Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 562397-59 Basic Practice Manual 2021 edition

562397-59 Basic Practice Manual 2021 edition

Published by Kawin Duangmee, 2021-07-15 09:37:11

Description: สำหรับประกอบการเรียนการสอนรายวิชา 562397-59 Basic Practice in Pharmaceutical Care for Specialty in Community Pharmacy คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เท่านั้น
ห้ามผู้ใดทำซ้ำ คัดลอก ลอกเลียน ดัดแปลง ปลอมแปลง จัดเผยแพร่ จำหน่าย ให้เช่า เข้าครอบครอง เรียกดึงข้อมูล บันทึก ส่งผ่าน หรือกระทำการใดๆ เกี่ยวกับเอกสารนี้

Search

Read the Text Version

562 397 BASIC PRACTICE IN PHARMACEUTICAL CARE FOR SPECIALTY IN COMMUNITY PHARMACY



preface คู่มือเอกสารคาสอน รายวิชา 562397-59 การปฏิบัติการด้านการบริบาลทางเภสัชกรรม เบ้ืองต้นสาหรับสาขาเน้นเภสัชกรรมชุมชน (Basic Practice in Pharmaceutical Care for Specialty in Community Pharmacy) เล่มน้ี จัดทาขึ้นโดยมีจุดมุ่งหมายเพ่ือให้นักศึกษาเภสัช ศาสตร์ใช้สาหรับประกอบการเรียนรายวิชาปฏิบัติการดังกล่าว ซ่ึงผู้นิพนธ์ได้เรียบเรียงจาก เอกสารอ้างอิงต่างๆ รวมถึงประสบการณ์การทางานของผู้นิพนธ์ท่ีได้ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล รว่ มกับสหสาขาวชิ าชพี ผู้นิพนธ์ขอขอบพระคุณ เภสัชกร อาจารย์ ดร. ปิยรัตน์ พิมพ์สี ผู้รับผิดชอบรายวิชาร่วม และ เภสัชกร รองศาสตราจารย์ ดร. วิชัย สันติมาลีวรกุล ท่ีให้คาแนะนาอันเป็นประโยชน์เพื่อการพัฒนา คู่มือเอกสารคาสอนที่เหมาะสม ขอขอบพระคุณ ทุกท่านท่ีกรุณาเอ้ือเฟ้ือรูปและเอกสารเพ่ิมเติมอ่ืนๆ จนกระทั่งคู่มือเอกสารคาสอนเล่มนี้สาเร็จ สุดท้ายนี้ ขอขอบพระคุณผู้ป่วยทุกท่านท่ีผู้นิพนธ์ได้มี โอกาสดูแลและถือเป็นครูคนสาคญั ในชวี ติ เภสชั กร อาจารย์ ดร. กวิณ ด้วงมี ผนู้ พิ นธ์ i



Contents Preface …………………………………………………………………………………….... i Contents ………………………………………………………………………………….. ii Documentation in pharmaceutical care 1 ……………………………… 1 Documentation in pharmaceutical care 2 …………………………….. 11 medication safety & management system in opd …………………… 15 medication safety & management system in ipd ……………………. 27 drug information service & knowledge management 1 .………... 39 drug information service & knowledge management 2 ………... 49 high alert drug management 1 ……………………………………………... 59 high alert drug management 2 …………………………………………….. 71 adverse drug event management 1 ……………………………………….. 81 adverse drug event management 2 ……………………………………….. 93 drug interaction management 1 ………………………………………….. 107 drug interaction management 2 ………………………………………….. 115 ii

Contents health promotion for noncommunicable disease 1 ……………... 127 health promotion for noncommunicable disease 2 …………….. 135 communication in pharmaceutical care 1 …………………………… 143 communication in pharmaceutical care 2 ………………………….... 151 journal club 1 ……………………………………………………………………….. 161 journal club 2 ……………………………………………………………………….. 171 ambulatory care pharmacy practice 1 ……………………………….. 181 ambulatory care pharmacy practice 2 ………………………………. 187 ambulatory care pharmacy practice 3 ………………………………. 195 ambulatory care pharmacy practice 4 ………………………………. 201 ambulatory care pharmacy practice 5 ………………………………. 209 ambulatory care pharmacy practice 6 ………………………………. 215 acute care pharmacy practice 1 …………………………………………. 221 acute care pharmacy practice 2 …………………………………………. 229 acute care pharmacy practice 3 …………………………………………. 237 acute care pharmacy practice 4 ………………………………………… 245 ii

CHAPTER ONE ห DOCUMENTATION IN PHARMACEUTICAL CARE 1 KAWIN DUANGMEE Department of pharmacy Faculty of pharmacy, Silpakorn university



562397-59 Basic Practice in Pharmaceutical Care for Specialty in Community Pharmacy แผนการสอน หัวข้อ การบนั ทกึ ในงานบรบิ าลเภสัชกรรม ครง้ั ที่ 1 (Documentation in Pharmaceutical Care 1) รายวิชา 562397-59 การปฏิบัติการด้านการบริบาลทางเภสัชกรรมเบื้องต้น สาหรับสาขาเนน้ เภสชั กรรมชมุ ชน (Basic Practice in Pharmaceutical Care for Specialty in Community Pharmacy) ระยะเวลาการสอนปฏิบตั ิการ 3 คาบ รวม 150 นาที วตั ถปุ ระสงค์ เพือ่ ให้นกั ศึกษาเภสชั ศาสตรม์ ีความรคู้ วามเข้าใจเก่ยี วกบั การบันทกึ ใน งานบรบิ าลเภสชั กรรม และสามารถเขียนบันทึกได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ เพื่อให้นักศึกษาเภสัชศาสตรส์ ามารถออกแบบ แบบบันทกึ ข้อมลู ในงาน บริบาลเภสัชกรรมดว้ ยตนเองได้ โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ การใช้โปรแกรม ประยกุ ตร์ ว่ มในการออกแบบ ผ้รู บั ผดิ ชอบหลักปฏบิ ตั กิ าร ภก.อ.ดร.กวณิ ดว้ งมี ผู้ร่วมคุมปฏบิ ตั ิการ ภญ.รศ.ดร.พรวลัย บุญเมอื ง ภญ.ผศ.ดร.ดาราพร รุ้งพราย ภญ.ผศ.ดร.จุฑาทพิ ย์ สพุ รรณกลาง วิธกี ารดาเนนิ การสอนปฏิบตั กิ าร ให้นักศึกษาเภสัชศาสตร์ศึกษาเก่ียวกับการบันทึกในงานบริบาลเภสัชกรรม ร่วมกับการอภิปราย กรณีศึกษา ประกอบกับการซักถามเพ่ือกระตุ้นให้นักศึกษาเภสัชศาสตร์ได้คิดวิเคราะห์ตามเนื้อหาที่กาหนด ตลอดจนฝึกการใช้โปรแกรมประยุกต์หรือเว็บไซต์สาหรับออกแบบ แบบบันทึกในงานบริบาลเภสัชกรรม เพื่อ นาไปใช้สาหรับหัวข้อปฏิบัติการคร้ังที่ 2 การบันทึกในงานบริบาลเภสัชกรรม คร้ังที่ 2 โดยช่วงท้ายของ ปฏิบัติการจะเป็นการสรปุ และตอบคาถามของนกั ศึกษา รายละเอียดของการสอนปฏบิ ตั กิ าร จานวน 3 คาบ ระยะเวลา 150 นาที หัวข้อย่อย ระยะเวลาท่ใี ช้ (นาที) การบนั ทึกขอ้ มูลในงานบริบาลเภสัชกรรม 20 การวิเคราะห์การบันทึกข้อมูลในงานบริบาลเภสชั กรรม 10 1

Documentation in Pharmaceutical Care 1 หวั ข้อย่อย ระยะเวลาทีใ่ ช้ (นาท)ี กรณศี ึกษาท่ี 1 30 การใชโ้ ปรแกรมประยุกต์หรือเว็บไซตก์ บั การบนั ทึกข้อมลู ในงานบริบาลเภสัชกรรม 20 แบบฝึกหัดที่ 1 60 บทสรุป และ ซักถามข้อสงสยั 10 สอ่ื สารสอนปฏิบัตกิ าร 1. คู่มือเอกสารประกอบการสอน รายวิชา 562397-59 การปฏิบัติการด้านการบริบาลทางเภสัชกรรม เบ้ืองต้นสาหรับสาขาเน้นเภสัช กรรมชุมชน (Basic Practice in Pharmaceutical Care for Specialty in Community Pharmacy) หัวข้อปฏิบัติการครั้งที่ 1 การบันทึกในงานบริบาลเภสัช กรรม ครง้ั ท่ี 1 (Documentation in Pharmaceutical Care 1) หนา้ 1 ถึงหนา้ 10 2. โปรแกรมและโปรแกรมประยุกต์ ได้แก่ Google Classroom และ Zoom การประเมินผล ปฏิบัตกิ าร 1 ครง้ั คดิ เป็น 1.78% ของคะแนนงานมอบหมายและกจิ กรรมในปฏิบตั ิการ เอกสารอ้างองิ 1. Penna RP. Pharmaceutical care: Pharmacy’s mission for the 1990s. Am J Hosp Pharm 1990;47:543- 9. 2. Bethesda et al. Summary of the executive sessions on medication therapy management programs. Am J Health-Syst Pharm 2005;62:585-92. 3. สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย). มาตรฐานวิชาชีพเภสัชกรรมโรงพยาบาล พ.ศ. 2561 – พ.ศ. 2562 [internet]. 2019 [cited 2019 Apr 23]. Available from: http://www.thaihp.org 4. McMullin ST, Hennenfent JA, Ritchie DJ, Huey WY, Lonergan TP, Schaiff RA, Tonn ME, Bailey TC. A Prospective, Randomized Trial to Assess the Cost Impact of Pharmacist-Initiated Interventions. Arch Intern Med 1999;159:2306-2309. 5. Mutnick AH, Sterba KJ, Peroutka JA, Sloan NE, Beltz EA, Sorenson MK. Cost savings and avoidance from clinical interventions. Am J Health-Syst Pharm 1997;54:392-6. 6. Lee AJ, Boro MS, Knapp KK, Meier JL, Korman NE. Clinical and economic outcomes of pharmacist recommendations in a Veterans Affairs medical center. Am J Health-Syst Pharm 2002;59:2070-7. 7. The Joint Commission [cited by 2019 May 11]. Available from: http://www.jointcommission.org/ 8. Micromedexsolutions.com [internet]. Esmolol Hydrochloride [cited by 2018 Jan 1]. Available from: http://www.micromedexsolutions.com 2

