Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore QA_NKP1

QA_NKP1

Published by pongnarin.nkp1, 2022-01-26 09:05:54

Description: คู่มือส่งเสริมพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 1

Search

Read the Text Version

1 คู่มือการดำเนินงานการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑

2 คู่มอื การดำเนนิ งานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ตามกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ กลมุ่ งานส่งเสรมิ พัฒนาระบบประกันคณุ ภาพการศึกษา กลมุ่ นเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษา สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑ คู่มอื การดำเนินงานการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑

ก คำนำ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารได้ประกาศ กฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑” กำหนดให้การประกัน คณุ ภาพการศึกษา เปน็ การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยมี กลไกในการควบคุม ตรวจสอบระบบการบริหารคุณภาพที่สถานศกึ ษาจดั ขึน้ เพ่อื สร้างความเชอื่ มั่นให้กบั ผูท้ ีเ่ ก่ยี วข้อง โดย แนวปฏบิ ัตเิ ก่ียวกับการประกันคุณภาพการศึกษาที่สถานศึกษาต้องทราบ และนำไปใชเ้ ป็นแนวทางในการพฒั นาคณุ ภาพ การศกึ ษาของสถานศึกษาให้มคี ณุ ภาพ เป็นทยี่ อมรับของพ่อ แม่ ผ้ปู กครองตลอดจนผทู้ ่ีมีสว่ นเก่ียวขอ้ งทกุ ภาคสว่ น โดยเม่อื วันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๖๑ กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศ ใหใ้ ช้มาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวัย ระดบั การศึกษาขัน้ พ้นื ฐานและระดบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐานศนู ย์การศึกษาพิเศษ เพื่อเปน็ หลกั ในการเทียบเคียง สำหรบั สถานศึกษา หน่วยงาน ตน้ สังกดั และหนว่ ยงานทีก่ ำกบั ดแู ล สถานศึกษาในการพัฒนาส่งเสริมสนบั สนนุ กำกับดแู ลและตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพ การศึกษาของสถานศกึ ษา สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑ ในฐานะหนว่ ยงานทค่ี อยสง่ เสริมสนบั สนนุ คุณภาพ การศึกษา ตระหนักถงึ ความสำคญั ของการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษาให้มีคณุ ภาพ สอดคลอ้ งตามกฎกระทรวงและมาตรฐานการศึกษาที่กระทรวงศกึ ษาธิการประกาศใช้ดงั กล่าว จงึ ได้จัดทำเอกสารคู่มือการ ดำเนินงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ตามกฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศึกษา พ .ศ.๒๕๖๑ เล่ม นขี้ ึน้ เพ่อื เป็นแนวทางการดำเนนิ การประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา ดำเนินการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาให้ ไดม้ าตรฐาน เป็นระบบ และมคี ณุ ภาพอย่างต่อเนื่อง พร้อมรบั การประเมนิ คุณภาพภายนอกจากสำนักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศกึ ษา (องค์การมหาชน) สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑ ขอขอบคุณคณะทำงานและผ้เู กย่ี วข้องทุกฝา่ ย ทีม่ ี สว่ นร่วมในการจัดทำคู่มือการดำเนินงานการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ตามกฎกระทรวงการประกัน คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ หวงั เปน็ อยา่ งย่งิ วา่ เอกสารเล่มนจ้ี ะสามารถใชเ้ ปน็ แนวทางในการพฒั นาคุณภาพการจัด การศกึ ษาของสถานศกึ ษาให้มีคุณภาพและบรรลตุ ามเป้าหมายที่กำหนดไว้ งานสง่ เสรมิ พัฒนาระบบประกันคณุ ภาพการศกึ ษา กลุ่มนเิ ทศติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษา สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑ คูม่ ือการดำเนนิ งานการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑

ข สารบัญ คำนำ หนา้ สารบัญ ก คำช้ีแจง ข ง ส่วนที่ ๑ บทนำ ๑ ๑. หลกั การ ๑ ๒. แนวทางการใช้คมู่ ือ ๗ ส่วนที่ ๒ การดำเนินการประกนั คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ๑๐ แนวคดิ และหลกั การเกี่ยวกบั การประกันคุณภาพการศึกษา ๑๐ ความสัมพันธร์ ะหว่างการประกนั คุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ๑๐ ระบบประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา (Internal Quality Assurance : IQA) ๑๒ การประเมินคุณภาพภายนอก (External Quality Assessment : EQA) ๑๒ แนวทางการพัฒนาระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ๑๓ ๑. กำหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ๑๔ ๒. จดั ทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษาที่มงุ่ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ๑๘ ๓. ดำเนนิ งานตามแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา ๔๐ ๔. ประเมนิ ผลและตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา ๔๐ ๕. ตดิ ตามผลการดำเนนิ งานเพ่ือพฒั นาสถานศึกษาใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ๔๒ ๖. จัดทำรายงานผลการประเมนิ ตนเอง ๔๓ หลักการและวิธกี ารประเมนิ คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ๔๓ หลกั การและขั้นตอนการจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา ๔๕ ความหมาย หลักการ แนวคิดและวัตถุประสงค์ ของการประเมินคุณภาพภายนอก ๔๙ ส่วนท่ี ๓ ตัวอยา่ ง/เครอื่ งมือ การดำเนนิ การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ๕๓ ตวั อย่าง ประกาศมาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรยี น…………… ๕๔ ตารางวเิ คราะห์ความสัมพันธร์ ะหวา่ งคำอธบิ ายและการให้ระดับคุณภาพ ๕๖ ในมาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของเดก็ ตารางวเิ คราะห์ความสัมพนั ธ์ระหว่างคำอธบิ ายและการใหร้ ะดบั คุณภาพ ๕๘ ในมาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ตารางวิเคราะหค์ วามสัมพันธร์ ะหว่างคำอธบิ ายและการให้ระดับคุณภาพ ๖๑ ในมาตรฐานท่ี ๓ การจัดประสบการณ์ทเ่ี น้นเด็กเป็นสำคัญ ค่มู ือการดำเนนิ งานการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑

สารบญั (ตอ่ ) ค ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหวา่ งคำอธบิ ายและการใหร้ ะดับคุณภาพ หน้า ในมาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผเู้ รียน ๖๓ ตารางวเิ คราะห์ความสมั พนั ธ์ระหว่างคำอธบิ ายและการใหร้ ะดบั คุณภาพ ๖๗ ในมาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ๗๑ ตารางวิเคราะหค์ วามสมั พันธร์ ะหว่างคำอธบิ ายและการใหร้ ะดบั คุณภาพ ในมาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผู้เรียนเปน็ สำคญั ๗๔ ๗๕ ตัวอย่างเครื่องมือการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา ระดบั ปฐมวยั ๑๐๓ มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของเดก็ ๑๗๗ มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ ๒๐๘ มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั ประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ ๒๐๙ ๒๑๘ ตัวอย่างเคร่ืองมอื การประเมินคุณภาพการศกึ ษา ระดบั การศึกษาการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ๓๕๘ มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผ้เู รียน ๓๙๓ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ๓๙๔ มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ เอกสารอา้ งอิง คณะทำงาน คมู่ ือการดำเนนิ งานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑

ง คำชีแ้ จงการใชค้ ่มู อื คูม่ ือการดำเนนิ งานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ฉบบั นี้ จดั ทำขึน้ เพ่ือใหส้ ถานศึกษาในสังกัดสำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑ ใชเ้ ปน็ แนวทางในการดำเนนิ งานประกนั คุณภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษาใหม้ ีความเข้มแข็งและสามารถวางแผนการ ดำเนินงานได้อย่างมคี ุณภาพครบวงจร โดยมศี กึ ษานเิ ทศก์คอยให้คำแนะนำ ชว่ ยเหลือ สนับสนนุ เปน็ พี่เลี้ยงคอยให้ คำปรกึ ษาแนะนำวธิ ีการปฏิบัตงิ าน ติดตามผลและประเมนิ ผล วตั ถปุ ระสงคข์ องคมู่ ือ เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ค่มู ือเป็นแนวทางการดำเนินการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษาดำเนนิ การประกนั คุณภาพ การศกึ ษาให้ไดม้ าตรฐาน เป็นระบบ และมีคุณภาพอย่างตอ่ เน่อื ง พร้อมรบั การประเมนิ คุณภาพภายนอกจากสำนักงาน รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคก์ ารมหาชน) สาระสำคญั ของคู่มอื สาระสำคญั ของคมู่ ือการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษาตามกฎกระทรวงการประกัน คุณภาพศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ประกอบดว้ ย ส่วนท่ี ๑ บทนำ สว่ นที่ ๒ การดำเนนิ การประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา ส่วนท่ี ๓ ตัวอย่าง/เครอ่ื งมือ การดำเนินการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา คู่มือการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑

๑ สว่ นที่ ๑ บทนำ คูม่ ือการดำเนนิ งานการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษาตามกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ของสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑ ประกอบด้วย ๑. หลักการ ๒. แนวทางการใชค้ ่มู ือ ๑. หลกั การ สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑ ใช้รปู แบบการพฒั นาคุณภาพภาพการศกึ ษา NKP๑ TAG TEAM เพ่ือให้บรรลเุ ปา้ หมาย ประกอบดว้ ย ๒ องค์ประกอบหลัก ได้แก่ กระบวนการบริหารจดั การคณุ ภาพ และกระบวนการพัฒนาคณุ ภาพงาน ดงั นี้ NKP๑ หมายถึง กระบวนการบริหารจัดการคุณภาพทีเ่ น้นใหท้ กุ คนไดเ้ ข้าถึงบริการอยา่ งเทา่ เทียมกันด้วยการมี เป้าหมายเดียวกนั มีการจดั การองค์ความรู้รว่ มกนั และการทำงานแบบมืออาชพี ประกอบด้วย N : No child left behind หมายความว่า สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑ และ สถานศกึ ษา บริหารจดั การโดยน้อมนำพระราชดำรสั ในหลวงรัชการที่ ๙ “เดก็ รักครู ครูรักเดก็ ” มาใชใ้ นการเรียนรรู้ ะหวา่ ง ครกู บั นักเรียนดว้ ยความรกั เพอื่ ให้นักเรยี นทุกคนมีความสุข เปน็ คนดี มที กั ษะชวี ติ ไดพ้ ฒั นาเต็มศกั ยภาพของแต่ละ บคุ คล ประสบผลสำเร็จจากการเรียนรู้เพ่ือการศึกษาต่อและประกอบอาชพี โดยไม่มนี ักเรยี นคนใดถูกทอดทง้ิ ไวข้ ้างหลัง โดยเฉพาะเดก็ หลังห้อง และพระบรมราโชบายด้านการศึกษาในหลวงรัชการท่ี ๑๐ “การศึกษาต้องมุ่งสร้างพน้ื ฐานให้แก่ ผู้เรียน ๔ ด้าน ๑) มที ศั นคตทิ ่ีถูกต้องต่อบ้านเมือง ๒) มีพ้นื ฐานชีวิตท่ีม่ันคง – มคี ุณธรรม ๓) มงี านทำ – มอี าชพี ๔) เปน็ พลเมืองดี K : Knowledge Management หมายความว่า สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑ และสถานศึกษา มีการบรหิ ารจัดการความรู้ โดยการสร้างและแสวงหาความรู้ การจดั การความรู้อยา่ งเปน็ ระบบ การ คมู่ อื การดำเนนิ งานการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑

๒ ประมวลความรู้ การเข้าถึงความรู้ การแบง่ ปนั แลกเปลย่ี นความรู้ และการเรียนรู้ เพ่อื ให้ทกุ คนในองคก์ รสามารถเข้าถึง ความรู้และพัฒนาตนเองใหเ้ ป็นผูร้ ู้ และปฏิบตั งิ านได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ สง่ ผลใหอ้ งคก์ รมีความสามารถในเชิงแขง่ ขันสูงสุด P : Professionalism หมายความวา่ ผูบ้ รหิ าร ครูและบุคลากรทางการศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพนื้ ท่ี การศกึ ษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑ มคี วามเป็นมืออาชีพ (การมคี วามรอบรู้ เช่ียวชาญชำนาญพิเศษในวชิ าชพี ของตน สามารถปฏบิ ตั งิ านได้ตามมาตรฐานอยา่ งถูกต้อง มไี หวพรบิ ในการจัดการแก้ไขปัญหาได้อย่างรวดเร็วแมน่ ยำ และลงมือทำ อยา่ งจริงจัง มงุ่ มน่ั ต้งั ใจให้เกิดผลงานทีด่ ีทสี่ ดุ ๑ : One goal หมายความว่า สำนักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑ และสถานศึกษา มี เปา้ หมายในการพัฒนารว่ มกัน คอื ผูเ้ รียนมีคุณภาพดา้ นผลสมั ฤทธ์ิ ด้านคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ มที ักษะในศตวรรษที่ ๒๑ TAG TEAM หมายถงึ กระบวนการพัฒนาคุณภาพงานด้วยการรวมพลังกันทำงานเป็นทีม มี ๗ องคป์ ระกอบ ดังน้ี T : Technology and innovation หมายความว่า สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑ และสถานศึกษา นำระบบเทคโนโลยมี าประยกุ ต์ใช้ในการปฏบิ ัตงิ านและสร้างสรรคส์ งิ่ ใหมๆ่ ให้เกิดการขับเคลื่อนคุณภาพ การศกึ ษา A : Active citizen หมายความวา่ ผู้บริหาร ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา มีความสร้างสรรค์ เอ้ืออำนวยให้ เกดิ การจดั การเรียนรูท้ ี่มีคณุ ภาพ มภี าวะผูน้ ำทางวชิ าการ สง่ ผลให้ผ้เู รยี นมีจติ สำนึกพลเมืองดี รู้จักคิดวิเคราะห์ ส่ือสารมี ประสิทธิภาพ ใสใ่ จส่ิงแวดล้อม มที ักษะการประกอบอาชีพ สรา้ งสรรค์ต่อยอด G : Good care หมายความวา่ ผู้บรหิ าร ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา มีความเอาใจใส่ ดแู ลและช่วยเหลือการ พัฒนาคุณภพการจดั การเรยี นรูแ้ ละการดำรงชพี ของขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา รวมไปถงึ การนำระบบการ ดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียนมาใชใ้ นการดแู ลนักเรยี นอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ มีสุขอนามยั ทีด่ ี T : Training หมายความว่า สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต๑ ส่งเสริมการพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา ใหม้ ีความรู้ความสามารถ มีทักษะในการปฏบิ ตั ิงานตามภาระหน้าที่อยา่ งมีประสิทธภิ าพ E : (Empowerment) หมายความวา่ ผู้บรหิ าร ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา สง่ เสริม สนบั สนนุ ให้ขวญั และ กำลงั ใจแก่ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรัก สามคั คี สรา้ งแรงจูงใจในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา รว่ มกัน A : Analysis and report หมายความวา่ สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษานครพนม เขต ๑ และสถานศึกษา มี กระบวนการวเิ คราะห์ สรปุ และรายงานผลการปฏบิ ัติงาน เพอื่ นำผลท่ีได้มาปรับปรุง แก้ไข หรือพฒั นาต่อยอด เพ่ือให้การ ดำเนนิ งานเกิดประสทิ ธภิ าพมากย่งิ ขึ้น M : Mentoring and coaching หมายความว่า สำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑ กำกับติดตาม ใหค้ ำแนะนำและใหค้ ำปรึกษาในกระบวนการทำงานทุกระดบั ทกุ กลุ่มงาน โดยผู้เชีย่ วชาญหรือผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย เพ่อื ดึงศักยภาพของขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาให้สามารถปฏิบัตงิ านได้อยา่ งม่นั ใจ ถูกต้องและ สมบูรณ์ เป็นไปตามเปา้ หมายของการจัดการศึกษา เพอ่ื ใหก้ ารสง่ เสรมิ พัฒนาการดำเนนิ งานระบบประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาเขม้ แข็ง เป็นไปตามกฎกระทรวงการ ประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๖๑ สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑ จงึ นำ คมู่ อื การดำเนนิ งานการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑

๓ กระบวนการพัฒนาคุณภาพงาน TAG TEAM มาใช้เพ่อื ขับเคลอ่ื นการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพการศึกษาใหบ้ รรลุ เปา้ หมาย ดงั นี้ รูปแบบ กิจกรรม ผรู้ บั ผิดชอบ T : Technology and สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษา สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา innovation นครพนม เขต ๑ นำระบบเทคโนโลยมี า ประถมศึกษานครพนม เขต ๑ ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการปฏบิ ตั ิงานและสรา้ งสรรคส์ ่งิ ใหมๆ่ ให้เกิดการขับเคลอ่ื นคุณภาพการศกึ ษา ส่งเสริม สนบั สนนุ ให้สถานศกึ ษาจดั ทำเว็บไซต์ ของสถานศกึ ษาเพอ่ื ใชเ้ ป็นแหล่งขอ้ มูล สารสนเทศของสถานศึกษา และใหม้ ีการนิเทศ ติดตามระบบงานตา่ งๆ ผ่านเว็บไซตข์ อง สถานศกึ ษา เช่น ระบบประกันคุณภาพภายใน สถานศกึ ษา A : Active citizen ผบู้ ริหารสำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษา สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา ประถมศึกษานครพนม เขต ๑ และบคุ ลากร ประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑ ทางการศึกษา มคี วามสรา้ งสรรค์ เอื้ออำนวย ให้เกิดการจดั การเรียนรทู้ ี่มคี ุณภาพ มภี าวะ ผนู้ ำทางวิชาการ ส่งผลใหผ้ ู้เรยี นมจี ติ สำนึก พลเมืองดี รจู้ ักคดิ วเิ คราะห์ ส่อื สารมี ประสทิ ธภิ าพ ใสใ่ จสงิ่ แวดลอ้ ม มีทกั ษะการ ประกอบอาชีพ สรา้ งสรรค์ต่อยอด G : Good care ผบู้ ริหารสำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑ และบุคลากร ประถมศึกษานครพนม เขต ๑ ทางการศึกษา มีความเอาใจใส่ ดูแลและ ชว่ ยเหลือการพัฒนาคุณภพการจดั การเรยี นรู้ และการดำรงชพี ของข้าราชการครแู ละ บุคลากรทางการศึกษา รวมไปถึงการนำระบบ การดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียนมาใช้ในการดแู ล นกั เรียนอย่างมปี ระสิทธิภาพ มีสุขอนามัยท่ดี ี T : Training ๑) ประชุม ชีแ้ จงการดำเนนิ งานประกัน กลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตามและ คณุ ภาพการศึกษา ของสำนักงานเขตพ้ืนที่ ประเมนิ ผลการจัดการศึกษา การศึกษาประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑ ให้แก่ สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา บุคลากรทางการศึกษาและผู้ทเี่ กี่ยวข้อง ประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑ คมู่ อื การดำเนนิ งานการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑

๔ รูปแบบ กิจกรรม ผู้รับผดิ ชอบ E : Empowerment สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา นครพนม เขต ๑ ๒) ประชุม ชีแ้ จงสรา้ งความรู้ความเข้าใจ เก่ยี วกับการดำเนินงานประกันคณุ ภาพ การศึกษาภายในสถานศกึ ษาให้แก่สถานศึกษา ในสังกดั ๓) อบรมเชงิ ปฏิบัติการจดั ทำคูม่ ือการ ดำเนนิ งานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศกึ ษา ตามกฎกระทรวงการประกัน คณุ ภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๖๑ เพอื่ ให้ สถานศึกษานำไปใช้เป็นแนวทางในการ ดำเนินงาน ๔) สร้างทดสอบวดั ความรู้เกีย่ วกบั การประกัน คณุ ภาพการศึกษา ตามกฎกระทรวงการ ประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ๑) คดั เลือกสถานศึกษาท่ีมีระบบและกลไกการ กลุ่มนิเทศ ตดิ ตามและ บรหิ ารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ประเมนิ ผลการจัดการศึกษา เพือ่ การประกันคุณภาพการศึกษายอดเยีย่ ม ให้ สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา รบั การยกย่องเชดิ ชูเกียรติและรบั รางวลั IQA ประถมศึกษานครพนม เขต ๑ AWARD ๒) มอบเกียรตบิ ัตรให้แก่ผ้ผู า่ นการทดสอบวดั ความรู้เกีย่ วกบั การประกนั คุณภาพการศึกษา ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ตามเกณฑ์ที่สำนักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑ กำหนด A : Analysis and report ๑) วเิ คราะห์ สรุป และรายงานผลการ กลมุ่ นิเทศ ติดตามและ ดำเนนิ การประกนั คุณภาพภายในของ ประเมนิ ผลการจดั การศึกษา สถานศกึ ษา โดยการวิเคราะห์ผลการประเมนิ สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษา ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) เพื่อนำผลท่ีไดม้ า ประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑ คู่มือการดำเนนิ งานการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑

๕ รปู แบบ กจิ กรรม ผู้รับผิดชอบ ปรับปรงุ แก้ไข หรอื พฒั นาต่อยอด เพ่ือให้การ M : Mentoring and ดำเนินงานเกดิ ประสิทธภิ าพมากยงิ่ ขน้ึ กลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตามและ coaching ๒) สำรวจและสรปุ ผลความพึงพอใจต่อการ ประเมนิ ผลการจัดการศึกษา ดำเนินงานส่งเสรมิ พฒั นาระบบประกัน สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา คณุ ภาพการศึกษา สำนักงานเขตพนื้ ท่ี ประถมศึกษานครพนม เขต ๑ การศกึ ษาประถมศกึ ษา นครพนม เขต ๑ นเิ ทศ ติดตามการดำเนินงานประกันคุณภาพ การศกึ ษาภายในสถานศกึ ษาในรปู แบบต่างๆ ดังนี้ - นิเทศ ติดตามโดยศึกษานิเทศก์ลงพน้ื ท่ี สถานศึกษา - นิเทศ ติดตามผ่านเวบ็ ไซต์ของสถานศกึ ษา - ตรวจเยยี่ มพื้นที่เชิงประเมิน เพอื่ พัฒนาระบบ ประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา สถานศกึ ษากลุม่ ตวั อยา่ ง - นเิ ทศ ติดตามสถานศกึ ษาท่ีรบั การประเมนิ ภายนอกจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา (องคก์ ารมหาชน) เพื่อให้การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาเขม้ แข็ง เป็นไปตามกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๖๑ สถานศกึ ษาจงึ นำกระบวนการพฒั นาคุณภาพงาน TAG TEAM มาใชเ้ พือ่ ขับเคลื่อนการ ดำเนินงานระบบประกันคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษาใหบ้ รรลุเป้าหมาย ดงั น้ี รูปแบบ กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ T : Technology and สถานศึกษานำระบบเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา ครูและ innovation ในการปฏบิ ัตงิ านและสรา้ งสรรค์ส่งิ ใหม่ๆให้เกิด ผรู้ บั ผดิ ชอบ การขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษา A : Active citizen ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากรทางการ ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ครูและ ศกึ ษา มีความสรา้ งสรรค์ เอื้ออำนวยใหเ้ กดิ ผู้รบั ผิดชอบ การจัดการเรยี นรูท้ ่ีมคี ุณภาพ มภี าวะผ้นู ำทาง วชิ าการ ส่งผลให้ผู้เรยี นมจี ิตสำนึกพลเมืองดี รูจ้ กั คิดวิเคราะห์ สอ่ื สารมปี ระสิทธิภาพ ใสใ่ จ สิ่งแวดล้อม มที ักษะการประกอบอาชีพ สรา้ งสรรค์ต่อยอด คมู่ อื การดำเนินงานการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑

๖ รปู แบบ กิจกรรม ผรู้ บั ผดิ ชอบ G : Good care T : Training ผบู้ ริหารสถานศึกษา ครู และบคุ ลากรทางการ ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ครูและ E : Empowerment ศกึ ษา มีความเอาใจใส่ ดแู ลและชว่ ยเหลอื การ ผรู้ ับผดิ ชอบ พัฒนาคุณภพการจดั การเรียนรแู้ ละการดำรง ชีพ ของข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการ ศกึ ษา รวมไปถงึ การนำระบบการดูแล ชว่ ยเหลอื นักเรียนมาใช้ในการดูแลนักเรยี น อย่างมปี ระสิทธภิ าพ มีสขุ อนามยั ท่ีดี ๑) ประชุมสรา้ งความรู้ ความเข้าใจใหก้ ับครู ผบู้ ริหารสถานศึกษา ครแู ละ บุคลากร คณะกรรมการสถานศกึ ษา ตัวแทน ผรู้ ับผดิ ชอบ ผู้ปกครอง ชมุ ชน และผเู้ ก่ยี วขอ้ งอืน่ ๆ เพ่ือ ดำเนนิ การวเิ คราะหม์ าตรฐานการศึกษา หลกั สูตรสถานศกึ ษา จดุ เนน้ บริบท ความ ตอ้ งการ ทิศทางการจดั การศึกษา อัตลักษณ์ และเอกลกั ษณข์ องสถานศกึ ษา เพื่อกำหนดเป็น มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาและ ประกาศใชม้ าตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ๒) ศกึ ษาคมู่ ือการดำเนนิ งานประกันคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศกึ ษา ตามกฎกระทรวง การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ๓) ประชุมเพื่อจดั ทำแผนพฒั นาการจดั การศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคณุ ภาพตาม มาตรฐานการศึกษา ๔) ประชมุ จัดทำแผนปฏิบตั ิการประจำปี ๑) สถานศึกษาสรา้ งชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ าง ผ้บู ริหารสถานศึกษา ครูและ วชิ าชพี (Professional Learning ผูร้ บั ผิดชอบ Community) ๒) สถานศึกษาสง่ เสริมสนับสนุนให้ครแู ละ บคุ ลากรทางการศึกษาเขา้ รว่ มอบรมพัฒนา ตนเองอยา่ งต่อเน่อื ง ๓) สถานศึกษายกย่อง เชิดชู ครแู ละบุคลากร ทางการศึกษาที่มผี ลการปฏบิ ตั ิงานยอดเยย่ี ม คู่มือการดำเนินงานการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑

๗ รปู แบบ กิจกรรม ผู้รบั ผิดชอบ A : Analysis and report ๑) จดั ทำรายงานผลการประเมนิ ตนเองของ ผู้บริหารสถานศกึ ษา ครูและ สถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : ผู้รับผิดชอบ SAR) ๒) นำข้อมูลจากรายงานผลการประเมินตนเอง ไปใช้ปรบั ปรงุ หรือพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ สถานศกึ ษาใหม้ ีคณุ ภาพตอ่ เน่ือง ยั่งยนื ๓) นำขอ้ เสนอแนะท่ไี ดร้ บั จากการประเมิน คณุ ภาพภายนอกจากสำนกั รับรองมาตรฐาน และประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา (องค์การ มหาชน) ไปใชป้ รบั ปรงุ หรือพัฒนาคณุ ภาพ การศึกษาของสถานศึกษาให้มคี ุณภาพตอ่ เน่ือง ยง่ั ยนื M : Mentoring and ๑) นิเทศภายในโรงเรียน ผู้บริหารสถานศกึ ษา ครแู ละ coaching ๒) คณะกรรมการดำเนนิ การประเมนิ ผลและ ผูร้ บั ผดิ ชอบ ตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ๓) คณะกรรมการดำเนินการตดิ ตามงานตาม แผนพฒั นาการจัดการศึกษาและแผนปฏบิ ตั ิ การประจำปีของสถานศึกษา ๒. แนวทางการใช้คมู่ อื แนวทางการใช้คู่มอื ประกอบดว้ ย ๕ ข้ันตอน ดงั ตอ่ ไปน้ี ขน้ั ตอนที่ ๑ สรา้ งความรู้ความเขา้ ใจ เกี่ยวกบั การนำคูม่ ือไปใช้ ข้นั ตอนท่ี ๒ ผ้บู ริหาร ครูและผู้ทีเ่ กี่ยวข้องรว่ มกนั วางแผนการดำเนินงานการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน สถานศกึ ษา ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ.๒๕๖๑ ขนั้ ตอนท่ี ๓ ดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาตามกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพ การศกึ ษา พ .ศ. ๒๕๖๑ ขั้นตอนที่ ๔ ตรวจสอบและประเมินผลการดำเนนิ งานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาตาม กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ .ศ.๒๕๖๑ ขน้ั ตอนท่ี ๕ ปรบั ปรุงและพฒั นากระบวนการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษาตาม กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ.๒๕๖๑ คมู่ ือการดำเนินงานการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑

๘ ขัน้ ตอนท่ี ๑ สร้างความรคู้ วามเข้าใจเกยี่ วกับการนำค่มู ือไปใช้ ที่ กิจกรรม วิธีการ ระยะเวลา สือ่ /เครอื่ งมือ ดำเนนิ งาน ประชมุ ชีแ้ จง สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษา เมษายน คู่มือการ ดำเนินงานการ ๑. - วัตถปุ ระสงค์ ประถมศึกษานครพนม เขต ๑ ประกนั คุณภาพ ประชุมชีแ้ จงให้กบั ผบู้ รหิ ารและครใู น การศกึ ษาของ - รายละเอียดของคู่มือ สังกัด เพอื่ สร้างความรู้ ความเขา้ ใจ สถานศกึ ษาตาม - รายละเอียดการ เก่ียวกบั การประกนั คุณภาพภายใน กฎกระทรวงการ ประกนั ดำเนินงานตาม สถานศึกษา และการนำคู่มอื การ คุณภาพ พ.ศ.๒๕๖๑ กฎกระทรวงการประกัน ดำเนินงานประกนั คุณภาพการศึกษา คุณภาพ ของสถานศึกษา ภายในสถานศึกษา ตามกฎกระทรวง ตามกฎกระทรวง การ การประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ประกันคุณภาพ พ.ศ. ๒๕๖๑ ทีส่ ำนักงานเขตพื้นท่ี ๒๕๖๑ การศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑ จดั ทำขนึ้ ไปใช้ ข้นั ตอนที่ ๒ ผู้บรหิ าร ครแู ละผทู้ ีเ่ กยี่ วข้องร่วมกันวางแผนการดำเนินงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษาตามกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ที่ กจิ กรรม วิธีการ ระยะเวลา สื่อ/เครื่องมือ ดำเนนิ งาน - คูม่ อื การ ดำเนินงาน การ ประกนั คุณภาพ ๑. เตรยี มการและสร้างความ - ประชุมบุคลากรที่เกีย่ วข้อง เมษายน ถงึ การศกึ ษาของ สถานศึกษาตาม ตระหนกั ให้แก่ ผบู้ รหิ าร - แต่งตง้ั คณะกรรมการฝ่าย พฤษภาคม กฎกระทรวงการ ประกัน คณุ ภาพ พ.ศ.๒๕๖๑ สถานศึกษา ครู บคุ ลากร ตา่ งๆ ทางการศกึ ษาและผ้ทู ่ีมสี ่วน - วางแผนพัฒนาระบบประกัน เกี่ยวข้อง คณุ ภาพการศึกษาภาย สถานศึกษา ข้ันตอนที่ ๓ ดำเนินการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษาตามกฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพ การศกึ ษา พ .ศ.๒๕๖๑ ท่ี กจิ กรรม วิธีการ ระยะเวลา สอ่ื /เครอ่ื งมือ ดำเนินงาน ๑. การดำเนนิ งานประกนั คุณภาพ - กำหนดมาตรฐานการศกึ ษา พฤษภาคม ถงึ คู่มือการ การศึกษาภายในสถานศกึ ษา ของสถานศกึ ษา ดำเนินงานการ คมู่ ือการดำเนินงานการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑

๙ ที่ กิจกรรม วธิ ีการ ระยะเวลา สอ่ื /เครือ่ งมือ ดำเนินงาน - กำหนดวสิ ัยทัศน์ พนั ธกิจ มนี าคม ของปี ประกนั คุณภาพ เปา้ หมาย ถัดไป การศึกษาของ - จดั ทำแผนพฒั นาและ สถานศกึ ษาตาม แผนปฏบิ ัตกิ าร กฎกระทรวงการ - ดำเนินการตามแผนงาน/ ประกันคุณภาพ โครงการ พ.ศ.๒๕๖๑ ขั้นตอนที่ ๔ ตรวจสอบและประเมินผล การดำเนนิ งานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาตาม กฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ .ศ.๒๕๖๑ ที่ กจิ กรรม วธิ กี าร ระยะเวลา สอ่ื / ดำเนินงาน เคร่อื งมอื ๑ การตรวจสอบและ - นิเทศภายใน ๑.นิเทศ ติดตาม ประเมินผล ประเมนิ ผลการประกัน - แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ (PLC) ระหว่างและหลงั การ คณุ ภาพการศึกษา - ทบทวนหลังการปฏิบัตงิ าน ดำเนินงานตามแผน/โครงการ ภายในสถานศกึ ษา (AAR) ๒.ทบทวนหลังการปฏบิ ตั งิ าน - ติดตามตรวจสอบ วิเคราะห์ ทุกสัปดาห์ - ประเมินผลและสรปุ ผล ๓.การจัดทำรายงานผลการ - จัดทำรายงานผลการ ประเมินตนเอง (SAR) ประเมินตนเองของ เมษายน ถึง พฤษภาคม สถานศกึ ษา SAR ข้นั ตอนท่ี ๕ ปรบั ปรงุ และพัฒนากระบวนการดำเนินงานการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษาตาม กฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ที่ กิจกรรม วธิ กี าร ระยะเวลา สื่อ/เคร่ืองมือ ดำเนนิ งาน ๑ นำสูก่ ารปรับปรุงและ รายงานผลการ พัฒนาการประกันคุณภาพ - นำผลการติดตามตรวจสอบ เมษายน ถึง ประเมินตนเอง การศกึ ษาภายในสถานศึกษา ไปจดั ทำขอ้ มูลสารสนเทศเพ่ือ พฤษภาคม ของสถานศึกษา นำไปใชใ้ นการวางแผนการ SAR ปรับปรงุ และพฒั นา - จดั ทำแผนงาน/โครงการ สง่ เสรมิ พฒั นาต่อเนื่อง คมู่ ือการดำเนินงานการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา สำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑

๑๐ ส่วนท่ี ๒ การดำเนนิ การประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา แนวคดิ และหลักการเก่ียวกับการประกันคุณภาพการศึกษา การประกันคุณภาพการศึกษา เป็นกระบวนการดำเนินงานตามภารกิจของสถานศึกษา เพื่อสร้างความมั่นใจให้กบั นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนและสังคมโดยรวมว่าการดำเนินงานของสถานศึกษาจะมีประสิทธิภาพและ ทำให้ผู้เรียนมี คุณภาพหรือคุณลักษณะพึงประสงค์ตามมาตรฐานการศึกษาที่ได้กำหนดไว้ องค์ประกอบของระบบการประกันคุณภาพ การศึกษา ประกอบด้วยการพัฒนาคุณภาพการศึกษา การติดตามตรวจสอบเพื่อควบคุมคุณภาพการศึกษา การประเมิน คุณภาพการศึกษาซึ่งรวมถึงการใช้ผลประเมินเป็นฐานเพื่อการพัฒนาคุณภาพในวงจรการพัฒนาใหม่ต่อเนื่อง ดังแสดงใน แผนภาพท่ี ๑ การประเมนิ คณุ ภาพ การพัฒนาคุณภาพ การประกนั การติดตาม ตรวจสอบ การศกึ ษา คณุ ภาพ คุณภาพการศกึ ษา แผนภาพท่ี ๑ แสดงองค์ประกอบของระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษา จากแผนภาพท่ี ๑ จะเห็นได้ว่า การพฒั นาคุณภาพการศึกษาเปน็ กระบวนการกำหนดมาตรฐานคณุ ภาพของผู้เรียน ทเี่ ป็นเปา้ หมาย รวมท้งั มาตรฐานกระบวนการการดำเนนิ งานและปัจจัยที่เกย่ี วข้องกับการจัดการศึกษาที่เช่ือว่า จะสามารถ ส่งผลให้การจัดการศึกษาบรรลุเป้าหมาย ทั้งนี้ในระหว่างดำเนินงานจดั การศึกษาสู่เป้าหมาย สถานศึกษาและหนว่ ยงานต้น สังกัด จำเป็นต้องมีการพัฒนากลไกในการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ด้านกระบวนการบริหารและการจดั การ ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและ ด้านคุณภาพผู้เรียน โดยบุคคลภายในสถานศึกษา และภายนอกสถานศึกษา เพื่อให้มั่นใจได้ว่าจะสามารถพัฒนาผู้เรียนที่มีคุณภาพตามเป้าหมายที่กำหนดได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งการประกันคุณภาพภายในและการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ หมวด ๖ กลา่ วถงึ หลกั การประกันคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา โดยแบ่งเป็นระบบการประกันคุณภาพภายในและการประกันคุณภาพภายนอก การประกันคุณภาพภายในเป็นเรื่องของ สถานศึกษาที่ต้องจัดทำโดยความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แต่การประเมินคุณภาพภายนอกเป็นการดำเนินงานโดย หน่วยงานภายนอกที่เป็นอิสระและมีความเป็นกลาง มีบทบาทหน้าที่ในการประเมินตามมาตรฐานของสถานศึกษาทั่ว คู่มอื การดำเนินงานการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑

๑๑ ประเทศและดำเนินการทุก ๆ ๕ ปี และตามตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา ๒๕๖๑ ข้อ ๓ กำหนดให้ สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกำหนดมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษา พร้อมทั้งจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและ ดำเนินการตามแผนทกี่ ำหนดไว้ จดั ใหม้ กี ารประเมนิ ผล ตดิ ตามและตรวจสอบคุณภาพการศึกษา เพอื่ พฒั นาสถานศึกษาให้มี คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับ ดแู ลสถานศกึ ษาเป็นประจำทุกปี การประกันคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา (Internal Quality Assurance : IQA) จงึ เปน็ กระบวนการท่ตี ้อง ดำเนนิ การอย่างเป็นระบบและตอ่ เน่ือง นอกจากจะเปน็ การพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษาโดยตรงแลว้ ผลการ ประเมนิ คุณภาพการจดั การศึกษายงั ใช้เป็นหลักฐานเช่ือมโยงในการรองรบั การประเมินคุณภาพภายนอกจาก หนว่ ยงานภายนอก คือ สำนกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา (องคก์ ารมหาชน) โดยใชม้ าตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษาท่ีมีความครอบคลมุ ชัดเจนและสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาชาติและมาตรฐานการศกึ ษาขั้น พืน้ ฐาน และสามารถสะท้อนคณุ ภาพของการบรหิ ารจัดการศึกษาและการจัดการศึกษาทเ่ี น้นผเู้ รียนเป็นสำคัญ เพื่อเปน็ หลักประกันใหผ้ มู้ สี ่วนเก่ยี วข้องและสาธารณชนเกิดความม่ันใจวา่ นักเรยี นจะได้รบั การจัดการศึกษาที่มีคุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษาและบรรลุเปา้ ประสงค์ของหนว่ ยงานต้นสังกดั หรอื หนว่ ยงานที่กำกับดูแล การประเมินคุณภาพภายนอก (External Quality Assessment : EQA) เป็นการประเมิน ตดิ ตาม ตรวจสอบ กระตุ้นและจงู ใจใหเ้ กิดการพัฒนาและ ยกระดับ คุณภาพการศึกษา มคี วามท้าทายและสง่ เสริมให้เกิดการพฒั นาและยกระดับคุณภาพสู่สากล และยังมีความ เช่อื มโยงกับการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา (Internal Quality Assurance : IQA) ในการรว่ มรับผดิ ชอบ (Accountability) ต่อผลการจดั การศึกษาและใชย้ ืนยันคุณภาพของระบบการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาเพ่ือการ พัฒนาอยา่ งย่งั ยนื และเปิดโอกาสให้ สร้างความโดดเด่นเฉพาะทาง ทัง้ นโ้ี ดยมีแผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของการประกนั คุณภาพภายในและการประเมินคณุ ภาพภายนอก ดงั แสดงในแผนภาพท่ี ๒ การกำหนด มาตรฐาน EQA รายงานการประเมิน กฎกระทรวง พฒั นาเขา้ สู่ IQA คณุ ภาพภายนอก การประกนั คณุ ภาพ มาตรฐาน การศึกษา พ.ศ.๒๕๖๑ สมศ. จัดทำ SAR ประเมิน แผนภาพที่ ๒ แสดงความสัมพนั ธ์ของการประกนั คณุ ภาพภายใน และการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก ค่มู อื การดำเนนิ งานการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑

๑๒ ระบบประกนั คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา (Internal Quality Assurance : IQA) สถานศึกษาจะต้องจัดใหม้ ีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เพื่อสร้างความมัน่ ใจให้แก่ ผู้ที่เก่ียวข้องว่า ผู้เรียนทุกคนจะได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ เพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามมาตรฐานท่ี สถานศึกษากำหนด ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารการศึกษา ซึ่งเป็น กระบวนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง โดยให้สถานศึกษายึดหลักการส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานท่ี เกยี่ วข้องโดยการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ และกำกบั ดแู ลของหนว่ ยงานตน้ สงั กดั โดยมีกระบวนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาดังน้ี ๑. การศึกษาและเป้าหมายความสำเร็จที่สะท้อนคุณภาพการบริหารและการจัดการศึกษา ซึ่งเป็นข้อกำหนด เกี่ยวกับคุณลักษณะคณุ ภาพท่ีพึงประสงค์ท่ีต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษา มาตรฐานการศึกษาและเป้าหมายความสำเร็จ กำหนดขึ้นจะเป็นหลักเทียบเคียงสำหรับการส่งเสริม กำกับดูแล ตรวจสอบและประเมินผล และการประกันคุณภาพ การศกึ ษาของสถานศึกษานั้น ๆ ๒. พฒั นาเข้าสู่มาตรฐาน สถานศกึ ษาจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาซึ่งเป็นแผนที่กำหนดเป้าหมายและแนวทางการ พัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษานั้นในช่วงระยะเวลาทีก่ ำหนด โดยจัดไว้เปน็ ลายลักษณ์อักษรเพื่อให้เกิดความม่นั ใจ ว่าสถานศึกษาจะดำเนินการตามข้อตกลงที่กำหนดร่วมกัน เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายของแต่ละกิจกรรมที่กำหนดอย่าง สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน และมกี ารดำเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยการกำกับ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ให้บรรลุ เป้าหมายตามแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาที่กำหนดไว้ โดยจดั ทำแผนปฏบิ ตั ิการประจำปที ี่ชดั เจนครอบคลมุ งาน/โครงการของสถานศึกษา ๓. จัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) เป็นการนำขอ้ มูลผลการ ประเมินตามมาตรฐานของสถานศึกษา จากการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลและจัดทำเป็นรายงานการประเมินตนเอง เพื่อสะท้อนภาพความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาในรอบปีการศึกษา ที่ผ่านมาภายใต้บริบทของ สถานศกึ ษา ดังนัน้ การประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาจึงเป็นกระบวนการที่ต้อง ดำเนินการอย่างเปน็ ระบบและต่อเนื่อง ทั้งกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา การจัดทำแผนพัฒนาการศึกษา การดำเนินการตามแผนพัฒนาการจัด การศึกษา การประเมินผล ติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ทั้งด้านการบริหารการจัดการศึกษา การ จัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและจัดทำรายงาน ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด เพื่อเตรียมการรองรับการประเมินคุณภาพ ภายนอกตอ่ ไป การประเมนิ คณุ ภาพภายนอก (External Quality Assessment : EQA) การประเมนิ คุณภาพภายนอก โดยสำนกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศกึ ษา ๑. ประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยวิเคราะห์ SAR เยย่ี มชมสถานศึกษา (Site Visit) ติดตามและตรวจสอบ เพ่ือสะทอ้ นถึงผลการจัดการศึกษาแต่ละระดับ ท้งั ดา้ นคุณภาพของ ผู้เรียน ด้านกระบวนการบริหารและจัดการศึกษาและด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย คำนึงถึงความเหมาะสม ความเป็นไปได้ความเชื่อถือได้และประสิทธิผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษานั้น ๆ โดยใช้ มาตรฐานของสถานศึกษา สร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและสาธารณชนว่าสถานศึกษานั้นว่าสามารถจัด ค่มู อื การดำเนนิ งานการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑

๑๓ การศึกษาได้อย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและบรรลุเป้าประสงค์ของหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับ ดูแล ๒. รายงานผลการประเมินภายนอก การประเมินตรวจสอบคุณภาพนอกสรุปผลการประเมินตรวจสอบคุณภาพ และจัดทำรายงาน นำส่งผลการประเมินพร้อมเอกสารที่เกี่ยวข้องให้หน่วยงานต้นสังกัดที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้หน่วยงานได้ ติดตามและพัฒนาใน ๓ ประเด็น ได้แก่ การแก้ไขประเด็นต่าง ๆ ที่ไม่เป็นไปตามนโยบายและมาตรฐานของสถานศึกษา (Internal Correction) การปรบั ปรงุ ประเด็นต่าง ๆ ใหด้ ีข้ึน (Improvement) และการพัฒนานวตั กรรมจากประเด็นต่าง ๆ (Innovation) การประเมินคุณภาพภายนอก มีแนวคิดสำคัญ คือ ใช้กลไกการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อกระตุ้นและจูงใจให้ เกิดการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาตามนโยบายปฏิรูปการศึกษา ถือปฏิบัติตามกฎกระทรวง ว่าด้วยการ ประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๖๑ ตามบริบทของสถานศึกษา ลดการประเมินที่ยุ่งยากกับสถานศึกษา ลดการจัดทำ เอกสาร เพิม่ ระบบเทคโนโลยีในการประเมินและพัฒนาคุณภาพของผปู้ ระเมนิ คุณภาพภายนอก เน้นการประเมินเพ่ือยืนยัน คุณภาพของระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาว่าดำเนินการเหมาะสม เป็นไปได้/เป็นระบบ เชื่อถือได้และ เกิดประสิทธิผลต่อการยกระดบั คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามเป้าหมาย มีพัฒนาการต่อเนือ่ ง มีนวัตกรรมหรือเป็น แบบอยา่ งที่ดีหรือไม่ ส่งเสริมให้สถานศึกษาและหนว่ ยงานต้นสังกัดรับผิดชอบในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตาม มาตรฐานการศึกษาชาติตามจุดหมายของหลักสูตรและมีความพร้อมในการแข่งขันในระดับสากลให้ความสำคัญกับการ ประเมินที่มุ่งสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน และเปิดโอกาสให้สถานศึกษาสร้างความโดดเด่นหรือเป็นต้นแบบในการพัฒนาในระดับ ท้องถิ่น/ภูมิภาค ระดับชาติและระดับนานาชาติ ดังนั้นการประเมินคุณภาพภายนอกจึงสอดคล้องเป็นหนึ่งเดยี วกันกับการ ประกนั คุณภาพการศึกษาภายในของสถานศึกษา การประเมินแบ่งเป็น ๒ ระยะ คือ ระยะที่ ๑ เป็นการประเมินเพื่อยืนยันคุณภาพโดยสำนักงานรับรองมาตรฐาน และประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา (องคก์ ารมหาชน) โดยใช้วธิ กี ารประเมินโดยอาศยั ร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidences Based Assessment) ครอบคลุมองค์ประกอบทั้งระบบแบบองค์รวม (Holistic Assessment) โดยไม่แยกส่วนหรือแยก องค์ประกอบการประเมินในการประเมินผลงานหรือกระบวนการ แต่เป็นการประเมินในภาพรวมของผลงานหรื อภาพรวม ของกระบวนการดำเนินงาน ตรวจทานผลการประเมนิ โดยคณะกรรมการในระดบั เดียวกนั และสะท้อนผลการดำเนินงานโดย การประเมินและตัดสินผลการประเมินคุณภาพการศึกษาโดยอาศัยความเชี่ยวชาญ (Expert Judgment) และระยะที่ ๒ เป็นการติดตามเพื่อพัฒนาโดยหน่วยงานต้นสงั กัดหรือหน่วยที่กำกับดูแลสถานศึกษาตามขอ้ เสนอแนะของสำนกั งานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ดังนั้น การประเมินคุณภาพภายนอกจึงสอดคล้องเป็นหนึ่ง เดียวกนั กบั การประกนั คุณภาพการศึกษาภายในของสถานศึกษา แนวทางการพฒั นาระบบการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ได้มีนโยบายปฏิรูประบบการประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษา ปรับเปลี่ยนระบบ ประกันคุณภาพการศึกษา โดยให้มีการประกันคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอกตามแนวคิด หลักการว่า สถานศึกษาสามารถออกแบบระบบการประกันคุณภาพภายในที่เหมาะสม เป็นไปได้และสอดคล้องกับบริบทของ สถานศกึ ษาไดด้ ว้ ยตนเอง การประเมนิ คุณภาพภายนอกเป็นการยนื ยันระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ผล ที่ได้จากการประกันคุณภาพภายในและการประเมนิ คุณภาพภายนอกนั้น จะต้องสามารถนำไปใช้พัฒนาคุณภาพการศึกษา คู่มอื การดำเนนิ งานการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑

๑๔ ของสถานศึกษาได้ด้วย รายละเอียดการจดั ระบบประกันคุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษาตามกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๖๑ ประกอบดว้ ย ๑. กำหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ๒. จัดทำแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษาท่ีมงุ่ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ๓. ดำเนินงานตามแผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา ๔. ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา ๕. ตดิ ตามผลการดำเนินงานเพือ่ พฒั นาสถานศกึ ษาใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ๖. จดั ทำรายงานผลการประเมินตนเอง ทั้งนส้ี ถานศึกษาแตล่ ะแห่งและหนว่ ยงานต้นสงั กดั ต้องนำข้อมูลจากการรายงานผลการประเมนิ ตนเอง และข้อเสนอแนะท่ีไดร้ บั จาการประเมินคุณภาพภายนอกจากสำนักรบั รองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศึกษา (องคก์ ารมหาชน) ไปใชป้ รับปรงุ หรอื พฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้มีคุณภาพและต่อเน่ืองยัง่ ยืนต่อไป รายละเอยี ดแต่ละเร่ืองสรปุ ดงั นี้ ๑. การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๖๑ ขอ้ ๓ กำหนดไว้วา่ “ให้สถานศึกษาแต่ละแหง่ จัดให้มีระบบ ประกนั คุณภาพการศึกษาภายในของสถานศึกษา โดยการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาใหเ้ ปน็ ไปตาม มาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับ และประเภทการศกึ ษาที่รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศไว้ พร้อมท้ัง กำหนดให้สถานศึกษาจัดทำแผนพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งเน้นคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและ ดำเนนิ การตามแผนท่กี ำหนดไว้ จดั ใหม้ ีการประเมนิ ผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ตดิ ตามผลการ ดำเนินการเพอื่ พฒั นาสถานศึกษาให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา แนวคิดและหลักการการกำหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา การดำเนินการตามระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษาเปน็ เร่อื งจำเป็นในการพัฒนาคณุ ภาพการ จัดการศึกษาทผ่ี ู้บรหิ ารสถานศึกษา ครู และผ้มู ีสว่ นเกี่ยวข้องในการจัดการศกึ ษาตอ้ งมีความรู้ความเขา้ ใจ แนวคิดและ หลกั การพืน้ ฐานเก่ยี วกบั มาตรฐานการศกึ ษา รายละเอียดและความสมั พันธข์ องมาตรฐานการศกึ ษาระดับต่าง ๆ แนวทาง และขนั้ ตอนการจัดทำมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา การประยุกต์แนวคดิ สู่การปฏิบัติ ซึ่งจะเปน็ ประโยชน์ตอ่ ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ครู หรอื ผู้มสี ่วนเก่ียวข้องในการกำหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาท่ีสอดคล้องกบั ความ ต้องการจำเป็นและบรบิ ทของสถานศกึ ษา ความหมายของมาตรฐานการศึกษา พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ให้นิยามมาตรฐานการศกึ ษาว่า เป็นขอ้ กำหนดเก่ยี วกบั คุณลกั ษณะ คุณภาพทพ่ี ึงประสงค์ และมาตรฐานทต่ี ้องการให้เกดิ ขึน้ ในสถานศึกษาทกุ แหง่ และเพ่ือใช้เป็นหลกั ในการ เทียบเคียงสำหรบั การส่งเสริมและกำกบั ดแู ล การตรวจสอบ การประเมินผลและการประกนั คุณภาพทางการศกึ ษา โดยให้ แนวทางการจดั การศึกษาไว้ว่าการจดั การศกึ ษาต้องยึดหลักวา่ ผูเ้ รียนทกุ คนมีความสามารถเรยี นรู้และพัฒนาตนเองได้ และ ถอื วา่ ผู้เรียนสำคัญท่สี ุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสรมิ ให้ผเู้ รยี นสามารถพฒั นาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ เน้นความสำคญั ทง้ั ความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการตามความเหมาะสม ให้สถานศกึ ษาพฒั นา กระบวนการเรยี นการสอนท่ีมีประสทิ ธภิ าพรวมท้งั การส่งเสริมให้ผ้สู อนสามารถวจิ ยั เพอ่ื พัฒนาการเรียนรู้ท่เี หมาะสมกับ คู่มอื การดำเนนิ งานการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา สำนกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑

๑๕ ผู้เรยี นในแตล่ ะระดบั การศกึ ษา ดงั นั้น มาตรฐานการศึกษาสำคัญทตี่ ้องการให้เกดิ ขนึ้ ในสถานศกึ ษาจงึ เกี่ยวข้องกบั ปัจจัย กระบวนการ และผลผลติ จากการจดั การศึกษา เพื่อการกำกบั ติดตาม ดูแล ตรวจสอบ และประกนั คุณภาพของ สถานศึกษา มาตรฐานการศึกษาจงึ ไม่ได้หมายถึงคุณภาพด้านใดดา้ นหนง่ึ เทา่ นนั้ แตห่ มายความรวมถึงผลผลิตทาง การศกึ ษาที่เกิดกับตวั ผ้เู รียนรอบดา้ น กระบวนการจดั การเรยี นการสอนของครู และกระบวนการบริหารจดั การศกึ ษา ความสำคญั ของมาตรฐานการศึกษา ผลจากการปฏิรปู การศึกษาที่ผา่ นมาทำใหช้ ุมชนเขา้ มามีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษามากขน้ึ ทัง้ ทางตรงใน รปู แบบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พื้นฐานและทางอ้อมในรูปแบบของสมาคมผปู้ กครอง ศิษยเ์ กา่ หนว่ ยงานองค์กร ภาครัฐ ภาคเอกชน รวมท้งั สถานประกอบการต่าง ๆ สิ่งที่เหน็ ได้ชัดคือสถานศกึ ษาเป็นผจู้ ดั ทำหลกั สูตรเพ่ือจัดการเรียนรู้ ให้แกผ่ ู้เรยี นให้มีคณุ ภาพตามเป้าหมาย วสิ ัยทัศน์ ความต้องการ และบรบิ ทของทอ้ งถิ่น โดยมคี ณะกรรมการสถานศึกษา พิจารณาให้ความเหน็ ชอบ การทีส่ ถานศึกษามอี สิ ระในการบรหิ ารจดั การแตกต่างกนั ไป ดังนั้น การพัฒนาการจัด การศึกษาอยา่ งเป็นระบบและมีคุณภาพก้าวหนา้ อยา่ งต่อเน่ือง ตอ้ งอาศยั การทำงานเชิงระบบ (System Approach) การ ประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาโดยมมี าตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาเปน็ เปา้ หมายความสำเร็จจงึ มีความสำคญั ในการทผ่ี ู้บรหิ ารสถานศกึ ษาจะใชเ้ ป็นกลไกในการขบั เคลอื่ นการพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา นอกจากน้ี การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษายงั มคี วามสำคัญต่อการวางรากฐานในการพฒั นา คุณภาพการศึกษา การวางนโยบาย การกำหนดวสิ ัยทศั น์ พนั ธกิจ ในการพฒั นาการจัดการศึกษาทั้งในปจั จุบันและ อนาคตตามสภาพแวดล้อมทเ่ี ปล่ียนแปลงไปอย่างรวดเรว็ อกี ท้ังยงั มีความสำคญั ในการใชเ้ ปน็ ฐานขอ้ มูลสนบั สนุนการ กำหนดคณุ ภาพท่ีต้องการ เพ่ือการวางแผนระยะส้ัน ระยะกลาง และระยะยาวได้ ดงั นัน้ มาตรฐานท่สี ถานศึกษากำหนด ข้ึนต้องครอบคลมุ ทั้งดา้ นคุณภาพผ้เู รียน คณุ ภาพการบริหารและการจดั การ และคณุ ภาพการจัดการเรยี นการสอนที่เน้น ผเู้ รียนเป็นสำคัญ ซง่ึ หัวใจสำคัญทส่ี ะทอ้ นคุณภาพของการจัดการศกึ ษาท่ีแท้จรงิ ประโยชน์ของมาตรฐานการศกึ ษา การกำหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา มีประโยชน์ดงั น้ี ๑. ชว่ ยให้สามารถกำหนดเปา้ หมาย นโยบายและแนวทางในการพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ไดช้ ดั เจน ๒. สามารถกำหนดยุทธศาสตรแ์ ละแนวทางในการจัดทำแผนพฒั นาการจดั การศึกษาไดต้ รงตามความ ตอ้ งการของสถานศึกษา ๓. ใช้เปน็ เครอื่ งมือในการกำกับ การตรวจสอบ การนิเทศ การติดตามและประเมินผล เพือ่ ใหร้ ะบบ การประกนั คุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษาเข้มแข็ง ๔. มขี อ้ มูลสารสนเทศที่เกย่ี วข้องกับสถานภาพและความก้าวหนา้ ของการจดั การศกึ ษา การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เพอื่ ใหม้ าตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษานำสูก่ ารปฏบิ ัติได้อย่างแทจ้ ริงและได้รบั ความร่วมมอื จากผเู้ ก่ยี วข้อง ทุกฝ่าย สถานศึกษาควรดำเนินการทีเ่ นน้ การมีส่วนร่วม โดยเชญิ คณะกรรมการสถานศึกษา ผ้แู ทนครผู ู้แทนผูป้ กครอง ชมุ ชน สถานประกอบการ องค์กรทีส่ นับสนุนสถานศึกษาตามความเหมาะสม รว่ มดำเนนิ การตามขั้นตอนต่อไปน้ี คู่มือการดำเนินงานการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑

๑๖ ข้ันตอนที่ ๑ เตรียมความพร้อมการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ๑. แต่งตงั้ คณะกรรมการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ประกอบดว้ ย ผ้บู ริหารสถานศึกษา คณะครูคณะกรรมการสถานศึกษา ตวั แทนผ้ปู กครอง ชุมชนและผเู้ ก่ยี วข้องอ่ืนๆ ๒. สรา้ งความรคู้ วามเข้าใจและความตระหนักถงึ ความสำคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา เห็นความสำคญั และความเชื่อมโยงของมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มาตรฐานการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน มาตรฐาน การศึกษาของชาติ ซง่ึ จะนำไปสู่เป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติในการที่จะพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ และสร้างสงั คมไทยใหม้ ีความ มั่นคง เสมอภาคและเปน็ ธรรม ขน้ั ตอนท่ี ๒ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของมาตรฐานการศกึ ษา การกำหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาตอ้ งมีข้อมูลสารสนเทศหลายส่วนประกอบการพิจารณา เชน่ บรบิ ทความพร้อมและศักยภาพของสถานศกึ ษา อัตลักษณ์และเอกลกั ษณ์ของสถานศกึ ษา ความต้องการของท้องถนิ่ และชมุ ชน นโยบายของหน่วยงานตน้ สังกัด จดุ หมายของแผนพฒั นาการศึกษาชาติ เป็นต้น สถานศกึ ษานำข้อมูลท่ีได้มา วเิ คราะหค์ วามสัมพนั ธใ์ นสาระและประเด็นสำคัญต่างๆ เช่ือมโยงไปสมู่ าตรฐานการศึกษาระดับตา่ งๆ แล้วสรปุ เป็นเปา้ หมาย ทีส่ ถานศึกษาต้องการ ขนั้ ตอนที่ ๓ กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา จากภาพเปา้ หมายทสี่ ถานศึกษาตอ้ งการ สถานศกึ ษากำหนดมาตรฐานการศึกษาที่ครอบคลุมคุณภาพ สำคญั ๓ ด้าน คือ คุณภาพผูเ้ รยี น คณุ ภาพการบริหารและการจดั การและคุณภาพการจัดการเรยี นการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาแต่ละแหง่ ควรสะท้อนถงึ เปา้ หมายหรอื ภาพความสำเรจ็ ที่เด่นชดั เป็น รปู ธรรม สถานศึกษาทมี่ วี ัตถุประสงค์พิเศษอาจกำหนดมาตรฐานเพม่ิ เติมเพ่ือใหเ้ ห็นความโดดเด่นเฉพาะทางได้ มาตรฐาน การศึกษาของสถานศกึ ษาไมจ่ ำเป็นต้องมจี ำนวนมากและสามารถปรับเปลีย่ นได้ตามความเหมาะสมกบั ยุคสมัยหรือความ ตอ้ งการยกระดับใหส้ ูงข้ึนอกี ข้นั ตอนที่ ๔ พจิ ารณาใหค้ วามเห็นชอบมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา สถานศกึ ษาเสนอรา่ งมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาให้ผเู้ กยี่ วขอ้ งทุกฝา่ ยตรวจสอบทบทวน เพ่ือพิจารณาความครอบคลุม ความเหมาะสม ความสอดคล้องและนำสู่การปฏิบัตสิ ามารถบรรลุเปา้ หมายไดจ้ ริง แล้วจงึ เสนอคณะกรรมการสถานศึกษาพิจารณาให้ความเหน็ ชอบ ขน้ั ตอนท่ี ๕ ประกาศใชม้ าตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา สถานศกึ ษาประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาท่ีผา่ นความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการ สถานศกึ ษาแลว้ สถานศึกษาควรเผยแพรป่ ระชาสัมพนั ธใ์ ห้ผมู้ สี ว่ นเกยี่ วข้องทุกฝ่ายทราบ ท้ังน้ีเพื่อให้ทุกฝ่ายรว่ มกนั ขบั เคลอื่ นและยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาใหบ้ รรลุเป้าหมายที่ตอ้ งการ การประชาสมั พนั ธ์ทำได้หลาย ช่องทาง เชน่ แจ้งในที่ประชุม แจง้ ในเว็บไซต์ของโรงเรียน ตดิ ประกาศ เป็นต้น แนวทางการกำหนดเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา การกำหนดเป้าหมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษามแี นวทาง ดังน้ี ๑. สถานศกึ ษาวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มของสถานศกึ ษา (SWOT Analysis) และประเมินบรบิ ทตา่ งๆ ของสถานศึกษาด้วยความรอบคอบ โดยพิจารณาร่วมกับข้อมูลสารสนเทศ ความสำเรจ็ ของสถานศกึ ษาย้อนหลังอย่างน้อย ๓ ปี จนไดม้ าตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา คมู่ ือการดำเนินงานการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา สำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑

๑๗ ๒. สถานศึกษาและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมกันกำหนดเป้าหมายความสำเร็จที่ท้าทาย ตามมาตรฐาน การศกึ ษาของสถานศึกษาให้ครอบคลุมและสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา โดยลักษณะของเป้าหมายที่ดีควรมีลักษณะ SMART ดงั น้ี ๑) Specific เปา้ หมายต้องมลี ักษณะเฉพาะเจาะจง สอดคล้องกบั บริบทของสถานศกึ ษา ไม่ควรระบุให้ กวา้ งจนเกนิ ไปและไม่ใชค้ ำทต่ี อ้ งตคี วาม ๒) Measurable เป้าหมายควรวัดไดเ้ ป็นตวั เลข ประเมินคา่ เปรยี บเทียบไดแ้ ละใช้ติดตามประเมนิ ผลได้ ๓) Action oriented เป้าหมายต้องระบุถึงสิ่งที่สถานศึกษาจะดำเนินการและนำไปสู่การกำหนด โครงการและกจิ กรรมได้อยา่ งชดั เจน ๔) Realistic เป้าหมายต้องเป็นจริงได้แต่ไม่ง่ายจนเกินไป เป้าหมายที่ดีต้องมีความท้าทาย (Challenge) เพือ่ นำไปสู่การคดิ ค้น รเิ ริ่มวธิ ีการใหม่ๆ อยู่เสมอ ๕) Timely เป้าหมายต้องมีกรอบระยะเวลาท่แี น่นอน ชัดเจน ซ่งึ อาจจะเป็นรายวัน สัปดาห์ เดอื น ไตรมาส ครึ่งปีหรือ ๑ ปี ไม่ควรตั้งเป้าหมายที่ยาวนานเกินกว่า ๑ ปี เมื่อดำเนินโครงการจนบรรลุเป้าหมายในปีนั้นๆ ในปี ถดั ไปสถานศกึ ษากจ็ ะตงั้ เป้าหมายท่สี งู ขนึ้ และท้าทายยง่ิ ขึ้นได้ การกำหนดเป้าหมายความสำเร็จที่ท้าทาย สถานศึกษาต้องพิจารณาข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ ประกอบดว้ ย(Benchmark) โดยสถานศกึ ษาสามารถกำหนดเปา้ หมายเชิงเปรยี บเทยี บได้ดังน้ี ๑) กำหนดเป้าหมายโดยเปรียบเทียบกับผลการดำเนินงานที่ผ่านมาของสถานศึกษา ซึ่งเป็นวิธี ที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน เช่น ดูผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในปีที่ผ่านๆ มาเพื่อดูแนวโน้มความสำเร็จ แล้วกำหนดเป้าหมายให้สงู ข้นึ ๒) กำหนดเป้าหมายโดยเปรียบเทียบกับผลการดำเนินงานของสถานศึกษาในกลุ่มเดียวกัน เพ่ือสร้างความทา้ ทายในการพฒั นาสถานศึกษาสู่ความสำเร็จที่ก้าวหน้ายง่ิ ขึ้น ๓) กำหนดเป้าหมายโดยเปรียบเทียบกับเป้าหมายของสถานศึกษาในระดับที่เหนือกว่ากลุ่ม เดียวกันหรือเปรียบเทียบกับเกณฑ์รางวัลที่ได้รับการยอมรับระดับชาติหรือนานาชาติ ทั้งนี้สถานศึกษาเลือกกำหนด เปา้ หมายด้วยวิธใี ดก็ตามตอ้ งคำนึงถงึ ศักยภาพและบริบทของสถานศกึ ษาด้วยเปา้ หมายทีด่ ีต้องท้าทายให้ลงมือทำ แต่ตอ้ งมี ความเป็นไปไดโ้ ดยอาศยั การริเริม่ และความคิดสร้างสรรค์ ๓. ระบเุ ปา้ หมายเชงิ ปรมิ าณและเชงิ คณุ ภาพให้ชดั เจน ดงั น้ี ๑) ระบุเป้าหมายเชงิ ปริมาณเป็นจำนวนร้อยละหรือค่าเฉล่ีย โดยใชข้ ้อมูลสารสนเทศทผี่ ่านมาเป็นฐาน (Baseline) ในการกำหนดเปา้ หมายที่ทา้ ทาย เช่น ร้อยละของจำนวนนักเรียนท่ไี ด้รบั รางวลั ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิท์ างการเรียน จำนวนครูทผี่ ่านการอบรมการวิจยั จำนวนนกั เรยี นกลุ่มเสี่ยง จำนวนกิจกรรมเสรมิ หลักสูตร เป็นต้น ๒) ระบุเป้าหมายเชิงคุณภาพ เช่น เพิ่มขึ้น สูงขึ้น ดีเลิศ ดีเยี่ยม ชัดเจน ก้าวหน้าขึ้น มีแนวโน้มที่ดีขึ้น ซง่ึ จะต้องมเี กณฑ์ระดบั คณุ ภาพกำกับด้วย อย่างไรก็ดีสถานศึกษาสามารถกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาได้หลายลักษณะ อาจกำหนด เป็นภาพรวมเป็นรายข้อ เป็นข้อความ เป็นความเรียงหรือกำหนดในลักษณะอื่นที่สามารถสื่อสารให้ผู้เกี่ยวข้องเข้าใจได้ว่า เป้าหมายท่สี ถานศกึ ษามุง่ ทีจ่ ะพฒั นาเน้นไปในทิศทางใด ค่มู อื การดำเนนิ งานการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา สำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑

๑๘ ๒. การจดั ทำแผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษาที่มุง่ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา แนวคดิ หลักการ และความสำคญั ตามกฎกระทรวงศึกษาธิการไดอ้ อกกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ และไดม้ ีการประกาศ ในราชกจิ จานุเบกษา ลงวันท่ี ๒๓ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๑ และไดก้ ำหนดไว้ชดั เจนใหส้ ถานศึกษาแต่ละแหง่ “...จัดทำ แผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษาทม่ี งุ่ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและดำเนนิ การตามแผนพฒั นาท่ีกำหนดไว้ ...” ซ่ึงสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ได้ทบทวนการดำเนนิ การเรอื่ งการประกันคุณภาพการศึกษาและได้ จดั ทำแนวทางปฏบิ ตั ิการดำเนนิ การประกนั คณุ ภาพการศึกษา เพื่อให้หน่วยงานตน้ สงั กดั ได้แก่ สำนักงานเขตพน้ื ที่ การศกึ ษา ทง้ั ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา สำนักงานบริหารการศึกษาพเิ ศษได้ดำเนนิ การได้อยา่ งถูกต้อง เหมาะสม เป็นไปในทิศทางเดยี วกบั ประกาศสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖๑ กำหนดใหส้ ถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานดำเนินการ โดยในข้อ ๒ ต้องจดั ให้มีระบบประกันคุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา (๒.๒) จัดทำ แผนพฒั นาการจดั การศึกษาของสถานศึกษาใหส้ อดคลอ้ งกับสภาพปัญหาและความต้องการจำเปน็ ของสถานศึกษาอย่างเป็น ระบบ โดยสะท้อนคุณภาพความสำเรจ็ อยา่ งชัดเจนตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา การพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษาบทบาทหน้าท่ีและความรับผดิ ชอบของสถานศกึ ษา จึงตอ้ งขับเคล่ือนใหส้ อดคล้องเหมาะสมกบั พ้ืนฐานของ แนวคดิ หลกั การและสำคญั ของการวเิ คราะห์ ใช้และพฒั นาที่อิงต่อการวางแผนพฒั นาเชิงกลยทุ ธ์โดยใช้แผนพฒั นาการจัด การศกึ ษาสคู่ วามมคี ุณภาพตามมาตรฐานของสถานศกึ ษาเป็นสำคัญตอบสนองต่อการพัฒนาอยา่ งถูกต้อง เหมาะสมและ เปน็ ไปตามเจตนาของการสร้างระบบประกนั คุณภาพทางการศกึ ษาที่มปี ระสทิ ธิภาพ ดงั แสดงในแผนภาพท่ี ๓ แผนภาพท่ี ๓ กรอบแนวคิดการจัดทำแผนพฒั นาการจัดการศึกษาและแผนปฏิบตั ิการประจำปีของสถานศกึ ษา และสาระสำคัญทเ่ี กยี่ วข้อง คมู่ อื การดำเนนิ งานการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา สำนักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑

๑๙ จากแผนภาพท่ี ๓ สามารถอธิบายเพื่อชี้ใหเ้ ห็นถงึ ความสำคัญของแผนพฒั นาการจัดการศึกษาและแผนปฏิบตั ิการ ประจำปีที่เปน็ เครอื่ งมอื จำเป็นของสถานศึกษาในการส่อื สารกระบวนการดำเนินการให้กับบุคลากรที่เกี่ยวขอ้ งภายใน สถานศกึ ษาไดย้ ึดเป็นแนวทางที่ชัดเจนสำหรบั การปฏิบตั ติ ามบทบาทหนา้ ท่ีและความรับผดิ ชอบในองคาพยพของการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา โดยแผนพัฒนาการจัดการศึกษาสะท้อนการขับเคล่ือนกระบวนการดำเนนิ การตามวสิ ยั ทัศนแ์ ละ พันธกจิ ทเ่ี ป็นฉันทามติของผทู้ ี่รบั ผิดชอบการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา ผูร้ ับโอกาสของการจัดการศึกษาและผ้สู ่งเสริม สนบั สนนุ การจัดการศึกษาให้มคี ุณภาพตามเจตนารมณ์ ที่กำหนดไวต้ ามกฎหมายทางการศึกษาทเี่ กย่ี วข้อง การนำแผน พัฒนาการจัดการศึกษาไปส่กู ารจดั ทำแผนปฏิบัตกิ ารประจำปีเพื่อการดำเนินการตามโครงการ กจิ กรรมและวตั ถปุ ระสงค์ จนกระทั่งได้ขอ้ มูลสารสนเทศในการจดั ทำรายงานผลการปฏบิ ตั งิ านประจำปขี องสถานศึกษา ซึ่งมีกระบวนการตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผล การบรรลุเปา้ หมายคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา บคุ ลากรผู้ทำหน้าท่ี ดังกลา่ วจึงจำเปน็ ทีจ่ ะตอ้ งมคี วามรูค้ วามเข้าใจ ความสัมพันธเ์ ช่อื มโยงระหวา่ งแผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาและแผนปฏิบตั ิ การประจำปี เพอ่ื นำไปสู่การพัฒนาทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ กระทัง่ ได้ข้อมูลสารสนเทศจากการประเมินผลการปฏิบัตปิ ระจำปี ในการนำไปประยุกตใ์ ชส้ ำหรับการพฒั นาคุณภาพการศึกษาท่ีหมุนเวียนใช้ประโยชนจ์ ากข้อมูลสารสนเทศ โดยสถานศึกษา จัดทำเป็นเอกสารสรุปผลการดำเนนิ การทเ่ี ป็นรายงานผลการปฏิบตั ิประจำปขี องสถานศึกษา และสถานศึกษาจะได้ ประโยชน์จากการใชเ้ พ่ือการจัดทำรายงานผลการประเมนิ ตนเอง ( SAR : Self – Assessment Report) ไดต้ ่อไป การขบั เคล่ือนคุณภาพการจดั การศึกษา เน้นการใช้แผนพัฒนาการจดั การศึกษาและการบริหารจดั การสถานศึกษา เชงิ กลยุทธค์ วบคู่กัน เพอื่ ให้เกิดความชัดเจน เหมาะสม และสามารถดำเนนิ การพฒั นาสูอ่ นาคต ได้อยา่ งเปน็ ระบบและมี การบรหิ ารจดั การสถานศึกษาซ่ึงเนน้ ความเปน็ ระบบ มคี วามเปน็ เหตุเป็นผล ยึดกระบวนการเชงิ กลยทุ ธเ์ พ่ือดำเนินการ จงึ ต้องเชอ่ื มโยงและมคี วามสัมพันธร์ ะหว่างกนั ซ่ึงสามารถอธบิ ายดงั แสดงในแผนภาพที่ ๔ คู่มอื การดำเนินงานการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑

๒๐ คำถามทางเชงิ กลยทุ ธ์ กระบวนการบริหาร รายละเอียดของกระบวนการบริหาร ๑. สถานศกึ ษาตอ้ งการไปสู่ ๑. การบริหารเชงิ กลยทุ ธ์ การกำหนดทิศทางทส่ี ถานศกึ ษามุ่งไปสเู่ ปา้ หมาย จุดใด ( Where do we ๑.๑ การกำหนดทิศทาง เปรยี บเสมือนผลลัพธป์ ลายทางท่ีสถานศึกษาต้องการ want to go?) ของสถานศกึ ษา บรรลุในการกำหนดทศิ ทางของสถานศกึ ษา ประกอบดว้ ยการกำหนดวสิ ยั ทัศน์ พันธกิจ และ ๒. ปจั จบุ ันสถานศกึ ษาอยู่ ณ ๑.๒ การศกึ ษาสถานภาพ เป้าประสงค์หลัก จุดใด ของสถานศึกษา ( Where are we now?) การศึกษาวเิ คราะห์ถึงข้อมลู สารสนเทศและปจั จัยที่มี ผลกระทบต่อสถานศึกษาท้งั ในเชิงบวกและเชงิ ลบ ซ่ึง ๓. สถานศึกษาไปจุดน้นั ได้ ๑.๓ การวางกลยทุ ธ์ของ แยกปจั จัยทวี่ ิเคราะหอ์ อกเปน็ การวเิ คราะห์ผู้มีส่วนได้ อย่างไร สถานศกึ ษา สว่ นเสียและการวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มทง้ั ทเ่ี ปน็ ( How do we get there?) ปัจจัยภายนอกและปัจจยั ภายใน การนำข้อมูล สารสนเทศและปจั จยั ท่ีได้จากการศกึ ษา วิเคราะห์ สถานภาพและการกำหนดทิศทางของ สถานศกึ ษา จัดทำเปน็ กลยุทธร์ ะดบั ต่างๆ รวมทง้ั ประเมนิ และคดั เลอื กวา่ กลยทุ ธ์ใดทมี่ ีความเหมาะสม กบั สถานศกึ ษามากที่สุดเพือ่ กำหนดประเดน็ กลยุทธ์ เปา้ ประสงค์ ตวั ช้ีวดั เป้าหมายและกลยุทธ์ ๔. สถานศกึ ษาจะตอ้ งทำ ๒. การนำกลยทุ ธ์สกู่ าร เม่อื สถานศกึ ษาได้ศึกษาวเิ คราะหป์ จั จัยต่างๆ กำหนด หรือปรบั เปล่ยี นอะไรเพอื่ ไป ปฏบิ ตั ิของสถานศกึ ษา ทศิ ทางการพัฒนาและวางกลยทุ ธแ์ ล้ว ต้องนำกลยุทธ์ จุดนน้ั ( What do we ท่ไี ด้วางแผนไวม้ าดำเนินการประยุกตเ์ พอื่ ปฏิบัตใิ ห้ have to do or change?) เกิดผลผลิตและผลลัพธต์ ามวัตถปุ ระสงคท์ ี่ตงั้ ไว้ ๕. สถานศึกษาจะวัด ๓. การควบคมุ และ การตดิ ตาม ตรวจสอบความกา้ วหน้า ปญั หาอุปสรรค ความก้าวหนา้ และรไู้ ด้ว่าได้ ประเมนิ ผลกลยุทธ์ของ ตลอดจนความสำเร็จและความล้มเหลวของโครงการ/ ไปถึงทีห่ มายอย่างไร สถานศึกษา กจิ กรรม ต่างๆ ทป่ี ระกอบขึน้ เป็นกลยทุ ธ์ของ ต้องการไปสจู่ ดุ ใด ( How สถานศกึ ษา พิจารณาความสัมพันธ์ของผลท่เี กิดข้ึน do we measure our ระหว่างเปา้ หมายของแผนพัฒนาการจดั การศึกษาและ progress and know แผนปฏบิ ัติการประจำปี ซงึ่ เน้นการพฒั นาคณุ ภาพการ we’ve gotten there?) จัดการศกึ ษาของสถานศึกษาอย่างต่อเน่ือง แผนภาพท่ี ๔ ความสัมพันธร์ ะหว่างคำถามเชิงกลยุทธ์ กระบวนการบรหิ ารและรายละเอยี ดของกระบวนการบริหาร คู่มือการดำเนนิ งานการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑

๒๑ การบริหารจัดการเชิงกลยทุ ธ์ของสถานศึกษาเป็นกระบวนการศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ ออกแบบ และวางแผน การดำเนินการที่ให้เห็นความสำคัญกับการมองความสำเร็จของปัจจุบันสู่อนาคต ภายใต้การพิจารณาถึงความเป็นไปได้ใน การใช้ความสามารถของบุคลากรในสถานศึกษาด้วยการระดมทรพั ยากรมาใชแ้ ละพจิ ารณาถึงทางเลือกต่างๆ อยา่ งรอบคอบ และชดั เจนวา่ จะสามารถนำพาสถานศึกษาไปสูเ่ ป้าหมายตามภารกจิ ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พนั ธกจิ และเป้าประสงค์หลัก ที่วางไว้ นอกจากนั้น การวางแผนกลยุทธ์เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ทุกปัจจัยที่คาดว่าจะก่อให้เกิด การเปลี่ยนแปลงใน อนาคตและที่จะมีผลกระทบต่อสถานศึกษา ทั้งในแง่ของโอกาสและอุปสรรค เพื่อจะบอกทิศทางท่ีสถานศกึ ษากำหนดข้ึน อย่างชัดเจนในการดำเนินการสอู่ นาคตไดอ้ ย่างเป็นระบบ ดังแสดงในแผนภาพที่ ๕ การวางแผนกลยุทธ์ Strrategic Planning การควบคมุ และประเมินกลยทุ ธ์ การนำกลยทุ ธส์ กู่ ารปฏบิ ตั ิ Strrategic Control and Strrategic Implementation Evaluation (Strategic Management) แผนภาพท่ี ๕ การบริหารจดั การเชงิ กลยุทธ์ วงจรคณุ ภาพการบรหิ ารเชงิ ระบบ ( PDCA) การพัฒนาระบบการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จะต้องออกแบบการดำเนินการภายในสถานศึกษาที่เน้นการ สร้างความเข้าใจสำหรับบุคลากรที่เกี่ยวข้องให้ตรงกันในทุกขั้นตอนการดำเนินการ เข้าใจความสัมพันธ์ เชื่อมโยงระหว่าง ขั้นตอนของการดำเนินการ และสถานศึกษาส่วนใหญ่จะยึดขั้นตอนของวงจรคุณภาพการบริหารงานเชิงระบบ ( PDCA) เพอื่ ขับเคล่ือนคุณภาพทงั้ ขับเคล่ือนคุณภาพของสถานศึกษา ทัง้ ขับเคลือ่ นคุณภาพงานของกลุม่ งาน ทั้งขับเคลื่อนคุณภาพ ของบคุ คลที่มีบทบาทหนา้ ทแี่ ละความรบั ผิดชอบเฉพาะตนภายใต้ ๔ ขนั้ ตอนสำคัญ ประกอบดว้ ย P : Planning การวางแผนพัฒนาคณุ ภาพ D : Doing การปฏบิ ัตงิ านตามแผนพัฒนาคุณภาพ C : Checking การตรวจสอบ ประเมนิ ผลการพฒั นาคณุ ภาพ A : Action การปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพ การขบั เคลื่อนวงจรคุณภาพการบรหิ ารเชงิ ระบบ (PDCA) ดงั แสดงในแผนภาพที่ ๖ คู่มือการดำเนินงานการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา สำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑

P ๒๒ การวางแผน D A A P ปฏบิ ัติ ปรับปรงุ และพฒั นา ปรบั ปรุงและพัฒนา การวางแผน D ปฏิบัติ P การวางแผน C ตรวจสอบ แผนภาพท่ี ๖ วงจรคณุ ภาพการบรหิ ารงานเชิงระบบ (PDCA) ข้ันตอนการดำเนนิ งานตามวงจรคุณภาพการบรหิ ารงานเชิงระบบ (PDCA) สถานศึกษาจะต้องประยุกต์ใช้วงจรคุณภาพ เพื่อให้สอดคล้องเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา โดยยึดการ พฒั นาคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาท่ีเกิดจากการประยุกต์ใช้ข้อมลู สารสนเทศมาออกแบบ วางแผนการ บรหิ ารจัดการเชงิ กลยุทธ์ ซึ่งบุคลากรทเ่ี กี่ยวขอ้ งมสี ่วนร่วมต่อการขับเคล่ือนการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาจนเกิดเป็น วัฒนธรรมคุณภาพในสถานศึกษา โดยทุกคนยึดมั่นที่จะดำเนินการอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ มีรายละเอียด ประกอบด้วย ๔ ข้นั ดงั น้ี คอื ขั้นการวางแผนพัฒนาคุณภาพ P : Planning เป็นขั้นการกำหนดกรอบรายละเอียดของการดำเนินการพัฒนา คุณภาพการจัดการศึกษา ผ่านการศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ สำหรับการวางแนวทางเพื่อพัฒนาด้วยการพิจารณา คัดเลือกแนวทางที่มีความเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษาที่สุดในการแก้ไข ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง และพัฒนาคุณภาพ โดยจะช่วยสง่ เสรมิ ใหก้ ารคาดการณส์ ง่ิ ทจ่ี ะเปน็ ผลสำเร็จในอนาคต มีความชัดเจนมากท่สี ดุ ขั้นการปฏิบัติงานตามแผนพฒั นาคุณภาพ D : Doing เป็นขั้นการนำแนวทางที่ผ่านการวางแผนไว้อย่างชัดเจน มาสูก่ ารปฏบิ ัติตามกิจกรรม ซึง่ กำหนดไว้ในแนวทางดังกลา่ ว เพื่อสรา้ งความสำเร็จใหบ้ รรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ ทั้งการแก้ไข ปรบั ปรงุ เปลี่ยนแปลง และพฒั นาคุณภาพจนเกิดประสิทธภิ าพสงู สุด ค่มู ือการดำเนินงานการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑

๒๓ ขั้นการตรวจสอบประเมินผลการพัฒนาคุณภาพ C : Checking เป็นขั้นการเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือเพื่อ เก็บรวบรวมข้อมลู สารสนเทศจากการดำเนนิ การแก้ไข ปรับปรงุ เปลีย่ นแปลง และพัฒนาคุณภาพสำหรับนำมาวิเคราะห์ แปลผล และเปรียบเทยี บกับวตั ถปุ ระสงคแ์ ละเงอื่ นไขของความสำเร็จจากการดำเนนิ การวา่ บรรลผุ ลสำเรจ็ หรือไม่ อยา่ งไร ขั้นการปรบั ปรุงและพฒั นาคณุ ภาพ A : Action เปน็ ขั้นการนำผลการประเมินมาพิจารณาอย่างละเอยี ดรอบคอบ และตัดสินในการพิจารณาแนวทางสำหรับการแก้ไข ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง และพัฒนาคุณภาพไปประยุกต์ใช้เพื่อสร้าง กระบวนการสนับสนุนความก้าวหน้าอยา่ งเปน็ ระบบและมคี วามต่อเน่ือง สถานศึกษาวางแผนและออกแบบการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา โดยการประยุกต์ใช้วงจร คุณภาพการบริหารงานเชิงระบบ (PDCA) สำหรับการกำกับ วางแผน และออกแบบขับเคลื่อนวงจรใหเ้ กดิ ความเป็นพลวัตร (Dynamic) ซง่ึ จะทำใหว้ งจรดำเนินไปอย่างเปน็ ระบบและมคี วามตอ่ เน่ือง การจัดทำและนำไปสู่การใชก้ ารใช้แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา เป้าหมายการพฒั นาคุณภาพการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ซ่ึงต้องกำหนดไว้ในแผนพฒั นาการจัดการศึกษา ของสถานศกึ ษาท่ีมีความสอดคลอ้ งกับมาตรฐานของการประกนั คุณภาพภายใน ประกอบดว้ ย มาตรฐานด้านผลลัพธ์ (มาตรฐานคุณภาพผู้เรยี น ที่จำแนกเป็นผลสมั ฤทธ์ิทางวชิ าการของผ้เู รยี นและคณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ของผ้เู รียน) กับ มาตรฐานดา้ นกระบวนการ (มาตรฐานดา้ นกระบวนการบริหารและการจดั การกบั มาตรฐานดา้ นกระบวนการจดั การเรียน การสอนทเี่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญ) โดยสถานศึกษาดำเนินการศกึ ษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ นโยบายทางการจดั การศกึ ษา แนวทางการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของหน่วยงานต้นสงั กัด จดุ เนน้ การพัฒนากลุ่มเป้าหมายของการศึกษา ผลท่ี เกิดจากการสังเคราะหผ์ ลการประเมินในรอบปที ผ่ี า่ นมา ที่เนน้ เป้าหมายคุณภาพตามมาตรฐานซึง่ บุคลากรทเ่ี กย่ี วข้องมสี ่วน รว่ มตลอดกระบวนการดำเนินการพฒั นาคณุ ภาพ ตอบสนองต่อความต้องการพัฒนาคณุ ภาพของผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสยี ด้วย การตรวจสอบความสอดคล้องกับข้อมลู สารสนเทศทถ่ี ูกต้อง เหมาะสม เพียงพอ ชดั เจน ซง่ึ จะก่อให้เกดิ ประสิทธภิ าพ ของการดำเนินการพฒั นา สำหรับการบริหารสถานศึกษาเชงิ กลยุทธท์ ผ่ี า่ นแผนพฒั นาการจัดการศึกษา และแผนปฏบิ ตั ิ การประจำปีของสถานศึกษาทไ่ี ด้จดั สร้างขึ้นและนำไปส่กู ารใช้อย่างเปน็ ระบบ บคุ ลากรในสถานศึกษาควรศึกษาความสมั พนั ธ์ ความเชือ่ มโยงและความเป็นเหตเุ ปน็ ผลของการนำแผนพัฒนาการ จดั การศึกษาของสถานศกึ ษาและแผนปฏบิ ตั ิการประจำปขี องสถานศกึ ษา ซงึ่ สามารถสรุปสาระสำคัญท่ีแสดงใหเ้ หน็ ความสมั พันธเ์ ช่อื มโยงระหวา่ งการใช้แผนทงั้ ๒ ลกั ษณะ ดังแสดงในแผนภาพท่ี ๗ คมู่ อื การดำเนินงานการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑

๒๔ แผนพัฒนาการจัดการศึกษา • Educational Development Plan ของสถานศึกษา • เปน็ แผนแม่บทท่ีสถานศึกษากำหนดกรอบความสำเรจ็ แนวทางดำเนินการ การตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผลเพอ่ื ตรวจสอบการบรรลตุ ามเป้าหมาย • ระยะเวลาดำเนนิ งาน ๓ – ๕ ปี • กำหนดเปา้ หมายการดำเนินงาน ๓ - ๕ ปี • นำผลการดำเนินงานจากแผนปฏบิ ตั ิการประจำปีทผี่ ่านมาแลว้ มาปรบั ให้ เหมาะสมกับสถานการณ์ปจั จบุ นั • แนวทางการดำเนินงานกำหนดกรอบไวก้ วา้ งๆ ตามนโยบายของรฐั บาล • วิเคราะห์นโยบาย ยุทธศาสตร์ เปา้ ประสงค์ จดุ เน้นของกระทรวงศึกษาธกิ าร สพฐ. เพ่ือวางแผนการพฒั นาคณุ ภาพ • โครงการ/กิจกรรม ออกแบบไว้ตลอด ๓ – ๕ ปี มีความเชือ่ มโยงและสามารถ ดำเนินการเพอ่ื ใหเ้ กิดคณุ ภาพภายในองค์รวมระยะยาว แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี • Action Plan ของสถานศกึ ษา • เปน็ แผนแมบ่ ทท่เี กดิ จากการวเิ คราะห์แผนพฒั นาการจดั การศึกษาเพ่ือการดำเนินงาน เปน็ รายปี • ระยะเวลาดำเนินงาน ๑ ปี • นำเป้าหมายของแผนพัฒนาการจดั การศึกษาลงสกู่ ารปฏบิ ตั ิในแต่ละปี • มีการปรบั ปรุงระหวา่ งการปฏบิ ตั ิตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี • กิจกรรมในโครงการกำหนดไวช้ ัดเจน สามารถปฏบิ ตั ิให้เกดิ เป็นรปู ธรรม • วเิ คราะห์โครงการ/กจิ กรรม ในแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาเพื่อดำเนนิ การ ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผล • โครงการ/กิจกรรม เลอื กดำเนินการก่อนหลังในแตล่ ะปตี ามลำดบั โดยพิจารณาจาก ความสำคญั แผนภาพท่ี ๗ ความสมั พนั ธ์ ความเชื่อมโยง และความเป็นเหตเุ ป็นผลของการนำแผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของ สถานศกึ ษาและแผนปฏิบตั กิ ารประจำปีของสถานศึกษา คู่มือการดำเนินงานการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑

๒๕ แนวคิดในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จะต้องดำเนินการให้บรรลุตามเป้าหมายของการ จัดการศึกษาตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา ที่เน้นให้มีการดำเนินการอย่างเป็นระบบและปฏิบัติการอย่าง ต่อเนื่อง โดยส่งเสริมสนับสนุนให้มีการวางแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่ยึด สภาพปัญหา ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น ควบคู่ไปกับการให้ความสำคัญของการใช้ข้อมูลสารสนเทศที่เป็นปัจจัย หลกั สำหรบั การวางแผนรว่ มกันระหว่างบคุ ลากร ทง้ั ภายในและภายนอกสถานศึกษาที่มสี ว่ นเกย่ี วข้อง สถานศึกษาจะต้อง มกี ารระดมสมองเพ่ือการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก เพอ่ื ใหไ้ ด้ข้อสรุปในการพฒั นาการจัดการศึกษาของ สถานศึกษาที่เน้นผู้ให้บริการทางการศึกษา ซึ่งมีความสอดคล้อง เหมาะสมกับความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เปิด โอกาสให้บุคลากรที่เกี่ยวข้อง ร่วมคิด ร่วมออกแบบ ร่วมวางแผน ร่วมจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาในการกำหนด วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย เงื่อนไข และภาพแห่งความสำเร็จที่ครอบคลุมภารกิจและความรับผิดชอบ สำหรับการ พัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาที่สถานศึกษาได้กำหนดผ่านแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและ แผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา จำเป็นอย่างยิ่งที่จะดำเนินการอย่างมีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ และถูกต้องตาม หลักวิชาการ ที่ยึดหลักการและทฤษฎีทางการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ทั้งด้านการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic – Management) วงจรคุณภาพการบริหารงานเชิงระบบ (PDCA) การจัดทำและนำไปสู่การใช้แผนพัฒนาการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา จึงเป็นที่น่ายอมรับและเชื่อถือได้ว่าการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาตามแนวคิด หลักการที่เสนอความเชื่อมโยงการวางกรอบแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ดังกล่าว จะสามารถขับเคลื่อนสถานศึกษาผ่าน การทำโครงการ/กิจกรรม ตามแผนปฏบิ ัติการประจำปี จนกระทัง่ บรรลุเป้าหมายคุณภาพตามมาตรฐานของสถานศึกษาได้ อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ดำเนนิ การได้อยา่ งเปน็ ระบบและมคี วามต่อเนื่อง กระบวนการจัดทำแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา กระบวนการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเป็นขั้นตอนของการกำหนดเป้าหมายและแนวทาง ในการพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในชว่ งระยะเวลาที่กำหนด (๓-๕ ป)ี โดยจดั ทำไว้เป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อให้ เกิดความมั่นใจว่าสถานศึกษาจะดำเนินการตามขั้นตอนที่กำหนดร่วมกัน โดยอาศัยหลักการและแนวคิดการบริหารจัดการ โดยใช้วงจรคณุ ภาพ ดังแสดงในแผนภาพท่ี ๘ คูม่ อื การดำเนนิ งานการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑

๒๖ วเิ คราะหป์ ญั หา อปุ สรรค และความต้องการจำเป็นของสถานศึกษา SWOT Analysis and TOWS Matrix สถานศึกษาร่วมกนั กำหนดวสิ ยั ทศั น์ พันธกจิ เป้าหมาย การวางแผน (Planning) จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาทีม่ งุ่ พฒั นาคณุ ภาพ สถานศกึ ษาทงั้ ระบบตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา(ระยะ ๓ – ๕ ปี) จดั ทำแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี การปฏิบตั ิตามแผน ดำเนนิ การตามแผน (Doing) ตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมนิ การตรวจสอบ/ประเมนิ พฒั นาและปรับปรุงดำเนินงาน (Checking) การปรบั ปรงุ และพัฒนา (Action) แผนภาพที่ ๘ หลักการและแนวคดิ การบรหิ ารจัดการโดยใช้วงจรคุณภาพ กบั การทำแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา คู่มอื การดำเนินงานการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑

๒๗ ข้ันตอนการจัดทำแผนพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษาของสถานศกึ ษา (ระยะ ๓ – ๕ ปี) การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพสถานศึกษาทั้งระบบตามมาตรฐานการศึกษา ของสถานศกึ ษา (ระยะ ๓ - ๕ ป)ี สถานศกึ ษาสามารถดำเนนิ การไดต้ ามขนั้ ตอนดังแสดงในแผนภาพท่ี ๙ แตง่ ต้ังคณะทำงาน รวบรวมข้อมลู สารสนเทศเก่ยี วกับสภาพภายในและภายนอก ของสถานศึกษา วิเคราะหแ์ ละประเมนิ ศักยภาพของสถานศกึ ษา กำหนดทิศทางการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา วิสัยทศั น์ พันธกจิ และเปา้ ประสงค์ กำหนดกรอบกลยุทธการพฒั นา วตั ถุประสงคเ์ ชงิ กลยุทธ์ ตัวช้ีวัด ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์รเิ ริม่ โครงการ จัดทำแผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษาทม่ี ุ่งพัฒนาคณุ ภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา แผนภาพที่ ๙ ขนั้ ตอนการจดั ทำแผนพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา (ระยะเวลา ๓ – ๕ ปี) ขัน้ ที่ ๑ แตง่ ตง้ั คณะทำงาน ๑. คณะทำงานควรประกอบด้วยผู้ที่เกี่ยวข้อง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการจัดการศึกษาทั้งภายนอกและภายใน โรงเรยี น ไดแ้ ก่ ผูแ้ ทนคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน /ครู /นกั เรยี น /ชุมชน/องค์การปกครอง ส่วนทอ้ งถน่ิ ท้ังน้ี ควรมีผู้ทรงคุณวุฒิเป็นที่ปรึกษาด้วยคณะกรรมการและคณะทำงานอาจจำแนกเป็นด้านๆ ตามความเหมาะสม เช่น คณะกรรมการทีป่ รึกษา คณะกรรมการอำนวยการ คณะกรรมการดำเนนิ การแต่ละด้าน เชน่ ด้านข้อมลู และสารสนเทศ โดย กำหนดบทบาทหน้าที่ให้สามารถจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาโรงเรียนให้บรรลุวัตถุประสงค์และมี ประสิทธภิ าพ ๒. สร้างความร้คู วามเขา้ ใจคณะทำงานและบุคลากรท่เี กยี่ วข้องเกีย่ วกบั การวางแผนการพฒั นาการศกึ ษา ค่มู ือการดำเนนิ งานการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา สำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑

๒๘ ข้นั ที่ ๒ รวบรวมสารสนเทศเกีย่ วกับสภาพภายในและภายนอกของสถานศึกษา ขอ้ มูลพน้ื ฐานและระบบสารสนเทศต้องถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบนั ครอบคลุมงานทุกด้าน ท้งั ดา้ นวิชาการ ด้าน งบประมาณ ด้านบุคลากรและด้านบริหารทั่วไป โดยใช้เครื่องมือและเทคโนโลยีในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล นำเสนอข้อมูลที่ถูกต้องเทย่ี งตรงจากแหลง่ ข้อมูลที่เชื่อถือได้ มกี ารวเิ คราะหส์ ารสนเทศ วิเคราะห์ความขาด – เกิน เทียบกับ เกณฑม์ าตรฐาน เพ่อื จะใช้เป็นฐานขอ้ มูลในการจัดทำแผนพัฒนาการจดั การศึกษา ตัวอย่างขอ้ มูลสารสนเทศ ๑. ข้อมูลพื้นฐานด้านปริมาณ อาทินักเรียนจำแนกตามระดับชั้น ครูและบุคลากรทางการศึกษา ที่ดินและ สิง่ กอ่ สร้าง ๒. ข้อมูลด้านคุณภาพผู้เรียน อาทิผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกระดับ ประกอบด้วย ระดับสถานศึกษา ระดับเขต พื้นที่การศึกษา ระดับชาติ คุณภาพผู้เรียนจากผลการประเมินคุณภาพภายในและภายนอก สุขภาพผู้เรียน รายงานผลการ ประเมนิ คุณภาพภายนอกของสถานศกึ ษา รวมถึงนโยบายอื่นๆ ท่เี ก่ยี วข้องกบั ผเู้ รยี น เป็นต้น ๓. ข้อมูลด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ อาทิกฎหมาย นโยบายที่เกี่ยวข้อง มาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา หลักสูตรสถานศึกษา รายงานผลการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา แหล่งเรียนรู้ภายในและ ภายนอกสถานศึกษา ปราชญช์ าวบ้าน ภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่น บันทึกรายงานการประชุม รายงานผลการประเมินคุณภาพภายใน รายงานผลการประเมนิ ภายนอกของสถานศึกษา เป็นต้น ๔. ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอน อาทิ หลักสูตรในแต่ละระดับแผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัด ประสบการณ์ บันทึกหลังสอน แฟ้มสะสมผลงานของครูการบริหารจัดการชั้นเรียน สื่อสารสนเทศที่ใช้ในการ จัดการเรียน การสอน เป็นต้น ๕. นโยบายท่เี กีย่ วขอ้ งในระดบั ต่างๆ ขนั้ ที่ ๓ การวิเคราะห์ขอ้ มูลเกีย่ วกบั สภาพภายในและภายนอกของสถานศกึ ษา การวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสภาพภายในด้านจุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา สภาพภายนอกด้านโอกาส และ อุปสรรคของสถานศึกษาน้ัน มีการวิเคราะหห์ ลายแนวทาง เชน่ Scenario Planning / Five Forces Model / BSC / KPI / SWOT Analysis / TOWS Matrix เป็นต้น ขนั้ ที่ ๔ การกำหนดทิศทางการจดั การศึกษาของสถานศึกษา ทิศทางการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เป็นการกำหนดเป้าหมายที่สถานศึกษาต้องดำเนินการจัดการศึกษา เปรยี บเสมือนเป็นผลลัพธร์ ะดับสงู ท่สี ถานศึกษาต้องการท่ีจะบรรลุ ซึง่ การกำหนดทิศทางของสถานศึกษา เป็นกระบวนการ ที่บุคลากรทุกฝ่ายของสถานศึกษาร่วมกันตั้งปณิธานความมุ่งหวังตั้งมั่น ปรารถนา ที่จะพัฒนาสถานศึ กษาไปสู่ ความสำเร็จ โดยร่วมกันระดมพลังปัญญา วิจารณญาณและแรงบนั ดาลใจ ตรวจสอบ ทบทวน กลั่นกรอง จัดวางสร้างสรรค์ สภาพทพี่ งึ ประสงค์ของสถานศึกษาทิศทางของสถานศึกษาประกอบด้วย วสิ ัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ มีสาระสำคญั ดงั นี้ ๔.๑ การกำหนดวิสัยทศั น์ (Vision) วิสัยทัศน์จะเป็นการมองไปในอนาคต ( Future Perspective) เป็นสิ่งที่จะบอกถึงสิ่งทีส่ ถานศึกษาอยากจะเป็นใน อนาคต เปน็ การบอกถึงทิศทางขององคก์ รในอนาคต ขอเสนอแนวทางการกำหนดวสิ ยั ทัศน์ ดังนี้ คู่มือการดำเนนิ งานการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑

๒๙ ดา้ น ตัวอย่างการกำหนดวสิ ัยทศั น์ กำหนดวิสยั ทศั น์ คุณภาพผเู้ รียน ภาพความสำเร็จในอนาคต ภายในป.ี ..........มุ่งพัฒนาให้ นักเรียนมีผลสมั ฤทธทิ์ างวชิ าการเพิ่มขึ้น มีความเป็น ผูเ้ รียนเปน็ คนดี คนเก่ง มีความ คณุ ภาพการจัดการ เลิศทางวชิ าการ มที ักษะทีจ่ ำเปน็ ในศตวรรษท่ี ๒๑ เป็นไทย พร้อมสำหรับวถิ ชี วี ิต เรียนการสอนที่เน้น เป็นคนดี มีคุณธรรม มีวินยั ซ่อื สตั ย์ มีจติ สาธารณะ ผู้เรียนเปน็ สำคญั รักในสถาบันหลกั ของชาติ ยึดมั่นการปกครองใน ในศตวรรษที่ ๒๑ คณุ ภาพการบริหาร ระบอบประชาธปิ ไตย อันพระมหากษตั ริยเ์ ป็น ประมุข มีสุขภาะทดี่ ี และมภี ูมิคมุ้ กันจากภัยในทุก จดั การ รูปแบบ สถานศึกษามหี ลกั สตู รสถานศึกษาที่เหมาะสมกับ ผู้เรยี นสอดคล้องกับท้องถิ่นการเปล่ยี นแปลง มี กระบวนการจดั กระบวนการเรยี นรู้ที่เน้นผเู้ รียนเป็น สำคัญและมกี ารวัดผลประเมินผลนักเรยี น เปน็ โรงเรียนคุณภาพช้ันนำที่มีเอกลักษณ์อันโดดเดน่ มรี ะบบการประกันคุณภาพภายในทีเ่ ข้มแข็ง มี ผลงานเปน็ ที่ประจักษ์ มีสภาพแวดล้อมทอี่ บอุน่ ปลอดภยั เอื้อต่อการเรยี นรู้ มีแหลง่ เรียนรทู้ มี่ ี คณุ ภาพ ได้รบั การยอมรับและเช่อื มัน่ ของชุมชน สังคม และได้รับความรว่ มมอื จากทกุ ภาคส่วนในการ จดั การศกึ ษา ๔.๒ การกำหนดพันธกิจ (Mission) พันธกิจเป็นบทบาทหน้าที่ของสถานศึกษา ที่ต้องดำเนินการเพื่อให้วิสัยทัศน์เป็นจริง พันธกิจจึงเป็นการบ่งบอก หน้าที่ของสถานศึกษาที่กำลังทำหรือจะทำในอนาคตให้แก่ ผู้รับบริการหรือสังคมได้รับรู้ว่าเรากำลังทำอะไร ข้อความท่ี ปรากฏในพันธกิจมักระบุผลผลิตของสถานศึกษา กลุ่มหรือผู้รับบริการหรือวิธีการดำเนินงานและความรับผิดชอบของ สถานศกึ ษา ตัวอย่างการกำหนดพันธกจิ วิสยั ทศั น์ (Vision : V) ม่งุ พัฒนาใหผ้ เู้ รียนเปน็ คนดี คนเกง่ มีความเป็นไทย พร้อมสำหรับวถิ ีชีวติ ในศตวรรษที่ ๒๑ มาตรฐานการศึกษา Key Word สำคญั ของวสิ ยั ทัศน์ พนั ธกิจของสถานศกึ ษา ๑. ดา้ นคุณภาพของ V๑ผูเ้ รียนเปน็ คนดี ๑. ปลูกฝงั คุณธรรม จรยิ ธรรม ผเู้ รียน V๒ ผเู้ รียนเปน็ คนเก่ง คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ เปน็ V๓ มคี วามเป็นไทย พลเมอื งทด่ี ี มีความเปน็ ไทย V๔ พรอ้ มสำหรับวถิ ชี ีวิตในศตวรรษท่ี ๒๑ ภูมคิ มุ้ กันจากภัยในทุกรูปแบบ มีสขุ คูม่ อื การดำเนินงานการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑

๓๐ มาตรฐานการศึกษา Key Word สำคญั ของวิสยั ทัศน์ พันธกจิ ของสถานศึกษา ๒. ด้านกระบวนการ ภาวะท่ีดี และมวี ถิ ีชวี ติ ตามหลกั เรียนการสอนที่เน้น ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผูเ้ รยี นเป็นสำคญั ๒. พัฒนาผเู้ รียนให้มพี ฒั นาการ ๓. ด้านการบรหิ าร สมวัย มผี ลสมั ฤทธิท์ างวชิ าการสงู ข้นึ และการจดั การ และมีทักษะการเรียนรู้ทส่ี ำคัญใน ศตวรรษท่ี ๒๑ ๓. พัฒนาหลกั สตู ร กระบวนการ เรยี นการสอนและการวดั ผล ประเมินผลที่เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั ๔.๓ การกำหนดเป้าประสงค์ (Goal) เปา้ ประสงค์ เปน็ สิง่ ท่ีคาดหวังในอนาคต หรือผลลัพธ์ทีอ่ งคก์ รต้องการให้เกิดขึ้น โดยมคี วามเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ และพันธกจิ เพอื่ เป็นแนวทางในการกำหนดกลยุทธแ์ ละประเมินผลความสำเรจ็ ต่อไป ตวั อย่างการกำหนดเป้าประสงค์ วิสยั ทัศน์ (V) พนั ธกจิ (M) เป้าประสงค์ (G) มงุ่ พฒั นาให้ผู้เรยี นเปน็ ๑. ปลกู ฝงั คณุ ธรรม จริยธรรม ๑. นักเรยี นมีคณุ ธรรม จริยธรรม คนดี คนเกง่ มคี วามเปน็ คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ เปน็ พลเมอื งทดี่ ี คุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ มวี นิ ยั ใน ไทย พร้อมสำหรับวิถี มคี วามเป็นไทย ภมู คิ ุม้ กันจากภยั ในทกุ ตนเองสูง เป็นพลเมอื งท่ดี ี มีความเป็น ชวี ิตในศตวรรษที่ ๒๑ รูปแบบ มีสขุ ภาวะทีด่ ี และมีวถิ ึชวี ติ ตาม ไทย ภมู คิ ุ้มกนั จากภยั ในทกุ รูปแบบ มี หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สุขภาวะท่ีดี และมวี ิถชี วี ิตตามหลกั ๒. พฒั นาผู้เรยี นใหม้ ีพัฒนาการสมวัย มี ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผลสมั ฤทธ์ทิ างวชิ าการสูงขึน้ และมที ักษะ ๒. นกั เรยี นมีพัฒนาการสมวัย มี การเรยี นรู้ท่สี ำคญั ในศตวรรษท่ี ๒๑ ผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการสงู ข้ึนและมี ๓. พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรยี นการ ทักษะการเรยี นรู้ทส่ี ำคญั ใน ศตวรรษที่ สอนและการวัดผลประเมินผลที่เนน้ ๒๑ ผู้เรียนเป็นสำคัญ ๓. สถานศึกษามหี ลักสตู รจัด กระบวนการเรยี นการสอนและการ วดั ผลประเมินผลท่ีเน้นผู้เรยี นเป็น สำคญั คู่มอื การดำเนนิ งานการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑

วธิ ีเขียนเป้าประสงค์ คณุ คา่ ทีม่ อบให้ ๓๑ กลุม่ ท่ีสถานศกึ ษามอบคุณคา่ ให้ ความเปล่ยี นแปลงในอนาคต ผเู้ รียน คณุ ธรรม จรยิ ธรรม มวี ินยั ในตนเองสูง เป็นพลเมืองท่ดี ี มี คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ ความเปน็ ไทย ภูมคิ มุ้ กันจากภยั ในทุก รูปแบบ มสี ขุ ภาวะทดี่ ีและมวี ิถชี วี ิต ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง ขัน้ ตอนท่ี ๕ การกำหนดกรอบกลยุทธ์พฒั นาการศึกษาของสถานศกึ ษา (Strategic Formulation) การกำหนดกลยุทธ์ (Strategic Formulation) ของสถานศึกษา เปน็ การเลือกวธิ กี ารทำงานที่แยบคาย ส่จู ุดหมาย ปลายทางอยา่ งมีทิศทางทีเ่ หมาะสม สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมของสถานศกึ ษา ตอบสนองวิธีการส่จู ดุ หมายปลายทาง ระดบั นโยบาย สามารถดำเนินการได้ประสบความสำเร็จ นำไปปฏบิ ัตไิ ดจ้ ริง การกำหนดกลยทุ ธ์เปน็ การนำข้อมูลและ ความรตู้ า่ งๆ ท่ีได้รับจากขน้ั ตอนการกำหนดทิศทางของหน่วยงานและการศกึ ษาสถานภาพหนว่ ยงาน (SWOT – Analysis) ด้วยการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมท่ีเป็นจุดแข็ง (Strength) จุดออ่ น (Weakness) โอกาส (Opportunity) และอุปสรรค (Threat) ของสถานศึกษามาจัดทำเปน็ กลยุทธ์ในรปู แบบต่างๆ การกำหนดกลยทุ ธ์เปรยี บเสมอื นการตอบคำถามว่า “เราจะ ไปถึงจุดนน้ั ได้อยา่ งไร? หรือ เราจะบรรลุทศิ ทางของหนว่ ยงานได้อย่างไร? (How do we get there?)” กรอบกลยทุ ธ์ของ สถานศกึ ษาประกอบด้วยประเดน็ กลยุทธ์ระดับสถานศึกษา วัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ กลยุทธ์ ตัวช้ีวดั ค่าเปา้ หมาย กลยุทธเ์ ริ่ม (กลยทุ ธร์ ะดบั แผนงาน) ๕.๑ การกำหนดประเด็นกลยทุ ธ์ (กลยทุ ธ์ระดับสถานศึกษา) ประเด็นกลยุทธร์ ะดบั สถานศึกษา Strategic Issues เป็นประเด็นกลยทุ ธ์หลักทีส่ ถานศึกษากำหนดการดำเนินงาน เพ่ือใหบ้ รรลุทศิ ทางการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา โดยวเิ คราะหจ์ ากพันธกิจและเปา้ ประสงค์แล้วมากำหนดเป็นประเดน็ กลยทุ ธ์ (ซงึ่ ข้นึ อย่กู ับบริบทของสถานศึกษา) ตัวอย่างการจัดทำประเด็นกลยทุ ธ์ พนั ธกจิ เปา้ ประสงค์ ประเดน็ กลยทุ ธ์ ๑. ปลูกฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ๑. นกั เรยี นมคี ุณธรรม จริยธรรม ๑. พัฒนาศกั ยภาพผ้เู รียนส่วู ิถี ใน คณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ เปน็ คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ มีวินยั ใน ศตวรรษท่ี ๒๑ พลเมืองที่ดี มีความเป็นไทย ตนเองสงู เป็นพลเมอื งที่ดี มีความ ๒. ปลกู ฝังคณุ ธรรม จริยธรรมและ ภูมิค้มุ กนั จากภัยในทุกรูปแบบ มี เป็นไทย ภูมิคุ้มกันจากภยั ในทกุ คา่ นยิ มที่พึงประสงค์ สขุ ภาวะท่ดี ี และมีวิถีชวี ติ ตามหลัก รูปแบบ มสี ุขภาวะท่ดี ี และมีวิถี ๓. พฒั นากระบวนการเรยี นการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ สอนที่เน้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญ ๒. พัฒนาผู้เรียนให้มพี ัฒนาการ พอเพียง ๔. พฒั นาประสทิ ธภิ าพการบริหาร สมวยั มีผลสมั ฤทธทิ์ างวิชาการ จดั การ ค่มู อื การดำเนินงานการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑

๓๒ พันธกจิ เปา้ ประสงค์ ประเด็นกลยทุ ธ์ สูงข้ึนและมีทักษะการเรยี นรู้ท่ี ๒. นกั เรียนมีพฒั นาการสมวัย มี สำคญั ในศตวรรษที่ ๒๑ ผลสัมฤทธ์ทิ างวิชาการสูงข้นึ และมี ๓. พัฒนาหลกั สตู ร กระบวนการ ทักษะการเรยี นรู้ทีส่ ำคญั ใน เรยี นการสอนและการวดั ผล ศตวรรษที่ ๒๑ ประเมินผลทเ่ี นน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ ๓. สถานศกึ ษามหี ลักสตู รจัด ๔. พฒั นาครเู ป็นครูยคุ ใหมท่ ี่มขี ีด กระบวนการเรยี นการสอนและการ ความสามารถในการจดั การเรียนรู้ วดั ผลประเมนิ ผลทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเปน็ รอบรับการเปล่ียนแปลงและ สำคญั สามารถปฏิบัตงิ านไดต้ าม ๔. ครเู ปน็ ครูยคุ ใหม่ท่ีมีขีด มาตรฐานวิชาชพี ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ ๕. พฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการ รอบรบั การเปล่ียนแปลงและ ทดี่ ตี ามหลกั ธรรมาภบิ าล เป็นท่ี สามารถปฏิบตั งิ านไดต้ ามมาตรฐาน ยอมรบั ของชุมชน สังคม และทกุ วิชาชีพ ภาคส่วนเข้ามามสี ่วนรว่ มในการจดั ๕. สถานศกึ ษามีระบบการบริหาร การศกึ ษา จัดการทด่ี ตี ามหลกั ธรรมาภิบาล เปน็ ทีย่ อมรบั ของชุมชน สงั คม และ ทุกภาคส่วนเข้ามามสี ว่ นร่วมในการ จัดการศึกษา ๕.๒ การกำหนดวตั ถุประสงคเ์ ชิงกลยุทธ์ วตั ถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ เปน็ ผลสำเร็จต่างๆ ที่ตอ้ งการบรรลุภายใตป้ ระเด็นกลยทุ ธ์ โดยการกำหนดวตั ถุประสงค์ เชงิ กลยทุ ธข์ องสถานศึกษา โดยวิเคราะหจ์ ากเป้าประสงค์และมาตรฐานการศึกษาเป็นหลกั ตวั อย่างการกำหนดวตั ถุประสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธ์ เปา้ ประสงค์ : ๑. ผเู้ รียนมีพัฒนาการสมวยั ๒. มผี ลสมั ฤทธทิ์ างวชิ าการสงู ขึน้ ๓. มีทกั ษะการเรยี นรู้ทสี่ ำคัญใน ศตวรรษที่ ๒๑ ประเด็นกลยุทธ์ วัตถุประสงคเ์ ชงิ กลยุทธ์ พัฒนาศักยภาพผเู้ รยี น สู่ศตวรรษที่ ๒๑ ๑. เดก็ ปฐมวัยมพี ัฒนาการสมวัยด้านรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คมและสติปัญญา ๒. ผเู้ รยี นมีผลสัมฤทธ์ิวชิ าการสงู ขึน้ ๓. นกั เรยี นมีทกั ษะการเรยี นรสู้ ำคัญในศตวรรษที่ ๒๑ คูม่ อื การดำเนินงานการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑

๓๓ ๕.๓ การกำหนดตัวชว้ี ดั และคา่ เป้าหมาย ตัวช้ีวดั ( Key Performance Indicators) เป็นตวั ชว้ี ดั ของวัตถปุ ระสงค์เชงิ กลยทุ ธ์ ซ่ึงตวั ชี้วัดเหลา่ นี้จะเปน็ เครอ่ื งมอื ที่ใช้ในการวัดว่าองค์กรบรรลวุ ตั ถุประสงคเ์ ชงิ กลยุทธใ์ นแต่ละกลยุทธห์ รอื ไม่ ค่าเปา้ หมาย เป็นความสำเร็จทสี่ ถานศกึ ษาต้องการจะบรรลุในแต่ละตัวช้ีวดั ตวั อยา่ งการกำหนดตวั ช้ีวัดและคา่ เป้าหมาย ประเดน็ กลยุทธท์ ่ี ๑ พฒั นาศักยภาพผเู้ รยี นสู่วิถีในศตวรรษท่ี ๒๑ วตั ถุประสงค์ ตวั ชว้ี ัด ข้อมูลพนื้ ฐาน ค่าเป้าหมาย เชงิ กลยุทธ์ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๒๕๖๖ ๑. เดก็ ปฐมวัยมี ร้อยละของนักเรียน ๙๐.๒๕ ๙๒.๕๐ ๙๔.๐๐ ๙๖.๐๐ ๙๘.๐๐ ๑๐๐ พฒั นาการดา้ นร่างกาย ระดับก่อน ตวั ชี้วัดกำหนดให้สอดคล้องกับประเดน็ พจิ ารณาในแตล่ ะ ดา้ นอารมณแ์ ละจิตใจ ประถมศกึ ษา ที่มี มาตรฐานการศึกษา ดา้ นสังคม และดา้ น พัฒนาการผ่านเกณฑ์ สติปัญญา ในระดบั ดีขึน้ ไป ตวั อย่างการกำหนดตวั ชว้ี ัดตามมาตรฐานการศึกษา มาตรฐานท่ี ๑ ด้านคุณภาพผู้เรยี น ๑.๑ ผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการของผูเ้ รียน ประเดน็ ย่อย ตวั ชว้ี ัด ๑) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร ร้อยละของนักเรียนที่มีความสามารถในการอ่าน การ และการคดิ คำนวณ เขยี น การสือ่ สารและการคิดคำนวณ ๒) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมี ร้อยละของนักเรยี นที่มีความสามารถในการคดิ วิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและ วเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ยี น แก้ปญั หา ความคดิ เหน็ และแกป้ ัญหา ๕.๔ การกำหนดกลยทุ ธร์ เิ รมิ่ (Strategic Initiative) กลยุทธร์ เิ ริ่มเปน็ วธิ ีการทด่ี ีทสี่ ุด โดดเด่น ทีแ่ ตกต่างจากเดิมทส่ี ถานศกึ ษาจะต้องทำเพ่อื ให้บรรลุวตั ถุประสงค์เชิงกล ยทุ ธ์ โดยนำผลจากการวเิ คราะห์ TOWS Matrix และนโยบายทีเ่ กย่ี วขอ้ งในระดบั ตา่ งๆ ตัวอย่างการกำหนดกลยุทธร์ เิ รมิ่ วตั ถปุ ระสงค์ ตัวชีว้ ัด ขอ้ มูลพ้นื ฐาน คา่ เปา้ หมาย กลยุทธ์ริเร่ิม เชิงกลยุทธ์ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๒๕๖๖ ๑. เด็กปฐมวยั มี ร้อยละของ ๙๐.๒๕ ๙๒.๕๐ ๙๔.๐๐ ๙๖.๐๐ ๙๘.๐๐ ๑๐๐ พัฒนาเด็ก พัฒนาการดา้ น นกั เรยี น ระดับ ปฐมวยั ใหม้ ี รา่ งกาย ดา้ น กอ่ น พันการสมวัย อารมณ์และจติ ใจ ประถมศกึ ษา รอบดา้ น ท่มี พี ัฒนาการ ดว้ ยการจัด คูม่ ือการดำเนินงานการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑

๓๔ วัตถุประสงค์ ตวั ช้ีวัด ข้อมูลพ้นื ฐาน คา่ เปา้ หมาย กลยทุ ธร์ เิ รม่ิ เชงิ กลยุทธ์ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๒๕๖๖ ด้านสังคม และ ผ่านเกณฑ์ใน ประสบการณ์ ด้านสติปัญญา ระดบั ดีขึ้นไป ทห่ี ลากหลาย โดยความ รว่ มมือกับ ผู้ปกครอง อย่างใกลช้ ดิ วิธีเขยี นกลยุทธ์ริเร่มิ กลยทุ ธร์ ิเร่มิ : พฒั นาเดก็ ปฐมวยั ใหม้ ีพัฒนาการสมวยั รอบด้านโดยการจดั ประสบการณ์ กิจกรรมในรปู แบบท่ี หลากหลาย และการร่วมมือกับผู้ปกครองอยา่ งใกลช้ ิด ทศิ ทาง/จดุ เนน้ (จะทำอย่างไร?) กิจกรรม (จะทำอย่างไร?) พัฒนาเด็กปฐมวยั ให้มพี ฒั นาการสมวัยรอบด้าน โดยการจดั ประสบการณ์ กจิ กรรมในรูปแบบท่ี หลากหลายและการรว่ มมือกับผปู้ กครองอยา่ งใกลช้ ิด ๕.๕ โครงการและกิจกรรม การกำหนดโครงการ/กิจกรรมระยะ ๓-๕ ปี เปน็ การกำหนดโครงการ/กิจกรรมแต่ละกลยทุ ธ์ริเร่ิมทีค่ าดจะ ดำเนินการในระยะ ๓-๕ ปี เพอื่ ตอบสนองวตั ถปุ ระสงคเ์ ชิงกลยทุ ธ์ ตวั ชี้วัด และคา่ เป้าหมายของโรงเรยี นในระยะ ๓-๕ ปี ตัวอย่างการเขยี นโครงการ/กจิ กรรม ประเด็นกลยทุ ธท์ ่ี ๑ พฒั นาศักยภาพผู้เรียนส่วู ิถีในศตวรรษท่ี ๒๑ วัตถุประสงคเ์ ชิงกลยทุ ธ์ กลยุทธร์ เิ ริ่ม โครงการ/กจิ กรรมหลกั หน่วยท่รี ับผิดชอบ ฝ่ายวิชาการ ๑. เดก็ ปฐมวัยมี พัฒนาเด็กปฐมวยั ให้มีพัน โครงการพฒั นาการจดั พัฒนาการด้านร่างกาย การสมวยั รอบด้าน ดว้ ย ประสบการณ์เดก็ ปฐมวัย ดา้ นอารมณ์และจติ ใจ การจัดประสบการณท์ ี่ กจิ กรรมหลัก ด้านสงั คม และด้าน หลากหลาย โดยความ ๑.บ้านนักวทิ ยาศาสตรน์ ้อย สตปิ ัญญา ร่วมมือกบั ผู้ปกครองอยา่ ง ๒.ผลติ สอ่ื สรา้ งสรรค์สำหรับ ใกล้ชดิ เด็กปฐมวยั ๓.จดั ประสบการณ์แบบ STEM คมู่ อื การดำเนนิ งานการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑

๓๕ ความสมั พันธ์ระหว่างวัตถุประสงคเ์ ชงิ กลยุทธ์ ตัวช้ีวดั ค่าเป้าหมาย กลยุทธร์ ิเริ่มและโครงการ ผลสำเร็จจะบรรลผุ ลหรือไม่ ผลจากการวัดผล ควรอยู่ นั้นจะวัดผลจากสิง่ ใด ในระดบั ใดถือว่าสำเรจ็ วตั ถุประสงคเ์ ชงิ กลยุทธ์ ตัวชว้ี ดั คา่ เปา้ หมาย กลยทุ ธร์ ิเริ่ม โครงการ/กจิ กรรม โครงการพฒั นาการ เดก็ ปฐมวยั มีพฒั นาการ รอ้ ยละของนักเรียน ร้อยละ ๙๔.๐๐ พฒั นาเดก็ ปฐมวัย จัดประสบการณ์ เด็กปฐมวัย ดา้ นร่างกาย ด้าน ระดบั ก่อน ให้มพี ันการสมวัย กิจกรรม -บ้าน อารมณ์และจิตใจ ด้าน ประถมศึกษามี รอบด้าน ด้วยการ นกั วิทยาศาสตร์ น้อย สงั คม และด้าน พัฒนาการผา่ น จดั ประสบการณ์ที่ - BBL - STEM สตปิ ญั ญา เกณฑ์ในระดบั ดขี น้ึ หลากหลาย โดย ความร่วมมอื กับ ผู้ปกครองอย่าง ใกลช้ ิด ผลสำเรจ็ ทต่ี ้องการบรรลุคือส่ิงใด ทำอยา่ งไรใหบ้ รรลเุ ป้าหมายความสำเร็จ แผนภาพท่ี ๑๐ ความสมั พันธร์ ะหว่างวัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธ์ ตวั ชี้วัด ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์รเิ ร่มิ และโครงการ ขั้นที่ ๖ จัดทำแผนพัฒนาการจัดการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา การจดั ทำแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี (Action Plan) กระบวนการวางแผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาโดยใช้กระบวนการวางแผนกยุทธ์ในกระบวนการ ที่ ๒ เป็นการนำกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ในกระบวนการนี้ต้องอาศัยแผนปฏิบัติการประจำปีเป็นเครื่องมือสำหรับใช้เป็นแนวทาง ปฏิบัติสำหรับส่วนต่างๆ ให้เป็นไปอย่างสอดประสานกันทั้งในแง่ทิศทางและจังหวะเวลา โดยสรุปแผนปฏิบัติการประจำปี เป็นแผนที่ทำขึ้นสำหรับใช้ ในการบริหารหน่วยงานให้เกิดความสำเร็จและมีประสิทธิภาพ ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย ตามทห่ี น่วยงานกำหนด มรี ะบบการทำงานที่ชดั เจนและเปน็ ขนั้ ตอน มีการใช้งบประมาณอย่างคมุ้ ค่าและมกี ารตรวจสอบผล การทำงาน วตั ถุประสงค์ของการจดั ทำแผนปฏิบัตกิ ารประจำปี 1. เพื่อกำหนดแนวทางในการปฏิบัติงานตามโครงการ/กิจกรรมใหบ้ รรลตุ ามเปา้ หมายของโครงการ 2. เพือ่ ระบุรายการใชจ้ า่ ยงบประมาณสำหรบั การพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา 3. เพื่อจดั ลำดับความสำคัญของการดำเนินโครงการ/กิจกรรมการพัฒนาคณุ ภาพของสถานศึกษา 4. เพื่อกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา คู่มอื การดำเนนิ งานการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑

๓๖ ประโยชนท์ ไ่ี ด้รับจากแผนปฏิบัติการประจำปี ๑. สถานศึกษามีทิศทางและแนวทางในการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาในแต่ละปีงบประมาณ ที่ สอดคล้องกับงบประมาณท่ีไดร้ บั จัดสรรในแตล่ ะปีงบประมาณ ๒. ผู้บริหารสถานศึกษา ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาและผู้เก่ียวข้องใช้เป็นเครื่องมือในการควบคุม กำกับตดิ ตามในการใช้งบประมาณใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ล ๓. สถานศึกษามีเครื่องมือสำคัญในการบริหารจัดการระบบคุณภาพตามแนวทางการพัฒนาระบบการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษา ขัน้ ตอนการจดั ทำแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี ในการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศกึ ษา มีขัน้ ตอนการจัดทำ ตามแผนภาพ ดงั นี้ ขน้ั ที่ ๑ วเิ คราะหแ์ ผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาระยะ ๓-๕ ปี ขน้ั ท่ี ๒ ประมาณการงบประมาณรายรับของโรงเรยี น ข้ันที่ ๓ ประมาณการรายจ่ายงบประมาณ ข้ันท่ี ๔ การวเิ คราะหก์ ำหนดโครงการตามแผนกลยุทธ์ ขนั้ ที่ ๕ การจดั ทำรา่ งแผนปฏบิ ตั กิ าร แผนภาพท่ี ๑๑ ขัน้ ตอนการจัดทำแผนปฏบิ ัติการประจำปขี องสถานศึกษา ขนั้ ที่ ๑ วิเคราะห์แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาระยะ ๓-๕ ปี ในขนั้ นีเ้ ป็นการวิเคราะห์เพ่ือยืนยันทิศทางการจดั การศึกษา (วิสยั ทศั น์ พนั ธกิจ เปา้ ประสงค์) วัตถุประสงค์ ตัวชีว้ ัด คา่ เปา้ หมาย ระยะ ๓-๕ ปี เพอ่ื กำหนดทิศทางกรอบกลยทุ ธก์ ารพัฒนาประจำปี ตัวอยา่ งการกำหนดกรอบกลยุทธป์ ระจำปี ประเด็นกลยุทธท์ ่ี ๑ พัฒนาศักยภาพผเู้ รยี นสู่วถิ ใี นศตวรรษท่ี ๒๑ วตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธ์ ตวั ชีว้ ัด ข้อมูลฐาน คา่ เปา้ หมาย กลยทุ ธ์รเิ ร่ิม ปี ๒๕๖... ปี ๒๕๖... ๑. นักเรยี นมคี วามรู้ รอ้ ยละคะแนน ๔๗.๕๐ ๕๐.๕๐ ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ ความสามารถตามหลักสตู ร เฉลยี่ ผลการ ทางการเรียนโดย ทดสอบทาง เนน้ การสอนให้ คมู่ ือการดำเนินงานการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑

๓๗ วตั ถปุ ระสงคเ์ ชิงกลยทุ ธ์ ตัวชี้วัด ขอ้ มูลฐาน คา่ เปา้ หมาย กลยุทธร์ ิเริม่ ปี ๒๕๖... ปี ๒๕๖... และผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน การศกึ ษา นักเรยี นปฏิบตั ิจรงิ เพม่ิ สูงขน้ึ ระดบั ชาติข้ัน และใช้เทคโนโลยี พน้ื ฐาน (O-NET) เพ่ิมประสิทธภิ าพ นักเรียนชนั้ ป.๖ การเรียนการสอน ๒......................................... ............................................ ขน้ั ที่ ๒ ประมาณการงบประมาณรายรบั ของโรงเรียน การประมาณการรายรบั เป็นการดำเนนิ การเพื่อทราบวงเงินทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั และเพ่ือใช้เปน็ กรอบในการกำหนด วงเงินรายจา่ ยทีจ่ ะเกดิ ขึ้นในปีงบประมาณน้ันๆ ใหใ้ กลเ้ คียงกับวงเงนิ ท่ปี ระมาณการไว้ หรือไมเ่ กินท่ีคาดไว้มากเกินไป ประกอบดว้ ย รายรับของโรงเรียน งบประมาณแผ่นดิน เงินนอกงบประมาณ - งบบุคลากร (เงินเดือน เงนิ ประจำตำแหนง่ - รายได้สถานศึกษา และค่าจ้าง) - เงนิ บรจิ าค - งบดำเนนิ การ (คา่ ตอบแทน , ใชส้ อยวสั ดุ , - อน่ื ๆ สาธารณปู โภค) - งบลงทนุ (คา่ ครภุ ัณฑท์ ่ีดนิ และส่ิงก่อนสร้าง) - งบอดุ หนนุ (คา่ หนังสือเรยี น/คา่ เครื่องแบบ นักเรยี น/ค่าอุปกรณ์การเรยี น/ค่ากจิ กรรม พฒั นาผ้เู รยี น/ค่าจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน/ ปจั จยั พนื้ ฐาน) คมู่ อื การดำเนนิ งานการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑

๓๘ ตวั อยา่ งแบบฟอร์มประมาณการรายรบั สถานศึกษา ประเภทรายรับ ประมาณรายรับปีการศกึ ษา............ ๑ ต.ค. ............ ๑ เม.ย............. รวม ๓๑ ม.ี ค............ ๓๐ ก.ย............ ๑. เงนิ งบประมาณ ๑.๑ บคุ ลากร - เงนิ เดือน - ค่าจ้างประจำ - คา่ จ้างชว่ั คราว - เงินเพ่ิมจา่ ยควบเงินเดอื น ๑.๒ งบดำเนินงาน - ค่าสาธารณปู โภค - คา่ ตอบแทน - คา่ ใช้สอย - คา่ วัสดุ ๑.๓ งบเงนิ อดุ หนนุ - ค่าจดั การเรียนการสอน - ค่าหนงั สือเรยี น - ค่าเครื่องแบบนักเรียน - ค่ากิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น - คา่ อปุ กรณก์ ารเรยี น ๒. เงินนอกงบประมาณ ๒.๑ เงินรายไดส้ ถานศึกษา ๒.๒ เงนิ บริจาค ๒.๓ เงินสนบั สนุนจาก อปท. ๒.๔ อน่ื ๆ รวม คู่มอื การดำเนนิ งานการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑

๓๙ ข้นั ที่ ๓ ประมาณการรายจา่ ยงบประมาณ การประมาณการรายจ่ายของโรงเรียนเป็นการวเิ คราะหร์ ายจา่ ยท่ีเกิดขนึ้ ในการพฒั นาโรงเรียน ซึง่ รายจา่ ยของ สถานศึกษาแบ่งออกเปน็ ๓ กลมุ่ ได้แก่ งานประจำตามโครงสรา้ ง โครงการตามกลยุทธ์และงบกลางสำรองจ่าย รายจา่ ยของสถานศกึ ษา งานประจำตามโครงสรา้ ง โครงการตามแผนกลยุทธ์ งบกลางสำรองจา่ ย กลมุ่ วิชาการ กลยทุ ธท์ ่.ี .......................... สำรองจา่ ยกรณีมีงาน/ กลุ่มบริหารท่ัวไป กลยทุ ธท์ .ี่ .......................... กจิ กรรมเกดิ ขน้ึ ระหว่างปี กล่มุ บรหิ ารงบประมาณ กลยทุ ธท์ .่ี .......................... กลุ่มบริหารบคุ คล กลยทุ ธ์ที่........................... ตัวอยา่ งประมาณการงบประจำตามโครงสร้าง กล่มุ วิชาการ เปา้ หมาย งบประมาณ ประเภท ผู้รับผิดชอบ งาน/กิจกรรม งบประมาณ นาย.................. ๑. กลุ่มงานจัดการ นักเรยี น ป. ๑-๖ ๑๐,๐๐๐ งบดำเนนิ งาน เรียนการสอน ๑๐๐ คน กิจกรรม - จัดสรรงบจัดหาวัสดุ สอ่ื สอน สอบ ประจำ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ กลมุ่ บริหารท่วั ไป เป้าหมาย งบประมาณ ผรู้ บั ผิดชอบ งาน/กิจกรรม บริหารงานธรุ การสำนักงาน ๑๒ เดือน ๔,๐๐๐ นาย.................. ๑. งานธรุ การสำนักงาน กจิ กรรม - จดั ซอ้ื วสั ดสุ ำนักงาน คู่มอื การดำเนินงานการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑

๔๐ ข้ันที่ ๔ การวิเคราะหก์ ำหนดโครงการตามแผนกลยุทธ์ ในขน้ั ตอนการวเิ คราะห์โครงการบรรจใุ นแผนปฏิบตั ิการประจำปีเปน็ การคดั เลอื กโครงการเพ่ือบรรจใุ นแผนปฏิบัติ การประจำปี มีกระบวนการในการคดั เลือกโครงการ ดังนี้ ๑) วิเคราะห์คัดเลือกโครงการท่กี ำหนดไว้ในแผนพฒั นาการจดั การศกึ ษา ระยะ ๓ - ๕ ปี ๒) จดั ทำรายละเอยี ดโครงการตามรูปแบบฟอรม์ โครงการ ๓) ประเมนิ ความสมบรู ณโ์ ครงการบรรจุในแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี ขน้ั ท่ี ๕ การจัดทำรา่ งแผนปฏบิ ตั กิ าร นำขอ้ มูลจากการวิเคราะห์ข้ันตอนท่ี ๑ – ๔ มาสงั เคราะหล์ งในเอกสารแผนปฏบิ ัติการประจำปีของสถานศึกษา ซ่งึ มีเค้าโครงแผนปฏบิ ตั ิการ ดงั นี้ ๓. การดำเนินงานตามแผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา การพฒั นาสถานศึกษาใหบ้ รรลุตามมาตรฐานการศึกษาท่ีกำหนดนั้น สถานศึกษาต้องมีระบบกลไกการบรหิ ารและ จดั การทีเ่ หมาะสมกบั บริบทของแตล่ ะสถานศึกษา ไม่เป็นภาระกบั ครูหรอื ผู้เกีย่ วข้องมากเกินไป สถานศึกษาต้องดำเนินงาน ตามแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาและแผนปฏิบัติการประจำปี มีการกำกบั ติดตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ าน ของแผนงาน โครงการ กจิ กรรมต่างๆ เปน็ ไปตามระยะเวลาท่ีกำหนด บรรลเุ ปา้ หมายระดบั ใด โดยสามารถใช้แนวคดิ ทฤษฎีหรอื ผลงานวจิ ัยทเ่ี นน้ ความร่วมมือของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เชน่ การบรหิ ารเชงิ ระบบ (System Approach) การใช้ วงจรการพัฒนา คุณภาพ (PDCA) การบรหิ ารโดยใชโ้ รงเรียนเป็นฐาน (School Based Management) การบรหิ ารแบบม่งุ สัมฤทธิ์ (Total Quality Management) การบรหิ ารจดั การดว้ ยระบบคณุ ภาพ (Quality System Management) การใช้ หว่ งโซค่ ณุ ภาพ (Chain of quality) เปน็ ต้น หรือสถานศึกษาสามารถสร้างและพัฒนารูปแบบการบริหารและจัดการของ ตนเองก็ได้นอกจากนี้สถานศึกษาควรจดั ระบบอ่นื ๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง เชน่ ระบบพฒั นาวชิ าการ ระบบพัฒนาครแู ละบุคลากร ระบบการจดั การสภาพแวดล้อม ระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศ ระบบการนเิ ทศภายใน ระบบการดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น เป็นตน้ ซึ่งเป้าหมายสำคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา คือ วฒั นธรรมคณุ ภาพทเ่ี กิดขึ้น ใน สถานศึกษา ๔. การประเมนิ ผลและตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา การประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา เป็นระบบและกลไกในการควบคมุ ตรวจสอบ และประเมินผลการดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาท่ีดำเนนิ งานอย่างเป็นระบบและตอ่ เนื่อง ถือว่าเป็น ส่วนหนึ่งของการบริหารจัดการ กระทำโดยบุคลากรในหน่วยงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง สถานศึกษาต้องให้ความสำคัญกับการ ประเมินเชิงคุณภาพที่สะท้อนจุดเด่นและจุดควรพัฒนาที่เกิดขึ้นจากการการดำเนินงาน ผสมผสานกับการประเมินเชิง ปริมาณควบค่กู นั ไป สถานศกึ ษาตอ้ งกำหนดหรือมอบหมาย ผรู้ บั ผดิ ชอบในการประเมนิ ผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษา การปฏิบตั ิงานของครูและบคุ ลากรในสถานศึกษาตามบทบาทและหนา้ ท่ีท่ีได้รับมอบหมาย และระดับสถานศกึ ษาให้ชัดเจน วเิ คราะหม์ าตรฐานและเป้าหมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาที่ประกาศใช้กำหนดวธิ ีการเก็บรวบรวมข้อมูลและ เคร่ืองมอื ทห่ี ลากหลายและเหมาะสม ดำเนินการประเมินผลและตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาอย่างน้อย คมู่ ือการดำเนนิ งานการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑

๔๑ ภาคเรียนละ ๑ ครั้ง พร้อมทั้งสรุปรายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาเพื่อนำผลการประเมินคุณภาพ ภายในไปจดั ทำรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาตอ่ ไป หลกั การและวิธกี ารประเมนิ คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา (Internal Quality Assessment) เป็นขั้นตอนของการประกัน คุณภาพภายในระดบั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐานตามกฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ซ่งึ ควรดำเนินการ อย่างต่อเนื่องเพราะเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารจัดการ เนื่องจากเป็นระบบและกลไกในการควบคุม ตรวจสอบและ ประเมินผลการดำเนินงานของสถานศึกษาให้เป็นไปตามนโยบายที่กำหนดโดยสถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัด โดยผล การประเมินสามารถทำให้สถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด ผู้ที่เกี่ยวข้องและสาธารณชนรบั ทราบว่าสถานศึกษาสามารถจัด การศึกษาได้บรรลุตามเป้าหมายหรือมาตรฐานการศึกษาตามที่สถานศึกษาแต่ละแห่งกำหนดไว้หรือไม่ นอกจากนี้ สถานศึกษาสามารถใช้ข้อมูลผลการประเมินเพ่ือแก้ไขข้อบกพร่องในการดำเนินงานได้ทันกับความต้องการและปรับปรุง พัฒนาการดำเนินงานของตนเองให้บรรลุเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา อีกทั้งรายงานผลการประเมิน ตนเองของสถานศกึ ษายงั เปน็ สารสนเทศสำคัญในการสนับสนนุ การประเมนิ คณุ ภาพภายนอกต่อไป การประเมนิ คณุ ภาพภายในของสถานศึกษาควรดำเนินการอยา่ งน้อยปีละ ๑ ครงั้ โดยสามารถกำหนดระยะเวลาใน การประเมินได้ตามความเหมาะสม แต่ต้องสอดคล้องกับสภาพและบริบทของการดำเนินงานของสถานศึกษาของตนเพ่ือ ความสะดวกในการเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ผลโดยการประเมินคุณภาพภายใน ของสถานศึกษาเป็นหน้าที่ของ บุคลากรทุกคนในสถานศึกษาและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู ผู้เรียน ผู้ ปกครอง คณะกรรมการ สถานศึกษา ชุมชน เขตพื้นที่การศึกษา หรือหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดเป้าหมาย วางแผน ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของสถานศึกษา พัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการจัดการศึกษาเพื่อให้ผู้เรียนได้รับ การศึกษาทดี่ มี ีคุณภาพเปน็ ไปตามความต้องการของผปู้ กครอง ชุมชนและผมู้ ีสว่ นเกี่ยวขอ้ งตลอดจนสงั คมและประเทศชาติ การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาเป็นการประเมินตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ที่แต่ละ สถานศึกษากำหนดขึ้น โดยมีความสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ประกาศโดยสำนักงานคณะกร รมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ดังนั้นผู้มีส่วนร่วมในการประเมินต้องศึกษาประเด็นพิจารณาที่กำหนดไว้ใน มาตรฐานของสถานศึกษาและระดับคุณภาพให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ก่อนดำเนินการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา และควรมีความรูล้ ึกและเข้าใจบริบทของการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา ทั้งในแง่มุมของภาระงานโครงสร้างเทคนิคต่างๆ ที่ใช้ในการบริหารการพัฒนาการจัดการเรียนรู้และมีประสบการณ์เพียงพอและความรู้เกี่ยวกับความเคลื่อนไหวของการ พัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยเฉพาะอย่างย่ิงในเรือ่ งการพัฒนาการเรียนการสอนเพ่ือการช่วยเสนอแนะการปรับปรุงพัฒนา สถานศึกษาได้อยา่ งชัดเจนและตรงกับความต้องการของสถานศึกษาเพ่ือให้เกิดประโยชนต์ ่อสถานศึกษาอยา่ งแท้จริง การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาเน้นการประเมินตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence Based Assessment) ท่ีเกิดจากการปฏบิ ัติงานตามสภาพจริงของสถานศึกษา เป็นการประเมินจากสภาพจริงไมส่ ร้างเคร่ืองมือเพ่ือ การประเมินเพิ่มเติมหรือสร้างเอกสารเพิ่มเติมนอกเหนือจากการร่องรอยที่เกิดจากการทำงานปกติของสถานศึกษา ข้อมูล หลักฐานตา่ งๆ เกดิ จากวิธกี ารเกบ็ รวบรวมข้อมลู ที่เหมาะสม เปน็ ผลงานอนั เกดิ จากการเรียนร้ตู ามปกติของนักเรียน รวมทั้ง ผลงานที่เกิดขึ้นจากการออกแบบการจัดการเรียนรู้ของครูผูส้ อนในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูเ้ พือ่ พัฒนาผู้เรียน การบริหาร จดั การศกึ ษาท่ีมีคุณภาพเชิงประจักษ์ที่สถานศึกษาดำเนนิ การอยู่แล้ว เพ่อื แสดงข้อมูลและได้ผลประเมินท่ีสะท้อนคุณภาพท่ี แท้จริงของสถานศึกษาจากการดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาได้อย่างถูกต้อง น่าเชื่อถือ ชัดเจนและ คมู่ ือการดำเนนิ งานการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา สำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑

๔๒ ครบถ้วน สามารถตรวจสอบผลการประเมินได้ตามสภาพบริบทของสถานศึกษานั้นๆ ทั้งนี้การประเมินคุณภาพภายในของ สถานศึกษาและการตัดสินระดับคุณภาพตามมาตรฐานเป็นไปตามหลักการตัดสินโดยอาศัยความเชี่ยวชาญ ( Expert Judgment) และมีการตรวจทานผลการประเมนิ โดยคณะกรรมการประเมนิ ในระดับเดียวกัน (Peer Review) โดยเทียบกับ เกณฑ์หรือมาตรฐานที่กำหนดไว้ ดังนั้นคณะทำงานที่รับผิดชอบในการประเมินต้องมีความรู้อย่างรอบด้านและสามารถ วเิ คราะหข์ อ้ มูลรว่ มกนั ในการตดั สนิ เพอื่ ให้ระดับคุณภาพตามเกณฑ์ที่กำหนดซ่ึงจะไม่ใช่การให้คะแนนตามความคิดเห็นของ คนใดคนหน่ึง มกี ารให้ข้อมูลแบบตรงไปตรงมา จริงใจ ปราศจากอคติและคณะกรรมการประเมินภายในต้องม่ันใจว่าตนเอง ในฐานะผู้ประเมินมีความสามารถในการประเมินจริงและที่สำคัญคือต้องมีความเข้าใจบริบทของสถานศึกษาเพื่อจ ะได้ให้ คำแนะนำท่เี หมาะสม นำไปปฏิบัติให้เกิดผลดตี ่อการพัฒนาคุณภาพภายในสถานศึกษานัน้ ๆ ได้ ท้งั นี้ต้องให้ความสำคัญกับ การรับฟงั ความคิดเหน็ ของผถู้ ูกประเมนิ ดว้ ย หลงั จากดำเนินการเก็บรวบรวมและวเิ คราะห์ข้อมลู สารสนเทศเปน็ ผลการประเมินในแตล่ ะมาตรฐานการศึกษาและ ประเด็นพิจารณาแล้วจึงเขียนรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาที่แสดงข้อเท็จจริงอย่างถูกต้องครบถ้วน มี เนื้อหาสาระและหลักฐานที่แสดงเหตุผลที่มาของการให้ระดับคุณภาพอยา่ งถูกต้อง ละเอียด ถี่ถ้วน โดยรูปแบบรายงาน ประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report) ควรมีการเรียบเรียงเนื้อหาให้อ่านง่าย ให้เป็นลำดับ กำหนด หัวขอ้ เร่อื งไมซ่ ้ำซ้อน แบ่งเปน็ ๒ ส่วน คอื สว่ นที่ ๑ บทสรุปสำหรับผู้บรหิ าร และส่วนที่ ๒ ขอ้ มูลการประเมนิ ตนเอง ซึ่งใน ส่วนที่ ๒ จะนำเสนอข้อมูลพื้นฐานทั่วไป และตอบคำถาม ๓ ข้อคือ ข้อ ๑ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษามีระดับ คณุ ภาพใด ขอ้ ๒ ขอ้ มูล หลักฐานและเอกสารเชิงประจักษส์ นบั สนนุ มีอะไรบ้าง และข้อ ๓ แผนงานแนวทางพัฒนาคุณภาพ ให้ดีขึ้นกว่าเดิม แล้วจึงนำเสนอรายงานให้ คณะกรรมการสถานศึกษาพิจารณาให้ความเห็นชอบหลังจากเขียนรายงาน ประเมินตนเองเสร็จสมบูรณ์แล้ว ทั้งนี้สถานศกึ ษาจะต้องรายงานและเผยแพร่ผลการประเมนิ ตนเองต่อผู้เก่ียวข้อง ได้แก่ ครู ผู้ปกครอง นักเรียน หน่วยงานต้นสังกัด ชุมชน และหน่วยงานอืน่ ที่เกีย่ วขอ้ ง ซึ่งสถานศกึ ษาสามารถดำเนินการเผยแพร่ ผลการประเมินตนเองแก่ผู้เกี่ยวข้องได้ตามความเหมาะสม เช่น เว็บไซต์ จุลสาร วารสาร แผ่นพับ เสียงตามสาย หนงั สือเวียน และการชแี้ จงในการประชมุ เป็นตน้ และกระบวนการท่ีสำคัญอีกกระบวนการหน่ึงคือการใช้ประโยชน์จากผล การประเมินโดยหน่วยงานต้นสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษาและผู้เกี่ยวข้องจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องใช้ ข้อมลู สารสนเทศผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาเพ่ือการตัดสินใจในการกำหนดนโยบายวางแผนและดำเนินการ พฒั นาคุณภาพของสถานศกึ ษาให้เปน็ ไปตามมาตรฐานการศกึ ษาตอ่ ไป ในการแตง่ ตั้งคณะทำงานเพ่ือดำเนินการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษาน้ัน สถานศึกษาต้องดำเนินการแต่งตั้ง คณะกรรมการประเมนิ ประกอบดว้ ย บุคลากรในสถานศกึ ษาและหรอื อาจมบี คุ คลอ่นื ท่เี กยี่ วข้อง ได้แก่ ผบู้ ริหารสถานศึกษา ครูผู้สอนในสถานศึกษานั้น คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครองของนักเรียน ผู้บริหารสถานศึกษาและครูจาก สถานศึกษาอื่นที่มีบริบทใกล้เคียง โดยคำนึงถึงประโยชน์ที่จะได้รับจากการประเมินให้ได้มากที่สุด มีการกำหนดแผนการ ประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา เช่น ประเภทข้อมูลที่ต้องการเก็บรวบรวมในแต่ละมาตรฐาน/ประเด็นการพิจารณา วิธีการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล ผู้รับผิดชอบในการเก็บข้อมูล กำหนดระยะเวลาในการเก็บข้อมูลและแผนการ เผยแพร่ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาและแผนการติดตามการใชผ้ ลการประเมินตนเองเพื่อการส่งเสริมจุดแข็งและ พัฒนาส่วนที่ยังไมบ่ รรลุ เป้าหมายที่กำหนดไว้ ๕. การติดตามผลการดำเนินการของสถานศึกษา คมู่ อื การดำเนนิ งานการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑

๔๓ เป็นการติดตามผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงประจักษ์ไปใช้ปรับปรุงหรือพัฒนาการดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ประเด็นที่ สถานศึกษาติดตามผล ได้แก่ กระบวนการบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษา เช่น การพัฒนาหลักสูตรของ สถานศึกษา กระบวนการจัดการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การพัฒนา บุคลากร กระบวนการบริหารและจัดการ การจัดสภาพแวดล้อมและแหล่งเรียนรู้ เป็นต้น และการดำเนินงานตาม แผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษาว่าดำเนินงานได้บรรลุตามเป้าหมาย ตัวชี้วัดความสำเร็จที่กำหนดหรือไม่ อย่างไร สถานศึกษาสามารถติดตามผลระหว่างและเมื่อเสร็จสิ้นการดำเนินงานก็ได้ สถานศึกษาควรกำหนดผู้รับผิดชอบในการ ติดตามผล กำหนดปฏทิ ินปฏิบัติงาน ติดตามผล วิเคราะหแ์ ละกำหนดกรอบพร้อมกบั สรา้ งเครื่องมือติดตามผล จัดทำระบบ ขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานผลการติดตามอยา่ งน้อยภาคเรยี นละ ๑ ครง้ั ๖.การจัดทำรายงานผลการประเมนิ ตนเองใหแ้ ก่หน่วยงานตน้ สังกัด การจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเปน็ ภารกิจตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๖๑ ที่สถานศึกษาต้องดำเนินการหลังจากจัดการศึกษาผ่านไปแต่ละปีการศึกษา เพื่อสะท้อนภาพความสำเร็จของ การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาในรอบปีการศึ กษาที่ผ่านมาภายใต้บริบทของ สถานศกึ ษานั้นเป็นผลของการประเมนิ คุณภาพการศึกษาภายในของสถานศึกษา ครแู ละบคุ ลากรทุกคนในสถานศึกษาต้อง มีส่วนร่วมในการประเมินและให้ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับผลการดำเนินงานของตนเอง ซึ่งจะต้องมีการประเมินเป็นระยะ อยา่ งสมำ่ เสมอและใช้ผลการประเมนิ ระหวา่ งปปี รบั ปรุงการทำงานตลอดเวลา ในการประเมนิ ผลการดำเนนิ งานแต่ละระยะ ให้บันทึกข้อมูลพร้อมจัดทำและเก็บรวบรวมสารสนเทศและเอกสารร่องรอยหลักฐานอย่างเป็นระบบไว้ เพื่อนำไปสู่การ จดั ทำรายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาท่ีมีคณุ ภาพต่อไป สถานศึกษาแต่ละแหง่ ต้องจดั ทำรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาทุกปีการศึกษา เพ่ือรายงานผลการ ดำเนินงานในปีที่ผ่านมาให้บุคลากรในสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น นักเรียน ผู้ปกครองและ สาธารณชนรับทราบว่าสถานศึกษาได้บริหารจัดการสถานศึกษาและจัดการเรียนรู้ได้บรร ลุเป้าหมายที่สถานศึกษาได้วางไว้ และเป็นไปตามที่มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สถานศึกษากำหนดมากน้อยเพียงใดพร้อมทั้งเป็นการนำเสนอแนว ทางการพัฒนาตนเองของสถานศึกษาในจุดทีต่ ้องได้รับการพัฒนา เพื่อเป็นการกำหนดทิศทางการดำเนนิ งานของตนเองใน อนาคต อีกทั้งหน่วยงานต้นสังกัดสามารถใช้ผลการประเมินจากรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาในการ ตดั สินใจกำหนดนโยบายต่างๆ เพ่อื ส่งเสริมคุณภาพของสถานศกึ ษาในสังกัดต่อไป หลกั การและวิธกี ารประเมนิ คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา ( Internal Quality Assessment) เป็นขั้นตอนของการประกัน คุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ซึ่งควรดำเนินการ อย่างต่อเนื่องเพราะเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารจัดการ เนื่องจากเป็นระบบและกลไกในการควบคุม ตรวจสอบ และ ประเมินผลการดำเนินงานของสถานศึกษาให้เป็นไปตามนโยบายที่กำหนดโดยสถานศึกษาและ/หรือหน่วยงานต้นสังกัด โดยผลการประเมินสามารถทำใหส้ ถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด ผู้ที่เกี่ยวข้องและสาธารณชนรับทราบวา่ สถานศึกษาจัด การศึกษาได้บรรลุตามเป้าหมายหรือมาตรฐานการศึกษาตามที่สถานศึกษาแต่ละแห่งกำหนดไว้หรือไม่ นอกจากนี้ ค่มู ือการดำเนนิ งานการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา สำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑

๔๔ สถานศึกษาสามารถใช้ข้อมูลผลการประเมินเพื่อแก้ไขข้อบกพร้องในการดำเนินงานได้ทันกับความต้องการ และป รับปรุง พัฒนาการดำเนินงานของตนเองใหบ้ รรลุเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา อีกทั้ง รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษายังเป็นสารสนเทศสำคญั ในการสนับสนุนการประเมินคุณภาพภายนอกต่อไป การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาควรดำเนินการอย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง โดยสามารถกำหนดระยะเวลา ในการประเมินได้ตามความเหมาะสมแตต่ ้องสอดคล้องกับสภาพและบรบิ ทของการดำเนนิ งานของสถานศึกษาของตน เพื่อ ความสะดวกในการเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ผล โดยการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาเป็นหน้าที่ของ บุคลากรทุกคนในสถานศึกษาและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู ผู้เรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการ สถานศึกษา ชุมชน เขตพื้นที่การศึกษา หรือหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดเป้าหมาย วางแผน ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของสถานศึกษา พัฒนาและปรับปรุงคุณภาพ การจัดการศึกษาเพื่อให้ผู้เรียนได้รบั การศึกษาที่ดีมีคุณภาพเป็นไปตามความต้องการของผู้ปกครอง ชุมชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ตลอดจนสังคมและ ประเทศชาติ การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาเป็นการประเมินตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่แต่ละ สถานศึกษากำหนดขึ้น โดยมีความสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ประกาศโดยสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ดังนั้นผู้มีส่วนร่วมในการประเมินต้องศึกษาประเด็นพิจารณาที่กำหนดไว้ใน มาตรฐานของสถานศึกษา และระดับคุณภาพให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ก่อนดำเนินการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา และควรมคี วามรลู้ กึ และเข้าใจบริบทของการจัดการศึกษาของสถานศึกษาทง้ั ในแง่มมุ ของภาระงาน โครงสร้างเทคนิคต่างๆ ทใี่ ช้ในการบริหาร การพัฒนาการจดั การเรยี นรู้ และมีประสบการณเ์ พยี งพอ และความรเู้ กย่ี วกบั ความเคล่ือนไหวของการ พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงในเรอ่ื งการพฒั นาการเรยี นการสอนเพื่อการช่วยเสนอแนะการปรับปรุงพัฒนา สถานศกึ ษาไดอ้ ย่างชดั เจนและตรงกับความต้องการของสถานศึกษาเพ่ือใหเ้ กิดประโยชน์ตอ่ สถานศกึ ษาอย่างแท้จริง การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาเน้นการประเมินตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence Based Assessment) ที่เกิดจากการปฏบิ ัติงานตามสภาพจรงิ ของสถานศึกษา เปน็ การประเมินจากสภาพจรงิ ไม่สรา้ งเครอ่ื งมือท่ี ประเมินเพิ่มเติม หรือสร้างเอกสารเพิ่มเติมนอกเหนือจากร่องรอยที่เกิดจากการทำงานปกติของสถานศึกษา ข้อมูล หลักฐานต่างๆ เกิดจากวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เหมาะสม เป็นผลงานอันเกิดจากการเรียนรู้ตามปกติของนักเรียน รวมทัง้ ผลงานที่เกิดขน้ึ จากการออกแบบการจัดการเรยี นรู้ของครผู สู้ อนในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้เพ่ือพฒั นาผู้เรียน การ บริหารจัดการศึกษาที่มีคุณภาพเชิงประจักษ์ที่สถานศึกษาดำเนินการอยู่แล้ว เพื่อแสดงข้อมูลและได้ผลประเมินที่สะท้อน คุณภาพที่แท้จริงของสถานศึกษาจากการดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาได้อย่างถูกต้อง น่าเชื่อถือ ชัดเจนและครบถ้วน สามารถตรวจสอบผลการประเมินได้ตามสภาพบริบทของสถานศึกษานน้ั ๆ ทง้ั นกี้ ารประเมินคุณภาพ ภายในของสถานศึกษาและการตัดสินระดับคุณภาพตามมาตรฐานเป็นไปตามหลักการตัดสินโดยอาศัยความเชี่ยวชาญ (Expert Judgment) และมีการตรวจทานผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินในระดับเดียวกัน (Peer Review) โดยเทียบกับเกณฑ์หรือมาตรฐานที่กำหนดไว้ ดังนั้นคณะทำงานที่รับผิดชอบในการประเมินต้องมีความรู้อย่างรอบด้าน และสามารถวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกันในการตัดสิน เพื่อให้ระดับคุณภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด ซึ่งจะไม่ใช่การให้คะแนนตาม ความคิดเห็นของคนใดคนหนึ่ง มีการให้ข้อมูลแบบตรงไปตรงมา จริงใจ ปราศจากอคติ และคณะ กรรมการประเมิน ภายในต้องมั่นใจว่าตนเองในฐานะผู้ประเมินมีความสามารถในการประเมินจริง ที่สำคัญคือต้องมีความเข้าใจบริบทของ ค่มู ือการดำเนนิ งานการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook