Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาสุขศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาสุขศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาสุขศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

Search

Read the Text Version

การออกแบบแผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชา สขุ ศกึ ษา รหัสวิชา พ 16101 ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 เวลาท้งั หมด 40 ชว่ั โมง จัดทาโดย นางสาวทัศนา สงั ฆสนั ตคิ ีรี ตาแหน่ง พนกั งานราชการ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 ตาบลชา่ งเค่งิ อาเภอแมแ่ จม่ จงั หวดั เชียงใหม่ สานกั บริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ สานกั งานการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คานา การจดั ทาแผนสาระการเรียนรู้สขุ ศกึ ษาและพลศึกษานี้ ได้จดั ทาขึ้นเพอ่ื เปน็ คมู่ ือในการจัดกิจกรรม เตรียมการเรียนการสอน บันทึกการสอน การวัดและประเมินผล และเปน็ คู่มอื ในการจดั กจิ กรรมการเรียน การสอน ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาของชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 แผนสาระการเรียนรู้ เล่มนี้ ได้จัดทาสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นชุดกิจกรรมที่เน้น นักเรยี นเป็นจดุ ศูนย์กลาง ท่ีครูจะเปน็ ผู้เตรยี มสภาพแวดลอ้ มที่เอ้อื ต่อการเรียนรู้ โดยมงุ่ หลังให้ผ้เู รียนไดร้ ับ ความรู้จากเน้อื หาทีเ่ ปน็ ความรพู้ ้ืนฐาน ทฤษฎี หรือเทคนิคต่างๆ ส่วนผู้เรยี นจะเปน็ ผลู้ งมือปฏิบัติเพอ่ื ฝึกฝน ทักษะความสามารถ โดยใชป้ ระโยชน์จากการเรียนรูท้ างทฤษฎมี าประยุกตใ์ ช้ในการปฏิบัติ และสามารถนา ความรู้และทักษะท่ไี ดจ้ ากการเรยี นรู้ไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจาวนั เนอื้ หาโดยรวมของชดุ กจิ กรรมสุขศึกษา และพลศกึ ษาจะแบ่งการพัฒนาออกเป็น 5 กลุ่ม คือ พฒั นาเจตคตทิ ่ีดีตอ่ สุขศึกษาและพลศึกษา มุ่งหวังให้ ผู้เรียนเกิดความรู้สึกที่ดีต่อสุขศึกษาและพลศึกษาและต่อการเรียนสุขศึกษาและพลศึกษาเพื่อให้เกิด แรงผลักดันความคิดพัฒนาความรูป้ ระดิษฐส์ ิ่งอานวยความสะดวกเพ่ือให้กับมนุษย์ในอนาคต พัฒนาด้าน ทักษะและกระบวนการทางสุขศึกษาและพลศึกษามุ่งหวังให้นักเรียนเกิดทักษะและรู้ถึงข้ันตอนในการ ทดลอง การจดบันทึก การเปรียบเทียบความเหมาะสมในการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ พัฒนาความรู้พ้ืนฐาน ทางด้านสขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษามุ่งหวังให้นกั เรียนมีความรพู้ น้ื ฐานเกีย่ วกบั งานสขุ ศกึ ษาและพลศึกษาพฒั นา ทางดา้ นทักษะทางสังคม และทักษะทางชีวติ โดยใช้ความรู้ทางสุขศึกษาและพลศกึ ษาในการสรา้ งสรรค์ส่งิ ที่ เป็นประโยชน์ต่อสังคม พัฒนาทางด้านคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมท่ีดีงาม ปลูกฝังให้ผู้เรียนเกิด จติ สานกึ ทีด่ ี มีคุณธรรมและจรยิ ธรรม ขอขอบคุณผู้มีส่วนสนับสนุนในการจัดทา อาทิ ผู้อานวยการโรงเรียน เพ่ือนครูอาจารย์ ใน โรงเรียน ท่ีสนับสนุนและให้กาลังใจ จนทาให้แผนการสอนเล่มนี้เสร็จเรียบร้อยสมบูรณ์ นาไปใช้ให้เกิด ประโยชน์ตอ่ การศกึ ษาต่อไป ลงชอ่ื ……………..…………………….. (นางสาวทัศนา สังฆสันตคิ รี ี) ผู้จดั ทา

ความนา กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ ให้เป็น หลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดยกาหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายและกรอบ ทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตท่ีดีและมีขีดความสามารถในการ แขง่ ขนั ในเวทีระดับโลก (กระทรวงศึกษาธกิ าร, ๒๕๔๔) พรอ้ มกันน้ีไดป้ รับกระบวนการพฒั นาหลกั สูตรให้มี ความสอดคล้องกับเจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ท่ีมุ่งเนน้ การกระจายอานาจทางการศึกษาใหท้ ้องถิ่นและสถานศกึ ษาได้มีบทบาท และมีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตร เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพ และความต้องการของท้องถ่ิน (สานัก นายกรัฐมนตรี, ๒๕๔๒)จากการวิจัย และติดตามประเมินผลการใช้หลักสูตรในช่วงระยะ ๖ ปีที่ผ่านมา (สานักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา, ๒๕๔๖ ก., ๒๕๔๖ ข., ๒๕๔๘ ก., ๒๕๔๘ ข.; สานักงานเลขาธกิ าร สภาการศึกษา, ๒๕๔๗; สานักผู้ตรวจราชการและติดตามประเมินผล, ๒๕๔๘; สุวิมล ว่องวาณิช และนง ลักษณ์ วิรัชชัย, ๒๕๔๗; Nutravong, ๒๐๐๒; Kittisunthorn, ๒๐๐๓) พบว่า หลักสูตรการศึกษาขั้น พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๔ มีจุดดีหลายประการ เชน่ ช่วยสง่ เสริมการกระจายอานาจทางการศกึ ษา ทาให้ท้องถ่ินและสถานศึกษามีส่วนร่วมและมีบทบาทสาคัญในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับความ ต้องการของท้องถ่ิน และมีแนวคิดและหลักการในการส่งเสรมิ การพัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวมอย่างชดั เจน อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษาดังกล่าวยังได้สะท้อนให้เห็นถึงประเด็นท่ีเป็นปัญหาและความไม่ชัดเจนของ หลกั สตู รหลายประการทง้ั ในส่วนของเอกสารหลักสูตร กระบวนการนาหลกั สูตรสูก่ ารปฏิบัติ และผลผลิตท่ี เกิดจากการใช้หลักสูตร ได้แก่ ปัญหาความสับสนของผู้ปฏิบัติในระดับสถานศึกษาในการพัฒนาหลักสูตร สถานศกึ ษา สถานศึกษาสว่ นใหญก่ าหนดสาระและผลการเรียนร้ทู ่ีคาดหวังไว้มาก ทาให้เกดิ ปัญหาหลกั สูตร แน่น การวัดและประเมินผลไม่สะท้อนมาตรฐาน ส่งผลต่อปัญหาการจัดทาเอกสารหลักฐานทางการศึกษา และการเทียบโอนผลการเรียน รวมท้ังปัญหาคุณภาพของผู้เรียนในด้านความรู้ ทักษะ ความสามารถและ คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์อันยังไม่เป็นที่นา่ พอใจนอกจากนั้นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๑๐ ( พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔) ได้ช้ีให้เห็นถึงความจาเป็นในการปรับเปลี่ยนจุดเน้นในการพัฒนาคุณภาพคนใน สังคมไทยให้ มีคณุ ธรรมและมีความรอบรู้อย่างเท่าทัน ให้มคี วามพร้อมท้ังด้านรา่ งกาย สติปัญญา อารมณ์ และศีลธรรม สามารถก้าวทนั การเปล่ยี นแปลงเพ่อื นาไปสู่สงั คมฐานความรู้ได้อย่างมน่ั คง แนวการพัฒนาคน ดงั กล่าวมุ่งเตรียมเด็กและเยาวชนใหม้ พี น้ื ฐานจิตใจ ที่ดีงาม มีจิตสาธารณะ พร้อมท้ังมีสมรรถนะ ทักษะและความรู้พ้ืนฐานที่จาเป็นในการดารงชีวิต อันจะ ส่งผลต่อการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน (สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ๒๕๔๙) ซ่ึงแนวทาง ดังกลา่ วสอดคล้องกบั นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชนของชาติเขา้ สโู่ ลกยคุ ศตวรรษท่ี ๒๑ โดยมงุ่ สง่ เสริมผเู้ รยี นมีคุณธรรม รกั ความเปน็ ไทย ให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ สร้างสรรค์ มีทักษะดา้ น เทคโนโลยี สามารถทางานร่วมกับผอู้ ่ืน และสามารถอยู่ รว่ มกับผู้อื่นในสังคมโลกได้อย่างสันติ (กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๕๑)จากข้อค้นพบในการศึกษาวิจัยและ ติดตามผลการใช้หลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช๒๕๔๔ ท่ีผ่านมา ประกอบกับข้อมูลจาก แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๐ เก่ียวกับแนวทางการพัฒนาคนในสังคมไทย และ

จุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชนสู่ศตวรรษที่ ๒๑ จึงเกิดการทบทวนหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ เพื่อนาไปสู่การพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ท่ีมีความเหมาะสมชัดเจน ท้ังเป้าหมายของหลักสูตรในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน กระบวนการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติในระดับเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษา โดยได้มีการกาหนด วิสยั ทศั น์ จดุ หมาย สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชีว้ ัด ทช่ี ัดเจน เพ่อื ใช้เป็นทิศทางในการจัดทาหลักสูตร การเรียนการสอนในแต่ละระดับ นอกจากนัน้ ไดก้ าหนด โครงสร้างเวลาเรียนข้ันต่าของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ในแต่ละชั้นปีไว้ในหลักสูตรแกนกลาง และเปิด โอกาสให้สถานศึกษาเพ่ิมเติมเวลาเรียนได้ตามความพร้อมและจุดเน้น อีกทั้งได้ปรับกระบวนการวัดและ ประเมนิ ผลผ้เู รียน เกณฑก์ ารจบการศกึ ษาแตล่ ะระดับ และเอกสารแสดงหลกั ฐานทางการศกึ ษาให้มี ความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ และมีความชัดเจนต่อการนาไปปฏิบัติเอกสารหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ น้ี จัดทาข้ึนสาหรบั ท้องถ่ินและสถานศึกษาได้นาไปใช้เป็นกรอบ และทิศทางในการจัดทาหลกั สูตรสถานศึกษา และจัดการเรียนการสอนเพือ่ พัฒนาเด็กและเยาวชนไทยทุก คนในระดับการศึกษาขน้ั พืน้ ฐานใหม้ ีคณุ ภาพด้านความรู้ และ ทักษะท่ีจาเป็นสาหรับการดารงชีวิตในสังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลง และแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเอง อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิตมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กาหนดไว้ในเอกสารน้ี ช่วยทาให้หน่วยงานท่ี เกย่ี วข้องในทุกระดบั เห็นผลคาดหวังที่ต้องการในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ชัดเจนตลอดแนว ซงึ่ จะ สามารถช่วยให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในระดับทอ้ งถ่นิ และสถานศึกษารว่ มกันพัฒนาหลักสตู รได้อยา่ งม่นั ใจ ทาให้การจัดทาหลักสูตรในระดับสถานศึกษามีคุณภาพและมีความเป็นเอกภาพย่งิ ข้ึน อีกทั้งยังช่วยให้เกิด ความชัดเจนเร่ืองการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ และช่วยแก้ปัญหาการเทียบโอนระหว่างสถานศึกษา ดงั นั้นในการพัฒนาหลักสูตรในทุกระดับตั้งแต่ระดับชาติจนกระทั่งถึงสถานศึกษา จะตอ้ งสะท้อนคุณภาพ ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน รวมทั้งเป็น กรอบทิศทางในการจัดการศึกษาทกุ รูปแบบ และครอบคลุมผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมายในระดับการศึกษาข้ัน พื้นฐานการจัดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานจะประสบความสาเร็จตามเป้าหมายที่คาดหวังได้ ทุกฝ่ายที่ เกีย่ วข้องทงั้ ระดบั ชาติ ชมุ ชน ครอบครัว และบคุ คลต้องร่วมรับผิดชอบ โดยรว่ มกันทางานอยา่ งเปน็ ระบบ และต่อเนื่อง ในการวางแผน ดาเนินการ ส่งเสรมิ สนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแก้ไขเพื่อ พฒั นาเยาวชนของชาติไปส่คู ณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กาหนดไว้วสิ ยั ทัศน์ หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ม่งุ พฒั นาผ้เู รียนทกุ คน ซ่ึงเป็นกาลังของชาตใิ หเ้ ป็น มนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมอื งไทยและเป็นพลโลก ยึดม่ันในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะ พน้ื ฐาน รวมท้ัง เจตคติ ท่ีจาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชพี และการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้น ผ้เู รยี นเปน็ สาคญั บนพ้นื ฐานความเชอื่ ว่า ทกุ คนสามารถเรยี นรู้และพฒั นาตนเองได้เตม็ ตามศกั ยภาพ

กลุ่มสาระการเรียนร้สู ุขศกึ ษาและพลศึกษา ทาไมตอ้ งเรียนสขุ ศึกษาและพลศึกษา สุขภาพ หรือ สุขภาวะ หมายถึง ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิต ทางสังคม และทางปัญญาหรือจิตวิญญาณ สุขภาพหรือสุขภาวะจึงเป็นเรื่องสาคัญ เพราะเก่ียวโยงกับทุกมิติของ ชวี ิต ซึ่งทุกคนควรจะได้เรียนรู้เรื่องสุขภาพ เพื่อจะได้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง มีเจตคติ คุณธรรม และค่านิยมทเ่ี หมาะสม รวมทั้งมีทักษะปฏิบัติด้านสุขภาพจนเป็นกจิ นิสยั อันจะส่งผลให้สงั คมโดยรวมมี คณุ ภาพ เรียนรู้อะไรในสขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา สุขศึกษาและพลศึกษาเป็นการศึกษาด้านสุขภาพท่ีมีเป้าหมาย เพ่ือการดารงสุขภาพ การสร้าง เสริมสขุ ภาพและการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ของบคุ คล ครอบครัว และชมุ ชนให้ยัง่ ยืน สุขศึกษา มุ่งเน้นให้ผู้เรียนพัฒนาพฤติกรรมด้านความรู้ เจตคติ คุณธรรม ค่านิยม และ การปฏบิ ัติเกย่ี วกับสขุ ภาพควบคไู่ ปด้วยกัน พลศึกษา มุ่งเน้นใหผ้ ู้เรียนใช้กจิ กรรมการเคล่ือนไหว การออกกาลังกาย การเลน่ เกมและกีฬา เป็นเครื่องมือในการพัฒนาโดยรวมท้ังด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา รวมท้ัง สมรรถภาพเพ่อื สุขภาพและกีฬา สาระท่ีเป็นกรอบเน้ือหาหรือขอบข่ายองค์ความรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ประกอบดว้ ย  การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เร่ืองธรรมชาติของการ เจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ ปัจจัยท่ีมีผลต่อการเจริญเติบโต ความสัมพันธ์เช่ือมโยงในการ ทางานของระบบตา่ งๆของรา่ งกาย รวมถงึ วธิ ปี ฏบิ ัตติ นเพื่อให้เจริญเตบิ โตและมพี ฒั นาการทสี่ มวยั  ชีวิตและครอบครัว ผ้เู รยี นจะได้เรยี นรู้เรื่องคุณค่าของตนเองและครอบครวั การปรับตวั ต่อ การเปล่ียนแปลงทางรา่ งกาย จิตใจ อารมณค์ วามรู้สึกทางเพศ การสรา้ งและรักษาสัมพนั ธภาพกบั ผู้อน่ื สุข ปฏบิ ตั ิทางเพศ และทักษะในการดาเนนิ ชวี ติ  การเคลื่อนไหว การออกกาลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล ผู้เรียนได้เรียนรู้ เรื่องการเคล่ือนไหวในรูปแบบต่าง ๆ การเข้าร่วมกิจกรรมทางกายและกีฬา ทั้งประเภทบุคคล และ ประเภททีมอย่างหลากหลายท้ังไทยและสากล การปฏิบัติตามกฎ กติกา ระเบียบ และข้อตกลงในการ เขา้ ร่วมกจิ กรรมทางกาย และกฬี า และความมนี า้ ใจนกั กีฬา  การสรา้ งเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการปอ้ งกันโรค ผูเ้ รยี นจะไดเ้ รียนรเู้ กยี่ วกับหลักและ วธิ ีการเลือกบริโภคอาหาร ผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ การสร้างเสริมสมรรถภาพเพ่ือสุขภาพ และ การปอ้ งกันโรคทง้ั โรคติดตอ่ และโรคไม่ติดตอ่  ความปลอดภัยในชีวิต ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เรื่องการป้องกันตนเองจากพฤติกรรมเส่ียงต่างๆ ท้ังความเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ ความรุนแรง อันตรายจากการใช้ยาและสารเสพติด รวมถึงแนวทางใน การสร้างเสรมิ ความปลอดภัยในชีวิต

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระท่ี ๑ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนษุ ย์ มาตรฐาน พ ๑.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องการเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการของมนุษย์ สาระที่ ๒ ชีวิตและครอบครัว มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเห็นคณุ ค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะใน การดาเนนิ ชวี ติ สาระท่ี ๓ การเคลอื่ นไหว การออกกาลังกาย การเล่นเกม กฬี าไทย และกีฬาสากล มาตรฐาน พ ๓.๑ เขา้ ใจ มีทกั ษะในการเคลอื่ นไหว กจิ กรรมทางกาย การเลน่ เกม และกีฬา มาตรฐาน พ ๓.๒ รกั การออกกาลังกาย การเลน่ เกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจาอย่างสม่าเสมอ มวี นิ ัย เคารพสทิ ธิ กฎ กตกิ า มนี า้ ใจนักกฬี า มจี ิตวิญญาณในการแข่งขนั และชนื่ ชมใน สุนทรยี ภาพของการกีฬา สาระท่ี ๔ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ สมรรถภาพและการป้องกนั โรค มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดารงสุขภาพ การป้องกันโรค และการสร้างเสรมิ สมรรถภาพเพื่อสุขภาพ สาระท่ี ๕ ความปลอดภยั ในชวี ิต มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้องกันและหลีกเล่ียงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยา สารเสพติด และความรุนแรง คุณภาพผูเ้ รยี น จบชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓  มีความรู้ และเข้าใจในเร่ืองการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ ปัจจัยท่ีมีผลต่อ การเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการ วธิ ีการสรา้ งสมั พนั ธภาพในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน  มีสุขนิสยั ที่ดีในเรื่องการกิน การพักผอ่ นนอนหลับ การรักษาความสะอาดอวยั วะทกุ สว่ นของ ร่างกาย การเลน่ และการออกกาลังกาย  ป้องกันตนเองจากพฤตกิ รรมทีอ่ าจนาไปสู่การใช้สารเสพติด การลว่ งละเมดิ ทางเพศและรู้จัก ปฏเิ สธในเรื่องท่ีไมเ่ หมาะสม  ควบคุมการเคล่ือนไหวของตนเองไดต้ ามพัฒนาการในแต่ละช่วงอายุ มที ักษะ การ เคล่ือนไหวขัน้ พื้นฐานและมสี ่วนร่วมในกจิ กรรมทางกาย กิจกรรมสรา้ งเสริมสมรรถภาพทางกายเพ่อื สุขภาพ และเกม ไดอ้ ยา่ งสนกุ สนาน และปลอดภัย  มีทักษะในการเลือกบริโภคอาหาร ของเล่น ของใช้ ท่ีมีผลดีต่อสุขภาพ หลีกเล่ียงและ ปอ้ งกนั ตนเองจากอบุ ัตเิ หตุได้

 ปฏิบัตติ นไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งเหมาะสมเมอื่ มปี ัญหาทางอารมณ์ และปัญหาสขุ ภาพ  ปฏิบัติตนตามกฎ ระเบียบข้อตกลง คาแนะนา และขนั้ ตอนตา่ งๆ และให้ความร่วมมือกับ ผอู้ น่ื ดว้ ยความเต็มใจจนงานประสบความสาเรจ็  ปฏิบตั ิตามสิทธิของตนเองและเคารพสิทธขิ องผ้อู น่ื ในการเล่นเปน็ กลมุ่ จบชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๖  เขา้ ใจความสัมพันธ์เชอ่ื มโยงในการทางานของระบบต่าง ๆ ของร่างกาย และรู้จกั ดแู ลอวัยวะ ท่สี าคัญของระบบนน้ั ๆ  เข้าใจธรรมชาติการเปล่ียนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม แรงขับทางเพศของ ชายหญิง เม่ือยา่ งเขา้ สู่วยั แรกรนุ่ และวยั รุ่น สามารถปรับตวั และจดั การได้อย่างเหมาะสม  เข้าใจและเหน็ คณุ คา่ ของการมชี ีวติ และครอบครัวที่อบอนุ่ และเป็นสุข  ภูมิใจและเหน็ คุณค่าในเพศของตน ปฏิบตั ิสขุ อนามยั ทางเพศไดถ้ กู ต้องเหมาะสม  ปอ้ งกันและหลีกเลีย่ งปัจจัยเสีย่ ง พฤติกรรมเสยี่ งต่อสุขภาพและการเกดิ โรค อุบัตเิ หตุ ความ รุนแรง สารเสพติดและการล่วงละเมิดทางเพศ  มีทักษะการเคล่ือนไหวพ้ืนฐานและการควบคมุ ตนเองในการเคลื่อนไหวแบบผสมผสาน  รู้หลักการเคล่ือนไหวและสามารถเลือกเข้าร่วมกิจกรรมทางกาย เกม การละเล่นพื้นเมือง กีฬาไทย กีฬาสากลได้อย่างปลอดภัยและสนุกสนาน มีน้าใจนักกีฬา โดยปฏิบัติตามกฎ กติกา สิทธิ และหน้าทข่ี องตนเอง จนงานสาเรจ็ ลุล่วง  วางแผนและปฏิบัติกิจกรรมทางกาย กิจกรรมสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพได้ ตามความเหมาะสมและความต้องการเปน็ ประจา  จัดการกับอารมณ์ ความเครยี ด และปญั หาสุขภาพไดอ้ ยา่ งเหมาะสม  มีทักษะในการแสวงหาความรู้ ข้อมลู ขา่ วสารเพื่อใชส้ ร้างเสรมิ สุขภาพ จบช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๓  เข้าใจและเห็นความสาคัญของปัจจัยท่ีสง่ ผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่มีต่อ สขุ ภาพและชีวติ ในช่วงวัยตา่ ง ๆ  เข้าใจ ยอมรับ และสามารถปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ ความรู้สึกทางเพศ ความเสมอภาคทางเพศ สร้างและรักษาสัมพันธภาพกับผู้อ่ืน และตัดสินใจแก้ปัญหา ชวี ิตด้วยวิธีการท่ีเหมาะสม  เลือกกนิ อาหารท่ีเหมาะสม ได้สัดส่วน ส่งผลดีตอ่ การเจริญเติบโตและพฒั นาการตามวัย  มีทักษะในการประเมินอทิ ธพิ ลของเพศ เพอื่ น ครอบครวั ชุมชนและวัฒนธรรมทีม่ ีต่อเจตคติ คา่ นยิ มเกยี่ วกบั สขุ ภาพและชีวิต และสามารถจัดการได้อยา่ งเหมาะสม

 ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพและการเกิดโรค อุบัติเหตุ การ ใช้ยา สารเสพตดิ และความรุนแรง ร้จู กั สรา้ งเสริมความปลอดภัยให้แก่ตนเอง ครอบครัว และชมุ ชน  เข้ารว่ มกจิ กรรมทางกาย กิจกรรมกฬี า กิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมสรา้ งเสริมสมรรถภาพ ทางกายเพ่ือสุขภาพ โดยนาหลักการของทักษะกลไกมาใช้ได้อย่างปลอดภัย สนุกสนาน และปฏิบัติเป็น ประจาสม่าเสมอตามความถนดั และความสนใจ  แสดงความตระหนักในความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมสุขภาพ การป้องกันโรค การดารง สุขภาพ การจัดการกับอารมณ์และความเครียด การออกกาลังกายและการเล่นกีฬากับการมีวิถีชีวิตที่มี สุขภาพดี  สานกึ ในคุณค่า ศักยภาพและความเปน็ ตวั ของตัวเอง  ปฏิบัติตามกฎ กติกา หน้าท่ีความรับผิดชอบ เคารพสิทธิของตนเองและผู้อื่น ให้ความ รว่ มมือในการแข่งขันกีฬาและการทางานเป็นทีมอย่างเป็นระบบ ด้วยความมุ่งมั่นและมีน้าใจนักกีฬา จน ประสบความสาเร็จตามเปา้ หมายดว้ ยความชื่นชม และสนุกสนาน จบชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๖  สามารถดูแลสุขภาพ สร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค หลีกเล่ยี งปัจจัยเสี่ยง และพฤติกรรม เสี่ยงตอ่ สุขภาพ อุบัติเหตุ การใชย้ า สารเสพตดิ และความรุนแรงไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพด้วยการวางแผน อยา่ งเป็นระบบ  แสดงออกถึงความรัก ความเอ้ืออาทร ความเข้าใจในอิทธิพลของครอบครัว เพื่อน สังคม และวฒั นธรรมทีม่ ีตอ่ พฤตกิ รรมทางเพศ การดาเนนิ ชีวิต และวถิ ชี วี ิตท่ีมีสขุ ภาพดี  ออกกาลังกาย เล่นกีฬา เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมสร้างเสริมสมรรถภาพ เพอ่ื สขุ ภาพโดยนาหลกั การของทักษะกลไกมาใชไ้ ด้อยา่ งถกู ตอ้ ง สมา่ เสมอด้วยความช่นื ชมและสนกุ สนาน  แสดงความรับผิดชอบ ให้ความร่วมมือและปฏิบัติตามกฎ กติกา สทิ ธิ หลกั ความปลอดภัย ในการเขา้ รว่ มกิจกรรมทางกาย และเล่นกฬี าจนประสบความสาเรจ็ ตามเป้าหมายของตนเองและทมี  แสดงออกถึงการมีมารยาทในการดู การเล่น และการแข่งขัน ด้วยความมีนา้ ใจนักกีฬาและ นาไปปฏิบัติในทุกโอกาสจนเป็นบคุ ลิกภาพท่ดี ี  วิเคราะห์และประเมินสุขภาพส่วนบุคคลเพื่อกาหนดกลวิธีลดความเส่ียง สร้างเสริมสุขภาพ ดารงสุขภาพ การป้องกนั โรค และการจัดการกับอารมณ์และความเครยี ดได้ถูกต้องและเหมาะสม  ใช้กระบวนการทางประชาสังคม สร้างเสริมให้ชุมชนเขม้ แข็งปลอดภยั และมีวถิ ีชีวิตทีด่ ี

ตัวชีว้ ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระที่ ๑ การเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของมนุษย์ มาตรฐาน พ ๑.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องการเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของมนุษย์ ชั้น ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.๑ ๑. อธิบายลกั ษณะและหนา้ ท่ี  ลกั ษณะและหน้าท่ีของอวัยวะภายนอกท่มี ี ของอวยั วะภายนอก การเจริญเตบิ โตและพัฒนาการไปตามวัย - ตา หู คอ จมูก ผม มือ เท้า เลบ็ ผิวหนัง ฯลฯ - อวยั วะในชอ่ งปาก (ปาก ลิน้ ฟนั เหงอื ก) ๒. อธบิ ายวธิ ีดูแลรักษาอวยั วะ  การดูแลรักษาอวัยวะภายนอก ภายนอก - ตา หู คอ จมูก ปาก ล้นิ ฟัน ผม มือ เทา้ เลบ็ ผวิ หนงั ฯลฯ - อวยั วะในช่องปาก (ปาก ลิน้ ฟัน เหงอื ก) ป. ๒ ๑. อธิบายลักษณะ และหน้าทขี่ อง  ลกั ษณะ และหน้าทีข่ องอวยั วะภายในทม่ี ีการ อวัยวะภายใน เจริญเติบโตและพัฒนาการไปตามวยั (สมอง หวั ใจ ตบั ไต ปอด กระเพาะอาหาร ลาไส้ ฯลฯ) ๒. อธบิ ายวธิ ดี แู ลรักษาอวยั วะ  การดแู ลรกั ษาอวัยวะภายใน ภายใน - การระมัดระวงั การกระแทก - การออกกาลงั กาย - การกนิ อาหาร ๓. อธบิ ายธรรมชาติของชวี ิตมนษุ ย์  ธรรมชาติของชวี ิตมนษุ ยต์ ั้งแตเ่ กิดจนตาย ป.๓ ๑. อธบิ ายลกั ษณะและการ  ลักษณะการเจรญิ เติบโตของรา่ งกายมนษุ ย์ เจรญิ เตบิ โตของรา่ งกายมนุษย์ ท่มี ีความแตกตา่ งกันในแต่ละบุคคล - ลักษณะรปู รา่ ง - น้าหนกั - สว่ นสงู ๒. เปรียบเทียบการเจริญเตบิ โตของ  เกณฑม์ าตรฐานการเจรญิ เติบโต ของเดก็ ไทย ตนเองกับเกณฑ์มาตรฐาน ๓. ระบุปัจจัยท่มี ผี ลตอ่ การ  ปจั จยั ท่มี ีผลตอ่ การเจรญิ เติบโต เจริญเติบโต - อาหาร - การออกกาลงั กาย - การพกั ผอ่ น ป. ๔ ๑. อธบิ ายการเจริญเตบิ โตและ  การเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการของร่างกาย พัฒนาการของรา่ งกายและจิตใจ และจิตใจ ตามวยั (ในชว่ งอายุ ๙ – ๑๒ ปี) ตามวัย ๒. อธบิ ายความสาคัญของกลา้ มเนอ้ื  ความสาคญั ของกล้ามเนอ้ื กระดกู และข้อ

ชั้น ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง กระดกู และข้อท่ีมีผลต่อสุขภาพ การ ทมี่ ีผลต่อสขุ ภาพ การเจรญิ เตบิ โตและ เจริญเตบิ โตและพัฒนาการ พฒั นาการ ๓. อธบิ ายวธิ ีดแู ลกลา้ มเน้ือ กระดกู  วิธดี แู ลรกั ษากลา้ มเน้อื กระดกู และข้อให้ และขอ้ ให้ทางานอย่างมีประสทิ ธภิ าพ ทางานอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ป. ๕ ๑. อธิบายความสาคัญของระบบย่อย  ความสาคญั ของระบบยอ่ ยอาหารและระบบ อาหาร และระบบขบั ถ่ายที่มีผลต่อ ขบั ถ่ายทีม่ ีผลต่อสุขภาพ การเจริญเติบโต และ สขุ ภาพ การเจริญเติบโต และ พัฒนาการ พัฒนาการ ๒. อธบิ ายวิธดี แู ลระบบยอ่ ยอาหาร  วิธีดูแลรักษาระบบย่อยอาหารและระบบ และระบบขับถ่ายใหท้ างานตามปกติ ขับถา่ ยให้ทางานตามปกติ ป.๖ ๑. อธบิ ายความสาคัญของระบบ  ความสาคัญของระบบสืบพันธ์ุ ระบบ สืบพันธุ์ ระบบไหลเวยี นโลหิตและ ไหลเวยี นโลหิต และระบบหายใจทม่ี ผี ลต่อ ระบบหายใจ ทีม่ ผี ลต่อสุขภาพ การ สขุ ภาพ การเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการ เจริญเตบิ โตและพฒั นาการ ๒. อธบิ ายวธิ กี ารดูแลรักษาระบบ  วธิ ีดูแลรกั ษาระบบสืบพันธ์ุ ระบบ สบื พนั ธุ์ ระบบไหลเวยี นโลหติ และ ไหลเวียนโลหิต และระบบหายใจให้ทางาน ระบบหายใจให้ทางานตามปกติ ตามปกติ ม.๑ ๑. อธิบายความสาคญั ของระบบ  ความสาคญั ของระบบประสาท และระบบ ประสาท และระบบต่อมไรท้ อ่ ทีม่ ีผล ตอ่ มไร้ท่อที่มีผลต่อสุขภาพ การเจรญิ เติบโต ตอ่ สุขภาพ การเจริญเตบิ โต และ และพฒั นาการของวยั รนุ่ พฒั นาการของวยั รุ่น ๒. อธิบายวธิ ีดแู ลรกั ษาระบบ  วิธดี ูแลรกั ษาระบบประสาท และระบบ ประสาท และระบบตอ่ มไร้ทอ่ ให้ ตอ่ มไร้ท่อ ใหท้ างานตามปกติ ทางานตามปกติ ๓. วเิ คราะหภ์ าวะการเจริญเติบโตทาง  การวิเคราะห์ภาวะการเจริญเตบิ โต ร่างกายของตนเองกับเกณฑม์ าตรฐาน ตามเกณฑ์มาตรฐานและปัจจยั ทเี่ กยี่ วข้อง ๔. แสวงหาแนวทางในการพัฒนา  แนวทางในการพัฒนาตนเองให้เจรญิ เติบโต ตนเองให้เจริญเติบโตสมวยั สมวยั ม. ๒ ๑. อธิบายการเปลี่ยนแปลงด้าน  การเปลย่ี นแปลงดา้ นร่างกาย จติ ใจ รา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คม และ อารมณ์ สงั คม และสติปัญญาในวัยรุ่น สตปิ ญั ญาในวัยรุ่น ๒. ระบุปจั จัยทม่ี ผี ลกระทบตอ่ การ  ปัจจัยทมี่ ีผลกระทบตอ่ การเจริญเตบิ โตและ เจริญเตบิ โต และพฒั นาการดา้ น พฒั นาการด้านรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ สังคม รา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ สังคม และ และสติปัญญา สตปิ ญั ญา ในวยั รุ่น - พันธุกรรม

ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง - ส่งิ แวดลอ้ ม - การอบรมเลย้ี งดู ม. ๓ ๑. เปรียบเทยี บการเปล่ยี นแปลง  การเปล่ียนแปลง ดา้ นร่างกาย จติ ใจ ทางดา้ นร่างกาย จิตใจ อารมณ์ อารมณ์ สงั คม และสตปิ ญั ญาในแต่ละวัย สังคม และสตปิ ญั ญา แตล่ ะช่วง - วยั ทารก ของชวี ิต - วัยกอ่ นเรียน - วัยเรยี น - วัยรุ่น - วยั ผู้ใหญ่ - วัยสูงอายุ ๒. วเิ คราะหอ์ ิทธพิ ลและความ  อิทธพิ ลและความคาดหวังของสงั คมทม่ี ีตอ่ คาดหวงั ของสงั คมตอ่ การเปล่ยี นแปลง การเปลี่ยนแปลงของวยั รุ่น ของวัยรุ่น ๓. วิเคราะห์ สอ่ื โฆษณา ทีม่ ี  ส่ือ โฆษณา ทมี่ ีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโต อิทธพิ ลต่อการเจริญเตบิ โตและ และพฒั นาการของวยั รนุ่ พฒั นาการของวัยร่นุ - โทรทัศน์ - วทิ ยุ - ส่ือสิ่งพิมพ์ - อินเทอร์เนต็ ม.๔–ม.๖ ๑. อธิบายกระบวนการสร้างเสริม  กระบวนการสรา้ งเสริมและดารง และดารงประสทิ ธภิ าพการทางาน ของ ประสทิ ธภิ าพการทางานของระบบอวัยวะ ระบบอวัยวะต่าง ๆ ต่าง ๆ - การทางานของระบบอวยั วะตา่ งๆ - การสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพของ อวัยวะตา่ งๆ (อาหาร การออกกาลังกาย นนั ทนาการ การตรวจสขุ ภาพ ฯลฯ) ๒. วางแผนดแู ลสุขภาพตาม  การวางแผนดแู ลสุขภาพของตนเองและ ภาวะการเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการ บุคคลในครอบครวั ของตนเองและบุคคลในครอบครัว

สาระท่ี ๒ ชวี ติ และครอบครวั มาตรฐาน พ ๒.๑ เขา้ ใจและเหน็ คุณคา่ ตนเอง ครอบครวั เพศศกึ ษา และมที ักษะในการดาเนนิ ชีวิต ชั้น ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. ๑ ๑. ระบุสมาชกิ ในครอบครวั และ  สมาชกิ ในครอบครวั ความรกั ความผูกพันของสมาชกิ ที่มตี ่อ  ความรักความผูกพนั ของสมาชกิ ใน กนั ครอบครวั ๒. บอกส่งิ ทชี่ ่ืนชอบ และภาคภมู ิใจ  สงิ่ ท่ชี ื่นชอบและความภาคภูมิใจ ในตนเอง ในตนเอง (จุดเด่น จุดดอ้ ยของตนเอง) ๓. บอกลกั ษณะความแตกต่าง  ลักษณะความแตกต่างของเพศชาย เพศ ระหว่างเพศชาย และเพศหญงิ หญิง - ร่างกาย - อารมณ์ - ลักษณะนิสัย ป. ๒ ๑. ระบุบทบาทหน้าท่ีของตนเอง  บทบาทหน้าทีข่ องสมาชกิ ในครอบครวั และสมาชกิ ในครอบครวั - ตนเอง - พ่อ แม่ - พ่ีน้อง - ญาติ ๒. บอกความสาคญั ของเพื่อน  ความสาคญั ของเพื่อน (เช่น พูดคยุ ปรึกษา เล่น ฯลฯ) ๓. ระบพุ ฤตกิ รรมทีเ่ หมาะสมกบั เพศ  พฤติกรรมทเี่ หมาะสมกบั เพศ - ความเป็นสภุ าพบุรุษ - ความเป็นสภุ าพสตรี ๔. อธบิ ายความภาคภมู ใิ จในความ  ความภาคภมู ิใจในเพศหญิง หรอื เพศชาย เปน็ เพศหญงิ หรือเพศชาย ป. ๓ ๑. อธิบายความสาคญั และความ  ความสาคัญของครอบครัว ความแตกตา่ ง แตกตา่ งของครอบครัวที่มตี ่อตนเอง ของแต่ละครอบครวั - เศรษฐกิจ - สงั คม - การศึกษา ๒. อธิบายวธิ ีสร้างสัมพันธภาพใน  วิธีการสร้างสัมพันธภาพในครอบครวั และ ครอบครัวและกลุม่ เพือ่ น กลุ่มเพอ่ื น ๓. บอกวธิ ีหลีกเล่ียงพฤติกรรมที่  พฤตกิ รรมที่นาไปสู่การล่วงละเมิดทางเพศ

ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง นาไปสกู่ ารล่วงละเมดิ ทางเพศ (การแต่งกาย การเที่ยวกลางคนื การคบเพ่ือน การเสพสารเสพติด ฯลฯ)  วธิ หี ลกี เลยี่ งพฤตกิ รรมที่นาไปสู่การลว่ ง ละเมดิ ทางเพศ (ทักษะปฏเิ สธและอ่นื ๆ ) ป. ๔ ๑. อธิบายคุณลักษณะของความเป็น  คณุ ลักษณะของความเป็นเพ่ือนและสมาชกิ เพ่ือนและสมาชิกท่ดี ีของครอบครัว ทด่ี ีของครอบครวั ๒. แสดงพฤตกิ รรมท่เี หมาะสมกบั  พฤติกรรมที่เหมาะสมกบั เพศของตนตาม เพศของตนตามวัฒนธรรมไทย วฒั นธรรมไทย ๓. ยกตัวอยา่ งวิธกี ารปฏิเสธการ  วธิ กี ารปฏิเสธการกระทาท่เี ป็นอนั ตรายและ กระทาท่ีเป็นอนั ตรายและไมเ่ หมาะสม ไมเ่ หมาะสมในเรอื่ งเพศ ในเร่ืองเพศ ป. ๕ ๑. อธิบายการเปล่ยี นแปลงทางเพศ  การเปลี่ยนแปลงทางเพศ การดแู ลตนเอง และปฏิบตั ติ นไดเ้ หมาะสม  การวางตัวทเี่ หมาะสมกับเพศตาม วัฒนธรรมไทย ๒. อธิบายความสาคัญของการมี  ลักษณะของครอบครัวท่อี บอ่นุ ตาม ครอบครวั ท่ีอบอุน่ ตามวฒั นธรรมไทย วฒั นธรรมไทย (ครอบครัวขยาย การนับถือ ญาต)ิ ๓. ระบพุ ฤตกิ รรมทพี่ ึงประสงค์ และ  พฤตกิ รรมท่พี ึงประสงคแ์ ละไม่พงึ ประสงค์ ไมพ่ ึงประสงคใ์ นการแกไ้ ขปญั หาความ ในการแกไ้ ขปัญหาความขดั แยง้ ในครอบครัว ขัดแย้งในครอบครวั และกลุ่มเพอ่ื น ป. ๖ ๑. อธิบายความสาคญั ของการสรา้ ง  ความสาคญั ของการสรา้ งและรกั ษา และรกั ษาสมั พันธภาพกับผู้อน่ื สมั พันธภาพกบั ผอู้ ่ืน  ปจั จยั ท่ชี ว่ ยให้การทางานกล่มุ ประสบ ความสาเร็จ ๒. วเิ คราะห์พฤตกิ รรมเสย่ี งท่ีอาจ - ความสามารถสว่ นบุคคล - บทบาทหนา้ ทขี่ องสมาชิกในกลมุ่ - การยอมรบั ความคดิ เห็น และความแตกต่าง ระหว่างบุคคล - ความรบั ผิดชอบ  พฤตกิ รรมเสย่ี งทน่ี าไปส่กู ารมีเพศสัมพนั ธ์

ชนั้ ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง นาไปสูก่ ารมีเพศสัมพันธ์ การติดเชือ้ การติดเชอื้ เอดส์ และการตงั้ ครรภก์ ่อนวยั เอดส์ และการตั้งครรภก์ ่อนวยั อนั ควร อันควร ม. ๑ ๑. อธบิ ายวธิ กี ารปรบั ตัวตอ่ การ  การเปลย่ี นแปลงทางรา่ งกาย จติ ใจ เปล่ยี นแปลงทางร่างกายจติ ใจ อารมณ์ อารมณ์ และพัฒนาการทางเพศ และพัฒนาการทางเพศอย่างเหมาะสม - ลกั ษณะการเปลย่ี นแปลงทางรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ และพัฒนาการทางเพศ - การยอมรบั และการปรบั ตัวตอ่ การ เปลยี่ นแปลงทางรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ และ พฒั นาการทางเพศ - การเบ่ยี งเบนทางเพศ ๒. แสดงทกั ษะการปฏเิ สธเพอื่  ทกั ษะปฏิเสธเพือ่ ปอ้ งกันการถกู ลว่ งละเมดิ ปอ้ งกนั ตนเองจากการถกู ล่วงละเมดิ ทางเพศ ทางเพศ ม. ๒ ๑. วิเคราะห์ปัจจยั ทมี่ ีอทิ ธพิ ลตอ่ เจต  ปัจจัยท่มี อี ทิ ธพิ ลตอ่ เจตคติในเรื่องเพศ คติในเรือ่ งเพศ - ครอบครัว - วฒั นธรรม - เพื่อน - ส่ือ ๒. วิเคราะห์ปญั หาและผลกระทบที่  ปัญหาและผลกระทบทีเ่ กิดจากการมี เกิดจากการมเี พศสมั พันธ์ในวัยเรยี น เพศสมั พนั ธ์ในวัยเรยี น ๓. อธิบายวธิ ีป้องกนั ตนเองและ  โรคติดต่อทางเพศสัมพนั ธ์ หลกี เล่ียงจากโรคติดตอ่ ทาง  โรคเอดส์ เพศสมั พนั ธ์ เอดส์ และการตัง้ ครรภ์  การตัง้ ครรภ์โดยไมพ่ ึงประสงค์ โดยไมพ่ ึงประสงค์ ๔. อธิบายความสาคญั ของความ  ความสาคัญของความเสมอภาคทางเพศ เสมอภาคทางเพศ และวางตัวไดอ้ ยา่ ง  การวางตวั ต่อเพศตรงขา้ ม เหมาะสม  ปัญหาทางเพศ  แนวทางการแก้ไขปญั หาทางเพศ ม.๓ ๑. อธิบายอนามัยแมแ่ ละเดก็  องคป์ ระกอบของอนามยั เจริญพันธุ์ การวางแผนครอบครัว และวิธกี าร - อนามยั แมแ่ ละเด็ก ปฏบิ ัตติ นที่เหมาะสม - การวางแผนครอบครัว ๒. วิเคราะห์ปจั จยั ที่มผี ลกระทบต่อ  ปจั จัยท่ีมีผลกระทบต่อการต้ังครรภ์ การตัง้ ครรภ์ - แอลกอฮอล์

ชั้น ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง - สารเสพตดิ - บุหร่ี - สภาพแวดลอ้ ม - การติดเชื้อ - โรคที่เกดิ จากภาวะการต้งั ครรภ์ ๓. วเิ คราะหส์ าเหตุ และเสนอ  สาเหตุความขดั แยง้ ในครอบครัว แนวทางป้องกนั แกไ้ ขความขัดแยง้ ใน  แนวทางปอ้ งกัน แกไ้ ขความขัดแย้งใน ครอบครัว ครอบครัว ม.๔–ม.๖ ๑. วิเคราะหอ์ ทิ ธิพลของครอบครวั  อทิ ธพิ ลของครอบครวั เพอื่ น สังคม และ เพื่อน สังคม และวฒั นธรรมท่ีมผี ลต่อ วฒั นธรรมทมี่ ตี อ่ พฤตกิ รรมทางเพศ และการ พฤติกรรมทางเพศและการดาเนินชีวิต ดาเนนิ ชวี ติ ๒. วเิ คราะหค์ า่ นิยมในเรือ่ งเพศ  คา่ นิยมในเรอ่ื งเพศตามวัฒนธรรมไทย ตามวัฒนธรรมไทยและวฒั นธรรม อ่ืน และวฒั นธรรมอื่น ๆ ๆ ๓. เลือกใช้ทกั ษะทเี่ หมาะสมในการ  แนวทางในการเลือกใช้ทกั ษะต่าง ๆ ในการ ป้องกัน ลดความขัดแยง้ และแก้ปัญหา ปอ้ งกัน ลดความขดั แยง้ และแกป้ ัญหาเรอ่ื งเพศ เร่ืองเพศและครอบครัว และครอบครัว - ทักษะการสอ่ื สารและสรา้ งสัมพนั ธภาพ - ทกั ษะการตอ่ รอง - ทกั ษะการปฏิเสธ - ทักษะการคดิ วิเคราะห์ - ทกั ษะการตัดสนิ ใจ และแก้ไขปญั หา ฯลฯ ๔. วเิ คราะห์สาเหตแุ ละผลของความ  ความขดั แย้งท่ีอาจเกดิ ขนึ้ ระหว่างนักเรยี น ขัดแย้งท่ีอาจเกิดขนึ้ ระหว่างนักเรยี น หรอื เยาวชนในชุมชน หรอื เยาวชนในชุมชน และเสนอแนว - สาเหตุของความขัดแยง้ ทางแก้ไขปัญหา - ผลกระทบท่ีเกดิ จากความขดั แย้งระหว่าง นกั เรยี น หรอื เยาวชนในชุมชน - แนวทางในการแกป้ ัญหาที่อาจเกิดจากความ ขัดแยง้ ของนักเรียนหรอื เยาวชนในชมุ ชน

สาระท่ี ๓ การเคลื่อนไหว การออกกาลงั กาย การเล่นเกม กฬี าไทย และกีฬาสากล มาตรฐาน พ ๓.๑ เขา้ ใจ มที ักษะในการเคลอ่ื นไหว กิจกรรมทางกาย การเลน่ เกม และกฬี า ชนั้ ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ป.๑ ๑. เคลือ่ นไหวรา่ งกายขณะอยู่กบั ท่ี  ธรรมชาตขิ องการเคลอ่ื นไหวร่างกายใน เคลอ่ื นท่ีและใชอ้ ุปกรณ์ประกอบ ชีวติ ประจาวนั - แบบอยู่กับที่ เช่น นงั่ ยืน กม้ เงย เอยี ง ซ้าย ขวา เคล่อื นไหวขอ้ มอื ข้อเท้า แขน ขา - แบบเคล่อื นที่ เช่น เดนิ วิง่ กระโดด กลง้ิ ตัว - แบบใชอ้ ุปกรณ์ประกอบ เชน่ จับ โยน เตะ เคาะ ๒. เล่นเกมเบ็ดเตล็ดและเข้าร่วม  กจิ กรรมทางกายท่ีใช้ในการเคล่ือนไหวตาม กจิ กรรมทางกายทใ่ี ชก้ ารเคลื่อนไหว ธรรมชาติ ตามธรรมชาติ - การเล่นเกมเบ็ดเตล็ด ป. ๒ ๑. ควบคมุ การเคล่ือนไหวรา่ งกาย  ลกั ษณะและวธิ กี ารของการเคล่ือนไหว ขณะอยกู่ ับท่ี เคลือ่ นท่ี และใชอ้ ปุ กรณ์ รา่ งกาย แบบอย่กู ับที่ เช่น กระโดด บดิ ตวั ประกอบ ดึง ผลัก แบบเคล่อื นท่ี เช่น กระโดดเขย่ง ก้าวชดิ ก้าว วงิ่ ตามทิศทางทก่ี าหนด และแบบ ใชอ้ ปุ กรณป์ ระกอบ เช่น คบี ขว้าง ตี ๒. เล่มเกมเบ็ดเตลด็ และเข้าร่วม  การเลน่ เกมเบด็ เตล็ด และเข้าร่วมกจิ กรรม กจิ กรรมทางกายทวี่ ิธีเลน่ อาศยั การ ทางกายท่วี ิธเี ลน่ อาศยั การเคลอื่ นไหวเบ้อื งต้น เคลือ่ นไหวเบอ้ื งต้นท้งั แบบอย่กู ับท่ี ทง้ั แบบอยกู่ ับที่ เคล่อื นท่ี และใชอ้ ปุ กรณ์ เคล่ือนที่และใช้อุปกรณ์ประกอบ ประกอบ ป. ๓ ๑. ควบคมุ การเคล่ือนไหวร่างกาย  การเคล่อื นไหวร่างกายแบบอยู่กบั ที่ ขณะอย่กู ับที่ เคลื่อนท่ีและใชอ้ ุปกรณ์ เช่น ยอ่ ยดื เขยง่ พบั ตวั เคล่อื นไหวลาตวั ประกอบอย่างมีทิศทาง การเคลื่อนไหวแบบเคลือ่ นท่ี เช่น เดนิ ต่อเทา้ เดนิ ถอย-หลงั กระโจน และแบบใชอ้ ุปกรณ์ ประกอบโดยมีการบงั คบั ทศิ ทาง เชน่ ดีด ขวา้ ง โยน และรับ  วธิ กี ารควบคุมการเคลื่อนไหวรา่ งกายแบบ ตา่ งๆ อย่างมีทศิ ทาง ๒. เคลื่อนไหวรา่ งกายทใี่ ชท้ กั ษะการ  กิจกรรมทางกายท่ใี ชท้ กั ษะการเคล่ือนไหว เคล่อื นไหวแบบบังคับทิศทาง ใน แบบบงั คับทิศทาง ในการเลน่ เกมเบด็ เตล็ด การเล่นเกมเบ็ดเตลด็ ป. ๔ ๑. ควบคุมตนเองเมือ่ ใช้ทักษะ  การเคล่อื นไหวร่างกายแบบผสมผสานทง้ั

ชัน้ ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง การเคล่ือนไหวในลักษณะผสมผสานได้ แบบอยกู่ บั ที่ เช่น กระโดดหมุนตวั กระโดด- ทง้ั แบบอยกู่ บั ที่ เคล่ือนที่ และใช้ เหยียดตัว แบบเคลอื่ นท่ี เชน่ ซกิ แซก็ วิง่ อุปกรณ์ประกอบ เปลย่ี นทิศทาง ควบม้า และแบบใช้อุปกรณ์ ประกอบ เช่น บอล เชอื ก ๒. ฝึกกายบรหิ ารท่ามอื เปล่า  กายบริหารท่ามือเปล่าประกอบจังหวะ ประกอบจงั หวะ ๓. เล่นเกมเลยี นแบบและกจิ กรรม  เกมเลียนแบบและกจิ กรรมแบบผลัด แบบผลดั ๔. เลน่ กฬี าพืน้ ฐานไดอ้ ยา่ งนอ้ ย  กฬี าพ้ืนฐาน เช่น แชรบ์ อล แฮนดบ์ อล ๑ ชนดิ ห่วงขา้ มตาขา่ ย ป. ๕ ๑. จัดรูปแบบการเคลือ่ นไหว  การจัดรูปแบบการเคลอ่ื นไหวรา่ งกาย แบบ แบบผสมผสาน และควบคมุ ตนเองเมอื่ ผสมผสาน และการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมทางกายทั้ง ใช้ทักษะการเคล่ือนไหว ตาม แบบอยู่กบั ท่ี เคลื่อนท่ี และใช้อุปกรณ์ประกอบ แบบทกี่ าหนด ตามแบบทีก่ าหนด เชน่ การฝกึ กายบรหิ าร ยดื หยุน่ ขั้นพน้ื ฐาน เปน็ ตน้ ๒. เลม่ เกมนาไปสู่กีฬาท่เี ลือกและ  เกมนาไปสู่กีฬาและกิจกรรมแบบผลดั ที่มกี าร กจิ กรรมการเคลือ่ นไหวแบบผลัด ตี เขี่ย รบั – ส่งส่งิ ของ ขวา้ ง และวิง่ ๓. ควบคมุ การเคลื่อนไหวในเรื่องการ  การเคลือ่ นไหวในเร่อื งการรบั แรง การใช้แรง รบั แรง การใชแ้ รงและความสมดุล และความสมดุล ๔. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบตั ิ  ทกั ษะกลไกท่สี ่งผลต่อการปฏบิ ตั ิกิจกรรมทาง กิจกรรมทางกายและเลน่ กีฬา กายและเล่นกีฬา ๕. เล่นกฬี าไทย และกฬี าสากล  การเล่นกีฬาไทย เช่น ตะกรอ้ วง วง่ิ ชักธง ประเภทบุคคลและประเภททมี ไดอ้ ย่าง และกฬี าสากล เช่น กรีฑาประเภทลู่ แบดมินตัน ละ ๑ ชนดิ เปตอง ฟุตบอล เทเบิลเทนนิส ว่ายน้า ๖. อธิบายหลกั การ และเขา้ ร่วม  หลกั การและกิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมนนั ทนาการ อยา่ งนอ้ ย ๑ กิจกรรม ป. ๖ ๑. แสดงทักษะการเคลือ่ นไหว  การเคลอ่ื นไหวรว่ มกับผอู้ นื่ แบบผลัดใน รว่ มกับผู้อนื่ ในลักษณะแบบผลดั และ ลกั ษณะผสมผสาน ในการรว่ มกจิ กรรมทางกาย แบบผสมผสานไดต้ ามลาดับทั้งแบบอยู่ เช่น กจิ กรรมแบบผลดั กายบริหารประกอบเพลง กบั ที่ เคลือ่ นท่ี และใชอ้ ปุ กรณ์ ยืดหยนุ่ ข้นั พื้นฐานท่ีใช้ทา่ ตอ่ เนือ่ ง และการต่อตวั ประกอบ และการเคลอื่ นไหวประกอบ ทา่ งา่ ย ๆ

ชัน้ ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง เพลง ๒. จาแนกหลักการเคล่อื นไหวในเรอ่ื ง  การเคลือ่ นไหวในเรอื่ งการรับแรง การใชแ้ รง การรับแรง การใช้แรง และความสมดุล และความสมดลุ กบั การพฒั นาทกั ษะการเคล่อื นไหว ในการเคลื่อนไหวร่างกายในการเล่น ในการเล่นเกมและกฬี า เกม เลน่ กีฬา และนาผลมาปรับปรงุ เพิม่ พูนวธิ ีปฏบิ ัติของตนและผอู้ ื่น ๓. เลน่ กีฬาไทย กีฬาสากลประเภท  การเล่นกฬี าไทย กีฬาสากล ประเภทบคุ คล บคุ คลและประเภททีมไดอ้ ย่างละ ๑ และประเภททมี เช่น กรีฑาประเภทลู่ และลาน ชนดิ เปตอง ว่ายน้า เทเบิลเทนนิส วอลเลยบ์ อล ฟุตบอล ตะกร้อวง ๔. ใชท้ กั ษะกลไก เพอื่ ปรบั ปรุงเพมิ่ พูน  การใช้ขอ้ มูลด้านทักษะกลไกเพ่ือปรับปรงุ ความสามารถของตนและผูอ้ น่ื ในการ และเพมิ่ พนู ความสามารถในการปฏบิ ัติกิจกรรมทาง เล่นกฬี า กาย และเล่นกฬี า ๕. รว่ มกิจกรรมนนั ทนาการอยา่ งนอ้ ย  การนาความร้แู ละหลกั การของกจิ กรรม ๑ กจิ กรรม แล้วนาความรแู้ ละหลกั การ นันทนาการไปใช้เป็นฐานการศกึ ษาหาความรู้ ท่ีได้ไปใช้เป็นฐานการศกึ ษาหาความรู้ เรือ่ งอืน่ ๆ ม. ๑ ๑. เพิ่มพูนความสามารถของตน  หลักการเพมิ่ พนู ความสามารถในการ ตามหลักการเคลอ่ื นไหวทีใ่ ช้ทักษะ เคลือ่ นไหวที่ใช้ทักษะกลไกและทักษะพืน้ ฐานท่ี กลไกและทกั ษะพืน้ ฐานทน่ี าไปสกู่ าร นาไปสกู่ ารพัฒนาทกั ษะการเล่นกฬี า พฒั นาทักษะการเลน่ กฬี า ๒. เลน่ กฬี าไทยและกีฬาสากล  การเล่นกีฬาไทย และกฬี าสากลทีเ่ ลือก เชน่ ประเภทบคุ คลและทีมโดยใช้ทกั ษะ กรฑี าประเภทลแู่ ละลาน บาสเกตบอล กระบี่ พนื้ ฐานตามชนดิ กีฬา อย่างละ ๑ เทเบิลเทนนิส เทนนิส ว่ายนา้ ชนิด ๓. ร่วมกจิ กรรมนนั ทนาการอยา่ ง  การนาความร้แู ละหลกั การของกจิ กรรม นอ้ ย ๑ กจิ กรรมและนาหลกั ความรทู้ ี่ นนั ทนาการไปใช้เช่ือมโยงสมั พันธก์ บั วิชาอ่นื ไดไ้ ปเชือ่ มโยงสมั พันธก์ บั วชิ าอน่ื ม. ๒ ๑. นาผลการปฏบิ ัติตนเกย่ี วกบั  การนาผลการปฏบิ ัติตนเกี่ยวกบั ทกั ษะกลไก ทักษะกลไกและทกั ษะการเคลือ่ นไหว และทกั ษะการเคลือ่ นไหวในการเล่นกฬี าจาก ในการเลน่ กฬี าจากแหลง่ ข้อมูลที่ แหลง่ ข้อมลู ท่ีหลากหลายมาสรุปเป็นวิธีที่ หลากหลายมาสรุปเปน็ วิธีท่ีเหมาะสม เหมาะสมในบริบทของตนเองในการเลน่ กฬี า ในบริบทของตนเอง ๒. เลน่ กฬี าไทยและกฬี าสากล  การเลน่ กีฬาไทย กฬี าสากลตามชนิดกีฬาที่

ช้นั ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ทัง้ ประเภทบคุ คลและทีมได้อยา่ งละ เลือก เชน่ กรฑี าประเภทลู่และลาน บาสเกตบอล ๑ ชนดิ กระบ่ี เทนนิส ตระกร้อลอดบว่ ง ฟุตซอล ว่ายน้า เทควันโด ๓. เปรียบเทียบประสิทธภิ าพของ  ประสิทธภิ าพของรปู แบบการเคล่ือนไหวที่ รูปแบบการเคล่ือนไหวทส่ี ง่ ผลต่อการ สง่ ผลตอ่ การเลน่ กีฬาและกิจกรรมใน เลน่ กีฬาและกจิ กรรมในชวี ติ ประจาวนั ชีวิตประจาวนั ๔. ร่วมกิจกรรมนนั ทนาการอย่าง  การนาประสบการณ์จากการรว่ มกิจกรรม นอ้ ย ๑ กจิ กรรม และนาความรู้และ นันทนาการไปปรบั ใชใ้ นชีวติ ประจาวัน หลักการทไี่ ดไ้ ปปรับใช้ใน ชวี ติ ประจาวนั อยา่ งเป็นระบบ ม. ๓ ๑. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากล  เทคนิคและวิธกี ารเลน่ กีฬาไทยและกีฬา ไดอ้ ย่างละ ๑ ชนิดโดยใช้เทคนิค สากลทเ่ี ลอื ก เช่น กรีฑาประเภทลู่และลาน ท่ีเหมาะสมกบั ตนเองและทมี วอลเลย์บอล บาสเกตบอล ดาบสองมือ เทนนิส ตะกรอ้ ข้ามตาข่าย ฟุตบอล ๒. นาหลักการ ความรูแ้ ละทักษะ  การนาหลกั การ ความรู้ ทักษะในการ ในการเคลอ่ื นไหว กจิ กรรมทางกาย เคล่อื นไหว กจิ กรรมทางกาย การเลน่ เกม การ การเลน่ กม และการเล่นกฬี าไปใช้ เลน่ กีฬาไปใช้เป็นระบบสร้างเสรมิ สุขภาพอยา่ ง สร้างเสรมิ สุขภาพอย่างตอ่ เน่อื ง ตอ่ เน่อื ง เป็นระบบ ๓. ร่วมกิจกรรมนนั ทนาการอย่าง  การจดั กิจกรรมนนั ทนาการแก่ผ้อู ่นื น้อย ๑ กจิ กรรมและนาหลักความรู้ วธิ กี ารไปขยายผลการเรียนรูใ้ ห้กับผูอ้ ่นื ม.๔–ม.๖ ๑. วเิ คราะห์ความคดิ รวบยอด  ความคดิ รวบยอดเกี่ยวกบั การเคลื่อนไหว เกี่ยวกบั การเคลอื่ นไหวรูปแบบตา่ งๆ รูปแบบต่าง ๆ ในการเล่นกฬี า ในการเล่นกีฬา  การวิเคราะห์ความคดิ รวบยอดเกยี่ วกับการ เคลอื่ นไหวรปู แบบต่างๆ ในการเลน่ กีฬา ๒. ใชค้ วามสามารถของตน  การใช้ความสามารถของตนในการเล่นกฬี า เพ่ือเพมิ่ ศักยภาพของทมี คานงึ ถงึ ผล เพ่อื เพม่ิ ศกั ยภาพของทีม โดยคานึงถึง ผลท่ีเกิด ทเ่ี กดิ ตอ่ ผอู้ นื่ และสงั คม ตอ่ ผู้อ่ืนและสังคม ๓. เลน่ กีฬาไทย กีฬาสากลประเภท  กฬี าประเภทบคุ คล / คู่ ประเภททีม เช่น บุคคล / คู่ กฬี าประเภททีมไดอ้ ยา่ ง ฟตุ ซอล รักบี้ฟตุ บอล ยิมนาสตกิ ลีลาศ น้อย ๑ ชนดิ ซอฟท์บอล เทนนิส เซปกั ตะกรอ้ มวยไทย

ชัน้ ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กระบก่ี ระบอง พลอง งา้ ว ๔. แสดงการเคล่ือนไหวได้อย่าง  การเคลอ่ื นไหวทสี่ รา้ งสรรค์ เช่น กจิ กรรม สร้างสรรค์ เข้าจังหวะ เชยี ร์ลดี เดอร์ ๕. เข้ารว่ มกิจกรรมนนั ทนาการนอก  การนาหลักการและแนวคดิ ของกจิ กรรม โรงเรยี น และนาหลักการแนวคดิ นนั ทนาการไปปรับปรงุ และพฒั นาคุณภาพชวี ติ ไปปรบั ปรุงและพัฒนาคุณภาพชีวิต ของตนและสังคม ของตนและสงั คม สาระที่ ๓ การเคลอ่ื นไหว การออกกาลงั กาย การเลน่ เกม กีฬาไทย และกีฬาสากล มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกาลงั กาย การเล่นเกม และการเลน่ กฬี า ปฏิบัตเิ ปน็ ประจาอย่างสมา่ เสมอ มวี นิ ัย เคารพสทิ ธิ กฎ กติกา มีนา้ ใจนักกีฬา มีจติ วิญญาณในการแขง่ ขนั และชน่ื ชม ใน สนุ ทรียภาพของการกฬี า ชนั้ ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ป.๑ ๑. ออกกาลังกาย และเล่นเกม  การออกกาลังกาย และการเลน่ เกม ตามคาแนะนา อยา่ งสนุกสนาน เบ็ดเตลด็ ๒. ปฏิบัติตนตามกฎ กตกิ า  กฎ กติกา ขอ้ ตกลงในการเลน่ เกม ขอ้ ตกลงในการเล่นเกมตามคาแนะนา เบ็ดเตล็ด ป.๒ ๑. ออกกาลังกาย และเล่นเกม ได้  การออกกาลงั กาย และเล่นเกมเบ็ดเตล็ด ดว้ ยตนเองอย่างสนกุ สนาน  ประโยชน์ของการออกกาลงั กายและการ เล่นเกม ๒. ปฏิบตั ิตามกฎ กตกิ าและ  กฎ กตกิ า ข้อตกลงในการเลน่ เกมเปน็ กล่มุ ขอ้ ตกลงในการเลน่ เกมเปน็ กลุ่ม ป. ๓ ๑. เลอื กออกกาลงั กาย การละเลน่  แนวทางการเลอื กออกกาลงั กาย พนื้ เมอื ง และเล่นเกม ท่ี การละเลน่ พื้นเมอื งและเล่นเกมท่เี หมาะสมกบั เหมาะสมกับจุดเด่น จุดด้อย และ จุดเดน่ จุดด้อยและขอ้ จากัดของแต่ละบคุ คล ข้อจากัดของตนเอง ๒. ปฏบิ ัติตามกฎ กติกาและ  การออกกาลงั กาย เกม และการละเลน่ ขอ้ ตกลงของการออกกาลังกาย การ พ้ืนเมือง เล่นเกม การละเลน่ พ้ืนเมืองไดด้ ว้ ย  กฎ กติกาและข้อตกลงในการออกกาลงั ตนเอง กาย การเลน่ เกม และการละเลน่ พน้ื เมอื ง ป. ๔ ๑. ออกกาลงั กาย เลน่ เกม และ  การออกกาลงั กาย เลน่ เกม ตาม กีฬาท่ีตนเองชอบและมคี วามสามารถ ความชอบของตนเองและเลน่ กีฬาพ้ืนฐาน ในการวเิ คราะหผ์ ลพัฒนาการของ รว่ มกบั ผูอ้ ืน่

ชน้ั ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ตนเองตามตวั อย่างและแบบปฏบิ ัตขิ อง  การวเิ คราะห์ผลพัฒนาการของตนเองใน ผอู้ น่ื การออกกาลังกาย เล่นเกมและเลน่ กฬี า ตาม ตวั อย่างและแบบปฏิบตั ิของผูอ้ ่นื  คุณคา่ ของการออกกาลังกาย เล่นเกม และเล่นกฬี า ทม่ี ตี อ่ สขุ ภาพ ๒. ปฏิบัตติ ามกฎ กติกาการเล่น - การปฏบิ ัตติ ามกฎ กตกิ า การเล่นกีฬา กฬี าพ้ืนฐาน ตามชนิดกฬี าที่เลน่ พ้นื ฐาน ตามชนิดกีฬาท่ีเล่น ป. ๕ ๑. ออกกาลงั กายอยา่ งมีรูปแบบ  หลกั การและรูปแบบการออกกาลังกาย เล่นเกมท่ใี ช้ทักษะการคิดและตดั สนิ ใจ  การออกกาลงั กาย และการเลน่ เกม เช่น เกมเบด็ เตลด็ เกมเลียนแบบ เกมนา และ การละเล่นพนื้ เมอื ง ๒. เล่นกฬี าทีต่ นเองชอบอย่าง  การเล่นกฬี าไทย และกฬี าสากลประเภท สม่าเสมอ โดยสรา้ งทางเลือกในวธิ ี บคุ คลและทีมท่ีเหมาะสมกบั วัยอย่างสม่าเสมอ ปฏบิ ตั ิของตนเองอยา่ งหลากหลาย  การสรา้ งทางเลอื กในวิธีปฏิบัติในการเล่น และมนี า้ ใจนักกีฬา กีฬาอย่างหลากหลาย และมนี ้าใจนกั กฬี า ๓. ปฏบิ ตั ติ ามกฎกติกา การเล่นเกม  กฎ กติกาในการเล่นเกม กีฬาไทยและกฬี า กฬี าไทย และกฬี าสากล ตามชนิด สากลตามชนดิ กฬี าทเ่ี ล่น กีฬาท่เี ล่น  วธิ กี ารรุกและวิธปี ้องกันในการเลน่ กฬี า ไทยและกีฬาสากลท่เี ล่น ๔. ปฏิบัตติ นตามสทิ ธขิ องตนเอง ไม่  สิทธิของตนเองและผอู้ นื่ ในการเลน่ เกมและ ละเมิดสิทธิผูอ้ ่นื และยอมรับในความ กีฬา แตกตา่ งระหว่างบคุ คลในการเลน่ เกม  ความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเลน่ เกม และกีฬาไทย กฬี าสากล และกีฬา ป. ๖ ๑. อธิบายประโยชนแ์ ละหลักการ  ประโยชนแ์ ละหลกั การออกกาลงั กายเพ่อื ออกกาลงั กายเพอื่ สขุ ภาพ สมรรถภาพ สขุ ภาพ สมรรถภาพทางกายและการสรา้ งเสรมิ ทางกายและการสรา้ งเสริมบุคลกิ ภาพ บคุ ลิกภาพ ๒. เล่นเกมทีใ่ ช้ทักษะการวางแผน  การเล่นเกมที่ใช้ทักษะการวางแผน และสามารถเพมิ่ พูนทักษะการออก  การเพ่ิมพนู ทักษะการออกกาลงั กายและ กาลังกายและเคลื่อนไหวอยา่ งเปน็ การเคลือ่ นไหวอย่างเปน็ ระบบ ระบบ ๓. เลน่ กีฬาที่ตนเองชื่นชอบและ  การเลน่ กีฬาประเภทบุคคลและประเภท สามารถประเมนิ ทกั ษะการเล่นของตน ทีมท่ีชื่นชอบ เป็นประจา

ชน้ั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง  การประเมินทกั ษะการเล่นกีฬาของตน ๔. ปฏบิ ตั ิตามกฎ กติกา ตามชนิด  กฎ กติกาในการเลน่ กีฬาไทย กฬี าสากล กีฬาท่ีเล่น โดยคานึงถงึ ความปลอดภยั ตามชนิดกีฬาทเี่ ลน่ ของตนเองและผ้อู ่ืน ๕. จาแนกกลวธิ กี ารรกุ การปอ้ งกัน  กลวิธกี ารรกุ การปอ้ งกันในการเลน่ กฬี า และนาไปใชใ้ นการเลน่ กฬี า ๖. เล่นเกมและกฬี า ดว้ ยความ  การสร้างความสามัคคีและความมีนา้ ใจ สามคั คีและมนี า้ ใจนกั กฬี า นกั กฬี าในการเล่นเกมและกฬี า ม. ๑ ๑. อธิบายความสาคัญของการออก  ความสาคัญของการออกกาลังกายและเลน่ กาลังกายและเล่นกฬี า จนเปน็ วิถี กฬี า จนเปน็ วิถีชวี ติ ทม่ี ีสุขภาพดี ชวี ิตท่มี สี ุขภาพดี  การออกกาลงั กาย เช่น กายบรหิ าร ๒. ออกกาลังกายและเลือกเข้าร่วม แบบต่างๆ เต้นแอโรบิก โยคะ รามวยจีน เล่นกฬี าตามความถนัด ความสนใจ  การเล่นกีฬาไทย และกีฬาสากล อย่างเต็มความสามารถ พรอ้ มท้ังมี ท้งั ประเภทบุคคลและทมี การประเมินการเล่นของตนและผอู้ ื่น  การประเมนิ การเล่นกฬี าของตนเองและ ผู้อ่ืน ๓. ปฏิบตั ติ ามกฎ กติกา และ  กฎ กติกา การเล่นเกมและการแข่งขนั ข้อตกลงตามชนิดกีฬาท่เี ลอื กเลน่ กฬี าทเ่ี ลอื กเลน่ ๔. วางแผนการรกุ และการป้องกนั ใน  รปู แบบ วธิ ีการรุกและปอ้ งกันในการเล่น การเลน่ กฬี าทเ่ี ลอื กและนาไปใช้ในการ กฬี าท่ีเลอื ก เลน่ อย่างเป็นระบบ ๕. ร่วมมอื ในการเลน่ กีฬา และการ  การเล่น การแข่งขนั กีฬา และการทางาน ทางานเปน็ ทมี อยา่ งสนุกสนาน เปน็ ทีม ๖. วิเคราะห์เปรยี บเทยี บและยอมรับ  การยอมรบั ความสามารถและความ ความแตกตา่ งระหวา่ งวธิ กี ารเล่นกีฬา แตกต่างระหวา่ งบคุ คลในการเล่นกฬี า ของตนเองกับผอู้ ื่น ม. ๒ ๑. อธิบายสาเหตุการเปล่ียนแปลง  สาเหตกุ ารเปล่ียนแปลงทางด้านรา่ งกาย ทางกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม จติ ใจ อารมณ์ สังคม และสตปิ ัญญา จากการ และสติปัญญา ท่ีเกดิ จากการ ออกกาลงั กายและการเล่นกฬี าอยา่ งสม่าเสมอ ออกกาลงั กาย และเลน่ กีฬาเปน็ ประจา จนเป็นวถิ ีชวี ิต จนเป็นวิถชี ีวติ  การสรา้ งวิถชี วี ติ ทมี่ สี ขุ ภาพดี โดยการ ออกกาลังกายและเลน่ กฬี าเป็นประจา ๒. เลอื กเขา้ รว่ มกิจกรรม  การออกกาลังกายและการเล่นกีฬาไทย การออกกาลังกาย เล่นกฬี าตาม กฬี าสากลทง้ั ประเภทบคุ คลและประเภททีม

ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ความถนดั และความสนใจพรอ้ มทง้ั  การวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างบคุ คล วเิ คราะห์ความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล เพอื่ เปน็ แนวทางในการพัฒนาการรว่ มกจิ กรรม เพอ่ื เป็นแนวทางในการพฒั นาตนเอง การออกกาลังกายและเลน่ กฬี า ๓. มวี ินัย ปฏบิ ตั ติ ามกฎ กตกิ า  วินยั ในการฝึก และการเล่นกฬี า ตามกฎ และขอ้ ตกลงในการเลน่ กีฬาที่เลอื ก กตกิ าและข้อตกลง ๔. วางแผนการรุกและการปอ้ งกันใน  รูปแบบ กลวิธกี ารรุก การปอ้ งกนั ในการ การเลน่ กีฬาที่เลอื กและนาไปใช้ ใน เลน่ กีฬาเปน็ ทีม การเลน่ อย่างเหมาะสมกับทีม  ประโยชนข์ องการเลน่ และการทางาน เป็นทีม  หลกั การให้ความรว่ มมือในการเลน่ การแขง่ ขนั กฬี าและการทางานเป็นทมี ๕. นาผลการปฏิบัตใิ นการเลน่ กีฬา  การพัฒนาวิธเี ลน่ กีฬาท่เี หมาะสมกับ มาสรปุ เปน็ วิธที เ่ี หมาะสมกับตนเอง ตนเอง ด้วยความม่งุ มั่น - การเลอื กวิธเี ลน่ - การแก้ไขขอ้ บกพร่อง - การเพิ่มทักษะ  การสรา้ งแรงจูงใจและการสรา้ งความ มุง่ มั่นในการเลน่ และแข่งขนั กีฬา ม. ๓ ๑. มมี ารยาทในการเล่นและดูกฬี า  มารยาทในการเลน่ และการดูกฬี าด้วย ดว้ ยความมีนา้ ใจนักกีฬา ความมีนา้ ใจนกั กีฬา ๒. ออกกาลังกายและเลน่ กฬี าอย่าง  การออกาลังกายและการเล่นกฬี าประเภท สม่าเสมอและนาแนวคดิ หลกั การจาก บคุ คล และประเภททีม การเล่นไปพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ของตน  การนาประสบการณ์ แนวคดิ จากการ ดว้ ยความภาคภมู ิใจ ออกกาลงั กายและเล่นกีฬาไปประยกุ ต์ใช้ในการ พัฒนาคุณภาพชวี ิต ๓. ปฏิบตั ติ นตามกฎ กติกา และ  กฎ กติกาและข้อตกลงในการเลน่ กีฬาท่ี ขอ้ ตกลงในการเล่นตามชนิดกีฬาที่ เลือกเลน่ เลือกและนาแนวคดิ ที่ได้ไปพฒั นา  การประยุกตป์ ระสบการณก์ ารปฏบิ ัตติ าม คุณภาพชีวิต ของตนในสังคม กฎ กตกิ า ขอ้ ตกลงในการเล่นกฬี าไปใช้พฒั นา คณุ ภาพชวี ติ ของตนในสังคม ๔. จาแนกกลวธิ กี ารรกุ การปอ้ งกนั  วธิ ีการประยกุ ตใ์ ช้กลวิธีการรุกและการ และใช้ในการเลน่ กีฬาท่เี ลือกและ ปอ้ งกนั ในการเลน่ กฬี าได้ตามสถานการณข์ อง ตัดสินใจเลอื กวิธที ีเ่ หมาะสมกับทมี ไป การเลน่ ใชไ้ ดต้ ามสถานการณข์ องการเลน่

ชั้น ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ๕. เสนอผลการพฒั นาสขุ ภาพของ  การพฒั นาสุขภาพตนเองทเ่ี กดิ จากการออก ตนเองท่ีเกิดจากการออกกาลงั กาย กาลงั กายและการเลน่ กีฬาเป็นประจา และการเลน่ กฬี าเปน็ ประจา ม. ๔–ม.๖ ๑. ออกกาลังกายและเลน่ กีฬา  การออกกาลังกายด้วยวิธีที่ชอบ เชน่ ที่เหมาะสมกับตนเองอยา่ งสม่าเสมอ ฝึกกายบรหิ ารแบบตา่ งๆ ขี่จักรยาน และใช้ความสามารถของตนเองเพ่ิม การออกกาลังกายจากการทางาน ศักยภาพของทีม ลดความเปน็ ตวั ตน ในชีวติ ประจาวนั การรากระบอง รามวยจีน คานงึ ถงึ ผลทีเ่ กดิ ตอ่ สงั คม  การเล่นกฬี าประเภทบุคคล และประเภท ทมี  การใช้ความสามารถของตนในการเพม่ิ ศักยภาพของทมี ในการเล่นกฬี าและการเลน่ โดย คานึงถึงประโยชน์ตอ่ สังคม  การวางแผนกาหนดกิจกรรมการออกกาลงั - กายและเลน่ กฬี า ๒. อธิบายและปฏิบัตเิ ก่ยี วกบั สทิ ธิ  สิทธิ กฎ กติกาการเล่นกฬี า กฎ กติกา กลวิธตี ่างๆ ในระหวา่ ง  กลวิธี หลักการรุก การปอ้ งกันอย่าง การเลน่ การแขง่ ขันกีฬากบั ผู้อน่ื และ สรา้ งสรรค์ในการเล่นและแขง่ ขันกฬี า นาไปสรุปเป็นแนวปฏิบตั ิและใช้ใน  การนาประสบการณ์จากการเล่นกฬี าไปใช้ ชีวิตประจาวันอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ในชวี ิตประจาวนั ๓. แสดงออกถึงการมมี ารยาทในการ  การปฏบิ ตั ิตนในเร่อื งมารยาทในการดู การ ดู การเลน่ และการแข่งขนั กฬี า ด้วย เลน่ การแข่งขัน ความมีน้าใจนักกฬี า ความมนี ้าใจนกั กีฬา และนาไปใช้  บุคลกิ ภาพท่ดี ี ปฏบิ ัตทิ ุกโอกาส จนเป็นบุคลิกภาพท่ี ดี ๔. รว่ มกิจกรรมทางกายและเลน่ กีฬา  ความสุขทีไ่ ด้จากการเขา้ ร่วมกิจกรรมทาง อย่างมีความสุข ชนื่ ชมในคุณคา่ และ กาย และเลน่ กฬี า ความงามของการกฬี า  คุณคา่ และความงามของการกฬี า

สาระท่ี ๔ การสร้างเสริมสขุ ภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรค มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ การดารงสขุ ภาพ การป้องกันโรค และ การสรา้ งเสริมสมรรถภาพเพ่ือสุขภาพ ชัน้ ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ป.๑ ๑. ปฏบิ ัตติ นตามหลกั สุขบัญญตั ิ  การปฏิบตั ิตนตามหลักสุขบัญญตั แิ หง่ ชาติ แหง่ ชาตติ ามคาแนะนา ๒. บอกอาการเจบ็ ปว่ ยท่ีเกดิ ข้นึ กับ  ลักษณะอาการเจ็บปว่ ยที่เกิดข้นึ กบั ตนเอง ตนเอง - ปวดศีรษะ - ตัวรอ้ น - มนี ้ามกู - ปวดทอ้ ง - ผน่ื คนั (หนงั ศรี ษะ ผวิ หนงั ) - ฟกช้า ฯลฯ ๓. ปฏิบตั ิตนตามคาแนะนาเม่อื มี  วธิ ีปฏิบตั ติ นเมอื่ มอี าการเจ็บป่วยท่ีเกิด อาการเจ็บปว่ ย ขนึ้ กับตนเอง ป. ๒ ๑. บอกลกั ษณะของการมีสุขภาพดี  ลักษณะของการมสี ุขภาพดี - ร่างกายแขง็ แรง - จิตใจ รา่ เรงิ แจ่มใส - มคี วามสขุ - มีความปลอดภยั ๒. เลือกกนิ อาหารท่มี ีประโยชน์  อาหารทม่ี ปี ระโยชนแ์ ละไมม่ ปี ระโยชน์ ๓. ระบขุ องใช้และของเล่นท่ีมผี ลเสีย  ของใชแ้ ละของเล่นทีม่ ีผลเสียตอ่ สุขภาพ ตอ่ สุขภาพ ๔. อธิบายอาการและวธิ ปี อ้ งกนั การ  อาการและวิธีปอ้ งกนั การเจ็บป่วย เจบ็ ปว่ ย การบาดเจ็บที่อาจเกดิ ขนึ้ - ตาแดง ท้องเสีย ฯลฯ  อาการและวิธีปอ้ งกนั การบาดเจบ็ - ถกู ของมีคม แมลงสัตว์กดั ต่อย หกลม้ ฯลฯ ๕. ปฏิบตั ติ ามคาแนะนาเมื่อมีอาการ  วิธปี ฏิบัติตนเมื่อเจ็บปว่ ยและบาดเจ็บ เจ็บป่วยและบาดเจ็บ ป. ๓ ๑. อธิบายการติดตอ่ และวธิ กี าร  การติดต่อและวธิ กี ารปอ้ งกนั การ ปอ้ งกันการแพรก่ ระจายของโรค แพร่กระจายของโรค ๒. จาแนกอาหารหลกั ๕ หมู่  อาหารหลัก ๕ หมู่

ชัน้ ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ๓. เลือกกินอาหารที่หลากหลายครบ  การเลือกกนิ อาหารที่เหมาะสม ๕ หมู่ ในสัดส่วนทีเ่ หมาะสม - ความหลากหลายของชนิดอาหารในแตล่ ะหมู่ - สัดส่วนและปริมาณของอาหาร (ตามธง โภชนาการ) ๔. แสดงการแปรงฟนั ใหส้ ะอาดอยา่ ง  การแปรงฟันให้สะอาดอย่างถูกวิธี ถกู วิธี (ครอบคลุมบริเวณขอบเหงือกและคอฟนั ) ๕. สรา้ งเสริมสมรรถภาพทางกายได้  การสรา้ งเสริมสมรรถภาพทางกายเพื่อ ตามคาแนะนา สุขภาพ - วิธีการทดสอบสมรรถภาพทางกาย - วิธีการสรา้ งเสริมสมรรถภาพเพื่อสขุ ภาพ โดยการออกกาลงั กาย การพกั ผอ่ น และ กจิ กรรมนันทนาการ ป. ๔ ๑. อธบิ ายความสมั พนั ธ์ระหว่าง  ความสัมพนั ธร์ ะหว่างสิ่งแวดลอ้ มกับสขุ ภาพ สง่ิ แวดลอ้ มกับสุขภาพ  การจัดสงิ่ แวดล้อมทีถ่ ูกสขุ ลกั ษณะและ เอือ้ ต่อสขุ ภาพ ๒. อธบิ ายสภาวะอารมณ์ ความรูส้ กึ  สภาวะอารมณแ์ ละความรสู้ ึก เช่นโกรธ ทม่ี ีผลตอ่ สุขภาพ หงุดหงิด เครียด เกลียด เสยี ใจ เศร้าใจ วิตกกังวล กลัว กา้ วรา้ ว อิจฉา ริษยา เบอื่ หน่าย ท้อแท้ ดใี จ ชอบใจ รัก ชนื่ ชม สนุก สุขสบาย  ผลที่มีตอ่ สขุ ภาพ ทางบวก : สดชืน่ ยิ้มแย้ม แจม่ ใส ร่าเรงิ ฯลฯ ทางลบ : ปวดศรี ษะ ปวดทอ้ ง เบือ่ อาหาร ออ่ นเพลยี ฯลฯ ๓. วิเคราะห์ข้อมูลบนฉลากอาหารและ  การวเิ คราะหข์ อ้ มลู บนฉลากอาหารและ ผลติ ภัณฑส์ ุขภาพ เพอื่ การเลอื กบรโิ ภค ผลติ ภัณฑส์ ุขภาพ ๔. ทดสอบและปรบั ปรุงสมรรถภาพ  การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ทางกายตามผลการตรวจสอบ  การปรับปรุงสมรรถภาพทางกายตามผลการ สมรรถภาพทางกาย ทดสอบสมรรถภาพทางกาย ป. ๕ ๑. แสดงพฤติกรรมทเี่ หน็ ความสาคัญ  ความสาคัญของการปฏบิ ตั ิตนตามสุขบัญญัติ ของการปฏบิ ตั ติ นตามสุขบัญญตั ิ แหง่ ชาติ แหง่ ชาติ

ชั้น ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ๒. คน้ หาข้อมูลข่าวสารเพื่อใช้สรา้ ง  แหลง่ และวธิ ีค้นหาขอ้ มลู ขา่ วสารทาง เสริมสขุ ภาพ สุขภาพ  การใช้ข้อมูลข่าวสารในการสรา้ งเสรมิ สุขภาพ ๓. วิเคราะห์สอ่ื โฆษณาในการ  การตดั สินใจเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์ ตัดสนิ ใจเลือกซ้ืออาหาร และผลิตภัณฑ์ สุขภาพ (อาหาร เครอ่ื งสาอาง ผลติ ภัณฑ์ดแู ล สขุ ภาพอย่างมเี หตุผล สขุ ภาพในช่องปาก ฯลฯ) ๔. ปฏิบตั ิตนในการปอ้ งกันโรคทพี่ บ การปฏิบตั ติ นในการปอ้ งกนั โรคทพ่ี บบอ่ ยใน บอ่ ยในชวี ิตประจาวนั ชวี ติ ประจาวัน - ไขห้ วดั - ไขเ้ ลอื ดออก - โรคผิวหนงั - ฟันผุและโรคปริทนั ต์ ฯลฯ ๕. ทดสอบและปรับปรงุ สมรรถภาพ  การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ทางกายตามผลการทดสอบ  การปรับปรงุ สมรรถภาพทางกายตามผลการ สมรรถภาพทางกาย ทดสอบสมรรถภาพทางกาย ป. ๖ ๑. แสดงพฤติกรรมในการป้องกัน  ความสาคญั ของส่งิ แวดล้อมทมี่ ีผลตอ่ และแก้ไขปญั หาส่ิงแวดล้อมท่ีมีผลตอ่ สขุ ภาพ สขุ ภาพ  ปญั หาของสิ่งแวดล้อมทม่ี ีผลตอ่ สุขภาพ  การปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาสิง่ แวดล้อมทมี่ ี ผลต่อสขุ ภาพ ๒. วเิ คราะห์ผลกระทบท่ีเกิดจากการ  โรคตดิ ต่อสาคญั ทร่ี ะบาดในปจั จุบัน ระบาดของโรคและเสนอแนวทางการ  ผลกระทบที่เกิดจากการระบาดของโรค ปอ้ งกันโรคตดิ ต่อสาคัญทีพ่ บใน  การป้องกนั การระบาดของโรค ประเทศไทย ๓. แสดงพฤตกิ รรมที่บ่งบอกถงึ  พฤตกิ รรมทีแ่ สดงออกถงึ ความรับผดิ ชอบต่อ ความรับผิดชอบต่อสขุ ภาพของสว่ นรวม สุขภาพของส่วนรวม ๔. สรา้ งเสริมและปรบั ปรงุ  วธิ ีทดสอบสมรรถภาพทางกาย สมรรถภาพทางกายเพอ่ื สขุ ภาพอยา่ ง  การสร้างเสริมและปรบั ปรุงสมรรถภาพทาง ต่อเน่ือง กายตามผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ม. ๑ ๑. เลือกกินอาหารที่เหมาะสมกับวยั  หลกั การเลือกอาหารทีเ่ หมาะสมกับวยั ๒. วิเคราะหป์ ญั หาทีเ่ กดิ จากการ  ปญั หาทเี่ กิดจากภาวะโภชนาการ

ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ภาวะโภชนาการท่มี ผี ลกระทบต่อ - ภาวะการขาดสารอาหาร สุขภาพ - ภาวะโภชนาการเกิน ๓. ควบคมุ นา้ หนักของตนเองใหอ้ ยู่  เกณฑม์ าตรฐานการเจรญิ เตบิ โตของเดก็ ไทย ในเกณฑ์มาตรฐาน  วิธกี ารควบคุมนา้ หนักของตนเองให้อยใู่ น เกณฑ์มาตรฐาน ๔. การสร้างเสริมและปรบั ปรุง  วิธีทดสอบสมรรถภาพทางกาย สมรรถภาพทางกายตามผลการ  วธิ สี รา้ งเสริมและปรบั ปรุงสมรรถภาพ ทาง ทดสอบ กายตามผลการทดสอบ ม. ๒ ๑. เลอื กใช้บริการทางสุขภาพอย่างมี  การเลือกใช้บรกิ ารทางสขุ ภาพ เหตุผล ๒. วเิ คราะหผ์ ลของการใชเ้ ทคโนโลยี  ผลกระทบของเทคโนโลยี ท่มี ีต่อสุขภาพ ที่มตี อ่ สขุ ภาพ ๓. วเิ คราะหค์ วามเจรญิ กา้ วหนา้  ความเจริญกา้ วหน้าทางการแพทย์ท่มี ีผลต่อ ทางการแพทย์ทีม่ ผี ลต่อสุขภาพ สุขภาพ ๔. วิเคราะห์ความสัมพันธข์ องภาวะ  ความสมดุลระหว่างสุขภาพกายและ สมดุลระหว่างสุขภาพกายและ สุขภาพจิต สขุ ภาพจิต ๕. อธบิ ายลกั ษณะอาการเบอื้ งต้น  ความสมดุลระหว่างสขุ ภาพกายและ ของผู้มปี ญั หาสุขภาพจติ สุขภาพจติ ๖. เสนอแนะวิธีปฏบิ ัตติ นเพอ่ื จัดการ  วิธีปฏิบตั ิตนเพื่อจัดการกับอารมณ์และ กับอารมณแ์ ละความเครียด ความเครียด ๗. พัฒนาสมรรถภาพทางกายตนเอง  เกณฑส์ มรรถภาพทางกาย ใหเ้ ป็นไปตามเกณฑ์ท่กี าหนด  การพัฒนาสมรรถภาพทางกาย ม. ๓ ๑. กาหนดรายการอาหารทเ่ี หมาะสม  การกาหนดรายการอาหารท่ีเหมาะสมกบั วยั กับวยั ต่าง ๆ โดยคานงึ ถึงความ ตา่ ง ๆ ประหยดั และคณุ ค่าทางโภชนาการ  วัยทารก วัยเดก็ (วัยก่อนเรียน วัยเรยี น) วยั รุ่น วยั ผู้ใหญ่ วยั สูงอายุ โดยคานึงถงึ ความ ประหยัดและคณุ คา่ ทางโภชนาการ ๒. เสนอแนวทางป้องกนั โรคที่เปน็  โรคทเี่ ป็นสาเหตุสาคัญของการเจบ็ ปว่ ยและ สาเหตุสาคัญของการเจ็บป่วยและการ การตายของคนไทย ตายของคนไทย โรคตดิ ต่อ เชน่ - โรคท่ีเกิดจากการมเี พศสัมพันธ์ - โรคเอดส์

ชน้ั ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง - โรคไข้หวดั นก ๓. รวบรวมข้อมลู และเสนอแนวทาง แกไ้ ขปญั หาสขุ ภาพในชุมชน ฯลฯ ๔. วางแผนและจัดเวลาในการออก โรคไม่ตดิ ตอ่ เช่น กาลงั กาย การพกั ผอ่ นและการสร้าง - โรคหวั ใจ เสรมิ สมรรถภาพทางกาย - โรคความดันโลหิตสูง ๕. ทดสอบสมรรถภาพทางกาย - เบาหวาน และพัฒนาไดต้ ามความแตกต่างระหว่าง - มะเรง็ บคุ คล ม.๔– ม.๖ ๑. วเิ คราะห์บทบาทและความ ฯลฯ รับผิดชอบของบุคคลท่ีมตี อ่ การสร้างเสริม  ปัญหาสุขภาพในชมุ ชน สุขภาพและการปอ้ งกันโรคในชุมชน  แนวทางแกไ้ ขปญั หาสุขภาพในชุมชน ๒. วิเคราะห์ อทิ ธิพลของส่ือโฆษณา  การวางแผนและจดั เวลาในการ เกีย่ วกบั สุขภาพเพ่อื การเลอื กบรโิ ภค ออกกาลงั กาย การพักผ่อน และการสร้างเสริม สมรรถภาพทางกาย ๓. ปฏิบตั ติ นตามสทิ ธิของผ้บู รโิ ภค  การทดสอบสมรรถภาพทางกายแบบต่าง ๆ และการพัฒนาสมรรถภาพเพื่อสขุ ภาพ ๔. วเิ คราะห์สาเหตุและเสนอแนว ทางการปอ้ งกนั การเจ็บป่วยและการ  บทบาทและความรับผิดชอบของบคุ คล ตายของคนไทย ท่ีมีต่อการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพและการป้องกันโรค ในชมุ ชน ๕. วางแผนและปฏบิ ัติตามแผน  อิทธิพลของสอ่ื โฆษณาเก่ยี วกับสุขภาพ การพัฒนาสขุ ภาพของตนเองและ  แนวทางการเลือกบริโภคอยา่ งฉลาดและ ครอบครวั ปลอดภัย ๖. มสี ว่ นร่วมในการสง่ เสรมิ และ  สิทธพิ นื้ ฐานของผู้บริโภคและกฎหมายท่ี พฒั นาสขุ ภาพของบคุ คลในชมุ ชน เกย่ี วขอ้ งกับการคมุ้ ครองผ้บู ริโภค ๗. วางแผนและปฏิบัติตามแผน  สาเหตุของการเจ็บป่วยและการตายของคนไทย เชน่ โรคจากการประกอบอาชพี โรคทาง พันธุกรรม  แนวทางการป้องกนั การเจ็บป่วย  การวางแผนการพัฒนาสขุ ภาพของตนเอง ครอบครัว  การมสี ่วนร่วมในการส่งเสริมและพัฒนา สุขภาพของบคุ คลในชุมชน  การวางแผนพฒั นาสมรรถภาพทางกาย

ชน้ั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง การพัฒนาสมรรถภาพกายและ และสมรรถภาพกลไก สมรรถภาพกลไก สาระท่ี ๕ ความปลอดภัยในชวี ติ มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้องกันและหลกี เลย่ี งปจั จัยเสีย่ ง พฤตกิ รรมเสีย่ งตอ่ สุขภาพ อบุ ัติเหตุ การใชย้ า สารเสพติด และความรนุ แรง ชั้น ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป. ๑ ๑. ระบุสิ่งทีท่ าให้เกิดอันตราย  สงิ่ ท่ีทาให้เกดิ อันตรายภายในบ้านและ ทีบ่ ้าน โรงเรยี น และการป้องกนั โรงเรยี น  การป้องกนั อนั ตรายภายในบา้ นและ โรงเรยี น ๒. บอกสาเหตแุ ละการปอ้ งกนั  อันตรายจากการเลน่ อันตรายทเ่ี กิดจากการเล่น - สาเหตุที่ทาให้เกิดอนั ตรายจากการเล่น - การปอ้ งกันอนั ตรายจากการเลน่ ๓. แสดงคาพูดหรือท่าทางขอความ  การขอความช่วยเหลอื เมื่อเกดิ เหตรุ า้ ยที่บา้ น ช่วยเหลอื จากผ้อู นื่ เมอื่ เกิดเหตรุ ้ายท่ี และโรงเรียน บา้ นและโรงเรียน - บุคคลทค่ี วรขอความชว่ ยเหลอื - คาพูดและทา่ ทางการขอความชว่ ยเหลอื ป. ๒ ๑. ปฏบิ ัตติ นในการป้องกนั อบุ ัตเิ หตุ  อบุ ตั เิ หตุทางน้า และทางบก ทอ่ี าจเกิดข้นึ ทางน้า และทางบก - สาเหตุของอบุ ตั เิ หตุทางน้าและทางบก - วธิ กี ารป้องกนั อุบัติเหตทุ างน้าและทางบก ๒. บอกชื่อยาสามญั ประจาบ้าน  ยาสามัญประจาบ้าน และใชย้ าตามคาแนะนา - ชอื่ ยาสามัญประจาบา้ น - การใชย้ าตามความจาเปน็ และลกั ษณะอาการ ๓. ระบโุ ทษของสารเสพติด สาร  สารเสพติดและสารอันตรายใกลต้ วั อนั ตรายใกลต้ วั และวธิ ีการป้องกนั - โทษของสารเสพติด และสารอนั ตรายใกล้ตวั - วิธีปอ้ งกัน ๔. ปฏิบัตติ นตามสญั ลกั ษณ์และป้าย  สญั ลกั ษณ์และปา้ ยเตอื นของส่ิงของหรือ เตอื นของสงิ่ ของหรอื สถานท่ีท่เี ปน็ สถานทท่ี ี่เปน็ อันตราย อันตราย - ความหมายของสัญลกั ษณ์และปา้ ยเตือน ๕. อธิบายสาเหตุ อันตราย วธิ ี  อัคคีภยั ป้องกันอคั คีภัยและแสดงการหนไี ฟ - สาเหตุของการเกดิ อัคคีภัย - อนั ตรายซ่ึงได้รับจากการเกดิ อัคคภี ยั

ชั้น ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง - การป้องกนั อัคคีภัย และการหนไี ฟ ป. ๓ ๑. ปฏิบตั ติ นเพอ่ื ความปลอดภัยจาก  วธิ ปี ฏบิ ตั ิตนเพือ่ ความปลอดภัยจากอุบัติเหตุ อุบตั ิเหตุในบ้าน โรงเรียน และการ ในบ้าน โรงเรียนและการเดนิ ทาง เดนิ ทาง ๒. แสดงวธิ ขี อความช่วยเหลือจาก  การขอความช่วยเหลอื จากบุคคลและแหลง่ บุคคลและแหล่งต่าง ๆ เมอื่ เกิด ตา่ งๆ เมอื่ เกดิ เหตรุ า้ ยหรอื อบุ ัตเิ หตุ เหตุร้าย หรืออบุ ัติเหตุ ๓. แสดงวธิ ปี ฐมพยาบาล เมื่อ  การบาดเจ็บจากการเล่น บาดเจ็บจากการเลน่ - ลักษณะของการบาดเจ็บ - วิธปี ฐมพยาบาล (บาดเจ็บ ห้ามเลือด ฯลฯ) ป. ๔ ๑. อธบิ ายความสาคัญของการใช้ยา  ความสาคัญของการใชย้ า และใชย้ าอย่างถกู วธิ ี  หลกั การใช้ยา ๒. แสดงวิธปี ฐมพยาบาลเม่อื ได้รับ  วิธปี ฐมพยาบาล อนั ตรายจากการใช้ยาผิด สารเคมี - การใชย้ าผิด แมลงสัตว์กัดต่อย และการบาดเจ็บ - สารเคมี จากการเลน่ กฬี า - แมลงสัตวก์ ัดตอ่ ย - การบาดเจบ็ จากการเล่นกฬี า ๓. วิเคราะหผ์ ลเสียของการสูบบุหรี่  ผลเสยี ของการสบู บุหร่ี การดม่ื สรุ า และ และการด่มื สุรา ท่มี ีต่อสุขภาพและการ การป้องกัน ป้องกนั ป. ๕ ๑. วิเคราะหป์ จั จัยทมี่ ีอิทธพิ ลตอ่ การ  ปัจจยั ทมี่ ีอทิ ธพิ ลต่อการใช้สารเสพติด (สุรา ใช้สารเสพติด บุหร่ี ยาบ้า สารระเหย ฯลฯ) - ครอบครัว สังคม เพ่อื น - ค่านยิ ม ความเชือ่ - ปญั หาสุขภาพ - สอ่ื ฯลฯ ๒. วิเคราะหผ์ ลกระทบของการใชย้ า  ผลกระทบของการใชย้ า และสารเสพติดท่มี ี และสารเสพติด ท่มี ผี ลตอ่ ร่างกาย ต่อร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และ จติ ใจ อารมณ์ สังคม และสตปิ ัญญา สตปิ ญั ญา ๓. ปฏิบตั ิตนเพอื่ ความปลอดภยั จาก  การปฏบิ ัติตนเพื่อความปลอดภยั จาก การใชย้ าและหลกี เล่ยี งสารเสพติด การใช้ยา

ชัน้ ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง  การหลีกเลีย่ งสารเสพตดิ ๔. วิเคราะหอ์ ิทธิพลของส่อื ที่มตี อ่  อิทธพิ ลของสอื่ ที่มตี ่อพฤติกรรม สุขภาพ พฤตกิ รรมสขุ ภาพ (อนิ เทอรเ์ นต็ เกม ฯลฯ) ๕. ปฏิบัตติ นเพื่อป้องกันอนั ตราย  การปฏิบัติเพ่อื ปอ้ งกันอันตรายจากการ จากการเล่นกีฬา เล่นกีฬา ป. ๖ ๑. วเิ คราะห์ผลกระทบจากความ  ภยั ธรรมชาติ รุนแรงของภัยธรรมชาตทิ ี่มตี อ่ รา่ งกาย - ลกั ษณะของภัยธรรมชาติ จิตใจ และสังคม - ผลกระทบจากความรุนแรงของภัยธรรมชาติ ทีม่ ีตอ่ ร่างกาย จิตใจ และสังคม ๒. ระบุวธิ ีปฏบิ ัตติ น เพอ่ื ความ  การปฏิบตั ิตนเพื่อความปลอดภัยจากภยั ปลอดภัยจากธรรมชาติ ธรรมชาติ ๓. วเิ คราะหส์ าเหตขุ องการติดสารเสพตดิ  สาเหตุของการตดิ สารเสพตดิ และชกั ชวนให้ผ้อู ่ืนหลกี เล่ียงสารเสพติด  ทกั ษะการส่อื สารใหผ้ ู้อน่ื หลกี เลีย่ งสารเสพติด ม. ๑ ๑. แสดงวธิ ีปฐมพยาบาลและ  การปฐมพยาบาลและเคลื่อนย้ายผู้ป่วยอยา่ ง เคลอื่ นย้ายผู้ปว่ ยอยา่ งปลอดภยั ปลอดภัย - เปน็ ลม - บาดแผล - ไฟไหม้ - กระดูกหัก - นา้ ร้อนลวก ฯลฯ ๒. อธิบายลักษณะอาการของผตู้ ิด  ลักษณะของผ้ตู ดิ สารเสพติด สารเสพติดและการปอ้ งกนั การติดสาร  อาการของผู้ติดสารเสพตดิ เสพตดิ  การปอ้ งกนั การติดสารเสพตดิ ๓. อธิบายความสมั พันธ์ของการใช้  ความสมั พันธข์ องการใช้สารเสพตดิ กับการ สารเสพติดกบั การเกิดโรคและอุบตั ิเหตุ เกดิ โรค และอุบัตเิ หตุ ๔. แสดงวธิ กี ารชักชวนผ้อู ่นื ให้ลด  ทักษะท่ีใช้ในการชักชวนผู้อืน่ ใหล้ ด ละ ละ เลกิ สารเสพติด โดยใช้ทกั ษะ เลกิ สารเสพตดิ ต่าง ๆ - ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ - ทกั ษะการสือ่ สาร - ทกั ษะการตดั สนิ ใจ - ทักษะการแก้ปญั หา ฯลฯ ม. ๒ ๑. ระบวุ ิธกี าร ปัจจยั และแหลง่ ท่ี  วธิ กี าร ปัจจัยและแหล่งทีช่ ว่ ยเหลอื ฟื้นฟู ชว่ ยเหลอื ฟ้นื ฟูผตู้ ิดสารเสพตดิ ผตู้ ดิ สารเสพติด ๒. อธบิ ายวิธกี ารหลีกเลีย่ งพฤตกิ รรม  การหลกี เลยี่ งพฤติกรรมเสยี่ งและ เสีย่ งและสถานการณ์เส่ียง สถานการณเ์ สยี่ ง

ชน้ั ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง - การม่วั สุม - การทะเลาะววิ าท - การเข้าไปในแหล่งอบายมขุ - การแข่งจักรยานยนตบ์ นท้องถนน ฯลฯ ๓. ใช้ทักษะชวี ิตในการป้องกนั ตนเอง  ทักษะชีวติ ในการป้องกันตนเอง (ทกั ษะ และหลกี เลี่ยงสถานการณ์คับขันทีอ่ าจ ปฏิเสธ ทักษะการตอ่ รอง ฯลฯ) และ นาไปสูอ่ นั ตราย หลีกเลีย่ งสถานการณค์ บั ขันท่อี าจนาไปสู่ อันตราย ม. ๓ ๑. วิเคราะห์ปัจจยั เสี่ยง และ  ปัจจยั เสี่ยง และพฤตกิ รรมเส่ยี งต่อ พฤตกิ รรมเส่ยี งท่ีมีผลตอ่ สุขภาพและ สขุ ภาพ แนวทางป้องกนั  แนวทางการปอ้ งกนั ความเสี่ยงต่อสขุ ภาพ ๒. หลีกเลี่ยงการใช้ความรุนแรงและ  ปัญหาและผลกระทบจากการใช้ความ ชักชวนเพื่อนให้หลีกเลี่ยงการใชค้ วาม รนุ แรง รุนแรงในการแกป้ ญั หา  วิธีหลกี เลี่ยงการใชค้ วามรุนแรง ๓. วเิ คราะห์อทิ ธิพลของสอ่ื ตอ่  อทิ ธิพลของสอ่ื ต่อพฤติกรรมสขุ ภาพและ พฤตกิ รรมสขุ ภาพและความรุนแรง ความรนุ แรง (คลิปวิดีโอ การทะเลาะววิ าท อินเทอร์เน็ต เกม ฯลฯ) ๔. วิเคราะห์ความสัมพนั ธ์ของการดื่ม  ความสมั พนั ธข์ องการดืม่ เคร่ืองด่มื ทม่ี ี เครือ่ งดม่ื ท่มี แี อลกอฮอล์ต่อสุขภาพ แอลกอฮอลต์ อ่ สุขภาพและการเกิดอุบัตเิ หตุ และการเกิดอบุ ัติเหตุ ๕. แสดงวธิ กี ารช่วยฟื้นคนื ชพี อยา่ ง  วิธกี ารช่วยฟน้ื คนื ชพี ถกู วิธี ม.๔–ม.๖ ๑. มีสว่ นร่วมในการปอ้ งกนั ความ  การจดั กิจกรรมปอ้ งกนั ความเสย่ี งตอ่ การ เสีย่ งต่อการใช้ยา การใช้สารเสพตดิ ใชย้ า สารเสพติด และความรนุ แรง และความรนุ แรง เพ่ือสขุ ภาพของ ตนเอง ครอบครวั และสังคม ๒. วิเคราะห์ผลกระทบท่ีเกดิ จากการ  การวเิ คราะห์ผลกระทบที่เกดิ จากการ ครอบครอง การใช้และการจาหน่าย ครอบครอง การใช้และการจาหน่ายสารเสพติด สารเสพติด (ตนเอง ครอบครวั เศรษฐกิจ สังคม)  โทษทางกฎหมายที่เกิดจากการครอบครอง การใช้และการจาหน่ายสารเสพตดิ

ช้นั ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ๓. วเิ คราะหป์ ัจจัยทีม่ ีผลต่อสุขภาพ  ปจั จยั ท่ีมีผลตอ่ สุขภาพของคนไทยและ หรือความรุนแรงของคนไทยและเสนอ เสนอแนวทางป้องกนั แนวทางปอ้ งกัน ๔. วางแผน กาหนดแนวทางลด  การวางแผน กาหนดแนวทางลดอุบัติเหตุ อบุ ัตเิ หตุ และสร้างเสรมิ ความปลอดภยั และสรา้ งเสริมความปลอดภัยในชุมชน ในชุมชน ๕. มสี ่วนรว่ มในการสร้างเสริมความ  กิจกรรมการสร้างเสรมิ ความปลอดภยั ปลอดภยั ในชมุ ชน ในชุมชน ๖. ใชท้ ักษะการตดั สินใจแก้ปญั หาใน  ทกั ษะการตัดสนิ ใจแก้ปัญหาในสถานการณ์ สถานการณท์ ี่เส่ียงตอ่ สุขภาพและ ทเ่ี สีย่ งตอ่ สุขภาพ ความรุนแรง ๗. แสดงวิธกี ารช่วยฟน้ื คืนชพี อย่าง  วิธกี ารช่วยฟืน้ คนื ชพี อยา่ งถกู วธิ ี ถกู วิธี

คาอธบิ ายรายวชิ า กลุ่มสาระ สุขศึกษาและพลศึกษา สาระการเรยี นรู้ เสรมิ พนื้ ฐาน รายวชิ า สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 จานวนเวลา 1 ช่วั โมง/สัปดาห์ จานวน 40 ช่วั โมง ศึกษาการทางานของระบบตา่ งๆของร่างกาย ปจั จัยที่มีผลกระทบต่อความเปลี่ยนแปลงดา้ น รา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คมและสติปญั ญา และจิตวญิ ญาณในวยั รนุ่ ให้คมุ้ คา่ วฏั จักรชีวิต ศกึ ษาลักษณะ ของจุลนิ ทรีย์ที่มผี ลตอ่ ร่างกาย รู้หลักการปฐมพยาบาล เป็นสุภาพบรุ ุษและสภุ าพสตรที ่ีรเู้ ทา่ ทันการ เบีย่ งเบนทางเพศ มีทักษะการควบคุมการเคลือ่ นไหวแบบอยกู่ บั ท่ีและเคล่ือนที่ สนกุ กับการเล่นเกม กฬี า ไทย สากล การเลน่ พ้นื เมอื งของไทย สิทธิและหน้าทขี่ องการเปน็ พลเมืองดี มีทกั ษะการเลือกซ้ือสนิ คา่ อปุ โภค บริโภคอย่างชาญฉลาด เขา้ ใจวิธีป้องกนั โรคตดิ ตอ่ ไม่ตดิ ตอ่ และสวัสด์ิรักษา เลอื กสถานท่อี อก กาลงั กาย พักผอ่ น นนั ทนาการ สมรรถภาพ ให้เหมาะสมกบั ส่งิ แวดล้อม รู้การเปล่ยี นแปลงของวัยร่นุ การ แสวงหาขอ้ มูลข่าวสารเก่ยี วกับสุขอนามยั เหน็ คุณคา่ ของสถาบันครอบครัวและสงั คม

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรอื่ ง ตวั เรา แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ุขศกึ ษาและพลศึกษา ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 หนว่ ยการเรียนรู้ เรือ่ ง ตัวเรา 1 ปกี ารศึกษา เรอ่ื ง ระบบสืบพนั ธุ์ เวลา 2 ชว่ั โมง ครูผู้สอน นางสาวทัศนา สังฆสนั ตคิ ีรี แผนผงั ความคิดประจาหนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 ตวั เรา ระบบในร่างกาย ระบบไหลเวียนโลหิต ระบบสืบพันธ์ุ การทางาน อวัยวะ การทางาน อวยั วะ วิธีดแู ล วิธีดแู ล ระบบ หายใจอวยั วะ การทางาน วิธีดูแล มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน พ 1.1 เข้าใจธรรมชาตขิ องการเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของมนุษย์ เปา้ หมายการเรียนรู้ประจาหนว่ ย เม่อื เรียนจบหนว่ ยนี้ ผู้เรยี นจะมคี วามรคู้ วามสามารถตอ่ ไปนี้ 1. บอกความสาคัญของระบบสืบพนั ธ์ุ ระบบไหลเวียน โลหติ และระบบหายใจที่มีผลตอ่ สุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการ 2. อธิบายวิธดี ูและรกั ษาระบบสบื พันธ์ุ ระบบไหลเวยี น โลหิต และระบบหายใจให้ทางานตามปกติ คุณภาพทพี่ ึงประสงคข์ องผเู้ รยี น 1. เข้าใจความสมั พนั ธ์เชื่อมโยงในการทางานของระบบต่างๆ ของร่างกาย 2. รู้จกั ดูแลอวยั วะท่สี าคัญของระบบนั้นๆ ขอบข่ายสาระการเรียนรแู้ กนกลางรายวิชา สขุ ศึกษาและพลศึกษา ป.6

ตวั ช้ีวัด มฐ. พ 1.1 (1) อธิบายความสาคัญของระบบสบื พันธุ์ ระบบไหลเวียนโลหิต และระบบหายใจทม่ี ีผล ตอ่ สุขภาพ การเจริญเติบโต และพฒั นาการ มฐ. พ 1.1 (2) อธิบายวธิ ีการดแู ลรักษาระบบสืบพันธุ์ ระบบไหลเวียนโลหติ และระบบหายใจให้ ทางานตามปกติ สาระพ้ืนฐาน 1. ระบบสืบพนั ธ์ุ 2. ระบบไหลเวยี นโลหติ 3. ระบบหายใจ ความรฝู้ ังแน่นติดตัวผ้เู รียน ภายในรา่ งกายของเราประกอบไปดว้ ยอวัยวะหลายระบบ ซ่งึ ทุกระบบตา่ งกม็ ีความสาคญั ตอ่ การ เจริญเติบโตและการดารงชีวติ ดังนัน้ เราจงึ ควรดแู ลระบบอวัยวะตา่ งๆ ในร่างกายใหด้ อี ยู่เสมอ พฤตกิ รรมความพอเพียง 1. ความพอเพียงดา้ นตนเอง มคี วามสนใจ ใฝร่ ใู้ ฝ่เรียน 2. มคี วามพอเพยี งดา้ นสังคม ดาเนินชีวิตตามกฎเกณฑ์ของสังคม อย่รู ่วมกับผูอ้ นื่ ไดอ้ ย่างมี ความสขุ 3. ความพอเพยี งดา้ นทรพั ยากร ใช้ทรัพยากรท่ีอยู่อย่างคุ้มค่า ตามปรชั ญาหลักเศรษฐกิจพอเพยี ง 4. ความพอเพยี งด้านภูมปิ ัญญา สามารถนาความรทู้ ่ีได้จากเรื่อง ตวั เราและไปประยุกตใ์ ชใ้ น ชีวิตประจาวัน กระบวนการจัดการเรียนรู้ (กิจกรรมการเรียนรู้) 1. ทาแบบทดสอบก่อนเรยี น : 10 นาที ครรู วบรวมกระดาษคาตอบและนาไปตรวจ แล้วครูแจง้ คะแนนในทา้ ยชั่วโมง 2. ให้นักเรยี นรว่ มแสดงความคดิ เหน็ ว่า “กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สุขศกึ ษาและพลศึกษาเกย่ี วขอ้ งและ มคี วามสาคญั ตอ่ การดารงชวี ติ ประจาวันของเราหรือไม่ อยา่ งไร” 3. ครปู ระเมินเจตคติตอ่ การเรยี นวชิ าสขุ ศกึ ษาฯ ของนกั เรยี นทกุ คนโดยแจกแบบประเมนิ เจตคติฯ ใหน้ ักเรยี น และให้นกั เรยี นขดี  ลงในช่องตามความรู้สกึ ของตนเอง แลว้ ครเู ก็บไว้เปน็ ขอ้ มลู เบอื้ งตน้ 4. ครูสนทนากับนักเรียนเกยี่ วกับความจาเป็นของการเรียนวชิ าสุขศึกษาฯวา่ สุขศกึ ษาฯเป็นเรอื่ งท่ี เกย่ี วกับการดแู ลตนเองให้มสี ุขภาพดี เช่น - ถ้าต้องการมีการเจริญเติบโตที่ดีควรทาอยา่ งไร - คบเพือ่ นอย่างไรให้มีความสุข 5. ครแู ละนกั เรียนสนทนาเกย่ี วกับ ระบบสืบพนั ธุ์ โดยใช้ภาพในหนงั สือ ประกอบการสนทนา เพื่อ นาเขา้ สู่บทเรยี น 6. แบง่ นกั เรียนเปน็ กลมุ่ ๆ ละ 4 – 5 คน โดยให้นักเรียนเลือกอภิปรายระบบสบื พันธข์ุ องแต่ละ กลมุ่ เองตามใจชอบ ดงั นี้

6.1 เรือ่ ง อวัยวะในระบบสบื พนั ธ์ุ 6.2 เรอื่ ง การทางานของระบบสบื พันธุ์ 6.3 เรื่อง การดูแลระบบสบื พันธ์ุ 7. ครแู นะนาใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลุม่ ตง้ั ประเด็นปัญหาเรอ่ื งเกย่ี วกบั ระบบสบื พันธุ์ เพื่อศกึ ษา 8. อภิปรายหลอมรวมเป็นประเดน็ ปญั หาของห้อง เชน่ “ระบบสบื พนั ธ์ุ มผี ลตอ่ สุขภาพอย่างไร” “เราต้องดูแลการทางาน ระบบสืบพันธ์ุ อยา่ งไรเพอื่ สุขภาพ การเจรญิ เติบโตและพัฒนาการ” เปน็ ตน้ 9. ครแู นะนาให้นกั เรียนแต่ละกลุ่มวางแผนหาขอ้ กระจา่ งจากปัญหา 10. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มปรกึ ษาหารอื วางแผนการปฏบิ ัติกจิ กรรมเพื่อสบื ค้นข้อมูลเร่ืองเกี่ยวกบั ระบบสบื พนั ธ์ุ 11. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสบื คน้ ขอ้ มูลเรื่องเกี่ยวกับ ระบบสบื พนั ธุ์ จากหนังสอื เรยี น สนทนา แลกเปลย่ี นเรยี นรูแ้ ละ/หรอื ปรึกษาหารอื สรปุ เปน็ องค์ความรู้ 12. นักเรยี นทกุ กลมุ่ เตรยี มนาเสนอผลงาน โดยให้ทุกคนมีสว่ นรว่ มในการนาเสนอ ดงั น้ี - คนที่ 1 นาเสนอเร่ือง อวัยวะในระบบสบื พันธ์ุ - คนท่ี 2 นาเสนอเร่ือง การทางานของระบบสบื พนั ธุ์ - คนที่ 3 นาเสนอเรอ่ื ง การดแู ลระบบสืบพนั ธุ์ คนท่ี 4 นาเสนอคาถามเพอ่ื ใหก้ ลุม่ อนื่ ๆ ตอบคาถามเรือ่ ง ระบบสืบพนั ธุ์ 2 – 3 ขอ้ (กล่มุ ท่ีมสี มาชิกกลุ่ม 5 คน ใหน้ าเสนอคาถาม 2 คน) 13. เม่ือแตล่ ะกลุ่มนาเสนอเสรจ็ แลว้ ครจู ะอธิบายเพมิ่ เติมเพ่ือให้นกั เรยี นเกดิ ความเข้าใจมากยง่ิ ขน้ึ 14. นักเรยี นทาแบบทดสอบหลังเรียน และนาคะแนนก่อนเรยี นมาเปรยี บเทยี บกับหลงั เรียน วา่ มี การพัฒนามคี วามเขา้ ใจในเรอ่ื งทเ่ี รยี นมากน้อยเพียงใด 15. ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั สรุปสาระสาคญั เร่ือง ระบบประสาท ระบบตอ่ มไร้ทอ่ ระบบสืบพันธุ์ 16. ให้นกั เรยี นทากิจกรรมฝกึ ปฏบิ ตั ิ แลว้ ครูส่มุ เรียกนักเรยี นเฉลยคาตอบ 17. ครูและนกั เรียนร่วมกนั อภิปรายหวั ขอ้ “ถ้าอวัยวะใดอวยั วะหนงึ่ ของรา่ งกายเกิดความผิดปกติ จะมีผลตอ่ ร่างกายอยา่ งไร” สรุปเปน็ สาระสาคญั สร้างเปน็ องค์ความรูข้ องหอ้ ง สอื่ การเรียนการสอน 1. ประเภทสือ่ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ใบความรู้ กจิ กรรมการเรยี น แบบทดสอบหลงั เรยี น 2. วสั ดุ / อปุ กรณ์ หนงั สือเรยี นสขุ ศกึ ษาและพลศึกษา เคร่อื งมือทใ่ี ชใ้ นการทากิจกรรม 3. แหลง่ การเรียนรู้ ครู ผู้ปกครอง

ห้องสมดุ การวัดผลและประเมนิ ผล 1. วิธกี ารวดั และประเมนิ ผล สงั เกตการต้ังคาถาม และการตอบคาถาม การสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกล่มุ ความถกู ตอ้ งของข้นั ตอนในการทดลอง และผลของการทดลอง จากแบบทดสอบ 2. เกณฑ์การวดั และประเมินผล คะแนนแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ตอบถูก 1 – 2 ขอ้ : อ่อน ตอบถูก 5 – 6 ข้อ : ปานกลาง ตอบถูก 8 – 10 ขอ้ : ดี คุณธรรม จรยิ ธรรมท่ีสอดแทรก ความคิดริเรมิ่ สร้างสรรค์ ชอบค้นคว้าหาความรู้ใหม่ๆ เขา้ ร่วมทางานกลุ่ม รบั ผดิ ชอบต่องานท่ี ไดร้ ับมอบหมาย รบั ฝงั ความคดิ เห็นบุคคลอื่นและเสนอความคิดเหน็ ในมุมมองของตนเองอย่างมหี ลักการ และเหตุผล มีระเบยี บวินัย ยึดม่นั ในคุณธรรมพืน้ ฐาน 8 ประการ มีเจตคติท่ีดีต่อการใช้พลังงานอยา่ ง ประหยดั และคมุ้ ค่า

กจิ กรรมเสนอแนะ กิจกรรมการเรยี น

บนั ทึกผลหลังการสอน ผลการสอน ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ปัญหา / อุปสรรค ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไข ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ลงชอ่ื ................................................. (………………………………………….) วนั ที่ ……. เดอื น………………..พ.ศ…………

ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา หรอื ผู้ท่ไี ด้รบั มอบหมาย (ตรวจ / นเิ ทศ / เสนอแนะ / รบั รอง) ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ลงชอ่ื .............................................. (………………………………………….) ตาแหนง่ ครรู ักษาการในตาแหน่งผอู้ านวยการโรงเรียน.............. วนั ที่ ............ เดอื น..............................พ.ศ.....................

แบบทดสอบ ก่อนเรยี น / หลงั เรยี น คาชีแ้ จง นักเรยี นทาเครื่องหมาย  คาตอบท่ีถกู ท่ีสุด เรอ่ื ง ตวั เรา 1. อวยั วะสว่ นใดไมเ่ กีย่ วขอ้ งกบั ระบบสืบพนั ธ์ุ ก. รังไข่ ข. ลาไส้ ค. อัณฑะ ง. องคชาต 2. การปฏิบัติตนอย่างไรช่วยดแู ลระบบหายใจ ก. กนิ อาหารทมี่ ไี ขมนั มาก ข. ทาจิตใจให้ร่าเริงแจม่ ใส ค. ไม่อยูใ่ นทที่ มี่ ผี ู้สูบบุหร่ี ง. นอนในหอ้ งทมี่ อี ากาศถา่ ยเทน้อย 3. ปอดมีหนา้ ท่อี ย่างไร ก. ปอ้ งกันจมกู จากอันตราย ข. ปอ้ งกันไมใ่ หอ้ ากาศเสยี เข้าร่างกาย ค. ป้องกันไมใ่ ห้อากาศดีออกจากรา่ งกาย ง. แลกเปลย่ี นแก๊สในร่างกาย 4. หวั ใจหอ้ งบนขวามหี น้าท่ีอะไร ก. รับเลอื ดดีจากปอด ข. สง่ เลอื ดเสียไปให้ปอด ค. รบั เลอื ดเสยี จากรา่ งกาย ง. สง่ เลือดดไี ปเลย้ี งท่ัวรา่ งกาย 5. การอยู่ในทท่ี ี่มีอากาศบรสิ ุทธิ์ จะชว่ ยเสริมสรา้ งระบบหายใจไดเ้ พราะอะไร ก. เพราะมแี ก๊สคารบ์ อนไดออกไซดอ์ ย่มู าก ข. เพราะมแี ก๊สคาร์บอนมอนนอกไซด์อยมู่ าก ค. เพราะมแี ก๊สออกซเิ จนอยมู่ าก ง. เพราะปอดสามารถขยายตัวไดเ้ ตม็ ที่ 6. ระบบไหลเวยี นโลหิตมีความสัมพันธ์กบั ระบบใดมากทส่ี ุด ก. ระบบหายใจ ข. ระบบสืบพนั ธุ์ ค. ระบบประสาท ง. ระบบตอ่ มไรท้ ่อ

7. ถ้ามดลกู ทางานผดิ ปกตจิ ะมีผลต่อการทางานของระบบใด ก. ระบบหายใจ ข. ระบบไหลเวียนโลหิต ค. ระบบสบื พนั ธ์เุ พศชาย ง. ระบบสบื พันธ์เุ พศหญงิ 8. ขอ้ ใดทาให้ระบบไหลเวยี นโลหิตทางานไดด้ ี ก. ดม่ื น้าสะอาดมากๆ ข. ด่มื เครอื่ งดื่มบารงุ กาลัง ค. กนิ อาหารประเภทปลาให้มาก ง. กินอาหารที่มสี สารแคลเซยี มสงู 9. ระบบสบื พนั ธุ์ของเพศหญงิ จะส้นิ สดุ เมอ่ื ใด ก. เสยี ชวี ิต ข. หลงั ต้งั ครรภ์ ค. รงั ไขห่ ยุดทางาน ง. หลังมปี ระจาเดอื น 10. การปฏิบัตติ นอยา่ งไรเป็นการชว่ ยดูแลระบบสืบพนั ธุ์ ก. กินผกั และผลไม้ ข. ล้างอวยั วะเพศขณะอาบนา้ ค. สวมใส่เสือ้ ผ้าท่ีมีราคาแพง ง. ไม่อาศยั อยูใ่ นชมุ ชนแออดั เฉลยแบบทดสอบ กอ่ นเรียน / หลงั เรียน คาชี้แจง นกั เรยี นทาเครอ่ื งหมาย  คาตอบทถี่ กู ท่สี ดุ เร่อื ง ตัวเรา 1. ก 2. ค 3. ข 4. ค 5. ค 6. ก 7. ง 8. ก 9. ค 10. ก

ใบความรู้ท่ี 1.1 อวยั วะในระบบสบื พนั ธ์ุ ระบบสืบพนั ธ์ุ เป็นระบบทที่ าหนา้ ท่เี ก่ยี วข้องกับการสบื พนั ธ์เุ พ่อื ดารงเผ่าพันธ์ุ กระบวนทางาน ของระบบสบื พันธ์ุ มีขนั ตอนดังนี้ ระบบสบื พันธุแ์ บ่งออกเปน็ ระบบสืบพันธ์เุ พศชายและระบบสบื พนั ธุ์เพศหญิง ดังน้ี ระบบสืบพนั ธเ์ุ พศชาย ประกอบดว้ ย 1. อณั ฑะ (Testis) เปน็ ต่อมเพศชาย มลี กั ษณะรูปร่างคล้ายไขฟ่ องเลก็ ยาว 3-4 เซนตเิ มตร หนา ประมาณ 2-3 เซนติเมตร อัณฑะมี 2 ข้างและขนาดใกล้เคียงกนั อยภู่ ายในถุงอัณฑะ ทาหนา้ ท่ีสรา้ งตัวอสจุ ิ และฮอรโ์ มนเพศชาย เพื่อควบคมุ ลักษณะต่างๆ ของเพศชาย เช่น เสียงห้าว มหี นวดเครา เปน็ ต้น 2. ถุงอัณฑะ (Scrotum) ทาหน้าท่ีหอ่ หุ้มอัณฑะเพ่ือปรบั อณุ หภมู ใิ ห้ต่ากวา่ อุณหภูมิรา่ งกาย ประมาณ 3 - 5 องศาเซลเซียส ซึ่งเปน็ อณุ หภมู ทิ เ่ี หมาะสมกับการผลิตตัวอสุจิ 3. หลอดเกบ็ ตวั อสุจิ (Epididymis) เป็นทพ่ี กั ของตวั อสจุ จิ ะทีส่ ร้างจากหลอดสร้างอสุจิ 4. ท่อนาตวั อสจุ ิ (Vas deferens) ทาหน้าทล่ี าเลียงตวั อสุจิไปเกบ็ ไวท้ ตี่ ่อมสร้างนา้ เล้ยี งอสจุ ิ 5. ตอ่ มสรา้ งนา้ เลย้ี งอสุจิ (Seminal vesicle) ทาหนา้ ที่สร้างอาหารใหแ้ ก่ตวั อสจุ ิ ส่วนมากเปน็ น้าตาลฟรกั โทส วิตามินซี โปรตีนและโกบุลิน 6. ตอ่ มลูกหมาก (Prostate gland) ทาหนา้ ทห่ี ล่งั สารท่เี ป็นเบสออ่ นๆ และสารท่ีทาใหต้ ัวอสจุ ิ แข็งแรงและวอ่ งไว ซงึ่ สารเหล่านีจ้ ะไปปนกับน้าเล้ียงอสุจเิ พอื่ ลดความเปน็ กรด 7. ตอ่ มคาวเปอร์ (Cowper gland) มหี น้าท่หี ล่ังสารของเหลวใสๆ ไปหลอ่ ลน่ื ท่อปสั สาวะ ในขณะเกิดการกระตุ้นทางเพศ เพอื่ ชว่ ยให้ตวั อสุจิเคลอ่ื นที่ได้เรว็ และสะดวก 8. อวยั วะเพศชายหรือองคชาต (Penis) เป็นกล้ามเน้อื ทหี่ ดและพองตวั ได้ เม่อื ถกู กระตุ้น อวัยวะเพศชายจะเเขง็ ตัวเพราะมีเลอื ดมาคง่ั มาก ภายในจะมที ่อปสั สาวะทาหนา้ ที่เป็นทางผ่านของตวั อสจุ ิ และน้าปัสสาวะ

นา้ อสุจิแต่ละครัง้ ทห่ี ล่งั ออกมาประกอบดว้ ยตวั อสุจิ (Sperm cell) และนา้ หลอ่ เลีย้ งตา่ งๆ ประมาณคร้งั ละ3 cm3 จานวนอสุจปิ ระมาณ 300-500 ล้านตวั ตัวอสุจิมีขนาดเลก็ มาก มีลกั ษณะคล้าย ลกู อ๊อด มีอายุ 48 ชว่ั โมงเม่ือเข้าไปในมดลกู ระบบการสืบพันธเ์ุ พศหญงิ ประกอบด้วย 1. รงั ไข่ (Ovaries) เป็นต่อมเพศหญงิ และเป็นแหล่งสร้างไข่ มี 1 คู่ อยแู่ ตล่ ะข้างของปกี มดลูกจะมี การสรา้ งไขเ่ ดือนละ 1 ครัง้ โดยสลบั กันระหว่างรงั ไขด่ า้ นซา้ ยและขวา รังไขเ่ ป็นทง้ั ตอ่ มมที อ่ และต่อมไรท้ อ่ ในส่วนของตอ่ มไร้ทอ่ สรา้ งฮอรโ์ มน 2 ชนดิ คอื เอสโตรเจน (Estrogen) และโปรเกสเตอรโ์ รน (Progesterone) ซง่ึ มอี ิทธพิ ลตอ่ การทางานและการเจรญิ ของตอ่ มนา้ นมและวงจรการตกไข่ 2. ปีกมดลกู หรือทอ่ นาไข่ (Oviducts ) เปน็ ทางผ่านของไขม่ ายังมดลูก มคี วามยาวขา้ งละ ประมาณ 6-7 เซนติเมตร

3. มดลูก (Uterus) มีรปู ร่างคลา้ ยผลชมพู่ ยาวประมาณ 6-8 เซนติเมตร กว้าง 4 เซนตเิ มตร หนา2 เซนติเมตร เปน็ บริเวณที่ไข่ซ่งึ ถกู ผสมแลว้ มาฝงั ตัวและเจรญิ เติบโตเปน็ ทารก 4. ปากมดลูก (Cervix) และชอ่ งคลอด (Vagina) เป็นทางผา่ นของเซลลอ์ สุจิเข้าสมู่ ดลูกและปีก มดลูก หรือให้ทารกคลอดออกมา และเป็นทางผ่านของประจาเดอื น ภาพด้านหนา้ ของระบบสบื พนั ธุ์เพศหญิง

ภาพด้านข้างของระบบสืบพนั ธ์ุเพศหญงิ การตกไข่ (Ovulation) เป็นชว่ งท่ีไขส่ ุกและออกจากรงั ไขท่ ุกรอบเดอื น มลี ักษณะเปน็ วงจรและ ต่อเน่ืองตลอดไป ยกเว้นเมอ่ื อายมุ าก ซึง่ จะเกดิ ขึ้นในช่วงกึ่งกลางของรอบเดือน เซลล์ไข่จะมอี ายุได้นาน ประมาณ 2 ชัว่ โมง ประจาเดอื น (Menses) คือ เนอ้ื เยื่อผนงั มดลกู ด้านในและหลอดเลือดท่สี ลายตวั ไหลออกมาทาง ชอ่ งคลอด ประจาเดอื นจะเกิดขนึ้ เม่ือเซลล์ไขไ่ มไ่ ด้รับการผสมกบั เซลล์อสุจิ ผู้หญงิ จะมรี อบเดือนเมอื่ อายุ ประมาณ 12 ปขี ึ้นไป จะมรี อบของการมีประจาเดือน 21-35 วนั โดยเฉล่ีย 28 วนั จนกระทั่งอายุประมาณ 45 ปีขน้ึ ไป จงึ จะหมดประจาเดือน น้ากาม (Semen) คือ สารทหี่ ลงั่ จากต่อมต่างๆ ภายในอณั ฑะ ประกอบด้วย อสุจิ น้าเล้ยี งอสจุ ิสาร ทีเ่ ปน็ เบส และสารหลอ่ ล่นื

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 2 ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ขุ ศึกษาและพลศึกษา 1 ปกี ารศกึ ษา หนว่ ยการเรยี นรู้ เรือ่ ง ตัวเรา เวลา 2 ช่ัวโมง เรอ่ื ง ระบบสบื พนั ธ์ุ ครูผู้สอน นางสาวทศั นา สงั ฆสนั ติคีรี แผนผังความคดิ ประจาหน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 ตวั เรา ระบบในรา่ งกาย ระบบไหลเวียนโลหิต ระบบสืบพนั ธ์ุ การทางาน อวัยวะ การทางาน อวัยวะ วิธีดูแล วิธีดแู ล ระบบ หายใจอวยั วะ การทางาน วิธีดแู ล มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน พ 1.1 เข้าใจธรรมชาตขิ องการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนษุ ย์ เปา้ หมายการเรยี นรปู้ ระจาหน่วย เมอ่ื เรียนจบหน่วยน้ี ผู้เรียนจะมีความรู้ความสามารถต่อไปนี้ 1. บอกความสาคัญของระบบสืบพันธุ์ ระบบไหลเวียน โลหติ และระบบหายใจท่ีมีผลต่อสุขภาพ การเจรญิ เตบิ โต และพัฒนาการ 2. อธิบายวิธีดูและรักษาระบบสบื พันธ์ุ ระบบไหลเวยี น โลหิต และระบบหายใจให้ทางานตามปกติ คุณภาพทพี่ งึ ประสงคข์ องผูเ้ รยี น 1. เขา้ ใจความสัมพนั ธ์เชอ่ื มโยงในการทางานของระบบต่างๆ ของรา่ งกาย 2. รู้จักดูแลอวยั วะทีส่ าคญั ของระบบนั้นๆ ขอบขา่ ยสาระการเรยี นรู้แกนกลางรายวชิ า สุขศกึ ษาและพลศึกษา ป.6

ตวั ช้วี ัด มฐ. พ 1.1 (1) อธิบายความสาคญั ของระบบสืบพันธ์ุ ระบบไหลเวยี นโลหิต และระบบหายใจทมี่ ผี ล ต่อสขุ ภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการ มฐ. พ 1.1 (2) อธบิ ายวธิ ีการดแู ลรกั ษาระบบสืบพันธ์ุ ระบบไหลเวียนโลหิต และระบบหายใจให้ ทางานตามปกติ สาระพืน้ ฐาน 1. ระบบสบื พนั ธ์ุ 2. ระบบไหลเวยี นโลหติ 3. ระบบหายใจ ความรู้ฝังแน่นตดิ ตวั ผูเ้ รยี น ภายในร่างกายของเราประกอบไปดว้ ยอวยั วะหลายระบบ ซ่ึงทุกระบบตา่ งกม็ ีความสาคญั ต่อการ เจริญเตบิ โตและการดารงชีวติ ดังน้นั เราจงึ ควรดูแลระบบอวัยวะต่างๆ ในร่างกายให้ดีอยู่เสมอ พฤตกิ รรมความพอเพยี ง 1. ความพอเพียงด้านตนเอง มีความสนใจ ใฝร่ ู้ใฝ่เรยี น 2. มีความพอเพียงดา้ นสงั คม ดาเนนิ ชีวิตตามกฎเกณฑข์ องสงั คม อยรู่ ่วมกับผอู้ ่นื ไดอ้ ยา่ งมี ความสุข 3. ความพอเพยี งด้านทรัพยากร ใช้ทรพั ยากรท่อี ยู่อยา่ งคุม้ คา่ ตามปรัชญาหลักเศรษฐกิจพอเพยี ง 4. ความพอเพยี งด้านภมู ิปัญญา สามารถนาความรูท้ ี่ได้จากเร่ือง ตวั เราและไปประยกุ ต์ใช้ใน ชีวติ ประจาวนั กระบวนการจดั การเรียนรู้ (กจิ กรรมการเรียนรู้) 1. ทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน : 10 นาที ครรู วบรวมกระดาษคาตอบและนาไปตรวจ แล้วครแู จง้ คะแนนในท้ายชว่ั โมง 2. แบง่ กลุม่ ใหแ้ ต่ละกลุ่มรว่ มกนั อภิปรายวา่ ระบบในรา่ งกายใดมีความสาคญั ที่สุด จากนนั้ ส่ง ตวั แทนกลุ่มออกมารายงานหนา้ ชน้ั แลว้ สรปุ ผลลงในกจิ กรรมฝกึ ปฏบิ ัติ 3. ครซู กั ถามนกั เรยี นเก่ียวกบั การปฏิบตั ติ นในการดูแลระบบอวยั วะต่างๆ โดยครแู จกกระดาษให้ แตล่ ะกลุ่ม 1 แผ่น แล้วให้เขยี นวธิ ดี ูแลระบบอวัยวะตามท่ีได้เรียนมาใหม้ ากที่สดุ ภายในเวลาทค่ี รูกาหนด (5 – 10 นาท)ี จากนั้นสง่ ตวั แทนออกมารายงานหน้าชนั้ 4. ครแู ละเพอื่ นตา่ งกลุ่มช่วยกันตรวจสอบความถูกตอ้ ง แล้วกลมุ่ ใดเขียนวิธดี ูแลได้ถกู ต้องมากท่ีสดุ ให้ครูชมเชยกลมุ่ น้นั 5. แบง่ กลุม่ ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ รว่ มกันทากิจกรรมฝึกปฏบิ ัติ โดยอา่ นข้อความ แล้ววิเคราะห์ว่าควรทา หรอื ไม่ควรทา พรอ้ มทงั้ บอกเหตผุ ลประกอบ 6. ครูสุม่ ให้แต่ละกลุม่ เฉลยคาตอบ พรอ้ มท้ังบอกเหตผุ ล แลว้ ครูซกั ถามนักเรียนกลุ่มอ่นื วา่ เหน็ ด้วย หรอื ไม่ ถา้ ไม่เห็นดว้ ย เพราะเหตใุ ด แลว้ ให้เพือ่ นกลุม่ อน่ื ช่วยตัดสนิ วา่ กล่มุ ใดถูก