Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ๐.รวมเล่มหนังสือ ๑๐๐ ปี การ อศจ.ไทย

๐.รวมเล่มหนังสือ ๑๐๐ ปี การ อศจ.ไทย

Description: ๐.รวมเล่มหนังสือ ๑๐๐ ปี การ อศจ.ไทย

Search

Read the Text Version

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๘๔ การสอนวิชาการศาสนาและศีลธรรม อนุศาสนาจารย์ ต้องรับผิดชอบในการสอนวิชาการศาสนาและศีลธรรมใน หลักสูตรต่างๆ ดงั น้ี ๑. หลกั สูตรนายทหารอนศุ าสนาจารย์ชัน้ ตน้ เป็นหลักสูตรตามแนวทางรับราชการของนายทหารอนุศาสนาจารย์ (เทียบเท่าหลักสูตรช้ันนายร้อย) ตามอนุมัติ ผบ.ทบ. ท้ายหนังสือ กศ.ยศ.ทบ. ท่ี กห ๐๔๖๑.๑๑/๑๕๐๓ ลง ๒๗ ส.ค. ๕๐ระยะเวลาการศึกษา ๑๓ สัปดาห์ หมายเลข หลักสตู ร ๑๖ - ก - ล.๒ ชกท.๕๓๑๐ ๒. หลกั สูตรนายทหารอนศุ าสนาจารยช์ นั้ สงู เป็นหลักสูตรตามแนวทางรับราชการของนายทหารอนุศาสนาจารย์ (เทียบเท่าหลักสูตรชั้นนายพัน) ตามอนุมัติ ผบ.ทบ. ท้ายหนังสือ กศ.ยศ.ทบ. ท่ี กห ๐๔๖๑.๑๑/๐๐๔๖ ลง ๗ ม.ค. ๔๕ระยะเวลาการศึกษา ๑๗ สัปดาห์ หมายเลข หลักสูตร ๑๖ - ก - ฉ.๒ กองอนุศาสนาจารย์ กรมยุทธศึกษาทหารบก มีหน้าท่ีกํากับดูแลการเรียน การสอนของหลักสูตรตามแนวทางรับราชการของนายทหารอนุศาสนาจารย์ทั้ง ๒ หลักสูตร ให้เป็นไปตามระเบียบของกองทัพบก จัดอนุศาสนาจารย์เข้าสอนในวิชาหลัก และติดตอ่ ขออาจารย์จากเหล่า/สายวทิ ยาการช่วยสอนในวิชาทเ่ี หลือ ๓. หลักสูตรการปฐมนิเทศนายทหารอนุศาสนาจารย์บรรจใุ หม่ เป็นหลักสูตรอบรมเพ่ิมเติมความรู้สําหรับนายทหารอนุศาสนาจารย์ที่ บรรจุเข้ารับราชการครั้งแรก ตามอนุมัติ ผบ.ทบ. ท้ายหนังสือ กศ.ยศ.ทบ. ท่ี กห ๐๔๖๑.๑๔/๘๙๕ ลง ๙ มิ.ย. ๕๒ระยะเวลาการศึกษา ๔ สัปดาห์ หมายเลขหลักสูตร ๑๖ - ก - ฉ.๒ ๔. หลักสตู รการพัฒนาบุคลากรกองทพั บก ปีพุทธศักราช ๒๕๒๖ กรมยุทธศึกษาทหารบก ได้อนุมัติให้ อนุศาสนาจารย์ทหารบก เข้าค่ายฝึกฝนพัฒนาทางจิต จํานวนท้ังสิ้น ๓ รุ่นๆ ละ ๗ วัน ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของโครงการการพัฒนาบุคลากรกองทัพบก ต่อมาในปีพุทธศักราช ๒๕๒๘ ได้มีการจัดส่งกําลังพลเข้ารับการฝึกปฏิบัติธรรมที่วัดอัมพวัน อําเภอพรหมบุรี

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๘๕ จังหวัดสิงห์บุรี โดยการอนุมัติของผู้บัญชาการทหารบก ในขณะนั้น การอบรมตาม โครงการพฒั นาบุคลากรกองทพั บกจึงไดพ้ ัฒนามาตามลําดับ ปีพุทธศักราช ๒๕๓๖ กองทัพบก ได้อนุมัติให้หลักสูตรการพัฒนา บุคลากรกองทัพบกเป็นหลักสูตรทางการศึกษาอบรมของกองทัพบก หมายเลขหลักสูตร ๑๖ - ข - ฉ.๒ และไดเ้ ปน็ หลักสูตรทางการศกึ ษาอบรมมาจนถึงปจั จุบนั กองอนุศาสนาจารย์ กรมยุทธศึกษาทหารบก มีหน้าที่รับผิดชอบในการ จัดบุคลากร ของกองทัพบกทุกระดับชั้นยศให้เข้ารับการศึกษาอบรมในหลักสูตรการ พัฒนาบุคลากรกองทัพบก ณ ศูนย์พัฒนาจิตใจกําลังพลกองทัพบก วัดอัมพวัน อําเภอ พรหมบุรี จังหวดั สงิ หบ์ รุ ี ตามอนมุ ตั ิของกองทพั บก เป็นปีๆ ไป ดงั น้ี ๔.๑ ความมุ่งหมาย เพื่อให้ผู้เข้ารับการศึกษาอบรม ได้เรียนรู้หรือฝึก ตามหลกั คาํ สอนของพระพุทธศาสนา ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ สามารถประยุกต์คํา สอนน้ัน ๆ มาปรับปรุงใช้กับ การดํารงชีวิตประจําวันและการปฏิบัติงานในหน้าที่ ราชการอย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงจะส่งผลให้ผู้เข้ารับการศึกษาอบรมเป็นกําลังพลท่ีมี คุณภาพยงิ่ ขึน้ กบั ทง้ั ประพฤตติ นให้เป็นประโยชนแ์ ก่กองทัพบก สงั คมและประเทศชาติ ๔.๒ คุณสมบัติของผู้เข้ารับการศึกษาอบรม เป็นนายทหารสัญญาบัตร นายทหารประทวน ในกองทัพบกทุกชั้นยศและลูกจ้าง ผู้มีความสมัครใจ หรือผู้ที่หน่วย คัดเลอื กเข้ารับการศึกษาอบรม ๔.๓ งบประมาณและจํานวนผู้เข้ารับการศึกษาอบรม ตามท่ีกองทัพบก อนุมัตใิ นแต่ละปี ๔.๔ การศึกษาอบรมในหลักสูตรดังกล่าว ประกอบด้วยภาคทฤษฎี ๑๕ ชัว่ โมง, ภาคปฏบิ ัติ ๓๐ ชวั่ โมง และเบด็ เตลด็ ๔ ช่ัวโมง ๔.๕ ระยะเวลาในการศึกษาอบรม ๑ สปั ดาห์ ๔๙ ชัว่ โมง ๕. หลกั สตู รวชิ าการศาสนาและศลี ธรรม กองพลที่ ๕ และมณฑลทหารบกท่ี ๕ จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้ออก คําสั่งให้นายสิบที่ได้รับการแต่งต้ังใหม่ และนักเรียนนายสิบท่ีสังกัดอยู่ที่สังกัดอยู่ท้ังสอง หน่วยเข้ารับการศึกษาวิชาการศาสนาและศีลธรรม ประมาณ ๒๔ ชั่วโมง เม่ือวันท่ี ๒๗ มิถุนายน ๒๔๙๙ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้นายทหารประทวนมีศีลธรรมเป็นหลัก

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๘๖ ปกครองตน มีเคร่ืองยึดเหนี่ยวทางจิตใจ และให้มีจรรยามารยาทประพฤติตนเหมาะสม กับหน้าที่และไดร้ ายงานใหก้ องอนุศาสนาจารย์ กรมยุทธศึกษาทหารบกทราบ พันเอก ปิ่น มุทุกันต์ ขณะดํารงตําแหน่งหัวหน้าแผนกศึกษาอยู่ ได้พิจารณาเห็นว่ามีประโยชน์แก่นายทหารประทวนเป็นอย่างยิ่ง ควรดําเนินการทุก หน่วย จึงเรียนหารือกับหัวหน้ากองอนุศาสนาจารย์ (ตําแหน่งในขณะน้ัน) พร้อมทั้งได้ แนบคําสั่งของกองพลท่ี ๕ และมณฑลทหารบกที่ ๕ เสนอไปยงั กองทัพบก กองทัพบก ได้เห็นความสําคัญและกําหนดให้หน่วยในกองทัพบก ดําเนินการให้เป็นไปในแนวทางเดียวกันตามมาตรฐานการศึกษาวิชานี้ และให้กรมยุทธ ศกึ ษาทหารบกดําเนินการเปดิ หลักสตู รวิชาการศาสนาและศลี ธรรม สว่ นกลางขึ้น กรมยุทธศึกษาทหารบก ได้ดําเนินการเปิดการสอนวิชาการศาสนาและ ศีลธรรมขึ้นเป็นคร้ังแรก เมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๐๐ ตามคําสั่งกองทัพบก ที่ ๑๕๒/๑๓๒๐๙ ลง ๑๑ ก.ค.๒๕๐๐ เร่ือง ให้นายสิบรับการศึกษาวิชาการศาสนา และศีลธรรม การศึกษาได้รับการพัฒนาตลอดระยะเวลา ที่ผ่านมา และกองทัพบก ได้อนมุ ตั ใิ ห้มกี ารปรับปรุงหลักสูตร เม่ือ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๔๘ ตามหนังสือ กศ.ยศ.ทบ. ท่ี กห ๐๔๖๑.๑๑/๑๙๗๖ ลง ๒๓ ส.ค. ๔๘ หมายเลขหลกั สตู ร ๑๖ - ง - ฉ.๑ ๖. การอบรมพธิ กี รด้านศาสนา ประเพณี และวฒั นธรรมไทย เนื่องจากหน่วยในกองทัพบกระดับกรมข้ึนไปขาดแคลนอนุศาสนาจารย์ และบางหน่วยมีหน่วยระดับกองพันอยู่ห่างไกล ทําให้การจัดพิธีทางศาสนาไม่เป็น ระเบียบแบบแผนเดียวกัน กองทัพบกจึงให้กรมยุทธศึกษาทหารบก จัดการอบรมกําลัง พลนายทหารประทวนหน่วยตา่ งๆ เพ่ือปฏบิ ัตหิ น้าท่ีพิธีกรด้านศาสนา และลดปัญหาการ ขาดแคลนอนุศาสนาจารย์ประจําหน่วย โดยได้ทําการเปิดการอบรมตั้งแต่ปีพุทธศักราช ๒๕๔๙ จนถึงปัจจุบัน ตามอนุมัติ ผบ.ทบ. ท้ายหนังสือ กพ.ทบ. ที่ กห ๐๔๐๑/๒๐๖๔๒ลง ๒๕ ก.ค.๔๙ ๗. หลกั สูตรตามแนวทางรับราชการของโรงเรียนเหลา่ สายวทิ ยาการ การกาํ หนดให้มีการสอนวิชาการศาสนาและศีลธรรม ในหลักสูตรต่างๆ ของ รร.เหล่าสายวิทยาการกองทัพบกน้ัน ย่อมจะเป็นผลดีในด้านการปลูกฝังคุณธรรม และจริยธรรมให้แก่กําลังพลของกองทัพบก ซึ่งเป็นการสอดคล้องกับนโยบายของผู้ บัญชาการทหารบก ท่ีต้องการสร้างสรรค์คุณธรรมให้เกิดข้ึนในจิตใจของข้าราชการทุก

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๘๗ นายในกองทัพบก ดังน้ัน กองทัพบกจึงให้ รร.เหล่าสายวิทยาการ กองทัพบกบรรจุวิชาการ ศาสนาและศลี ธรรมในหลกั สตู รตา่ งๆ ตง้ั แตป่ พี ุทธศกั ราช ๒๕๓๑ เปน็ ตน้ ไป ดงั นี้ ๗.๑ หลกั สตู รนกั เรยี นนายสิบ ๗.๒ หลกั สูตรนายสบิ ชน้ั ตน้ ๗.๓ หลักสตู รนายสบิ อาวุโส ๗.๔ หลักสูตรการปฐมนิเทศนายทหารใหม่ ๗.๕ หลักสูตรช้นั นายร้อย ๗.๖ หลักสูตรช้นั นายพัน ให้หน่วยท่ีมีอัตราอนุศาสนาจารย์ ให้ความร่วมมือส่งอนุศาสนาจารย์ ไปสนบั สนนุ การสอนวชิ าการศาสนาและศลี ธรรม ตามทหี่ นว่ ยเปดิ การศึกษาร้องขอ ๘. หลักสตู รพเิ ศษต่าง ๆ อนุศาสนาจารย์ จะต้องให้การสนับสนุนการสอนวิชาศีลธรรม, วิชาทางด้าน พระพทุ ธศาสนา แก่หน่วยงาน, วัด เป็นตน้ ที่ขอรบั การสนบั สนนุ และเป็นวทิ ยากรบรรยาย ถวายความรู้แก่พระสังฆาธิการ และพระนวกะในพรรษา เป็นต้น เพื่อเป็นการประสาน สมั พนั ธ์ความร่วมมือกบั องคก์ รทางพระพทุ ธศาสนา ๙. ศนู ย์ศกึ ษาพระพุทธศาสนาวันอาทติ ย์ เพ่ือส่งเสริมบุตรข้าราชการทหารในหน่วย และประชาชนใกล้เคียง หน่วยได้รับความรู้และมีความใกล้ชิดกับพระพุทธศาสนา หน่วยทหารบางหน่วยได้เปิด ให้มีการสอนพิเศษในรูปของศูนย์-ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ขึ้น อนุศาสนาจารย์ จะเป็นกําลังหลักในการเรียนการสอนตามศูนย์ต่างๆ เหล่าน้ัน โดยเฉพาะวิชาเกี่ยวกับ พระพุทธศาสนา และติดต่อประสานขอความร่วมมือกับสถานศึกษาใกล้เคียงหน่วยช่วย จัดอาจารย์สอนวชิ าประกอบ เช่น วิชาภาษาองั กฤษ, คณิตศาสตร์, นาฏศลิ ป์ เปน็ ต้น

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๘๘ การปฏบิ ตั ธิ รรมในเทศกาลเข้าพรรษา กรมกิจการพลเรือนทหารบก ได้ขออนุมัติกองทัพบกนํากําลังพลของหน่วย ขึ้นตรงกองทัพบก ผู้สนใจไปปฏิบัติธรรมเพื่อสร้างคุณค่าชีวิตให้สูงข้ึน ไปปฏิบัติธรรม ณ วัดอัมพวัน อําเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงห์บุรี รวม ๕ รุ่น จํานวนรวมท้ังส้ิน ๔๙๑ คน ปรากฏว่าทกุ คนทร่ี ว่ มปฏิบัติธรรมได้ประจักษ์ด้วยตนเองว่า ได้พบแสงสว่างแห่งชีวิต ซึ่งไมเ่ คยไดร้ ับมาก่อนเลย กรมกิจการพลเรือนทหารบก ได้พิจารณาเห็นว่า การเปล่ียนแปลงทาง เศรษฐกิจและสังคมจิตวิทยาของประเทศเป็นไปอย่างรวดเร็วย่ิง มีผลกระทบต่อการ ดํารงชีวิตและสภาพทางจิตใจของกําลังพลเป็นอันมาก หากกําลังพลมิได้เรียนรู้กรรมวิธี การควบคุมจิตใจอย่างม่ันคงแล้ว อาจประกอบพฤติกรรมในทางเสียหายแก่ตนเอง ครอบครัว และหน่วยได้ ในสถานการณ์สังคมที่เป็นอยู่ในปัจจุบันน้ี หากกําลังพลได้รับ การฝึกจิตโดยการปฏิบัติธรรม ย่อมเป็นมาตรการสร้างภูมิคุ้มกันชีวิตได้อย่างดีย่ิง จึงได้ขออนุมัติหลักการจากกองทัพบก เพื่อนํากําลังพลของหน่วยข้ึนตรงกองทัพบกไป ปฏิบตั ิธรรม ณ วัดอัมพวัน อําเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงห์บุรี เป็นโครงการต่อเน่ือง และ ได้รับอนุมัติจากกองทัพบก เมื่อวันที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๒๙ ตามหนังสือ กร.ทบ. ท่ี กห ๐๔๐๕/๘๘๓ ลง ๒๓ พ.ค.๒๙ และได้ดาํ เนินการตอ่ เนอ่ื งมาถึงปัจจบุ ัน ปัจจุบันโครงการปฏิบัติธรรมในเทศกาลเข้าพรรษา เป็นโครงการที่อยู่ใน ความรับผิดชอบของกรมยุทธศึกษาทหารบก โดยมอบให้กองอนุศาสนาจารย์ กรมยทุ ธศึกษาทหารบกดาํ เนินการ ๑. การปฏิบัติ ๑.๑ หว้ งระยะเวลา : ในเทศกาลเข้าพรรษา ๓ เดือน ของทุกๆ ปี ปีละ ๓ ร่นุ ๆ ละ ๗ วัน ๑.๒ สถานที่ : วดั อมั พวนั อ.พรหมบุรี จว.สิงห์บรุ ี ๑.๓ อาหารและอ่ืนๆ : ผู้เข้ารับการปฏิบัติธรรมเสียค่าบริการตามที่ กําหนด เพอื่ มอบให้ กบั ทางวดั เป็นค่าอาหารเชา้ - กลางวัน, นาํ้ ปานะ และอ่นื ๆ ๑.๔ สถานที่พักพร้อมอุปกรณ์ ทางวัดจัดบริการให้ ส่วนเครื่องใช้ ส่วนตัว เช่น สบู่ แปรงสีฟัน ยาสีฟัน ผ้าเช็ดตัว และผ้าห่มนอน เป็นต้น ผู้สมัครเข้ารับ การปฏบิ ัตธิ รรมต้องจดั ไปเอง

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๘๙ ๑.๕ ผู้เข้ารับการปฏิบัติธรรม : นายทหาร, นายสิบ, ลูกจ้าง และ คนงานของทัพบก ๑.๖ ผู้เข้ารับการปฏิบัติธรรม ต้องได้รับอนุมัติจากผู้บังคับหน่วยต้น สงั กัด ๑.๗ ให้ถือว่า ผู้ได้รับอนุมัติจากผู้บังคับหน่วยต้นสังกัด และเจ้าหน้าท่ี อน่ื ๆ ทุกคนไปราชการ เช่นเดียวกับการไปราชการทว่ั ๆ ไป ๒. การปฏิบัตขิ องหน่วยทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ๒.๑ กรมยทุ ธศกึ ษาทหารบก ๒.๑.๑ ประสานการปฏิบตั ิกับทางวดั และหน่วยทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง ๒.๑.๒ จดั อนศุ าสนาจารย์เปน็ เจ้าหนา้ ทีก่ ํากับดูแลการปฏิบตั ิ ๒.๑.๒ ขอรับการสนับสนุนอนุศาสนาจารย์จากหน่วยท่ีมีกําลังพล เข้าปฏบิ ตั ธิ รรมในรนุ่ น้นั ๆ รว่ มเป็นเจ้าหน้าทต่ี ามเหมาะสม ๒.๑.๓ จัดเจ้าหน้าที่ไปทําข่าวออกเผยแพร่กิจกรรมพิเศษของ กองทัพบก ๒.๒ กรมการขนส่งทหารบก ๒.๒.๑ จดั พาหนะรบั - สง่ กําลงั พลพร้อมเจา้ หน้าทีพ่ ลขบั ๒.๒.๒ ประสานการใช้ สป.๓ กับ กรมพลาธิการทหารบก ๒.๓ กรมแพทย์ทหารบก ๒.๓.๑ จัดรถพยาบาล พร้อมเจา้ หนา้ ทีพ่ ลขับ รนุ่ ละ ๑ นาย ๒.๓.๒ จัดนายสิบพยาบาล รุน่ ละ ๑ นาย ๒.๓.๓ ประสานการใช้ สป.๓ กับ กรมพลาธกิ ารทหารบก ๒.๔ มณฑลทหารบกท่ี ๑๓ จัดทหารสารวัตรเป็นเจ้าหน้าที่ดูแลความ เรียบรอ้ ยตามความเหมาะสม ๓. ระเบียบปฏิบัติประจําวนั ปฏบิ ตั ิตามระเบียบ ของวัดอัมพวัน ดังน้ี เวลา ๐๔๐๐ - ต่ืนนอน ทํากจิ ส่วนตัว ๐๔๓๐ - ทําวัตรสวดมนต์ ๐๕๐๐ - ช้ีแจงการปฏิบตั ,ิ ฝึกอบรมฯ, เดนิ จงกรม และเจรญิ จิตภาวนา

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๙๐ ๐๗๐๐ - รับประทานอาหารเช้า ๐๘๓๐ - ฝกึ อบรมฯ เดนิ จงกรม และเจรญิ จิตภาวนา ๑๑๐๐ - รับประทานอาหารกลางวนั ๑๓๐๐ - ฝึกอบรมฯ เดินจงกรม และเจรญิ จติ ภาวนา ๑๖๐๐ - ดืม่ นํ้าปานะ, ทํากจิ สว่ นตวั ๑๘๐๐ - ทาํ วตั รสวดมนต์, ฝกึ อบรมฯ, เดินจงกรม และเจริญ จติ ภาวนา ๒๑๐๐ - พักผ่อน, เข้านอน

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๙๑ การปลกู ฝังและสรา้ งเสริมอุดมการณท์ หาร ด้านการพัฒนาคุณธรรมของกองทพั บก ๑. กล่าวท่วั ไป กองทพั บกได้กําหนดคําขวัญอันมีลักษณะเป็นอุดมการณ์กองทัพบก เพื่อให้ ทุกหน่วยปฏิบัติยึดม่ันไปในแนวทางเดียวกน คือ “เพ่ือชาติ ศาสน์ กษัตริย์และ ประชาชน” สําหรับกําลังพล ทุกระดับช้ัน นอกจากจะต้องยึดถืออุดมการณ์ของ กองทัพบกแล้ว ยังต้องยึดม่ันต่อคําสัตย์ปฏิญาณตนต่อธงชัยเฉลิมพลและน้อมนําพระ บรมราชโองการโปรดเกล้าฯ พระราชทานยศทหาร อันมีข้อความท่ีเป็นพระบรม ราโชวาทปรากฏไว้ทุกฉบับ ความว่า “ให้ฟังคําส่ังผู้บังคับบัญชาเหนือตน และรักษา วินัยโดยเคร่งครัด จงเว้นการควรเว้น หม่ันประพฤติการควรประพฤติ ให้ต้องตาม บทบัญญตั ิแห่งกฎหมายและแบบธรรมเนยี มทุกประการ” การที่จะทําให้กําลังพลของกองทัพบกตระหนัก ยึดมั่นอุดมการณ์ของ กองทัพบก และ พระบรมราโชวาทดังกล่าวนั้น หน่วยทุกระดับของกองทัพบกต้อง ยึดถือ กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ สายการบังคับบัญชา และฝึกอบรมกําลังพลให้เป็นผู้มี กาํ ลงั กายแขง็ แรง มีขวัญกําลังใจเข้มแข็ง มีระเบียบวินัย มีความรู้ความเข้าใจ ยึดม่ันใน อุดมการณ์รักชาติ มีคุณธรรมจริยธรรม และมีจิตวิญญาณการเป็นทหารอาชีพ ท่ีสําคัญ กาํ ลงั พลทกุ คนจะต้องมีความเสยี สละและยึดมั่นหลักการทํางานในแนวทางเดียวกัน โดย อทุ ิศตน เพอ่ื ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ ์ อยา่ งแทจ้ รงิ กองทัพบกได้เห็นความสําคัญการปลูกฝังและสร้างเสริมอุดมการณ์ให้กําลัง พลมีอุดมการณ์เป็นไปในแนวทางเดียวกัน จึงได้ออกคําสั่ง ทบ. ที่ ๖๖/๒๕๕๑ ลง ๒๕ ก.พ.๕๑ และคําส่ัง คณะกรรมการปลูกฝังและสร้างเสริมอุดมการณ์ทหารของ กองทัพบก ที่ ๑/๒๕๕๑ ลง ๑๘ ส.ค.๕๑ โดยมีคําส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการปลูกฝังและ สร้างเสริมอุดมการณ์ทหารของกองทัพบก และแต่งต้ังคณะอนุกรรมการปลูกฝังและ สรา้ งเสริมอุดมการณ์ทหารของกองทัพบก เพ่ือรับผิดชอบงานท่ีได้รับ การแบ่งมอบจาก คณะกรรมการปลูกฝังและสร้างเสริมอุดมการณ์ทหารของกองทัพบก ๕ คณะอนุกรรมการ ประกอบด้วย คณะอนุกรรมการปลูกฝังและสร้างเสริมอุดมการณ์ทหาร คณะอนุกรรมการ พัฒนารักษาขวัญ คณะอนุกรรมการรกั ษาวนิ ยั คณะอนุกรรมการพัฒนาคุณธรรม และ คณะอนกุ รรมการประเมนิ ผล

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๙๒ กองทัพบกได้กําหนดมาตรการปลูกฝังและสร้างเสริมอุดมการณ์ทหารของ กองทัพบก ซึ่งประกอบด้วย ๑ มาตรการหลัก เพ่ือดําเนินการปลูกฝังและสร้างเสริม อุดมการณ์ทหารโดยตรง ด้วยวิธีการต่างๆ กับกําลังพลกลุ่มเป้าหมาย และ ๓ มาตรการเสริม เพ่ือดําเนินการด้านการพัฒนารักษาขวัญ ด้านการรักษาวินัย และด้านการพฒั นาคุณธรรม เพ่อื เสรมิ การปฏบิ ตั ิตามมาตรการหลกั สําหรบั มาตรการเสริมดา้ นการพัฒนาคุณธรรม กองทัพบกได้มอบให้กรมยุทธ ศึกษาทหารบก เป็นหน่วยรับผิดชอบดําเนินการด้านการพัฒนาคุณธรรม โดยมี รองเจ้ากรมยุทธศึกษาทหารบก เป็นประธานอนุกรรมการ และ ผู้อํานวยการกอง อนุศาสนาจารย์ กรมยุทธศึกษาทหารบก เป็นอนุกรรมการและเลขานุการ เพื่อกําหนด แนวทางการปฏิบัติ อํานวยการ ประสานงาน กํากับดูแล ในเรื่องการพัฒนาคุณธรรม ให้กับกําลังพล ของกองทัพบกทุกนายยึดหลักคุณธรรมในด้านต่างๆ มาเป็นแนวทางใน การดําเนินชีวิตอย่างเหมาะสม สร้างความสงบสุขให้เกิดขึ้นกับตนเอง ครอบครัว สังคม หน่วยงานและประเทศชาติ และเกิดจิตสํานึกในการเทิดทูนและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่ง สถาบันหลักของชาติ ตลอดจนดํารงรักษาไว้ซ่ึงพระบรมเดชานุภาพแห่ง พระมหากษัตริย์ มิให้ผู้ใดล่วงละเมิดได้ และมีความจงรักภักดีต่อสถาบัน พระมหากษัตริย์และแสดงออกให้เป็นที่ปรากฏในทุกโอกาสอันควร โดยยึดถือนโยบาย การปลูกฝังและสร้างเสริมอุดมการณ์ทหารของกองทัพบก พ.ศ.๒๕๕๑ หลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา และแบบสรุปผลการประเมินการปลูกฝังและสร้างเสริมอุดมการณ์ ทหารของกองทัพบก ด้านการพัฒนาคุณธรรม ตามหนังสือ ยศ.ทบ.ที่ กห ๐๔๖๑/ ๒๖๓๙ ลง ๒๖ พ.ค.๕๓ เปน็ แนวทางหลกั ในการดําเนินการพัฒนาคณุ ธรรมทหาร ๒. คณะอนกุ รรมการพัฒนาคุณธรรม ประธานอนุกรรมการ ๒.๑ รอง จก.ยศ.ทบ. รองประธานอนุกรรมการ ๒.๒ เสธ.ยศ.ทบ. อนกุ รรมการ ๒.๓ ผแู้ ทน ทภ.๑ อนกุ รรมการ ๒.๔ ผแู้ ทน ทภ.๒ อนุกรรมการ ๒.๕ ผ้แู ทน ทภ.๓ อนุกรรมการ ๒.๖ ผูแ้ ทน ทภ.๔

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๙๓ ๒.๗ ผ้แู ทน นสศ. ๒.๘ ผู้แทน พล.ปตอ. อนุกรรมการ ๒.๙ ผูแ้ ทน พล.ร.๑๑ ๒.๑๐ ผแู้ ทน พล.ม.๒ รอ. อนกุ รรมการ ๒.๑๑ ผแู้ ทน พล.ป. ๒.๑๒ ผแู้ ทน ขกท. อนกุ รรมการ ๒.๑๓ ผอ.กอศจ.ยศ.ทบ. ๒.๑๔ รอง ผอ.กอศจ.ยศ.ทบ. อนกุ รรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนกุ รรมการและเลขานกุ าร อนกุ รรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร ๓. หนา้ ท่ีและความรับผดิ ชอบของคณะอนกุ รรมการพฒั นาคุณธรรม ๓.๑ กาํ หนดแนวทางการปฏบิ ตั ิ อํานวยการ และประสานงาน ๓.๒ กํากับการในเรื่องการพัฒนาคุณธรรม ให้กําลังพลทุกนายยึดหลัก คณุ ธรรมในด้านตา่ งๆ มาเป็นแนวทางในการดาํ รงชีวติ ทง้ั ในด้านสว่ นตวั และหนา้ ทีก่ ารงาน ๔. วัตถุประสงค์การพฒั นาคุณธรรมของกองทัพบก ๔.๑ เพื่อให้ส่วนราชการของ ทบ. ตั้งแต่ระดับกองพันขึ้นไป และ นขต.ทบ. มีแนวทางการดําเนินการท่ีชัดเจนในการปลูกฝังและสร้างเสริมอุดมการณ์ทหาร ด้านการ พฒั นาคุณธรรมให้กบั กําลงั พลในสังกัด ๔.๒ เพื่อให้กําลังพลทุกนายยึดมั่นในอุดมการณ์ความเป็นทหารอาชีพและ ยึดหลักคุณธรรม๘ ประการ มาเป็นแนวทางในการดํารงชีวิตทั้งในด้านส่วนตัว หน้าท่ีการ งาน และปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง ท่ีดีต่อส่วนรวม เพื่อสร้างความสงบสุขให้เกิดข้ึนกับ ตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน หน่วยงาน กองทัพ และประเทศชาติในทสี่ ดุ ๔.๓ เพื่อให้กองทัพบกเป็นสถาบันหลักท่ีสร้างศรัทธาและเช่ือมั่นแก่ประชาชน และปลูกจิตสํานึกในการเทิดทูนและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันหลักของชาติ ตลอดจน ดํารงรักษาไว้ซึ่งพระบรมเดชานุภาพแห่งพระมหากษัตริย์มิให้ผู้ใดล่วงละเมิดได้ มีความ จงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตรยิ ์ และแสดงออกให้เป็นทป่ี รากฏในทุกโอกาส ๕. กลมุ่ เปา้ หมาย ๕.๑ บคุ คลที่เตรียมเข้ามาปฏิบัตริ าชการใน ทบ.

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๙๔ ๕.๒ กาํ ลังพลท่ีแรกเรมิ่ เข้ามาปฏิบัติราชการใน ทบ. ๕.๓ กาํ ลังพลทเ่ี ข้ามาปฏิบัติราชการใน ทบ. แลว้ ๕.๔ บคุ คลอื่นทม่ี สี ่วนเกีย่ วข้องหรอื สนบั สนนุ การปฏิบัตริ าชการใน ทบ. ๖. แนวทางการพฒั นาคณุ ธรรม คณะอนุกรรมการพัฒนาคุณธรรม ได้ใช้แนวทางการพัฒนาคุณธรรมตาม หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๘ ประการ และตามนโยบายที่กองทัพบกกําหนดมาเป็น หลักในการดําเนินการ โดยยึดถือแผนการปลูกฝังและสร้างเสริมอุดมการณ์ทหารของ ทบ. ประจําปี ๒๕๕๕ ตามท่ี ผบ.ทบ. อนุมตั ทิ า้ ยหนังสือ กพ.ทบ. ที่ กห ๐๔๐๑/๓๘๒๐ ลง ๒๗ ธ.ค. ๕๔ เรื่อง รายงานผลการดําเนินการ ตามนโยบายการปลูกฝังและ สรา้ งเสรมิ อุดมการณ์ทหารของ ทบ. ดังนี้ ๖.๑ ความจงรกั ภักดตี ่อสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ๖.๒ ความเสียสละ ๖.๓ ความรบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ท่ี ๖.๔ ความพอเพียง ๖.๕ ความสามคั คี ๖.๖ ความสุขของผคู้ รองเรือน ๖.๗ การอบรมศลี ธรรมวัฒนธรรมทหาร ๖.๘ การปฏิบัติธรรม (จิตภาวนา) ๗. วิธดี าํ เนินการดา้ นการพัฒนาคุณธรรม ๗.๑ ความจงรกั ภักดตี อ่ สถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษตั ริย์ ๗ . ๑ . ๑ ก า ร จั ด ใ ห้ มี ก า ร ศึ ก ษ า อ บ ร ม แ ล ะ เ พิ่ ม พู น ค ว า ม รู้ ด้านประวัติศาสตร์ชาติไทยประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา พระราชประวัติ พระมหากษัตริย์ไทยท้ังในอดีตและปัจจุบัน เช่น การอบรม การจัดทัศนศึกษา การจัด นิทรรศการ การจัดฉายภาพยนตร์ การจัดทําเว็บไซต์ทางอินเตอร์เน็ต เป็นต้น เพ่ือ ปลูกฝังและสร้างเสริมอุดมการณ์ให้เกิดความรัก เคารพ เทิดทูน และรู้ซ้ึงถึงคุณค่าย่ิงของ สถาบันหลกั ของชาตทิ ่มี อิ าจแยกออกจากกนั ได้

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๙๕ ๗.๑.๒ การจัดโครงการหรือกิจกรรมเทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา และ พระมหากษัตริย์ เพื่อให้กําลังพลและครอบครัวแสดงออกถึงความจงรักภักดีและเกิด จิตสํานึกในการปกป้อง พิทักษ์ และรักษาไว้ซ่ึงสถาบันหลักของชาติด้วยเลือดเน้ือและ ชีวิตของตน ดงั น้ี ๗.๑.๒.๑ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ๗.๑.๒.๑.๑ การจดั หอ้ งเกียรตศิ กั ด์หิ รอื ห้องพิพิธภณั ฑ์ ของหนว่ ย ๗.๑.๒.๑.๒ การสืบสานและอนุรักษ์ประเพณี วัฒนธรรมไทยและเอกลักษณ์ของชาติไทย เช่น ประเพณีสงกรานต์ เข้าพรรษา ลอย กระทง การใช้ภาษาไทย เปน็ ต้น ๗.๑.๒.๑.๓ การร้องเพลงชาติ การปฏิญาณตนหลัง เคารพธงชาติ การร้องเพลง ในลักษณะท่ีเกี่ยวข้องกับชีวิตการเป็นทหารอาชีพหรือร้อง เพลงปลกุ ใจรกั ชาติตา่ งๆ ๗.๑.๒.๑.๔ การกระทําสัตย์ปฏิญาณตนต่อธงชัยเฉลิม พล และการปฏิบัติตนตามคําปฏิญาณต่อธงชัยเฉลิมพลอย่างต่อเนื่อง ด้วยวิธีการต่างๆ ใหก้ ับกําลังพลทุกระดบั ๗.๑.๒.๑.๕ การจัดป้ายข้อความและส่ือต่างๆ เพื่อรณรงค์และ ปลุกจิตสํานึกรักชาติ และพร้อมท่ีจะปกป้อง พิทักษ์และรักษาไว้ซ่ึง สถาบนั หลกั ของชาติ ๗.๑.๒.๑.๖ การประดับธงชาติ ธงธรรมจักร และธง สัญลักษณเ์ กย่ี วกับสถาบันพระมหากษัตรยิ ์ ๗.๑.๒.๒ ความจงรกั ภักดตี ่อสถาบนั พระพุทธศาสนา ๗.๑.๒.๒.๑ การสอนวิชาการศาสนาและศีลธรรมใน หลกั สูตรตามแนวทางการรับราชการของ ทบ. และ กอศจ.ยศ.ทบ. ๗.๑.๒.๒.๒ การจัดกิจกรรมวันสําคัญทาง พระพุทธศาสนา เช่นทําบุญตักบาตร รักษาศีล ปฏิบัติธรรม เวียนเทียนประทักษิณ ปฏิบัติศาสนพิธี ประดับธงธรรมจักร จัดนิทรรศการ ประกวดโต๊ะหมู่บูชาและการสวด มนต์สรรเสริญพระรตั นตรัย การเข้าค่ายคุณธรรม เปน็ ต้น

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๙๖ ๗.๑.๒.๒.๓ การถวายความอุปถัมภ์และทํานุบํารุง เชน่ บริจาคเงินเพอ่ื การกศุ ลผ้าปา่ /กฐนิ ฯ กจิ กรรม ๑ กองพนั ๑ วัด พฒั นาจิต เปน็ ต้น ๗.๑.๒.๒.๔ การสืบต่ออายุของพระพุทธศาสนา ด้วย การปฏิบัติหน้าที่ของความเป็นพุทธศาสนิกชนท่ีดี และสนับสนุนส่งเสริมด้านปริยัติธรรม ปฏิบัติธรรมทางพระพุทธศาสนาของกําลังพลและครอบครัว เช่น การจัดการเรียนการ สอนและสอบธรรมสนามหลวง โรงเรียนพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ บวชเนกขัมมะ/ บวชชพี ราหมณ์ การบรรพชาและอปุ สมบท เปน็ ต้น ๗.๑.๒.๓ ความจงรักภกั ดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ๗.๑.๒.๓.๑ การปฏิบัติธรรมและการบรรพชาอุปสมบท เฉลิมพระเกียรติ เน่ืองในโอกาสมหามงคลวันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยหู่ ัว และสมเด็จพระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินนี าถ ๗.๑.๒.๓.๒ การจัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติและถวาย เป็นพระราชกุศลเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาฯ เช่น การทําบุญตักบาตร ไหว้พระ สวดมนต์ ปฏิบัติธรรมถวายเป็น พระราชกุศล, การลงนามถวายพระพรชัยมงคล, การปฏิญาณตนเป็นข้าราชการที่ดีและเป็นพลังแผ่นดิน, ปลูกต้นไม้ตามโครงการ พลิกฟนื้ ผนื ป่าด้วยพระบารมี, การบรจิ าคโลหิต, การจัดทําสื่อเผยแผ่พระราชประวัติและ พระราชกรณยี กจิ , การเดิน-วิง่ เฉลมิ พระเกียรติ เปน็ ต้น ๗.๑.๒.๓.๓ การจัดท่ีบูชาประจํากองร้อย ให้ถูกต้อง เหมาะสมตามทที่ บ. กําหนด เพอื่ เฉลมิ พระเกียรติและถวายเป็นพระราชกศุ ล ๗.๑.๒.๓.๔ การไหว้พระสวดมนต์อธิษฐานจิต ถวาย เป็นพระราชกุศล วันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทุกวันราชการ เวลา ๐๘๓๐ ตลอดเดือน ธนั วาคม และสิงหาคมของทกุ ปี ๗.๑.๒.๓.๕ การปฏิบัติธรรมถวายเป็นพระราชกุศล ของพลทหารกองประจําการ หลงั จากไหวพ้ ระสวดมนตป์ ระจาํ วนั ทุกคืน เวลา ๒๐๓๐ ๗.๒ ความเสียสละ ๗.๒.๑ การบริจาคเงินและส่ิงของเพื่อสาธารณกุศลให้กับวัด บ้าน โรงเรียน หน่วยงานและองค์กรการกุศลต่างๆ เช่น ผ้าป่าฯ/กฐินฯ อุปกรณ์การศึกษา/

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๙๗ กฬี า การพฒั นาสงิ่ แวดล้อมและบําเพ็ญ สาธารณประโยชน์ เป็นต้น เพ่ือกําจัดความเห็น แกต่ ัว ปลกู ฝงั ความเสยี สละและเสรมิ สร้างความร้รู ักสามคั คตี ่อกนั ๗.๒.๒ การช่วยเหลือและบําบัดทุกข์ผู้ประสบภัยพิบัติต่างๆ เช่น อุทกภัย วาตภัยอัคคีภัย ภัยแล้ง อุบัติเหตุ เป็นต้น เพื่อปลูกฝังความมีนํ้าใจ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ได้ยากหรือผู้ที่ด้อยโอกาส เพ่ือให้กองทัพบกเป็น ท่ยี อมรับ เช่ือมั่นของประชาชน ๗.๒.๓ การพัฒนาหน่วย เขตสุขาภิบาลและส่ิงแวดล้อม ด้วยความ เสียสละตามที่ได้รับการแบ่งมอบพ้ืนท่ีให้ดําเนินการ เพื่อให้เห็นถึงความรับผิดชอบและ เสยี สละตอ่ ส่วนรวมของกาํ ลงั พล ๗.๒.๔ การบริจาคโลหิตเพื่อสภากาชาดไทย การอุทิศร่างกายและชีวิตใน การปฏิบัติหน้าที่ เพ่ือพิทักษ์รักษาอธิปไตยและเอกราชของชาติไทย ตลอดจนปลูกฝัง ใหเ้ ห็นคุณค่าของความเสียสละ และเกิดความภาคภูมิใจในการเสียสละสิ่งที่มีคุณค่าน้อย เพอื่ รักษาไวซ้ ึ่งสง่ิ ที่มคี ณุ ค่ามากกวา่ ๗.๒.๕ การจัดสวัสดิการและบํารุงขวัญของหน่วย เช่น พบปะเย่ียม เยียน มอบทุน การศึกษา ค่ารักษาพยาบาล มอบของขวัญรางวัล/โล่/เกียรติบัตร การจัดหางานให้พลทหารกองประจําการ เป็นต้น เพื่อให้เห็นถึงความเสียสละและการ เอาใจใสด่ ูแลของผู้บงั คับหน่วย ท่มี ตี อ่ กําลงั พลและครอบครวั ของหน่วย ๗.๓ ความรบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ท่ี ๗.๓.๑ จัดกําลังพลเข้ารับการฝึกศึกษาตามวงรอบ และตามท่ีหน่วยมี ความคิดริเริ่มอยา่ งเพียงพอตอ่ การปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ เพ่ือให้กําลังพลเป็นผู้ที่มีทักษะความรู้มี ความริเริ่มและมีการตัดสินใจท่ีถูกต้องรวดเร็วมีคุณธรรมจริยธรรมและจิตวิญญาณการ เป็นทหารอาชีพ มีเกียรติยศและศักดิ์ศรี มีความรู้ความสามารถท้ังในงานตาม หน้าที่และก้าวทันวิทยาการท่ีทันสมัย มีความตระหนักในความเป็นทหารของชาติและ เป็นทหารในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เช่น การฝึก ชกท. การเพิ่มพูนวิทยฐานะการ จดั การเรยี นการสอนเฉพาะหน้าท่ีภายในหน่วย (Unit school) การฝึกตามวงรอบหน่วย เปน็ ต้น ๗.๓.๒ การจัดทําห้องเกียรติศักด์ิหรือห้องพิพิธภัณฑ์ และบันทึก ประวัติศาสตร์ เก่ียวกับ วีรกรรมของกําลังพลที่ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเสียสละและกล้า

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๙๘ หาญ เพ่ือเป็นสถานที่รวบรวมประวัติศาสตร์ที่นํามาซึ่งความภาคภูมิใจของกําลังพลและ ครอบครัว และประกาศเกียรติคุณให้เป็นที่ปรากฏต่อสาธารณชน ยกย่องเทิดทูน และ เป็นที่เคารพของบุคคลทัว่ ไป ๗.๓.๓ การคัดเลือกและยกย่องกําลังพลดีเด่น ด้านการฝึกศึกษาและ ปฏิบัติหน้าที่ ในท่ีตั้งปกติและปฏิบัติราชการสนามให้เป็นที่ปรากฏต่อกําลังพลและ ครอบครัว ตลอดจนประชาชนทั่วไปเช่น ประกาศยกย่อง มอบใบประกาศเกียรติคุณ มอบของขวัญรางวัล บําเหน็จความดีความชอบ เป็นต้น เพ่ือกระตุ้นให้กําลังพลมีความ มุ่งม่ัน และเกิดขวัญกําลังใจในการปฏิบัติหน้าท่ีจนเกิดความสําเร็จลุล่วงและเป็น ประโยชนต์ ่อหน่วยงานและส่วนรวม ๗.๓.๔ จัดทําสถิติทหารกระทําความผิดและปฏิบัติหน้าที่ย่อหย่อน บกพร่อง ละทิ้ง หรือทุจริตต่อหน้าที่ เช่น ดื้อรั้น ผิดวินัย ขาดหนี การทําผิดกฎหมาย ประพฤติทุจริตและคอร์รัปชั่น เป็นต้น สําหรับเป็นข้อมูลให้ผู้บังคับบัญชาดําเนินการ ควบคุม กํากับดูแลและหาแนวทางปรับปรุงแก้ไขพฤติกรรมหรือลงโทษตามฐานของ ความผิด เพ่ือป้องกันมิให้กําลังพลกระทําผิดที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ทางราชการ ได้ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และปฏิบัติตนเป็นข้าราชการที่ดีของแผ่นดิน ตลอดจนลงโทษกําลังพลที่กระทําผิดร้ายแรงมิให้ใช้ตําแหน่งหน้าที่ของตนกระทําความ เสียหายต่อหน่วยและส่วนรวมต่อไป อันเป็นการป้องกันมิให้คนช่ัวมีอํานาจและส่งเสริม คนดีใหม้ ีโอกาสทาํ หน้าทที่ ดแทนตอ่ ไป ๗.๔ ความพอเพียง ๗.๔.๑ การจัดกําลังพลและครอบครัวเข้ารับการอบรม ศึกษาดูงาน และฝึกปฏิบัติตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทั้งในที่ต้ังหน่วยและนอกหน่วยเพื่อให้ กาํ ลงั พลและครอบครัวมีความรู้ความเข้าใจและเกิดแรงจูงใจในการนําแนวความคิดเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติ และสามารถนํามาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการ ดาํ เนินชวี ติ ของตนได้ต่อไป ๗.๔.๒ การจัดโครงการและกิจกรรมสนับสนุนและส่งเสริมการดําเนิน ชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ให้ปรากฏผล เปน็ รปู ธรรม เชน่ ปลูกพชื ผักสวนครัว ปลูกพชื เศรษฐกจิ ไรน่ าสวนผสม เล้ยี งสตั ว์ เปน็ ตน้

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๙๙ ๗.๔.๓ การรณรงค์ลด ละ เลิก อบายมุข เพ่ือลดรายจ่าย เพ่ิมราย เหลือและ เพ่ือสุขภาพที่ดี มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของกําลังพลและ ครอบครัว ตลอดจนเพิ่มศักยภาพในการปฏิบัติหน้าท่ีและดําเนินชีวิตด้วยความสุขและ ประสบความสําเร็จในชีวิต เช่น การฝึกอบรมเพิ่มเติมความรู้ให้เห็นโทษและพิษภัยของ อบายมุข การควบคุมกํากับดูแลเกี่ยวกับการจําหน่วยบุหร่ี,สุราให้เป็นไปตามกฎหมาย หรือระเบียบของหน่วย การรณรงค์ลด ละ เลิก บุหร่ีเหล้าเข้าพรรษา การกวดขันมิให้ เล่นการพนนั และกระทาํ สงิ่ ผิดกฎหมาย การบาํ บดั และฟื้นฟสู ขุ ภาพผูต้ ดิ ยาเสพติด เป็นตน้ ๗.๔.๔ การจัดผลกําไรของกองทุนชุมชนหรืองบประมาณของหน่วยให้ การสนับสนุนและส่งเสริมด้านการฝึกวิชาชีพ การศึกษาและพัฒนาชุมชนทหารภายใน หนว่ ย เพอื่ ใหส้ มาชกิ ได้มสี ่วนร่วมและสร้างความเจริญรุง่ เรอื งภายในชมุ ชนของตน ๗.๕ ความสามัคคี ๗.๕.๑ การรณรงค์สร้างความสามัคคีและความปรองดองของคนในชาติ การสร้างจิตสํานึกอุดมการณ์รักชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นพระประมุข ดว้ ยการจัดกิจกรรมสร้างความเข้าใจและทัศนคติท่ี ดีให้เกิดความสํานึกในหน้าท่ีในการให้การสนับสนุนความร่วมมือร่วมใจและรู้จักให้อภัย กัน เพ่ือความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ เช่น การรณรงค์ให้ปฏิบัติตามแนว พระราชดาํ รัส “รู้รักสามคั คี” เปน็ ตน้ ๗.๕.๒ จัดโครงการและกิจกรรมสนับสนุนและส่งเสริมให้กําลังพล ครอบครัว และชุมชนท่ัวไปเกิดความรักสามัคคีและพร้อมที่จะดําเนินชีวิตอยู่ร่วมกัน อยา่ งสันติสขุ และให้อภยั ตอ่ กนั เช่น แข่งขนั กีฬา พบปะเยี่ยมเยียน ทัศนศึกษาและการ บันเทงิ การจดั สวัสดิการ เป็นตน้ ๗.๕.๓ การประชุมประจําเดือนของหน่วยและเข้าร่วมประชุมกับ หน่วยงานอ่ืน เพ่ือความเข้าใจอันดีต่อกันและรับทราบข้อมูลเก่ียวกับการส่งเสริมให้เกิด ความสามัคคีมีความสมานฉันท์ และร่วมกันหาแนวทางป้องกันและแก้ไขเหตุที่ก่อให้เกิด ความแตกสามคั คี ๗.๕.๔ การสร้างความสัมพันธ์อันดีกับชุมชนและจัดชุดเกาะติด สถานการณ์ เพื่อทําความเข้าใจและรณรงค์ให้กําลังพล ครอบครัว และประชาชน ได้มี ส่วนร่วมและทํากิจกรรมเสริมสร้างความรักความสามัคคีร่วมกัน เช่น การมีส่วนร่วม

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๑๐๐ อนุรักษ์และสืบสานประเพณีวัฒนธรรมไทย การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ การพัฒนา ชุมชน การจดั ชุดเกาะตดิ สถานการณ์ เป็นตน้ ๗.๖ ความสขุ ของผ้คู รองเรือน คอื ความสุขอนั ชอบทผี่ ู้ครองเรือนควรมีและ ควรขวนขวายใหม้ ีอยูใ่ นตนเสมอ มี ๔ ประการ ดงั นี้ ๗.๖.๑ สุขเกิดจากการมีทรัพย์ การจัดโครงการและจัดกิจกรรม สนับสนุนและส่งเสริมการประกอบอาชีพเสริมเพิ่มรายได้ให้กําลังพลและครอบครัวใน รูปแบบวิสาหกิจชุมชน เช่น ตัดเย็บเส้ือผ้า ทําเครื่องประดับตกแต่ง ไม้ดอกไม้ประดับ สินค้าและผลิตภัณฑ์ OTOP เป็นต้น เพ่ือลดรายจ่าย เพิ่มรายเหลือ มีความเป็นอยู่ที่ดี และไม่มีหนส้ี นิ ล้นพ้นตวั ๗.๖.๒ สุขเกิดจากการใช้จ่ายทรัพย์บริโภค การจัดอบรมและรณรงค์ ให้รู้จักประหยัดอดออมและบริหารทรัพย์ตามแนวคําสอนของพระพุทธศาสนาโดยยึด หลกั โภคอาทิยธรรมคือประโยชนท์ ค่ี วรถือเอาจากการใชจ้ ่ายโภคทรพั ย์ ๕ ประการ คือ ๗.๖.๒.๑ เลี้ยงตน เลี้ยงมารดาบิดา เลี้ยงครอบครัว เล้ียง ผูใ้ ตบ้ งั คับบัญชาให้เป็นสุข ๗.๖.๒.๒ เล้ยี งเพ่ือนฝงู ใหเ้ ปน็ สุข ๗.๖.๒.๓ บําบดั ปอ้ งกนั ภยนั ตราย ๗.๖.๒.๔ ทาํ พลีกรรม (สละเพอื่ ช่วยเหลอื หรือบูชา) ๕อยา่ ง ดังนี้ ๗.๖.๒.๔.๑ การสงเคราะหญ์ าติ ๗.๖.๒.๔.๑ การต้อนรบั แขก ๗.๖.๒.๔.๑ การทําบุญอทุ ศิ ให้ผู้ตาย ๗.๖.๒.๔.๑ การเสยี ภาษีอากร ๗.๖.๒.๔.๑ การทาํ บญุ อทุ ศิ ให้เทวดา ๗.๖.๒.๕ ทําทานในสมณพราหมณ์ผู้ประพฤติชอบ (การทําบุญ ตักบาตรพระสงฆ์ สนบั สนุนและส่งเสริมบุคคลผ้ปู ระพฤตดิ ีมีศลี ธรรม) ๗.๖.๓ สุขเกดิ จากความไม่เปน็ หน้ี ๗.๖.๓.๑ การตรวจสอบการกู้เงินท่ีก่อให้เกิดหน้ีสินล้นพ้นตัว ของกําลังพล จนอาจส่งผลกระทบและทําให้เกิดความเสียหายต่อการปฏิบัติหน้าที่และ ต่อหน่วย ในรูปแบบของการจัดต้ังคณะกรรมการตรวจสอบการกู้เงินของหน่วย เพื่อหา

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๑๐๑ แนวทางแก้ไขและช่วยเหลือให้กําลังพลมี หน้ีสิ้นลดลงและหมดหนี้ในท่ีสุด เช่น การ ตรวจสอบการกู้เงินทั้งในระบบและนอกระบบ รวมท้ังความสามารถในการชําระหนี้ของ กําลังพล การจัดทําสถิติและประวัติของกําลังพลท่ีมีเงินเหลือไม่ถึงหนึ่งในสามของเงิน รายได้ประจําเดือน การให้ความช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อนแก่กําลังพลผู้มี หนส้ี ินล้นพน้ ตวั เป็นตน้ ๗.๖.๓.๒ การส่งเสริมให้กําลังพลและครอบครัวจัดทําบัญชี ครัวเรอื นของตนเพอ่ื ตรวจสอบรายรบั -รายจ่าย และวางแผนในการใช้จ่ายทรัพย์มิให้เกิน รายรับประจาํ เดือนของตนและปอ้ งกันมิให้ใชจ้ ่ายอย่างฟุ่มเฟือยจนเกินฐานะและเป็นผู้ที่ มีหนี้สนิ ลน้ พ้นตวั ๗.๖.๔ สุขเกิดจากการประกอบการงานท่ีปราศจากโทษ จัดให้มี คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ เพื่อควบคมุ กํากับดูแลและจัดหา มาตรการป้องกันมิให้กําลังพลและครอบครัวประพฤติทุจริตหรือเก่ียวข้องกับส่ิงเสพติด ให้โทษ กระทําผิดกฎระเบียบของหน่วยและกฎหมายบ้านเมือง เช่น การอบรมชี้แจง รายงานสถิติทหารกระทําผิดประจําเดือน การจัดชุดระวังป้องกันการกระทําผิด การตรวจปสั สาวะหาสารเสพติด การบําบัดและการฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติด การจัดต้ังหน่วย ทหารสีขาว เปน็ ต้น ๗.๗ การอบรมศีลธรรมวัฒนธรรมทหาร จัดโครงการและกิจกรรมส่งเสริม ให้กาํ ลังพลและครอบครัวมีโอกาสได้รับการศึกษาและอบรมในโอกาสสําคัญ เพื่อปลูกฝัง คณุ ธรรมจรยิ ธรรมในจิตใจ ใหล้ ะช่ัว กระทําความดี และฝกึ จิตให้บริสุทธผ์ิ อ่ งใส ดงั น้ี ๗.๗.๑ การอบรมศีลธรรมวัฒนธรรมทหาร (ยามปกติ) ประจําเดือน หน่วยจัดให้มีการอบรมศีลธรรมวัฒนธรรมทหารประจําเดือนทุกเดือนๆ ละ ๑ คร้ัง โดยใช้หัวข้อธรรมที่ ยศ.ทบ. กําหนดให้ และปฏิบัติตามระเบียบกรมยุทธศึกษาทหารบก ว่าด้วยการอบรมศีลธรรมวัฒนธรรมทหาร(ยามปกติ) พ.ศ.๒๕๔๙ ลง ๒๒ ธ.ค.๔๙ อย่างต่อเน่ือง โดยให้หน่วยออกคําส่ังการอบรมศีลธรรมวัฒน-ธรรมทหาร ส่งใบบันทึก ยอดผู้เข้ารับการอบรม สมุดบันทึกการอบรม รายงานผลการอบรมศีลธรรมฯ และ รายงานสถิติทหารกระทาํ ความผดิ ประจาํ เดือนให้หนว่ ยเหนือทราบทกุ เดอื น

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๑๐๒ ๗.๗.๒ การสอนวิชาการศาสนาและศีลธรรมในหลักสูตรตามแนวทาง รับราชการ การอบรมและเพิ่มพูนความรู้ด้านศาสนพิธี พิธีกร พิธีกรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวฒั นธรรมไทยของ ทบ. และของหน่วย ๗.๗.๓ การอบรมคุณธรรมทหารใหม่ การประกอบพิธีแสดงตนเป็น พุทธมามกะของทหารใหม่ และอบรมครูฝึกทหารใหม่ หน่วยออกคําส่ัง ดําเนินการ และรายงานผลการอบรมคุณธรรมทหารใหม่ การประกอบพิธีแสดงตนเป็นพุทธมามกะ สาํ หรับทหารใหม่ และอบรมคุณธรรมครฝู กึ ทหารใหมใ่ ห้หน่วยเหนอื ทราบทุกผลัด ๗.๗.๔ การจัดกิจกรรมธรรมสัญจรของอนุศาสนาจารย์ และการอบรม ชี้แจงพลทหารกองประจําการ หน่วยออกคําสั่งและจัดอนุศาสนาจารย์บรรยายธรรม หรือพบปะเย่ียมเยียนกําลังพล ณ ที่รวมพลหน้าแถว หน่วยงานและชุมชนทหาร ตลอดจนจดั ผู้บงั คบั บัญชาอบรมพลทหารกองประจําการ ก่อนการไหว้พระสวดมนตก์ ่อนนอนตาม รปจ. ๗.๗.๕ การจัดโครงการหรือกิจกรรมพบกันวันพระ เช่น การไหว้พระ สวดมนต์ทําบุญตักบาตร ปฏิบัติธรรม ประดับธงธรรมจักร - ธงชาติ - ธงตราสัญลักษณ์ เป็นตน้ ๗.๗.๖ การจัดทําสื่อธรรมะและติดตั้งป้ายข้อความสําหรับเผยแผ่และ ส่งเสริมให้กําลังพลและครอบครัวได้รับความรู้ความเข้าใจและสามารถนําไปประยุกต์ใน ชีวิตประจําวันได้ เช่น พุทธศาสน-สุภาษิต ข้อคิดคติธรรม พระราชดํารัส พระบรม ราโชวาท นทิ รรศการ เสยี งตามสาย สถานีวทิ ยุและโทรทัศน์ เปน็ ต้น ๗.๗.๗ การจัดทําสมุดบันทึกความดี หน่วยส่งเสริมให้กําลังพลบันทึก ความดีที่ได้เข้าร่วมโครงการหรือกิจกรรมด้านการพัฒนาคุณธรรม ๘ ประการ โดยเร่ิมท่ี พลทหารกองประจําการทกุ นายและขยายผลถงึ กําลงั พลและครอบครวั ในโอกาสต่อไป ๗.๘ การปฏิบัติธรรม หน่วยจัดให้กําลังพลและครอบครัวได้มีโอกาสปฏิบัติ ธรรม ตามแนวการปฎิบัติธรรมสมถกรรมฐานและวิปัสสนากรรมฐานทาง พระพุทธศาสนาตามที่ ทบ. หรือหน่วยจัดดําเนินการ เพื่อพัฒนาและยกระดับจิตใจให้ เกิดความสะอาด สว่าง สงบ และเกิดปัญญารู้แจ้งเห็นจริงตามสัจธรรมของพระพุทธเจ้า และสามารถกําจัดทุกข์และแก้ไขปัญหาชีวิตด้วยสติปัญญาของตนได้อย่างเหมาะสม ถูกตอ้ ง ดังนี้

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๑๐๓ ๗.๘.๑ การปฏิบัติธรรมในหลักสูตรการพัฒนาบคุ ลากรของ ทบ. ๗.๘.๒ การปฏิบัติธรรมในโครงการปฏิบัติธรรมในเทศกาลเข้าพรรษา ของ ทบ. ๗.๘.๓ การปฏิบัติธรรมเฉลิมพระเกียรติของ ทบ. เน่ืองในโอกาสวันเฉลิม พระชนมพรรษา ๑๒ สิงหามหาราชินี และ ๕ ธันวามหาราช และในโอกาสอ่นื ๆ ๗.๘.๔ การปฏิบัติธรรมของหน่วย หน่วยเหนือหรือร่วมกับหน่วยงาน และองคก์ รอนื่ ๆ ๗.๘.๕ การเข้ารว่ มโครงการบรรพชาอุปสมบทของ ทบ. หนว่ ยเหนอื ๗.๘.๖ การไหว้พระสวดมนต์และปฏิบัติธรรมก่อนปฏิบัติงาน ณ หน้าแถวท่รี วมพลของหน่วย ๗.๘.๗ การไหว้พระสวดมนต์ก่อนนอนและการปฏิบัติธรรม ของพลทหาร กองประจําการ หลังจากการไหวพ้ ระสวดมนตก์ ่อนนอนประจําวนั ๘. การรายงานผลดา้ นการพัฒนาคุณธรรม ให้คณะอนุกรรมการพัฒนาคุณธรรมของหน่วยรายงานผลตามนโยบายการ ปลูกฝังและสร้างเสริมอุดมการณ์ทหารของ ทบ. ด้านการพัฒนาคุณธรรม โดยผ่าน อนกุ รรมการพัฒนาคุณธรรม ตามสายการบังคับบัญชา ปีงบประมาณละ ๒ หว้ ง ดงั นี้ ๘.๑ หน่วยระดับ กองพัน รายงานภายใน วันที่ ๒๕ มี.ค. และ ๒๕ ก.ย. ของทกุ ปี ๘.๒ หนว่ ยระดบั กรม รายงานภายใน วันที่ ๑ เม.ย. และ ๑ ต.ค. ของทกุ ปี ๘.๓ หน่วยระดับ กองพล รายงานภายใน วันท่ี ๕ เม.ย. และ ๕ ต.ค. ของทุกปี ๘.๔ หน่วยระดับ กองทัพภาค และ นขต.ทบ. รวบรวมและรายงานถึง ยศ.ทบ. (ผ่านกอศจ.ยศ.ทบ.) ภายในวันที่ ๑๐ เม.ย. และ ๑๐ ต.ค. ของทกุ ปี ๘.๕ ยศ.ทบ. (กอศจ.ยศ.ทบ.) รวบรวมและสรุปผลรายงานเพ่ือนําเรียน ประธานกรรมการปลกู ฝังและสร้างเสริมอุดมการณ์ทหารของกองทัพบก (ผช.ผบ.ทบ.สาย งานกาํ ลังพล) ก่อนสรุปนําเรียนให้ ผบ.ทบ. ทราบต่อไป ภายใน ๒๐ เม.ย. และ ๒๐ ต.ค. ของทุกปี

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๑๐๔ ๘.๖ ใหห้ นว่ ยจัดทาํ ภาคผนวกรายละเอียดของกจิ กรรมพร้อมภาพกิจกรรม รายงานเป็นรปู เลม่ เอกสารและลงขอ้ มลู ทงั้ หมดในแผ่นซดี ีรอมแนบกบั ภาคผนวกด้วย ๘.๗ ให้ผู้บังคับหน่วยเป็นผู้ลงนามในแบบรายงานผลการปลูกฝังและสร้าง เสรมิ อดุ มการณท์ หารของ ทบ. ด้านการพฒั นาคณุ ธรรม ๙. การประเมินผล ดําเนินการประเมินผลท้ังในระดับบุคคล หน่วยทหาร และ ทบ. ดังนี้ ๙.๑ ระดับบุคคลและหน่วยทหาร ให้ดําเนินการประเมินตามสายการบังคับ บัญชา และคณะอนุกรรมการประเมินผล (จบ.) จัดชุดตรวจสอบและประเมินผลหน่วย ตง้ั แตร่ ะดับกองพัน จนถึงระดับ นขต.ทบ. ปงี บประมาณละ ๑ ครงั้ ๙.๒ ระดับ ทบ. ให้ดําเนินการประเมินผล โดยที่กองทัพบกจะจัด คณะอนุกรรมการดําเนินการรบั ผดิ ชอบเป็นการเฉพาะ ๑๐. การปฏบิ ัติ ส่วนราชการของกองทัพบก ต้ังแต่หน่วยระดับกองพันข้ึนไปจนถึงระดับ กองทัพภาค และ นขต.ทบ. ยึดถือและเร่งรัดการดําเนินการในส่วนท่ีรับผิดชอบ ให้บรรลุผลในการปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมโดยเร็ว รวมท้ังให้จัดทํารายละเอียดในการ ดําเนินการตามนโยบายการปลูกฝังและสร้างเสริมอุดมการณ์ทหารของกองทัพบก มาตราที่ ๔ “ด้านการพัฒนาคุณธรรม” โดยกําหนด แผนงาน, โครงการ และกิจกรรม เก่ียวกับการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ประกอบเพ่ิมเติมให้สมบูรณ์ ปรับปรุงให้ทันสมัย อยู่เสมอ และรายงานผลการปฏิบัติตามวงรอบ ๖ เดือน ของปีงบประมาณตามห้วงเวลา ท่ี ทบ. กําหนด ๑๑. วิธดี าํ เนนิ การ ๑๑.๑ นขต.ทบ.แต่งตั้งคณะกรรมการปลูกฝังและสร้างเสริมอุดมการณ์ ทหารของหนว่ ย ถงึ ระดับกองพัน (กองทัพภาค กองพล กรม กองพนั ) ๑๑.๒ คณะกรรมการปลูกฝังและสร้างเสริมอุดมการณ์ทหารของหน่วย ตามข้อ ๑๑.๑ ออกคําสั่ง แต่งต้ังคณะอนุกรรมการปลูกฝังและสร้างเสริมอุดมการณ์ ทหารของหน่วย ดา้ นการพฒั นาคุณธรรม

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๑๐๕ ๑๑.๓ จัดประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาคุณธรรมของหน่วย เพ่ือดําเนินการกําหนดแนวทาง การจัดโครงการ/กิจกรรม ด้านการพัฒนาคุณธรรมของ หน่วย ตามโครงการ/กิจกรรมสนับสนุนแผนงานการปลูกฝังและสร้างเสริมอุดมการณ์ ทหารของกองทพั บก มาตรการที่ ๔ “ด้านการพฒั นาคุณธรรม” ให้ครบทง้ั ๘ ด้าน ๑๑.๔ ประชาสัมพันธ์และเชิญชวนให้กําลังพลและครอบครัว มีความเข้าใจและ เห็นความสําคัญ ของการเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมด้านการพัฒนาคุณธรรม และดําเนินการจัดโครงการ/กิจกรรมตา่ งๆ ตามท่หี นว่ ยกําหนด ๑๑.๕ หน่วยที่รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม ประสานงาน กํากับดูแล และรายงานผล เม่ือจบกิจกรรม ให้คณะอนุกรรมการพัฒนาคุณธรรมของหน่วยทราบ ทกุ คร้งั ๑๑.๖ คณะอนุกรรมการพัฒนาคุณธรรมของหน่วย รายงานผลการปฏิบัติ ตามสายการบังคับบัญชา และรวบรวมผลการดําเนินการรายงานให้ ทบ. (ยศ.ทบ.) ทราบ ตามแบบรายงานการปลูกฝังและสร้างเสริมอุดมการณ์ทหารของ ทบ. ด้านการ พฒั นาคุณธรรม ตามวงรอบ ๖ เดือน ปงี บประมาณละ ๒ หว้ ง ตามข้อ ๘ ๑๑.๗ ดําเนินการประเมินผลและรายงานผลการประเมิน เพื่อใช้เป็นข้อมูล ในการวิเคราะห์ ปรับปรุงและพัฒนาโครงการและกิจกรรม ให้เกิดความสมบูรณ์และ ปรับปรงุ ใหท้ นั สมัยอยู่เสมอ

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๑๐๖ การตรวจกิจการอนุศาสนาจารย์ ตามระเบียบกรมยุทธศึกษาทหารบก ว่าด้วยการอบรมศีลธรรมวัฒนธรรม ทหาร (ยามปกติ) พ.ศ. ๒๕๔๙ กองอนุศาสนาจารย์ซ่ึงเป็นหัวหน้าเหล่าสายวิทยาการ อนุศาสนาจารย์ จะต้องจัดส่งอนุศาสนาจารย์ ไปตรวจและให้คําแนะนํากิจการ อนุศาสนาจารย์แกห่ นว่ ยขน้ึ ตรงกองทพั บกและหนว่ ยรอง เปน็ ประจาํ ทุกปี เพียงแต่ในแต่ ละปไี ม่สามารถจะตรวจไดค้ รบทกุ หนว่ ย โดยตรวจเกี่ยวกบั ๑. การอบรมศีลธรรมวัฒนธรรมทหาร ๒. การปลูกฝังและสรา้ งเสริมอดุ มการณ์ทหาร ดา้ นการพฒั นาคุณธรรม ๓. การจัดทบี่ ูชาประจาํ กองร้อย ๔. การไหวพ้ ระสวดมนต์ของทหาร ๕. เอกสารหลกั ฐานในสายงานอนศุ าสนาจารย์ ๖. การปฏิบตั ิงานของอนุศาสนาจารย์ประจาํ หนว่ ย ตั้งแต่ปี ๒๕๕๑ เป็นต้นมา กองทัพบก ได้มีนโยบายการปลูกฝังและสร้าง เสริมอุดมการณ์ทหารของกองทัพบก และมีคําส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการปลูกฝังและสร้าง เสริมอุดมการณ์ทหารของกองทัพบก และแต่งต้ังคณะอนุกรรมการปลูกฝังและสร้าง เสริมอุดมการณ์ทหารของกองทัพบก เพ่ือรับผิดชอบงานที่ได้รับการแบ่งมอบจาก ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ป ลู ก ฝั ง แ ล ะ ส ร้ า ง เ ส ริ ม อุ ด ม ก า ร ณ์ ท ห า ร ข อ ง ก อ ง ทั พ บ ก ๕ คณะอนุกรรมการ ประกอบด้วย คณะอนุกรรมการปลูกฝังและสร้างเสริมอุดมการณ์ ทหาร คณะอนุกรรมการพัฒนารักษาขวัญ คณะอนุกรรมการรักษาวินัย คณะอนุกรรมการพัฒนาคุณธรรม และคณะอนุกรรมการประเมินผล โดยกําหนดให้ หน่วยตั้งแต่ระดับกองพันและเทียบเท่าข้ึนไป ต้องออกคําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ ปลูกฝังและสร้างเสริมอุดมการณ์ทหารของหน่วย รวมทั้งให้จัดทําแผนงานและโครงการ พัฒนา กับทั้งได้กําหนดหัวข้อให้หน่วยรายงานกองทัพบก ปีละ ๒ ครั้ง ตามห้วงเวลาท่ี กองทพั บกกาํ หนด อนุศาสนาจารย์ มีหน้าที่และบทบาทในการปลูกฝังและสร้างเสริม อุดมการณ์ทหาร ด้านการพัฒนาคุณธรรม แก่กําลังพล เพื่อสนองตอบนโยบายของ กองทัพบก เพราะฉะนั้น จึงได้กําหนดหัวข้อในการตรวจกิจการอนุศาสนาจารย์ เพ่ิมขึ้น อกี ๑ หัวข้อ คือ การปลกู ฝงั และสรา้ งเสรมิ อดุ มการณท์ หาร ดา้ นการพฒั นาคณุ ธรรม

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๑๐๗ บทบาทของอนศุ าสนาจารย์ที่จะดําเนินการ ก. บทบาทของกองอนุศาสนาจารย์ กรมยทุ ธศกึ ษาทหารบก ๑. วางแผนการตรวจกิจการอนุศาสนาจารย์ประจําปี โดยออกคําส่ังกรมยุทธ ศึกษาทหารบก ๒. เสนอของบประมาณการตรวจ ๓. ประชมุ ปรกึ ษาหารอื ในเรอ่ื งที่จะตรวจ ๔. กําหนดเนน้ ประเดน็ สําคัญท่จี ะตรวจในเรื่องเดยี วกันทกุ สายทีไ่ ปตรวจ ๕. จัดทําข้อมูลว่าการตรวจหน่วยแต่ละหน่วย ได้พบข้อดีและข้อบกพร่อง ในเรือ่ งใดบ้าง ๖. นําข้อดีและข้อบกพร่องท่ีตรวจพบตามข้อ ๕ ไปเป็นข้อมูลในการตรวจ ครง้ั ต่อไปว่ามกี ารปรบั ปรุงและพัฒนาเพิ่มข้ึนอยา่ งไร ๗. กําหนดหัวข้อบรรยายแก่กําลังพลของหน่วยที่รับการตรวจ โดยดูความ เหมาะสมกบั สถานการณแ์ ละการใช้หวั ข้อธรรมท่เี กอ้ื กูลกันอย่างไร ๘. บนั ทกึ ผลการตรวจไวเ้ ป็นหลกั ฐานท่ีหนว่ ยนั้นๆ ๙. ประชุมช้ีแจงอนุศาสนาจารย์ในพ้ืนที่ ในเร่ืองข้อดีและข้อบกพร่อง เพ่อื ให้เรง่ รดั การปฏบิ ัตงิ านในสว่ นของอนศุ าสนาจารยต์ อ่ ไป ๑๐. สรปุ รายงานผลการตรวจไปยังกองทัพบก ข. บทบาทของอนศุ าสนาจารย์ประจําหนว่ ย ๑. ตรวจให้คําแนะนําแก่หน่วยของตน ในหัวข้อที่จะตรวจ ก่อนการรับการ ตรวจ ๒. เตรียมเอกสาร และเรื่องท่จี ะตรวจไว้รับการตรวจให้พรอ้ ม ๓. ประสานกับหน่วยได้ดําเนินการในสายงานอนุศาสนาจารย์ เพ่ือความ สะดวกแก่ชดุ ตรวจ ๔. สรุปเรื่องที่หน่วยได้ดําเนินการในสายงานอนุศาสนาจารย์ เพื่อ ความสะดวกแกช่ ดุ ตรวจ ๕. ส่งตารางการตรวจให้ชุดตรวจทราบลว่ งหนา้

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๑๐๘ ๖. ประสานให้มีผู้นําตรวจ และติดตามคณะชุดตรวจในการตรวจหน่วย ของตน ๗. ประสานการใช้ยานพาหนะนาํ ตรวจและส่งชดุ ตรวจ ๘. ประสานกับอนุศาสนาจารย์อ่นื ตามที่เกีย่ วข้อง

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๑๐๙ การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา เ พ่ื อ ป ฏิ บั ติ ต า ม น โ ย บ า ย ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ก อ ง ทั พ บ ก ที่ กํ า ห น ด ใ ห้ สถาบันการศึกษา โรงเรียนหน่วยและเหล่าสายวิทยาการ จัดให้มีการประกันคุณภาพ การศึกษา โดยแยกการประกันคุณภาพการศึกษาของการศึกษาในโรงเรียนหน่วยและเหล่า สายวิทยาการให้สอดคล้องกับกองทัพมิตรประเทศ กับการศึกษาในสถาบันการศึกษาของ กองทัพบก ให้สอดคล้องกับการศึกษา ของประเทศ และให้ถือว่าการประกันคุณภาพ การศึกษาเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการบริหารการศึกษาท่ีต้องดําเนินการอย่างต่อเนื่อง และให้มีการจัดทํารายงานเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ท้ังน้ี เพ่ือนําไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และพร้อมรับการตรวจคุณภาพ การศกึ ษาจากหน่วยทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง กองอนุศาสนาจารย์ กรมยุทธศึกษาทหารบก ถือเป็นหน่วยจัดการศึกษา ของกองทพั บก มหี ลกั สูตรทเี่ ปิดสอน จาํ นวน ๖ หลักสตู ร ได้แก่ ๑. หลกั สูตรการศาสนาและศลี ธรรม ๒. หลกั สูตรการอบรมพิธีกรด้านศาสนาประเพณีและวัฒนธรรมไทย (ฝึกอบรม) ๓. หลกั สูตรการพฒั นาบุคลากรกองทัพบก (ฝกึ อบรม) ๔. หลกั สตู รการปฐมนิเทศนายทหารอนศุ าสนาจารย์บรรจุใหม่ ๕. หลักสตู รนายทหารอนศุ าสนาจารย์ชนั้ ต้น ๖. หลกั สูตรนายทหารอนศุ าสนาจารยช์ น้ั สูง ดังนั้น จึงมีภารกิจในการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในกอง อนุศาสนาจารย์ กรมยุทธศึกษาทหารบก และรับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน จากคณะอนุกรรมการของกองทัพบก ทุกปีภายใต้ตัวบ่งช้ีและเกณฑ์การประเมินตาม ท่ีกองทัพบกกาํ หนด

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๑๑๐ การจดั การศกึ ษา กองอนุศาสนาจารย์ ในฐานะเป็นสายวิทยาการและหน่วยจัดการศึกษาของ กองทัพบก ได้พัฒนาหลักสูตรการศึกษา ให้มีความทันสมัยสอดคล้องกับการ เปล่ียนแปลงที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว ตามนโยบายการศึกษาของกองทัพก โดยเน้นการ เสริมสร้างประสบการณ์ในการปฏิบัติงานแก่ผู้เข้ารับการศึกษา อันจะนําไปสู่การพัฒนา บุคลากรของกองทัพบกให้มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ และนําไปใช้ในการวางแผนและ แกป้ ัญหา อันจะเป็นประโยชน์ตอ่ กองทพั บกตอ่ ไป มหี ลกั สตู รดงั น้ี ๑. หลกั สูตรวิชาการศาสนาและศลี ธรรม1 มรี ายละเอยี ดดังน้ี ก. หลักสตู ร : วิชาการศาสนาและศีลธรรม หมายเลขหลกั สตู ร 16 - ง - ฉ.1 ข. ความมงุ่ หมาย : เพือ่ ให้ผู้สําเร็จการศึกษาหลักสูตรนี้ 1. มคี วามรเู้ ก่ียวกับหลักการและบทบัญญัติของศาสนาใหญ่ ๆ สามารถ นําไปปฏิบตั ติ อ่ ศาสนิกในศาสนาน้นั ๆ ได้ถกู ต้องและเหมาะสม 2. เข้าใจและซาบซึง้ ในหลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา 3. เป็นคนดี มคี ณุ ธรรม มสี ขุ ภาพรา่ งกายแข็งแรง ค. คณุ สมบตั ขิ องผเู้ ขา้ รบั การศึกษา : 1. เปน็ นายทหารสัญญาบตั รหรอื นายทหารประทวน ไมจ่ ํากดั ชัน้ ยศ 2. เป็นข้าราชการกลาโหมพลเรอื นหรือลูกจา้ งประจํา สงั กดั กองทัพบก 3. เปน็ บุคลากรท่ีหนว่ ยงานของภาครัฐ - เอกชนฝากเขา้ รับการศึกษา ง. ระยะเวลาการศึกษา : 4 สปั ดาห์ จํานวน 175 ชว่ั โมง จ. ท่ีตั้งสถานศึกษา : 41 กองอนุศาสนาจารย์ กรมยุทธศึกษาทหารบก ถนนเทอดดําริ เขตดสุ ิต กรงุ เทพมหานคร 10300 1 ทบ.อนมุ ตั ิ เมอื่ ๗ ม.ี ค. ๕๗ หลักฐาน หนงั สือ กศ.ยศ.ทบ. ลับ ท่ี กห.๐๔๖๑.๑๔/๑๒ ลง ๕ มี.ค. ๕๗

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๑๑๑ ฉ. เน้อื หาทีส่ อน ช่วั โมง หน่วยกติ หมายเหตุ ลาํ ดับ วิชา (85) 15 1 1 ภาควิชาการ 15 1 1.1 พระพทุ ธศาสนา 15 1 1.2 ศาสนาทีส่ ําคัญในประเทศไทย 15 1 1.3 หลักการครองตน (ภาคศลี ธรรม) 15 1 1.4 หลักการครองคน(ภาคสังคมและการครองเรือน) 10 0.5 1.5 หลักการครองงาน (ภาคสมรรถภาพ) (81) 1.6 ประเพณแี ละวัฒนธรรมไทย 26 1.5 20 1 2 ภาคปฏิบัติ 2.1 ศาสนพธิ ี 35 2 2.2 การไหวพ้ ระสวดมนต์และการกล่าวคําอาราธนา (8) ในพุทธศาสนพธิ ี 5- 2.3 การปฏิบตั ธิ รรมตามหลักสตปิ ัฏฐาน 4 1.5 - 3 เบ็ดเตล็ด 1.5 - -- 3.1 การดําเนนิ กรรมวิธีเปดิ -ปดิ การศกึ ษา -- 3.2 การบรรยายพเิ ศษเก่ียวกับกฏหมายทว่ั ไป, -- 175 10 กฏหมายทหาร,กฏการใชก้ าํ ลัง,กฏหมายความ มน่ั คง และกฎหมายสทิ ธิมนษุ ยชน 3.3 การบรรยายพเิ ศษธรรมะภาคภาษาองั กฤษ 4 ความตอ้ งการกระสุนและวัตถุระเบดิ 5 ความต้องการนํ้ามันเช้อื เพลิง 6 ความตอ้ งการเก่ียวกับการเงิน รวม

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๑๑๒ ๒. หลกั สตู รการอบรมพธิ กี รดา้ นศาสนาประเพณีและวฒั นธรรมไทย มรี ายละเอียดดังน้ี ก. หลักสตู ร : วชิ าการศาสนาและศลี ธรรม หมายเลขหลักสูตร ข. ความมงุ่ หมาย :เพอื่ ให้ผู้สําเรจ็ การศกึ ษาหลักสูตรน้ี 1. มีความรู้ ความเข้าใจในระเบียบปฏิบัติศาสนพิธี ประเพณี และ วฒั นธรรมไทยได้อยา่ งถูกตอ้ ง 2. สามารถปฏบิ ตั ิหน้าท่พี ิธกี รในงานพิธีตา่ ง ๆ เป็นแบบฉบับเดยี วกัน ค. คุณสมบตั ขิ องผู้เขา้ รบั การศกึ ษา : 1. เป็นนายทหารประทวน ชน้ั ยศ ส.ต. – จ.ส.อ. 2. เป็นขา้ ราชการกลาโหมพลเรอื นหรือลกู จ้างประจํา สังกัดกองทพั บก 3. เปน็ บคุ ลากรท่หี น่วยงานของภาครฐั - เอกชนฝากเข้ารับการฝึกอบรม ง. ระยะเวลาการฝึกอบรม : ๕ วนั จาํ นวน ๓๕ ช่ัวโมง จ. ที่ต้ังสถานศึกษา : 41 กองอนุศาสนาจารย์ กรมยุทธศึกษาทหารบก ถนนเทอดดาํ ริ เขตดสุ ติ กรุงเทพมหานคร 10300

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๑๑๓ ฉ. เน้อื หา ช่ัวโมง หน่วยกติ หมายเหตุ ลาํ ดบั วิชา 2 1 การปฐมนเิ ทศ 20 2 2 การศกึ ษา 1 2.1 วชิ าหลัก 10 1 2.1.1ศาสนพิธใี นงานของทางราชการ (10) 2.1.2ศาสนพิธีเก่ียวเนอ่ื งกับส่วนราชการ (10) 5 0.25 2.2 วชิ ารอง 7 เว้น 2.2.1ศาสนพธิ ใี นวถิ ชี วี ติ ชุมชนและครอบครัว (5) - 2.2.2ศาสนพธิ ที ี่เก่ียวเนื่องกับศาสนสถาน (5) - 2.3 วิชาประกอบ - 2.3.1ประเพณีเทศกาลสาํ คัญของชาติ (3) - 2.3.2วัฒนธรรมไทย (2) - 35 4.25 3 เบด็ เตล็ด 3.1 การดําเนินกรรมวิธีเปดิ -ปิดการศึกษา (4) 3.2 เวลาผูบ้ ังคับบัญชา (3) 4 ความตอ้ งการกระสนุ และวัตถรุ ะเบิด (ตอนท่ี 5) 5 ความตอ้ งการนา้ํ มันเชอื้ เพลิง (ตอนท่ี 6) 6 ความต้องการเก่ียวกับการเงิน(ตอนท่ี 7) รวม

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๑๑๔ ๓. หลักสูตรการอบรมสําหรบั พฒั นาบคุ ลากรกองทัพบก2 มรี ายละเอยี ดดงั น้ี ก. หลกั สูตร : การพฒั นาบุคลากรกองทัพบก หมายเลขหลกั สูตร 16 - ง - ฉ.1 ข. ความมงุ่ หมาย : เพ่อื ให้ผ้สู าํ เรจ็ การศกึ ษาหลกั สูตรนี้ ๑. มีความรู้ ความเข้าใจในหลักธรรมที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติจิต ภาวนาสามารถพัฒนาจิต ของคนให้มีคุณภาพ พร้อมที่จะปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถฝกึ จติ ให้รจู้ กั หยุด ในเวลาท่ีควรหยุด รูจ้ ักยัง้ คิด ระงับหรือข่มอารมณ์ได้ ๒. มีความหนักแน่นม่ันคง รู้เทา่ ทันกระแสโลกและกระแสธรรม ๓. สามารถประพฤติตนให้เป็นแบบอย่างและเป็นประโยชน์ต่อ กองทัพบก สังคม และประเทศชาติ ค. คณุ สมบัติของผ้เู ข้ารบั การอบรม : 1. เป็นนายทหารสญั ญาบตั รหรอื นายทหารประทวน ไมจ่ าํ กัดชั้นยศ ๒. เปน็ ขา้ ราชการกลาโหมพลเรือนและลกู จ้างประจํา สังกดั กองทพั บก ๓. ประชาชนทว่ั ไป และครอบครวั ของกองทพั บก ง. ระยะเวลาการฝกึ อบรม : ๗ วนั (รวมเสาร์ – อาทิตย์) จาํ นวน ๗๘ ชวั่ โมง จ. ท่ีตัง้ สถานศกึ ษา : ๑.41กองอนุศาสนาจารย์ กรมยุทธศึกษาทหารบกถ.เทอดดําริ ดุสติ กทม.10300 ๒. ศูนย์พัฒนาจิตใจกําลังพลกองทัพบก วัดอัมพวัน อําเภอพรหมบุรี จงั หวัดสงิ หบ์ รุ ี ๓. สํานักปฏิบัติธรรมประจําจังหวัดพระนครศรีอยุธยา แห่งที่ ๑๕ วัด ตาลเอน อําเภอบางปะหนั จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา 2 ทบ.อนุมตั ิเมอ่ื ๑๔ ก.ค.๔๙ หลักฐาน หนังสอื กศ.ยศ.ทบ. ลบั ที่ กห ๐๔๖๑.๑๑/๑๒๕๖ ลง ๑๒ ก.ค.๔๙

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๑๑๕ ฉ. เนอื้ หา ชว่ั โมง หน่วยกิต หมาย ลําดบั วิชา เหตุ 1 ภาควิชาการ (21) S/U 1.1 บพุ ภาคของการอบรม - สมถกมั มฎั ฐาน และวปิ ัสสนากัมมัฎฐาน 5 1.2 พน้ื ฐานสําคญั ของวิปัสสนากมั มฎั ฐาน 5 1.3 อารมณข์ องวิปัสสนากัมมฎั ฐาน 5 S/U 1.4 สติปฎั ฐาน 4 5 1.5 สอบอารมณ์กรรมฐาน 1- 2 ภาคปฏบิ ัติ (52) S/U 2.1 บุพกจิ แหง่ การปฏิบัตวิ ิปสั สนากมั มัฎฐาน 12 S/U 2.2 การปฏิบตั ิตามหลกั สตปิ ัฎฐาน 40 S/U 3 เบด็ เตลด็ (5) 3.1 การดาํ เนินกรรมวิธีเปดิ - ปิดการอบรม 3 - 3.2 การบรรยายพเิ ศษเกี่ยวกับกฏหมายท่วั ไป, 1 - กฏหมายทหาร,กฏการใช้กําลัง,กฏหมาย 1 - ความมนั่ คง และกฏหมายสิทธมิ นษุ ยชน 3.3 การบรรยายพเิ ศษวปิ สั สนากรรมฐานภาค ภาษาองั กฤษ 4 ความต้องการกระสนุ และวัตถรุ ะเบิด -- 5 ความต้องการนา้ํ มันเช้อื เพลงิ -- 6 ความตอ้ งการเกี่ยวกับการเงิน -- รวม 78 -

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๑๑๖ ๔. หลกั สูตรการการปฐมนิเทศนายทหารอนุศาสนาจารย์บรรจุใหม่3 มรี ายละเอยี ดดงั น้ี ก. หลักสตู ร : การปฐมนเิ ทศนายทหารอนศุ าสนาจารยบ์ รรจใุ หม่ หมายเลขหลกั สตู ร ๑๖ – ก – ฉ.๒ ข. ความมงุ่ หมาย : เพื่อให้ผู้สําเรจ็ การอบรมหลักสูตรน้ี ๑. มีอุดมการณ์ความรักและศรัทธาในวิชาชีพอนุศาสนาจารย์ ตระหนัก และยดึ มน่ั ในจรรยาบรรณของอนศุ าสนาจารย์ ๒. มีความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติงานของอนุศาสนาจารย์ในหน่วย ระดบั กรม และจังหวัดทหารบก ๓.มีระเบียบวนิ ยั และปฏิบตั ิตนเหมาะสมกับความเป็นนายทหารสญั ญาบตั ร ๔. มีความเปน็ ผนู้ ําที่ดี มคี ณุ ธรรม ๕. มีความร้ใู นวิชาการพืน้ ฐานของทหารแต่ละเหล่า ค. คุณสมบตั ขิ องผเู้ ข้ารบั การอบรม : ๑. เป็นอนุศาสนาจารย์ทหารบกทไี่ ด้รับการบรรจุใหม่ ช้นั ยศ ร.ต.- ร.ท. ๒. เป็นข้าราชการกลาโหมพลเรือน (สัญญาบัตร) ของกองทัพบกที่บรรจุ ใหมใ่ นตาํ แหนง่ อนศุ าสนาจารย์ ๓. เป็นนายทหารประทวนที่เลื่อนฐานะเป็นนายทหารสัญญาบัตร ในตําแหน่งอนุศาสนาจารย์ ๔. เปน็ นายทหารการศาสนาและวัฒนธรรมท้องถ่นิ ทีไ่ ด้รับการบรรจุใหม่ ง. ระยะเวลาการอบรม : ๔ สปั ดาห์ จาํ นวน ๑๔๐ ชั่วโมง จ. ที่ต้ังสถานอบรม : กองอนุศาสนาจารย์ กรมยุทธศึกษาทหารบก ถนนเทอดดําริ เขตดุสติ กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๐๐ 3 ทบ.อนุมตั ิเม่ือ ๙ มิ.ย.๕๒ หลักฐาน หนังสอื กศ.ยศ.ทบ. ลบั ท่ี กห ๐๔๖๑.๑๔/๘๙๕ ลง ๙ ม.ิ ย. ๕๒

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๑๑๗ ฉ. เนอ้ื หา ชวั่ โมง หนว่ ยกติ หมาย ลําดับ วิชา เหตุ ๑. วชิ าหลกั (๕๖) (๔) ๑.๑ การอนศุ าสนาจารย์ ๑.๒ วาทศาสตร์ ๗ ๑.๓ การอบรม ๑.๔ การแก้ปัญหารายบคุ คล ๑๐ ๑.๕ ศาสนพิธแี ละพิธกี รรม ๑.๖การพัฒนาจติ เบอื้ งตน้ ๗ ๒. วิชารอง ๔ ๒.๑ การเยยี่ มบาํ รงุ ขวญั ทหารปว่ ย ๒.๒ หลักการสอน ๗ ๒.๓ พุทธปรัชญา ๒.๔ ระเบียบงานสารบรรณ ๒๑ ๒.๕ ระเบียบแบบธรรมเนยี ม ๒.๖ ทหารทวั่ ไป (๔๒) (๓) ๓. วิชาประกอบ ๗ ๓.๑ การจัดฝ่ายอํานวยการ ๓.๒ เหลา่ ทหาร ๗ ๓.๓ กฎหมายเกี่ยวกับทหารและมารยาททหาร ๓.๔ การข่าวเบ้อื งต้น ๗ ๔. เบด็ เตล็ด ๑๐ ๔.๑ เวลาดาํ เนินกรรมวธิ ี ๔.๒ เวลาผบู้ งั คับบัญชา ๖ ๔.๓ พลศึกษา ๕ (๒๘) (๒) ๑๐ ๗ ๗ ๔ (๑๔) ๙ ๕ ใช้เวลา - นอกเว้น

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๑๑๘ ลําดบั วิชา ชว่ั โมง หนว่ ยกิต หมาย เหตุ ๕ ความตอ้ งการกระสุนและวัตถรุ ะเบิด ๖ ความต้องการนํา้ มันเชื้อเพลงิ : ตอนที่ ๖ ๑๔๐ ๙ ๗ ความตอ้ งการเก่ียวกับการเงนิ : ตอนที่ ๗ รวม

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๑๑๙ ๕. หลกั สตู รนายทหารอนศุ าสนาจารยช์ ้ันตน้ 4 มรี ายละเอียดดังนี้ ก. หลักสตู ร:นายทหารอนุศาสนาจารย์ช้นั ต้น หมายเลขหลักสูตร 16-ก-ล. 1หมายเลขชกท. 5310 ข. ความมุ่งหมาย : เพือ่ ให้ผูส้ าํ เร็จการศึกษาหลกั สตู รน้ี 1. มคี วามรู้ ความเข้าใจการปฏบิ ตั ิหน้าที่ ตามภารกิจของนายทหาร อนุศาสนาจารย์ระดับกรม 2. มีความรู้ ความเข้าใจการปฏิบัตหิ น้าทต่ี ามภารกจิ ของ ทบ. 5 ประการ ไดแ้ ก่ การป้องกันประเทศ, การรักษาความมัน่ คงภายใน, การรักษาความสงบเรียบรอ้ ย ภายในประเทศ การพัฒนาประเทศ เพอื่ ความม่ันคง และการปฏบิ ัติภารกจิ อนื่ ๆ ทางทหาร ทไ่ี ม่ใช่การ สงคราม 3. เป็นผู้นําทดี่ ี มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มีอุดมการณ์ความรักชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ มสี ุขภาพรา่ งกายแขง็ แรง ค. คุณสมบตั ิของผู้เข้ารับการศกึ ษา 1. เป็นนายทหารสญั ญาบัตรช้นั ยศ ร.ต. - ร.ท. 2. นายทหารสญั ญาบตั รตา่ งเหล่าทพั ชั้นยศ ร.ต. - ร.ท. 3. รับราชการเปน็ นายทหารสัญญาบตั รมาแล้วไมน่ อ้ ยกวา่ 1 ปี ง. ระยะเวลาการศึกษา 13 สัปดาห์ จํานวน 455 ช่วั โมง จ. ทตี่ ง้ั สถานศกึ ษา : 41 กองอนุศาสนาจารย์ กรมยุทธศกึ ษาทหารบก ถนนเทดิ ดําริ เขตดสุ ิต กรุงเทพมหานคร 10300 4 ทบ.อนุมัติเมื่อ ๔ ก.พ. ๕๗ หลักฐาน หนังสือ กศ.ยศ.ทบ. ลับ ท่ี กห ๐๔๖๑.๑๔/๖ ลง ๔ ก.พ.๕๗

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๑๒๐ ฉ. เนื้อหา ลาํ ดบั วชิ า ช่ัวโมง หน่วยกิต หมายเหตุ 1. การปฐมนเิ ทศ (11) (1) 1.1 การอนศุ าสนาจารย์ 2 1.2 ศาสนพิธี 2 1.3 วาทศาสตร์ 2 1.4 การอบรม 2 1.5 วปิ ัสสนากรรมฐาน 2 1.6 สอบ 1 2. วิชาหลกั (248) (17) 2.1 กลมุ่ วชิ าการอนศุ าสนาจารย์ 2.1.1 การอนศุ าสนาจารย์ 7 0.5 2.1.2 ศาสนพิธีและพธิ กี รรม 28 2 2.1.3 วาทศาสตร์ 24 2 2.1.4 การอบรม 7 0.5 2.1.5 การแก้ปัญหารายบุคคล 7 0.5

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ช่วั โมง หน่วยกิต ๑๒๑ ลาํ ดับ วิชา หมาย เหตุ 2.1.6 การเยยี่ มบํารุงขวญั ทหารป่วย 7 0.5 การสอนวชิ าศาสนาและ 2.1.7 ศลี ธรรมใน รร.เหลา่ สาย 14 1 วิทยาการ 2.1.8 การเผยแผ่ธรรมะผ่านสอ่ื ฯ 14 1 2.1.9 การปลูกฝังอุดมการณท์ หาร 7 0.5 2.1.10 ศาสนาเปรียบเทียบ 7 0.5 2.1.11 พุทธปรชั ญา 7 0.5 2.1.12 วปิ ัสสนากรรมฐาน 35 2 2.2 กลุ่มวชิ าเหล่าสารบรรณ 2.2.1 ระเบยี บงานสารบรรณ 14 1 2.2.2 ระเบียบแบบธรรมเนยี ม 14 1 2.2.3 ธรุ การกําลงั พล 7 0.5 2.3 กลมุ่ วชิ าฝา่ ยอํานวยการ 2.3.1 พ้ืนฐานการจัดฝา่ ยอํานวยการ 7 0.5 2.3.2 การกําลงั พล 7 0.5 2.3.3 การข่าวกรอง 7 0.25 2.3.4 ยุทธการและการฝกึ 7 0.5 2.3.5 การสง่ กําลงั บํารุง 7 0.25 2.3.6 การกิจการพลเรอื น 7 0.5 2.3.7 ปลดั บัญชี 7 0.5 3. วชิ ารอง (113) (7) 3.1 กลมุ่ วชิ าเหลา่ ทหาร 3.1.1 ทหารราบ 7 0.5

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ช่วั โมง หน่วยกติ ๑๒๒ ลาํ ดับ วิชา หมาย เหตุ 3.1.2 ทหารมา้ 7 0.5 7 0.5 3.1.3 ทหารปนื ใหญ่ 4 0.25 4 0.25 3.1.4 ทหารชา่ ง 4 0.25 4 0.25 3.1.5 ทหารสือ่ สาร 4 0.25 4 0.25 3.1.6 ทหารสารบรรณ 4 0.25 3.1.7 ทหารการเงิน 7 0.25 7 0.5 3.1.8 ทหารขนส่ง 7 0.5 3.1.9 ทหารเรอื 4 0.25 3.1.10 ทหารอากาศ 4 0.25 3.2 กลุ่มวชิ าทหารทว่ั ไป 7 0.5 8 0.5 3.2.1 แผนที่ 8 0.5 3.2.2 การจดั การฝกึ 4 0.25 4 0.25 3.2.3 การปอ้ งกันและปราบปราม การกอ่ ความไม่สงบ 3.2.4 การตอ่ ต้านการกอ่ การร้าย 3.2.5 กระสนุ และวตั ถุระเบิด สาํ หรับหน่วยใช้ 3.2.6 การรักษาความปลอดภยั 3.2.7 ผ้นู าํ หน่วย 3.2.8 การบรรยายสรุป/ศัพท์ทหาร/ การอ่านควบกลาํ้ /ครทู หาร และการฝกึ ที่เนน้ ผลการปฏิบตั ิ 3.2.9 การบิน ทบ. 3.2.10 กฎหมายทหาร

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ช่ัวโมง หนว่ ยกิต ๑๒๓ ลาํ ดบั วิชา หมาย เหตุ 3.2.11 การตอ่ สู้เบ็ดเสรจ็ 2 S/U 3.2.12 สงครามนิวเคลียร์-ชวี ะ-เคมี 2 S/U 4. วชิ าประกอบ (57) (2) 4.1 ภาษาอังกฤษ 20 1 4.2 คอมพวิ เตอร์เบอ้ื งตน้ 15 1 4.3 การปลกู ฝังอดุ มการณแ์ ละความรัก 4 S/U ชาติ 4.4 สทิ ธิมนุษยชนข้นั พืน้ ฐานฯ 4 S/U 4.5 เอดสศ์ กึ ษาและยาเสพติด 2 S/U 4.6 ประวัติศาสตร์ 4 S/U 4.7 ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง 4 S/U 4.8 พ้ืนฐานการวิจัย 4 S/U 5. เบด็ เตลด็ (26) 5.1 การดําเนนิ กรรมวิธเี ปิด-ปิด 8 - การศึกษา 5.2 เวลาผบู้ ังคับบญั ชา 18 -

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๑๒๔ ๖. หลักสตู รนายทหารอนศุ าสนาจารยช์ ้ันสูง5 มรี ายละเอียดดงั นี้ ก. หลักสูตร:นายทหารอนุศาสนาจารย์ช้ันสูง หมายเลขหลักสูตร16 -ก-ล.2 หมายเลข ชกท. 5310 ข. ความมุ่งหมาย : เพอ่ื ใหผ้ ้สู ําเร็จการศึกษาหลักสูตรนี้ 1. มีความรู้ ความสามารถปฏิบัติหนา้ ท่ี ตามภารกิจของนายทหาร อนศุ าสนาจารย์ ระดบั กองพล และกองทพั 2. ใหข้ อ้ เสนอแนะผบู้ ังคบั หนว่ ย และสามารถกาํ กับดูแลการปฏบิ ัติ หนา้ ทีข่ องอนศุ าสนาจารย์หน่วยรองไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ 3. มีความรู้ ความเข้าใจหน้าท่ีตามภารกิจของ ทบ. 5 ประการ ได้แก่ การป้องกันประเทศ, การรักษาความม่ันคงภายใน, การรักษาความสงบเรียบร้อย ภายในประเทศ การพัฒนาประเทศเพ่ือความมั่นคง และการปฏิบัติภารกิจอื่น ๆ ทาง ทหาร ที่ไม่ใชก่ ารสงคราม 4. เป็นผู้นําท่ีดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีอุดมการณ์ความรักชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ปฏิบัติหน้าท่ีตามภารกิจที่ได้รับ มอบหมายได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ค. คุณสมบัติของผเู้ ขา้ รับการศกึ ษา 1. เป็นนายทหารสัญญาบัตร เหลา่ สบ. ชน้ั ยศ ร.ท.-ร.อ. 2. สาํ เรจ็ การศกึ ษาหลักสูตรนายทหารอนุศาสนาจารย์ชัน้ ตน้ หรอื เทยี บเท่า 3. นายทหารสัญญาบตั รต่างเหลา่ ทพั ท่สี ําเร็จช้นั นายร้อย หรือ เทยี บเท่า ง. ระยะเวลาการศึกษา 15 สปั ดาห์ จํานวน 525 ชั่วโมง จ. ทต่ี งั้ สถานศกึ ษา 41 กองอนุศาสนาจารย์ กรมยุทธศกึ ษาทหารบก ถนนเทอดดําริ เขตดุสิต กรงุ เทพมหานคร 10300 5 ทบ.อนุมัติเม่ือ ๔ ก.พ.๕๗ หลักฐาน หนังสือ กศ.ยศ.ทบ. ลับ ท่ี กห ๐๔๖๑.๑๔/๕ ลง ๔ ก.พ.๕๗

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ช่ัวโมง หนว่ ยกิต ๑๒๕ ฉ. เนือ้ หา (1) (11) หมาย ลําดบั วชิ า 2 (18) เหตุ 2 11 1. การปฐมนเิ ทศ 2 4 1.1 พระไตรปิฎกศึกษา 2 3 1.2 พุทธปรัชญา 2 (9) 1.3 ศาสนพิธีและพธิ ีกรรม 1 4.25 1.4 การพัฒนาจติ (259) 1.5 ศาสนาเปรียบเทยี บ 154 0.5 1.6 สอบ 56 0.5 49 0.5 2. วชิ าหลัก (137) 2.1 กลุม่ วชิ าการอนุศาสนาจารย์ 65 0.25 2.2 กลุ่มวชิ าเหล่าสารบรรณ 0.25 2.3 กลุม่ วิชาฝา่ ยอาํ นวยการ 7 0.25 7 0.25 3. วชิ ารอง 7 3.1 กล่มุ วิชาเหล่าทหาร 3.2 กลมุ่ วิชาทหารท่วั ไป 4 3.2.1 แผนที่ 4 3.2.2 การจดั การฝกึ 4 3.2.3 การปอ้ งกนั และปราบปรามการกอ่ 4 ความไมส่ งบ 3.2.4 การต่อต้านการกอ่ การรา้ ย 3.2.5 การตอ่ สเู้ บด็ เสรจ็ 3.2.6 สงครามนิวเคลยี ร-์ ชีวะ-เคมี 3.2.7 กระสนุ และวัตถุระเบดิ สาํ หรับหน่วยใช้

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๑๒๖ ลาํ ดบั วชิ า ชว่ั โมง หน่วยกติ หมายเหตุ 3.2.8 การรกั ษาความปลอดภัย 7 0.5 3.2.9 ผู้นําหนว่ ย 8 0.5 3.2.10 การบรรยายสรุป/ศัพท์ทหาร/ 8 0.5 การอ่านควบกลํ้า ครูทหารและ 4 0.25 การฝึกทเี่ น้นผลการปฏิบตั ิ 4 0.25 3.2.11 การบนิ ทบ. 4 0.25 3.2.12 กฎหมายทหาร (59) (2) 3.2.13 การกาํ ลังสํารอง 20 1 4. วิชาประกอบ 15 1 4.1 ภาษาอังกฤษ 4 S/U 4.2 คอมพิวเตอร์ 4 S/U 4.3 การปลูกฝงั อุดมการณแ์ ละความรกั ชาติ 4 S/U 4.4 สิทธิมนษุ ยชนขั้นพ้ืนฐานฯ 4 S/U 4.5 เอดส์ศึกษาและยาเสพติด 4 S/U 4.6 ประวตั ิศาสตร์ 4 S/U 4.7 ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง (35) (1) 4.8 พน้ื ฐานการวิจยั (24) 5. การศกึ ษาภาคปฏบิ ัตนิ อกที่ตงั้ และดงู าน 8 6. เบ็ดเตลด็ 16 6.1 การดาํ เนินกรรมวิธเี ปิด-ปดิ การศึกษา 6.2 เวลาผูบ้ งั คบั บัญชา 525 31 7. ความตอ้ งการกระสนุ และวตั ถุระเบิด 8. ความตอ้ งการนํ้ามนั เชื้อเพลงิ 9. ความต้องการเก่ียวกับการเงนิ รวม

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๑๒๗ กระบวนการการให้คําแนะนํา งานหนึ่งทเ่ี กีย่ วพนั อยกู่ บั การหน้าที่ของอนุศาสนาจารย์อย่างหลีกเล่ียงไม่ได้ คือการให้คําแนะนําโดยพื้นฐานเดิม อนุศาสนาจารย์ ไม่ได้ศึกษาวิชาการให้คําแนะนํา โดยตรง แม้จะศึกษาการแก้ปัญหารายบุคคลในหลักสูตรนายทหารอนุศาสนาจารย์ ชัน้ ต้น และช้ันสงู มาบ้าง กเ็ ป็นการศึกษาภาพรวม ไม่ได้เจาะลึกในทฤษฎีและกฎเกณฑ์ อย่างแท้จริง อีกส่วนหนึ่ง อนุศาสนาจารย์ย่อมได้ศึกษามาบ้างในหลักสูตรทางด้านวิชา ครู เกย่ี วกบั การแนะแนว การสมั ภาษณ์ ซ่งึ มีส่วนใชเ้ กื้อกูลกันได้ในการใหค้ ําแนะนาํ คุณวุฒิของผู้ท่ีจะเข้ามารับราชการเป็นอนุศาสนาจารย์ กําหนดผู้สําเร็จ การศึกษาเปรียญธรรม ๙ ประโยค หรือจบปริญญาทางศาสนาจากมหาวิทยาลัยสงฆ์ ซึ่ง เป็นผู้ได้คุณวุฒิเปรียญตั้งแต่ ๔ - ๙ ประโยค ย่อมถือว่ามีคุณวุฒิเพียงพอที่จะให้ คําแนะนําได้ อีกประการหนึ่ง หลักคําสอนในพุทธศาสนาเพียบพร้อมไปด้วยคําแนะนํา และการให้คําแนะนําท่ีพระพุทธองค์และพระสงฆ์สาวกในอดีตได้กระทําเป็นตัวอย่างไว้ แล้วในหนังสือพุทธประวัติเล่ม ๑-๓ หนังสือพุทธานุพุทธประวัติ (อนุพุทธะ ๘๐ องค์) และในหนังสือธัมมปทัฏฐกถา ๘ ภาค เช่น เร่ิมต้นตั้งแต่การให้คําแนะนําแก่พระยสกุล บุตร ภัททวัคคีย์ ๓๐ คน เป็นต้น ล้วนเป็นการยืนยันได้ว่าอนุศาสนาจารย์ย่อมเป็นผู้ให้ คาํ แนะนาํ ได้ ๑. คุณสมบตั ิสําคญั ของอนุศาสนาจารย์ผใู้ ห้คําแนะนํา คือ ๑.๑ ต้องมคี วามรู้ จติ วทิ ยามลู ฐาน หรือจติ วทิ ยาทวั่ ไป ๑.๒ ต้องมีความร้ทู างสงั คมวิทยา โดยเฉพาะอย่างยง่ิ เก่ยี วกบั สถาบันทางสังคม ๑.๓ ต้องเขา้ ใจการจัดหนว่ ย การบังคับบัญชา สายการบังคับบัญชาของหน่วยนั้นๆ ๑.๔ มบี คุ ลิกภาพในการรับฟงั ผอู้ ่นื และมคี วามสนใจในผู้อ่ืน ๑.๕ มีพลงั ทางศีลธรรมในตนสูง ๑.๖ มศี รทั ธามนั่ คงต่องานและภารกิจ ๑.๗ เป็นผทู้ ส่ี ามารถรอคอยและยดื หยุ่นได้ ๑.๘ เปน็ ผมู้ อี ารมณข์ นั ๑.๙ เปน็ ผู้มีลกั ษณะเชอ่ื มประสานและกลมกลืนกบั ผูอ้ น่ื ได้ ๑.๑๐ เปน็ ผมู้ ีขอ้ มูล และปจั จยั ตน้ เหตุของขอ้ มลู

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๑๒๘ ๑.๑๑ มวี ฒุ ภิ าวะในการแยกแยะ ๑.๑๒ มจี ิตเมตตาปรารถนาดเี ป็นพน้ื ฐาน ๑.๑๓ มีวสิ ัยทัศน์ในการคาดการณ์ และสง่ิ บอกเหตุ ๑.๑๔ เป็นผ้สู ามารถดํารงคณุ ธรรมและมโนธรรมของตนได้ ๒. วัตถปุ ระสงคข์ องการให้คําแนะนาํ ๒.๑ เพื่อพัฒนาทศั นคตขิ องผรู้ บั คาํ แนะนํา ๒.๒ เพื่อให้ผ้รู ับคําแนะนําเชอ่ื มั่นในศักยภาพของตน ๒.๓ เพื่อใหผ้ ู้รบั คําแนะนาํ ได้รบั ความพงึ พอใจ ๒.๔ เพอ่ื ป้องกนั ปัญหาทางลบในตวั บุคคล ๒.๕ เพ่อื ใหผ้ ูร้ บั คําแนะนาํ แก้ปัญหาด้วยตนเองตลอดไป ๓. ปัญหาท่ีอนศุ าสนาจารยจ์ ะต้องพบในกระบวนการการใหค้ ําแนะนาํ ๓.๑ ปญั หาทางศีลธรรม ๓.๒ ปัญหาเกี่ยวกบั เสถยี รภาพทางอารมณ์ ๓.๓ ปญั หาเกี่ยวกับความผิดหวงั ในงานและอาชีพ ๓.๔ ปัญหาความถดถอยดา้ นขวญั และกาํ ลงั ใจ ๓.๕ ปัญหาทางกายภาพและจติ ภาพ ๓.๖ ปัญหาความคบั แคน้ ขมข่ืนอนั เนือ่ งมาจากความอยตุ ธิ รรม ๓.๗ ปัญหาการปรับตวั เข้ากบั ระเบียบวินัยไมไ่ ด้ ๓.๘ ปญั หาความวติ กกังวลและระแวงในความผดิ ท่ตี นกระทาํ ๓.๙ ปัญหาส่วนตัว ปญั หาครอบครัว ปัญหาการงาน ปัญหาการเงิน และปัญหาสังคม ๔. ความซับซอ้ นของปญั หาท่อี นศุ าสนาจารย์ตอ้ งเผชิญในกระบวนการการใหค้ าํ แนะนาํ ๔.๑ มาตรฐานรายได้ของบุคคล ไม่สามารถจะนํามาเป็นเคร่ืองกําหนดกับ สถานภาพของบุคคลได้เสมอไป เช่น บุคคลมีสถานภาพทางยศเป็นจ่าสิบเอก น่าจะ จับจ่ายใช้สอยอย่างจ่าสิบเอก แต่ในความเป็นจริงอาจมีปัจจัยอื่นเป็นตัวแปร ให้เขาใช้ จ่ายมากกว่าฐานะของจ่าสิบเอก เพราะมีปริมาณบุคคลในครอบครัวมากเกินไป เช่น มี

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๑๒๙ บุตรธิดา ๗ คน มีมารดาบิดาแก่ชราต้องเลี้ยงดู มีน้องภรรยาหรือน้องของสามีมาอยู่ใน อปุ การะ ๔.๒ เกณฑ์อายุของบุคคลในครอบครัวก็เป็นสาเหตุให้ใช้จ่ายต่างกัน แม้ ปริมาณบุคคลเท่ากัน สมาชิกของครอบครัวกําลังศึกษาในสถานศึกษาระดับอนุบาล ระดับประถมศกึ ษา ระดบั มธั ยมศกึ ษา และอดุ มศกึ ษา ยอ่ มมีความแตกต่างในการใชจ้ ่าย ๔.๓ แม้ท่ีต้ังของที่อยู่อาศัย กับที่ต้ังของสถานศึกษา ที่ตั้งของสํานักงานที่ ใกลแ้ ละไกลตา่ งกนั ก็เปน็ ปจั จัยแหง่ การใชจ้ ่ายที่ตา่ งกนั ๔.๔ การเจ็บป่วยของสมาชิกภายในครอบครวั ท่ีแตกต่างกัน แม้มีปริมาณท่ี เท่ากันและ มีสถานภาพทางสังคมเท่ากัน ก็เป็นปัจจัยแห่งการใช้จ่ายท่ีแตกต่าง การใช้ จ่ายท่แี ตกตา่ งย่อมนาํ ไปสูป่ ญั หาท่แี ตกตา่ งและมากนอ้ ยกวา่ กนั ๔.๕ สถานะเดิมของครอบครัวในด้านทรัพย์สิน เป็นปัจจัยสําคัญมี ผลกระทบต่อครอบครัวแต่ละครอบครัว แม้สถานภาพของหัวหน้าครอบครัวจะเท่ากัน (คอื การมาจากครอบครัวท่ีมีความแตกต่างในทางเศรษฐกิจ) ๔.๖ อาชีพของสมาชิกในครอบครัว และรวมท้ังรายได้ของสมาชิกอื่น ๆ ใน ครอบครวั กเ็ ป็นปจั จยั ให้เกดิ ความแตกต่างในดา้ นความเพียงพอและความขาดแคลนของ ครอบครวั ไดอ้ กี ส่วนหนงึ่ ๔.๗ ความรัก ความซื่อสัตย์ ความไว้วางใจ ความหวาดระแวง ความม่ันคง ความไม่มั่นคงทางอารมณ์และรายได้ ความขัดแย้งและทะเลาะวิวาท ของสมาชิกใน ครอบครัวมีส่วนเป็นตัวเสริม และตัวทําลายความม่ันคง ความไม่มั่นคง ความมีพลัง และ ความขาดพลงั ของครอบครัวได้ทั้งน้นั ๔.๘ ความซับซ้อนแห่งปัญหาของผู้ติดสุรา เหตุผลท่ีทําให้ติดสุราก็มีมาก หลาย เช่น ติดเพราะความกลัดกลุ้มผิดหวัง ติดเพราะความหลงระเริงมัวเมา ติดเพราะจิตใจขาดความแข็งแรงทางศีลธรรม จริยธรรม เพราะความขัดแย้งใน ครอบครัว เป็นต้น ในจํานวน ผู้ติดสุรา บางคนประเมินตัวเองว่าไม่สามารถเลิกได้ บางคน ถ้าได้รับการชกั ชวนและเหตุผลประกอบ จะสามารถเลิกได้ บางคนได้รับผลกระทบจาก การดื่มสุรา เช่น กระทบต่อความก้าวหน้าทางอาชีพ กระทบต่อค่าใช้จ่ายรายเดือน กระทบต่อสุขภาพ และต้องการจะเลิกด่ืม แต่ยังขาดกิจกรรม และมูลเหตุจูงใจที่จะ

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๑๓๐ เร่งเร้าให้หยุดการด่ืม บางคนกลัวการถูกลงโทษ ต้องการจะหยุด บางคนเห็นโทษของ การด่ืมสุราอย่างแท้จริง อนุศาสนาจารย์ต้องตระหนักอยู่เสมอว่า ผู้ท่ีงดเพราะกลัวถูก ลงโทษ เพราะค่าใช้จ่ายไม่เพียงพอนั้น เป็นการงดท่ีไม่ม่ันคง ถ้าไม่มีผู้ลงโทษ หรือถ้ามี รายได้เพิ่มขึ้นมาก็กลับด่ืมสุราอีก สําหรับผู้ท่ีงดการดื่มสุรา เพราะพิจารณาเห็น ประจักษ์ว่าสมควรท่ีตนจะต้องหยุด และมองเห็นอิสรภาพความปลอดโปร่งทางจิตใจท่ี ไม่ต้องถูกครอบงําด้วยนํ้าเมานั้นเป็นส่ิงที่ก่อประโยชน์โดยส่วนเดียว ย่อมเป็นผู้ท่ีถูก คาดหวังว่าจะหยดุ การด่มื สุราได้ถาวร เหตุผลจากความซับซ้อนของปัญหาท่ีอนุศาสนาจารย์จะต้องเผชิญใน กระบวนการ การให้คาํ แนะนาํ ตามตัวอย่างที่กล่าวนี้ เป็นเคร่ืองเตือนให้อนุศาสนาจารย์ ตระหนักเป็นหลักการว่า การให้คําแนะนําไม่สามารถจะมองปัญหาเป็นจุดใดจุดหน่ึงได้ ตามลําพัง สมควรที่จะมองปัญหาเป็นภาพรวม ทุกกรณี แม้ปัญหาของผู้รับคําแนะนํา เป็นปัญหาเดียวกัน ส่วนประกอบของปัญหา สาเหตุของปัญหา ความหนักเบาของ ปัญหา ย่อมมีความแตกตา่ งซบั ซ้อน และเกี่ยวโยงกบั ปัญหาอนื่ ไมเ่ ทา่ กัน ๕. การแสดงออกและบทบาทของอนุศาสนาจารย์เมื่อปฏบิ ตั กิ ารให้คาํ แนะนํา ๕.๑ แนวคิดพื้นฐานของอนุศาสนาจารย์ ต้องไม่กดดันให้ผู้รับคําแนะนํารู้สึก วา่ ตนมีปมดอ้ ย ๕.๒ ไมพ่ ึงสะกิดหรือกระทบจดุ ท่ีเป็นขอ้ บกพรอ่ งของผู้รบั คาํ แนะนํา ๕.๓ ใหผ้ รู้ ับคาํ แนะนําร้สู ึกปลอดโปร่งเป็นอสิ ระขณะรบั คําแนะนํา และสนทนา ๕.๔ ตง้ั ใจฟังปัญหาด้วยความเคารพ ๕.๕ ฉลาดในการใหผ้ ู้รับการแนะนาํ เปิดเผยปญั หา และความร้สู กึ อันแท้จริง ๕.๖ อย่าให้เขารู้สึกว่าถกู สอนอบรม ๕.๗ มจี ิตหวังดี และม่นั ใจเด็ดเดีย่ วทจ่ี ะชว่ ยแก้ปญั หา ๕.๘ พดู แนะนาํ ในเชิงประเด็นว่าปัญหาของเขาเปน็ สงิ่ ทแี่ ก้ไขได้ ๕.๙ แนะนาํ เสริมและให้หลกั ปฏิบัติท่ีดี ๕.๑๐ ดูความเหมาะสมและโอกาสท่ีเอือ้ อาํ นวยทจ่ี ะใหค้ ําแนะนาํ

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๑๓๑ ๕.๑๑ เม่ือผู้รับคําแนะนําแสดงทรรศนะถูกต้องและริเร่ิมให้รีบสนับสนุน เพื่อให้เขาได้ใช้พลังเช่นน้ันต่อเนื่องไป และจําความริเร่ิมของเขานี้ให้นาน เพื่อนํามาเป็น ปัจจัยกระตนุ้ ต่อไป ๕.๑๒ หมัน่ พบปะกบั ผูน้ น้ั บ่อย ๆ หรอื ในสถานการณ์ทเ่ี อื้ออํานวย ๕.๑๓ แม้เทคนิคทางโหราศาสตร์ก็นํามาเป็นปัจจัยเก้ือกูลต่อการให้ คําแนะนํา แต่ต้องไม่ใช่ประเด็นที่จะให้เกิดความงมงาย หรือความหวังในความสําเร็จท่ี ปราศจากการกระทาํ ๕.๑๔ แม้การใช้ตําราดูพระเคร่ืองก็นํามาเป็นส่ือในการใหค้ ําแนะนําได้ ๕.๑๕ หาโอกาสให้ผู้รับคําแนะนําเกิดจินตนาการ และเกิดความเช่ือม่ันใจ ตนเองสูง ซึ่งเปน็ ตัวหลกั ท่จี ะแก้ปัญหาได้จริง และย่งั ยืน ๕.๑๖ ยอมรบั ในเกยี รติและศักดิศ์ รขี องความเปน็ มนุษย์ ๕.๑๗ ให้เขาได้มีโอกาสปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาด้วยตนเอง เช่น การ ปฏบิ ัติกรรมฐาน เป็นตน้ ๕.๑๘ ตระหนักว่า ความเพียงพอและความต่อเน่ืองของการพบปะ ย่อมช่วย อนุรักษ์พฤติกรรมและหล่อเลยี้ งพฤตกิ รรมที่ดขี องเขา ๕.๑๙ ชักชวนเขาในกจิ กรรมท่เี ขาจะไดพ้ จิ ารณาตวั เอง ๕.๒๐ อนุศาสนาจารย์ต้องปฏิบัติตนและดํารงความเป็นแบบอย่างใน เรือ่ งทแ่ี นะนาํ ๕.๒๑ อนุศาสนาจารยต์ อ้ งไมห่ วังสง่ิ ตอบแทนใดๆ และไมพ่ งึ รับสิง่ ตอบแทน ๕.๒๒ พงึ รักษาบคุ ลกิ ภาพของตนใหด้ ตี ่อเน่อื ง ๕.๒๓ ไมค่ วรตาํ หนิขณะใหค้ าํ แนะนาํ ๕.๒๔ ต้องวเิ คราะห์ความแตกตา่ งท่ีเกิดข้นึ ตลอดเวลา ๕.๒๕ ตอ้ งไม่ต้ังคาํ ถามรุกตอ่ ผ้รู บั คาํ แนะนาํ ๕.๒๖ ต้องไม่ยึดม่ันว่าปัญหาอย่างเดียวกันต้องแนะนําอย่างเดียวกัน และ มิไดห้ มายความว่าห้ามแนะนําอย่างเดยี วกนั ๕.๒๗ อนุศาสนาจารย์ต้องตระหนักเสมอว่า ตนไม่ใช่ผู้พิพากษาที่จะตัดสินผู้ ที่รับคําแนะนํา ว่าดีหรือชั่ว ผิดหรือถูก แต่ควรถือว่าเป็นผู้ร่วมวางแผนปฏิบัติ บางสิ่ง บางอย่าง เมอ่ื คุ้นเคยนับถือกนั แลว้ อาจพดู กนั ตรงไปตรงมา

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๑๓๒ ๕.๒๘ พึงกระตุ้นใหเ้ ขาคน้ พบความสามารถในตวั เขาเอง ๕.๒๙ ความสําเร็จแห่งการปฏิบัติการร่วมกัน ต้องเป็นของผู้รับคําแนะนํา มิใช่เปน็ ของอนศุ าสนาจารย์ ๕.๓๐ การให้คําแนะนําโดยปกติกระทําหลายครั้งต่อหนึ่งกรณี ปัจจัยเวลาจึง เป็นเรือ่ งสาํ คัญ ทั้งอนุศาสนาจารย์ยังต้องพะรุงพะรังอยู่กับพิธีต่างๆ ซึ่งแม้ไม่ใช่ส่ิงท่ีสําคัญท่ีสุด แต่ก็เป็น สิง่ ทลี่ ะทง้ิ ไปไม่ได้

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๑๓๓ งานดา้ นศาสนาและพิธกี าร ๑. งานทีเ่ กีย่ วขอ้ งกับศาสนาและพิธีการต่างๆ อนุศาสนาจารย์ จะต้องมีความรู้ความเข้าใจในงานด้านศาสนาและพิธีการ ตา่ งๆ ท่ีอยู่ในความรับผิดชอบอย่างถูกต้อง และสามารถปฏิบัติได้อย่างดี งานดังกล่าวน้ี จะต้องปฏิบัติให้สอดคล้องกับภารกิจของหน่วย ตลอดจนระเบียบคําส่ังที่หน่วยเหนือได้ กําหนดไว้และสามารถปรับให้เกิดความเหมาะสมกับกลุ่มหรือชุมชน, สภาวการณ์หรือ สภาพแวดลอ้ มของแตล่ ะพื้นท่ที หี่ นว่ ยตัง้ อยู่ ๒. ลกั ษณะการปฏบิ ัติพิธขี องอนศุ าสนาจารย์ ก. งานพิธีของหน่วย อนุศาสนาจารย์จะต้องให้ข้อเสนอแนะที่ถูกต้อง เหมาะสมกับงานพิธีของหน่วยในระดับต่างๆ และสามารถเป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะ พิธีกรได้อย่างถูกต้อง รวมทั้งสามารถจัดบุคคลเข้าร่วมในการปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม ด้วย ข. งานพิธีของกําลังพลเป็นรายบุคคล ในฐานะที่อนุศาสนาจารย์เป็นผู้นํา ด้านจติ วญิ ญาณของกําลังพลในกองทพั การช่วยปฏิบัติพิธีต่างๆ ให้กําลังพล จึงเป็นการ เสริมสร้างขวัญและกําลังใจได้อย่างดี ดังน้ัน อนุศาสนาจารย์จะต้องว่างเสมอสําหรับ งานในดา้ นนี้ ค. งานพิธีของญาติของกําลังพล สังคมไทยเป็นสังคมที่มีความผูกพันกัน อย่างแน่นแฟ้น ความสุขทุกข์ของญาติย่อมมีผลกระทบต่อสภาพจิตใจของกําลังพลอย่าง มาก อนุศาสนาจารย์จึงต้องหาช่องทางเข้าร่วมกิจกรรมกับบุคคลเหล่าน้ัน โดยเฉพาะงานทเี่ กี่ยวกบั พิธีการทางด้านศาสนา ด้วยการให้ข้อแนะนําและปฏิบัติพิธีด้วย ตนเอง ง. งานพิธีของหนว่ ยงานหรือชุมชนอ่นื ๆ กองทัพจะสามารถปฏิบัติภารกิจต่างๆ บรรลุจุดประสงค์ได้นั้น จําต้อง อาศัยความร่วมมือกบั หนว่ ยงานหรือชุมชนที่อยู่ใกล้เคียงด้วย อนุศาสนาจารย์เป็นผู้หน่ึง ที่สามารถสร้างความสัมพนั ธ์ และความรสู้ ึกท่ีดีต่อกันระหว่างกองทัพกับประชาชน ดังนั้น อนุศาสนาจารย์จึงพร้อมเสมอท่ีจะเป็นผู้แทนหน่วย ในการสร้างสัมพันธ์กับหน่วยงานหรือ