บทเรียนออนไลนที่ 5 348 348 วิชา การพัฒนาแผนและโครงการอาชีพ (อช22001) ม.ตน แบบทดสอบกอ นเรียน เรอ่ื ง การวิเคราะหก ารตลาด คําช้แี จง ใหเลือกคําตอบที่ถูกตองท่ีสุดเพียงคําตอบเดยี ว จํานวน 5 ขอ ( 5 คะแนน ) 1. สมุดบันทึกประจําวันของพนกั งานขาย 4. บุคคลในขอ ใดท่ีเห็นความสําคัญของ เปรียบเสมือนสงิ่ ใด การตลาดมากท่ีสุด ก. คําสัง่ ซื้อ ก. ศักดิช์ ัย เปดรานคาตามกระแสนิยม ข. ส่ิงนัดหมาย ข. หฤทัย คิดจะปดกิจการเพราะไมม ี ค. โครงการขาย ลูกคา ง. แผนการขาย ค. ศรีดา ส่ังของเพมิ่ ในราน เพราะเห็น วา ยงั ไมมีสินคาน้ัน 2. การนัดหมายลูกคา ครงั้ ตอไปควรระบุอยูใน ง. ภาวี ศึกษาความตองการของชมุ ชนใน สว นใดของเอกสารการขาย ดานการบรโิ ภคแลว ลงมอื สงั่ สินคามา ก. คําสงั่ ซ้ือ ขาย ข. แผนการขาย ค. รายงานการขาย 5. วิธีใดเปนการหาขอมูลการตลาดที่ดีที่สุด ง. การติดตามการขาย ก. การถามผูเชี่ยวชาญ ข. การใชแ บบสอบถาม 3. องคประกอบของชองทางการตลาดมี ค. การสงั เกตส่งิ แวดลอ ม อะไรบา ง ง. การอา นรายงานการประชุม ก. สินคา ราคา การสงเสริมการตลาด ข. สินคา ราคา พอคาขายสง กลยุทธ ค. กลยุทธ ราคา สินคา พอคา ขายปลีก ง. กลยุทธ สินคา การสง เสรมิ การตลาด
บทเรียนออนไลนท่ี 5 349 349 วิชา การพัฒนาแผนและโครงการอาชีพ (อช22001) ม.ตน ใบความรบู ทเรียนออนไลนที่ 5 หัวเรือ่ งท่ี 1 การวิเคราะหการตลาด การตลาด (Marketing) หมายถึง กระบวนการวางแผนและการปฏิบัติตามแนวคิด การ กําหนดราคา การสงเสริมการตลาด และการจัดจําหนายสินคาและบริการ เพ่ือสรางใหเกิดการ แลกเปล่ียนท่ีทําใหผูบริโภคไดร ับความสุขความพอใจ และบรรลวุ ัตถุประสงคขององคกร (AMA ป 85) การตลาดมีความตางกันกับตลาดอยู คือ การตลาด จะเปนการจัดแผนงาน แบบแผนเพื่อทํา ใหบริษัทมีลูกคาเขามาสนใจในสินคาของเรา แตตลาด เปนการซื้อขายแลกเปลี่ยนสินคาจากสินคาตัว หน่ึงไปเปนสินคาอีกตัวหนึ่ง ไมวาจะเปนใชเงินมาแลกซื้อ หรือ เอาสิ่งของมาแลกกัน มีทั้งสิ่งที่จําเปน และตองการซงึ่ ความหมายตา งกันดังน้ี ความจําเปน (Needs) ความตองการขั้นพื้นฐาน หรือ ปจจัย 4 หรือ ปจจัย 5 เปนตัวผลักดัน ใหเ กดิ พฤตกิ รรมเพื่อสนองความตองการนั้น ความตองการ (Wants) เปนการแสดงออก หรือพฤติกรรมท่ีตองการสนองความตองการข้ัน พ้ืนฐาน ซึ่งหลอหลอมจากสภาพแวดลอมและบุคลิกสวนตัว หรือ เปนส่ิงท่ีตัวเราอยากจะได หรือ อยากเอามาไวในครอบครอง หนาท่ีทางการตลาด การจดั มาตรฐานและคุณภาพของสินคาไดม าตรฐาน ตรงความตองการลูกคา การขาย : กระตุนลูกคาใหซื้อสินคาไดมากและเร็วขึ้น ซึ่งกิจกรรมหลัก ไดแก การโฆษณา การใชพ นักงานขายการสง เสรมิ การขาย การประชาสมั พันธ การขนสง : การขนสงท่ีตนทุนตา่ํ รวดเรว็ และเหมาะกับสินคา สวนประสมทางการตลาด (4Ps) คือ ซึง่ ประกอบไปดวย 1. Product - สินคา, ผลิตภัณฑ, หรือ บริการ 2. Price - ราคาสินคา, ตนทุน ความสามารถในการซื้อของลูกคา ส่ิงแวดลอมทางการตลาด เชน คูแ ขง 3. Place - สถานทข่ี าย หรอื จําหนา ยสินคา 4. Promotion – รายการสง เสริมการขายอะไร ชองทางการตลาด ชองทางการตลาด หมายถึง กลุมขององคกรอิสระท่ีเขามาเกี่ยวของในกระบวนการ ท่ีจะทํา ใหสินคา และบริการ ถึงมือผูบริโภค อยางเหมาะสม การจัดจําหนาย ( Channel of Distribution ) หมายถึง กระบวนการในการจัดการเกี่ยวกับ การเคล่ือนยายสิทธ์ิในตัวผลิตภัณฑ จากผูผลิตไปจนถึงผูบริโภคในประเทศไทยมีชองทางหลักหลัก 3 ชอ งทางคือ
บทเรียนออนไลนท่ี 5 350 350 วิชา การพัฒนาแผนและโครงการอาชพี (อช22001) ม.ตน 1. การจัดจําหนายแบบขายตรง คือผูผลิตจําหนายผลิตภัณฑไปสูผูบริโภคโดยตรงไมผานคน กลาง ซึ่งเปนท่ีนิยมมาก สําหรับผูผลิตรายยอย เชน รานหรือแผงขายอาหาร หนังสือพิมพและ นติ ยสารที่ขายระบบสมาชิก 2. การจัดจําหนายแบบดั้งเดิม คือชองทางจัดจําหนายผลิตภัณฑผูบริโภคท่ีใชอยู ต้ังแตอดีต จนถึงปจจุบันโดยผานคนกลางในระบบเกา ซ่ึงไดแกพอคาสง และพอคาปลีก ซ่ึงคนกลางในระบบน้ี สวนใหญจะเปนพอคาคนจีนที่เรียกวาย่ีปว ซ่ึงระบบจัดจําหนายแบบด้ังเดิมนี้ ยังเปนชองทางจัด จําหนายหลักในสวนภูมิภาค 3. การจัดจําหนายในระบบการคาสมัยใหม เปนชองทางจัดจําหนายที่เปนที่นิยม และมี อิทธิพลตอระบบการจัดจําหนายในประเทศไทย ในชวงตลอด 10 ปที่ผานมา โดย ในชองทางน้ีผูผลิต สินคาจะกระจายสินคาตรงไปยังผูคาปลีกขนาดใหญโดยตรง เชน หางสรรพสินคาเดอะมอลล โลตัส ซุปเปอรเ ซนเตอร ชอ งทางจาํ หนา ยแบบนี้จะเปนที่นิยมในเมืองใหญ ๆ และในกรุงเทพมหานคร หวั เรอ่ื งที่ 2 ชองทางการจดั จําหนาย เปนเครื่องมือสําคัญทางการตลาดที่นําสินคาไปสูผูบริโภคโดยผานตัวกลางทางการตลาด ซ่ึง ประกอบดวยคนกลาง ผูกระจายผลิตภัณฑในเชิงกายภาพ และสถาบันการเงิน โดยโครงสรางหลักๆ ในชองทางการจําหนายอาจแยกไดเปนชองทางการจําหนายทางตรง และชองทางการจําหนาย ทางออม (ผานคนกลาง ) หรืออาจแยกตามลักษณะของผลิตภัณฑ เปนชองทางการจําหนายสําหรับ ผลิตภัณฑเพื่อธุรกิจ และชองทางการจําหนายบริการในการพิจารณาวา ควรใชชองทางการจัด จําหนายแบบใด มีคนกลางเขามาเกี่ยวของก่ีระดับน้ัน จะถูกพิจารณาจากปจจัยหลัก 4 กลุม คือ ลกั ษณะของตลาด ลักษณะของผลิตภัณฑ ปจ จยั ดา นคนกลาง และปจจยั ภายในของบรษิ ัทผูผลิตเอง การขายแบบไมอาศัยราน หมายถึง การขายท่ีไมตองมีรานคา ตามปกติการขายปลีกแบงได เปน การขายแบบมีรานคา และการขายแบบไมมีรานคา การขายแบบน้ีเปนวิธีที่ผูจัดจําหนายและ ผบู ริโภคไมตองพบกัน การสัง่ ซื้อทางไปรษณีย สว นมากจะกระทําโดยวิธีท่ีผูขายลงโฆษณาสินคา และตัวอยางสินคา ในหนังสือพิมพหรือนิตยสาร การส่ังซื้อจะดูตัวอยางจากแคตตาลอก และผูซ้ือใชโทรศัพทในการสั่งซ้ือ ผูข ายบรกิ ารจัดสงสินคา ใหผ ูซ้ือตามที่อยูที่แจง ไว ปารต ี้สําหรับขายสินคา วิธีนน้ี ําไปใชในประเทศญ่ีปุนเปนครั้งแรกโดยบริษัททัฟเพอรแวรของ สหรัฐอเมรกิ าวธิ ีน้ีคือ รปู แบบของระบบขายตรง รูปแบบของระบบขายตรงแบงไดเปน 2 แบบคือ 1. พนักงานขายจะรวมกับเพื่อนๆ และคนรูจักจัดงานปารต้ีขึ้น 2. พนักงานขายไปเยี่ยมหรือโทรศัพทนัดลูกคา ท่ีตั้งใจจะมารวมงานปารตี้
บทเรียนออนไลนท่ี 5 351 351 วิชา การพัฒนาแผนและโครงการอาชพี (อช22001) ม.ตน ธุรกจิ การขายแบบไมอาศัยรานคา เริ่มเติบโตขึ้นอยา งรวดเร็ว ธรุ กจิ แบบน้ีเกิดจากหลายสาเหตุ ดงั นี้ 1. เนอ่ื งจากแมบา นทํางานท้งั วันจงึ มีเวลาในการเลือกซอื้ สินคานอ ย 2. การพัฒนาของระบบจัดจําหนา ยและส่ือสมัยใหม 3. การเปลย่ี นแปลงแบบแผนการดาํ เนินชีวิต รานคาเบ็ดเตล็ด เปนรานคาปลีกท่ีลูกคาตองบริการตัวเอง ซึ่งเติบโตในสหรัฐอเมริกา รานคา ชนิดน้ีจะกาํ หนดราคาสินคา ท่ีแนนอนและสวนใหญจําหนายสินคาที่มีปริมาณการซื้อขายสูง เชน สินคา ในชีวิตประจําวัน โดยปกติแลวรานคาประเภทน้ีจะไมจําหนายอาหารสด หรือสินคาตามสมัยนิยม ตัวอยางของรานคาประเภทนี้ คือรานวูลเวิรธ ในสหรัฐอเมริกา ในญี่ปุนรานคาแนวน้ีจํานวนมากได พัฒนาไปสูซุปเปอรมารเกตและ หางสรรพสินคา รานคาแบบโกดัง เปนอาคารแบบงาย ๆ คลายโรง เก็บสินคา ซึ่งขายสินคาจํานวนมากในราคาถูกรานคาแบบนี้เปนรานคาลดราคาประเภทใหมท่ีเกิดข้ึน ในวงการคา รานขายสินคาราคาถูก คอื รา นคาปลกี ซึ่งขายเส้ือผา เครือ่ งใชเบ็ดเตล็ด และสนิ คาอื่นท่ีมี ช่ือ ย่ีหอในราคาเพียง 70-80% ของราคาปกติท่ีสามารถขายราคาเชนน้ีไดเพราะรานคาเหลานี้ซ้ือ สินคาโดยผานขั้นตอนพิเศษรานคาทั่วไปตอตานรานคาชนิดน้ีอยาง รุนแรงในประเทศญ่ีปุน คาดวา การเจรญิ เติบโตของรานคาชนิดน้ีคงเปนไปไดยาก
บทเรียนออนไลนท่ี 5 352 352 วิชา การพัฒนาแผนและโครงการอาชีพ (อช22001) ม.ตน หัวเร่อื งที่ 3 การสาํ รวจความตอ งการและวัดความพงึ พอใจของลูกคา การสํารวจความตองการ เปนการดําเนินการเพื่อคนหาความตองการของลูกคา(Customer Need) หรือความคาดหวัง (Expectation) ท่ีลูกคามีตอสินคา/ บริการ โดยขอมูลดังกลาวนําไปใช สาํ หรบั การพฒั นาสินคา /บริการใหเปนที่พึงพอใจของลกู คาในที่สุด การวัดความพึงพอใจของลูกคา เปนกิจกรรมที่มีจุดมุงหมาย เพื่อประเมินผลการสนองตอบ ความตองการลูกคาตนเองวา สิ่งทสี่ นองตอบไปน้ัน ตรงตามความตองการหรือเหนือความคาดหวงั จน เปนทพ่ี งึ พอใจของลกู คา หรือไมเพียงไร หากแตการจะไดมาซึ่งขอมูลจากลูกคา แตละครั้ง มักตองใชง บประมาณจํานวนไมนอย ดังนั้น หลายครัง้ ในการสํารวจ มกั จะทาํ การสํารวจความตองการ และสํารวจวัดความพงึ พอใจไปพรอมๆ กัน อยางไรกต็ าม ยอมตอ งเขา ใจวา ดังน้ัน หากทําการสํารวจใดๆ ควรชัดเจนวาจะสํารวจเพ่ือจุดมุงหมายใด หรือจะเนนท่ี จุดมุงหมายไหนเปนหลัก ใครคือลูกคาท่คี วรถูกวัด / ถูกสํารวจ เปนธรรมดาขององคกรทั้งหลายท่ีจะไมมีลูกคาเพียงรายเดียว แตมักมีลูกคาจํานวนมาก และ บางครง้ั มากจนมีความรูสึกวา ยากที่จะรับมือไหว การจะตอบวาใครคือลูกคาที่เราตองใสใจ นาํ มาวัด- สาํ รวจนัน้ สามารถทาํ โดยการ ระบุลูกคาท้ังหมดที่เปนไปได : การระบุน้ีควรใหมีความชัดเจนที่สุดเทาท่ีจะเปนไปได ซึ่ง บางคร้ังอาจระบุเปนช่ือของบุคคล ในขณะเดียวกันตองแทนชื่อองคกร, ประเภทองคกรดวยบทบาท ของบุคคลในองคกร พึงระลกึ ไวเสมอวา “สงิ่ ทีต่ องการทําใหพึงพอใจ ไมใชอ งคกร แตเปนบุคคล” กําหนดลูกคาหรือกลุมลูกคาหลัก (Key Customer) : อาศัยการนําเขาขอมูลจากการระบุ ลูกคา ใหระดับความสําคัญจนสามารถไดกลุมลูกคาหลัก หรือผูใชสินคา/ บริการ ทั้งนี้ตองไมลืมวา ลูกคาหลักไมไดหมายถึงแคลูกคาปลายสุด (End User) หรือผูใชสินคา/ บริการเทานั้น หากแตยัง หมายรวมถึง ลูกคาในบทบาทอ่ืนๆ เชน บทบาทผูเลือกซ้ือ/ใช บทบาทผูขนยาย-ติดตั้ง บทบาทผู ใหบริการ ดวยกลไกนี้ คงทําใหเรามั่นใจท่ีจะบอกไดวา ลูกคาคนไหน กลุมไหน มีความสําคัญตอองคกรที่ระดับ ใด
บทเรียนออนไลนท่ี 5 353 353 วิชา การพัฒนาแผนและโครงการอาชพี (อช22001) ม.ตน ความตองการแบบใดท่ีควรสนใจ โมเดลของมิสเตอรคาโน (Kano’s Model) จําแนกคุณลักษณะสินคา/ บรกิ ารท่ีมีผลตอความ พึงพอใจไมเทากัน ไว 3 แบบ คือ คุณลักษณะแบบไมพึงพอใจ (Dissatisfiers) คุณลักษณะแบบพึง พอใจ (Satisfiers) และคุณลักษณะแบบเหนือความคาดหวงั (Delighters) แบบที่ 1 คุณลักษณะแบบไมพึงพอใจ (Disatisfiers) (หรือเรียกวา Must-be, expected, basic characteristic): คือคุณลักษณะที่ลูกคาไมรองขอ แตตองมีจะไมพอใจถาขาดหายไปและเม่ือมี กจ็ ะเฉยๆ เพราะเปนธรรมดาของส่งิ น้ันท่ีถูกคาดหวังวาตองมี เชน หลอดไฟตองเปดแลวสวา ง, ทีวีเปด ตองมีภาพและเสียง แบบที่ 2 คุณลักษณะแบบพึงพอใจ (Satisfiers) (หรอื เรียกวา one-dimensional, straight- line characteristic) : คือ คุณลักษณะที่ลูกคาตองการใหมีในสินคา/บริการโดยทั่วไปมักเอยปาก อยากใหมี ย่ิงมากย่ิงเปนท่ีพอใจของลูกคา เชน โทรศัพทมือถือย่ิงเบาย่ิงดี คอมพิวเตอรทํางานไดย่ิง หลากหลายก็ย่งิ ดี เปนตน แตถามีนอ ยไปจะทาํ ใหไมสามารถแขงขันได แบบท่ี 3 คุณลักษณะแบบเหนือความคาดหวัง (Delighters) (หรือบางคร้ังเรียกวา Attractive, exciting characteristic) : คือ คุณลักษณะที่ลูกคาไมเอยปากขอลูกคาไมรูวา ตนเอง ตองการหรือไม ดังน้ันจึงถามโดยตรงจากลูกคาไมได ไมมีก็ไมรูสึกไมพอใจ แตถามีจะเปนคุณลักษณะ ที่ดึงดูด จุดเดน จุดขาย นาสนใจ ลูกคาจะรูสึกพึงพอใจเพราะเกินกวาท่ีคาดหมายไว เชน ในยุคที่มี การเปล่ียนกระจกประตูรถยนต เปนกระจกไฟฟา การรวมเครื่องเลน VCD, CD, DVD MP3 ไวใน เคร่ืองเดียวกัน การเพ่ิมความสามารถในการถายภาพลงในโทรศัพทมือถือ เปนตน อยางไรก็ตาม คุณลกั ษณะหรือคุณสมบัติทั้งหลายของสินคาและบรกิ ารไมไดถ ูกลูกคาประเมินเชนนั้นตลอดไป เพราะ เม่ือคุณลักษณะนั้นมีการสนองตอบความตองการจนเปนเร่ืองปกติ คุณลักษณะนั้นยอมถูกประเมิน ระดับลดลง เชน ขอพงึ ระวงั เตือนตนเอง อยเู สมอดวยวา ๏ พงึ คน หาคณุ ลักษณะแบบ Delighters ใหมๆ อยูเสมอ ๏ ตองใหคุณลกั ษณะแบบ Satisfiers แกลูกคามากกวาคูแ ขงใหจงได ๏ อยาปลอยใหความผิดพลาดในคุณลักษณะแบบ Dissatisfiers ถงึ มอื ลูกคา ทําอยา งไรจึงจะรูค วามตองการท่ีแทจริงของลูกคา เปนที่ยอมรับกันในบรรดาผูประกอบธรุ กิจทั้งหลายวา การจะไดขอมูลความตองการที่แทจริง ของลูกคาน้ันไมใชเร่ืองงายเลย ทั้งตองใชเงินทุน และทรัพยากรจํานวนมาก และอีกเชนกันก็มีอีก หลายองคกรที่สูญเปลาไปกับการคนหาความตองการที่แทจริง แตที่ลงทุนไปน้ันกลับเดินไปผิดทาง ขอมูลท่ีไดบางครั้งแทบไมอาจนําไปใชประโยชนไดแมวาจะมีความพยายามปรับรูปแบบวิธีการใหได ขอมูลความตองการมานั้น โดยอาศัยชองทางใหมๆ เชน Internet หรือ e-mailแตก็ตองเปนที่เขาใจ
บทเรียนออนไลนท่ี 5 354 354 วิชา การพัฒนาแผนและโครงการอาชพี (อช22001) ม.ตน ดวยวา เหลานี้น้ันเปนเพียงชองทางที่เพ่ิมข้ึน ความสําคัญจึงอยูที่วา “องคกรไดมีการใชชองทาง เหลาน้ันเพ่ือใหไดขอมูลความตองการอยางไร” เพราะถาไมเชนนั้นองคกรก็จะไมไดอะไรมากไปกวา แคการตื่นตาไปกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ในท่ีน้ีจึงอยากจะเสนอแนะวิธีการท่ีคลาสิกมีการใชกันมา นาน แตย งั คงเปนวิธีการที่ไดผลดี ในขณะทีอ่ งคก รไมจาํ เปนตองลงทุนจํานวนมหาศาลจนเกินตัว การสาํ รวจความตองการ (need) เครื่องมือสําคัญ : การสัมภาษณตัวตอตัว(One-on-One Interview) ดวยคําถามปลายเปด (Open-Ended Question) โดยปกตกิ ารสัมภาษณน้ันอาจใชเวลาต้ังแต 20-30นาที จนถึง 1-2 ชว่ั โมง จํานวนการสํารวจ : มีความเชื่อวา หากทําการกลั่นกรองผูใหขอมูล (Interviewee) และผู สัมภาษณอยางเหมาะสมแลว มีการฝกฝน การเตรียมการในประเด็นตางๆกอนลงภาคสนาม “การ สมั ภาษณต ัวตอตัว จาํ นวนเพียง ในบางคร้ังการรวบรวมขอมูลความตองการนั้นเนนหนักไปท่ีปริมาณขอมูลมากจนเสียโอกาส ที่จะไดคุณภาพขอมูลความตองการท่ีมีความชัดเจนเพียงพอจะนําไปใชงานตอได ดังน้ันผูบริหารอยา เพียงแตต้ังเปาการสาํ รวจในเชิงปริมาณวา ตองสาํ รวจเทาน้ันเทาน้ีราย แตพ ึงควรใสใจดวยวา จํานวนท่ี สํารวจมาเหลา นั้นมีคุณภาพบางหรอื ไม ขอควรระวังสําหรับการประมวลผลการสัมภาษณ ลูกคามักไมบอกวาตองการอะไร (What do thy want?) แตมักบอกวา ตองการอะไรใน สินคา/บริการ (What do they want in product/ service?) และมักจะรองขอส่ิงที่พวกเขาเชื่อวา เปนสงิ่ ที่ดีที่สุด ที่ควรมใี น สินคา/ บริการ (What do they believe is the best solution to their unstated need?) จงแยกความตองการท่ีแทจริง (True Need) ออกจากสิ่งท่ีลูกคาชอบมากท่ีสุด/นอยท่ีสุดใน สนิ คา บริการ(Most/ Least favorite features) ขอรองเรยี น (Complaints) ขอแนะนํา (Suggestion) ขอเสนอแนะทางแกไขทางเทคนิค (Technical Solution) ความคดิ เห็นอื่นๆ (Other Comment) ความตองการท่ีลูกคาบอกอาจไมไดอยูที่ระดับเดียวกันทุกความตองการ จงจัดโครงสราง ความตองการและเลือกระดับความตองการท่ีจะมุงสนใจเปนหลกั
บทเรียนออนไลนท่ี 5 355 355 วิชา การพัฒนาแผนและโครงการอาชพี (อช22001) ม.ตน วิธีการวัดระดับความพึงพอใจของลูกคา (Customer Satisfaction; CS) สามารถทําได 4 แนวทาง คือ 1. แนวทางการใหคําแนะนําหรือติเตียน : เปนการวัดประเมินเชิงรับคือ การสรางระบบรับ เรือ่ งรองเรียนหรือแนะนาํ เชน การจัดตง้ั call center กลอ งรับความคิดเห็น 2. แนวทางการสํารวจความพึงพอใจ : ท่ีนิยมใชคือการวิจัยตลาด ออกแบบสํารวจ แบบสอบถาม เพ่ือคนหาระดับความพึงพอใจท่ีลูกคามี ปกติสามารถทําไดโดยใหลูกคาเปนผูประเมิน ซง่ึ มดี วยกนั หลายเทคนิค เชน ๏ การใหคะแนนความพึงพอใจ เชน ไมพอใจมาก (1), ไมพอใจ (2), ไมแนใจ (3), พอใจ (4) พอใจอยา งยิ่ง (5) เปน ตน ๏ การสอบถามวา พงึ พอใจหรือไม อยา งไร ๏ การใหลูกคาระบุปญหาจากการใชผลิตภัณฑ/ บรกิ าร และเสนอวิธแี ก ๏ การใหคะแนนประเมินคุณสมบัติ/ คุณลักษณะสินคา / บรกิ าร ๏ การสํารวจความตอ งใจในการซื้อซาํ้ ของลูกคา 3. แนวทางการเลือกซ้ือของกลุมเปาหมาย : หมายถึง การคนหาวา ถากลุมลูกคาหลัก ประสงคจะเลือกซื้อสินคา/บริการ มีวิธีการอยางไร มองสิ่งใดๆ ทําไม โดยการเชิญกลุมลูกคาหลักที่มี ศักยภาพ มาวิเคราะหจุดออน จุดแข็งเมื่อจะทําการเลือกซ้ือสินคา/บริการของตนเองกับของคูแขง พรอ มท้ังรว มกนั ระบุปญหาท่ีมี 4. แนวทางการวิเคราะหลูกคา ที่สูญเสียไป : โดยการสมั ภาษณลูกคาเดิมท่ีเปลี่ยนไปใชสินคา/ บริการจากองคการอ่ืน
บทเรียนออนไลนที่ 5 356 356 วิชา การพัฒนาแผนและโครงการอาชพี (อช22001) ม.ตน กจิ กรรมท่ี 5 + การวิเคราะหก ารตลาด ชือ่ -นามสกุล...........................................................................รหัสนักศึกษา.......................................... คําชี้แจง ใหผูเรียนตอบคําถามตอ ไปน้ี จํานวน 4 ขอ (5 คะแนน) 1. การตลาด หมายถึง (1 คะแนน) ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 2. จงบอกถึงหนาท่ีทางการตลาด (1 คะแนน) ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 3. ชอ งทางในการจัดจําหนา ยสินคา ประกอบดวยองคประกอบอะไรบาง จงอธบิ าย (2 คะแนน) ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 4. การสํารวจความพงึ พอใจมีความสาํ คัญตอการผลิตสินคาอยางไรบาง (1 คะแนน) ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................
บทเรียนออนไลนที่ 5 357 357 วิชา การพัฒนาแผนและโครงการอาชพี (อช22001) ม.ตน เฉลยกิจกรรมที่ 5 ���อ� การวิเคราะหก ารตลาด 1. การตลาด หมายถงึ ตอบ การตลาด (Marketing) หมายถึง กระบวนการวางแผนและการปฏิบัติตามแนวคิด การ กําหนดราคา การสงเสริมการตลาด และการจัดจําหนายสินคาและบริการ เพื่อสรางใหเกิดการ แลกเปลีย่ นท่ีทาํ ใหผ ูบริโภคไดร ับความสุขความพอใจ และบรรลวุ ัตถุประสงคข ององคก ร (AMA ป 85) 2. จงบอกถงึ หน้าทท� างการตลาด ตอบ การจัดมาตรฐานและคุณภาพของสินคาไดมาตรฐาน ตรงความตองการลกู คา การขาย : กระตุนลูกคาใหซอ้ื สินคา ไดมากและเร็วขึ้น ซงึ่ กิจกรรมหลัก ไดแก การโฆษณา การใชพนักงานขาย การสงเสริมการขาย การประชาสมั พันธ การขนสง : การขนสง ที่ตนทุนต่าํ รวดเร็ว และเหมาะกับสินคา 3. ชอ่ งทางในการจดั จาํ หน่ายสนิ คา้ ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบอะไรบา้ ง จงอธบิ าย ตอบ 1. การจัดจําหนายแบบขายตรง คือผูผลิตจําหนายผลิตภัณฑ ไปสูผูบริโภคโดยตรง ไมผานคน กลาง ซึ่งเปนท่ี นิยมมาก สําหรับผูผลิตรายยอย เชน รานหรือแผงขายอาหาร หนังสือพิมพและนิตยสารที่ขายระบบ สมาชกิ 2. การจัดจําหนายแบบด้ังเดิม คือชองทางจัดจําหนายผลิตภัณฑผูบริโภคที่ใชอยู ตั้งแตอดีต จนถึงปจจุบันโดยผานคนกลางในระบบเกา ซ่ึงไดแกพอคาสง และพอคาปลีก ซ่ึงคนกลางในระบบน้ี สวนใหญจะเปนพอคาคนจีนท่ีเรียกวาย่ีปว ซ่ึงระบบจัดจําหนายแบบดั้งเดิมนี้ ยังเปนชองทางจัด จําหนา ยหลักในสวนภูมิภาค 3. การจัดจําหนายในระบบการคาสมัยใหม เปนชองทางจัดจําหนายที่เปนท่ีนิยม และมีอิทธิพล ตอระบบการจัดจําหนายในประเทศไทย ในชว งตลอด 10 ปที่ผานมา โดย ในชอ งทางนี้ผูผลิตสินคาจะ กระจายสินคาตรงไปยังผูคาปลีกขนาดใหญโดยตรง เชน หางสรรพสินคาเดอะมอลล โลตัสซุปเปอร เซนเตอร ชอ งทางจาํ หนา ยแบบนี้จะเปนท่ีนิยมในเมืองใหญๆ และในกรุงเทพมหานคร
บทเรียนออนไลนท่ี 5 358 358 วิชา การพัฒนาแผนและโครงการอาชีพ (อช22001) ม.ตน แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การวิเคราะหก ารตลาด คาํ ชแี้ จง ใหเลือกคําตอบที่ถูกตอ งท่ีสุดเพียงคําตอบเดียว จํานวน 5 ขอ ( 5 คะแนน ) 1. สมุดบันทึกประจําวันของพนักงานขาย 4. บุคคลในขอ ใดท่ีเห็นความสาํ คัญของ เปรียบเสมือนส่ิงใด การตลาดมากที่สุด ก. คําส่ังซื้อ ก. ศักดชิ์ ัย เปดรา นคาตามกระแสนิยม ข. สิ่งนัดหมาย ข. หฤทัย คิดจะปดกิจการเพราะไมมี ค. โครงการขาย ลกู คา ง. แผนการขาย ค. ศรีดา สั่งของเพิ่มในรา น เพราะเห็น วา ยังไมม ีสินคาน้ัน 2. การนัดหมายลูกคา ครง้ั ตอไปควรระบุอยูใน ง. ภาวี ศึกษาความตองการของชุมชนใน สวนใดของเอกสารการขาย ดานการบริโภคแลวลงมอื ส่ังสินคามา ก. คําส่ังซ้ือ ขาย ข. แผนการขาย ค. รายงานการขาย 5. วิธีใดเปนการหาขอมูลการตลาดท่ีดีท่ีสุด ง. การติดตามการขาย ก. การถามผูเช่ียวชาญ ข. การใชแบบสอบถาม 3. องคประกอบของชองทางการตลาดมี ค. การสังเกตสง่ิ แวดลอม อะไรบา ง ง. การอานรายงานการประชุม ก. สินคา ราคา การสงเสริมการตลาด ข. สินคา ราคา พอคาขายสง กลยุทธ ค. กลยุทธ ราคา สินคา พอคา ขายปลีก ง. กลยุทธ สินคา การสง เสริมการตลาด
บทเรียนออนไลนท่ี 5 359 359 วชิ า การพัฒนาแผนและโครงการอาชีพ (อช22001) ม.ตน เฉลยแบบทดสอบกอ นเรียน - หลังเรียน เรอื่ ง การวิเคราะหก ารตลาด 1. ก 2. ง 3. ก 4. ง 5. ข
360 เอกสารอา้ งองิ สำนกั งาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ // หนงั สอื เรยี นสาระความรู้พ้นื ฐาน รายวชิ าภาษาไทย (พท11001) ,2555 // เอกสารทางวชิ าการลำดบั ท่ี 1/2555 สำนักงาน กศน. สำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร // หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการเรยี นรู้ (ทร11001) ,2555 // เอกสารทางวชิ าการลำดบั ที่ 32/2555 สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ // ชุดวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย (สค12024) ,2561 // เอกสารทางวิชาการลำดบั ที่ 2/2561 เร่ือง การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 (2561) ,{ออนไลน์] เข้าถงึ ไดจ้ าก http://acad.vru.ac.th/Journal/Journal%208_3/8_3_15.pdf
361 รายช่ือคณะผ้จู ดั ทำเอกสาร คู่มอื แนวทางการจัดการเรยี นรอู้ อนไลน์ ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ 1. คณะกรรมการท่ปี รกึ ษา ประกอบด้วย 1.1 นายสมเจตน์ สวาศรี ผู้อำนวยการ สำนกั งาน กศน.จังหวดั นครปฐม 1.2 นายสุริยัญ มจี นั ทร์ ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอเมอื งนครปฐม 1.3 นายพรี ฉัตร อนวุ งศ์ ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอกำแพงแสน 1.4 นางรชั นี คงฤทธิ์ ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอนครชัยศรี 1.5 นางจดิ าภา บวั ทอง ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอดอนตมู 1.6 นายสมมาตร คงชืน่ สนิ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอสามพราน 1.7 นางเยาวรกั ษ์ บุญจันทร์ ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอพุทธมณฑล 2. คณะกรรมการจัดทำส่ือบทเรียนออนไลน์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (แผนการพบกลุ่ม, แผนการ พบ กลมุ่ รายสปั ดาห,์ แผนการจัดการเรยี นรูร้ ายสัปดาห์, บทเรยี นออนไลน์ 1-5 ) ประกอบด้วย 2.1 นายพีรฉตั ร อนุวงศ์ ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอกำแพงแสน 2.2 นายสุริยัญ มจี ันทร์ ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอเมืองนครปฐม 2.3 นายพรี ฉัตร อนุวงศ์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอกำแพงแสน 2.4 นางรัชนี คงฤทธิ์ ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอนครชัยศรี 2.5 นางจดิ าภา บัวทอง ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอดอนตมู 2.6 นายสมมาตร คงชน่ื สนิ ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอสามพราน 2.7 นางเยาวรกั ษ์ บญุ จนั ทร์ ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอพุทธมณฑล 2.8 นางวจิ ติ รา บุญประเสริฐ ครชู ำนาญการพเิ ศษ 2.9 นางไพบูรณ์ อยจู่ งดี ครชู ำนาญการพิเศษ 2.10 นางอรวรรณ มหายศนนั ท์ ครชู ำนาญการ 2.11 นางสาวนวลลออ สุทธิงาม ครู อาสาสมคั รฯ 2.12 นางสาวชญั ญา ดำรงคศ์ ิลป์ ครู กศน.ตำบล 2.13 นางสาวศริ ิญา สบื นุช ครู กศน.ตำบล 2.14 นางสาวกานต์ธมี า แสงสว่าง ครู กศน.ตำบล 2.15 นางสาววรรณเพญ็ ฮวบบรุ ี ครู กศน.ตำบล
362 2.16 นางสาวเกศสดุ า ขาวขำ ครู กศน.ตำบล 2.17 นางสาวบัวบูชา ล้ำเลิศ ครู กศน.ตำบล 2.18 นายอนุรตั น์ ศรบี ัว ครู กศน.ตำบล 2.19 นางสาวชนญั ญา สอนขำ ครู กศน.ตำบล 2.20 นายธนวิชญ์ คำวรรณ ครู กศน.ตำบล 2.21 นางสาวลักษ์คณา สง่ โสภา ครู กศน.ตำบล 2.22 นางสาวจนิ ตนา คลา้ ยสบุ รรณ ครู ศรช. 2.23 นางสาวตรีสุคนธ์ ห้วยระหาญ นกั วชิ าการคอมพิวเตอร์ 3. คณะกรรมการบรรณาธกิ าร ประกอบด้วย 3.1 นายพีรฉัตร อนวุ งศ์ ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอกำแพงแสน 3.2 นางสาวถาวร ศิลปศร ขา้ ราชการครู 3.3 นางสาวอรพรรณ ขันแก้ว นักวชิ าการศึกษาปฏิบัตกิ าร 3.4 นางสาววรรณเพญ็ ฮวบบุรี ครู กศน.ตำบล 3.5 นางสาวเกศสุดา ขาวขำ ครู กศน.ตำบล 3.6 นางสาวบัวบชู า ล้ำเลิศ ครู กศน.ตำบล 3.7 นางสาวตรสี คุ นธ์ หว้ ยระหาญ นกั วิชาการคอมพวิ เตอร์ 4. คณะทำงานจดั พมิ พ์ต้นฉบับและจัดทำรูปเล่ม ประกอบด้วย 4.1 นางสาวถาวร ศิลปศร ข้าราชการครู 4.2 นางสาวอรพรรณ ขนั แก้ว นกั วชิ าการศกึ ษาปฏิบตั กิ าร 4.3 นางสาวปณั ณธร พรหมมณี นกั วิชาการศกึ ษา 4.4 นายอนรุ ัตน์ ศรบี วั ครู กศน.ตำบล 4.5 นางสาวชัญญา ดำรงค์ศลิ ป์ ครู กศน.ตำบล
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366