิงหาคม ค.ศ. ๑๘๙๘ เกิดสงครามสเปน-สหรฐั อเมริกา (Spanish- American War) อนั เปน็ ผลมาจากการทสี่ หรฐั อเมรกิ า เข้าแทรกแซงในความขัดแย้งท่ีคิวบา เน่ืองจาก สหรฐั อเมรกิ ากำ� ลังขยายอำ� นาจเข้าคุมแปซฟิ กิ ทันที หลังจากประกาศสงคราม รัฐบาลสหรฐั ฯ ส่งกองเรือ ของตนเข้าโจมตกี องกำ� ลงั สเปนทฟ่ี ลิ ปิ ปนิ ส ์ แมจ้ ะได้ ชัยชนะในยุทธนาวีที่อ่าวมะนิลา แต่ผู้บัญชาการ เอมลิ ิโอ อากีนัลโด กองเรือของสหรัฐฯ ตระหนักว่าจะไม่สามารถได้ ชัยชนะขั้นเด็ดขาดและเข้ายึดครองฟิลิปปินส์จากสเปนได้ด้วยกองก�ำลังของตน ในขณะนนั้ จงึ ตดิ ตอ่ นำ� อากนี ลั โดมาจากฮอ่ งกงเพอื่ ใหเ้ ปน็ ผนู้ ำ� ชาวฟลิ ปิ ปนิ ตอ่ สกู้ บั สเปน ไปพร้อมกัน กองก�ำลังฝ่ายฟิลิปปินส์ได้รับชัยชนะเหนือฝ่ายสเปนเป็นล�ำดับจนสามารถ เข้าปิดล้อมมะนิลาทางบกได้ ในขณะที่กองเรือสหรัฐฯ ปิดล้อมทางน�้ำเอาไว้ ในที่สุด 260

สาธารณรัฐฟลิ ิปปินส์ เมือ่ วันท่ี ๗ สิงหาคม ข้าหลวงใหญ่สเปน จงึ ประกาศยอมจ�ำนนตอ่ สหรฐั อเมรกิ า มใิ ช่ต่อ “กบฏ” ชาวพนื้ เมอื ง อย่างไรก็ตาม นับตั้งแต่อากีนัลโดกลับมาน�ำการต่อสู้และม่ันใจว่าฝ่ายต่อต้าน สเปนจะได้รับชัยชนะ เขาจึงประกาศเอกราชของประเทศฟิลิปปินส์จากการเป็น อาณานิคมของสเปนอันยาวนานถึง ๓๓๓ ปี เมื่อวันท่ี ๑๒ มิถุนายน ค.ศ. ๑๘๙๘ ท่ีกาบเิ ต โดยมอี ากีนัลโดด�ำรงตำ� แหน่งประธานาธิบดขี องรัฐบาลปฏิวตั ิ หลังจากทสี่ เปน ยอมแพ้ท่ีมะนิลาแล้วกองทัพสหรัฐฯ ไม่ยอมให้ฝ่ายฟิลิปปินส์เข้าเมือง รัฐบาลปฏิวัติ จงึ ย้ายทีม่ ่นั ไปยงั เมอื งมาโลโลส (Malolos) และด�ำเนนิ การรา่ งรัฐธรรมนูญและประกาศ ใชเ้ มื่อวันท่ี ๒๑ มกราคม ค.ศ. ๑๘๙๙ เป็นท่รี ้จู กั กันในนาม รฐั ธรรมนญู แหง่ มาโลโลส (Malolos Constitution) ตามช่ือสาธารณรัฐมาโลโลส (Malolos Republic) หรือต่อมา เรียกกันว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (ท่ี ๑) ซึ่งเป็นสาธารณรัฐท่ีเป็นเอกราชแห่งแรก ของประชาชนชาวเอเชยี ทหารฟลิ ิปปนิ รอตอ้ นรบั ประธานาธบิ ดีอากีนัลโดที่เมืองมาโลโลส 261

สารานุกรมประวตั ิศาสตรป์ ระเทศเพ่อื นบา้ นในอาเซียน ในขณะเดยี วกนั สหรฐั อเมรกิ าไดร้ บั ชยั ชนะในสงครามกบั สเปนตามสนธสิ ญั ญา ปารีสซ่ึงลงนามกันเมื่อเดือนธันวาคม ค.ศ. ๑๘๙๘  สเปนยกหมู่เกาะฟิลิปปิน (รวมทั้ง เกาะกวมและเปอร์โตริโก) ใหแ้ ก่สหรัฐอเมรกิ า รฐั บาลสหรัฐฯ ซึ่งมวี ิลเลียม แมก็ คนิ ลีย์ (William McKinley) แหง่ พรรครพิ บั ลกิ นั เปน็ ประธานาธบิ ด ี มนี โยบายขยายอำ� นาจทาง เศรษฐกิจและการเมอื งออกไปนอกประเทศ โดยเฉพาะการขยายตวั มาทางตะวนั ตกหรอื เขตมหาสมุทรแปซิฟิกผ่านทางหมู่เกาะฮาวาย จึงตัดสินใจผนวกฟิลิปปินส์เป็นส่วนหนึ่ง ของตน ฝา่ ยขบวนการชาตนิ ยิ มฟลิ ปิ ปนิ สร์ สู้ กึ วา่ ถกู หกั หลงั สงครามครงั้ ใหมจ่ งึ เรม่ิ ขน้ึ คอื สงครามฟิลิปปินส์-สหรัฐอเมริกา (Philippine-American War) กองก�ำลังอเมริกันยึด เมืองมาโลโลสได้ต้ังแต่เดือนมีนาคม ค.ศ. ๑๘๙๙ แต่ฝ่ายสาธารณรัฐยังคงสู้ต่อไป ส่วนใหญ่เป็นการสู้รบแบบกองโจร จนกระทั่งอากีนัลโดถูกจับได้ในเดือนมีนาคม ค.ศ. ๑๙๐๑ เขาถกู บงั คบั ใหอ้ อกประกาศใหท้ กุ คนวางอาวธุ แตก่ ย็ งั มกี ลมุ่ ผขู้ ดั ขนื อยบู่ า้ ง และตอ่ สอู้ ย่างประปรายต่อมาอกี หลายปี เม่ือสหรัฐอเมริกาเร่ิมเข้าปกครองฟิลิปปินส์ มีการเปล่ียนแปลงทางการเมือง การปกครองไปจากเดมิ ในสมยั สเปน เชน่ ประชาชนมีสิทธิเสรภี าพทางการเมอื งมากขนึ้ มีสถาบันและองค์ประกอบทางการเมืองท่ีแสดงถึงความเป็นประชาธิปไตยมากข้ึน ขา้ หลวงใหญช่ าวอเมรกิ นั ๓ คนแรกเปน็ ผบู้ ญั ชาการทหาร เนอื่ งจากยงั อยใู่ นภาวะสงคราม และต้องการสรา้ งความสงบเรยี บรอ้ ย จนกระท่ัง ค.ศ. ๑๙๐๑ รัฐบาลสหรัฐฯ จงึ แต่งต้ัง วลิ เลียม ฮาวเวิรด์ ทฟั ต์ (William Howard Taft) เปน็ ขา้ หลวงใหญ่พลเรอื นคนแรกของ สหรัฐอเมริกาประจ�ำฟิลิปปินส์ เขาปฏิบัติหน้าที่อยู่จนถึง ค.ศ. ๑๙๐๔ จึงกลับไป สหรัฐอเมริกา และต่อมาได้รับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริการะหว่าง ค.ศ. ๑๙๐๙–๑๙๑๓ ทัฟต์เป็นนักการเมืองสังกัดพรรคริพับลิกัน ซึ่งมีแนวนโยบาย ต่างประเทศในทางจักรวรรดินิยมและมองบทบาทของสหรัฐอเมริกาในฐานะผู้น�ำ ความเจรญิ มาสฟู่ ลิ ปิ ปนิ สม์ ากกวา่ ทจ่ี ะไวว้ างใจใหช้ าวฟลิ ปิ ปนิ ปกครองตนเองภายในเวลา อันสนั้ ชะตากรรมทางการเมืองของฟลิ ิปปินส์ภายใต้การปกครองของสหรฐั อเมริกาแม้ จะต่างไปจากสมัยท่ีสเปนปกครองอยู่มาก แต่ก็ถูกก�ำหนดโดยกระแสการเมือง 262

สาธารณรฐั ฟลิ ปิ ปนิ ส์ ในสหรฐั อเมรกิ า โดยเฉพาะในดา้ นนโยบายของพรรครพิ บั ลกิ นั และพรรคเดโมแครตมากกวา่ ความตอ้ งการของชาวฟลิ ปิ ปนิ เอง ตงั้ แต่ ค.ศ. ๑๙๑๓ วดู โรว์ วลิ สนั (Woodrow Wilson) แห่งพรรคเดโมแครต ได้รับเลือกเป็นประธานาธิบดี และพรรคเดโมแครตครองเสียง ข้างมากในสภาผแู้ ทนราษฎร  มานเู อล เกซอน (Manuel Quezon) ผแู้ ทน (Resident Commissioner) ของฟลิ ปิ ปนิ ส์ในรัฐสภาสหรัฐอเมรกิ า เสนอชื่อฟรานซสิ บ.ี แฮรร์ ิสนั (Francis B. Harrison) ใหป้ ระธานาธบิ ดพี จิ ารณาแตง่ ตง้ั เปน็ ขา้ หลวงใหญป่ ระจำ� ฟลิ ปิ ปนิ ส์ สืบต่อจากข้าหลวงใหญ่คนก่อนท่ีเป็นตัวแทนจากพรรคริพับลิกัน  เม่ือมาถึงฟิลิปปินส์ แฮร์ริสันประกาศเจตจ�ำนงของประธานาธิบดีวิลสันท่ีจะด�ำเนินการตามขั้นตอนเพ่ือให้ หมู่เกาะฟิลิปปินเป็นเอกราชในท่ีสุด สมาชิกพรรคเดโมแครตในสหรัฐอเมริกาผลักดัน นโยบายตามเจตจ�ำนงดังกล่าว ท�ำให้รัฐสภาผ่านรัฐบัญญัติท่ีเรียกกันว่า กฎหมายโจนส์ (Jones Bill) ตามชอื่ ของผู้เสนอ กฎหมายน้ีสญั ญาจะให้เอกราชแกฟ่ ิลิปปินส์ในทันทที ม่ี ี การจดั ตง้ั รฐั บาลทม่ี เี สถยี รภาพมนั่ คงขน้ึ บรหิ ารประเทศ ทงั้ ยงั กำ� หนดใหม้ สี ภานติ บิ ญั ญตั ิ ที่มาจากการเลือกต้ังโดยชาวฟิลิปปิน แฮร์ริสันมีบทบาทส�ำคัญในการบังคับใช้และ ด�ำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมายนี้ตลอดเวลา ๗ ปีที่เขาด�ำรงต�ำแหน่งข้าหลวงใหญ่ ประจ�ำฟิลิปปินส์ เขาเน้นนโยบาย “การท�ำให้เป็นฟิลิปปินส์” (Filipinization) ซึ่งเปิด โอกาสให้ชาวฟิลิปปินเข้าด�ำรงต�ำแหน่งส�ำคัญทางการเมืองและการบริหารมากข้ึน เรอ่ื ย ๆ รวมทงั้ มกี ารสรา้ งและปรบั ปรงุ กลไกหลายสว่ นเพอื่ การปกครองตนเอง อนั เปน็ การ เตรยี มการส�ำหรับชาวพื้นเมืองเพือ่ นำ� ไปสเู่ อกราช ในส่วนผู้น�ำทางการเมืองชาวฟิลิปปินเองมีความเคลื่อนไหวท่ีส�ำคัญ คือ การ ก่อตัง้ พรรคชาตนิ ิยม (Nacionalista Party) ซ่งึ ไดร้ ับชัยชนะอยา่ งท่วมทน้ ในการเลอื กต้ัง ภายในของฟิลิปปินส์ตั้งแต่ ค.ศ. ๑๙๐๗ เป็นต้นมา [เกซอนและเซร์จิโอ ออสเมนญา (Sergio Osmeña) เปน็ ผนู้ ำ� คนสำ� คญั ของพรรคน]ี้ มกี ารสง่ คณะผแู้ ทนชดุ ตา่ ง ๆ มากกวา่ ๑๐ ชดุ ไปยงั สหรัฐอเมรกิ าเพอื่ เรง่ รัดการได้ปกครองตนเอง เม่อื พรรคเดโมแครตกลบั มา มอี �ำนาจทางการเมอื งอกี ครัง้ หน่งึ ในสหรฐั อเมรกิ า แฟรงกลนิ ดี. โรสเวลต์ (Franklin D. Roosevelt) ได้รับเลือกเป็นประธานาธิบดีใน ค.ศ. ๑๙๓๓ การผลักดันฟิลิปปินส์ 263

สารานุกรมประวตั ศิ าสตร์ประเทศเพือ่ นบา้ นในอาเซียน ให้เป็นเอกราชก็ด�ำเนินต่อไปเร็วขึ้น ในปีถัดมามีการออกกฎหมายไทดิงส์-แม็กดัฟฟี (Tydings-McDuffie Act) ซง่ึ ก�ำหนดจะให้เอกราชแก่ฟิลิปปนิ ส์ภายใน ๑๐ ปี เร่ิมมีการ ร่างรัฐธรรมนูญโดยชาวฟิลิปปินซึ่งประกาศใช้หลังจากได้รับความเห็นชอบจาก ประธานาธิบดีโรสเวลต์ใน ค.ศ. ๑๙๓๕ อันเป็นปีเริ่มต้นของการปกครองในระบบ เครอื จกั รภพ (Commonwealth) ทสี่ หรฐั อเมรกิ ายงั คงอ�ำนาจตดั สนิ ใจทางดา้ นกลาโหม และการต่างประเทศ ผู้น�ำชาวฟิลิปปินที่เข้ารับต�ำแหน่งประธานาธิบดีคนแรก คือ มานูเอล เกซอน ซ่ึงเป็นผู้ท่ีมีบทบาทส�ำคัญในการติดต่อกับรัฐบาลสหรัฐอเมริกา มาโดยตลอด ในดา้ นสงั คม สหรฐั อเมรกิ ามบี ทบาทสำ� คญั ยง่ิ ในการพฒั นาการศกึ ษาตามแบบ สมัยใหม่ โดยเมื่อสิน้ สดุ สมัยสเปนน้นั สดั ส่วนของชาวฟลิ ปิ ปินทไ่ี ดร้ ับการศึกษายงั มีน้อย โรงเรียนและระบบการศึกษาส่วนมากอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของบาทหลวงนิกาย โรมันคาทอลิก ซง่ึ เอื้อประโยชน์แกช่ นชน้ั สงู และชนชั้นกลางเปน็ หลกั เมื่อสหรฐั อเมริกา เข้ามาปกครอง ได้ให้ความส�ำคัญแก่การศึกษามากที่สุดไม่ว่าจะในระดับใดหรือเพ่ือ ชนกลุ่มใด ในช่วงแรกมีการน�ำครูจากสหรัฐอเมริกาหลายร้อยคนมาช่วยฝึกอบรมครู ทอ้ งถนิ่ อยา่ งเรง่ รดั จำ� นวนครแู ละนกั เรยี นในโรงเรยี นทบทวขี น้ึ อยา่ งรวดเรว็ ในเวลาเพยี ง ช่วั อายคุ น การศกึ ษาไดร้ ับงบประมาณกว่าครงึ่ หนงึ่ ของรายจา่ ยของรฐั บาล การขยายตัว ดังกล่าวรวมไปถึงระดับอุดมศึกษา ที่มีการต้ังมหาวิทยาลัยจ�ำนวนมากเพิ่มจาก มหาวทิ ยาลัยของคาทอลิกที่มีอยเู่ ดิม รวมทงั้ มหาวทิ ยาลยั แห่งฟิลิปปนิ ส์ (University of the Philippines) ก็จดั ตงั้ ขึ้นในช่วงนี ้ ภายในเวลาไม่ถงึ ๓ ทศวรรษ ชาวฟลิ ิปปนิ ไดร้ ับ โอกาสทางการศึกษาสูงกว่าประชาชนในดินแดนอาณานิคมใด ๆ ทั้งหมดในเอเชีย นอกจากนน้ั สหรฐั อเมรกิ ายงั สง่ เสรมิ การเรยี นการสอนและการใชภ้ าษาองั กฤษในโรงเรยี น ข้อมูลชิ้นหน่ึงเสนอว่า ภายใน ค.ศ. ๑๙๓๙ ประชากรฟิลิปปินส์ประมาณ ๑ ใน ๔ (ร้อยละ ๒๕) สามารถพดู ภาษาองั กฤษได้ อนั เป็นคณุ สมบตั ิพื้นฐานทีส่ �ำคญั และส่งผลแก่ ชาวฟิลิปปนิ ตอ่ มาอกี ยาวนาน รวมไปถงึ การเปน็ สอื่ รบั อทิ ธพิ ลวฒั นธรรมอเมรกิ นั เข้ามา ในสังคมฟลิ ิปปินสอ์ ยา่ งเข้มข้น 264

สาธารณรัฐฟิลปิ ปินส์ สิ่งท่ียังคงเป็นปัญหาสืบมาในสังคมฟิลิปปินส์ คือ การสร้างโอกาสที่เท่าเทียม กนั ทางเศรษฐกจิ ตง้ั แตส่ มยั สเปนความเหลอื่ มลำ้� ทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งกลมุ่ ชนปรากฏอยู่ อย่างเด่นชัด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสังคมเกษตรซึ่งที่ดินมีความส�ำคัญมาก เมื่อ สหรฐั อเมรกิ าไดช้ ยั ชนะเหนอื สเปน และเขา้ มาเปน็ เจา้ อาณานคิ มรายใหม่ ผปู้ กครองชาว อเมริกันตระหนักว่าปัญหาที่ดินเป็นปัญหาส�ำคัญเร่งด่วน ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อการรักษา ความสงบเรียบร้อยในอาณานิคมแห่งน้ี จึงวางนโยบายจัดสรรท่ีดินให้แก่ผู้ไร้ท่ีท�ำกิน วางระบบและกฎเกณฑ์เก่ียวกับการจดทะเบียนกรรมสิทธิ์ที่ดิน ปรับปรุงสถานภาพ ของผู้เช่าที่ดินท�ำกิน จนถึงพยายามท่ีจะสลายผืนท่ีดินขนาดใหญ่อย่างเช่นอาเซียนดา (Hacienda) ต่าง ๆ ความพยายามของรัฐบาลสหรัฐอเมริกาไม่ประสบความส�ำเร็จดังที่ต้ังใจไว้ ตวั อยา่ งเช่น การจดั ตัง้ นคิ มการเกษตรใน ค.ศ. ๑๙๐๒ ขัดกับวถิ กี ารด�ำรงชีพและการทำ� กนิ ทคี่ นุ้ เคย กบั ทงั้ พวกเจา้ ของทดี่ นิ รายใหญย่ งั ขดั ขวางการใชก้ ฎหมายดงั กลา่ วดว้ ย ทำ� ให้ ชาวพน้ื เมอื งผไู้ รท้ ที่ ำ� กนิ ไมต่ อ้ งการเขา้ ไปอยใู่ นนคิ มทต่ี งั้ ขน้ึ การจดั ตง้ั ศาลกรรมสทิ ธท์ิ ดี่ นิ ที่เร่ิมเคล่ือนไหวมาตั้งแต่ ค.ศ. ๑๙๐๒ ก็ไม่ได้รับผลตามที่คาดคิดเน่ืองจากเกษตรกร ชาวฟลิ ปิ ปนิ จำ� นวนมากไมส่ ามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากกระบวนการยตุ ธิ รรมสมยั ใหม่ เพราะ ขาดความรู้ความเข้าใจ ไม่ชอบการข้ึนโรงข้ึนศาล รวมถึงไม่มีเงินจ่ายค่าทนายและ ค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ในขณะท่ีเจ้าของท่ีดินรายใหญ่กลับใช้ประโยชน์จากศาลดังกล่าว อย่างเต็มที่ จนศาลกลายเป็นกลไกในการรับรองกรรมสิทธ์ิท่ีดินของพวกเขา รวมท้ังใน หลายกรณีทำ� ให้การขบั ไลเ่ กษตรกรออกจากท่ีดินเปน็ เรอื่ งถกู ต้องตามกฎหมาย รัฐบาลสหรัฐอเมริกายังพยายามใช้วิธีการต่าง ๆ เพื่อสลายการถือครองที่ดิน ขนาดใหญ่ เชน่ การซอื้ ทดี่ นิ จากบาทหลวงและองคก์ รศาสนา จนถงึ ในชว่ งปลายทศวรรษ ๑๙๓๐ ซง่ึ เปน็ ชว่ งเปลยี่ นผา่ นทางการเมอื ง มานเู อล เกซอนเปน็ ผนู้ ำ� รฐั บาล เขาพยายาม เวนคืนที่ดินของอาเซียนดา เพื่อจะน�ำมาปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม แต่ก็ยังไม่ส�ำเร็จ เชน่ ในกรณีการซ้อื ท่ีดนิ จากบาทหลวง บาทหลวงก็ตอ่ ต้านและไมย่ อมขายท่ีดินสว่ นท่ีดี ทส่ี ดุ ใหร้ ฐั บาล แตก่ ลบั ขายใหน้ กั ธรุ กจิ อเมรกิ นั ทใ่ี หร้ าคาดกี วา่ สำ� หรบั เกษตรกรบางสว่ น 265

สารานุกรมประวัติศาสตรป์ ระเทศเพอื่ นบ้านในอาเซียน ท่ีได้รับที่ดินไปก็ขาดการสนับสนุนด้านสินเช่ือและโครงสร้างพื้นฐาน ท�ำให้เกษตรกร จำ� ตอ้ งขายทดี่ นิ เหลา่ นน้ั ในทส่ี ดุ ทด่ี นิ จงึ กลบั ไปอยใู่ นมอื เจา้ ของทด่ี นิ รายใหญช่ าวอเมรกิ นั และชาวฟิลปิ ปินทม่ี ง่ั คัง่ ในด้านการค้า นโยบายของสหรัฐอเมริกาไม่ช่วยส่งเสริมการกระจายอ�ำนาจ และความมงั่ คง่ั ทางเศรษฐกจิ มากเทา่ ใดนกั ตงั้ แต่ ค.ศ. ๑๙๐๙ สหรฐั อเมรกิ ายกเวน้ ภาษี ใหก้ บั การนำ� เขา้ ผลผลติ จากฟลิ ปิ ปนิ สส์ ตู่ ลาดในสหรฐั ฯ ขณะเดยี วกนั ผลผลติ จากสหรฐั ฯ ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นสินค้าอุตสาหกรรมก็สามารถเข้าสู่ตลาดในฟิลิปปินส์ได้โดยเสรี เชน่ เดยี วกนั สนิ คา้ ทน่ี �ำเขา้ โดยเสรจี ากสหรฐั ฯ มบี ทบาทส�ำคญั ตอ่ การชะลอการขยายตวั ของภาคอตุ สาหกรรมในฟลิ ปิ ปนิ ส์ ขณะทสี่ นิ คา้ สง่ ออกทางการเกษตร โดยเฉพาะนำ้� ตาล สามารถท�ำรายได้สงู ในตลาดที่ได้รับการปกปอ้ งจากสหรัฐฯ แตก่ ลุ่มคนทไ่ี ดร้ ับประโยชน์ สูงสุด คือ เจ้าของท่ีดินขนาดใหญ่และเจ้าของโรงงานผลิตน้�ำตาล คนเหล่าน้ีจึงยังคง สามารถรักษาอ�ำนาจทางสังคมและการเมืองในหมู่พวกตนต่อไปได้อีกอย่างยาวนาน นอกจากน้ัน นโยบายทางการค้าดังกล่าวยังส่งผลในระดับมหภาค ท�ำให้ฟิลิปปินส์ต้อง พ่ึงพาสหรัฐอเมริกา ไม่ว่าจะเป็นการน�ำเข้าหรือการส่งออก ภาวะการพ่ึงพาดังกล่าวส่ง ผลกระทบตอ่ ชาวฟลิ ปิ ปนิ อยา่ งรนุ แรงในยามทเี่ ศรษฐกจิ โลกมปี ญั หา เชน่ ในชว่ งเศรษฐกจิ ตกต่�ำครง้ั ใหญ่ (Great Depression) เม่อื ตน้ ทศวรรษ ๑๙๓๐ การยึดครองของสหรัฐอเมริกายังส่งผลต่อการเปล่ียนแปลงทางศาสนาและ วฒั นธรรมที่สำ� คญั ในสมยั สเปน คริสตจกั รโรมันคาทอลกิ มบี ทบาทและอ�ำนาจสงู สดุ ใน สังคม คร้ันในสมัยการต่อสู้เพ่ือเอกราชจากสเปน พวกบาทหลวงและคริสตจักรตกเป็น เป้าโจมตีที่ส�ำคัญ เมื่อสหรัฐอเมรกิ าเขา้ มาปกครองแลว้ จึงมแี นวปฏิบตั ิในการใหเ้ สรภี าพ ทางศาสนา และแยกอิทธิพลของศาสนจักรออกจากสถาบันทางการเมืองและสงั คม ใน ค.ศ. ๑๙๐๒ มีการจัดตั้งคริสตจักรอิสระแห่งฟิลิปปินส์ (Philippine Independent Church) ไมข่ น้ึ ตอ่ คริสตจักรโรมนั คาทอลิกทก่ี รุงโรม จากการส�ำรวจส�ำมะโนประชากร ใน ค.ศ. ๑๙๑๘ พบวา่ มชี าวฟลิ ปิ ปนิ เปน็ สมาชิกคริสตจกั รใหมน่ ถี้ งึ ประมาณรอ้ ยละ ๑๕ นอกจากนน้ั ยงั มคี นจำ� นวนหนง่ึ ทเ่ี ปลยี่ นไปนบั ถอื ครสิ ตศ์ าสนานกิ ายโปรเตสแตนตซ์ งึ่ กลมุ่ 266

สาธารณรัฐฟิลิปปนิ ส์ มิชชันนารีจากสหรัฐอเมริกาน�ำเข้ามาเผยแผ่พร้อมกับการจัดต้ังโรงพยาบาลและสถาน ศกึ ษาตามแบบอเมรกิ นั แตจ่ ำ� นวนคนเหลา่ นยี้ งั นบั เปน็ สดั สว่ นเพยี งเลก็ นอ้ ยเมอื่ เทยี บกบั ประชากรสว่ นใหญท่ เี่ ปน็ คาทอลกิ กลมุ่ จารตี เดมิ ซงึ่ ยงั คงอยภู่ ายใตค้ รสิ ตจกั รทสี่ บื ทอดมา จากสมัยสเปนและรกั ษาความสมั พนั ธ์กบั สันตะปาปาทีว่ าตกิ นั เอาไว้ เม่ือสงครามโลกคร้ังท่ี ๒ เร่ิมข้ึนทางฝั่ง ลูอสิ ตารุก แปซิฟกิ กองทพั ญ่ีปุ่นเข้าโจมตฟี ลิ ปิ ปนิ ส์ในตอนเชา้ โฆเซ เป. เลาเรล วันที่ ๘ ธันวาคม ค.ศ. ๑๙๔๑ ประมาณ ๑๐ ช่ัวโมง หลังจากการโจมตีฐานทัพเพิร์ลฮาร์เบอร์ (Pearl Harbor) ของสหรฐั อเมริกาทฮี่ าวาย ประธานาธิบดี เกซอนและรองประธานาธบิ ดอี อสเมนญาพรอ้ มดว้ ย ผนู้ ำ� ระดบั สงู สว่ นหนง่ึ หนไี ปอยทู่ บี่ าตาน กอ่ นทจี่ ะหนี ตอ่ ผา่ นออสเตรเลยี ไปยงั สหรฐั อเมรกิ าเพอ่ื ตง้ั รฐั บาล พลัดถ่ินขึ้นที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. (ต่อมาเกซอนป่วย และถงึ แก่อสัญกรรมท่ีสหรัฐอเมริกาใน ค.ศ. ๑๙๔๔ ออสเมนญาจึงรับหน้าที่เป็นผู้น�ำต่อมา) ในขณะ เดียวกัน ญ่ีปุ่นเข้ายึดครองหมู่เกาะฟิลิปปินและ บริหารจัดการโดยได้รับความร่วมมือจากชนช้ันน�ำ ชาวฟิลิปปินบางส่วน ขณะที่ชนช้ันน�ำอีกบางส่วน โดยเฉพาะพวกที่นิยมหรือมีผลประโยชน์ร่วมกับ สหรัฐอเมริกา รวบรวมผู้คนหลบหนีเข้าป่าเพื่อต่อสู้ กบั ญปี่ นุ่ ในรปู แบบกองโจรหลายกลมุ่ โดยกระจายกนั ไปตามเกาะตา่ ง ๆ นอกจากนนั้ กลมุ่ ตอ่ ตา้ นทส่ี ำ� คญั คอื พวกฮกุ บาลาฮับ (Hukbalahap) เรยี กยอ่ วา่ ฮุก (Huks) ซ่ึงมีลอู ิส ตารกุ (Luis Taruc) เป็นผู้น�ำกลมุ่ คอมมิวนิสต์ที่มุ่งตอบสนองต่อความเดือดร้อนของ ชาวนากเ็ รม่ิ เคลอ่ื นไหวทางตอนกลางของเกาะลซู อน ในช่วงนี้ 267

สารานุกรมประวัตศิ าสตรป์ ระเทศเพือ่ นบา้ นในอาเซยี น หลังจากที่กองทัพสหรัฐอเมริกาเร่ิมตีโต้ญี่ปุ่นในมหาสมุทรแปซิฟิกตั้งแต่ต้น ค.ศ. ๑๙๔๓ ญ่ีปนุ่ กเ็ ร่มิ ปรบั นโยบายและความสัมพันธ์กับผ้นู �ำทางการเมืองของดนิ แดน ภายใตก้ ารยดึ ครองของตนในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ในวันท่ี ๑๔ ตุลาคม ค.ศ. ๑๙๔๓ กองทัพญ่ีปุ่นสถาปนาสาธารณรฐั ฟลิ ิปปินส์ (ที่ ๒) ซ่ึงได้รับการรับรองจากประเทศไทย แมนจูกัว และสาธารณรัฐจีน [ที่มีหวาง จิงเว่ย์ (Wang Chingwei) เป็นผู้น�ำ] ทันที โดยก่อนหน้าน้ันญ่ีปุ่นใช้แรงกดดันอย่างหนักให้รัฐสภาฟิลิปปินส์เลือกโฆเซ เป. เลาเรล (José P. Laurel) เข้าด�ำรงต�ำแหน่งประธานาธิบดีในวันเดียวกันกับการสถาปนา สาธารณรัฐ เลาเรลเป็นนักกฎหมายและนักการเมืองผู้ที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับญี่ปุ่น ตั้งแต่ช่วงก่อนสงคราม มีหลักฐานอ้างว่า ก่อนเกซอนหนีออกจากฟิลิปปินส์ ได้ขอให้ เลาเรลรั้งอยู่เพ่ือช่วยดูแลฟิลิปปินส์ท่ีญี่ปุ่นก�ำลังจะเข้ายึดครองเน่ืองจากตระหนักใน สถานะความสัมพันธ์อันดีระหว่างเลาเรลกับญ่ีปุ่น แม้เลาเรลอ้างว่าการตัดสินใจรับ ต�ำแหน่งหัวหน้ารัฐบาลภายใต้การยึดครองของญ่ีปุ่นเป็นไปเพื่อผลประโยชน์ของ ชาวฟิลิปปิน แต่การบริหารประเทศในช่วงสงครามเป็นไปอย่างยากล�ำบากมาก ความ อดอยากเป็นปญั หาหลกั ราคาสนิ ค้าอุปโภคบรโิ ภคท่ีจ�ำเป็นพ่งุ สงู ข้นึ อย่างไม่เคยปรากฏ มากอ่ นแมร้ ฐั บาลพยายามอยา่ งมากทจี่ ะเพม่ิ การผลติ และเขา้ ควบคมุ ราคาสนิ คา้ แตภ่ าวะ สงครามภายใต้การยึดครองของญี่ปุ่น อาทิ ปฏิบัติการอันไร้มนุษยธรรมของกองทหาร ญป่ี นุ่ โดยเฉพาะการขม่ ขนื และการสงั หารหมชู่ าวฟลิ ปิ ปนิ ปฏบิ ตั กิ ารกองโจรตอ่ ตา้ นญป่ี นุ่ และมาตรการตอบโต้ทญ่ี ป่ี ุ่นใชเ้ พือ่ ปราบปรามกลุ่มกองโจร ทำ� ใหภ้ ารกิจของรัฐบาลเป็น ไปอย่างยากล�ำบากจนเกือบถึงขัน้ ที่จะเปน็ ไปไม่ได้ ในด้านการต่างประเทศ หลังจากสถาปนาสาธารณรัฐเม่ือวันท่ี ๒๐ ตุลาคม ค.ศ. ๑๙๔๓ ก็มีการลงนามในสนธิสัญญาพันธมิตรระหว่างฟิลิปปินส์กับญ่ีปุ่น กลาโร เอ็ม. เร็กโต (Claro M. Recto) ซึง่ ไดร้ บั แต่งต้งั ใหด้ ำ� รงต�ำแหนง่ รฐั มนตรีว่าการกระทรวง การตา่ งประเทศ ลงนามร่วมกบั โซเซยี ว มุระตะ (Sozyo Murata) เอกอัครราชทูตญ่ีปุน่ ประจำ� ฟลิ ปิ ปนิ ส ์ อยา่ งไรกต็ าม สนธสิ ญั ญานไ้ี มไ่ ดร้ ะบถุ งึ การเกณฑช์ าวฟลิ ปิ ปนิ เปน็ ทหาร เขา้ รว่ มรบ ญปี่ นุ่ ตอ้ งการใหฟ้ ลิ ปิ ปนิ สป์ ระกาศสงครามกบั สหรฐั อเมรกิ าอยา่ งเปน็ ทางการ 268

สาธารณรฐั ฟลิ ิปปนิ ส์ แตเ่ ลาเรลขดั ขวางอยา่ งเตม็ ท่ี แมใ้ นทส่ี ดุ จะตอ้ งยอมตามแรงกดดนั จากฝา่ ยญปี่ นุ่ เกอื บ ๑ ปีต่อมาเม่อื สงครามใกลจ้ ะยตุ ิ หลังการลงนามในสนธิสัญญาพันธมิตรเพียง ๒ สัปดาห์ เลาเรลและเร็กโตก็ เดินทางไปร่วมการประชุมมหาเอเชียบูรพา (Greater East Asia Conference) ท่ีกรุงโตเกียว อันเป็นการประชุมสุดยอดนานาชาติของผู้น�ำรัฐต่าง ๆ ที่เป็นสมาชิกของ วงไพบลู ย์มหาเอเชียบูรพา (Greater East Asia Co-prosperity Sphere) การประชมุ ดังกล่าวเน้นบทบาทของญี่ปุ่นในฐานะผู้ปลดปล่อยเอเชียจากจักรวรรดินิยมตะวันตก ซง่ึ ในกรณขี องฟิลิปปินสก์ ค็ ือการปลดปลอ่ ยจากอ�ำนาจของสหรฐั อเมริกา ญปี่ ุ่นตอ้ งการ ความรว่ มมอื เรอื่ งเศรษฐกจิ และการระดมทรพั ยากรเพอื่ การสงครามอยา่ งมาก ในระหวา่ ง ท่ีเข้ายึดครองฟิลิปปินส์ ญ่ีปุ่นพิมพ์ธนบัตรข้ึนใช้เอง ธนบัตรดังกล่าวรู้จักกันในนาม เงนิ มิกก้ีเมาส์ ซง่ึ หมดคา่ ไปทนั ทเี ม่อื สงครามยุติลง ในดา้ นการเมอื งภายใน ญปี่ นุ่ ใหย้ บุ พรรคการเมอื งหรอื กลมุ่ การเมอื งทเี่ คยมมี า แต่เดิมท้ังหมด และผลักดันให้จัดต้ังองค์กรทางการเมืองเพ่ือสนับสนุนการท�ำงานของ รฐั บาล คอื กาลีบาปี (KALIBAPI–Kapisanan sa Paglilingkod sa Bagong Pilipinas) ท่อี ้างวา่ เพ่อื ใหบ้ ริการสาธารณะ มากกวา่ เป็นกลุ่มหรอื พรรคการเมือง แต่องคก์ รที่จดั ต้งั ใหม่นไ้ี ม่เป็นท่ียอมรบั ในหมชู่ นชน้ั นำ� จ�ำนวนมาก ในเดอื นธันวาคม ค.ศ. ๑๙๔๔ ขณะทสี่ หรฐั อเมริกากำ� ลงั รุกคืบหนา้ ในสมรภมู ิ แปซิฟิก ผู้บัญชาการทหารญี่ปุ่นส่ังให้เลาเรลพร้อมด้วยคณะรัฐมนตรีของเขาย้ายไป บาเกียว (Baguio) ต่อมาในเดือนมีนาคม ค.ศ. ๑๙๔๕ ก็แจ้งพวกเขาว่าต้องไปญี่ปุ่น เลาเรลกับผนู้ ำ� รัฐบาลอกี ๒-๓ คนพร้อมด้วยครอบครัวต้องเดนิ ทางไปกรุงโตเกียว หลงั ญ่ีป่นุ ประกาศยอมแพ้สงครามเมอ่ื วันที่ ๑๕ สิงหาคม ค.ศ. ๑๙๔๕ เลาเรลกถ็ กู กองกำ� ลงั สหรฐั ฯ จบั กมุ เขาถกู คมุ ขงั อยใู่ นญป่ี นุ่ เปน็ เวลาเกอื บปี จงึ ถกู สง่ กลบั มาคมุ ขงั ตอ่ ทมี่ ะนลิ า นายพลดกั ลสั แมก็ อาเทอร์ (Douglas McArthur) นำ� กองทพั สหรฐั อเมรกิ าเขา้ ยดึ ฟลิ ปิ ปนิ สค์ นื จากญปี่ นุ่ ตามทเ่ี คยลน่ั วาจาไว้ แทนทจี่ ะสง่ มอบอำ� นาจใหก้ บั ออสเมนญา 269

สารานกุ รมประวัตศิ าสตร์ประเทศเพอื่ นบา้ นในอาเซียน ในฐานะผนู้ �ำรฐั บาลพลัดถิ่น แม็กอาเทอรก์ ลับเลอื กสนับสนุนมานเู อล โรฮาส (Manuel Roxas) ซง่ึ เคยเปน็ พวกผนู้ �ำท่รี ่วมมอื กบั ญีป่ ่นุ และเป็นประธานวุฒสิ ภา แต่ตดิ ต่อทางลับ กบั หนว่ ยข่าวกรองสหรฐั ฯ ด้วย โรฮาสจึงเป็นผู้นำ� คนสดุ ท้ายของรฐั บาลในเครอื จักรภพ สหรฐั อเมริกาส่งมอบเอกราชให้แก่ฟิลิปปินสใ์ นวันที่ ๔ กรกฎาคม ค.ศ. ๑๙๔๖ พร้อมกับ สถาปนาสาธารณรฐั แหง่ ฟลิ ปิ ปนิ ส์ (ที่ ๓) โรฮาสกเ็ ขา้ ดำ� รงตำ� แหนง่ ประธานาธบิ ดคี นแรก โรฮาสประกาศนริ โทษกรรมใหแ้ กผ่ ทู้ ถี่ กู กลา่ วหาวา่ รว่ มมอื กบั ญป่ี นุ่ (และทรยศ ต่อสหรัฐอเมริกา) ทัง้ หมด รวมท้งั อดตี ประธานาธิบดีโฆเซ เลาเรล โดยหวังความสามคั คี ในกลุ่มชนช้ันน�ำที่จะช่วยกอบกู้ฟิลิปปินส์จากซากสงคราม (สัญลักษณ์ท่ีชัดเจนคือ กรงุ มะนลิ าไดร้ บั ความเสยี หายอยใู่ นอนั ดบั ตน้ ของบรรดาเมอื งหลวงทถี่ กู โจมตใี นระหวา่ ง สงครามโลกครงั้ ท่ี ๒) ขณะเดียวกัน ฟิลิปปนิ สก์ ต็ อ้ งการความชว่ ยเหลอื อย่างมากและ เรง่ ดว่ นจากสหรัฐอเมริกา ซงึ่ ผา่ นกฎหมาย ๒ ฉบบั คอื รัฐบัญญัตเิ บลล์ (Bell Act) ยืด ระยะเวลาการค้าเสรีระหว่างสหรัฐอเมริกากับฟิลิปปินส์ออกไปอีก ๘ ปี กับรัฐบัญญัติ ไทดงิ ส์ (Tydings Act) ชว่ ยเหลอื คา่ เสยี หายจากสงคราม อยา่ งไรกต็ าม ชาวฟลิ ปิ ปนิ ตอ้ ง ยอมแลกผลประโยชน์ทางการค้าและความช่วยเหลือทางการเงินดังกล่าวกับการแก้ไข รฐั ธรรมนญู เพอื่ อนญุ าตใหผ้ ถู้ อื สญั ชาตอิ เมรกิ นั มสี ทิ ธใ์ิ ชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากรธรรมชาติ รวมถึงที่ดินและมีสิทธิ์ด�ำเนินกิจการสาธารณูปโภคเท่าเทียมกับชาวฟิลิปปิน ท่ีเรียกว่า parity rights ทั้งรัฐบาลต้องยอมท�ำสัญญาระยะยาว ๙๙ ปี ให้สหรัฐอเมริกาเช่าพื้นที่ ฐานทัพบก-เรือ-อากาศ ซ่ึงทหารอเมริกันแทบจะมีอ�ำนาจอธิปไตยเหนือพื้นที่เหล่านั้น โดยสิน้ เชงิ ลูอิส ตารุกและพวกฮุกซึ่งตั้งพรรคการเมืองเข้าต่อสู้ตามวิถีทางรัฐสภาและ ได้รับเลือกตั้งเป็นผู้แทนราษฎรรวม ๗ คน คัดค้านการแก้ไขรัฐธรรมนูญ เพราะเห็นว่า ท�ำให้ชาวฟิลิปปินเสียประโยชน์อย่างร้ายแรง แต่ท้ังหมดกลับถูกขับออกจากสภาด้วย ขอ้ หาโกงการเลอื กตงั้ และกอ่ การรา้ ย ทำ� ใหก้ ารแกไ้ ขรฐั ธรรมนญู ผา่ นไปได้ แตก่ ท็ ำ� ใหพ้ วก ฮุกกลับไปต่อสู้ด้วยก�ำลังอาวุธ ซึ่งย่ิงทวีความรุนแรงเป็นปัญหาส�ำคัญของประเทศ ในเวลาต่อมา 270

สาธารณรฐั ฟิลิปปินส์ ประธานาธิบดีโรฮาสถึงแก่อสัญกรรมด้วยอาการหัวใจวายในเดือนเมษายน ค.ศ. ๑๙๔๘ ก่อนครบวาระการด�ำรงต�ำแหน่ง (วาระ ๔ ปี) รองประธานาธิบดี เอลปดิ โิ อ กริ โิ น (Elpidio Quirino) เขา้ รบั ต�ำแหนง่ แทน ในปีตอ่ มาเขาก็ลงสมัครและ ได้รับเลือกต้ังเป็นประธานาธิบดี โดยในการเลือกต้ังครั้งนี้ผู้สมัครแข่งขันคนส�ำคัญคือ โฆเซ เลาเรล ซง่ึ ตอ้ งการกลับมาพิสจู นต์ วั เอง แตก่ ลบั ถกู โจมตีอยา่ งหนกั ดว้ ยขอ้ กล่าวหา ว่าร่วมมือกับญ่ีปุ่นและทรยศต่อชาติระหว่างสงครามโลกคร้ังที่ ๒ กิริโนได้ชัยชนะจาก การเลือกตั้งท่ถี ือกันวา่ สกปรกท่สี ดุ คร้ังหนึ่งในประวตั ศิ าสตร์การเมืองฟิลิปปินส์ รฐั บาลของกริ โิ นไมส่ ามารถแกป้ ญั หาตา่ ง ๆ ทยี่ งั คงรมุ เรา้ ฟลิ ปิ ปนิ สอ์ ยไู่ ด้ เพราะ ต้องเผชิญกับการโจมตีเรื่องการทุจริตคอร์รัปชัน ผนวกกับการต่อต้านด้วยก�ำลังอาวุธ ของกบฏฮกุ ทร่ี ุนแรงมากข้ึน รามอน มักไซไซ (แมกไซไซ) (Ramon Magsaysay) ผ้ดู �ำรง ต�ำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมเริ่มมีบทบาทโดดเด่นจากการใช้ก�ำลังทหาร ปราบปรามกบฏฮุกพร้อมกับการเอาชนะด้วยการสามารถดึงประชาชนกลับมาอยู่ฝ่าย รัฐบาล มักไซไซมีบคุ ลิกเปน็ ท่ีนา่ เลือ่ มใสและแสดงภาวะผนู้ �ำที่เขม้ แขง็ จึงมีนกั การเมอื ง ทงั้ ฝา่ ยรฐั บาลและฝา่ ยคา้ น รวมทงั้ สหรฐั อเมรกิ า สนบั สนนุ ใหเ้ ขาลงสมคั รรบั เลอื กตงั้ เปน็ ประธานาธิบดเี ม่อื วาระการด�ำรงตำ� แหนง่ ของกิริโนจะส้ินสดุ ลง อย่างไรกต็ าม กริ ิโนเอง รามอน มักไซไซ การล์ อส เป. การ์เซีย 271

สารานกุ รมประวัติศาสตร์ประเทศเพ่อื นบา้ นในอาเซียน ก็ลงสมัครด้วยเพราะต้องการอยู่ในต�ำแหน่งต่อไปอีกวาระหนึ่ง ผลการเลือกตั้งใน ค.ศ. ๑๙๕๓ ปรากฏว่ามักไซไซได้รับชัยชนะอย่างท่วมท้น หลังจากเขาเข้าด�ำรงต�ำแหน่ง ประธานาธิบดีเพียงไม่กี่เดือน กบฏฮุกก็ปิดฉากลง เม่ือลูอิส ตารุกยอมจ�ำนนโดยไม่มี เงือ่ นไขในเดอื นพฤษภาคม ค.ศ. ๑๙๕๔ มกั ไซไซสง่ คนไปเจรจากับตารุกในทางลับกอ่ น การยอมจ�ำนน ผู้แทนคนดังกลา่ ว คอื เบนกิ โน เอส. อากโี น จูเนยี ร์ (Benigno S. Aquino Jr.) นักหนังสือพิมพ์ผู้ท่ีจะเป็นนักการเมืองคนส�ำคัญในเวลาต่อมาและเป็นบิดาของ ประธานาธิบดแี ห่งฟลิ ปิ ปนิ ส์คนปัจจบุ ัน (ค.ศ. ๒๐๑๕) มกั ไซไซดำ� เนนิ การปฏริ ปู เศรษฐกจิ และสงั คมของฟลิ ปิ ปนิ สต์ ามทเ่ี ขาไดป้ ระกาศ ไว้ระหว่างการหาเสียงเลือกตั้ง เขาผลักดันจนกระทั่งกฎหมายปฏิรูปท่ีดินผ่านความ เหน็ ชอบของรฐั สภาใน ค.ศ. ๑๙๕๕ ขณะเดยี วกนั รฐั บาลกด็ ำ� เนนิ โครงการพฒั นาชนบท พร้อมไปกับการแก้ปัญหาเร่ืองท่ีดินซ่ึงซับซ้อนและสะสมกันมายาวนาน ในสมัยน้ี ฟิลิปปินส์บรรลุข้อตกลงกับญ่ีปุ่นในเรื่องค่าปฏิกรรมสงครามจากความเสียหายใน สงครามโลกครั้งที่ ๒ ซึ่งญ่ีปุ่นตกลงจ่ายเงินให้แก่ฟิลิปปินส์จ�ำนวน ๘๐๐ ล้านดอลลาร์ สหรัฐ โดยแบ่งจา่ ยภายในเวลา ๒๐ ปี ในเวทีการเมืองระหว่างประเทศ ระยะดังกล่าว เปน็ ชว่ งทสี่ งครามเยน็ ทท่ี วคี วามตงึ เครยี ดขน้ึ หลงั สงครามเกาหลี (Korean War) ฟลิ ปิ ปนิ ส์ เข้าร่วมก่อต้ังองค์การสนธิสัญญาร่วมป้องกันแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast Asian Treaty Organization–SEATO) ซ่ึงมกี ารลงนามในสนธิสญั ญากอ่ ตัง้ องค์กรนี้ ที่ กรงุ มะนลิ า เม่อื เดอื นกนั ยายน ค.ศ. ๑๙๕๔ ด้วย จากพนั ธสญั ญาดังกลา่ ว ฟิลปิ ปินส์สง่ ทหารไปร่วมปฏิบัติการในสงครามเวียดนาม (Vietnam War) และเปิดโอกาสให้ สหรัฐอเมริกาได้ใช้ฐานทัพเรือและฐานทัพอากาศเพื่อสนับสนุนการรบในอินโดจีนอย่าง ต่อเนือ่ งจนส้นิ สุดสงคราม การดำ� เนนิ นโยบายตา่ งประเทศในสมยั มกั ไซไซไดร้ บั เสยี งคดั คา้ นจากนกั การเมอื ง ฟิลิปปินส์อยู่ไม่น้อย โดยเฉพาะในประเด็นการตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของสหรัฐอเมริกา ทงั้ ในดา้ นการเมอื งและดา้ นเศรษฐกจิ กระแสคดั คา้ นดงั กลา่ วเกดิ ขน้ึ พรอ้ มกบั ความเขม้ ขน้ ของกระแสชาตินิยมฟิลิปปินส์ ซึ่งเห็นได้จากการผลักดันจนรัฐสภาผ่านกฎหมาย 272

สาธารณรฐั ฟลิ ิปปนิ ส์ ริซาล (Rizal Bill) ทีก่ ำ� หนดใหน้ วนยิ ายคลาสสกิ ๒ เล่มของโฆเซ ริซาล คอื Noli Me Tangere กบั El Filisbusterismo เป็นหนังสอื บังคบั ให้นกั ศกึ ษาระดับอุดมศึกษาทุกคน ตอ้ งอา่ น แมจ้ ะมเี สียงคัดคา้ นอย่างหนกั จากฝา่ ยคริสตจักรโรมนั คาทอลกิ กต็ าม มักไซไซคาดหวังว่าจะได้รับเลือกต้ังเป็นประธานาธิบดีสมัยที่ ๒ แต่ในเดือน มีนาคม ค.ศ. ๑๙๕๗ เขาประสบอุบัติเหตุเครือ่ งบนิ ตกถงึ แก่อสัญกรรมท่ีเกาะเซบู รอง ประธานาธิบดกี ารล์ อส เป. การเ์ ซยี (Carlos P. Garcia) จงึ เขา้ รับต�ำแหนง่ ประธานาธิบดี ในช่วงเวลาท่เี หลอื อกี ๘ เดอื น และลงสมคั รรับเลอื กตงั้ เปน็ ประธานาธิบดีสมยั ต่อมาใน นามพรรคชาตินิยม โดยมีโฆเซ เลาเรล จูเนียร์ บุตรชายอดีตประธานาธิบดีเลาเรล ลงสมคั รเป็นรองประธานาธบิ ดีในนามพรรคเดยี วกนั การเลือกต้งั ประธานาธิบดีใน ค.ศ. ๑๙๕๗ เป็นไปอย่างคึกคักมาก มีนักการเมืองคนส�ำคัญลงสมัครแข่งขันกันมากท่ีสุด คร้ังหน่ึง ผลการเลือกตั้งปรากฏว่าการ์เซียได้รับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดี แต่ผู้ได้รับ เลือกต้ังเป็นรองประธานาธิบดีกลับกลายเป็นดิออสดาโด มากาปากัล (Diosdado Macapagal) จากพรรคเสรนี ิยมซึง่ เปน็ พรรคคแู่ ขง่ ส�ำคญั ของพรรคชาตนิ ยิ ม รัฐบาลของประธานาธิบดีการ์เซียสนับสนุนกระแสชาตินิยมฟิลิปปินส์มากขึ้น โดยเฉพาะในด้านชาตินิยมทางเศรษฐกิจ ท่ีให้ความส�ำคัญกับนักธุรกิจหรือนักลงทุน ชาวฟิลิปปินเป็นพิเศษตามนโยบายฟิลปิ ปนิ ส์ต้องมาก่อน (Filipino First Policy) ซึง่ ได้ รบั เสยี งคดั คา้ นจากองคก์ รและนกั ธรุ กจิ ตา่ งประเทศ นโยบายดงั กลา่ วสง่ ผลกระทบอยา่ ง มากตอ่ ภาคอุตสาหกรรมซงึ่ มอี ัตราการลงทุนจากตา่ งประเทศสงู การ์เซียตอ้ งการจ�ำกดั การน�ำเข้า โดยเฉพาะสินค้าฟุ่มเฟือย และสนับสนุนผู้ประกอบการภายในประเทศ นโยบายของรัฐบาลมีส่วนท�ำให้เกิดการเติบโตในด้านดังกล่าว แต่ภาพรวมของรัฐบาล การเ์ ซยี ยงั คงประสบปญั หาเดมิ ของฟลิ ปิ ปนิ ส์ คอื การทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั ทงั้ ในระบบราชการ และในกลุ่มนักการเมือง ซึ่งบ่ันทอนความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจและสร้างภาพลักษณ์ เชิงลบที่ลดความนา่ เช่อื ถือและความนิยมในรฐั บาล อย่างไรก็ตาม นโยบายชาตินิยมของการ์เซียประสบความส�ำเร็จในด้าน วัฒนธรรม มีการฟื้นฟูศิลปะและวัฒนธรรมฟิลิปปินส์อย่างแพร่หลาย มีการตั้งรางวัล 273

สารานกุ รมประวัติศาสตร์ประเทศเพ่อื นบา้ นในอาเซยี น ระดับชาติที่จะมอบเป็นประจ�ำให้แก่ผู้มีผลงานทางศิลปะ ดนตรี วรรณกรรม และ ประวัติศาสตร์ กับทั้งยังสนับสนุนการเผยแพร่ศิลปะและวัฒนธรรมฟิลิปปินส์ใน ตา่ งประเทศด้วย นโยบายและการบรหิ ารงานของรฐั บาลสมยั ประธานาธบิ ดกี ารเ์ ซยี ไมส่ รา้ งความ นิยมในหมู่ประชาชนมากนัก เมื่อการ์เซียลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีอีกสมัย หนึ่ง ใน ค.ศ. ๑๙๖๑ เขาจงึ พา่ ยแพ้แกร่ องประธานาธบิ ดขี องเขาทส่ี ังกัดพรรคการเมอื ง ตรงกันข้าม คอื ดิออสดาโด มากาปากลั แม้มากาปากัลสังกัดพรรคเสรีนิยม แต่รัฐบาลด�ำเนินนโยบายบางประการซ่ึง สนับสนุนแนวทางชาตนิ ยิ มทีไ่ ดด้ �ำเนนิ มาในรัฐบาลชดุ ก่อน ๆ ผลงานสำ� คัญ คือ เปลี่ยน วันประกาศเอกราชของฟิลิปปินส์ จากวันที่ ๔ กรกฎาคม อันเป็นวันได้รับเอกราชจาก สหรฐั อเมรกิ า ไปใชว้ นั ที่ ๑๒ มิถนุ ายน อนั เปน็ วนั ประกาศเอกราชจากสเปน (ใน ค.ศ. ๑๘๙๘) การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวนอกจากจะลดความส�ำคัญของสหรัฐอเมริกาใน ประวตั ศิ าสตรฟ์ ลิ ิปปนิ ส์ลงแลว้ ยงั ยำ�้ ความสำ� คญั ของสาธารณรัฐฟลิ ปิ ปินส์ (ท่ี ๑) และ ความเป็นประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐเอกราชของอากีนัลโด ไม่เพียงเท่านั้นยังรับรอง สถานะของโฆเซ เลาเรล เปน็ ประธานาธิบดขี องสาธารณรฐั ฟลิ ิปปินส์ (ที่ ๒) อยา่ งเป็น ทางการอกี ดว้ ย นอกจากผลงานทเ่ี ปน็ สญั ลกั ษณท์ างการเมอื งแลว้ มากาปากลั ยงั สง่ เสรมิ การใช้ภาษาประจ�ำชาติ คือ ฟิลิปิโน ในโอกาส สถานที่ และเอกสารต่าง ๆ เช่น หนงั สอื เดินทาง ใบประกาศนยี บัตร ตราไปรษณยี ากร ปา้ ยจราจร มากาปากลั ใหค้ วามสำ� คญั กบั เกษตรกรในชนบท มกี ารออกกฎหมายปฏริ ปู ทด่ี นิ เพ่ือเกษตรกรรม ทีเ่ น้นความสำ� คญั และประกันการอยูร่ อดของเกษตรกรรายย่อย พร้อม กับผลักดันนายทุนเจ้าของที่ดินให้ย้ายจากภาคเกษตรไปลงทุนในภาคอุตสาหกรรม ถึง แมว้ า่ รฐั บาลจะมนี โยบายทใี่ สใ่ จเกษตรกรมากเพยี งใดกต็ าม แตส่ ภาพทแ่ี ทจ้ รงิ ทางสงั คม เชน่ การกระจกุ ตวั ของทด่ี นิ และความมง่ั คงั่ ในหมคู่ นบางกลมุ่ ทส่ี ะสมกนั มาเปน็ เวลานาน ปัญหาการทุจริตคอร์รัปชัน และความด้อยประสิทธิภาพของระบบราชการ ท�ำให้การ 274

สาธารณรฐั ฟลิ ิปปินส์ ปฏิรูปไม่ประสบความส�ำเร็จมากนัก ความเดือดร้อนและไม่พึงพอใจของเกษตรกรยังคง ปรากฏอยู่ เหน็ ไดจ้ ากการเคลอ่ื นไหวของกลมุ่ คอมมิวนิสตท์ ีย่ ังคงเปน็ ปัญหาสืบมา ในด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ฟิลิปปินส์เป็นผู้น�ำการเคล่ือนไหวท่ีจะ จัดต้ังกรอบความร่วมมือในรูปแบบสหพันธ์ซึ่งไม่เน้นการเมืองหรือการทหาร ท่ีเรียกว่า มาฟิลินโด (MAPHILINDO–Malaya-Philippines-Indonesia) โดยอ้างย้อนไปถึง ความใฝฝ่ นั ของโฆเซ รซิ าล ทหี่ วงั เหน็ ความสมคั รสมานของประชากรเชอ้ื สายมลายู เหนอื เส้นแบ่งเขตประเทศท่ีเกิดจากสมัยอาณานิคม มากาปากัลเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม สดุ ยอดท่ีกรุงมะนลิ าเมือ่ เดือนกรกฎาคม ค.ศ. ๑๙๖๓ เพ่ือเสนอเร่อื งการจดั ต้ังสหพันธ์ ดงั กลา่ ว อยา่ งไรกต็ าม ในความเปน็ จรงิ ฟลิ ปิ ปนิ สเ์ องมปี ญั หาขดั แยง้ กบั สหพนั ธรฐั มลายา (ที่ก�ำลังจะกลายเป็นมาเลเซียในเดือนกันยายนของปีน้ัน) ในเรื่องรัฐซาบาห์ (Sabah) ขณะที่ประธานาธิบดีซูการ์โนแห่งอินโดนีเซียประกาศนโยบายเผชิญหน้ากับมาเลเซีย ความคิดรเิ รม่ิ ที่จะจดั ต้ังกรอบความร่วมมอื ระหวา่ งประเทศทั้งสาม จึงหยุดชะงักลง ในการเลือกตั้งประธานาธบิ ดเี ม่อื ค.ศ. ๑๙๖๕ มากาปากลั ลงสมคั รรบั เลอื กตง้ั อีกสมัยหน่ึง เขาต้องเผชิญกับคู่แข่งคนส�ำคัญ คือ เฟอร์ดินันด์ มาร์กอส (Ferdinand Marcos) ซ่ึงขณะนั้นเป็นประธานวุฒิสภา มาร์กอสเคยได้รับเลือกต้ังเป็นสมาชิกสภา ผ้แู ทนราษฎร (ค.ศ. ๑๙๔๙) และต่อมาเป็นสมาชิกวุฒสิ ภา (ค.ศ. ๑๙๕๙) ในนามพรรค เสรีนิยม แต่ใน ค.ศ. ๑๙๖๔ เขาเปลี่ยนไปสังกัดพรรคชาตินิยม ก่อนที่จะลงสมัครรับ เลือกต้ังเปน็ ประธานาธบิ ดี ผลการเลอื กต้งั ปรากฏวา่ มาร์กอสไดร้ บั ชัยชนะดว้ ยคะแนน เสยี งขา้ งมากที่ชัดเจน ในช่วงแรกของการด�ำรงต�ำแหน่งประธานาธิบดี มาร์กอสประสบความส�ำเร็จ ในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจของประเทศ ด้วยการสร้างงานสาธารณประโยชน์ เช่น ถนน ระบบชลประทาน และโครงสร้างพื้นฐานอื่น ๆ รวมทั้งการใช้มาตรการเร่งรัดการเก็บ ภาษี เพอื่ นำ� เงนิ มาใชใ้ นโครงการตา่ ง ๆ ทเ่ี ขาเสนอ เชน่ การพฒั นาชมุ ชน การเพม่ิ ผลผลติ อาหาร และการสบื ต่องานปฏริ ูปที่ดิน มารก์ อสเสนอใหส้ ่งหนว่ ยทหารของฟิลปิ ปนิ ส์ไป 275

สารานกุ รมประวัตศิ าสตร์ประเทศเพ่ือนบา้ นในอาเซียน รว่ มปฏบิ ตั กิ ารทางทหารของสหรฐั อเมรกิ าในสงครามเวยี ดนาม ทง้ั ๆ ทก่ี อ่ นหนา้ นน้ั ขณะ ทเ่ี ขาเปน็ วฒุ สิ มาชกิ เคยคดั คา้ นการสง่ ทหารไปเวยี ดนามมาแลว้ อยา่ งไรกต็ าม การรกั ษา ความสมั พนั ธอ์ นั ดกี บั สหรฐั อเมรกิ าเปน็ แนวนโยบายทเ่ี ออ้ื ประโยชนใ์ นภาพรวม โดยเฉพาะ ทางด้านการค้าและการลงทุน รวมไปถึงการรับความช่วยเหลือในรูปแบบต่าง ๆ แต่ ประโยชน์ที่ได้รับจากความสัมพันธ์ดังกล่าวตกอยู่กับนักธุรกิจและนักการเมืองเพียง ส่วนน้อย ซึ่งมักจะเป็นพวกท่ีมีความสัมพันธ์เป็นพิเศษกับมาร์กอสและภรรยา คือ อเิ มลดา มาร์กอส (Imelda Marcos) ใน ค.ศ. ๑๙๖๙ มาร์กอสลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีอีกสมัยหนึ่ง และเปน็ คนแรกในประวตั ศิ าสตรส์ าธารณรฐั ฟลิ ปิ ปนิ สท์ ไี่ ดร้ บั เลอื กเปน็ ประธานาธบิ ดสี มยั ท่ี ๒ แต่ก็ปรากฏข่าวการซื้อเสียงและการทุจริตในลักษณะต่าง ๆ อย่างมากในการ เลือกต้ังครั้งน้ี รวมท้ังมาร์กอสได้ใช้เงินจากคลังของรัฐบาลมากกว่า ๕๐ ล้านดอลลาร์ สหรัฐในการรณรงคห์ าเสยี งเลือกตัง้ ของเขา ในช่วงเวลาน้ี มคี วามเคลื่อนไหวที่ปลกุ ฟื้นพรรคคอมมวิ นิสต์แหง่ ฟิลปิ ปนิ สข์ น้ึ มาใหม่ โดยมโี ฆเซ ไซซอน (José Sison) อดตี อาจารย์สอนภาษาอังกฤษท่มี หาวิทยาลยั แห่งฟิลิปปินส์เป็นผู้น�ำ การลุแก่อ�ำนาจของมาร์กอสและภรรยา การเล่นพรรคเล่นพวก การทุจริตคอร์รัปชัน การใช้เส้นสายในระบบราชการ ตลอดจนการแทรกแซงของ สหรฐั อเมรกิ าซ่ึงมีฐานทพั อยูห่ ลายแหง่ ในฟิลิปปินส์ ท�ำใหน้ ักศกึ ษาและประชาชนในเขต เมอื งกอ่ การประทว้ ง ตงั้ แตต่ น้ ค.ศ. ๑๙๗๐ การประทว้ งเพมิ่ ความถข่ี น้ึ และถกู ปราบปราม อย่างรุนแรง ขณะท่ีในชนบท อดีตนักรบฮุกและชาวนาที่ยากจนเข้าร่วมกับ พรรคคอมมิวนิสต์ใหม่ จนสามารถจัดต้ังกองก�ำลังที่เรียกว่า กองทัพประชาชนใหม่ (The New People’s Army–NPA) และไดร้ ับก�ำลงั สมทบมากขึน้ เรื่อย ๆ สถานการณ์เลวร้ายลงเป็นลำ� ดบั จนเข้าสู่ ค.ศ. ๑๙๗๑ ในปลายเดือนสงิ หาคม ระหว่างการหาเสียงเลอื กตัง้ สมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎรและสมาชกิ วุฒิสภา เกิดระเบดิ ข้นึ ในช่วงการรณรงค์ของพรรคเสรีนิยมซ่ึงเป็นฝ่ายตรงข้ามกับรัฐบาล ท�ำให้มีผู้เสียชีวิต 276

สาธารณรฐั ฟิลิปปนิ ส์ จ�ำนวนหนึ่ง และผู้สมัครเป็นวุฒิสมาชิกบางคนได้รับบาดเจ็บสาหัส คนส่วนใหญ่เชื่อว่า มารก์ อสอยเู่ บอื้ งหลงั การระเบดิ ครงั้ นี้ ทำ� ใหก้ ารเผชญิ หนา้ ระหวา่ งผปู้ ระทว้ งกบั เจา้ หนา้ ท่ี ฝ่ายรัฐบาลด�ำเนินต่อไปอย่างตึงเครียดมากข้ึน ในเดือนมิถุนายนปีต่อมา ฟิลิปปินส์ ต้องเผชิญภัยจากพายุไต้ฝุ่นครั้งร้ายแรงที่สุดอีกครั้งหนึ่ง สร้างความเสียหายต่อชีวิต ทรพั ยส์ นิ ของผ้คู น และต่อเศรษฐกจิ ของประเทศอยา่ งหนัก ในวันที่ ๒๒ กันยายน ค.ศ. ๑๙๗๒ มารก์ อสประกาศใชก้ ฎอัยการศึกในการ ปกครองประเทศ โดยอ้างภัยคุกคามจากคอมมิวนิสต์และความไม่สงบอันเกิดจาก ขบวนการแบ่งแยกดินแดนชาวมุสลิมในภาคใต้ ในตอนแรกผู้คนจ�ำนวนหนึ่งยอมรับ เหตุผลในการประกาศใช้กฎอัยการศึก เนื่องจากอึดอัดกับการเผชิญหน้าทางการเมืองที่ รุนแรง หวาดกลัวภัยคุกคามของคอมมิวนิสต์ และคาดหวังจะเห็นมาตรการแก้ปัญหา เศรษฐกจิ ทไ่ี ดผ้ ลรวดเรว็ อยา่ งไรกต็ าม วฒุ สิ ภา สภาผแู้ ทนราษฎร ตลอดจนหนว่ ยตวั แทน ในการปกครองส่วนท้องถ่ินทั้งหมดถูกยุบเลิก มหาวิทยาลัยใหญ่ท่ีเป็นหลักส�ำคัญและ สอื่ สารมวลชนถกู ปดิ มารก์ อสใชก้ ฎอยั การศกึ เปน็ ขอ้ อา้ งจบั กมุ คมุ ขงั นกั การเมอื งและนกั เคลอื่ นไหวทช่ี อบวจิ ารณร์ ฐั บาลและตวั เขาจำ� นวนหลายรอ้ ยคน นกั การเมอื งคนสำ� คญั ท่ี ถูกจับและคมุ ขงั คือ เบนกิ โน อากีโน จเู นียร์ ผ้นู �ำทางการเมอื งท่ีไดร้ บั การสนับสนุนจาก ประชาชนจ�ำนวนมาก และเป็นตัวเก็งที่คาดว่าจะได้รับต�ำแหน่งประธานาธิบดีต่อจาก มาร์กอส นักธุรกิจทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั นักการเมืองฝ่ายค้าน ถกู บีบให้ขายกิจการของตนใหแ้ ก่ ผู้ที่เปน็ เครือญาตแิ ละมิตรสหายของมาร์กอสและภรรยา สถานการณ์การต่อสู้ด้วยก�ำลังอาวุธในภาคใต้กลับย่ิงลุกลามข้ึน กองทัพ ประชาชนใหมเ่ ติบโตและแขง็ แกรง่ มากขึ้น สว่ นในเขตเมอื งทางตอนบน เกดิ เหตุการณ์ สำ� คัญในวนั ท่ี ๒๑ สิงหาคม ค.ศ. ๑๙๘๓ คอื การสงั หารเบนกิ โน อากีโน ท่ีสนามบินกรงุ มะนลิ า ขณะกลบั จากการไปรกั ษาตวั ทส่ี หรฐั อเมรกิ า งานศพของเขามกี ารชมุ นมุ ครงั้ ใหญ่ ที่สุดของประเทศ และการประทว้ งทีต่ ามมาหลงั จากนัน้ ก็ยง่ิ รุนแรงและขยายวงกว้างขึน้ การเดินขบวนและการรณรงค์ต่อต้านรัฐบาลมักเกิดขึ้นในเขตมากาติ (Makati) ซึ่งเป็น 277

สารานกุ รมประวัตศิ าสตรป์ ระเทศเพ่อื นบ้านในอาเซียน ยา่ นธรุ กจิ กลางกรงุ มะนลิ า จงึ สง่ ผลกระทบโดยตรงตอ่ เศรษฐกจิ ของประเทศ รวมถงึ ภาพ ขา่ วทแ่ี พรอ่ อกไปสู่สายตาชาวโลกทำ� ให้เกดิ แรงกดดันจากนานาชาติตอ่ รฐั บาลฟิลิปปินส์ เหตุการณด์ �ำเนนิ ไปถึง ๒ ปี จนกระทั่งมาร์กอสไมอ่ าจทนแรงกดดนั ทัง้ จากใน ประเทศและตา่ งประเทศไดต้ ่อไป จึงยอมใหม้ ีการเลือกตัง้ ประธานาธบิ ดี ซงึ่ เขาคดิ ว่าจะ สามารถชนะไดโ้ ดยงา่ ยเนอ่ื งจากมอี ำ� นาจอยใู่ นมอื และคู่แขง่ ขันมักจะแตกแยกและแขง่ กันเอง แต่สถานการณ์กลับผิดความคาดหมาย เมื่ออาร์ชบิชอปแห่งมะนิลา คาร์ดินัล ไฮเมซนิ เขา้ แทรกแซงและเกลยี้ กลอ่ มจนกระทงั่ เหลอื ผสู้ มคั รแขง่ กบั มารก์ อสเพยี งคนเดยี ว คือ โกราซอน อากีโน (Corazon Aquino) ผู้เป็นภรรยาม่ายของเบนิกโน อากีโน การเลือกต้ังมีข้ึนเม่ือต้นเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. ๑๙๘๖ มีการทุจริตการเลือกตั้งอย่าง กวา้ งขวาง โดยเฉพาะในชว่ งการนบั คะแนน ในทสี่ ดุ มารก์ อสประกาศชยั ชนะ และจะเปน็ ประธานาธิบดีต่อไปอกี ๖ ปี (วาระตามรฐั ธรรมนูญใหมท่ ่ีเขาใหร้ า่ งขน้ึ ) การประทว้ งจงึ เรม่ิ ขึน้ อกี พรอ้ มกบั การประณามจากตา่ งประเทศ มวลชนท่ีออกมาประท้วงผลการเลือกตั้งและขับไล่มาร์กอสในคร้ังนี้ เรียกกัน ว่า “พลังประชาชน” เหตุการณ์ด�ำเนินไปอย่างรุนแรง ถึงขนาดมีการน่ังและนอนขวาง รถถงั ของฝา่ ยรฐั บาลทถ่ี กู สง่ เขา้ มาปราบปรามผปู้ ระทว้ ง ในทสี่ ดุ มารก์ อสยอมรบั ขอ้ เสนอ จากประธานาธิบดีโรนัลด์ เรแกนท่ีจะหาที่ปลอดภัยให้เขาได้พักอยู่ในสหรัฐอเมริกา มารก์ อสจงึ เดนิ ทางออกจากฟลิ ปิ ปนิ สพ์ รอ้ มครอบครวั ไปพำ� นกั อยทู่ เ่ี มอื งฮอนโนลลู ู มลรฐั ฮาวาย จนกระท่งั ถงึ แกอ่ สัญกรรมทนี่ ่ันใน ค.ศ. ๑๙๘๙ ประวัติศาสตร์ฟิลิปปินส์ไม่ว่าท่ีชาวฟิลิปปินเขียนเองหรือนักวิชาการต่างชาติ เขียนให้ภาพของประเทศในสมัยของมาร์กอสหลังการประกาศกฎอัยการศึกเป็นเสมือน ยุคเผด็จการทรราชย์ และมองการต่อสู้ท่ีเรียกว่าการปฏิวัติของพลังประชาชนนั้นว่า เปน็ การนำ� ฟลิ ปิ ปนิ สก์ ลบั ไปสวู่ ถิ ที างประชาธปิ ไตยอกี ครงั้ หนง่ึ โกราซอน อากโี น กลายเปน็ วีรสตรีคนส�ำคัญในกระบวนการดังกล่าว เม่ือเธอเข้าด�ำรงต�ำแหน่งประธานาธิบดี ตอ่ จากมารก์ อส จึงด�ำเนนิ การเพ่อื ยกเลิกหรอื แกไ้ ขสิง่ ทีเ่ กดิ ขน้ึ ในสมัยมารก์ อส นบั ต้งั แต่ 278

สาธารณรฐั ฟลิ ปิ ปนิ ส์ การยกเลิกรัฐธรรมนูญที่ประกาศใช้เมื่อ ค.ศ. ๑๙๗๓ แล้วต้ังคณะกรรมาธิการร่าง รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่แล้วเสร็จ จนผ่านการลงประชามติเมื่อวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ ค.ศ. ๑๙๘๗ ถึงแม้จะระบุวาระการด�ำรงต�ำแหน่งประธานาธิบดีไว้ที่ ๖ ปี ตามรัฐธรรมนูญ ฉบบั มาร์กอส แต่รฐั ธรรมนูญฉบับใหมต่ ีกรอบจำ� กดั อ�ำนาจประธานาธบิ ดีไว้เข้มงวดกวา่ เดิม และที่ส�ำคัญที่สุดคือ ก�ำหนดให้ประธานาธิบดีแต่ละคนด�ำรงต�ำแหน่งได้เพียงสมัย เดียวเท่าน้ัน การประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับ ค.ศ. ๑๙๘๗ ถือเป็นจุดเร่ิมต้นของสมัย สาธารณรฐั ฟิลิปปินส์ (ที่ ๕) ซึง่ ด�ำเนนิ มาจนถึงปัจจบุ นั เฟอร์ดนิ นั ด์ มาร์กอส โกราซอน อากโี น โกราซอน อากโี น เปน็ ประธานาธบิ ดหี ญงิ คนแรกของฟลิ ปิ ปนิ สแ์ ละเปน็ คนแรก ของทวีปเอเชยี ดว้ ย นอกจากจะได้รับการสนับสนุนอย่างดีจากมวลชนชาวฟิลปิ ปิน โดย เฉพาะในช่วงแรกของการด�ำรงต�ำแหน่งแล้ว เธอยังเป็นท่ีเล่ือมใสในหมู่ผู้น�ำตลอดจน สอ่ื มวลชนตา่ งประเทศเปน็ อนั มาก จนไดร้ บั รางวลั และตำ� แหนง่ เกยี รตยิ ศตา่ ง ๆ มากมาย โดยเฉพาะสำ� หรบั ผลงานทจี่ ะนำ� ประเทศฟลิ ปิ ปนิ สส์ คู่ วามเปน็ ประชาธปิ ไตย ทม่ี ปี ระเดน็ เรอ่ื งเสรภี าพและสทิ ธมิ นษุ ยชนเปน็ เรอ่ื งสำ� คญั ตามอดุ มการณท์ างสงั คมและการเมอื งแบบ ตะวนั ตก อยา่ งไรกต็ าม ประเทศฟลิ ปิ ปนิ สย์ งั คงมรี อยรา้ วภายในระหวา่ งกลมุ่ ผลประโยชน์ ต่าง ๆ ที่สบื เนื่องมาต้งั แตส่ มัยมารก์ อสหรือก่อนหน้านน้ั ความแตกแยกดังกลา่ วสะทอ้ น 279

สารานุกรมประวัติศาสตรป์ ระเทศเพื่อนบ้านในอาเซยี น ให้เห็นจากความพยายามของบุคคลกลุ่มต่าง ๆ ที่จะท�ำรัฐประหารเพ่ือโค่นล้มรัฐบาล ของอากโี นถงึ ๖ ครั้ง เป็นที่น่าสังเกตวา่ สหรฐั อเมรกิ าสนบั สนนุ อยเู่ บอื้ งหลงั การตอ่ ตา้ น รัฐประหารเหล่านั้นแทบทกุ คร้ัง ในเดือนธันวาคม ค.ศ. ๑๙๘๙ ขณะทีเ่ กดิ รฐั ประหาร เพอ่ื โคน่ ลม้ รฐั บาล กองทพั อากาศสหรฐั อเมรกิ าถงึ กบั สง่ เครอ่ื งบนิ มาชว่ ยรฐั บาลฟลิ ปิ ปนิ ส์ ปราบกบฏด้วย จึงไม่น่าแปลกใจท่ีรัฐบาลของอากีโนสนับสนุนการต่ออายุสัญญาเพื่อคง ฐานทัพของสหรัฐอเมริกาไว้ในฟิลิปปนิ ส์ แม้จะมีเสยี งเรียกรอ้ งจากนักศกึ ษา ประชาชน และนกั การเมอื งใหผ้ ลักดนั กองก�ำลงั เหล่านน้ั ออกไปก็ตาม ในทส่ี ดุ เมอ่ื เดอื นกนั ยายน ค.ศ. ๑๙๙๑ วฒุ สิ ภาฟลิ ปิ ปนิ สล์ งมตยิ บั ยง้ั สนธสิ ญั ญา มิตรภาพซึ่งจะมาแทนที่ข้อตกลงเร่ืองฐานทัพสหรัฐอเมริกาในฟิลิปปินส์ที่ก�ำลังจะหมด อายุลง การตัดสินใจดังกล่าวเกิดขึ้นหลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต อันนับเป็น การส้นิ สุดสงครามเย็น นอกจากนนั้ การระเบิดของภเู ขาไฟปนิ าตุโบ ในเดอื นกรกฎาคม ค.ศ. ๑๙๙๑ ท�ำให้ฐานทัพอากาศคลาร์ก (Clark Airbase) ในปัมปังกาจมอยู่ภายใต้ เถา้ ถา่ นภเู ขาไฟหลายตนั สหรฐั อเมรกิ าจงึ ตดั สนิ ใจยา้ ยยทุ โธปกรณแ์ ละบคุ ลากรทางทหาร รวมทงั้ ครอบครวั ทงั้ หมดออกจากบรเิ วณดงั กลา่ ว รวมถงึ การปดิ ฐานทพั เรอื สหรฐั อเมรกิ า ในอ่าวซูบกิ ท่อี ยไู่ ม่ไกลออกไปใน ค.ศ. ๑๙๙๒ ฐานทัพอากาศคลาร์กที่จมอยู่ใต้เถ้าถ่านภูเขาไฟ 280

สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ผลกระทบจากการระเบิดของภูเขาไฟปินาตุโบท่ีมีต่อฐานทัพสหรัฐอเมริกา เปน็ เพยี งผลดา้ นหนง่ึ เทา่ นนั้ ในระยะเวลาใกลเ้ คยี งกนั ฟลิ ปิ ปนิ สต์ อ้ งเผชญิ ความเสยี หาย จากภัยธรรมชาติที่ร้ายแรงติดต่อกันหลายครั้ง หนึ่งปีก่อนหน้าการระเบิดของปินาตุโบ เกดิ แผน่ ดนิ ไหวครงั้ รา้ ยแรงบนเกาะลซู อนซง่ึ ครา่ ชวี ติ ผคู้ นจำ� นวนมาก ในขณะทกี่ ารระเบดิ ของภูเขาไฟปินาตุโบส่งเถ้าถ่านไปไกลถึงตอนใต้ของประเทศกัมพูชา และถือกันว่าเป็น การระเบดิ ของภเู ขาไฟทรี่ า้ ยแรงทสี่ ดุ ของครสิ ตศ์ ตวรรษที่ ๒๐ หลงั จากนน้ั ไมถ่ งึ ๔ เดอื น ฟลิ ปิ ปนิ สก์ ต็ อ้ งตกเปน็ เหยอื่ ของภยั จากพายไุ ตฝ้ นุ่ อรู งิ (Uring) ทสี่ รา้ งความเสยี หายอยา่ ง หนกั ระหว่างนนั้ ในช่วง ค.ศ. ๑๙๙๐-๑๙๙๒ ฟลิ ปิ ปินสย์ งั ตอ้ งพบความเสียหายจากภยั แลง้ ของวกิ ฤตเิ อลนญิ โญ (El Niño) ทที่ ำ� ใหภ้ าคการเกษตรเสยี หายมากกวา่ ๔,๐๐๐ ลา้ น เปโซ ภยั ธรรมชาตทิ กี่ ลา่ วมานน้ั แมจ้ ะไมใ่ ชเ่ รอ่ื งผดิ ปรกตทิ อี่ ยเู่ หนอื ความเปน็ ไปไดส้ ำ� หรบั ชาวฟลิ ปิ ปนิ แตก่ ารเกดิ ภยั ธรรมชาตทิ รี่ นุ แรงมากตอ่ เนอื่ งกนั หลายครง้ั เปน็ เครอื่ งบน่ั ทอน ความกา้ วหน้าทางเศรษฐกิจท่ีรฐั บาลพยายามจะผลักดัน ฟเิ ดล วี. รามอส (Fidel V. Ramos) ได้ชัยชนะในการเลือกต้งั ประธานาธบิ ดี เมอื่ ค.ศ. ๑๙๙๒ เขาไดร้ บั การสนบั สนนุ จากอากโี นซง่ึ ไมส่ ามารถลงสมคั รแขง่ ขนั เพอื่ เปน็ ประธานาธบิ ดสี มยั ท่ี ๒ ได้ รามอสเปน็ ผนู้ �ำทางทหารต้งั แตส่ มยั มารก์ อส แต่เขากลับมา อยู่ฝ่ายพลังประชาชนท่ีโค่นล้มมาร์กอส ต่อมา ในสมัยของอากีโนเขาด�ำรงต�ำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และมีบทบาทส�ำคัญในการต่อต้านความพยายามก่อ รัฐประหารของฝ่ายทหารหลายคร้ัง ในสมัยของรามอสรัฐบาลด�ำเนินนโยบาย ประนีประนอมความแตกแยกระหว่างกลุ่มทางการเมืองฝ่ายต่าง ๆ พร้อมกับยังคงต้อง ตอ่ สกู้ บั ฝา่ ยคอมมวิ นสิ ตแ์ ละกบั กลมุ่ มสุ ลมิ แบง่ แยกดนิ แดนทางตอนใตอ้ นั เปน็ สถานการณ์ ที่ยืดเยื้อมาหลายสมัย รัฐบาลพยายามใช้การเจรจาและกลไกทางการเมืองร่วมกับ การทหารจนกระทง่ั สามารถบรรลขุ อ้ ตกลงสนั ตภิ าพกบั กลมุ่ แนวรว่ มปลดปลอ่ ยแหง่ ชาติ โมโร (Moro National Liberation Front) ซึ่งเป็นกลุ่มต่อต้านที่ใหญ่ที่สุดได้ใน ค.ศ. ๑๙๙๖ แม้จะยังคงมกี ลมุ่ ยอ่ ยอ่ืน ๆ ทย่ี งั คงต่อสูด้ ว้ ยก�ำลังอาวธุ อยู่ต่อไป 281

สารานุกรมประวัติศาสตรป์ ระเทศเพอ่ื นบา้ นในอาเซียน ปัญหาใหญ่ทส่ี ดุ ทรี่ ัฐบาลของรามอสต้องเผชิญ คือ สถานการณท์ างเศรษฐกิจ ซึ่งได้รับความสนใจเป็นอันดับแรกในการเข้าบริหารประเทศ รามอสมุ่งปฏิรูปเศรษฐกิจ ดว้ ยการเปดิ ใหภ้ าคเอกชนเขา้ มสี ว่ นรว่ มมากขน้ึ เชน่ แกไ้ ขวกิ ฤตพิ ลงั งานทเี่ รอื้ รงั มากอ่ น หน้านั้น จนสามารถสร้างสมดุลทางพลังงานได้ ตั้งเป้าหมายให้ฟิลิปปินส์เป็นประเทศ อุตสาหกรรมใหม่หรอื นกิ (Newly Industrialized Country–NIC) ภายใน ค.ศ. ๒๐๐๐ ในขณะท่ีการจัดการกับปัญหาพื้นฐาน เช่น การคอร์รัปชัน ความยากจน หรือปัญหา ส่ิงแวดลอ้ ม ยังคงด�ำเนินตอ่ ไป ในระยะแรกของสมยั รามอส เศรษฐกิจของประเทศใน เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตก้ ำ� ลงั เตบิ โตอยา่ งรวดเรว็ ประเทศฟลิ ปิ ปนิ สไ์ ดอ้ าศยั กระแสความ เตบิ โตดงั กลา่ วในการพฒั นาเศรษฐกจิ ของตนเองดว้ ย ซง่ึ รฐั บาลของรามอสท�ำไดค้ อ่ นขา้ ง ดีและม่ันคง ดังจะเห็นได้จากเม่ือภูมิภาคนี้ประสบวิกฤติทางเศรษฐกิจครั้งรุนแรงใน ค.ศ. ๑๙๙๗ น้ัน ฟิลิปปินส์ได้รับผลกระทบน้อยที่สุดเม่ือเทียบกับประเทศอ่ืนในกลุ่ม อาเซียน นอกจากปัจจัยภายในประเทศแล้ว แรงงานฟิลิปปินที่ออกไปท�ำงานใน ต่างประเทศและส่งเงินตรากลับเข้ามา นับว่ามีส่วนส�ำคัญในการแก้ปัญหาและ พฒั นาเศรษฐกิจของประเทศด้วย เมื่อส้ินสุดวาระการด�ำรงต�ำแหน่งของรามอสใน ค.ศ. ๑๙๙๘ ผู้ที่ชนะการ เลอื กตงั้ เขา้ มาดำ� รงตำ� แหนง่ ตอ่ จากนนั้ คอื โจเซฟ เอสตราดา (Joseph Estrada) ซง่ึ เปน็ รองประธานาธิบดีในสมัยรามอสนั่นเอง เอสตราดาเคยเป็นดาราภาพยนตร์และเป็น นกั การเมอื งทอ้ งถนิ่ ทม่ี ชี อื่ เสยี งเปน็ ทน่ี ยิ มอยา่ งกวา้ งขวางมากอ่ น โดยเฉพาะจากการแสดง ภาพลกั ษณน์ กั การเมอื งทเี่ ปน็ ความหวงั ของคนยากจน เขาชนะเลอื กตงั้ ดว้ ยคะแนนเสยี ง ที่สูงมากแม้ว่าจะมีผู้แข่งขันคนส�ำคัญหลายคน เขาสัญญาที่จะน�ำสันติภาพและ ความปรองดองมาสู่สังคมฟิลิปปินส์ ต่อสู้คอร์รัปชันและด�ำเนินการปฏิรูปเศรษฐกิจ ต่อจากรัฐบาลชุดก่อน อย่างไรก็ตาม แม้จะประสบความส�ำเร็จช่วงสั้น ๆ ในตอนต้น สถานการณใ์ นเวลาตอ่ มาไมเ่ ปน็ ไปตามทป่ี ระชาชนคาดหวงั รฐั บาลตอ้ งตอ่ สกู้ บั กลมุ่ มสุ ลมิ แบ่งแยกดินแดนบนเกาะมินดาเนาอย่างรุนแรง ปัญหาความยากจนและความไม่เป็น 282

สาธารณรฐั ฟลิ ปิ ปินส์ ธรรมทางเศรษฐกิจและสังคมยังคงมีอยู่ต่อไป และเป็นสาเหตุของการนัดหยุดงานและ การเดินขบวนประท้วงหลายครงั้ สถานการณเ์ ลวรา้ ยลงอกี เมอ่ื เอสตราดาถกู กลา่ วหาวา่ รบั เงนิ สนิ บนจากแหลง่ ธุรกิจการพนันนอกกฎหมายรายใหญ่ ข้อกล่าวหานี้น�ำไปสู่กระบวนการฟ้องให้ขับออก จากตำ� แหนง่ (impeachment) ความวุ่นวายทางการเมอื งระหวา่ งทก่ี ระบวนการขบั ไล่ น้ีดำ� เนินอยู่ท�ำใหภ้ าวะเศรษฐกิจของประเทศทรดุ ตัวลงไปอีก และเมอื่ การด�ำเนนิ การไป ชะงักอยู่ในระดับวุฒิสภา ท�ำให้มีการคาดเดาว่าวุฒิสมาชิกบางคนมีส่วนรู้เห็นด้วยและ อาจจะทำ� ใหก้ ระบวนการดงั กลา่ วยตุ ลิ ง มวลชนฟลิ ปิ ปนิ สจ์ งึ ออกมาเคลอ่ื นไหวบนทอ้ งถนน อีกครง้ั หน่ึง เป็นที่รู้จกั กนั ในนาม การปฏิวตั โิ ดยพลังประชาชนครง้ั ท่ี ๒ (People Power Revolution II) ซง่ึ มีทง้ั ผูน้ ำ� ครสิ ตจกั รคาทอลิกและผู้นำ� ฝ่ายทหารสนับสนุนขอ้ เรยี กรอ้ ง ใหเ้ อสตราดาพน้ จากตำ� แหนง่ ดว้ ย เมอ่ื ศาลสงู สดุ แถลงขอ้ วนิ จิ ฉยั ใหต้ ำ� แหนง่ ประธานาธบิ ดี วา่ งลง เอสตราดาและครอบครวั จงึ ยอมออกจากทำ� เนยี บประธานาธบิ ดี ในเดอื นมกราคม ค.ศ. ๒๐๐๑ มหาวิหารมะนลิ า สรา้ งเม่ือ ค.ศ. ๑๕๗๑ ศนู ยร์ วมศรทั ธาของชาวฟลิ ปิ ปนิ คาทอลกิ 283

สารานุกรมประวัตศิ าสตร์ประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน เม่ือเอสตราดาพ้นจากต�ำแหน่งก่อนครบวาระ กลอเรีย มากาปากัล-อาร์โรโย (Gloria Macapagal-Arroyo) รองประธานาธิบดีจึงเข้ารับต�ำแหน่งแทน (เป็นรอง ประธานาธิบดีหญิงคนแรกและคนเดียว เป็นประธานาธิบดีหญิงคนท่ี ๒ ของฟิลิปปินส์ และเปน็ ประธานาธบิ ดคี นแรกทมี่ บี ดิ าเปน็ อดตี ประธานาธบิ ดี คอื ดอิ อสดาโด มากาปากลั ) อาร์โรโยได้รับปริญญาเอกทางเศรษฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยแห่งฟิลิปปินส์ และต่อมา ได้เป็นอาจารย์สอนวิชาเศรษฐศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยอะเตนิโอ เด มะนิลา พื้นฐานทาง วิชาการดังกล่าวคงจะเป็นส่วนหน่ึงท่ีเสริมความสามารถของเธอในการแก้ปัญหาและ พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ซ่งึ ปรากฏวา่ ตลอดช่วงการดำ� รงต�ำแหน่ง ฟลิ ิปปินส์มอี ัตรา การเติบโตทางเศรษฐกิจสูงกว่าตลอดช่วงสมัยของประธานาธิบดี ๓ คนก่อนหน้านั้น ใน ค.ศ. ๒๐๐๗ อัตราการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) สูงกว่า รอ้ ยละ ๗ นบั เปน็ การเตบิ โตทเี่ รว็ ทส่ี ดุ ใน ๓ ทศวรรษ แมใ้ นปถี ดั มาจะเกดิ วกิ ฤตเิ ศรษฐกจิ โลกที่เร่ิมมาจากสหรัฐอเมริกา แต่ฟิลิปปินส์ก็ยังคงรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจไว้ได้ ภาวะเศรษฐกจิ ทด่ี นี ำ� ไปสกู่ ารพฒั นาประเทศในอกี หลายดา้ น เชน่ การปรบั ปรงุ โครงสรา้ ง พน้ื ฐาน คณุ ภาพชีวติ ของประชาชน การศกึ ษา แมจ้ ะมผี ลงานทแ่ี สดงความสำ� เรจ็ ทางเศรษฐกจิ แตอ่ ารโ์ รโยมปี ญั หาอยมู่ ากใน ด้านการเมืองและการบริหาร เมื่อครบวาระการด�ำรงต�ำแหน่งในช่วงเวลาที่สืบแทนตาม วาระของเอสตราดา คือใน ค.ศ. ๒๐๐๔ อาร์โรโยลงสมัครและได้รับเลือกตั้งเป็น ประธานาธบิ ดที จ่ี ะดำ� รงตำ� แหนง่ ในวาระของเธอเองอกี ๖ ป ี แตม่ กี ารกลา่ วหาวา่ อารโ์ รโย แทรกแซงการเลอื กตง้ั ซง่ึ นำ� ไปสกู่ ระบวนการฟอ้ งใหข้ บั ออกจากตำ� แหนง่ อยา่ งไรกต็ าม กระบวนการดงั กลา่ วไมป่ ระสบผลสำ� เรจ็ อารโ์ รโยจงึ ไดป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ทต่ี อ่ มา แตก่ ต็ อ้ งเผชญิ กบั วิกฤตทางการเมือง เช่น มคี วามพยายามก่อรัฐประหารเพ่อื โค่นล้มรัฐบาลของเธอใน ค.ศ. ๒๐๐๖ จนตอ้ งมกี ารประกาศภาวะฉกุ เฉนิ ในชว่ งสน้ั ๆ ปญั หากลมุ่ แบง่ แยกดนิ แดน ทางตอนใตก้ ็กลับปะทขุ น้ึ อกี จนตอ้ งประกาศกฎอยั การศึกบนเกาะมินดาเนาในชว่ งหนึง่ เม่ือใกลจ้ ะสิ้นสดุ วาระการด�ำรงต�ำแหน่งของเธอ ในเดอื นพฤศจิกายน ค.ศ. ๒๐๐๙ เกดิ เหตกุ ารณ์สังหารหม่ทู ีม่ ากินดาเนา (Maguindanao Massacre) ทแี่ สดงถึงความเป็นไป อนั เลวรา้ ยของการเมอื งฟลิ ปิ ปนิ ส์ ตระกลู นกั การเมอื งทอ้ งถนิ่ ผทู้ รงอทิ ธพิ ลทถี่ กู กลา่ วหา 284

สาธารณรัฐฟิลปิ ปินส์ วา่ เปน็ ผบู้ งการการสงั หารหมคู่ รงั้ นอี้ ยใู่ นเครอื ขา่ ยทโี่ ยงใยกบั ฐานเสยี งของประธานาธบิ ดี อารโ์ รโยบนเกาะมนิ ดาเนา ถงึ แมจ้ ะไมไ่ ดม้ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งกบั อาชญากรรมทเี่ กดิ ขน้ึ ดงั กลา่ ว อารโ์ รโยกต็ อ้ งมวั หมองลงไปอกี ทา่ มกลางการถกู ลา่ วหาวา่ พวั พนั กบั การทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั ในการบริหารงานของรัฐบาลอีกหลายคดี ในการเลอื กตงั้ ประธานาธิบดีเมอื่ เดือนมถิ นุ ายน ค.ศ. ๒๐๑๐ เบนิกโน อากีโน ท่ี ๓ (Benigno Aquino III) ได้รับชยั ชนะจากการหาเสยี งทเี่ นน้ หลกั ธรรมาภิบาลในการ บริหารงานของรัฐบาล เขาเป็นบุตรของอดีตประธานาธิบดีโกราซอน อากีโน กับอดีต วุฒิสมาชกิ เบนกิ โน อากโี น จเู นยี ร์ ผลงานช้นิ แรก ๆ ของเขาหลังจากเขา้ รบั ต�ำแหนง่ คอื การเจรจากับกลุ่มมุสลิมแบง่ แยกดนิ แดน จนกระทง่ั บรรลขุ อ้ ตกลงสนั ตภิ าพทม่ี กี าร ลงนามอย่างเป็นทางการ ในด้านเศรษฐกิจ ฟิลิปปินส์ยังรักษาการเติบโตต่อจากสมัย ของอารโ์ รโยต่อมาได้ ใน ค.ศ. ๒๐๑๒ อตั ราการเตบิ โตทางเศรษฐกจิ เป็นรอ้ ยละ ๗.๑ ซ่งึ สงู ทสี่ ดุ ในบรรดาประเทศในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตท้ ง้ั หมด อยา่ งไรกต็ าม ฟลิ ปิ ปนิ สต์ อ้ ง เผชญิ ภยั คุกคามจากธรรมชาตทิ ร่ี า้ ยแรงอกี ครง้ั หนงึ่ เมอื่ พายไุ ตฝ้ ่นุ โยลนั ดา [Typhoon Yolanda ตามทช่ี าวฟลิ ปิ ปนิ สเ์ รยี ก หรอื ไตฝ้ นุ่ ไหเ่ อย้ี น (Typhoon Haiyan) ตามชอื่ สากล] เคล่ือนเขา้ สู่ฟลิ ิปปินส์เม่ือต้นเดอื นพฤศจิกายน ค.ศ. ๒๐๑๓ พายลุ ูกนเ้ี ป็นพายไุ ต้ฝนุ่ ทม่ี ี ความแรงมากท่ีสุดของโลกเท่าท่ีเคยมีการจดบันทึกข้อมูลกันมา แม้จะมีการเตรียมการ รบั มือลว่ งหน้า แต่พายุดังกล่าวก็ได้คร่าชวี ิตชาวฟิลิปปนิ สไ์ ปมากกวา่ ๖,๓๐๐ คน สรา้ ง ความเสียหายแกอ่ าคาร บา้ นเรือน ทรัพย์สิน และพื้นที่เพาะปลูกอยา่ งยอ่ ยยบั นอกจาก ภัยพบิ ัตคิ รงั้ นแี้ ลว้ รฐั บาลของอากีโนยังต้องเผชญิ ปญั หาความมัน่ คง เม่ือเกิดกรณีพพิ าท กบั จนี เกยี่ วกบั สทิ ธเิ หนอื หมเู่ กาะในทะเลจนี ใต้ ซง่ึ ยงั ไมม่ ที า่ ทวี า่ จะบรรลถุ งึ ทางแกป้ ญั หา ไดโ้ ดยงา่ ย ฟิลิปปินส์ในปัจจุบันและอนาคตยังเต็มไปด้วยร่องรอยท่ีสะท้อนภูมิหลังทาง ประวัติศาสตร์อันเป็นเอกลักษณ์ของประเทศน้ี ภาษา ถ้อยค�ำ และช่ือเรียกต�ำแหน่ง หน่วยพื้นที่การปกครอง สังคม และการบริหารตั้งแต่สมัยสเปนยังคงปรากฏอยู่มาก แมค้ วามหมายหรอื นยั การใชค้ ำ� เหลา่ นนั้ จะผดิ เพยี้ นไปจากเดมิ บา้ งกต็ าม แตม่ รดกทสี่ ำ� คญั ท่ีสุดจากสเปนก็คือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก รวมถึงสถาบัน วัฒนธรรม และ 285

สารานุกรมประวัตศิ าสตรป์ ระเทศเพ่ือนบ้านในอาเซียน สภาพความเสยี หายจากไตฝ้ ุ่นไหเ่ อ้ยี น บคุ ลากรทมี่ ากบั ความเชอื่ อนั ทรงอทิ ธพิ ลจากตะวนั ตกน ี้ แมเ้ รอื่ งราวของบาทหลวงสเปน จ�ำนวนไม่น้อยในอดีตจะถูกบันทึกและจดจ�ำไว้ในฐานะผู้ที่สร้างภาระหรือความคับแค้น ใหก้ บั ชาวฟลิ ิปปิน แตโ่ ลกทศั น์และศรัทธาของคาทอลกิ ได้กลายเปน็ พลงั ส�ำคญั ที่โอบอุ้ม และขับเคลื่อนสังคมฟิลิปปินส์มาโดยตลอด จนเมื่อเหตุการณ์มหาวาตภัยโยลันดาที่เพ่ิง ผา่ นไปไม่นานน้ี ประชาชนจ�ำนวนมากสามารถผา่ นพน้ ความสญู เสยี และกลับมายนื หยัด อีกครั้งหน่ึงได้ก็ด้วยศรัทธาในพระเจ้ามากกว่าความช่วยเหลือจากรัฐบาลหรือชุมชน นานาชาติ อยา่ งไรกต็ าม เงอ่ื นไขพนื้ ฐานบางประการทเี่ ปน็ ขอ้ จำ� กดั ในการพฒั นาฟลิ ปิ ปนิ ส์ กม็ าจากภมู หิ ลงั ทางความเชอ่ื ทตี่ ดิ ตวั มากบั ประวตั ศิ าสตรข์ องฟลิ ปิ ปนิ สเ์ อง ปญั หาอตั รา การเพมิ่ ของประชากรทเี่ กนิ กวา่ อตั ราการเตบิ โตทางเศรษฐกจิ เปน็ เงอ่ื นไขหนงึ่ ทที่ ำ� ใหก้ าร แกป้ ญั หาความยากจนทผี่ า่ นมาเปน็ ไปอยา่ งเชอ่ื งชา้ แนวคดิ และวธิ กี ารคมุ กำ� เนดิ เปน็ สงิ่ ที่ขัดแย้งกับค�ำสอนของคาทอลิกและของอิสลาม ท�ำให้การวางนโยบายประชากรของ 286

สาธารณรฐั ฟิลปิ ปินส์ ฟลิ ิปปนิ ส์ตอ้ งประสบอปุ สรรคมาโดยตลอด ในวันอาทิตยท์ ี่ ๒๗ กรกฎาคม ค.ศ. ๒๐๑๔ เมื่อทารกทเ่ี ป็นชาวฟิลิปปนิ คนท่ี ๑๐๐ ล้านลมื ตามาดูโลก สาธารณชนตา่ งไดร้ บั ค�ำถาม ผ่านส่ือมวลชนว่า พวกเขาควรจะเฉลิมฉลองหรือควรจะเพิ่มความวิตกกังวลกันต่อไปดี ประเดน็ ดังกล่าวเปน็ เร่อื งทา้ ทายสำ� หรบั รัฐบาลและประชาชนชาวฟลิ ปิ ปินตอ่ ไปอกี นาน ภูมิหลงั ท่ีเคยตกเป็นอาณานคิ มของสหรฐั อเมริกา รวมถงึ อทิ ธพิ ลอเมรกิ ันที่ได้ รบั มานนั้ เปน็ ปจั จยั สำ� คญั ทางประวตั ศิ าสตรส์ ำ� หรบั ฟลิ ปิ ปนิ สม์ าจนปจั จบุ นั ชาวฟลิ ปิ ปนิ นับตั้งแต่ชนช้ันน�ำลงไปจนถึงระดับรากหญ้า ได้รับการปลูกฝังอุดมการณ์ทางการเมือง และสังคมไม่ว่าจะเป็นเรื่องประชาธิปไตย เสรีภาพ ความเสมอภาค หรือสิทธิมนุษยชน ตามแบบแนวคิดตะวนั ตก แมใ้ นความเปน็ จรงิ จะมเี งอ่ื นไขของสังคมฟิลิปปนิ ส์เองทีเ่ ปน็ อปุ สรรคกดี ขวางทางไปสภู่ าวะอดุ มคติเหลา่ นั้น แต่ระบบการศึกษาและระบบเศรษฐกจิ ที่สหรัฐอเมริกาวางเอาไว้ ก็ยังคงมีผลต่อกรอบวิธีคิดและการวางเป้าหมายของ ชาวฟลิ ปิ ปนิ ทที่ ำ� ให้สงั คมเปน็ อย่างที่เป็นอยูใ่ นวันน้ี การได้รับโอกาสทางการศึกษาและการได้รู้ภาษาอังกฤษ ส่งผลต่อชีวิตชาว ฟลิ ปิ ปนิ สใ์ นปจั จบุ นั เมอ่ื สงั คมกา้ วเขา้ สยู่ คุ สารสนเทศ การรภู้ าษาองั กฤษกลายเปน็ เครอ่ื ง มอื ส่ือสารที่ขาดไมไ่ ด้หรือเปน็ ตัวบ่งช้คี วามไดเ้ ปรยี บ การพฒั นาอตุ สาหกรรมซอฟตแ์ วร์ หรือธุรกิจคอลล์เซ็นเตอร์ (call center) ที่ก�ำลังท�ำรายได้มหาศาลให้แก่ฟิลิปปินส์ ทกุ วนั นจ้ี ำ� เปน็ ตอ้ งใชค้ วามรแู้ ละทกั ษะภาษาองั กฤษทเ่ี ดก็ ฟลิ ปิ ปนิ ไดม้ โี อกาสรบั สบื ทอด กันมาหลายชั่วอายุคน แม้แต่แรงงานชาวฟิลิปปินส์ท่ีไปท�ำงานในต่างประเทศก็มี ปัจจัยดา้ นทักษะการสือ่ สารภาษาอังกฤษเปน็ ขอ้ ได้เปรียบท่ีสำ� คญั มรดกทางประวัติศาสตร์บางอย่างยากที่จะแยกแยะว่ามาจากสมัยใดโดยตรง สังคมการเมืองแบบกลุ่มพวกหรือกลุ่มตระกูล ท่ีเรียกว่า Cronyism อาจจะมาจาก พฒั นาการของพวกลกู ผสมและสบื ทอดผา่ นยคุ ของพวกอลิ สุ ตราโด แตก่ ป็ รบั ตวั มาในสมยั อเมรกิ ันและอยรู่ อดจนครสิ ตศ์ ตวรรษที่ ๒๑ ซง่ึ ยังคงเปน็ รูปแบบท่รี ว่ มก�ำหนดเศรษฐกจิ สังคมฟิลปิ ปนิ สท์ กุ วนั นี้ 287

สารานกุ รมประวัตศิ าสตรป์ ระเทศเพอ่ื นบ้านในอาเซียน อยา่ งไรกต็ าม นกั วชิ าการและนกั ประวตั ศิ าสตรร์ ว่ มสมยั ทไ่ี ดร้ บั อทิ ธพิ ลชาตนิ ยิ ม ฟิลปิ ปินสม์ ากขน้ึ พยายามลดทอนความส�ำคัญของมรดกการเปน็ อาณานคิ มเหล่านัน้ ลง ด้วยการสืบย้อนกลับไปสู่สังคมหมู่เกาะก่อนสมัยสเปน รวมทั้งย้อนดูความต้ังใจของ ชาวพนื้ เมอื งทจ่ี ะปรบั ใชอ้ ทิ ธพิ ลจากตะวนั ตกไมว่ า่ จะเปน็ ของสเปน อเมรกิ า หรอื ชาตอิ นื่ ที่ปะปนเข้ามา ให้เข้ากับวิถีชีวิตและความรู้สึกนึกคิดของพวกเขาเอง โดยเฉพาะเมื่อ ก้าวเข้าสู่ยุคโลกาภิวัตน์ ที่แต่ละประเทศต้องก้าวไปพร้อมกับประชาคมนานาชาติ ใน ขณะที่ยังคงมสี ำ� นึกในเอกลักษณท์ างประวัตศิ าสตร์และวฒั นธรรมของตนเอง. (วัชระ สินธุประมา) บรรณานกุ รม จิโรจน์ โชติพันธ์. ประวัติศาสตร์ การปกครองและการเมือง ของสาธารณรัฐ แห่งฟลิ ปิ ปนิ ส์. พระนคร : แพร่พทิ ยา, ๒๕๑๒. สีดา สอนศร.ี ฟิลิปปินส์: การเปลี่ยนแปลง การเมอื ง เศรษฐกิจ และสังคม (ตงั้ แต่สมัย กอ่ นเปน็ อาณานคิ ม-ปจั จบุ นั ). กรงุ เทพฯ : โครงการศกึ ษาพเิ ศษเอเซยี อาคเนย,์ ๒๕๒๐. Agoncillo, Teodero A. A Short History of the Philippines. New York: New American Library, 1969. Constantino, Renato. A History of the Philippines. Monthly Review Press, 1975. . The Philippines, the Continuing Past. Quezon City: The Foundation for Nationalist Studies, 1978. 288

สาธารณรัฐฟลิ ิปปนิ ส์ . The Philippines: A Past Revisited. Quezon City: The Foundation for Nationalist Studies, 1975. Guillermo, Artemio R. Historical Dictionary of the Philippines. Asian/ Oceanian Historical Dictionaries, no. 24. Lanham, Md: Scarecrow, 1997. Halili, Christine N. Philippine History. Manila: Rex Book Store, 2006. “Geography of the Philippines.” Wikipedia, the Free Encyclopedia, July 3, 2014. http://en.wikipedia.org/w/index.php?title=Geography_of_ the_Philippines&oldid=614635021. “History of the Philippines.” Wikipedia, the Free Encyclopedia, June 27, 2014. http://en.wikipedia.org/w/index.php?title=History_of_the_ Philippines&oldid=614042978. “History of the Philippines (1521–1898).” Wikipedia, the Free Encyclopedia, July 16, 2014. http://en.wikipedia.org/w/index.php?title=History_ of_the_Philippines_(1521%E2%80%931898)&oldid=616780970. “Independence Day (Philippines).” Wikipedia, the Free Encyclopedia, June 12, 2014. http://en.wikipedia.org/w/index.php?title=Independence_ Day_(Philippines)&oldid=612632244 “Name of the Philippines.” Wikipedia, the Free Encyclopedia, July 16, 2014. http://en.wikipedia.org/w/index.php?title=Name_of_the_ Philippines&oldid=614078577. 289



สาธารณรฐั สงิ คโปร์ สาธารณรฐั สิงคโปร์ Republic of Singapore สงิ คโปร์ เปน็ ประเทศทมี่ ขี นาดพน้ื ทเ่ี ลก็ ทส่ี ดุ ในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ เป็นเกาะที่ต้ังอยู่บริเวณปลายสุดของคาบสมุทรมลายู (Malay Peninsula) และ ปลายด้านตะวนั ออกของช่องแคบซูมาเตอราหรือสมุ าตรา (Sumatra) ทำ� ให้สิงคโปรเ์ ปน็ จดุ ยทุ ธศาสตรท์ ส่ี ำ� คญั รวมทง้ั เหมาะสมในการเปน็ เมอื งทา่ มปี ระชากรมากเปน็ อนั ดบั ๙ จากทั้งหมด ๑๐ ประเทศของกลุ่มประชาคมอาเซียน มีทรัพยากรธรรมชาติน้อยมาก พื้นท่ีเพาะปลูกและน้�ำจืดก็ไม่เพียงพอต่อการบริโภค แต่สิงคโปร์มีเศรษฐกิจที่มั่งค่ังและ ได้รับการยอมรับว่าเป็นประเทศท่ีพัฒนาแล้ว การเมืองมีความมั่นคงภายใต้การน�ำของ พรรคกิจประชา (People’s Action Party) ซงึ่ ขึ้นมามอี ำ� นาจตง้ั แต่ ค.ศ. ๑๙๕๙ ก่อนที่ สิงคโปร์จะเปน็ เอกราช ใน ค.ศ. ๒๐๑๓ สิงคโปร์มีเน้ือท่ี ๗๑๖.๑ ตารางกิโลเมตร (สิงคโปร์มีการ ถมทะเลขยายพ้ืนท่ีเพ่ือประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ ดังนั้น เนื้อที่ของสิงคโปร์จึงเพ่ิมขึ้น เรอื่ ย ๆ) สงิ คโปรเ์ ปน็ เกาะใหญเ่ พยี งเกาะเดยี ว แยกจากแผน่ ดนิ ใหญข่ องคาบสมทุ รมลายู ด้วยช่องแคบโจโฮร์หรือยะโฮร์ (Johor Strait) ที่เหลือเป็นเกาะขนาดเล็กและโขดหิน 291

สารานกุ รมประวตั ิศาสตร์ประเทศเพ่ือนบ้านในอาเซียน พน้ื ทส่ี ่วนใหญข่ องสิงคโปร์เป็นท่รี าบ จุดสงู สดุ คือ เนนิ เขาบูกติ ตีมะฮ์ (Bukit Timah) ซึ่งสูงเพยี ง ๑๖๖ เมตร เนอ่ื งจากตั้งอยใู่ กลเ้ สน้ ศูนยส์ ตู ร สิงคโปรจ์ งึ มภี ูมิอากาศรอ้ นชน้ื มปี ริมาณนำ้� ฝนค่อนข้างมาก สิงคโปร์มีประชากรตามสถิติใน ค.ศ. ๒๐๑๓ ประมาณ ๕,๓๙๐,๐๐๐ คน มคี วามหนาแนน่ ของประชากรตอ่ พ้ืนที่ถึง ๗,๕๔๐ คนตอ่ ตารางกิโลเมตร ซึ่งถือวา่ อยูใ่ น กลุ่มประเทศที่มีความหนาแน่นของประชากรต่อพื้นท่ีสูงมาก ชาวสิงคโปร์ส่วนใหญ่ ประมาณรอ้ ยละ ๕๐ พดู ภาษาจนี เปน็ ภาษาแม่ และมชี าวสงิ คโปรพ์ ดู ภาษามลายปู ระมาณ ร้อยละ ๑๒ ภาษาทมิฬประมาณร้อยละ ๓ และภาษาอ่ืน ๆ อีกประมาณร้อยละ ๓ นอกจากนั้น เป็นชาวสิงคโปร์ที่ใช้ภาษาอังกฤษประมาณร้อยละ ๓๒ สิงคโปร์มีภาษา ราชการ ๔ ภาษา คอื จนี กลาง อังกฤษ มลายู และทมิฬ แม้วา่ สิงคโปรเ์ พ่งิ แยกเป็นอสิ ระจากมาเลเซียใน ค.ศ. ๑๙๖๕ แตเ่ กาะสิงคโปร์ กม็ ีประวัติความเปน็ มายาวนาน หลกั ฐานจากบนั ทึกของจนี ในคริสตศ์ ตวรรษที่ ๓ กล่าว ถึงเกาะทีม่ ีชื่อว่า ผหู ลัวจง (Pu Luo Chung) ซ่งึ เช่อื กันวา่ น่าจะมาจากค�ำว่า ปเู ลาอจู ง (Pulau Ujong) ในภาษามลายู ซึ่งแปลว่า เกาะทต่ี ้ังอยปู่ ลายสุด ในคริสต์ศตวรรษที่ ๑๑ มหี ลักฐานระบุวา่ สงิ คโปรซ์ ง่ึ ขณะนั้นอยู่ภายใต้อ�ำนาจการปกครองของจักรวรรดศิ รีวิชยั (Srivijaya) ถกู กองทพั ของจักรวรรดิโจฬะ (Chola) จากอนิ เดียตอนใตม้ ารุกราน สว่ นบนั ทกึ ของชวาชอ่ื นาการาเกอรต์ ากามา (Nagarakertagama) ซงึ่ เขยี นขนึ้ ใน ค.ศ. ๑๓๖๕ ได้บนั ทึกถงึ การตัง้ ถ่ินฐานในสถานทีเ่ รยี กว่า เตอมาเซะก์ (Temasek) ซงึ่ อาจเปน็ ไปไดว้ า่ อยบู่ นเกาะสงิ คโปร์ อยา่ งไรกด็ ี หลกั ฐานเกยี่ วกบั สงิ คโปรส์ มยั เรมิ่ แรก ทม่ี รี ายละเอยี ดคอื บนั ทกึ ของหวงั ตา้ หยวน (Wang Dayuan) พอ่ คา้ ชาวจนี ซงึ่ ไดเ้ ดนิ ทาง ไปทั่วบริเวณที่จีนเรียกว่า หนานหยาง (Nanyang) หรือ “มหาสมุทรในภาคใต้” เขา เดนิ ทางไปทัว่ บริเวณดงั กลา่ วเปน็ เวลากวา่ ๒๐ ปีในครึง่ แรกของครสิ ต์ศตวรรษที่ ๑๔ หวงั ต้าหยวนบรรยายรายละเอียดของเส้นทางเดินเรอื เกาะต่าง ๆ และทา่ เรอื ในบรเิ วณน้ี บนั ทึกของเขากลา่ วถึงชอื่ ทส่ี อดคลอ้ งกบั สภาพภูมิประเทศ เชน่ “หลงหยา 292

สาธารณรฐั สิงคโปร์ เหมิน” (Long Yamen) หรอื “ประตูเขย้ี วมงั กร” ซ่ึงเช่อื กันว่าเป็นทางเขา้ อา่ วเคปเปิล (Keppel) ด้านตะวนั ตกในปจั จุบัน เนอ่ื งจากทางเข้าอ่าวบรเิ วณปลายสดุ ด้านตะวนั ตก ของเกาะเซนโตซา (Sentosa) ซึ่งเป็นเกาะเล็ก ๆ ทตี่ ้ังอยูใ่ กล้เกาะสงิ คโปร์ ในสมยั นน้ั แคบและมีชะง่อนหินทรายหลายแท่งซึ่งอาจมองดูคล้ายฟันซ่ีใหญ่ ต่อมา แท่งหิน แทง่ หนึ่งในแท่งหนิ คู่แฝดของอา่ วเคปเปิลถูกท�ำลายไปใน ค.ศ. ๑๘๔๘ เพอื่ ขยายทางเข้า ปากอ่าวให้กว้างขึน้ หวงั ต้าหยวนระบุวา่ ผ้คู นที่มาตั้งถน่ิ ฐานบนเกาะดำ� รงชีวิตอยูด่ ว้ ย การค้าขายและเป็นโจรสลดั เพราะพน้ื ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ ผลิตผลพน้ื เมอื งท่ีส่งไป ยังเมืองท่าต่าง ๆ ได้แก่ ไม้ และดีบุก ซ่ึงมีไม่มาก นอกจากนั้นเป็นสินค้าท่ีน�ำเข้า เพื่อส่งออก ได้แก่ ทองที่มีคุณภาพต�่ำ เครื่องกระเบ้ืองจีน ผ้าต่วนสีคราม ผ้าฝ้ายดอก เครื่องครัวที่ท�ำด้วยเหล็กและผลิตภัณฑ์จากเหล็กชนิดต่าง ๆ หวัง ต้าหยวนยังระบุว่า ผู้คนอาศัยอยู่ในชุมชนขนาดเล็กและเป็นศูนย์กลางการค้าท่ีไม่ส�ำคัญเม่ือเปรียบกับ ท่ีอ่ืน ๆ ท่กี ระจายอยู่ทัว่ ไปในเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ สิงคโปรไ์ ดช้ อ่ื ว่ามโี จรสลดั ชกุ ชุม เพราะมักมกี ารปล้นเรือสนิ ค้าจนี ท่ีผ่านเข้ามา ในช่องแคบหลงหยาเหมิน ใช้เรือพายประมาณ ๒๐๐-๓๐๐ ล�ำเข้าโจมตีเรือส�ำเภาจีน จนเรือจีนตอ้ งหนอี อกไปในทะเลหรอื ไม่ก็ยอมแพ้ สถานการณด์ งั กล่าวน่าจะเป็นเหตุผล สว่ นหนง่ึ ทที่ ำ� ใหจ้ กั รพรรดไิ ทจ่ อ่ื (Taizu) จกั รพรรดอิ งคแ์ รกของราชวงศห์ มงิ ทรงประกาศ เกาะเซนโตซาปัจจบุ นั 293