Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สารานุกรมประวัติศาสตร์ ประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน

สารานุกรมประวัติศาสตร์ ประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน

Description: สารานุกรมประวัติศาสตร์ ประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน.

Search

Read the Text Version

สารานกุ รมประวัติศาสตรป์ ระเทศเพอ่ื นบ้านในอาเซยี น การยกเลิกการศึกษาแบบเดิมและทดแทนด้วยการศึกษาตามแนวทางของ ระบอบปกครองอาณานคิ ม ทำ� ใหจ้ ำ� นวนโรงเรยี นและนกั เรยี นลดลง อตั ราการไมร่ หู้ นงั สอื จงึ เพมิ่ ขนึ้ แมเ้ สยี งเรยี กรอ้ งตลอดสมยั อาณานคิ มใหข้ ยายการศกึ ษาสำ� หรบั ชาวเวยี ดนาม จะท�ำให้มีการเปิดโรงเรียนเพ่ิมขึ้นบ้าง แต่เด็กร้อยละ ๙๐ ไม่มีโอกาสไปโรงเรียน และ ทว่ั ทั้งเวียดนามมีโรงเรยี นระดับมธั ยมเพียง ๓ แห่งเท่านน้ั การศึกษาแบบตะวันตก ความเติบโตของการเกษตรเพ่ือการค้า รวมท้ังการ เริม่ ตน้ ของอตุ สาหกรรมและการขยายตัวของเมือง ทำ� ใหเ้ กิดชนชั้นใหม่ในสงั คม อ�ำนาจ และเกียรติภูมิของทั้งจักรพรรดิและขุนนางข้าราชการเสื่อมคลายลง อ�ำนาจหน้าท่ีของ ขุนนางแบบเดิมลดลงไปอย่างมาก ดังจะเห็นได้จากเมื่อมีการจัดการสอบแบบจารีตใน ค.ศ. ๑๘๗๖ และ ค.ศ. ๑๘๗๙ (จดั ขึน้ ๓ ปตี อ่ คร้งั ) มผี เู้ ข้าสอบประมาณ ๖,๐๐๐ คน แต่การสอบใน ค.ศ. ๑๙๑๓ จ�ำนวนผเู้ ขา้ สอบลดลงเหลอื เพียง ๑,๓๓๐ คนเท่านน้ั เมื่อถงึ ปลายครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี ๑๙ ชนชนั้ นำ� ใหมก่ เ็ รม่ิ ปรากฏขน้ึ คนเหลา่ นไ้ี ดร้ บั การศกึ ษาทเี่ นน้ ไปในด้านวิทยาศาสตร์ ภูมศิ าสตร์ และวชิ าการสมัยใหม่อน่ื ๆ แทนการศึกษาแบบจารีต ตามลัทธิขงจ่ือ คนที่มีการศึกษาแบบใหม่ชื่นชมความก้าวหน้าของฝรั่งเศส และต่อมา ก็ประทับใจอย่างมากในชัยชนะของญี่ปุ่นเหนือรัสเซียในสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น (Russo-Japanese War ค.ศ. ๑๙๐๔–๑๙๐๕) นอกจากการรับรู้เร่ืองราวต่าง ๆ นอกประเทศจะเป็นไปอย่างรวดเร็วและ กวา้ งขวางขนึ้ แลว้ ยงั มชี าวเวยี ดนามบางสว่ นมโี อกาสไปรบั รคู้ วามเปน็ ไปของโลกภายนอก โดยตรงด้วย เช่น ระหว่างสงครามโลกครั้งท่ี ๑ ชาวเวียดนามเกือบ ๑๕๐,๐๐๐ คน ถกู เกณฑไ์ ปทำ� งานในโรงงานทฝ่ี รง่ั เศส  พวกนไ้ี ดเ้ หน็ ความกา้ วหนา้ ดา้ นตา่ ง ๆ ของยโุ รป สมัยน้ัน และเห็นว่าประเทศของตนควรมุ่งเนน้ ไปที่การศึกษาแบบตะวันตก เม่ือถึงทศวรรษ ๑๙๒๐ แม้กระทั่งในเมืองเว้ท่ีเป็นรากฐานทางจารีตของ เวียดนาม  ครอบครัวที่ม่ังคั่งยังไม่ยอมให้บุตรสาวของตนแต่งงานกับบุตรชายของ ครอบครวั ขนุ นางแบบเดมิ หากฝา่ ยชายมไิ ดร้ บั การศกึ ษาสมยั ใหมแ่ บบตะวนั ตก  การสอบ เพื่อเข้ารับราชการตามแบบจารีตจดั ขน้ึ เป็นคร้งั สุดทา้ ยใน ค.ศ. ๑๙๑๙ ก่อนทจ่ี ะยกเลกิ ไป ผ้ทู เี่ ขา้ รับราชการในระบอบปกครองอาณานคิ มต้องมีการศกึ ษาแผนใหม่ โดยเฉพาะ 344

สาธารณรฐั สังคมนยิ มเวยี ดนาม ในระดบั อดุ มศกึ ษา ไมว่ า่ จะเปน็ การศกึ ษาในเวยี ดนามหรอื จากตา่ งประเทศ นอกจากนน้ั ยงั มีชนช้นั น�ำอืน่ ๆ เกดิ ข้นึ ในช่วงนี้ดว้ ย  ชนชั้นนำ� รนุ่ ใหม่ประเภทหนงึ่ คือ ผู้ประกอบ วชิ าชีพ เช่น แพทย์ วศิ วกร ครู นกั กฎหมาย นกั หนังสือพมิ พ์ คนชนช้ันน้ีมมี ากขนึ้ เม่อื รัฐบาลอาณานิคมขยายกิจการด้านสาธารณสุข งานโยธา และการศึกษา นอกจากน้นั ยงั มีผูป้ ระกอบวชิ าชพี ส่วนหน่ึงอยู่นอกระบบราชการ ชนชั้นน�ำรุ่นใหม่ส่วนใหญ่ประกอบด้วยชาวเวียดนามจากตังเกี๋ยและอันนัม มากกวา่ จากโคชนิ ไชนา  ความแตกตา่ งนอ้ี าจเกดิ จากการทต่ี งั เกยี๋ และอนั นมั เปน็ รากฐาน ด้ังเดิมของอารยธรรมเวียดนาม และอาจมาจากการท่ีสถาบันอุดมศึกษาแห่งเดียวของ ประเทศอยใู่ นฮานอย ชนชนั้ อกี ประเภทหนงึ่ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในสมยั อาณานคิ ม คอื เจา้ ของทด่ี นิ ที่ไม่ได้อยู่ในท่ีดินของตนซึ่งมีฐานะม่ังคั่งมากกว่าชนช้ันน�ำในระบอบจารีตของเวียดนาม เป็นอันมาก คนกลุ่มนี้เกิดขึ้นจากการที่ฝรั่งเศสพัฒนาที่ดินเกษตรกรรมอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะในโคชินไชนา ท่ีดินใหม่เหล่านี้ส่วนหนึ่งอยู่ในความครอบครองของบริษัท หรือพลเมืองฝรั่งเศส แต่ส่วนใหญ่ตกอยู่ในมือของคนเวียดนามจากอันนัมและตังเก๋ียที่มี โลกทัศนแ์ ละการศึกษาแบบตะวนั ตก รวมทงั้ มีด�ำริริเริ่มแสวงหาผลประโยชน์จากกิจการ ค้าและอนื่ ๆ พวกน้ีซ่ึงส่วนใหญอ่ ย่ใู นเว้และฮานอย อาศยั การลงทุนในอุตสาหกรรมเบา และกจิ การคา้ ขนาดกลาง จนกลายเป็นนักการอุตสาหกรรมและผปู้ ระกอบการในระบบ ทุนนิยมรุน่ แรกของเวยี ดนาม ในเขตเมือง ทั้งรัฐบาลอาณานิคมท่ีขยายงานด้านต่าง ๆ กว้างขวางขึ้นและ การขยายตัวของภาคเอกชน ท�ำให้เกิดคนอีกกลุ่มหนึ่งซึ่งเป็นเจ้าหน้าท่ีในหน่วยงาน รัฐบาลและลูกจ้างในกิจการของเอกชน เป็นคนช้ันกลางระดับล่าง ซึ่งได้แก่ เสมียน พนกั งาน เลขานุการ แคชเชยี ร์ ลา่ ม เจา้ หน้าทร่ี ะดบั ล่าง คนคมุ งาน เปน็ ต้น นอกจากนนั้ การพัฒนากิจการเหมืองแร่และอุตสาหกรรมในช่วง ค.ศ. ๑๘๙๐–๑๙๑๙ ก็ท�ำให้ เกิดชนช้ันผู้ใช้แรงงานกลุ่มใหม่ ด้วยเหตุที่ทรัพยากรธรรมชาติและก�ำลังคนส่วนใหญ่ อยู่ทางเหนือของประเทศ การพัฒนาอุตสาหกรรมจึงเกิดขึ้นในเขตน้ี ท�ำให้ฮานอย และเมืองท่าไฮฟองกลายเปน็ ศูนย์กลางด้านอตุ สาหกรรมที่ส�ำคญั ของเวียดนาม 345

สารานกุ รมประวัติศาสตร์ประเทศเพ่อื นบา้ นในอาเซียน ในช่วงน้ี เวียดนามตอนใต้ก็พัฒนาเป็นเขตเกษตรกรรมหลักของประเทศ เนอ่ื งจากในเวยี ดนามตอนเหนอื ประชากรทอี่ ยกู่ นั อยา่ งหนาแนน่ และมกี ารทำ� การเกษตร อย่างเต็มที่ในพ้ืนท่ีท่ีมีจ�ำกัดอยู่แล้ว การขยายการเกษตรเพ่ือการค้าจึงท�ำได้น้อยมาก ฝรั่งเศสจึงมุ่งความสนใจไปที่ดินแดนทางใต้ท่ีมีอากาศร้อนช้ืนกว่าและยังไม่ได้พัฒนา เพื่อขยายท้ังการปลูกข้าวและพืชเศรษฐกิจ เช่น ยางพารา กาแฟ ชา การพัฒนาการ เกษตรในดินแดนทางใต้ท�ำให้เกิดกลุ่มคนอีกกลุ่มหนึ่ง คือ ผู้ใช้แรงงานในกิจการเกษตร และไรน่ าขนาดใหญ่ กลุ่มคนอีกกลุ่มหนึ่งที่มีบทบาทมากขึ้นในสมัยอาณานิคม คือ คนเชื้อสายจีน ในเวยี ดนามทเี่ รยี กวา่ พวก “หวา่ ” เดมิ กจิ การคา้ ทง้ั ในประเทศและตา่ งประเทศสว่ นใหญ่ อยใู่ นมอื ของคนจนี   เมอ่ื ฝรงั่ เศสเขา้ มาปกครองเวยี ดนาม ฝรง่ั เศสสง่ เสรมิ บทบาทชาวจนี ในด้านการพาณิชย์และน�ำแรงงานจีนเข้ามาในเวียดนามเพ่ือสร้างถนน ทางรถไฟ ท�ำเหมืองแร่ และกิจการอุตสาหกรรม เม่ือสิ้นคริสต์ศตวรรษที่ ๑๙ ฝรั่งเศสอนุญาต ให้ส่งออกข้าวได้อย่างเสรี มีผลให้ชาวจีนเดินทางเข้ามามากขึ้น โดยเฉพาะในเวียดนาม ตอนใต้ ชาวจีนซ่ึงเก่ียวข้องกับการค้าข้าวอยู่แล้ว ได้ขยายความสนใจไปในกิจการ โรงสีข้าวจนสามารถผูกขาดกิจการด้านน้ีด้วย และยังมีบทบาทส�ำคัญในการท�ำน�้ำตาล จากอ้อย ผลิตน�้ำมันมะพร้าว การท�ำไม้ และการต่อเรือ ชาวจีนที่เริ่มต้นด้วยการเป็น คนงานในสวนยางในโคชนิ ไชนา  ในท่สี ุดก็สามารถปลูกชา พรกิ ไทย หรอื ขา้ วของตนเอง เพื่อสนองความตอ้ งการของตลาด นอกจากน้นั ยังมีคนจนี ทีเ่ ปน็ ชาวสวนในเขตรอบนอก ไซ่ง่อนผูกขาดการปลูกผักเพ่ือใช้ในการบริโภคในนครแห่งน้ี  ในขณะเดียวกันก็มีกิจการ โรงแรมและภตั ตาคารของคนจีนขยายเพ่มิ ขึ้นในไซ่งอ่ นเชน่ กัน การต่อต้านการปกครองของฝรั่งเศสในเวียดนามเกิดขึ้นต้ังแต่ฝร่ังเศสเริ่มเข้า มายึดครองดินแดนน้ี  ชาวเวียดนามมีจารีตในการต่อต้านการรุกรานของต่างชาติมา ยาวนาน เมอ่ื ฝรงั่ เศสเขา้ มายดึ ครองแลว้ ยงั มคี วามไมพ่ อใจทเี่ กดิ จากปญั หาอกี หลายดา้ น ด้วยกัน ที่ส�ำคัญคือการท�ำลายโครงสร้างสังคมดั้งเดิมจากการยึดครองท่ีดินของชุมชน 346

สาธารณรัฐสังคมนยิ มเวียดนาม ทำ� ใหท้ ด่ี นิ ของชาวนาลดลงเรอ่ื ย ๆ  เมอื่ ถงึ ค.ศ. ๑๙๓๐ ชาวฝรง่ั เศสเขา้ ครอบครองทด่ี นิ เกอื บรอ้ ยละ ๒๐ ของทด่ี นิ ทำ� การเกษตรทง้ั หมด ความผดิ พลาดทรี่ า้ ยแรงทส่ี ดุ ประการหนงึ่ ของนโยบายการเกษตรของฝรั่งเศส คือ การปล่อยให้ที่ดินชุมชนตกไปอยู่ในมือของ นักเกง็ ก�ำไรและหัวหนา้ หมูบ่ ้านท่ีคดโกง ขบวนการต่อต้านฝร่ังเศสในช่วงแรก ๆ มักเป็นขบวนการที่สะท้อนความ ปรารถนาท่จี ะกลับไปสสู่ มัยจารตี ของเวยี ดนาม เชน่ ขบวนการเกิน่ เวือง [(Can Vuong) แปลว่า “Help the King”] ซ่ึงมีขุนนางเป็นผู้น�ำการเคล่ือนไหวเพ่ือความจงรักภักดี ต่อจักรพรรดิ หลังจากฝรั่งเศสยึดดินแดนเวียดนามได้ทั้งหมดใน ค.ศ. ๑๘๘๔ การตอ่ ตา้ นดำ� เนินอยู่ระหวา่ ง ค.ศ. ๑๘๘๕–๑๘๘๘ และกอ่ ใหเ้ กิดวีรบุรษุ ของเวียดนาม หลายคน ฝ่ายต่อต้านประสบชัยชนะในช่วงแรก ๆ แต่ในท่ีสุดก็ถูกปราบปรามลงได้ นอกจากนั้น บางกรณีมีศาสนาเข้ามามีบทบาทส�ำคัญด้วย เช่น ขบวนการทางศาสนา ฮวาหา่ ว (Hoa Hao) และกาวด่าย (Cao Dai) ศาสนสถานของลัทธกิ าวดา่ ย 347

สารานุกรมประวัติศาสตรป์ ระเทศเพอ่ื นบา้ นในอาเซียน ในต้นคริสต์ศตวรรษท่ี ๒๐ จึงเริ่มปรากฏแนวความคิดชาตินิยมสมัยใหม่ซ่ึง มีสาเหตุจากทั้งความเปลี่ยนแปลงทางสังคมเศรษฐกิจที่เกิดข้ึนภายใต้ระบอบปกครอง อาณานิคมและอิทธิพลจากภายนอก ซ่ึงรวมถึงอิทธิพลทางความคิดและกระแส ความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ทีเ่ กดิ ขึ้นในเอเชียและในโลก การศึกษาเป็นเง่ือนไขส�ำคัญก่อให้เกิดกระแสชาตินิยมสมัยใหม่ เมื่อถึงต้น คริสต์ศตวรรษท่ี ๒๐ การศึกษาแผนใหม่แบบตะวันตกขยายตัวมากข้ึนเพื่อตอบสนอง ความจ�ำเป็นในการฝึกอบรมบุคลากรส�ำหรับระบอบปกครองอาณานิคม คนพ้ืนเมือง รวมท้ังคนหนุ่มสาวจากชนบทเข้ามาในเมืองหลวง หรือเดินทางไปศึกษายังต่างประเทศ ได้พบปะกับท้ังเพ่ือนร่วมชาติและคนต่างชาติท่ีมีประสบการณ์หรือความมุ่งหวังอย่าง เดียวกนั การศกึ ษาสมยั ใหมท่ �ำใหป้ ระชาชนทั่วไปรหู้ นงั สอื มากข้นึ (แมว้ ่าโดยรวมแล้วยัง ถอื วา่ มสี ดั สว่ นตอ่ ประชากรทงั้ หมดนอ้ ยมาก) การอา่ นออกเขยี นไดก้ อ่ ใหเ้ กดิ การรบั รคู้ วาม คดิ และเรือ่ งราวตา่ ง ๆ ท่เี กิดข้ึนในโลก การขยายการอา่ นออกเขยี นได้อนั เป็นผลมาจาก การใช้อกั ษรโกว๊กหงือทำ� ให้การตีพมิ พห์ นังสือและสอ่ื สงิ่ พิมพอ์ ืน่ ๆ แพรห่ ลายอย่างมาก ในชว่ ง ค.ศ. ๑๙๒๓–๑๙๔๔ มสี ง่ิ พิมพ์มากกว่า ๑๐,๐๐๐ เรือ่ ง ก่อใหเ้ กดิ การกระจาย ความรคู้ วามเขา้ ใจเรอ่ื งราวและประเดน็ ปญั หาตา่ ง ๆ โดยเฉพาะทเ่ี กยี่ วกบั “ชาต”ิ ของตน เหตกุ ารณส์ ำ� คญั ทเ่ี กดิ ขน้ึ นอกภมู ภิ าคมสี ว่ นในการจดุ กระแสความรสู้ กึ ชาตนิ ยิ ม ให้เกดิ ข้ึนในประชาชาติต่าง ๆ ในภูมภิ าคน้ี โดยเฉพาะการฟืน้ ฟพู ระราชอำ� นาจสมยั เมจิ (Meiji Restoration) ในญปี่ ุ่น ซงึ่ เรมิ่ ขึน้ ใน ค.ศ. ๑๘๖๘ กอ่ ใหเ้ กดิ ความต่ืนตวั ของชาติ ต่าง ๆ ในเอเชียว่า การต่อสู้เพ่ือเอกราชน้ันรวมไปถึงการพัฒนาปรับปรุงประเทศ ให้ก้าวหน้าทันสมัยด้วย ชัยชนะของญ่ีปุ่นในสงครามรัสเซีย-ญ่ีปุ่นไม่เพียงแต่ตอกย้�ำ ความส�ำเร็จของญี่ปุ่นในการพัฒนาประเทศให้ก้าวหน้าทันสมัยทัดเทียมชาติตะวันตก เท่าน้ัน แต่ยังนับเป็นชัยชนะของชาติเอเชียท่ีมีต่อมหาอ�ำนาจส�ำคัญของตะวันตกด้วย การปฏวิ ตั จิ นี ใน ค.ศ. ๑๙๑๑ ล้มล้างราชวงศ์ชิง (Qing) และจักรวรรดจิ ีน นำ� จนี เข้าสยู่ คุ ใหม่ กม็ ผี ลกระทบตอ่ นกั ชาตนิ ยิ มในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตร้ วมทง้ั ในเวยี ดนามอยา่ งมาก หลักการท่ีเรียกวา่ “ลทั ธไิ ตรราษฎร์” (Three Principles of the People–Sanmin Zhuyi) ของซนุ ยตั เซน (Sun Yatsen) ไดแ้ ก่ ชาตนิ ิยม (nationalism) ประชาธิปไตย 348

สาธารณรัฐสังคมนิยมเวยี ดนาม (democracy) และสังคมนิยม (socialism) นับเป็นแนวคิดทางการเมืองสมัยใหม่ท่ีมี อทิ ธพิ ลกวา้ งขวางในเอเชยี และการจดั ตง้ั พรรคการเมอื ง คอื กวอ๋ หมนิ ตงั่ (Guomindang) ก็มีอิทธิพลกว้างขวางเช่นเดียวกัน ในเวียดนามมีการจัดต้ังพรรคการเมืองที่อาศัย รูปแบบของกวอ๋ หมินตัง่ โดยตรง คือ พรรคชาตินิยมเวียดนาม (Viet Nam Quoc Dan Dang–VNQDD) กอ่ ต้ังใน ค.ศ. ๑๙๒๗ อย่างไรก็ดี อิทธิพลของแนวคิดมากซ์-เลนิน (Marxism-Leninism) มีความ ส�ำคัญทส่ี ุดซึ่งนำ� ไปส่กู ารกอ่ ตง้ั พรรคคอมมิวนสิ ต์อินโดจีน (Indochinese Communist Party–ICP) ข้ึนในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. ๑๙๓๐ และมีบทบาทส�ำคัญในการต่อสู้ เพ่อื เอกราชของเวียดนามในเวลาต่อมา ในชว่ งสงครามมหาเอเชยี บรู พา กองทพั ญป่ี นุ่ เขา้ ยดึ ครองเวยี ดนาม (และเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ท้ังหมด) โฮจิมินห์ (Ho Chi Minh) ผู้น�ำพรรคคอมมิวนิสต์ได้เตรียม การปฏิวัติเดือนสิงหาคม (August Revolution) ไว้ มีการจัดตั้งขบวนการเวียดมินห์ ในเดอื นพฤษภาคม ค.ศ. ๑๙๔๑ ดว้ ยการขยายฐานสนบั สนนุ ในเขตชนบทอยา่ งกวา้ งขวาง ในช่วงน้ันเกิดทุพภิกขภัยร้ายแรงในจังหวัดทางเหนือ  เวียดมินห์ฉวยโอกาสจากวิกฤติ ครง้ั นใี้ นการสรา้ งฐานมวลชนสนบั สนนุ ดว้ ยการยดึ ขา้ วในยงุ้ ฉางตา่ ง ๆ เพอื่ นำ� มาแจกจา่ ย แกป่ ระชาชน  เม่ือญ่ีปุ่นยอมจ�ำนนในวนั ท่ี ๑๕ สิงหาคม ค.ศ. ๑๙๔๕ แนวรว่ มสหพันธ์ เวยี ดนาม เพอ่ื เอกราช [(Mat Tran) Viet Nam Doc Lap Dong Minh Hoi] หรอื เรยี กยอ่ วา่ เวยี ดมนิ ห์ (Viet Minh) ซ่งึ น�ำโดยพรรคคอมมวิ นสิ ตเ์ วียดนาม (Dang Cong San Viet Nam) ทีย่ ังใช้ช่อื วา่ พรรคคอมมิวนสิ ตอ์ ินโดจีน ได้น�ำประชาชนลุกฮอื ขน้ึ ท่ัวประเทศเพอ่ื ยดึ อำ� นาจ และสามารถยดึ อำ� นาจไดส้ ำ� เรจ็ จกั รพรรดเิ บา๋ ดา่ ย (Bao Dai) ซงึ่ เปน็ จกั รพรรดิ องค์สุดทา้ ยแหง่ ราชวงศ์งเหวียน ทรงสละราชสมบตั เิ ม่อื วันท่ี ๒๕ สงิ หาคม ค.ศ. ๑๙๔๕ และมอบอ�ำนาจในการปกครองให้แก่เวียดมินห์ เหตุการณ์น้ีสร้างความชอบธรรมทาง การเมอื งใหแ้ กเ่ วยี ดมนิ ห์อยา่ งน้อยในสายตาของประชาชนชาวเวียดนาม โฮจมิ นิ หป์ ระกาศเอกราชของเวยี ดนามทีจ่ ัตุรัสบาดิญ (Ba Dinh) ในกรงุ ฮานอย เม่ือวันที่ ๒ กันยายน ค.ศ. ๑๙๔๕ รวมท้ังประกาศจัดต้ัง “สาธารณรัฐประชาธิปไตย เวียดนาม” (Democratic Republic of Vietnam) ท่ามกลางประชาชนหลายแสนคนท่ี 349

สารานกุ รมประวตั ศิ าสตร์ประเทศเพือ่ นบ้านในอาเซยี น โห่ร้องยินดี แต่ไม่นานหลังจากน้ันระบอบ ปกครองที่โฮจิมินห์เพ่ิงจัดต้ังขึ้นก็ต้อง เผชิญกับกองก�ำลังพันธมิตร (อังกฤษและ จีนคณะชาติ) ท่ีเข้ามาปลดอาวุธทหาร ญี่ปุ่น รวมทั้งฝร่ังเศสที่ต้องการกลับเข้า มาปกครองอินโดจีน ดังนั้น ในขณะท่ี ประชาชนจ�ำนวนมากยังอดอยากหิวโหย เน่ืองจากการสู้รบและความแห้งแล้ง (มี ผู้เสียชีวิตจากวิกฤติคร้ังนั้นไม่น้อยกว่า ๒ ล้านคน) รัฐบาลใหม่ของเวียดนาม จึงแทบไม่มีโอกาสปกครองบริหารประเทศ เม่ือการเจรจาท�ำความตกลงกับฝร่ังเศส เร่ืองเอกราชล้มเหลว เวียดนามก็เข้าสู่ โฮจิมินห์ สงครามอินโดจนี ครั้งที่ ๑ (First Indochina War; Indochina War I) หรือทีเ่ รียกว่า สงครามฝรั่งเศส-เวียดมินห์ (Franco-Vietminh War) ซ่ึงเร่ิมข้ึนในเดือนธันวาคม ค.ศ. ๑๙๔๖ สงครามกับฝร่ังเศสด�ำเนินอยู่ถึง ๘ ปี จึงยุติลงด้วยข้อตกลงเจนีวาท่ีแบ่ง เวยี ดนามเปน็ ๒ สว่ น ที่เส้นขนานท่ี ๑๗ (ละตจิ ดู ๑๗ องศาเหนอื ) ในเดอื นกรกฎาคม ค.ศ. ๑๙๕๔ การยุติสงครามคร้ังนี้ถือเป็นการ “พักรบ” ช่ัวคราวเท่าน้ัน เพราะหลัง จากน้ันไม่นาน สงครามครั้งใหม่คือ สงครามอินโดจีนครั้งที่ ๒ (Second Indochina War; Indochina War II) หรือสงครามเวียดนาม (Vietnam War) ก็เปิดฉากข้ึน ช่วงพักรบเป็นช่วงที่สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนามหรือเวียดนามเหนือ (North Vietnam) ซึ่งอยู่ภายใต้ระบอบคอมมิวนิสต์ เริ่มการปฏิวัติสังคมนิยมเพื่อเปลี่ยน โครงสร้างทางเศรษฐกิจให้เป็นแบบสังคมนิยม ส่วนในเวียดนามตอนใต้ซ่ึงกลายเป็น อีกประเทศหน่ึงในเดือนตุลาคม ค.ศ. ๑๙๕๕ เม่ือมีการจัดตั้งสาธารณรัฐเวียดนาม (Republic of Vietnam) หรือเวียดนามใต้ (South Vietnam) ก็มีการพัฒนา 350

สาธารณรัฐสังคมนยิ มเวียดนาม ในแนวทางทุนนิยม เม่ือสงครามรุนแรงขึ้น โอกาสที่จะพัฒนาอย่างแท้จริงในเวียดนาม ทัง้ ๒ ส่วนแทบไม่มี การพฒั นาอย่างแทจ้ รงิ เรม่ิ ขนึ้ ภายหลัง ค.ศ. ๑๙๗๕ เมื่อสงคราม อินโดจีนครงั้ ที่ ๒ ยตุ ิลงแลว้ อนุสรณ์สถานโฮจมิ นิ ห์ แม้ว่าการสู้รบเริ่มรุนแรงเป็นสงครามต้ังแต่ประมาณกลางทศวรรษ ๑๙๖๐ แต่ถือกันว่าสงครามอินโดจีนคร้ังท่ี ๒ เริ่มตั้งแต่ ค.ศ. ๑๙๕๔ เม่ือสงครามอินโดจีน ครง้ั แรกยตุ ิลง อยา่ งไรกต็ าม ในช่วงท่ี “พกั รบ” เวียดนามเหนอื ก็เริม่ การปฏริ ูปทดี่ นิ ใน ชว่ ง ค.ศ. ๑๙๕๓-๑๙๕๖ การปฏวิ ตั สิ งั คมนยิ มตามแนวทางของคอมมวิ นสิ ต์ ซงึ่ มเี ปา้ หมาย ต้องการท�ำลายอ�ำนาจของชนชั้นน�ำด้ังเดิมในหมู่บ้าน และเพื่อให้เกิดชนชั้นใหม่ที่มิได้ ถอื ครองทรัพย์สนิ ใด ๆ การปฏิรูปน�ำไปสู่การกล่าวหาชาวบ้านจ�ำนวนมากซ่ึงจบลงด้วยการถูกลงโทษ ประหารชีวิตและการยึดท่ีดินแม้จากชาวนาท่ียากจน ท�ำให้เกิดความหวาดระแวงข้ึนใน บรรดาชาวบ้านที่เป็นเพื่อนบ้านกัน  ไม่ทราบแน่ชัดว่ามีผู้เสียชีวิตเป็นจ�ำนวนเท่าใดใน ชว่ งนน้ั เพราะมตี วั เลขประมาณการทแ่ี ตกตา่ งกนั ตง้ั แต่ ๕๐,๐๐๐ คน จนถงึ ๑๐๐,๐๐๐ คน 351

สารานุกรมประวตั ิศาสตร์ประเทศเพื่อนบา้ นในอาเซียน ใน ค.ศ. ๑๙๕๖ พรรคคอมมิวนสิ ตเ์ วียดนามยอมรบั ขอ้ ผดิ พลาดเกี่ยวกบั การปฏิรูปท่ดี นิ เจื่อง จิญ (Truong Chinh) เลขาธิการพรรค  ที่รับผิดชอบเร่ืองนี้ถูกบีบให้ลาออก จากต�ำแหน่ง หลังจากน้ัน มีการรวมการผลิต (collectivization) โดยเฉพาะในด้าน การเกษตรและหตั ถกรรมตา่ ง ๆ  แนวทางการพฒั นาเศรษฐกจิ ของเวยี ดนามเนน้ ไปในดา้ น อุตสาหกรรมหนกั มากกวา่ ด้านการเกษตร หตั ถกรรม และอุตสาหกรรมเบาเชน่ ประเทศ คอมมวิ นิสต์อื่น ๆ แมว้ า่ จริง ๆ แลว้ รากฐานส�ำคญั ของระบบเศรษฐกจิ เวียดนามอยู่ที่ ๓ ดา้ นดงั กล่าวมใิ ชด่ า้ นอตุ สาหกรรมหนกั ก็ตาม ใน ค.ศ. ๑๙๖๐ เวียดนามเหนือจัดท�ำแผนพัฒนาเศรษฐกิจ ๕ ปี ฉบับแรก (First Five-Year Plan ค.ศ. ๑๙๖๐–๑๙๖๕) เพื่อวางรากฐานสำ� หรับการพัฒนาระบบ สงั คมนิยม แผนนใ้ี หค้ วามส�ำคัญเรอื่ งการพัฒนาอตุ สาหกรรมหนักเป็นลำ� ดบั แรก  ตอ่ มา ก็เปล่ียนมาเน้นด้านการเกษตรและอุตสาหกรรมเบา  อย่างไรก็ดี สหรัฐอเมริกาเริ่ม สงครามทางอากาศกับเวียดนามเหนือต้ังแต่ต้น ค.ศ. ๑๙๖๕ การท้ิงระเบิดอย่างหนัก ท�ำให้ต้องชะลอโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ เพราะแรงงานในโครงการต่าง ๆ ต้องถูก เคลื่อนย้ายมาท�ำหน้าท่ีซ่อมแซมและฟื้นฟูประเทศจากการถูกโจมตีทางอากาศ รัฐบาล เวียดนามเหนอื มไิ ด้จัดท�ำแผน ๕ ปี ฉบับที่ ๒ ข้นึ หลงั สิ้นสุดแผนแรกแลว้ เม่ือส้ิน ค.ศ. ๑๙๖๖ เศรษฐกิจของเวียดนามเหนือถูกกระทบกระเทือน อย่างหนักจากภาวะสงคราม การส่งกระแสไฟฟ้าต้องหยุดลง คลังน�้ำมันปิโตรเลียม ถูกท�ำลาย และการขาดแคลนแรงงานท�ำใหก้ จิ กรรมทงั้ ดา้ นอุตสาหกรรมและการเกษตร ตอ้ งหยดุ ชะงกั ลง เสน้ ทางการขนสง่ ทถี่ กู ตดั ขาดดว้ ยการทง้ิ ระเบดิ ของสหรฐั อเมรกิ า ทำ� ให้ การจัดส่งทั้งวัตถุดิบและสินค้าเครื่องอุปโภคบริโภคไปยังบริเวณต่าง ๆ ในประเทศต้อง ลา่ ชา้ ลงดว้ ย เมอื งอตุ สาหกรรมทง้ั ๖ เมอื ง เมอื งหลกั ของจงั หวดั ตา่ ง ๆ ๒๘ เมอื งจากทงั้ หมด ๓๐ เมอื ง เมืองระดับอำ� เภอ ๙๖ เมอื งจากท้ังหมด ๑๑๖ เมอื ง และคอมมนู ๔,๐๐๐ แห่ง จากทั้งหมด ๕,๗๘๘ แห่ง สถานีผลิตกระแสไฟฟ้าท้ังหมด โรงงานที่จัดการเร่ืองน้�ำ ๑,๖๐๐ แห่ง เส้นทางรถไฟ ถนน สะพาน และท่าเรือในประเทศ ได้รับความเสียหาย หรือถูกท�ำลายไป โคกระบือตายไปประมาณ ๔๐๐,๐๐๐ ตัว และพื้นที่ทางการเกษตร หลายลา้ นไรไ่ ด้รบั ความเสียหายอยา่ งหนัก 352

สาธารณรัฐสังคมนยิ มเวียดนาม ส่วนเวียดนามใต้พัฒนาแนวทางเศรษฐกิจแบบตลาดของประเทศก�ำลังพัฒนา เมื่อกอ่ ต้งั สาธารณรฐั เวียดนามขึ้นในเดอื นตลุ าคม ค.ศ. ๑๙๕๕ กจ็ ดั ตั้งธนาคารชาตแิ ละ ส�ำนักงานแลกเปล่ียนเงนิ ตรา รวมทง้ั ออกเงนิ ตราใหม่เพอื่ ทดแทนเงนิ เปยี สตร์ (piastre) เดิมของสมัยท่ีฝร่ังเศสปกครอง ในปีต่อมาก็ประกาศใช้รัฐธรรมนูญซ่ึงก�ำหนดให้จัดต้ัง สภาเศรษฐกจิ แหง่ ชาติ (National Economic Council) มรี องประธานาธบิ ดเี ปน็ ประธาน ในปีเดียวกันน้ัน เวียดนามใต้ก็เข้าเป็นสมาชิกกองทุนการเงินระหว่างประเทศหรือ ไอเอ็มเอฟ (International Monetary Fund–IMF) และในเดอื นมีนาคม ค.ศ. ๑๙๕๗ รฐั บาลกป็ ระกาศนโยบายสง่ เสรมิ การลงทนุ แกท่ ง้ั นกั ลงทนุ ทอ้ งถนิ่ และนกั ลงทนุ ตา่ งชาติ โดยรัฐบาลจะใหก้ ารคมุ้ ครองและสทิ ธิพิเศษตา่ ง ๆ รัฐบาลเวียดนามใต้ใช้นโยบายส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมเพื่อทดแทน การน�ำเข้าและก�ำหนดมาตรการกีดกันทางการค้าทั้งในรูปภาษีศุลกากรและท่ีมิใช่ภาษี เพอ่ื คมุ้ ครองอตุ สาหกรรม ขณะเดยี วกนั รฐั บาลกส็ ง่ เสรมิ การสง่ ออกดว้ ยมาตรการอดุ หนนุ สินค้าท่ีจะส่งไปขายยังต่างประเทศ ในเวียดนามใต้มีการด�ำเนินการปฏิรูปท่ีดินเช่น กัน ท่ีดินที่มิได้ใช้ประโยชน์จะถูกยึดและน�ำมาจัดสรรใหม่ให้แก่ชาวนา มีการจ�ำกัดการ ถอื ครองทด่ี นิ ไดไ้ มเ่ กนิ ๑ ตารางกโิ ลเมตร (๖๒๕ ไร)่ ทด่ี นิ ทเ่ี กนิ จากจำ� นวนนตี้ อ้ งขายใหแ้ ก่ รัฐเพื่อน�ำมาขายให้แก่ชาวนาท่ีต้องการอีกทอดหนึ่ง ชาวนาและผู้ถือครองที่ดินต้องท�ำ สัญญาการใช้ท่ดี นิ ซึง่ ชาวนาตอ้ งจ่ายค่าเช่า ท�ำใหเ้ จ้าของท่ดี นิ ทม่ี ง่ั คัง่ เปน็ ผถู้ ือครองทด่ี นิ ถึง ๒ ใน ๓ ในเวียดนามใต้ รัฐบาลจงึ จำ� เป็นต้องปฏริ ปู ทีด่ ินเพ่อื แก้ไขปัญหานี้ ในระยะ ๑๐ ปแี รก เศรษฐกิจของสาธารณรัฐเวียดนามค่อนข้างมีเสถียรภาพ ในชว่ ง ค.ศ. ๑๙๕๗–๑๙๖๒ รฐั บาลพัฒนาเศรษฐกจิ โดยใช้แผนพฒั นา ๕ ปี แตค่ วาม ขัดแย้งในบรรดาผู้น�ำทางการเมืองในเวียดนามใต้ (มีการรัฐประหารหรือพยายามท�ำ รัฐประหารหลายคร้ัง) ท�ำให้ไม่อาจด�ำเนินนโยบายเศรษฐกิจอย่างมีประสิทธิภาพ หลัง ค.ศ. ๑๙๖๕ เมือ่ สงครามเร่มิ รุนแรงขนึ้ เวยี ดนามใต้ก็ยง่ิ ได้รับผลกระทบอยา่ งมาก ต้ังแตต่ ้นทศวรรษ ๑๙๗๐ เวยี ดนามใตป้ ระสบวิกฤติด้านเศรษฐกิจอย่างหนัก แม้ยังได้รับความช่วยเหลือจากสหรัฐอเมริกาอยู่ ใน ค.ศ. ๑๙๗๐ อัตราเงินเฟ้อ เพิ่มถึงร้อยละ ๓๖.๘ และเพิ่มเป็นร้อยละ ๔๔.๕ ใน ค.ศ. ๑๙๗๓ เมื่อถึงช่วงน้ี 353

สารานุกรมประวตั ศิ าสตร์ประเทศเพ่อื นบ้านในอาเซยี น กองทัพสหรัฐอเมริกาเร่ิมถอนตัวออกและให้กองทัพเวียดนามใต้รับภาระสู้รบกับฝ่าย คอมมิวนิสต์แทน สาธารณรฐั เวียดนามจึงเพียงแตร่ อเวลาลม่ สลายเทา่ นั้น เวียดนามภายหลงั เอกราชแทบจะมไิ ดม้ กี ารเปล่ียนแปลงจากชว่ งก่อนหน้าน้นั มากนกั แม้ในตน้ ทศวรรษ ๑๙๔๐ และในระหวา่ งสงครามอินโดจนี คร้งั ท่ี ๑ เวยี ดมินห์ สามารถเปลยี่ นแปลงสังคมและเศรษฐกจิ ในเขตยดึ ครองของตนได้ระดบั หน่ึง แต่รฐั บาล สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนามท่ีโฮจิมินห์จัดต้ังข้ึนเพ่ือบริหารประเทศภายหลังการ ประกาศเอกราช แทบไมม่ โี อกาสดำ� เนนิ การเปลยี่ นแปลงสำ� คญั ใด ๆ อกี จนหลงั สงครามยตุ ิ ใน ค.ศ. ๑๙๕๔ แล้ว จงึ มีความเปลย่ี นแปลงสำ� คญั ท้ังในดา้ นสังคมและเศรษฐกิจ หลงั เวยี ดนามแบ่งออกเป็น ๒ ประเทศ ซึง่ กนิ เวลายาวนานถงึ ๒๐ ปี ส่งผล ใหเ้ กิดการพัฒนาท่ีแตกตา่ งกัน เวยี ดนามทงั้ ๒ ประเทศยงั คงมีลักษณะเปน็ สงั คมชนบท อยู่มาก เกือบร้อยละ ๙๐ ของประชากรยังเป็นเกษตรกรและชาวนาที่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรมอยู่ในชนบท  อย่างไรก็ตาม เวียดนามเหนือซ่ึงเป็นแหล่งต้ังรกรากดั้งเดิม ของชาวเวียดนาม และเวียดนามใต้ซ่ึงเป็นแหล่งต้ังรกรากใหม่ ก็มีความแตกต่างกันอยู่ ไม่น้อย และตา่ งก็พฒั นาไปในแนวทางของตนเอง จึงมีส่วนช่วยตอกย้ำ� ความแตกต่างท่ีมี อยแู่ ลว้ เปน็ เวลายาวนาน ในเวยี ดนามเหนอื การขจดั ชนชน้ั นำ� ดงั้ เดมิ ในสงั คม ไมว่ า่ จะเปน็ นายทนุ เจา้ ของ ทด่ี นิ หรอื ผทู้ ค่ี อมมวิ นสิ ตเ์ รยี กวา่ ขนุ นางศกั ดนิ าตา่ ง ๆ ไมไ่ ดช้ ว่ ยใหส้ งั คมเวยี ดนามมคี วาม เทา่ เทยี มมากขนึ้ เทา่ ใดนกั เพราะเมอ่ื ชนชนั้ นำ� ดงั้ เดมิ หมดไป กม็ ชี นชนั้ นำ� ใหมเ่ ขา้ มาแทนท่ี คอื ผนู้ ำ� และเจา้ หนา้ ทร่ี ะดบั สงู ของพรรค คนเหลา่ นผ้ี า่ นประสบการณก์ ารตอ่ สมู้ ายาวนาน และการยึดม่ันในหลักการมากซ์-เลนิน รวมทั้งสามารถปลุกระดมและจัดต้ังมวลชน เพอื่ ตอ่ สใู้ นสงครามกเู้ อกราช แมพ้ วกเขาจะขาดความรทู้ างวชิ าการและทกั ษะทางวชิ าชพี เฉพาะด้าน แตค่ วามใกลช้ ิดกับประชาชนกล่มุ ต่าง ๆ ในสงั คมก็สามารถชดเชยสว่ นท่ขี าด ไปนไี้ ด้ระดบั หนง่ึ ความพยายามของพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนามท่ีจะสร้างคนรุ่นใหม่หรือ “socialist man” ทีย่ ดึ มั่นในแนวทางและค่านิยมแบบสงั คมนยิ มไมป่ ระสบความส�ำเร็จ มากนัก การจัดระเบียบสังคมใหม่แทบไม่มีผลในการกระตุ้นความกระตือรือร้นของ 354

สาธารณรัฐสงั คมนยิ มเวยี ดนาม มวลชนต่อลัทธิสังคมนิยม การเปลี่ยนระบบสังคมให้เป็นสังคมนิยมไม่ว่าในรูปแบบของ สหกรณห์ รอื บรษิ ทั และกจิ การทดี่ ำ� เนนิ งานโดยรฐั ไมไ่ ดท้ ำ� ใหส้ ภาพเศรษฐกจิ ดขี น้ึ รฐั บาล จึงไม่สามารถเอาชนะใจชาวนา พ่อค้า และประชาชนทั่วไปได้ ความยากจนยังคงมีอยู่ อยา่ งกวา้ งขวาง มเี พยี งสวสั ดกิ ารดา้ นการศกึ ษาและสาธารณสขุ เทา่ นน้ั ทด่ี เู หมอื นจะดขี น้ึ ขณะน้ันเวียดนามเหนือต้องเผชิญกับความยากล�ำบากและข้อจ�ำกัดมากมาย ไม่วา่ จะเปน็ ภัยธรรมชาตแิ ละสภาพเศรษฐกจิ ท่ียังยากจนและล้าหลังอยา่ งมาก นอกจาก นั้น พรรคคอมมิวนิสต์ก็ยอมรับความล้มเหลวและข้อจ�ำกัดของตนเอง โดยเฉพาะการที่ ผปู้ ฏบิ ตั งิ านของพรรคขาดความรแู้ ละทกั ษะทางวชิ าชพี ดา้ นตา่ ง ๆ เชน่ การเงนิ การจดั การ ความรู้ความช�ำนาญทางวิชาการอื่น ๆ ที่ส�ำคัญที่สุดคือ การสู้รบในเวียดนามใต้ที่ขยาย ตวั เป็นสงครามเวียดนามแทบไม่เปิดโอกาสให้พรรคคอมมิวนิสต์เวียดนามใช้ทรัพยากร เพอ่ื การพัฒนาทางสังคมและเศรษฐกิจไดเ้ ลย สว่ นสงั คมเวยี ดนามใตก้ แ็ ทบมไิ ดม้ กี ารเปลยี่ นแปลงสำ� คญั ใด ๆ ระบบเศรษฐกจิ ทมี่ รี ากฐานอยทู่ เี่ กษตรกรรมยงั คงแบกรบั ภาระสำ� คญั ในการเลย้ี งดคู นในเมอื ง ผลกระทบ ที่เกิดขึ้นในช่วงก่อนและหลัง ค.ศ. ๑๙๕๔ คือ การท่ีคนจากเวียดนามตอนเหนือ เกอื บ ๑ ลา้ นคนอพยพหนคี อมมวิ นสิ ตล์ งมาทางใต้ และเมอ่ื โง ดญิ เสยี่ ม (Ngo Dinh Diem) ขึ้นมามีอ�ำนาจ เขาก็มีด�ำริท่ีจะให้ปฏิรูปท่ีดิน แต่ไม่ได้กระตือรือร้นที่จะท�ำอย่างจริงจัง ดังนั้น การด�ำเนินงานในเรื่องนี้จึงแทบไม่มีผลใด ๆ โดยเฉพาะเมื่อต้องเผชิญกับการ ต่อตา้ นขดั ขวางทง้ั จากนายทนุ และชาวนาทีเ่ ปน็ เจ้าของทีด่ นิ เวียดนามใต้ต่างกับเวียดนามเหนือในแง่ท่ีไม่มีโครงการจัดระเบียบสังคม หรือปลูกฝังค่านิยมใหม่ตามอุดมการณ์ใด ๆ โดยเฉพาะเมื่อมีกระแสต่อต้านจาก ประชาชนและปฏิบัติการของฝ่ายคอมมิวนิสต์หรือเวียดกง (Viet Cong) รุนแรงขึ้น ระบอบปกครองในเวียดนามใต้จึงให้ความส�ำคัญกับความอยู่รอดมากกว่าการปฏิรูป เปลี่ยนแปลงสังคมไม่ว่าในลักษณะใด ในทศวรรษ ๑๙๖๐ สังคมก็เข้าสู่ภาวะวิกฤติ รุนแรงยิ่งขึ้น ท้ังจากปฏิบัติการก่อการร้ายของเวียดกงและจากนโยบายของรัฐบาล โดยเฉพาะการกดข่ีชาวพุทธและปฏิบัติการต่อต้านเวียดกงแบบเหว่ียงแห ท�ำให้มี ผู้ถูกสังหารและถูกจับกุมคุมขังจ�ำนวนมาก จนน�ำไปสู่กระแสต่อต้านรัฐบาลที่รุนแรง ย่ิงข้ึนอีก 355

สารานกุ รมประวตั ศิ าสตรป์ ระเทศเพือ่ นบ้านในอาเซยี น ผลกระทบจากการขยายสงครามเวียดนามคือ การด�ำเนินชีวิตทั้งในเมืองและ ชนบทอยใู่ นภาวะลม่ สลาย โดยเฉพาะในเขตชนบท  ประชากรจำ� นวนแทบนบั ไมถ่ ว้ นตอ้ ง ละท้ิงถิ่นฐานของบรรพบุรุษและสูญเสียเครือข่ายความผูกพันทางครอบครัวและชุมชน เพอ่ื หนอี อกจากเขตทพี่ วกเวยี ดกงเขา้ ไปควบคมุ มฉิ ะนน้ั กจ็ ะตอ้ งเผชญิ กบั ปฏบิ ตั กิ ารทาง ทหารของฝา่ ยรฐั บาลทเี่ ขา้ ไปกวาดลา้ งพวกนี้  ตน้ ทศวรรษ ๑๙๗๐ ประชากรไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๒ ลา้ นคน หรอื ประมาณรอ้ ยละ ๖๓ ของประชากรทง้ั หมดในเวยี ดนามใต้ ตอ้ งพลดั พราก จากถ่ินฐานบ้านช่องทั้งด้วยการถูกโยกย้ายเข้ามาอยู่ในหมู่บ้านยุทธศาสตร์ (strategic hamlets) ตามนโยบายของรฐั ทจ่ี ะแยกประชาชนออกจากเวยี ดกง และการอพยพเขา้ มา อยอู่ ยา่ งแออดั ในเขตเมอื งใหญต่ า่ ง ๆ แทบจะไมม่ หี มบู่ า้ นแหง่ ใดในเวยี ดนามใตท้ ไี่ มไ่ ดร้ บั ผลกระทบจากสงคราม  เสน้ แบง่ ระหวา่ งเมอื งกบั ชนบทหมดไปเมอ่ื ประชากรจำ� นวนมาก จากชนบทอพยพเข้าไปอยใู่ นเขตเมือง สงั คมดง้ั เดมิ ของเวยี ดนามใตต้ อ้ งลม่ สลายเพราะสญู สน้ิ พลงั ยดึ เหนย่ี วใด ๆ นอก เหนอื ไปจากสญั ชาตญาณของการดน้ิ รนเพอ่ื ความอยรู่ อดทมี่ รี ว่ มกนั   อยา่ งไรกด็ ี ในภาวะ ทีส่ ังคมล่มสลายเช่นน้ี ความแตกตา่ งเหลื่อมล�้ำทางชนชนั้ เนื่องจากความไมเ่ ท่าเทียมกนั ทางสังคมและเศรษฐกิจกย็ ังมีอยใู่ หเ้ หน็ ทง้ั ในเขตเมืองและชนบท ในเดอื นเมษายน ค.ศ. ๑๙๗๕ ฝา่ ยคอมมวิ นสิ ตไ์ ดช้ ยั ชนะสามารถยดึ เวยี ดนามใต้ ได้ พรรคคอมมิวนิสต์เวียดนามด�ำเนินการบูรณะซ่อมแซมบ้านเมือง ฟื้นฟูสภาพสังคม และเปลี่ยนโครงสร้างสังคมเวียดนามใต้ให้เป็นสังคมนิยม ท่ีส�ำคัญคือ ฟื้นฟูความเป็น ระเบยี บและเสถยี รภาพทางสงั คมในเวยี ดนามตอนใตท้ ไี่ ดร้ บั ความเสยี หายจากภยั สงคราม พรรคคอมมวิ นิสต์ เวียดนามดำ� เนินมาตรการหลากหลายเพ่อื ขจดั ทั้งนายทุนผูกขาดและ การขดู รดี เอารดั เอาเปรยี บแบบดงั้ เดมิ ทยี่ งั หลงเหลอื อยู่ พรรคสง่ ผปู้ ฏบิ ตั งิ านระดบั อาวโุ ส มาจากเวยี ดนามตอนเหนอื เพอ่ื ควบคมุ การดำ� เนนิ งานหลายดา้ นดว้ ยกนั ในเวยี ดนามตอนใต้ ประการแรก  คือ  การปฏิรูปความคิด (thought reform) ผู้ใหญ่ทุกคน ถูกบังคับให้เข้าชั้นเรียนเพ่ือปรับความคิดให้เป็นตามอุดมการณ์สังคมนิยม มีอดีต นายทหาร เจา้ หนา้ ทร่ี ฐั นกั การเมอื ง ผนู้ ำ� ทางศาสนา และแรงงาน ปญั ญาชนและนกั วชิ าการ นกั กฎหมาย ตลอดจนผทู้ ี่วพิ ากษว์ ิจารณ์ระบอบปกครองใหม่ มีจ�ำนวนรวมแลว้ นับเปน็ 356

สาธารณรฐั สังคมนิยมเวียดนาม แสน ๆ คนถกู สง่ เขา้ “คา่ ยการเรยี นรใู้ หม”่ (re-education camp) เปน็ ระยะเวลาตา่ งกนั ไป ในชว่ ง ค.ศ. ๑๙๘๕  ทางการเวยี ดนามยอมรบั วา่ ยงั มผี ทู้ อ่ี ยใู่ นคา่ ยเชน่ นน้ั อกี ประมาณ ๑๐,๐๐๐ คน แต่จ�ำนวนท่ีแท้จริงไม่น่าจะน้อยกว่า ๔๐,๐๐๐ คน  ใน ค.ศ. ๑๙๘๒ มีชาวเวียดนามอยู่ในค่ายการเรียนรู้ใหม่ถึง ๑๒๐,๐๐๐ คน  คนเหล่านี้ท�ำงานหนัก แต่ไมป่ รากฏรายงานท่เี ป็นทางการเกีย่ วกับการทรมานหรอื การเข่นฆ่าสงั หาร ประการท่ี ๒  คือ การย้ายประชากรไปต้ังถ่ินฐานใหม่ (population resettlement) มีเป้าหมายเพื่อควบคุมทางสังคมและด้านเศรษฐกิจ แม้ประชากร ในชนบทที่หนีภัยการสู้รบเข้ามาอยู่ในเมืองจะถูกย้ายกลับถิ่นฐานเดิมของตนเป็น ส่วนใหญ่แล้ว แต่ก็ยังจ�ำเป็นต้องย้ายประชากรในเมืองที่ไม่มีงานท�ำและอยู่ในสภาพ บ้านแตกสาแหรกขาดออกไปเพ่ือลดความแออัด ใน ค.ศ. ๑๙๗๕ ประชากรที่อยู่ใน เมืองมีถึงร้อยละ ๔๕ ของประชากรท้ังหมดของเวียดนามตอนใต้ขณะนั้น ซึ่งเพิ่มจาก ร้อยละ ๓๓ ใน ค.ศ. ๑๙๗๐ ประการท่ี ๓  คือ การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจใหม่ (new economic zones) ข้ึนอย่างเร่งด่วนในดินแดนท่ียังรกร้างว่างเปล่า ทั้งเพื่อย้ายประชากรออกไปจากเขต เมอื งและเพื่อหาแหลง่ ผลิตทางเศรษฐกิจเพื่อเพิ่มผลผลติ ทางการเกษตรดว้ ย เขตเหล่าน้ี มักอยู่ในพ้ืนท่ีป่าที่มีไข้มาเลเรียชุกชุม ในช่วง ค.ศ. ๑๙๗๕–๑๙๗๖ มีประชากรกว่า ๖๐๐,๐๐๐ คนถกู ยา้ ยจากนครโฮจมิ นิ หห์ รอื ไซง่ อ่ นไปอยใู่ นเขตเศรษฐกจิ ใหมโ่ ดยไมเ่ ตม็ ใจ เพราะสภาพความเป็นอยู่ในเขตเหล่านี้ยากที่จะทนได้ มีท้ังปัญหาโรคภัยไข้เจ็บ และ บางเขตก็อยู่ใกล้พรมแดนกัมพูชา ซึ่งต่อมาเกิดการสู้รบกัน ท�ำให้คนที่ถูกโยกย้ายไป จำ� นวนไม่น้อยหนีกลับมา หรอื ไมก่ ต็ ิดสนิ บนเจ้าหนา้ ท่เี พ่ือหลบกลับเข้ามาอยใู่ นเมอื งอกี เมื่อพิจารณาสภาพของเขตเศรษฐกิจใหม่ท่ีส่วนใหญ่จัดตั้งขึ้นโดยไม่มีความพร้อม ในดา้ นตา่ ง ๆ แลว้ การยา้ ยไปตงั้ หลกั แหลง่ ใหมใ่ นเขตเหลา่ นก้ี ไ็ มต่ า่ งไปจากการถกู เนรเทศ ภายในประเทศ ประการท่ี ๔  คือ  การติดตามพฤติกรรม (surveillance) เป็นมาตรการ ทพ่ี รรคคอมมวิ นสิ ตน์ ำ� มาใชเ้ พอื่ สอดสอ่ งและกวาดลา้ งศตั รทู างชนชนั้ ทงั้ มวล โดยเฉพาะ พวกต่อต้านการปฏิวัติ (counter-revolutionaries) ดังนั้น ผู้ที่ต้องสงสัยว่าเป็นพวกน้ี 357

สารานุกรมประวตั ศิ าสตรป์ ระเทศเพอ่ื นบ้านในอาเซยี น จะถกู สง่ เขา้ คา่ ยปฏริ ปู และถกู บงั คบั ใชแ้ รงงาน แมท้ างการเวยี ดนามอา้ งวา่ ไมม่ กี ารเขน่ ฆา่ สังหารทางการเมืองแม้แต่รายเดียวในเวียดนามตอนใต้ภายหลัง ค.ศ. ๑๙๗๕ แต่มีการ ควบคุมและจ�ำกดั เสรีภาพอยา่ งเข้มงวด แมม้ กี ารดำ� เนนิ การปฏริ ปู ทงั้ ๔ ประการทก่ี ลา่ วมาแลว้ แตพ่ รรคกย็ อมรบั วา่ ยงั มีขอ้ จ�ำกัดและความผดิ พลาดตา่ ง ๆ ทที่ �ำใหไ้ มส่ ามารถเปลี่ยนสังคมเวียดนามตอนใต้ให้ เป็นสังคมนิยมได้ตามเปา้ หมาย  จนถึงกลางทศวรรษ ๑๙๘๐ การสร้างสังคมใหม่ข้นึ ใน เวียดนามตอนใต้ก็ยังไม่เห็นผลเป็นรูปธรรมชัดเจน สังคมเวียดนามต้องกลับมาเผชิญกับ ลัทธิชนชน้ั นำ� ทางสังคมและการเมอื งในรปู แบบใหม่ กลา่ วคอื แมว้ า่ ขจัดนายทุนเจา้ ของ ทด่ี นิ และนายทนุ ผกู ขาดไปแลว้ แตก่ ม็ ชี นชน้ั นำ� กลมุ่ ใหมซ่ ง่ึ ไดแ้ กผ่ ปู้ ฏบิ ตั งิ านและเจา้ หนา้ ท่ี รัฐเข้ามาแทนที่ พวกน้ีก็แสวงประโยชน์ส่วนตนไม่น้อยกว่าพวกชนช้ันน�ำเดิมเท่าใดนัก ใน ค.ศ. ๑๙๘๖ พรรคจึงเตือนเพื่อปรามลัทธิฉวยโอกาส ปัจเจกนิยม การแสวงหา ผลประโยชนส์ ว่ นตน การคอรร์ ัปชัน และการแสวงหาสิทธิพเิ ศษต่าง ๆ สะพานญ่ปี ุ่นท่ีเมอื งฮอยอนั เมืองมรดกโลก 358

สาธารณรัฐสงั คมนยิ มเวียดนาม การรณรงค์เพ่ือเปลี่ยนค่านิยมทางสังคมไม่ประสบความส�ำเร็จมากนัก พรรคคอมมิวนิสต์ไม่สนับสนุนความคิดทางศาสนาบางประการท่ีพรรคเห็นว่ามีลักษณะ ศกั ดินา ลา้ หลงั งมงาย กระฎุมพี (bourgeoisie) และเป็นพวกปฏิกิริยา (reactionary) และแมโ้ ดยทัว่ ไป พรรคมิไดต้ ่อตา้ นศาสนาหลกั เช่น ศาสนาคริสต์ นิกายโรมันคาทอลิก พระพุทธศาสนา แต่พรรคก็ต้องการปลูกฝังค่านิยมใหม่ท่ีเก่ียวข้องกับการยกย่อง ผทู้ ำ� งาน การเปน็ เจา้ ของกรรมสทิ ธริ์ ว่ ม ความรกั ชาติ สงั คมนยิ ม และเผดจ็ การ โดยชนชนั้ กรรมาชีพ (dictatorship of the proletariat) ภายใต้การน�ำของพรรคคอมมิวนิสต์ แตเ่ มอื่ ถงึ ปลายทศวรรษ ๑๙๘๐ ค่านยิ มเหล่านีก้ ย็ ังคงเป็นเพียงหลกั การท่ีเป็นนามธรรม ส�ำหรับชาวเวียดนามโดยท่ัวไป ค่านิยมด้ังเดิม เช่น ความผูกพันในครอบครัวยังคงเป็น พลงั สำ� คญั ท่สี ุดในสงั คม นอกจากน้ัน ในทางปฏิบัติกลุ่มชนท่ีคอมมิวนิสต์เรียกว่า ชนช้ันกระฎุมพี ก็ ยังคงมีบทบาทอยู่ในภาคอุตสาหกรรมของเวียดนามตอนใต้ เพราะทางการอนุญาตให้ พวกนี้คงมีบทบาทอยู่ได้ และยังยอมรับด้วยว่าผู้ปฏิบัติงานพรรคบางคนในเวียดนาม ตอนใต้กดข่ีขูดรีดชาวนาไม่ต่างไปจากท่ีพวกนายทุนเจ้าของที่ดินดั้งเดิมที่ถูกขจัดไปแล้ว เคยกระท�ำมาก่อน  ความแตกต่างระหว่างเวียดนามตอนเหนือกับเวียดนามตอนใต้ ทงั้ ในแงข่ องโลกทศั นแ์ ละวถิ กี ารดำ� รงชวี ติ มอี ยนู่ านแลว้   หลงั ค.ศ. ๑๙๗๕  คนเวยี ดนาม ตอนใต้จ�ำนวนไม่น้อยรู้สึกว่าเวียดนามตอนเหนือและผู้น�ำพรรคคอมมิวนิสต์มีส่วนท�ำให้ ประเทศไม่เติบโตกา้ วหนา้   นอกจากน้นั ตำ� แหนง่ สำ� คญั ทง้ั ในส่วนของพรรคและของรัฐ ก็มกั ตกอยูก่ บั คนจากเวียดนามตอนเหนือ หลังการรวมชาติ เวยี ดนามมีการเปลย่ี นแปลงด้านเศรษฐกิจอยา่ งมาก ในการ ประชุมสมัชชาครั้งที่ ๔ เม่ือเดือนธันวาคม ค.ศ. ๑๙๗๖ พรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม ประกาศรวมชาตอิ ย่างเปน็ ทางการและใหค้ วามเหน็ ชอบแผน ๕ ปี ฉบับท่ี ๒ (Second Five-Year Plan ค.ศ. ๑๙๗๖–๑๙๘๐) ซึ่งมงุ่ สร้างความเป็นอันหนง่ึ อนั เดยี วกนั พัฒนา เวยี ดนามตอนเหนอื ตอ่ เนอ่ื งจากทดี่ �ำเนนิ การไปแลว้ และทสี่ ำ� คญั คอื เปลยี่ นระบบทนุ นยิ ม ในเวียดนามตอนใต้ให้เป็นสังคมนิยม นอกจากน้ัน แผนน้ียังแสดงความมุ่งหวังของผู้น�ำ เวียดนามท่ีจะพัฒนาประเทศให้ก้าวหน้าไปในแนวทางสังคมนิยมอย่างรวดเร็ว และ 359

สารานุกรมประวัติศาสตร์ประเทศเพ่อื นบ้านในอาเซยี น ความจำ� เปน็ เรง่ ดว่ นเรอื่ งการฟน้ื ฟบู รู ณะประเทศและการบรู ณาการเวยี ดนามตอนเหนอื และตอนใตท้ ถี่ กู แบง่ แยกมานานเขา้ ดว้ ยกนั อยา่ งแทจ้ รงิ   ภารกจิ นต้ี อ้ งดำ� เนนิ ไปพรอ้ ม ๆ กบั การพัฒนาระบบสังคมนิยมท่เี ปน็ เปา้ หมายหลกั พรรคกำ� หนดวา่ จะใชเ้ วลาอยา่ งน้อย ๒๐ ปี ในการสร้างรากฐานสำ� หรับการพัฒนาระบบสงั คมนิยม แผนพัฒนาเศรษฐกิจมุ่งไปท่ีการเกษตรและอุตสาหกรรมเท่า ๆ กัน ดังนั้น การลงทนุ จะใหค้ วามสำ� คญั ตอ่ โครงการทส่ี ามารถพฒั นาเศรษฐกจิ ไดท้ ง้ั ๒ ดา้ นกอ่ น เชน่ อุตสาหกรรมหนักต้องเอื้อต่อการเกษตร เพราะการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรจะส่งผล ตอ่ การขยายตวั ดา้ นอตุ สาหกรรมในเวลาตอ่ มาดว้ ย การใชย้ ทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาแนวทางนี้ จะท�ำให้เวียดนามสามารถข้ามขั้นตอนของการพัฒนาอุตสาหกรรมในแนวทางทุนนิยม ซึ่งแตเ่ ดมิ เชื่อว่าเป็นขนั้ ตอนที่จ�ำเปน็ ตอ่ การพัฒนาไปสู่ระบบสงั คมนิยม อย่างไรก็ดี เวียดนามไม่สามารถบรรลุเป้าหมายด้านการพัฒนาที่ต้ังไว้ได้ด้วย ตนเอง ต้องอาศัยการสนับสนุนจากท้ังชาติตะวันตก องค์การระหว่างประเทศ รวมทั้ง ประเทศคอมมิวนิสต์ด้วยกันเอง แต่ความขัดแย้งกับจีนตั้งแต่สงครามเวียดนามสิ้นสุดลง ทำ� ใหจ้ นี ตดั ความชว่ ยเหลอื แกเ่ วยี ดนามทง้ั หมดตง้ั แต่ ค.ศ. ๑๙๗๖ และหลงั จากเวยี ดนาม ใชก้ ำ� ลงั ทหารโคน่ ลม้ รฐั บาลพลพต (Pol Pot) ในกมั พชู าเมอื่ ปลาย ค.ศ. ๑๙๗๘ เวยี ดนาม กต็ ้องถูกโดดเดย่ี วจากโลกตะวนั ตก มาตรการเปล่ียนประเทศเป็นสังคมนิยมที่น�ำมาใช้ตั้งแต่รวมประเทศใหม่ ๆ ได้แก่ การน�ำเงินด่อง (dong) มาใช้ในเดือนกันยายน ค.ศ. ๑๙๗๕ ประชากรกว่า ๓ ล้านคนในไซ่ง่อนมีเวลาเพียง ๓ วันทจี่ ะเปล่ียนเงนิ สกุลเดิมของตน คอื เงินเปียสตร์ เป็นเงินด่อง ผู้ปฏิบัติงานพรรคสั่งให้สมาคมชาวนาและสมาคมสตรีเข้าไปเป็น ผู้ด�ำเนินการเรื่องการค้าปลีกของไซ่ง่อนด้วย นอกจากน้ัน ยังสนับสนุนให้มีการเดิน ขบวนบนท้องถนนเพื่อต่อต้านเวียดนามเช้ือสายจีนในไซ่ง่อน โดยเฉพาะพ่อค้าผูกขาดที่ เรียกกนั ว่า “comprador bourgeoisie” ท่ผี ูกขาดการคา้ สำ� คัญ เชน่ บหุ ร่ี เครื่องมือ การเกษตร 360

สาธารณรัฐสงั คมนยิ มเวยี ดนาม อย่างไรก็ดี ปัญหาที่ผู้น�ำคอมมิวนิสต์เวียดนามเผชิญ คือ ความอ่อนแอของ ระบบและการตอ่ ตา้ นของประชาชนในเวยี ดนามตอนใต้ เม่อื ถงึ ค.ศ. ๑๙๗๘ ปรากฏว่า บริษัทการค้าที่เป็นของรัฐในเวียดนามใต้กว่า ๔๐ แห่งท่ีด�ำเนินกิจการด้านผลิตผลทาง การเกษตรสามารถควบคุมผลผลิตอาหารของเวียดนามได้เพียงไม่เกินร้อยละ ๒๐ ซ่ึงบ่งชี้ว่าชาวนาในเวียดนามตอนใต้ต่อต้านระบอบคอมมิวนิสต์ กิจกรรมทางเศรษฐกิจ นอกระบบ โดยเฉพาะการค้าของเถ่ือนและการเก็งก�ำไรแพร่ระบาดไปท่ัวท้ังเวียดนาม ตอนเหนือและเวียดนามตอนใต้ อันเป็นผลมาจากความไร้ประสิทธิภาพของระบบ การรวมการผลติ ทเี่ ปน็ การดำ� เนนิ งานส�ำคญั ในระบบสงั คมนยิ ม การรวมการผลิตมีแรงจูงใจทั้งในด้านอุดมการณ์และการหวังผลในทางปฏิบัติ ในด้านอุดมการณ์ การจัดต้ังสหกรณ์การเกษตรเพื่อรวมการผลิตด้วยการยกเลิกการ ถอื ครองทดี่ นิ ของเอกชน ถอื เปน็ การดำ� เนนิ งานขน้ั พนื้ ฐานของการเปลย่ี นระบบเศรษฐกจิ เป็นสังคมนิยม ทั้งนี้ เพราะประชากรส่วนใหญ่ของเวียดนามเป็นเกษตรกรท่ีอาศัยอยู่ ในชนบท ส่วนความจ�ำเป็นในทางปฏิบัติมีความมุ่งหมายท่ีจะยุติสภาพท่ีชาวนาอยู่กัน อยา่ งโดดเดย่ี ว กระจดั กระจาย ไมม่ กี ารผลติ เฉพาะทาง และไมส่ ามารถยกระดบั การผลติ ให้เหนือระดับการผลิตเพื่อยังชีพได้ แต่ผู้น�ำคอมมิวนิสต์เวียดนามต้องการให้มีผลผลิต ส่วนเกินทจี่ ะน�ำมาใช้อุดหนุนการพฒั นาอตุ สาหกรรมดว้ ย การด�ำเนินงานเร่ืองน้ีเผชิญปัญหาและอุปสรรคมากมาย ประการแรกคือ พรรคคอมมิวนิสต์ขาดบุคลากรท่ีมีความช�ำนาญในการจัดตั้งซ่ึงเป็นผู้ที่เกิดในเวียดนาม ตอนใต้ เพราะบุคคลที่เข้าใจเรื่องราวของหมู่บ้านในเวียดนามตอนใต้ได้ดี เสียชีวิตไป เปน็ จำ� นวนมากระหวา่ งสงคราม  ประการที่ ๒ ชนชนั้ นายทนุ เจา้ ของทดี่ นิ ในรปู แบบเดมิ แทบไม่มีอยู่แล้วในเวียดนามตอนใต้ เพราะพวกเขาหนีการสู้รบในเขตชนบทเข้ามาอยู่ ในเขตเมืองตั้งแต่ก่อน ค.ศ. ๑๙๗๕ และส่วนหน่ึงก็ถูกขจัดไปจากการปฏิรูปท่ีดิน ในเวียดนามใต้ในช่วงทศวรรษ ๑๙๗๐ จึงเกิดชนช้ันที่เรียกว่า ชาวนาระดับกลาง ซ่ึงได้รับผลประโยชน์จากความช่วยเหลือและการลงทุนของสหรัฐอเมริกา ประการที่ ๓ ในเขตภูเขาและเขตท่ีสูงภาคกลาง ซ่ึงเป็นถ่ินฐานของชนกลุ่มน้อยท่ีหลากหลาย 361

สารานุกรมประวัติศาสตรป์ ระเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน ระบบสหกรณ์การเกษตรก็ไม่เข้ากับวิถีชีวิตของคนเหล่านี้ โดยเฉพาะโลกทัศน์และ ความคิดเรื่องชุมชนที่เป็นธรรมชาติ พวกน้ีถูกบังคับให้ปรับตัวเข้ากับการใช้ชีวิต ในแบบหมู่บ้านเวียดนามในท่ีราบลุ่ม ซึ่งมีลักษณะและขนาดต่างไปจากชุมชน เดมิ ของพวกเขาอันเป็นหมู่บ้านในเขตภูเขาทมี่ ขี นาดเล็กกวา่ ผลที่เกิดจากการพัฒนาหลังการรวมชาติแสดงให้เห็นจุดอ่อนและความไร้ ประสทิ ธภิ าพของระบบรวมการผลติ แบบคอมมวิ นสิ ต์ เมอื่ ถงึ ค.ศ. ๑๙๘๕ ผลติ ภาพตอ่ ปี (yearly productivity) ของชาวนาเวียดนาม ๑ คน ยังไม่ถึงคร่ึงหน่ึงของชาวนาไทย รัฐบาลต้องเข้าไปช่วยเหลือชนกลุ่มน้อยในเขตภูเขาด้วยการน�ำเข้าข้าวจากต่างประเทศ แม้คนเหล่านี้ถูกบังคับให้เปล่ียนมาผลิตข้าวแทนการท�ำการเกษตรแบบหลากหลาย (ถ่วั เหลอื ง ส้ม ถั่วลสิ ง ฝนิ่ เป็นต้น) การรวมการผลิตไม่สอดคล้องกับการผลิตทางการเกษตร เพราะชาวนาต้อง กลายเป็นคนงานท่ีได้รับค่าจ้างแบบคนงานในโรงงาน ซึ่งไม่สอดคล้องกับวิถีชีวิตด้ังเดิม ทง้ั การประหยดั เนอ่ื งจากขยายขนาดการผลติ (economies of scale) ตลอดจนการผลติ เฉพาะทางด้วยการแบ่งงานกันท�ำ ก็ไม่สอดคลอ้ งกับฤดูกาลของเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ ท่อี ยใู่ นเขตรอ้ น เพราะการผลติ ทางการเกษตรยงั ต้องพง่ึ พาดนิ ฟา้ อากาศอยมู่ าก การไดค้ า่ ตอบแทนจากการนบั คะแนนการทำ� งาน (work points) ไมเ่ หมาะกบั การผลติ ดา้ นการเกษตร อกี ทงั้ ผลผลติ ทช่ี าวนาผลติ ได้ รฐั บาลกน็ ำ� ไปสนบั สนนุ คนงานและ เจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ซง่ึ มจี ำ� นวนมากขน้ึ ซงึ่ ทำ� ลายแรงจงู ใจของชาวนาผผู้ ลติ นอกจากจดุ ออ่ น ทางโครงสร้างดงั กล่าวแลว้ ในทศวรรษ ๑๙๘๐ เวียดนามยงั ไดร้ ับผลกระทบจากสงคราม ในกัมพูชาท่ีเวียดนามเข้าไปเกี่ยวข้องโดยตรง และจากความขัดแย้งกับจีนอันเป็นผลมา จากความขดั แยง้ ในกมั พชู าดว้ ย ในชว่ งนเี้ วยี ดนามจงึ ตอ้ งพง่ึ พาสหภาพโซเวยี ตอยา่ งมาก ความล้มเหลวของแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ ๒ เร่ิมปรากฏเม่ือสิ้นทศวรรษ ๑๙๗๐ สมัชชาพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนามคร้ังที่ ๕ ในเดือนมีนาคม ค.ศ. ๑๙๘๑ ใหค้ วามเห็นชอบแผน ๕ ปี ฉบับท่ี ๓ (Third Five-Year Plan ค.ศ. ๑๙๘๑–๑๙๘๕) เป้าหมายหลักของแผนฉบับนี้เพ่ือแก้ไขปัญหาท่ีเกิดข้ึน แต่ผู้น�ำคอมมิวนิสต์เวียดนาม 362

สาธารณรัฐสังคมนิยมเวยี ดนาม ก็ด�ำเนินการอย่างระมัดระวังด้วยการผสมผสานหลักการด้านอุดมการณ์กับความจ�ำเป็น ในทางปฏิบัติ เช่น ให้คงกิจกรรมทางเศรษฐกิจแบบทุนนิยมในเวียดนามตอนใต้ไว้ก่อน เพ่ือกระตุ้นการเติบโตทางเศรษฐกิจ และหวังเปล่ียนเวียดนามตอนใต้ให้เป็นระบบ สงั คมนยิ มภายในกลางทศวรรษ ๑๙๘๐ เปา้ หมายเร่งด่วนของแผน ๕ ปี ฉบับท่ี ๓ คือ การพัฒนาภาคการเกษตรดว้ ย การบูรณาการภาครวมการผลิตกับภาคที่ยังด�ำเนินการโดยเอกชนเข้าด้วยกัน ภาครวม การผลิตเน้นการเกษตรแบบเข้มข้นและการปลูกพืชเฉพาะโดยใช้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยมี ากขนึ้   สว่ นภาคเอกชน รฐั ใหก้ ารสนบั สนนุ การพฒั นา “ระบบเศรษฐกจิ ครัวเรือน” คือให้ชาวนาใช้ประโยชน์จากทรัพยากรทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะท่ีดินที่ สหกรณม์ ิไดใ้ ช้ทำ� การผลิต รูปแบบการดำ� เนินงานทีส่ ำ� คัญในแนวทางนี้ คอื การนำ� ระบบสญั ญาจา้ งเหมา มาใชต้ าม “คำ� สงั่ ท่ี ๑๐๐” (Directive No. 100) ของคณะกรรมการกลางพรรค ครวั เรอื น ของชาวนาได้รับอนุญาตให้ท�ำสัญญากับสหกรณ์เพื่อท�ำการผลิตในที่ดินของสหกรณ์ ครัวเรือนตอ้ งรับผิดชอบเรอ่ื งการผลิตบนทด่ี ินตามสัญญาผลติ ตามจ�ำนวนท่กี �ำหนด หาก ผลผลติ ตำ่� กวา่ ทท่ี ำ� สญั ญาไว้ กต็ อ้ งชดเชยใหไ้ ดต้ ามสญั ญาในปตี อ่ ไป หากมผี ลผลติ สว่ นเกนิ ครัวเรือนมีสิทธิ์เป็นเจ้าของผลผลิตส่วนเกินน้ีและอาจน�ำไปขายในตลาดเสรีหรือขายให้ รฐั ตามราคาที่ตกลงกัน หรอื เกษตรกรจะเกบ็ ไวบ้ ริโภคในครัวเรือนกไ็ ด้  ใน ค.ศ. ๑๙๘๓ มรี ายงานว่า เศรษฐกิจครวั เรอื นสามารถหารายได้ถึงร้อยละ ๕๐–๖๐ ของรายไดท้ ้ังหมด ของเกษตรกร และสนองความต้องการด้านอาหารได้ถึงร้อยละ ๓๐–๕๐  นอกจากน้ัน การประกอบการอย่างเสรีก็ได้รับการยอมรับและอนุญาตให้ด�ำเนินการได้ ท�ำให้กิจการ ขนาดเลก็ ไมต่ อ้ งเปน็ ของรฐั อกี ตอ่ ไป ซง่ึ หมายถงึ การลม้ เลกิ นโยบายทมี่ งุ่ เปลย่ี นเวยี ดนาม ตอนใตใ้ ห้เป็นสงั คมนิยมโดยเร็ว อย่างไรก็ดี ความต้องการท่ีจะลดเศรษฐกิจภาคทุนนิยมในเวียดนามตอนใต้ก็ ยังมีอยู่ ในปลาย ค.ศ. ๑๙๘๓ บริษัทธรุ กจิ นำ� เข้าและส่งออกหลายแห่งท่จี ดั ตงั้ ขึน้ ในนคร โฮจมิ นิ หเ์ พอ่ื กระตนุ้ การขยายการคา้ สง่ ออกถกู รวมกนั เปน็ อตุ สาหกจิ ทดี่ ำ� เนนิ การโดยรฐั 363

สารานุกรมประวตั ศิ าสตรป์ ระเทศเพอ่ื นบ้านในอาเซยี น ขณะเดยี วกนั การรวมการผลติ ในภาคเกษตรก็ยังคงด�ำเนนิ ต่อไปภายใต้แผนฉบบั ที่ ๓ น้ี เมอ่ื สนิ้ ค.ศ. ๑๙๘๕ รฐั บาลรายงานวา่ รอ้ ยละ ๗๒ ของครวั เรอื นชาวนาทงั้ หมดในเวยี ดนาม ตอนใต้ได้เข้าร่วมสหกรณ์อย่างใดอยา่ งหน่ึงแลว้ แมว้ า่ รฐั บาลจะมงุ่ เนน้ การพฒั นาดา้ นการเกษตร แตใ่ นทางอดุ มการณก์ ใ็ หค้ วาม ส�ำคญั ต่ออตุ สาหกรรมอยา่ งมาก จึงมีการลงทุนภาคอุตสาหกรรมอย่างมหาศาลในช่วง ๒ ปีแรกของแผน ๕ ปี ฉบับท่ี ๓ เช่น ใน ค.ศ. ๑๙๘๒ การลงทุนภาคอตุ สาหกรรมมมี ลู คา่ ถงึ รอ้ ยละ ๕๓ สว่ นภาคการเกษตรมเี พียงรอ้ ยละ ๑๘ ของมลู ค่าการลงทุนทัง้ หมด แต่ไม่มี ผลตอ่ การผลติ ดา้ นการเกษตรท่ีเพิ่มขน้ึ ร้อยละ ๑๙.๕ ในช่วง ค.ศ. ๑๙๘๐–๑๙๘๔ เมอื่ ถงึ ค.ศ. ๑๙๘๔ ผนู้ ำ� คอมมวิ นสิ ตเ์ วยี ดนามยอมรบั วา่ ไมส่ ามารถขจดั บทบาท ของภาคเอกชนในด้านการค้าปลีกและค้าส่งในเวียดนามตอนใต้ให้ส้ินไปได้ ตราบใด ทภี่ าครฐั ยงั ไมส่ ามารถเขา้ มาดำ� เนนิ กจิ การคา้ ไดเ้ องทงั้ หมด จงึ เสนอใหม้ กี ารกระจายการ วางแผนออกไปพร้อม ๆ กบั ยกระดับทกั ษะด้านการจัดการของเจา้ หน้าทที่ ั้งในส่วนของ พรรคและรัฐ หน่วยผลิตทั้งที่เป็นโรงงานและสหกรณ์การเกษตรมีอิสระในการตัดสินใจ และวางแผนด้านการผลิตมากข้ึน รัฐลดค่าใช้จ่ายด้วยการเลิกอุดหนุนด้านอาหารและ เครื่องอุปโภคบริโภคบางอย่างแก่ลูกจ้างของรัฐ ต้นทุนและค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ท่ีรัฐต้อง แบกรบั ตอ้ งตรวจสอบและชแี้ จงเหตผุ ลได้ และรฐั จะไมช่ ดเชยการขาดทนุ ของรฐั วสิ าหกจิ ต่าง ๆ อกี ตอ่ ไป ในเดือนกันยายน ค.ศ. ๑๙๘๕ รัฐบาลได้น�ำเงนิ ดอ่ งใหมอ่ อกมาใชแ้ ละ ประกาศลดค่าเงนิ ด้วย (ขณะน้นั เวยี ดนามเร่ิมประสบปัญหาเงนิ เฟ้อรนุ แรง) หลังจากท่ี มีคาอิล กอร์บาชอฟ (Mikhail Gorbachev) ขึ้นมามีอ�ำนาจ ในสหภาพโซเวียตเมื่อ ค.ศ. ๑๙๘๕ ก็มีการเปลยี่ นแปลงส�ำคัญดา้ นนโยบายต่างประเทศ คอื การลดและตดั ความชว่ ยเหลอื ทใ่ี หแ้ กช่ าตติ า่ ง ๆ รวมทงั้ เวยี ดนาม ทำ� ใหเ้ วยี ดนามตอ้ ง ด�ำเนนิ การปฏริ ปู อยา่ งเร่งดว่ น สมัชชาพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนามครั้งท่ี ๖ ท่ีจัดข้ึนในเดือนธันวาคม ค.ศ. ๑๙๘๖ ให้ความเห็นชอบโครงการปฏิรูปท่ีเรียกว่า โด่ยเม้ย [(Doi Moi) หรือ renovation] ซ่ึงมีลักษณะส�ำคัญ คือ การเปล่ียนระบบเศรษฐกิจแบบวางแผนจาก 364

สาธารณรฐั สงั คมนิยมเวยี ดนาม ส่วนกลางเป็นระบบเศรษฐกิจท่ีมุ่งไปในแนวทางของระบบตลาดและอาศัยการส่งออก มากขึ้น ขณะเดียวกันก็ยังอยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐท่ียังยึดม่ันในแนวทางสังคมนิยม จึงอาจเรียกระบบเศรษฐกิจเวียดนามท่ีเปลี่ยนไปน้ีว่า ระบบเศรษฐกิจแบบตลาด บนรากฐานของระบบสังคมนิยม (socialist-based market economy) สมัชชาใหค้ วามเห็นชอบแผน ๕ ปี ฉบับที่ ๔ (Fourth Five-Year Plan ค.ศ. ๑๙๘๖–๑๙๙๐) ซึง่ มีเป้าหมายเพม่ิ ผลผลิตดา้ นอาหาร สนิ คา้ เครอ่ื งอปุ โภคบรโิ ภค และ สนิ คา้ สง่ ออก การผลติ อาหารถือวา่ มีความสำ� คญั สูงสุด ซง่ึ นอกจากข้าวแล้วยงั มีพืชเสรมิ อนื่ ๆ เชน่ ขา้ วโพด มนั เทศ มนั ฝรง่ั มนั สำ� ปะหลงั เพอื่ ใหน้ โยบายดา้ นการเกษตรเฉพาะท่ี เกี่ยวกับการผลิตอาหารมีผลอย่างจริงจัง  รัฐบาลคอมมิวนิสต์เวียดนามจึงก�ำหนด มาตรการสง่ เสรมิ นโยบายนห้ี ลายประการ เชน่ การใชท้ ด่ี นิ การอนรุ กั ษน์ ำ�้ ระบบชลประทาน ในเขตดนิ ดอนสามเหลย่ี มปากแมน่ ำ�้ โขง การเสรมิ สรา้ งความมนั่ คงแขง็ แรงใหแ้ กค่ นั กน้ั นำ�้ เพอ่ื ปอ้ งกนั นำ�้ ทว่ มในเขตดนิ ดอนสามเหลย่ี มปากแมน่ ำ้� แดง การนำ� เขา้ ปยุ๋ เคมี การควบคมุ ศัตรพู ืช การปศุสตั ว์ การผลิตเมลด็ พนั ธ์ุ การใชเ้ ครื่องจักรกลทางการเกษตร แผนฉบบั นยี้ งั ใหค้ วามสำ� คญั ตอ่ การเพาะเลย้ี งและขยายปรมิ าณผลติ ภณั ฑจ์ าก ทะเล รวมทง้ั พชื อตุ สาหกรรมทง้ั ประเภทระยะสน้ั (พชื ทป่ี ลกู และเกบ็ เกย่ี วในฤดกู าลเดยี ว และต้องแปรรูปก่อนน�ำออกสู่ตลาด เช่น ถั่วต่าง ๆ พืชที่ให้น้�ำมัน) และประเภทระยะ ยาว (พชื ทต่ี อ้ งมีการแปรรูปเช่นเดียวกัน แต่ใช้เวลานานกวา่ ในการปลกู เชน่ กาแฟ ชา พริกไทย มะพรา้ ว) การผลิตสินค้าเครื่องอุปโภคบริโภคนอกจากเพ่ือสนองความต้องการของ ประชาชนแล้ว ยังมีเป้าหมายท่ีจะท�ำให้ปริมาณสินค้าและเงินที่ไหลเวียนอยู่ในตลาด สมดุล เพื่อลดภาวะเงินเฟ้อ สร้างงาน และพัฒนาแหล่งทุนและสินค้าส่งออกไปพร้อม กันด้วย  รัฐบาลเห็นความจ�ำเป็นที่ต้องสร้างแรงจูงใจในการผลิตวัตถุดิบส�ำหรับ การพัฒนาสินค้าเครื่องอุปโภคบริโภคคุณภาพสูงเพ่ือการบริโภคภายในประเทศและ ส่งออก และอนุญาตให้ใช้เงินตราต่างประเทศเพ่ือน�ำเข้าวัตถุดิบท่ีจ�ำเป็นด้วย ท้ังยังมี นโยบายคุ้มครองการผลิตสินค้าเครื่องอุปโภคบริโภคเพื่อส่งเสริมให้มีการผลิตสินค้า ประเภทนี้ทดแทนการนำ� เข้า 365

สารานกุ รมประวตั ิศาสตรป์ ระเทศเพ่อื นบา้ นในอาเซียน หลังการประกาศใช้นโยบายปฏิรูปโด่ยเม้ยแล้ว มีพัฒนาการที่ส�ำคัญ หลายประการเกิดขึ้น คือ ใน ค.ศ. ๑๙๘๘ มีข้อมติของโปลิตบูโร ฉบับที่ ๑๐ (Politburo Resolution No. 10) ประกาศยกเลกิ ระบบการรวมการผลติ ดว้ ยการยอมรบั ว่าครัวเรือนในหมู่บ้านต่าง ๆ เป็น “หน่วยทางเศรษฐกิจที่เป็นเอกเทศ” นอกจากน้ัน ก็ถ่ายโอนสิทธิในการใช้ที่ดินซ่ึงรวมไปถึงอ�ำนาจในการตัดสินใจในการใช้ท่ีดินให้แก่ ครัวเรือนไปพร้อมกัน แม้ยังมิได้ยุบเลิกสหกรณ์การเกษตรต่าง ๆ แต่สหกรณ์เหล่านั้น ก็ไมม่ ีบทบาทในการจดั การเร่อื งการผลติ อกี ตอ่ ไป เพยี งแต่ทำ� หนา้ ท่ีให้บรกิ ารเป็นสำ� คญั ในเรอ่ื งทดี่ นิ แมว้ า่ โดยหลกั การ ทดี่ นิ ทงั้ หมดยงั เปน็ ของรฐั แตเ่ พอื่ ขจดั ขอ้ สงสยั และเพ่ือสร้าง “ความสบายใจ” ให้แก่ชาวนาในหมู่บ้านต่าง ๆ รัฐบาลได้ออกกฎหมาย ทีด่ ินใหม่ใน ค.ศ. ๑๙๙๓ ทีใ่ ห้สทิ ธิการถือครองการใช้ทด่ี ินไดถ้ ึง ๕๐ ปี แม้ชาวนามีฐานะ ทางการเปน็ ผเู้ ชา่ ทด่ี นิ จากรฐั แตก่ ม็ สี ทิ ธกิ ารใชท้ ด่ี นิ ซงึ่ ในทางปฏบิ ตั แิ ทบไมต่ า่ งไปจากการ ถอื ครองโดยเอกชนในระบบเศรษฐกจิ เสรนี ยิ มทว่ั ไป นนั่ คอื มสี ทิ ธใิ หเ้ ชา่ จำ� นอง โอนสทิ ธิ์ และมอบเปน็ มรดกแกล่ กู หลานได้ ในระยะแรก การปฏิรปู ประสบความสำ� เรจ็ อยา่ งมาก เวยี ดนามซ่งึ ต้องน�ำเข้า ขา้ วในชว่ งทศวรรษ ๑๙๘๐ กลายเป็นประเทศผู้สง่ ออกขา้ วรายใหญท่ ส่ี ดุ ๑ ใน ๓ ราย ของโลก นอกจากสหรัฐอเมรกิ าและไทยเมอื่ สนิ้ ทศวรรษ ๑๙๙๐  นอกจากนั้น เวยี ดนาม ยงั เป็นชาติผสู้ ่งออกกาแฟรายใหญ่รายหน่ึงของโลกเป็นครง้ั แรกด้วย นอกจากการปฏิรูปการเกษตรแล้ว เวียดนามยังต้องปรับตัวให้เป็นส่วนหน่ึง ของระบบเศรษฐกิจภูมิภาคและของโลกต่อไป รัฐบาลจึงออกมาตรการหลากหลาย เพื่อวัตถุประสงค์ดังกล่าว ท่ีส�ำคัญคือ การปฏิรูปด้านกฎหมาย ซ่ึงหลัง ค.ศ. ๑๙๘๖ มีการออกกฎหมายใหม่จ�ำนวนมาก เช่น กฎหมายที่ดิน กฎหมายคุ้มครองการลงทุน ของต่างชาติ กฎหมายการจัดตั้งและด�ำเนินกิจการของเอกชน กฎหมายการน�ำเข้าและ ส่งออก กฎหมายล้มละลาย กฎหมายรัฐวิสาหกิจ และกฎหมายงบประมาณของรัฐ เพ่ือท�ำให้เวียดนามที่แม้ยังเป็นประเทศสังคมนิยมแต่ก็เป็นที่สนใจของนักลงทุนต่างชาติ โดยเฉพาะจากประเทศในเอเชียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ด้วยกัน นอกจากน้ัน รัฐบาลเวียดนามยังอนญุ าตให้ศกึ ษาวชิ าการของประเทศทนุ นยิ ม เพอ่ื พัฒนาบุคลากรใน ด้านต่าง ๆ ทจ่ี �ำเปน็ สำ� หรบั การปฏริ ปู 366

สาธารณรัฐสงั คมนยิ มเวยี ดนาม ใน ค.ศ. ๑๙๙๐ เวยี ดนามไดจ้ ดั ทำ� “ยทุ ธศาสตร์ ๑๐ ปเี พอื่ การสรา้ งเสถยี รภาพ และการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจ ค.ศ. ๑๙๙๑–๒๐๐๐” (10-Year Strategy for Socio-economic Stabilization and Development 1991–2000) ยุทธศาสตร์นี้ ขยายการปฏิรูปโด่ยเม้ยให้กว้างขวางและเข้มข้นยิ่งข้ึน โดยครอบคลุมและก่อให้เกิด การเปลี่ยนแปลงส�ำคัญในทุกภาคของระบบเศรษฐกิจ ยุทธศาสตร์นี้มีต่อเน่ืองมาจนถึง ปจั จบุ นั คอื “ยทุ ธศาสตร์ ๑๐ ปเี พอ่ื การพฒั นาสงั คมและเศรษฐกจิ ค.ศ. ๒๐๐๑–๒๐๑๐” (10-Year Strategy for Socio-economic Development 2001–2010) และ “ยทุ ธศาสตร์ ๑๐ ปเี พื่อการพฒั นาสังคมและเศรษฐกจิ ค.ศ. ๒๐๑๑–๒๐๒๐” (10-Year Strategy for Socio-economic Development 2011–2020) ผลจากการเปดิ รบั การลงทนุ โดยตรงจากตา่ งประเทศทำ� ใหอ้ ตุ สาหกรรมเวยี ดนาม ขยายตัวอย่างมาก ความช่วยเหลือทางการด้านการพัฒนา (Official Development Assistance–ODA) ก็กลับเข้ามา ซ่ึงส่วนใหญ่น�ำไปใช้ในการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน และนโยบายด้านสงั คม และที่ส�ำคญั มาก คือ เงนิ ทีส่ ่งเข้ามาจากชาวเวียดนามโพ้นทะเล หรอื “เหวยี ตเกีย่ ว” (Viet Kieu) และจากชาวเวยี ดนามที่ออกไปท�ำงานในตา่ งประเทศ รายไดเ้ ขา้ ประเทศสว่ นนเ้ี พมิ่ ขน้ึ โดยตลอด  ใน ค.ศ. ๑๙๙๙ เงนิ สว่ นนม้ี สี ดั สว่ นรอ้ ยละ ๔.๒ ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) และจากน้ันก็เพ่ิมเป็นร้อยละ ๗.๘ ใน ค.ศ. ๒๐๐๒ และ ๗.๗ ใน ค.ศ. ๒๐๑๐ ใน ค.ศ. ๒๐๑๑ เงนิ จากเหวยี ตเกย่ี วมจี ำ� นวนถงึ ๙,๐๐๐ ล้านดอลลาร์สหรัฐ มากกวา่ ปีก่อนหน้านน้ั ถึง ๑,๐๐๐ ล้านดอลลาร์สหรฐั ธนาคารกลาง เวยี ดนามรายงานวา่ เงนิ จากเหวยี ตเกยี่ วสามารถชดเชยการขาดดลุ การคา้ ใน ค.ศ. ๒๐๑๐ ได้ถึงเกือบร้อยละ ๕๐ ในบรรดาประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เวียดนามเป็นรอง ฟลิ ปิ ปินสเ์ ทา่ นัน้ ในเรือ่ งรายไดป้ ระเภทน้ี ดา้ นการตา่ งประเทศ ใน ค.ศ. ๑๙๙๑ เวยี ดนามปรบั ปรงุ และขยายความสมั พนั ธ์ กบั ตา่ งประเทศ โดยเฉพาะกบั จนี อาเซยี น และสหรฐั อเมรกิ า ทำ� ใหเ้ วยี ดนามสามารถปรบั ความสัมพันธก์ บั จีนไดใ้ นปีน้ัน และได้เขา้ เป็นสมาชกิ อาเซยี นใน ค.ศ. ๑๙๙๕ พรอ้ มทัง้ ปรบั ความสัมพนั ธ์ทางการทตู กับสหรัฐอเมริกาในปีเดยี วกัน เมอ่ื เวียดนามได้เป็นสมาชกิ ล�ำดบั ท่ี ๑๕๐ ขององค์การการค้าโลก (World Trade Organization–WTO) ในเดือน มกราคม ค.ศ. ๒๐๐๗ ก็ถือวา่ ไดเ้ ขา้ มาเปน็ ส่วนหน่ึงของระบบเศรษฐกจิ โลกอย่างเตม็ ตัว 367

สารานุกรมประวตั ิศาสตร์ประเทศเพ่อื นบ้านในอาเซยี น เศรษฐกจิ ของเวยี ดนามเตบิ โตอย่างตอ่ เนื่องตงั้ แต่ตน้ ทศวรรษ ๑๙๙๐ มอี ตั รา การเตบิ โตเฉลยี่ ประมาณร้อยละ ๗–๘ มาตลอด มีเพยี งบางช่วงทีม่ วี ิกฤตเิ ศรษฐกจิ เช่น ชว่ งปลายทศวรรษ ๑๙๙๐ หรือช่วง ค.ศ. ๒๐๐๘–๒๐๐๙ เทา่ นนั้ ทอี่ ัตราการเติบโตลด ลงไปบา้ ง ชีวติ ความเปน็ อยูข่ องประชาชนโดยทวั่ ไปจงึ ดขี น้ึ มาก ความสำ� เร็จท่ีเห็นได้ชดั คอื เวยี ดนามสามารถผลติ สนิ คา้ ทจี่ ำ� เปน็ (โดยเฉพาะอาหาร) ไดเ้ พยี งพอทจี่ ะสนองความ ต้องการของทั้งประชาชนและระบบเศรษฐกิจ จึงสามารถขยายการส่งออกได้อย่างมาก ตงั้ แตส่ ิ้นทศวรรษ ๑๙๙๐ อยา่ งไรกต็ าม แมว้ า่ การปฏริ ปู ดำ� เนนิ มากวา่ ๒๐ ปแี ลว้ แตภ่ าครฐั กย็ งั มบี ทบาท ด้านเศรษฐกจิ อยมู่ าก มีการปฏริ ูปรัฐวสิ าหกิจเพยี งบางสว่ น การแปรรปู (เวยี ดนามเรยี ก ว่า equitization) ยังไมม่ คี วามก้าวหน้ามากนกั ระบบเศรษฐกิจจงึ ยังมสี ว่ นท่ีอยใู่ นภาค รัฐที่ได้รับการคุ้มครองอย่างเหนียวแน่น รัฐบาลเวียดนามไม่ต้องการให้บริษัทต่างชาติ ท่ีเข้ามาลงทุนมีบทบาทครอบง�ำเศรษฐกิจของประเทศ จึงส่งเสริมให้รัฐวิสาหกิจที่มีอยู่ ขยายออกไปสกู่ จิ การใหม่ ๆ ทห่ี ลากหลายขนึ้ และยงั กอ่ ตง้ั รฐั วสิ าหกจิ ใหม่ ๆ จำ� นวนมาก ในเมอื งใหญ่ รวมท้งั เมืองหลักในระดับอ�ำเภอ นอกจากนั้น ยังมกี ารจดั ต้ังบรษิ ัทเอกชน ท่ีรัฐเป็นผู้ถือหุ้นซึ่งเป็นการดึงทรัพย์สินมาจากภาครัฐน่ันเอง บริษัทเหล่านี้มักด�ำเนิน กจิ การ เชน่ การค้าภายในและการค้าต่างประเทศ กจิ การอสงั หาริมทรพั ย์และธรุ กจิ การ กอ่ สรา้ ง กจิ การโรงแรมและการทอ่ งเที่ยว อตุ สาหกรรมเบาต่าง ๆ แต่กจิ การภาครฐั โดย เฉพาะรัฐวิสาหกิจท่ีขยายออกไปในธุรกิจและอุตสาหกรรมใหม่ ๆ จ�ำนวนมากก็ประสบ ปญั หารนุ แรง กจิ การหลายแหง่ สรา้ งหนสี้ นิ จนถงึ ระดบั ทบี่ รหิ ารจดั การไมไ่ ด้ และมจี ำ� นวน ไมน่ ้อยทีเ่ ข้าไปลงทุนในธุรกิจท่ไี มม่ คี วามร้หู รือความช�ำนาญ ตวั อยา่ งของความล้มเหลว ในการลงทุนขยายกิจการ คอื บริษทั ตอ่ เรอื ชอ่ื วินาชิน (Vinashin) ซง่ึ เกือบลม้ ละลาย ใน ค.ศ. ๒๐๑๐ เพราะก่อหนี้จำ� นวนถึง ๔,๔๐๐ ล้านดอลลารส์ หรฐั วิกฤติที่เกิดขึ้นกับบริษัทวินาชินส่งผลกระทบต่อช่ือเสียงด้านต่างประเทศของ เวียดนามอย่างมาก และมีส่วนซ้�ำเติมปัญหาเศรษฐกิจท่ีเวียดนามต้องเผชิญในช่วงนั้น 368

สาธารณรัฐสังคมนิยมเวยี ดนาม ใหร้ นุ แรงยิง่ ขึน้ ทส่ี �ำคญั คอื การขาดดลุ การคา้ เพิม่ ขึ้นกว่า ๑๒,๐๐๐ ล้านดอลลาร์สหรัฐ ใน ค.ศ. ๒๐๑๐ ภาวะเงนิ เฟ้อเพม่ิ ขนึ้ เปน็ ตวั เลข ๒ หลักเมื่อถึงตน้ ปี สง่ ผลให้ราคาอาหาร และสินค้าพืน้ ฐานที่จำ� เป็นโดยเฉพาะเครือ่ งอุปโภคบรโิ ภคต่าง ๆ เพิ่มข้ึนไปรอ้ ยละ ๑๑ ทำ� ใหต้ อ้ งลดคา่ เงนิ ดอ่ งหลายครงั้ ตอ่ มา รฐั บาลใชเ้ งนิ ทนุ สำ� รองระหวา่ งประเทศเพอ่ื พยงุ ค่าเงิน ท�ำให้เงินทุนส่วนน้ีลดลงไปจากช่วงที่มีมากที่สุด ๒๔,๐๐๐ ล้านดอลลาร์สหรัฐ ใน ค.ศ. ๒๐๐๘ เหลอื ๑๔,๐๐๐ ล้านดอลลาร์สหรฐั ในเดือนกนั ยายน ค.ศ. ๒๐๑๐ ภาวะเศรษฐกิจของเวยี ดนามค่อย ๆ กระเตอื้ งขึ้นมากในเวลาไม่ก่ปี ี และลูท่ าง ดา้ นเศรษฐกิจในอนาคตกย็ ังถือว่าดีอยู่ เพราะเวยี ดนามมีพื้นฐานท่ีเขม้ แขง็ อยูแ่ ล้ว ไม่ว่า ในด้านทรัพยากรธรรมชาติ และทรัพยากรมนุษย์ เวียดนามมีประชากรในวัยหนุ่มสาว และมีการศึกษาดีจ�ำนวนมาก เช่น แต่ละปีมีนักศึกษาท่ีศึกษาวิชาการด้านคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ระดับปริญญาเอกประมาณ ๑,๐๐๐ คน เวียดนามจึงมีแผนจะพัฒนา อตุ สาหกรรมซอฟต์แวรเ์ พ่อื สง่ ออก (แบบอินเดยี ) และกม็ ลี ทู่ างทจ่ี ะเป็นไปไดส้ ูง แนวโน้มท่ัวไปในการลงทุนนั้นถือว่ายังดีอยู่มาก โอกาสและความส�ำเร็จของ เวยี ดนามในการลงทนุ มปี จั จยั ไดเ้ ปรยี บหลายประการ เชน่ เวยี ดนามมที ต่ี งั้ ทางภมู ศิ าสตร์ อยู่ในภูมิภาคท่ีมีอัตราการเจริญเติบโตสูง เมื่อภูมิภาคน้ีรวมตัวกันเป็นประชาคมใน ค.ศ. ๒๐๑๕ เวียดนามจะได้รบั ประโยชนส์ �ำคญั จากการเปน็ ตลาดและฐานการผลิตเดีย่ ว มสี ภาพแวดลอ้ มทง้ั ดา้ นเศรษฐกจิ และการเมอื งทมี่ เี สถยี รภาพ มแี หลง่ ทรพั ยากรธรรมชาติ จ�ำนวนมาก รวมทั้งถ่านหิน น�้ำมัน และแร่ธาตุต่าง ๆ มีประชากรท่ีอยู่ในวัยหนุ่มสาว ที่มีการศึกษาดีจ�ำนวนมาก และค่าจ้างแรงงานก็ยังถูกกว่าบางประเทศในอาเซียน เช่น ประเทศไทย ประชากรจ�ำนวนมากและมีฐานะความเป็นอยู่ดีข้ึน สามารถขยายตัวเป็น ตลาดขนาดใหญ่ นอกจากน้ัน นโยบายด้านการลงทุนที่เสรีและการท่ีรัฐบาลเวียดนาม ยังคงยึดมั่นในแนวทางปฏิรูป เมื่อประกอบการพัฒนาและปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน ตา่ ง ๆ ทำ� ใหเ้ วยี ดนามมลี ทู่ างทงั้ ในดา้ นการลงทนุ และดา้ นการเตบิ โตทางเศรษฐกจิ อกี มาก. (ธรี ะ นุชเปีย่ ม) 369

สารานกุ รมประวัติศาสตรป์ ระเทศเพื่อนบา้ นในอาเซียน บรรณานกุ รม Cady, John F. The Roots of French Imperialism in East Asia. Ithaca, New York: Cornell University Press, 1967. Hearden, Patrick. The Tragedy of Vietnam. Second edition. New York: Pearson Longman, 2005. Karnow, Stanley. Vietnam: A History. Revised and updated. Penguin Books, 1991. Maclear, Michael. Vietnam: The ten thousand day war. London: Themes Methuen, 1981. Marr, David G. Vietnamese Anti-colonialism 1885-1925. Berkeley: University of California Press, 1971. Nguyen Khac Vien. Vietnam: A long history. Hanoi: Foreign Languages Publishing House, 1987. Osborne, Milton. The French Presence in Cochinchina and Cambodia: Rule and response (1859-1905).  Ithaca, New York: Cornell University Press, 1969. Taylor, K.W. A History of the Vietnamese. Cambridge: Cambridge University Press, 2013. 370

รายชื่อผเู้ ขียน รายชอื่ ผู้เขียน นายธรี ะ นุชเป่ยี ม อ.บ. (ภาษาอังกฤษ-ประวัติศาสตร์) จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย; อ.ม. (ภาษาอังกฤษ) จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั ; M.A. (Politics); Ph.D. (International Relations)UniversityofLancaster สหราชอาณาจกั ร อดีตผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร นักวิจัย อาวุโส สถาบนั วิจัยสังคมและเศรษฐกิจ มหาวิทยาลยั ธุรกิจบัณฑิตย์ ที่ปรึกษา ศูนย์แม่โขงศึกษาภายใต้ สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ทรง คุณวุฒิ หลักสูตร Southeast Asian Studies Programme จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . เรือโท นภดล ชาติประเสริฐ ศศ.บ. (ประวัติศาสตร์) (เกียรตินิยมอันดับ ๑) มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์; ร.ม. (การระหวา่ งประเทศ และการทูต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; ว.ม. มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร;์ M.A. (East & Southeast Asian Studies) International University of Japan ญ่ีปุ่น; ร.ด. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รองศาสตราจารย์ ประจ�ำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. นายวชั ระ สนิ ธปุ ระมา อ.บ. เกียรตินิยมอันดับหน่ึง (ประวัติศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; ศศ.บ. (สารนิเทศศาสตร์) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช; Ph.D. (History) University of Hawaii at Manoa สหรัฐอเมริกา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจ�ำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์. 371

สารานกุ รมประวตั ิศาสตรป์ ระเทศเพ่ือนบ้านในอาเซยี น นางศรสี ุรางค์ พลู ทรัพย์ B.A., M.A. Trinity College, University of Dublin สหราชอาณาจักร; M.A. (Indian Studies) University of Wisconsin, Madison สหรัฐอเมรกิ า อดีตศาสตราจารย์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะ ศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ราชบัณฑิต สำ� นักศลิ ปกรรม ราชบัณฑติ ยสภา. นางสาวอุดมพร ธีระวริ ิยะกลุ ศศ.บ. (ประวัติศาสตร์) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; ศศ.ม. (ประวัติศาสตร์) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; Grant for the Indonesian Training Program, Southeast Asian Studies Regional Exchange Program (SEASREP), University of Indonesia, อินโดนีเซีย; Ph.D. International Program (Thai Studies), จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย; The Project of Empowering Network for International Thai Studies (ENITS) จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ; Asian Graduate Student Fellowships 2011, Asia Research Institute (ARI), สงิ คโปร;์ Visiting Scholar, Asia Research Institute (ARI), Singapore, under the scholarship of H.R.H. Princess Sirindhorn อาจารย์ประจ�ำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะ สงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร และอาจารย์ ประจำ� หลกั สตู รเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตศ้ กึ ษา ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา 372

แหลง่ ที่มาภาพประกอบ แหลง่ ทมี่ าภาพประกอบ เวบ็ ไซต์ www.malaysia.gov.my www.mfa.go.th www.cambodia.org www.microsoftencarta.com www.chinhphu.vn www.mofa.gov.mm www.cia.gov www.myanmar.cm www.geocities.com www.na.gov.la www.gov.ph www.pmo.gov.bn www.gov.sg www.tourismlaos.org www.indexmundi.com www.vietnamtourism.gov.vn www.indonesia.go.id www.wikipedia.org www.infoplease.com www.lonelyplanet.com ผ้เู อ้ือเฟอื้ ภาพประกอบ ศาสตราจารยส์ ายนั ต ์ ไพรชาญจิตร์ ผ้ถู ่ายภาพประกอบ นางสาวปยิ รตั น ์ อนิ ทร์อ่อน 373

สารานุกรมประวตั ิศาสตร์ประเทศเพื่อนบา้ นในอาเซียน จดั ท�ำ โดย คณะบรรณาธิการจดั ทำ� สารานุกรมประวตั ศิ าสตร์สากล ภมู ิภาคเอเชีย ประกอบด้วย ๑. ศาสตราจารยเ์ พ็ชร ี สุมติ ร ประธานคณะบรรณาธกิ าร ๒. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีระ นชุ เป่ียม บรรณาธิการ ๓. รองศาสตราจารย์ เรือโท ดร.นภดล ชาตปิ ระเสรฐิ บรรณาธกิ าร ๔. รองศาสตราจารย์พพิ าดา ยังเจริญ บรรณาธิการ ๕. นางเพ็ญแข คณุ าเจรญิ บรรณาธิการ ๖. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์มนัส เกยี รติธารัย บรรณาธกิ าร ๗. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วชั ระ สนิ ธุประมา บรรณาธิการ ๘. ศาสตราจารยศ์ รีสุรางค ์ พลู ทรัพย์ บรรณาธกิ าร ๙. รองศาสตราจารยส์ าคร ช่วยประสทิ ธิ์ บรรณาธิการ ๑๐. ผอู้ �ำนวยการกองธรรมศาสตร์และการเมอื ง บรรณาธิการ (นางแสงจนั ทร ์ แสนสภุ า) ๑๑. เจา้ หน้าท่สี �ำนกั งานราชบณั ฑติ ยสภา บรรณาธกิ ารและเลขานกุ าร (นางนฤมล นชุ วานิช) ๑๒. เจา้ หนา้ ท่สี �ำนกั งานราชบณั ฑิตยสภา บรรณาธกิ ารและผชู้ ว่ ย (นางสาวปยิ รตั น ์ อนิ ทรอ์ อ่ น) เลขานุการ 374

สารานกุ รมประวตั ศิ าสตรป์ ระเทศเพอ่ื นบา้ นในอาเซยี น ฉบบั ราชบัณฑติ ยสภา ISBN 978-616-389-010-8 9 786163 890108