Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นักการเมืองถิ่นอุดรธานี

นักการเมืองถิ่นอุดรธานี

Description: เล่มที่ 60 นักการเมืองถิ่นอุดรธานี

Search

Read the Text Version

นักการเมืองถ่ินจังหวัดอุดรธานี เครือข่ายการเมืองท้องถิ่น การเมืองท้องถิ่นจังหวัด อุดรธานีมีความสำคัญต่อฐานเสียงและฐานอำนาจการเมือง ระดับชาติเป็นอย่างมาก เห็นได้จากการเลือกตั้งนายกองค์การ บริหารส่วนจังหวัดอุดรธานี พ.ศ. 2555 ที่พรรคเพื่อไทยต้องให้ นายวิเชียร ขาวขำ ลาออกจาก สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบ บัญชีรายชื่อพรรคเพื่อไทย มาลงสมัครตำแหน่งนายกองค์การ บริหารส่วนจังหวัดอุดรธานี เพื่อชิงพื้นที่รวมถึงเพื่อแก้ปัญหา ความขัดแย้งในพรรคเพื่อไทย  เพราะมีสมาชิกพรรคเพื่อไทย หลายคนลงสมัคร เช่น น.ส.กีรติกานต์ พิมานเมฆินทร์ ลูก พ.ต.ท.สุรทิน พิมานเมฆินทร์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรอุดรธานี พรรคเพื่อไทย เขต 2 และนายสุรชาติ ชำนาญศิลป์ สมาชิก พรรคเพื่อไทย และยังมีเครือข่ายการเมืองท้องถิ่นอีกหลาย ตระกูลที่ยังคงทำงานการเมืองท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง เช่น นางอรวรรณ ศรีพันธ์ อดีตสมาชิกสภาเทศบาลนครอุดรธานี (สท.) ลูกสะใภ้นายอนันต์ ศรีพันธ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร อุดรธานี ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดอุดรธานี (ส.อบจ.) นายสมเกียรติ สุขธนะ น้องชาย นายรักเกียรติ สุขธนะ เป็นรองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด อุดรธานี และนายวรภาส เพชรพนมพร น้องชายนายศราวุธ เพชรพนมพร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรอุดรธานี พรรค เพื่อไทย ที่แพ้การเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดอุดรธานี (ส.อบจ.) ก็ได้รับการแต่งตั้งเป็นที่ปรึกษา นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุดรธานี เป็นต้น ซึ่งแสดงให้ เห็นเครือข่ายที่เชื่อมโยงอย่างเหนียวแน่นในท้องถิ่น 386

บทสรุปผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ เครือข่ายคนเสื้อแดง ที่ถือเป็นหัวใจสำคัญในการ สนับสนุนกิจกรรมทางการเมืองโดยเฉพาะการเลือกตั้ง ในช่วงหลัง พ.ศ. 2550 เป็นต้นมา อย่างเช่นในส่วนการเลือกตั้ง นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุดรธานีโดยตรงครั้งที่สาม เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2555 พรรคเพื่อไทยได้ส่งนายวิเชียร ขาวขํา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สมัคร รับเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุดรธานีในนาม กลุ่มเพื่อไทยอุดรธานีโดยมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัด อุดรธานีพรรคเพื่อไทย และนายขวัญชัย ไพรพนา ประธาน ชมรมคนรักษ์อุดร “คนเสื้อแดง” สนับสนุน ทําให้นายวิเชียร ขาวขํา ได้รับการเลือกตั้งเป็นนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด อุดรธานี จะเห็นว่าเครือข่ายคนเสื้อแดงมีส่วนสำคัญต่อ นักการเมืองระดับชาติ และนักการเมืองท้องถิ่นภายใต้ ความสัมพันธ์เชิงอุปถัมภ์ โดย พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีต นายกรัฐมนตรีเคยพูดว่า “จังหวัดอุดรธานีเป็นเมืองหลวงของ คนเสื้อแดง” เครือข่ายพรรคการเมือง เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่สำคัญ มาก โดยเฉพาะพรรคไทยรักไทยถือเป็นพรรคที่มาแรงที่สุดใน จังหวัดอุดรธานีจนถึงปัจจุบัน ด้วยกระแสที่มาแรงมากถึงขนาด ที่ว่า สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหลายคนไม่กล้าย้ายพรรค เพราะ หากย้ายแล้วอาจไม่ได้รับการเลือกตั้งกลับเข้ามาเป็น สมาชิก สภาผู้แทนราษฎรอีก พรรคไทยรักไทยจดทะเบียนก่อตั้งเมื่อ วันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2541 เป็นพรรคการเมืองแรกที่ก่อตั้ง ขึ้นภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 โดยมีผู้ร่วมก่อตั้ง 23 คน นำโดย ดร.ทักษิณ ชินวัตร โดยในการ 387

นักการเมืองถ่ินจังหวัดอุดรธานี เลือกตั้งครั้งแรกของพรรค พ.ศ. 2544 ได้ สมาชิกสภา ผู้แทนราษฎร 5 คน และได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมด ใน พ.ศ. 2548 ถึงแม้พรรคไทยรักไทยจะถูกยุบตามประกาศ ค ณ ะ ป ฏ ิ รู ป ก า ร ป ก ค ร อ ง ใ น ร ะ บ อ บ ป ร ะ ช า ธ ิ ป ไ ต ย อ ั น ม ี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ฉบับที่ 27 ลงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2549 ในคดีจ้างพรรคเล็กลงเลือกตั้ง กลุ่มไทยรักไทย มีมติ ส่งอดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเก่า สมัครเป็นสมาชิกพรรค พลังประชาชน เพื่อลงรับเลือกตั้งครั้งใหม่ หลังการประกาศใช้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 โดยเชิญ นายสมัคร สุนทรเวช มาเป็นหัวหน้าพรรคคนใหม่ และในการ เลือกตั้ง พ.ศ. 2550 พรรคพลังประชาชนก็ได้รับเลือกตั้งเกือบ ยกจังหวัด แพ้เพียงเขตของนายเชิดชัย วิเชียรวรรณ สังกัดพรรค ภูมิใจไทย เท่านั้น ต่อมาภายหลังศาลมีมติเอกฉันท์ให้พรรค พลังประชาชนเนื่องจากนายยงยุทธ ติยไพรัช กระทำความผิด ตามพระราชบัญญัติเลือกตั้ง มีผลให้การเลือกตั้งไม่สุจริต และ ให้เพิกถอนสิทธิ์เลือกตั้งกรรมการบริหารพรรคซึ่งดำรงตำแหน่ง ระหว่างกระทำความผิดเป็นเวลา 5 ปี หลังจากการยุบพรรคพลังประชาชนสมาชิกสภา ผู้แทนราษฎรและสมาชิกพรรคเกือบทั้งหมดได้ย้ายเข้าสังกัด พรรคเพื่อไทยยกเว้นกลุ่มเพื่อนเนวิน ซึ่งภายหลังย้ายไปสังกัด พรรคภูมิใจไทย และในการเลือกตั้งใหญ่ พ.ศ.2554 พรรคเพื่อ ไทยก็ชนะการเลือกตั้งในจังหวัดอุดรธานีครบทุกเขต ด้วย กระแสความนิยมในตัว พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ที่มีมาตั้งแต่เป็น พรรคไทยรักไทย พลังประชาชนและเพื่อไทย ทั้งนี้อาจกล่าวได้ ว่า กระแสพรรคก็คือกระแสของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นั่นเอง 388

บทสรุปผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 4. รูปแบบและวิธีการหาเสียงของผู้สมัครรับเลือกต้ังสมาชิก สภาผู้แทนราษฎรในเขตพื้นที่การเลือกต้ังจังหวัดอุดรธานี ต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน รูปแบบและวิธีการหาเสียงของผู้สมัครรับเลือกตั้งที่ได้รับ เลือกให้ดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ดังนี้ 1. การลงพื้นที่เดินพบประพดู คุยกับพี่น้องประชาชน 2. การแจกบัตรแนะนำตัวผู้ลงสมัคร 3. การติดป้ายหาเสียง 4. การใช้รถแห่หาเสียง 5. การปราศรัยย่อยในพื้นที่หมบู ้าน 6. การปราศรัยใหญ่ระดับพื้นที่จังหวัด ที่มีนักการเมือง คนสำคัญของพรรคร่วมปราสัยด้วย 7. การให้ระบบหัวคะแนน 8. การแจกเงินเพื่อเป็นแรงจูงใจให้มารับฟังการปราสัย 9. การแจกเงินซื้อเสียง 10. การร่วมงานพิธีกรรมมงคล อวมงคล และงานพิธีการ ต่างๆ 5. ความสัมพันธ์ของนักการเมืองถิ่นในระดับเขตพ้ืนที่จังหวัด อุดรธานีสู่บทบาทการเมืองในระดับชาติ นักการเมืองถิ่นจังหวัดอุดรธานีในอดีตจนถึงปัจจุบัน ล้วนมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงตั้งแต่ในพื้นที่จนถึงระดับชาติ เช่น ในยุคที่เกี่ยวข้องกับเสรีไทย ก็มีนักการเมืองถิ่นในจังหวัด อุดรธานีร่วมขบวนการด้วยตลอดมา จนขึ้นไปสู่ตำแหน่ง รัฐมนตรีอย่างนายบุญคุ้ม จันทรศรีสุริยวงศ์และกรณี การเปลี่ยนขั้วทางการเมืองที่นักการเมืองถิ่นจังหวัดอุดรธานี 389

นักการเมืองถ่ินจังหวัดอุดรธานี หลายคนได้เปลี่ยนขั้วไปอยู่กับกลุ่มเพื่อนเนวิน พรรคภูมิใจไทย อย่างกรณีนายไชยยศ จิรเมธากร ซึ่งก็ถือได้ว่าเป็นส่วนสำคัญ กับเหตุการณ์ที่เปลี่ยนแปลงในทางการเมืองระดับชาติและ นักประวัติศาสตร์ทางการเมืองต้องศึกษาและทำความเข้าใจ 6.2 อภิปรายผล การศึกษานักการเมืองถิ่นจงั หวัดอุดรธานี มีวัตถปุ ระสงค์ 5 ข้อ คือ 1. เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์ทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมความเป็นอยู่ของจังหวัดอุดรธานี 2. เพื่อศึกษาข้อมูลนักการเมืองจังหวัดอุดรธานีที่เคยได้ รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตั้งแต่ยุคแรกจนถึง ยุคปัจจุบัน 3. เพื่อศึกษาพรรคการเมือง เครือข่ายและความ สัมพันธ์ของกลุ่มผลประโยชน์ที่มีส่วนสนับสนุนทางการเมืองแก่ นักการเมืองในจังหวัดอุดรธานี 4. เพื่อศึกษารูปแบบและวิธีการหาเสียงของผู้สมัคร รับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในเขตพื้นที่การเลือกตั้ง จังหวัดอุดรธานีตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 5. เพื่อเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของนักการเมืองถิ่น ในระดับเขตพื้นที่จังหวัดอุดรธานีสู่บทบาทการเมืองในระดับ ชาติ จากความมุ่งหมายดังกล่าว สามารถนำมาวิเคราะห์และ อภิปรายผลตามวัตถุประสงค์ ดังนี้ 390

บทสรุปผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ข้อมูลนักการเมืองจังหวัดอุดรธานีที่เคยได้รับการ เลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตั้งแต่ยุคแรกจนถึง ยุคปัจจุบัน มีความคล้ายคลึงกับงานวิจัยของประเทือง ม่วงอ่อน (2556) ศึกษานักการเมืองถิ่นจังหวัด ศรีสะเกษ พบว่า จังหวัดศรีสะเกษมีการเลือกตั้งแบบทั่วไปและเลือกตั้งซ่อม ทั้งหมด 32 ครั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ได้รับการเลือกตั้ง ทั้งหมด 62 คน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรกของจังหวัด ศรีสะเกษ คือ ขุนพิเคราะห์คดี(อินทร์ อินตะนัย) นักการเมืองถิ่น ที่ได้รับการเลือกตั้งมากที่สุด คือ นายปิยะณัฐ วัชราภรณ์ (11 สมัย) รองลงมา นายสง่า วัชราภรณ์ นายไพโรจน์ เครือรัตน์ และนายบญุ ชง วสี มหมาย ตามลำดบั นกั การเมอื งถน่ิ ในชว่ งแรก มักเป็นกลุ่มข้าราชการบำนาญในพื้นที่เป็นเจ้าของโรงเรียน กอ่ นทจ่ี ะเปน็ ยคุ ของกลมุ่ นกั ธรุ กจิ พอ่ คา้ เชอ้ื สายจนี ทนายความ นักการเมืองที่มีบทบาทสำคัญหรือเคยดำรงตำแหน่งทาง การเมือง ได้แก่ นายเทพ โชตินุชิต (รัฐมนตรี, รัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์) นายบุญชง วีสมหมาย(เลขาธิการ นายกรัฐมนตรี,รองประธานสภาผู้แทนราษฎร) นายปิยะณัฐ วัชราภรณ์ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข, รัฐมนตรี ประจำสำนักนายกรัฐมนตรี, รองประธานรัฐสภา) นายจำนงค์ โพธิสาโร (รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์) แต่จังหวัด อุดรธานี มีผู้เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ตั้งแต่ พ.ศ. 2475 ถงึ พ.ศ. 2554 รวมทง้ั หมด จำนวน 69 คน ประกอบดว้ ย เพศชาย จำนวน 65 คน และเพศหญิงจำนวน 4 คน โดยสภา ผู้แทนราษฎร (ส.ส.) คนแรกของจังหวัดอุดรธานี คือ ขุนรักษา ธนากร(กลึง เพาทธทัต) เมื่อ พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 391

นักการเมืองถิ่นจังหวัดอุดรธานี สมาชิกสภาผู้แทนที่ได้รับการเลือกตั้งมากที่สุดคือ นายเฉลิมพล สนิทวงศ์ นายประจวบ ไชยสาส์น และนายรักเกียรติ สุขธนะ เคยดำรงตำแหน่งมาแล้วทั้งหมด 7 สมัย รองลงมาคือ นายบุญคุ้ม จันทรศรีสุริยวงศ์ นายประยูร สุรนิวงศ์ นายเกียรติชัย ชัยเชาวรัตน์ นายประสบ บุษราคัม และนายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล เคยดำรงตำแหน่งมาแล้วทั้งหมด 6 สมัย สมาชิก สภาผู้ทนราษฎรส่วนมากมักจะเป็นข้าราชการ ทนายความ นักธุรกิจ และนักการเมืองท้องถิ่นที่อยู่ในพื้นที่จังหวัดอุดรธานี พรรคการเมือง เครือข่ายและความสัมพันธ์ของกลุ่ม ผลประโยชน์ที่มีส่วนสนับสนุนทางการเมืองแก่นักการเมือง ในจงั หวดั อดุ รธานี สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของ ฉลาด จนั ทรสมบตั ิ (2557) ศึกษานักการเมืองถิ่นจังหวัดมหาสารคาม พบว่า เครือข่ายความสัมพันธ์ของนักการเมืองถิ่นจังหวัดมหาสารคาม ถือเป็นประเด็นที่มีความสำคัญมากในการดำเนินงานทาง การเมือง โดยนักการเมืองจังหวัดมหาสารคามส่วนมากได้ อาศัยฐานอาชีพเดิมของตนเองเป็นหลักในการสร้างความ ใกล้ชิดกับชาวบ้าน รปู แบบและวิธีการหาเสียงของผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิก สภาผู้แทนราษฎรในเขตพื้นที่การเลือกตั้งจังหวัดอุดรธานีตั้งแต่ อดีตจนถึงปัจจุบัน สอดคล้องกับงานวิจัยของ ประเทือง ม่วงอ่อน (2556) ศึกษาเรื่องนักการเมืองถิ่นจังหวัดศรีสะเกษ ในส่วนรูปแบบและวิธีการหาเสียงของผู้สมัครสมาชิกสภา ผู้แทนราษฎรตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันมีส่วนที่เหมือนกันคือ การจัดตั้งหัวคะแนน (แกนจัดตั้ง) การลงพื้นที่ของผู้สมัคร 392

บทสรุปผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ การใช้รถแห่เป็นขบวนคาราวานโชว์ตัวผู้สมัครและทีม ส.ส. ฯ และยังสอดคล้องกับงานวิจัยของไชยวุฒิ มนตรีรักษ์ (2551) ศึกษาเรื่องนักการเมืองถิ่นจังหวัดเลย งานวิจัยของนพพล อัคฮาด (2555) ศึกษาเรื่องการเมืองถิ่นและนักการเมืองถิ่น จังหวัดหนองบัวลำภู การศึกษาของสุเชาวน์ มีหนองหว้า (2549) ศึกษานักการเมืองถิ่นจังหวัดอุบลราชธานี พบว่า วิธีการ หาเสยี งในการเลอื กตง้ั ไดแ้ ก่ รปู แบบการปราศรยั การใชร้ ถยนต์ ติดเครื่องขยายเสียง การให้เงินซื้อเสียง การเข้าร่วมกิจกรรม ทางสังคม และการใช้หัวคะแนนในระดับหมู่บ้าน และบทบาท ความสัมพันธ์ของกลุ่มผลประโยชน์และกลุ่มที่ไม่เป็น ทางการ เช่น ครอบครัว ญาติพี่น้อง เพื่อนฝูง ความสัมพันธ์ ของนักการเมืองถิ่นในระดับเขตพื้นที่จังหวัดอุดรธานีสู่บทบาท การเมืองในระดับชาติ สอดคล้องกับงานวิจัยของประเทือง ม่วงอ่อน (2556) ศึกษานักการเมืองถิ่นจังหวัดศรีสะเกษ พบว่า เครือข่ายความสัมพันธ์ของนักการเมืองในจังหวัดศรีสะเกษ ทั้งในระดับชาติและท้องถิ่น มีลักษณะสำคัญ คือการสืบทอด เป็นตระกูลและกลุ่มทางการเมือง การสืบทอดเป็นตระกูล สานต่อจากบิดามายังบุตร จากพี่มายังน้อง จากสามีมายัง ภรรยา จากสามีมาสู่ภรรยา จากอามาสู่หลาน ในเครือญาติ สาเหตุสำคัญในการสร้างทายาททางการเมือง คือ เพื่อสานต่อ อุดมการณ์ทางการเมือง ขยายฐานการเมืองและธุรกิจของกลุ่ม เครือข่าย เป็นต้น ใช้วิธีการสานต่อด้วยการลงสมัครรับเลือกตั้ง คู่กัน หรือบิดาเลิกเล่นการเมืองแล้วให้บุตรมาลงรับสมัครรับ เลือกตั้งแทน 393

นักการเมืองถ่ินจังหวัดอุดรธานี 6.3 ข้อเสนอแนะ 1. สังคมภายนอกควรปรับทัศนคติในการมองปัญหา การซื้อสิทธิ์ขายเสียงใหม่ จากที่เคยมองปัญหาแบบรวบรัด ตัดตอนว่าประชาชนโง่ ขาดการศึกษา ขาดการพัฒนา ควรกลับ มามองที่ต้นเหตุของปัญหาอย่างแท้จริงว่าประชาชนในพื้นที่มี ปัญหาความยากแค้นทางเศรษฐกิจ และรัฐต้องกระจายรายได้ อย่างเท่าเทียมเป็นธรรมและปราศจากอคติเหมือนเช่น ในอดีต จัดให้มีบริการทางด้านการศึกษา การรักษาพยาบาล และสวัสดิการต่างๆ อย่างทั่วถึงและเป็นธรรมซึ่งจะช่วยลด ปัญหาทางการเมืองได้อย่างยั่งยืน 2. เพื่อลดปัญหาการซื้อสิทธิ์ขายเสียงควรปรับขนาด ของเขตเลือกตั้งให้มีขนาดเล็กลง เพราะจะทำให้ประชาชน สามารถเลือกผู้สมัครที่ประชาชนรู้จักมักคุ้น มีข้อมูลเกี่ยวกับ ตัวผู้สมัคร ส.ส.แต่ละคนได้เป็นอย่างดี ส่งผลให้การใช้เงิน ซื้อเสียงอาจจะได้ผลน้อยลงเพราะประชาชนมีข้อมูลของ ผู้สมัครแต่ละคนเป็นอย่างดีแล้ว 3. ควรศึกษาสาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดการซื้อ สิทธิ์ขายเสียง ในการเลือกตั้ง และแนวทางในการลดปัญหา การซื้อสิทธิ์ขายเสียง 4. การที่รัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติพรรคการเมือง ต้องส่งเสริมให้พรรคการเมืองมีความเข้มแข็ง การยุบ เลิก พรรคการเมืองอยู่เป็นประจำส่งผลให้พรรคการเมืองขาดความ ต่อเนื่องในการพัฒนาตามระบอบประชาธิปไตย การที่พรรค 394

บทสรุปผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ การเมืองเข้มแข็งจะช่วยให้การซื้อสิทธิ์ขายเสียงลดน้อยลง เพราะประชาชนมีแนวโน้มที่จะพิจารณาที่นโยบายของ พรรคการเมือง พิจารณาปัจจัยของพรรคการเมืองมากกว่า ปัจจัยอื่น 395

บรรณานุกรม ข้อมูลเอกสาร กรมการปกครอง. (2513). รายงานการวิเคราะห์ผลการเลือกตั้งสมาชิก สภาผู้แทนราษฎร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ส่วนท้องถิ่น. กรมการปกครอง. (ม.ป.ป.) เอกสารของกองการเลือกตั้ง. กระทรวง มหาดไทย. กระมล ทองธรรมชาติ, สมบูรณ์ สุขสำราญ, และปรีชา หงส์ไกรเลิศ. (2531). การเลือกต้ัง พรรคการเมือง และเสถียรภาพของ รฐั บาล. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มาสเตอร์เพลส. คะนอง พิลุน. (2557). นักการเมืองถิ่นจังหวัดจันทบุรี. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า. โคทม อารียา. (2544). สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 หมวดองค์กรทางการเมือง เร่ืองที่ 5 ระบบ การเลือกต้งั . กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า. จรี เปรมศรีรัตน์. (2550). กำเนิดพรรคประชาธิปัตย์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ใจกาย. จุมพล หนิมพานิช. (2545). กลุ่มผลประโยชน์กับการเมืองไทย. พิมพ์ ครง้ั ท่ี 1 นนทบรุ ี : สำนกั พมิ พม์ หาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช.

บรรณานุกรม ฉลาด จันทรสมบัติ. (2557). นักการเมืองถิ่นจังหวัดมหาสารคาม. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า. ชนินทร์ ติชาวัน. (2550). บทความ: ข้อสังเกตเก่ียวกับอำนาจอธิปไตย และการเลอื กตั้ง. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนญู . ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. (2555). กาลานุกรมสยามประเทศไทย 2485- 2554. กรุงเทพฯ : โพสต์บุ๊กส์ ไชยวุฒิ มนตรีรักษ์. (2551). นักการเมืองถิ่นจังหวัดเลย. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า. ณัฐพงศ์ บุญเหลือ. (2556). นักการเมืองถิ่นจังหวัดสุพรรณบุรี. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า. ณฐั วฒุ ิ สุทธิสงคราม. (2524). นายควง อภยั วงศก์ บั พรรคประชาธปิ ตั ย.์ กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เรืองศิลป์. ถวิลวดี บุรีกุล. (2554). การเมืองเร่ืองเลือกตั้งและปัจจัยสำคัญต่อการ ตัดสินใจเลือกพรรคการเมือง และผู้สมัคร: วิเคราะห์จาก การเลือกตั้ง 3 ก.ค. 2554. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า. ธโสธร ตูทองคำ. (2545). “กระบวนการการเลือกต้ัง”. ในเอกสาร การสอนชุดวิชาสถาบันและกระบวนการทางการเมืองไทย. (หน้า 538 – 539). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นพพล อัคฮาด. (2555). การศึกษาการเมืองถิ่นและนักการเมืองถ่ิน จังหวัดหนองบัวลำภู กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า. ข้อมูลเอกสาร นรนิติ เศรษฐบุตร และโกสินทร์ วงศ์สุรวัฒน์. (2517). เมืองไทยในระบบ รัฐสภา. กรุงเทพฯ: แพร่พิทยา. . (2546). เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทยสมัย พ.ศ. 2520-ปัจจุบัน. ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง. สถาบันพระปกเกล้า. นิรันดร์ กุลฑานันท์. (2549). นักการเมืองถิ่นจังหวัดบุรีรัมย์. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า. 397

นักการเมืองถ่ินจังหวัดอุดรธานี นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2539). สองหน้าสังคมไทย: บทวิพากษ์โครงสร้าง อารยธรรมไทย. กรุงเทพฯ: ผู้จัดการ. บุญทัน ดอกไธสง. (2520). การเปลี่ยนแปลงทางการบริหารและ การเมอื งไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. บุญศรี มีวงษ์อุโฆษ. (2542). การเลือกตั้งและพรรคการเมือง. กรุงเทพฯ: สถาบันนโยบายการศึกษา. ประกายศรี ศรีรุ่งเรือง. (2550). นักการเมืองท้องถ่ินเชียงราย. พิมพ์ ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า. ประณต นันทิยะกุล. (2520). การเมืองและสังคม. คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยจุฬลงกรณ์. ประเทือง ม่วงอ่อน. (2556). นักการเมืองถิ่นจังหวัดศรีสะเกษ. พิมพ์ ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า. พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว และธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์. 2539. รายงานการวิจัยเรื่อง คณะกรรมการการเลือกต้ัง. นนทบุรี: มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช. พิชญ์ สมพอง. (2551). นักการเมืองถิ่นจังหวัดยโสธร. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า. ไพฑูรย์ มีกุศล. (2552). นักการเมืองถ่ินจังหวัดสุรินทร์. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า. ไพฑูรย์ บุญวัฒน์. (2538). ระบบการเลือกต้ังท่ีลดการซื้อเสียงและ ให้โอกาสคนดีสมัครรับเลือกตั้งเพ่ือทดแทนระบบการ เลือกตั้งที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย มานิตย์ จุมปา. (2550). สารานุกรมรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย (พ.ศ. 2550) หมวดองค์กรทางการเมือง เรื่อง 7. การยุบ สภา. กรุงเทพฯ: องค์การค้าของคุรุสภา. ใหม่ รักหมู่ และธวัชชัย ไพจิตร. (2522). วิเคราะห์การเลือกต้ังในไทย. กรุงเทพฯ: นพรัตน์. 398

บรรณานุกรม ลิขิต ธีรเวคิน. (2542). ระบบอุปถัมภ์และการเมืองไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . (2543). การเมืองการปกครองของไทย. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . (2546). ประชาธิปไตยและการปฏิรูปการเมืองไทย. กรุงเทพฯ: เจ้าพระยาระบบการพิมพ์. . (2547). วิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทย. พิมพ์ ครั้งที่ 9, แก้ไขและเพิ่มเติม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์. . (2548). การเมืองการปกครองของไทย. พิมพ์ครั้งที่ 7, แก้ไขและเพิ่มเติม. กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์. . (2549). บทความ: คุณสมบัติสำคัญของนักการเมืองที่ดี. ราชบัณฑิต. วัชรา ไชยสาร. (2541). ระบบการเลือกตั้งกับการเมืองไทยยุคใหม่. กรุงเทพฯ: นิติธรรม วัชรา ไชยสาร. (2544). สิทธิการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของราชการ. กรุงเทพ: นิติธรรม. วิษณุ เครืองาม. (2530). กฎหมายรัฐธรรมนูญ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แสวง. สยาม ดำปรีดา. (2547) สังคมกับการปกครอง. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทยรายวัน. สนธิ เตชานันท์. (2543). พ้ืนที่รัฐศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ: ส านัก พิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. (2548). การเมืองการปกครองไทย : ยุค เผด็จการ-ยุคปฏิรูป. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : คณะรัฐ- ประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ 399

นักการเมืองถิ่นจังหวัดอุดรธานี สันสิทธิ์ ชวลิตธำรง. (2546). รัฐศาสตร์ภาพกว้าง. กรุงเทพฯ: วิชาญ การพิมพ์. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. (2548). ข้อมูลสถิติและผลการ เลอื กตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร พ.ศ. 2548. กรุงเทพฯ. สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2518) หนังสือประวัติครู 16 มกราคม 2518. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2549) ผลการเลือกต้ังสมาชิก สภาผู้แทนราษฎร ยุคปฏิรูปการเมืองใหม่ 6 มกราคม 2544. กรุงเทพ: หอสมุดรัฐสภา สิริรัตน์ เรืองวงษ์วาร.(2539). ประวัติศาสตร์การเมืองไทย ตั้งแต่ เปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2575 จนถึงปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามค าแหง. สุขุม นวลสุกุล และคณะ. (2523). การเมืองการปกครองไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง. สุจิต บุญบงการ และพรศักดิ์ ผ่องแผ้ว. (2525). การลงคะแนนเสียงของ คนไทย: ศกึ ษาจากการเลอื กตง้ั สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร 22 เมษายน 2522, รายงายการวิจัยเสนอต่อจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. สุเชาวน์ มีหนองหว้า และกิติรัตน์ สีหบัณฑ์. (2549). นักการเมืองถ่ิน จงั หวดั อบุ ลราชธานี กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า. อัษฎางค์ ปาณิกบุตร. (2544). การเลือกต้ัง: การเมืองการปกครองไทย ตามรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ วี.เจ.พริ้นติ้ง อัมมาร สยามวาลา และคณะ. (2535). การเลือกตั้งสมาชิกสภา ผู้แทนราษฎร 22 มีนาคม. กรุงเทพฯ: เยลโล่การพิมพ์ 1988 จำกัด. 400

บรรณานุกรม อมรา พงศาพิชญ์ และปรีชา คุวินทร์พันธ์. (2539) ระบบอุปถัมภ์. พิมพ์ ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อำนาจ ศรีพระจันทร์. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมือง ของผู้มีสิทธิเลือกตั้งในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : กรณี ศึกษาการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุดรธานี ศึกษาเฉพาะอำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี. ขอ้ มลู สือ่ ออนไลน์ กิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์. ชี้ระบบพรรคการเมือง ทำสภาไทยอ่อนแอ. สืบค้นเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม จาก http://www.matichon.co.th เกรียงไกร เจริญธนาวัฒน์. 2547. แนวความคิดอำนาจอธิปไตยในประเทศ ไทย. สืบค้นเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2558 จาก http:// www.pub-law.net ข้อมูลพื้นฐานจังหวัดอุดรธานี สืบค้นเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2558 จาก http://udn.onab.go.th สถาบันพระปกเกล้า. (2558). เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2520-ปัจจุบัน. สืบค้นเมื่อ วันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2558. สืบค้นจาก http://wiki.kpi.ac.th/index.php นครินทร์ เมฆไตรรัตน์. (2558). การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งที่ 21 วันที่ 17 พฤศจิกายน 2539. สืบค้นเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2558.จาก http://wiki.kpi.ac.th/index.php . (2558). การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 25 วันที่ 23 ธันวาคม 2550. สืบค้นเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2558. จาก http://wiki.kpi.ac.th/index.php บุญเกียรติ การะเวกพันธุ์. (2558). เปรม ติณสูลานนท์.สืบค้นเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 จาก http://wiki.kpi.ac.th/index.php ตำนานชีวิตสี่เสืออีสาน,อุดมการณ์ฝากไว้ในแผ่นดิน 2. สืบค้นเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2558 จาก http://www.oknation.net 401

นักการเมืองถิ่นจังหวัดอุดรธานี ถวิลวดี บุรีกุล. การเมืองเรื่องเลือกตั้งและปัจจัยสำคัญต่อการตัดสินใจ เลือกพรรคการเมือง และผู้สมัคร : วิเคราะห์จากการเลือกตั้ง 3 กรกฎาคม 2554. สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2558 http://kpi.ac.th/media/pdf/M7_186.pdf ไทยรัฐออนไลน์. รักเกียรติ สุขธนะ. สืบค้นเมื่อ วันที่ 4 กรกฎาคม.2558 จาก http://www.thairath.co.th/ ไทยรัฐออนไลน์. วิเชียร ขาวขำ. สืบค้นเมื่อ วันที่ 4 กรกฎาคม 2558 จาก http://www.thairath.co.th ไทยรัฐออนไลน์. (2557). ทองดี มนิสสาร. สืบค้นเมื่อ วันที่ 4 กรกฎาคม 2558 จาก https://www.thairath.co.th/content/447669 นรนิติ เศรษฐบุตร.(2558). 6 มกราคม พ.ศ. 2544. สืบค้นเมื่อ วันที่ 4 กรกฎาคม 2558 จาก http://wiki.kpi.ac.th/index.php . (2558). 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554.สืบค้นเมื่อ วันที่ 4 กรกฎาคม 2558 http://wiki.kpi.ac.th/index.php นพพล อัคฮาด. การศึกษาการเมืองถิ่นและนักการเมืองถิ่นจังหวัด หนองบัวลำภู. สืบค้นเมื่อ วันที่ 21 มิถุนายน 2558 จาก http:// www.psl.ksu.ac.th/ แนวคิดเกี่ยวกับการเลือกตั้ง. สืบค้น เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2558. จาก http://www.gpf.or.th/ ประวัติเมืองอุดรธานี. กว่าจะเป็นอุดรในปัจจุบัน. สืบค้น เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2558. จาก http://www.udonthani.go.th ประวัติรองอำมาตย์เอก หลวงวิวิธสุรการ. (ถวิล เจียรมานพ) สืบค้นเมื่อ 5 กรกฎาคม 2558. จาก มุกดาหารไกด์.คอม ประวัติโรงเรียนอนุบาลโนนสะอาด. สืบค้น เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2558 จาก http://data.bopp-obec.info 402

บรรณานุกรม ประวัติศาสตร์ของพรรคแนวทางสังคมนิยมในประเทศไทย. สืบค้น เมื่อ วันที่ 5 กรกฎาคม 2558 จาก http://www.sdp.in.th/ ย้อนรอยรัฐประหารในประวัติศาสตร์ไทย. สืบค้นเมื่อ วันที่ 14 สิงหาคม 2558. จาก http://teen.mthai.com. รัฐนาวา “บรรหาร” ล่ม, ข่าวดัง 3 ทศวรรษหนงั สอื พิมพม์ ตชิ น, สำนักพิมพ์ มติชน, กรุงเทพมหานคร. วรรณกรรม วัฒนธรรมพื้นบ้าน วิถีชีวิตคนอีสาน, ประจำเดือนสิงหาคม 2553, หน้า 8 สืบค้นเมื่อ วันที่ 4 สิงหาคม 2558 http:// www.guideubon.com/ubccnews/ubccnews1008-8.pdf วิกิพีเดีย สารานุกรม. ประวัติพรรคประชาธิปัตย์. 13 สิงหาคม 2558. จาก th.wikipedia.org/wiki วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี สืบค้นข้อมูล เมื่อ 24 พฤษภาคม - 24 สิงหาคม 2558 th.wikipedia.org/wiki. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2558). แสวง พิบูลย์ศราวุธ. วันที่ 4 สิงหาคม 2558. จาก https://th.wikipedia.org/wiki ศูนย์ติดตามประชาธิปไตยไทย. (2558). เชิดชัย วิเชียรวรรณ. สืบค้นเมื่อ วันที่ 4 กรกฎาคม 2558 จาก http://www.tdw.polsci.chula. ac.th -ส.ป.ก.4-01 พิฆาต ปชป. “ชวน” พัง “บรรหาร” ผงาด ข่าวดัง 3 ทศวรรษ หนังสือพิมพ์มติชน สำนักพิมพ์มติชน, กรุงเทพมหานคร. พิษณุ สุ่มประดิษฐ์. (2558). ชวลิต ยงใจยุทธ (พลเอก). สืบค้นเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2558. จาก http://wiki.kpi.ac.th/index.php สุภัชชา พันเลิศพาณิชย์. (2557). แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับระบบอุปถัมภ์. สืบค้นเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2558. จาก https://www. gotoknow.org 403

นักการเมืองถ่ินจังหวัดอุดรธานี สุรสิทธิ์ วิทยารัฐ กลุ่มมุ้งนักการเมือง : อำนาจที่แยกไม่ออกจากทุนและ ชนชั้นนำ ค.ศ.2011 สิบค้นเมื่อ วันที่ 17 มิถุนายน 2558 จาก http://www.sunandhanews.com/ 404

ภาคผนวก ภาคผนวก ก รายช่ือผู้ให้สัมภาษณ์ 1. พ.ต.ท.สุรทิน พิมานเมฆินทร์ สัมภาษณ์เมื่อ 28 กรกฏาคม 2558 2. นายจักรพรรดิ ไชยสาส์น สัมภาษณ์เมื่อ 28 กรกฏาคม 2558 3. นายต่อพงษ์ ไชยสาส์น สัมภาษณ์เมื่อ 30 กรกฏาคม 2558 4. นายขจิตร ชัยนิคม สัมภาษณ์เมื่อ 27 กรกฏาคม 2558

นักการเมืองถิ่นจังหวัดอุดรธานี 5. นายอนันต์ ศรีพันธุ์ สัมภาษณ์เมื่อ 27 กรกฏาคม 2558 6. นายกิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์ สัมภาษณ์เมื่อ 28 กรกฏาคม 2558 7. นางเทียบจุฑา ขาวขำ สัมภาษณ์เมื่อ 2 สิงหาคม 2559 8. นายเกรียงศักดิ์ ฝ้ายสีงาม สัมภาษณ์เมื่อ 2 สิงหาคม 2559 406

ภาคผนวก ภาคผนวก ข ภาพสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี พันเอกสมคดิ ศรีสังคม - พรรคเสรีประชาธิปไตย (10 ก.พ. 2512) - พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย (26 ม.ค. 2518) - พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย (4 เม.ย. 2519) - พรรคแรงงานประชาธิปไตย (27 ก.ค. 2529) นายวฒุ ชิ ยั แสนประสทิ ธ ์ิ - พรรคกิจสังคม (4 เม.ย. 2519) - พรรคกิจสังคม (22 เม.ย. 2522) 4 07

นักการเมืองถ่ินจังหวัดอุดรธานี นายปณธิ าน ธาระวาณชิ - พรรคประชาธิปัตย์ (4 เม ย. 2519) นายสมศกั ดิ์ เชยกำแหง - พรรคเกษตรสังคม (4 เม.ย. 2519) นายเฉลิมพล สนิทวงศ์ชยั - พรรคกิจสังคม (4 เม.ย. 2519) - พรรคประชาราษฎร์ (22 เม.ย. 2522) - พรรครวมไทย (27 ก.ค. 2529) - พรรคความหวังใหม่ (22 มี.ค. 2535) - พรรคความหวังใหม่ (19 ก.ย. 2535) - พรรคความหวังใหม่ (2 ก.ค. 2538) - พรรคความหวังใหม่ (17 พ.ย. 2539) 408

ภาคผนวก นายประยรู สุรนวิ งศ ์ - พรรคพลังใหม่ (26 ม.ค. 2518) - พรรคพลังใหม่ (22 เม.ย. 2522) - พรรคชาติประชาธิปไตย (18 เม.ย. 2526) - พรรคปวงชนชาวไทย (24 ก.ค. 2531) นายวเิ ชยี ร เวชสวรรค ์ - พรรคชาติไทย (22 เม.ย. 2522) - พรรคประชาธิปัตย์ (18 เม.ย. 2526) นายกิตตศิ กั ดิ์ หัตถสงเคราะห ์ - พรรคชาติไทย (22 เม.ย. 2522) - พรรคชาติไทย (18 เม.ย. 2526) - พรรคชาติไทย (24 ก.ค. 2531) - พรรคชาติไทย (22 มี.ค. 2535) - พรรคชาติไทย (13 ก.ย. 2535) 409

นักการเมืองถ่ินจังหวัดอุดรธานี นางเตอื นใจ นุอปุ ละ - พรรคประชาธิปัตย์ (18 เม.ย. 2526) - พรรคประชาธิปัตย์ (24 ก.ค. 2531) - พรรคประชาธิปัตย์ (13 ก.ย. 2535) นายประจวบ ไชยสาสน์ - พรรคชาติไทย (18 เม.ย. 2526) - พรรคประชาธิปัตย์ (27 ก.ค. 2529) - พรรคประชาธิปัตย์ (24 ก.ค. 2531) - พรรคประชาธิปัตย์ (22 มี.ค. 2535) - พรรคชาติพัฒนา (13 ก.ย. 2535) - พรรคชาติพัฒนา (2 ก.ค. 2538) - พรรคชาติพัฒนา (17 พ.ย. 2539) นายรกั เกียรติ สขุ ธนะ - พรรคกิจสังคม (18 เม.ย. 2526) - พรรคกิจสังคม (27 ก.ค. 2529) - พรรคประชาธิปัตย์ (24 ก.ค. 2531) - พรรคกิจสังคม (22 มี.ค. 2535) - พรรคกิจสังคม (13 ก.ย. 2535) - พรรคกิจสังคม (2 ก.ค. 2538) - พรรคกิจสังคม (17 พ.ย. 2539) 410

ภาคผนวก นายเกียรตชิ ัย ชัยเชาวรัตน์ - พรรคกิจสังคม (18 เม.ย. 2526) - พรรครวมไทย (27 ก.ค. 2529) - พรรคความหวังใหม่ (22 มี.ค. 2535) - พรรคความหวังใหม่ (13 ก.ย. 2535) - พรรคความหวังใหม่ (2 ก.ค. 2538) - พรรคความหวังใหม่ (17 พ.ย. 2539) นายประสพ บษุ ราคมั - พรรคกิจสังคม (22 เม.ย. 2522) - พรรคกิจสังคม (18 เม.ย. 2526) - พรรคกิจสังคม (27 ก.ค. 2529) - พรรคกิจสังคม (24 ก.ค. 2531) - พรรคชาติพัฒนา (13 ก.ย. 2535) - พรรคชาติพัฒนา (2 ก.ค. 2538 ) นายพูลศักด์ิ อยปู่ ระเสริฐ - พรรคประชาธิปัตย์ (24 ก.ค. 2531) - พรรคเสรีธรรม (2 ก.ค. 2538) 411

นักการเมืองถิ่นจังหวัดอุดรธานี นายวิเชียร ขาวขำ - พรรคปวงชนชาวไทย (24 ก.ค. 2531) - พรรคชาติไทย (22 มี.ค. 2535) - พรรคชาติพัฒนา (13 ก.ย. 2535) - พรรคกิจสังคม (2 ก.ค. 2538) - พรรคพลังประชาชน (23 ธ.ค. 2550) นายสมศักด์ิ วรคามนิ - พรรคความหวังใหม่ (22 มี.ค. 2535) นายไพรัช นชุ ิต - พรรคกิจสังคม (13 ก.ย. 2535) 412

ภาคผนวก นายไชยยศ จริ เมธากร --- พพพรรรรรรคคคปปปรรระะะชชชาาาธธธิิิปปปัััตตตยยย์์์ (24 ก.ค. 2531) (22 มี.ค. 2535) (13 ก.ย. 2535) - พรรคประชาธิปัตย์ (6 ม.ค. 2544) - พรรคเพื่อแผ่นดิน (23 ธ.ค. 2550) นายไชยา พรหมา - พรรคประชาธิปัตย์ (22 มี.ค. 2535) - พรรคชาติพัฒนา (13 ก.ย. 2535) พนั ตำรวจโทสุรทิน พิมานเมฆินทร ์ - พรรคความหวังใหม่ (17 พ.ย. 2539) - พรรคพลังประชาชน (23 ธ.ค. 2550) - พรรคเพื่อไทย (3 ก.ค. 2554) 413

นักการเมืองถ่ินจังหวัดอุดรธานี นายโชคสมาน สีลาวงษ ์ - พรรคกิจสังคม (17 พ.ย. 2539) นายอรรถพล สนทิ วงศช์ ัย - พรรคไทยรักไทย (6 ม.ค. 2544) - พรรคไทยรักไทย (6 ก.พ. 2548) นายศราวุธ เพชรพนมพร - พรรคชาติพัฒนา (6 ม.ค. 2544) - พรรคไทยรักไทย (6 ก.พ. 2548) 414

ภาคผนวก นายวิชัย ชัยจิตวณชิ กุล - พรรคความหวังใหม่ (22 มี.ค. 2535) - พรรคความหวังใหม่ (13 ก.ย. 2535) - พรรคความหวังใหม่ (2 ก.ค. 2538) - พรรคความหวังใหม่ (17 พ.ย. 2539) - พรรคชาติพัฒนา ( 6 ม.ค. 2544) - พรรคไทยรักไทย (6 ก.พ. 2548) นายธีระยุทธ วานชิ ชงั - พรรคไทยรักไทย (6 ม.ค. 2544) - พรรคไทยรักไทย (6 ก.พ. 2548) ดร.รสพมิ ล จริ เมธากร - พรรคไทยรักไทย (6 ก.พ. 2548) 415

นักการเมืองถิ่นจังหวัดอุดรธานี นายทองดี มนสิ สาร - พรรคไทยรักไทย (6 ม.ค. 2544) - พรรคไทยรักไทย (6 ก.พ. 2548) - พรรคพลังประชาชน (23 ธ.ค. 2550) - พรรคเพื่อไทย (3 ก.ค. 2554) นายธรี ะชัย แสนแก้ว - พรรคไทยรักไทย (6 ม.ค. 2544) - พรรคไทยรักไทย (6 ก.พ. 2548) - พรรคพลังประชาชน (23 ธ.ค. 2550) นายต่อพงษ์ ไชยสาสน์ - พรรคเสรีธรรม (6 ม.ค.2544) - พรรคไทยรักไทย (6 ก.พ. 2548) - พรรคพลังประชาชน (23 ธ.ค. 2550) 416

ภาคผนวก นายสุรชาติ ชำนาญศลิ ป์ - พรรคกิจสังคม (18 เม.ย. 2526) - พรรคประชาธิปัตย์ (24 ก.ค. 2531) - พรรคเสรีธรรม (2 ก.ค. 2538) - พรรคเสรีธรรม (17 พ.ย. 2539) - พรรคเสรีธรรม (6 ม.ค. 2544) - พรรคไทยรักไทย (6 ก.พ. 2548) นายเชิดชยั วิเชยี รวรรณ - พรรคภมู ิใจไทย (23 ธ.ค. 2550) นายอนันต์ ศรพี นั ธ์ ุ - พรรคพลังประชาชน (23 ธ.ค. 2550) - พรรคเพื่อไทย (3 ก.ค. 2554) 417

นักการเมืองถ่ินจังหวัดอุดรธานี นายเกียรตอิ์ ุดม เมนะสวัสด์ ิ - พรรคเพื่อไทย (3 ก.ค. 2554) นายจักรพรรดิ ไชยสาสน์ - พรรคเพื่อไทย (3 ก.ค. 2554) นายเกรียงศกั ด์ิ ฝา้ ยสงี าม - พรรคพลังประชาชน (23 ธ.ค. 2550) - พรรคเพื่อไทย (3 ก.ค. 2554) 418

ภาคผนวก นายขจิตร ชัยนิคม - พรรคเพื่อไทย (3 ก.ค. 2554) นางเทียบจุฑา ขาวขำ - พรรคเพื่อไทย 3 ก.ค. 2554 419

นักการเมืองถิ่นจังหวัดอุดรธานี ภาคผนวก ค สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 1 – ชุดที่ 24 จังหวัดอุดรธานี สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรชุดที่ 1 จงั หวดั อดุ รธาน ี เขต รายชอื่ วันทเี่ ลอื กตง้ั 1 ขุนรักษาธนากร (กลึง เพาทธทัต) 15 พฤศจิกายน 2476 สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร ชดุ ที่ 2 จงั หวัดอุดรธาน ี เขต รายชอื่ วันทเ่ี ลอื กตั้ง 1 นายอ้วน นาครทรรพ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2480 สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 3 จังหวดั อดุ รธาน ี เขต รายช่อื วนั ทเ่ี ลือกตง้ั 1 ร้อยโทขุนสร ไกรพิศิษฐ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481 (ประจวบ มหาขันธ์) สมาชกิ สภาผู้แทนชดุ ที่ 4 จังหวดั อดุ รธานี (พ.ศ. 2489) 2 คน เขตละ 1 คน เขต รายชื่อ วนั ท่เี ลอื กตง้ั 1 นายอ้วน นาครทรรพ 6 มกราคม พ.ศ. 2489 1 นายบุญคุ้ม จันทรศรีสุริยวงศ์ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2489 2 นายสวน พรหมประกาย (เลือกตั้งเพิ่มเติม) 6 มกราคม พ.ศ. 2489 420

ภาคผนวก สมาชกิ สภาผแู้ ทนชดุ ท่ี 5 จงั หวดั อดุ รธานี (พ.ศ. 2491) มี 1 เขต เขตละ 2 คน เขต รายชอื่ วันท่เี ลอื กตง้ั 1 นายบุญคุ้ม จันทรศรีสุริยวงศ์ 29 มกราคม พ.ศ. 2491 1 นายสวน พรมหประกาย 29 มกราคม พ.ศ. 2491 สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร ชุดที่ 6 จังหวัดอดุ รธาน ี เขต รายชือ่ วันท่ีเลอื กตั้ง 1 นายทิม จันสร 5 มิถุนายน พ.ศ. 2492 สมาชกิ สภาผแู้ ทนชดุ ที่ 7 จงั หวดั อดุ รธานี (พ.ศ. 2495) มี 1 เขต เขตละ 3 คน เขต รายชอื่ วันที่เลอื กตง้ั 1 หลวงวิวิธสุรการ กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 1 นายบุญคุ้ม จันทรศรีสุริยวงศ์ กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 1 นายสวน พรมหประกาย กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 421

นักการเมืองถ่ินจังหวัดอุดรธานี 422 สมาชกิ สภาผแู้ ทนชดุ ท่ี 8 จงั หวดั อดุ รธานี (พ.ศ. 2500) มี 1 เขต เขตละ 4 คน เขต รายช่อื พรรคการเมอื ง วนั ทเี่ ลือกต้งั 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 1 นายญวง เอี่ยมศิลา พรรคเสรีประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 1 นายเกษม ปทุมเวียง พรรคเสรีประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 1 นายบุญคุ้ม จันทรศรีสุริยวงศ์ พรรคเสรีประชาธิปไตย วันที่เลือกตงั้ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2500 1 นายพิมพ์ มหาพินิจ พรรคประชาธิปัตย์ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2500 15 ธันวาคม พ.ศ. 2500 15 ธันวาคม พ.ศ. 2500 สมาชกิ สภาผ้แู ทนชุดท่ี 9 จงั หวดั อดุ รธานี (พ.ศ. 2500) มี 1 เขต เขตละ 4 คน เขต รายช่อื พรรคการเมือง 1 นายญวง เอี่ยมศิลา พรรคเสรีประชาธิปไตย 1 นายศรี สงคราม พรรคประชาธิปัตย์ 1 นายบุญคุ้ม จันทรศรีสุริยวงศ์ พรรคเสรีประชาธิปไตย 1 นายวรพจน์ วงศ์สง่า พรรคสหภมู ิ

สมาชิกสภาผแู้ ทนชดุ ท่ี 10 จังหวดั อดุ รธานี (พ.ศ. 2512) มี 1 เขต เขตละ 6 คน เขต รายชอื่ พรรคการเมอื ง วนั ที่เลอื กตั้ง 1 นายแสวง พิบูลย์ศราวุธ ไม่สังกัดพรรค 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 1 นายญวง เอี่ยมศิลา พรรคสหประชาไทย 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 1 นายสกรรจ์ สามเสน ไม่สังกัดพรรคการ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 1 นายสะไกร สามเสน พรรคสหประชาไทย 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 1 นายวิวัฒน์ อินทรอุดม พรรคสหประชาไทย 1 พันเอกสมคิด ศรีสังคม พรรคเสรีประชาธิปไตย ภาคผนวก 423

นักการเมืองถ่ินจังหวัดอุดรธานี 424 สมาชิกสภาผู้แทนชุดท่ี 11 จังหวัดอุดรธานี (พ.ศ. 2518) มีทั้งหมด 8 คน (ประกอบด้วย 3 เขตพื้นที่ คือ เขต 1 และ เขต 2 เขตละ 3 คน และ เขต 3 เขตละ 2 คน) เขต รายช่ือ พรรคการเมือง วนั ทีเ่ ลอื กต้งั 1 นายประยรู สุรนิวงศ์ พรรคพลังใหม่ 26 มกราคม พ.ศ. 2518 1 นายบุญคุ้ม จันทรศรีสุริยวงศ์ พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2517) 26 มกราคม พ.ศ. 2518 1 นายสมเจตน์ ฤกษะสุต พรรคธรรมสังคม 26 มกราคม พ.ศ. 2518 2 พันเอกสมคิด ศรีสังคม พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย 26 มกราคม พ.ศ. 2518 2 นายโสภณ วีรชัย พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย 26 มกราคม พ.ศ. 2518 2 นายสุรยุทธ กิติราช พรรคพลังใหม่ 26 มกราคม พ.ศ. 2518 3 นายสม วาสนา พรรคสยามใหม่ 26 มกราคม พ.ศ. 2518 3 นายเติม สืบพันธุ์ พรรคสยามใหม่ 26 มกราคม พ.ศ. 2518

สมาชิกสภาผ้แู ทนชุดท่ี 12 จงั หวัดอุดรธานี (พ.ศ. 2519) มีทั้งหมด 9 คน ( มี 3 เขต เขตละ 3 คน) เขต รายชือ่ พรรคการเมือง วันท่ีเลอื กต้ัง 1 พันเอกสมคิด ศรีสังคม พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย 4 เมษายน พ.ศ. 2519 4 เมษายน พ.ศ. 2519 1 นายญวง เอี่ยมศิลา พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2517) 4 เมษายน พ.ศ. 2519 4 เมษายน พ.ศ. 2519 1 นายวุฒิชัย แสนประสิทธิ์ พรรคกิจสังคม 4 เมษายน พ.ศ. 2519 4 เมษายน พ.ศ. 2519 2 นายปณิธาน ธาระวาณิช พรรคประชาธิปัตย์ 4 เมษายน พ.ศ. 2519 4 เมษายน พ.ศ. 2519 2 นายสมศักดิ์ เชยกำแหง พรรคเกษตรสังคม 4 เมษายน พ.ศ. 2519 2 นายเฉลิมพล สนิทวงศ์ชัย พรรคกิจสังคม 3 นายแสวง พิบลู สราวุธ พรรคเกษตรสังคม 3 นายสะไกร สามเสน พรรคชาติไทย 3 นายดิเรก หลักคำ พรรคกิจสังคม ภาคผนวก 425

นักการเมืองถ่ินจังหวัดอุดรธานี 426 สมาชกิ สภาผแู้ ทนชุดท่ี 13 จงั หวดั อดุ รธานี (พ.ศ. 2522) มีทั้งหมด 9 คน ( มี 3 เขต เขตละ 3 คน) เขต รายชือ่ พรรคการเมือง วันทเี่ ลอื กต้ัง 22 เมษายน พ.ศ. 2522 1 นายเฉลิมพล สนิทวงศ์ชัย พรรคประชาราษฎร์ 22 เมษายน พ.ศ. 2522 22 เมษายน พ.ศ. 2522 1 นายประยรู สุรนิวงศ์ พรรคพลังใหม่ 22 เมษายน พ.ศ. 2522 22 เมษายน พ.ศ. 2522 1 นายวิเชียร เวชสวรรค์ พรรคชาติไทย 22 เมษายน พ.ศ. 2522 22 เมษายน พ.ศ. 2522 2 นายดำรง ดาราธรรม พรรคกิจสังคม 22 เมษายน พ.ศ. 2522 2 นายประสพ บุษราคัม พรรคกิจสังคม 22 เมษายน พ.ศ. 2522 2 นายวุฒิชัย แสนประสิทธิ์ พรรคกิจสังคม 3 นายกิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์ พรรคชาติไทย 3 นายสุพรรณ สุปัญญา พรรคประชาราษฎร์ 3 นายดิเรก หลักคำ พรรคกิจสังคม

สมาชิกสภาผู้แทนชดุ ท่ี 14 จงั หวัดอุดรธานี (พ.ศ. 2526) มีทั้งหมด 10 คน 4 เขตการเลือกตั้ง (เขต 1 และ เขต 2 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 3 และ เขต 4 เขตละ 2 คน) เขต รายช่อื พรรคการเมือง วนั ท่ีเลือกตง้ั 1 นางเตือนใจ นุอุปละ พรรคประชาธิปัตย์ 18 เมษายน พ.ศ. 2526 1 นายประยูร สุรนิวงศ์ พรรคชาติประชาธิปไตย 18 เมษายน พ.ศ. 2526 1 นายวิเชียร เวชสวรรค์ พรรคประชาธิปัตย์ 18 เมษายน พ.ศ. 2526 2 นายสุรชาติ ชำนาญศิลป์ พรรคกิจสังคม 18 เมษายน พ.ศ. 2526 2 นายสุพรรณ สุปัญญา พรรคชาติไทย 18 เมษายน พ.ศ. 2526 2 นายกิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์ พรรคชาติไทย 18 เมษายน พ.ศ. 2526 3 นายประจวบ ไชยสาส์น พรรคชาติไทย 18 เมษายน พ.ศ. 2526 3 นายรักเกียรติ สุขธนะ พรรคกิจสังคม 18 เมษายน พ.ศ. 2526 4 นายเกียรติชัย ชัยเชาวรัตน์ พรรคกิจสังคม 18 เมษายน พ.ศ. 2526 4 นายประสพ บุษราคัม พรรคกิจสังคม 18 เมษายน พ.ศ. 2526 ภาคผนวก 427

นักการเมืองถ่ินจังหวัดอุดรธานี 428 สมาชิกสภาผู้แทนชุดที่ 15 จังหวัดอุดรธานี (พ.ศ. 2529) มีทั้งหมด 11 คน 4 เขตการเลือกตั้ง (เขต 1, 2,3 เขตละ 3 คน และ เขต 4 เขตละ 2 คน) เขต รายชือ่ พรรคการเมือง วันที่เลอื กตั้ง 1 นายเฉลิมพล สนิทวงศ์ชัย พรรครวมไทย (พ.ศ. 2529) 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 1 พันเอกสมคิด ศรีสังคม พรรคแรงงานประชาธิปไตย 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 1 นายทองสวย สหัสทัศน์ พรรคประชาธิปัตย์ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 2 นายสมภาพ ศรีวรขาน พรรคราษฎร (พ.ศ. 2529) 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 2 นายไตรภพ เมาะราษี พรรคประชาธิปัตย์ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 2 นายดิเรก หลักคำ พรรคประชาธิปัตย์ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 3 นายประจวบ ไชยสาส์น พรรคประชาธิปัตย์ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 3 นายประสพ บุษราคัม พรรคกิจสังคม 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 3 นายจำรัส มัฆนาโส พรรคชาติประชาธิปไตย 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 4 นายรักเกียรติ สุขธนะ พรรคกิจสังคม 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 4 นายเกียรติชัย ชัยเชาวรัตน์ พรรครวมไทย (พ.ศ. 2529) 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529

สมาชิกสภาผ้แู ทนชดุ ที่ 16 จังหวดั อุดรธานี (พ.ศ. 2531) มีทั้งหมด 12 คน 4 เขตการเลือกตั้งเขตละ 3 คน เขต รายชอ่ื พรรคการเมือง วนั ที่เลอื กตั้ง 1 นายประยรู สุรนิวงศ์ พรรคปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 1 นางเตือนใจ นุอุปละ พรรคประชาธิปัตย์ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 1 นายพูลศักดิ์ อยู่ประเสริฐ พรรคประชาธิปัตย์ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 2 นายสุรชาติ ชำนาญศิลป์ พรรคประชาธิปัตย์ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 2 นายกิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์ พรรคชาติไทย 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 2 นายวิเชียร ขาวขำ พรรคปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 3 นายไชยยศ จิรเมธากร พรรคประชาธิปัตย์ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 3 นายวิชัย เอี่ยมวงศ์ พรรคประชาธิปัตย์ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 3 นายประสพ บุษราคัม พรรคกิจสังคม 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 4 นายประจวบ ไชยสาส์น พรรคประชาธิปัตย์ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 4 นายรักเกียรติ สุขธนะ พรรคประชาธิปัตย์ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 4 นายอารมย์ ศิริสุวรรณ พรรคปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 ภาคผนวก 429

นักการเมืองถ่ินจังหวัดอุดรธานี 430 สมาชิกสภาผู้แทนชดุ ท่ี 17 จงั หวดั อดุ รธานี (พ.ศ. 2535) มีทั้งหมด 12 คน 4 เขตการเลือกตั้งเขตละ 3 คน เขต รายช่ือ พรรคการเมอื ง วันทเี่ ลือกต้งั 1 นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล พรรคความหวังใหม่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 1 นายสมศักดิ์ วรคามิน พรรคความหวังใหม่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 1 นายเฉลิมพล สนิทวงศ์ชัย พรรคความหวังใหม่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 2 นายไตรภพ เมาะราษี พรรคชาติไทย 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 2 นายกิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์ พรรคชาติไทย 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 2 นายวิเชียร ขาวขำ พรรคชาติไทย 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 3 นายไชยยศ จิรเมธากร พรรคประชาธิปัตย์ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 3 นายขจิตร ชัยนิคม พรรคความหวังใหม่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 3 นายเกียรติชัย ชัยเชาวรัตน์ พรรคความหวังใหม่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 4 นายประจวบ ไชยสาส์น พรรคประชาธิปัตย์ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 4 นายรักเกียรติ สุขธนะ พรรคกิจสังคม 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 4 นายไชยา พรหมา พรรคประชาธิปัตย์ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535

สมาชกิ สภาผ้แู ทนชดุ ที่ 18 จงั หวดั อดุ รธานี (พ.ศ. 2535) มีทั้งหมด 12 คน 4 เขตการเลือกตั้งเขตละ 3 คน เขต รายชอ่ื พรรคการเมอื ง วนั ท่ีเลอื กตั้ง 1 นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล พรรคความหวังใหม่ 13 กันยายน พ.ศ. 2535 1 นางเตือนใจ นุอุปละ พรรคประชาธิปัตย์ 13 กันยายน พ.ศ. 2535 1 นายเฉลิมพล สนิทวงศ์ชัย พรรคความหวังใหม่ 13 กันยายน พ.ศ. 2535 2 นายไพรัช นุชิต พรรคกิจสังคม 13 กันยายน พ.ศ. 2535 2 นายกิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์ พรรคชาติไทย 13 กันยายน พ.ศ. 2535 2 นายวิเชียร ขาวขำ พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) 13 กันยายน พ.ศ. 2535 3 นายไชยยศ จิรเมธากร พรรคประชาธิปัตย์ 13 กันยายน พ.ศ. 2535 3 นายประสพ บุษราคัม พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) 13 กันยายน พ.ศ. 2535 3 นายเกียรติชัย ชัยเชาวรัตน์ พรรคความหวังใหม่ 13 กันยายน พ.ศ. 2535 4 นายประจวบ ไชยสาส์น พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) 13 กันยายน พ.ศ. 2535 4 นายรักเกียรติ สุขธนะ พรรคกิจสังคม 13 กันยายน พ.ศ. 2535 4 นายไชยา พรหมา พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) 13 กันยายน พ.ศ. 2535 ภาคผนวก 431

นักการเมืองถ่ินจังหวัดอุดรธานี 432 สมาชิกสภาผู้แทนชุดที่ 19 จังหวัดอุดรธานี พ.ศ. 2538 มีทั้งหมด 10 คน 4 เขตเลือกตั้ง (เขต 1 และเขต 2 เขตละ 3 คน ส่วน เขต 3 และ เขต 4 เขตละ 2 คน) เขต รายชอ่ื พรรคการเมือง วนั ทเี่ ลือกตัง้ 1 นายเฉลิมพล สนิทวงศ์ชัย พรรคความหวังใหม่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 1 นายพูลศักดิ์ อยู่ประเสริฐ พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535) 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 1 นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล พรรคความหวังใหม่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 2 นายขจิตร ชัยนิคม พรรคความหวังใหม่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 2 นายเกียรติชัย ชัยเชาวรัตน์ พรรคความหวังใหม่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 2 นายประสพ บุษราคัม พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 3 นายวิเชียร ขาวขำ พรรคกิจสังคม 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 3 นายสุรชาติ ชำนาญศิลป์ พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535) 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 4 นายประจวบ ไชยสาส์น พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 4 นายรักเกียรติ สุขธนะ พรรคกิจสังคม 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538

สมาชิกสภาผู้แทนชุดท่ี 20 จังหวัดอุดรธานี พ.ศ. 2539 มีทั้งหมด 10 คน 4 เขตเลือกตั้ง (เขต 1 และเขต 2 เขตละ 3 คน ส่วน เขต 3 และ เขต 4 เขตละ 2 คน) เขต รายชอื่ พรรคการเมือง วันท่เี ลือกตั้ง 1 นายเฉลิมพล สนิทวงศ์ชัย พรรคความหวังใหม่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 1 พ.ต.ท.สุรทิน พิมานเมฆินทร์ พรรคความหวังใหม่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 1 นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล พรรคความหวังใหม่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 2 นายขจิตร ชัยนิคม พรรคความหวังใหม่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 2 นายเกียรติชัย ชัยเชาวรัตน์ พรรคความหวังใหม่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 2 นายวิชัย เอี่ยมวงศ์ พรรคความหวังใหม่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 3 นายโชคสมาน สีลาวงษ์ พรรคกิจสังคม 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 3 นายสุรชาติ ชำนาญศิลป์ พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535) 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 4 นายประจวบ ไชยสาส์น พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 4 นายรักเกียรติ สุขธนะ พรรคกิจสังคม 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 ภาคผนวก 433

นักการเมืองถ่ินจังหวัดอุดรธานี 434 สมาชกิ สภาผูแ้ ทนชดุ ท่ี 21 จังหวัดอุดรธานี พ.ศ. 2544 มีทั้งหมด 10 คน 10 เขตเลือกตั้ง เขตละ 1 คน เขต รายชอ่ื พรรคการเมอื ง วนั ทีเ่ ลือกตั้ง 1 นายศราวุธ เพชรพนมพร พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) 6 มกราคม พ.ศ. 2544 2 นายอรรถพล สนิทวงศ์ชัย พรรคไทยรักไทย 6 มกราคม พ.ศ. 2544 3 นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) 6 มกราคม พ.ศ. 2544 4 นายธีระยุทธ วานิชชัง พรรคไทยรักไทย 6 มกราคม พ.ศ. 2544 5 นายไชยยศ จิรเมธากร พรรคประชาธิปัตย์ 6 มกราคม พ.ศ. 2544 6 นายทองดี มนิสสาร พรรคไทยรักไทย 6 มกราคม พ.ศ. 2544 7 นายธีระชัย แสนแก้ว พรรคไทยรักไทย 6 มกราคม พ.ศ. 2544 8 นายต่อพงษ์ ไชยสาส์น พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535) 6 มกราคม พ.ศ. 2544 9 นายธราพงษ์ สีลาวงษ์ พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535) 6 มกราคม พ.ศ. 2544 10 นายสุรชาติ ชำนาญศิลป์ พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535) 6 มกราคม พ.ศ. 2544

สมาชกิ สภาผูแ้ ทนชดุ ที่ 22 จงั หวัดอุดรธานี พ.ศ. 2548 มีทั้งหมด 10 คน 10 เขตเลือกตั้ง เขตละ 1 คน เขต รายชอ่ื พรรคการเมือง วนั ท่ีเลอื กตัง้ 1 นายศราวุธ เพชรพนมพร พรรคไทยรักไทย 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 2 นายอรรถพล สนิทวงศ์ชัย (เสียชีวิต) พรรคไทยรักไทย 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 นางสาวธิรดา สนิทวงศ์ชัย (แทนนายอรรถพล) 3 นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล พรรคไทยรักไทย 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 4 นายธีระยุทธ วานิชชัง พรรคไทยรักไทย 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 5 นางสาวรสพิมล จิรเมธากร พรรคไทยรักไทย 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 6 นายทองดี มนิสสาร พรรคไทยรักไทย 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 7 นายธีระชัย แสนแก้ว พรรคไทยรักไทย 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 8 นายต่อพงษ์ ไชยสาส์น พรรคไทยรักไทย 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 9 นายธราพงษ์ สีลาวงษ์ พรรคไทยรักไทย 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 10 นายสุรชาติ ชำนาญศิลป์ พรรคไทยรักไทย 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ภาคผนวก 435