562397-59 Basic Practice in Pharmaceutical Care for Specialty in Community Pharmacy การบันทกึ ในงานบริบาลเภสัชกรรม คร้งั ที่ 1 (Documentation in Pharmaceutical Care 1) เภสชั กร อาจารย์ ดอกเตอร์ กวิณ ด้วงม,ี ภบ., วภ. General Residency in Pharmacotherapy Specialized Residency in Cardiology Pharmacotherapy Specialized Fellowship in Cardiology Pharmacotherapy Board Certified Pharmacotherapy บทนา การบันทึกขอ้ มูลเป็นสว่ นประกอบทม่ี ีความสาคญั ต่อการทางานของเภสชั กรในหลายสาขา โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในงานบริบาลเภสชั กรรม (pharmaceutical care) เพื่อบ่งบอกถึงหน้าที่ความรับผิดชอบของเภสชั กร และเป็นหลักฐานอ้างอิงสาหรับตัวช้ีวัดการทางาน (key performance indicator, KPI)1 หรือสาหรับการ รับรองคุณภาพตามมาตรฐานต่างๆ ไม่ว่าจะเปน็ มาตรฐานของ Hospital Accreditation (HA) หรอื มาตรฐาน ของ Joint Commission International (JCI) การบนั ทกึ ขอ้ มลู ในงานบรบิ าลเภสชั กรรม การบันทึกข้อมูลในงานบริบาลเภสัชกรรมเป็นหัวใจสาคัญในการบริการจัดการยาเพื่อการบาบัดท่ี เรียกวา่ medication therapy management (MTM)2 โดยเฉพาะข้อมลู การบรบิ าลเภสชั กรรมในบันทึกการ รักษาของผู้ป่วยเพ่ือสื่อสารกับสหสาขาวิชาชีพ ส่ิงสาคัญท่ีต้องค้นหาและบันทึกคือ ปัญหาที่เก่ียวเน่ืองจากยา (drug-related problems, DRPs) และความคลาดเคลื่อนทางยา (medication errors, MEs) เนื่องจากการ บนั ทึกข้อมูลดงั กลา่ ว จะนาไปสกู่ ารแกไ้ ขปญั หา การหาแนวทางเพ่ือปอ้ งกนั ตลอดจนนาไปใช้สาหรับแก้ปัญหา เชงิ ระบบ นอกจากนี้ตามมาตรฐานวิชาชีพเภสัชกรรมโรงพยาบาล พ.ศ. 2561 – 2562 ของสมาคมเภสัชกรรม โรงพยาบาล3 ยังได้กล่าวถึงการบันทึกข้อมูลของเภสัชกรไว้ในหลายมาตรฐาน ไม่ว่าจะเป็นบันทึกการส่งต่อ ระหว่างวิชาชีพ (รูปท่ี 1 และ 2) หรือบันทึกการให้บริการของเภสัชกรครอบครัว โดยรายละเอียดของ DRPs และ MEs จะกลา่ วในหวั ข้อปฏบิ ัติการครง้ั ที่ 9 และ 10 การจัดการเหตุการณ์ไม่พงึ ประสงคท์ ีเ่ กี่ยวเน่ืองจากยา 3

Documentation in Pharmaceutical Care 1 Hospital A Hospital A Hospital A Hospital A รปู ที่ 1 การบันทกึ pharmacist’s note เพอ่ื สง่ ตอ่ ขอ้ มลู แกส่ หสาขาวชิ าชีพ (ทีม่ าของรูป: กวณิ ดว้ งม)ี แพทย์ A แพทย์ A รูปท่ี 2 การบนั ทึกในใบสงั่ การรักษาของแพทย์ (physician’s order) เพื่อสง่ ต่อข้อมลู แก่สหสาขาวชิ าชีพ ทง้ั นข้ี ้นึ อยู่กับข้อกาหนดของแตล่ ะโรงพยาบาล ควรตกลงกับสหสาขาวิชาชีพกอ่ นเพ่อื ป้องกันความเข้าใจผดิ (ที่มาของรปู : กวณิ ด้วงมี) 4

562397-59 Basic Practice in Pharmaceutical Care for Specialty in Community Pharmacy จากการศึกษาของ McMullin และคณะที่ศึกษาอิทธิพลของการใหค้ าปรึกษาและดูแลโดยเภสชั กรตอ่ ค่าใชจ้ า่ ยสาหรบั การรักษาในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย พบวา่ การให้คาปรึกษาและดแู ลโดยเภสชั กรซึ่งวัดจาก การบันทึกข้อมูล สามารถลดค่าใช้จ่ายในการรักษาได้เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม และเมื่อประเมินผลเปน็ รายปี พบว่า สามารถลดค่าใช้จ่ายในการรักษาได้ถึง 394,000 ดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ 14 ล้านบาท)4 สอดคล้องกับผลของการศึกษาอ่ืน5-6 ดังนั้น ประโยชน์ของการบันทึกข้อมูลของเภสัชกรยังเป็นส่วนประกอบ สาคญั ในการศกึ ษาวิจัย และกอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อระบบสขุ ภาพในภาพรวมอกี ด้วย การวิเคราะห์การบันทึกขอ้ มลู ในงานบรบิ าลเภสัชกรรม มาตรฐาน JCI7 ซ่ึงเป็นองค์กรสากลจากประเทศสหรัฐอเมริกาที่กาหนดมาตรฐานคุณภาพและความ ปลอดภัย ได้แนะนามาตรฐานของระบบการจัดการด้านยา ซ่ึงครอบคลุมข้ันตอนการส่ังใช้ยา การจ่ายยา และ การบริหารยา รวมถึงจาเป็นต้องมีการประเมินผลของระบบการจัดการด้านยา เพ่ือนามาปรับปรงุ พัฒนาต่อไป จนเปน็ วงลอ้ คุณภาพและนาไปประยุกต์ใชก้ บั งานบรบิ าลเภสชั กรรม เภสัชกรสามารถนาบันทึกจากผลลัพธ์ของการดูแลผู้ป่วยมาวิเคราะห์เชื่อมโยงกับระบบการจัดการ ดา้ นยาได้ โดยมีขั้นตอนการปฏบิ ตั ิ ดังนี้ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (collects data) จากผู้ป่วยแต่ละรายในงานบริบาลเภสัชกรรม ท้ัง แผนกผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน โดยเฉพาะข้อมูล DRPs และ MEs ท่ีเกิดข้ึน ซ่ึงอาจมาจากการ บนั ทึกของเภสัชกรเอง หรือจากระบบคอมพิวเตอรก์ ็ได้ 2. การวิเคราะห์ข้อมูล (analyzes data) เพอื่ สาเหตุของ DRPs และ MEs ท่ีเกดิ ข้ึน 3. การเปรียบเทียบข้อมูล (compares data) กับอุบัติการณ์การเกิด DRPs และ MEs ในช่วงปีที่ ผา่ นมา รวมถึงหาปจั จยั เสย่ี งและแนวโน้มของอุบตั กิ ารณท์ เ่ี กดิ ข้นึ 4. การทบทวนวรรณกรรม (review the literature) ที่เกี่ยวข้องกับ DRPs และ MEs ดังกล่าว หรือคน้ หาแนวทางปฏิบตั ิท่เี กยี่ วข้องเพื่อหาแนวทางการแก้ไข 5. นาผลการวิเคราะห์มาปรบั ปรงุ เพ่อื นาไปสแู่ นวทางปฏบิ ัติทีด่ ีในอนาคต (based on analysis of data and best practices) และสอดคล้องกับบริบทขององค์กร 5

Documentation in Pharmaceutical Care 1 กรณีศกึ ษาที่ 1 เภสัชกรหญิงลี ปฏิบัติงานบนหอผปู้ ่วยโรคหลอดเลือดสมอง ณ โรงพยาบาลแห่งหนึ่งมาเป็นเวลาครบ 1 ปี ได้รบั มอบหมายจากหวั หนา้ แผนกเภสชั กรรมให้สรปุ ข้อมลู การเกดิ DRPs และ MEs ทห่ี อผปู้ ่วย เพื่อนาไป พัฒนาเป็นผลงานสาหรับการเป็นตัวแทนไปนาเสนอในงานประชุมระดับชาติ และเพ่ือเป็นแนวคิดในการ สรา้ งสรรคง์ านวิจยั แบบ routine to research ในอนาคต เภสัชกรหญงิ ลีจงึ ปฏบิ ตั ติ ามขนั้ ตอน ดงั นี้ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล เภสัชกรหญิงลีเป็นผู้บันทึกข้อมูลในการบริบาลเภสัชกรรมด้วยตนเอง โดยข้อมูลจากปีพ.ศ.2562 พบว่า ผู้ป่วยเกิด DRPs ประเภท adverse drug reactions เป็นอันดับท่ีหน่ึง โดยจัดเป็นภาวะหลอดเลือดดา อักเสบ (phlebitis) จานวน 50 ราย และจัดเป็น MEs ระดับ E จานวน 10 ราย จากผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษา ในหอผู้ปว่ ยทั้งหมด 180 ราย 2. การวเิ คราะหข์ ้อมูล เม่ือนาข้อมูลผู้ป่วยที่เกิดภาวะหลอดเลือดดาอักเสบมาวิเคราะห์หาสาเหตุ พบว่า ผู้ป่วยจานวน 40 ราย เกดิ ภาวะหลอดเลอื ดดาอกั เสบภายหลงั การได้รับยา nicardipine ในรูปแบบบริหารทางหลอดเลือดดา 3. การเปรียบเทยี บข้อมูล เม่ือเปรียบเทียบอุบัติการณ์การเกิดภาวะหลอดเลอื ดดาอักเสบจากยา nicardipine ในช่วงปีที่ผ่านมา ร่วมกับทบทวนการเตรียมยา nicardipine เพื่อบริหารให้กับผู้ป่วยของพยาบาลประจาหอผู้ป่วยโรคหลอด เลือดสมอง พบว่า ผู้ป่วยทุกรายได้รับยา nicardipine ในอัตราส่วน 1 ต่อ 5 (ความเข้มข้นของสารละลายยา 0.2 mg/mL) และภาวะหลอดเลือดดาอกั เสบสามารถเกิดข้นึ ได้ตั้งแต่ 12 ถึง 24 ช่ัวโมง ภายหลงั ไดร้ ับยา 4. การทบทวนวรรณกรรม ข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์ได้กล่าวถึงแนวทางการแก้ไขภาวะหลอดเลือดดาอักเสบจากยา nicardipine โดยการประคบด้วยความร้อนเป็นเวลา 20 นาที วันละ 2 ถึง 3 ครั้ง เพ่ือให้เกิดการขยายของ หลอดเลือด ส่งผลให้ยากระจายตัวและความเข้มข้นของยาในตาแหน่งท่ียาร่ัวซึมน้ันลดลง อีกท้ังแนะนาให้ เร่มิ ต้นเจอื จางสารละลายยา nicardipine ในอตั ราสว่ น 1 ตอ่ 10 เพอ่ื ให้มคี วามเข้มข้นสุดทา้ ยคือ 0.1 mg/mL หากผู้ป่วยไม่จาเป็นต้องจากัดปริมาณน้าที่ได้รับ และควรเปล่ียนตาแหน่งที่บริหารยาทุก 12 และ 24 ชั่วโมง ผ่านทาง peripheral line และ central line ตามลาดับ 6

562397-59 Basic Practice in Pharmaceutical Care for Specialty in Community Pharmacy 5. นาผลการวเิ คราะหม์ าปรบั ปรุงเพื่อนาไปสู่แนวทางปฏิบัตทิ ่ีดใี นอนาคต สื่อสารกับทางองค์กรแพทย์ เพื่อกาหนดแนวทางการส่ังยา nicardipine โดยเริ่มต้นในอัตราส่วน 1 ต่อ 10 ก่อน หากผู้ป่วยจาเป็นต้องจากัดปริมาณน้าที่ได้รับ จึงพิจารณาส่ังยาในอัตราส่วน 1 ต่อ 5 ตลอดจน ส่ือสารกับองค์กรพยาบาล เพ่ือสร้างแนวทางปฏิบัติให้ตรวจสอบบริเวณที่บริหารยาทุก 12 ช่ัวโมง สาหรับเฝ้า ระวังการเกิดภาวะหลอดเลือดดาอักเสบ อย่างไรก็ตามจานวนพยาบาลต่อคนไข้ในหอผ้ปู ่วยค่อนข้างมีจากัดจงึ ไม่สามารถเปล่ียนตาแหน่งการบริหารยาตามหลักฐานเชิงประจักษ์ท่ีทบทวนมาได้ และหากเกิดภาวะหลอด เลอื ดดาอกั เสบใหป้ ระคบดว้ ยความร้อนเป็นเวลา 20 นาที วนั ละ 2 ถึง 3 ครง้ั โดยแนวทางการปฏิบัติทง้ั หมดที่ กลา่ วมา สามารถพิจารณาทาเปน็ คาส่งั ยนื (standing order) สาหรบั การส่ังใช้ยา nicardipine ได้ (รูปท่ี 3) หลังจากกาหนดแนวทางปฏิบัติการบริหารยา nicardipine แล้ว เภสัชกรหญิงสิตางค์ควรติดตามการ เกิดภาวะหลอดเลือดดาอักเสบ เพื่อรวบรวมข้อมูลและนาไปวิเคราะห์ในอนาคต ประกอบกับการกาหนด เป้าหมายเพ่ือเป็นตัวชี้วัด ยกตัวอย่างเช่น หลังจากนาแนวทางปฏิบัติไปใช้แล้ว การเกิดภาวะหลอดเลือดดา อกั เสบทมี่ ี MEs ระดับ E จะตอ้ งมีคา่ เทา่ กับ 0 หรอื ไม่เกดิ ข้นึ เลยในระยะเวลา 6 เดือน เปน็ ต้น รูปท่ี 3 ตวั อย่างคาสง่ั ยืนสาหรบั ผูท้ ม่ี ภี าวะหลอดเลือดสมองเฉียบพลนั ซึง่ จะเห็นไดว้ า่ เดิมยงั ไม่มีการระบขุ ้อมูล การสง่ั ใช้ยา nicardipine อาจพิจารณาเพ่ิมลงไปเพ่ือให้สมบรู ณม์ ากขน้ึ (ท่ีมาของรปู : ศริ ิพงศ์ ธนาพฒั น์ภาคนิ ) 7

Documentation in Pharmaceutical Care 1 การใชโ้ ปรแกรมประยุกต์หรอื เว็บไซตก์ ับการบนั ทึกขอ้ มูลในงานบริบาลเภสัชกรรม การบันทึกของเภสัชกรแบบดั้งเดิมจะทาในแบบบันทึกข้อมูลที่เป็นกระดาษซึ่งเภสัชกรจัดทาขึ้นเอง (รูปท่ี 4) อย่างไรก็ตาม ในยคุ ปจั จุบนั ทเ่ี ปน็ ยคุ ของเทคโนโลยี การบันทึกข้อมลู อาจอยู่ในรูปแบบอเิ ล็กทรอนิกส์ โดยโปรแกรมตา่ งๆ ไมว่ า่ จะเปน็ Microsoft Word หรอื Microsoft Excel เพื่อความสะดวกในการคน้ หา การ สรุปผลขอ้ มลู และยังมีความคงทนไมเ่ สื่อมสลายเหมือนกระดาษ อยา่ งไรก็ตามการบันทึกลงไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ ขณะที่กาลังปฏิบัติงานบนหอผู้ป่วยอาจไม่สะดวก และเม่ือเกิดปัญหากับคอมพิวเตอร์จะทาให้ไฟล์สูญหายได้ การใช้โปรแกรมประยุกต์ออนไลน์ (online applications) จึงเป็นอีกแนวทางท่ีช่วยป้องกันการสูญหายของ ข้อมูล อีกท้ังยังอานวยความสะดวก สามารถบันทึกข้อมูลได้ทันทีขณะปฏิบัติงาน ยกตัวอย่างเช่น Google Drive (http://drive.google.com), Google Form (https://docs.google.com/forms) (รู ป ท่ี 5) ห รื อ Google Sheet (http://www.google.com/sheets) (รูปท่ี 6) ซึ่งสามารถใช้งานผ่านเว็บไซต์ (website) หรือผ่านโปรแกรมประยุกต์ท้ังระบบปฏิบัติการ Apple หรือ Android ได้ อย่างไรก็ตามส่ิงท่ีนักศึกษาเภสัช ศาสตร์ควรระมดั ระวงั สาหรับการบันทกึ ข้อมูลออนไลน์คือ การรักษาความลบั ของผู้ป่วยโดยเฉพาะกรณีที่มีการ บันทึกข้อมูลท่ีสามารถระบุตัวตนผู้ป่วยได้ เช่น หมายเลขโรงพยาบาล, ชื่อ-นามสกุล เป็นต้น ควรมีการตั้งค่า ความเป็นส่วนตัว และจากดั การเขา้ ถงึ เพ่อื ปอ้ งกนั การคน้ หาผ่านโปรแกรมคน้ หาได้ รปู ที่ 5 ตวั อย่างการบันทกึ ขอ้ มลู ใน Google Form (ท่มี าของรูป: กวิณ ด้วงมี) 8

562397-59 Basic Practice in Pharmaceutical Care for Specialty in Community Pharmacy 9 รปู ที่ 4 ตวั อยา่ งแบบบนั ทกึ ข้อมลู แบบด้งั เดมิ ที่เภสชั กรจดั ทาข้นึ เอง (ที่มาของรปู : กวณิ ด้วงม)ี

Documentation in Pharmaceutical Care 1 รูปที่ 6 ตวั อย่างการบันทึกขอ้ มลู ใน google sheet (ทมี่ าของรปู : กวณิ ดว้ งม)ี แบบฝกึ หัดที่ 1 ให้นักศึกษาเภสัชศาสตร์ออกแบบ “แบบบันทึกข้อมูลผู้ป่วยเฉพาะราย” ในรูปแบบแบบดั้งเดิม ใช้ โปรแกรม โปรแกรมประยุกต์ หรือเว็บไซต์ อย่างใดอย่างหน่ึง สาหรับปฏิบัติการในคร้ังต่อไป โดยคานึงถึงการ นาไปใช้เมอื่ ปฏิบตั งิ านจริงรว่ มด้วย ( งานเด่ียว ทาในชวั่ โมงปฏิบัตกิ าร ) บทสรุป การบันทึกข้อมูลเก่ียวกับปัญหาทางยา หรือความคลาดเคลือ่ นทางยาทพ่ี บจากการบริบาลเภสชั กรรม นับเป็นสิ่งสาคัญในการดูแลผู้ป่วยท่ีเภสัชกรควรปฏิบัติ เนื่องจากข้อมูลดังกล่าวจะช่วยให้เห็นภาพรวมของ ปัญหาท่ีพบในแต่ละด้าน ท่ีอาจมีความรุนแรงมากน้อยแตกต่างกัน โดยข้อมูลดังกล่าวสามารถนาไปใช้สร้าง แนวทางในการป้องกันปัญหา แนวทางการปฏิบัติท่ีถูกต้องทั้งในประเด็นของการส่ังใช้ยา การเตรียม หรือการ บรหิ ารยา ซง่ึ ผลลพั ธ์ที่ได้ คือ ผู้ปว่ ยใชย้ าไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ และเกดิ ความปลอดภัยสงู สดุ 10

CHAPTER TWO ห DOCUMENTATION IN PHARMACEUTICAL CARE 2 KAWIN DUANGMEE Department of pharmacy Faculty of pharmacy, Silpakorn university



562397-59 Basic Practice in Pharmaceutical Care for Specialty in Community Pharmacy แผนการสอน หัวข้อ การบนั ทกึ ในงานบริบาลเภสชั กรรม ครั้งที่ 2 (Documentation in Pharmaceutical Care 2) รายวิชา 562397-59 การปฏิบัติการด้านการบริบาลทางเภสัชกรรมเบ้ืองต้น สาหรบั สาขาเนน้ เภสชั กรรมชุมชน (Basic Practice in Pharmaceutical Care for Specialty in Community Pharmacy) ระยะเวลาการสอนปฏบิ ัตกิ าร 3 คาบ รวม 150 นาที วัตถุประสงค์ เพอ่ื ฝึกทกั ษะในการอา่ น รวบรวมขอ้ มูล วเิ คราะห์ และการบนั ทึกข้อมูล ทส่ี าคัญของนักศกึ ษาเภสัชศาสตร์ เพือ่ ให้นักศึกษาเภสชั ศาสตรส์ ามารถนาหลกั การบนั ทึกไปประยุกต์ใช้ สาหรับการฝึกปฏิบตั ิงานวชิ าชีพหรอื ปฏบิ ตั ิงานบรบิ าลเภสัชกรรม ผรู้ บั ผิดชอบหลักปฏิบตั ิการ ภก.อ.ดร.กวิณ ด้วงมี ผู้ร่วมคุมปฏิบตั กิ าร ภญ.รศ.ดร.พรวลยั บุญเมอื ง ภญ.ผศ.ดร.ดาราพร รุ้งพราย ภญ.ผศ.ดร.จุฑาทิพย์ สุพรรณกลาง วธิ กี ารดาเนินการสอนปฏบิ ตั ิการ ให้นักศึกษาเก็บข้อมูลจากเวชระเบียนของผู้ป่วยที่กาหนด โดยใช้แบบบันทึกท่ีตนเองได้ออกแบบไว้ จากแบบฝกึ หัดท่ี 2 หัวข้อปฏบิ ัติการครงั้ ท่ี 1 การบันทึกในงานบรบิ าลเภสัชกรรม ครง้ั ที่ 1 เพอ่ื ฝึกทกั ษะในการ อ่าน รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ และการบันทึกข้อมูลท่ีสาคัญ ประกอบกับการช้ีให้เห็นถึงข้อดีและข้อเสียของ แบบบันทึกท่ีออกแบบมา เพื่อปรับปรุงแบบบันทึกใหด้ ีย่ิงขึ้นและสามารถนาไปใชไ้ ด้ในการปฏิบัติงาน โดยช่วง ท้ายของปฏบิ ตั กิ ารจะเป็นการสรปุ และตอบคาถามของนักศกึ ษา รายละเอียดของการสอนปฏิบัติการ จานวน 3 คาบ ระยะเวลา 150 นาที หัวข้อย่อย ระยะเวลาที่ใช้ (นาท)ี ชแ้ี จงและกาหนดเวชระเบียนของผปู้ ว่ ย 5 90 แบบฝึกหัดท่ี 1 40 อภปิ รายกรณีศึกษา 10 แบบฝกึ หัดที่ 2 11

Documentation in ระยะเวลาทใี่ ช้ (นาที) Pharmaceutical Care 2 5 หัวข้อย่อย บทสรุป และซักถาม สือ่ สารสอนปฏบิ ตั ิการ 1. คู่มือเอกสารประกอบการสอน รายวิชา 562397-59 การปฏิบัติการด้านการบริบาลทางเภสัชกรรม เบ้ืองต้นสาหรับสาขาเน้นเภสัช กรรมชุมชน (Basic Practice in Pharmaceutical Care for Specialty in Community Pharmacy) หัวข้อปฏิบัติการครั้งที่ 2 การบันทึกในงานบริบาลเภสัช กรรม ครัง้ ที่ 2 (Documentation in Pharmaceutical Care 2) หนา้ 11 ถงึ หน้า 14 2. โปรแกรมและโปรแกรมประยกุ ต์ ไดแ้ ก่ Zoom, Google Classroom และ Google Sheet 3. เวชระเบยี นผู้ป่วยสาหรับประกอบกรณีศึกษา การประเมนิ ผล ปฏบิ ตั ิการ 1 คร้ัง คิดเป็น 1.78% ของคะแนนงานมอบหมายและกจิ กรรมในปฏิบตั ิการ เอกสารอ้างอิง 1. สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย). มาตรฐานวิชาชีพเภสัชกรรมโรงพยาบาล พ.ศ. 2561 – พ.ศ. 2562 [internet]. 2019 [cited 2019 Apr 23]. Available from: http://www.thaihp.org 12

562397-59 Basic Practice in Pharmaceutical Care for Specialty in Community Pharmacy การบนั ทกึ ในงานบริบาลเภสัชกรรม ครงั้ ที่ 2 (Documentation in Pharmaceutical Care 2) เภสัชกร อาจารย์ ดอกเตอร์ กวิณ ด้วงม,ี ภบ., วภ. General Residency in Pharmacotherapy Specialized Residency in Cardiology Pharmacotherapy Specialized Fellowship in Cardiology Pharmacotherapy Board Certified Pharmacotherapy บทนา การบันทึกข้อมูลประวัติการรักษาของผู้ป่วยอย่างถูกต้องครบถ้วน จะช่วยให้การปฏิบัติงานบริบาล เภสัชกรรมเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ตลอดจนทาให้เภสัชกรสามารถค้นหาปัญหาของผู้ป่วยและ แก้ไขปัญหาไดโ้ ดยไมล่ า่ ช้าและตรงกับส่ิงท่ผี ู้ปว่ ยต้องการ1 กรณศี กึ ษาที่ 1 ผปู้ ่วยหญิงไทยคู่ อายุ 74 ปี น้าหนัก 52 กิโลกรมั สว่ นสูง 155 เซนติเมตร สทิ ธิการรกั ษาข้าราชการ เขา้ รบั การรักษาที่โรงพยาบาล ณ ห้องฉุกเฉิน แบบฝึกหดั ท่ี 1 จากกรณีศึกษาดังกล่าว ให้นักศึกษาเภสัชศาสตร์ บันทึกข้อมูลท่ีจาเป็นของผู้ป่วยรายน้ีลงในแบบ บันทึกท่ีนักศึกษาได้ออกแบบเอง พร้อมระบุปัญหาและ DRPs ซึ่งนักศึกษาเภสัชศาสตร์สามารถเข้าถึงเวช ระเบียนตามลิงกท์ ีก่ าหนดดงั ต่อไปน้ี (ล็อกอินอีเมล์ของ silpakorn.edu เทา่ นน้ั ) ( งานเดย่ี ว ทาในช่ัวโมงปฏิบัติการ ) เวชระเบยี นของผู้ป่วย ***** นศภ.ตอ้ งตระหนกั ถึงการรักษาความลบั ของ ผู้ป่วย และหา้ มเผยแพร่เอกสารประกอบนี้ ***** 13

Documentation in Pharmaceutical Care 2 แบบฝกึ หัดที่ 2 หลังจากได้นาแบบบันทึกข้อมูลท่ีนักศึกษาได้ออกแบบเองไปใช้เก็บข้อมูลจากรณีศึกษาดังกล่าวแล้ว ใหน้ กั ศกึ ษาเภสชั ศาสตร์ เขียนขอ้ บกพรอ่ งทพี่ บและการปรับแก้ไขในอนาคต ( งานเด่ยี ว ทาในชั่วโมงปฏบิ ตั ิการ ) ข้อบกพรอ่ งที่พบ การแก้ไข บทสรปุ การบันทึกข้อมูลประวัติการรักษาของผู้ป่วยอย่างถูกต้องครบถ้วน จะช่วยให้การปฏิบัติงานบริบาล เภสัชกรรมเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ตลอดจนทาให้เภสัชกรสามารถค้นหาปัญหาของผู้ป่วยและ แกไ้ ขปญั หาได้โดยไม่ล่าช้าและตรงกบั สง่ิ ทผ่ี ู้ป่วยตอ้ งการ 14

CHAPTER THREE ห MEDICATION SAFETY & MANAGEMENT SYSTEM IN OPD KAWIN DUANGMEE Department of pharmacy Faculty of pharmacy, Silpakorn university



562397-59 Basic Practice in Pharmaceutical Care for Specialty in Community Pharmacy แผนการสอน หวั ข้อ การบริหารจัดการด้านยาเพ่ือความปลอดภัยในการใช้ยาภายใต้บริบท แผนกผูป้ ว่ ยนอก (Medication Safety and Management System in OPD) รายวิชา 562397-59 การปฏิบัติการด้านการบริบาลทางเภสัชกรรมเบ้ืองต้น สาหรบั สาขาเน้นเภสัชกรรมชุมชน (Basic Practice in Pharmaceutical Care for Specialty in Community Pharmacy) ระยะเวลาการสอนปฏิบัติการ 3 คาบ รวม 150 นาที วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อให้นักศึกษาเภสัชศาสตร์มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับระบบการ บริหารจดั การดา้ นยาในโรงพยาบาลภายใต้บริบทแผนกผปู้ ่วยนอก เพอ่ื ให้นกั ศึกษาเภสัชศาสตร์ทราบถึงมาตรฐานวิชาชีพของสถาบันรับรอง คุณภาพสถานพยาบาล และสมาคมเภสชั กรรมโรงพยาบาล เพ่ือให้นักศึกษาเภสัชศาสตร์สามารถนาความรู้ท่ีได้ไปประยุกต์ใช้ในการ ฝกึ ปฏิบัตงิ านวิชาชีพ ตลอดจนการปฏิบตั ิงานจรงิ ผรู้ ับผดิ ชอบหลักปฏิบตั ิการ ภก.อ.ดร.กวิณ ด้วงมี ผรู้ ว่ มคุมปฏบิ ตั ิการ ภญ.ผศ.ดร.ดาราพร ร้งุ พราย ภญ.ผศ.ดร.จฑุ าทพิ ย์ สุพรรณกลาง ภก.ผศ.ดร.วรี ยุทธ์ แซ่ลิ้ม วธิ กี ารดาเนนิ การสอนปฏบิ ตั ิการ ให้นักศึกษาเภสัชศาสตร์ศึกษาระบบการบริหารจัดการด้านยาในโรงพยาบาล ผ่านมาตรฐานวิชาชีพ โดยเน้นบริบทแผนกผู้ป่วยนอก ประกอบกับตัวอย่างที่อาจารย์ได้นาเสนอ ตลอดจนวิเคราะห์กรณีศึกษาและ ร่วมระดมความคิดในการวางแผนการบริหารจัดการประกอบกับการอภิปรายร่วมกับคณาจารย์ และมีการ ซักถามเพ่ือกระตุ้นให้นักศึกษาเภสัชศาสตร์ได้คิดวิเคราะห์ตามเนอื้ หาที่กาหนด โดยช่วงท้ายของปฏิบัติการจะ เป็นการสรุปและตอบคาถาม 15

MEDICATION SAFETY AND ระยะเวลาทใี่ ช้ (นาที) MANAGEMENT SYSTEM IN OPD 5 25 รายละเอยี ดของการสอนปฏบิ ัติการ จานวน 3 คาบ ระยะเวลา 150 นาที 25 50 หัวข้อย่อย 40 การบรหิ ารจัดการดา้ นยากับมาตรฐานโรงพยาบาล 5 การกากบั ดแู ลและสง่ิ แวดลอ้ มสนับสนุนภายใตบ้ ริบทแผนกผูป้ ่วยนอก การปฏบิ ตั ใิ นการใชย้ าภายใต้บริบทแผนกผู้ปว่ ยนอก กรณศี ึกษาท่ี 1 อภปิ รายกรณีศึกษา บทสรปุ และ ซกั ถามข้อสงสยั สอ่ื สารสอนปฏิบัติการ 1. คู่มือเอกสารประกอบการสอน รายวิชา 562397-59 การปฏิบัติการด้านการบริบาลทางเภสัชกรรม เบื้องต้นสาหรับสาขาเน้นเภสัช กรรมชุมชน (Basic Practice in Pharmaceutical Care for Specialty in Community Pharmacy) หัวข้อปฏิบัติการครั้งท่ี 3 การบริหารจัดการด้านยาเพื่อ ความปลอดภัยในการใชย้ าภายใตบ้ ริบทแผนกผูป้ ่วยนอก (Medication Safety and Management System in OPD) หน้า 15 ถึงหน้า 26 2. โปรแกรมและโปรแกรมประยุกต์ ไดแ้ ก่ Zoom, Google Classroom และ Google Document การประเมินผล ปฏิบตั กิ าร 1 คร้ัง คิดเป็น 1.78% ของคะแนนงานมอบหมายและกจิ กรรมในปฏิบัติการ เอกสารอ้างอิง 1. สถาบนั รับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน). 2558. มาตรฐานโรงพยาบาลและบรกิ ารสุขภาพ ฉบับที่ 4 ปรับปรุง มกราคม 2562. นนทบรุ ี : สถาบนั รบั รองคณุ ภาพสถานพยาบาล (องคก์ ารมหาชน). 2. สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย). มาตรฐานวิชาชีพเภสัชกรรมโรงพยาบาล พ.ศ. 2561 – พ.ศ. 2565 [internet]. 2019 [cited 2019 Apr 23]. Available from: http://www.thaihp.org 3. The Joint Commission [cited by 2019 May 11]. Available from: http://www.jointcommission.org/ 16

562397-59 Basic Practice in Pharmaceutical Care for Specialty in Community Pharmacy การบรหิ ารจัดการด้านยาเพ่อื ความปลอดภยั ในการใชย้ าภายใต้บริบทแผนกผู้ป่วยนอก (Medication Safety and Management System in OPD) เภสชั กร อาจารย์ ดอกเตอร์ กวิณ ด้วงม,ี ภบ., วภ. General Residency in Pharmacotherapy Specialized Residency in Cardiology Pharmacotherapy Specialized Fellowship in Cardiology Pharmacotherapy Board Certified Pharmacotherapy บทนา ปัจจุบันกระบวนการดูแลผู้ป่วยมุ่งเน้นที่การดูแลเชิงคุณภาพมากขึ้น เภสัชกรโรงพยาบาลมีบทบาท สาคัญรว่ มกับสหสาขาวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วยสาหรับส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับยาและการใชย้ า และยังเป็นวชิ าชีพท่ี สาคัญในการมีส่วนร่วมเพ่ือผลักดันให้เกิดระบบบริหารจัดการด้านยาที่มีคุณภาพ นักศึกษาเภสัชศาสตร์จึง จาเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับระบบการบริหารจัดการด้านยาในโรงพยาบาล เพื่อนาไป ประยุกต์ใชใ้ นการฝกึ ปฏบิ ตั งิ านวชิ าชีพ ตลอดจนการปฏิบัตงิ านจริงในอนาคต การบริหารจัดการดา้ นยากับมาตรฐานโรงพยาบาล มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบับปรับปรุง มกราคม พ.ศ.2562 ของสถาบันรับรอง คุณภาพสถานพยาบาล (องค์กรมหาชน)1 ได้กล่าวถึงการบริหารจัดการด้านยาไว้ในตอนที่ II คือ “ระบบงาน สาคัญของโรงพยาบาล” หัวข้อ II-6 ระบบการจัดการด้านยา (medication management system, MMS) โดยแบ่งการจัดการออกเป็น 2 ด้าน ได้แก่ การกากับดูแลสิ่งแวดล้อมสนับสนุน (oversight and supportive environment) และการปฏิบตั ิในการใชย้ า (medication use practices) การกากบั ดูแลและสง่ิ แวดล้อมสนับสนุนภายใต้บริบทแผนกผ้ปู ่วยนอก องคก์ รสรา้ งความม่นั ใจในระบบการจัดการด้านยาทีป่ ลอดภัย เหมาะสมและได้ผล รวมทั้งการมียาท่ีมี คณุ ภาพสูงพร้อมใช้สาหรับผู้ปว่ ย ผา่ นกลไกกากบั ดแู ลและส่งิ แวดลอ้ มสนบั สนนุ 17

MEDICATION SAFETY AND MANAGEMENT SYSTEM IN OPD 1. การกากับดแู ลการจดั การดา้ นยา 1.1. องค์กรจดั ตง้ั คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบาบัด (pharmaceutical and therapeutic committee, PTC) จากสหสาขาวิชาชีพ ทาหน้าท่ีกากับดูแลระบบการจัดการด้านยาให้มี ความปลอดภัย มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล มีประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพ โดยการใช้ยา อย่างสมเหตุสมผล หมายถึง การจดั วางระบบและกระบวนการจัดการดา้ นยา มวี ัตถุประสงค์ เพ่ือให้ผู้ป่วยได้รับยาท่ีเหมาะสมกับข้อบ่งชี้ทางคลินิก ในปริมาณที่สอดคล้องกับความ ต้องการของแต่ละบุคคล ในระยะเวลาท่ีเพียงพอต่อการรักษาโรคน้ัน และเกิดความคุ้ม ค่าสงู สดุ ทง้ั ตอ่ ตวั ผู้ป่วยและตอ่ สังคม ซง่ึ จะครอบคลุมท้ังบริบทแผนกผู้ป่วยนอกและผ้ปู ว่ ยใน 1.2. องค์กร (โดย PTC) จัดทาบัญชียาโรงพยาบาล โดยมีหน้าท่ีครอบคลุมท้ังบริบทแผนกผู้ป่วย นอกและผู้ป่วยใน ดังตอ่ ไปน้ี 1.2.1. จากัดให้มีรายการยาเท่าที่จาเป็น ทาโดยใช้เกณฑ์คัดเลือกซ่ึงประกอบด้วยข้อบ่งชี้ ประสิทธผิ ล ข้อมลู ความปลอดภยั ความเสยี่ งและต้นทนุ 1.2.2. ทบทวนบัญชียาอย่างน้อยปีละคร้ัง โดยนาข้อมูลความปลอดภัยด้านยาและความ คมุ้ คา่ มาประกอบการพิจารณา 1.2.3. กาหนดมาตรการความปลอดภัย เช่น แบบฟอร์มสั่งยามาตรฐาน ในรูปแบบของแบบ ประเมินความเหมาะสมในการใช้ยา (drug use evaluation, DUE) แนวทางการสั่งใช้ ยา ระบบตรวจสอบ ระบบเตอื นความจา ข้อจากัดในการใช้ การบรหิ ารยา และการเก็บ รกั ษายาทีห่ ้องยา ตลอดจนการตดิ ตามอบุ ัติการณ์ไมพ่ ึงประสงคส์ าหรับยาที่ต้องติดตาม ความปลอดภัย (safety monitoring program, SMP) ซึ่งจะมีสัญลักษณ์สามเหลี่ยมสี แดง ด้านในระบุ “ต้องตดิ ตาม” (รูปที่ 1) สว่ นยาใหมท่ ี่โอกาสเกิดความคลาดเคลือ่ นสงู รูปท่ี 1 ตวั อย่างยาที่ต้องตดิ ตามความปลอดภยั (ท่มี าของรปู : กวณิ ด้วงมี) 18

562397-59 Basic Practice in Pharmaceutical Care for Specialty in Community Pharmacy แม้ว่าภายใต้บริบทแผนกผู้ป่วยนอกจะไม่สามารถติดตามผู้ป่วยได้ตลอดเวลา เภสัชกร สามารถติดตามอาการไม่พึงประสงค์ได้ทุกคร้ังที่ผู้ป่วยมารับยา หากพบอาการควร รายงานไปยังหน่วยที่เก่ียวข้อง ไม่ว่าจะเป็นบริษัทยา หรือศูนย์เฝ้าระวังความปลอดภัย ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ (health product vigilance center, HPVC) ซ่ึงจะกล่าวถึง รายละเอียดของการเขียนรายงานในหัวข้อปฏิบัติการครั้งที่ 9 การจัดการเหตุการณ์ไม่ พงึ ประสงคท์ ่เี ก่ียวเนอ่ื งจากยา ครง้ั ท่ี 1 1.2.4. กรณีที่จาเป็นต้องขอใช้ยาท่ีอยู่นอกบัญชียา ให้มีกระบวนการในการอนุญาตและ จัดหาโดยพิจารณา ความจาเป็น ผลข้างเคียงท่ีไม่พึงประสงค์ ความเส่ียงและ ความสามารถในการตดิ ตามผล ตารางท่ี 1 ตวั อย่างการสรุปรายการบัญชยี าประจาปีของโรงพยาบาลชุมชนที่กาหนดสัดส่วนของ ยาในกับนอกบญั ชียาหลักแหง่ ชาตเิ ปน็ สดั สว่ น 95 : 5 โดยประมาณ บญั ชียาหลักแห่งชาติ (ED) นอกบญั ชียาหลกั แห่งชาติ (NED) แผนปัจจุบนั สมุนไพร รวม แผนปจั จบุ ัน สมุนไพร รวม 310 30 340 10 3 13 96.5% 3.5% 1.3. องค์กร (โดย PTC) กาหนดนโยบายและระเบียบปฏิบัติเพื่อการป้องกันความคลาดเคล่ือน ทางยาและเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากยา เช่น มาตรการเพื่อป้องกันคาส่ังใช้ยาที่มีโอกาส เกิดปัญหา การป้องกันการส่ังใช้คู่ยาที่มีอันตรกิริยารุนแรง การส่งเสริมการใช้ช่ือสามัญทาง ยา เปน็ ตน้ แล้วนาส่กู ารปฏิบัติควบคกู่ ับการตรวจสอบอย่างเหมาะสม 1.4. องค์กร (โดย PTC) กาหนดรายการยาท่ีมีความเสี่ยงสูงหรือต้องมีความระมัดระวังในการใช้ สูง ซง่ึ จะกล่าวถึงในหัวขอ้ ปฏิบตั ิการครั้งท่ี 7 และ 8 การจดั การยาทีม่ คี วามเส่ียงสูง 1.5. องค์กร (โดย PTC) ดาเนินการแผนงานใช้ยาสมเหตุผล (rational drug use program, RDU) และแผนงานดูแลการใช้ยาต้านจุลชีพ (antimicrobial stewardship program, ASP) ด้วยมาตรการร่วมกันหลายประการเพื่อส่งเสริมการใชย้ าต้านจุลชีพและยาอื่นๆ อย่าง เหมาะสม สาหรับบริบทแผนกผู้ป่วยนอก มักพบปัญหาว่ามีความไม่เหมาะสมท้ังการส่ังจ่าย 19

MEDICATION SAFETY AND MANAGEMENT SYSTEM IN OPD ท่ีเกินความจาเป็นของแพทย์หรือความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วย ซึ่งสามารถกาหนด เง่ือนไขการสั่งใช้ยาให้เหมาะสม ตลอดจนการเก็บข้อมูลย้อนหลงั ให้เห็นภาพรวมของการใช้ ยาได้ สว่ นของผ้ปู ่วยต้องให้ความรู้ความเขา้ ใจรับประทานยาปฏชิ วี นะอยา่ งถกู ต้อง 1.6. องคก์ ร (โดย PTC) ติดตามตวั ช้วี ดั เชิงกระบวนการและผลลัพธ์ ประเมนิ และปรบั ปรงุ ระบบ จัดการด้านยา มีการทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติท่ีประสบความสาเร็จและ เทคโนโลยใี หมๆ่ เก่ียวกบั ระบบจดั การด้านยาอย่างสมา่ เสมอ 2. ส่ิงแวดล้อมสนบั สนุน 2.1. ผู้ประกอบวิชาชีพได้รับการประเมินและฝึกอบรมเพื่อเพิ่มความรู้ความสามารถเก่ียวกับ ระบบยา การใช้ยาที่เหมาะสมและปลอดภยั กอ่ นเริม่ ต้นปฏิบตั งิ านและเปน็ ประจาทกุ ปี 2.2. ผทู้ ี่เก่ยี วขอ้ งกับระบบยาสามารถเข้าถงึ ข้อมูลเฉพาะของผปู้ ่วยแตล่ ะราย ได้แก่ ขอ้ มลู ท่ัวไปที่ สาคัญ เช่น การแพ้ยา การตั้งครรภ์ น้าหนักตัว พ้ืนท่ีผิวเมื่อต้องใช้คานวณขนาดยา เป็นต้น การวินิจฉัยโรคหรือข้อบ่งช้ีในการใช้ยา และข้อมูลทางห้องปฏิบัติการที่จาเป็น เช่น การ ทางานของตับและไตในกล่มุ ผ้ปู ว่ ยท่ใี ช้ยาทตี่ ้องระมัดระวงั สงู 2.3. มีข้อมูลยาท่ีจาเป็น ไม่ว่าจะเป็นบัญชียาโรงพยาบาล ข้อมูลความคงตัวของยา ตลอดจนการ เกบ็ รกั ษายาแตล่ ะชนิดอย่างถูกตอ้ ง อยู่ในรูปแบบทใ่ี ช้ง่าย 2.4. องค์กรมีระบบคอมพิวเตอร์สนับสนุนการตัดสินใจเกี่ยวกับการใช้ยา มีการส่งสัญญาณเตือน ในระดับท่ีเหมาะสมสาหรับอันตรกิริยาระหว่างยา การแพ้ยา ขนาดยาท่ีต้องใช้ความ ระมัดระวังสูง และมีแนวทางสาหรับการไม่ปฏิบัติตามสัญญาณเตือนเมื่อมีข้อบ่งช้ี เช่น แพทย์ส่ังจ่ายยาท่ีเกิดอันตรกิริยาและมีการแจ้งเตือนในระบบ แต่เป็นอันตรกิริยาท่ีสามารถ ตดิ ตามได้และเป็นยาทจี่ าเป็น ต้องมแี นวทางการปลดล็อกให้สามารถส่งั จา่ ยได้ เปน็ ตน้ 2.5. การส่งั ใช้ คัดลอกคาส่ัง จัดเตรียม จดั จา่ ย และบรหิ ารยา กระทาในสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ซงึ่ สะอาด มพี ้นื ท่แี ละแสงสวา่ งพอเพยี ง เพอ่ื ใหม้ ีสมาธกิ บั เร่ืองยาโดยไม่มกี ารรบกวน 3. การจัดหาและเกบ็ รกั ษายา 3.1. การจัดหาเป็นไปตามบัญชียาท่ีผ่านการรบั รอง มีกระบวนการจัดการกับปัญหายาขาดแคลน ได้แก่ การจดั หา การส่ือสารกับผูส้ ่ังใช้ การทาแนวทางการจา่ ยยาทดแทน และการใหค้ วามรู้ 20

562397-59 Basic Practice in Pharmaceutical Care for Specialty in Community Pharmacy 3.2. ยาทุกรายการได้รับการเก็บสารองอย่างเหมาะสมและปลอดภัย เพ่ือให้ความม่ันใจในด้าน ความเพยี งพอ ความปลอดภยั มคี ณุ ภาพ และความคงตัวพร้อมใช้ ปอ้ งกนั การเข้าถงึ โดยผู้ไม่ มีอานาจหน้าท่ี สามารถทวนกลับถึงแหล่งที่มา มีการตรวจสอบบริเวณท่ีเก็บยาอย่าง สม่าเสมอ โดยมีการปฏิบัติเพื่อเป้าหมายดังกล่าวท่ัวทั้งองค์กร มีการเก็บแยกยาที่มีชื่อพ้อง มองคล้าย ยาชนิดเดียวกันท่ีมีขนาดแตกต่างกัน ยาที่ต้องใช้ความระมัดระวังสูง ยาหมดอายุ หรือยาท่ีถูกเรียกคืน แยกเป็นสัดส่วน การดูแลส่ิงแวดล้อมเหมาะสมในด้านอุณหภูมิ แสง สว่าง ความชื้น การถา่ ยเทอากาศ สาหรับยาทม่ี ีความไวต่ออณุ หภูมิหรือแสง 3.3. มกี ารจัดใหม้ ยี าและ/หรือเวชภัณฑ์ฉุกเฉนิ ที่จาเปน็ ในหนว่ ยดแู ลผู้ป่วยต่างๆ อย่ตู ลอดเวลา มี ระบบควบคมุ เช่น มีการจดั เกบ็ ยาฉุกเฉินในลักษณะที่สามารถระบุได้ว่ายาท่ีบรรจุในภาชนะ น้ันยังมีครบถ้วนและไม่หมดอายุ เป็นต้น และดูแลให้เกิดความปลอดภัย มีการจัดทดแทน โดยทนั ทีหลังจากทใ่ี ช้ไป 3.4. มีระบบที่จะจ่ายยาเพือ่ ตอบสนองความต้องการของผูป้ ว่ ยอย่างปลอดภยั ในเวลาทหี่ ้องยาปดิ 3.5. มีการจดั การกับยาท่ีสง่ คืนมาท่ีห้องยาอย่างเหมาะสม เช่น ยาทผ่ี ้ปู ว่ ยนามาคนื ทห่ี ้องยา การปฏบิ ตั ิในการใช้ยาภายใตบ้ รบิ ทแผนกผู้ป่วยนอก องค์กรทาให้ม่ันใจในความปลอดภัย ความถูกต้อง ความเหมาะสม และประสิทธิผลของกระบวนการ ท้งั หมดตัง้ แต่การส่ังใช้ยาจนถงึ การบริหารยา 1. การสั่งใชแ้ ละถ่ายทอดคาสั่ง 1.1. มีการเขียนคาสั่งใช้ยาอย่างชัดเจนและถ่ายทอดคาสั่งอย่างถูกต้อง มีการสื่อสารคาส่ังใช้ยาท่ี เป็นมาตรฐานเพ่ือลดความเส่ียงต่อความผิดพลาด มีการจัดทา นาไปปฏิบัติ และตรวจสอบ การปฏบิ ตั ิตามนโยบายและระเบยี บปฏิบัตใิ นเรือ่ งต่อไปน้ี 1.1.1. คาส่งั ใช้ยาที่หา้ มใช้ 1.1.2. การปฏบิ ตั ิตอ่ คาส่ังใชย้ าทางโทรศัพท์และคาสัง่ ดว้ ยวาจา 1.1.3. คาสง่ั ใช้ยาทพ่ี มิ พ์ไว้ลว่ งหนา้ และ protocol สาหรบั คาส่ังใชย้ าเคมบี าบัด 1.1.4. เกณฑพ์ จิ ารณาคาสงั่ ใชย้ าท่ียอมรับได้ 21

MEDICATION SAFETY AND MANAGEMENT SYSTEM IN OPD 1.2. ในกรณที ีม่ กี ารสัง่ จ่ายยาผ่านระบบคอมพวิ เตอร์ (computerized physician order entry, CPOE) มฐี านข้อมูลทเ่ี ปน็ ปจั จบุ ันชว่ ยสนบั สนนุ การตดั สินใจในการส่ังใช้ยา 2. การเตรยี ม เขียนฉลาก จดั จา่ ย และสง่ มอบยา 2.1. มีการทบทวนคาส่ังใช้ยาทุกรายการเพื่อความม่ันใจในความถูกต้อง ความเหมาะสมและ ความปลอดภัย มีการตรวจสอบซ้าสาหรับการคานวณขนาดยาในผู้ป่วยเด็ก และยาที่มีความ เสย่ี งสงู ชนิดรับประทาน เภสชั กรติดตอ่ กบั ผูส้ ง่ั ใชย้ าถา้ มีข้อสงสัย 2.2. ยาได้รับการติดฉลากอย่างเหมาะสม หากมีความผิดพลาด ต้องมีการทบทวนและแก้ไข เพ่ือ ไม่ใหเ้ กิดการใชย้ าท่ีไม่ถูกต้อง ตวั อย่างดังรูปท่ี 2 ก) ข) รปู ที่ 2 ก) ฉลากระบุยา Hypercor 5 mg ข) ยาภายในซองเปน็ ยา Hypercor 5 mg และ Concor 2.5 mg (ท่ีมาของรูป: กวณิ ด้วงมี) 2.3. การส่งมอบยาให้แก่ผู้ป่วยทาโดยเภสัชกรหรือบุคลากรที่ได้รับมอบหมายและได้รับการ ฝึกอบรม มีการตรวจสอบความถูกตอ้ งของยาก่อนท่ีจะสง่ มอบ และมีการใหค้ าแนะนาการใช้ ยาอย่างเหมาะสม โดยมีเป้าหมายเพ่ือให้เกิดความร่วมมือ ความถูกต้อง ความสามารถใน การบริหารยาและมุ่งให้เกิดประโยชน์สูงสุดจากการใช้ยานั้นๆ ควรครอบคลุมอย่างน้อยใน กลุ่มยาเด็ก ยาที่มีช่วงการรักษาที่แคบ ยาที่มีอาการอันไม่พึงประสงค์สาคัญ ยาที่มีเทคนิค การใชพ้ เิ ศษ เช่น ยาสูดพ่น (รูปที่ 3) 3. การบริหารยา จะกล่าวถึงรายละเอียดในหัวข้อปฏิบัติการครั้งท่ี 4 การบริหารจัดการด้านยาเพื่อ ความปลอดภยั ในการใช้ยาสาหรับบริบทแผนกผูป้ ่วยใน 22

562397-59 Basic Practice in Pharmaceutical Care for Specialty in Community Pharmacy รูปท่ี 3 ตวั อย่างยาใหมท่ ่ีมเี ทคนิคการใชพ้ ิเศษ (ท่ีมาของรูป: กวณิ ดว้ งม)ี กรณีศึกษาท่ี 1 ในสถานการณ์ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 โรงพยาบาลยังคงต้องมีการดาเนินงานตามปกติ รวมถึงคลินิกผู้ป่วยหัวใจล้มเหลว เภสัชกรผู้รับผิดชอบและเป็นส่วนหนึ่งของคลินิกนี้ จึงได้รับมอบหมายให้ วางแผนเพือ่ บริหารจดั การด้านยาเพ่ือรับมือกับสถานการณ์โรคระบาดน้ี คลินิกหัวใจลม้ เหลวประกอบไปด้วยแพทย์ พยาบาล และเภสัชกร เมื่อผู้ป่วยมาท่ีคลนิ กิ จะเร่ิมต้นจาก พบพยาบาลเพ่ือประเมินอาการเบ้ืองต้น ช่ังน้าหนัก เจาะเลือด และทดสอบการเดินเป็นเวลา 6 นาที จากน้ัน จงึ สง่ ผู้ปว่ ยมาพบเภสัชกรเพอ่ื ทาการประสานรายการยาและซกั ประวตั ดิ ้านยาก่อนพบแพทย์ (รูปที่ 4) รปู ที่ 4 เภสัชกรประจาคลนิ ิกหัวใจ ล้มเหลวกาลงั ซักประวัตดิ า้ นยา (ทมี่ าของรปู : ศุภชัย อนุรตั นพ์ านิช) เม่ือตรวจกับแพทย์เรียบร้อย ผู้ป่วยจะได้รับใบส่ังยาเพ่ือไปย่ืนรับยาท่ีห้องจ่ายยา จากน้ันกลับมาพบ เภสัชกรท่ีคลินิกอีกครั้งเพ่ือให้คาแนะนาเรื่องยา สุดท้ายผู้ป่วยต้องรับใบนัดหมายคร้ังต่อไปกับพยาบาลก่อน กลับบา้ น โดยรายการยาสาหรับคลินิกหัวใจล้มเหลวในโรงพยาบาลมีดงั ต่อไปนี้ 23

MEDICATION SAFETY AND Enalapril 5 และ 20 mg Lisinopril 10 mg MANAGEMENT SYSTEM IN OPD Candesartan 8 mg Sacubitril/Valsartan 100 mg Bisoprolol 5 mg Metoprolol tartrate 100 mg Captopril 25 mg Digoxin 0.0625 mg Furosemide 40 และ 500 mg Losartan 50 mg Hydralazine 25 mg Spironolactone 25 และ 100 mg Carvedilol 6.25 และ 25 mg ISDN 20 mg แบบฝกึ หดั ท่ี 1 จากกรณีศึกษาดังกล่าว ให้นักศึกษาเภสัชศาสตร์นามาตรฐานของ “การกากับดูแลส่ิงแวดล้อม สนับสนุน” มาประยุกต์และออกแบบการบริหารจัดการด้านยาเพื่อความปลอดภัยในการใช้ยาสาหรับคลินิก หวั ใจล้มเหลว โดยให้แต่ละกลุ่มทาลงในแบบฝึกหัดที่กาหนด ซ่ึงนักศึกษาเภสัชศาสตร์สามารถเข้าถึงตามลิงก์หรือ รหัส QR ทก่ี าหนดดังตอ่ ไปนี้ (ล็อกอินด้วยอีเมล์ของ silpakorn.edu เทา่ นน้ั ) ( งานกลุ่ม สาหรบั กลุ่มท่ี 1, 2, 3 และ 4 ทาในชวั่ โมงปฏบิ ัติการ ) สาหรับ กลุ่มท่ี 1 สาหรับ กลุ่มที่ 2 สาหรับ กลุ่มท่ี 3 สาหรบั กลุ่มท่ี 4 แบบฝึกหัดที่ 2 จากกรณีศึกษาดังกล่าว ให้นักศึกษาเภสัชศาสตร์นามาตรฐาน “การปฏิบัติในการใช้ยา” มาประยุกต์ และออกแบบการบรหิ ารจดั การด้านยาเพ่ือความปลอดภัยในการใชย้ าสาหรบั คลนิ ิกหัวใจลม้ เหลว 24

562397-59 Basic Practice in Pharmaceutical Care for Specialty in Community Pharmacy โดยให้แต่ละกลุ่มทาลงในแบบฝึกหัดที่กาหนด ซ่ึงนักศึกษาเภสัชศาสตร์สามารถเข้าถึงตามลิงก์หรือ รหสั QR ท่ีกาหนดดังตอ่ ไปนี้ (ล็อกอนิ ด้วยอเี มลข์ อง silpakorn.edu เท่านน้ั ) ( งานกลุม่ สาหรับกลุ่มท่ี 5, 6, 7 และ 8 ทาในช่ัวโมงปฏิบัติการ ) สาหรับ กลุ่มที่ 5 สาหรับ กลุ่มท่ี 6 สาหรบั กลุ่มท่ี 7 สาหรบั กลุ่มท่ี 8 บทสรุป การดูแลภาพรวมของระบบยาจาเปน็ ตอ้ งมีองคค์ วามรู้ท่รี อบด้าน เพอ่ื ให้การบรหิ ารจัดการระบบยาใน โรงพยาบาลมีประสิทธิภาพและปลอดภัย ท้ังการกากับดูแลส่ิงแวดล้อมสนับสนุนและการปฏิบัติในการใช้ยา เนอ่ื งจากการติดตามผู้ปว่ ยท่ีไม่สามารถทาได้ตลอดเวลาภายใตบ้ ริบทแผนกผู้ปว่ ยนอก ดงั นั้น การจดั การระบบ ยาท่ีเหมาะสมจึงมีความสาคัญอยา่ งยงิ่ เพอื่ ให้ผ้ปู ่วยไดร้ ับยาทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพและมคี วามปลอดภัยสูงสุด 25

MEDICATION SAFETY AND MANAGEMENT SYSTEM IN OPD ~ END ~ 26

CHAPTER FOUR ห MEDICATION SAFETY & MANAGEMENT SYSTEM IN IPD KAWIN DUANGMEE Department of pharmacy Faculty of pharmacy, Silpakorn university



562397-59 Basic Practice in Pharmaceutical Care for Specialty in Community Pharmacy แผนการสอน หวั ข้อ การบริหารจัดการด้านยาเพ่ือความปลอดภัยในการใช้ยาภายใต้บริบท แผนกผู้ปว่ ยใน (Medication Safety and Management System in IPD) รายวชิ า 562397-59 การปฏิบัติการด้านการบริบาลทางเภสัชกรรมเบ้ืองต้น สาหรับสาขาเนน้ เภสชั กรรมชุมชน (Basic Practice in Pharmaceutical Care for Specialty in Community Pharmacy) ระยะเวลาการสอนปฏบิ ตั กิ าร 3 คาบ รวม 150 นาที วัตถุประสงค์ เพ่ือให้นักศึกษาเภสัชศาสตร์มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการ บริหารจดั การดา้ นยาในโรงพยาบาลภายใตบ้ ริบทแผนกผู้ป่วยใน เพ่ือให้นกั ศึกษาเภสชั ศาสตร์ทราบถงึ มาตรฐานวิชาชีพของสถาบนั รับรอง คณุ ภาพสถานพยาบาล และสมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล เพ่ือให้นักศึกษาเภสัชศาสตร์สามารถนาความรู้ท่ีได้ไปประยุกต์ใช้ในการ ฝกึ ปฏิบตั งิ านวชิ าชีพ ตลอดจนการปฏิบตั งิ านจรงิ ผู้รับผิดชอบหลักปฏบิ ตั กิ าร ภก.อ.ดร.กวณิ ดว้ งมี ผรู้ ่วมคุมปฏิบัติการ ภญ.ผศ.ดร.ดาราพร รงุ้ พราย ภญ.ผศ.ดร.จฑุ าทิพย์ สพุ รรณกลาง ภก.ผศ.ดร.วรี ยทุ ธ์ แซ่ล้มิ วธิ ีการดาเนนิ การสอนปฏบิ ตั กิ าร ให้นักศึกษาเภสัชศาสตร์ศึกษาระบบการบริหารจัดการด้านยาในโรงพยาบาล ผ่านมาตรฐานวิชาชีพ โดยเนน้ บริบทแผนกผ้ปู ว่ ยใน ประกอบกับตวั อยา่ งที่อาจารย์ได้นาเสนอ ตลอดจนวิเคราะห์กรณีศึกษาและร่วม ระดมความคิดในการวางแผนการบริหารจัดการประกอบกับการอภิปรายร่วมกับคณาจารย์ และมีการซักถาม เพอื่ กระตุ้นให้นักศึกษาเภสัชศาสตร์ได้คิดวเิ คราะห์ตามเน้ือหาท่ีกาหนด โดยช่วงทา้ ยของปฏบิ ัติการจะเป็นการ สรปุ และตอบคาถาม 27

MEDICATION SAFETY AND ระยะเวลาท่ใี ช้ (นาท)ี MANAGEMENT SYSTEM IN IPD 5 25 รายละเอยี ดของการสอนปฏิบตั ิการ จานวน 3 คาบ ระยะเวลา 150 นาที 25 50 หวั ข้อย่อย 40 การบรหิ ารจัดการด้านยากับมาตรฐานโรงพยาบาล 5 การกากบั ดูแลและส่งิ แวดลอ้ มสนับสนนุ ภายใตบ้ รบิ ทแผนกผปู้ ว่ ยใน การปฏบิ ัตใิ นการใช้ยาภายใต้บริบทแผนกผปู้ ว่ ยใน กรณีศึกษาท่ี 1 อภิปรายกรณีศกึ ษา บทสรุป และ ซักถามข้อสงสยั สอื่ สารสอน 1. คู่มือเอกสารประกอบการสอน รายวิชา 562397-59 การปฏิบัติการด้านการบริบาลทางเภสัชกรรม เบื้องต้นสาหรับสาขาเน้นเภสัช กรรมชุมชน (Basic Practice in Pharmaceutical Care for Specialty in Community Pharmacy) หัวข้อปฏิบัติการครั้งที่ 4 การบริหารจัดการด้านยาเพื่อ ความปลอดภัยในการใช้ยาภายใต้บริบทแผนกผู้ป่วยใน (Medication Safety and Management System in IPD) หน้า 27 ถึงหน้า 38 2. โปรแกรมและโปรแกรมประยกุ ต์ ได้แก่ Zoom, Google Classroom และ Google Document การประเมินผล ปฏบิ ัตกิ าร 1 ครัง้ คดิ เป็น 1.78% ของคะแนนงานมอบหมายและกจิ กรรมในปฏบิ ัติการ เอกสารอ้างอิง 1. สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องคก์ ารมหาชน). 2558. มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสขุ ภาพ ฉบบั ที่ 4 ปรบั ปรงุ มกราคม 2562. นนทบุรี : สถาบันรับรองคณุ ภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน). 2. สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย). มาตรฐานวิชาชีพเภสัชกรรมโรงพยาบาล พ.ศ. 2561 – พ.ศ. 2565 [internet]. 2019 [cited 2019 Apr 23]. Available from: http://www.thaihp.org 3. The Joint Commission [cited by 2019 May 11]. Available from: http://www.jointcommission.org/ 28

562397-59 Basic Practice in Pharmaceutical Care for Specialty in Community Pharmacy การบรหิ ารจัดการด้านยาเพอ่ื ความปลอดภัยในการใชย้ าสาหรับบริบทแผนกผู้ปว่ ยใน (Medication Safety and Management System in IPD) เภสชั กร อาจารย์ ดอกเตอร์ กวณิ ด้วงม,ี ภบ., วภ. General Residency in Pharmacotherapy Specialized Residency in Cardiology Pharmacotherapy Specialized Fellowship in Cardiology Pharmacotherapy Board Certified Pharmacotherapy บทนา สาหรับบริบทแผนกผู้ป่วยใน เภสัชกรก็มีบทบาทที่สาคัญในการบริหารจัดการด้านยาเพ่ือความ ปลอดภัยในส่วนที่เกี่ยวข้องกับยาร่วมกับสหสาขาวิชาชีพเช่นเดียวกับผู้ป่วยนอก ซึ่งมีท้ังส่วนที่เหมือนและ แตกต่างกัน นักศึกษาเภสัชศาสตร์จึงจาเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการบริหาร จัดการด้านยาในโรงพยาบาล เพ่ือนาไปประยุกต์ใช้ในการฝกึ ปฏิบัตงิ านวชิ าชพี ตลอดจนการปฏบิ ัติงานจรงิ ใน อนาคต เน่ืองจากหัวข้อปฏิบัติการครั้งท่ีแล้ว ได้กล่าวถึงการบริหารจัดการด้านยาตามมาตรฐานโรงพยาบาล และบรกิ ารสุขภาพในภาพรวมไปแล้ว (รปู ที่ 1 และ 2) ในหัวขอ้ นจี้ ะกลา่ วถงึ เฉพาะบริบทของผู้ปว่ ยในเท่าน้ัน รูปท่ี 1 การกากบั ดูแลและส่ิงแวดล้อมสนบั สนุน1 29

MEDICATION SAFETY AND MANAGEMENT SYSTEM IN IPD รปู ท่ี 2 การปฏบิ ัติในการใชย้ า1 การกากบั ดูแลและส่ิงแวดลอ้ มสนับสนุนในบรบิ ทแผนกผ้ปู ว่ ยใน 1. การกากับดูแลการจัดการดา้ นยา 1.1. องค์กรโดยคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบาบัด (pharmacy and therapeutic committee, PTC) จัดทาบญั ชียาโรงพยาบาล เช่นเดยี วกบั บริบทแผนกผู้ปว่ ยนอก โดยส่วน ที่แตกต่าง ได้แก่ การกาหนดมาตรการความปลอดภัย เช่น แบบฟอร์มสั่งยามาตรฐานใน รปู แบบคาสั่งยนื (รปู ท่ี 3) โดยม่งุ เนน้ ยาที่บริหารทางหลอดเลือด และการเก็บรักษายา ทั้งท่ี หอ้ งจา่ ยยาและบนหอผปู้ ่วย 1.2. องค์กร (โดย PTC) กาหนดนโยบายและระเบียบปฏิบัติเพ่ือการป้องกันความคลาดเคลื่อน ทางยาและเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากยา เช่นเดียวกับบริบทแผนกผู้ป่วยนอก โดยส่วนที่ แตกต่างกันคือ การจัดการกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ยกตัวอย่างเช่น ความคลาดเคลื่อนจาก คาส่ังใช้ยาในรูปแบบการเขียนที่อาจจะเกิดข้อผิดพลาดจากการถ่ายทอดคาสั่งใช้ยาได้ (transcription error) ดงั ตัวอยา่ งในรูปที่ 4 ซง่ึ แตกต่างจากการใชร้ ะบบคอมพิวเตอร์ที่คาส่ัง ใช้ยาอาจจะตงั้ คา่ ทถี่ กู ต้องเหมาะสมไว้เปน็ มาตรฐานอย่แู ลว้ 1.3. องค์กร (โดย PTC) กาหนดรายการยาที่มีความเสี่ยงสูงหรือต้องมีความระมัดระวังในการใช้ สูง ซึ่งจะกล่าวถงึ ในหัวขอ้ ปฏบิ ัตกิ ารครั้งที่ 7 และ 8 การจดั การยาทม่ี ีความเสี่ยงสงู 30

562397-59 Basic Practice in Pharmaceutical Care for Specialty in Community Pharmacy รปู ท่ี 3 คาสง่ั ยืนสาหรบั ภาวะ ST-elevation myocardial infarction (ทีม่ าของรปู : กวิณ ด้วงมี) ก) ข) รปู ที่ 4 ก) คาสั่งใช้ยา Nitroderm® ระบุให้แปะยาทุก 12 ชั่วโมง ข) คาสงั่ ใชย้ า Nitroderm® หลังสอบถาม แพทยผ์ สู้ ั่งใช้ ซึง่ ต้องการให้แปะยา 12 ช่วั โมงต่อวนั (ที่มาของรูป: กวิณ ด้วงมี) 31

MEDICATION SAFETY AND MANAGEMENT SYSTEM IN IPD 1.4. องคก์ ร (โดย PTC) ดาเนนิ การแผนงาน RDU และ ASP สาหรบั บรบิ ทแผนกผู้ป่วยใน การนา แบบประเมิน DUE มาใช้จะช่วยลดการใช้ยาเกินความจาเป็น ท้ังน้ีอาจประสานงานร่วมกับ แพทยโ์ รคตดิ เชื้อ เพ่ือเพิม่ ความร่วมมือของบุคลการทางการแพทย์และความเชื่อมนั่ ของการ ประเมิน นอกจากนี้การเก็บข้อมูลผลความไวของเชื้อกับยาต้านจุลชีพโดยประสานงานกับ แผนกจุลชีววิทยาเพื่อจัดทา antibiogram ของโรงพยาบาล (รูปท่ี 5) จะย่ิงส่งเสริมให้ แผนงาน RDU และ ASP มีประสทิ ธิภาพเพม่ิ มากขึน้ 1.5. องค์กร (โดย PTC) ติดตามตัวชี้วัดเชิงกระบวนการและผลลัพธ์ เช่นเดียวกับบริบทแผนก ผู้ปว่ ยนอก รปู ท่ี 5 ตัวอย่าง antibiogram ประจาปพี .ศ.2561 ของโรงพยาบาลชมุ ชน (ทม่ี าของรปู : พงศเ์ ทพ ทอเต้ยี ) 2. ส่งิ แวดลอ้ มสนบั สนนุ ในภาพรวมของผู้ประกอบวิชาชีพและการเข้าถึงข้อมูลน้ัน ไม่แตกต่างจากบริบทแผนกผู้ป่วย นอก แตส่ าหรบั ขอ้ มูลยาท่ีจาเป็นจะแตกต่างกัน โดยเพิม่ เติมในส่วนข้อมูลยารูปแบบบริหารทางหลอด เลือดดา ไม่ว่าจะเป็นด้านความคงตัวของยา ความเข้ากันได้ระหว่างยากับยา หรือยากับสารละลาย ตลอดจนการเก็บรกั ษายา ควรอยู่ในรปู แบบทใ่ี ช้ง่าย ในขณะสง่ั ใช้และบริหารยาแก่ผปู้ ่วย 32

562397-59 Basic Practice in Pharmaceutical Care for Specialty in Community Pharmacy 3. การจัดหาและเก็บรักษายา 3.1. การจดั หายาเป็นไปตามบัญชยี าที่ผา่ นการรับรอง สาหรบั บรบิ ทแผนกผู้ปว่ ยใน หมายรวมถึง กระบวนการในการจัดการกับยาท่ีจาเป็นเร่งด่วน เช่น ยาช่วยชีวิต ยาฉุกเฉิน วัคซีน เซรุ่ม หรือยาอื่นๆ ที่องค์กรกาหนดให้เป็นยาสาคัญในภาวะฉุกเฉิน โดยอาจจัดทาในรูปแบบของ กล่องหรือรถยาฉุกเฉิน (emergency box หรือ emergency car) เพ่ือให้สามารถใช้ยา ช่วยชีวติ ไดอ้ ย่างทันเวลา (รูปที่ 6) รวมท้ังการจัดหาในสถานการณ์ภัยพิบตั ิ 3.2. ยาทุกรายการไดร้ บั การเก็บสารองอย่างเหมาะสมและปลอดภยั สาหรบั บรบิ ทแผนกผู้ปว่ ยใน เพ่ิมเติมการเก็บแยกยาที่มีช่ือพ้องมองคล้ายโดยเฉพาะยาท่ีมีความเสี่ยงสูง เนื่องจากหาก หยิบผิดอาจส่งผลอันตรายถึงแก่ชีวิต ไม่มีการเก็บสารอิเล็กโทรไลต์เข้มข้นท่ีจะเป็นอันตราย ไว้ในหน่วยดูแลผู้ป่วย ตลอดจนยาเคมีบาบัด ก๊าซและสารละลายที่ระเหยง่ายสาหรับการ ระงับความรูส้ กึ ต้องไดร้ ับการเกบ็ ในพื้นท่ีทม่ี ีการระบายอากาศไดด้ ี และแยกยาหมดอายุหรือ เสื่อมสภาพไวอ้ ยา่ งชัดเจน เพ่ือสร้างความมน่ั ใจวา่ ยาคงตวั 3.3. มีการจัดให้มียาและ/หรือเวชภัณฑ์ฉุกเฉินที่จาเป็นในหน่วยดูแลผู้ป่วยต่างๆ อยู่ตลอดเวลา โดยมงุ่ เนน้ ท่ีหอผู้ปว่ ย ไมว่ ่าจะเป็นอายรุ กรรม ศลั ยกรรม หรอื หอผู้ป่วยวิกฤต ซงึ่ ยาทีส่ ารอง ไวค้ วรเปน็ ยาที่มีความจาเป็นต้องใช้เรง่ ดว่ นและเหมาะสมภายใตบ้ รบิ ทหอผ้ปู ว่ ยน้ัน 3.4. มีระบบทจี่ ะจ่ายยาเพ่ือตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยอยา่ งปลอดภัยในเวลาทีห่ ้องยาปิด อาจมีห้องยาที่เปิด 24 ชั่วโมง หรือกรณีที่ไม่มี ต้องจัดเวรให้สามารถเรียกหาเภสัชกรได้เม่ือ จาเปน็ ต้องใชย้ าท่มี ีความเสี่ยงสูง 3.5. มีการจัดการกับยาท่ีส่งคืนมาที่ห้องยาอย่างเหมาะสม เช่น ยาท่ีแพทย์สั่งหยุดใช้ ยาเบิกท่ี ล่วงหนา้ แต่ไม่ไดบ้ ริหารยา เปน็ ตน้ รูปที่ 6 ตวั อยา่ งรถยาฉุกเฉนิ (ทีม่ าของรูป: กวณิ ดว้ งมี) 33

MEDICATION SAFETY AND MANAGEMENT SYSTEM IN IPD การปฏบิ ัติในการใชย้ าในบรบิ ทแผนกผู้ป่วยใน 1. การสง่ั ใช้และถา่ ยทอดคาสง่ั 1.1. มีการเขียนคาส่ังใช้ยาอย่างชัดเจนและถ่ายทอดคาส่ังอย่างถูกต้อง เช่นเดียวกับบริบทแผนก ผูป้ ่วยนอก 1.2. มีการจัดวางกระบวนทางานที่ประกันความถูกต้องของยาที่ผู้ป่วยได้รับในช่วงรอยต่อหรือ การสง่ ตอ่ การดแู ล (medication reconciliation, MR) ตามขั้นตอน ดังนี้ 1.2.1. พัฒนาระบบการจัดเก็บและบันทึกข้อมูลด้านยาท่ีเป็นปัจจุบันของผู้ป่วยแต่ละราย โดยใช้มาตรฐานเดยี วกนั ท้งั องคก์ ร 1.2.2. ระบุรายการยาที่ผู้ป่วยแต่ละคนได้รับ ได้แก่ ช่ือยา ขนาดยา ความถี่ และวิธีการ บรหิ ารยา อยา่ งถูกตอ้ งแม่นยา และใชร้ ายการยาน้ีในทุกจุดการให้บรกิ าร (รูปท่ี 7) 1.2.3. ส่งมอบรายการยาของผู้ป่วย รวมถึงกรณีผู้ป่วยมียาเดิมที่รับประทานท่ีบ้าน ให้กับผู้ ที่ดูแลผู้ป่วยในข้ันตอนถัดไป เช่น การส่งต่อผู้ป่วยไปรักษาต่อที่โรงพยาบาลอ่ืน การ ส่งตอ่ ผปู้ ว่ ยมาตรวจท่ีตึกผปู้ ่วยนอก การจาหน่ายผูป้ ่วย เป็นตน้ 1.2.4. เปรียบเทียบรายการยาท่ีผู้ป่วยได้รับอยู่กับรายการยาที่ส่ังให้ผู้ป่วย เพื่อค้นหายาที่ ตกหล่น ส่ังซ้า ไม่เข้ากับสภาพของผู้ป่วย ผิดขนาด หรือมีโอกาสเกิดอันตรกิริยา ระหว่างกัน ให้แล้วเสรจ็ ภายในระยะเวลาทกี่ าหนด 1.2.5. มีการตดั สินใจทางคลินิกอย่างเหมาะสมตามข้อมูลท่ีพบ และสือ่ สารแก่ทมี และผู้ป่วย รปู ท่ี 7 ตัวอย่างใบ medication reconciliation โดยเภสชั กร (ที่มาของรูป: กวณิ ดว้ งมี) 34

562397-59 Basic Practice in Pharmaceutical Care for Specialty in Community Pharmacy 2. การเตรียม เขียนฉลาก จดั จา่ ย และส่งมอบยา มีการทบทวนคาส่ังใช้ยาทุกรายการเพ่ือความมั่นใจในความถูกต้อง และการจัดเตรียมยา อย่างเหมาะสมและปลอดภัย เช่นเดียวกับบริบทแผนกผู้ป่วยนอก การติดฉลากต้องมีความเหมาะสม ชัดเจนและอา่ นง่าย ติดทีภ่ าชนะบรรจยุ าทกุ ประเภทตั้งแต่เข็มสาหรบั ฉดี ยาจนถึงสายน้าเกลือทเ่ี ตรียม นอกห้องผู้ป่วยหรือไกลจากเตียงผู้ป่วยท้ังหมด จนถึงจุดท่ีให้ยาแก่ผู้ป่วย โดยระบุช่ือผู้ป่วย ช่ือยา ความเขม้ ขน้ และขนาดยา ดังตวั อย่างในรปู ที่ 8 รปู ท่ี 8 การติดฉลากยาสาหรับยาทบี่ ริหารทางหลอดเลือดดา (ท่ีมาของรูป: กวิณ ดว้ งมี) 3. การบริหารยา 3.1. มีการให้ยาแก่ผู้ป่วยอย่างปลอดภัยและถูกต้องโดยบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติเหมาะสมและ อุปกรณ์การให้ยาที่ได้มาตรฐาน (รูปท่ี 9) มีการตรวจสอบความถูกต้องของยา คุณภาพยา ข้อห้ามในการใช้ ขนาดยา เวลาและวิธีการบริหารยาที่เหมาะสม มีการตรวจสอบซ้าโดย อิสระก่อนให้ยาท่ีมีความเส่ียงสูง ณ จุดให้บริการ มีการบันทึกเวลาที่ให้ยาจริง ผู้ส่ังใช้ยา ไดร้ บั การรายงานเม่ือมเี หตกุ ารณไ์ ม่พึงประสงคจ์ ากยาหรือความคลาดเคล่ือนทางยา รปู ท่ี 9 เภสัชกรกาลังตรวจสอบยาทผ่ี ู้ป่วยได้รบั (ท่ีมาของรูป: กวิณ ด้วงมี) 35

MEDICATION SAFETY AND MANAGEMENT SYSTEM IN IPD 3.2. ทีมผู้ให้บริการให้ข้อมูลเก่ียวกับยาแก่ผู้ป่วยและครอบครัว (ด้วยวาจาหรือเป็นลายลักษณ์ อักษร) ทั้งชื่อยา เป้าหมายการใช้ ประโยชน์และผลข้างเคียงที่อาจเกิดข้ึน วิธีการใช้ยาอย่าง ถูกต้อง วิธีการป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยา และส่ิงที่พึงทาเมื่อเกิดเหตุการณ์ไม่พึง ประสงคจ์ ากยาตามความเหมาะสม เพอื่ ให้ครอบครัวเป็นสว่ นหนึ่งของกระบวนการดูแลโดย ใชย้ าอยา่ งปลอดภยั และได้ผลการรักษาทด่ี ี 3.3. ผูป้ ่วยไดร้ บั การติดตามผลการบาบัดรักษาดว้ ยยาและบนั ทึกไว้ในเวชระเบยี น เพ่อื สรา้ งความ มน่ั ใจในความเหมาะสมของการรกั ษาที่ใหแ้ ละลดโอกาสเกิดอาการไมพ่ ึงประสงค์ 3.4. มีการจัดการกับยาท่ีผู้ป่วยและครอบครัวนาติดตัวมา เพ่ือให้เกิดความปลอดภัยและ สอดคล้องกับแผนการดูแลผู้ป่วยที่เป็นปัจจุบัน มีกระบวนการเพ่ือตัดสินใจเกี่ยวกับยาที่ ผปู้ ่วยสามารถบริหารเองได้ขา้ งเตียง การเก็บรักษายา การให้ความรู้ และการบนั ทึก กรณีศึกษาท่ี 1 โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่ง กาลังดาเนินการเพื่อยกระดับเป็นโรงยาบาลทั่วไป (ระดับ S) และเปิดหอ ผู้ป่วยวิกฤต (intensive care unit, ICU) แห่งใหม่ เพ่ือรองรับกับผู้ป่วยท่ีมีจานวนเพิ่มข้ึน ผู้อานวยการ โรงพยาบาลจึงได้ทาการประชุมบุคลากรทางการแพทย์จากแต่ละฝ่ายเพ่ือวางแผนการดาเนินงาน ในฐานะ เภสชั กร ทา่ นได้รับมอบหมายให้ออกแบบระบบการใชย้ าในหอผูป้ ว่ ยวิกฤต เพอ่ื ความปลอดภัยในการใชย้ า อัตรากาลังของบุคลากรฝ่ายเภสัชกรรมในปัจจุบัน คือ เภสัชกร จานวน 7 คน แบ่งเป็นหัวหน้าฝ่าย เภสัชกรรม 1 คน และเภสัชกรปฏิบตั ิการ 6 คน เจ้าหน้าที่เภสัชกรรม จานวน 7 คน และพนักงานประจาหอ้ ง ยา จานวน 4 คน รวมท้ังหมด 18 คน ระบบจา่ ยยาด้ังเดมิ สาหรบั แผนกผปู้ ว่ ยในของโรงพยาบาลนี้เปน็ แบบ floor stock กลา่ วคอื พยาบาล ประจาหอผู้ป่วยจะทาการเบิกยาและเวชภัณฑ์ท่ีจาเป็นจากฝ่ายเภสัชกรรมไว้ท่ีหอผู้ป่วยตามปริมาณท่ีกาหนด เพ่ือให้มียาสารองพร้อมใช้ทันที และยังเป็นผู้ดูแลยาสารองดังกล่าว เมื่อมีคาสั่งใช้ยาจากแพทย์ พยาบาลจะ เปน็ ผู้ตรวจสอบคาสง่ั และบรหิ ารยาตามคาสั่งนั้น จากนนั้ จึงเบกิ ยาที่ใช้ดงั กล่าวจากฝา่ ยเภสชั กรรมมาสารองไว้ ทีห่ อผูป้ ว่ ยดงั เดมิ โดยรายการยาทีต่ อ้ งการจะสารองไว้ท่หี อผ้ปู ่วยวกิ ฤตแห่งใหม่ ดงั รายการต่อไปนี้ 36


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook