Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ๐.รวมเล่มหนังสือ ๑๐๐ ปี การ อศจ.ไทย

๐.รวมเล่มหนังสือ ๑๐๐ ปี การ อศจ.ไทย

Description: ๐.รวมเล่มหนังสือ ๑๐๐ ปี การ อศจ.ไทย

Search

Read the Text Version

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๓๘๓ ๒๕๒๕ ลาสิกขา กลบั มาเป็นอาจารย์สอน ณ มจร. วัดมหาธาตุ ท่าพระจนั ทร์ และในปี พ.ศ.๒๕๒๖ ก็สอบบรรจเุ ป็น อศจ.ยศ.ทบ. ไดต้ ามลําดับ จากจุดเร่ิมต้น ท่ีเข้ามาศึกษานักธรรมช้ันตรี กับ พระครูปนาทธรรมคุณ (เทือน ปนาโท) นั้น ทําให้ข้าพเจ้าได้รับความสําเร็จในชีวิตมีความโดดเด่นที่เรียกว่า เป็นคนแรก ของตําบลท่าข้ามหลายอย่าง คือ สอบนักธรรมตรีได้เป็นคนแรก สอบบาลีได้เป็นมหา เปรียญคนแรก เรียนจบปริญญาตรี พุทธศาสตรบัณฑิต เป็นคนแรก เรียนจบปริญญา โท จากประเทศอินเดียเป็นคนแรก และสอบบรรจุเป็นอนุศาสนาจารย์กองทัพบกได้เป็น คนแรก ของตําบลทา่ ข้ามอีกเช่นกนั ความสาํ เร็จของขา้ พเจ้าในส่วนน้ีเป็นแรงบันดาลใจ ให้รุ่นน้อง ๆ ถือเป็นแบบอย่าง ได้เดินตามมาศึกษากับพระครูปนาทธรรมคุณ จน สอบ เปรยี ญได้ และจบ ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท ต่อมาอีกนับได้ ๒๑ คน เม่ือเป็นอนุศาสนาจารย์ กองทัพบกแล้ว ได้ปฏิบัติงานในหน้าท่ี อศจ. หลาย พื้นที่ เช่น กรุงเทพมหานคร จังหวัดสระแก้ว จังหวัดสระบุรี และในปีพ.ศ. ๒๕๓๑ ก็ได้ ย้ายไปปฏิบัติหน้าท่ี ณ กรมทหารราบท่ี ๕ ค่ายเสนาณรงค์ อําเภอหาดใหญ่ จังหวัด สงขลา ท่ีเป็นภูมิลําเนาเดิม ได้มีโอกาสสนองงานคณะสงฆ์ และครูบาอาจารย์อย่าง ใกลช้ ิด และอบอุ่นย่ิง โดยเฉพาะได้สืบทอดงาน ศพอ.หาดใหญ่ ท่ีก่อตั้งโดย พ.อ.ประทัย โกศลกุล อดีต อศจ.ผส.๕ ในปี พ.ศ.๒๕๐๗ โดยดํารงตําแหน่งเลขานุการ ศพอ. หาดใหญ่ เป็นคนที่ ๕ ต่อจาก พ.อ. ประทัย โกศลกุล, พ.อ. ศรีสวัสดิ์ แสนพวง, พ.ท. สุรินทร์ พฒั นศิริ และ พ.อ. อรณุ ศภุ รตั นดลิ ก ตามลาํ ดับ ในฐานะเลขานุการ ศพอ.หาดใหญ่ ได้ร่วมกับพระเถระหลายรูป เช่น พระครู โสภณคณุ าทร วัดคลองเปล รเิ ร่มิ จดั โครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อนในนามคณะ สงฆ์อําเภอหาดใหญ่ ร่วมกับ ค่ายเสนาณรงค์ขึ้นเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ.๒๕๓๒ และคร้ัง ต่อมาอีกหลายปี จนทําให้ค่ายเสนาณรงค์กับคณะสงฆ์ มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด จนต่อมา ผบ.จทบ.สข. (ผบ.มทบ.๔๒) ได้รับพระราชทานรางวัลเสมาธรรมจักร เพราะ ผลงานสนับสนุนศพอ.หาดใหญ่ หลายท่านติดต่อกัน ในด้านพิธีกรรม ได้ร่วมกับพระครู อาทรวรคุณ เลขานุการเจ้าคณะจังหวัดสงขลา ปรับปรุงการปฏิบัติพิธีกรรมต่าง ๆ ให้

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๓๘๔ เรียบร้อยข้ึน และปฏิบัติพิธีเป็นแบบอย่างท่ีดี จนเป็นท่ีกล่าวขานกันว่า ถ้ามี พระครู อาทรวรคุณ และ ร.อ.อรุณ นิลสุวรรณ อยู่แล้ว งานพิธีนั้นต้องเรียบร้อย ซึ่งพระครู อาทรวรคุณ พระครูโสภณคุณาทร และ พ.อ.อรุณ นิลสุวรรณ ซึ่งเกิดปี พ.ศ.เดียวกัน กลายเป็นเพอื่ นคูท่ กุ ข์ คยู่ าก ดว้ ยกนั มาจนปัจจบุ นั ในส่วนที่เก่ียวกับพระครูปนาทธรรมคุณ (เทือน ปนาโท) ก็ได้แวะเวียนไปเยี่ยม ไปช่วยงานอย่างสมํ่าเสมอ เห็นว่าท่านมีสุขภาพแข็งแรงดี ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๓๙ พระ ครูปนาทธรรมคุณ ได้เร่ิมก่อสร้างศาลาการเปรียญหลังใหม่ของสํานักสงฆ์วชิรธรรม (เกาะปลัก) ทดแทนหลังเก่าที่ชํารุดทรุดโทรม เพ่ือใช้เป็นสถานที่บําเพ็ญกุศล ศึกษา ธรรมของพระเณรและเป็นท่ีฝึกอบรมเยาวชนให้เป็นหลักฐาน แต่ศาลายังไม่ทันเสร็จ พระครู ปนาทธรรมคุณ ได้มรณภาพลงด้วยโรคลมปัจจุบัน ในวันท่ี ๕ ธันวาคม ๒๕๔๐ สิริรวมอายไุ ด้เพยี ง ๖๗ ปี จากการมรณภาพของพระครูปนาทธรรมคุณ ได้กลายเป็นจุดเร่ิมต้นของข้าพเจ้า ท่ีได้เข้าไปมีบทบาทในการพัฒนาเยาวชนในตําบลท่าข้าม เพ่ือสืบทอดเจตนารมณ์ของ พระครูปนาทธรรมคณุ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งมาจนปัจจุบัน การดําเนินการพัฒนาเยาวชน ตําบล ท่าข้าม (ศอต.ท่าข้าม) จะมีความแตกต่าง จากการดําเนินงาน ศพอ.หาดใหญ่ เพราะว่า งาน ศพอ.หาดใหญ่ เป็นงานเสวยบุญบารมีของครูอาจารย์ที่สะสมสร้างไว้ ให้ท้ังเงิน ท้ัง คน ท้งั ช่ือเสียงของงาน ท่ีคนรู้จักศรัทธาอยู่แล้ว แต่การดําเนินงาน ศอต.ท่าข้ามนั้น เป็น การเสวยวิบากกรรมท่ีต้องสูญเสียอาจารย์ไปอย่างกะทันหัน และท้ิงภาระการสร้างศาลา ไว้เบื้องหลัง จึงต้องใช้ความพยายามอย่างสูงในการสร้างงาน สร้างคน สร้างบารมี ความ ดี และชื่อเสียง เพื่อสืบทอดเจตนารมณ์ของท่านอาจารย์ไว้ ซ่ึงต้องเร่ิมต้นจากศูนย์ (ชีวิต ติดลบ) เพื่อให้เกิดความศรัทธาเชื่อถือ ตรงน้ีเป็นงานที่ท้าทายอย่างย่ิง แต่พยายามทําได้ สําเรจ็ แลว้ ในระดบั หนง่ึ ซงึ่ จะเล่าส่กู นั ฟังต่อไป ๓.แนวทางการดําเนนิ งานพัฒนาเยาวชนของศอต.ท่าข้าม เมื่อพูดถึงแนวทางในการดําเนินงานของ ศอต.ท่าข้าม ถ้าพูดแบบสํานวนของ นายกรัฐมนตรี พล.อ.ประยทุ ธ จันทร์โอชา ก็ใชห้ ลกั ศาสตร์พระราชา ๓ หลัก คือ ยึดหลกั มนั่ คง มง่ั คงั่ และยงั่ ยนื ได้ดังนี้ คือ แนวทางที่ ๑ หลกั การสร้างความมั่นคง ๑. ในปี พ.ศ.๒๕๔๒ หลงั จากพระครปู นาทธรรมคุณ มรณภาพแล้ว ก็ได้ ร่วมกับ พระมหามนตรี สุขขวัญ (ผู้เป็นศิษย์ของพระครูปนาทธรรมคุณ และมีศักดิ์เป็น หลานของขา้ พเจา้ ) ได้มาจําพรรษาที่สาํ นักสงฆ์ วชิรธรรม (เกาะปลัก) เปิดอบรมเยาวชน ขึ้นเปน็ ครั้งแรก โดยเชญิ ชวนเยาวชนในพื้นที่ใกล้เคียง มาทําความดีถวายหลวงพ่อ (พระ ครูปนาทธรรมคณุ ) ในชว่ งเข้าพรรษา ตอนเย็น เวลา ๑๘.๐๐-๒๐.๐๐ น. โดยฝึกการไหว้

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๓๘๕ พระสวดมนต์ นั่งสมาธิ เล่านิทานชาดกให้ฟังแล้วเล้ียงขนม เครื่องดื่ม ตามสมควร ก็มี เยาวชนมาสมัครตั้งแต่ ระดับ อนุบาล จนถึง ม.๓ จํานวนถึง ๖๑ คน พอออกพรรษาก็ มอบเกียรติบัตรให้ในนามเจ้าคณะอําเภอหาดใหญ่ พร้อมด้วยทุนรางวัลการศึกษา ก็เป็น ท่ีฮือฮาพอใจของเยาวชนและผู้ปกครอง ทั่วไป งานช่วงนี้จะทําพร้อมๆกับการหาทุน เตรยี มสรา้ งศาลาการเปรยี ญที่ค้างคาอยู่ และทาํ ต่อเนื่องกันมา ๕ ปี ๒. ในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ เมื่อเห็นแนวทางการอบรมเยาวชนรุ่นเริ่มแรกพอ ไปได้ ในปีนี้ก็ได้จัดทําโครงการจัดต้ังกองทุนมูลนิธิชื่อว่า “กองทุนมูลนิธิพระครูปนาท ธรรมคุณเพื่อการศึกษา” โดยขออนุมัติ พระราชวีราภรณ์ เจ้าคณะจังหวัดสงขลา เป็น ประธานกรรมการกองทุน พ.ท.อรุณ นิลสุวรรณ อศจ.พล.พัฒนา ๔ เป็นเลขานุการ ปรากฏว่า โครงการเร่ิมแรกไดร้ ับเงนิ เขา้ กองทุน ๑๐๐,๐๐๐ กว่าบาท (จากชีวิตเป็นศูนย์ ก็เร่ิมมีเงินเป็นแสน) ทําให้เกิดกําลังใจ มีพลังใจท่ีม่ังคงขึ้น มุ่งมั่นท่ีจะพัฒนาต่อไปให้ดี ย่ิงขึ้น แนวทางที่ ๒ หลักการสรา้ งความมั่งคั่ง ๑. ในปี พ.ศ.๒๕๔๖ ปีน้ีการสร้างศาลาการเปรียญพอใช้ประโยชน์ได้ แล้ว แต่ยังไม่เสร็จสมบูรณ์ จึงได้ขยายผลการฝึกอบรมเยาวชนให้กว้างข้ึนในรูปแบบของ ศูนย์อบรม (ศูนย์วันอาทิตย์) คือเปล่ียนมาอบรมในทุกวันเสาร์ ตอนเช้า เวลา ๐๘.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. บนศาลาการเปรียญหลังใหม่ และได้ขออนุมัติพระเทพวีราภรณ์ เจ้าคณะ จังหวัดสงขลา ออกระเบียบจัดตั้งเป็นศูนย์อบรม ชื่อว่า “ศูนย์ฝึกอบรมศีลธรรมและ วัฒนธรรมเยาวชน ตําบลท่าข้าม” โดยพระเทพวีราภรณ์ เจ้าคณะจังหวัดสงขลา ในนามประธานกองทุนมูลนิธิพระครูปนาทธรรมคุณเพื่อการศึกษา ลงนามแต่งต้ังให้ พระครูชยุตสุตคุณ เจ้าคณะตําบลท่าข้าม เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ นายสินธน อินทรัตน์ นายก อบต.ท่าข้าม เป็นประธานฝ่ายคฤหัสถ์ และ พ.ท.อรุณ นิลสุวรรณ เป็นเลขานุการ ผลปรากฏว่า ไดพ้ ฒั นายกระดับ ฐานะของศนู ย์อบรมเป็นรูปแบบ มีระบบขึ้น แต่ยังไม่ได้ จดทะเบียนกับกรมการศาสนา ส่วนการเรียนการสอน ก็ใช้รูปแบบของ ศพอ.หาดใหญ่ ขอสนับสนุนพระอาจารย์ จากวัดหงส์ประดิษฐาราม มาช่วยสอน บางทีพระอาจารย์ติด ศาสนกิจ ก็ต้องสอนคนเดียว เมื่อต้องสอนคนเดียว ก็ต้องวางแผนดังน้ี คือ ตอนเย็นวัน ศุกร์ เตรียมซ้ือขนม-นม-เครื่องด่ืม ใส่รถกระบะ เตรียมพร้อมไว้ทุกวัน พอเช้าวันเสาร์ ออกจากบ้านมาแต่เช้า วิธีการสอนคือ ๐๘.๐๐ น. ฝึกการไหว้พระสวดมนต์ น่ังสมาธิ ก่อน เวลา ๐๙.๐๐ น. พักทานอาหารว่าง (ขนม-นม ที่เตรียมมา) เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๐.๓๐ น. อบรมเน้ือหาวิชาการ จะสอนเรื่องอะไร ก็ออกเป็นแบบฝึกหัดมา ๒๐ - ๓๐ ข้อ ให้นักเรียนฝึกคิด-ทํา พอนักเรียนทําเสร็จก็จะเฉลย ช่วงที่เฉลย ก็ถือโอกาสพูดอบรมไป ด้วยตามเนื้อหาแบบฝึกหัดแล้วบันทึกผลคะแนนของนักเรียนทุกคนไว้ พอครบเทอม ก็

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๓๘๖ รวมคะแนนเหมือนคะแนนสอบ แล้วให้ทุนรางวัลตามผลงานที่ทํา เวลา ๑๐.๓๐ น. ก็ เลี้ยงอาหารกลางวันอีกรอบหน่ึง ก่อนกลับบ้าน เวลา ๑๑.๐๐ น. สรุปผลงานประจําวัน รวมถึงความดีความชอบของทุกคนต่อเน่ือง กิจกรรมจะดําเนินไปทํานองนี้ ประเมินแล้ว นักเรียน พอใจ การอบรมเป็นไปด้วยความเรียบร้อยดี แต่ถ้าวันใดพระอาจารย์มาสอน ครบ ก็แยกย้ายกนั เขา้ ชนั้ เรยี น ตามรปู แบบ ศพอ.นนั่ เอง ๒. ในปี พ.ศ. ๒๕๔๘ คณะสงฆ์จังหวัดสงขลา ได้เปิดหน่วยวิทยบริการ มจร.สงขลา ขึ้นที่วัดหงส์ประดิษฐาราม พ.ท.อรุณ นิลสุวรรณ ได้รับเชิญให้เป็นอาจารย์ สอนด้วย ก็ได้มีโอกาสพูดคุยเร่ืองการสอนอบรมเยาวชน ให้นิสิตฟัง และซักชวนให้ไปจํา พรรษา และสอนเยาวชน ทส่ี าํ นักสงฆ์วชริ ธรรม (เกาะปลัก) โดยต้ังปณิธานไว้ในใจว่า ถ้า พระนิสิตรูปใด ไปช่วยสอน ก็จะรับเป็นผู้อุปถัมภ์ค่าเทอม และค่าใช้จ่ายให้ท่าน จนจบ ปริญญาตรี ผลปรากฏว่า มีสมัคร ๒ รูป คือ พระเกียงไกร กับ พระพงษ์ศักด์ิ ได้มาเปิด สอนแบบธรรมศึกษาข้นึ เป็นปแี รก มเี ยาวชนสมัครเขา้ สอบ ๑๙ คน สอบได้ ๑๘ คน โดย สง่ ไปร่วมสอบ ณ สนามสอบ วัดหงส์ประดษิ ฐาราม เมื่อมีเยาวชน สอบธรรมศึกษาตรีได้ ชื่อเสียงก็ขจรขจายไป ผู้ปกครอง ก็ดีใจ โรงเรียนก็ภูมิใจ มีผลทําให้เยาวชนมาสมัครเรียนมากข้ึน การสนับสนุนทุน ดําเนินงานก็ง่ายข้ึน โดยเฉพาะ นายก อบต.ท่าข้าม ได้จัดงบอุดหนุนให้ปีละ ๕๐,๐๐๐ บาท ทําใหฐ้ านะของ ศอต.ท่าข้าม หรือ พ.ท.อรุณ นิลสุวรรณ หรือ ตารุณ-ลุงรุณ เริ่มติด ปาก ติดใจ เยาวชน และชุมชนมากข้ึนเรอ่ื ยๆ ๓. ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ เมื่อเยาวชน สมัครสอบธรรมศึกษามากข้ึน ก็มีอุป สรคในเร่ืองสถานท่ีสอบธรรมศึกษา ที่เคยไปร่วมสอบกับวัดหงษ์ประดิษฐาราม สถานท่ี ก็ไม่เพียงพอ จึงได้ขออนุมัติพระเทพวีราภรณ์ เจ้าคณะจังหวัดสงขลา ลงนามหนังสือขอ ใช้สถานที่ของโรงเรียนหาดใหญ่พิทยาคม ซึ่งอยู่ในตําบลทุ่งใหญ่ ติดกับตําบลท่าข้าม ให้ เป็นสนามสอบธรรมศึกษาประจําปี ของคณะสงฆ์ตําบลท่าข้าม ผลการประสานงาน เป็นไปด้วยดีเพราะทางโรงเรียนหาดใหญ่พิทยาคม มีความประสงค์จะให้นักเรียนเข้า สอบธรรมศึกษาอยู่ด้วยแล้ว จึงทําให้โรงเรียนระดับประถมศึกษาในตําบลท่าข้ามและ ตําบลทุ่งใหญ่ ท่ีเป็นเครือข่ายสมาชิกของ ศอต.ท่าข้าม ได้ร่วมสอบธรรมศึกษา ณ โรงเรียนหาดใหญ่พทิ ยาคม ท้ังหมดทกุ โรงเรียน ผลดีท่เี กิดขึ้น คอื ๑. นักเรียนท่มี าเรียน ศอต.ท่าข้าม มีสถานท่ีสอบธรรมศึกษาใกลบ้ า้ น ๒. พระอาจารย์ ศอต.ทา่ ขา้ ม ได้มโี อกาสไปสอนธรรมศึกษาในโรงเรียนหาดใหญ่ พิทยาคม ได้ขยายสมาชิกเครือขา่ ยกว้างขวางมากขนึ้ ๓. นักเรียนระดับประถมศึกษาได้มีโอกาสเข้าเรียน ช้ัน ม.๑ ท่ีโรงเรียนหาดใหญ่ พิทยาคม เพ่ิมมากข้ึน

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๓๘๗ ๔. ลูกหลานเยาวชนในตําบลท่าข้าม ตําบลทุ่งใหญ่ ที่ไม่ชอบเรียนธรรมะ พอไป เรียน ม.๑ ท่ีโรงเรียนหาดใหญ่พิทยาคม ก็ถูกบังคับให้สอบธรรมศึกษาทุกคน ก็ต้องพบ ตารุณท่ีนั่น เรียกว่า หนีตารุณ – ไม่พ้นเลยทีเดียว และในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ น้ี เกียรติคุณ ความดีของ ศอต.ท่าข้ามได้ขจรขจายไปอีกขึ้นหนึ่ง น้ันคือ นายเอกพงษ์ อิสโร ลูกศิษย์ รุ่นแรก ปี พ.ศ.๒๕๔๒ ซึ่งกําลังเรียนอยู่ชั้น ม.ปลายของโรงเรียนหาดใหญ่พิทยาคม ได้ ริเร่ิมขอเปิดโครงการอบรมเยาวชนภาคฤดูร้อนข้ึนท่ี ศอต.ท่าข้าม สํานักสงฆ์วชิรธรรม (เกาะปลกั ) ในช่วง ๑-๓๐ เมษายน ๒๕๔๙ โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ ๓ ประการ คือ ๑. เพือ่ ฝึกอบรมเยาวชนในห้วงปดิ ภาคเรยี น ๒. เพือ่ ส่งเสรมิ ความรกั ความสัมพนั ธ์อนั ดีระหวา่ ง พๆ่ี นอ้ งๆ ในชมุ ชน ๓. เพื่อเสริมสร้างให้พี่ๆ เป็นผู้นําท่ีมีจิตอาสา กล้าแสดงออก มีใจรัก และรจู้ กั ทํางานกันเปน็ ทีม เมื่อพิจารณาข้อเสนอแล้ว เห็นว่า เป็นความริเร่ิมที่ดี ก็อนุมัติให้ดําเนินการและ ได้บรรจุโครงการน้ี เป็นโครงการของ ศอต.ท่าข้าม และดําเนินการพัฒนาต่อเน่ืองมาจน ปจั จุบนั เป็นปที ่ี ๑๔ แล้ว น่ีคือ แนวทางที่พัฒนาสร้างความมั่งค่ัง หรือ ขยายผลงาน ศอต.ท่าข้ามให้ ก้าวหน้ากวา้ งขวางข้ึนดว้ ยดี แนวทางท่ี ๓ หลักการสร้างความยั่งยืน มาถึงตอนน้ี งานอบรมเยาวชนของ ศอต.ทา่ ข้าม มงี านหลกั ๆ อยู่ ๒ งาน (โครงการ) คอื ๑. โครงการอบรมเยาวชนภาคพรรษา อบรมในช่วงเดือน ก.ค.-ธ.ค. ของทกุ ปี เป็นการอบรมในรูปแบบหลักสูตรธรรมศึกษา ตรี โท เอก รับสมัครเยาวชน ใน ระดับ ป.๓-ม.๓ ชั้น ป.๓-๔ อบรมปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมพื้นฐาน และปูพ้ืนเพ่ือ เตรียมสอบธรรมศึกษา ส่วนในระดับช้ัน ป.๕ ข้ึนไปสอนเพ่ือส่งเข้าสอบธรรมศึกษา ประจําปีของคณะสงฆ์ กลุ่มเยาวชนเป้าหมายในโครงการนี้ คือ นักเรียนจากโรงเรียนใน ตําบลท่าข้าม ๔ โรงเรียน คือ รร.วัดหินเกล้ียง รร.วัดท่าข้าม รร.วัดเขากลอย และรร.วัด แม่เตย ในตําบลทุ่งใหญ่มี ๓ โรงเรียน คือ รร.วัดพรุเตาะ รร.บ้านทุ่งใหญ่ และ รร.บ้าน ทุ่งงาย ถ้ารวม รร.หาดใหญ่พิทยาคม ซ่ึงเป็นโรงเรียนระดับมัธยมด้วย เป็น ๘ โรงเรียน มนี ักเรยี นเปา้ หมาย ๓๐๐ – ๔๐๐ คน วิธีการจัดการเรียนการสอน รร.วัดหินเกลี้ยง รร.วัดเขากลอย รร.วัดพรุ เตาะ รร.วัดท่าข้าม และ รร.บ้านทุ่งใหญ่ ให้นักเรียนมาเรียนในวันเสาร์ ณ ศอต.ท่าข้าม เวลา ๐๘.๐๐ – ๑๒.๐๐ น.

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๓๘๘ ส่วน รร.วัดแม่เตย รร.บ้านทุ่งงาย และ รร.หาดใหญ่พิทยาคม จะจัดครูไปสอนใน โรงเรียน ไมต่ ้องจัดเลีย้ งอาหาร-เครอ่ื งดื่ม ข้อตกลงสาํ หรบั นักเรียน ๒ กลุ่มน้ีคอื ๑. ถ้ามาเรียนที่ ศอต.ท่าข้าม จะได้รับสิทธ์ิ คือ เมื่ออบรมจบ หลักสูตรจะได้รับทุนการศึกษาตามความสามารถทุกคน และถ้าสอบธรรมศึกษาได้ ก็จะ ไดร้ บั ทนุ อกี ๕๐๐ บาท (ได้ ๒) ๒. ถ้าครูไปสอนในโรงเรียน จะได้ทุนการศึกษาเมื่อสอบธรรม ศึกษาได้เท่านั้น (ได้ ๑) การรับทุนการศึกษาของนักเรียนผู้เข้าอบรมโครงการน้ี กําหนด ในวันอาทิตย์ท่ี ๒ ของเดือน ธันวาคม ซ่ึงตรงกับวันทําบุญครบรอบวันมรณภาพของพระ ครปู นาทธรรมคุณ (เทือน ปนาโท) ประจาํ ปี จะมีการเชิญทําบุญทอดผ้าป่าสามัคคีสมทบ ทุนมลู นธิ ดิ ้วย สาํ หรบั ครสู อนปจั จุบนั มีครูจิตอาสา เปน็ หลักอยู่ ๔ ทา่ น คือ ๑. พ.อ.อรุณ นิลสุวรรณ ๒. นายป้อน ณ มณี (ลูกศิษย์พระครูปนาทธรรมคณุ ) ๓. นายฉลอง เพ็ชรขาว (ลูกศิษย์พระครปู นาทธรรมคุณ) ๔. นายอดิเรก แก้วมณีโชติ (ศิษย์เก่า ศอต.ท่าข้าม จบ ปริญญาตรพี ทุ ธศาสตรบณั ฑิต) โครงการอบรมเยาวชนภาคพรรษาน้ีจะมีนักเรียนประมาณ ๑๐๐ – ๑๕๐ คน กลุ่มนี้ต้องบริหารจัดการเร่ืองอาหาร ขนม และเครื่องด่ืมบริการเป็น ประจาํ ทุกวัน ๒. โครงการอบรมเยาวชนภาคฤดูร้อน (โครงการพี่สอนน้อง) อบรม ในช่วงวันท่ี ๑ - ๓๐ เมษายน ช่วงปิดภาคเรียนของทุกปี รับสมัครเยาวชน ต้ังแต่ ป.๑ - ม.๓ (บางทีน้องอยู่ช้ันอนุบาลตามพี่มา ก็รับให้เรียนด้วย) กิจกรรมการเรียนการสอน คือ สอนวิชาสามัญศึกษา ภาษาไทย อังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา กิจกรรมไหว้พระสวดมนต์ นั่งสมาธิ มารยาทไทย รวมถึงกิจกรรมนันทนาการ และการ แขง่ กฬี าสดี ้วย เพื่อใหน้ ้องๆ มีความรักผูกสัมพนั ธก์ นั กลุ่มเยาวชนเป้าหมายของโครงการนี้ นอกจากเยาวชนใน โรงเรียน ๘ โรงเรียนข้างต้นแล้ว จะมีเยาวชนที่เรียนโรงเรียนในเมือง หรือต่างอําเภอ ต่างจังหวัด ด้วย เน่ืองจากเด็กบางคนปิดเทอมแล้วมาอยู่บ้านปู่ย่า ปู่ย่าก็พามาสมัครเข้า อบรมดีกว่าซนอยู่กับบ้านเฉยๆ ไม่ได้อะไร โครงการน้ี เน้นความรักผูกพันกันระหว่างพี่ๆ นอ้ งๆ แตม่ กี ารประเมนิ ผลทางวิชาการและมอบทุนการศกึ ษาแก่ผู้เขา้ อบรมทกุ คนด้วย ผลดีของโครงการนี้ นอกจากประเด็นความรักของพี่น้องแล้ว ยังเป็นช่องทางประชาสัมพันธ์กิจกรรม ศอต.ท่าข้าม ได้กว้างไกล เพราะผู้ปกครองท่ีอยู่

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๓๘๙ ไกลมาเห็นแล้วเกิดศรัทธา หรือเห็นผลดีที่เกิดกับลูกหลาน ก็ช่วยกันแนะนําบอกล่าว แถมบางคร้งั ยงั ชกั ชวนมาเป็นเจ้าภาพเล้ียงอาหารเด็กๆ อกี ด้วย จากโครงการที่ทําประจํา ๒ โครงการนี้ ก็สะท้อนให้เห็นความม่ันคงของ ศอต.ท่าข้ามได้แล้วส่วนหนึ่ง แต่เพ่ือให้ผลการพัฒนาอย่างย่ังยืนและต่อเน่ือง ก็ได้ กําหนดแนวนโยบายกับเยาชนผทู้ ่มี าเขา้ อบรมไวอ้ ีกวา่ ๑. นักเรียนที่เข้าอบรม ณ ศอต.ท่าข้าม ถ้าทําดีจะได้รับรางวัล ทกุ คน (ใช้สโลแกนวา่ ทนี่ ่.ี ...ใครทาํ ดี มรี างวัลมอบใหท้ กุ คน) ๒. ผู้ทเ่ี ขา้ อบรมจบหลักสูตรและสอบธรรมศึกษา จะได้ทุนรางวัล ๒ คร้ัง คือ ขณะเข้าอบรม จบหลกั สูตร ๑ ครั้ง และเมอ่ื สอบธรรมศึกษาได้ จะได้อีก ๑ ครงั้ ๓. ผู้ท่ีเข้าอบรมตั้งแต่ ป.๓ - ม.๓ รวม ๗ ปี หรืออย่างน้อย ๕ ปี จนจบ ม.๓ จะไดร้ บั ยกย่องเปน็ นักเรยี นดีเดน่ ได้รบั โลป่ ระกาศเกยี รตคิ ุณ ๑ โล่ ทุกคน ๔. ผู้ท่ีเรียนตั้งแต่ ป.๓ - ม.๓ จบ ม.๓ แล้ว ถ้ายังเรียนต่อ ม.๔ หรือ ปวช. จะพจิ ารณาใหเ้ ปน็ ครสู อนน้องโครงการอบรมภาคฤดูร้อนประจําปี ๕. ผู้ที่เรียนตั้งแต่ ป.๓ - ม.๓ ถ้าเป็นครูสอนน้องต่อเนื่องจนจบ ม.๖ หรอื ปวส. หรือ รบั ภาระเป็นหวั หน้าโครงการ จะไดร้ ับโล่ประกาศเกียรตคิ ณุ อกี ๑ โล่ ๖. ผทู้ เ่ี รยี นตั้งแต่ ป.๓ – ม.๓ และเป็นครูสอนน้องดีเด่นหรือเป็น หัวหน้าโครงการภาคฤดูร้อน เม่ือเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย จะได้รับทุนการศึกษาอย่าง ตอ่ เน่อื งจนจบปริญญาตรี น่ีคือหลักนโยบายการสร้างความย่ังยืนให้กับเยาวชนของ ศอต.ท่าข้าม ทําให้ นักเรียนมองเห็นสิทธิประโยชน์ท่ีตนจะได้รับเม่ือมาศึกษาและทํากิจกรรมกับศอต.ท่า ข้าม ทําให้นักเรียนส่วนใหญ่ตั้งใจเรียนต้ังแต่ ป.๓-ม.๓ ได้รับโล่นักเรียนดีเด่นไปแล้ว ไม่ ต่ํากว่า ๓๐ คน และท่ีมาเป็นครูสอนน้อง หรือ เป็นหัวหน้าโครงการอบรมเยาวชนภาค ฤดูร้อน และได้รับทุนการศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวน ๑๑ คน ถือเป็นผลงานการ พัฒนาเยาวชนของ ศอต. ท่าข้าม ท่ีดําเนินการมาตั้งแต่ ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ จน ปัจจุบัน รวม ๒๒ ปี ทเี่ ปน็ รปู ธรรม แม้จะมีจํานวนน้อย แต่เหมาะสมกับฐานะของ ศอต.ท่าข้าม ท่เี ป็นสาํ นกั สงฆ์เล็กๆ

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๓๙๐ ๔. บทสรปุ ปัจจุบัน “ศูนย์ฝึกอบรมศีลธรรมและวัฒนธรรมเยาวชนตําบลท่าข้าม” (ศอต.ทา่ ข้าม) ได้จดทะเบียนเป็น “ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์” ในนามของ วัดหินเกล้ียง ซึ่งเป็นวัดที่พระครูปนาทธรรมคุณ (เทือน ปนาโท) เคยดํารงตําแหน่งเจ้า อาวาส เป็นหน่วยงานเผยแผ่ธรรมของกรมการศาสนา ทะเบียนเลขท่ี ๑/๒๕๕๙ แต่เปิด ดาํ เนินการ ณ สาํ นักสงฆ์วชิรธรรม (เกาะปลัก) ใช้ชอ่ื ย่อวา่ “ศอต.ทา่ ขา้ ม” เหมอื นเดมิ นับเปน็ การพฒั นามาสู่ความม่ันคง มั่งคั่ง และย่ังยืน ท่ีสมบูรณ์ ในระดับ หน่ึง ซ่ึงได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกรมการศาสนา อบต.ท่าข้าม ดอกผล กองทุนมูลนิธิ พระครูปนาทธรรมคุณ เพื่อการศึกษาคณะสงฆ์ และผู้มีจิตศรัทธาทั่วไป และโดยบารมีคุณความดีของท่านพระครูปนาทธรรมคุณ (เทือน ปนาโท) ถือเป็น ต้นทุนหลักท่ีสําคัญท่ีทําให้ภารกิจ ศอต.ท่าข้าม ดําเนินไปข้างหน้าอย่างย่ังยืนต่อไปไม่ ขาดสาย คณะศิษย์ผู้ดําเนินงานต่างสํานึกในอุปการคุณของพระครูปนาทธรรมคุณ ยึดถือ คตธิ รรมประจาํ ใจอยเู่ สมอวา่ ยดึ มนั่ กตญั ญู เชิดชูครอู าจารย์ สืบทอดปณิธาน ใหก้ ารศกึ ษาแกเ่ ยาวชน สง่ เสริมคนดี เพ่ือทดแทนคณุ แผน่ ดนิ . น่คี อื เรอ่ื งเล่า เกย่ี วกบั บทบาทของอนุศาสนาจารย์ ท่ีดําเนินการพัฒนาเยาวชน ของ ศอต.ท่าข้าม นํามาเล่า เพื่อเป็นแบบอย่างต่อไป ติดตามชมภาพกิจกรรมได้ท่ี QR.code

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๓๙๑ การพฒั นาสมรรถนะอนุศาสนาจารยท์ หารบกไทยเชิงพทุ ธบูรณาการ The Competency Development of The Royal Thai Army’s Chaplains Based on Buddhist Integration พนั เอก อคั รนิ ทร์ กาํ ใจบญุ 122 .......................... บทคดั ยอ่ บทความน้ีเป็นบทความจากงานวิจัยเร่ือง “การพัฒนาสมรรถนะอนุศาสนาจารย์ ทหารบกไทยเชิงพุทธบูรณาการ” ผลการวิจัยพบว่า ทฤษฎีท่ีเกี่ยวกับการพัฒนา สมรรถนะ คือ ทฤษฎีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ทฤษฎีการพัฒนาสมรรถนะ และ ทฤษฎีวงจรการบริหารคุณภาพ PDCA ซ่ึงสมรรถนะท่ีต้องการพัฒนามี ๓ อย่าง คือ สมรรถนะทางกาย สมรรถนะทางจิตใจ และสมรรถนะทางปัญญา โดยมุ่งหวังผลคือการ ใช้สมรรถนะท่ีได้รบั การพัฒนาแล้วเหลา่ นเ้ี พอ่ื ขับเคลื่อนการปฏิบัตภิ ารกิจซ่ึงเป็นบทบาท และหน้าที่ของอนุศาสนาจารย์ทหารบกไทยที่สําคัญ๔ ด้านคือ๑) การอบรมการสอน ศีลธรรม ๒)การปฏิบัติธรรม ๓) การปฏิบัติศาสนพิธี และ ๔) การเยี่ยมไข้การพัฒนา สมรรถนะสามารถนําหลักพุทธธรรมมาบูรณาการคือ ๑) อิทธิบาท ๔,๒)พรหมวิหาร ๔,๓) ภาวนา ๔,๔)กัลยาณมิตรธรรม ๗, ๕) ธรรมเทสกธรรม ๕, ๖) เทศนาวิธี ๔, และ ๗) อนศุ าสนีปาฏหิ ารยิ ์ การนําหลักธรรมมาผสมผสานเข้าเป็นวิถีการดําเนินชีวิต แนวทางการพัฒนา สมรรถนะอนุศาสนาจารย์ทหารบกไทยเชิงพุทธบูรณาการ เรียกว่า PACKED MODEL ประกอบด้วย P = Planning การวางแผนเตรียมการเพื่อการปฏิบัติ A = Army’s Goal เป้าหมายของกองทัพบกหรือผลที่ต้องการบรรลุถึง C = Cooperation ความร่วมมือกัน ทั้งทางด้านกายภาพจิตใจและสติปัญญา มีการประสานงานกันอย่างใกล้ชิด K = Kick- off คือการเร่ิมต้นลงมือปฏิบัติอย่างจริงจัง E = Elation อนุศาสนาจารย์มีความ ภาคภูมิใจในบทบาทและหน้าที่ของตนเอง D = Dharma คือ หลักธรรมะ อนุศาสนาจารย์ นําหลักธรรมในทางพระพุทธศาสนาดังกล่าวแล้วมาประยุกต์ใช้ เพ่ือนําไปสู่ความมี คุณภาพแหง่ สมรรถนะทางกายทางจติ ใจและทางปัญญา คําสาํ คัญ: การพัฒนาสมรรถนะ อนศุ าสนาจารย์ทหารบกไทย พุทธบรู ณาการ 122หน.อบรม กอศจ.ยศ.ทบ. ,นิสิตพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๓๙๒ Abstract This article from the dissertation entitled ‘The Competency Development of The Royal Thai Army’s Chaplains Based on Buddhist Integration’. This is a qualitative research done by studying documentaries, in-depth interview and focus group discussion. In the research, it was clearly found that the theories concerning with the competencies refer to the theories of human resource development, theory of competency, and theory of PDCA wherein the desirable competencies are primarily of three aspects: physical, mental and intellectual competency; each theory is purposely assigned to utilize the developed competency to effectively drive the Royal Thai Army’s chaplains’ roles and duty into the following four categories: 1) teaching and training of morality, 2) practicing Dhamma, 3) performing religious rites, and 4) attending of sick person. In these matters, the Buddhist integrated development of competencies are actualized through: 1) four paths of accomplishment, 2) four sublime states of mind, 3) four kinds of development, 4) seven qualities of a good friend, 5) five qualities of a preacher, 6) four Buddhist styles of teaching, and 7) marvel on teaching. In the application of the integrated Buddhist teachings into ways of life, it showed that the guidelines to develop the Royal Thai Army’s chaplains’ competencies are called PACKED MODEL comprising of P meaning Planning to perform, A meaning Army’s Goal referring to the Royal Thai Army’ s goal or expected result, C meaning Cooperation where physical, mental and intellectual cooperation are closely given, K meaning Kicking-off referring to making an effort in doing what is assigned, E meaning Elation whereby all chaplains are proud of their roles an duty, D meaning Dhamma by which all chaplains put the Buddhist teachings into their practice in order to get the physical, mental and intellectual competencies respectively. Keywords:Competency Development,The Royal Thai Army’s Chaplains, Buddhist Integration.

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๓๙๓ ๑. บทนาํ การทหารมีไว้ท้ังเพื่อการสงครามและมิใช่สงครามคือทั้งการรบและมิใช่การ รบ และส่วนอันสําคัญท่ีมิใช่การรบก็คือการพัฒนาประเทศการปฏิบัติการทางทหารด้าน การรบ ปัจจัยสําคัญที่จะนําไปสู่ความสําเร็จแห่งชัยชนะซ่ึงถือว่าเป็นพลังอํานาจทาง การทหาร ประกอบด้วย ๒ ส่วน คือ พลังอํานาจกําลังรบท่ีมีตัวตน เช่น กําลังพล ย า น พ า ห น ะ แ ล ะ อ า วุ ธ ยุ ท โ ธ ป ก ร ณ์ แ ล ะ พ ลั ง อํ า น า จ กํ า ลั ง ร บ ที่ ไ ม่ มี ตัวตน (Intangible) เช่น ความกล้าหาญ ความเสียสละ ความอดทน เห็นได้ว่าคนเป็นได้ ทั้งกําลังรบท่ีมีตัวตนและไม่มีตัวตน123ขึ้นชื่อว่าสงครามแม้จะพยายามลดโทษให้น้อยลง เท่าไหร่แล้วก็ตาม ก็ยังเป็นท่ีสยดสยองแก่มวลมนุษย์ชาติอย่างเหลือที่จะพรรณนาอยู่ น่ันเอง ซ่ึงสิ่งท่ีดีท่ีสุด คือ สันติภาพ ความสงบเป็นส่ิงอันประเสริฐ หนทางท่ีจะบรรเทา ความร้ายกาจของสงครามท่ีเช่ือกันว่าได้ผลมากก็คือการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Development : HRD) ด้วยการให้การศึกษา เพราะการศึกษาจะ กระทําให้บคุ คลเปน็ อารยะชน และในท่ีสดุ กจ็ ะมหี ริ แิ ละโอตตปั ปะ124 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ คือ การทําให้มนุษย์เจริญขึ้นมีสมรรถนะมากข้ึน จนกลายเป็นทรัพยากรที่มีค่าในสังคมและในประเทศ กระบวนการท่ีส่งเสริมให้บุคคล เพิ่มพูนความรู้และทักษะมีพฤติกรรมการทํางานที่เหมาะสมกับงานท่ีรับผิดชอบ ซ่ึงเป็น การเพ่ิมสมรรถนะของบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพการพัฒนา สมรรถนะของมนุษย์จึงเป็นสิ่งท่ีสําคัญในกระบวนการพัฒนาประเทศ ท้ังนี้ เพราะมนุษย์ เป็นทรัพยากรท่ีมีค่ายิ่งกว่าทรัพยากรธรรมชาติใดๆ รัฐบาลจึงให้ความสําคัญกับการ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มากย่ิงข้ึนเพราะได้เล็งเห็นแล้วว่า แม้จะมีทรัพยากรธรรมชาติ จํากัด แต่ถ้าพลเมืองในประเทศมีคุณภาพมีสมรรถนะดีมีการศึกษามีความสํานึกดีในการ ใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ประเทศชาติย่อมมีความเจริญก้าวหน้า ในทํานองเดียวกัน ถ้า ประเทศใดประกอบด้วยพลเมืองที่ไร้คุณภาพ แม้จะมีทรัพยากรธรรมชาติอย่างอุดม สมบูรณ์เพียงใด ก็ไม่สามารถรักษาทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีอยู่และใช้ทรัพยากรน้ันให้ คมุ้ ค่าได้ การจะพัฒนาบุคลากรขององค์กร จําเป็นจะต้องมีการประเมินความสามารถ ของบุคลากรในองค์กรให้รู้ว่า มีจุดแข็งอะไรที่ต้องส่งเสริมสนับสนุน และมีจุดอ่อนอะไรท่ี 123คงชพี ตนั ตระวาณิชย์, พันตรี, “คุณภาพชีวิตการทํางานของนายทหารช้ันประทวน สังกัด กรมทหารราบที่ ๑ มหาดเล็กรักษาพระองค์”, วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(รัฐศาสตร์), (บัณฑิต วทิ ยาลัย: มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร,์ ๒๕๔๓), หน้า ๒. 124กองทัพบก, ตํารายุทธศาสตร์ของกรมยุทธการทหารบก, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์อรุณ การพมิ พ,์ ๒๔๗๐), หนา้ ๑๔.

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๓๙๔ ต้องปรับปรุงแก้ไข การพัฒนาท่ีสําคัญ คือ ต้องให้รู้เท่าทันความเป็นไปของความ เปล่ียนแปลงและตอบรับความต้องการของโลกในอนาคต ทรัพยากรมนุษย์เป็น องค์ประกอบที่สําคัญย่ิงอย่างหน่ึงขององค์กร เพราะจะเป็นผู้นําเอาทรัพยากรด้านอื่นๆ ของ องค์กรในการที่มีอยู่อย่างจํากัดมาใช้เพ่ือให้เกิดประโยชน์แก่องค์กรให้มากที่สุด ทั้งยัง เป็นผู้จัดการหรือดําเนินงานให้แก่องค์กรในการที่จะแสวงหาทรัพยากรอื่นๆ ที่จําเป็น ให้แก่องค์กรด้วย หากบุคลากรเป็นผู้ขาดประสิทธิภาพ ทรัพยากรต่างๆ เหล่าน้ัน ก็จะถูก นําไปใช้สอยอย่างไร้ประสิทธิภาพ ดังน้ัน การพัฒนาบุคลากรเป็นสิ่งจําเป็นต่อ ประสิทธิภาพงานเป็นอย่างมาก จําเป็นต้องมีการอบรมแนะนําแก่ผู้เข้าทํางานใหม่ หรือ แมผ้ ทู้ ีไ่ ด้เข้าทํางาน มานานแล้วก็ควรมีการอบรมเพ่ือพัฒนาสมรรถนะให้ก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกซ่ึง มกี ารเปล่ยี นแปลงอย่ตู ลอดเวลา125 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเลื่อมใสและใฝ่พระราชศรัทธา ในพระบวรพุทธศาสนาเป็นอย่างยิ่ง ท้ังในทางปริยัติและทางปฏิบัติ ทรงพระราชนิพนธ์ หนังสือเก่ียวกับธรรมะไว้เป็นจํานวนมาก กับได้ทรงริเร่ิมให้มี “อนุศาสนาจารย์” เกิดขึ้น เป็นครั้งในกองทัพบก เพ่ือเป็นที่ปรึกษาและเป็นผู้ปลุกปลอมใจแก่บรรดาทหารหาญ126 ดังพระราชปรารภเมื่อคราวท่ีได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กระทรวงกลาโหมจัดส่ง กองทหารอาสาไปช่วยราชสัมพันธมิตรในงานราชการสงคราม โดยมีกระแสพระราช ปรารภ ใจความว่า “ทหารท่จี ากบ้านเมืองไปคราวนี้ต้องไปอยู่ในถ่ินไกล ไม่ได้พบเห็นพระ เหมอื นอยใู่ นบ้านเมอื งของตน จิตใจจะเหินห่างจากธรรมะ ถึงยามคะนองก็จะฮึกเหิมเกินไป เป็นเหตุให้เส่ือมเสีย ไม่มีใครจะคอยให้โอวาทตักเตือน ถึงคราวทุกข์ร้อน ก็อาดูร ระสํ่าระสาย ไม่มีใครจะช่วยปลดเปล้ืองบรรเทาให้ ดูเป็นการว้าเหว่น่าอนาถ ถ้ามี อนุศาสนาจารย์ออกไป จะได้คอยอนุศาสน์พรํ่าสอนและปลอบโยนปลดเปล้ืองในยาม ทุกข์”127 คําว่า “อนุศาสนาจารย์” จึงเป็นพระราชมติท่ีทรงเร่ิมบัญญัติขึ้นในราชการ คราวนนั้ เปน็ คร้งั แรก การใหก้ ารศกึ ษาด้านการพระศาสนาในหน่วยงานทหารเพื่อให้บรรลุผลตามท่ี ต้องการ ผู้ที่ถ่ายทอดต้องใช้ความรู้ความสามรถและความพยายามเป็นอย่างมาก และ 125สมาน รักสิโยกฤฎ์, ความรู้ท่ัวไปเก่ียวกับการบริหารงานบุคคล, พิมพ์ครั้งท่ี ๑๓, (กรุงเทพมหานคร:สวัสดิการสํานกั งาน กพ., ๒๕๓๐), หน้า ๘๓. 126ปธาน ทองขุนนา, พันเอก, “รัชกาลที่ ๖ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว”, นิตยสาร ยุทธโกษ, อรุณการพมิ พ์, ปที ี่ ๑๒๕ ฉบับที่ ๑ (ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๕๙): หน้า ๒. 127กองทัพบก, คู่มือการอนุศาสนาจารย์กองทัพบก, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์กรมยุทธศึกษา ทหารบก, ๒๕๓๘), หน้า ๔.

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๓๙๕ ถึงแม้จะมีอุปสรรคขัดขวาง ก็ควรต้องใช้ความพยายามขจัดสิ้นไปให้จงได้ จึงจะได้ ผลสําเร็จ นั่นคือ ทหารของชาติยึดม่ันอยู่ในความประพฤติดี มีศีลธรรมจรรยางดงาม คู่ควรแก่ศักด์ิศรีแก่การเป็นร้ัวของชาติ และรักษาความม่ันคงของชาติให้ย่ังยืนตลอดไป โดยสภาพบรรยากาศของกองทพั นั้น สายการบังคับบัญชา ทําให้คนท่ีมีอํานาจโดยเฉพาะ ผู้ท่ีข้ึนสู่อํานาจโดยวิถีที่ไม่ถูกต้องตามระบบ รู้สึกโดดเดี่ยว ว้าเหว่ ไม่ปลอดภัย เกิดความ กลัว ไม่มั่นใจ หวาดระแวงว่าอํานาจจะลดลง จึงพยายามท่ีหาเวทย์มนต์คาถา การ สะเดาะเคราะห์ การสืบชะตามาช่วย ปรากฏการณ์เช่นนี้บ่งบอกถึงความไม่ม่ันใจใน หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา128 บทบาทหรือภารกิจของอนุศาสนาจารย์ในปัจจุบันตามที่ได้รับมอบหมายจาก กองทัพบกมีหน้าท่ีความปรากฏตามหมายเลขชํานาญการทางทหาร (ชกท.) ๕๓๑๐ ความว่า อนุศาสนาจารย์หน้าที่ทั่วไป ปฏิบัติการหรืออํานวยการเกี่ยวกับการศาสนาและให้ คําแนะนําแก่ผู้บังคับบัญชาในปัญหาทั้งปวงเกี่ยวศาสนาและขวัญ หน้าท่ีเฉพาะ ปฏิบัติการเก่ียวการบริการทางศาสนาและวางโครงการให้ทหารมีโอกาสได้ปฏิบัติศาสนกิจ เยี่ยมเยียนผู้เจ็บป่วยและนักโทษทหาร ช่วยเหลือและประสานงานในการดําเนินการให้ ทหารมีขวัญดี มีส่วนในการอบรมผู้คัดเลือกเข้ามาเป็นทหารและทําการบรรยายอบรม ทหารเกี่ยวกับศาสนา ติดต่อประสานงานกับองค์การสงเคราะห์ต่างๆ เช่น สภากาชาด หรือ วัดในท้องถ่ินรบั และแจกจ่ายเอกสารเกีย่ วกับศาสนา และรายงานการปฏิบัตขิ องตน129 การปฏิบัติในภารกิจของอนุศาสนาจารย์ตามที่ได้รับมอบหมายจากกองทัพบก น้ัน สามารถสรุปได้เป็น ๔ ด้าน คือ๑. การอบรมการสอนศีลธรรม ๒. การปฏิบัติธรรม เจริญจิตภาวนา ๓. การปฏิบัติศาสนพิธี และ ๔. การเยี่ยมไข้ ซ่ึงบทบาทของ อนุศาสนาจารย์น้ัน เป็นบทบาทของผู้ช้ีนําทางด้านความคิดและการปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง เป็นแบบอย่างที่ดีแก่กําลังพลของหน่วย การปฏิบัติภารกิจทั้ง ๔ ด้านของอนุศาสนาจารย์ ตามท่ีกล่าวมาน้ัน พบว่า อนุศาสนาจารย์ยังมิได้ใช้สมรรถนะของตนเองในการปฏิบัติ ภารกิจทั้ง ๔ ด้านอย่างเต็มท่ี จึงทําให้ผู้บังคับบัญชาส่วนใหญ่ในหน่วยทหารมิได้มอง อนศุ าสนาจารย์ในฐานะเปน็ ผนู้ ําทางจติ วญิ ญาณ ซ่งึ มิไดต้ รงกับเจตนารมณ์หลกั ของการก่อ เกิดกําเนิดอนุศาสนาจารย์ตามท่ีพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราช ปรารภให้มีอนุศาสนาจารย์ และอนุศาสนาจารย์ยังขาดทักษะในการสอน การอบรม การ 128วิเชียร ปราบพาล, เรืออากาศเอก, “การวิเคราะห์บทบาทอนุศาสนาจารย์ : ศึกษา เฉพาะกรณีอนุศาสนาจารย์ทหารอากาศไทย”, สารนิพนธ์สังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิต วทิ ยาลยั : มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์, ๒๕๔๐), หนา้ ๒. ๘กองทพั บก, คู่มือการอนศุ าสนาจารย์กองทัพบก, หน้า ๑๒๘.

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๓๙๖ นํากําลังพลเข้าปฏิบัติธรรมเน่ืองจากขาดองค์ความรู้และความเข้าใจ รวมถึงขาดหลักวิธี คดิ และอุดมการณใ์ นความเปน็ อนุศาสนาจารย1์ 30 ดังนั้น อนุศาสนาจารย์ซึ่งเป็นบุคลากรของกองทัพ มีหน้าท่ีอันสําคัญ คือ การ ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมในหน่วยงานทหารการนําพากําลังพลปฏิบัติธรรมเจริญจิตภาวนา การปฏิบัติศาสนพิธีและการเยี่ยมบํารุงขวัญกําลังพลผู้เจ็บป่วย จึงควรมีการพัฒนา สมรรถนะเพ่ือความสําเร็จในภารกิจและหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย ถ้าขาดสมรรถนะ ความรู้ความสามารถก็จะเป็นปัญหาต่อการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม การปฏิบัติธรรม เจริญจิตภาวนา การปฏิบัติศาสนพิธี และขวัญกําลังใจของกําลังพลในกองทัพอันจะมี ผลกระทบต่อความเจริญก้าวหน้าด้านคุณธรรมจริยธรรมของกําลังพลในกองทัพได้ผู้วิจัย เห็นว่า การพัฒนาสมรรถนะอนุศาสนาจารย์ทหารบกไทย โดยนําหลักพุทธธรรมเข้ามาบูรณา การมีความสําคัญยิ่ง ซ่ึงจะนําไปสู่ความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการปฏิบัติ ภารกิจอย่างต่อเนื่องและย่ังยืน ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาเรื่อง “การพัฒนา สมรรถนะอนุศาสนาจารย์ทหารบกไทยเชิงพุทธบูรณาการ” องค์ความรู้ท่ีได้จากการวิจัย คร้ังน้ี ผู้บริหารสายวิทยาการอนุศาสนาจารย์ทหารบกไทยและอนุศาสนาจารย์ทหารบกไทย สามารถนาํ ไปเปน็ ขอ้ มูลประกอบการพิจารณาเพือ่ การปฏิบัติงานให้เกิดประโยชน์ต่อการ พัฒนาสมรรถนะอนุศาสนาจารย์ทหารบกไทย ให้มีความรู้ความชํานาญและถึงความ เจริญรุง่ เรอื งในสายวทิ ยาการอนศุ าสนาจารยท์ หารบกไทยต่อไป ๒. วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย ๒.๑ เพ่ือศึกษาแนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาสมรรถนะตามศาสตร์สมัยใหม่ และหลักพทุ ธธรรมของอนศุ าสนาจารยท์ หารบกไทย ๒.๒ เพื่อศึกษาบทบาท ภารกิจ สภาพปัญหา และสมรรถนะของอนุศาสนาจารย์ ทหารบกไทย ๒.๓ เพ่ือเสนอแนวทางการพัฒนาสมรรถนะอนุศาสนาจารย์ทหารบกไทยเชิงพุทธ บรู ณาการ ๓. วิธดี าํ เนนิ การวจิ ยั วิธีดําเนินการวิจัย เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยมี วิธีการเก็บข้อมูลเชิงเอกสาร (Doccumentary Research)การสัมภาษณ์เชิงลึก(an in- 130สมั ภาษณ์ พนั โท บวรวิทย์ ไชยศิลป์ หัวหน้าแผนกกําลังพล กองอนุศาสนาจารย์ กรมยุทธศึกษา ทหารบก, ๓๐ สงิ หาคม ๒๕๖๑.

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๓๙๗ depth interview) และการสนทนากลุ่มย่อย (Focus Group Discussion) แบ่งเป็น ๔ ขน้ั ตอนใหญ่ ดังนี้ ข้ันตอนท่ี ๑ ศึกษาค้นคว้าจากเอกสาร (Document Study) โดยศึกษา ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎี หลักการพัฒนาสมรรถนะของบุคคลตามศาสตร์ สมัยใหม่ รวบรวมข้อมูลจากหนังสือ ตํารา บทความ งานวิจัย ท่ีเกี่ยวกับการพัฒนา สมรรถนะของบุคคล ศึกษาหลักพุทธธรรมท่ีสอดคล้องเหมาะสมกับการพัฒนาสมรรถนะ การศกึ ษาบทบาท ภารกจิ สภาพปัญหา จากขอ้ มลู ปฐมภูมิและทุติยภูมิ เช่น พระไตรปิฎก อรรถกถา และเอกสารหนังสือที่เกี่ยวข้อง และสมรรถนะของอนุศาสนาจารย์ทหารบก ไทยที่พึงประสงค์ รวบรวมข้อมูลจากการสมั ภาษณเ์ ชงิ ลกึ ขั้นตอนท่ี ๒ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัยคร้ังนี้ ผู้วิจัยได้สร้างแบบ สัมภาษณ์ เพื่อนําไปสัมภาษณ์ประชากรกลุ่มตัวอย่าง โดยปรึกษากับอาจารย์ท่ีปรึกษา และให้ผู้เช่ียวชาญดําเนินการตรวจสอบแก้ไข ปรับปรุงเคร่ืองมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัย เพอื่ ใหม้ คี วามครบถ้วนถกู ตอ้ งสมบรู ณ์ ข้ันตอนที่ ๓ ลงพื้นท่ีเพื่อทําการสัมภาษณ์เชิงลึกประชากรกลุ่มตัวอย่าง โดย ประชากรที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นพระสงฆ์ท่ีมีความรู้และเข้าใจบทบาทของ อนุศาสนาจารย์ โดยมีลักษณะของการได้รู้จักและการปฏิบัติภารกิจหรือการร่วมงานกัน บ่อยๆ พร้อมด้วยผู้บังคับบัญชาที่มีความเก่ียวข้องกับอนุศาสนาจารย์โดยสายการบังคับ บัญชา ท้ังในอดีตและปัจจบุ ัน และอนุศาสนาจารย์ช้นั ผใู้ หญ่ในฐานะเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ ท้ัง ทีเ่ ป็นอดตี และปัจจุบัน ขัน้ ตอนที่ ๔ เก็บรวบรวมข้อมูลในการสัมภาษณ์จากการลงพ้ืนที่ด้วยตนเอง โดยมีการจดบันทึกและทําการบันทึกเสียง พร้อมท้ังการบันทึกภาพการสัมภาษณ์ จัดการประชุมกลุ่มย่อย แล้วนําข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ และข้อมูลจากการประชุม กลุ่มย่อย มาสู่การวิเคราะห์ การสังเคราะห์เพ่ือให้ได้คําตอบตามวัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้ แล้วนํามาเป็นกรอบในการอธิบายและแสดงทัศนะของผู้วิจัย เพ่ือนําเสนอแนวทางการ พฒั นาสมรรถนะอนศุ าสนาจารย์ทหารบกไทยเชงิ พทุ ธบูรณาการ ๔. ผลการวจิ ยั พระพทุ ธศาสนามีลักษณะสําคัญอย่างหนึ่ง คือยืนยันในความมีสมรรถนะสูงสุด ของมนุษย์131ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจและปัญญา ซึ่งเป็นความสามารถที่มีอยู่ในตัว มนษุ ย์ เกิดมีขึน้ แต่กาํ เนิดหรอื การฝึกฝนอบรมพัฒนาสมรรถนะในตัวมนุษย์แบ่งออกเป็น 131พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต), ลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา, พิมพ์ครั้งท่ี ๑๑, (กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย, 25๔๗), หน้า ๕๐.

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๓๙๘ ๓ ด้าน คือ สมรรถนะทางกาย สมรรถนะทางจิตใจ และสมรรถนะทางปัญญาซึ่งการ พัฒนาสมรรถนะหรือขีดความสามารถจะเร่ิมต้นที่หลักการของการศึกษาเพราะการ พัฒนาหรือภาวนานั้นเป็นสิ่งเดียวกับการศึกษาหรือสิกขา ซ่ึงสิ่งที่ต้องศึกษาหรือพัฒนา แยกออกไปเปน็ ๓ ด้านใหญ่ๆ โดยสอดคล้องกับการดําเนินชีวิตของมนุษย์ท่ีมี ๓ ด้าน คือ พฤติกรรมทางกายวาจา จิตใจ และปัญญา132โดยพระพุทธองค์ได้ทรงแสดงหลัก การศึกษาไว้๓ประการ เรียกว่า ไตรสิกขา คืออธิศีลสิกขา อธิจิตตสิกขา และอธิปัญญา สกิ ขา มนุษย์อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ในแต่ละกลุ่มจึงต้องมีผู้นํา รวมท้ังมีการควบคุม กํากับดูแลหรือจัดระเบียบกันภายในกลุ่ม ซึ่งอาจเรียกว่า “การบริหาร” หรือ “การ พัฒนา” เพ่ือให้เกิดความสงบเรียบร้อยและอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยเหตุผลน้ี มนุษย์จึงไม่อาจหลีกเล่ียงการพัฒนาได้ และอาจกล่าวได้ว่า “ท่ีใดมีกลุ่ม ที่น้ันย่อมมีการ พัฒนา” คําว่า “การพัฒนา”ตรงกับคําในภาษาอังกฤษว่า Development มี ความหมายว่า การเปล่ียนแปลงท่ีละเล็กละน้อยอย่างมีกระบวนการ โดยมีจุดมุ่งหมาย โดยผ่านลาํ ดบั ขน้ั ตอนต่างๆ ไปสู่ระดับที่สามารถขยายตวั ข้ึนเติบโตขึ้นมีการปรับปรุงให้ดี ข้ึ น แ ล ะ เ ห ม า ะ ส ม ก ว่ า เ ดิ ม ห รื อ อ า จ ก้ า ว ห น้ า ไ ป ถึ ง ข้ั น ที่ อุ ด ม ส ม บู ร ณ์ เ ป็ น ท่ี น่ า พอใจ133 ส่วนความหมายจากรูปศัพท์ในภาษาไทยนั้นหมายถึง การทําความเจริญการ เปล่ียนแปลงในทางที่เจริญข้ึนการคล่ีคลายไปในทางที่ดีการพัฒนาซึ่งเข้าใจกันโดยทั่วไป หมายถึงการทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากสภาพหน่ึงไปสู่อีกสภาพหน่ึงท่ีดีกว่าเดิมอย่าง เปน็ ระบบหรอื การทาํ ใหด้ ขี ึ้นกว่าสภาพเดิมที่เปน็ อยอู่ ยา่ งเปน็ ระบบ134 คําว่า “สมรรถนะ”(Competency)นี้ ได้มีนักวิชาการท่ีศึกษาเกี่ยวกับเรื่องน้ี ให้คาํ แปลและคําจํากัดความไวแ้ ตกต่างกันมากมายตามความเข้าใจและความเชื่อของแต่ ละบุคคล หรือแต่ละสถาบัน บางท่านอาจแปลว่า “ศักยภาพ” หรือ “ความสามารถ” หรือ “ขีดความสามารถ” หรือ “ความสามารถเชิงสมรรถนะ” หรือ “สมัตถิยะ” หรือ 132พระธรรมปฎิ ก (ป.อ.ปยุตฺโต), การศึกษากับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์, (กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พก์ ารศาสนา, ๒๕๓๙), หน้า ๖๗. 133ปกรณ์ ปรียากร, ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาในการบริหารการพัฒนา, (กรุงเทพฯ: สามเจริญพานิช, ๒๕๓๘), หน้า ๕. 134ยุวัฒน์ วุฒิเมธี, การพัฒนาชุมชน : จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ, (กรุงเทพฯ: บากกอกบล็อก, ๒๕๓๔.), หน้า ๑.

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๓๙๙ “สมรรถนะ”หรือ บางท่านบอกว่าไม่จําเป็นต้องแปล เรียกทับศัพท์ไปเลยคือ “คอมพ่ี เทนซ่ี”135 การพัฒนาสมรรถนะ หมายถึง การนําเอาคุณลักษณะพ้ืนฐาน (Underlying Characteristic)ของบุคคล ได้แก่ แรงจงู ใจ (Motive) อุปนิสัย (Trait) ทักษะ (Skill) จินต ภาพส่วนตน (Self-Image)บทบาททางสังคม (Social Role) องค์ความรู้ (Body of Knowledge) ซึ่งเป็นความสามารถที่ซ่อนเร้นอยู่ภายในตัวบุคคล นํามาใช้ให้เกิด ประโยชน์อย่างมีกระบวนการ นอกจากน้ี เป็นท่ีรู้กันอยู่แล้วว่าสมรรถนะ (Competency) คือความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะท่ีจําเป็นของบุคคลในการทํางานให้ ประสบความสําเร็จ มีผลงานได้ตามเกณฑ์หรือมาตรฐานท่ีกําหนดหรือสูงกว่าซ่ึงต้องมี การประเมินเพือ่ นําใช้ตอ่ กบั งานทรัพยากรบุคคลดา้ นอ่ืนๆ แนวทางหลักในการพัฒนาสมรรถนะ ประกอบด้วย ๓ แนวทาง คือ๑) Trainingการฝึกอบรมหมายถึง การเรียนรู้ซึ่งเน้นงานปัจจุบัน136 อย่างเป็นระบบเพ่ือ สร้างหรือเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ ความสามารถ และพฤติกรรมในการทํางาน137 ของ บุคคล สําหรับการปฏิบัติงานในเร่ืองหนึ่งเรื่องใดในทางที่ถูกที่ควรของหน่วยงาน เพ่ือช่วย ให้การปฏิบัติงานและภาระ หน้าที่ต่าง ๆในปัจจุบันและอนาคตเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพสูงข้ึน การฝึกอบรมจึงเป็นโครงการท่ีถูกจัดขึ้นมาเพื่อช่วยให้บุคคลมี คุณสมบัติในการทํางานสูงขึ้นการฝึกอบรมเป็นวิธีการหน่ึงที่จะช่วยให้ผู้เข้ารับการ ฝึกอบรมได้มีความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถ และเกิดทักษะ จากประสบการณ์ ตลอดจนเกิดเจตคติที่ดีและถูกต้องต่อกิจกรรมต่างๆ เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของงาน ๒) Education การศึกษา คือ การเรียนรู้ซ่ึงเน้นงานในอนาคตเป็นการเตรียมบุคลากร สําหรับการเลื่อนตําแหน่งการโยกย้ายการพัฒนาสายชีพโดยการศึกษาเป็นระบบที่มี จุดมุ่งหมายเพ่ือพัฒนาขีดความสามารถทางปัญญาแนวคิดความเข้าใจสังคมและผลการ ปฏิบตั งิ านผา่ นกระบวนการเรียนรู้138เป็นการดําเนินการด้วยกระบวนการทุกอย่าง ท่ีทํา ให้บุคคลพัฒนาความสามารถด้านต่างๆ รวมทั้งทัศนคติและพฤติกรรมอ่ืนๆ ตามค่านิยม และคุณธรรม เพ่ือความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคมโดยการถ่ายทอดความรู้ การ 135ฐติ พิ ัฒน์ พชิ ญธาดาพงศ์, “ยทุ ธวธิ กี ารใช้ระบบสมรรถนะในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ เพื่อ ผลักดนั องค์กรสูค่ วามเปน็ เลศิ เหนอื คู่แขง่ ”, วารสารดํารงราชานภุ าพ, หน้า ๒๐-๒๑. 136Sims,R.R., Human ResourceManagement : Contemporary Issues,Challengrs,and Opportunities, (Charlotte, NC : Information Age, 2007), p. 7. 137Ivancevich, j.m., Human ResourceManagement, p. 399. 138Marchington, M., & Wilkinson, A., Human ResourceManagement at Work : PeopleManagementand Department, p. 343.

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๔๐๐ สืบสานทางวัฒนธรรมการสร้างองค์ความรู้อันเกิดจากการจัดสภาพ แวดล้อมสังคม การ เรียนรู้และปัจจัยเกื้อหนุนให้บุคคลเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองนอกจากนั้น การศึกษาอาจ หมายถึง การส่งเสริมให้มีการดูงานหรือศึกษาต่อซ่ึงเป็นกิจกรรมท่ีช่วยเพิ่มคุณวุฒิของ บุคคลให้มีความรู้ท่ีดีขึ้นหรือได้รับความรู้ใหม่ๆ139 และยังหมายรวมถึงศิลปะในการ ถ่ายทอดความรู้ต่างๆ ในอดีตซึ่งรวบรวมไว้อย่างเป็นระบบสําหรับคนรุ่นใหม่๓) Development การพัฒนาเป็นการมองระยะยาวในการเตรียมบุคลากรให้พร้อมต่อ ความเปลี่ยนแปลงและการเจริญเติมโตขององค์การในอนาคต เป็นกระบวนการของการ เก่ียวข้องเช่ือมโยงจากวุฒิภาวะข้ันหน่ึงไปสู่วุฒิภาวะอีกข้ันหนึ่ง เช่น จากผลการ ปฏิบัติงานระดับท่ัวไปสู่ผลการปฏิบัติงานระดับดีและพัฒนาสู่ระดับดีเยี่ยม มุ่งขยายโลก ทัศน์ของผู้ปฏิบัติงาน เป็นการดําเนินการด้านวิธีการต่างๆ เพ่ือเพิ่มและขยายโลกทัศน์ สาํ หรับการปฏิบัติงานและการปฏิบตั ิตน บทบาทและภารกิจของอนุศาสนาจารย์ทหารบกไทยประกอบด้วยภารกิจหลัก ๔ ดา้ น คือ ๑) การอบรมและสอนศีลธรรม เป็นการดําเนินการอบรมและการสอนศีลธรรม วัฒนธรรมแก่ทหาร และบุคคลในสังกัดกองทัพบกให้มีความประพฤติและอัธยาศัยดีงาม ดําเนินการสอนวิชาการศาสนาและศีลธรรมในโรงเรียนเหล่าและสายวิทยาการต่างๆ ของ โรงเรียนหน่วยงานทหาร๒) การปฏิบัติธรรม/การเจริญจิตภาวนา ดําเนินการนํากําลังพล ปฏิบัติธรรมในโอกาสต่างๆสร้างสรรค์อุดมธรรมของพระพุทธศาสนาแก่กําลังพลท้ังใน เวลาราชการและนอกเวลาราชการทัง้ ในที่ต้งั ปกติและในสนามรบ๓) การปฏิบัติศาสนพิธี ดําเนินการในด้านศาสนพิธีและให้การบริการทางศาสนาปฏิบัติการเกี่ยวกับพิธีการ รวมถึงการวางโครงการให้ทหารมีโอกาสได้ปฏิบัติศาสนกิจ๔) การเยี่ยมไข้ ดําเนินการใน เร่ืองบํารุงรักษาขวัญและกําลังใจของทหารให้ทหารมีขวัญและกําลังใจเข้มแข็งพบปะ เยี่ยมเยยี นกาํ ลังพลผเู้ จบ็ ป่วยผูถ้ ูกคมุ ขงั และผมู้ ีปญั หาเพ่ือปลุกปลอบขวัญและให้กําลังใจ ทง้ั ในยามปกติและยามสงคราม การท่ีอนุศาสนาจารย์จะปฏิบัติภารกิจทั้ง ๔ ด้าน ให้ได้ผลดีเป็นที่ยอมรับ รวมถึงเป็นที่เชื่อถือเชื่อมือเป็นท่ีไว้วางใจของผู้บังคับบัญชาตลอดถึงกําลังพลและ ครอบครัวพร้อมทั้งประชาชนโดยทั่วไปอนุศาสนาจารย์ทหารบกไทยควรพัฒนา สมรรถนะคือขีดความสามารถทั้ง ๓ อย่าง คือสมรรถนะทางกาย สมรรถนะทางจิตใจ และสมรรถนะทางปัญญา ดังน้ี 139สุจิตรา ธนานันท์, การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์, (พิมพ์คร้ังท่ี ๒), (กรุงเทพมหานคร: สถาบัน บณั ฑิตพฒั นบริหารศาสตร,์ ๒๕๕๐), หน้า ๒๖.

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๔๐๑ ๑) สมรรถนะทางกาย เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้และหายไปได้การที่ร่างกายอ่อนแอ สุขภาพไม่สมบูรณ์และร่างกายไม่มีความเข้มแข็งทนทานก็เพราะขาดสมรรถนะทางกาย การที่เราจะรักษาร่างกายให้มีสมรรถนะมีสุขภาพแข็งแรงคงสภาพอยู่เสมอน้ัน อนุศาสนาจารย์ทหารบกไทยจําเป็นต้องมีการออกกําลังกายเป็นประจําเพ่ือให้มี สมรรถนะทางกายทีค่ งสภาพและเป็นการสรา้ งเสริมสมรรถนะทางกายให้ดียิ่งๆ ขึ้นไปอีก ด้วยนอกจากน้ีแล้วยังเป็นประโยชน์ในการป้องกันโรคภัยเบียดเบียนอนุศาสนาจารย์ต้อง มีเป้าหมายการพัฒนาสมรรถนะทางกายอย่างเป็นระบบดูแลร่างกายของตนเองให้สมบูรณ์ แข็งแรงตลอดเวลา ไม่มีโรคภัยเบียดเบียน พัฒนากายภาพในทุกส่วนความสมส่วนของ ร่างกาย เก่ียวกับการแต่งกายท่ียังไม่สมบูรณ์ แก้ไขด้วยให้ความสําคัญในเรื่องการแต่ง กายที่สะอาดเป็นระเบียบเรียบร้อย การรักษาการแต่งกายให้ถูกต้องตามระเบียบของ ทางราชการซ่ึงเกี่ยวข้องกับทางกายทั้งส้ิน เกี่ยวกับการขาดทักษะหรือไม่มีความชํานาญ ด้านเทคโนโลยีหรือการปฏิบัติหน้าท่ีอ่ืนๆ แก้ไขด้วยให้มีความใส่ใจในการฝึกฝนขีด ความสามารถทางกาย สร้างความชํานาญคือการทําบ่อยๆ ทําแล้วทําอีกให้เวลาและ เตรียมตัวทําให้สมบูรณ์ท่ีสุดคือเตรียมตัวพร้อมซักซ้อมดีแสดงความกระฉับกระเฉง พรอ้ มให้สร้างสุนทรียภาพขึ้นทางเสียง นํ้าเสียงให้มีนํ้าหนักน่าเช่ือถือ ซึ่งเป็นศิลปะอย่าง หนึ่ง เช่น การอาราธนาศีลอย่าให้พลาด การออกเสียงชัดเจนมีการฝึกฝนการใช้เสียง เพือ่ ใหเ้ กิดความเหมาะสมและพอดี ๒) สมรรถนะทางจิตใจปัญหาแต่ละปัญหาน้ันเป็นสิ่งท่ีสามารถปรับปรุงแก้ไข ได้การพัฒนาสมรรถนะทางจิตใจประการแรก อนุศาสนาจารย์ต้องมีความตั้งใจในการที่ จะดําเนินการแก้ไข ประการต่อมาคือการฝึกฝนอย่างจริงจังการลงมือปฏิบัติเพื่อให้เกิด ความชาํ นาญส่ิงใดก็ตามแต่เมื่อทําอยู่บ่อยๆ ก็จะทําให้เกิดความชํานาญเกิดความเคยชิน การฝึกฝนจึงเป็นเร่ืองที่สําคัญ มีการฝึกฝนทางด้านการคิด มีเป้าหมายในการปรับปรุง แก้ไขพัฒนา อนุศาสนาจารย์ต้องหมั่นเจริญจิตตภาวนาท่ีเรียกว่ากรรมฐานจะเป็นสมถะ กรรมฐานหรือวิปัสสนากรรมฐานก็ดีท้ังนั้นเพราะจะทําให้มีจิตใจที่มั่นคงเกี่ยวกับความ ขัดแย้งหรือความสับสนภายในจิตใจต้องแก้ไขด้วยการฝึกฝนการคิดด้วยการคิดเป็น ระบบ การคิดวิเคราะห์การคิดสังเคราะห์การคิดอย่างสร้างสรรค์และการคิดอย่างมี วิจารณญาณ เกี่ยวกับทุกข์ทางจิตใจต้องแก้ไขด้วยหลักคุณธรรม มีความมุ่งมั่นและยึด มั่นในหลักคุณธรรม มีหลักคุณธรรมประจําใจ การปฏิบัติธรรมซ่ึงเป็นส่วนสําคัญในการ สรา้ งสขุ ภาพจิตที่ดีทําจติ ใจให้มคี วามสุข ๓) สมรรถนะทางปัญญา ปัญญาเป็นสิ่งสําคัญในการปฏิบัติภารกิจหรือการ ทําหน้าที่ท้ัง ๔ ด้านของอนุศาสนาจารย์ การมีปัญญาจะช่วยให้สามารถทํางานได้อย่าง ถูกต้อง หรือเมื่อมีปัญหาเกิดขึ้นปัญญาก็จะช่วยในการแก้ไขปัญหา นอกจากนี้ ปัญญายัง

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๔๐๒ ช่วยในการพัฒนาองค์กรในการสร้างความเจริญก้าวหน้า ถ้าขาดปัญญาขาดความรู้ก็จะทํา ให้การทํางานติดขัด การทํางานไม่ลื่นไหล อนุศาสนาจารย์เป็นผู้อยู่ในฐานะเป็นครู อาจารย์ ต้องเป็นผู้นําทางด้านความรู้ ต้องหมั่นแสวงหาความรู้ท้ังคดีโลกและคดีธรรม อนุศาสนาจารย์ต้องขวนขวายศึกษาแสวงหาความรู้อยู่เสมอไม่นิ่งอยู่กับท่ี ต้องหมั่น แสวงหาความรู้ท้ังคดีโลกและคดีธรรมสิ่งสําคัญก็คือความต้ังใจในการท่ีจะแสวงหา ความรู้เพ่ิมเติมอยู่ตลอดเวลาไม่หยุดนิ่งอยู่กับความรู้เดิมๆ ท่ีมีอยู่แล้ว เกี่ยวกับที่มาของ ความรู้หรือวิธีแสวงหาความรู้ ต้องแก้ไขด้วยการแสวงหาความรู้ด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย จากผู้เชี่ยวชาญ จากการอบรม จากการพูดคุย หรือแสวงหาความรู้ด้วยตัวเองเกี่ยวกับองค์ ความรู้ที่ล้าหลัง ต้องแก้ไขด้วยความรู้ที่ทันสมัยทันโลกแล้วก็ทันเหตุการณ์เพราะโลกมี การเปล่ยี นแปลงอยตู่ ลอดเวลาอนุศาสนาจารย์นอกจากจะมีความรู้ด้านศาสนาอย่างท่อง แท้แล้วยังต้องมีความรู้และความสามารถในการใช้เทคโนโลยีอนุศาสนาจารย์มีความเป็น พหูสูตคือต้องศึกษาให้มากท้ังคดีโลกและคดีธรรม มีความแตกฉานในหลักธรรมคําสอน ของพระพุทธศาสนาได้ดีมีความรู้ท่ีชัดเจนสามารถอธิบายได้ว่าทําไมต้องปฏิบัติแบบนี้ ต้องมีความรอบรู้ในหลักธรรมคําสั่งสอนของพระพุทธเจ้าเป็นหลัก สามารถอธิบายธรรมะ ให้เข้าใจง่ายและชวนฟัง น่านําไปปฏิบัติ มีการเพิ่มพูนความรู้อยู่เสมอทั้งความรู้ทาง ศาสนาความรูท้ างโลกความรทู้ างเทคโนโลยแี ละการส่อื สารสามารถประยุกต์ความรู้ใช้ให้ เกิดประโยชน์แก่ตนเองและสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพความรอบรู้ในหัวข้อหลักธรรม ต่างๆท้ังในแนวลึกและแนวกว้าง หลักธรรมที่สามารถนํามาบูรณาการเพื่อส่งเสริมและพัฒนาแนวทางการ พฒั นาสมรรถนะอนศุ าสนาจารยท์ หารบกไทยเชงิ พุทธบูรณาการเพ่อื ให้เกดิ ประสิทธิภาพ และประสทิ ธผิ ลนน้ั ผวู้ จิ ยั สามารถสรุปหลกั ธรรมทส่ี าํ คญั คอื ๑) หลักอิทธิบาท ๔ มีอยู่ ๔ ประการ คือ ๑) ฉันทะ คือความพอใจรักใคร่ใน เป้าหมายในการพัฒนาสมรรถนะทางกายทางจิตใจและทางปัญญา ด้วยความเต็มใจไม่ เบ่อื หน่ายทจี่ ะทาํ เปน็ จดุ เริ่มตน้ ที่สําคัญทําให้เกิดคุณธรรมข้อต่อไปทุกข้อ๒) วิริยะ คือมี ความพากเพียรมีความพยายามในการพฒั นาสมรรถนะทางกายทางจิตใจและทางปัญญา ทําด้วยความขยันหม่ันเพียรและมีมานะอุตสาหะไม่ทอดท้ิงจนกว่าจะประสบผลสําเร็จ๓) จิตตะ คืออนุศาสนาจารย์ก็มีความเอาใจจดจ่อ ไม่วางธุระ ต้องเอาใจใส่ในการพัฒนา สมรรถนะทางกายทางจิตใจและทางปัญญา ทําสิ่งท่ีเป็นเป้าหมายตามต้องการหรือ วัตถุประสงค์ท่ีกําหนดไว้แล้วให้อยู่ในใจเสมอ ๔) วิมังสา คือคิดพัฒนาสมรรถนะทางกาย ทางจิตใจและทางปัญญา ก็ทําด้วยความรู้จักไตร่ตรองรู้จักพิจารณาใคร่ครวญรู้จักพินิจ พิเคราะห์ทดลองทดสอบ ตรวจหาสาเหตุด้วยความรอบคอบ เม่ือเกิดปัญหาด้าน

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๔๐๓ สมรรถนะทางกายทางใจและทางปัญญา การนําหลักอิทธิบาท ๔ มาประยุกต์ใช้แก้ไข ปญั หา เพือ่ ใหป้ ระสบความสําเร็จทีม่ ่งุ หวังไว้ ๒) หลักพรหมวิหาร ๔ เป็นธรรมเคร่ืองอยู่อย่างประเสริฐประกอบด้วย ๑) เมตตา คือ ความรักใคร่ปรารถนาดีอยากให้เขามีความสุข ๒) กรุณา คือ ความสงสาร คิด ช่วยเหลือให้พ้นจากความยุ่งยากเดือดร้อน ๓) มุทิตา คือ ความยินดี คิดส่งเสริมให้ กําลังใจในเม่ือเขาประสบความสําเร็จ ๔) อุเบกขา คือ ความวางเฉย วางใจเป็นกลาง หลักธรรมข้อนี้นับว่าเป็นส่ิงสําคัญสําหรับอนุศาสนาจารย์ ผู้ทําหน้าที่ให้การอบรมหรือการ สอนศีลธรรมการปฏิบัติธรรมการปฏิบัติศาสนพิธีและการเย่ียมไข้ นําพรหมวิหาร ๔ มา ปรับใช้หรือบูรณาการใช้ในการแก้ไขปัญหาสมรรถนะทางกายทางจิตใจและทางปัญญา เพื่อความประพฤติท่ีประเสริฐบริสุทธ์ิและกํากับความประพฤติให้เป็นไปโดยชอบถูกต้อง ตามทํานองคลองธรรม ๓) หลักภาวนา ๔ หมายถึง การเจริญการพัฒนาการฝึกอบรมเป็นหลักธรรม เพอ่ื การพัฒนา โดยมีองค์ประกอบ ได้แก่ ๑) กายภาวนา คือ การพัฒนากายให้มีสุขภาพ สมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บเบียดเบียน ให้มีมีบุคลิกภาพทางกายสดช่ืน แจ่มใสสง่างาม ร่างกายคล่องแคล่วว่องไว มีทักษะในการใช้วาจา ๒) ศีลภาวนา คือ การ พัฒนาความประพฤติ โดยเฉพาะท่ีสําคัญอันจะต้องมีส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับผู้อื่น ไม่มีการ เบียดเบียน ไม่โกหกหลอกลวงผู้อ่ืนท้ังทางตรงและทางอ้อมท้ังทางกายและทางวาจา ไม่ ทําร้ายตนเองและผู้อื่น ๓) จิตตภาวนา คือ พัฒนาจิตใจให้สงบให้มีสมาธิพยายามทําจิต ให้เป็นสุข ให้อิ่มเอิบ ให้เบิกบานแจ่มใส ให้เกิดปราโมทย์ ไม่ให้จิตใจขุ่นมัว มีจิตใจหนัก แน่นไม่หวั่นไหวในเพราะอิฏฐารมณ์หรืออนิฏฐารมณ์ และ ๔) ปัญญาภาวนา คือ การ พัฒนาปัญญา ใช้ปัญญาในการศึกษาหาความรู้อยู่เสมอ ทั้งทางโลกและทางธรรม และนํา ความรู้ไปใช้ในการแก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึนในการปฏิบัติภารกิจด้านต่าง ๆ รวมถึงการพัฒนา ปญั ญาของผู้ปฏิบัตวิ ิปสั สนาตามแนวทางของมหาสตปิ ัฏฐาน ๔ ๔) หลักกัลยาณมิตรธรรม ๗คือ ๑) ปิโย คือ อนุศาสนาจารย์เป็นบุคคลมี บุคลิกภาพน่ารัก เพียงแค่เห็นก็เกิดศรัทธา เห็นแล้วรู้สึกสบายใจ ชวนให้เข้าใกล้ปรึกษา ไต่ ถาม มีความร่าเริงผ่องใส เบิกบานอยู่เป็นประจํา ๒) ครุ คือ มีความหนักแน่นหรือน่าเคารพท่ี อุดมภูมิรู้ภูมิธรรม เกิดความตระหนักและซาบซึ้งได้ดีว่าอะไรถูกอะไรผิดอะไรเป็นบุญอะไร เป็นบาป ไม่หวั่นไหวต่อสิ่งเย้ายวนต่างๆ ๓) ภาวนีโย มีบุคลิกภาพที่น่ายกย่อง ทรงความรู้มี ภมู ปิ ัญญาเป็นเลิศ มคี วามสามารถอนั ยอดเยี่ยม ๔) วัตตา มีความสามารถด้านการพูด รู้จัก ช้ีแจงให้เข้าใจ สามารถพูดโน้มน้าวใจให้ทําตามในสิ่งที่ดีให้เหตุให้ผล คอยให้คําแนะนํา ว่ากล่าวตักเตือน เป็นที่ปรึกษาท่ีดี เป็นผู้ฉลาดในการใช้คําพูด๕) วจนักขโม คือมี สมรรถนะทางจิตใจอดทนฟังไดใ้ นคําตาํ หนวิ ่าร้ายพร้อมท่ีจะรับฟังวิพากษ์วิจารณ์ อดทน

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๔๐๔ ฟังได้ไม่เบ่ือหน่ายไม่ฉุนเฉียว ไม่เสียอารมณ์แม้จุกจิก ๖) คัมภีรัญจะ กะถัง กัตตามี ทักษะทางวาจาที่สามารถพูดใช้ถ่อยคําได้ลึกซ้ึง แถลงช้ีแจงเร่ืองท่ีลึกล้ําได้ สามารถ อธิบายเรอ่ื งยงุ่ ยากซับซอ้ นให้เข้าใจ สามารถแถลงช้ีแจงได้จนเห็นภาพพจน์ ๗) โน จัฏฐา เน นิโยชะเย คือ มีสติปัญญาพิเคราะห์พิจารณาไม่เป็นบุคคลที่ชักนําไปในทางเสื่อมเสีย หรือขดั ตอ่ ศลี ธรรมอันดงี าม ประพฤติปฏิบตั ิตนอยู่ในศลี ธรรมอันดงี ามตลอดเวลา ๕) หลักธรรมเทสกธรรม ๕ หลักธรรมน้ีได้แก่ ๑) อนุปุพฺพิกถํ) กล่าวธรรมะ ไปตามลําดับเพื่อช่วยให้ผู้ฟังสามารถติดตามเนื้อหาและเข้าใจในธรรมะได้ดี ๒) ปริยาย ทสฺสาวี ใช้เหตุผลประกอบการบรรยาย จะช่วยให้มีความเข้าใจได้ชัดเจนมากย่ิงข้ึน เพราะ เหตแุ ละผลจะมีความสมั พนั ธ์กัน ๓) อนุทยตํ ปฏิจฺจ มีเมตตาจิตต่อผู้ฟัง หวังให้ผู้ฟังได้รับ ความสุขความเข้าใจจากการฟัง เพ่ือนําไปเป็นข้อปฏิบัติเป็นหลักการหรือแนวทางในการ ดําเนินชีวิต ๔) น อามิสนฺตโร ไม่เห็นแก่อามิส ไม่อบรมหรือสอนศีลธรรมโดยตั้งจิตหวัง จะได้ลาภสักการะ เพราะจะทําให้จิตใจหม่นหมองไม่ผ่องใสไม่บริสุทธิ์ ๕) อตฺตานญฺจ ปรญจฺ อนปุ หจฺจ สอนหรอื อบรมศลี ธรรมโดยไม่กระทบตนและผอู้ ่ืน ไมเ่ สียดสีใครๆ ๖) หลักเทศนาวิธี ๔มีอยู่ ๔ ประการ ได้แก่ ๑) สันทัสสนา ชี้แจงให้เห็นชัด จะอบรมจะสอนอะไรก็ชี้แจงจําแนกแยกแยะอธิบายและแสดงเหตุผลให้ชัดเจน จน ผู้ฟังเข้าใจแจ่มแจ้งเห็นจริง ๒) สมาทปนา ชักชวนให้อยากรับเอาไปลงมือทําหรือนําไป ปฏิบัติ๓) สมุตเตชนาเร้าใจให้อาจหาญแกล้วกล้า ปลุกเร้าใจให้กระตือรือร้นเกิดความ อุตสาหะ มีกําลังใจแข็งขัน มั่นใจท่ีจะทําให้สําเร็จจงได้ สู้งาน ไม่กลัวเหน่ือย ไม่กลัวยาก ๔) สัมปหังสนา ชโลมใจให้สดช่ืนร่าเริง บํารุงจิตให้แช่มชื่นเบิกบาน โดยช้ีให้เห็นผลดีหรือ คณุ ประโยชน์ทีจ่ ะไดร้ บั และทางทีจ่ ะก้าวหน้าบรรลุผลสําเรจ็ ยิ่งขน้ึ ไป ๗) หลักอนุศาสนีปาฏิหาริย์ คือ คําส่ังสอนอันอาจจูงใจคนให้นิยมเชื่อถือ นําไปปฏิบัติตามจนได้ผลอย่างน่าอัศจรรย์ บทบาทภารกิจหน้าท่ีอันสําคัญยิ่งของ อนุศาสนาจารย์ คือ ให้การอบรมหรือการสอนศีลธรรมการปฏิบัติธรรมการปฏิบัติศาสน พิธีและการเย่ียมไข้เป็นกิจหน้าที่อันสําคัญ เป็นภารกิจท่ีอนุศาสนาจารย์ทุกนายต้อง ตระหนักและใส่ใจอยู่เสมอดังนั้น การท่ีอนุศาสนาจารย์ใส่ใจในการทําหน้าที่พร่ําสอนอยู่ เสมอจัดได้ว่าเป็นอนศุ าสนีปาฏิหารยิ ์ ๕. บทสรุป แนวทางการพัฒนาสมรรถนะอนศุ าสนาจารยท์ หารบกไทยเชงิ พุทธบูรณาการ สามารถสรุปออกมาเป็น MODEL เรียกว่า PACKED MODEL โดยในการพัฒนา สมรรถนะอนุศาสนาจารย์ทหารบกไทย คณะผู้บังคับบัญชาซึ่งเป็นผู้บริหารหน่วยและผู้ท่ี มีส่วนเก่ียวข้องควรมีการนําหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาประยุกต์ใช้ในการแก้ไข ปัญหาอุปสรรคและส่งเสริมการพัฒนาสมรรถนะอนุศาสนาจารย์ทหารบกไทยเกิด

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๔๐๕ ประสิทธิภาพกําหนดแนวทางปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมายเพ่ือความสําเร็จอันหมายถึงการ ให้ความสําคัญต่อหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาควบคู่ไปกับการนําหลักการพัฒนา สมรรถนะตามวิทยาการศาสตร์สมัยใหม่เพ่ือการพัฒนาสมรรถนะให้ได้ความทันยุค ทันสมัยและเป็นสากลนอกจากน้ันต้องเล็งเห็นสาเหตุท่ีอาจจะนํามาซ่ึงปัญหาในการ พัฒนาสมรรถนะและทําการป้องกันคอยระมัดระวังทุกข้ันตอนในการพัฒนาสมรรถนะ ต้องนําหลักธรรมในทางพระพุทธศาสนาผสมผสานเพ่ือให้การพัฒนาสมรรถนะมีการ ตรวจตราควบคุมอํานวยการและเพ่ิมพูนความรู้ทั้งจากประสบการณ์และความรู้รอบตัวให้ ทันต่อเทคโนโลยีให้ทันต่อสภาวะจิตใจเพ่ือให้การพัฒนาสมรรถนะประสบความสําเร็จตาม เปา้ หมายโดยPACKED MODEL แทนคําอธิบายดังนี้ ๑) P = Planning คือ การวางแผน ขั้นตอนของการดําเนินงานต่างๆ นั้น ข้ันตอนแรก คือ ขั้นวางแผนขั้นเตรียมการมีความสําคัญอย่างย่ิงยวด ถึงกับมีคํากล่าวว่า “การวางแผนดี มีความสําเร็จไปแล้วคร่ึงหน่ึง” งานทุกงานภารกิจทุกภารกิจ ท่ีมี ความสําเร็จด้วยดี เบื้องหลังท่ีสําคัญคือการวางแผนหรือการเตรียมความพร้อม การ เตรียมความพร้อมอันดับแรกคือเตรียมความพร้อมท่ีเก่ียวกับตัวเอง อนุศาสนาจารย์ต้อง มีการเตรียมความพร้อมทางด้านร่างกาย คือความมีร่างกายแข็งแรง มีร่างกาย คล่องแคล่วว่องไว ความพร้อมทางด้านจิตใจ คือมีหลักคุณธรรมประจําใจเป็นเคร่ืองยึด เหนี่ยว มีความศรัทธาเชื่อมั่นในภารกิจท่ีจะทํา มีจิตใจท่ีเข้มแข็ง มีความมุ่งม่ันเพื่อ ความสาํ เรจ็ ของงานทจ่ี ะทํา และมคี วามรู้ความเขา้ ใจในข้ันตอนความสําเร็จของภารกิจท่ี อนุศาสนาจารย์จะลงมือปฏิบัติในด้านการอบรมการสอนศีลธรรม การปฏิบัติธรรมเจริญ จิตภาวนา การปฏิบัติศาสนพิธี และการเยี่ยมไข้กําลังพลหรือครอบครัวท่ีมีการเจ็บป่วย ในการปฏิบัติภารกิจแต่ละด้านต้องมีการเตรียมการทางด้านกายภาพท่ีมีการประสาน สอดคล้องกัน และมีหลักคิดที่สําคัญในแต่ละด้านเพื่อให้เป็นไปในทิศทางที่เหมาะสม และต้องมีความรคู้ วามเขา้ ใจเพ่ือให้การปฏิบัตภิ ารกจิ เป็นไปโดยไมต่ ิดขัด ๒) A = Army’s Goal คือ เปา้ หมายของกองทัพบกอนศุ าสนาจารย์ทหารบก ไทยต้องคํานึงถึงเป้าหมายซึ่งเป็นผลที่กองทัพบกต้องการเป็นสําคัญ ผลทางด้าน กายภาพ คือความเป็นผู้มีบุคลิกภาพท่ีน่าศรัทธา น่าเคารพ น่านับถือ น่าเชื่อถือ น่ายก ย่อง มีความสามารถในการทํางานทางกายภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทางด้านจิตใจ คือความเป็นผู้มีจิตใจหนักแน่น มั่นคง ไม่หว่ันไหวมีจิตใจที่มุ่งดีมุ่งเจริญต่อกําลังพล มี ความรอบรู้มีความสามารถทางสติปัญญาในการช่วยแก้ไขปัญญากําลังพลของหน่วย มี ความรอบรใู้ นภารกิจทจ่ี ะทําไดเ้ ป็นอยา่ งดี ๓) C = Cooperation คือ ความร่วมมือ การทํางานที่จะให้ประสบผลสําเร็จ ก็คือ ความร่วมมือ ความมีส่วนร่วม ทั้งทางด้านกายภาพ จิตใจ และสติปัญญา มีการ

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๔๐๖ ประสานงานกันอย่างใกล้ชิด เป็นการเดินเข้าหาหน่วยเข้าหากําลังพล สร้างความรู้สึก ในความมีส่วนร่วมให้เกิดแก่กําลังพลและครอบครัว ในการทํางานร่วมกันจึงมี หลักการทํางานร่วมกัน 5 ร่วม คือ 1) ร่วมคิด คือการนําเอาทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมา ร่วมกันปรึกษาหารือ วางแผนงาน กําหนดรายละเอียดท่ีเกี่ยวข้อง กําหนดกรอบเวลา รวมท้ังแบ่งงานรับผิดชอบเพื่อทุกคนจะได้ไปปฏิบัติในส่วนของตน 2) ร่วมทํา เมื่อตกลง ในเรอ่ื งต่างๆที่ได้ร่วมคิดไว้แล้ว ต่างคนต่างฝ่ายก็ไปดําเนินการในส่วนที่ตัวเองรับมอบหมาย ให้บรรลุความสําเร็จตามท่ีวางไว้ 3) ร่วมแก้ไข เมื่อไปทํางานแล้วประสบปัญหาใดก็รีบ แจ้งเรื่องต่อกันและกันเพ่ือเร่งรีบแก้ไขมิให้ส่งผลกระทบต่องานท้ังหมด4) ร่วม รับผิดชอบ ทํางานไปแล้วหากได้รับผลสําเร็จของงานก็รับผลสําเร็จร่วมกัน ถ้างานที่ทํา ไปไม่ประสบความสําเร็จหรือเกิดความเสียหายก็รับผลแห่งความรับผิดชอบนั้นร่วมกัน โดยไม่ปัดความรับผิดชอบไปยังฝ่ายใด5) ร่วมดําเนินการ ปฏิบัติงานใดๆเสร็จเรียบร้อย พึงสรุปบทเรียนที่เกิดขึ้นแล้วนํามาดําเนินการให้ดีย่ิงขึ้นต่อไปอย่างต่อเนื่องจะเห็นได้ว่า 5 ร่วมนัน้ พัฒนามาจากวงจร PDCA (Plan, Do, Check, Act)นน้ั เอง ๔)K = Kick-off คอื การเร่ิมต้นลงมือปฏิบัติถ้าไม่ลงมือทําอะไร คิดดีแค่ไหนก็ไม่ มีประโยชน์ไม่มีใครท่ีประสบความสําเร็จมาตั้งแต่ต้น ความคิดต่างๆ ไม่ได้เกิดข้ึนมาแบบ สําเร็จรูป แต่มันจะเป็นรูปธรรมหากคิดแล้วลงมือปฏิบัติ การลังเลไม่กล้าทําในสิ่งที่ ยิ่งใหญ่เพราะเรากลัวว่าสิ่งที่ทําลงไปจะผิดพลาด ทําให้ไม่กล้าท่ีจะลงมือทําอะไรเลย จะ ส่งผลร้ายไปยังอนาคต เพราะจะหยุดยั้งมิให้ริเริ่มทําอะไร เม่ือกําหนดเป้าหมายและ วางแผนเรียบร้อยแล้ว ก็เริ่มลงมือปฏิบัติได้เลย จงมุ่งมั่น ตั้งใจ ทุ่มเททําให้เต็มท่ี หม่ัน ทบทวนเป้าหมายอยู่สม่ําเสมอ อย่าไปกลัวกับอุปสรรคที่จะเกิดขึ้น เพราะอุปสรรคเป็น บททดสอบท่ีเปรียบเหมือนบันไดให้ก้าวข้ามไปสู่ความสําเร็จ หากคิดและแก้ไขปัญหาได้ ความสําเร็จอยู่ไม่ไกลเกินเอ้ือมอย่างแน่นอนการลงมือทําแสดงให้เห็นว่าจริงจังกับเจตนา ในการทํา การลงมือทําในทุกๆ วัน ต้องมุ่งเน้นไปที่การทําในส่ิงท่ีจําเป็นต้องทํา เพ่ือให้ บรรลเุ ปา้ หมาย การม่งุ มั่นทําในงานทถ่ี ูกตอ้ ง คอื หัวใจสาํ คญั ของความสําเร็จ จงตัดสินใจ แน่วแน่ว่าอะไรบ้างท่ีจําเป็นต้องทําให้สําเร็จ และรู้แน่ชัดว่าจะต้องทําอย่างไรบ้าง ต้อง มุ่งม่ันทําเฉพาะสิ่งที่จําเป็นต้องทําเพ่ือให้บรรลุเป้าหมาย ความมุ่งม่ันทําแต่ส่ิงที่ถูกต้องคือ หัวใจของความสําเรจ็ การลงมือทาํ มคี วามสําคัญเป็นอยา่ งมาก E = Elation คือ ความภาคภูมิใจ อนุศาสนาจารย์ต้องมีความภาคภูมิใจใน ตนเองและภารกิจหน้าที่ของตน สร้างฉันทะและความภาคภูมิใจในหน้าท่ีการงาน ตระหนักเห็นคุณค่าภารกิจหน้าท่ีของอนุศาสนาจารย์ช่วยคนให้ทําแต่ความดี บุคคลที่ทํา แต่ความดีชีวิตจะมีแต่ความสุขด้วยการมีบุคลิกภาพที่ดี เป็นคนที่มีความเชื่อมั่นใน ความคิดของตนเอง สามารถให้เหตุผลในสิ่งท่ีตนเองกระทําได้กระจ่างชัด มั่นใจในการ

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๔๐๗ กระทําหรือการตัดสินของตน กล้าคิดกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม มีความคิด สร้างสรรค์ มุ่งม่ันการทํางานให้ประสบผลสําเร็จ มีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและผู้อื่น ม่ันคงทางจิตใจ มองโลกในแง่ดี สร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อบุคคลอ่ืน ทํางานอย่างเต็มที่ การ ท่ีลงมือทํางานอย่างสุดความสามารถ เม่ืองานสําเร็จเสร็จส้ินแล้วมองย้อนกลับไปความ ภูมิใจก็จะเกิดขึ้นมาได้ ยิ่งถ้าเป็นงานที่ยาก หรือการข้ามผ่านอุปสรรคต่าง ๆ ได้ก็ยิ่งภูมิใจ ให้การช่วยเหลือคนอื่นแน่นอนว่าเราไม่ได้ทํางานทุกอย่างสําเร็จได้ด้วยคนเดียว การท่ีเรา ร้จู ักมีนา้ํ ใจช่วยเหลือซ่ึงกันและกันน้ันจะทําให้งานออกมาดี แถมยังได้ความภาคภูมิใจกับ ความสําเร็จนั้นไปด้วยกันทั้งนี้ ความภูมิใจในงานที่ทําต้องไม่เกิดจากการเอารัดเอาเปรียบ ผอู้ น่ื จงึ จะเรยี กไดว้ า่ ภาคภมู ใิ จอย่างแทจ้ ริง D = Dharma คือ หลักธรรมะ ในการพัฒนาสมรรถนะน้ัน อนุศาสนาจารย์ ทหารบกไทยควรนําหลักพุทธธรรมมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาสมรรถนะ ๓ อย่าง คือ ๑) สมรรถนะทางกาย ๒) สมรรถนะทางจิตใจ และ ๓) สมรรถนะทางปัญญา เพ่ือ ความมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติภารกิจทั้ง ๔ ด้าน คือ ๑) การอบรมการสอน ศีลธรรม ๒) การปฏิบัติธรรม ๓) การปฏิบัติศาสนพิธี และ๔) การเย่ียมไข้ สําหรับหลัก พุทธธรรมท่ีจะนํามาใช้ในการพัฒนาสมรรถนะ คือ หลักอิทธิบาท ๔ หลักพรหมวิหาร ๔ หลักภาวนา ๔หลักกัลยาณมิตรธรรม ๗หลักธรรมเทสกธรรม ๕ หลักเทศนาวิธี ๔ และ หลักอนุศาสนปี าฏิหาริย์ ๖.ข้อเสนอแนะ จากการศึกษาวิจัยเรื่องการพัฒนาสมรรถนะอนุศาสนาจารย์ทหารบกไทยเชิง พุทธบูรณาการ ผู้วจิ ัยขอเสนอแนวทางการนาํ ไปประยุกต์ใช้ ดังนี้ ๑) ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย กองทัพบก โดยกรมยุทธศึกษาทหารบกควรให้การสนับสนุนส่งเสริมกอง อนุศาสนาจารย์ให้จัดทําหลักสูตรการศึกษาหรือหลักสูตรการฝึกอบรมแนวทางการ พัฒนาสมรรถนะอนุศาสนาจารย์ทหารบกไทย โดยนําหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เช่น หลักภาวนา ๔ หลักกัลยาณมิตรธรรม ๗หลักธรรมเทสกธรรม ๕ หลักเทศนาวิธี ๔ หลักพรหมวิหาร ๔ หลักอิทธิบาท ๔ และอนุศาสนีปาฏิหาริย์ ไปบูรณาการเข้ากับการ ปฏิบัติหน้าที่ของอนุศาสนาจารย์ ในการพัฒนาประสิทธิภาพการทํางานของ อนุศาสนาจารย์อย่างเป็นรูปธรรม เพื่อเป็นการปลุกจิตสํานึกให้อนุศาสนาจารย์ได้มี ความรู้ความเข้าใจในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาและสามารถนํามาใช้เป็นหลักยึดถือ ประพฤตปิ ฏิบตั ไิ ด้อย่างเหมาะสม ๒) ขอ้ เสนอแนะเชิงปฏบิ ตั ิ

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๔๐๘ จากผลการวิจัยในคร้ังน้ีพบว่า แนวคิดตามหลักไตรสิกขา ได้แก่ อธิศีลสิกขา อธิจิตตสิกขา และอธิปัญญาสิกขามีความสอดรับกับแนวคิดสมรรถนะ (Competency) คือ คุณลักษณะเฉพาะพ้ืนฐาน ๖ ประการ ได้แก่ แรงจูงใจ (Motive) อุปนิสัย (Trait) อตั มโนทศั น์ (Self-Image)บทบาททางสังคม (Social Role) ความรู้ (Knowledge) และ ทักษะ (Skill) ที่มีความสัมพันธ์ซ่อนอยู่ภายในตัวของบุคคล ซึ่งสมรรถนะเหล่าน้ีจะเป็น ตัวผลักดันให้บุคคลสามารถสร้างผลการปฏิบัติงานในงานท่ีตนรับผิดชอบได้สูงกว่าหรือ เหนือกว่าเกณฑ์และเป้าหมายที่กําหนดไว้ดังนั้น อนุศาสนาจารย์ทหารบกไทย พึงเอา แนวคิดสมรรถนะตามหลักหลักไตรสิกขา และแนวคิดสมรรถนะ คือ คุณลักษณะเฉพาะ พ้นื ฐาน ๖ ประการ มาบรู ณาการร่วมกนั กบั หลักธรรมในทางพระพุทธศาสนาอ่ืนๆ ในมิติ ความสัมพันธ์สอดคล้องกันเชิงเหตุผลได้ยึดถือเป็นข้อปฏิบัติ เพื่อให้การทํางานประสบ ความสําเรจ็ มผี ลงานได้ตามเกณฑ์มาตรฐานท่ีกําหนดหรือสูงกวา่ ๓) ข้อเสนอแนะงานวิจยั ครัง้ ต่อไป จากการศึกษาเร่ือง การพัฒนาสมรรถนะอนุศาสนาจารย์ทหารบกไทยเชิง พุทธบูรณาการสามารถสรุปผลการวิจัยได้ดังนี้นั้น ผู้วิจัยพบว่ายังมีประเด็นที่เป็น สาระสาํ คญั ที่นา่ สนใจศกึ ษาคน้ คว้า ดงั นี้ ๑. ควรทําวิจัยเรื่อง “ศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบบทบาท ภารกิจ และ สมรรถนะของอนศุ าสนาจารย์ทหารบกไทยกับอนศุ าสนาจารย์ทหารเรอื ไทย” ๒. ควรทําวิจัยเรื่อง “รูปแบบการนําหลักพรหมวิหาร ๔ มาบูรณาการเพ่ือเพ่ิม ประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ิภารกจิ การเยี่ยมไขข้ องอนุศาสนาจารยท์ หารบกไทย” ๓. ควรทําวิจัยเร่ือง “การปฏิบัติธรรมกับผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาบุคลากรของ กองทพั บก” ...............................

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๔๐๙ บรรณานุกรม มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบบั มหาจฬุ าลงกรณราช วิทยาลัย. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พม์ หาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๓๙. กองทัพบก.คมู่ อื การอนุศาสนาจารยก์ องทพั บก.กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์กรมยทุ ธศกึ ษา ทหารบก, ๒๕๓๘. กองทัพบก.ตํารายทุ ธศาสตรข์ องกรมยทุ ธการทหารบก. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพอ์ รุณการ พมิ พ์, ๒๔๗๐. คงชีพ ตนั ตระวาณชิ ย,์ พนั ตร.ี คณุ ภาพชีวติ การทาํ งานของนายทหารชน้ั ประทวน สงั กดั กรมทหารราบที่ ๑ มหาดเล็กรกั ษาพระองค.์ วทิ ยานิพนธศ์ ลิ ปศาสตรมหา บณั ฑิต(รฐั ศาสตร์). บัณฑิตวทิ ยาลัย: มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, ๒๕๔๓. ฐติ พิ ฒั น์ พชิ ญธาดาพงศ.์ ยุทธวิธีการใชร้ ะบบสมรรถนะในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ เพ่ือ ผลกั ดันองคก์ รสคู่ วามเป็นเลศิ เหนือค่แู ข่ง.วารสารดํารงราชานภุ าพ.ปที ี่ ๖ ฉบบั ที่ ๒๐ (กรกฎาคม – กันยายน ๒๕๔๙). ปกรณ์ ปรยี ากร.ทฤษฎแี ละแนวคิดเกยี่ วกับการพฒั นาในการบริหารการพัฒนา. กรงุ เทพฯ: สามเจรญิ พานชิ , ๒๕๓๘. ปธาน ทองขนุ นา, พันเอก. รชั กาลท่ี ๖ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยหู่ ัว. นิตยสารยทุ ธโกษ. ปีที่ ๑๒๕ ฉบบั ท่ี ๑ (ตลุ าคม-ธนั วาคม ๒๕๕๙). พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยตุ โฺ ต).การศึกษากับการพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย์.กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พก์ ารศาสนา, ๒๕๓๙. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยตุ ฺโต).ลักษณะแหง่ พระพุทธศาสนา. พมิ พ์ครง้ั ที่ ๑๑.กรุงเทพฯ: เคลด็ ไทย, 25๔๗. ยวุ ัฒน์ วฒุ เิ มธี.การพฒั นาชุมชน : จากทฤษฎีส่กู ารปฏบิ ัต.ิ กรงุ เทพฯ: บางกอกบล็อก, ๒๕๓๔. วิเชียร ปราบพาล, เรืออากาศเอก.การวิเคราะห์บทบาทอนุศาสนาจารย์ : ศึกษา เฉพาะกรณีอนศุ าสนาจารย์ทหารอากาศไทย.สารนพิ นธ์สงั คมสงเคราะหศ์ า สตรมหาบัณฑติ , บัณฑิตวทิ ยาลัย: มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร,์ ๒๕๔๐. สมาน รักสโิ ยกฤฎ์.ความรู้ทวั่ ไปเกีย่ วกบั การบรหิ ารงานบคุ คล. พมิ พ์คร้ังที่ ๑๓. กรุงเทพฯ:สวัสดิการสํานกั งาน กพ., ๒๕๓๐. สุจิตรา ธนานนั ท.์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย.์ พิมพ์คร้ังที่ ๒. กรงุ เทพฯ: สถาบัน บณั ฑิตพฒั นบรหิ ารศาสตร,์ ๒๕๕๐. Ivancevichj.m. Human ResourceManagement.10thed. New yok :McGrawhill, 2007.

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๔๑๐ Marchington M. & Wilkinson A. Human ResourceManagement at Work : People Managementand Department. 4thed, Londol : DIPD, 2008. Sims,R.R. Human ResourceManagement : Contemporary Issues, Challengrs, and Opportunities. Charlotte, NC : Information Age, 2007.

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๔๑๑ คณุ ค่าของอนุศาสนาจารยก์ องทพั บกในจงั หวัดชายแดนภาคใต1้ 40 The Value of Army Chaplains in Southern Border Provinces of Thailand ภัทรกฤติ รอดนิยม141* และศนั สนีย์ จันทร์อานภุ าพ142 Phattarakrit Rodniyom2* and Sansanee Chanarnupap3 บทคัดย่อ บ ท ค ว า ม วิ จั ย น้ี มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ เ พื่ อ ศึ ก ษ า คุ ณ ค่ า เ ชิ ง บ ท บ า ท ห น้ า ที่ ข อ ง อนุศาสนาจารย์กองทัพบกที่ปฏิบัติงานในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยใช้ระเบียบวิธี วิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบด้วย การศึกษาเอกสารและการศึกษาภาคสนาม เก็บรวบรวม ข้อมูลโดยการสังเกต การสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม และการสัมภาษณ์เจาะลึก ผู้ให้ ข้อมูลหลักมีจํานวน 40 คน ผลการศึกษาพบว่า อนุศาสนาจารย์เป็นคําเรียกช่ือนายทหาร ผู้ปฏิบัติหน้าท่ีทางด้านศาสนาในกองทัพ ภารกิจของอนุศาสนาจารย์กองทัพบก คือ นํา กําลังพลเขา้ หาธรรมะ นาํ ธรรมะพัฒนากําลังพล ดํารงสถานภาพเป็นตัวแทนของศาสนาใน การอบรมสั่งสอนด้านศลี ธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรม เป็นผู้นําทางด้านจิตวิญญาณของ กําลังพลทุกระดับ เป็นเจ้าหน้าที่พิธีการทางศาสนาที่อยู่ในเคร่ืองแบบ อนุศาสนาจารย์ กองทัพบกมีหน้าท่ีสร้างขวัญกําลังใจและกระตุ้นจิตสํานึกให้กําลังพลมีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ และพร้อมท่ีจะเสียสละตนเองในการปฏิบัติตามภารกิจท่ีได้รับมอบหมาย คุณค่า เชงิ บทบาทหน้าท่ขี องอนุศาสนาจารย์กองทัพบกในจังหวัดชายแดนภาคใต้ สามารถสรุปได้ 3 ข้อ ได้แก่ (1) ด้านการอบรมส่ังสอนในทางธรรม (2) ด้านศาสนพิธีและพิธีกรรมตาม 140 บทความน้ีเป็นส่วนหน่ึงของวิทยานิพนธ์หลกั สูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาไทย คดีศึกษา มหาวิทยาลัยทกั ษณิ ได้รบั ทนุ สนับสนุนการวิจยั จากบณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยทกั ษิณ ประจําปกี ารศึกษา 2560 141 ร้อยโท, นกั ศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑติ (ไทยคดศี ึกษา) คณะมนษุ ยศาสตร์และ สงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยทกั ษณิ จ.สงขลา 90000,ปัจจบุ ันดํารงตําแหน่ง อศจ.ร.5 142 ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร., คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ทักษิณ จ. สงขลา 90000 2 Graduate Student in M.A. (Thai Studies), Faculty of Humanities and Social Sciences Thaksin University, Songkhla 90000 3 Assistant Professor, Dr., Faculty of Humanities and Social Sciences Thaksin University, Songkhla 90000 * Corresponding author: [email protected] Tel. 0950149333

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๔๑๒ ความเช่ือ โดยเฉพาะในกรณีที่กําลังพลเสียชีวิต และ (3) ด้านการให้คําปรึกษาและสร้าง ขวัญกําลังใจ โดยเฉพาะการเย่ียมเยียนกําลังพลท่ีป่วย บาดเจ็บ ถูกคุมขัง หรือมีปัญหา เพือ่ ปลอบขวัญและใหก้ ําลงั ใจ คําสําคญั : คุณค่า อนศุ าสนาจารยก์ องทพั บก จงั หวดั ชายแดนภาคใต้

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๔๑๓ Abstract This paper aims to study the value of Thai army chaplains working in Southern border provinces of Thailand. The research methodology comprises of documentary and field research. Data are collected by general observation, participatory observation and in-depth interview. Forty key informants generate the core data for the study. The research found that an army chaplain is a soldier who is responsible for the moral teaching in the military. He is the key person who is responsible for promoting morale, responsibility, honesty so that the military will be ready to sacrifice their life for the assigned mission. Principally, Thai army chaplains in Southern border provinces of Thailand have significant acting roles in three areas: (1) teaching and training in righteousness (2) directing religious practices and ritual, especially when soldiers died (3) mentoring, visiting and raising up the soldiers who are in needs such as sick, injured, imprisoned or suffering. Keywords: Value, Thai Army Chaplain, Southern Border Provinces of Thailand

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๔๑๔ บทนาํ ฐานข้อมูลของศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ (Deep South Incident Database - DSID) รายงานสรุปสถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ใน รอบ 13 ปี ระหวา่ งปี พ.ศ.2547-2559 พบว่า มผี ู้เสียชีวติ และบาดเจ็บรวม 19,507 ราย เมื่อพิจารณาจากพ้ืนท่ีทางภูมิศาสตร์ของการเกิดเหตุการณ์ จะเห็นได้ว่าข้อมูลรวม ตั้งแต่ปี พ.ศ.2547-2559 มีเหตุการณ์มากที่สุดท่ีจังหวัดนราธิวาส คือ 6,959 เหตุการณ์ (ร้อยละ 36) รองลงมาคือจังหวัดปัตตานีมี 6,279 เหตุการณ์ (ร้อยละ 33) และจังหวัดยะลามี 5,357 เหตุการณ์ (ร้อยละ 28) สถานการณ์ความรุนแรงมีผลต่อ ประชาชนในพื้นที่ รวมทั้งผู้ปฏิบัติงานในด้านการดูแลความสงบและความม่ันคงของ ประเทศชาติด้วย ข้อมูลการวิเคราะห์สถานการณ์ความไม่สงบที่เกิดข้ึนพบว่า เป้าหมาย ในระยะหลังของการก่อเหตุการณ์ความไม่สงบมักจะมุ่งไปที่ผู้ถืออาวุธด้วยกันมากกว่าท่ี จะโจมตีประชาชน จํานวนของกองกําลังฝ่ายทหาร ตํารวจ ทหารพราน และอาสาสมัคร ป้องกันภัยที่บาดเจ็บและเสียชีวิตมีประมาณร้อยละ 36.8 [1] นอกจากน้ัน ผล การศึกษาภาวะสุขภาพจิตและทัศนคติของกําลังพลกองทัพบกที่ปฏิบัติภารกิจในพื้นท่ี สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ยังพบว่า กําลังพลส่วนใหญ่มีความรู้สึกเครียดทางจิตใจ (ร้อยละ 61.50) และต้องการได้รับความช่วยเหลือ (ร้อยละ 45.93) โดยมีภาวะเสี่ยง ต่อการเกิดโรคซึมเศร้า (ร้อยละ 34.55) และมีพฤติกรรมการด่ืมแอลกอฮอล์เพ่ิมข้ึน (ร้อยละ 19.67) ส่วนทัศนคติเก่ียวกับสาเหตุของความเครียด ได้แก่ ปัญหาด้านการเงิน (ร้อยละ 62.20) ปัญหาความปลอดภัยในชีวิต (ร้อยละ 57.93) และปัญหาครอบครัว (ร้อยละ 48.63) สําหรับทัศนคติต่อการเข้ารับบริการด้านสุขภาพจิตมีอุปสรรคได้แก่ การลาหยดุ (รอ้ ยละ 64.35) และการเดินทางไปรับบริการ (รอ้ ยละ 56.03) [2] ด้วยเหตุน้ี กองทัพบกจึงให้ความสําคัญกับการดูแลสุขภาวะทางจิตใจของกําลัง พลทั้งในที่ตั้งและในสนาม โดยได้กําหนดตําแหน่ง “อนุศาสนาจารย์” ทําหน้าที่นํากําลัง พลเข้าหาธรรมะ นําธรรมะพัฒนากําลังพล ช่วยให้คําปรึกษา ปลอบขวัญ สร้างกําลังใจ และกระตุ้นจิตสํานึกให้กําลังพลพร้อมที่จะเสียสละตนเองในการปฏิบัติตามภารกิจท่ี ไดร้ บั มอบหมาย [3] บ ท ค ว า ม วิ จั ย น้ี มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ เ พ่ื อ ศึ ก ษ า คุ ณ ค่ า เ ชิ ง บ ท บ า ท ห น้ า ท่ี ข อ ง อนุศาสนาจารย์กองทัพบกที่ปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ จังหวัด ปัตตานี จังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบดว้ ย การศึกษาเอกสารและการศกึ ษาภาคสนาม โดยอนุศาสนาจารย์กองทัพบก ในบทความวิจัยนี้ หมายถึง บุคคลผู้ที่ดํารงตําแหน่งเป็นอนุศาสนาจารย์และผู้ช่วย อนุศาสนาจารย์กองทัพบก ซ่ึงแบ่งออกเป็นสองประเภทคือ อนุศาสนาจารย์ (คําย่อ

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๔๑๕ เรียกว่า อศจ.) เป็นนายทหารสัญญาบัตร อัตราบรรจุช้ันยศต้ังแต่ร้อยตรีข้ึนไป และ ผู้ช่วยอนศุ าสนาจารย์ (คาํ ยอ่ เรียกว่า ผช.อศจ.) ซ่ึงยังจําแนกได้เป็นสองประเภทย่อย คือ (1) เป็นนายทหารสัญญาบัตร มีคุณสมบัติเหมือนอนุศาสนาจารย์ ชั้นยศร้อยตรีข้ึนไป และ (2) เป็นนายทหารชั้นประทวน มีคุณสมบัติสําเร็จการศึกษาทางพระพุทธศาสนา เปรยี ญธรรม 6 ประโยคขึน้ ไป มีช้ันยศตัง้ แต่สบิ ตรีถึงจ่าสิบเอก ข้ อ ค้ น พ บ ที่ ไ ด้ ช่ ว ย ข ย า ย อ ง ค์ ค ว า ม รู้ เ ก่ี ย ว กั บ ก า ร ป ฏิ บั ติ บ ท บ า ท ข อ ง อนุศาสนาจารย์กองทัพบกในสถานการณ์ความไม่สงบ และยังสามารถเป็นแหล่งความรู้ สําหรับวางแผนพัฒนาการปฏิบัติงานของอนุศาสนาจารย์ประจํากองทัพไทยในทุกเหล่า ทัพตอ่ ไป วิธีการวิจยั บทความวิจัยน้ีใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ประกอบด้วยการศึกษาเอกสารและการศึกษาภาคสนาม เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการ สังเกต การสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม และการสัมภาษณ์เจาะลึก ผู้ให้ข้อมูลหลักมี จํานวน 40 คน จําแนกออกเป็น (1) อนุศาสนาจารย์ท่ีปฏิบัติหน้าที่ในพื้นที่จังหวัด ชายแดนภาคใต้ จํานวน 12 คน (2) ผู้บังคับบัญชาในสนามซ่ึงเป็นผู้บังคับบัญชาของ หน่วยทหารที่ดูแลการปฏิบัติบทบาทของอนุศาสนาจารย์ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ จํานวน 12 คน (3) กําลังพลภายในขอบเขตความรับผิดชอบของอนุศาสนาจารย์ท่ี ปฏิบัติหน้าที่ในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ จํานวน 12 คน นอกจากนั้น ผู้วิจัยยังเก็บ ข้อมูลจากอนุศาสนาจารย์ในสังกัดกองทัพภาค 4 แต่ไม่ได้ปฏิบัติหน้าท่ีในจังหวัด ชายแดนภาคใต้ จาํ นวน 4 คน เพ่ือใชเ้ ป็นข้อมลู ประกอบการพิจารณาคุณค่าเชิงบทบาท หนา้ ท่ีของอนุศาสนาจารย์ในจงั หวัดชายแดนภาคใต้ สําหรับการเข้าถึงผู้ให้ข้อมูลน้ัน ผู้วิจัยเป็นอนุศาสนาจารย์ประจํากองทัพภาค 4 แต่ไมไ่ ด้ปฏิบัติหนา้ ทใ่ี นจังหวดั ชายแดนภาคใต้ ผู้วิจัยสามารถเข้าถึงข้อมูลและผู้ให้ข้อมูล หลักได้ง่าย โดยอาศัยความสัมพันธ์ในฐานะเพื่อนร่วมงาน ซ่ึงต้องประสานการทํางาน และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ทํางานระหว่างกัน ผู้วิจัยสามารถเข้าพื้นท่ีจังหวัดชายแดน ภาคใต้เพื่อติดตามการทํางานของผู้ให้ข้อมูลหลักได้ตลอดช่วงเวลาการวิจัย ท้ังน้ี ผู้วิจัย ตระหนักว่า แม้ผู้วิจัยจะเป็นอนุศาสนาจารย์ แต่ข้อมูลและข้อค้นพบที่ได้จะต้องมาจาก ผู้ให้ข้อมูลหลักอย่างแท้จริง ผู้วิจัยพิจารณาข้อจํากัดในการวิจัย พบว่า การวิจัยน้ีมี ข้อจํากัดดังน้ี (1) ข้อมูลสําคัญทางราชการทหารบางอย่างไม่สามารถเปิดเผยได้ เช่น ข้อมูลสถิติจํานวนกําลังพลในพ้ืนที่ เป็นต้น (2) ชื่อสกุลของผู้ให้ข้อมูลหลักจํานวนหนึ่ง จําเป็นต้องใช้นามแฝง เพ่ือความปลอดภัยเน่ืองจากเป็นผู้ปฏิบัติงานในพ้ืนที่เกิด สถานการณ์ความไมส่ งบ

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๔๑๖ ผู้วิจัยนําข้อมูลที่ได้รับจากการศึกษาเอกสารและการศึกษาภาคสนามมาจัด กระทําอย่างเป็นระบบ เช่ือมโยง และหาความสัมพันธ์ของข้อมูล เพื่อทําความเข้าใจ คุณค่าเชิงบทบาทหน้าที่ของอนุศาสนาจารย์ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ การตรวจสอบ ความเช่ือถือได้ของข้อมูลใช้วิธีสามเส้า (Triangulation) จากน้ันผู้วิจัยสร้างข้อสรุปด้วย การวเิ คราะหเ์ ชิงเนือ้ หา (Content Analysis) แล้วจึงเขียนรายงานเชงิ พรรณนา ผลการศึกษา ประวตั ิความเป็นมาของอนศุ าสนาจารย์กองทพั บก ประวัติความเป็นมาของอนุศาสนาจารย์กองทัพบก พอจะสรุปใจความสําคัญได้ ดังน้ี ตําแหน่งอนุศาสนาจารย์สําหรับกองทหารน้ันเริ่มต้นขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 ซ่ึงใน ครั้งน้ันนิยมใช้เรียกตัวบุคคล ไม่ได้แต่งตั้งข้ึนเป็นกองหรือแผนก และไม่ได้บัญญัติศัพท์ เรียกว่าอนุศาสนาจารย์อย่างในปัจจุบัน คงเรียกตามภาษาอังกฤษว่า แช๊ปลิน (Chaplain) ตามสมัยนิยมในยุคนั้น คําว่า “อนุศาสนาจารย์” พบคร้ังแรกในสมัยรัชกาล ที่ 6 เมื่อคร้ังประเทศไทยประกาศเข้าสู่สงครามโลกคร้ังท่ี หน่ึง พระบาทสมเด็จพระ มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กระทรวงกลาโหมส่งกองทหาร อาสาไปช่วยฝ่ายสัมพันธมิตรในงานสงคราม และทรงมีพระราชปรารภว่า “กองทหารที่ โปรดเกล้าฯ ให้ส่งไปแล้วน้ันจัดได้ดีทุกสิ่งสรรพ์ แต่ยังขาดส่ิงสําคัญอยู่อย่างหน่ึงคือ อนุศาสนาจารย์ ที่จะเป็นผู้ปลุกใจทหาร หาได้จัดส่งไปด้วยไม่ เพราะทหารที่จาก บ้านเมืองไปคราวนี้ต้องไปอยู่ในถิ่นไกล ไม่ได้พบเห็นพระเหมือนเมื่ออยู่ในบ้านเมือง ของตน จิตใจจะห่างเหินจากทางธรรม ถึงยามคะนองก็จะฮึกเหิมเกินไป เป็นเหตุให้ เส่ือมเสีย ไม่มีใครจะคอยให้โอวาทตักเตือน ถึงคราวทุกข์ร้อนก็จะอาดูรระส่ําระสาย ไม่มีใครจะช่วยปลดเปลื้องบรรเทาให้ดูเป็นการว้าเหว่น่าอนาถ ถ้ามีอนุศาสนาจารย์ ออกไป จะไดค้ อยอนสุ าสนพ์ รํ่าสอนและปลอบโยนปลดเปลื้องในยามทุกข์” ในคร้ังนั้นได้ทรงเลือก รองอํามาตย์ตรี อยู่ อุดมศิลป์ ซึ่งรับราชการอยู่ในกรม ราชบัณฑิต กระทรวงธรรมการ ให้เป็นอนุศาสนาจารย์ตามกองทหารอาสาออกไปยัง ประเทศสัมพันธมิตร ณ ทวีปยุโรป ก่อนออกเดินทางพระองค์ได้มีพระราชดํารัสสั่งเสีย เม่ือเข้าเฝ้าถวายบังคมลาไปราชการสงครามตามพระราชดําริ ดังนี้ “น่ีแน่ เจ้าเป็นผู้ที่ ข้าได้เลือกแล้ว เพื่อให้ไปเป็นผู้สอนทหาร ด้วยเห็นว่าเจ้าเป็นผู้สามารถที่จะสั่งสอน ทหารได้ ตามท่ีข้าได้รู้จักชอบพอกับเจ้ามานานแล้ว เพราะฉะน้ัน ขอให้เจ้าช่วยรับ ธรุ ะของขา้ ไปสัง่ สอนทหารทางโนน้ ตามแบบอย่างที่ข้าเคยสอนมาแล้ว เจ้าก็คงจะได้ เหน็ แล้วมิใชห่ รือ เออ นั่นและ ขา้ ขอฝากให้เจ้าชว่ ยสอนอย่างน้นั ดว้ ย เขา้ ใจละนะ”

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๔๑๗ เมื่ออนุศาสนาจารย์ไปถึงนครปารีส ประเทศฝร่ังเศสแล้ว หัวหน้าทูตทหารได้ทํา รายงานบอกมายังกรมเสนาธิการทหารบก โดยระบุหน้าท่ีของอนุศาสนาจารย์ที่ต้อง ปฏิบัติในราชการสงครามคราวนั้น จอมพลเสนาธิการทหารบก ได้ทรงกําหนดไปยังกอง ทูตทหารมีใจความ 5 ข้อดังนี้ (1) ให้ทําการอยู่ในกองทูตทหาร (2) ส่งตัวไปเยี่ยมเยียน ทหารในที่ต่าง ๆ ซึ่งทหารแยกย้ายกันอยู่น้ันเนือง ๆ เพื่อส่ังสอนตักเตือนในทาง พระพุทธศาสนา และทางจรรยาความประพฤติ (3) ให้ถามสุขทุกข์กันอย่างจริงใจ ท้ัง คอยให้รับธุระต่าง ๆ ของทหาร เช่น จะส่ังมาถึงญาติของตนในกรุงสยาม หรือส่งเงินส่ง ของมาให้ ใหร้ ับธุระทุกอย่าง (4) ทหารคนใดเจบ็ ไขใ้ ห้อนุศาสนาจารย์ไปเยี่ยมปลอบโยน เอาใจ และ (5) ถ้ามีเหตุอันไม่พึงประสงค์ที่ทหารคนใดถึงแก่ความตายลง ให้ อนศุ าสนาจารยท์ าํ พธิ ี โดยอ้างพระธรรมตามแบบสงฆป์ ฏบิ ัติในขณะฝังศพ ประมวลความว่า อนุศาสนาจารย์ทําหน้าท่ีตามอย่างพระ แต่พระจะเดินทางไป ยุโรปมิได้ ขัดด้วยการแต่งกายและเหตุอื่นๆ จึงต้องใช้คฤหัสถ์ซึ่งเป็นเปรียญและเคย อุปสมบทอยู่ในสมณเพศแทน โดยก่อนอนุศาสนาจารย์จะออกเดินทางในครั้งนั้น ได้ ถวายบังคมลาสมเด็จพระมหาสมณเจ้า และทรงพระกรุณาโปรดให้ข้ึนเฝ้าบนตําหนัก จันทร์เป็นพิเศษ ได้ประทานวัตถุเป็นม่ิงขวัญสามอย่าง คือ เหรียญพระพุทธชินสีห์ เหรียญพระจตุราริยสัจ และเหรียญมหาสมณุตตมาภิเษก แล้วทรงส่ังไว้ว่า ถ้าถึงคราว จําเป็นก็ให้นําวัตถุเหล่านี้ออกทํานํ้ามนต์ได้ ท้ังทรงอธิบายไว้ด้วยว่า สีลพตปรามาสน้ัน ถ้ามุ่งเอาเมตตากรุณาเป็นท่ีตั้งแล้ว ยังเป็นกิจที่ควรทํา ไม่เป็นข้อท่ีเสียหาย อนุศาสนาจารย์จึงได้อัญเชิญวัตถุมิ่งขวัญท้ังสามไปยังโรงพยาบาลลุกเซมเบิก ประเทศ ฝร่ังเศส เม่ือนายแพทย์ให้ทหารป่วยที่เดินได้มารวมกันในห้องทหารป่วยที่เดินไม่ได้ อนุศาสนาจารย์ได้ต้ังสัตยาธิษฐานประกาศข้อความทําน้ํามนต์ดัง ๆ ช้า ๆ ให้ทุกคนได้ ยินทุกคําอย่างกล่าวประกาศสัตยาธิษฐานท่ีท่านทํากันมา คร้ันสําเร็จเป็นน้ํามนต์ข้ึนแล้ว จึงได้ประพรมตามเตียงคนไข้จนท่ัวห้อง เพื่อขับอุปัทวะอย่างประน้ํามนต์ข้ึนเรือนใหม่ นับเปน็ การสรา้ งขวญั กาํ ลังใจให้กบั ทหารไทยในโรงพยาบาลลุกเซมเบิก [4] อนุศาสนาจารย์ที่ไปคราวน้ันได้กลับมากับกองทูตทหารถึงกรุงเทพมหานคร ใน วันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2462 กระทรวงกลาโหมได้มีคําส่ังต้ังกองอนุศาสนาจารย์ข้ึน ทันทีตามพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ตั้งกองอนุศาสนาจารย์ของ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 โดยให้มีผลตั้งแต่วันท่ี 1 มิถุนายน พ.ศ. 2462 เปน็ ต้นมา ปัจจุบันกองอนุศาสนาจารย์ สังกัดกรมยุทธศึกษาทหารบก เป็นการจัดหน่วย กาํ ลงั พลสายวิทยาการอนศุ าสนาจารย์ขน้ึ ตรงกองทัพบก และหน่วยรองเป็นการจัดกําลัง พลสายวิทยาการอนุศาสนาจารย์ประจําหน่วยปฏิบัติหน้าท่ีเป็นฝ่ายกิจการพิเศษประจํา

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๔๑๘ ผู้บังคับบัญชา สําหรับตําแหน่งอนุศาสนาจารย์นั้น เป็นคําเรียกชื่อนายทหารผู้ปฏิบัติ หน้าที่ทางด้านศาสนาในกองทัพ143 ภารกิจของอนุศาสนาจารย์กองทัพบก คือ นํากําลัง พลเข้าหาธรรมะ นําธรรมะพัฒนากําลังพล ดํารงสถานภาพเป็นตัวแทนของศาสนาใน การอบรมส่ังสอนด้านศีลธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรม เป็นผู้นําทางด้านจิตวิญญาณ ข อ ง กํ า ลั ง พ ล ทุ ก ร ะ ดั บ เ ป็ น เ จ้ า ห น้ า ที่ พิ ธี ก า ร ท า ง ศ า ส น า ท่ี อ ยู่ ใ น เครื่องแบบ อนุศาสนาจารย์กองทัพบกมีหน้าที่สร้างขวัญกําลังใจและกระตุ้นจิตสํานึกให้ กําลังพลมีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ และพร้อมท่ีจะเสียสละตนเองในการปฏิบัติตาม ภารกิจทไี่ ดร้ ับมอบหมาย คณุ สมบตั ิและการเขา้ สตู่ าํ แหนง่ ของอนศุ าสนาจารย์กองทัพบก ผู้ที่เข้ารับตําแหน่งอนุศาสนาจารย์จะต้องเป็นผู้ท่ีมีความรู้ความเข้าใจทางด้าน ศาสนาเป็นอย่างดี โดยกองทัพบกจะส่งอนุศาสนาจารย์ไปประจําอยู่ตามหน่วยต่าง ๆ ตัง้ แตร่ ะดับกรม หรือศนู ย์การทหารขนึ้ ไป ผ้สู มัครสอบคดั เลอื กเปน็ อนศุ าสนาจารย์กองทัพบก จะตอ้ งมีคณุ สมบตั ิดงั น้ี 1. เปน็ ผูเ้ คยอุปสมบทเป็นพระภกิ ษุในพระพทุ ธศาสนา 2. วิทยฐานะสําหรับตําแหน่งอนุศาสนาจารย์และผู้ช่วยอนุศาสนาจารย์ชั้น สัญญาบัตรต้องเป็นเปรียญธรรม 9 ประโยค หรือปริญญาทางศาสนา เช่น ปริญญาพุทธ ศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย หรือปริญญาศาสนศาสตร บัณฑิต มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ซึ่งจะต้องได้เปรียญธรรม 4 ประโยคขึ้นไป สําหรับตําแหน่งผู้ช่วยอนุศาสนาจารย์ชั้นประทวนนั้น จะต้องเป็นเปรียญธรรม 6 ประโยคข้นึ ไป 3. มีสัญชาติไทย และบดิ ามารดามสี ัญชาตไิ ทยโดยกําเนิด 4. ตําแหน่งอนุศาสนาจารย์และผู้ช่วยอนุศาสนาจารย์ช้ันสัญญาบัตร ต้องมีอายุ ครบ 25 ปีบริบูรณ์ และไม่เกิน 35 ปีบริบูรณ์ ส่วนตําแหน่งผู้ช่วยอนุศาสนาจารย์ช้ัน ประทวน ต้องมีอายุครบ 21 ปีบริบูรณ์และไม่เกิน 30 ปบี รบิ ูรณ์ 5. ไม่เคยมปี ระวตั ิเสยี หายทง้ั ในระหวา่ งเป็นพระภิกษแุ ละลาสิกขามาแล้ว 6. มีร่างกายสมบูรณไ์ ม่มโี รคซง่ึ ขัดตอ่ การรับราชการทหาร 7. มีคุณสมบัติเหมาะสมท่ีจะเป็นอนุศาสนาจารย์สอนทหาร และไม่ขัดต่อ ขอ้ บังคบั ทหาร เพอื่ ให้ไดบ้ คุ คลทีม่ ีสมรรถภาพและคุณสมบตั ิเหมาะสมท่จี ะเปน็ อนุศาสนาจารยแ์ ละ ผู้ช่วยอนุศาสนาจารย์กองทัพบกจงึ กําหนดการสอบคัดเลอื กเป็น 2 ภาคคือ ภาควิชาการ 143 ปจั จบุ นั มกี ารจดั ตั้งกองอนุศาสนาจารย์ประจํากองทัพเรือและกองทพั อากาศดว้ ย

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๔๑๙ และภาคความประพฤติ ภาควชิ าการ ทาํ การสอบดเลือก 4 สาขา คือ (1) ทว่ งที วาจา ทําการสอบเป็นรายบคุ คล โดยให้พจิ ารณาถึงรูปรา่ ง เสียง สําเนยี ง นสิ ัยใจ คอ ความคดิ เห็น ลกั ษณะท่าทาง การแต่งกาย การพดู จา โวหาร ไหว พรบิ (2) ข้อเขยี น ในสาขานก้ี าํ หนดสอบ 3 วชิ า คอื วชิ าเรยี งความ วชิ าความรู้ ทั่วไป และวิชาเลขานกุ าร (3) บรรยาย กําหนดเรือ่ งบรรยายใหท้ ราบลว่ งหน้า 1 วัน ให้ เวลาบรรยายคนละ 30 นาที ถึง 45 นาที (4) สมั ภาษณ์ กําหนดสอบความรู้ 2 ทาง คือ ความรู้ทางธรรมและความรู้ทางโลก สําหรับภาคความประพฤติ กําหนดสอบ คดั เลือก 3 วิธคี ือ (1) ให้ผู้สมคั รสอบส่งบันทึกประวัติของตนตามแบบทีก่ รรมการ กําหนดให้ (2) ใหผ้ ู้สมคั รสอบนําหนงั สอื รับรองความประพฤตขิ องตนจากพระอปุ ชั ฌาย์ อาจารยห์ รือจากสํานักเรียนที่ตนเคยอยู่ในปกครองมาแสดงตามแบบทกี่ รรมการ กาํ หนดให้ (3) กรรมการสอบ ทาํ การสบื สวนความประพฤตแิ ละอัธยาศยั จากบุคคลทพี่ งึ เชอ่ื ถือได้ สาํ หรับการตดั สินผลการสอบคัดเลอื กน้ัน ผู้มีคะแนนสอบในภาควชิ าการแต่ ละวชิ าต้งั แตร่ ้อยละ 50 ขึ้นไป และรวมทุกวิชาตั้งแตร่ ้อยละ 70 ข้ึนไป นบั วา่ สอบผา่ น ภาควชิ าการ ผสู้ อบผ่านทั้งภาควิชาการและภาคความประพฤติจงึ นับวา่ ผ่านการสอบ คัดเลือก จรรยาบรรณของอนศุ าสนาจารย์กองทัพบก เพื่อให้อนุศาสนาจารย์ผู้ทําหน้าที่สอนและอบรมศีลธรรมแก่ทหารวางตน เหมาะสม คู่ควรแก่กองทัพ กองอนุศาสนาจารย์จึงได้กําหนดจริยาวัตรหรือจรรยาบรรณ สําหรับประพฤติปฏิบัติเป็นการภายในของหมู่คณะ ถือเป็นแบบธรรมเนียมสืบต่อกันมา เรียกว่า “วินัยอนุศาสนาจารย์” หรือจรรยาบรรณของอนุศาสนาจารย์เพ่ิมขึ้นอีกส่วน หน่ึงต่างหากจากวนิ ัยของทหาร เมอื่ วนั ที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2501 รวม 13 ข้อ ดงั นี้ 1. อนุศาสนาจารย์ต้องรกั ษาศีลห้าเปน็ นิตย์ 2. อนศุ าสนาจารยต์ ้องต้งั อยูใ่ นธรรมของสัตบุรุษและกศุ ลกรรมบถสิบ 3. อนุศาสนาจารย์ต้องมีภรรยาเพียงคนเดียว และต้องเล้ียงดูครอบครัวโดย ชอบธรรม 4. อนุศาสนาจารย์ตอ้ งไม่เข้าไปมั่วสุมในสํานักหญิงแพศยา บ่อนการพนัน และ โรงยาฝน่ิ 5. อนุศาสนาจารย์ต้องงดเว้นการประกอบมิจฉาชีพและรับประกอบกิจอันวิญญู ชนพิจารณาแล้วตําหนติ ิเตียนมิได้ 6. อนุศาสนาจารย์เมื่อประสงค์จะร้องเรียนขอความเป็นธรรมจากผู้ใหญ่ต้องไม่ ใช้บัตรสนเท่ห์หรือเขียนคําขอร้อง ตลอดจนข้อความโจมตีผู้อื่นทาง หนังสือพิมพ์

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๔๒๐ 7. อนุศาสนาจารย์จะต้องไม่วิ่งเต้น หรือขอร้องให้บุคคลภายนอกวงการ อนุศาสนาจารย์จําต้องโยกย้ายตน หรือยับยั้งการโยกย้ายตน ในเม่ือการ กระทาํ นนั้ ขัดกบั แผนการโยกยา้ ยของสายวทิ ยาการ 8. อนุศาสนาจารย์จะต้องงดเว้นเด็ดขาดจากการแสดงตัวว่าเป็นคนมักได้ ร่ํา รอ้ งขอบําเหน็จความชอบจากผู้ใหญเ่ พอื่ ตนเอง 9. อนศุ าสนาจารยไ์ มพ่ ึงพกอาวุธ 10. อนุศาสนาจารย์ไม่พึงเข้าเป็นสมาชิกของพรรคการเมืองใด 11.อนุศาสนาจารย์ไม่พึงรําวง เต้นรําร้องเพลง โชว์ต่อยมวย แต่งแฟนซี และออก ปรากฏตัวในฐานะเป็นผูแ้ สดงลิเกละคร 12. อนศุ าสนาจารย์พึงตระหนักในการแต่งกายให้สภุ าพ 13. อนุศาสนาจารย์จะต้องไม่ประพฤติตนเป็นปฏิปักษ์ต่อคณะสงฆ์นิกายใด นิกายหน่งึ และเคารพเชิดชูโดยสม่ําเสมอ นอกจากน้ี บุคคลผู้จะเข้าเป็นอนุศาสนาจารย์ต้องให้คําสัตย์ปฏิญาณต่อกอง อนุศาสนาจารย์ โดยเขียนชื่อ นามสกุล ลงในใบให้คําสัตย์ปฏิญาณ ลงวันเดือนปี พร้อม ลงนาม ยนื ยนั ต่อคณะอนุศาสนาจารย์ดว้ ย ภารกิจของอนุศาสนาจารย์กองทพั บก อนุศาสนาจารย์กองทัพบกต้องสามารถปฏิบัติภารกิจในการเผยแผ่ธรรมะ การ บําบัดทุกข์ บํารุงขวัญ และสร้างสรรค์อุดมธรรมของพระพุทธศาสนาแก่กําลังพลได้ท้ังใน เวลาราชการและนอกเวลาราชการ ท้ังในท่ีตั้งปกติและในสนาม ภารกิจของ อนุศาสนาจารย์กองทัพบกในยามปกติ มีดังน้ี (ก) ให้คําปรึกษาและข้อเสนอแนะแก่ผู้ บังคับหน่วยและฝ่ายอํานวยการอื่น ในเร่ืองท่ีเกี่ยวข้องกับศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี (ข) ส่งเสริมกําลังพลให้มีการปฏิบัติศาสนกิจ ท้ังโดยส่วนตัวและเป็น หน่วย (ค) เสนอแนะและกํากับการปฏิบัติพิธีกรรมต่าง ๆ ร่วมกับฝ่ายอํานวยการ อ่ืน (ง) ดําเนินการให้มีการสอนอบรมในเรื่องของศาสนา วัฒนธรรมประเพณี และนํา กําลังพลปฏิบัติธรรมในโอกาสต่าง ๆ (จ) หมั่นพบปะเยี่ยมเยียนกําลังพลผู้ป่วยเจ็บ ผู้ถูก คุมขัง และผู้มีปัญหา เพื่อปลุกปลอบขวัญและให้กําลังใจ (ฉ) ประสานให้ความร่วมมือกับ องค์กรทางศาสนา สถานศึกษา และองค์กรของชุมชนต่าง ๆ ในกิจการทหารที่เกี่ยวข้อง กับศาสนพิธี (ช) วางแผนให้มีการใช้ศาสนสถานของหน่วยท่ีมีอยู่ให้เกิดประโยชน์ในด้าน การปลูกฝังคุณธรรมแก่กําลังพลให้มากท่ีสุด (ซ) วางแผนให้ศาสนสถานเป็นจุดนัดพบของ กําลังพลทุกระดับ พร้อมท้ังครอบครัว โดยอาศัยกิจกรรมทางด้านศาสนาและวัฒนธรรม ประเพณี (ญ) สามารถปฏิบัติการและอํานวยการเก่ียวกับด้านศาสนา ขวัญและกําลังใจ

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๔๒๑ ของกําลังพลในกองทัพบก รวมท้ังการอบรมด้านคุณธรรมจริยธรรม วัฒนธรรมประเพณี และงานธรุ การต่างๆ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ตามท่ีกําหนดไว้ในหมายเลขชํานาญการทางทหาร ภารกจิ ท่อี นุศาสนาจารยก์ องทัพบกได้รบั การผ่อนผนั ยกเวน้ เน่ืองจากอนุศาสนาจารย์เป็นนายทหารซึ่งได้รับความนับถือจากศาสนิกว่าเป็น เสมือน “พระในเคร่ืองแบบ” เป็นผู้มีหน้าท่ีธํารงไว้ซึ่งศีลธรรม ความยุติธรรม จริยธรรม ตามตําแหน่งหน้าที่ของตน มิใช่นายทหารผู้ถืออาวุธและมิใช่นายทหารผู้ทําการรบตาม อนุสัญญาเจนีวา ฉะน้ันทางราชการจึงได้ผ่อนผันยกเว้นมิให้อนุศาสนาจารย์ต้องปฏิบัติ ในภารกิจที่ล่อแหลม หม่ินเหม่ท่ีจะเสียศีลธรรม จริยธรรม ความยุติธรรมและภาวะของ อนุศาสนาจารย์ ซ่ึงจะทําให้ผู้รับการอบรม ศีลธรรม จริยธรรม ขาดความเคารพนับถือ และเช่ือถือตามควร สิทธ์ิได้รับการผ่อนผันยกเว้นเป็นพิเศษนี้ได้มาโดยพฤตินัยจาก ผู้บังคับบัญชาชั้นสูงในอดีต ตั้งแต่อนุศาสนาจารย์คนแรกแห่งกองทัพไทย แม้ ผูบ้ ังคบั บัญชาชนั้ สูงในสมยั ต่อ ๆ มาก็ถือเป็นจารีตนิยมและแนวปฏิบัติผ่อนผันยกเว้นสืบ มา ภารกิจท่ีอนุศาสนาจารย์ ได้รับการผ่อนผันยกเว้นเป็นพิเศษมิต้องให้ปฏิบัติมี ดังตอ่ ไปนี้ (1) การอยู่เวรยาม (2) การทาํ สัญญาคา้ํ ประกนั (3) การแสดงตา่ ง ๆ เช่น ลิเก ละคร (4) การบรรเลงดนตรี และการขับรอ้ งเพลง (5) การแสดงนาฏกรรมตา่ ง ๆ เช่น ราํ วง ลีลาศ (6) เปน็ กรรมการตรวจอาวธุ (7) เป็นกรรมการประกวดราคา (8) เป็นกรรมการตรวจรบั ของ (9) เปน็ กรรมการเกีย่ วกับการเงิน (10) เปน็ กรรมการจดั ซ้ือหรอื สบื ราคา (11) เป็นกรรมการสอบสวนผู้กระทาํ ผิด (12) เปน็ กรรมการประกวดเทพหี รกื รรมการจดั การมวย คุณค่าเชิงบทบาทหน้าท่ีของอนุศาสนาจารย์กองทัพบกท่ีปฏิบัติงานในพ้ืนท่ี จงั หวัดชายแดนภาคใต้

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๔๒๒ สําหรับอนุศาสนาจารย์กองทัพบกท่ีปฏิบัติงานในพ้ืนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ซ่ึง เกิดเหตุการณ์ความไม่สงบนั้น ผู้วิจัยพบว่า คุณค่าเชิงบทบาทหน้าท่ีของอนุศาสนาจารย์ กองทพั บกทป่ี ฏบิ ัตงิ านในพืน้ ทีจ่ ังหวัดชายแดนภาคใต้ มสี ามประการหลัก ได้แก่ (1) คณุ ค่าด้านการอบรมสั่งสอนในทางธรรม โดยปกติ อนุศาสนาจารย์จะมีการจัดอบรมศีลธรรมประจําเดือนในทุก ๆ หน่วย ซ่ึงมีท้ังการจัดอบรมในสถานที่และนอกสถานที่ อันได้แก่สถานปฏิบัติธรรมต่างๆ เป็นต้น วัตถุประสงค์ก็เพื่อพัฒนาให้กําลังพลมีจิตใจที่เข้มแข็ง มีสติในการดํารงชีวิต การ จัดอบรมยงั เปน็ กจิ กรรมเสริมสร้างความสมั พันธ์ในค่ายทหารในแต่ละพ้ืนที่ด้วย “การอบรมศีลธรรม เพ่ือเป็นการขัดเกลาจิตใจของกําลังพล เพราะการ ทํางานในจังหวัดชายแดนภาคใต้ กําลังพลแบกความเครียดและความ กดดันไว้ การอบรมศีลธรรมจะทําให้กําลังพลมีสติ สามารถก้าวผ่าน ความเครียดไปได”้ [5] “การเป็นทหารเปรียบดั่งร้ัวของชาติ ทุกคนต่างคาดหวังกับร้ัวของชาติให้ เป็นตัวอย่างที่ดีแก่สังคม การอบรมศีลธรรมก็เป็นส่ิงหน่ึงที่ทําให้กําลังพล ดําเนินชีวติ ที่ดีงามอยา่ งท่ีควรจะเป็น” [6] “อนุศาสนาจารย์สามารถให้คําแนะนําแก่กําลังพลทุกเช้ือชาติและศาสนา เพราะบทบาทหน้าที่ตาม ชกท.5310 กําหนดไว้ชัด อนุศาสนาจารย์มี หน้าที่ปฏิบัติการหรืออํานวยการในปัญหาท้ังปวงท่ีเกี่ยวกับศาสนาและ ขวัญ ท้ังนี้ในการอบรมศีลธรรมประจําเดือนโดยท่ัวไปจะแยกประเภทผู้ นับถือศาสนา เช่น กําลังพลที่นับถือพุทธไปวัด กําลังพลท่ีนับถือคริสต์ ไปโบสถ์ กําลังพลที่นับถืออิสลามก็จัดให้มีกิจกรรมละหมาดที่มัสยิด เป็น ต้น ในส่วนของพลทหาร เวลาอบรมคุณธรรมท่ัวไปก็ให้น่ังรวมกัน แต่เม่ือ ถึงช่วงเวลาศาสนพิธี เราก็แยกปฏิบัติ มีการเชิญครูสอนศาสนามาให้ ความรู้และแนะนําหลักปฏิบัติที่ถูกต้อง อนุศาสนาจารย์เป็นผู้รับผิดชอบ ในการประสานให้เกิดการอบรมหรือให้คําแนะนําได้ระดับหน่ึง แต่ต้องไม่ กระทบต่อหลักของศาสนา และวางตนเป็นกลาง เคารพหลักความเช่ือ ทางศาสนา” [7] “การจัดกิจกรรมอบรมในทางธรรม ควรเน้นหลักธรรมท่ีเป็นสากล และ ต้องไหวรู้ต่อความแตกต่างทางศาสนา อนุศาสนาจารย์ต้องช้ีแจงทําความ เข้าใจกําลังพลต่างศาสนาก่อนเร่ิมพิธีการให้เข้าใจว่ากําลังพลควรปฏิบัติ ตนอย่างไร และในพิธีการท่ีไม่เน้นการมีส่วนร่วมของกําลังพลในหน่วยทุก

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๔๒๓ นาย ก็ไม่ควรให้กําลังพลต่างศาสนาเข้าร่วมในศาสนพิธี หรือบางกิจกรรม อาจใช้วิธีตัดตอนผสมผสาน เช่น การไหว้พระสวดมนต์ก่อนนอน ในช่วง ไหว้พระน้ัน กําลังพลต่างศาสนาอาจแยกไปปฏิบัติศาสนกิจของตน หลังจากน้ันค่อยรวมพลในช่วงการกล่าวบทปลงใจ ร้องเพลงชาติและเพลง สรรเสริญพระบารมี เปน็ ต้น” [8] (2) คุณค่าด้านศาสนพิธแี ละพิธีกรรมตามความเชื่อ โดยเฉพาะในกรณีที่กําลังพลเสียชีวิต เมื่อทหารถึงแก่กรรม อนุศาสนาจารย์ จะต้องเป็นตัวแทนของหน่วยดําเนินการประสานงานกับองค์กรทางศาสนา และเป็น ผู้อํานวยการด้านศาสนพิธีโดยร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับนายทหารฝ่ายการศพ ท้ังในพิธีฝัง และพิธีเผา อนุศาสนาจารย์จะรับปฏิบัติหน้าท่ีด้านศาสนพิธีทั้งในส่วนของกําลังพลและ ครอบครัวของกําลังพลในหน่วยที่อนุศาสนาจารย์น้ัน ๆ เป็นผู้รับผิดชอบ อีกทั้งยังมีงาน บุญต่าง ๆ อาทิเช่น งานแต่งงาน งานทําบุญบ้าน ตามท่ีกําลังพลได้ขอความอนุเคราะห์ งานสถาปณากองทพั งานทอดกฐินทกี่ องทพั เป็นเจ้าภาพ เป็นต้น “เน่ืองจากอนุศาสนาจารย์ได้เรียนเร่ืองศาสนพิธีมาโดยตรง ดังนั้น อนุศาสนาจารย์จะมีความรู้ท่ีถูกต้องจึงได้รับเป็นผู้ดําเนินการด้านศาสน พิธีต่างๆ วัตถุประสงค์ในการช่วยเหลือด้านงานศาสนพิธีแก่กําลังพล และครอบครัว เพื่อแสดงว่ากองทัพไม่ได้ละท้ิงกําลังพลท้ังในยามสุขและ ยามทุกข์ เพราะเม่ือเข้ามาแล้วนั้นเราจะถือว่าเป็นครอบครัวเดียวกัน” [9] “กรณีกําลังพลต่างศาสนาถึงแก่กรรม อนุศาสนาจารย์มีบทบาทในด้าน การบาํ รงุ ขวัญและต้องแนะนําทางครอบครัวให้จัดพิธีการอย่างสมเกียรติ และถูกต้องตามบทบัญญัติทางศาสนา และการท่ีผู้บังคับบัญชาเข้าร่วม ในพิธีการ ความสง่างาม ความถูกต้องเรียบร้อยเป็นเร่อื งสาํ คัญ” [10] (3) คุณค่าด้านการใหค้ ําปรึกษาและสร้างขวญั กําลงั ใจ โดยเฉพาะการเยี่ยมเยียนกําลังพลที่ป่วย บาดเจ็บ ถูกคุมขัง หรือมีปัญหา เพื่อปลอบขวัญและให้กําลังใจ การให้คําปรึกษาแก่กําลังพลมีด้วยกันในหลายด้าน ไม่ว่า จะเป็นด้านการปรับตัวเข้ากับเพ่ือนร่วมงาน ปัญหาความขัดแย้งและการทะเลาะเบาะแว้ง ปัญหาครอบครัว ปญั หาความรกั ความตอ้ งการศกึ ษาต่อในระดบั ที่สงู ขึ้น อนุศาสนาจารย์จะ ช่วยเป็นผู้ไกล่เกลี่ยและให้คําปรึกษา โดยแทรกธรรมะให้แก่กําลังพล ในสถานการณ์ความ ไม่สงบน้ัน การจัดอบรมบํารุงขวัญทหารจะทําได้น้อยคร้ังกว่าในยามปกติ เพราะสถานท่ี และสถานการณ์ไม่อํานวย แต่อนุศาสนาจารย์จะปฏิบัติงานมากข้ึนในด้านพบปะเย่ียมเยียน

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๔๒๔ ทหารเป็นกิจประจําวัน สําหรับทหารเจ็บป่วยและที่ได้รับบาดเจ็บ อนุศาสนาจารย์จะต้อง ถอื เปน็ หน้าทที่ ่จี ะตอ้ งไปเยี่ยมเยียนปลกุ ปลอบจิตใจด้วยธรรมะเป็นประจํา “แม้อนุศาสนาจารย์ไม่ได้จบจิตวิทยาโดยตรง แต่ก็สามารถช่วยในการ เป็นผู้รับฟังปัญหาในเบ้ืองต้นได้ เพ่ือปัญหาบางอย่างจะสามารถนําเสนอ ต่อผู้บังคับบัญชาเพ่ือแก้ไขต่อไป การท่ีเรารับฟังเร่ืองราวของผู้อื่นด้วย ความเข้าใจน้ัน เป็นกลไกท่ีมีประสิทธิภาพมากที่สุด ไม่ว่ากําลังพลจะนับ ถือศาสนาใดกต็ าม” [11] นอกจากคุณค่าเชิงบทบาทหน้าท่ีสามประการหลักข้างต้นแล้ว อนุศาสนาจารย์ กองทัพบกท่ีปฏิบัติงานในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ยังมีคุณค่าเชิงบทบาทหน้าท่ีด้าน อ่ืน ๆ อีกด้วย อาทิเช่น ด้านการช่วยเหลือผู้ประสบภัยธรรมชาติ เช่นเมื่อครั้งเข้าไป ช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยในพื้นท่ีจังหวัดยะลา ด้านการปฏิบัติงานวิทยุ โดย อนุศาสนาจารย์บางนายยังทําหน้าที่เป็นผู้ดําเนินรายการทางสถานีวิทยุเพื่อความมั่นคง ฉก.ทพ.49 คลื่นความถ่ี Fm 107.5 MHz ใช้หลักธรรมะในการเผยแผ่ให้แก่ประชาชน และกําลังพลท่ีอยู่ใกล้เคียง ด้านการส่งเสริมงานมวลชนสัมพันธ์ เช่น การนํากําลังพลไป ช่วยบูรณะวัดร่วมกับประชาชนในพื้นที่ เพื่อปลูกฝังให้กําลังพลเป็นแบบอย่างที่ดีและ ปฏบิ ัตหิ นา้ ทเี่ พื่อสว่ นรวม เป็นตน้ นอกจากนั้นผู้วิจัยยังพบว่า กองอนุศาสนาจารย์ กรมยุทธศึกษาทหารบก ได้ให้ คําแนะนําแก่อนุศาสนาจารย์ไว้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานยามสงครามหรือใน สถานการณ์ความไม่สงบด้วย เช่น ในพ้ืนท่ีสนาม หน่วยทหารท่ีมีอนุศาสนาจารย์ ประจํา ควรมีกระโจมขนาดเล็ก ใหเ้ ป็นท่ีปฏิบัติงานของอนุศาสนาจารย์ เพื่อจะได้ใช้เป็น ท่ีปลุกปลอบและช่วยคลี่คลายปัญหาด้านจิตใจแก่ทหารเป็นรายบุคคล และควรมี พระพุทธรูปและเครื่องบูชาขนาดเล็ก พร้อมท้ังหีบบรรจุซึ่งสะดวกแก่การ เคล่ือนที่ สําหรับต้ังประจําในกระโจมของอนุศาสนาจารย์ และนําไปใช้ในการอบรม ศีลธรรมและศาสนพิธีของหน่วยได้ ท่ีสําคัญควรมีการเตรียมการด้านฐานข้อมูล ได้แก่ บั ญ ชี ร า ย ชื่ อ ท ห า ร จํ า แ น ก ต า ม ศ า ส น า บั ญ ชี ร า ย ช่ื อ แ ล ะ ท่ี ตั้ ง ข อ ง ศ า ส น สถาน สุสาน ฌาปนสถานภายในพ้ืนท่ีปฏิบัติงานของหน่วย ตลอดจนบัญชีรายชื่อและ ประวัตยิ ่อของผู้นาํ ศาสนาในเขตปฏบิ ัติงานของหนว่ ย เป็นต้น สรปุ ผลการศกึ ษา บ ท ค ว า ม วิ จั ย น้ี มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ เ พ่ื อ ศึ ก ษ า คุ ณ ค่ า เ ชิ ง บ ท บ า ท ห น้ า ที่ ข อ ง อนุศาสนาจารย์กองทัพบกที่ปฏิบัติงานในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยใช้ระเบียบวิธี วิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบด้วย การศึกษาเอกสารและการศึกษาภาคสนาม เก็บรวบรวม

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๔๒๕ ข้อมูลโดยการสังเกต การสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม และการสัมภาษณ์เจาะลึก ผู้ให้ ข้อมูลหลักมีจํานวน 40 คน ผลการศึกษาพบว่า อนุศาสนาจารย์เป็นคําเรียกชื่อ นายทหารผู้ปฏิบัติหน้าที่ทางด้านศาสนาในกองทัพ ภารกิจของอนุศาสนาจารย์กองทัพบก คือ นํากําลังพลเข้าหาธรรมะ นําธรรมะพัฒนากําลังพล ดํารงสถานภาพเป็นตัวแทนของ ศาสนาในการอบรมสั่งสอนด้านศีลธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรม เป็นผู้นําทางด้านจิต วิญญาณของกําลังพลทุ กระดับ เป็นเจ้ าหน้ าท่ี พิธีการทางศาสนาท่ีอยู่ใน เคร่ืองแบบ อนุศาสนาจารย์กองทัพบกมีหน้าท่ีสร้างขวัญกําลังใจและกระตุ้นจิตสํานึกให้ กําลังพลมีความรับผิดชอบ ซ่ือสัตย์ และพร้อมที่จะเสียสละตนเองในการปฏิบัติตาม ภารกิจที่ได้รับมอบหมาย คุณค่าเชิงบทบาทหน้าท่ีของอนุศาสนาจารย์กองทัพบกใน จังหวัดชายแดนภาคใต้ สามารถสรุปได้ 3 ประการหลัก ได้แก่ (1) ด้านการอบรมสั่งสอน ในทางธรรม (2) ด้านศาสนพิธีและพิธีกรรมตามความเช่ือ โดยเฉพาะในกรณีที่กําลังพล เสียชีวิต และ (3) ด้านการให้คําปรึกษาและสร้างขวัญกําลังใจ โดยเฉพาะการเยี่ยมเยียน กาํ ลงั พลทีป่ ่วย บาดเจบ็ ถูกคุมขงั หรือมีปญั หา เพือ่ ปลอบขวญั และใหก้ ําลังใจ อ นุ ศ า ส น า จ า ร ย์ ก อ ง ทั พ บ ก ที่ ป ฏิ บั ติ ง า น ใ น พื้ น ท่ี จั ง ห วั ด ช า ย แ ด น ภาคใต้ ไดแ้ ก่ จงั หวัดปัตตานี ยะลา และนราธวิ าส เป็นพ้ืนท่ีเกิดเหตุการณ์ความไม่สงบมา ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2547 จนกระทั่งถึงปัจจุบัน สถานการณ์ความไม่สงบทําให้ทหาร จําเป็นต้องปฏิบัติหน้าที่ภายใต้ความกดดัน และเสี่ยงต่อภัยอันตรายที่มีผลต่อสุขภาพกาย สุขภาพจติ และความอยู่รอดของชีวิต การสร้างขวัญกําลังใจและกระตุ้นจิตสํานึกให้ทหาร มคี วามพรอ้ มทีจ่ ะเสยี สละตนเองในการปฏิบตั ิตามภารกิจท่ีได้รับมอบหมาย ย่อมเป็นเร่ือง ท่ีท้าทายความสามารถของอนุศาสนาจารย์เป็นอย่างย่ิง อีกทั้งจังหวัดชายแดนภาคใต้มี ลักษณะพหุลักษณ์ทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะด้านภาษา ศาสนา และชาติพันธ์ุ ปัจจุบัน กองทัพบกได้ถอนกําลังทหารส่วนใหญ่จากกองทัพภาค 1 ถึง 3 ออกจากพ้ืนที่ภาคใต้ กลับต้นสังกัดเดิมแล้ว โดยให้กองทัพภาค 4 เป็นผู้รับผิดชอบพื้นท่ีภาคใต้เป็นสําคัญ กอง อํานวยการรักษาความม่ันคงภายใน ภาค 4 ส่วนหน้า เน้นการฝึกกองกําลังทหาร ตํารวจ ฝ่ายปกครอง และภาคประชาชนในพ้ืนท่ีให้มีความพร้อมในการดูแลความปลอดภัย ด้วย เหตุนี้ การปฏิบัติบทบาทของอนุศาสนาจารย์กองทัพบกในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดน ภาคใต้ จึงจาํ เป็นตอ้ งมีความไหวรูต้ อ่ ความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมในพื้นที่และ ในกองทัพด้วย นับเป็นเรื่องที่ท้าทายความสามารถของอนุศาสนาจารย์กองทัพบกใน จังหวัดชายแดนภาคใต้เช่นกัน อนุศาสนาจารย์ต้องแสดงออกต่อกําลังพลทุกศาสนาและ ความเชื่ออย่างเท่าเทียมกัน ไม่เลือกปฏิบัติ และต้องไม่มีพฤติกรรมดูหม่ินศาสนาและ ความเชื่อใด ๆ ตลอดจนให้เกียรติทุกศาสนา สนใจและใส่ใจศึกษาหาความรู้ทําความ

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๔๒๖ เข้าใจในหลักธรรมและหลักปฏิบัติของศาสนาต่าง ๆ ในพ้ืนท่ี จนกระทั่งสามารถปฏิบัติ หนา้ ท่ไี ดอ้ ย่างเหมาะสม ..........................

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๔๒๗ เอกสารและบคุ คลอ้างองิ [1] ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี. (2560). ความขัดแย้งชายแดนใต้ในรอบ 13 ปี ความ ซับซ้อนของสนามความรุนแรงและพลังของบทสนทนาสันติภาพปาตานี. ศูนย์ เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทาง วฒั นธรรมภาคใต้ มหาวทิ ยาลบั สงขลานครินทร์ วทิ ยาเขตปตั ตาน.ี เขา้ ถึงได้ใน https://www.deepsouthwatch.org/node/11651 [2] อิศรา รักษ์กุล. (2554). “ภาวะสุขภาพจิตและทัศนคติของกําลังพลกองทัพบกที่ ปฏิบัติภารกิจในพื้นท่ีสามจังหวัดชายแดนภาคใต้”, เวชสารแพทย์ทหารบก. 64(2), 67-73. เข้าถงึ ไดใ้ น https://www.tci-haijo.org/ index.php/rtamedj/article/view/5611 [3-4] กองอนศุ าสนาจารย์ กรมยุทธศึกษาทหารบก. (2538). คมู่ อื การอนศุ าสนาจารย์ กองทพั บก. เขา้ ถงึ ได้ใน https://drive.google.com/file/d/ 0B3mdQ8Ey_GaySlM5OXc3UjM0Mm8/view [5] ร้อยโท รักษ์ อาสา (ผูใ้ หส้ มั ภาษณ)์ . ร้อยโท ภทั รกฤติ รอดนิยม (ผู้สัมภาษณ์). ที่ค่าย เสนาณรงค์ ตําบลคอหงส์ อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. เม่ือวันที่ 22 กมุ ภาพันธ์ 2561 [6] ร้อยโท ทองสุก ใจดี (ผู้ให้สัมภาษณ์). ร้อยโท ภัทรกฤติ รอดนิยม (ผู้สัมภาษณ์). ท่ี ค่ายเสนาณรงค์ ตําบลคอหงส์ อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. เม่ือวันที่ 13 กมุ ภาพันธ์ 2561 [7,9] พันโท ภูวดล คําบุดดา (ผู้ให้สัมภาษณ์). ร้อยโท ภัทรกฤติ รอดนิยม (ผู้สัมภาษณ์). ที่ค่ายเสนาณรงค์ ตําบลคอหงส์ อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. เม่ือวันท่ี 3 กุมภาพนั ธ์ 2561 [8] พันเอก วิรชั ธัญญากร (ผู้ให้สัมภาษณ์). ร้อยโท ภัทรกฤติ รอดนิยม (ผู้สัมภาษณ์). ที่ ค่ายเสนาณรงค์ ตําบลคอหงส์ อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. เมื่อวันที่ 3 กมุ ภาพันธ์ 2561 [10] ร้อยโท สมอาจ อิ่มเอม และร้อยเอก ศักด์ิชัย โชติพันธ์ (ผู้ให้สัมภาษณ์). ร้อยโท ภัทรกฤติ รอดนิยม (ผู้สัมภาษณ์). ท่ีค่ายเสนาณรงค์ ตําบลคอหงส์ อําเภอ หาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา. เมอ่ื วนั ท่ี 17 กุมภาพันธ์ 2561

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๔๒๘ [11] ร้อยโท ถนอมชัย สุทธิแสน (ผู้ให้สัมภาษณ์). ร้อยโท ภัทรกฤติ รอดนิยม (ผู้ สัมภาษณ์). ท่ีค่ายเสนาณรงค์ ตําบลคอหงส์ อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. เม่ือ วันท่ี 13 กมุ ภาพันธ์ 2561

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๔๒๙ จติ อาสาพระราชทานตามแนวพระราชดําริ พ.ท. ณรงคก์ รณ์ สีมงคณุ 144 ............................................. ความเป็นมา ตามท่ี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงห่วงใย และทรงคํานึงถึงความอยู่ดีมี สุขของประชาชนเป็นสําคัญ และพระองค์ทรงมีพระราชปณิธานแน่วแน่ท่ีจะทําให้ ประเทศชาติมั่นคง เป็นปึกแผ่น มีความรัก ความสามัคคีและประชาชน มีชีวิตความ เป็นอยู่ท่ีดีขึ้น ด้วยมีพระราชปณิธานท่ีจะสืบสาน รักษา ต่อยอด โครงการอัน เนื่องมาจากพระราชดําริ และแนวพระราชดําริต่างๆ ในการบําบัดทุกข์ บํารุงสุขให้ ประชาชน และพฒั นาประเทศให้เจรญิ ก้าวหน้า ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้จัดทําโครงการจิตอาสาขึ้นเป็นคร้ัง แรก เมื่อวันท่ี ๒๑ มิถุนายน ๒๕๖๐ ณ โรงเรียนสุโขทัย เขตดุสิต กทม. โดยมีพระ ราโชบายให้ริเริ่มทําจากจุดเล็กไปหาใหญ่ ซึ่งหมายถึง เริ่มจากการ ดูแลรักษาบ้าน และบริเวณรอบบ้านของตนเอง ให้สะอาดเรียบร้อยเสียก่อน ทรงทําให้เห็นเป็นตัวอย่าง กล่าวคือ เริ่มทําจากพื้นท่ีโดยรอบพระที่นั่งอัมพรสถาน และรอบพระราชวังดุสิต ในคร้ัง น้ัน ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ หน่วยทหารมหาดเล็กราชวัลลภ รักษาพระองค์ หน่วยทหารรักษาพระองค์ ข้าราชบริพารในพระองค์ ร่วมกับประชาชน จิตอาสาจากชุมชนโดยรอบพ้ืนท่ีพระราชวังดุสิต ทํากิจกรรมจัดระเบียบพื้นที่ต่างๆ ภายในชุมชน และพ้ืนที่สาธารณะ ทําความสะอาด ปรับปรุงภูมิทัศน์ ตลอดจนการขุด ลอกคูคลองในพ้ืนท่ี เหตุการณ์นี้นับได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นของกิจกรรมบําเพ็ญประโยชน์ ท่ี 144 อศจ.ยศ.ทบ., วิทยากรจิตอาสาพระราชทาน ๙๐๔ ร่นุ ท่ี ๓/๒๕๖๒

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๔๓๐ ต่อมาแพร่หลายไปท่ัวประเทศ แสดงให้เห็นถึงพระราชปณิธานอันแน่วแน่ ของพระองค์ ที่ทรงมีพระราชประสงค์ที่จะสง่ เสริมความเปน็ จิตอาสาของประชาชนชาวไทย ให้ร่วมกัน “ทําความ ดี ดว้ ยหวั ใจ” เพ่ือความผาสุกของอาณาประชาราษฎร์ โดยกิจกรรมจิตอาสาพระราชทาน แบ่งเป็น ๓ ประเภท คือ จิตอาสาพัฒนา จิต อาสาภยั พิบตั ิ และจิตอาสาเฉพาะกิจ หลักสูตรการฝึกอบรมจิตอาสา ประเภทของหลักสูตรการฝึกอบรมจิตอาสา ทรงกําหนด หลักสูตรการฝึกอบรม จติ อาสา ออกเป็น ๓ ระดับ ได้แก่ หลกั สตู รทัว่ ไป มีระยะเวลาฝึกอบรม จํานวน ๗ วนั หลกั สตู รหลักประจาํ มีระยะเวลาฝึกอบรม จํานวน ๖ สัปดาห์ หลักสตู รพเิ ศษ มีระยะเวลาฝึกอบรม จํานวน ๓ เดือน ที่ผ่านมาได้ดําเนินการฝึกไปแล้ว คือ หลักสูตร “หลักประจํา” รุ่นที่ ๑ - ๒ ช่ือ พระราชทาน รุ่น “เป็นเบ้า เป็น แม่พิมพ์” โดยมีข้าราชการ ทหาร ตํารวจ ท้ัง ๔ เหล่า และข้าราชการบางกระทรวง เข้ารับการฝึกอบรม รุ่นท่ี ๑ ในห้วงเดือนมีนาคม ถึง เดือน เมษายน, รุ่นที่ ๒ ในห้วงเดือน พฤศจิกายน ถึง เดือนธันวาคม ๒๕๖๑ และรุ่นท่ี ๓ (อยู่ ระหว่างฝึกอบรม) ในห้วงเดือน มีนาคม ถึง เมษายน ๒๕๖๒ ทําการฝึก ณ โรงเรียน จิตอาสา พื้นท่ีกองพันฝึกส่วนหลัง กองบัญชาการทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษา พระองค์ เขตพระราชฐานในพระองค์ “วิภาวดี” ท้ังได้ทรงพระกรุณาวินิจฉัยเน้ือหาทุก วิชาของหลักสูตร และ ทรงให้พัฒนาปรับปรุงสถานท่ีฝึก สนับสนุนค่าใช้สอย เครื่องช่วย ฝกึ และพระราชทานอาหาร ตลอดหว้ งการฝึก หลกั สูตรหลกั ประจํา แนวทางการฝกึ อบรม เน้นการฝกึ อบรมแบบ Two-way communication การแลกเปล่ียนประสบการณ์แบบศึกษาเป็นคณะ เน้นฝึกปฏิบัติ สําหรับการ บรรยายจากผู้มีประสบการณ์ จาก ๑๔ หน่วยงาน วิทยากร ๔๙ ท่าน โดยมีระยะเวลา ฝึกอบรม ๖ สัปดาห์ต่อเนื่อง แบ่งเป็น ๖ หมวดวิชา รวมท้ังสิ้น จํานวน ๔๖๒ ชั่วโมง เชน่ หมวดวชิ าที่ ๑ วชิ าทหารท่วั ไป จํานวน ๒๗ ชว่ั โมง หมวดวิชาที่ ๒ วชิ าการอบรมความรู้ (อุดมการณ์/สถาบนั พระมหากษตั รยิ ์) จํานวน ๘๕ ชั่วโมง หมวดวชิ าท่ี ๓ วิชาการอบรมความรู้ (ดา้ นจติ อาสา) จํานวน ๘๐ ชัว่ โมง หมวดวชิ าที่ ๔ วชิ าชพี (เลือก) ๑ วชิ า จาํ นวน ๓๐ ช่วั โมง

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๔๓๑ หมวดวิชาที่ ๕ วชิ าศาสตร์พระราชา จํานวน ๙๐ ช่ัวโมง หมวดวิชาท่ี ๖ การฝึกปฏิบัติและการศึกษาดูงานพืน้ ทีจ่ ริง จํานวน ๑๕๐ ชัว่ โมง ผู้รับการฝึกจะได้ศึกษาดูงาน ณ สถานท่ี โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา, พระบรมมหาราชวัง, หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบบ้านอ่างตะแบก จ.ฉะเชิงเทรา, โครงการชั่งหัวมันอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ จ.เพชรบุรี และศูนย์กสิกรรมธรรมชาติ มาบเอื้อง อ.บา้ นบงึ จ.ชลบรุ ี สวสั ดิการระหว่างการฝกึ อบรม ในระหว่างการฝึกอบรม ผู้รับการฝึกจะได้รับพระมหากรุณาธิคุณ พระราชทาน เคร่ืองแบบจิตอาสา ประกอบด้วย เสื้อจิตอาสา, หมวกสีฟ้า, ผ้าพันคอสีเหลือง ซึ่งเป็น สัญลักษณ์ ของ จิตอาสา ๙๐๔ และ เอกสารตําราประกอบการฝึกอบรม ให้กับผู้รับการ ฝกึ อกี ทงั้ พระราชทานเล้ยี งอาหารประจําวัน และอาหารว่าง ให้กับผู้รับการฝึกในแต่ละ วัน พระราชทานเลี้ยงอาหารพิเศษ ในวันสําคัญ และวันเย่ียมญาติ ซ่ึงได้พระราชทาน เลี้ยงให้กับญาติของผู้รับการฝึกด้วย และหากผู้รับการฝึกเจ็บป่วย ในระหว่างรับการฝึก ทรงมีพระมหากรณุ าธคิ ณุ พระราชทานแจกนั ดอกไมแ้ ละของเยีย่ มใหแ้ กผ่ ู้ปว่ ย ผลลพั ธท์ ีต่ ้องการ หลังจบการฝกึ หลักสูตรจติ อาสา ๑. สามารถทํางานเปน็ ทีม และนาํ ไปอบรมขยายผลในหนว่ ยงานของตนเอง ๒. สามารถนําความรู้ท่อี บรมไปใช้ โดยเป็นทมี งานลงขยายผลในพ้ืนที่เปา้ หมาย ไม่ว่าจะเปน็ การอบรม/การชว่ ยเหลอื ประชาชน ในพนื้ ท่ตี า่ ง ๆท่ีไดร้ ับมอบ ๓. เป็นหนว่ ย/ชดุ ลว่ งหนา้ ทม่ี ีความพร้อมสามารถไปช่วยเหลอื เม่ือเกิดภัยพิบัติ ในพนื้ ท่ี ท่วั ประเทศ อศจ.จิตอาสา อศจ.ทบ. ได้รับโควตาเข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรจิตอาสา ๙๐๔ หลักสูตร หลักประจํา รุ่นที่ ๓/๖๒ “เป็นเบ้า เป็นแม่พิมพ์” จํานวน ๘ นาย (เป็นรุ่นแรกที่ อศจ. ทบ. ได้เข้าฝึกอบรม) โดยคณะกรรมการของ ยศ.ทบ. ได้คัดเลือก อศจ.ทบ. ที่สมัครใจ เข้ารับการฝึกอบรมท่ัวประเทศ มีผลการคัดเลือกตามคุณสมบัติที่โรงเรียนจิตอาสา กําหนด ดงั นี้ ๑. พ.ท. ณรงคก์ รณ์ สมี งคุณ อศจ.ยศ.ทบ. ๒. พ.ต. ชัชวาลย์ ถึงแสง อศจ.กช. ๓. ร.อ. ภกั ดี ขันทะวัต อศจ.พธ.ทบ. ๔. ร.อ. อนาวิล อรา่ ม อศจ.มทบ.๑๑ ๕. ร.อ.ธนากร สารการ อศจ.ร.๑๒ รอ.

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๔๓๒ ๖. ร.ท. วินัย อรรคฮาด อศจ.ร.๑๗ ๗. ร.ต.เดน่ นคร ไชยธงรตั น์ อศจ.ร.๑๕๓ ๘. ร.ต.พงษศ์ ักด์ิ คมแก้ว ผช.อศจ.มทบ.๑๓ ในระหวา่ งฝึกอบรม ผูเ้ ข้าฝกึ อบรมทงั้ ท่ีเป็นข้าราชการทหาร ตาํ รวจ ข้าราชการพลเรอื น รฐั วิสาหกิจ องค์กรมหาชน และภาคประชาชน จะไม่มีการแบง่ ชน้ั ยศ ระดบั และตําแหนง่ โดยทกุ คนเสมอกัน คือ เป็นผเู้ ข้าฝกึ อบรม เพ่ือละลาย พฤตกิ รรมและการทํากจิ กรรมร่วมกันอย่างเปน็ กนั เอง สรา้ งความคุ้นเคยความรักความ สามัคคี มที ัศนคตทิ ด่ี ตี อ่ กนั มคี วามพร้อมดา้ นจิตใจ โดยการฝึกตลอดหลักสตู รจะเน้น ความปลอดภัยเป็นสงิ่ สําคัญ โดยจะมีทีมแพทย์จากโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า เตรยี มพรอ้ มตลอด ๒๔ ชัว่ โมง สิ่งทไ่ี ดร้ ับและประทบั ใจ พ.ต.ชชั วาลย์ ถงึ แสง อศจ.กช.