Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 3.เอกสารประกอบหลักสูตรวิทยาศาสตร์65

3.เอกสารประกอบหลักสูตรวิทยาศาสตร์65

Published by TANAWICH SEANGRAM, 2022-07-08 01:16:41

Description: 3.เอกสารประกอบหลักสูตรวิทยาศาสตร์65

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบหลกั สูตร กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขันพื นฐาน พุ ทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐) โรงเรียนทบั โพธพิ ั ฒนวิทย์ สาํ นักงานเขตพื นทกี ารศึกษามธั ยมศึกษาสุรนิ ทร์ สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขันพื นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

ก ประกาศโรงเรยี นทบั โพธิพ์ ัฒนวิทย เร่อื ง ใหใชหลักสูตรโรงเรยี นทับโพธิ์พัฒนวิทย พุทธศักราช 2565 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) เพ่ือใหก ารจัดการศึกษาขัน้ พื้นฐาน สอดคลอ งกบั ความเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจสังคม ความ เจริญกา วหนาทางวิทยาการ เปนการสรางกลยทุ ธใหม ในการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาใหส ามารถตอบสนองความ ตอ งการของบคุ คล สงั คมไทย ผเู รยี นมีศกั ยภาพในการแขงขันละความรว มมอื อยา งสรางสรรคในสงั คมโลก ปลกู ฝง ใหผ ูเรยี นมจี ิตสำนกึ ในความเปน ไทย มรี ะเบยี บวนิ ัย คำนงึ ถงึ ผลประโยชนสวนรวม และยึดมน่ั ในการปกคครอง ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ทรงเปน ประมุข เปนไปตามเจตนารมณมาตรา 20 ของรัฐธรรมนญู แหงราชอณาจกั รไทย พุทธศักราช 2550 และพระราชบัญญัติการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 และทแ่ี กไข เพมิ่ เติม ฉะนั้นอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 12 และมาตรา 15 แหงพระราชบญั ญตั ิระเบยี บบริหารราชการ กระทรวงศกึ ษาธิการ พุทธศักราช 2546 และคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานโรงเรียนทบั โพธ์ิพัฒนวทิ ย ได มีมติเหน็ ชอบใหใ ชห ลักสตู รโรงเรยี นทับโพธพ์ิ ัฒนวทิ ย พุทธศักราช 2565 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศักราช 2560) เมอ่ื วนั ที่ 9 เดอื น พฤษภาคม พุทธศักราช 2565 จึงประกาศใหใชหลกั สูตรโรงเรยี นทับโพธพ์ิ ัฒนวทิ ยต งั้ แตบัดนเ้ี ปนตนไป ประกาศ ณ วันท่ี 9 เดอื น พฤษภาคม พุทธศักราช 2565 (ลงชอ่ื ) (ลงช่อื ) (นางจันทรดี จอ ยสระคู) ( นางจุฬาภรณ บุญศรี ) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ผอู ำนวยการโรงเรยี นทบั โพธิ์พัฒนวิทย

หลกั สตู รกลมุ สาระการเรียนรูว ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรุง 2565) คำนำ โรงเรียนเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร ไดจัดทำหลักสูตร กลุม สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ประจำปการศึกษา 2565 เลมน้ีไดจ ัดทำขึ้นเพื่อใชเปน กรอบและทิศทางใน การพัฒนาหลักสูตรและจัดการเรียนการสอน ซึ่งมีเนื้อหาประกอบดวย ทำไมจึงตองเรียนวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี เรียนรูอะไร ในวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สาระและมาตรฐานการเรียนรู คุณภาพผูเรียน ตารางวิเคราะหสาระการเรียนรู ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู การวิเคราะหเพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา คำอธิบายรายวิชา โครงสรา งรายวชิ า และหนวยการเรียนรู ขอขอบคุณทกุ ฝา ยท่ีเกีย่ วของ และคณะกรรมการสถานศกึ ษาโรงเรียนทบั โพธิ์พฒั นวทิ ย ผูอำนวยการ โรงเรียน และคณะครูโรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย ท่ีไดรวมกันทำงานอยางเปนระบบ และตอเนื่อง ในการ วางแผน ดำเนินการ สงเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแกไข เพื่อใหม ีความสมบูรณ เหมาะสม สำหรับการจดั การเรียนการสอนในแตละระดับชั้น และสามารถพัฒนาผูเรียนไปสูคุณภาพตามมาตรฐานการ เรียนรูที่กำหนดไวไดเ ปน อยางดี กลุมสาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี โรงเรยี นทบั โพธิ์พฒั นวิทย สำนกั งานเขตพน้ื พีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสุรนิ ทร

หลักสตู รกลมุ สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรงุ 2565) สารบญั หนา เรอ่ื ง 3 3 ประกาศโรงเรียนทบั โพธพ์ิ ฒั นวทิ ย 4 5 คำนำ 7 สารบัญ 73 1.วิสยั ทัศนของกลุมสาระการเรยี นรู 132 2.ความสำคญั ของการเรยี นกลุมสาระการเรยี นรู 184 3.สงิ่ ท่ีตอ งเรียนรูอะไรในกลุม สาระวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 185 4.คุณภาพผเู รยี น 188 5.สมรรถนะสำคัญของผเู รยี น 6. ตวั ชวี้ ัดและสาระการเรยี นรูแกนกลาง 8. คำอธบิ ายรายวชิ า (รายชน้ั ) 9. โครงสรางรายวิชา หนว ยการเรียนรูแ ละเวลาเรยี น 10. การจดั การเรียนรู/ กระบวนการเรียนรู 11. สื่อ/แหลง การเรียนรู 12. การวัดและประเมินผล บรรณานกุ รม ภาคผนวก คำส่ังโรงเรียน คณะผจู ดั ทำ โรงเรียนทบั โพธิพ์ ัฒนวทิ ย สำนกั งานเขตพนื้ พก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษาสรุ ินทร

หลกั สตู รกลุมสาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรงุ 2565) กลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 1. วสิ ัยทศั นกลุมสาระวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การเรยี นรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเปน การพฒั นาผูเรียนใหไ ดรับท้งั ความรูกระบวนการและเจตคติ ผูเรยี นทุกคนควรไดรบั การกระตุนสงเสริมใหสนใจและกระตือรือรนที่จะเรียนรูวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีมี ความสงสัย เกิดคำถามในสิ่งตาง ๆ ที่เกี่ยวกับโลกธรรมชาติรอบตัวมีความมุงมั่นและมีความสุขที่จะศึกษา คนควา สืบเสาะหาความรูเพื่อรวบรวมขอมูลวิเคราะหผล นำไปสูค ำตอบของคำถาม สามารถตัดสินใจดวยการ ใชข อมลู อยางมีเหตุผลสามารถสื่อสารคำถาม คำตอบ ขอมูลและส่ิงท่ีคน พบจากการเรยี นรูใ หผอู ่นื เขา ใจได การเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเปนการเรียนรูตลอดชีวิตเน่ืองจากความรูวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีเปนเร่อื งราวเกีย่ วกบั โลกธรรมชาติ (national world) ซึ่งมีการเปลยี่ นแปลงตลอดเวลาทกุ คนจึงตอง เรียนรูเพื่อนำผลการเรียนรูไปใชใ นชีวิตและการประกอบอาชีพเมื่อผูเ รียนไดเรียนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โดยไดรับการกระตุนใหเกิดความตื่นเตนทาทายกับการเผชิญสถานการณหรือปญหา มีการรวมกันคิด ลงมอื ปฏิบัติจริงก็จะเขาใจเห็นความเชื่อมโยงของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีกับวิชาอื่นและชีวิต ทำใหสามารถ อธิบายทำนาย คาดการณสิ่งตาง ๆ ไดอยางมีเหตผุ ลการประสบความสำเร็จในการเรียนวิทยาศาสตรจะเปน แรงกระตุนใหผูเรียนมีความสนใจมุงมั่นที่จะสังเกตสำรวจตรวจสอบ สืบคนความรูที่มีคุณคาเพิ่มขึ้นอยาไม หยุดยั้งการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจึงตองสอดคลองกับสภาพจริงในชีวิตโดยใชแหลงเรียนรูอยาง หลากหลายในทองถ่นิ และคำนงึ ถึงผูเ รียนท่มี ีวธิ ีการเรยี นรู ความสนใจและความถนัดแตกตา งกัน การเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีพื้นฐานเปนการเรียนรูเพื่อความเขาใจ ซาบซึ้งและเห็น ความสำคัญของธรรมชาติและสิ่งแวดลอมซึง่ จะชวยสงผลใหผูเรียนสามารถเช่อื มโยงองคความรูหลาย ๆ ดาน เปนความรูแบบองครวม อันจำไปสูการสรางสรรคสิ่งตาง ๆ และพัฒนาคุณภาพชีวิตมีความสามารถในการ จดั การ และรวมกันดแู ลรกั ษาโลกธรรมชาติอยา งยัง่ ยนื 2. เปา หมายของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ในการเรียนการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมุงเนนใหผูเรียนไดคนพบความรูดวยตนเองมากที่สุด เพื่อใหไดทั้งกระบวนการและความรูจากวิธีการสังเกต การสำรวจตรวจสอบ การทดลอง แลวนำผลที่ไดมา จัดระบบเปน หลักการ แนวคดิ และองคค วามรู การจัดการเรยี นการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีจงึ มีเปา หมายท่ีสำคญั ดงั น้ี 1. เพ่ือใหเ ขาใจหลกั การ ทฤษฎี และกฎทีเ่ ปนพื้นฐานในวิชาวทิ ยาศาสตร 2. เพื่อใหเขาใจขอบเขตของธรรมชาตขิ องวิชาวิทยาศาสตรและขอ จำกดั ในการศึกษาวิชาวิทยาศาสตร 3. เพอ่ื ใหมที ักษะทส่ี ำคัญในการศึกษาคนควาและคดิ คน ทางเทคโนโลยี 4. เพื่อใหตระหนักถึงความสัมพันธระหวางวิชาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี มวลมนุษย และ สภาพแวดลอ มในเชงิ ทีม่ อี ิทธพิ ลและผลกระทบซ่งึ กนั และกัน 5. เพื่อนำความรคู วามเขาใจในวชิ าวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีไปใชใหเกิดประโยชนตอสงั คม และการดำรงชีวิต โรงเรียนทบั โพธิ์พฒั นวทิ ย สำนกั งานเขตพืน้ พ่ีการศกึ ษามัธยมศึกษาสุรนิ ทร

หลักสตู รกลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรบั ปรงุ 2565) 6. เพือ่ พฒั นากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแกปญหาและการจัดการ ทกั ษะใน การสื่อสาร และความสามารถในกำรตดั สินใจ 7. เพื่อใหเปนผูที่มีจิตวิทยาศาสตร มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมในการใชวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยอี ยางสรางสรรค 3. เรยี นรูอ ะไรในวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กลุม สาระการเรียนรูว ิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมุงหวังใหผูเรียน ไดเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่ เนนการเช่ือมโยงความรูกบั กระบวนการ มีทกั ษะสำคญั ในการคน ควาและสรางองคความรู โดยใชก ระบวนการ ในการสืบเสาะหาความรู และการแกป ญหาที่หลากหลาย ใหผูเรียนมีสว นรวมในการเรยี นรูทุกขั้นตอน มีการ ทำกจิ กรรมดว ยการลงมอื ปฏบิ ตั จิ ริงอยางหลากหลาย เหมาะสมกบั ระดับชั้น โดยไดกำหนดสาระสำคญั ไวด ังน้ี  วิทยาศาสตรช ีวภาพ เรียนรเู ก่ยี วกบั ชวี ิตในส่งิ แวดลอ ม องคประกอบของส่ิงมีชวี ิต การดำรงชีวิต ของมนุษยและสัตว การดำรงชีวิตของพืช พันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการของ สงิ่ มชี ีวิต  วิทยาศาสตรกายภาพ เรียนรูเกี่ยวกบั ธรรมชาติของสาร การเปลี่ยนแปลงของสาร การเคลื่อนท่ี พลงั งาน และคลน่ื  วิทยาศาสตรโลกและอวกาศ เรียนรูเกี่ยวกับ องคประกอบของเอกภพ ปฏิสัมพันธภายในระบบ สุริยะ เทคโนโลยีอวกาศ ระบบโลก การเปลีย่ นแปลงทางธรณีวิทยา กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟาอากาศ และผลตอ ส่ิงมชี วี ิตและสง่ิ แวดลอม  เทคโนโลยี การออกแบบและเทคโนโลยี เรียนรูเ ก่ียวกับการพัฒนาผูเรียนใหมคี วามรูความเขาใจเกี่ยวกับ เทคโนโลยีเพื่อดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ใชความรูและทักษะทางดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และศาสตรอื่น ๆ เพื่อแกปญหา หรือพัฒนางานอยางมีความคิดสรางสรรคดวยกระบวนการ ออกแบบเชงิ วศิ วกรรม เลอื กใชเ ทคโนโลยีอยางเหมาะสมโดยคำนึงถึงผลกระทบตอชวี ติ สังคม และสิง่ แวดลอ ม  วิทยาการคำนวณ เรียนรูเกี่ยวกับกำรพัฒนาผูเรียนใหมีความรูความเขาใจ มีทักษะกำรคิด เชิงคำนวณ การคิดวิเคราะห แกปญหาเปนขั้นตอนและเปนระบบ ประยุกตใชความรูดานวิทยาการ คอมพวิ เตอรแ ละเทคโนโลยีสารสนเทศส่ือสารในการแกป ญหาที่พบในชวี ิตจรงิ ไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ สาระและมาตรฐานการเรียนรู สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตรชีวภาพ มาตรฐาน ว 1.1 เขาใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธระหวางสิ่งไมมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต และ ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวติ กับสิ่งมชี ีวิตตา งๆ ในระบบนิเวศ การถายทอด พลังงาน การ โรงเรยี นทับโพธิพ์ ัฒนวิทย สำนักงานเขตพน้ื พีก่ ารศึกษามัธยมศึกษาสรุ นิ ทร

หลกั สตู รกลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรงุ 2565) เปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปญหาและ ผลกระทบที่มีตอ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม แนวทางในการอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติและการ แกไ ขปญหาส่งิ แวดลอ ม รวมทง้ั นำความรไู ปใชป ระโยชน มาตรฐาน ว 1.2 เขา ใจสมบตั ิของสิ่งมชี ีวติ หนวยพนื้ ฐานของสง่ิ มชี วี ิต การลำเลียงสารเขาและออกจาก เซลล ความสัมพันธของโครงสราง และหนาที่ของระบบตางๆ ของสัตวและมนุษยที่ ทำงาน สัมพันธกัน ความสัมพันธของโครงสราง และหนาที่ของอวัยวะตางๆ ของพืชที่ ทำงาน สัมพันธก ัน รวมท้ังนำความรไู ปใชประโยชน มาตรฐาน ว 1.3 เขาใจกระบวนการและความสำคัญของการถายทอดลักษณะทางพันธกุ รรม สารพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลตอสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทาง ชีวภาพและ ววิ ฒั นาการของส่ิงมีชวี ติ รวมทงั้ น าความรูไ ปใชประโยชน สาระที่ 2 วิทยาศาสตรกายภาพ มาตรฐาน ว 2.1 เขาใจสมบัติของสสาร องคประกอบของสสาร ความสัมพันธระหวางสมบัติของสสาร กับ โครงสรางและแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาค หลักและธรรมชาติของการ เปลี่ยนแปลง สถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี มาตรฐาน ว 2.2 เขาใจธรรมชาตขิ องแรงในชีวิตประจำวนั ผลของแรงทีก่ ระทำตอวตั ถุ ลกั ษณะการเคลื่อนท่ี แบบตางๆ ของวัตถุ รวมท้ังนำความรูไ ปใชประโยชน มาตรฐาน ว 2.3 เขาใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ ระหวา งสสารและพลังงาน พลังงานในชีวติ ประจำวัน ธรรมชาติของคลืน่ ปรากฏการณ ที่ เกย่ี วของกบั เสยี ง แสง และคลื่นแมเ หลก็ ไฟฟา รวมท้งั นำความรไู ปใชป ระโยชน สาระท่ี 3 วิทยาศาสตรโลก และอวกาศ มาตรฐาน ว 3.1 เขาใจองคประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาว ฤกษ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธภายในระบบสุริยะที่สงผลตอสิ่งมีชีวิตและ การ ประยุกตใชเทคโนโลยอี วกาศ มาตรฐาน ว 3.2 เขาใจองคประกอบและความสัมพันธของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายใน โลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัตภิ ัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลม ฟา อากาศ และ ภูมิอากาศโลก รวมท้งั ผลตอ สงิ่ มชี วี ิตและส่งิ แวดลอ ม สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.1 เขาใจแนวคดิ หลักของเทคโนโลยีเพื่อการด ารงชวี ติ ในสงั คมท่ีมกี ารเปล่ยี นแปลงอยาง รวดเร็ว ใชความรแู ละทักษะทางดานวิทยาศาสตร คณติ ศาสตร และศาสตรอื่นๆ เพอื่ แกป ญหาหรือ พัฒนางานอยางมีความคิดสรางสรรคดวยกระบวนการออกแบบเชิง วิศวกรรม เลือกใช เทคโนโลยีอยา งเหมาะสมโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบตอ ชวี ติ สังคม และ ส่ิงแวดลอม โรงเรียนทบั โพธิ์พัฒนวิทย สำนกั งานเขตพน้ื พีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสุรินทร

หลักสตู รกลมุ สาระการเรยี นรูว ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2565) มาตรฐาน ว 4.2 เขาใจและใชแ นวคดิ เชงิ คำนวณในการแกปญ หาทีพ่ บในชีวิตจริงอยางเปนขั้นตอนและ เปน ระบบ ใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารในการเรยี นรู การทำงาน และการ แกปญหา ไดอยางมีประสทิ ธภิ าพ รูเ ทาทนั และมจี ริยธรรม 4. คณุ ภาพผูเ รยี น จบช้ันมัธยมศึกษาปที่ 3 ❖ เขาใจลักษณะและองคประกอบทีส่ ำคัญของเซลลส ่ิงมชี วี ิต ความสัมพันธของการทำงานของระบบตาง ๆ ในรางกายมนุษย การดำรงชีวิตของพืช การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมการเปลี่ยนแปลงของยีนหรือ โครโมโซม และตัวอยางโรคท่เี กดิ จากการเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรมประโยชนและผลกระทบของสิง่ มชี ีวติ ดดั แปรพันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ ปฏิสัมพันธขององคประกอบของระบบนเิ วศและการถา ยทอด พลงั งานในส่งิ มีชวี ติ ❖ เขาใจองคประกอบและสมบัติของธาตุ สารละลาย สารบริสุทธิ์ สารผสม หลักการแยกสาร การ เปล่ียนแปลงของสารในรูปแบบของการเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี และ สมบตั ทิ างกายภาพ และการใชประโยชนข องวสั ดุประเภทพอลิเมอร เซรามิกส และวัสดผุ สม ❖ เขาใจการเคลื่อนที่ แรงลัพธและผลของแรงลัพธกระทำตอวัตถุ โมเมนตของแรง แรงที่ปรากฏใน ชีวติ ประจำวัน สนามของแรง ความสัมพนั ธของงาน พลังงานจลน พลงั งานศกั ยโ นมถว งกฎการอนรุ กั ษพ ลงั งาน การถายโอนพลังงาน สมดุลความรอ น ความสัมพันธของปริมาณทางไฟฟาการตอวงจรไฟฟา ในบาน พลังงาน ไฟฟา และหลักการเบอ้ื งตนของวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส ❖ เขาใจสมบัติของคลื่น และลักษณะของคลื่นแบบตาง ๆ แสง การสะทอนการหักเหของแสงและทัศน อุปกรณ ❖ เขาใจการโคจรของดาวเคราะหรอบดวงอาทติ ย การเกดิ ฤดู การเคล่ือนที่ปรากฏของดวงอาทิตย การ เกิดขางขึ้นขางแรม การขึ้นและตกของดวงจันทร การเกิดน้ำขึ้นน้ำลงประโยชนของเทคโนโลยีอวกาศ และ ความกาวหนาของโครงการสำรวจอวกาศ ❖ เขาใจลักษณะของชั้นบรรยากาศ องคป ระกอบและปจ จัยทมี่ ผี ลตอลมฟาอากาศการเกิดและผลกระทบ ของพายุฟาคะนอง พายุหมุนเขตรอน การพยากรณอากาศ สถานการณการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก กระบวนการเกดิ เช้ือเพลิงซากดึกดำบรรพและการใชประโยชนพลังงานทดแทนและการใชประโยชน ลักษณะ โครงสรางภายในโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาบนผิวโลก ลกั ษณะช้ันหนาตัดดิน กระบวนการ เกดิ ดิน แหลง น้ำผวิ ดิน แหลงนำ้ ใตดินกระบวนการเกดิ และผลกระทบของภัยธรรมชาติ และธรณพี บิ ตั ภิ ยั ❖ เขาใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยี ไดแก ระบบทางเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ความสมั พันธร ะหวา งเทคโนโลยกี บั ศาสตรอ ่ืน โดยเฉพาะวิทยาศาสตร หรอื คณติ ศาสตร วิเคราะห เปรยี บเทยี บ โรงเรียนทบั โพธิพ์ ัฒนวิทย สำนกั งานเขตพน้ื พกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสุรินทร

หลักสตู รกลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรงุ 2565) และตัดสินใจเพื่อเลือกใชเ ทคโนโลยี โดยคำนงึ ถึงผลกระทบตอชีวิต สังคม และสิง่ แวดลอม ประยุกตใชความรู ทักษะ และทรัพยากรเพื่อออกแบบและสรางผลงานสำหรับการแกปญหาในชีวิตประจำวันหรือการประกอบ อาชีพ โดยใชกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมทั้งเลือกใชวัสดุ อุปกรณ และเครื่องมือไดอยางถูกตอง เหมาะสม ปลอดภัย รวมทั้งคำนงึ ถงึ ทรพั ยสนิ ทางปญ ญา ❖ นำขอมูลปฐมภูมิเขาสูระบบคอมพิวเตอร วิเคราะห ประเมิน นำเสนอขอมูลและสารสนเทศไดตาม วตั ถุประสงค ใชทักษะการคิดเชงิ คำนวณในการแกป ญหาทพี่ บในชวี ติ จรงิ และเขยี นโปรแกรมอยางงา ยเพื่อชวย ในการแกปญ หา ใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารอยางรเู ทาทนั และรับผิดชอบตอสังคม ❖ ตั้งคำถามหรือกำหนดปญหาที่เชื่อมโยงกับพยานหลักฐาน หรือหลักการทางวิทยาศาสตรที่มีการ กำหนดและควบคุมตัวแปร คิดคาดคะเนคำตอบหลายแนวทาง สรางสมมติฐานทีส่ ามารถนำไปสูการสำรวจ ตรวจสอบ ออกแบบและลงมือสำรวจตรวจสอบโดยใชวัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม เลือกใชเครื่องมือและ เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการเกบ็ รวบรวมขอ มูล ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพที่ไดผลเที่ยงตรงและ ปลอดภยั ❖ วิเคราะหและประเมินความสอดคลองของขอมูลที่ไดจ ากการสำรวจตรวจสอบจากพยานหลักฐาน โดย ใชค วามรแู ละหลักการทางวิทยาศาสตรใ นการแปลความหมายและลงขอสรุปและสื่อสารความคดิ ความรู จาก ผลการสำรวจตรวจสอบหลากหลายรูปแบบ หรอื ใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือใหผ ูอืน่ เขา ใจไดอ ยา งเหมาะส ❖ แสดงถึงความสนใจ มุงมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย ในสิ่งที่จะเรียนรูมีความคิดสรางสรรค เกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษาตามความสนใจของตนเอง โดยใชเครื่องมือและวิธีการที่ใหไดผลถูกตอง เชือ่ ถือได ศึกษาคนควาเพิ่มเติมจากแหลงความรูตาง ๆ แสดงความคิดเห็นของตนเอง รับฟงความคิดเห็นผูอื่น และ ยอมรบั การเปล่ยี นแปลงความรทู ค่ี น พบ เมอ่ื มีขอ มลู และประจกั ษพ ยานใหมเพมิ่ ข้ึนหรอื โตแยง จากเดมิ ❖ ตระหนักในคุณคาของความรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่ใชในชีวิตประจำวันใชความรูและ กระบวนการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในการดำรงชีวติ และการประกอบอาชีพแสดงความชืน่ ชม ยกยอง และเคารพสทิ ธิในผลงานของผูคดิ คน เขา ใจผลกระทบท้งั ดา นบวกและดานลบของการพัฒนาทางวิทยาศาสตร ตอ สงิ่ แวดลอ มและตอบริบทอ่นื ๆ และศึกษาหาความรเู พิ่มเตมิ ทำโครงงานหรอื สรา งชิ้นงานตามความสนใจ ❖ แสดงถงึ ความซาบซึ้ง หวงใย มีพฤตกิ รรมเก่ียวกับการดูแลรักษาความสมดลุ ของระบบนิเวศ และความ หลากหลายทางชีวภาพ จบชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 6 ❖เขา ใจการลำเลียงสารเขา และออกจากเซลลกลไกการรักษาดุลยภาพของมนุษยภ ูมิคุม กันในรางกายของ มนุษยและความผิดปกติของระบบภูมิคุมกัน การใชประโนชนจากสารตาง ๆ ที่พืชสรางขึ้น การถายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพนั ธุกรรม วิวัฒนาการท่ีทำใหเกิดความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ความสำคัญและผลของเทคโนโลยที างดีเอน็ เอตอ มนษุ ยส ง่ิ มีชีวิต และส่ิงแวดลอม โรงเรยี นทับโพธิ์พัฒนวิทย สำนกั งานเขตพน้ื พก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษาสรุ นิ ทร

หลักสตู รกลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรงุ 2565) ❖ เขาใจความหลากหลายของไบโอมในเขตภูมิศาสตรตาง ๆ ของโลก การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบ นิเวศ ปญหาและผลกระทบที่มีตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม แนวทางในการอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละการแกไขปญ หาสงิ่ แวดลอ ม ❖ เขาใจชนิดของอนุภาคสำคัญที่เปนสวนประกอบในโครงสรางอะตอม สมบัติบางประการของธาตุ การ จัดเรียงธาตใุ นตารางธาตุ ชนดิ ของแรงยึดเหน่ียวระหวางอนภุ าคและสมบัติตาง ๆ ของสารท่ีมคี วามสัมพันธกับ แรงยึดเหนี่ยว พันธะเคมีโครงสรางและสมบัติของพอลิเมอร การเกิดปฏิกิรยิ าเคมีปจจัยที่มีผลตออัตราการ เกิดปฏิกิริยาเคมแี ละการเขียนสมการเคมี ❖ เขาใจปรมิ าณที่เกีย่ วกบั การเคลือ่ นที่ ความสัมพันธระหวางแรง มวลและความเรง ผลของความเรงท่ีมี ตอการเคลื่อนที่แบบตาง ๆ ของวัตถุ แรงโนมถวง แรงแมเหล็ก ความสัมพันธระหวางสนามแมเหล็กและ กระแสไฟฟา และแรงภายในนิวเคลียส ❖ เขาใจพลังงานนิวเคลียรความสัมพันธระหวางมวลและพลังงาน การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเปน พลังงานไฟฟา เทคโนโลยีดานพลังงาน การสะทอน การหักเห การเลี้ยวเบน และการรวมคลื่น การไดยิน ปรากฏการณท่เี กีย่ วของกบั เสยี ง สีกบั การมองเห็นสคี ล่ืนแมเ หลก็ ไฟฟา และประโยชนของคล่นื แมเ หล็กไฟฟา ❖ เขาใจการแบงชน้ั และสมบัติของโครงสรา งโลก สาเหตุ และรปู แบบการเคล่ือนท่ีของแผนธรณีที่สัมพันธ กับการเกิดลักษณะธรณีสัณฐาน สาเหตุกระบวนการเกิดแผนดินไหว ภเู ขาไฟ ระเบิด สึนามิผลกระทบ แนว ทางการเฝา ระวัง และการปฏบิ ัตติ นใหปลอดภัย ❖ เขาใจผลของแรงเนื่องจากความแตกตางของความกดอากาศ แรงคอริออลสิ ท่ีมีตอ การหมุนเวียนของ อากาศ การหมุนเวยี นของอากาศตามเขตละติจูด และผลทม่ี ตี อ ภมู อิ ากาศ ความสัมพันธของการหมุนเวียนของ อากาศ และการหมุนเวียนของกระแสน้ำผิวหนาในมหาสมุทร และผลตอลักษณะลมฟาอากาศ ส่งิ มีชีวิตและ ส่ิงแวดลอม ปจ จัยตาง ๆ ท่มี ีผลตอการเปล่ยี นแปลงภูมิอากาศโลก และแนวปฏบิ ัติเพอ่ื ลดกจิ กรรมของมนุษยที่ สง ผลตอ การเปล่ยี นแปลงภมู ิอากาศโลก รวมท้ังการแปลความหมายสัญลักษณล มฟาอากาศท่ีสำคัญจากแผนท่ี อากาศ และขอมลู สารสนเทศ ❖ เขาใจการกำเนิดและการเปลี่ยนแปลงพลังงาน สสาร ขนาด อุณหภูมิของเอกภพ หลักฐานที่สนับสนนุ ทฤษฎีบิกแบง ประเภทของกาแล็กซีโครงสรางและองคประกอบของกาแล็กซีทางชางเผือก กระบวนการเกิด และการสรางพลังงาน ปจจัยที่สงผลตอความสอ งสวางของดาวฤกษและความสัมพันธระหวางความสอ งสวาง กับโชติมาตรของดาวฤกษค วามสมั พันธระหวางสี อุณหภูมิผิว และสเปกตรัมของดาวฤกษวิวัฒนาการและการ เปลี่ยนแปลงสมบัติบางประการของดาวฤกษกระบวนการเกิดระบบสุริยะ การแบงเขตบรวิ ารของดวงอาทิตย ลักษณะของดาวเคราะหที่เอื้อตอการดำรงชีวิต การเกิดลมสุริยะ พายุสุริยะและผลที่มีตอโลก รวมทั้งการ สำรวจอวกาศและการประยุกตใ ชเทคโนโลยีอวกาศ โรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวทิ ย สำนกั งานเขตพื้นพีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสุรนิ ทร

หลกั สตู รกลมุ สาระการเรียนรูว ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2565) ❖ ระบุปญหา ตั้งคำถามที่จะสำรวจตรวจสอบ โดยมีการกำหนดความสัมพันธระหวาง ตัวแปรตาง ๆ สืบคนขอมูลจากหลายแหลง ตั้งสมมติฐานที่เปนไปไดหลายแนวทาง ตัดสินใจเลือก ตรวจสอบสมมติฐานท่ี เปนไปได ❖ ตั้งคำถามหรือกำหนดปญหาที่อยูบนพื้นฐานของความรูและความเขาใจทางวทิ ยาศาสตร ที่แสดงให เห็นถึงการใชความคิดระดับสูงที่สามารถสำรวจตรวจสอบหรือศึกษาคนควาไดอยางครอบคลุมและเชื่อถือได สรางสมมติฐานที่มีทฤษฎีรองรับหรือคาดการณสิ่งที่จะพบ เพื่อนำไปสูการสำรวจตรวจสอบ ออกแบบวิธีการ สำรวจตรวจสอบตามสมมติฐานที่กำหนดไวไดอยางเหมาะสม มีหลักฐานเชิงประจักษ เลือกวัสดุ อุปกรณ รวมทั้งวิธีการในการสำรวจตรวจสอบอยางถูกตอง ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ และบันทึกผลการสำรวจ ตรวจสอบอยางเปนระบบ ❖ วิเคราะหแปลความหมายขอมูล และประเมินความสอดคลองของขอสรปุ เพื่อตรวจสอบกบั สมมตฐิ าน ท่ีตง้ั ไวใ หขอเสนอแนะเพ่ือปรับปรุงวิธีการสำรวจตรวจสอบ จดั กระทำขอมลู และนำเสนอขอมลู ดวยเทคนิควิธี ที่เหมาะสม สื่อสารแนวคิด ความรูจากผลการสำรวจตรวจสอบ โดยการพูด เขียน จัดแสดงหรือใชเ ทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อใหผ อู นื่ เขาใจโดยมีหลักฐานอางอิง หรอื มที ฤษฎีรองรับ ❖ แสดงถึงความสนใจ มุงมั่น รบั ผดิ ชอบ รอบคอบ และซ่อื สตั ย ในการสืบเสาะหาความรโู ดยใชเคร่ืองมือ และวิธีการทใ่ี หไดผ ลถกู ตอ ง เช่ือถือไดมเี หตผุ ลและยอมรับไดวาความรทู างวทิ ยาศาสตรอาจมีการเปลี่ยนแปลง ได ❖ แสดงถึงความพอใจและเห็นคุณคาในการคนพบความรพู บคำตอบ หรือแกป ญหาไดท ำงานรวมกับผูอ่ืน อยางสรา งสรรคแ สดงความคิดเห็นโดยมีขอมลู อางอิงและเหตผุ ลประกอบเกยี่ วกับผลของการพฒั นาและการใช วิทยาศาสตรและเทคโนโลยอี ยา งมีคุณธรรมตอ สังคมและสงิ่ แวดลอ ม และยอมรับฟง ความคิดเห็นของผอู นื่ ❖เขาใจความสัมพันธของความรูวิทยาศาสตรที่มีผลตอการพัฒนาเทคโนโลยีประเภทตาง ๆ และการ พัฒนาเทคโนโลยที ี่สง ผลใหมกี ารคิดคน ความรทู างวิทยาศาสตรทกี่ าวหนา ผลของเทคโนโลยตี อชวี ิต สังคม และ สิ่งแวดลอม ❖ ตระหนกั ถึงความสำคัญและเห็นคุณคา ของความรูว ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีท่ีใชในชวี ิตประจำวัน ใช ความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในการดำรงชีวิตและการประกอบอาชีพ แสดงความ ชื่นชม ภูมิใจ ยกยอง อางอิงผลงาน ชิ้นงานที่เปนผลมาจากภูมิปญญาทองถิ่น และการพัฒนาเทคโนโลยีท่ี ทันสมยั ศกึ ษาหาความรเู พิม่ เตมิ ทำโครงงานหรอื สรา งชน้ิ งานตามความสนใจ ❖แสดงความซาบซึ้ง หวงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใชและรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม อยางรูคุณคา เสนอตัวเองรวมมือปฏิบัติกับชุมชนในการปองกัน ดแู ลทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอมของ ทอ งถ่นิ ❖ วิเคราะหแนวคิดหลักของเทคโนโลยีไดแก ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซอน การเปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยีความสัมพันธระหวางเทคโนโลยีกับศาสตรอื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร หรือคณติ ศาสตรวิเคราะห โรงเรยี นทับโพธิ์พัฒนวทิ ย สำนกั งานเขตพน้ื พก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาสรุ ินทร

หลกั สตู รกลุม สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรงุ 2565) เปรียบเทียบ และตัดสินใจเพื่อเลือกใชเทคโนโลยีโดยคำนึงถึงผลกระทบตอชีวิต สังคม เศรษฐกิจ และ สิ่งแวดลอม ประยุกตใชความรูทักษะ ทรัพยากรเพื่อออกแบบ สรางหรือพัฒนาผลงาน สำหรับแกปญหาท่ีมี ผลกระทบตอสังคม โดยใชกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ใชซอฟตแวรชว ยในการออกแบบและนำเสนอ ผลงาน เลือกใชวัสดุ อุปกรณและเครื่องมือไดอยางถูกตอง เหมาะสม ปลอดภัย รวมทั้งคำนึงถึงทรัพยสินทาง ปญ ญา ❖ ใชความรูทางดานวิทยาการคอมพิวเตอรสื่อดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อรวบรวม ขอมูลในชีวิตจริงจากแหลงตาง ๆ และความรูจากศาสตรอื่น มาประยุกตใช สรางความรูใหม เขาใจการ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่มีผลตอการดำเนินชีวิต อาชีพ สังคม วัฒนธรรม และใชอยางปลอดภัย มี จริยธรรม 5. สมรรถนะสำคญั ของผเู รยี น 1. ความสามารถในการสื่อสาร หมายถึง ใชภาษาถายทอดความคิด ความรู ความเขาใจ ความรูสึก และ ทัศนะของตนเอง เพื่อเปลี่ยนขอมูลขาวสารและประสบการณอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและ สังคม รวมท้ังการเจรจาตอรองเพื่อขจัดและลดปญหาความขัดแยง ตาง ๆ การเลือกรับหรือไมรับขอมูลขาวสาร ดวยหลกั เหตผุ ลและความถูกตอง ตลอดจนการเลอื กใชว ิธีการสื่อสารท่ีมีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่ มตี อ ตนเองและสงั คม 2. ความสามารถในการคิด หมายถึง รูจักคิดวิเคราะห คิดสังเคราะห คิดอยางสรางสรรค คิดอยางมี วิจารณญาณ และคิดเปนระบบ เพื่อนำไปสูการสรางองคความรูหรือสารสนเทศ เพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับ ตนเองและสังคมไดอ ยางเหมาะสม 3. ความสามารถในการแกปญหา หมายถึง เขาใจความสัมพันธและการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณตาง ๆ ในสังคมแสวงหาความรู ประยุกตความรูมาใชในการปองกัน และแกไขปญหาไดอยางถูกตองเหมาะสมบน พื้นฐานของหลักเหตุผลคุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ รวมทั้งตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ โดยคำนึงถึง ผลกระทบทีเ่ กิดขึ้นตอ ตนเอง สงั คมและสงิ่ แวดลอ ม 4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต หมายถงึ ใชกระบวนการตา ง ๆ ในการดำเนินชีวิตประจำวัน เรยี นรู ดวยตนเองตอเน่ือง ทำงานและอยูรวมกันในสงั คมดวยการสรา งเสริมความสัมพันธอันดรี ะหวางบคุ คล จัดการ ปญหาและความขัดแยงตาง ๆอยางเหมาะสม รูจักปรับตัวใหทันกับการเปลีย่ นแปลงของสังคมสภาพแวดลอ ม และหลีกเลีย่ งพฤตกิ รรมไมพ ึงประสงคท่สี ง ผลกระทบตอ ตนเองและผอู ่ืน 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี หมายถึง รูจักเลอื กและใชเทคโนโลยีดานตาง ๆ ทักษะกระบวนการ ทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในดานการเรียนรู การสื่อสาร การทำงาน การแกปญหาอยาง สรางสรรค ถกู ตองเหมาะสมและมีคณุ ธรรม โรงเรียนทับโพธิ์พฒั นวทิ ย สำนกั งานเขตพนื้ พกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสรุ ินทร

หลักสตู รกลุมสาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรบั ปรงุ 2565) 6. ตวั ช้ีวัดและสาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระที่ 1 วิทยาศาสตรชวี ภาพ มาตรฐาน ว 1.1 เขาใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธระหวางสิ่งไมมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต และ ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชวี ติ กับสิ่งมีชีวิตตา งๆ ในระบบนิเวศ การถายทอด พลังงาน การ เปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปญหาและ ผลกระทบที่มีตอ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม แนวทางในการอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติและการ แกไ ขปญหาสิ่งแวดลอ ม รวมทั้งนำความรไู ปใชป ระโยชน ชั้น ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ม.3 1. อธิบายปฏิสัมพันธขององคประกอบ • ระบบนิเวศประกอบดวยองคประกอบที่มีชีวิตเชน ของระบบนเิ วศท่ีไดจ ากการสำรวจ พืช สัตว จุลินทรีย และองคประกอบที่ไมมีชีวิต เชน แสง น้ำ อุณหภูมิ แรธาตุ แกสองคประกอบเหลานี้มี ปฏิสัมพันธกัน เชน พืชตองการแสง น้ำ และแกส คารบอนไดออกไซดในการสรางอาหาร สัตวตองการ อาหาร และสภาพแวดลอ มท่ีเหมาะสมในการดำรงชีวิต เชนอุณหภูมิ ความชื้น องคประกอบทั้งสองสวนนี้ จะตอ งมีความสัมพันธกันอยางเหมาะสมระบบนิเวศจึง จะสามารถคงอยูตอไปได 2. อธิบายรูปแบบความสัมพันธระหวาง • ส่งิ มชี วี ติ กับสงิ่ มชี วี ิตมคี วามสัมพันธกันในรปู แบบตาง สิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตรูปแบบตาง ๆ ใน ๆ เชน ภาวะพึ่งพากัน ภาวะอิงอาศัยภาวะเหยื่อกับผู แหลง ท่ีอยูเ ดยี วกันที่ไดจากการสำรวจ ลา ภาวะปรสติ • สงิ่ มชี ีวิตชนดิ เดียวกนั ท่ีอาศัยอยูรวมกันในแหลงที่อยู เดยี วกัน ในชวงเวลาเดยี วกนั เรยี กวา ประชากร • กลุมสิ่งมีชีวิตประกอบดวยประชากรของสิ่งมีชีวิต หลาย ๆ ชนดิ อาศัยอยรู วมกันในแหลง ท่อี ยเู ดยี วกนั 3. สรางแบบจำลองในการอธิบายการ • กลุมสง่ิ มีชวี ิตในระบบนิเวศแบงตามหนาท่ีไดเปน 3 ถายทอดพลงั งานในสายใยอาหาร กลุม ไดแก ผูผลิต ผูบริโภค และผูยอยสลาย สารอินทรีย สิ่งมีชีวิตทั้ง 3 กลุมนี้ มีความสัมพันธกัน ผูผลิตเปนสิ่งมีชีวิตที่สรางอาหารไดเอง โดย กระบวนการสังเคราะหดว ยแสงผูบรโิ ภค เปนส่ิงมชี ีวิต โรงเรียนทับโพธิพ์ ัฒนวทิ ย สำนักงานเขตพน้ื พี่การศกึ ษามัธยมศกึ ษาสรุ นิ ทร

หลกั สตู รกลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรงุ 2565) ช้นั ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 4. อธิบายความสัมพันธของผูผลิต ที่ไมสามารถสรางอาหารไดเอง และตองกินผูผลิตหรือ ผูบริโภค และผูยอยสลายสารอินทรียใน สิ่งมีชีวิตอื่นเปนอาหาร เมื่อผูผลิตและผูบริโภคตายลง ระบบนิเวศ จะถูกยอยโดยผูยอยสลายสารอินทรียซึ่งจะเปลี่ยน 5. อธิบายการสะสมสารพิษในส่ิงมีชีวิตใน สารอินทรียเปนสารอนินทรียกลับคืนสูสิ่งแวดลอม ทำ โซอ าหาร ใหเกิดการหมุนเวียนสารเปนวัฏจักรจำนวนผูผลิต ผูบริโภค และผูยอยสลายสารอินทรียจะตองมีความ 6. ตระหนักถึงความสัมพันธของสิ่งมีชีวิต เหมาะสม จงึ ทำใหกลมุ สิ่งมชี วี ิตอยไู ดอยางสมดุล และสิ่งแวดลอมในระบบนิเวศ โดยไม ทำลายสมดุลของระบบนเิ วศ โรงเรยี นทับโพธิ์พัฒนวิทย สำนักงานเขตพ้ืนพ่ีการศึกษามธั ยมศึกษาสรุ ินทร

หลกั สตู รกลุม สาระการเรยี นรูว ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง 2565) ชั้น ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรูแกนกลาง • พลังงานถกู ถายทอดจากผผู ลติ ไปยังผบู ริโภค ลำดับตา ง ๆ รวมทั้งผูยอยสลายสารอินทรีย ในรปู แบบสายใยอาหาร ทป่ี ระกอบดว ย โซอาหาร หลายโซทส่ี ัมพันธกนั ในการถายทอดพลังงานใน โซอาหาร พลังงานที่ถกู ถายทอดไปจะลดลง เรื่อย ๆ ตามลำดับของการบรโิ ภค • การถายทอดพลังงานในระบบนเิ วศ อาจทำให มสี ารพษิ สะสมอยูใ นสงิ่ มชี วี ติ ได จนอาจกอ ใหเ กดิ อนั ตรายตอ สิง่ มชี ีวติ และทำลายสมดุลใน ระบบนเิ วศ ดงั นัน้ การดแู ลรกั ษาระบบนเิ วศ ใหเ กิดความสมดลุ และคงอยตู ลอดไปจงึ เปน สิ่งสำคญั ม.4 1. สบื คนขอมูลและอธิบายความสัมพันธ • บรเิ วณของโลกแตล ะบริเวณมสี ภาพทางภูมิศาสตร ของสภาพทางภมู ิศาสตรบนโลกกับความ ที่แตกตางกัน แบงออกไดเปนหลายเขตตามสภาพ หลากหลายของไบโอม และยกตวั อยา ง ภูมิอากาศและปริมาณน้ำฝน ทำใหมีระบบนเิ วศที่ ไบโอมชนดิ ตาง ๆ หลากหลายซึ่งสงผลใหเกิดความหลากหลาย ของไบโอม 2. สืบคนขอ มูล อภิปรายสาเหตแุ ละ • การเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศเกิดขึ้นได ยกตัวอยา งการเปลยี่ นแปลงแทนท่ี ตลอดเวลาทั้งการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเองตาม ของระบบนเิ วศ ธรรมชาตแิ ละเกดิ จากการกระทำของมนุษย • การเปลี่ยนแปลงแทนที่เปนการเปลี่ยนแปลงของ กลุม สิง่ มีชวี ิตที่เกิดขึ้นอยางชา ๆ เปนเวลานานซ่ึง เปนผลจากปฏิสัมพันธระหวางองคประกอบทาง กายภาพและทางชีวภาพ สงผลใหระบบนิเวศ เปลีย่ นแปลงไปสูสมดลุ จนเกดิ สังคมสมบรู ณไ ด 3. สืบคน ขอ มลู อธบิ ายและยกตวั อยา ง • การเปลี่ยนแปลงขององคประกอบในระบบนิเวศ เก่ียวกับการเปลยี่ นแปลงขององคป ระกอบ ทั้งทางกายภาพและทางชีวภาพมีผลตอการ ทางกายภาพและทางชวี ภาพท่ีมผี ลตอ การ เปล่ียนแปลงขนาดของประชากร เปลย่ี นแปลงขนาดของประชากรส่ิงมีชีวิต ในระบบนเิ วศ โรงเรียนทบั โพธิ์พัฒนวิทย สำนกั งานเขตพนื้ พ่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสุรนิ ทร

หลักสตู รกลุมสาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรงุ 2565) ช้ัน ตวั ช้วี ดั สาระการเรียนรแู กนกลาง ม.4 4. สบื คน ขอมลู และอภิปรายเก่ยี วกบั • มนุษยใชทรัพยากรธรรมชาติโดยปราศจากความ ปญหาและผลกระทบที่มตี อ ทรัพยากร ระมัดระวังและมีการพัฒนาเทคโนโลยีใหมๆเพื่อ ธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอม พรอมท้งั ชวยอำนวยความสะดวกตาง ๆ แกมนุษยสงผลตอ นำเสนอแนวทางในการอนุรกั ษ การเปลี่ยนแปลงทรัพยากรธรรมชาติและ ทรพั ยากรธรรมชาติและการแกไขปญหา ส่ิงแวดลอ ม สิ่งแวดลอม • ปญหาที่เกิดกับทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมบางปญหาสงผลกระทบในระดับ ทองถิ่นบางปญ หาก็สงผลกระทบในระดับประเทศ และบางปญหาสง ผลกระทบในระดบั โลก • การลดปริมาณการใชทรัพยากรธรรมชาติ การ กำจัดของเสียที่เปนสาเหตุของปญหาสิ่งแวดลอม และการวางแผนจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่ดี เปนตัวอยางของแนวทางในการอนุรักษท รัพยากร ธรรมชาติและการลดปญหาสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้น เพือ่ ใหเกิดการใชประโยชนท่ยี ่ังยนื ม.5 - - ม.6 - - สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตรช ีวภาพ มาตรฐาน ว 1.2 เขาใจสมบัติของส่ิงมีชวี ติ หนว ยพน้ื ฐานของส่งิ มชี ีวิต การลำเลียงสารเขาและออกจาก เซลล ความสมั พนั ธข องโครงสรา งและหนา ที่ของระบบตางๆ ของสัตวและมนุษยที่ ทำงานสัมพันธ กัน ความสัมพันธข องโครงสราง และหนาที่ของอวัยวะตางๆ ของพืชที่ ทำงานสัมพันธกัน รวมทงั้ นำความรูไปใชประโยชน โรงเรยี นทับโพธิ์พฒั นวิทย สำนกั งานเขตพืน้ พก่ี ารศึกษามัธยมศึกษาสรุ ินทร

หลกั สตู รกลุมสาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2565) ชน้ั ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรูแกนกลาง • เซลลเปน หนวยพน้ื ฐานของสงิ่ มชี ีวิต ส่ิงมีชีวิตบางชนิด มีเซลลเพียงเซลลเดียว เชน อะมีบาพารามีเซียม ยีสต ม.1 1. เปรียบเทียบรูปราง ลักษณะ และ บางชนิดมหี ลายเซลล เชนพืช สตั ว โครงสรางของเซลลพืชและเซลลสัตว • โครงสรา งพื้นฐานทพี่ บทั้งในเซลลพ ชื และเซลลสตั ว รวมทั้งบรรยายหนาที่ของผนังเซลล เย่ือ และสามารถสงั เกตไดด วยกลองจุลทรรศนใ ชแสง หุมเซลล ไซโทพลาซึมนวิ เคลียส แวควิ โอล ไดแ ก เยอื่ หมุ เซลล ไซโทพลาซมึ และนวิ เคลยี ส ไมโทคอนเดรียและคลอโรพลาสต โครงสรา งทีพ่ บในเซลลพ ชื แตไ มพบในเซลลส ัตว 2. ใชกลองจุลทรรศนใชแสงศึกษาเซลล ไดแ ก ผนังเซลลแ ละคลอโรพลาสต และโครงสรา งตาง ๆ ภายในเซลล • โครงสรา งตา ง ๆ ของเซลลม หี นา ทแ่ี ตกตางกนั - ผนงั เซลล ทำหนาที่ใหความแข็งแรงแกเ ซลล - เยื่อหมุ เซลล ทำหนาทีห่ อหุมเซลลและควบคมุ การลำเลียงสารเขาและออกจากเซลล - นวิ เคลียส ทำหนาทคี่ วบคุมการทำงานของเซลล - ไซโทพลาซึม มอี อรแกเนลลที่ทำหนา ที่แตกตางกนั - แวควิ โอล ทำหนาที่เก็บน้ำและสารตาง ๆ - ไมโทคอนเดรีย ทำหนาทีเ่ กย่ี วกบั การสลายสาร อาหารเพือ่ ใหไ ดพ ลงั งานแกเซลล - คลอโรพลาสต เปน แหลงทีเ่ กิดการสงั เคราะห ดว ยแสง • เซลลของสิง่ มีชีวิตมรี ูปราง ลักษณะ ทหี่ ลากหลายและ มีความเหมาะสมกับหนาที่ของเซลลนั้น เชนเซลล 3. อธบิ ายความสมั พันธร ะหวา งรปู รา ง ประสาทสวนใหญ มีเสนใยประสาทเปนแขนงยาว กับการทำหนาท่ขี องเซลล นำกระแสประสาทไปยังเซลลอื่น ๆ ที่อยูไกลออกไป เซลลข นราก เปนเซลลผิวของรากที่มีผนงั เซลลและเยื่อ หุมเซลลย่ืนยาวออกมาลักษณะคลายขนเสนเล็ก ๆ เพ่ือ เพม่ิ พื้นทผ่ี วิ ในการดดู นำ้ และธาตอุ าหาร 4. อธิบายการจัดระบบของสิ่งมีชีวิต โดย • พืชและสัตวเ ปนสงิ่ มีชวี ิตหลายเซลลม กี ารจัด เริ่มจากเซลล เนื้อเยื่อ อวัยวะ ระบบ ระบบ โดยเรมิ่ จากเซลลไปเปน เนอ้ื เยื่อ อวัยวะ อวัยวะ จนเปน สงิ่ มชี ีวติ ระบบอวยั วะ และสง่ิ มชี ีวติ ตามลำดบั เซลลหลาย เซลลมารวมกันเปน เนอื้ เยือ่ เน้ือเย่ือหลายชนดิ มา รวมกันและทำงานรว มกันเปน อวัยวะ อวยั วะตา ง ๆ โรงเรยี นทบั โพธิพ์ ัฒนวทิ ย สำนักงานเขตพนื้ พ่ีการศึกษามธั ยมศึกษาสรุ ินทร

หลักสตู รกลุมสาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรุง 2565) ชัน้ ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง ทำงานรว มกนั เปนระบบอวัยวะ ระบบอวยั วะ ทกุ ระบบทำงานรว มกันเปนส่งิ มีชวี ิต • เซลลม ีการนำสารเขา สูเซลล เพ่อื ใชในกระบวนการ ตา ง ๆ ของเซลล และมกี ารขจัดสารบางอยา ง ท่เี ซลลไ มต อ งการออกนอกเซลล การนำสารเขา 5. อธิบายกระบวนการแพรและออสโม และออกจากเซลลม ีหลายวธิ ี เชน การแพร ซิสจากหลักฐานเชิงประจักษ และ เปนการเคลื่อนทข่ี องสารจากบรเิ วณที่มีความ ยกตัวอยางการแพรและออสโมซิสใน เขม ขนของสารสงู ไปสูบรเิ วณท่มี ีความเขม ขน ชีวิตประจำวนั ของสารตำ่ สว นออสโมซิส เปนการแพรข องน้ำ ผา นเยอ่ื หมุ เซลล จากดานทมี่ คี วามเขม ขน ของ สารละลายตำ่ ไปยังดานทมี่ คี วามเขมขน ของ สารละลายสูงกวา 6. ระบุปจจัยที่จำเปนในการสังเคราะห • กระบวนการสงั เคราะหด ว ยแสงของพชื ท่ีเกดิ ขนึ้ ดวยแสงและผลผลิตที่เกิดขึ้นจากการ ในคลอโรพลาสต จำเปนตองใชแ สง แกส คารบอนได- สังเคราะหดวยแสงโดยใชหลักฐานเชิง ประจักษ ออกไซด คลอโรฟล ล และน้ำ ผลผลิตที่ไดจาก การสังเคราะหดวยแสง ไดแ ก น้ำตาลและ แกส ออกซิเจน • การสังเคราะหด วยแสง เปนกระบวนการท่สี ำคัญ 7. อธิบายความสำคัญของการสังเคราะห ตอสิง่ มชี ีวิต เพราะเปน กระบวนการเดยี ว ดวยแสงของพืชตอสิ่งมีชีวิตและ ท่ีสามารถนำพลงั งานแสงมาเปลยี่ นเปน พลงั งาน ในรปู สารประกอบอนิ ทรยี แ ละเก็บสะสมในรูปแบบ ส่ิงแวดลอม ตาง ๆ ในโครงสรา งของพชื พชื จงึ เปนแหลง 8. ตระหนักในคุณคาของพืชที่มีตอ อาหารและพลงั งานที่สำคัญของสิง่ มีชวี ติ อื่น สิ่งมีชีวิตและส่ิงแวดลอม โดยการรวมกัน นอกจากนี้กระบวนการสังเคราะหดว ยแสงยงั เปน ปลกู และดูแลรกั ษาตนไมในโรงเรียนและ ชมุ ชน กระบวนการหลกั ในการสรา งแกสออกซเิ จนใหกบั บรรยากาศเพือ่ ใหส ง่ิ มชี วี ิตอ่ืน ใชในกระบวนการ หายใจ 9. บรรยายลักษณะและหนาที่ของไซเล็ม • พชื มีไซเล็มและโฟลเอม็ ซ่ึงเปนเนอื้ เยอ่ื และโฟลเอ็ม มีลกั ษณะคลายทอ เรยี งตัวกันเปน กลุมเฉพาะที่ 10. เขียนแผนภาพทบี่ รรยายทิศทาง โดยไซเลม็ ทำหนาท่ีลำเลยี งนำ้ และธาตุอาหาร การลำเลยี งสารในไซเลม็ และโฟลเอม็ มีทศิ ทางลำเลียงจากรากไปสลู ำตน ใบ และ โรงเรยี นทับโพธิพ์ ฒั นวทิ ย สำนกั งานเขตพ้นื พี่การศึกษามธั ยมศึกษาสรุ นิ ทร

หลกั สตู รกลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรุง 2565) ช้นั ตัวชี้วดั สาระการเรียนรูแกนกลาง ของพชื สวนตา ง ๆ ของพืช เพอื่ ใชใ นการสงั เคราะหด วยแสง รวมถึงกระบวนการอน่ื ๆ สว นโฟลเอ็มทำหนาท่ี ลำเลยี งอาหารที่ไดจ ากการสังเคราะหดวยแสง มีทศิ ทางลำเลยี งจากบริเวณทมี่ กี ารสังเคราะหดว ย แสงไปสสู วนตาง ๆ ของพืช 11. อธิบายการสืบพันธุแบบอาศัยเพศ • พืชดอกทุกชนิดสามารถสบื พนั ธุแบบอาศัยเพศได และไมอ าศยั เพศของพชื ดอก และบางชนิดสามารถสืบพันธุแบบไมอ าศัยเพศได 12. อธิบายลักษณะโครงสรา งของดอกที่มี • การสบื พันธแุ บบอาศัยเพศเปนการสบื พันธทุ มี่ ีการ สว นทำใหเกิดการถา ยเรณู รวมทง้ั บรรยาย ผสมกันของสเปร มกับเซลลไ ข การสบื พันธุ การปฏิสนธิของพืชดอก การเกิดผลและ แบบอาศัยเพศของพืชดอกเกิดขนึ้ ที่ดอก โดยภายใน เมล็ดการกระจายเมล็ด และการงอกของ อับเรณขู องสว นเกสรเพศผูมีเรณู ซงึ่ ทำหนา ท่ี เมล็ด สรา งสเปร ม ภายในออวลุ ของสว นเกสรเพศเมยี 13. ตระหนักถงึ ความสำคญั ของสัตวทีช่ วย มถี งุ เอ็มบริโอ ทำหนาท่ีสรา งเซลลไ ข ในการถายเรณูของพืชดอก โดยการไม • การสืบพนั ธุแ บบไมอาศยั เพศ เปน การสบื พนั ธุท ่พี ืช ทำลายชีวติ ของสตั วที่ชว ยในการถา ยเรณู ตนใหมไ มไ ดเ กิดจากการปฏิสนธิระหวางสเปร ม กับเซลลไ ข แตเกิดจากสว นตาง ๆ ของพชื เชน ราก ลำตน ใบ มีการเจริญเตบิ โตและพัฒนาข้นึ มา เปนตนใหมได • การถายเรณู คือ การเคลื่อนยายของเรณูจากอับเรณู ไปยังยอดเกสรเพศเมีย ซึ่งเกี่ยวของกับลักษณะและ โครงสรางของดอก เชน สีของกลีบดอก ตำแหนงของ เกสรเพศผแู ละเกสรเพศ เมีย โดยมสี ่ิงทช่ี ว ยในการถา ยเรณู เชน แมลง ลม • การถายเรณูจะนำไปสูการปฏิสนธิ ซึ่งจะเกิดขึ้นที่ถุง เอม็ บรโิ อภายในออวลุ หลงั การปฏิสนธิจะไดไ ซโกต และ เอนโดสเปร ม ไซโกตจะพัฒนาตอไปเปนเอ็มบรโิ อ ออวุล พฒั นาไปเปน เมล็ด และรงั ไขพัฒนาไปเปน ผล • ผลและเมล็ดมีการกระจายออกจากตนเดิม โดยวิธีการ ตาง ๆ เม่ือเมล็ดไปตกในสภาพแวดลอมที่เหมาะสมจะ เกิดการงอกของเมล็ด โดยเอม็ บริโอภายในเมลด็ จะเจริญ โรงเรยี นทบั โพธิ์พัฒนวิทย สำนกั งานเขตพ้ืนพี่การศึกษามธั ยมศกึ ษาสรุ ินทร

หลักสตู รกลมุ สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรบั ปรงุ 2565) ช้นั ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง ออกมา โดยระยะแรกจะอาศัยอาหารที่สะสมภายใน เมลด็ จนกระทงั่ ใบแทพัฒนา จนสามารถสังเคราะหดวยแสงไดเต็มท่ี และสรางอาหารไดเ องตามปกติ 14. อธบิ ายความสำคญั ของธาตุอาหาร • พืชตอ งการธาตุอาหารที่จำเปนหลายชนดิ ในการ บางชนดิ ท่มี ผี ลตอ การเจริญเตบิ โต เจริญเติบโตและการดำรงชีวิต และการดำรงชวี ิตของพชื • พืชตอ งการธาตุอาหารบางชนิดในปริมาณมาก ไดแก 15. เลือกใชปยุ ท่มี ธี าตุอาหารเหมาะสมกับ ไนโตรเจน ฟอสฟอรสั โพแทสเซยี ม แคลเซยี ม พืชในสถานการณท ก่ี ำหนด แมกนีเซยี ม และกำมะถัน ซ่งึ ในดนิ อาจมีไมเ พียงพอ สำหรับการเจรญิ เตบิ โตของพืช จึงตองมีการให ธาตุอาหารในรูปของปยุ กบั พชื อยา งเหมาะสม 16. เลือกวิธีการขยายพนั ธุพชื ใหเหมาะสม • มนุษยสามารถนำความรเู ร่อื งการสบื พันธุ กับความตอ งการของมนุษย โดยใชความรู แบบอาศยั เพศและไมอาศยั เพศ มาใชในการ เกีย่ วกบั การสบื พนั ธขุ องพชื ขยายพนั ธเุ พือ่ เพิ่มจำนวนพืช เชน การใชเมล็ด 17. อธิบายความสำคญั ของเทคโนโลยี ท่ีไดจ ากการสืบพันธแุ บบอาศยั เพศมาเพาะเลี้ยง การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชในการใช วธิ ีการนี้จะไดพ ืชในปรมิ าณมาก แตอ าจมีลักษณะ ประโยชนดา นตา ง ๆ ทีแ่ ตกตางไปจากพอ แม สว นการตอนก่ิง การปก ชำ การตอก่ิง การตดิ ตา การทาบกิ่ง การเพาะเล้ียง เน้อื เยื่อ เปน การนำความรเู รื่องการสืบพันธแุ บบ ไมอาศัยเพศของพชื มาใชในการขยายพนั ธุ เพือ่ ใหไดพชื ทีม่ ลี กั ษณะเหมือนตน เดมิ ซึ่งการขยายพันธุ แตละวธิ ี มีข้ันตอนแตกตางกัน จึงควรเลือกใหเหมาะสม กับความตองการของมนุษย โดยตองคำนึงถึงชนิดของ พชื และลกั ษณะการสืบพนั ธขุ องพืช • เทคโนโลยีการเพาะเลยี้ งเนอื้ เยอ่ื พืช เปนการนำ ความรเู กยี่ วกบั ปจจัยทจ่ี ำเปน ตอ การเจริญเตบิ โต ของพชื มาใชใ นการเพิ่มจำนวนพืช และทำใหพ ืช สามารถเจริญเตบิ โตไดใ นหลอดทดลอง ซึ่งจะได พืชจำนวนมากในระยะเวลาสั้น และสามารถนำ เทคโนโลยีการเพาะเล้ียงเน้ือเยื่อมาประยุกต เพื่อการอนรุ กั ษพ นั ธุกรรมพชื ปรบั ปรงุ พนั ธุพชื โรงเรียนทบั โพธิพ์ ฒั นวทิ ย สำนกั งานเขตพื้นพ่ีการศึกษามธั ยมศึกษาสรุ นิ ทร

หลกั สตู รกลุมสาระการเรียนรูว ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรุง 2565) ช้ัน ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ทม่ี คี วามสำคัญทางเศรษฐกิจ การผลติ ยาและ สารสำคัญในพชื และอื่น ๆ ม.2 1. ระบุอวัยวะและบรรยายหนาที่ของ • ระบบหายใจมอี วัยวะตา ง ๆ ท่เี กย่ี วของ ไดแ ก อวัยวะทเ่ี กีย่ วของในระบบหายใจ จมูก ทอลม ปอด กะบังลม และกระดูกซ่ีโครง 2. อธิบายกลไกการหายใจเขาและออก • มนุษยหายใจเขา เพอื่ นำแกส ออกซิเจนเขา สู โ ดยใช แบ บจำลอง รวมทั้งอธิ บาย รางกายเพอื่ นำไปใชในเซลล และหายใจออก กระบวนการแลกเปล่ยี นแกส เพอื่ กำจดั แกส คารบอนไดออกไซดอ อกจาก 3. ตระหนักถึงความสำคัญของระบบ รางกาย หายใจโดยการบอกแนวทางในการดูแล • อากาศเคล่อื นทเี่ ขา และออกจากปอดได รักษาอวัยวะในระบบหายใจใหทำงานเปน เนื่องจากการเปลยี่ นแปลงปริมาตรและความดนั ปกติ ของอากาศภายในชอ งอกซ่งึ เกย่ี วขอ งกับ การทำงานของกะบงั ลม และกระดูกซ่โี ครง • การแลกเปลย่ี นแกสออกซเิ จนกบั แกสคารบอนไดออกไซดใ นรา งกาย เกิดขึ้นบริเวณ ถงุ ลมในปอดกับหลอดเลือดฝอยทถ่ี ุงลม และ ระหวางหลอดเลือดฝอยกบั เน้อื เย่ือ • การสบู บหุ รี่ การสูดอากาศทีม่ ีสารปนเปอ น และ การเปน โรคเกี่ยวกับระบบหายใจบางโรค อาจทำใหเ กิดโรคถงุ ลมโปงพอง ซงึ่ มผี ลใหค วามจุ อากาศของปอดลดลง ดงั น้นั จึงควรดูแลรกั ษา ระบบหายใจ ใหทำหนาทีเ่ ปนปกติ 4. ระบุอวัยวะและบรรยายหนาที่ของ • ระบบขบั ถา ยมีอวยั วะท่เี ก่ยี วของ คอื ไต ทอไต อวัยวะในระบบขับถายในการกำจัดของ กระเพาะปสสาวะ และทอ ปส สาวะ โดยมไี ต เสยี ทางไต ทำหนาท่กี ำจดั ของเสีย เชน ยเู รยี แอมโมเนีย 5. ตระหนักถึงความสำคัญของระบบ กรดยูรกิ รวมทั้งสารทรี่ า งกายไมต องการออกจาก ขับถายในการกำจัดของเสียทางไต โดย เลือด และควบคุมสารท่มี มี ากหรอื นอยเกนิ ไป การบอกแนวทางในการปฏิบตั ิตนท่ีชวยให เชน นำ้ โดยขบั ออกมาในรปู ของปส สาวะ ระบบขบั ถา ยทำหนา ทีไ่ ดอ ยางปกต • การเลือกรบั ประทานอาหารทเี่ หมาะสม เชน รบั ประทานอาหารท่ีไมมีรสเค็มจดั การดื่มน้ำ สะอาดใหเพยี งพอ เปน แนวทางหนึง่ ที่ชวยให ระบบขบั ถายทำหนา ท่ีไดอ ยางปกติ โรงเรยี นทบั โพธิพ์ ฒั นวทิ ย สำนกั งานเขตพ้นื พีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสุรินทร

หลักสตู รกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2565) ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรแู กนกลาง 6. บรรยายโครงสรา งและหนา ทข่ี องหัวใจ • ระบบหมนุ เวยี นเลือดประกอบดวย หวั ใจ หลอดเลอื ด และเลือด หลอดเลอื ด และเลือด 7. อธิบายการทำงานของระบบหมุนเวียน • หัวใจของมนุษยแบงเปน 4 หอง ไดแก หวั ใจ เลอื ดโดยใชแ บบจำลอง หองบน 2 หอง และหอ งลาง 2 หอง ระหวา ง หวั ใจหอ งบนและหัวใจหอ งลางมีลน้ิ หัวใจกน้ั • หลอดเลือด แบงเปน หลอดเลอื ดอารเตอรี หลอดเลือดเวน หลอดเลือดฝอย ซ่งึ มีโครงสราง ตา งกัน • เลือด ประกอบดวย เซลลเ มด็ เลือด เพลตเลต และพลาสมา • การบีบและคลายตัวของหัวใจทำใหเ ลอื ดหมนุ เวยี น และลำเลยี งสารอาหาร แกส ของเสยี และสาร อ่นื ๆ ไปยังอวัยวะและเซลลตาง ๆ ทั่วรางกาย • เลอื ดท่ีมปี รมิ าณแกส ออกซิเจนสูงจะออกจากหวั ใจ ไปยงั เซลลตา ง ๆ ทัว่ รางกาย ขณะเดียวกัน แกส คารบอนไดออกไซดจ ากเซลลจะแพรเ ขา สเู ลอื ด และลำเลยี งกลบั เขาสูหวั ใจและถูกสง ไปแลกเปลี่ยนแกส ทป่ี อด 8. ออกแบบการทดลองและทดลอง ใน • ชีพจรบอกถงึ จังหวะการเตน ของหัวใจซึ่งอัตราการเตน การเปรียบเทียบอัตราการเตนของหัวใจ ของหวั ใจในขณะปกติและหลงั จากทำกิจกรรมตา ง ๆ จะ ขณะปกตแิ ละหลังทำกจิ กรรม แตกตา งกนั สว นความดนั เลอื ด ระบบหมุนเวยี นเลอื ดเกิด 9. ตระหนักถึงความสำคัญของระบบ จากการทำงานของหวั ใจและหลอดเลอื ด หมุนเวียนเลือดโดยการบอกแนวทางใน • อัตราการเตนของหัวใจมีความแตกตางกันในแตละ การดูแลรักษาอวัยวะในระบบหมุนเวียน บุคคล คนท่ีเปนโรคหัวใจและหลอดเลือดจะสงผลทำให เลอื ดใหทำงานเปน ปกต หวั ใจสูบฉีดเลือดไมเ ปน ปกติ • การออกกำลังกาย การเลือกรับประทานอาหารการ พักผอน และการรักษาภาวะอารมณใหเปนปกติ จึงเปน ทางเลือกหนึง่ ในการดูแลรักษาระบบหมุนเวียนเลือดให เปน ปกติ โรงเรียนทับโพธิพ์ ัฒนวทิ ย สำนกั งานเขตพื้นพี่การศกึ ษามัธยมศึกษาสุรนิ ทร

หลกั สตู รกลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรบั ปรุง 2565) ชัน้ ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง 10. ระบุอวัยวะและบรรยายหนาที่ของ • ระบบประสาทสว นกลาง ประกอบดวยสมอง อวัยวะในระบบประสาทสวนกลางในการ และไขสนั หลัง จะทำหนาทรี่ ว มกับเสนประสาท ควบคมุ การทำงานตาง ๆ ของรางกาย ซึ่งเปน ระบบประสาทรอบนอก ในการควบคุม 11. ตระหนักถึงความสำคัญของระบบ การทำงานของอวัยวะตา ง ๆ รวมถึงการแสดง ประสาทโดยการบอกแนวทางในการดแู ล พฤตกิ รรม เพื่อการตอบสนองตอ สงิ่ เรา รักษา รวมถึงการปองกันการระทบ • เมื่อมสี ่งิ เรามากระตนุ หนว ยรบั ความรสู กึ จะเกิด กระเทือนและอันตรายตอสมองและไขสัน กระแสประสาทสง ไปตามเซลลป ระสาทรบั ความรูสึก หลงั ไปยงั ระบบประสาทสว นกลาง แลว สง กระแสประสาทมาตามเซลลป ระสาทส่ังการ ไปยงั หนว ยปฏบิ ตั งิ าน เชน กลามเนือ้ • ระบบประสาทเปนระบบทมี่ ีความซับซอ นและมี ความสมั พนั ธก ับทุกระบบในรา งกาย ดงั นนั้ จึงควรปองกนั การเกดิ อุบัติเหตทุ ี่กระทบกระเทือน ตอสมอง หลีกเลี่ยงการใชสารเสพตดิ หลีกเลย่ี ง ภาวะเครยี ด และรบั ประทานอาหารทมี่ ปี ระโยชน เพอ่ื ดูแลรกั ษาระบบประสาทใหท ำงานเปนปกติ 12. ระบุอวัยวะและบรรยายหนาที่ของ • มนษุ ยมีระบบสืบพันธทุ ี่ประกอบดวยอวัยวะ อวัยวะในระบบสืบพันธุของเพศชายและ ตา ง ๆ ทท่ี ำหนา ท่เี ฉพาะ โดยรังไขในเพศหญงิ เพศหญิงโดยใชแ บบจำลอง จะทำหนาทผ่ี ลิตเซลลไข สว นอัณฑะในเพศชาย 13. อธิบายผลของฮอรโมนเพศชายและ จะทำหนาท่ีสรา งเซลลอ สุจิ เพศหญิงที่ควบคุมการเปลี่ยนแปลงของ • ฮอรโมนเพศทำหนาที่ควบคุมการแสดงออกของ รา งกาย เมอ่ื เขาสวู ัยหนมุ สาว ลกั ษณะทางเพศทแ่ี ตกตา งกนั เมอ่ื เขา สวู ัยหนุม สาว 14. ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงของ จะมีการสรางเซลลไขแ ละเซลลอสจุ ิ การตกไข รางกายเมื่อเขาสูวัยหนุม สาว โดยการดูแล การมรี อบเดอื น และถา มกี ารปฏสิ นธิของเซลลไ ข รักษารางกายและจิตใจของตนเองในชวงท่ี และเซลลอ สุจิจะทำใหเ กดิ การตัง้ ครรภ มีการเปลยี่ นแปลง 15. อธิบายการตกไข การมีประจำเดือน • การมปี ระจำเดอื น มคี วามสัมพนั ธก บั การตกไข การปฏสิ นธิ และการพัฒนาของไซโกต โดยเปน ผลจากการเปลี่ยนแปลงของระดบั ฮอรโ มน จนคลอดเปน ทารก เพศหญิง 16. เลอื กวิธีการคุมกำเนดิ ท่เี หมาะสมกับ • เมื่อเพศหญิงมีการตกไขและเซลลไ ขไดรับการปฏิสนธิ สถานการณท ีก่ ำหนด กับเซลลอสุจิจะทำใหไดไซโกตไซโกตจะเจริญเปน โรงเรยี นทบั โพธิ์พฒั นวทิ ย สำนกั งานเขตพน้ื พกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาสุรินทร

หลักสตู รกลมุ สาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรงุ 2565) ชั้น ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนรูแ กนกลาง 17. ตระหนักถึงผลกระทบของการ เอ็มบริโอและฟตัสจนกระท่ังคลอดเปนทารก แตถ าไมม ี ตั้งครรภก อนวัยอันควร โดยการประพฤติ การปฏสิ นธเิ ซลลไขจะสลายตัว ผนงั ดานในมดลกู รวมท้ัง ตนใหเหมาะสม หลอดเลือดจะสลายตัวและหลุดลอกออก เรยี กวา ประจำเดอื น • การคมุ กำเนดิ เปน วธิ ีปอ งกันไมใหเกดิ การต้ังครรภ โดยปองกันไมใหเกิดการปฏิสนธิหรือไมใหมีการฝงตัว ของเอ็มบริโอ ซึ่งมีหลายวิธี เชน การใชถุงยางอนามัย การกินยาคมุ กำเนดิ ม.3 - - ม.4 1. อธิบายโครงสรางและสมบตั ิของเยอ่ื • เยื่อหุมเซลลมีโครงสรางเปนเยื่อหุมสองชั้นที่มีลิพิด หุมเซลลทส่ี มั พนั ธก บั การลำเลียงสาร เปนองคประกอบ และมีโปรตนี แทรกอยู และเปรยี บเทยี บการลำเลียงสารผา นเยือ่ • สารทีล่ ะลายไดในลิพดิ และสารท่ีมีขนาดเลก็ สามารถ หมุ เซลลแ บบตา ง ๆ แพรผ า นเยอื่ หุม เซลลไดโดยตรง สว นสารขนาดเล็กท่ี มีประจุตองลำเลียงผานโปรตีนที่แทรกอยูที่เยื่อหุม เซลลซึ่งมี2 แบบ คือ การแพรแบบฟาซิลิเทต และ แอกทีฟทรานสปอรต ในกรณีสารขนาดใหญ เชน โปรตีน จะลำเลียงเขาโดยกระบวนการเอนโดไซโท ซิส หรอื ลำเลียงออกโดยกระบวนการเอกโซไซโทซสิ 2. อธิบายการควบคุมดุลยภาพของน้ำ • การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารในเลือดเกิดจาก และสารในเลือดโดยการทำงานของ การทำงานของไต ซึ่งเปนอวัยวะในระบบขับถายที่มี ไต ความสำคัญในการกำจัดของเสียที่มีไนโตรเจนเปน องคประกอบ รวมทั้งน้ำและสารที่มีปริมาณเกิน ความตอ งการของรา งกาย 3. อธิบายการควบคุมดุลยภาพของกรด- • การรกั ษาดุลยภาพของกรด-เบสในเลือดเกิดจากการ เบสของเลือดโดยการทำงานของไต ทำงานของไตที่ทำหนาที่ขับหรือดูดกลับไฮโดรเจน และปอด ไอออน ไฮโดรเจนคารบอเนตไอออนและ แอมโมเนียมไอออน และการทำงานของปอดที่ทำ หนา ทีก่ ำจดั คารบอนไดออกไซด 4. อธิบายการควบคุมดุลยภาพของ • การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในรางกายเกิด อุณหภูมิภายในรางกายโดยระบบ จากการทำงานของระบบหมนุ เวียนเลือดที่ควบคุม โรงเรียนทบั โพธิ์พัฒนวทิ ย สำนักงานเขตพืน้ พ่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษาสุรนิ ทร

หลกั สตู รกลุมสาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรบั ปรงุ 2565) ชนั้ ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง หมุ นเวียนเลือด ผิวหน ัง และ ปริมาณเลือดไปที่ผิวหนัง การทำงานของตอมเหง่ือ กลา มเน้ือโครงราง และกลามเนื้อโครงรา ง ซึ่งสง ผลถงึ ปริมาณความรอน ทถี่ กู เกบ็ หรือระบายออกจากรางกาย 5. อธิบาย และเขียนแผนผังเกี่ยวกับการ • เมื่อเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมอื่นเขาสูเนื้อเยื่อใน ตอบสนองของร างกายแบ บ ไม รางกาย รางกายจะมีกลไกในการตอตานหรือทำลาย จำเพาะ และแบบจำเพาะตอสิ่ง สิ่งแปลกปลอมท้ังแบบไมจ ำเพาะและแบบจำเพาะ• แปลกปลอมของรา งกาย เซลลเม็ดเลือดขาวกลุมฟาโกไซตจะมีกลไกในการ ตอ ตา นหรือทำลายสง่ิ แปลกปลอมแบบไมจำเพาะ • กลไกในการตอตานหรือทำลายสิ่งแปลกปลอมแบบ จำเพาะเปน การทำงานของเซลลเม็ดเลือดขาวลมิ โฟ ไซตช นดิ บแี ละชนิดทีซง่ึ เซลลเมด็ เลือดขาวทั้งสองชนิด จะมีตัวรับแอนติเจน ทำใหเซลลทั้งสองสามารถ ตอบสนองแบบจำเพาะตอแอนตเิ จนนน้ั ๆ ได • เซลลบ ที ำหนาที่สรางแอนติบอดซี ่ึงชวยในการจับกับ สิ่งแปลกปลอมตาง ๆ เพื่อทำลายตอไปโดยระบบ ภูมิคุมกัน เซลลทีทำหนาที่หลากหลายเชน กระตุน การทำงานของเซลลบีและเซลลทีชนิดอื่น ทำลาย เซลลท ี่ตดิ ไวรัสและเซลลท ผ่ี ดิ ปกตอิ ่นื ๆ 6. สบื คน ขอมูล อธิบาย และยกตัวอยาง • บางกรณีรางกายอาจเกิดความผิดปกติของระบบ โรคหรืออาการที่เกิดจากความ ภูมคิ ุมกัน เชน ภูมิคุม กนั ตอบสนองตอแอนติเจนบาง ผดิ ปกติของระบบภมู คิ มุ กัน ชนิดอยา งรุนแรงมากเกินไป หรือรางกายมีปฏิกิริยา ตอบสนองตอแอนติเจนของตนเองอาจทำใหรางกาย เกดิ อาการผิดปกตไิ ด ม.4 7. อธิบายภาวะภูมิคุมกันบกพรองที่มี • บุคคลที่ไดรับเลือดหรือสารคัดหลั่งที่มีเชื้อ HIV ซ่ึง สาเหตมุ าจากการตดิ เช้อื HIV สามารถทำลายเซลลทีทำใหภูมิคุม กันบกพรองและ ติดเช้ือตาง ๆ ไดง ายขึ้น 8. ทดสอบ และบอกชนิดของสารอาหาร • กระบวนการสังเคราะหดวยแสงเปนจุดเริ่มตนของ ทพี่ ืชสังเคราะหไ ด การสรางน้ำตาลในพืช พืชเปลี่ยนน้ำตาลไปเปน 9. สบื คนขอ มลู อภิปราย และยกตัวอยา ง สารอาหารและสารอื่น ๆ เชน คารโ บไฮเดรตโปรตนี เกี่ยวกับการใชประโยชนจากสารตา ง ไขมนั ทจ่ี ำเปนตอ การดำรงชวี ิตของพชื และสตั ว ๆ ท่พี ืชบางชนิดสรางขนึ้ โรงเรียนทับโพธิพ์ ฒั นวทิ ย สำนักงานเขตพืน้ พกี่ ารศึกษามัธยมศึกษาสรุ นิ ทร

หลักสตู รกลมุ สาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรบั ปรงุ 2565) ช้นั ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง • มนุษยสามารถนำสารตางๆ ทพ่ี ืชบางชนิดสรางข้ึนไป ใชประโยชนเชน ใชเปนยาหรือสมุนไพรในการรักษา โรคบางชนิด ใชในการไลแมลง กำจัดศัตรูพืชและ สัตวใชในการยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย และใชเ ปนวัตถุดบิ ในอตุ สาหกรรม 10. ออกแบบการทดลอง ทดลอง และ • ปจจัยภายนอกที่มีผลตอการเจริญเติบโต เชน แสง อธิบายเกี่ยวกับปจจัยภายนอกที่มี น้ำ ธาตุอาหารคารบอนไดออกไซดและออกซิเจน ผลตอการเจรญิ เติบโตของพชื ปจจัยภายใน เชน ฮอรโมนพืช ซึ่งพืชมีการ 11. สืบคน ขอ มลู เก่ยี วกบั สารควบคุมการ สังเคราะหขึ้น เพื่อควบคุมการเจริญเติบโตในชวง เจริญเติบโตของพืชที่มนุษย ชีวติ ตาง ๆ สังเคราะหขึ้นและยกตัวอยางการ • มนุษยมีการสังเคราะหสารควบคุมการเจริญเติบโต น ำ ม า ป ร ะ ย ุ ก ต  ใ ช  ท า ง ด  า น ของพืชโดยเลียนแบบฮอรโมนพืช เพื่อนำมาใช การเกษตรของพชื ควบคมุ การเจรญิ เตบิ โตและเพม่ิ ผลผลิตของพชื 12. สังเกต และอธิบายการตอบสนอง • การตอบสนองตอสิ่งเราของพืชแบงตาม ของพืชตอสิง่ เราในรปู แบบตา ง ๆ ท่ี ความสัมพันธกับทิศทางของสิ่งเราไดไดแกแบบที่มี มีผลตอ การดำรงชีวิต ทิศทางสัมพันธกับทิศทางของสง่ิ เรา เชน ดอก ทานตะวันหันเขาหาแสง ปลายรากเจริญเขาหาแรง โนมถวงของโลก และแบบที่ไมมีทิศทางสัมพันธก ับ ทิศทางของสิ่งเรา เชน การหุบและบานของดอก หรอื การหบุ และกางของใบพชื บางชนดิ • การตอบสนองตอสิ่งเราของพืชบางอยางสงผลตอ การเจริญเติบโต เชน การเจรญิ ในทศิ ทางเขาหาหรือ ตรงขามกับแรงโนมถวงของโลก การเจริญในทิศ ทางเขาหาหรือตรงขามกับแสง และการตอบสนอง ม.5 - - ตอการสมั ผัสสง่ิ เรา ม.6 - - สาระท่ี 1 วิทยาศาสตรชีวภาพ โรงเรยี นทบั โพธิพ์ ัฒนวิทย สำนักงานเขตพ้นื พกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาสุรนิ ทร

หลักสตู รกลุมสาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรุง 2565) มาตรฐาน ว 1.3 เขาใจกระบวนการและความสำคัญของการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลตอสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทาง ชีวภาพและ วิวัฒนาการของสิง่ มชี ีวติ รวมทง้ั นำความรไู ปใชป ระโยชน ชัน้ ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ม.1 - - ม.2 - - ๑. อธิบายความสัมพันธระหวาง ยีน ดีเอ็น • ลักษณะทางพันธกุ รรมของสง่ิ มชี วี ิตสามารถ เอ และโครโมโซม โดยใชแ บบจำลอง ถา ยทอดจากรุนหนึง่ ไปยงั อีกรนุ หนึ่งได โดยมียีน ม.3 เปนหนว ยควบคุมลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม • โครโมโซมประกอบดวย ดีเอ็นเอ และโปรตนี ขดอยูใ นนิวเคลยี ส ยีน ดเี อน็ เอ และโครโมโซม มีความสัมพันธกัน โดยบางสว นของดีเอ็นเอ ทำหนาทเ่ี ปน ยีนท่กี ำหนดลกั ษณะของสิง่ มชี ีวิต • ส่งิ มีชีวิตทมี่ ีโครโมโซม 2 ชดุ โครโมโซมท่ีเปน คกู นั มกี ารเรยี งลำดับของยนี บนโครโมโซมเหมือนกนั เรียกวา ฮอมอโลกสั โครโมโซม ยีนหนงึ่ ทีอ่ ยู บนคูฮ อมอโลกสั โครโมโซม อาจมรี ปู แบบ แตกตา งกัน เรยี กแตละรูปแบบของยนี ท่ีตางกันนว้ี า แอลลลี ซง่ึ การเขา คูก ันของแอลลีลตา ง ๆ อาจ สง ผลทำใหส ิ่งมชี ีวิตมีลักษณะทแ่ี ตกตา งกนั ได • สิ่งมชี ีวิตแตละชนดิ มจี ำนวนโครโมโซมคงท่ี มนษุ ย มจี ำนวนโครโมโซม 23 คู เปน ออโตโซม 22 คู และ โครโมโซมเพศ 1 คู เพศหญิงมีโครโมโซมเพศ เปน XX เพศชายมีโครโมโซมเพศเปน XY 2. อธิบายการถายทอดลักษณะทาง • เมนเดลไดศ กึ ษาการถายทอดลักษณะทาพนั ธุกรรม พันธุกรรมจากการผสมโดยพิจารณา ของตนถัว่ ชนดิ หนึง่ และนำมาสหู ลักการพื้นฐาน ลักษณะเดียวทีแ่ อลลีลเดนขมแอลลีลดอย ของการถา ยทอดลกั ษณะทางพันธุกรรมของ อยางสมบรู ณ สิ่งมีชวี ติ 3. อธิบายการเกิดจีโนไทปและฟโนไทป • สง่ิ มีชีวติ ทม่ี ีโครโมโซมเปน 2 ชดุ ยีนแตล ะ ของลูกและคำนวณอัตราสวนการเกิดจีโน ตำแหนง บนฮอมอโลกสั โครโมโซมมี 2 แอลลลี ไทปแ ละฟโ นไทปข องรุนลูก โดยแอลลีลหนึง่ มาจากพอ และอกี แอลลีลมาจาก แม ซง่ึ อาจมรี ปู แบบเดยี วกัน หรือแตกตา งกัน โรงเรยี นทบั โพธิพ์ ัฒนวิทย สำนกั งานเขตพน้ื พี่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสรุ นิ ทร

หลักสตู รกลุม สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรบั ปรงุ 2565) ช้ัน ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง แอลลีลทแ่ี ตกตา งกันน้ี แอลลลี หน่ึงอาจมกี าร แสดงออกขม อีกแอลลีลหนึง่ ได เรียกแอลลลี นั้นวา เปนแอลลลี เดน สวนแอลลลี ทถ่ี ูกขม อยางสมบูรณ เรียกวาเปนแอลลีลดอย • เม่อื มีการสรา งเซลลส ืบพันธุ แอลลลี ท่เี ปน คกู นั ในแตล ะฮอมอโลกสั โครโมโซมจะแยกจากกัน ไปสูเ ซลลส ืบพันธแุ ตล ะเซลล โดยแตล ะเซลลส บื พนั ธุ จะไดร บั เพียง 1 แอลลีล และจะมาเขา คูก บั แอลลีลท่ีตำแหนงเดยี วกันของอีกเซลลส ืบพันธุห น่ึง เมือ่ เกิดการปฏิสนธิ จนเกดิ เปนจีโนไทปและ แสดงฟโ นไทปใ นรุนลูก 4. อธิบายความแตกตางของการแบงเซลล • กระบวนการแบงเซลลข องสงิ่ มชี วี ิตมี 2 แบบ คอื แบบไมโทซิสและไมโอซิส ไมโทซสิ และไมโอซสิ • ไมโทซิส เปน การแบง เซลลเพ่ือเพิ่มจำนวนเซลล รางกาย ผลจากการแบงจะไดเซลลใ หม 2 เซลล ท่มี ีลักษณะและจำนวนโครโมโซมเหมอื นเซลลต ้งั ตน • ไมโอซิส เปนการแบงเซลลเ พอื่ สรา งเซลลส บื พนั ธุ ผลจากการแบง จะไดเซลลใหม 4 เซลล ท่มี ี จำนวนโครโมโซมเปนคร่งึ หนึง่ ของเซลลตัง้ ตน เมอ่ื เกิดการปฏิสนธขิ องเซลลส ืบพันธุ ลกู จะไดร ับ การถายทอดโครโมโซมชุดหน่งึ จากพอและอีก ชดุ หนึ่งจากแม จึงเปน ผลใหร นุ ลูกมีจำนวน โครโมโซมเทา กบั รนุ พอแมแ ละจะคงที่ในทกุ ๆ รนุ 5. บอกไดวาการเปลี่ยนแปลงของยีนหรือ • การเปลยี่ นแปลงของยีนหรอื โครโมโซม สง ผลให โครโมโซมอาจทำใหเกิดโรคทางพันธุกรรม เกดิ การเปลย่ี นแปลงลักษณะทางพันธุกรรมของ พรอ มท้ังยกตวั อยางโรคทางพนั ธกุ รรม สิ่งมีชีวิต เชน โรคธาลัสซีเมียเกิดจากการ 6. ตระหนักถึงประโยชนของความรูเรื่อง เปล่ยี นแปลงของยนี กลมุ อาการดาวนเ กดิ จากการ โรคทางพันธุกรรม โดยรูวากอนแตงงาน เปลย่ี นแปลงจำนวนโครโมโซม ควรปรึกษาแพทยเพื่อตรวจและวินิจฉัย • โรคทางพนั ธุกรรมสามารถถายทอดจากพอ แมไปสู ภาวะเสี่ยงของลูกที่อาจเกิดโรคทาง ลูกได ดงั นั้นกอ นแตง งานและมีบตุ รจึงควรปองกัน พนั ธุกรรม โดยการตรวจและวินิจฉัยภาวะเสีย่ งจากการ โรงเรียนทบั โพธิ์พฒั นวทิ ย สำนกั งานเขตพื้นพกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสุรินทร

หลกั สตู รกลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรบั ปรุง 2565) ชัน้ ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรูแ กนกลาง ถา ยทอดโรคทางพนั ธุกรรม 7. อธิบายการใชประโยชนจ ากสิง่ มีชีวิตดดั • มนษุ ยเปลย่ี นแปลงพันธุกรรมของสิ่งมชี วี ิตตาม แปรพันธุกรรม และผลกระทบที่อาจมีตอ มนุษยและสิ่งแวดลอม โดยใชขอมูลที่ ธรรมชาติ เพ่อื ใหไดส่ิงมีชีวิตที่มีลักษณะตาม รวบรวมได ตองการ เรียกสิ่งมีชีวิตนี้วา สิ่งมีชีวิตดัดแปร 8. ตระหนักถึงประโยชนและผลกระทบ พนั ธุกรรม ของสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมที่อาจมีตอ มนุษยและสิ่งแวดลอมโดยการเผยแพร • ในปจ จุบนั มนุษยม ีการใชป ระโยชนจากส่ิงมชี วี ิต ความรูท ีไ่ ดจากการโตแยง ทางวิทยาศาสตร ดัดแปรพนั ธุกรรมเปนจำนวนมาก เชน การผลติ ซ่ึงมีขอมลู สนับสนนุ อาหาร การผลติ ยารกั ษาโรค การเกษตร อยางไรก็ดี 9. เปรียบเทียบความหลากหลายทาง สงั คมยังมีความกังวลเกี่ยวกบั ผลกระทบของ ชีวภาพในระดับชนิดส่ิงมีชีวิตในระบบนิเวศ สิง่ มชี วี ิตดดั แปรพันธกุ รรมท่มี ตี อสิ่งมีชวี ิตและ ตาง ๆ สิง่ แวดลอม ซึง่ ยงั ทำการตดิ ตามศกึ ษาผลกระทบ 10. อธิบายความสำคัญของความ หลากหลายทางชีวภาพที่มีตอการรักษา ดังกลาว สมดลุ ของระบบนเิ วศและตอ มนษุ ย 11. แสดงความตระหนักในคุณคาและ • ความหลากหลายทางชวี ภาพ มี 3 ระดับ ไดแ ก ความสำคัญของความหลากหลายทาง ความหลากหลายของระบบนิเวศ ความหลาก ชีวภาพ โดยมีสวนรวมในการดูแลรักษา ความหลากหลายทางชวี ภาพ หลายของชนดิ ส่งิ มีชวี ิต และความหลากหลาย ทางพนั ธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพนีม้ ี 1. อธิบายความสัมพันธระหวางยีน การ ความสำคัญตอการรกั ษาสมดุลของระบบนิเวศ สังเคราะหโปรตีน และลักษณะทาง พันธุกรรม ระบบนเิ วศทีม่ คี วามหลากหลายทางชวี ภาพสูง จะรักษาสมดลุ ไดดกี วา ระบบนเิ วศท่ีมคี วาม หลากหลายทางชีวภาพต่ำกวา นอกจากน้ี ความหลากหลายทางชวี ภาพยังมีความสำคญั ตอ มนษุ ยในดานตา ง ๆ เชน ใชเ ปนอาหาร ยารกั ษาโรค วัตถดุ ิบในอตุ สาหกรรมตาง ๆ ดงั นัน้ จึงเปนหนาทข่ี องทุกคนในการดแู ลรกั ษา ความหลากหลายทางชวี ภาพใหคงอย • ดีเอ็นเอ มีโครงสรางประกอบดวยนิวคลีโอไทดมา เรียงตอกัน โดยยีนเปนชวงของสายดีเอ็นเอที่มี ลำดับนิวคลีโอไทดที่กำหนดลักษณะของโปรตีนท่ี สังเคราะหขึ้น ซึ่งสงผลใหเกิดลักษณะทาง พันธุกรรมตางๆ โรงเรยี นทบั โพธิพ์ ัฒนวทิ ย สำนักงานเขตพืน้ พี่การศึกษามธั ยมศกึ ษาสรุ นิ ทร

หลักสตู รกลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรบั ปรงุ 2565) ช้นั ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรูแกนกลาง 2. อธิบายหลักการถายทอดลักษณะที่ถูก • ลักษณะบางลักษณะมีโอกาสพบในเพศชายและ ควบคุมดวยยีนที่อยูบนโครโมโซมเพศ เพศหญิงไมเทากัน เชน ตาบอดสีและฮีโมฟเลียซ่ึง และมัลตเิ ปลแอลลลี ควบคุมโดยยีนบนโครโมโซมเพศ บางลักษณะมี การควบคุมโดยยีนแบบมัลติเปลแอลลีล เชน หมู เลือดระบบ ABO ซึ่งการถายทอดลักษณะทาง พันธุกรรมดังกลาวจัดเปนสวนขยายของพันธุ ศาสตรเมนเดล 3. อธิบายผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง • มิวเทชันที่เปลี่ยนแปลงลำดับนิวคลีโอไทดหรือ ลำดับนิวคลีโอไทดในดีเอ็นเอตอการ เปลี่ยนแปลงโครงสรางหรือจำนวนโครโมโซมอาจ แสดงลักษณะของสง่ิ มีชวี ิต สงผลทำใหลักษณะของสิ่งมีชีวิตเปลี่ยนแปลงไป จากเดิม ซ่งึ อาจมีผลดหี รือผลเสีย 4. สบื คนขอมูล และยกตัวอยา งการนำมิว • มนุษยใชห ลกั การของการเกดิ มวิ เทชันในการชักนำ เทชันไปใชป ระโยชน ใหไดสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะที่แตกตางจากเดิมโดย การใชรังสีและสารเคมีตา ง ๆ 5. สืบคนขอมูล และอภิปรายผลของ • มนุษยนำความรูเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ มา เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอที่มีตอมนุษย ประยุกตใชท างดานการแพทยและเภสัชกรรม เชน และสงิ่ แวดลอม การสรางสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม เพื่อผลิตยา และวัคซีน ดานการเกษตร เชน พืชดัดแปร พันธุกรรมที่ตานทานโรคหรือแมลง สัตวดัดแปร พนั ธุกรรมที่มีลักษณะตามท่ีตองการ และดานนิติ วิทยาศาสตรเ ชน การตรวจลายพิมพดีเอ็นเอ เพ่ือ หาความสัมพันธทางสายเลือด หรือเพื่อหา ผูกระทำผดิ • การใชเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอในดานตางๆ ตอง คำนึงถึงความปลอดภัยทางชีวภาพ ชีวจริยธรรม และผลกระทบทางดานสงั คม 6. สืบคนขอมูล อธิบาย และยกตัวอยาง • สิ่งมีชีวิตที่มีอยูในปจจุบันมีลักษณะที่ปรากฏให ความหลากหลายของสิ่งมีชวี ิต ซึ่งเปน เห็นแตกตางกันซ่ึงเปนผลมาจากความหลากหลาย ผลมาจากวิวฒั นาการ ของลักษณะทางพันธุกรรม ซึ่งเกิดจากมิวเทชัน รว มกบั การคดั เลือกโดยธรรมชาติ โรงเรยี นทับโพธิ์พฒั นวทิ ย สำนกั งานเขตพนื้ พ่ีการศกึ ษามัธยมศึกษาสรุ นิ ทร

หลกั สตู รกลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง 2565) ช้ัน ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรูแ กนกลาง ม.5 - • ผลจากกระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาติทำให ม.6 - สิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะเหมาะสมในการดำรงชีวิต สามารถปรับตัวใหอยรู อดไดใ นส่ิงแวดลอ มนั้น ๆ • กระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาติเปนหลักการที่ สำคัญอยางหนึ่งที่ทำใหเกิดวิวัฒนาการของ สง่ิ มีชวี ติ - - สาระที่ 2 วิทยาศาสตรก ายภาพ มาตรฐาน ว 2.1 เขาใจสมบัติของสสาร องคประกอบของสสาร ความสัมพันธระหวางสมบัติของสสาร กับ โครงสรางและแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาค หลักและธรรมชาติของการ เปลี่ยนแปลง สถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี ชน้ั ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 1. อธบิ ายสมบัติทางกายภาพบางประการ • ธาตุแตล ะชนิดมสี มบตั ิเฉพาะตวั และมีสมบัติ ของธาตุโลหะ อโลหะ และก่ึงโลหะ โดยใช ทางกายภาพบางประการเหมือนกนั และบางประการ หลักฐานเชิงประจักษที่ไดจากการสังเกต ตางกัน ซึง่ สามารถนำมาจดั กลุมธาตุ และการทดสอบและใชสารสนเทศที่ไดจาก เปนโลหะ อโลหะ และกงึ่ โลหะ ธาตโุ ลหะมีจุดเดือด แหลงขอ มูลตาง ๆรวมท้ังจัดกลุมธาตุเปน จดุ หลอมเหลวสูง มผี วิ มันวาว นำความรอ น ม.1 โลหะ อโลหะ และก่ึงโลหะ นำไฟฟา ดึงเปนเสน หรือตีเปน แผน บาง ๆ ได และ มีความหนาแนนท้งั สงู และต่ำ ธาตอุ โลหะ มีจุดเดือด จุดหลอมเหลวตำ่ มผี วิ ไมม ันวาว ไมน ำความรอ น ไมน ำไฟฟา เปราะ แตกหักงาย และมีความหนาแนนต่ำ ธาตุกงึ่ โลหะมสี มบตั ิ บางประการเหมอื นโลหะ และสมบัตบิ างประการ เหมอื นอโลหะ 2. วิเคราะหผลจากการใชธาตุโลหะ อโลหะ • ธาตโุ ลหะ อโลหะ และกึง่ โลหะ ท่ีสามารถแผรังสีได จดั เปนธาตกุ ัมมนั ตรงั สี กึ่งโลหะและธาตุกัมมันตรังสี ที่มีตอ • ธาตุมีท้ังประโยชนและโทษ การใชธาตุโลหะอโลหะ สิ่งมีชีวิต สิ่งแวดลอมเศรษฐกิจและสังคม กึ่งโลหะ ธาตุกัมมันตรังสี ควรคำนึงถึงผลกระทบตอ จากขอ มลู ทีร่ วบรวมได สิง่ มีชีวิต สงิ่ แวดลอ ม เศรษฐกจิ และสังคม โรงเรียนทับโพธิ์พฒั นวทิ ย สำนกั งานเขตพน้ื พกี่ ารศึกษามัธยมศกึ ษาสุรนิ ทร

หลักสตู รกลุมสาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง 2565) ช้นั ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 3. ตระหนักถึงคุณคาของการใชธาตุโลหะ อโลหะกึ่งโลหะ ธาตุกัมมันตรังสี โดยเสนอ แนวทางการใชธาตุอยา งปลอดภยั คมุ คา 4. เปรียบเทียบจุดเดอื ด จดุ หลอมเหลวของ • สารบรสิ ทุ ธิ์ประกอบดว ยสารเพยี งชนดิ เดยี ว สารบริสุทธิ์และสารผสม โดยการวัด สวนสารผสมประกอบดว ยสารต้ังแต 2 ชนดิ อณุ หภูมิ เขียนกราฟแปลความหมายขอมูล จากกราฟ หรอื สารสนเทศ ขึ้นไป สารบรสิ ทุ ธ์ิแตละชนิดมีสมบัติบางประการ ทเ่ี ปนคาเฉพาะตวั เชน จดุ เดอื ดและ จดุ หลอมเหลวคงที่ แตส ารผสมมจี ุดเดือด และจุดหลอมเหลวไมคงท่ี ข้ึนอยูก ับชนิดและ สัดสวนของสารทผี่ สมอยูด วยกัน 5. อธิบายและเปรยี บเทียบความหนาแนน • สารบรสิ ุทธิ์แตล ะชนดิ มคี วามหนาแนน หรือ ของสารบริสทุ ธ์แิ ละสารผสม มวลตอหนงึ่ หนว ยปริมาตรคงที่ เปน คา เฉพาะ 6. ใชเครอื่ งมือเพ่อื วดั มวลและปริมาตรของ ของสารนัน้ ณ สถานะและอุณหภูมหิ นง่ึ สารบรสิ ทุ ธ์ิและสารผสม แตสารผสมมีความหนาแนนไมคงทขี่ ้นึ อยกู ับชนิด และสัดสวนของสารท่ีผสมอยดู วยกนั 7. อธิบายเกี่ยวกับความสัมพันธระหวาง • สารบรสิ ุทธิ์แบงออกเปนธาตแุ ละสารประกอบ ธาตุประกอบดวยอนภุ าคที่เลก็ ทีส่ ดุ ท่ียังแสดง อะตอมธาตุ และสารประกอบ โดยใช สมบตั ิของธาตุนนั้ เรียกวา อะตอม ธาตแุ ตล ะชนดิ แบบจำลองและสารสนเทศ ประกอบดวยอะตอมเพียงชนิดเดยี วและไม สามารถแยกสลายเปนสารอ่นื ไดด ว ยวิธีทางเคมี ธาตุเขยี นแทนดว ยสัญลักษณธาตุ สารประกอบ เกดิ จากอะตอมของธาตุต้งั แต 2 ชนิดขนึ้ ไป รวมตัวกันทางเคมใี นอตั ราสว นคงท่ี มีสมบัติ แตกตางจากธาตทุ ี่เปนองคประกอบ สามารถ แยกเปนธาตุไดด ว ยวธิ ที างเคมี ธาตุและ สารประกอบสามารถเขียนแทนไดดว ยสูตรเคมี 8. อธิบายโครงสรางอะตอมท่ีประกอบดว ย • อะตอมประกอบดว ยโปรตอน นวิ ตรอน และ โปรตอน นวิ ตรอน และอเิ ลก็ ตรอน โดยใช อิเลก็ ตรอน โปรตอนมีประจไุ ฟฟาบวก ธาตุ แบบจำลอง ชนดิ เดียวกนั มีจำนวนโปรตอนเทา กันและเปน คาเฉพาะของธาตุนั้น นิวตรอนเปนกลางทางไฟฟา สว นอเิ ล็กตรอนมปี ระจไุ ฟฟาลบ เมอื่ อะตอม โรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวทิ ย สำนกั งานเขตพื้นพ่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษาสรุ ินทร

หลกั สตู รกลุมสาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรุง 2565) ช้นั ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง มจี ำนวนโปรตอนเทากับจำนวนอิเลก็ ตรอน จะเปน กลางทางไฟฟา โปรตอนและนวิ ตรอน รวมกันตรงกลางอะตอมเรยี กวา นวิ เคลยี ส สว นอเิ ล็กตรอนเคลอ่ื นทีอ่ ยูในทีว่ างรอบนวิ เคลียส 9. อธิบายและเปรียบเทียบการจัดเรียง • สสารทุกชนิดประกอบดว ยอนุภาค โดยสาร ชนิดเดยี วกนั ท่มี สี ถานะของแข็ง ของเหลว แกส อนุภาคแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาค และ จะมีการจดั เรียงอนุภาค แรงยึดเหนย่ี วระหวาง การเคลื่อนที่ของอนุภาคของสสารชนิด อนภุ าค การเคลื่อนท่ขี องอนภุ าคแตกตา งกนั เดียวกันในสถานะของแข็ง ของเหลว และ แกส โดยใชแ บบจำลอง ซ่ึงมีผลตอ รูปรางและปรมิ าตรของสสาร • อนุภาคของของแข็งเรยี งชดิ กัน มแี รงยึดเหนยี่ ว ระหวา งอนุภาคมากทสี่ ุด อนภุ าคส่ันอยูก ับท่ี ทำใหมีรปู รา งและปรมิ าตรคงท่ี • อนภุ าคของของเหลวอยใู กลกนั มีแรงยดึ เหน่ยี ว ระหวางอนภุ าคนอ ยกวาของแข็งแตม ากกวาแกส อนภุ าคเคลื่อนทไี่ ดแ ตไ มเ ปนอสิ ระเทาแกส ทำให มรี ูปรางไมค งท่ี แตป ริมาตรคงท่ี • อนภุ าคของแกสอยหู างกันมาก มีแรงยดึ เหนีย่ ว ระหวา งอนุภาคนอยทีส่ ดุ อนภุ าคเคล่ือนท่ีได อยางอิสระทกุ ทิศทาง ทำใหมีรูปรางและปรมิ าตร ไมคงท่ี 10. อธิบายความสัมพนั ธร ะหวาง • ความรอนมีผลตอ การเปล่ียนสถานะของสสาร พลังงานความรอนกบั การเปล่ยี นสถานะ เม่ือใหค วามรอนแกข องแข็ง อนภุ าคของของแข็ง ของสสาร โดยใชหลักฐานเชงิ ประจักษแ ละ จะมีพลังงานและอณุ หภูมิเพิม่ ขึน้ จนถึงระดบั หนึ่ง แบบจำลอง ซงึ่ ของแข็งจะใชความรอ นในการเปล่ยี นสถานะ เปน ของเหลว เรยี กความรอนท่ีใชใ นการเปลี่ยน สถานะจากของแขง็ เปนของเหลววา ความรอนแฝง ของการหลอมเหลว และอุณหภูมิขณะเปลี่ยน สถานะจะคงท่ี เรียกอุณหภูมนิ วี้ า จดุ หลอมเหลว โรงเรยี นทับโพธิพ์ ฒั นวิทย สำนักงานเขตพ้ืนพ่ีการศกึ ษามัธยมศึกษาสุรินทร

หลักสตู รกลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรงุ 2565) ชั้น ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรแู กนกลาง 11. อธบิ ายความสมั พันธระหวาง • เมอื่ ใหค วามรอนแกข องเหลว อนุภาคของของเหลว พลงั งานความรอ นกบั การเปล่ยี นสถานะ จะมีพลังงานและอุณหภูมเิ พิ่มขึน้ จนถึงระดบั หนึ่งซ่งึ ของสสาร โดยใชห ลกั ฐานเชิงประจักษและ ของเหลวจะใชความรอนในการเปลี่ยนสถานะเปน แบบจำลอง แกส เรียกความรอนที่ใชในการเปลี่ยนสถานะจาก ของเหลวเปนแกสวา ความรอ นแฝงของ การกลายเปนไอ และอุณหภมู ิขณะเปลยี่ นสถานะ จะคงที่ เรียกอุณหภมู ิน้วี า จุดเดือด • เมอ่ื ทำใหอ ุณหภมู ขิ องแกส ลดลงจนถึงระดับหนึ่ง แกส จะเปลี่ยนสถานะเปนของเหลว เรียกอณุ หภูมิ น้วี า จดุ ควบแนน ซง่ึ มอี ณุ หภมู ิเดียวกบั จดุ เดอื ด ของของเหลวนน้ั • เม่ือทำใหอณุ หภมู ขิ องของเหลวลดลงจนถงึ ระดบั หน่งึ ของเหลวจะเปลีย่ นสถานะเปนของแข็ง เรยี กอณุ หภูมนิ ว้ี า จดุ เยอื กแข็ง ซง่ึ มอี ุณหภมู ิ เดยี วกับจุดหลอมเหลวของของแขง็ น้ัน ม.2 1. อธิบายการแยกสารผสมโดยการระเหย • การแยกสารผสมใหเ ปนสารบรสิ ทุ ธิท์ ำไดห ลายวธิ ี แหง การตกผลกึ การกลนั่ อยา งงาย ขึ้นอยูกับสมบัติของสารนนั้ ๆ การระเหยแหง ใช โครมาโทกราฟแ บบกระดาษ การสกัดดวย แยกสารละลายซง่ึ ประกอบดวยตวั ละลายที่เปน ตวั ทำละลาย โดยใชห ลกั ฐานเชิงประจักษ ของแข็งในตวั ทำละลายทเ่ี ปน ของเหลว โดยใช 2. แยกสารโดยการระเหยแหง การตกผลึก ความรอ นระเหยตัวทำละลายออกไปจนหมด การกลั่นอยางงาย โครมาโทกราฟแบบ เหลอื แตตัวละลาย การตกผลึกใชแยกสารละลาย กระดาษการสกัดดว ยตวั ทำละลาย ที่ประกอบดวยตัวละลายที่เปนของแข็งในตัวทำ ละลายท่เี ปนของเหลว โดยทำใหส ารละลายอิ่มตวั แลว ปลอยใหต ัวทำละลายระเหยออกไปบางสว น ตวั ละลายจะตกผลกึ แยกออกมา การกลัน่ อยางงา ย ใชแ ยกสารละลายทีป่ ระกอบดวย ตวั ละลายและตวั ทำละลายทีเ่ ปน ของเหลวที่มี จดุ เดอื ดตา งกันมาก วธิ ีนจ้ี ะแยกของเหลวบริสทุ ธ์ิ ออกจากสารละลายโดยใหความรอนกบั สารละลาย ของเหลวจะเดือดและกลายเปนไอแยกจาก สารละลายแลว ควบแนน กลบั เปน ของเหลว อีกครง้ั ขณะทีข่ องเหลวเดือด อุณหภมู ิของไอจะ โรงเรียนทบั โพธิ์พฒั นวิทย สำนักงานเขตพื้นพ่กี ารศึกษามธั ยมศึกษาสุรินทร

หลักสตู รกลุมสาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรุง 2565) ช้ัน ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรูแกนกลาง คงที่ โครมาโทกราฟแบบกระดาษเปนวิธกี ารแยก สารผสมทม่ี ปี ริมาณนอ ยโดยใชแยกสารท่มี สี มบตั ิ การละลายในตวั ทำละลายและการถกู ดูดซบั ดว ย ตวั ดูดซับแตกตางกนั ทำใหสารแตล ะชนิด เคล่อื นทไ่ี ปบนตัวดูดซบั ไดตางกัน สารจงึ แยก ออกจากกนั ได อตั ราสวนระหวางระยะทางท่ีสาร องคป ระกอบแตละชนิดเคลือ่ นทไี่ ดบ นตัวดดู ซบั กับระยะทางที่ตวั ทำละลายเคลื่อนทีไ่ ด เปน คา เฉพาะตวั ของสารแตละชนดิ ในตัวทำละลาย และตวั ดูดซบั หนงึ่ ๆ การสกัดดวยตัวทำละลาย เปน วิธกี ารแยกสารผสมทม่ี ีสมบัติการละลายใน ตวั ทำละลายทีต่ างกนั โดยชนิดของตวั ทำละลาย มีผลตอชนิดและปริมาณของสารทส่ี กัดได การสกดั โดยการกลนั่ ดว ยไอนำ้ ใชแ ยกสาร ที่ระเหยงา ย ไมล ะลายน้ำ และไมทำปฏกิ ิรยิ า กบั นำ้ ออกจากสารทีร่ ะเหยยาก โดยใชไอนำ้ เปน ตวั พา 3. นำวิธีการแยกสารไปใชแกปญหาใน • ความรูด า นวิทยาศาสตรเ กย่ี วกับการแยกสาร ชีวิตประจำวันโดยบูรณาการวิทยาศาสตร บูรณาการกับคณิตศาสตร เทคโนโลยี โดยใช คณิตศาสตรเทคโนโลยี และวิศวกรรม กระบวนการทางวศิ วกรรม สามารถนำไปใช ศาสตร แกป ญหาในชีวิตประจำวันหรือปญ หาทีพ่ บใน ชุมชนหรอื สรางนวตั กรรม โดยมขี ้ันตอน ดังนี้ - ระบุปญหาในชีวติ ประจำวนั ทีเ่ กี่ยวกับการแยกสาร โดยใชสมบัติทางกายภาพ หรือนวัตกรรมที่ตองการ พฒั นา โดยใชหลักการดังกลาว - รวบรวมขอ มลู และแนวคดิ เกี่ยวกับการแยกสาร โดยใชสมบัตทิ างกายภาพทสี่ อดคลอ งกบั ปญ หา ทีร่ ะบุ หรอื นำไปสกู ารพัฒนานวัตกรรมนั้น - ออกแบบวิธกี ารแกปญ หา หรอื พฒั นานวัตกรรม ที่เก่ียวกับการแยกสารในสารผสม โดยใชส มบัติ ทางกายภาพ โดยเช่ือมโยงความรูดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร เทคโนโลยี และกระบวนการทาง โรงเรียนทับโพธิพ์ ฒั นวิทย สำนกั งานเขตพืน้ พ่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษาสุรนิ ทร

หลักสตู รกลุมสาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรงุ 2565) ชั้น ตัวชี้วดั สาระการเรียนรูแ กนกลาง วิศวกรรม รวมทั้งกำหนดและควบคุมตัวแปรอยาง เหมาะสม ครอบคลมุ - วางแผนและดำเนินการแกป ญ หา หรอื พัฒนา นวตั กรรม รวบรวมขอมูล จดั กระทำขอมูลและเลือก วิธกี ารสือ่ ความหมายทเี่ หมาะสมในการนำเสนอผล - ทดสอบ ประเมนิ ผล ปรับปรงุ วธิ กี ารแกปญ หา หรือนวัตกรรมที่พัฒนาขึ้น โดยใชหลักฐานเชิง ประจักษท ร่ี วบรวมได - นำเสนอวิธกี ารแกป ญหา หรือผลของนวตั กรรม ที่พัฒนาขึ้น และผลที่ได โดยใชวิธีการสื่อสารท่ี เหมาะสมและนาสนใจ 4. ออกแบบการทดลองและทดลองในการ • สารละลายอาจมสี ถานะเปน ของแข็ง ของเหลว อธิบายผลของชนิดตัวละลาย ชนิดตัวทำ และแกส สารละลายประกอบดวยตัวทำละลาย ละลายอุณหภมู ิที่มีตอสภาพละลายไดของ และตวั ละลาย กรณสี ารละลายเกดิ จากสารท่ีมี สาร รวมทั้งอธิบายผลของความดันที่มีตอ สถานะเดียวกนั สารท่มี ปี ริมาณมากทีส่ ดุ จัดเปน สภาพละลายไดข องสาร โดยใชสารสนเทศ ตัวทำละลาย กรณีสารละลายเกิดจากสารที่มี สถานะตางกัน สารท่ีมสี ถานะเดียวกันกบั สารละลายจัดเปนตวั ทำละลาย • สารละลายที่ตัวละลายไมสามารถละลายในตัวทำ ละลายไดอีกท่อี ณุ หภมู ิหนง่ึ ๆ เรียกวาสารละลายอม่ิ ตวั • สภาพละลายไดข องสารในตัวทำละลาย เปนคา ท่ี บอกปริมาณของสารท่ีละลายไดใ นตวั ทำละลาย 100 กรัม จนไดส ารละลายอิ่มตวั ณ อุณหภูมิ และความดนั หนึง่ ๆ สภาพละลายไดของสาร บงบอกความสามารถในการละลายไดของตัวละลาย ในตัวทำละลาย ซ่งึ ความสามารถในการละลาย ของสารข้ึนอยกู บั ชนดิ ของตวั ทำละลายและ ตวั ละลาย อุณหภูมิ และความดนั • สารชนิดหนึ่ง ๆ มสี ภาพละลายไดแตกตา งกนั ใน ตวั ทำละลายที่แตกตางกัน และสารตางชนดิ กัน มสี ภาพละลายไดใ นตัวทำละลายหน่ึง ๆ ไมเทา กัน • เม่ืออุณหภมู ิสูงขน้ึ สารสว นมาก สภาพละลายได โรงเรยี นทับโพธิพ์ ฒั นวทิ ย สำนักงานเขตพ้นื พก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสรุ ินทร

หลกั สตู รกลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2565) ช้นั ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง ของสารจะเพมิ่ ขึ้น ยกเวน แกสเมื่ออณุ หภมู สิ งู ขนึ้ สภาพการละลายไดจ ะลดลง สวนความดนั มีผล ตอแกส โดยเม่ือความดนั เพิม่ ข้นึ สภาพละลายได จะสูงขึ้น • ความรูเกย่ี วกับสภาพละลายไดข องสาร เมอ่ื เปลี่ยนแปลงชนดิ ตัวละลาย ตัวทำละลาย และ อณุ หภมู ิ สามารถนำไปใชประโยชนในชีวิตประจำวนั เชน การทำนำ้ เช่ือมเขมขน การสกัดสารออกจาก สมุนไพรใหไดป รมิ าณมากทส่ี ดุ 5. ระบุปริมาณตัวละลายในสารละลาย ใน • ความเขมขน ของสารละลาย เปนการระบุปรมิ าณ หนวยความเขมขน เปนรอยละ ปริมาตรตอ ตัวละลายในสารละลาย หนว ยความเขม ขน ปริมาตรมวลตอมวล และมวลตอปริมาตร มหี ลายหนวย ทีน่ ยิ มระบุเปนหนว ยเปน รอยละ 6. ตระหนักถึงความสำคัญของการนำ ปรมิ าตรตอ ปรมิ าตร มวลตอมวล และมวล ความรูเรือ่ งความเขมขนของสารไปใช โดย ตอปรมิ าตร ย ก ต ั ว อ ย  า ง ก า ร ใ ช  ส า ร ล ะ ล า ย ใ น • รอยละโดยปรมิ าตรตอ ปริมาตร เปนการระบุ ชีวติ ประจำวันอยา งถูกตอ งและปลอดภยั ปรมิ าตรตัวละลายในสารละลาย 100 หนว ย ปรมิ าตรเดยี วกัน นยิ มใชกบั สารละลายที่เปน ของเหลวหรอื แกส • รอ ยละโดยมวลตอมวล เปนการระบุมวล ตวั ละลายในสารละลาย 100 หนวยมวลเดยี วกนั นยิ มใชกับสารละลายท่มี ีสถานะเปน ของแข็ง • รอยละโดยมวลตอ ปรมิ าตร เปนการระบุมวล ตัวละลายในสารละลาย 100 หนวยปริมาตร นยิ มใชกบั สารละลายทม่ี ตี วั ละลายเปน ของแขง็ ในตัวทำละลายท่เี ปน ของเหลว • การใชสารละลาย ในชวี ติ ประจำวัน ควรพิจารณา จากความเขม ขนของสารละลาย ข้นึ อยูกับ จุดประสงคของการใชง าน และผลกระทบตอ สง่ิ ชีวติ และส่ิงแวดลอ ม โรงเรยี นทับโพธิพ์ ัฒนวิทย สำนกั งานเขตพ้ืนพี่การศึกษามธั ยมศึกษาสรุ นิ ทร

หลกั สตู รกลุมสาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรงุ 2565) ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรูแกนกลาง ม.3 1. ระบุสมบัติทางกายภาพและการใช • พอลเิ มอร เซรามกิ ส และวัสดุผสม เปน วสั ดทุ ใ่ี ช ประโยชนว สั ดุประเภทพอลเิ มอร เซรามิกส และวัสดุผสมโดยใชหลักฐานเชิงประจักษ มากในชวี ิตประจำวัน • พอลิเมอรเปน สารประกอบโมเลกุลใหญ และสารสนเทศ ทเี่ กดิ จากโมเลกลุ จำนวนมากรวมตัวกันทางเคมี 2. ตระหนักถึงคุณคาของการใชวัสดุ เชน พลาสตกิ ยาง เสนใย ซึง่ เปนพอลเิ มอรทีม่ สี มบัติ ประเภทพอลิเมอร เซรามิกส และวัสดุผสม แตกตา งกนั โดยพลาสตกิ เปน พอลเิ มอรท ี่ โดยเสนอแนะแนวทางการใชวัสดุอยาง ขึ้นรปู เปน รูปทรงตา ง ๆ ได ยางยดื หยุน ไดสวนเสน ใย ประหยัดและคุมคา เปนพอลิเมอรที่สามารถดึงเปน เสนยาวไดพอลเิ มอร จึงใชประโยชนไ ดแตกตางกัน • เซรามิกสเปนวัสดทุ ่ีผลิตจาก ดนิ หนิ ทราย และ แรธาตุตา ง ๆ จากธรรมชาติ และสว นมากจะผาน การเผาท่อี ณุ หภูมิสงู เพ่อื ใหไ ดเ นือ้ สารทแ่ี ขง็ แรง เซรามิกสส ามารถทำเปนรปู ทรงตา ง ๆ ได สมบตั ิ ท่ัวไปของเซรามกิ สจะแขง็ ทนตอ การสกึ กรอน และเปราะ สามารถนำไปใชป ระโยชนไ ด เชน ภาชนะท่ีเปนเครอื่ งปน ดินเผา ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส • วัสดผุ สมเปนวัสดทุ เี่ กดิ จากวสั ดตุ ั้งแต 2 ประเภท ท่มี สี มบัตแิ ตกตางกันมารวมตัวกัน เพ่อื นำไปใช ประโยชนไดม ากข้ึน เชน เส้อื กันฝนบางชนิด เปน วสั ดผุ สมระหวางผา กับยาง คอนกรีตเสริมเหลก็ เปน วสั ดุผสมระหวางคอนกรีตกบั เหลก็ • วัสดุบางชนิดสลายตัวยาก เชน พลาสติก การใช วสั ดอุ ยา งฟุม เฟอยและไมระมดั ระวังอาจกอ ปญหาตอ สงิ่ แวดลอม 3. อธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมี รวมถึงการ • การเกิดปฏิกริ ยิ าเคมีหรอื การเปลย่ี นแปลงทาง จดั เรยี งตัวใหมของอะตอมเมื่อเกิดปฏิกิริยา เคมขี องสาร เปนการเปลยี่ นแปลงท่ที ำใหเ กิด เคมีโดยใชแ บบจำลองและสมการขอความ สารใหม โดยสารทเี่ ขา ทำปฏิกิรยิ า เรยี กวา สารตง้ั ตน สารใหมท ่ีเกดิ ขึ้นจากปฏิกริ ิยา เรียกวา ผลติ ภัณฑ การเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมีสามารถเขียนแทนไดด ว ย สมการขอ ความ • การเกดิ ปฏิกิริยาเคมี อะตอมของสารตั้งตนจะมี การจดั เรยี งตัวใหม ไดเ ปนผลิตภณั ฑ ซง่ึ มสี มบตั ิ โรงเรียนทับโพธิพ์ ฒั นวิทย สำนกั งานเขตพ้นื พ่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษาสรุ ินทร

หลักสตู รกลมุ สาระการเรยี นรูว ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรบั ปรงุ 2565) ชนั้ ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรแู กนกลาง แตกตา งจากสารต้ังตน โดยอะตอมแตละชนิด กอ นและหลงั เกิดปฏิกิรยิ าเคมีมจี ำนวนเทากัน 4. อธิบายกฎทรงมวล โดยใชหลักฐานเชิง • เมื่อเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี มวลรวมของสารตั้งตน ประจักษ เทา กบั มวลรวมของผลติ ภัณฑ ซึง่ เปน ไปตาม กฎทรงมวล 5. วิเคราะหปฏิกิริยาดูดความรอน และ • เมือ่ เกิดปฏิกริ ยิ าเคมี มีการถายโอนความรอ น ปฏิกิรยิ าคายความรอ น จากการปล่ยี นแปลง ควบคูไ ปกับการจัดเรยี งตัวใหมของอะตอมของสาร พลังงานความรอ นของปฏิกิริยา ปฏกิ ิริยาทมี่ กี ารถา ยโอนความรอนจากสิ่งแวดลอ ม เขาสูระบบเปนปฏิกิริยาดูดความรอน ปฏกิ ริ ยิ า ท่มี กี ารถายโอนความรอนจากระบบออกสู ส่งิ แวดลอ มเปนปฏกิ ิรยิ าคายความรอ น โดยใช เคร่อื งมอื ทีเ่ หมาะสมในการวัดอณุ หภูมิ เชน เทอรม อมิเตอร หวั วัดท่สี ามารถตรวจสอบ การเปลีย่ นแปลงของอณุ หภูมไิ ดอ ยา งตอ เนื่อง 6. อธิบายปฏิกิริยาการเกิดสนิมของเหล็ก • ปฏกิ ริ ิยาเคมีทพ่ี บในชีวิตประจำวันมีหลายชนดิ ปฏิกริ ิยาของกรดกบั โลหะ ปฏกิ ริ ยิ าของกรด เชน ปฏิกริ ิยาการเผาไหม การเกิดสนิมของเหลก็ กับเบส และปฏิกิริยาของเบสกับโลหะ โดย ปฏิกิรยิ าของกรดกบั โลหะ ปฏิกริ ิยาของกรดกบั ใชหลักฐานเชิงประจักษ และอธิบาย เบส ปฏิกริ ิยาของเบสกบั โลหะ การเกิดฝนกรด ปฏิกิริยาการเผาไหมการเกิดฝนกรด การ การสังเคราะหดวยแสง ปฏกิ ิริยาเคมสี ามารถ สังเคราะหดวยแสง โดยใชสารสนเทศ เขยี นแทนไดด วยสมการขอความ ซึ่งแสดงชอื่ ของ รวมทั้งเขียนสมการขอความแสดงปฏิกิรยิ า สารต้ังตน และผลติ ภณั ฑ เชน ดงั กลาว เชอื้ เพลิง + ออกซเิ จน → คารบ อนไดออกไซด + นำ้ ปฏกิ ิริยาการเผาไหมเ ปนปฏิกริ ยิ าระหวางสารกบั ออกซิเจน สารทีเ่ กดิ ปฏิกิรยิ าการเผาไหม สว นใหญเปน สารประกอบท่ีมคี ารบอนและ ไฮโดรเจนเปนองคประกอบ ซง่ึ ถา เกิดการเผาไหม อยางสมบูรณ จะไดผลิตภัณฑเปนคารบอนไดออกไซด และน้ำ • การเกดิ สนมิ ของเหล็ก เกดิ จากปฏกิ ิรยิ าเคมี ระหวา งเหลก็ น้ำ และออกซิเจน ไดผ ลติ ภณั ฑ เปนสนมิ ของเหล็ก โรงเรยี นทบั โพธิ์พฒั นวิทย สำนกั งานเขตพื้นพ่กี ารศึกษามธั ยมศึกษาสุรินทร

หลักสตู รกลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรบั ปรงุ 2565) ช้นั ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง • ปฏกิ ริ ิยาการเผาไหมและการเกิดสนมิ ของเหลก็ เปนปฏิกิริยาระหวา งสารตาง ๆ กับออกซิเจน • ปฏกิ ิรยิ าของกรดกบั โลหะ กรดทำปฏิกิริยากบั โลหะไดห ลายชนดิ ไดผลิตภัณฑเปนเกลือของ โลหะและแกสไฮโดรเจน • ปฏิกริ ิยาของกรดกับสารประกอบคารบ อเนต ไดผลิตภัณฑเปนแกสคารบอนไดออกไซดเกลือของ โลหะ และน้ำ • ปฏิกิรยิ าของกรดกับเบส ไดผ ลติ ภณั ฑเปน เกลอื ของโลหะและน้ำ หรอื อาจไดเพียงเกลอื ของโลหะ • ปฏิกิริยาของเบสกับโลหะบางชนิด ไดผ ลติ ภัณฑ เปนเกลอื ของเบสและแกสไฮโดรเจน • การเกิดฝนกรด เปน ผลจากปฏิกริ ิยาระหวา ง นำ้ ฝนกบั ออกไซดข องไนโตรเจน หรอื ออกไซด ของซัลเฟอร ทำใหนำ้ ฝนมีสมบตั เิ ปนกรด • การสงั เคราะหดวยแสงของพืช เปน ปฏกิ ริ ิยา ระหวา งแกส คารบอนไดออกไซดก ับน้ำ โดยมี แสงชวยในการเกิดปฏกิ ริ ยิ า ไดผ ลติ ภัณฑเ ปน นำ้ ตาลกลูโคสและออกซิเจน 7. ระบปุ ระโยชนแ ละโทษของปฏิกิริยาเคมี • ปฏิกริ ิยาเคมที พ่ี บในชวี ิตประจำวนั มที ง้ั ประโยชน ที่มีตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม และ และโทษตอสงิ่ มชี ีวิตและสง่ิ แวดลอ ม จึงตอ งระมัดระวัง ยกตัวอยางวิธีการปองกันและแกปญหาที่ ผลจากปฏกิ ิรยิ าเคมี ตลอดจนรูจกั วิธี เกิดจากปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจำวัน ปองกันและแกป ญหาทเ่ี กดิ จากปฏิกิริยาเคมที ี่พบ จากการสบื คนขอมลู ในชวี ติ ประจำวัน 8. ออกแบบวิธีแกปญหาในชีวิตประจำวัน • ความรูเ กย่ี วกบั ปฏิกิริยาเคมี สามารถนำไปใช โดยใชค วามรเู กี่ยวกบั ปฏกิ ิรยิ าเคมี ประโยชนใ นชีวิตประจำวัน และสามารถบรู ณาการ โดยบูรณาการวทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตร กบั คณติ ศาสตร เทคโนโลยี และวศิ วกรรมศาสตร เทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร เพอื่ ใชป รับปรงุ ผลิตภัณฑใ หมคี ุณภาพ ตามตองการหรอื อาจสรางนวัตกรรมเพือ่ ปองกัน และแกป ญหาท่ีเกิดขนึ้ จากปฏกิ ริ ิยาเคมี โดยใช ความรเู ก่ยี วกับปฏิกริ ิยาเคมี เชน การเปลี่ยนแปลง พลังงานความรอนอนั เนื่องมาจากปฏกิ ิริยาเคมี โรงเรยี นทับโพธิพ์ ัฒนวิทย สำนักงานเขตพน้ื พ่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษาสุรินทร

หลักสตู รกลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรบั ปรงุ 2565) ชนั้ ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง การเพมิ่ ปริมาณผลผลิต ม.4 - - ม.5 1. ระบุวาสารเปนธาตุหรือสารประกอบ • สารเคมีทุกชนิดสามารถระบุไดวาเปนธาตุหรือ และอยูในรูปอะตอม โมเลกุล หรือ สารประกอบ และอยูในรูปของอะตอม โมเลกุล ไอออนจากสตู รเคมี หรอื ไอออนไดโ ดยพจิ ารณาจากสูตรเคมี 2. เปรียบเทียบความเหมือนและความ • แบบจำลองอะตอมใชอธิบายตำแหนง ของโปรตอน แตกตางของแบบจำลองอะตอมของ นิวตรอน และอิเล็กตรอนในอะตอม โดยโปรตอน โบรกับแบบจำลองอะตอมแบบกลุม และนวิ ตรอนอยูรวมกันในนวิ เคลียสสวนเล็กตรอน หมอก เคลื่อนที่รอบนิวเคลียส ซึ่งในแบบจำลองอะตอม ของโบรอิเล็กตรอนเคลื่อนที่เปนวง โดยแตละวงมี ระยะหางจากนิวเคลียสและมีพลังงานตางกันและ อิเล็กตรอนวงนอกสุด เรียกวา เลนซอ ิเล็กตรอน • แบบจำลองอะตอมแบบกลุมหมอก แสดงโอกาสที่ จะพบอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสในลักษณะกลุม หมอก เนื่องจากอิเล็กตรอนมีขนาดเล็กและ เคลื่อนที่อยางรวดเร็วตลอดเวลา จึงไมสามารถ ระบุตำแหนง ทแี่ นน อนได 3. ระบุจำนวนโปรตอน นิวตรอน และ • อะตอมของธาตุเปนกลางทางไฟฟามีจำนวน อิเล็กตรอนของอะตอม และไอออนท่ี โปรตอนเทากับจำนวนอิเล็กตรอน การระบุชนิด เกิดจากอะตอมเดยี ว ของธาตุพิจารณาจากจำนวนโปรตอน • เม่ืออะตอมของธาตุมีการใหหรือรบั อิเล็กตรอน ทำ ใหจำนวนโปรตอนและอิเล็กตรอนไมเทากันเกิด เปนไอออน โดยไอออนท่มี ีจำนวนอิเล็กตรอนนอย กวาจำนวนโปรตอน เรียกวา ไอออนบวก สวน ไอออนที่มีจำนวนอิเล็กตรอนมากกวาโปรตอน เรยี กวา ไอออนลบ 4. เขียนสญั ลักษณนิวเคลียรของธาตุและ • สัญลักษณนิวเคลียรประกอบดวยสัญลักษณธาตุ ระบกุ ารเปน ไอโซโทป เลขอะตอมและเลขมวล โดยเลขอะตอมเปนตัว เลขที่แสดงจำนวนโปรตอนในอะตอม เลขมวลเปน ตัวเลขที่แสดงผลรวมของจำนวนโปรตอนกับ โรงเรียนทบั โพธิ์พัฒนวทิ ย สำนกั งานเขตพนื้ พ่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาสุรนิ ทร

หลักสตู รกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรุง 2565) ชั้น ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง นิวตรอนในอะตอม ธาตุชนิดเดียวกันแตมีเลขมวล ตา งกนั เรียกวา ไอโซโทป 5. ระบุหมูและคาบของธาตแุ ละระบวุ าธาตุ • ธาตุจัดเปนหมวดหมูไดอยางเปนระบบ โดยอาศัย เปนโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ กลุมธาตุ ตารางธาตุซึ่งในปจจุบันจัดเรียงตามเลขอะตอม เรพรีเซนเททีฟหรือกลุมธาตุแทรนซิชัน และความคลายคลึงของสมบัติแบงออกเปนหมูซ่ึง จากตารางธาต เปนแถวในแนวต้ังและคาบซ่ึงเปนแถวในแนวนอน ทำใหธาตุที่มีสมบัติเปน โลหะ อโลหะและกึง่ โลหะ อยูเปนกลมุ บรเิ วณใกลๆ กัน และแบง ธาตอุ อกเปน กลมุ ธาตุเรพรีเซนเททีฟและกลุมธาตแุ ทรนซชิ ัน 6. เปรียบเทียบสมบัติการนำไฟฟา การให • ธาตใุ นกลุมโลหะ จะนำไฟฟาไดดีและมีแนวโนม ให และรับอิเล็กตรอนระหวางธาตุในกลุม อิเล็กตรอน สวนธาตุในกลุม อโลหะ จะไมนำไฟฟา โลหะกบั อโลหะ และมีแนวโนมรับอิเล็กตรอน โดยธาตเุ รพรีเซนเท ทฟี ในหมู IA- IIA และธาตแุ ทรนซิชันทุกธาตุจดั เปน ธาตุในกลุมโลหะ สวนธาตุเรพรีเซนเททีฟในหมู IIIA- VIIA มีทั้งธาตุในกลุมโลหะและอโลหะสวน ธาตุเรพรีเซนเททีฟในหมู VIIIA จัดเปน ธาตุอโลหะ ทัง้ หมด 7. สืบคนขอมูลและนำเสนอตัวอยาง • ธาตุเรพรีเซนเททีฟและธาตุแทรนซิชันนำมาใช ประโยชนและอันตรายที่เกิดจากธาตุ ประโยชนในชีวิตประจำวันไดหลากหลายซึ่งธาตุ เรพรีเซนเททีฟและธาตแุ ทรนซิชนั บางชนิดมีสมบัติที่เปนอันตราย จึงตองคำนึงถึง การปองกันอันตรายเพื่อความปลอดภัยในการใช ประโยชน 8. ระบุวาพันธะโคเวเลนตเปนพันธะเดี่ยว • พันธะโคเวเลนตเปน การยึดเหนีย่ วระหวางอะตอม พนั ธะคู หรือพันธะสาม และระบุจำนวนคู ดวยการใชเวเลนซอิเล็กตรอนรวมกัน เกิดเปน อิเล็กตรอน ระหวางอะตอมคูรวมพันธะ โมเลกุล โดยการใชเวเลนซอิเล็กตรอนรวมกัน 1 คู จากสตู รโครงสรา ง เรียกวา พันธะเดี่ยว เขียนแทนดวยเสน พันธะ 1 เสน ในโครงสรางโมเลกุล สวนการใชเวเลนซ อิเล็กตรอนรวมกัน 2 คูและ 3 คู เรียกวา พันธะคู และพันธะสาม เขียนแทนดวยเสน พันธะ 2 เสน และ 3 เสน ตามลำดบั โรงเรียนทบั โพธิพ์ ฒั นวทิ ย สำนักงานเขตพน้ื พ่ีการศึกษามัธยมศกึ ษาสรุ ินทร

หลักสตู รกลุม สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรุง 2565) ชั้น ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง 9. ระบุสภาพขั้วของสารที่โมเลกุล • สารที่มีพันธะภายในโมเลกุลเปนพันธะโคเวเลนต ประกอบดวย 2 อะตอม ทั้งหมดเรียกวา สารโคเวเลนตโดยสารโคเวเลนต 10. ระบุสารที่เกิดพันธะไฮโดรเจนไดจาก ที่ประกอบดวย 2 อะตอมของธาตุชนิดเดียวกัน สตู รโครงสราง เปนสารไมมขี ัว้ สวนสารโคเวเลนตที่ประกอบดวย 11. อธิบายความสัมพันธระหวางจุดเดือด 2 อะตอมของธาตุตางชนิดกัน เปนสารมีขั้ว ของสารโคเวเลนตกับแรงดึงดูด สำหรับสารโคเวเลนตที่ประกอบดวยอะตอม ระหวางโมเลกุลตามสภาพขั้วหรือ มากกวา 2 อะตอม อาจเปนสารมีขั้วหรือไมมีขั้ว การเกิดพันธะไฮโดรเจน ขึ้นอยูกับรูปรางของโมเลกลุ ซึ่งสภาพขั้วของสาร โคเวเลนตสงผลตอ แรงดึงดูดระหวางโมเลกุลท่ีทำ ใหจุดหลอมเหลวและจุดเดือดของสารโคเวเลนต แตกตางกัน นอกจากนี้สารบางชนิดมีจุดเดือดสูง กวาปกติเนื่องจากมีแรงดึงดูดระหวางโมเลกุลสูงท่ี เรียกวา พันธะไฮโดรเจน ซึ่งสารเหลานี้มีพันธะ N–H O–H หรือ F–H ภายในโครงสรา งโมเลกุล 12. เข ียน สู ตรเคมีข อ งไ อ ออ น แ ล ะ • สารประกอบไอออนิกสวนใหญเกิดจากการรวมตัว สารประกอบไอออนกิ กันของไอออนบวกของธาตุโลหะและไอออนลบ ของธาตุอโลหะ ในบางกรณีไอออนอาจ ประกอบดวยกลุมของอะตอม โดยเมื่อไอออน รวมตัวกันเกิดเปนสารประกอบไอออนิกจะมี สัดสวนการรวมตัวเพื่อทำใหประจุของ สารประกอบเปนกลางทางไฟฟา โดยไอออนบวก และไอออนลบจะจัดเรียงตัวสลับตอเนื่องกันไปใน 3 มิติเกิดเปนผลึกของสารซึ่งสูตรเคมีของ สารประกอบไอออนิก ประกอบดวย สัญลักษณ ธาตุท่ีเปน ไอออนบวกตามดว ยสัญลักษณธาตุท่ีเปน ไอออนลบ โดยมีตัวเลขที่แสดงจำนวนไอออนแต ละชนดิ เปนอตั ราสวนอยางต่ำ 13. ระบวุ าสารเกิดการละลายแบบแตกตัว • สารจะละลายน้ำไดเมื่อองคประกอบของสาร หรือไมแตกตัว พรอมใหเหตุผลและ สามารถเกิดแรงดึงดูดกับโมเลกุลของน้ำได โดย ร ะ บ ุ ว  า ส า ร ล ะ ล า ย ท ี ่ ไ ด  เ ป น การละลายของสารในน้ำเกิดได 2 ลักษณะ คือ การละลายแบบแตกตัว และการละลายแบบไม โรงเรยี นทบั โพธิ์พฒั นวิทย สำนกั งานเขตพน้ื พ่ีการศึกษามัธยมศกึ ษาสรุ นิ ทร

หลกั สตู รกลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรงุ 2565) ช้นั ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง สารละลายอิเล็กโทรไลตหรือนอนอิ แตกตัว การละลายแบบแตกตัวเกิดขึ้นกับ เลก็ โทรไลต สารประกอบไอออนิก และสารโคเวเลนตบางชนิด ที่มีสมบัติเปนกรดหรือเบส โดยเมื่อสารเกิดการ ละลายแบบแตกตวั จะไดไอออนที่สามารถเคล่ือนที่ ไ ด  ท ำ ใ ห  ไ ด  ส า ร ล ะ ล า ย ท ี ่ น ำ ไ ฟ ฟ  า ซ ึ ่ ง เ ร ี ย ก ว า สารละลายอิเล็กโทรไลตก ารละลายแบบไมแ ตกตวั เกิดขึ้นกับสารโคเวเลนตที่มีขั้วสูงสามารถดึงดดู กบั โมเลกุลของน้ำไดดีโดยเมือ่ เกิดการละลายโมเลกุล ของสารจะไมแ ตกตวั เปนไอออน และสารละลายที่ ไดจะไมนำไฟฟาซึ่งเรียกวา สารละลายนอนอิเลก็ โทรไลต 14. ระบุสารประกอบอินทรียประเภท • สารประกอบอนิ ทรียเ ปน สารประกอบของคารบอน ไฮโดรคารบอนวาอิ่มตัวหรือไมอิม่ ตัว สวนใหญพบในสิ่งมีชีวิต มีโครงสรางหลากหลาย จากสตู รโครงสรา ง และแบงไดหลายประเภท เนื่องจากธาตุคารบอน สามารถเกิดพันธะกับคารบ อนดวยกนั เองและธาตุ อื่น ๆ นอกจากนี้พันธะระหวางคารบอนยังมีหลาย รปู แบบ ไดแ ก พนั ธะเด่ียวพนั ธะคู พันธะสาม • สารประกอบอินทรียที่มีเฉพาะธาตุคารบอนและ ไฮโดรเจนเปนองคประกอบ เรียกวา สารประกอบ ไฮโดรคารบอน โดยสารประกอบไฮโดรคารบอน อิ่มตัวมีพนั ธะระหวางคารบอนเปนพนั ธะเดี่ยวทุก พันธะในโครงสราง สวนสารประกอบ ไฮโดรคารบอนไมอิ่มตัวมีพันธะระหวางคารบอน เปนพันธะคูหรือพันธะสามอยางนอย 1 พันธะใน โครงสรา ง 15. สืบคนขอมูลและเปรียบเทียบสมบัติ • สารที่พบในชีวิตประจำวันมีทั้งโมเลกุลขนาดเล็ก ทางกายภาพระหวางพอลิเมอรและ และขนาดใหญ พอลิเมอรเ ปนสารท่ีมโี มเลกุลขนาด มอนอเมอรข องพอลเิ มอรชนดิ นน้ั ใหญที่เกิดจากมอนอเมอรหลายโมเลกุลเชื่อมตอ กันดวยพนั ธะเคมีทำใหสมบตั ิทางกายภาพของพอ ลิเมอรแตกตางจากมอนอเมอรที่เปนสารตั้งตน เชน สถานะ จุดหลอมเหลว การละลาย โรงเรยี นทับโพธิ์พฒั นวทิ ย สำนกั งานเขตพ้นื พก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาสรุ นิ ทร

หลักสตู รกลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรุง 2565) ช้นั ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง 16. ระบุสมบัติความเปนกรด-เบส จาก • สารประกอบอินทรยี ท ่ีมีหมู -COOH สามารถแสดง โครงสรางของสารประกอบอินทรยี  สมบัติความเปนกรดสว นสารประกอบอินทรียที่มี หมู -NH2 สามารถแสดงสมบัตคิ วามเปนเบส 17. อธิบายสมบัติการละลายในตัวทำ • การละลายของสารพิจารณาไดจากความมีขั้วของ ละลายชนดิ ตา ง ๆ ของสาร ตัวละลายและตัวทำละลาย โดยสารสามารถ ละลายไดในตัวทำละลายที่มีขั้วใกลเคียงกัน โดยสารมีขั้วละลายในตัวทำละลายทีม่ ีขั้วสวนสาร ไมม ขี ั้วละลายในตัวทำละลายท่ไี มมขี ว้ั และสารมีขั้ว ไมละลายในตวั ทำละลายทีไ่ มมขี วั้ 18. วิเคราะหและอธิบายความสัมพันธ • โครงสรางของพอลิเมอรอาจเปนแบบเสน แบบก่ิง ระหวางโครงสรางกับสมบัติเทอรมอ หรือแบบรางแห โดยพอลิเมอรแบบเสนและแบบ พลาสติกและเทอรมอเซตของพอลิ กิ่ง มีสมบัติเทอรมอพลาสติก สวนพอลิเมอรแบบ เมอรและการนำพอลิเมอรไปใช รา งแห มีสมบัติเทอรมอเซต จึงมีการใชป ระโยชน ประโยชน ไดแ ตกตา งกัน 19. สืบคนขอมูลและนำเสนอผลกระทบ • การใชผ ลิตภณั ฑพ อลิเมอรในปรมิ าณมากกอใหเกิด ของการใชผลิตภัณฑพอลเิ มอรท่ีมีตอ ปญหาที่สงผลกระทบตอสิง่ มีชีวิตและสิ่งแวดลอม สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม พรอม ดังนัน้ จึงควรตระหนักถึงการลดปริมาณการใชการ แนวทางปอ งกนั หรือแกไข ใชซ ำ้ และการนำกลบั มาใชใ หม 20. ระบุสูตรเคมีของสารตั้งตน ผลิตภัณฑ • ปฏิกิริยาเคมีทำใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของสาร และแปลความหมายของสัญลักษณ โดยปฏกิ ิริยาเคมีอาจใหพลังงานความรอนพลังงาน ในสมการเคมีของปฏกิ ิรยิ าเคมี แสง หรือพลังงานไฟฟา ที่สามารถนำไปใช ประโยชนใ นดานตา ง ๆ ได • ปฏิกิริยาเคมีแสดงไดดวยสมการเคมีซึ่งมีสูตรเคมี ของสารตั้งตนอยูท างดานซายของลูกศร และสูตร เคมีของผลิตภัณฑอยูทางดานขวาโดยจำนวน อะตอมรวมของแตละธาตุทางดานซายและขวา เทากัน นอกจากนี้สมการเคมียังอาจแสดงปจจัย อื่น เชน สถานะ พลังงานที่เกี่ยวของ ตัวเรง ปฏกิ ิริยาเคมที ่ีใช โรงเรยี นทับโพธิ์พัฒนวิทย สำนักงานเขตพืน้ พ่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษาสรุ ินทร

หลักสตู รกลุม สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรุง 2565) ชน้ั ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง 21.ทดลองและอธิบายผลของความเขมขน • อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีขึ้นอยูกับความเขมขน พื้นที่ผิว อุณหภูมิและตัวเรงปฏกิ ิรยิ า อุณหภูมิพนื้ ท่ีผวิ หรือตวั เรง ปฏิกริ ยิ า ทีม่ ผี ลตอ อตั ราการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี 22. สืบคนขอมูลและอธิบายปจจัยที่มีผล • ความรูเกี่ยวกับปจจัยที่มีผลตออัตราการ ตออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีที่ใช เกิดปฏิกิริยาเคมีสามารถนำไปใชประโยชนใน ประโยชนในชีวิตประจำวันหรือใน ชีวติ ประจำวนั และในอตุ สาหกรรม อุตสาหกรรม 23. อธิบายความหมายของปฏิกิริยา รี • ปฏิกิริยาเคมีบางประเภทเกิดจากการถายโอน ดอกซ อิเล็กตรอนของสารในปฏิกิริยาเคมีซึ่งเรียกวา ปฏกิ ิรยิ ารดี อกซ 24. อธิบายสมบตั ิของสารกัมมันตรงั สีและ • สารที่สามารถแผร งั สีไดเรียกวา สารกมั มนั ตรังสี ซึ่ง คำนวณครึง่ ชีวิตและปริมาณของสาร มีนิวเคลียสที่สลายตัวอยางตอเนื่อง ระยะเวลาท่ี กัมมนั ตรังสี สารกัมมันตรังสีสลายตัวจนเหลือครึ่งหนึ่งของ ปริมาณเดิม เรียกวา ครึง่ ชีวิต โดยสารกัมมันตรังสี แตละชนดิ มีคาคร่งึ ชวี ิตแตกตา งกัน 25. สืบคนขอมูลและนำเสนอตัวอยาง • รังสีที่แผจากสารกัมมันตรังสีมีหลายชนิด เชน ประโยชนของสารกัมมันตรังสีและ แอลฟา บีตา แกมมา ซ่งึ สามารถนำมาใชป ระโยชน การปองกันอันตรายที่เกิดจาก ไดแตกตางกัน การนำสารกัมมันตรังสีแตละชนิด กมั มนั ตภาพรังสี มาใชตองคำนึงถึงผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตและ ส่งิ แวดลอ มรวมท้งั มกี ารจัดการอยา งเหมาะสม ม.6 - - สาระท่ี 2 วทิ ยาศาสตรก ายภาพ มาตรฐาน ว 2.2 เขาใจธรรมชาติของแรงในชวี ิตประจำวนั ผลของแรงที่กระทำตอวัตถุ ลักษณะการเคลื่อนที่ แบบตา งๆ ของวตั ถุ รวมทง้ั นำความรูไ ปใชป ระโยชน ชั้น ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรูแ กนกลาง ม.1 1. สรางแบบจำลองทีอ่ ธิบายความสมั พนั ธ • เมือ่ วตั ถุอยใู นอากาศจะมแี รงที่อากาศกระทำตอ ระหวางความดันอากาศกับความสูงจาก วัตถุในทกุ ทิศทาง แรงทอี่ ากาศกระทำตอวตั ถุ พืน้ โลก ข้ึนอยูก ับขนาดพน้ื ทข่ี องวตั ถุนัน้ แรงท่ีอากาศ กระทำตง้ั ฉากกบั ผวิ วัตถตุ อหนึ่งหนวยพื้นที่ โรงเรียนทับโพธิ์พฒั นวิทย สำนกั งานเขตพ้ืนพีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาสุรินทร

หลักสตู รกลุมสาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง 2565) ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรูแกนกลาง เรยี กวา ความดันอากาศ • ความดันอากาศมีความสัมพันธกับความสูง จากพืน้ โลก โดยบริเวณท่ีสงู จากพ้นื โลกขึน้ ไป อากาศเบาบางลง มวลอากาศนอ ยลง ความดัน อากาศกจ็ ะลดลง ม.2 1. พยากรณการเคล่ือนท่ีของวัตถุที่เปนผล • แรงเปนปรมิ าณเวกเตอร เมอ่ื มแี รงหลาย ๆ แรง ของแรงลัพธที่เกิดจากแรงหลายแรงที่ กระทำตอวัตถุ แลวแรงลพั ธท ก่ี ระทำตอ วตั ถุมีคา กระทำตอวัตถุในแนวเดียวกันจาก เปน ศนู ย วตั ถุจะไมเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนท่ี หลักฐานเชิงประจักษ แตถ า แรงลัพธท กี่ ระทำตอ วัตถุมคี า ไมเปน ศนู ย 2. เขียนแผนภาพแสดงแรงและแรงลัพธที่ วัตถจุ ะเปลย่ี นแปลงการเคล่อื นที่ เกิดจากแรงหลายแรงที่กระทำตอวัตถุใน แนวเดียวกัน 3. ออกแบบการทดลองและทดลองดวยวิธี • เม่ือวตั ถอุ ยูในของเหลวจะมีแรงทขี่ องเหลว ที่เหมาะสมในการอธิบายปจจัยที่มีผลตอ กระทำตอวัตถใุ นทุกทิศทาง โดยแรงทข่ี องเหลว ความดนั ของของเหลว กระทำตัง้ ฉากกบั ผิววัตถุตอหนง่ึ หนวยพืน้ ท่ี เรยี กวาความดนั ของของเหลว • ความดันของของเหลวมีความสัมพันธกับความลกึ จากระดบั ผวิ หนา ของของเหลว โดยบริเวณที่ ลึกลงไปจากระดบั ผิวหนาของของเหลวมากขึ้น ความดนั ของของเหลวจะเพมิ่ ข้นึ เนอื่ งจาก ของเหลวท่ีอยลู กึ กวา จะมนี ำ้ หนกั ของของเหลว ดานบนกระทำมากกวา 4. วิเคราะหแ รงพยุงและการจม การลอย • เม่ือวตั ถุอยูใ นของเหลว จะมแี รงพยุงเนื่องจาก ของวัตถุในของเหลวจากหลักฐานเชิง ของเหลวกระทำตอวัตถุ โดยมที ศิ ขนึ้ ในแนวดง่ิ ประจกั ษ การจมหรือการลอยของวัตถุขึน้ กบั น้ำหนักของ 5. เขียนแผนภาพแสดงแรงที่กระทำตอ วัตถแุ ละแรงพยุง ถา นำ้ หนักของวัตถแุ ละแรงพยงุ วัตถใุ นของเหลว ของของเหลวมคี า เทากัน วตั ถุจะลอยนิ่งอยใู น ของเหลว แตถ า น้ำหนกั ของวตั ถมุ ีคามากกวา แรงพยุงของของเหลววัตถุจะจม 6. อธิบายแรงเสยี ดทานสถติ และแรงเสยี ด • แรงเสียดทานเปน แรงทเี่ กดิ ข้นึ ระหวา งผวิ สมั ผสั ทานจลนจ ากหลกั ฐานเชิงประจักษ ของวตั ถุ เพ่ือตา นการเคล่ือนทีข่ องวตั ถุนนั้ โรงเรยี นทบั โพธิ์พฒั นวิทย สำนักงานเขตพ้ืนพกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาสรุ นิ ทร

หลกั สตู รกลมุ สาระการเรยี นรูว ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรงุ 2565) ช้นั ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแ กนกลาง 7. ออกแบบการทดลองและทดลองดวยวิธี โดยถาออกแรงกระทำตอ วัตถุที่อยนู งิ่ บนพ้นื ผวิ ที่เหมาะสมในการอธิบายปจจัยที่มีผลตอ ใหเคล่ือนท่ี แรงเสยี ดทานก็จะตานการเคลอ่ื นที่ ขนาดของแรงเสยี ดทาน ของวตั ถุ แรงเสยี ดทานทเ่ี กดิ ข้นึ ในขณะทีว่ ัตถยุ ัง 8. เขียนแผนภาพแสดงแรงเสียดทานและ ไมเคล่อื นที่เรียก แรงเสียดทานสถติ แตถาวัตถุ แรงอ่ืน ๆท่กี ระทำตอ วัตถุ กำลงั เคลอ่ื นท่ี แรงเสียดทานก็จะทำใหวตั ถนุ นั้ 9. ตระหนักถึงประโยชนของความรูเรื่อง เคลอ่ื นทช่ี าลงหรือหยุดนงิ่ เรียก แรงเสยี ดทานจลน แรงเสียดทานโดยวิเคราะหสถานการณ ปญหาและเสนอแนะวิธีการลดหรือเพิ่ม • ขนาดของแรงเสียดทานระหวา งผวิ สมั ผัสของวัตถุ แรงเสียดทานที่เปนประโยชนตอการทำ ข้นึ กบั ลักษณะผิวสัมผัสและขนาดของ กิจกรรมในชีวติ ประจำวัน แรงปฏิกริ ิยาต้ังฉากระหวางผวิ สัมผัส 10. ออกแบบการทดลองและทดลองดวย • กิจกรรมในชีวิตประจำวันบางกิจกรรมตอ งการ วธิ ที ี่เหมาะสมในการอธิบายโมเมนต แรงเสียดทาน เชน การเปด ฝาเกลยี วขวดนำ้ ของแรง เมอื่ วัตถุอยูใ นสภาพสมดุลตอ การใชแ ผนกนั ลนื่ ในหอ งน้ำ บางกิจกรรม การหมุน และคำนวณโดยใชสมการ ไมต องการแรงเสยี ดทาน เชน การลากวัตถุบนพนื้ M = Fl การใชนำ้ มันหลอ ล่นื ในเคร่อื งยนต • ความรูเรอ่ื งแรงเสยี ดทานสามารถนำไปใช 11. เปรียบเทียบแหลง ของสนามแมเ หล็ก ประโยชนในชวี ติ ประจำวันได • เม่ือมแี รงท่ีกระทำตอ วตั ถโุ ดยไมผา นศูนยกลาง มวลของวตั ถุ จะเกิดโมเมนตข องแรง ทำใหว ัตถุ หมุนรอบศนู ยกลางมวลของวตั ถุนัน้ • โมเมนตข องแรงเปนผลคณู ของแรงทก่ี ระทำตอ วัตถกุ ับระยะทางจากจดุ หมุนไปตั้งฉากกบั แนวแรง เมื่อผลรวมของโมเมนตของแรงมีคาเปน ศูนยวตั ถจุ ะอยูในสภาพสมดุลตอการหมนุ โดย โมเมนตข องแรงในทศิ ทวนเข็มนากิ าจะมีขนาด เทา กับโมเมนตข องแรงในทิศตามเข็มนาิกา • ของเลนหลายชนิดประกอบดว ยอปุ กรณห ลาย สว นทใี่ ชห ลกั การโมเมนตข องแรง ความรูเ รื่อง โมเมนตของแรงสามารถนำไปใชออกแบบและ ประดิษฐของเลน ได • วัตถทุ ีม่ ีมวลจะมีสนามโนมถว งอยูโดยรอบ แรงโนม ถวงทก่ี ระทำตอวัตถุท่อี ยูในสนามโนมถวง โรงเรียนทบั โพธิพ์ ฒั นวทิ ย สำนักงานเขตพ้ืนพ่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสุรนิ ทร

หลักสตู รกลุมสาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรงุ 2565) ช้ัน ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรูแ กนกลาง สนามไฟฟา และสนามโนมถวง และ จะมีทศิ พุงเขา หาวัตถทุ เี่ ปนแหลงของสนามโนมถว ง ทิศทางของแรงที่กระทำตอวัตถุท่ีอยูในแต • วัตถุทม่ี ีประจไุ ฟฟา จะมีสนามไฟฟา อยูโ ดยรอบ ละสนามจากขอ มูลที่รวบรวมได แรงไฟฟาทก่ี ระทำตอวัตถทุ ม่ี ีประจจุ ะมีทศิ พงุ 12. เขียนแผนภาพแสดงแรงแมเหลก็ แรง เขา หาหรือออกจากวตั ถทุ มี่ ปี ระจุท่เี ปน แหลงของ ไฟฟาและแรงโนม ถว งทก่ี ระทำตอวตั ถุ สนามไฟฟา • วัตถุที่เปนแมเหลก็ จะมสี นามแมเ หลก็ อยโู ดยรอบ 13. วิเคราะหความสัมพันธระหวางขนาด แรงแมเหลก็ ที่กระทำตอ ขวั้ แมเ หล็กจะมีทิศ ของแรงแมเหล็ก แรงไฟฟา และแรงโนม พงุ เขาหาหรอื ออกจากขวั้ แมเ หลก็ ที่เปน แหลง ถวงที่กระทำตอวัตถุที่อยูในสนามนั้น ๆ ของสนามแมเ หล็ก กับระยะหางจากแหลงของสนามถึงวัตถุ • ขนาดของแรงโนม ถว ง แรงไฟฟา และแรงแมเ หล็ก จากขอ มลู ทรี่ วบรวมได ที่กระทำตอ วตั ถทุ ีอ่ ยใู นสนามนนั้ ๆ จะมคี า ลดลง 14. อธิบายและคำนวณอัตราเร็วและ เมอื่ วัตถุอยูหา งจากแหลงของสนามนนั้ ๆ มากข้นึ ความเร็วของการเคลื่อนทีข่ องวัตถุ โดยใช สมการ • การเคลือ่ นที่ของวัตถุเปนการเปลี่ยนตำแหนง ������ = และ ���⃑��� = ⃑ ของวตั ถุเทียบกับตำแหนงอางอิง โดยมปี รมิ าณ จากหลักฐานเชงิ ประจักษ ท่เี กีย่ วของกับการเคล่อื นที่ซ่ึงมีท้งั ปริมาณ 15. เขียนแผนภาพแสดงการกระจัดและ สเกลารและปริมาณเวกเตอร เชน ระยะทาง ความเรว็ อตั ราเร็ว การกระจัด ความเรว็ ปริมาณสเกลาร เปน ปรมิ าณทม่ี ขี นาด เชน ระยะทาง อัตราเร็ว ปริมาณเวกเตอรเ ปน ปรมิ าณท่มี ีท้งั ขนาด และทศิ ทาง เชน การกระจดั ความเรว็ • เขยี นแผนภาพแทนปรมิ าณเวกเตอรไ ดด วยลูกศร โดยความยาวของลูกศรแสดงขนาดและหัวลูกศร แสดงทศิ ทางของเวกเตอรนัน้ ๆ • ระยะทางเปน ปรมิ าณสเกลาร โดยระยะทาง เปนความยาวของเสน ทางท่ีเคลื่อนทไ่ี ด • การกระจัดเปน ปริมาณเวกเตอร โดยการกระจัด มีทิศช้จี ากตำแหนงเริม่ ตน ไปยงั ตำแหนงสุดทาย และมขี นาดเทากับระยะทีส่ น้ั ทีส่ ดุ ระหวางสอง ตำแหนงนนั้ โรงเรียนทบั โพธิพ์ ัฒนวทิ ย สำนักงานเขตพ้ืนพีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษาสุรินทร

หลกั สตู รกลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2565) ชน้ั ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง • อตั ราเร็วเปนปริมาณสเกลาร โดยอตั ราเร็วเปน อัตราสว นของระยะทางตอเวลา • ความเร็วปริมาณเวกเตอรมที ิศเดยี วกบั ทศิ ของ การกระจัด โดยความเรว็ เปนอัตราสวนของ การกระจัดตอเวลา ม.3 - - ม.4 - - ม.5 1. วิเคราะหและแปลความหมายขอมูล • การเคลื่อนท่ีของวัตถุทีม่ ีการเปลี่ยนความเร็วเปน ความเร็วกับเวลาของการเคลื่อนที่ของ การเคล่ือนที่ดวยความเรง ความเรง เปนอัตราสว น วัตถุ เพ่อื อธิบายความเรง ของวตั ถุ ของความเร็วทีเ่ ปลีย่ นไปตอเวลาและเปนปริมาณ เวกเตอรในกรณีที่วัตถุที่อยูนิ่งหรือเคลื่อนที่ใน แนวตรงดว ยความเรว็ คงตวั วตั ถุนั้นมีความเรงเปน ศนู ย • วัตถุมคี วามเร็วเพ่ิมข้นึ ถา ความเรว็ และความเรงมี ทิศเดียวกัน และมีความเร็วลดลง ถาความเร็ว และความเรง มีทศิ ตรงกนั ขา ม 2. สังเกตและอธิบายการหาแรงลัพธท่ีเกิด • เมื่อมีแรงหลายแรงกระทำตอวัตถุหนึ่ง โดยแรง จากแรงหลายแรงที่อยูในระนาบ ทุกแรงอยใู นระนาบเดยี วกันสามารถหาแรงลัพธท่ี เดียวกันที่กระทำตอวัตถุโดยการเขียน กระตอ วัตถุนนั้ ไดโ ดยรวมแบบเวกเตอร แผนภาพการรวมแบบเวกเตอร 3. สังเกต วิเคราะหและอธิบายความ • เมื่อแรงลัพธมีคา ไมเทากับศูนยกระทำตอวัตถุจะ ทำใหวัตถุเคลื่อนที่ดวยความเรงมีทิศทางเดียวกับ สัมพันธระหวางความเรงของวัตถุกับแรง แรงลัพธโดยขนาดของความเรงขึ้นกับขนาดของ ลพั ธท่ีกระทำตอวัตถแุ ละมวลของวัตถุ แรงลพั ธกระทำตอวตั ถุและมวลของวัตถุ • แรงกระทำระหวางวัตถุคูหนึ่ง ๆ เปนแรงกิริยา 4. สังเกตและอธิบายแรงกิริยาและแรง และแรงปฏิกิริยา แรงทั้งสองมขี นาดเทากนั เกิดข้ึน ปฏิกริ ยิ าระหวา งวตั ถคุ ูหนง่ึ ๆ พรอ มกัน กระทำกับวตั ถุคนละกอนแตมที ิศทางตรง ขาม 5. สังเกตและอธิบายผลของความเรงที่มี • วัตถุท่ีเคลือ่ นที่ดว ยความเรง คงตวั หรือความเรงไม ตอการเคลื่อนที่แบบตางๆของวัตถุ คงตัว อาจเปน การเคล่ือนทแ่ี นวตรง การเคลื่อนท่ี ไดแกการเคลื่อนที่แนวตรง การ แนวโคง หรือการเคลื่อนที่แบบสั่น การเคลื่อนที่ โรงเรยี นทบั โพธิ์พัฒนวิทย สำนกั งานเขตพน้ื พก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษาสรุ นิ ทร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook