Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Suzuki_Swift_Model_year_2018-2021

Suzuki_Swift_Model_year_2018-2021

Published by Guset User, 2022-01-20 06:01:17

Description: Suzuki_Swift_Model_year_2018-2021

Search

Read the Text Version

คูม่ อื ประจำรถ โปรดเก็บคมู อื ประจำรถไวในรถตลอดเวลา โดยจะประกอบดว ยขอมูลสำคัญ เกี่ยวกบั ความปลอดภัย การใชง านและการบำรงุ รกั ษา

คูมือการใชง านเลมนใ้ี ชสาํ หรบั รถยนต SWIFT 57RK083 หมายเหต:ุ รุน ทแ่ี สดงในภาพประกอบเปนตวั อยางของรถยนต SWIFT © 2019 บริษทั ซซู กู ิ มอเตอร (ประเทศไทย) จาํ กัด สงวนลิขสิทธิ์ หามมิใหท ําซ้ําหรือถา ยโอนสว นหนงึ่ สวนใดหรือท้ังหมดของเอกสารนี้ไมว าจะในรปู แบบใด วธิ ีใด ทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส หรือ ทางกลไก เพ่อื จุดประสงคใดกต็ ามโดยไมไ ดรับอนุญาตเปนลายลักษณอ กั ษรจากบรษิ ัท ซูซกู ิ มอเตอร (ประเทศไทย) จาํ กดั

บทนํา ข้อมูลท้ังหมดในคู่มอื เล่มนีอ้ ้างอิงจากข้อมูลล่าสุดของ สิ่งสําคญั รถยนต์ท่ีจําหน่าย ณ เวลาท่ีจัดพมิ พ์ ข้อมูลในคู่มือ คูมือเลมน้ีเปนสวนหนง่ึ ของรถยนต ดงั นัน้ ใหเก็บรักษา เล่มนี้กับรถของท่านอาจแตกต่างกัน อันเน่ืองมาจาก คาํ เตือน/ ข้อควรระวงั /ขอ พงึ ระวงั /หมายเหตุ คูมือเลมนไี้ วก ับตัวรถเมื่อจําหนายหรือโอนกรรมสทิ ธ์ิ การปรับปรุงหรือการเปล่ียนแปลงอ่ืนๆ บริษัท ซูซูกิ โปรดอา นคมู อื น้ีและปฏบิ ัติตามคําแนะนําอยางระมดั ระวัง ตอใหก ับเจาของหรอื ผใู ชรายใหม โปรดอานคมู ือเลมน้ี มอเตอร์ (ประเทศไทย) จํากัด ขอสงวนสิทธ์ิในการ เพอื่ เนนขอมูลพเิ ศษ สญั ลักษณ และ คําวา คาํ เตือน อยา งละเอียดกอนใชง านรถยนตซูซกู ิคันใหมของทานและ เปล่ียนแปลงรายละเอียดทางการผลิตได้ตลอดเวลา ข้อควรระวัง ขอ พึงระวัง และ หมายเหตุ จะมีความหมาย ใหอ านทบทวนคมู ือนเี้ ปนคร้ังคราว คูมือเลม นีป้ ระกอบ โดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า และไม่ถอื เป็ นข้อผูกมัด พเิ ศษ ดงั น้นั ใหเ อาใจใสเ ปนพิเศษตอขอความทเี่ นนยาํ้ ดวยขอมูลสาํ คัญเก่ียวกับความปลอดภัย การใชงาน เพื่อทําการเปลี่ยนแปลงให้เหมือนหรือคล้ายคลึงกับ ดวยสญั ลกั ษณและคําเหลาน้ี: และการบํารงุ รักษา รถยนต์ท่ีผลติ หรือจําหน่ายไปก่อนหน้านี้ คาํ เตือน รถยนต์คันนี้อาจไม่ได้เป็ นไปตามมาตรฐานหรือกฎ สัญลกั ษณ์นเี้ ตือนให้ระมัดระวงั อนั ตรายซ่ึงอาจทาํ ให้ ข้อบงั คบั ของแต่ละประเทศ ก่อนดาํ เนนิ การจดทะเบียน เกิดการบาดเจ็บรุนแรงหรือเสียชีวติ ได้ รถคนั นีเ้ พอ่ื ใช้ในประเทศอน่ื ใด โปรดตรวจสอบข้อบงั คบั ท้ังหมด และทาํ การดดั แปลงแก้ไขบางส่วนตามความ ข้อควรระวงั จาํ เป็ น สัญลกั ษณ์นเี้ ตือนให้ระมัดระวงั อนั ตรายซ่ึงอาจทาํ ให้ เกดิ การบาดเจบ็ เล็กน้อยหรือปานกลางได้ หมายเหตุ: โปรดศึกษาปายเตือนในสวนของ “ความหมายของ ขอพงึ ระวัง สัญลักษณถงุ ลม” ในหมวด “กอ นการขบั ขี”่ ในเนือ้ หา สัญลกั ษณ์นเี้ ตอื นให้ระมัดระวงั อนั ตรายซ่ึงอาจทาํ ให้ เกย่ี วกับการปกปองจากถุงลมดา นหนา รถเสียหายได้ หมายเหต:ุ สัญลักษณน ้ีแสดงขอมูลเพมิ่ เตมิ เพ่อื ใหทําการบาํ รุงรกั ษา ไดงายข้ึน หรือใหคําแนะนาํ ทช่ี ัดเจนข้นึ

คาํ เตือนเกย่ี วกบั การดดั แปลง ขอ พึงระวงั ข้ัวต่ อวิเคราะห์ ปั ญหาในรถของท่ านมีไว้ ใช้ กับ คาํ เตือน เคร่ืองมือวเิ คราะห์ปัญหาที่ได้กาํ หนดไว้เพอ่ื ทาํ การ ห้ามทําการดดั แปลงแก้ไขรถยนต์คนั นี้ การดดั แปลง ตรวจสอบและบาํ รุงรักษารถของท่าน การต่อกับ แก้ไขอาจส่งผลเชิงลบในด้านความปลอดภัย การ เคร่ืองมือหรืออุปกรณ์อื่นๆ อาจรบกวนการทาํ งาน ควบคุม สมรรถนะ หรืออายุการใช้งาน และอาจเป็ น ของชิ้นส่วนอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์และทาํ ให้แบตเตอรี่หมด การละเมิดกฎข้อบงั คบั ทางกฎหมายได้ นอกจากนี้ 75F135 ความเสียหายหรือปัญหาด้านสมรรถนะที่เป็ นผล จากการดัดแปลงแก้ไขจะอยู่นอกเหนือเงื่อนไขการ สัญลักษณวงกลมที่มเี สน คาดผานในคูม ือเลมน้ีหมายถึง รับประกนั “หามทาํ ส่งิ น”ี้ หรือ “อยาใหส ง่ิ นเี้ กดิ ข้ึน” ขอ พึงระวัง การติดต้ังอุปกรณ์ส่ือสารเคลอื่ นทที่ ไี่ ม่ถูกต้อง เช่น โทรศัพท์เคลอื่ นทห่ี รือวทิ ยุส่ือสาร CB (Citizen Band หรือวิทยุสื่อสารคล่ืนความถี่ประชาชน) อาจทําให้ เกิดการรบกวนทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์กบั ระบบจุดระเบิด ของรถเป็ นผลให้เกดิ ปัญหาทางด้านสมรรถนะของรถ โปรดติดต่อศูนย์บริการซูซูกหิ รือช่างเทคนิคท่ีผ่าน การฝึ กอบรมเพอื่ ขอรับคาํ แนะนํา

คาํ นํา ขอขอบคณุ ท่ีทานเลือกใชรถยนตซซู กู ิ และยินดีตอ นรับทานสูครอบครวั ของเรา การเลอื กใชรถยนตซซู ูกิเปน สงิ่ ท่คี ุม คาอยางยิ่ง ซึง่ ผลิตภัณฑของซูซูกิเปน ผลิตภัณฑท่จี ะทําให ทา นไดรับความพงึ พอใจจากการขบั ขี่นานนับป คูมือการใชง านนี้ไดจ ดั เตรยี มไวเพอ่ื ชวยใหทานไดร ับความปลอดภยั ความเพลิดเพลนิ และปราศจากปญหาใดๆ จากการใชงานรถยนตซ ซู กู ิ ในคูมอื เลมน้ี ทานจะไดเ รียนรู เก่ียวกับการทาํ งานของรถยนต ระบบความปลอดภัยตางๆ และขอกําหนดในการบาํ รุงรักษา โปรดอานคูมือเลมนี้อยางละเอียดกอนใชงาน หลังจากน้ัน ใหเก็บคูมือไวใน ชอ งเก็บของเพอื่ ใชอา งอิงในอนาคต ถา ทา นจําหนา ยรถยนตน้ี โปรดเก็บคูมอื นีไ้ วในรถเพอ่ื มอบใหกบั เจา ของรายใหม นอกจากคมู อื การใชง านน้ีแลว ยังมีคมู อื เลมอนื่ ๆ ซง่ึ อธิบายเกีย่ วกบั เงื่อนไขการรบั ประกันแนบมาพรอ มกับรถยนตซูซกู ิดวย เราขอแนะนาํ ใหทานอานคมู ือเหลา น้อี ยางละเอียด เพือ่ ทาํ ความเขาใจขอ มูลสาํ คัญตา งๆ เมอื่ วางแผนนาํ รถยนตซูซกู ิของทานเขารับการบํารงุ รักษาตามระยะ เราขอแนะนาํ ใหทานเขารับบรกิ ารทศี่ ูนยบ ริการซซู กู ิใกลบานทาน ชางเทคนคิ ทผ่ี านการฝกอบรมมาเปน อยางดจี ะมีความชาํ นาญในการใหบรกิ ารไดดีทส่ี ดุ แกทา น และศนู ยบริการจะใชอ ะไหลแ ละอปุ กรณเสรมิ แทข องซูซูกิหรือเทยี บเทา เทา นัน้

คาํ แนะนําในการใช้อะไหล่และอปุ กรณ์เสริมแท้ของซูซูกิ ซซู ูกิขอแนะนําใหใชอ ะไหลแ ละอปุ กรณเสริมแทข องซูซกู เิ ทา นน้ั อะไหลและอปุ กรณเสรมิ แทข องซซู ูกิไดร ับการผลิตดว ยมาตรฐานสูงสุดทั้งในดานคุณภาพและสมรรถนะ และยังไดรบั การออกแบบมาใหประกอบเขากบั ตวั รถไดพอดตี ามคากาํ หนดของรถ ในปจจุบนั อะไหลส ําหรับเปล่ียนและอุปกรณเสริมทไ่ี มใชของแทจ ากซซู กู ิน้นั มีจาํ หนายตามทองตลาดอยางหลากหลาย การใชอะไหลและอุปกรณเสรมิ เหลาน้ีจะสงผลกระทบ ตอสมรรถนะ และทําใหอายกุ ารใชงานของรถลดลง ดังน้นั การติดต้ังอะไหลและอุปกรณเ สริมทไ่ี มใชของแทจ ากซูซูกิจะอยนู อกเหนือเงอ่ื นไขการรับประกัน อะไหล่และอปุ กรณ์เสริมต่างๆ ท่ไี ม่ใช่ของแท้จากซูซูกิ อะไหลแ ละอปุ กรณเสริมบางอยางอาจผานการรบั รองจากองคกรใดๆ ในประเทศของทาน อะไหลแ ละอุปกรณเสริมบางอยางซึ่งจดั จําหนา ยโดยผานการรับรองจากซูซกู ิ อะไหลและอุปกรณเ สริมที่เปนของแทจ ากซูซูกิซ่ึงจัดจําหนา ยเปน ชิ้นสว นทีใ่ ชแ ลว อะไหลและ อุปกรณเสริมตางๆ เหลานี้ไมใชอะไหลและอุปกรณเสริมแทจากซูซูกิ และการใชงานอะไหลและอุปกรณเสริมตางๆ เหลาน้ีจะอยูนอกเหนือเง่ือนไขการรับประกัน การนําอะไหล่และอปุ กรณ์เสริมแท้ของซูซูกกิ ลบั มาใช้ใหม่ หามมใิ หจําหนายตอ หรือนําช้ินสว นประกอบตา งๆ ตอไปนกี้ ลับมาใชใหม เน่อื งจากชนิ้ สวนประกอบตางๆ เหลา นจี้ ะกอ ใหเกดิ อันตรายแกผูใช: • ชน้ิ สว นประกอบของถงุ ลมและชดุ ประจุแกสท้งั หมด รวมถึงชิน้ สว นประกอบของชดุ ประจแุ กส (เชน ยางรอง อปุ กรณควบคุม และเซ็นเซอรตางๆ) • ระบบเขม็ ขัดนิรภัยรวมถึงชน้ิ สวนประกอบตา งๆ ของระบบ (เชน สายเข็มขัดนิรภยั ปลอกล็อค และชดุ รง้ั กลบั ) ถุงลมและช้ินสวนประกอบตางๆ ของชุดร้ังกลับเขม็ ขดั นริ ภัยประกอบดวยสารเคมที ี่สามารถระเบิดได ดังน้นั ชน้ิ สวนประกอบตางๆ เหลานีค้ วรไดรบั การถอดและกาํ จัดอยาง ถกู ตอ งเหมาะสมโดยศนู ยบ รกิ ารมาตรฐานทไ่ี ดร ับการรับรองจากซซู ูกิ เพอื่ หลกี เลย่ี งการระเบิดพองตวั โดยไมค าดคิดกอ นทําการกําจดั ซาก

คาํ แนะนําจุดบริการต่างๆ 8 1. คันปลดลอ็ คฝากระโปรงหนา (ดหู มวดท่ี 5) 3 17 2. นาํ้ หลอเยน็ เคร่ืองยนต (ดูหมวดท่ี 7) 3. นา้ํ ฉีดลางกระจกบงั ลมหนา (ดหู มวดที่ 7) 1 4 9 4. กานวัดระดับน้ํามนั เครื่อง <สเี หลอื ง> 25 10 (ดหู มวดท่ี 7) 6 7 5. กานวดั ระดับน้ํามันเกยี ร CVT <สีสม> 57RK001 (ดูหมวดที่ 7) 6. แบตเตอรแ่ี บบตะกั่ว-กรด (ดหู มวดท่ี 7) 7. คันปลดฝาปด ถังน้าํ มันเชือ้ เพลงิ (ดหู มวดที่ 1/ดหู มวดที่ 5) 8. แรงดันลมยาง (ดทู ี่ปายขอ มลู ยางท่เี สากลางประตู ดานคนขับ) 9. เคร่ืองมอื สาํ หรับเปลยี่ นลอ /ยาง (ดูหมวดท่ี 8) 10. ชดุ ซอมยางแบนฉุกเฉิน (ดหู มวดที่ 8)

บันทกึ

สารบัญ คาํ แนะนําเกย่ี วกบั นํา้ มนั เชือ้ เพลงิ 1 ก่อนการขบั ข่ี 2 การใช้งานรถของท่าน 3 ข้อแนะนาํ การขับขี่ 4 อปุ กรณ์และการควบคมุ อน่ื ๆ 5 การบรรทุกสัมภาระและการลากจูง 6 การตรวจสอบและการบํารุงรักษา 7 บริการฉุกเฉิน 8 การดูแลรักษารถยนต์ 9 ข้อมูลท่ัวไป 10 ข้อมูลจําเพาะ 11 ดชั นี 12

ภาพประกอบสารบญั ตวั อย่าง ภายนอกด้านหน้า 12 1. ฝากระโปรงหนา (หนา 5-2) 2. ทีป่ ดนํา้ ฝนกระจกบงั ลมหนา (หนา 2-92) 3. หเู ก่ยี วโครงรถ (ลากจูงรถ) (หนา 5-11) 4. ไฟหรแี่ ละไฟสองสวางเวลากลางวัน (DRL) (ในรถบางรุน) (หนา 2-89, 2-90) 5. ไฟตดั หมอกหนา (ในรถบางรนุ ) (หนา 2-90, 7-29) 6. ไฟหนา (หนา 2-89, 7-27) 7. กระจกมองขาง (หนา 2-21) 8. ล็อคประตู (หนา 2-2) 34 5 6 78 57RK079

ภาพประกอบสารบัญ ภายนอกด้านหลงั ตัวอย่าง 1. เสาอากาศวิทยุ (หนา 5-26) 1 23 2. ไฟเบรกเสริมดวงทสี่ าม (หนา 7-32) 3. ทปี่ ดนํ้าฝนกระจกประตทู าย (หนา 2-94) 4. ฝาถังน้ํามนั เช้ือเพลงิ (หนา 5-1) 5. ไฟทา ยรวม (หนา 7-30) 6. ประตูทาย (หนา 2-4) 7. ไฟสองปายทะเบียน (หนา 7-31) 45 6 7 57RK084

ภาพประกอบสารบัญ 1A 2 ตวั อย่าง C ภายในด้านหน้า B 1. ถุงลมดานหนาดานผโู ดยสารเบาะหนา (หนา 2-42) 2. การควบคมุ กระจกไฟฟา (หนา 2-18)/ สวิตชควบคุมกระจกมองขา งไฟฟา (ในรถบางรุน) (หนา 2-21)/ สวติ ชพ บั กระจกมองขาง (ในรถบางรุน) (หนา 2-22) 3. ฟวส (หนา 7-22) 4. ชอ งเก็บของ (หนา 5-7) 5. คันเบรกมือ (หนา 3-10) 6. ถุงลมดา นขาง (ในรถบางรุน) (หนา 2-46) 7. เบาะหนา (หนา 2-22) 34 5 6 7 57RK082

1. ไมโครโฟนระบบแฮนดฟ รี (ในรถบางรุน ) ภาพ ก ภาพประกอบสารบัญ (หนา 5-53) ตัวอย่าง 2. ไฟสองสวางภายในหองโดยสารดานหนา 12 3 (หนา 5-5, 7-32) 3. แผงบังแดด (หนา 5-4) 4. กระจกมองหลัง (หนา 2-20) 4 57RK002

ภาพประกอบสารบญั ภาพ ข 4 56 ตัวอย่าง 1. สวติ ชค วบคุมเคร่ืองเสยี งท่พี วงมาลัย 12 3 12 (ในรถบางรุน) (หนา 5-64) 10 11 57RK081 2. ถุงลมดา นหนาดา นคนขบั (หนา 2-42) 3. สวติ ชควบคุมความเร็วคงท่ี (ในรถบางรนุ ) (หนา 3-23) 4. สวิตชควบคุมไฟสองสวา ง (หนา 2-89)/ สวิตชควบคุมไฟเล้ยี ว (หนา 2-91)/ สวติ ชไ ฟตัดหมอกหนา (ในรถบางรุน) (หนา 2-90) 5. สวิตชสตารท (รุนทีไ่ มมีระบบปมุ กด คียเ ลสสตารท ) (หนา 3-3) 6. สวติ ชสตารท เครือ่ งยนต (รุนทีม่ รี ะบบปมุ กด คียเลสสตารท ) (หนา 3-5) 7. คันลอ็ คปรับระดบั พวงมาลยั 4 ทศิ ทาง (ในรถบางรุน) (หนา 2-95) 8. คันปลดฝาปด ถังนาํ้ มนั เช้ือเพลงิ (หนา 5-1) 9. คันปลดลอ็ คฝากระโปรงหนา (หนา 5-2) 10. สวิตช ESP® OFF (หนา 3-29) 11. สวติ ช ENG A-STOP OFF (หนา 3-20) 12. สวติ ชป รบั ระดบั ไฟหนา (ในรถบางรุน) (หนา 2-90) 78 9

1. สวิตชไฟฉุกเฉิน (หนา 2-92) ภาพ ค 1 23 4 ภาพประกอบสารบัญ 2. ระบบสญั ญาณเตือนการโจรกรรม 5 ตวั อย่าง (ในรถบางรุน) (หนา 2-14)/ไฟแสดงสถานะ สญั ญาณเตือนการโจรกรรม (ในรถบางรุน) (หนา 2-18) 3. สวติ ชท ปี่ ดนา้ํ ฝนและทฉ่ี ดี นํา้ ลา ง กระจกบงั ลมหนา (หนา 2-92)/ สวติ ชท่ีปด นํา้ ฝนและทีฉ่ ีดนํา้ ลา ง กระจกประตทู าย (หนา 2-94) 4. แผงหนาปด (หนา 2-52, 2-61)/จอแสดงขอมลู (หนา 2-55, 2-64) 5. สวิตชระบบแฮนดฟรี (ในรถบางรนุ ) (หนา 5-53) 6. เครื่องเสยี ง (ในรถบางรนุ ) (หนา 5-27) 7. ชองเสียบอปุ กรณเสริม (หนา 5-6) 8. ชอ งเสยี บ AUX/USB (ในรถบางรุน) (หนา 5-7) 9. ระบบทาํ ความรอนและระบบปรับอากาศ (หนา 5-14)/สวิตชไลฝากระจกประตูทา ย (ในรถบางรุน) (หนา 2-96) 10. คันเกยี ร (หนา 3-16) 6 78 9 10 57RK111

ภาพประกอบสารบญั 12 ตัวอย่าง ภายในด้านหลงั 3 1. เข็มขัดนิรภยั (หนา 2-26) 2. มอื จบั เหนือประตู (ในรถบางรนุ ) (หนา 5-7) 3. มานถงุ ลม (ในรถบางรุน) (หนา 2-46) 4. เบาะหลงั (หนา 2-24) 4 52RM00071

ห้องเกบ็ สัมภาระ ภาพประกอบสารบัญ ตัวอย่าง 1. ฝาปด หองเก็บสัมภาระ (ในรถบางรนุ ) (หนา 5-11) 1 2. ไฟสองสวางหองเกบ็ สมั ภาระ (ในรถบางรุน ) (หนา 5-5, 7-32) 3. ตะขอแขวนสัมภาระที่หองเก็บสมั ภาระ (หนา 5-10) 4. ดามแมแรง (หนา 8-1) 5. หลู ากจูง (หนา 5-11) 6. ประแจขันลอ (หนา 8-1) 7. ชดุ ซอมยางแบนฉุกเฉิน (หนา 8-6) 8. แมแ รง (หนา 8-1) 23 4 5 6 7 8 57RK003

ภาพประกอบสารบัญ บันทึก

คาํ แนะนําเกยี่ วกบั นํา้ มนั เชื้อเพลงิ คาํ แนะนําเกยี่ วกบั นํา้ มันเชื้อเพลงิ 1 คาํ แนะนาํ เกย่ี วกบั นาํ้ มนั เชื้อเพลงิ ....................................................................1-1 65D394

คาํ แนะนําเกยี่ วกบั นํา้ มนั เชื้อเพลงิ คาํ แนะนําเกยี่ วกบั นํา้ มนั เชื้อเพลงิ นาํ้ มนั เบนซินทมี่ สี ่วนผสมของเอทานอล ขอ พึงระวัง นํ้ามันเบนซินไรสารตะกั่วที่มีสวนผสมของเอทานอล E20 ตัวอย่าง (แอลกอฮอลท่ีไดจากกระบวนการหมักและกล่ันพืช) ซึง่ เปน ระมัดระวงั อย่าทาํ ให้นํา้ มันเชือ้ เพลงิ ท่ีมีส่วนผสมของ ที่รจู กั กันดใี นชื่อแกส โซฮอล มีการจัดจําหนา ยเชงิ พาณชิ ย แอลกอฮอล์หกกระเซ็นขณะเตมิ นาํ้ มันเชื้อเพลงิ ถ้ามี 57RK109 ในบางประเทศ นาํ้ มันเบนซินทมี่ สี วนผสมของเอทานอล นํา้ มันเชือ้ เพลงิ หกลงบนตัวถังรถ ให้รีบเช็ดออกทันที ชนิดนส้ี ามารถใชไดก ับรถของทาน ถาในสว นผสมมปี ริมาณ นํา้ มันเชื้อเพลงิ ท่ีมีส่วนผสมของแอลกอฮอล์จะทําให้เกดิ เพ่ือปองกนั ไมใหตวั แปลงสภาพไอเสียเกิดความเสยี หาย เอทานอลไมเกินกวา 20% (E20) โปรดตรวจสอบวาน้ํามัน ความเสียหายกบั สีรถได้ ซึ่งความเสียหายนอี้ ยู่นอกเหนือ ทานต้องใชน า้ํ มันเบนซินไรสารตะก่ัวที่มคี าออกเทน (RON) เบนซินทีม่ สี ว นผสมของเอทานอลนี้มีคาออกเทนไมต า่ํ กวา เง่อื นไขการรับประกนั รถใหม่ 91 หรือสงู กวา โดยจะมีขอ ความบนแผนปา ยท่ีฝาปดชอ ง คาท่แี นะนาํ ไว เตมิ น้ํามันเชื้อเพลิง ซง่ึ ระบุไวว า : “UNLEADED FUEL นํา้ มันเบนซินที่ผสมสาร MTBE ONLY”, “NUR UNVERBLEITES BENZIN”, “ENDAST ทา นสามารถใชน้าํ มนั เบนซนิ ไรสารตะก่วั ทผ่ี สมสาร MTBE BLYFRI BENSIN” หรือ “SOLO GASOLINA SIN (Methyl Tertiary Butyl Ether) กับรถของทานไดถา สาร PLOMO” MTBE มีปริมาณไมเ กนิ 15% เชื้อเพลงิ ออกซิเจนชนิดน้ี ไมมสี วนผสมของแอลกอฮอล ขอพงึ ระวัง ถงั นาํ้ มันเชื้อเพลงิ มีพนื้ ที่ว่างสําหรับการขยายตวั ของ นาํ้ มันในเวลาท่ีอากาศร้อน ถ้าท่านยังคงเติมนํา้ มัน เชือ้ เพลงิ ต่อหลงั จากทห่ี ัวจ่ายนํา้ มนั ตัดการทาํ งานโดย อตั โนมัตหิ รือเมอ่ื เกดิ อากาศดันกลบั ในคร้ังแรก พนื้ ที่ว่าง น้ันจะเตม็ เมอ่ื เติมนาํ้ มนั จนเต็มในลักษณะนีแ้ ละนาํ้ มนั เชือ้ เพลิงได้รับความร้อน อาจทาํ ให้เกดิ การรั่วซึมเนือ่ งจาก การขยายตัวของนาํ้ มันได้ เพอ่ื ป้ องกนั การรั่วซึมของ นาํ้ มนั เชือ้ เพลงิ ในลกั ษณะนี้ ให้หยุดเตมิ นํา้ มนั หลงั จาก ทหี่ วั จ่ายนาํ้ มันเชือ้ เพลงิ ตัดการทาํ งานโดยอตั โนมัติ หรือ เม่ือเกดิ อากาศดันกลบั ในคร้ังแรกถ้าใช้ระบบอนื่ ท่ไี ม่ใช่ ระบบอตั โนมัติ 1-1

ก่อนการขบั ขี่ ก่อนการขับข่ี เขม็ ขดั นริ ภัยและเบาะนริ ภัยสําหรับเดก็ ..........................................................2-26 2 ระบบเสริมความปลอดภัย (ถงุ ลม) ..................................................................2-41 60G404 แผงหน้าปัด (แบบ A) (ในรถบางรุ่น) ..............................................................2-52 มาตรวดั ความเร็ว ............................................................................................2-53 กุญแจ ..............................................................................................................2-1 มาตรวดั รอบเครื่องยนต์ ..................................................................................2-53 ล็อคประตู .......................................................................................................2-2 เกจวดั ระดบั นํา้ มันเชื้อเพลงิ ............................................................................2-53 รีโมทคอนโทรลของระบบป่ มุ กดคยี ์เลสสตาร์ท/ การควบคมุ ความสว่างของแผงหน้าปัด ..........................................................2-54 รีโมทคอนโทรลของระบบคยี ์เลสเอน็ ทรี (ในรถบางรุ่น) .................................2-6 จอแสดงข้อมูล .................................................................................................2-55 ระบบสัญญาณเตอื นการโจรกรรม (ในรถบางรุ่น) ..........................................2-14 แผงหน้าปัด (แบบ B) (ในรถบางรุ่น) ...............................................................2-61 ไฟแสดงสถานะสัญญาณเตือนการโจรกรรม (ในรถบางรุ่น) ...........................2-18 มาตรวดั ความเร็ว ............................................................................................2-62 กระจกหน้าต่าง ...............................................................................................2-18 มาตรวดั รอบเคร่ืองยนต์ ..................................................................................2-62 กระจก .............................................................................................................2-20 เกจวดั ระดบั นาํ้ มนั เชื้อเพลงิ ............................................................................2-62 เบาะหน้า .........................................................................................................2-22 เกจวดั อุณหภูมิ ................................................................................................2-63 เบาะหลงั .........................................................................................................2-24 การควบคุมความสว่างของแผงหน้าปัด ..........................................................2-63 จอแสดงข้อมูล .................................................................................................2-64 สวติ ช์ข้อมูล (ในรถบางรุ่น) .............................................................................2-80 ไฟเตอื นและไฟแสดงสถานะ ...........................................................................2-80 สวติ ช์ควบคมุ ไฟส่องสว่าง ..............................................................................2-89 สวติ ช์ปรับระดบั ไฟหน้า (ในรถบางรุ่น) ..........................................................2-90 สวติ ช์ควบคมุ ไฟเลีย้ ว ......................................................................................2-91 สวติ ช์ไฟฉุกเฉิน ..............................................................................................2-92 สวติ ช์ที่ปัดนํา้ ฝนและท่ีฉีดนํา้ ล้างกระจกบังลมหน้า ........................................2-92 คนั ลอ็ คปรับระดบั พวงมาลยั 4 ทิศทาง (ในรถบางรุ่น) ....................................2-95 แตร .................................................................................................................2-96 สวติ ช์ไล่ฝ้ ากระจกประตูท้าย (ในรถบางรุ่น) ....................................................2-96

ก่อนการขับข่ี กญุ แจ ระบบยบั ย้งั การทํางานของเคร่ืองยนต์ ขอ พงึ ระวงั ตัวอย่าง ระบบนี้ไดร ับการออกแบบมาเพ่ือชว ยปองกนั การโจรกรรม ห้ามดดั แปลงหรือถอดระบบยบั ย้งั การทาํ ของเครื่องยนต์ รถยนต โดยตัดการทาํ งานของระบบสตารท เครอ่ื งยนตดว ย ถ้ามีการดัดแปลงหรือถอดออก ระบบดงั กล่าวจะทาํ งาน 54G489 อิเล็กทรอนิกส บกพร่อง เคร่ืองยนตจะสามารถสตารทตดิ ไดก็ตอ เม่ือใชกญุ แจสตารท รถของทานมาพรอมกบั กญุ แจทเ่ี หมือนกนั สองดอก เก็บ ระบบยับยัง้ การทํางานของเครือ่ งยนตห รอื รโี มทคอนโทรล หมายเหต:ุ กญุ แจดอกหนง่ึ เปน กญุ แจสํารองไวใ นท่ปี ลอดภยั กุญแจ ของระบบปมุ กดคียเ ลสสตารททีใ่ หม าพรอมกับรถของทาน • ถาไฟเตือนระบบปุมกดคียเลสสตารท/ระบบยับยั้ง หน่ึงดอกสามารถเปด ล็อคไดทุกจดุ ของรถ ซึ่งมรี หัสประจาํ ตวั อิเลก็ ทรอนิกสที่ถกู โปรแกรมไวในกุญแจ เทาน้ัน กุญแจหรอื รโี มทคอนโทรลจะสงรหสั ประจาํ ตัวไป การทาํ งานของเคร่ืองยนตกะพริบหรือตดิ สวา ง อาจมี ที่รถ เม่ือบิดสวติ ชสตารทไปท่ีตําแหนง “ON” หรือกด ขอความปรากฏบนจอแสดงขอมูล สวิตชสตารท เครือ่ งยนตเพ่อื เปลี่ยนโหมดสตารท เปน ON • ระบบยับยั้งการทาํ งานของเคร่ืองยนตนี้เปนแบบไม ถาทา นจําเปน ตองสง่ั ทาํ กุญแจหรือรีโมทคอนโทรลสํารอง ตอ งบํารุงรักษา โปรดติดตอศูนยบรกิ ารซูซูกิใกลบานทาน ตัวรถจะตองได รับการตั้งโปรแกรมใหต รงกบั รหัสประจําตวั ท่ีถกู ตอ งของ สําหรับรุ่นท่ีไม่มรี ะบบป่ ุมกดคยี ์เลสสตาร์ท กุญแจหรอื รีโมทคอนโทรลสาํ รองดวยเชน กัน กญุ แจทท่ี าํ ถาไฟเตือนนี้กะพริบ ใหบิดสวิตชสตารทไปที่ตําแหนง โดยชางทํากญุ แจท่ัวไปจะไมสามารถใชงานได “LOCK” จากนัน้ ใหบ ิดกลับไปท่ีตําแหนง “ON” ถาไฟเตือนนีย้ งั คงกะพรบิ อยขู ณะทบ่ี ิดสวิตชสตารท กลบั ไปท่ตี ําแหนง “ON” แสดงวาอาจมปี ญหาเกิดข้ึนกบั กุญแจ ของทานหรือระบบยับยัง้ การทํางานของเครอ่ื งยนต ใหน าํ รถเขารับการตรวจเช็คระบบที่ศนู ยบริการซูซกู ิ 80JM122 ถาไฟเตือนระบบปุมกดคยี เลสสตารท/ระบบยับยง้ั การทํางาน ของเคร่อื งยนตกะพริบเมือ่ สวิตชสตารทอยูในตาํ แหนง “ON” หรือโหมดสตารทอยูที่ ON เครือ่ งยนตจ ะสตารท ไมตดิ 2-1

ก่อนการขับข่ี สําหรับรุ่นที่มีระบบป่ ุมกดคยี ์เลสสตาร์ท เนื่องจากกุญแจของรถอีกคันอาจรบกวนระบบยับยั้ง ลอ็ คประตู (2) ถาไฟเตอื นน้กี ะพริบ ใหเ ปลย่ี นโหมดสตารท เปน LOCK การทาํ งานของเคร่ืองยนตใ นรถซซู ูกิของทาน (OFF) แลวเปล่ียนไปท่ีโหมด ON โปรดดู “ถา ไฟแสดง • ถา มวี ัตถุท่ีเปน โลหะติดอยูกับกุญแจระบบยับย้งั การทาํ งาน ลอ็ คประตูข้าง สถานะการเตือนหลักกะพรบิ และเคร่ืองยนตสตารทไมต ิด” ของเคร่อื งยนตห รือรโี มทคอนโทรล กญุ แจหรอื รโี มท ในหัวขอ “การสตารทเคร่ืองยนต” (รุนที่มีระบบปุมกด คอนโทรลชดุ นน้ั อาจไมสามารถใชสตารท เคร่ืองได ตัวอย่าง คียเลสสตารท) (ในรถบางรุน)” ในหมวด “การใชงานรถ ของทาน” ขอพงึ ระวัง (1) ถา ไฟเตอื นน้ียังคงกะพริบอยหู ลงั จากเปลีย่ นโหมดสตารท (4) กลับไปเปนโหมด ON แสดงวา อาจมีปญหาเกิดข้นึ กบั กุญแจ กญุ แจระบบยับย้งั การทาํ งานของเครื่องยนต์และรีโมท ของทานหรือระบบยับย้งั การทํางานของเครือ่ งยนต ใหนาํ คอนโทรลเป็ นอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนกิ ส์ที่ละเอยี ดอ่อน เพอ่ื (3) รถเขารับการตรวจเช็คระบบทศ่ี นู ยบริการซูซูกิ หลกี เลี่ยงความเสียหายต่ออุปกรณ์: นอกจากน้ี ไฟเตอื นระบบปุมกดคียเ ลสสตารท/ระบบยบั ยัง้ • อย่าให้กญุ แจและรีโมทคอนโทรลได้รับการกระทบ 52RM20830 การทาํ งานของเคร่อื งยนตอาจกะพริบถารโี มทคอนโทรล ไมไดอยูภายในรถเม่ือทานปด ประตูหรือพยายามสตารท กระแทก ถูกความชื้น หรืออยู่ในทที่ ี่มอี ณุ หภมู ิสูง เช่น (1) ปลดลอ็ ค เครอ่ื งยนต บนแผงคอนโซลหน้ารถซึ่งถูกแสงแดดโดยตรง (2) ล็อค • เกบ็ กญุ แจและรีโมทคอนโทรลให้ห่างจากวัตถุทเี่ ป็ น (3) ดานหนา หมายเหต:ุ แม่เหลก็ (4) ดานหลัง • ถาทานทาํ กุญแจสตารทระบบยับย้ังการทํางานของ เสียงเตอื นลมื ถอดกญุ แจสตาร์ท การล็อคประตูดา นคนขับจากดานนอกรถ: เครอ่ื งยนตห รือรโี มทคอนโทรลหาย โปรดติดตอศนู ย • เสียบกุญแจและบิดใหดานบนของกุญแจหมุนไปทาง บริการซซู กู โิ ดยเร็วท่ีสดุ เพอ่ื ยกเลิกรหัสประจาํ ตัวของ เสียงเตอื นจะดงั และหยุดเปน ชวงๆ เพอ่ื เตอื นใหทานถอด กุญแจหรอื รโี มทคอนโทรลชดุ ที่หายไป และเพื่อสั่งทํา กุญแจสตารท ออกถากุญแจเสยี บคางอยทู ี่ชองเสยี บกุญแจ ดานหนาของรถ หรอื กุญแจหรือรโี มทคอนโทรลใหม เมื่อประตดู านคนขับเปดอยู • เลื่อนปุมล็อคไปทางดานหนา แลวดึงมือเปดประตู • ถา ทา นมีรถยนตอีกคนั ที่ใชกุญแจระบบยบั ย้งั การทํางาน ของเครอื่ งยนต ใหท านนํากญุ แจดังกลาวออกหางจาก ดานนอกคางไวข ณะปด ประตู สวิตชส ตารท หรอื สวติ ชสตารท เคร่อื งยนตเมื่อจะใชงาน รถซูซูกิของทาน มิฉะน้ันเคร่ืองยนตจะสตารทไมติด 2-2

ก่อนการขับขี่ การปลดลอ็ คประตดู านคนขับจากนอกรถ ใหเ สยี บกญุ แจ ระบบเซ็นทรัลลอ็ ค (ในรถบางรุ่น) ประตูทุกบานพรอมกัน ใหเสียบกุญแจที่เบาเสียบกุญแจ แลวบิดใหดา นบนของกุญแจหมนุ ไปทางดานหลังรถ ประตูดานคนขับ และบิดใหดานบนของกุญแจหมุนไป ตัวอย่าง (2) ทางดานหลังของรถสองครั้ง ตัวอย่าง หมายเหตุ: (4) ทา นสามารถสบั เปล่ยี นวิธีการสงั่ ปลดล็อคประตทู กุ บานจาก (1) การบดิ กุญแจสองครั้งเปนหนงึ่ ครั้งหรือในทางกลับกันไดท่ี (2) (1) โหมดการตง้ั คาของจอแสดงขอมลู ศึกษารายละเอียดการ ใชงานหนา จอแสดงขอ มูลไดท่ี “จอแสดงขอ มลู ” ในหมวดนี้ (3) การปลดล็อคเฉพาะประตูดานคนขับ ใหเสียบกุญแจที่ เบาเสียบกญุ แจประตดู า นคนขับ และบิดใหดา นบนของ กญุ แจหมุนไปทางดานหลังของรถหน่ึงครั้ง 57RK006 57RK007 ตัวอย่าง (1) ล็อค (1) ล็อค (1) (2) ปลดลอ็ ค (2) ปลดลอ็ ค (2) (3) ดานหนา การลอ็ คประตจู ากดานในรถ ใหเลื่อนปุมลอ็ คไปทางดานหนา (4) ดานหลัง เลื่อนปุมล็อคไปทางดานหลงั เพอื่ ปลดล็อคประตู ทานสามารถล็อคและปลดล็อคประตูทุกบาน (รวมถึง การล็อคประตูหลงั จากดานนอกรถ ใหเลือ่ นปมุ ลอ็ คไปทาง ประตูทาย) ไดพ รอ มกันโดยใชกุญแจไขท่ีเบา เสียบกุญแจ ดา นหนา และปดประตู ทานไมจําเปนตอ งดึงมือเปดประตู ประตดู านคนขบั ดานนอกคา งไวขณะปดประตู การล็อคประตทู ุกบานพรอมกนั ใหเสียบกญุ แจทเี่ บา เสียบ หมายเหตุ: กุญแจประตูดา นคนขบั และบิดใหดานบนของกุญแจหมุน 57RK008 ใหแนใ จวาไดด ึงมือเปด ประตูดานนอกคางไวข ณะที่ทา น ไปทางดานหนาของรถหน่ึงคร้ัง ปดประตหู นาทีล่ ็อคแลว มิฉะน้ันประตูจะไมล็อค (1) ล็อค การปลดล็อคเฉพาะประตูดานคนขับ ใหเสียบกุญแจท่ี (2) ปลดล็อค เบาเสียบกุญแจประตูดานคนขับและบิดใหดานบนของ กุญแจหมุนไปทางดานหลังของรถหนงึ่ คร้ัง การปลดล็อค ทานยังสามารถล็อคหรือปลดล็อคประตูทุกบานโดยการกด ท่ีดานหนา หรือดานหลังของสวติ ชต ามลําดับ 2-3

ก่อนการขับข่ี หมายเหตุ: ลอ็ คนิรภยั สําหรับเดก็ (ประตูหลงั ) ประตูท้าย • ถารถของทานมีระบบคียเลสเอ็นทรีหรือระบบปุมกด ตัวอย่าง คาํ เตือน คียเลสสตารท ทานสามารถล็อคหรือปลดล็อคประตู ทุกบานโดยใชรโี มทคอนโทรลไดด วยเชนกนั ดูที่ “รโี มท (2) ตรวจเช็คให้แน่ใจทกุ คร้ังว่าประตูท้ายปิ ดสนิทและลอ็ ค คอนโทรลของระบบปุมกดคียเลสสตารท/รีโมทคอนโทรล (1) เรียบร้อยดี การปิ ดประตูท้ายให้สนิทจะช่วยป้ องกัน ของระบบคยี เลสเอน็ ทรี (ในรถบางรุน)” ในหมวดนี้ ผู้โดยสารไม่ให้ถูกเหวย่ี งออกนอกตัวรถในกรณที ่ีเกิด • ถารถของทานมีระบบปมุ กดคียเลสสตารท ทานจะสามารถ อบุ ัติเหตุ นอกจากนี้ การปิ ดประตูท้ายให้สนทิ ยงั ช่วย ล็อคหรือปลดล็อคประตทู ุกบานโดยกดสวติ ชบ นมือเปด ป้ องกนั ไม่ให้ก๊าซไอเสียเข้าสู่ภายในรถอีกด้วย ประตูดานนอกไดดวยเชนกัน ดูท่ี “รีโมทคอนโทรล แบบที่ 1 ของระบบปุมกดคียเลสสตารท/รีโมทคอนโทรลของ ระบบคยี เ ลสเอน็ ทรี (ในรถบางรุน)” ในหมวดนี้ ตัวอย่าง 52RM20030 (1) ล็อค (2) ปลดลอ็ ค ที่ประตูหลังแตล ะขา งจะมลี ็อคนิรภัยสาํ หรับเด็กตดิ ตงั้ อยู (1) ซง่ึ สามารถใชเพ่ือชว ยปองกันการเปดประตูจากทางดานใน ตัวรถโดยไมต ง้ั ใจได เมอื่ ปุม ล็อคอยูในตําแหนง ล็อค (1) 57RK102 ทานจะสามารถเปดประตหู ลังไดจ ากดานนอกตัวรถเทานั้น แตเมอ่ื ปุม ล็อคอยูในตําแหนงปลดล็อค (2) ทานจะสามารถ (1) สวติ ชปลดล็อคประตทู า ย เปดประตหู ลงั ไดท้งั จากดานในและดานนอกตัวรถ คาํ เตือน ทา นสามารถล็อคและปลดลอ็ คประตูทายไดโ ดยใชกญุ แจไข ท่ีเบา เสยี บกญุ แจประตดู านคนขับ ให้แน่ใจว่าป่ ุมลอ็ คนริ ภยั สําหรับเดก็ อยู่ในตาํ แหน่งลอ็ ค ทุกคร้ังท่ีมีเดก็ โดยสารท่เี บาะหลงั การเปดประตูทาย ใหกดสวิตชปลดล็อคประตูทาย (1) คางไว และยกประตทู า ยข้ึน 2-4

ก่อนการขับข่ี หมายเหต:ุ หมายเหตุ: แบบที่ 2 ในกรณีที่ประตูทายปดไมสนิท ใหปฏิบัติตามขั้นตอน เน่ืองจากฝาปดมีขนาดเล็กและถอดออกได ระวังอยาทาํ ตัวอย่าง ดานลางน้ี: ฝาปด (2) หาย 1) กดสวติ ชปลดลอ็ คประตูทาย (1) และเปดประตทู ายขึ้น 57RK010 2) หลงั จากน้ันสองถึงสามวนิ าที ใหปด ประตทู า ยอกี คร้งั ตัวอย่าง 3) ตรวจสอบใหแ นใ จวา ประตูทา ยปด สนทิ การเปดประตทู าย ใหเสียบกุญแจและบดิ ตามเขม็ นาฬิกา ถาทานไมสามารถปลดล็อคประตูทายโดยใชกุญแจไขท่ี (3) เพอ่ื ปลดล็อค แลวยกประตทู ายขนึ้ เบาเสียบกุญแจประตูดานคนขับเน่ืองจากแบตเตอร่ีแบบ (3) ตะก่ัว-กรดหมดประจุหรอื เกิดความบกพรอ ง ใหปฏิบตั ิตาม ขอพึงระวัง ข้ันตอนดานลางเพ่อื ปลดลอ็ คประตทู า ยจากดานในตวั รถ 65P30080 1) พับเบาะหลังไปขางหนา เพื่อใหเขา สูประตูทา ยไดง า ยข้นึ อย่าใช้กญุ แจเพ่ือยกประตูท้ายขนึ้ มฉิ ะน้ันกญุ แจอาจ 3) ใชไขควงปากแบนเลือ่ นคันปลดลอ็ ค (3) ตามทศิ ทาง แตกหักอย่ภู ายในลอ็ คได้ ดูท่ีหมวด “การพับเบาะหลัง” สําหรับรายละเอียด ลูกศรเพ่อื ปลดลอ็ คประตูทาย เก่ียวกบั วิธกี ารพบั เบาะหลังไปขา งหนา 4) กดเปด ประตทู ายจากดานในตัวรถ ประตูทายจะลอ็ ค ตัวอย่าง อีกครงั้ โดยการปดประตูทายเบาๆ (2) 52RM20640 ถายังไมสามารถปลดล็อคประตูทายไดโดยการกดสวิตช ปลดล็อค (1) ใหนาํ รถเขา รับการตรวจสอบทีศ่ ูนยบริการ 2) เปดฝาปด (2) กลไกล็อคประตทู าย ซูซกู ิ ข้อควรระวงั ตรวจสอบว่าไม่มีใครอยู่ใกล้ประตูท้ายขณะดันเพอื่ เปิ ด ประตูท้ายจากด้านในของตัวรถ 2-5

ก่อนการขบั ขี่ รีโมทคอนโทรลของระบบป่ ุมกดคยี ์เลสสตาร์ท/ คาํ เตือน รีโมทคอนโทรลของระบบป่ มุ กดคยี ์เลสสตาร์ท รีโมทคอนโทรลของระบบคยี ์เลสเอน็ ทรี (แบบ A) (ในรถบางรุ่น) คลน่ื วทิ ยุจากเสาสัญญาณของระบบป่ ุมกดคยี ์เลสสตาร์ท อาจรบกวนการทํางานของอปุ กรณ์ทางการแพทย์ เช่น รีโมทคอนโทรลทาํ ใหสามารถใชง านดังตอ ไปนไี้ ด: แบบ A แบบ B เคร่ืองกระต้นุ การเต้นของหัวใจ ถ้าไม่ปฏบิ ัติตามข้อควร • ทานสามารถล็อคหรือปลดล็อคประตูโดยการใชงาน ระมดั ระวงั ทร่ี ะบุไว้ด้านล่างนจี้ ะเป็ นการเพมิ่ ความเสี่ยง 52RM20050 ทจ่ี ะได้รับบาดเจ็บสาหัสหรือเสียชีวติ เน่อื งจากสัญญาณ ปมุ ลอ็ ค/ปลดลอ็ ค บนรีโมทคอนโทรลได ใหดูทคี่ าํ อธิบาย รบกวนจากคลืน่ วทิ ยุ ในหมวดนี้ รถของทา นจะมรี โี มทคอนโทรลของระบบปมุ กดคยี เ ลสสตารท • ผู้ที่ใช้อุปกรณ์ไฟฟ้ าทางการแพทย์ เช่น เครื่องกระต้นุ • ทานสามารถลอ็ คหรือปลดลอ็ คประตูโดยการกดสวติ ช (แบบ A) หรือรีโมทคอนโทรลของระบบคียเลสเอ็นทรี บนมือเปดประตูดานนอกได สําหรับรายละเอียด ใหดู (แบบ B) รโี มทคอนโทรลของระบบปมุ กดคยี เลสสตารท การเต้นของหัวใจ ควรสอบถามผู้ผลติ อุปกรณ์ทาง ที่คําอธบิ ายในหมวดน้ี จะมีทัง้ ระบบคียเ ลสเอน็ ทรแี ละระบบปุมกดคียเลสสตารท การแพทย์หรือแพทย์ว่าคลน่ื วทิ ยุจากเสาสัญญาณ • ทานสามารถสตารทเครื่องยนตโดยไมตองใชกุญแจ รีโมทคอนโทรลของระบบคียเลสเอ็นทรีจะมีเฉพาะระบบ จะไปรบกวนการทาํ งานของอุปกรณ์ทางการแพทย์ สตารทได สาํ หรับรายละเอียด ใหดทู ่ี “สวติ ชสตารท คยี เลสเอน็ ทรี สาํ หรบั รายละเอียด ใหดูทค่ี าํ อธิบายดงั ตอไปนี้ น้ันๆ หรือไม่ เคร่อื งยนต (รุนทม่ี ีระบบปมุ กดคยี เ ลสสตารท)” ในหมวด • ถ้าคลน่ื วทิ ยรุ บกวนการทํางานของอุปกรณ์ ให้ตดิ ต่อ “การใชงานรถของทาน” ศูนย์บริการซูซูกเิ พื่อปิ ดการทาํ งานของเสาสัญญาณ (2) (1) (1) ปุม ลอ็ ค 52RM20060 (2) ปุมปลดล็อค 2-6

ก่อนการขับขี่ วิธีล็อคหรือปลดล็อคประตูทุกบาน (รวมถึงประตูทาย) หมายเหตุ: การลอ็ คหรือปลดลอ็ คแบบไม่ใช้กญุ แจโดยใช้สวติ ช์บนมือ พรอมกนั โดยใชรโี มทคอนโทรลเมื่ออยูใกลกับรถมี 2 วธิ ี ถาไมเปดประตูใดๆ ภายใน 30 วินาทีโดยประมาณหลงั จาก เปิ ดประตูด้านนอก กดปมุ ปลดล็อค (2) ประตจู ะล็อคอีกคร้ังโดยอตั โนมตั ิ ระบบเซ็นทรัลลอ็ ค หมายเหต:ุ ตัวอย่าง (1) • การล็อคประตทู ุกบาน ใหกดปุมล็อค (1) หน่ึงครง้ั • รศั มีการทํางานสูงสดุ ของรีโมทคอนโทรลอยูท่ปี ระมาณ • การปลดลอ็ คเฉพาะประตูดานคนขบั ใหก ดปมุ ปลดล็อค 57RK103 5 ม. (16 ฟุต) ทัง้ นี้ทงั้ นั้นรศั มีการทาํ งานน้ีจะเปลย่ี นแปลง (2) หน่ึงครั้ง การปลดล็อคประตบู านอื่นๆ ใหก ดปมุ ไปตามสภาพแวดลอม โดยเฉพาะอยางย่ิง เมื่ออยูใกล เมื่อรีโมทคอนโทรลอยูภายในชวงการทํางานที่ไดอธบิ าย ปลดลอ็ ค (2) อกี หนึ่งครั้ง กับอุปกรณส งสญั ญาณอ่ืนๆ เชน หอวิทยุกระจายเสียง ไวในหมวดนี้ ทานสามารถลอ็ คหรือปลดล็อคประตู (รวมถึง หมายเหตุ: หรือวทิ ยุสือ่ สาร CB (Citizen Band หรือวทิ ยุสอ่ื สาร ประตูทาย) ไดโดยการกดสวติ ชบ นมอื เปด ประตูดา นนอก (1) ทา นสามารถสับเปลยี่ นวิธกี ารสงั่ ปลดลอ็ คประตทู ุกบานจาก คลื่นความถ่ีประชาชน) ที่มือเปดประตูดานคนขับ มือเปดประตูดานผูโดยสาร การกดปุม สองครั้งมาเปนการกดปุมครั้งเดียวหรอื ในทาง • ทา นจะไมสามารถใชงานรโี มทคอนโทรลเพอ่ื ควบคุม เบาะหนา หรอื ประตูทา ย กลบั กันไดท่โี หมดตง้ั คาจอแสดงขอมูล ศึกษารายละเอียด ลอ็ คประตูไดถ าโหมดสตารทอยูทต่ี ําแหนงอ่นื นอกเหนือ การใชงานหนาจอแสดงขอมูลไดที่ “จอแสดงขอมูล” ใน จาก LOCK (OFF) เม่ือปลดล็อคประตทู ุกบาน: หมวดนี้ • เมื่อประตูบานใดบานหนงึ่ เปดอยู ถาทานกดปุมล็อคท่ี • กดสวิตชบนมือเปดประตดู านนอกท่ีประตูบานใดกไ็ ด ไฟเล้ียวจะกะพริบหน่ึงครัง้ และเสียงเตอื นภายนอกจะดัง รีโมทคอนโทรล เสียงเตือนภายนอกจะดังขน้ึ และจะไม หน่งึ ครั้งเมื่อประตลู ็อค สามารถล็อคประตไู ด หนึ่งครั้งเพือ่ ล็อคประตทู ุกบาน เมอ่ื ปลดล็อคประต:ู • ถาทานทํารีโมทคอนโทรลชุดใดชุดหนึ่งหาย ใหรีบ • ไฟเล้ียวจะกะพริบสองคร้ังและเสียงเตอื นภายนอกจะ ติดตอศูนยบริการซูซูกิโดยเร็วท่ีสุดเพื่อทําการเปลี่ยน ดังสองคร้ัง รีโมทคอนโทรล ใหศูนยบริการซูซูกิลงทะเบียนรหัส • ถาสวิตชไ ฟสอ งสวา งภายในหองโดยสารอยูที่ตําแหนง รีโมทใหมในหนว ยความจําของรถทานเพ่อื ใหรหสั เกา DOOR ไฟสอ งสวางภายในหองโดยสารจะติดสวา งข้ึน ถูกลบออกไป ประมาณ 15 วนิ าที และคอยๆ ดับลง ถาทานกดสวติ ช สตารทเครือ่ งยนตใ นระหวา งนี้ ไฟสองสวา งจะเรม่ิ ดบั ลงทันที ตรวจสอบใหแนใจวาประตลู อ็ คหลังจากกดปมุ ล็อค (1) 2-7

ก่อนการขับข่ี ไฟเล้ียวจะกะพริบหนง่ึ ครงั้ และเสียงเตอื นภายนอกจะดัง หมายเหต:ุ เม่ือรีโมทคอนโทรลอยูภายในระยะประมาณ 80 ซม. หนึง่ ครั้งเม่ือประตลู ็อค • ทานจะไมสามารถใชงานล็อคประตูดวยสวิตชบนมือ (2 1/2 ฟตุ ) จากมือเปด ประตหู นาดา นนอกหรอื สวิตชที่ การปลดล็อคประตูหนึ่งบานหรือประตทู กุ บาน: ประตทู าย ทานสามารถล็อคหรอื ปลดล็อคประตโู ดยการ กดสวติ ชบ นมือเปดประตดู านนอกหนง่ึ ครัง้ เพือ่ ปลดล็อค เปดประตดู านนอกไดภายใตสภาวะดังตอ ไปนี้: กดสวิตชบนมือเปด ประตดู านนอก ประตหู นึ่งบาน กดสวิตชบ นมือเปดประตูดานนอกสองครง้ั – ถาประตูใดประตหู นง่ึ เปดหรอื ปดไมสนิท หมายเหต:ุ เพอื่ ปลดล็อคประตูทกุ บาน – ถาโหมดสตารทอยทู ี่โหมดอื่นนอกเหนอื จาก LOCK • ถารโี มทคอนโทรลอยูภายนอกชวงการทํางานของสวิตช หมายเหตุ: ทานสามารถสับเปลี่ยนวธิ ีการสั่งปลดล็อคประตูทุกบาน (OFF) บนมือเปดประตูดานนอกตามที่ไดอธิบายไวดานบน จากการกดปุมสองครั้งมาเปนการกดปุมครง้ั เดียวหรือใน • ถาไมเปดประตูใดๆ ภายใน 30 วินาทีโดยประมาณ ทานจะไมสามารถใชงานสวติ ชไ ด ทางกลับกนั ไดที่โหมดตง้ั คาจอแสดงขอมูล ศึกษารายละเอียด • ถาแบตเตอรี่ของรีโมทคอนโทรลหมดประจุ หรือมี การใชง านหนา จอแสดงขอมูลไดท่ี “จอแสดงขอ มลู ” ใน หลังจากการปลดล็อคประตูโดยการกดสวติ ชบนมอื เปด คลนื่ วทิ ยหุ รอื คล่ืนรบกวนกาํ ลงั แรงสงู ชว งการทาํ งาน หมวดน้ี ประตดู านนอก ประตจู ะล็อคอีกคร้งั โดยอัตโนมัติ ของสวิตชบนมือเปดประตูดานนอกอาจลดลงหรอื อาจ เมื่อปลดล็อคประต:ู ไมสามารถใชง านรีโมทคอนโทรลได • ไฟเลี้ยวจะกะพริบสองคร้ังและเสียงเตือนภายนอกจะ ตัวอย่าง • ถารีโมทคอนโทรลอยูใกลกระจกประตูมากเกินไป สวิตชบนมอื เปดประตดู า นนอกอาจไมทาํ งาน ดังสองคร้ัง (1) • ถามีรโี มทคอนโทรลสํารองอยูภายในรถ สวติ ชบนมือ • ถาสวติ ชไ ฟสอ งสวางภายในหองโดยสารอยูท ่ีตําแหนง เปดประตูดานนอกอาจไมทํางานตามปกติ (1) • รีโมทคอนโทรลจะทําใหส วติ ชบ นมือเปด ประตดู านนอก DOOR ไฟสองสวา งภายในหองโดยสารจะติดสวา งข้ึน ทํางานไดกต็ อเม่ืออยูภายในชวงการทาํ งานของสวิตช ประมาณ 15 วนิ าที และคอยๆ ดับลง ถาทานกดสวิตช (1) 68PH00210 เทา นัน้ ตวั อยางเชน ถารโี มทคอนโทรลอยภู ายในชวง สตารท เครือ่ งยนตในระหวา งน้ี ไฟสอ งสวา งจะเรมิ่ ดบั การทํางานของสวิตชบนมือเปดประตูดานนอกดาน ลงทนั ที (1) 80 ซม. (2 1/2 ฟุต) คนขบั แตไมอยูในชวงการทาํ งานของสวติ ชบนมือเปด ตรวจสอบใหแนใจวาประตูล็อคแลวหลังจากกดสวิตช ประตูดา นนอกดานผโู ดยสารเบาะหนาหรอื สวติ ชบนมอื บนมือเปดประตูดานนอกเพือ่ ลอ็ คประตู เปดประตูดานนอกประตูทาย ทานสามารถใชงานสวติ ช ทป่ี ระตูดานคนขับไดแตไมส ามารถใชงานสวิตชทป่ี ระตู ดานผูโ ดยสารเบาะหนาหรือสวติ ชท่ีประตูทายได 2-8

ก่อนการขับข่ี ขอพึงระวงั • ตรวจสอบวา คนขบั ถือรีโมทคอนโทรลไวเสมอ )A( • ถาทานทํารีโมทคอนโทรลชุดใดชุดหนึ่งหาย ใหรีบ รีโมทคอนโทรลเป็ นอปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ท่ลี ะเอยี ดอ่อน 52RM20090 เพ่ือหลกี เลย่ี งความเสียหายต่อรีโมทคอนโทรล: ติดตอศูนยบริการซูซูกิโดยเร็วที่สุดเพื่อทําการเปลี่ยน • อย่าให้กุญแจได้รับการกระทบกระแทก ความชื้น รีโมทคอนโทรล ใหศูนยบริการซูซูกลิ งทะเบียนรหัส การนํากญุ แจออกจากรีโมทคอนโทรล ใหเ ลื่อนปมุ ลอ็ ค (A) รโี มทใหมในหนวยความจาํ ของรถทานเพ่ือใหรหสั เกา ตามทิศทางลูกศร แลว ดึงกุญแจออกจากรีโมทคอนโทรล หรืออย่ใู นท่ที ี่มอี ุณหภูมสิ ูง เช่น บนแผงคอนโซล ถูกลบออกไป เสียงเตอื นสวติ ช์บนมือเปิ ดประตูด้านนอก หน้ารถซ่ึงถูกแสงแดดโดยตรง • ทานสามารถใชรีโมทคอนโทรลและกุญแจกับรถของ เสยี งเตือนภายนอกจะดงั บ๊ีบประมาณ 2 วินาทีในสภาวะ • เก็บรีโมทคอนโทรลให้ห่างจากวตั ถุที่เป็ นแม่เหล็ก ทา นไดส งู สดุ 4 ชุด สอบถามรายละเอยี ดไดทศ่ี นู ยบริการ ดังตอไปนี้ เพือ่ เตือนใหท า นทราบวาสวิตชบนมือเปด ประตู เช่น โทรทัศน์ ซูซูกิ ดานนอกไมทํางาน: • อายุการใชงานแบตเตอร่ีของรีโมทคอนโทรลอยูท่ี 2 ป • สวติ ชบนมอื เปด ประตดู า นนอกถกู กดหลงั จากปดประตู หมายเหตุ: โดยประมาณ แตสามารถแตกตางออกไปไดขนึ้ อยูกบั ระบบปุมกดคียเลสสตารทอาจทาํ งานไมถ ูกตอ งในสภาพ สภาวะการใชงาน ทุกบานขณะท่ีโหมดสตารท เปลี่ยนไปที่ ACC หรอื ON แวดลอมบางกรณีหรือภายใตสภาวะการทํางานบางอยาง โดยการกดสวติ ชสตารทเครื่องยนต ดังเชนตอ ไปน้ี: 52RM20080 • สวติ ชบนมือเปดประตูดานนอกถูกกดในสภาวะดังตอ • เม่อื มีสัญญาณกาํ ลังแรงตางๆ มาจากโทรทัศน โรงงาน ไปนี้ หลังจากเปลี่ยนโหมดสตารทไปท่ี LOCK (OFF) การเกบ็ กญุ แจไวใ นรโี มทคอนโทรล ใหดนั กุญแจเขา ใน โดยการกดสวติ ชสตารทเครื่องยนต ไฟฟาหรอื โทรศัพทเคล่ือนท่ี รีโมทคอนโทรลจนไดยินเสยี งคลิก – ท้ิงรีโมทคอนโทรลไวภายในรถ • เมื่อรีโมทคอนโทรลอยูใกลหรือถูกบังดวยวัตถุที่เปน – ประตใู ดประตูหนงึ่ (รวมถึงประตทู าย) เปด โลหะ • เมื่อใชงานรีโมทคอนโทรลแบบคล่ืนวิทยุของระบบ คียเลสเอ็นทรีในบริเวณใกลเคียง • เมื่อวางรีโมทคอนโทรลไวใกลกับอปุ กรณอ เิ ลก็ ทรอนิกส เชน คอมพวิ เตอร นอกจากนี้ยังมีขอควรระมัดระวงั และขอมูลเพ่ิมเตมิ ท่ที า น ควรทราบดังน:ี้ • ตรวจสอบวาไดเก็บกุญแจไวในรีโมทคอนโทรล ถา รีโมทคอนโทรลไมสามารถใชง านได ทา นจะไมสามารถ ล็อคหรอื ปลดล็อคประตูได 2-9

ก่อนการขับข่ี กดสวติ ชบนมือเปดประตูดานนอกอีกครง้ั หลงั จากปฏิบัติ ไฟแสดงสถานะจะดบั ลงภายในเวลาหลายวินาทีหลงั จาก การเปล่ยี นแบตเตอร่ี ดังตอ ไปน้ี: นํารโี มทคอนโทรลกลับไปยังบริเวณของรถนอกเหนือจาก ถาทานไมสามารถใชง านรีโมทคอนโทรลไดตามปกติ ให ขณะที่โหมดสตารทเปลี่ยนไปที่ LOCK (OFF) โดยการ บรเิ วณหองเกบ็ สัมภาระ เปลีย่ นแบตเตอร่ี กดสวิตชสตารทเคร่ืองยนต ใหนํารีโมทคอนโทรลออก ถารีโมทคอนโทรลถูกทิง้ ไวในรถและทานล็อคประตูดาน การเปลี่ยนแบตเตอร่ีของรีโมทคอนโทรล: ถารีโมทคอนโทรลอยภู ายในรถและตรวจเช็ควา ประตูทกุ คนขับหรือประตูดานผูโดยสารเบาะหนา ดังอธิบายไว บานปดสนทิ ดานลา ง ประตจู ะปลดลอ็ คโดยอตั โนมัติ • ถา ทา นเปด ประตดู านคนขับและลอ็ คประตโู ดยการเลอ่ื น ฟังก์ชั่นการเตือน ปมุ ลอ็ คไปทางดา นหนา หรอื กดสวติ ชล็อคประตไู ฟฟา ตัวอย่าง ประตดู านคนขบั จะปลดล็อคโดยอัตโนมตั ิ • ถาทานเปด ประตูดา นผโู ดยสารเบาะหนาและลอ็ คประตู โดยการเล่ือนปุมล็อคไปทางดา นหนาหรอื กดสวิตชล็อค ประตไู ฟฟา ประตูดานผูโดยสารเบาะหนาจะปลดลอ็ ค โดยอัตโนมตั ิ หมายเหต:ุ 52RM20650 • การเตือนจะไมทํางานเมื่อรีโมทคอนโทรลอยูที่แผง 1) ใชไขควงปากแบนหุมดวยผานุมสอดเขาในรองของ หนาปดในชองเก็บของ ในหองเก็บสัมภาระ ในแผง รโี มทคอนโทรล และงัดเบาๆ ใหเปดออก บงั แดดหรือบนพ้นื ฯลฯ 52RM20610 • ตรวจสอบวาคนขบั ถือรีโมทคอนโทรลไวเ สมอ • อยาทงิ้ รีโมทคอนโทรลไวในรถเม่อื ออกจากรถ ถารโี มทคอนโทรลไมอยภู ายในรถภายใตสภาวะดังตอ ไปนี้ เสียงเตือนจะดงั ขึน้ เปนชว งๆ เปนเวลา 2 วนิ าทโี ดยประมาณ และไฟเตือนระบบปุมกดคียเลสสตารท/ระบบยับยั้งการ ทํางานของเครอ่ื งยนตบ นแผงหนาปดจะกะพรบิ : เมื่อมปี ระตูต้ังแตหนงึ่ บานข้นึ ไปเปดอยแู ละปดประตทู กุ บาน ในภายหลังขณะที่โหมดสตารท อยูที่ตาํ แหนงอนื่ นอกเหนือ จาก LOCK (OFF) 2-10

ก่อนการขับข่ี คาํ เตือน (1) (1) การกลนื แบตเตอร่ีลเิ ธียมอาจทําให้ได้รับบาดเจบ็ ภายใน อย่างรุนแรง ดังน้ัน อย่าให้ใครก็ตามกลืนแบตเตอรี่ ลเิ ธียม และเกบ็ แบตเตอรี่ลเิ ธียมให้พ้นมือเดก็ และห่าง จากสัตว์เลยี้ ง ถ้ากลนื เข้าไป ให้รีบไปพบแพทย์ทันที 56RH00214 ขอพึงระวงั 80JM133 (1) แบตเตอรี่ลิเธียมแบบกระดุม: • รีโมทคอนโทรลเป็ นอุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ท่ีละเอยี ดอ่อน (1) สัญลักษณถ งั ขยะมีลอ ทับดวยเครื่องหมายกากบาท CR2032 หรือเทียบเทา เพอ่ื หลกี เลย่ี งความเสียหายต่อรีโมทคอนโทรล อย่า ให้รีโมทคอนโทรลถูกฝ่ ุนหรือความชื้น หรืออย่าให้ สัญลักษณถ ังขยะมีลอทับดวยเคร่อื งหมายกากบาท (1) บงช้ี 2) เปลี่ยนแบตเตอรี่ (1) โดยใหขั้วลบ (–) หนั เขา หาดานลาง ชิ้นส่วนภายในได้รับการกระทบกระเทือน วาใหเก็บรวบรวมแบตเตอรท่ี ีใ่ ชแลวแยกจากขยะทั่วไป ของตัวเรอื น ดังภาพ การท่ีทานท้งิ แบตเตอร่ที ่ีใชแลวหรือนาํ ไปรีไซเคลิ อยางถูกวิธี • ถ้าเปลย่ี นแบตเตอร่ีด้วยตนเอง รีโมทคอนโทรลอาจ จะชวยปอ งกันผลกระทบเชิงลบตอสขุ ภาพและสง่ิ แวดลอม 3) ปด รโี มทคอนโทรลใหแนน เกิดความเสียหายจากไฟฟ้ าสถิต ก่อนท่ีจะเปลีย่ น ซ่ึงเกิดข้ึนไดจากการทง้ิ แบตเตอร่ีอยา งไมเหมาะสม การ 4) ตรวจสอบวาทานสามารถใชรโี มทคอนโทรลควบคมุ แบตเตอรี่ ให้กาํ จัดไฟฟ้ าสถิตทส่ี ะสมอย่ใู นร่างกาย รไี ซเคิลวัสดุจะชวยอนรุ กั ษทรพั ยากรธรรมชาติ ทา นสามารถ โดยจับส่ิงของที่เป็ นโลหะ สอบถามขอมูลโดยละเอียดเกี่ยวกับการกาํ จัดหรือการ ล็อคประตไู ด รีไซเคลิ แบตเตอรท่ี ่ใี ชแลวไดท่ศี ูนยบริการซซู กู ิ 5) กาํ จดั แบตเตอรี่ทใี่ ชแ ลวใหถ ูกตองตามกฎหรือขอบังคบั หมายเหต:ุ จะตองกาํ จัดแบตเตอร่ีท่ีใชแลวอยางถูกตองตามกฎหรือ ท่ีบังคับใช อยาทิ้งแบตเตอรี่ลิเธียมรวมกับขยะใน ขอบังคับทบ่ี งั คับใช และจะตองไมท ้ิงลงถังขยะในครวั เรือน ครัวเรอื นทั่วไป ท่ัวไป 2-11

ก่อนการขับขี่ รีโมทคอนโทรลของระบบคยี ์เลสเอน็ ทรี ระบบเซ็นทรัลลอ็ ค หมายเหตุ: (แบบ B) • การล็อคประตทู ุกบาน ใหกดปมุ ล็อค (1) หน่ึงครัง้ • รศั มีการทํางานสูงสุดของรีโมทคอนโทรลระบบคยี เ ลสเอ็นทรี • การปลดล็อคเฉพาะประตูดานคนขับ ใหก ดปุมปลดล็อค (1) อยทู ี่ประมาณ 5 ม. (16 ฟตุ ) ท้ังนท้ี ้ังน้ันรศั มกี ารทํางานน้ี (2) (2) หนึง่ ครั้ง จะเปลี่ยนแปลงไปตามตามสภาพแวดลอม โดยเฉพาะ • การปลดล็อคประตูบานอ่ืนๆ ใหกดปุมปลดล็อค (2) อยางย่ิง เม่ืออยูใกลกับอุปกรณสงสัญญาณอ่ืนๆ เชน 79MH0237 หอวิทยุกระจายเสียงหรือวิทยุสื่อสาร CB (Citizen Band อีกหนึง่ คร้ัง หรอื วทิ ยุคลื่นความถ่ีประชาชน) (1) ปุมล็อค หมายเหตุ: • ทานจะไมสามารถใชงานรโี มทคอนโทรลเพือ่ ควบคมุ (2) ปุมปลดล็อค ทานสามารถสับเปล่ียนวธิ ีการสัง่ ปลดล็อคประตูทุกบาน ล็อคประตูไดถา กญุ แจสตารท เสียบอยูในสวิตชสตารท จากการกดปุมสองครั้งมาเปนการกดปุมครั้งเดียวหรอื ใน • เมือ่ ประตบู านใดบานหนง่ึ เปด อยู ทานจะปลดลอ็ คประตู วิธลี ็อคหรือปลดล็อคประตทู ุกบาน (รวมถงึ ประตทู า ย) ทางกลบั กนั ไดท่ีโหมดต้ังคา จอแสดงขอ มลู ศึกษารายละเอียด ไดโดยใชรีโมทคอนโทรลเทานั้น และไฟเล้ียวจะไม พรอมกนั โดยใชรโี มทคอนโทรลเมื่ออยูใกลกบั รถมี 2 วธิ ี การใชง านหนา จอแสดงขอมูลไดที่ “จอแสดงขอ มลู ” ใน กะพริบ หมวดน้ี • ถาทานทํารีโมทคอนโทรลชุดใดชดุ หน่ึงหาย ใหร บี ตดิ ตอ ไฟเล้ียวจะกะพริบหนึง่ ครัง้ เมื่อประตูล็อค ศูนยบริการซูซูกิโดยเร็วท่ีสุดเพื่อทําการเปล่ียนรีโมท เมื่อปลดล็อคประตู: คอนโทรล ใหศูนยบ ริการซซู กู ลิ งทะเบียนรหัสรีโมทใหม • ไฟเล้ียวจะกะพริบสองครง้ั ในหนวยความจาํ รถของทาน ซึ่งรหัสเกาจะถกู ลบออกไป • ถาสวิตชไ ฟสอ งสวา งภายในหองโดยสารอยูท่ีตาํ แหนง ขอพึงระวัง DOOR ไฟสองสวา งภายในหองโดยสารจะติดสวา งข้ึน ประมาณ 15 วินาที และคอ ยๆ ดับลง ถา ทานเสยี บกุญแจ รีโมทคอนโทรลเป็ นอปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ทลี่ ะเอยี ดอ่อน เขาไปในสวติ ชสตารท ในระหวางนี้ ไฟสอ งสวางจะเร่ิม เพอื่ หลีกเลีย่ งความเสียหายต่อรีโมทคอนโทรล: ดับลงทันที • อย่าให้กุญแจได้รับการกระทบกระแทก ความชื้น ตรวจสอบใหแ นใจวา ประตูลอ็ คหลังจากกดปมุ ลอ็ ค (1) หมายเหต:ุ หรืออย่ใู นที่ที่มีอุณหภูมิสูง เช่น บนแผงคอนโซล ถาไมเปดประตใู ดๆ ภายใน 30 วนิ าทโี ดยประมาณหลัง หน้ารถซ่ึงถูกแสงแดดโดยตรง จากกดปมุ ปลดล็อค (2) ประตูจะล็อคอีกครั้งโดยอัตโนมัติ • เก็บรีโมทคอนโทรลให้ห่างจากวตั ถุท่ีเป็ นแม่เหล็ก เช่น โทรทัศน์ 2-12

ก่อนการขับขี่ การเปล่ยี นแบตเตอร่ี (2) คาํ เตือน ถาทานไมสามารถใชง านรีโมทคอนโทรลไดตามปกติ ให เปลยี่ นแบตเตอร่ี (3) การกลนื แบตเตอร่ีลเิ ธียมอาจทาํ ให้ได้รับบาดเจบ็ ภายใน การเปล่ยี นแบตเตอรข่ี องรีโมทคอนโทรล: อย่างรุนแรง ดังน้นั อย่าให้ใครกต็ ามกลนื แบตเตอรี่ลเิ ธยี ม และเก็บแบตเตอร่ีลิเธียมให้พ้นมือเด็กและห่างจาก (1) สัตว์เลีย้ ง ถ้ากลนื เข้าไป ให้รีบไปพบแพทย์ทนั ที (2) ขอ พงึ ระวงั 68LM249 • รีโมทคอนโทรลเป็ นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่ (3) แบตเตอร่ลี ิเธียมแบบกระดุม: ละเอยี ดอ่อน เพื่อหลีกเล่ยี งความเสียหายต่อรีโมท CR1616 หรือเทยี บเทา คอนโทรล อย่าให้รีโมทคอนโทรลถูกฝ่ ุนหรือความชื้น หรืออย่าให้ชิ้นส่วนภายในได้รับการกระทบกระเทือน 68LM248 3) สอดปลายไขควงแบนเขาไปในรองของรีโมทคอนโทรล (2) และงัดเบาๆ ใหเปดออก • เมอื่ เปลย่ี นแบตเตอรี่ด้วยตนเอง รีโมทคอนโทรลอาจ 1) ถอดสกรู (1) และเปดฝาครอบรีโมท ชํารุดเสียหายจากไฟฟ้ าสถติ ก่อนที่จะเปลย่ี นแบตเตอรี่ 2) นาํ รีโมท (2) ออกมา 4) เปล่ียนแบตเตอรี่ (3) โดยใหข้วั บวก (+) ของแบตเตอรี่ ให้กาํ จัดไฟฟ้ าสถติ ทส่ี ะสมอย่ใู นร่างกายโดยจับส่ิงของ หนั เขาหาเคร่อื งหมาย “+” ของตัวรีโมท ท่ีเป็ นโลหะ 5) ปด รีโมทคอนโทรลและติดต้ังเขากับตวั เรือนรีโมท หมายเหตุ: 6) ปดฝาครอบรโี มท ติดตงั้ และขันสกรู (1) ใหแนน จะตองกาํ จัดแบตเตอร่ีที่ใชแลวอยางถูกตองตามกฎหรือ 7) ตรวจสอบวาทานสามารถใชร โี มทคอนโทรลควบคุม ขอบงั คับทบี่ ังคับใช และจะตองไมท ง้ิ ลงถังขยะในครวั เรือน ทั่วไป ล็อคประตไู ด 8) กําจดั แบตเตอร่ีทใ่ี ชแ ลวใหถ ูกตองตามกฎหรือขอบังคับ ท่ีบังคับใช อยาท้ิงแบตเตอร่ีลิเธียมรวมกับขยะใน ครัวเรือนทัว่ ไป 2-13

ก่อนการขับขี่ (1) ระบบสัญญาณเตอื นการโจรกรรม หมายเหต:ุ (ในรถบางรุ่น) • ระบบสัญญาณเตือนการโจรกรรมจะทําใหเกิดสัญญาณเตือน 80JM133 หมายเหต:ุ เมื่อพบสภาวะใดๆ ที่กําหนดไว อยา งไรก็ตามระบบจะไมม ี (1) สัญลักษณถงั ขยะมลี อทับดวยเครอื่ งหมายกากบาท สาํ หรับไฟแสดงสถานะสัญญาณเตือนการโจรกรรม (สําหรับ ฟง กช่ันใดๆ ทจี่ ะปองกนั การบุกรุกเขาสภู ายในรถ สญั ลักษณถ ังขยะมีลอทับดวยเครือ่ งหมายกากบาท (1) บงช้ี รนุ ที่ไมม ีระบบปุมกดคียเ ลสสตารท หรือไมม ีระบบปุม กด • ใหใชรีโมทคอนโทรลของระบบปุมกดคียเลสสตารท วา ใหเก็บรวบรวมแบตเตอร่ีที่ใชแลว แยกจากขยะท่ัวไป คียเลสสตารท) โปรดดเู รอื่ ง “ไฟแสดงสถานะสญั ญาณเตือน สวิตชบนมือเปดประตูดานนอกหรือรีโมทคอนโทรล การท่ีทา นทิง้ แบตเตอรี่ท่ีใชแลวหรอื นําไปรีไซเคิลอยางถูกวิธี การโจรกรรม (ในรถบางรุน)” ในหมวดน้ี ของระบบคียเลสเอน็ ทรีเพือ่ ปลดล็อคประตเู สมอ เม่ือ จะชวยปองกันผลกระทบเชิงลบตอ สขุ ภาพและสง่ิ แวดลอ ม ระบบสัญญาณเตอื นการโจรกรรมจะทาํ งานหลังจากล็อค ระบบสญั ญาณเตือนการโจรกรรมทาํ งานอยู การใชก ุญแจ ซ่ึงเกิดขึ้นไดจากการทิ้งแบตเตอร่ีอยางไมเหมาะสม การ ประตปู ระมาณ 20 วนิ าที จะเปน การกระตนุ สัญญาณเตือนใหทํางาน รไี ซเคิลวัสดุจะชวยอนรุ ักษทรัพยากรธรรมชาติ ทา นสามารถ ระบบปุมกดคียเลสสตารท – ใชรีโมทคอนโทรลหรือกด • ถา มีบุคคลใดท่ีไมท ราบเก่ียวกับระบบสัญญาณเตอื นการ สอบถามขอมูลโดยละเอียดเก่ียวกับการกําจัดหรือการ สวิตชท มี่ ือเปด ประตดู านคนขบั มือเปดประตดู า นผูโดยสาร โจรกรรมนี้จะขบั รถของทาน ขอแนะนาํ ใหอ ธบิ ายถึงระบบ รีไซเคลิ แบตเตอรี่ทีใ่ ชแลว ไดที่ศูนยบริการซซู ูกิ เบาะหนาหรือประตทู าย และการทาํ งานของระบบใหกบั บุคคลนน้ั หรือยกเลิก ระบบคยี เลสเอน็ ทรี – ใชรีโมทคอนโทรล การทํางานของระบบไวกอน การทําใหสัญญาณเตือน ขณะที่ระบบทํางาน เม่ือมีการพยายามจะเปดประตูโดย ทาํ งานดวยความไมรูอาจกอใหเกิดความราํ คาญแก ใชวธิ กี ารอ่นื ๆ (*) นอกเหนือจากใชรโี มทคอนโทรลของ บุคคลอ่ืน ระบบปุมกดคียเ ลสสตารท สวติ ชบ นมอื เปดประตูดานนอก • แมวาระบบสัญญาณเตือนการโจรกรรมจะทํางานอยู หรือรีโมทคอนโทรลของระบบคียเลสเอ็นทรี จะทําให ทานก็ควรตอ งระมัดระวังเพือ่ ปอ งกันการโจรกรรมดว ย สัญญาณเตอื นถูกกระตนุ ใหท ํางาน อยาทง้ิ เงนิ สดหรือสิ่งของมคี า ไวในรถของทาน * วิธีเหลานรี้ วมถึงวิธีดังตอ ไปน:้ี • ระบบสญั ญาณเตือนการโจรกรรมเปนแบบไมตองบาํ รุง รักษา – ใชกุญแจ – ใชปุมลอ็ คท่ีประตู – สวติ ชล็อคประตไู ฟฟา ขอ พึงระวงั ห้ามดัดแปลงหรือถอดระบบสัญญาณเตอื นการโจรกรรม ถ้ามกี ารดัดแปลงหรือถอดออก ระบบดงั กล่าวจะทาํ งาน บกพร่อง 2-14

ก่อนการขับขี่ วธิ ีการทําให้ระบบสัญญาณเตือนการโจรกรรมทาํ งาน หมายเหต:ุ วธิ ีการยกเลกิ การทํางานระบบสัญญาณเตือนการโจรกรรม (เมอ่ื เปิ ดใช้งาน) • เพื่อปองกันการกระตุนการทํางานของสัญญาณเตือน ปลดล็อคประตูโดยใชรีโมทคอนโทรลของระบบปุมกด ล็อคประตทู ุกบาน (รวมถึงประตูทาย) โดยใชรีโมทคอนโทรล คียเลสสตารท สวติ ชบนมือเปดประตดู า นนอกหรือรโี มท ของระบบปุมกดคียเลสสตารท สวิตชบนมือเปดประตู โดยไมตัง้ ใจ ใหห ลีกเล่ียงการทําใหร ะบบทาํ งานในขณะ คอนโทรลของระบบคียเลสเอ็นทรี ไฟแสดงสถานะ ดานนอก หรือรีโมทคอนโทรลของระบบคียเลสเอ็นทรี ทม่ี ีคนอยใู นรถ สญั ญาณเตือนจะถูกกระตนุ ใหท ํางาน สัญญาณเตือนการโจรกรรมจะดับลง แสดงใหทราบวา ไฟแสดงสถานะสัญญาณเตือนการโจรกรรม (1) จะเร่ิม ถามีบุคคลภายในรถปลดลอ็ คประตโู ดยใชปมุ ลอ็ คหรือ ระบบสญั ญาณเตอื นการโจรกรรมไมทาํ งาน กะพริบ และระบบสญั ญาณเตอื นการโจรกรรมจะเริม่ ทาํ งาน สวติ ชลอ็ คประตูไฟฟา วธิ ีการหยดุ สัญญาณเตือน ในเวลาประมาณ 20 วนิ าที • ระบบสัญญาณเตือนการโจรกรรมจะไมทํางานเมื่อลอ็ ค ถาสัญญาณเตือนถูกกระตุนใหทาํ งานโดยอัตโนมัติ ให ขณะที่ระบบทาํ งาน ไฟแสดงสถานะจะกะพริบตอเนื่อง ประตูทุกบานโดยใชกุญแจจากทางดานนอก หรือใช ปลดล็อคประตูโดยใชรีโมทคอนโทรลของระบบปุมกด รอบละ 2 วนิ าทโี ดยประมาณ ปมุ ลอ็ คหรือสวติ ชล็อคประตูไฟฟา จากภายในรถ คียเ ลสสตารท สวิตชบ นมือเปดประตูดา นนอก หรอื รโี มท • ถามีประตูใดประตูหนึง่ ไมถูกใชงานภายในระยะเวลา คอนโทรลของระบบคียเ ลสเอน็ ทรี หรือกดสวติ ชสตารท (1) 30 วนิ าทีโดยประมาณหลังจากปลดล็อคประตูโดยใช เครื่องยนตเพื่อเปล่ียนโหมดสตารทไปยัง ON หรือบิด รโี มทคอนโทรลของระบบปุมกดคียเลสสตารท สวิตช สวติ ชสตารทไปทีต่ าํ แหนง “ON” สัญญาณเตอื นจะหยุด ตัวอย่าง บนมือเปดประตูดานนอก หรอื รีโมทคอนโทรลระบบ ทาํ งาน คียเ ลสเอ็นทรี ประตจู ะลอ็ คโดยอัตโนมัตอิ กี คร้ัง หลงั จาก หมายเหต:ุ 57RK011 ล็อคประตูแลว ระบบสัญญาณเตือนการโจรกรรมจะ • แมว าหลังจากสัญญาณเตอื นจะหยุดดัง ถา ทานลอ็ คประตู ทํางานภายในเวลา 20 วนิ าทโี ดยประมาณถา ระบบอยู ในสถานะเปด ใชงาน โดยใชรีโมทคอนโทรลของระบบปมุ กดคียเ ลสสตารท สวิตชบนมือเปดประตูดานนอกหรือรีโมทคอนโทรล ของระบบคียเลสเอ็นทรี ระบบสัญญาณเตือนการโจรกรรม จะกลับมาทาํ งานหลังจากนัน้ ประมาณ 20 วินาที 2-15

ก่อนการขบั ขี่ • ถาทานปลดแบตเตอร่ีแบบตะก่ัว-กรดในขณะระบบ การเปิ ดใช้งานและยกเลกิ การทํางานระบบสัญญาณเตือน วิธีการสับเปล่ียนสถานะของระบบสัญญาณเตือน สัญญาณเตือนการโจรกรรมอยใู นสถานะที่ระบบทาํ งาน การโจรกรรม การโจรกรรม หรือสัญญาณเตือนกําลังทํางาน สัญญาณเตือนจะถูก ระบบสัญญาณเตือนการโจรกรรมสามารถเปดใชงานหรือ ทานสามารถสับเปลยี่ นระบบสญั ญาณเตอื นการโจรกรรม กระตุนหรือถูกกระตุนอีกคร้ังเมอ่ื ตอแบตเตอรก่ี ลบั เขา ยกเลิกการทาํ งานได จากสถานะเปดใชง านไปเปนสถานะยกเลิกการทาํ งาน โดย ที่ถงึ แมวาในชวงเวลาลาสดุ สญั ญาณเตือนจะหยดุ ทํางาน เม่อื เปิ ดใช้งาน (การต้ังค่าจากโรงงาน) ใชวธิ กี ารดังตอ ไปน้ี ในชวงระยะเวลาระหวางทป่ี ลดและตอ แบตเตอรี่แบบ เมื่อระบบถูกเปด ใชงาน จะทําใหไฟเตอื นฉุกเฉนิ กะพริบ ตัวอย่าง ตะก่วั -กรดกลับเขาท่ี เปนเวลาประมาณ 40 วินาทีถาตรวจพบสภาวะท่ีกระตุน การทาํ งานของสญั ญาณเตือนใดๆ ระบบจะทาํ ใหเ สยี งเตอื น (2) • แมว า หลังจากสัญญาณเตือนหยุดทาํ งานเม่อื ส้นิ สดุ ระยะ ภายในดังบีบ๊ เปน ชวงๆ เปน ระยะเวลาประมาณ 10 วนิ าที เวลาการทํางานท่ีกาํ หนดไว สญั ญาณเตือนจะถูกกระตุน ซ่ึงจะตามดวยเสียงแตรดังขึ้นเปนชวงๆ เปนระยะเวลา (1) ใหทาํ งานอีกครั้งถาเปดประตูใดประตหู นึ่งโดยไมได ประมาณ 30 วินาที ยกเลกิ การทํางานระบบสัญญาณเตอื นการโจรกรรม ไฟแสดงสถานะสัญญาณเตือนการโจรกรรมจะกะพริบ 57RK012 ตอ เนื่องในระหวา งชว งระยะเวลาน้ี การตรวจเช็คว่าสัญญาณเตือนถูกกระตุ้นให้ทาํ งานใน เมื่อยกเลกิ การทาํ งาน ตัวอย่าง ระหว่างท่ีจอดรถหรือไม่ เมื่อระบบถูกยกเลิกการทาํ งาน ระบบจะยังคงอยูในสถานะ ถาสญั ญาณเตือนถูกกระตุนใหท าํ งานเนอื่ งจากมีการบุกรุก ไมทาํ งานแมวา ทานจะทาํ ใหระบบทํางานดว ยวธิ ใี ดๆ เขา สภู ายในรถและทา นกดสวิตชส ตารทเครอื่ งยนตเ พือ่ เปลย่ี น โหมดสตารท ไปเปน ON หรือบดิ สวิตชส ตารท ไปท่ตี าํ แหนง “ON” ไฟแสดงสถานะสัญญาณเตือนการโจรกรรมจะกะพริบ อยางรวดเรว็ เปน เวลาประมาณ 8 วนิ าที และเสียงเตอื นจะ ดังบ๊ีบ 4 ครั้งในระหวา งชวงระยะเวลาน้ี ถาเกิดกรณีน้ขี ึน้ ใหตรวจเชค็ วารถของทานถูกบุกรกุ เขา สภู ายในรถในขณะ ท่ีทานไมอยูหรือไม (3) 57RK013 2-16

ก่อนการขับข่ี 1) ปดประตูรถทุกบานแลวเลอ่ื นปุมล็อค (1) ที่ประตูดาน ตัวอย่าง ทุกครั้งที่ทา นปฏบิ ัติชุดของขน้ั ตอนดา นบน สถานะของ คนขับไปในทิศทางปลดล็อค (2) (ไปทางดานหลัง) ระบบสัญญาณเตอื นการโจรกรรมจะเปลย่ี นจากสถานะท่ี เลื่อนปุมท่สี วิตชควบคุมไฟสองสวางไปยังตําแหนง (5) เลือกปจ จบุ นั ไปเปนสถานะอ่ืนๆ ทานสามารถตรวจเช็ควา “OFF” (3) (7) (6) ระบบถูกเปดใชงานหรอื ถูกยกเลิกการทํางานไวโดยจํานวน ครง้ั ของเสียงบีบ๊ ของชุดเสียงเตือนภายในในตอนทายของ หมายเหต:ุ ข้ันตอนดังตอ ไปนี้ การทาํ งานทง้ั หมดรวมท้งั ข้นั ตอน 2) และ 3) ตอไปน้จี ะ ตอ งดาํ เนนิ การใหเสรจ็ ภายใน 15 วินาที สถานะระบบ จาํ นวนคร้ังของเสียงบี๊บ ตัวอย่าง ยกเลกิ การทาํ งาน หนึ่งคร้ัง (โหมด A) (4) (3) 57RK015 เปิ ดใช้งาน (โหมด D) 57RK014 (5) ล็อค 4 คร้ัง (6) ปลดลอ็ ค 2) เลื่อนปุมที่สวิตชควบคุมไฟสองสวางไปท่ีตาํ แหนง หมายเหต:ุ (4) แลวเล่ือนไปท่ีตําแหนง “OFF” (3) ทําซา้ํ 3) กดที่ปลายดา นล็อค (5) (ปลายดานหนา) ของสวติ ชล ็อค • ทา นไมสามารถยกเลิกการทํางานของระบบสัญญาณเตือน ประตูไฟฟา (7) เพื่อล็อคประตู แลวกดปลายดาน การทํางานน้ี 4 ครัง้ ขณะทสี่ วติ ชควบคมุ อยทู ่ีตาํ แหนง ปลดล็อค (6) (ปลายดานหลัง) เพื่อปลดล็อคประตู การโจรกรรมในขณะทร่ี ะบบอยูในสถานะทาํ งาน “OFF” ทาํ ซาํ้ การทาํ งานเหลาน้ี 3 ครั้งและสุดทายกดปลาย • ถา ทา นปฏบิ ัติขัน้ ตอน 2) และ 3) ไมเสรจ็ สมบูรณภายใน ดานล็อคของสวติ ช 15 วินาที ใหป ฏิบตั ิตามขนั้ ตอนตั้งแตต น ใหมอีกครั้ง • ตรวจสอบวาไดปดประตูทุกบานแลวเมื่อปฏิบัติตาม ข้นั ตอนดานบน หมายเหต:ุ ทานสามารถเปล่ียนระบบสัญญาณเตอื นการโจรกรรมจาก สถานะเปดใชงานไปเปนสถานะยกเลกิ การทํางานหรือในทาง กลับกันไดที่โหมดต้ังคา ของจอแสดงขอ มูล ศึกษารายละเอียด การใชง านหนา จอแสดงขอมลู ไดที่ “จอแสดงขอมูล” ใน หมวดน้ี 2-17

ก่อนการขบั ขี่ ไฟแสดงสถานะสัญญาณเตือนการโจรกรรม กระจกหน้าต่าง การควบคุมกระจกไฟฟ้ า (ในรถบางรุ่น) การควบคุมกระจกแบบธรรมดา ทานสามารถใชงานกระจกไฟฟาไดเมื่อสวิตชสตารทอยู (ในรถบางรุ่น) ท่ีตําแหนง “ON” หรือโหมดสตารทอยูที่ ON ด้านคนขับ (แบบ A) ตัวอย่าง (1) ตัวอย่าง (2) 57RK016 60G010A 57RK017 ไฟแสดงสถานะสญั ญาณเตอื นการโจรกรรมนจ้ี ะกะพริบ เลื่อนกระจกหนาตางขึ้นหรือลงโดยการหมุนมือหมุนท่ี 2-18 เม่อื สวิตชสตารทอยใู นตําแหนง “LOCK” หรือ “ACC” แผงประตู ไฟแสดงสถานะสัญญาณเตอื นการโจรกรรมท่ีกะพริบนมี้ ี ไวเพือ่ ปอ งกนั การโจรกรรมโดยทาํ ใหผูอ่ืนเชื่อวา มีระบบ รักษาความปลอดภัยตดิ ตงั้ อยใู นรถ หมายเหต:ุ สาํ หรบั ระบบสัญญาณเตือนการโจรกรรม (สําหรับรุนท่ีมี ระบบปุมกดคยี เลสเอน็ ทรีหรือระบบปมุ กดคยี เลสสตารท) โปรดดูเรื่อง “ระบบสัญญาณเตอื นการโจรกรรม (ในรถ บางรุน)” ในหมวดนี้

ก่อนการขับข่ี ประตูด้านผ้โู ดยสาร ปด ด้านคนขับ (แบบ B) (1) ตัวอย่าง (3) ตัวอย่าง (2) (5) เปด (4) 57RK019 81A009 57RK018 ประตูดานผูโดยสารมีสวติ ช (5) สําหรบั ใชงานกระจกดาน กดสวนบนของสวติ ชลงเพ่ือเปดกระจก ถาตองการปดกระจก ผูโดยสาร ใหด ันสวนบนของสวิตชขึน้ ประตูดานคนขับมีสวิตช (1) สําหรับใชงานกระจกดาน กระจกดานคนขับมีฟง กช ่นั เปด อตั โนมัติ เพือ่ เพม่ิ ความ คนขบั และสวิตช (2) สําหรบั ใชง านกระจกดานผโู ดยสาร สะดวกสบาย (เชน ทด่ี านเก็บคา ผา นทาง หรือรานอาหาร เบาะหนา หรอื สวิตช (3), (4) สาํ หรับใชง านกระจกดาน ที่ใหบริการแบบขับผา น (Drive-Through)) ฟง กชน่ั น้ีชว ย ผโู ดยสารเบาะหลังขวาและซายตามลําดับ ใหค นขับเปดกระจกไดโ ดยไมตองกดสวิตชก ระจกคางไว ท่ีตําแหนงเปด กดสวิตชกระจกดานคนขับลงจนสุดแลว ปลอย เม่ือตอ งการใหกระจกหยดุ กอนที่จะเลือ่ นลงจนสุด ใหดันสวติ ชข้ึนแลวปลอ ยทันที 2-19

ก่อนการขบั ขี่ สวติ ช์ลอ็ ค (แบบ A) (3), (4) หรือ (5) เพือ่ เล่ือนกระจกดานผโู ดยสารขึ้นหรือ กระจก ลงได ใหก ดสวิตชล็อคอีกครงั้ เพ่อื กลับมาใชงานตามปกติ ตัวอย่าง กระจกมองหลงั คาํ เตือน 68LMT0205 • ท่านควรล็อคการทาํ งานของกระจกด้านผู้โดยสาร 57RK020 ทุกคร้ังเมื่อมีเด็กโดยสารอยู่ในรถ เด็กอาจได้รับ บาดเจ็บอย่างรุนแรงถ้าส่วนใดส่วนหน่ึงของร่างกาย สวติ ช์ลอ็ ค (แบบ B) ถูกกระจกหนบี ในระหว่างทก่ี ระจกหน้าต่างทํางาน (1) ตัวอย่าง • เพอ่ื หลกี เลยี่ งไม่ให้ผู้โดยสารได้รับบาดเจ็บจากการ ถูกกระจกหน้าต่างหนีบ ตรวจสอบว่าไม่มีอวัยวะ ส่วนหน่ึงส่วนใดของผู้โดยสาร เช่น มอื หรือศีรษะ (2) (3) กดี ขวางการทาํ งานของกระจกไฟฟ้ าขณะเลอ่ื นปิ ด 68LMT0206 • ให้ถอดกญุ แจสตาร์ทออกหรือพกรีโมทคอนโทรลของ ระบบป่ ุมกดคยี ์เลสสตาร์ทติดตวั ไว้เสมอเม่อื ออกจาก (2) การขับขี่ในเวลากลางวัน รถ แม้ว่าจะเป็ นช่วงระยะเวลาส้ันๆ ก็ตาม นอกจากนี้ (3) การขบั ข่ีในเวลากลางคืน อย่าปล่อยให้เด็กอย่ใู นรถตามลาํ พงั เน่ืองจากเดก็ อาจ 57RK021 เล่นสวติ ช์กระจกไฟฟ้ าโดยรู้เท่าไม่ถงึ การณ์จนเป็ น ทานสามารถใชมือปรับกระจกมองหลังเพ่ือใหมองเห็น เหตุให้ถูกกระจกหนีบได้ ดานหลังของรถไดจากกระจก การปรบั กระจก ใหเ ลื่อน ประตูดา นคนขับมสี วิตชล อ็ คกระจกดา นผูโดยสารอยดู วย คันปรบั (1) ไปทตี่ าํ แหนงการขับขี่ในเวลากลางวนั จากน้นั เมือ่ ทา นกดสวิตชล ็อค ทานจะไมสามารถใชง านสวติ ช (2), หมายเหต:ุ ใชม ือปรบั กระจกข้นึ ลง หรือไปทางดานขา งเพือ่ ใหมองเห็น ถาทานขับรถโดยเปดกระจกหลังบานใดบานหน่งึ ทานอาจ ไดดที ี่สดุ ไดยินเสียงดังจากลมปะทะได เพื่อใหเสียงดังกลาวลดลง ใหเ ปดกระจกดานคนขับหรอื ดานผโู ดยสารเบาะหนา หรอื เปดกระจกดานหลังลงเพียงเล็กนอย 2-20

ก่อนการขับขี่ เมือ่ ขับขี่ในเวลากลางคืน ทานสามารถเล่อื นคันปรับไปที่ กระจกมองข้าง กระจกมองข้างไฟฟ้ า (ในรถบางรุ่น) ตาํ แหนงการขับขี่ในเวลากลางคืนเพื่อลดแสงสะทอนจาก ไฟหนา ของรถท่ีขับตามหลังได ตัวอย่าง ตัวอย่าง (1) (2) คาํ เตือน (1) (3) • ให้ปรับกระจกมองหลงั โดยทคี่ ันปรับอยู่ในตาํ แหน่ง (4) การขับข่ีในเวลากลางวนั ทุกคร้ัง (2) L R (3) • ให้ใช้ตําแหน่งการขับขี่ในเวลากลางคืนเฉพาะเม่ือ จําเป็ นต้องลดแสงสะท้อนจากไฟหน้าของรถท่ีขับ (4) ตามหลังเท่าน้ัน พงึ ระลกึ ไว้ว่า ในตําแหน่งนีท้ ่านอาจ ไม่สามารถมองเห็นวตั ถบุ างอย่างทีส่ ามารถมองเห็น ได้เม่ือใช้ตําแหน่งการขับข่ีในเวลากลางวนั 57RK022 57RK023 ปรบั กระจกมองขางเพอ่ื ใหส ามารถมองเหน็ ดานขา งรถของ สวติ ชควบคุมกระจกมองขางไฟฟาติดตั้งอยูท่ีแผงประตู ทานไดผา นทางกระจก ดา นคนขบั ทา นสามารถปรับกระจกมองขางไดในขณะท่ี สวิตชสตารท อยูท ่ตี ําแหนง “ACC” หรอื “ON” หรือโหมด คาํ เตือน สตารทอยูที่ ACC หรือ ON การปรับกระจกมองขาง: ให้ระมัดระวงั เม่ือตดั สินขนาดหรือระยะห่างของรถหรือ 1) บิดสวติ ชค วบคุมไปทางซายหรอื ขวาเพอื่ เลอื กกระจก วัตถุอ่ืนซ่ึงมองเห็นผ่านทางกระจกมองข้างแบบนูน ทตี่ อ งการปรับ พงึ ระลกึ ไว้ว่า วตั ถุจะดูมีขนาดเลก็ กว่าและไกลกว่าเมื่อ มองจากกระจกแบบแบน 2) กดดานขา งของสวิตชไปในทศิ ทางที่ตองการปรับกระจก 3) บิดสวิตชค วบคุมกลับไปทต่ี ําแหนง กลางเพื่อปอ งกนั การปรับกระจกโดยไมไดตั้งใจ 2-21

สวติ ช์พบั กระจกมองข้าง (ในรถบางรุ่น) เบาะหน้า ก่อนการขับขี่ ตัวอย่าง การปรับเบาะ คาํ เตือน คาํ เตือน อย่าวางส่ิงของใดๆ ใต้เบาะหน้า ถ้าส่ิงของดังกล่าวติด อย่ใู ต้เบาะหน้า อาจเกิดเหตุการณ์นีข้ นึ้ (1) อย่าปรับเบาะนัง่ หรือพนกั พิงด้านคนขับในขณะขับข่ี • ลอ็ คเบาะไม่ได้ เบาะนั่งหรือพนักพิงอาจเลื่อนโดยไม่คาดคิดเป็ นเหตุ ให้สูญเสียการควบคมุ ได้ ตรวจสอบว่าได้ปรับเบาะน่งั ตัวอย่าง และพนักพิงด้านคนขับอย่างถูกต้องเหมาะสมแล้วก่อน ทาํ การขับขี่ 57RK024 คาํ เตือน ทานสามารถพับกระจกมองขางเมื่อจอดรถในที่แคบได เพ่ือหลีกเล่ียงไม่ให้เข็มขัดนิรภัยซ่ึงเป็ นอุปกรณ์เพ่ือ กดสวิตชพบั (1) เพ่อื พบั และกางกระจกมองขา ง ใหแนใจ ความปลอดภัยหย่อนเกินไปจนเป็ นเหตุให้ประสิทธิภาพ วากระจกมองขา งกางออกจนสุดกอ นทําการขับรถ ของเข็มขัดนิรภัยลดลง ให้ตรวจสอบว่าได้ปรับเบาะ เรียบร้อยแล้วก่อนทีจ่ ะคาดเข็มขดั นิรภัย ข้อควรระวงั คาํ เตือน กระจกมองข้างท่ีเลื่อนอยู่อาจหนีบมือจนเป็ นเหตุให้ ได้รับบาดเจบ็ ได้ อย่าให้ผู้ใดกต็ ามเอามือเข้าไปใกล้กระจก ควรปรับพนักพิงท้ังหมดให้อยู่ในตาํ แหน่งต้ังตรงขณะ มองข้างขณะท่ีกระจกมองข้างกาํ ลงั พบั หรือกางออก ขบั ขี่ มิฉะน้ันประสิทธิภาพของเขม็ ขดั นิรภัยอาจลดลง เขม็ ขดั นริ ภยั ได้รับการออกแบบมาให้ปกป้ องได้สูงสุด เม่ือพนักพงิ อยู่ในตาํ แหน่งต้ังตรง (2) (3) (1) 57RK025 2-22

ก่อนการขับขี่ คนั ปรับตําแหน่งเบาะน่งั (1) พนักพงิ ศีรษะ (แบบปรับได้) หมายเหตุ: ดึงคันปรับขึ้นและเลื่อนตาํ แหนง เบาะ ทานอาจจาํ เปน ตองปรับเอนพนกั พงิ เพอ่ื ใหมีพนื้ ท่ีดา นบน มากพอทจี่ ะถอดพนกั พงิ ศีรษะออกได คนั ปรับเอนพนกั พงิ (2) ดึงคันปรบั ข้ึนและเล่ือนตําแหนงพนกั พิง ด้านหน้า คนั ปรับความสูงเบาะนั่ง (3) (ในรถบางรุ่น) ตัวอย่าง ดึงคันปรับข้ึนเพ่ือปรับเบาะใหสงู ข้นึ ดนั คันปรับลงเพ่อื ปรบั เบาะใหตํ่าลง หลังจากปรบั เบาะแลว ใหล องขยบั เบาะไปมาเพ่ือตรวจสอบ วา ไดล็อคเบาะแนน ดีแลว 80J001 75RM004 พนักพิงศรี ษะไดรบั การออกแบบมาเพ่ือชวยลดความเส่ียง การปรับพนกั พงิ ศีรษะเบาะหนาใหสูงขึ้น ใหด ึงพนักพิงศีรษะ ตอการบาดเจบ็ ท่ีคอในกรณที ี่เกิดอุบัติเหตุ ปรบั พนกั พิงศรี ษะ ข้ึนจนกระท่ังไดยินเสียงคลิก การปรับพนักพิงศีรษะลง โดยใหตาํ แหนงก่ึงกลางของพนกั พิงศีรษะอยูใกลก ับใบหู ใหดันพนักพิงศีรษะลงขณะที่กดปุมล็อคคางไว ถาตอง ดานบนมากที่สุด ถาไมสามารถปรับไดตามท่ีอธิบายไว ถอดพนกั พิงศีรษะ (เพ่อื ทาํ ความสะอาดหรือเปลยี่ น ฯลฯ) เนื่องจากผูโดยสารตัวสูงมาก ใหปรับพนักพิงศีรษะให ใหด ันปมุ ลอ็ คเขา ดานในและดึงพนกั พิงศีรษะออกจนสุด สูงทส่ี ดุ เทาที่จะทาํ ได คาํ เตือน • อย่าทําการขบั ขใ่ี นขณะท่ีถอดพนักพิงศีรษะออก • อย่าปรับพนักพงิ ศีรษะขณะขับข่ี 2-23

ก่อนการขบั ขี่ เบาะหลงั ด้านหลงั พนกั พงิ ศีรษะเบาะหลงั ตรงกลาง พนักพงิ ศีรษะ (ในรถบางรุ่น) ตัวอย่าง พนักพงิ ศีรษะไดร ับการออกแบบมาเพ่อื ชวยลดความเส่ียง ตอ การบาดเจบ็ ทคี่ อในกรณที ี่เกดิ อุบัติเหตุ คาํ เตือน • อย่าทาํ การขับขีใ่ นขณะที่ถอดพนกั พงิ ศีรษะออก • อย่าปรับพนักพงิ ศีรษะขณะขับขี่ หมายเหตุ: 61MM0A033 52RM251 ทานอาจจําเปน ตองพบั พนักพิงไปขา งหนาเพือ่ ใหมีพนื้ ท่ี มากพอทจี่ ะถอดพนักพงิ ศีรษะออกได การปรบั พนกั พิงศีรษะเบาะหลงั ใหสงู ข้ึน ใหด ึงพนักพงิ ศรี ษะ เมื่อใชพ นักพงิ ศีรษะเบาะหลงั ตรงกลาง ใหดงึ พนักพิงข้ึน ปรบั พนกั พิงศีรษะโดยใหตาํ แหนงกึ่งกลางของพนกั พิงศรี ษะ ขึ้นจนกระทั่งไดยินเสียงคลิก การปรับพนักพิงศีรษะลง แลว ล็อคใหแนน กอนการขับขี่ อยูใกลก บั ใบหดู านบนมากทสี่ ุด ถาไมส ามารถปรบั ไดตามท่ี ใหดันพนักพิงศีรษะลงขณะท่ีกดปุมล็อคคางไว ถาตอง อธิบายไวเนือ่ งจากผูโ ดยสารตัวสูงมาก ใหป รบั พนกั พิงศีรษะ ถอดพนักพงิ ศรี ษะ (เพอ่ื ทาํ ความสะอาดหรือเปลยี่ น ฯลฯ) คาํ เตือน ใหส ูงที่สุดเทา ทจี่ ะทาํ ได ใหด นั ปุมลอ็ คเขา ดา นในและดึงพนกั พิงศรี ษะออกจนสดุ เมื่อติดต้งั เบาะนิรภยั สําหรบั เด็ก ใหปรบั ความสูงของพนักพิง อย่าให้ผู้โดยสารนั่งทีเ่ บาะหลงั ตรงกลางถ้าถอดพนักพงิ ศีรษะหรอื ใหเอาออกถาจําเปนเพอื่ ใหติดต้งั เบาะนริ ภัยสําหรบั ศีรษะเบาะหลังตรงกลางออกหรือเม่ืออยู่ในตาํ แหน่ง เด็กไดพ อดี พบั เก็บ 2-24

ก่อนการขับขี่ การพบั เบาะหลงั ขอพึงระวงั ขอ พงึ ระวัง เบาะหลังในรถของทานสามารถพับไปทางดานหนาเพื่อ • ขณะท่ีเลอ่ื นพนกั พงิ ให้แน่ใจว่าได้เกยี่ วสายเข็มขัด หลังจากพับพนักพิงเบาะหลังไปทางด้านหน้าแล้ว เพมิ่ พื้นที่เก็บสมั ภาระได นิรภยั เข้ากับหูเกย่ี วเขม็ ขัดเรียบร้อยแล้ว เพ่ือไม่ให้ อย่าให้มีส่ิงแปลกปลอมเข้าไปในช่องลอ็ คของพนักพิง การพบั เบาะหลังไปทางดานหนา : เข็มขัดนิรภัยติดกับพนักพิง ขาพับเบาะน่ัง หรือ สิ่งแปลกปลอมนีอ้ าจทําให้เกดิ ความเสียหายท่ีด้านใน 1) ปรับพนกั พงิ ศีรษะ (ในรถบางรุน) ลงจนสุด เดอื ยลอ็ คเบาะน่งั การปฏบิ ตั เิ ช่นนจี้ ะช่วยป้ องกนั ของล็อค และทาํ ให้ไม่สามารถล็อคพนักพิงได้อย่าง ความเสียหายท่จี ะเกดิ ขนึ้ กบั ระบบเขม็ ขัดนริ ภยั แน่นหนา ตัวอย่าง • ให้แน่ใจว่าสายเข็มขดั นริ ภัยไม่บิดพันกนั คาํ เตือน ตัวอย่าง ถ้าท่านจําเป็ นต้องบรรทุกสัมภาระไว้ในห้องโดยสาร โดยพบั พนักพงิ เบาะหลงั ไปทางด้านหน้า ให้ยึดสัมภาระ อย่างแน่นหนา มฉิ ะน้นั สัมภาระอาจเหวย่ี งไปมาเป็ น เหตุให้ได้รับบาดเจ็บได้ อย่าวางสัมภาระซ้อนกันจน สูงกว่าพนักพิง 52RM20150 การปรับเบาะกลับไปยังตาํ แหนงปกติ ใหปฏิบตั ติ ามข้ันตอน ดานลา งนี้ 2) เกี่ยวสายเขม็ ขัดนริ ภัยเขากบั หูเกย่ี วเข็มขัด ข้อควรระวงั 52RM20160 ขณะปรับพนกั พงิ เบาะหลงั กลบั ไปยงั ตาํ แหน่งปกติ ให้ 3) ดงึ คันปลดล็อคทด่ี านบนของเบาะนงั่ แบบแยกพับได ระมดั ระวงั อย่าให้นิว้ มือของท่านติดอยู่ระหว่างตัวลอ็ ค แตละตวั แลว พบั พนกั พิงไปทางดานหนา และเดอื ยลอ็ ค 2-25

ก่อนการขับข่ี ขอ พึงระวงั ข้อควรระวงั เข็มขดั นิรภัยและเบาะนิรภยั สําหรับเดก็ • ขณะปรับพนักพิงเบาะหลังกลับไปยังตําแหน่ง ห้ ามเอามือเข้ าไปในช่ องล็อคของพนักพิงเบาะหลัง ปกติ ให้ตรวจสอบว่าไม่มสี ่ิงใดอยู่รอบๆ เดือยลอ็ ค มฉิ ะน้ันนิว้ มอื ของท่านอาจเข้าไปตดิ และได้รับบาดเจ็บ ส่ิงแปลกปลอมต่างๆ จะทาํ ให้ไม่สามารถล็อคพนกั พงิ ได้ ได้อย่างแน่นหนา ข้อควรระวงั • ขณะที่เลื่อนพนกั พงิ ให้แน่ใจว่าได้เกย่ี วสายเข็มขัด นิรภยั เข้ากบั หูเกี่ยวเข็มขัดเรียบร้อยแล้ว เพือ่ ไม่ให้ หลงั จากพนักพงิ เบาะหลงั ลอ็ คเข้าทแี่ ล้ว ให้ตรวจสอบว่า เข็มขัดนิรภัยติดกับพนักพิง ขาพับเบาะนั่ง หรือ พนักพงิ เบาะหลงั ลอ็ คไว้อย่างแน่นหนา ถ้าลอ็ คไม่แน่น เดือยล็อคเบาะนั่ง การปฏิบัติเช่นนีจ้ ะช่วยป้ องกัน ไฟสีแดงจะปรากฏท่ีคันปลดลอ็ ค ความเสียหายทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ กับระบบเข็มขัดนริ ภยั ขอ พงึ ระวงั ตัวอย่าง ปลดล็อค 65D231S สีแดง • เมื่อปรับพนักพิงเบาะหลังกลับไปที่ตําแหน่งปกติ อย่าให้มสี ิ่งแปลกปลอมเข้าไปในช่องลอ็ คของพนกั พงิ คาํ เตือน สิ่งแปลกปลอมต่างๆ จะทาํ ให้ไม่สามารถลอ็ คพนักพงิ ได้อย่างแน่นหนา คาดเขม็ ขัดนิรภัยตลอดเวลาขณะขับข่ี ลอ็ ค • ขณะปรับพนักพงิ เบาะหลงั กลบั ไปยงั ตําแหน่งปกติ คาํ เตือน ให้ใช้มอื ปรับด้วยความระมดั ระวงั ท้ังนีเ้ พอ่ื หลกี เลย่ี ง 52RM20170 ความเสียหายใดๆ ที่จะเกิดขึ้นกับตัวล็อค อย่าใช้ ถุงลมเป็ นอุปกรณ์เสริมหรือเพมิ่ เตมิ ให้กบั เขม็ ขดั นิรภัย วตั ถุใดๆ ปรับพนักพงิ หรือใช้แรงกดที่มากเกนิ ไป ในการช่วยปกป้ องการชนปะทะจากทางด้านหน้า ผู้ขับข่ี ยกพนกั พงิ ขึ้นจนกระทง่ั ล็อคเขาท่ีดี และผู้โดยสารทกุ คนต้องคาดเขม็ ขัดนิรภยั อย่างถูกต้อง • เน่ืองจากลอ็ คได้รับการออกแบบมาเพอื่ ใช้ยดึ พนักพงิ เพื่อเสริมความปลอดภัยตลอดเวลา ไม่ว่าตาํ แหน่ง หลงั จากปรบั เบาะแลว ใหขยับเบาะไปมาเพอื่ ตรวจสอบวา เบาะหลังโดยเฉพาะ ดังน้ันอย่าใช้ตัวล็อคนี้เพ่ือ ที่นั่งน้ันๆ จะมีถุงลมตดิ ต้งั หรือไม่กต็ าม ท้งั นีเ้ พอื่ ลด ไดล็อคเบาะแนน ดีแลว วตั ถุประสงค์อ่นื การใช้ตัวลอ็ คไม่ถูกต้องอาจทําให้ ความเสี่ยงต่อการบาดเจบ็ รุนแรงหรือเสียชีวติ ในกรณี เกิดความเสียหายที่ด้านในของล็อค และทาํ ให้ไม่ ท่เี กดิ การชน สามารถลอ็ คพนกั พงิ ได้อย่างแน่นหนา 2-26

ก่อนการขับข่ี เหนอื กระดูกเชิงกราน คาดผา นกระดูกเชิงกราน คาํ เตือน ห้ามดัดแปลง ถอด หรือแยกชิน้ ส่วนเขม็ ขัดนิรภยั การ ดาํ เนินการดังกล่าวอาจทาํ ให้เขม็ ขัดนริ ภัยทาํ งานบกพร่อง ซ่ึงอาจเป็ นสาเหตุให้เกิดการบาดเจ็บสาหัสหรือถึงแก่ ความตายได้ในกรณที ่ีเกดิ รถชนกนั 65D606 65D201 คาํ เตือน คาํ เตือน • อย่าให้ผ้ใู ดก็ตามโดยสารในพืน้ ท่ีเกบ็ สัมภาระของรถ (ตอ ) ในกรณีทเ่ี กดิ อบุ ตั ิเหตุ ผู้โดยสารที่ไม่ได้โดยสารบน • อย่าคาดเข็มขัดนิรภัยโดยท่ีสายเข็มขัดบิดพันกัน เบาะนงั่ และคาดเขม็ ขัดนริ ภยั จะมีความเส่ียงต่อการ ได้รับบาดเจบ็ สูงกว่ามาก และควรปรับสายเข็มขัดให้แน่นพอแต่ไม่อดึ อดั จน เกินไปเพ่ือให้สามารถปกป้ องได้ตามท่ีได้รับการ • ท่านควรปรับเขม็ ขัดนริ ภยั ให้อยู่ในลกั ษณะต่อไปนี้ ออกแบบมา สายเข็มขดั ท่ีหย่อนจะให้การปกป้ องได้ ตลอดเวลา: น้อยกว่าสายเข็มขัดที่ตึง – ให้คาดเข็มขดั นริ ภัยโดยให้สายคาดสะโพกอย่ตู ่าํ • ตรวจสอบว่าได้สอดหัวเข็มขดั นริ ภัยแต่ละอนั ลงใน และคาดผ่านกระดูกเชิงกราน ไม่ใช่คาดผ่านเอว ร่องปลอกลอ็ คเข็มขัดนิรภัยอย่างถูกต้อง เนือ่ งจาก – ให้คาดเขม็ ขัดนิรภยั โดยให้สายคาดไหล่คาดผ่าน อาจเป็ นไปได้ทีจ่ ะเสียบหัวเข็มขัดเข้ากบั ปลอกลอ็ ค ไหล่ด้านนอกเท่าน้ัน และห้ามคาดผ่านใต้แขน เข็มขดั นริ ภัยที่เบาะหลงั ผดิ ตําแหน่ง เดด็ ขาด – ให้คาดสายคาดไหล่ให้ห่างจากใบหน้าและลาํ คอ (ตอ) ของท่าน แต่อย่าให้ตกออกจากไหล่ (ตอ ) 2-27

ก่อนการขบั ข่ี คาดผา นสะโพกใหต าํ่ ทส่ี ุด คาํ เตือน คาํ เตือน 65D199 (ตอ) (ตอ ) • ห้ามใช้เข็มขดั นริ ภัยเส้นเดยี วกนั กบั ผู้โดยสารมากกว่า • สําหรับเดก็ เลก็ ถ้าเข็มขัดนิรภัยทาํ ให้คอหรือใบหน้า คาํ เตือน หนึ่งคน และห้ามคาดเขม็ ขัดนิรภยั ผ่านตัวทารกหรือ ของเด็กระคายเคือง ให้ใช้เบาะนิรภัยสําหรับเด็กที่ (ตอ) เด็กเลก็ ท่นี ั่งอย่บู นตกั ผู้โดยสาร การใช้เขม็ ขดั นริ ภยั เหมาะสม เขม็ ขัดนิรภัยในรถของท่านออกแบบขนึ้ • สตรีมีครรภ์ควรคาดเข็มขดั นิรภยั ด้วยเช่นกนั แม้ว่า ในลกั ษณะนีอ้ าจทําให้ได้รับบาดเจ็บรุนแรงในกรณี เพอื่ ใช้งานสําหรับผ้ใู หญ่ ที่เกดิ อุบัติเหตไุ ด้ • หลีกเลยี่ งการทําให้สายเข็มขัดนิรภัยปนเปื้ อนจาก จะมีคาํ แนะนาํ พิเศษเก่ียวกับการขับขี่จากแพทย์ • ให้ตรวจสอบชุดเขม็ ขดั นริ ภยั เป็ นประจาํ ว่าสึกหรอ นาํ้ ยาขดั เงา นาํ้ มัน สารเคมี และโดยเฉพาะอย่างยงิ่ เฉพาะทางของสตรีกต็ าม พงึ ระลกึ ไว้ว่า ท่านควร และชํารุดเสียหายมากเกินไปหรือไม่ ท่านควรเปลยี่ น นํา้ กรดแบตเตอร่ี ท่านสามารถทําความสะอาดได้ คาดสายคาดสะโพกให้ตํา่ ท่ีสุดเท่าที่จะทาํ ได้ ดังภาพ เข็มขัดนิรภัยถ้าสายเข็มขัดนิรภัยหลุดลุ่ย สกปรก อย่างปลอดภยั โดยใช้นาํ้ สบู่อ่อนๆ • อย่าคาดเขม็ ขัดนริ ภยั ทบั ของแข็งหรือวตั ถทุ ีแ่ ตกหกั ปนเปื้ อน หรือชํารุดเสียหายไม่ทางใดกท็ างหนง่ึ ท่าน • อย่าสอดวตั ถตุ ่างๆ เช่น เหรียญและคลปิ หนีบ เข้า ได้ในกระเป๋ าเสื้อหรือเสื้อผ้าของท่าน ในกรณีทเ่ี กดิ จาํ เป็ นต้องเปลยี่ นเข็มขัดนิรภยั ท้ังชุดหลังจากที่ถูก ไปในปลอกลอ็ คเข็มขัดนิรภัย และระมัดระวงั อย่าให้ อุบตั ิเหตุ วตั ถเุ หล่านีเ้ ช่น แว่นตา ปากกา ฯลฯ ซ่ึง ใช้งานในกรณที ี่เกิดการกระแทกอย่างรุนแรงแม้ว่า ของเหลวหกใส่ชิ้นส่วนดังกล่าว ถ้ามวี ตั ถแุ ปลกปลอม อยู่ใต้เข็มขัดนริ ภัยอาจเป็ นเหตุให้เกดิ การบาดเจบ็ ได้ ความเสียหายที่เกิดขึ้นกับชุดเข็มขัดนิรภัยจะไม่ เข้าไปในปลอกลอ็ คเขม็ ขดั นิรภยั เข็มขดั นิรภยั อาจ ชัดเจนกต็ าม ทํางานไม่ถูกต้อง (ตอ) • เดก็ อายุ 12 ปี หรือตา่ํ กว่าควรนั่งโดยสารที่เบาะหลงั • ควรปรับพนักพิงท้ังหมดให้อยู่ในตาํ แหน่งต้ังตรง โดยคาดเข็มขัดนิรภยั อย่างถูกต้อง ขณะขบั ขี่ มฉิ ะน้ันประสิทธิภาพของเข็มขดั นิรภัย • ท่านไม่ควรให้ทารกและเดก็ เลก็ โดยสารไปด้วย เว้น อาจลดลง เข็มขัดนิรภัยได้รับการออกแบบมาให้ แต่เด็กจะได้รับการเสริมความปลอดภัยโดยใช้เบาะ ปกป้ องได้สูงสุดเมือ่ พนักพิงอยู่ในตําแหน่งต้งั ตรง นิรภัยสําหรับเด็กอย่างถูกต้อง ท่านควรใช้เบาะนิรภัย สําหรับทารกและเด็กเล็กซ่ึงสามารถหาซื้อได้ใน ท้องตลาด ตรวจสอบว่าเบาะนิรภัยสําหรับเด็กท่ีท่าน ซือ้ น้ันได้มาตรฐานความปลอดภัยทีบ่ ังคบั ใช้ อ่าน และปฏบิ ัติตามคาํ แนะนําท้ังหมดที่ผู้ผลติ ให้ไว้ (ตอ ) 2-28

ก่อนการขับข่ี เขม็ ขัดนิรภัยแบบ 3 จุด คาดใหตํา่ บรเิ วณ 60A036 ชุดร้ังกลบั เขม็ ขดั นิรภัยแบบลอ็ คฉุกเฉิน (ELR) สะโพก การคาดเข็มขัดนิรภัย ใหนั่งตัวตรงและแนบกับพนักพิง เขม็ ขัดนิรภยั มชี ุดร้ังกลับเขม็ ขดั นิรภัยแบบล็อคฉุกเฉิน (ELR) 60A040 นาํ หวั เข็มขดั ซงึ่ รอยอยกู บั สายเข็มขัดนิรภัยคาดผานลาํ ตวั ซึ่งไดรับการออกแบบมาใหล็อคเข็มขัดนิรภัยในระหวา ง ของทาน แลวเสียบเขากับปลอกล็อคเข็มขัดนิรภยั จนไดยนิ ท่ีรถหยุดกะทันหันหรือเกิดการชนกระแทก ชุดร้ังกลับ เพอ่ื ลดความเสี่ยงตอการไหลลอดใตเ ข็มขัดนิรภัยในระหวา ง เสยี งคลิก เขม็ ขัดนิรภยั นอี้ าจล็อคไดเชนกันถา ทานดึงสายเขม็ ขัดคาด การชน ใหค าดเขม็ ขัดนริ ภยั โดยใหสายคาดสะโพกอยูตํ่า ผานลาํ ตัวอยางรวดเร็ว ถาเกิดเหตุการณน้ีขึ้น ใหปลอย ระดับสะโพกใหม ากที่สุดเทาที่จะทาํ ไดและปรับใหแนน สายเข็มขัดคืนเพ่ือปลดล็อค แลวดึงสายเข็มขัดคาดผาน พอดีโดยการดึงสายคาดไหลขึ้นผานทางหัวเข็มขัด สาย ลาํ ตวั อีกครัง้ ใหชา ลง คาดไหลที่พาดทแยงอยูจะปรับความยาวเองเพ่ือใหทาน สามารถเคล่อื นไหวไดอยางอสิ ระ ข้อความเตือนเพอื่ ความปลอดภัย นัง่ ตวั ตรงและ แนบกบั พนักพิง คาดใหต่ําบริเวณสะโพก 60A038 2-29


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook