Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ๐.รวมเล่มหนังสือ ๑๐๐ ปี การ อศจ.ไทย

๐.รวมเล่มหนังสือ ๑๐๐ ปี การ อศจ.ไทย

Description: ๐.รวมเล่มหนังสือ ๑๐๐ ปี การ อศจ.ไทย

Search

Read the Text Version

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๒๘๓ ยังประธานหรือผู้ทําการแทนขอให้มีการประชุมวิสามัญก็ให้ประธานหรือผู้ทําการแทน เรียกประชุมได้ ขอ้ ๑๔ กรรมการแตล่ ะคนต้องมีคุณสมบัติดงั น้ี ก. มอี ายไุ มต่ ํ่ากว่า ๓๐ ปี ข. ไมเ่ ป็นบคุ คลล้มละลายหรือไร้ความสามารถ หรอื เสมือนไรค้ วามสามารถ ค. ไม่เป็นบุคคลวิกลจริต หรือจิตฟัน่ เฟอื นไม่สมประกอบ ง. เปน็ ผมู้ ีความประพฤติเรยี บร้อย ข้อ ๑๕ กรรมการพน้ จากตาํ แหน่งเมอ่ื ก. อยู่ในตําแหน่งครบ ๔ ปี ข. ตาย หรอื ลาออก ค. ขาดคุณสมบตั ิตามตราสารข้อ ๑๔ ง. ตอ้ งโทษจําคุกโดยคาํ พิพากษาโทษจาํ คุก จ. เป็นผู้มีความประพฤติและปฏิบัติตนไม่เหมาะสมจนคณะกรรมการมี มตใิ ห้พ้นจากตาํ แหนง่ การเงนิ ข้อ ๑๖ ให้เหรัญญิกเก็บเงินไว้เพือ่ ใชจ้ ่ายในกิจการของมูลนิธิเท่าที่จําเป็นแต่ต้อง ไม่เกินหน่ึงพันบาทถ้วน เงินท่ีเกินจํานวนหนึ่งพันบาทข้ึนไปให้นําฝากไว้ในธนาคาร ตามท่ีคณะกรรมการบริหารเห็นสมควรกําหนดไว้ การฝากเงินให้ฝากในนามของมูลนิธิ เผยแผธ่ รรมะของอนุศาสนาจารย์ทหารบก การส่ังจ่ายเงินออกจากธนาคารให้ประธานกรรมการบริหารหรือผู้ทํา การแทนร่วมกบั เหรญั ญิกเปน็ ผู้ลงนามในเช็คส่ังจ่าย ขอ้ ๑๗ เอกสารหลกั ฐานสําคญั เก่ียวกบั การรับ – จา่ ยเงิน ของมูลนธิ ิมดี ังน้ี ก. ทะเบยี นนธิ ขิ องมลู นธิ ิ แยกเปน็ นธิ ิของผู้บริจาค ข. บญั ชี รบั – จา่ ยเงนิ ค. ใบสาํ คัญรบั เงิน เพ่ือความเรียบร้อยในทางการเงิน มูลนิธิจะเพ่ิมหลักฐานชนิดอื่นอีก ก็ ย่อมทําได้ เหรัญญิกเป็นผู้มีหน้าท่ีรับผิดชอบในการลงรายการในทะเบียนบัญชีตลอดจน เก็บรกั ษาเอกสารหลกั ฐานการรบั จ่ายเงนิ ข้อ ๑๘ ผู้สอบบญั ชีซึ่งได้รับแต่งตง้ั ตามข้อ ๑๒ ยอ่ มมีอํานาจตรวจสอบทรัพย์สิน และสรรพเอกสารเก่ียวกับการเงินและทรัพย์สินของมูลนิธิ รวมท้ังการสอบถาม กรรมการบริหารของมลู นธิ ิ

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๒๘๔ ข้อ ๑๙ ผู้สอบบัญชีของมูลนิธิ ต้องไม่เป็นกรรมการบริหารของมูลนิธิ หรือ อนศุ าสนาจารย์ทหารบก ข้อ ๒๐ ให้เหรัญญิกทําบัญชีงบดุลประจําปีปฏิทินงบดุลดังกล่าวเมื่อผู้สอบบัญชี รบั รอง และท่ปี ระชมุ กรรมการบริหารมลู นธิ ิรบั รองดว้ ยแล้ว ถือว่าถูกตอ้ ง ข้อ ๒๑ ประธานกรรมการบริหารมูลนิธิ มีอํานาจสั่งอนุมัติจ่ายเงินคราวละไม่ เกนิ ห้าพันบาท ถา้ เกินหา้ พนั บาทใหเ้ ป็นอํานาจของที่ประชมุ คณะกรรมการบริหาร ข้อ ๒๒ ในการใชจ้ า่ ยเงินของมูลนธิ ิประจําปี จะทําเป็นงบประมาณประจําปีด้วย ก็ไดก้ ารแก้ไขตราสาร ข้อ ๒๓ ตราสารนี้จะแก้ไขเพิ่มเติมหรือเปล่ียนแปลงมิได้ เว้นแต่โดยมติเป็นเอก ฉันทข์ องคณะกรรมการบรหิ ารมลู นธิ ิ การเลิกมูลนิธิ ข้อ ๒๔ มูลนิธิน้ีจะล้มเลิกได้ก็แต่โดยมติเป็นเอกฉันท์ของคณะกรรมการบริหาร ของมูลนธิ ิ เมื่อกิจการของมูลนิธิจําต้องล้มเลิกเพราะเหตุใดก็ตามให้ทรัพย์สินของมูลนิธิท้ังหมดเป็น กรรมสิทธิ์ของมูลนิธิทางพระพุทธศาสนาซ่ึงมีวัตถุประสงค์ใกล้เคียงกัน และมีสภาพเป็น นิตบิ ุคคล เบ็ดเตลด็ ข้อ ๒๕ การตีความในตราสาร หากเป็นท่ีสงสัยให้ถือเป็นเสียงข้างมากในที่ ประชุมคณะกรรมการบริหาร ถา้ เสียงเทา่ กัน ใหป้ ระธานเป็นผูช้ ้ขี าด ข้อ ๒๖ ให้นําบทบัญญัติแห่งประมวลกฎแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยลักษณะมูลนิธิ มาใชบ้ ังคับ ในเม่ือตราสารนม้ี ไิ ดก้ ําหนดไว้ ข้อ ๒๗ มูลนิธินี้จะไม่ทําการค้ากําไรและจะไม่ดําเนินการนอกเหนือไปจากตรา สารกําหนดไว้ (ลงช่ือ) พันเอก ปาน จนั ทรานุตร (ปาน จนั ทรานตุ ร) ผทู้ ําตราสาร สําเนาตราสารฉบบั ทีไ่ ดร้ ับอนญุ าตให้จดทะเบียนเลขลําดับท่ี ๘๒๗ ลงชือ่ ว่าท่ี ร.ต. (อา่ นไมอ่ อก) อํานวยการกองการทะเบยี น ๑๐ กันยายน ๒๕๑๗

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๒๘๕ เว็บไซตม์ ูลนธิ ิฯ ตรวจสอบกองทนุ มูลนิธิฯ

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๒๘๖

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๒๘๗ การดาํ เนินงานของมูลนธิ ิเผยแผธ่ รรมะของอนศุ าสนาจารย์ทหารบก มลู นิธเิ ผยแผ่ธรรมะของอนศุ าสนาจารยท์ หารบก ได้จดั โครงการเพอื่ สนับสนุนงานเผยแผ่ธรรมะ โดยระดมทนุ ด้วยการทอดผ้าปา่ คืนสู่เหย้า อศจ.ทบ. เพอ่ื สมทบทนุ ในการสร้างอุทยานพทุ ธธรรมสกิ ขา กรมยทุ ธศกึ ษาทหารบก ซง่ึ ถือวา่ เปน็ สถานท่ี สําหรบั เผยแผธ่ รรมและปฏบิ ัตธิ รรมของกองทพั บก และไดส้ นับสนนุ การจดั งาน “๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย” ดว้ ยการสรา้ งพระพุทธสิงห์ชยั มงคล ๑๐๐ ปี อนุศาสนาจารย์ ไทย นอกจากน้ันยงั ไดร้ ว่ มมือกบั หนว่ ยงานอนื่ ในการสง่ เสรมิ การ เผยแผธ่ รรมะอกี ดว้ ย

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๒๘๘ อทุ ยานพทุ ธธรรมสิกขา กรมยุทธศกึ ษาทหารบก ......................................... รายละเอียด พนื้ ทส่ี ร้างอทุ ยานพุทธธรรม พล.ท.ณฐพนธ์ ศรีสวัสด์ิ เจ้ากรมยุทธศึกษาทหารบก ได้มีดําริให้จัดสร้าง อุทยานพุทธธรรมสิกขา ซ่ึงตั้งอยู่ในพ้ืนท่ีกรมยุทธศึกษาทหารบก จํานวน ๕ ไร่เศษ เพื่อ เป็นแหลง่ ศึกษาค้นควา้ พทุ ธธรรม โดยน้อมนําแนวการตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณของ พระพทุ ธเจา้ และป่าอิสิปตนมฤคทายวนั อันเปน็ สถานทแี่ สดงปฐมเทศนา เกิดมปี ฐมสาวก มีพระรัตนตรัยครบองค์ ๓ อุทยานแห่งนี้จะเป็นสถานที่ใช้เพื่อการเรียนรู้ และฝึกอบรม วปิ ัสสนากมั มัฏฐานตามหลักสตปิ ัฏฐาน ๔ รวมทั้งเป็นสถานที่ประกอบกิจกรรมทางศาสนา ของกําลังพลกองทัพบกและประชาชนท่ัวไป มีการจําลองสัตตมหาสถาน (๗ มหาสถาน) และป่าอิสิปตนมฤคทายวัน อันเป็นสถานท่ีแสดงปฐมเทศนา รวมเป็น ๘ มหาสถาน พร้อมทั้งปลูกต้นไม้ในพุทธประวัติ สร้างเป็นสวนป่าเพื่อปลูกไม้พันธุ์อื่นๆ ไว้เป็นรมณีย สถาน ตามแบบแปลน

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๒๘๙ มหาสถานท่ี ๑ “ต้นพระศรมี หาโพธ”์ิ พระพุทธเจ้าทรงกําหนดประทับใต้ต้นพระศรีมหาโพธ์ิ ริมฝั่งแม่นํ้าเนรัญ ชราเป็นท่ีบําเพ็ญความเพียร ทรงตั้งสัตยาธิษฐานด้วยพระทัยเด็ดเดี่ยวว่า “แม้เนื้อและ เลือดจะแห้งเหือดไปหมดส้ินเหลือแต่หนัง เอ็น และกระดูกก็ตาม ตราบใดท่ียังไม่บรรลุ พระสมั มาสมั โพธิญาณ ตราบน้นั จกั ไมล่ ุกจากบัลลงั กน์ ี้” พระพทุ ธองค์ตรสั รูอ้ ริยสัจ ๔ ณ ท่ีแห่งน้ี และภายหลังการตรัสรู้ ทรงพิจารณาปฏิจจสมุปบาท คือ วงจรการเกิดการดับ แหง่ ทุกข์ ตลอด ๗ วัน ในมหาสถานน้ี ได้ปลูกหน่อต้นพระศรีมหาโพธ์ิท่ีเป็นสายพันธุ์จากพุทธคยา ประเทศอินเดีย ปรับพ้ืนที่เป็นลานหญ้าเป็นสถานที่แสดงพระธรรมเทศนา มีการ ประดิษฐานพระพทุ ธรปู ปางตรัสรู้ไว้ใต้ต้นพระศรีมหาโพธ์ิ มหาสถานที่ ๒ “อนมิ สิ เจดีย”์ พระพุทธเจ้าทรงแสดงอิทธิปาฏิหาริย์ จากนั้นเสด็จไปประทับยืนทางทิศ ตะวันออกเฉียง เหนือของต้นพระศรีมหาโพธ์ิ แล้วทรงจ้องต้นพระศรีมหาโพธิ์ โดยมิได้ กระพริบพระเนตรตลอด ๗ วัน ด้วยพระทัยกตัญญูต่อต้นพระศรีมหาโพธิ์ท่ีให้ร่มเงา ได้อาศัยบําเพ็ญเพียรจนได้ ตรัสรู้อริยสัจ ๔ บรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณ เป็นศาสดา เอกของโลก ในมหาสถานน้ี ได้ปลูกต้นกัลปพฤกษ์ไว้เป็นสัญลักษณ์ มีการ ประดษิ ฐานพระพุทธรปู ปางถวายเนตร มหาสถานที่ ๓ “รัตนจงกรมเจดยี ์” พระพุทธเจ้าทรงแสดงอิทธิปาฏิหาริย์เนรมิตให้เกิดเป็นทางจงกรมแก้ว ปูด้วยทรายในท้องมหาสมุทรทั้งหมื่นโลกธาตุ ขนาบด้วยเสาทองคําทําจากเขาพระสุเมรุ ในหมื่นจักรวาล พระอาทิตย์ พระจันทร์และดวงดาว กลายเป็นโคมไฟของทางจงกรม

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๒๙๐ แล้วเสด็จพุทธดําเนินจงกรมบนรัตนจงกรม ทางด้านทิศเหนือของต้นพระศรีมหาโพธิ์ ตลอด ๗ วัน ในมหาสถานน้ี ได้ปลูกต้นรวงผ้ึงไว้เป็นร่มเงา ปรับพ้ืนที่ใต้ต้นรวงผ้ึงเป็น ลานทรายสขี าว สาํ หรับฝกึ เดินจงกรม มกี ารประดษิ ฐานพระพุทธรูปปางจงกรม มหาสถานที่ ๔ “รัตนฆรเจดีย”์ พระพุทธเจ้าประทับบัลลังก์สมาธิทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของต้นพระศรี มหาโพธิ์ พจิ ารณาพระธรรมหลายประการตลอด ๗ วนั อุปมาดั่งประทับอยู่ภายในเรือน แก้วซ่ึงประกอบข้ึน มีพระวินัยปิฎกเป็นผนัง อภิธรรมปิฎกเป็นหลังคา ต่อเม่ือทรง พจิ ารณามหาปัฏฐาน พระฉวีวรรณของพระองค์ก็ผุดผ่องบริสุทธ์ิ มีฉัพพรรณรังสีแผ่ออก จากพระวรกายไปยงั ทุกทศิ ในจักรวาล ในมหาสถานนี้ ได้ปลูกต้นพะยอม ต้นบุนนาค และต้นจําปี สร้าง ซุ้มเรือนแก้วสําหรับน่ังปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐาน มีการประดิษฐานพระพุทธรูปปาง พจิ ารณาพระอภิธรรมไว้ในซ้มุ เรือนแก้ว มหาสถานท่ี ๕ “ต้นอชปาลนิโครธ” พระพุทธเจ้าประทับบัลลังก์สมาธิเสวยวิมุตติสุขใต้ต้นไทรของคนเลี้ยงแพะ ตลอด ๗ วัน ทรงขับไล่ธิดาของพญาปรนิมมิตวสวัตตีมาร ๓ นาง คือ นางตัณหา นางราคา และนางอรตี ที่มาประเล้าประโลม ย่ัวยวนด้วยมารยาแห่งสตรีนานาประการ ออกไปเสยี ด้วยพระทยั ของพระองค์ ไร้กิเลสและมลทนิ ในมหาสถานนี้ ได้ปลูกต้นไทร ปรับพื้นดินเป็นเนินสูง มีการประดิษฐาน พระพทุ ธรูปปางห้ามมารไว้ใต้ตน้ ไทร มหาสถานที่ ๖ “สระมุจลนิ ท์” พระพุทธเจ้าประทับบัลลังก์สมาธิเสวยวิมุตติสุขใต้ร่มไม้มุจลินทพฤกษ์ (ต้นจิก) มีฝนตกตลอด ๗ วัน มุจลินทนาคราชเกิดความเล่ือมใส จึงขนดกาย ๗ รอบ ล้อมรอบพระวรกายพระพุทธเจ้าและแผ่พังพานปกเหนือเศียร เพ่ือป้องกันพระพุทธเจ้า จากพายฝุ น เหลอื บ ยุง ลม แดด และอันตรายต่าง ๆ ในมหาสถานนี้ ได้สร้างสระน้ําปลูกบัวนานาชนิด ปลูกต้นจิก มีการ ประดษิ ฐานพระพทุ ธรปู ปางนาคปรก มหาสถานที่ ๗ “ต้นราชายตนะ” พระพทุ ธเจ้าเสวยวิมุติสขุ ภายใตต้ ้นราชายตนะ (ตน้ เกด) ตลอด ๗ วัน แล้ว สมเด็จอมรินทราธิราชนําผลสมอมาถวาย และได้มีพาณิชสองพ่ีน้อง ช่ือตปุสสะและภัลลิ กะ มาถวายข้าวสัตตุผงและสัตตุก้อน พร้อมประกาศตนขอเป็นอุบาสกคู่แรก ในพระพุทธศาสนา เป็นผู้เข้าถึงรัตนะ ๒ ประการ คือ พระพุทธและพระธรรมเป็นท่ีพึ่ง

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๒๙๑ ท่ีระลึก โดยมีท้าวจตุโลกบาล ถวายบาตรศิลาเพ่ือให้ทรงรับข้าวสัตตุผงและข้าวสัตตุ กอ้ น ในมหาสถานน้ี ไดป้ ลูกต้นเกต มีการประดิษฐานพระพุทธรูปปางฉันผลสมอ ไวใ้ ต้ตน้ เกต มหาสถานที่ ๘ “ปฐมเทศนา ปฐมสาวก ครบองคร์ ัตนตรยั ” พระพุทธเจ้า ทรงแสดงพระธัมมจักกัปปวัตตนสูตร อันเป็นปฐมเทศนา โปรดปัญจวัคคีย์ บังเกิดพระอริยสงฆ์องค์แรกในพระพุทธศาสนา ทําให้มีพระรัตนตรัย ครบองค์ ๓ ประการคอื พระพทุ ธ พระธรรมและพระสงฆ์ ณ จุดน้ีเป็นจุดเร่ิมต้นแห่งการ ประกาศและขับเคลื่อน กงล้อแห่งพระสัทธรรม ให้เป็นไปเพ่ือประโยชน์เก้ือกูล เพื่อ สันติสุขแก่เหลา่ เทวดาและมนุษยท์ ั้งหลายตราบจนทุกวนั นี้ ในมหาสถานนี้ ได้ปลูกต้นพะยอม ต้นกันเกรา ต้นอินทนิล ต้นบุนนาค ตน้ จําปี มีการประดษิ ฐานพระพทุ ธรปู ปางปฐมเทศนา

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๒๙๒ ลาํ ดบั เหตุการณ์ เมื่อวันท่ี ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ พลโท ณฐพนธ์ ศรีสวัสด์ิ เจ้ากรมยุทธ ศึกษาทหารบก ได้กราบนิมนต์พระครูวิสุทธิ์ภาวนาประสิทธิ์ (จิรยุทธ์ อธิฉนฺโท) เจ้า อาวาสวัดตาลเอน อําเภอบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประกอบพิธีโปรย ข้าวตอกดอกไม้บริเวณพื้นท่ีก่อสร้างอุทยานพุทธธรรมสิกขา ในพ้ืนที่ ๕ ไร่เศษ เพื่อให้ เกิดความเป็นสิริมงคลในการก่อสร้างดําเนินการไปด้วยความเรียบร้อย สําเร็จตามความ มุ่งหวังของคณะทํางาน เมื่อวันท่ี ๑๕ มิถุนายน ๒๕๖๑ เจ้ากรมยุทธศึกษาทหารบก ได้เข้าเฝ้ากราบ ทูลวัตถุประสงค์การจัดสร้างอุทยานพุทธธรรมสิกขา แด่สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเดจ็ พระสังฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก ณ วดั ราชบพติ รสถติ มหาสมี ารามราชวรวหิ าร

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๒๙๓ เม่ือวนั ท่ี ๒๖ มถิ นุ ายน ๒๕๖๑ เจ้ากรมยทุ ธศึกษาทหารบก เข้ากราบถวาย สักการะ และกราบเรียนวัตถุประสงค์การจัดสร้างอุทยานพุทธธรรมสิกขา แด่เจ้าประคุณ สมเด็จพระวันรัต ณ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร และกราบอาราธนาเป็นประธานสงฆ์ พิจารณาผา้ ป่าสมทบทุนสรา้ ง เม่ือวันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๖๑ เจ้ากรมยุทธศึกษาทหารบก พร้อมด้วย ขา้ ราชการกรมยทุ ธศกึ ษาทหารบก ไดป้ ระกอบพธิ บี วงสรวงส่ิงศักด์สิ ิทธิ์ เพ่ือเริ่มดําเนินการ ก่อสร้างอุทยานพทุ ธธรรมสกิ ขา ณ บริเวณพ้ืนท่กี อ่ สรา้ ง

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๒๙๔ เมอ่ื วันท่ี ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๖๑ ประธานมลู นธิ ิศูนยส์ ่งเสรมิ พระพุทธศาสนา แห่งประเทศไทยน้อมถวายต้นพระศรีมหาโพธ์ิหน่อพุทธคยา แด่ท่านเจ้าประคุณสมเด็จ พระวันรตั และสมเด็จพระวันรัต ไดม้ อบตน้ พระศรมี หาโพธิแ์ ก่ เจา้ กรมยุทธศึกษาทหารบก เพอ่ื นาํ ไปปลกู ณ มหาสถานที่ ๑ แหง่ อุทยานพุทธธรรมสกิ ขา เม่อื วันท่ี ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๖๑ เจ้ากรมยุทธศึกษาทหารบก กราบนิมนต์เจ้า ประคุณสมเด็จพระวันรัต วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร เป็นประธานพิธีฝ่ายสงฆ์ในพิธี ทอดผ้าป่าสามัคคี สร้างอุทยานพุทธธรรมสิกขา ณ หอประชุมเสนาปฏิพัทธ์ กรมยุทธ ศกึ ษาทหารบก เพือ่ รวบรวมทนุ ทรัพย์ก่อสร้าง

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๒๙๕ เมื่อวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๖๑ เจ้ากรมยุทธศึกษาทหารบก พร้อมด้วย ข้าราชการกรมยุทธศึกษาทหารบก ได้ประกอบพิธีบวงสรวง เพื่ออัญเชิญต้นพระศรีมหาโพธิ์ หน่อพุทธคยา จากศูนย์ส่งเสริมพระพุทธศาสนาแห่งประเทศไทย อําเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี โดยเจ้าประคุณสมเด็จพระวันรัต เป็นประธานพิธีฝ่ายสงฆ์ อธิษฐานจิต ประพรมน้ําพระพุทธมนต์ และล้อมดินเพ่ืออัญเชิญไปประดิษฐาน ณ อุทยานพุทธธรรม สิกขา กรมยุทธศกึ ษาทหารบก เมื่อวันท่ี ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๖๑ เจ้ากรมยุทธศึกษาทหารบก พร้อมด้วยผู้ บังคับหน่วย ของ นขต.ยศ.ทบ. ปลูกต้นรวงผึ้ง ต้นไม้ประจํารัชกาลที่ ๑๐ ภายใน บริเวณอทุ ยานพทุ ธธรรมสิกขา กรมยทุ ธศกึ ษาทหารบก

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๒๙๖ เม่อื วนั ที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๖๑ พล.อ.เฉลมิ ชยั สิทธิสาท ผบ.ทบ. พร้อมด้วย ผู้บังคับบัญชาระดับสูงของ ทบ. ได้ตรวจเยี่ยมพ้ืนที่จัดสร้างอุทยานพุทธธรรมสิกขา กรมยุทธศกึ ษาทหารบก เมื่อวันท่ี ๘ สิงหาคม ๒๕๖๑ สมเด็จพระวันรัต (เจ้าคณะใหญ่คณะธรรม ยุติกนิกาย, กรรมการมหาเถรสมาคม, และเจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศราชวรวิหาร) ได้นํา พล.อ.เฉลิมชัย สิทธิสาท ผบ.ทบ., พล.อ.โกญจนาท ศุกรเศรณี ประธานคณะท่ีปรึกษา กองทัพบก, พล.ท.ณฐพนธ์ ศรีสวสั ดิ์ จก.ยศ.ทบ. พร้อมดว้ ยผูบ้ งั คับหน่วย ของ นขต.ยศ.ทบ. ปลูกตน้ พระศรีมหาโพธิ์ และต้นไม้ประมหาสถานทั้ง ๘ แห่ง

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๒๙๗ เม่ือวันที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๖๑ พล.ท.ณฐพนธ์ ศรีสวัสดิ์ จก.ยศ.ทบ. พร้อม ด้วยผู้บังคับบัญชา ได้เดินทางไปตรวจสอบแบบจําลองพระประจํามหาสถาน ณ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคณุ ทหารลาดกระบงั เมื่อวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ พล.ท. ณฐพนธ์ ศรีสวัสด์ิ จก.ยศ.ทบ. พร้อมด้วยคณะกรรมการดําเนินงาน ได้ลงนามสัญญาสร้างพระกับพุทธมณฑลสาย ๒ เขตบางแคเหนือ กรงุ เทพ เมื่อวันที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๑ พระเกจิอาจารย์ พระวิปัสสนาจารย์ทั่ว ประเทศ ลงอักขระแผ่นทอง เพื่อนํามาประกอบพิธีเททองหลอ่

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๒๙๘ พระครอู านนท์ อานนฺโท พระเทพวิสุทธิญาณ จว.ช.ร. พระวรญาณมนุ ี (หลวงพ่อละมัย จว.พ.ล.) พระครูพศิ าลวิหารวัตร จว.น.ศ. พระครสู ิริรัตนกร จว.ต.ง. พระครูโสภณคณาภิบาล จว.ส.ข. พระเทพวินยาภรณ์ จว.น.ศ. เมื่อวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๑ ผู้มีจิตศรัทธาร่วมหล่อพระประจําอุทยาน พุทธธรรมสิกขา ได้แก่ พล.อ. ทวีป เนตรนิยม ประธานกรรมการบริหาร บมจ.กสทช. และสมาคมกองทุนสวัสดิการเพ่ือสตรีจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและสมาคมในภาคี ได้มอบเงนิ แก่กรมยทุ ธศกึ ษาทหารบก เมื่อวันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๖๑ พล.ต. สุเทพ นพวิง รอง จก.ยศ.ทบ. เป็น ประธานพิธีทอดผ้าป่าสามัคคีคืนสู่เหย้า อศจ.ทบ. เพ่ือสมทบทุนสร้างอุทยานพุทธธรรม สกิ ขาและหล่อพระประจําอุทยานพทุ ธธรรมสิกขา

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๒๙๙ เมื่อวันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๖๑ พ.อ. วิสิทธ์ิ วิไลวงศ์ ผอ.กอศจ.ยศ.ทบ.ได้นําคณะ อศจ.ทบ. เข้ารับเงินสมทบทุนสร้างอุทยานพุทธธรรมสิกขา และหล่อพระประจําอุทยาน พุทธธรรมสิกขาจากพระเทพวีรภรณ์ เจ้าอาวาสวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราช วรมหาวหิ าร เมื่อวันท่ี ๒๗ ธันวาคม ๒๕๖๑ พ.อ. วิสิทธ์ิ วิไลวงศ์ ผอ.กอศจ.ยศ.ทบ. ได้นําคณะ อศจ.ทบ. เข้ามอบเงินสมทบทุนสร้างอุทยานพุทธธรรมสิกขา และหล่อพระ ประจําอุทยานพุทธธรรมสิกขา แก่กรมยุทธศึกษาทหารบก เป็นเงิน ๑,๔๐๐,๐๙๙.-บาท (หน่ึงล้านส่ีแสนเก้าสิบเก้าบาทถ้วน) โดยมี พล.ท. ณฐพนธ์ ศรีสวัสด์ิ จก.ยศ.ทบ. เป็นผรู้ ับมอบ

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๓๐๐ เม่ือวันท่ี ๙ มกราคม ๒๕๖๒ สมเด็จพระวันรัต เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุติ กรรมการมหาเถรสมาคม และเจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศวิหาร เป็นประธานสงฆ์ในพิธีหล่อ พระพทุ ธรปู ประจาํ อุทยานพทุ ธธรรมสกิ ขา ยศ.ทบ. โดยมีเจ้าภาพหล่อแต่ละองค์เข้าร่วม พิธี ณ โรงหล่อพระบญุ ชปู ฎิมาพร พทุ ธมณฑลสาย ๒ เขตบางแคเหนอื กรงุ เทพ เมื่อวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ เจ้ากรมยุทธศึกษาทหารบก ได้นํา ผู้บังคับบัญชา นขต.บก.ยศ.ทบ. ประกอบพิธีประดิษฐานพระพุทธรูปประจําอุทยาน พทุ ธธรรมสกิ ขา ยศ.ทบ. เม่ือวันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๖๒ สมเด็จพระวันรัต เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุติ กรรมการมหาเถรสมาคม และเจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศวิหาร เป็นประธานสงฆ์ในพิธีเบิก เนตรพระพุทธรูปประจํามหาสถานท้ัง ๘ ณ อุทยานพุทธธรรมสิกขา ยศ.ทบ. โดยมี เจ้าภาพหลอ่ แต่ละองค์เข้ารว่ มพิธี

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๓๐๑

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๓๐๒ ภาพถ่ายอุทยานฯ เมอ่ื ๒๒ มี.ค. ๖๒ ภาพถ่ายอุทยานฯ เม่อื ๒๒ เม.ย. ๖๒ หมายเหตุ ๑. การสรา้ งพระพทุ ธรูปประจาํ อุทยานพทุ ธธรรมสิกขา กรมยุทธศึกษาทหารบก การสร้างพระพุทธรูปประจําอุทยานพุทธธรรมสิกขา กรมยุทธศึกษาทหารบกนั้น สร้างตามพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ท่ีทรงมี พระราชดําริเก่ียวกับรูปแบบพระพุทธรูป ดังมีข้อความบางตอนจากพระราชหัตถเลขา ทีท่ รงมไี ปมาระหว่างในรัชกาลที่ ๕ และกรมหลวงวชิรญาณวโรรส แสดงให้เห็นถึงพระราช ประสงค์ท่ีจะทรงสร้างพระพุทธรูปสัตตมหาสถาน และพระราชดําริเกี่ยวกับรูปแบบ พระพทุ ธรปู ท่ีเป็นแนวทางในการดําเนินงานในสว่ นงานปน้ั พระพุทธรูป ๗ ปาง กล่าวคือ ฉบับท่ี ๑๑๑ สวนดุสิต ลงวันที่ ๑ ธันวาคม รัตนโกสินทรศก ๑๒๘ กรมหลวงวชิ รญาณ กราบบงั คมทูลในรชั กาลท่ี ๕ ถึงเรื่องงานปัน้ พระพทุ ธรูปปางถวายเนตร ความว่า “…..กรมหลวงนเรศร์ บอกวันนี้ ว่ารับส่ังเรียกหุ่นพระถวายเนตรไปทอดพระเนตร โปรดแลติเตียนบ้างบางอย่าง เร่ืองคิดปั้นพระพุทธรูปน้ี....อยากเห็นพระเปนคน อยากให้ เห็นหน้าเปนคนฉลาดอดทนมีความคิดมาก ไม่ใช่ทําหน้าบึ้ง ไม่ใช่น่ังยิ้มกร่ิม ไม่ใช่นั่งหลับ

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๓๐๓ เผลอไผล ให้เตม็ อยดู่ ว้ ยสตสิ ัมปชญั ญะ หนา้ ตาพระพทุ ธเจา้ ของหมอ่ มฉนั เปน็ เชน่ น้.ี ..แต่ตา คนนี้ (ช่างป้ันชาวอิตาลี ช่ือ Alfonso Tornarelli) เปนผู้ท่ีเข้าใจมากกว่าช่างท้ังปวงที่เคย เข้าใจถ้อยคาํ หมอ่ มฉนั ....” พิจารณาจากข้อความบางตอนดังกล่าว และจากหลักฐานงานปั้นพระพุทธรูป ๓ พระองค์ของ ทอรนาเรลลี (Tornarelli) ท่ีประดิษฐานอยู่หน้าพระประธานในพระอุโบสถ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ราชวรวิหาร และที่ กรมศิลปากร ได้เก็บรักษาไว้ใน พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ พระนคร นั้น เจ้ากรมยุทธศึกษาทหารบกดําริว่า รูปแบบของ งานป้ันต้นแบบพระพุทธรูปที่จะจัดสร้างประจําอุทยานพุทธธรรมสิกขาฯ จัดสร้างเพ่ือ สืบสานพระราชปณิธาน ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ควรออกมาใน รูปแบบเหมือนจริง อิงรายละเอียดสําคัญซึ่งนายช่างทอรนาเรลลี (Tornarelli) ได้เคยป้ัน ถวายในคร้ังน้ัน และอิงมหาปุริสลักษณะ ท่ีมาในลักขณสูตร ในพระสุตตันตปิฎก ทฆี นกิ าย ปาฎิกวรรค เล่มที่ ๑๑ และหน้า ๑๕๘-๑๕๙

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๓๐๔ ๒. บทสวดมนตป์ ระจําอฏั ฐมหาสถาน บทสวดมนตป์ ระจาํ อัฏฐมหาสถาน99 ณ อุทยานพทุ ธธรรมสกิ ขา กรมยุทธศึกษาทหารบก ................................................ อะระหงั สมั มาสมั พทุ โธ ภะคะวา พุทธงั ภะคะวันตงั อะภิวาเทมิ สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธัมมัง นะมัสสามิ สปุ ะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ สงั ฆัง นะมามิ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสมั พทุ ธสั สะ (สวด ๓ หน) ฉันท์รวม ๘ สถานท่ี ปะฐะมัง โพธปิ ลั ลังกัง ทตุ ิยงั อะนมิ ิสสะกัง ตะติยงั จังกะมงั เสฏฐัง จะตุตถงั ระตะนาฆะรงั ปัญจะมัง อะชะปาลญั จะ ฉัฏฐงั วะ มจุ จะลนิ ทะกัง สัตตาหัง มุนิเสเวตัง ราชายะตะนะสตั ตะมัง อัฏฐมัมปจิ สิ ีนัง ยงั ปะตะนัฏฐานะโสภิตงั ธัมมะจักกัปปะวัตตญั จะ สมั ปณุ ณะระตะนัตตะยงั ชัมพุทีเปฏฐะ ฐานานิ ปชู ิตานิ นริ ันตะรัง สัทธาปะสาทิกาเนวะ อะหงั วนั ทามิ ทรู ะโต เอเตสัง อานภุ าเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เมฯ คาํ แปล ข้าขอกราบกม้ บูชา ทเ่ี กิดศรัทธา แปดสถานสถติ อดิสยั สอง...ที่เพ่งนยั น์ หน่ึง...ทต่ี รัสรู้อาํ ไพ สาม...คอื สถานจงกรม ห้า...แหลง่ รน่ื รมย์ ส.่ี ..เรือนแกว้ อันอดุ ม 99 ประพันธ์ภาษาไทย โดย พ.อ. ศรัณยภูมิ ผู้พ่ึง, ผอ.กอศจ.ยศ.ทบ. ลําดับที่ ๒๔ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๖)

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๓๐๕ ร่มไทรพวกอชบาล หก...สระมุจลินทต์ ระการ นาคแผ่พังพาน เจด็ ...ตน้ เกดแกว้ แพรวพราว ธรรมจักรสกาว แปด...คือที่งามอะครา้ ว ณ พนื้ ปฐั พี แจ้งแกเ่ บญจวัคคีย์ จติ มิปรวนแปร ท่รี วมหมขู่ องฤๅษี ในทุกเวลา ชมพูทวปี นนั้ แล ด้วยอานภุ าพกระแส ในศาสนแ์ หง่ พระสมั มา สขุ สวสั ดิจ์ งมีแก่ขา้ ฯ ตลอดกาลนริ นั ดร เทอญฯ ..............................

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๓๐๖ กาพยฉ์ บงั ๑๖ มหาสถานท่ี ๑ “ตน้ พระศรีมหาโพธ”ิ์ พระองค์ผ้สู รรเพชญดา ตรัสรธู้ รรมา เหนอื วชั รอาสน์อําพน สถานมงคล ทรงพิจารณา ใต้ศรีพฤกษโ์ พธานนท์ กเิ ลสอากลู รมิ ฝงั่ เนรญั ชรา ผู้เลิศลบไตร- ตลอดกาลร่วมเจ็ดทิวา ปฏิจจสมุปบาทบริบูรณ์ เหตเุ กิดระงับดับสญู อันกอ่ ทกุ ข์ซํา้ รา่ํ ไป ข้าฯ ขอกราบบาททรงชยั โลกเป่ยี มปลม้ื ด้วยศรทั ธาฯ ..............................

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๓๐๗ มหาสถานที่ ๒ “อนิมิสเจดีย”์ พระองค์ผสู้ งู ศักดา เหินสู่นภา แสดงยมกปาฏิหารยิ ์ สัปดาหโ์ ดยกาล นามมงคลมี นยั นาเพง่ นิง่ โพธน์ิ าน ให้ทางขัดเกลา กตัญญตู อ่ พฤกษโ์ พธศิ์ รี ขันติประจาํ อนิมสิ สเจดยี ์ ณ ท่ีแห่งน้นั นานเนา เปน็ แหลง่ ราํ ลกึ ร่มเงา ตรสั รอู้ ริยธรรม ขอกราบบาทพระผ้นู ํา จิตขา้ ฯ ใหก้ ลา้ ทานทน ฯ ..............................

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๓๐๘ มหาสถานที่ ๓ “รตั นจงกรมเจดยี ”์ ดว้ ยปาฏหิ าริย์ดาลดล เกดิ ศรมี งคล รตั นจงกรมเจดีย์ เร่ยี รายปฐั พี คมนาคม ทรงเอาทรายหมนื่ ธาตรี รวมหนึง่ สปั ดาห์ เป็นท่ีดําเนนิ จงกรม พระผอู้ ่ิมเอม พระโลกเชษฐ์องค์ปฐม บนพน้ื อรุ รุ มยา วนั คนื ล่วงลุเวลา เสวยวิมตุ ิเกษม ข้าฯ กราบด้วยใจปรีด์เิ ปรม ดั่งแกว้ แพรวพรรณอําไพฯ ..............................

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๓๐๙ มหาสถานที่ ๔ “รตั นฆรเจดีย์” พระชนิ สหี ์เจ้าผู้ไกล กเิ ลสปวงภยั ประทับพายพั ทศิ สถาน ฉายแหลง่ โอฬาร ถว้ นเจ็ดราตรี ฉพั พรรณรงั สีเบ่งบาน สมตามวิสยั รตั นฆรเจดีย์ องคพ์ ระศาสดา ทรงพนิ ิจธรรมวถิ ี ปรารภอภิธรรมนยั อันจกั แจ่มแจ้งแก่ใจ เหลา่ สัตว์ผทู้ รงปัญญา ข้าฯ ขอกราบกม้ บูชา ผู้เลิศยง่ิ ลว้ นการณุ ย์ ฯ ..............................

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๓๑๐ มหาสถานที่ ๕ “ตน้ อชปาลนิโครธ” พระพุทธเจ้าทรงคณุ เสวยสขุ ละมนุ วิมตุ ใิ ตร้ ่มไทรงาม พวกผูเ้ ดนิ ตาม ธดิ ามารไป อชปาละคอื นาม เจด็ วนั ดํารง แพะแกะได้พกั อาศยั แด่พระมนุ ี ณ ท่ีแห่งนน้ั เกิดภัย สามตนวนยัว่ ยวนองค์ กําจดั มารร้ายสูญพงศ์ สมาธมิ ่ันทวี ขา้ ฯ ขอกราบก้มเกศี เชดิ ชผู ้ปู ราบธิดามารฯ ..............................

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๓๑๑ มหาสถานท่ี ๖ “สระมจุ ลินท์” ณ ภมู ิภาคพ้นื สถาน พฤกษ์พร่างโอฬาร มีสระชอ่ื มุจลินท์ มจี อมนาคินทร์ ขนดกายา ฝนตกเจด็ วนั อาจิณ พระเศียรเวยี นวน จติ เกดิ เล่อื มใสศรทั ธา พระผเู้ วน้ วาง เล้ือยรา่ งจากสระขน้ึ มา พันรอบพระทศพล แผพ่ ังพานปกเบ้ืองบน ป้องผองภยั ทั่วสรรพางค์ ขา้ ฯ ขอก้มกราบบาทางค์ ทางบาปด้วยเกล้าโดยดฯี ..............................

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๓๑๒ มหาสถานท่ี ๗ “ต้นราชายตนะ” ประทับสิน้ เจด็ ราตรี ใตต้ ้นเกดมี ราชายตนะ นาม ถวายผลสมองาม จิตนั้นมน่ั คง องค์อนิ ทราชสยุ าม บาตรศิลาอํา- และสองพาณชิ จาํ นง จารึกจิตพลอย ถวายสตั ตุกอ้ น, ผง ถงึ พระพทุ ธกบั พระธรรม ทา้ วจตุโลกบาลนาํ ไพให้เพ่ือทรงใช้สอย ข้าฯ กราบบาทบงสบุ์ นรอย ปล้ืมปรมิ่ อ่ิมเอมกมล ฯ ..............................

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๓๑๓ มหาสถานที่ ๘ “ปฐมเทศนา ปฐมสาวก ครบองคร์ ัตนตรยั ” พระองค์ผทู้ ศพล สาํ แดงดาลดล ธัมมจกั กปั ปวตั ตนัง คอื หลกั อริยสัจจงั สี่องคป์ ระดัง ประดิษฐโ์ ดยธรรมวธิ ี หัวหนา้ เบญจวัคคีย์ จิตแจง้ สว่างดี บรรลุดวงตาเหน็ ธรรม เป็นสงฆ์องคแ์ รกเลศิ ลาํ้ แห่งพทุ ธศาสนน์ ํา ครบถว้ นพระรตั นตรัย ข้าฯ ขอกราบกรานธงชยั พิเศษสุกใส ด้วยจิตและกายวาจาฯ -----------------------------------

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๓๑๔ ๓. เจา้ ภาพสร้างพระฯ และศาลาปฏบิ ัตธิ รรม100 100 ข้อมลู ณ วันท่ี ๙ ม.ค. ๖๒

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๓๑๕

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๓๑๖ โครงการเยย่ี มบาํ รุงขวญั ทหารตามแนวชายแดน ............................... มลู นธิ ิเผยแผ่ธรรมะของอนุศาสนาจารย์ทหารบก ร่วมกับกองอนุศาสนาจารย์ กรมยุทธศึกษาทหารบก ในฐานะเป็นผู้กํากับดูแลสายวิทยาการอนุศาสนาจารย์ การ พัฒนาศักยภาพสร้างเสริมประสบการณ์ อนุศาสนาจารย์ทหารบก ได้จัดโครงการเย่ียม บํารุงขวัญทหารที่ปฏิบัติภารกิจตามแนวชายแดน เพื่อเป็นการสร้างขวัญและกําลังใจแก่ ทหารท่ปี ฏบิ ัติภารกิจอยตู่ ามชายแดน โดยมวี ตั ถุประสงค์ ดังนี้ ๑. เพอื่ เยยี่ มบํารุงขวัญทหารท่ีปฏบิ ตั ริ าชการตามแนวชายแดนของประเทศไทย ๒. เพ่อื ออกเผยแผธ่ รรมะและแนะนาํ ทางใจแก่ทหารทอี่ ยหู่ ่างไกลครอบครัว ๓. เพ่อื รับทราบปญั หาและแนวทางในการปลุกปลอบใจทหารท่ีปฏบิ ัตงิ าน ตามแนวชายแดนของไทย ๔. เพอื่ เย่ยี มเยือนถวายกาํ ลงั ใจแกพ่ ระสงฆท์ ี่ปฏิบตั ิศาสนกจิ ในพ้ืนทเี่ สย่ี งภัย ๕. เพื่อเยีย่ มเยือนสนบั สนนุ กิจกรรมทางการศึกษาของเยาวชน/นักเรียนใน โรงเรียนตามแนวชายแดน พล.ต. สมพงษ์ ถิน่ ทวี รองประธานมูลนธิ ฯิ นําคณะ อศจ.ทบ.และสมาคมสตรศี รีอยุธยา ถวาย/มอบส่งิ ของแก่วดั ทหารและนกั เรียน ตามแนวชายแดนจงั หวัดเชียงใหม่ เม่อื ๒๑ - ๒๓ ต.ค. ๖๑

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๓๑๗ โครงการทอดผา้ ป่าสามัคคี ๑๐๐ ปี อศจ. คนื สูเ่ หยา้ ............................... ด้วยสายวิทยาการอนุศาสนาจารย์ทหารบกจะเข้าสู่กาล ครบรอบปีท่ี ๑๐๐ ที่ได้รับพระราชทานกิจการอนศุ าสนาจารย์ จากพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เม่ือวันที่ ๑ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๖๒ โดยเป็นหน่วยงานรับผิดชอบด้านการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมของกองทัพบก ซึ่งได้เน้นการพัฒนาคุณธรรมด้วยการนําเข้าสู่การปฏิบัติ วิปัสสนากรรมฐานตามหลักสติปัฏฐาน ๔ เพ่ือดํารงชีวิตได้อย่างมีสติสัมปชัญญะและ ปัญญารู้เทา่ ทันโลกและแกไ้ ขปัญหาชวี ติ ไดอ้ ย่างมีสติ และสันตสิ ุข กอรปกับกรมยุทธศึกษาทหารบกได้จัดสร้างอุทยานพุทธธรรมสิกขา ให้เป็น สถานท่ีศึกษาและปฏิบัติธรรมในพ้ืนที่ ๕ ไร่เศษภายในกรมยุทธศึกษาทหารบก โดยสร้าง จําลองพุทธประวัติด้วยการเสวยวิมุตติ ๗ สัปดาห์และการทรงแสดงพระปฐมเทศนา รวม เป็น ๘ มหาสถานพร้อมกับได้สร้างพระพุทธรูปปางประทับยืน สูง ๑๙๐ ซ.ม. ปาง ประทับน่ังหน้าตัก ๘๕ ซ.ม. จํานวน ๘ องค์ และสร้างศาลาปฏิบัติธรรม ประจําอุทยาน พุทธธรรมสิกขา ซ่ึงจะเอ้ืออํานวยให้สายวิทยาการอนุศาสนาจารย์ได้จัดกิจกรรมปฏิบัติ ธรรม มสี ถานท่ีเดินจงกรมและนั่งบําเพญ็ จติ ภาวนาอยา่ งสงบรม่ รน่ื สบื ไป มูลนิธิเผยแผ่ธรรมะของอนุศาสนาจารย์ทหารบก จึงได้จัดโครงการทอดผ้าป่า สามัคคี ๑๐๐ ปีอนุศาสนาจารย์คืนสู่เหย้าขึ้น เพ่ือสมทบทุนสร้างอุทยานพุทธธรรมสิกขา กรมยทุ ธศกึ ษาทหารบก เมือ่ วันท่ี ๒๗ ธนั วาคม ๒๕๖๑ พล.ต. สเุ ทพ นพวงิ รอง จก.ยศ.ทบ. พรอ้ มดว้ ยคณะ อศจ.ทบ., อศจ.ทร., อศจ.ทอ., อศจ.รท.และ อศจ.ตาํ รวจ พรอ้ มด้วยผ้มู จี ติ ศรัทธาไดท้ อดผ้าป่าสามคั คฯี สมทบทนุ สรา้ งอุทยานพุทธธรรมสิกขา ยศ.ทบ. เม่อื ๒๓ ธ.ค. ๖๑ ณ ห้องประชุมพระพุทธสงิ ห์ชัยมงคล

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๓๑๘ โครงการจัดสร้างพระพทุ ธสงิ ห์ชยั มงคล ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ............................... กิจการอนุศาสนาจารย์ไทย ถือกําเนิดขึ้นเมื่อวันท่ี ๑ มิถุนายน ๒๔๖๒ ตาม พระราชปณิธานของพระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๖ ท่ีทรงพระ ราชปรารภว่า “ทหารท่ีจากบ้านเมืองไปในคราวนี้ต้องไปอยู่ในถิ่นไกล ไม่ได้พบเห็นพระ เหมือนเม่อื อยู่ในบา้ นเมอื งของตน จติ ใจหา่ งเหนิ จากทางธรรม ถึงยามคะนองก็จะฮึกเหิม เกินไปเป็นเหตุให้เสื่อมเสีย ไม่มีใครคอยให้โอวาทตักเตือน ถึงคราวทุกข์ร้อนก็จะอาดูร ระส่ําระสาย ไม่มีใครจะช่วยปลดเปล้ืองบรรเทาให้ ดูเป็นการว้าเหว่น่าอนาถ ถ้ามี อนุศาสนาจารย์ออกไป จะได้คอยอนุศาสน์พร่ําสอนและปลอบโยนปลดเปล้ืองในยาม ทุกข์” นับตั้งแต่วันนั้นจนถึงวันนี้ อนุศาสนาจารย์ก็เป็นส่วนหน่ึงของกองทัพบก โดย ขึ้นกับกรมยุทธศึกษาทหารบก ในนามว่า กองอนุศาสนาจารย์ กรมยุทธศึกษาทหารบก โดยมีภารกิจหน้าท่ีรับผิดชอบกิจการอนุศาสนาจารย์ของกองทัพบก อํานวยการและ ดําเนินงานเกี่ยวกับพิธีการทางศาสนา ให้คําแนะนําแก่ผู้บังคับบัญชาในปัญหาท้ังปวงท่ี เก่ียวกับการศาสนาและขวัญตลอดถึงการอบรมศีลธรรมและวัฒนธรรมทหาร การเยี่ยม ไข้และการบํารุงขวัญกําลังพลกองทัพบก มูลนิธิเผยแผ่ธรรมะของอนุศาสนาจารย์ ทหารบก ได้มีมติในการจัดสร้างพระพุทธสิงห์ชัยมงคล ขนาดหน้าตัก ๙ นิ้ว จํานวน ๑,๐๐๐ องค์ สาํ หรบั ผู้จัดตัง้ กองทนุ ๆละ ๓,๔๙๙ บาท

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๓๑๙ วัตถุประสงคก์ ารจัดสร้าง ๑. เพอื่ สมทบทุนมูลนิธิเผยแผ่ธรรมะของอนุศาสนาจารย์ทหารบก (หลังหัก คา่ ใช้จ่ายแลว้ ) ๒. เพ่ือจัดพธิ บี ําเพ็ญกศุ ล ๑๐๐ ปี อนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๓. เพ่ือจัดกิจกรรมเผยแผ่พระพุทธศาสนา เช่น การประกวดสวดมนต์ตาม แบบธรรมเนียมทหาร ท่ีผ่านการคัดเลือกจากกองทัพภาคที่ ๑-๔ และหน่วยขึ้นตรง กองทพั บกส่วนกลาง ๔. เพ่ือการประกวดสวดมนต์หมสู่ รรเสริญพระรัตนตรัยทาํ นองสรภัญญะ ๕. เพ่ือการประกวดกล่าวคําอาราธนาในพระพุทธศาสนาพิธีและประกวด การบรรยายธรรมของนักเรียน นกั ศึกษาจากสถาบันการศึกษาต่างๆ ๖. เพอ่ื จดั ทําหนังสอื ทรี่ ะลกึ “๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๓๒๐ พล.อ. วรวิทย์ วรรธนศักดิ์ ประธานคณะทปี่ รึกษากองทัพบก ผแู้ ทน ผบ.ทบ. เป็นประธานพธิ ีน่งั ปรกอธิษฐานจติ พทุ ธาภเิ ษก พระพุทธสิงห์ชยั มงคล ๑๐๐ ปี อศจ.ไทย ณ อุโบสถวัดตาลเอน อ.บางปะหนั จว.อ.ย. เมือ่ ๑๔ พ.ย. ๖๑

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๓๒๑ บทที่ ๑๘ อาจริยบชู า - อาจริยพจน์

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๓๒๒ ความสามารถ101 ความสามารถน้ัน มีบางคนก็เข้าใจกว้าง ๆ บางคนก็เข้าใจแต่แคบ ๆ อย่าง ที่แคบคือใครทําการได้ดีเต็มตามวิชาที่ได้เรียนมาแล้ว ก็เรียกว่าเป็นคนที่มี ความสามารถเสยี แล้ว แตแ่ ทจ้ รงิ ควรจะใชค้ ําว่าชํานาญจะเหมาะกว่า เปรียบเหมือนช่างไม้ ช่างเหล็กหรือช่างอะไร ๆ ท่ีทํางานดี ๆ ก็หากล่าวไม่ว่าเขาสามารถ มักกล่าวแต่ว่าผีมือดี และผู้ที่ข่ีม้าขับรถเก่ง ๆ ก็หากล่าวไม่ว่าเขาสามารถ กล่าวแต่ว่าเขาชํานาญ แต่ท่ี ผู้ได้รอบ รู้วิทยาการอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว และใช้ความรู้นั้น โดยอาการอันชํ่าชอง มักกล่าวกัน, ว่า เขาสามารถ ซ่ึงเป็นการส่งเสริมเกินกว่าท่ีควรไปโดยแท้ อันท่ีจริงผู้ที่ได้เรียนการช่างไม้ จน ทําการในหน้าท่ีของเขาได้ดีทุกสถานแล้ว ไม่เลวไปกว่าผู้ท่ีได้ เรียนกฎหมายจนว่าความได้ น้ันเลย เป็นแต่ชํานาญการคนละอย่างเท่านั้น แต่ถ้าจะ แปลความสามารถให้กว้างออกไป ต้องแปลว่าส่ิงซึ่งกระทําให้ความเป็นใหญ่มีมาแต่ผู้ท่ีมีอยู่ และจะแปลให้ดีกว่าน้ีก็ยาก เพราะความสามารถเป็นส่ิงซ่ึงมิได้อยู่ในตํารบ ตําราอันใด และจะสอนให้แก่กันก็หาได้ไม่ ย่อมเป็นสิ่งซ่ึงบังเกิดข้ึนในตัวบุคคลเอง หาใช่เพราะข้ึนโดยหาคะแนนมากๆในเวลาสอบไล่ ในโรงเรียนหรือโดยได้ประกาศนียบัตรหลาย ๆ ใบก็หามิได้ การแปลคําว่าสามารถแคบไป นั้นแหละ ทําให้เป็นเครื่องบํารุงความโทมนัสแห่งบุคคลบางจําพวกเป็นอันมาก คําว่า สามารถควรจะแปลเสยี ให้ กว้างทเี ดียวว่า “อาจจะทําการงานให้เป็นผลสําเร็จได้ดียิ่งกว่าผู้ ที่มีโอกาสเท่า ๆ กัน” เช่นต่างว่าคน ๒ คนได้เรียนหนังสือโรงเรียนเดียวกัน สอบไล่ได้ปาน ๆ กัน ได้ไป ยุโรปด้วยกัน เรียนเท่า ๆ กันอีก และกลับพร้อมกัน เข้ารับราชการพร้อมกัน ในหน้าที่คล้าย ๆ กัน แต่คร้ันเมื่อทํางานแล้ว คน ๑ รู้จักใช้วิชาของตนให้เหมาะแก่ 101 จากหลกั ราชการ พระราชนิพนธ์ ร. ๖

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๓๒๓ กาลเทศะและสมเหตุสมผล อีกคน ๑ ต้องคอยให้นายชี้หนทางให้ทําก่อนจึงทํา เช่นน้ี นบั ว่าคนที่ ๑ เป็นผูม้ ีความสามารถมากกวา่ คนท่ี ๒ ...................................

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๓๒๔ อาจริยบูชา “ปฐมอนศุ าสนาจารยท์ หารบก”

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๓๒๕ ประวตั ิ พระธรรมนเิ ทศทวยหาญ(อยู่ อดุ มศิลป์)102 พ.ศ. ๒๔๒๔ – ๒๕๑๐ --------------------- อํามาตย์ตรี พระธรรมนิเทศทวยหาญ นามเดิม ทองอยู่ ภายหลังเปล่ียนเป็น อยู่ นามสกุล อุดมศิลป์ เป็นบุตรนายด้วง นางพร้อม เกิดที่บ้านในตรอกบ้านข้าวหลาม ตาํ บลหัวลาํ โพงใน จังหวัดพระนคร เม่ือวันที่ ๑๓ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๔๒๔ เม่ือเยาว์วัยบรรพชาเป็นสามเณรที่วัดเทพศิรินทราวาส พระธรรมไตรโลกาจารย์ (เดช) ครั้งยงั เป็นพระเทพกวีเปน็ พระอปุ ัชฌาย์ ครน้ั เมอื่ สมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้า มหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงบรรพชาเป็นสามเณร ณ วัดบวรนิเวศวิหาร พระ ธรรมนิเทศทวยหาญก็ได้เป็นสหจรด้วย ดังที่พระธรรมนิเทศทวยหาญบันทึกไว้ใน “หมาย เหตุ”(พ.ศ. ๒๔๙๒ พระธรรมนิเทศทวยหาญได้ยกหนังสือ เอกสาร และพัสดุต่างๆ ซึ่งเป็น ของส่วนตัวให้ นาวาอากาศเอก เมฆ อําไพจริต103 อนุศาสนาจารย์ผู้เป็นศิษย์คนหนึ่ง นําไปมอบเป็นสมบัติของห้องสมุดอนุศาสนาจารย์ทหารอากาศ และได้เขียนเล่าเรื่องความ เป็นมาของเอกสารต่างๆ เป็นทํานอง “หมายเหตุ” เพื่อให้ทราบเรื่องราวต่างๆ ได้กระจ่าง ชัดขึน้ ) ว่า “ทูลกระหม่อมพระองค์ใหญ่ (สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกฎุ ราชกุมาร) ทรงผนวชเณร ไม่มีเณรเล็กๆ เป็นสหจร (มีแต่เณรโข่ง ทรงเรียกว่า ปู่เณร รูปร่างใหญ่โตมาก....ฉันเล็กกว่าเพื่อนจนทรงเรียกว่าเณรแอ๊ว พระราชทานตุ๊กตา ปอสเลน ๒ ตัว) พระราชาคณะต่างวัดท่ีเป็นเวรถวายธรรมิกถาจัดสามเณรเข้าไปถวาย เป็นบริวาร ท่านเจ้าคุณพระธรรมไตรโลกาจารย์ (เดช) เจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทรฯ เป็น พระอุปัชฌาย์เณรของฉัน เอาฉันเข้าไปถวายด้วย จึงต้องไปอยู่กับวัดบวรฯ ในคราวน้ัน ล้นเกล้าฯ(พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะทรงดํารงพระอิสริยยศที่ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าวชิราวุธ) กับทูลกระหม่อมพระองค์อื่นไปประทับอยู่กับ สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช ได้ทรงเห็นฉันเสมอ และทรงทักทายในบางโอกาส จึงทรง รู้จกั แตน่ น้ั มา” จากน้ันได้เข้าเป็นนักเรียนบาลีในโรงเรียนของมหามกุฎราชวิทยาลัย ซ่ึงสมเด็จ พระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส คร้ังยังทรงเป็นกรมหมื่น ทรงตั้งขึ้น 102 นายสดุภณ จังกาจิตต์ ผู้เรียบเรียงจากหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพพระธรรม นิเทศทวยหาญ ณ เมรุวัดมกุฎกษตั ริ ยาราม, ๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๑ 103 อศจ.ทบ.รุ่นท่ี ๔/๒๔๗๑ ตอ่ มาโอนไปเปน็ อศจ.ท่ีกองทัพอากาศ ดํารงตําแหน่ง ผอ.กอ ศ.ยศ.ทอ.ลาํ ดับที่ ๓ (พ.ศ.๒๔๙๙-๒๕๐๕)

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๓๒๖ ใช้หลักสูตรใหม่สอบความรู้ด้วยวิธีเขียน พ.ศ. ๒๔๔๒ สอบได้เทียบเปรียญ ๗ ประโยค วันที่ ๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๔๕ อุปสมบทเป็นพระภิกษุ ได้รับฉายาว่า“เขมจาโร” สมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ เป็นพระอุปัชฌาย์ และเข้าแปลประโยค ๘ ได้ในปีน้ัน ปีต่อมาก็เข้าแปลประโยค ๙ ได้ ซึ่งสองประโยคหลังน้ีสอบท่ีวัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยวิธีสอบแบบเดิมคือ แปลด้วยปากเปล่า และในการแปลประโยค ๙ ได้น้ี สมเด็จพระ มหาสมณเจ้าฯ ประทานพระรูปเปน็ รางวลั มลี ายพระหัตถ์ใตพ้ ระรูปว่า “ให้พระมหาเขมจาโร (อยู่) ในการแปลฎีกาสังคหะประโยค ๙ ได้น่าท่ีน่ังเม่ือ วนั ท่ี ๒๙ มนี าคม ร.ศ. ๑๒๒ ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม กรมหมืน่ วชริ ญาณวโรรส ผอู้ ุปัชฌายะ วดั บวรนเิ วศวิหาร วันที่ ๕ เมษายน ร.ศ. ๑๒๓” พระธรรมนิเทศทวยหาญขณะเป็นสามเณรอายุได้ ๑๖ ปี สอบได้เป็นนักเรียน เอก(คอื ๓ ประโยค) ก็เริ่มเป็นครูเป็นการส่วนตัว สอนไปด้วย เรียนไปด้วย จนมีนักเรียน มากข้ึน สองปีต่อมาคือ พ.ศ. ๒๔๔๒ ทางวัดเทพศิรินทราวาส จึงแต่งต้ังให้เป็น ผู้อํานวยการศึกษาพระปริยัติธรรมสํานักเรียนวัดเทพศิรินทรฯ พระมหาเปรม เปมงฺกโร ศิษย์รูปหนึ่งได้กล่าวไว้ในหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพพระธรรมนิเทศทวยหาญถึง เร่อื งนต้ี อนหนึง่ วา่ “ท่านลงมือเปิดสอนบาลีไวยากรณ์ก่อนเปนเบ้ืองต้น เอากุฎีที่อยู่ของท่านเอง เปนสํานักเรียน เม่ือนักเรียนพระเณรเข้ามามอบตัวเปนศิษย์มากขึ้นเปนลําดับ...เจ้า อาวาส...จึงมอบโรงเรียนปริยัติธรรมภาษาบาลีให้ท่านอาจารย์มหาอยู่เข้าจัดการศึกษา ฝกึ สอนเปนอิสระคนเดียวหมด ....ท่านอาจารย์เอาใจใส่ทุกวิถีทาง... ทั้งวันทั้งคืนไม่เป็นอันกินอันนอน เพราะ ต้องทําการสอนเองคนเดียวด้วยทุกชั้นทุกแผนก... แบ่งเวลาสอนเช้าเร่ืองนี้ บ่ายเรื่องน้ัน บางคร้ังเพิ่มการสอนกลางคืนเข้าอีกด้วย.. ผลปรากฏว่าพระเณรนักเรียนทวีจํานวนมาก ข้ึนเร่ือยๆ ประกาศความเจริญก้าวหน้าของการศึกษาพระปริยัตติ ธรรมที่ท่านอาจารย์ มหาอยู่ไดเ้ สกสรา้ งข้นึ ด้วยกําลังใจ..” นอกจากจะเปน็ ครผู มู้ ีความสามารถแลว้ พระธรรมนิเทศทวยหาญ ยังเปน็ นกั เทศน์ ชัน้ เลิศรูปหนึ่งในสมัยนัน้ ซ่ึงนิยมเทศน์ปฏิภาณ คือเทศน์ปากเปล่า ได้ถวายเทศน์หน้าพระ ท่ีน่ัง เป็นท่ีพอพระราชหฤทัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวถึง ๓ คราว และ หลังจากถวายเทศน์คราวท่ี ๓ ได้ไม่ก่ีวัน มีพระราชพิธีขนานนาม เรือยนต์พระท่ีน่ัง ๒ ลํา ท่ีท่าวาสกุ รี พระธรรมนิเทศทวยหาญบันทกึ ไวใ้ น “หมายเหตุ” วา่

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๓๒๗ “เสรจ็ พระราชพิธแี ล้วเสด็จประพาสลาํ นํา้ ฉนั ถูกคดั ให้ลงลําประทับในเรือพระท่ี นั่งยนต์ลําน้ีแหละ ล้นเกล้าฯ รับส่ังกับเจ้าประคุณ (สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระ ยาวชิรญาณวโรรส) ว่าได้ฟังพระอมราฯ ถวายเทศน์เมื่อวานซืนนี้ นึกอุ่นใจว่ายังมีผู้ถวาย เทศน์ให้ฟังได้...ในที่สุดรับส่ังว่า ได้ถวายเทศน์โปรดถึง ๓ คราวติดๆ กันมาแล้ว ต่อไปจะ เป็นคนสําหรับเทศน์ถวายหลวง ต้องขอพรสักอย่างเถอะ จงให้ปฏิญาณเสียเด๋ียวนี้แหละ คอื ในการรับนิมนต์ไมว่ ่าที่ไหน ขออย่าไดร้ ับนิมนต์เทศนต์ ลกเป็นอันขาดทีเดียวนะ เทศน์ คู่ ทรงเรยี กว่าเทศน์ตลก ทีแรกฟังไม่เข้าใจเล่นเอางง ทรงอธิบายว่าเทศน์คู่มักจะติดตลก บ่อยเข้าก็เคยปากจะพล้ังออกไปในเวลาถวายเทศน์ ที่ทรงขอพรไว้ตั้งแต่ต้นดังน้ีมี ประโยชนแ์ กฉ่ นั มาก ตดั ความย่งุ ยากไปอย่างถนัดใจ...” สมเด็จพระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส แม้จะมีงานเทศน์มากเพียงไร แต่พระธรรมนิเทศทวยหาญก็ยังเป็นครู รักการ สอน รกั ศษิ ย์เปน็ อย่างมาก ดังทไ่ี ด้บนั ทกึ ไวใ้ น “หมายเหต”ุ ตอนหนึง่ ว่า “ฉันทุ่มเทเวลาและกําลังใจให้นักเรียนอย่างส้ินเนื้อประดาตัว การสอนนักเรียน เป็นงานด้ังเดิมต้ังแต่เป็น น.เอก (๓ ประโยค) อายุ ๑๖ ปี ก็เป็นครูเร่ือยมา ทั้งท่ีตนเอง ยังเรียนอยู่....ต่อมามีหน้าที่ปกครองนักเรียนด้วย ต้องรับธุระหลายอย่างแผ่กว้างออกไป จนเป็นสํานักใหญ่ ทั้งท่ีตนเองเป็นลูกวัด ต้องจัดหมดทั้งฝ่ายครูและนักเรียน..ปัจจัยทาง นักเรียนเป็นมาเช่นน้ีแหละ จึงหายใจเป็นนักเรียน นั่งกับนักเรียน คุยกับนักเรียน สวด กับนักเรียน ไปไหนๆ กับนักเรียนเสมอ...เทศน์เป็นงานภายหลังประดังเข้ามา ทําเวลา ของนักเรียนให้เสียไป จะลดหย่อนความรับผิดชอบก็ไม่ได้ เพราะนักเรียนยึดเราเป็นที่ พงึ่ ”

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๓๒๘ ด้วยเหตุนี้ สํานักเรียนวัดเทพศิรินทราวาสซ่ึงเคยซบเซาไประยะหน่ึงจึงกลับ รงุ่ เรืองขึ้นอกี สมเดจ็ พระพุทธโฆษาจารย์ (ญาณวโร) ครั้งยังเป็นพระธรรมไตรโลกาจารย์ เจา้ อาวาสวดั เทพศิรนิ ทราวาสได้มอบภาพถา่ ยให้และมลี ายลิขติ ใต้ภาพวา่ “ท่ี ๑/๘๐๑ พระธรรมไตรโลกาจารย์ ผู้กรรมวาจาจารย์ ให้พระอมราภิรักขิต (เขมจาโร) เปรียญเอก ๙ ประโยค อันเตวาสิกท่ี ๑๒๐ เป็นเครื่องประกาศความดีความงาม ในการ ท่ีได้จัดการศึกษาพระปริยัติธรรมอันเป็นกิจสําคัญ ซึ่งเป็นรากเง่าเค้ามูลแห่งพระศาสนา ในวัดเทพศิรินทรฯ ด้วยความต้ังใจทําจริงๆ จนเต็มสติกําลังปัญญาสามารถและความ อุตสาหะอันกล้าหาญโดยความเอ้ือเฟื้ออันดี สู้อดทน มิได้คร่ันคร้ามต่อความลําบาก เหน็ดเหนือ่ ย ทําใหน้ กั เรียนได้ความร้มู ากโดยรวดเร็ว แต่วันท่ี ๑ พฤศจกิ ายน รตั นโกสนิ ทรศก ๑๓๐” ในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระธรรมนิเทศทวย หาญไดเ้ ปน็ พระราชาคณะท่ี พระอมราภริ ักขติ เมือ่ พ.ศ. ๒๔๕๒ ดํารงสมณเพศมาจนถึง พ.ศ. ๒๔๕๙ เกิดอาพาธหนัก จึงได้ถวายบังคมลาสิกขา พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัวรับส่ังไว้ในท้ายพระบรมราชานุญาตว่า “ให้เกลี้ยกล่อมเอาตัวไว้ใช้ใน การศึกษา” เม่ือรักษาตัวจนทุเลาแล้ว วันท่ี ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๖๐ จึงเข้ารับราชการใน กรมศึกษาธิการ กระทรวงธรรมการ เป็นพนักงานกรมราชบัณฑิต ประจําแผนกรวบรวม ตาํ รา เทียบชน้ั เจ้าพนกั งานตรวจการในกรมศกึ ษาธิการ พ.ศ. ๒๔๖๑ รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ออกไปเป็นอนุศาสนาจารย์ ของกองทหารไทยในราชการสงคราม ณ ประเทศยุโรป ประจําอยู่ในกองทูตทหารท่ีกรุง ปารีส มีหน้าท่ีคอยเยี่ยมเยียนให้กําลังใจทหาร ซึ่งแยกย้ายกันปฏิบัติหน้าท่ีอยู่ตามท่ี

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๓๒๙ ต่างๆ วันที่ออกเดินทางมีเอกสารกล่าวถึงอยู่ในหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพพระ ธรรมนิเทศทวยหาญ ดงั นี้ ถวายบังคมลา วนั ท่ี ๑๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๖๑ ท่ีทา่ วาสกุ รี เสด็จลงเวลา ๑๐ ก.ท. ล่วงแล้ว ปลดั ทูลฉลองกระทรวงกลาโหม เบิกฯ พรอ้ มกบั พระราชดํารสั พระราชหตั ถเ์ บอ้ื งขวา ทรงประทับไว้บนบา่ ซา้ ยของผคู้ ุกเข่าฟงั กระแสอยู่ ในท่ีเฉพาะพระพักตร์ เมอ่ื รับพระราชทานเสมาสําหรบั งานพระราชสงคราม เสร็จแล้วฯ พระราชดํารัส น่ีแน่ะ เจ้าเป็นผู้ท่ีข้าได้เลือกแล้ว เพ่ือให้ไปเป็นผู้สอนทหาร ด้วยเห็นว่า เจ้าเป็น ผู้สามารถที่จะสั่งสอนทหารได้ ตามที่ข้าได้รู้จักชอบพอกับเจ้ามานานแล้ว เพราะฉะน้ัน ขอให้เจ้าช่วยรับธุระของข้าไปสั่งสอนทหารทางโน้น ตามแบบอย่างท่ีข้าได้เคยสอน มาแล้ว เจ้าก็คงจะได้เห็นแล้วไม่ใช่หรือ (ทูลรับ) เออ นั่นแหละ ข้าขอฝากให้เจ้าช่วยส่ัง สอนอย่างนั้นด้วย เข้าใจละนะ (ทูลรับและกราบถวายบังคม สังเกตดูพระอาการละเหี่ย พระสุรเสียงละห้อย เหน็ ไดว้ า่ ทรงคดิ ถึงทหารอย่างล้นพ้น) ก่อนออกเดินทาง สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ประทานเหรียญให้ ๓ เหรียญ ดังข้อความตอนหน่ึงที่พระธรรมนิเทศทวยหาญบันทึกไว้ ใน “หมายเหตุ” วา่ “เจา้ ประคณุ พอพระทัยมากรับส่ังว่า คราวนี้เป็นการดี ตลอดฐานะท่ีได้มาในเวลา เป็นพระ เป็นอันตามทันกันได้หมด ฯลฯ แล้วประทานเหรียญครบทั้งสามคือ เหรียญพระ พุทธชินสีห์ เหรียญจตุราริยสัจ เหรียญมหาสมณุตตมาภิเสก ทรงชี้แจงว่า ถ้าถึงคราว จําเป็นต้องการน้ํามนต์ ก็เอานี่ทํานํ้ามนต์ได้ ครั้นแล้วจะทรงเฉลียวพระทัยข้ึนมา จึงทรง อธบิ ายต่อไปวา่ สลี ัพพตปรามาส ถา้ เป็นไปเพือ่ เมตตากรุณาแลว้ ไม่ควรรังเกียจ...” เมื่อไปราชการสงคราม ณ ทวีปยุโรปแล้ว คร้ังหน่ึงมีเหตุต้องบํารุงขวัญทหารท่ี เจ็บป่วยท่ีโรงพยาบาลลุกเซมเบิร์ก กรุงปารีส พระธรรมนิเทศทวยหาญก็เชิญเหรียญทั้ง ๓ มาทาํ น้ํามนต์ โดยใชว้ ิธีประกาศคุณพระรัตนตรัยด้วยเสียงดัง อย่างพระอาลักษณ์อ่าน ประกาศในพระราชพิธี ไม่ท่องมนต์หมุบหมิบอยู่ท่ีปากอย่าง เช่นพระภิกษุทํานํ้ามนต์ บรรดาทหารท่ีเจ็บป่วยต่างได้รับน้ํามนต์เป็นกําลังใจกันอย่างถ้วนท่ัวและหายจากการ เจบ็ ปว่ ยทุกคน

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๓๓๐ เหรียญพระพุทธชินสหี ์ เหรียญมหาสมณุตตมาภิเสก พระธรรมนิเทศทวยหาญ (คนกลาง) ในคราวไปเยี่ยมทหารปว่ ยทีโ่ รงพยาบาลลกุ เซมเบิรก์ ในกรุงปารสี

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๓๓๑ พระธรรมนิเทศทวยหาญปฏิบัติหน้าท่ีอนุศาสนาจารย์เป็นอย่างดีและเต็ม ความสามารถ ครั้นกลับจากราชการสงคราม ณ ประเทศยุโรปแล้ว กระทรวงกลาโหม เห็นประโยชน์ในราชการทหารที่พระธรรมนิเทศทวยหาญไปปฏิบัติมา จึงได้จัดต้ังกอง อนุศาสนาจารย์ ซ่ึงเป็นฝ่ายพลเรือนขึ้นในกรมตําราทหารบกเมื่อวันท่ี ๒๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๒ และโอนพระธรรมนิเทศทวยหาญจากกระทรวงธรรมการมาเป็นหัวหน้า อนศุ าสนาจารย์ ดงั บนั ทกึ ใน “หมายเหตุ” ถงึ เรื่องน้ี วา่ “...ฉันกลับกับกองทูตทหาร เข้าไปทูลข้อราชการแด่ทูลกระหม่อมเล็ก (จอมพล สมเด็จฯ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานารถ เสนาธิการทหารบก คร้ังนั้น) พอเสร็จก็รับส่ังว่า เดี๋ยวน้ีฉันกับพระเจ้าอยู่หัวได้คิดกันไว้เสร็จแล้วว่า กลับมาก็ จะไม่คนื ให้กระทรวงธรรมการ จะเอาไว้กับทหารน่ีแหละ ฯลฯ ... ทูลกระหม่อมพระองค์ นน้ั ทรงรา่ งขอ้ บงั คับทหารบกวา่ ด้วยกองอนุศาสนาจารย์ด้วยพระองค์เอง ข้อบังคับนี้เป็น ฉะบบั แรกในกําเนิดแหง่ คณะอนุศาสนาจารย์ ทรงบันทึกเอาคุณประโยชน์ที่ไปทําครั้งน้ัน ขึ้นตง้ั เปน็ รปู แหง่ ข้อบังคบั น้ี ...ขอ้ บงั คบั กับคําสง่ั บรรจใุ ห้เปน็ หวั หนา้ ออกพร้อมกัน (ท่าน พระองค์นี้เรว็ จี๋เป็นเครอื่ งจกั ร) ฉนั เขา้ ไปรายงานตนตามระเบยี บ...” จอมพล สมเดจ็ ฯ เจา้ ฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ กรมหลวงพษิ ณุโลกประชานารถ ต่อมาทางราชการยกฐานะอนุศาสนาจารย์ขึ้นเป็นแผนกที่ ๓ พระธรรมนิเทศทวย หาญได้เป็นหัวหน้าแผนก ภายหลังย้ายอนุศาสนาจารย์ไปอยู่กรมยุทธศึกษาทหารบก ต้ัง เป็นแผนกท่ี ๔ ถึง พ.ศ. ๒๔๘๔ แก้แผนก ๔ กรมยุทธศึกษาทหารบก เป็นแผนก อนุศาสนาจารย์ กรมยุทธศึกษาทหารบก พระธรรมนิเทศทวยหาญเป็นหัวหน้าแผนก จนครบเกษยี ณอายุเมือ่ วนั ท่ี ๑๓ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๔๘๕ ตรงกับวนั เกิดครบ ๖๐ ปี

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๓๓๒ เครอื่ งแบบของพระธรรมนิเทศทวยหาญ (ในพิพิธภัณฑก์ องทพั อากาศ) นอกจากงานในหนา้ ทีข่ องอนุศาสนาจารย์แลว้ พระธรรมนเิ ทศทวยหาญยังมีงาน ราชการพเิ ศษท่สี าํ คัญอกี หลายประการ กลา่ วคอื พ.ศ. ๒๔๖๘ ในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้เป็นราชบัณฑิตทําการบูชาทิศ ถวายนํ้ามูรธาภิเษกด้วยมงคล คาถาเป็นภาษาบาลี อัญเชิญเสด็จครอบครองรัฐสีมาประจําทิศอาคเนย์ และถวายพระ พรชยั ให้ทรงพระเจรญิ ในสิริราชสมบัติ พ.ศ. ๒๔๗๕ เปน็ กรรมการชําระปทานุกรม ตามท่กี ระทรวงธรรมการขอมา พ.ศ. ๒๔๗๗ เป็นภาคีสมาชิกของราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๔๗๘ เป็นกรรมการสอบไล่ผู้สมัครสอบแข่งขันเพื่อรับทุนเล่าเรียนหลวง และเปน็ ประธานสาํ นักศิลปกรรม ผลงานท่ีพระธรรมนิเทศทวยหาญแปลและแต่ง ซ่ึงได้พิมพ์แล้วมีจํานวนมากกว่า ๓๐ เรื่อง เช่น ปัญจสติกักขันธกะ (สังคายนาครั้งท่ี ๑) เวสสันดรชาดกกัณฑ์ที่ ๑๐ สัก กบรรพ ปกิณณกเทศนา ผลท่ีต้องกับการ สงวนศาสนา สัตย์และสุจริต สงครามปาก บัวเบญจพรรณ แม้กับแม้น การอ่านหนังสือ คําแนะนําแก่ผู้ที่จะเป็นครูสอนภาษาบาลี เปน็ ตน้ หลังเกษียณอายุราชการแล้ว พระธรรมนิเทศทวยหาญได้บําเพ็ญประโยชน์ ตนคือปฏิบตั วิ ิปัสสนากมั มฏั ฐาน ทําตนใหเ้ ป็นทพี่ ึ่งของตน มากขึ้นเป็นลําดบั