Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ๐.รวมเล่มหนังสือ ๑๐๐ ปี การ อศจ.ไทย

๐.รวมเล่มหนังสือ ๑๐๐ ปี การ อศจ.ไทย

Description: ๐.รวมเล่มหนังสือ ๑๐๐ ปี การ อศจ.ไทย

Search

Read the Text Version

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ก สารบญั หน้า ๑ เรือ่ ง ๒ ภาคท่ี ๑ หลักนิยมว่าดว้ ยอนศุ าสนาจารย์ทหารบก ๓ ๓๐ ตอนท่ี ๑ กล่าวทัว่ ไป ๓๒ บทท่ี ๑ ตํานานอนุศาสนาจารยท์ หารบก ๖๘ บทที่ ๒ ภารกิจขดี ความสามารถและขดี จาํ กดั ๗๒ บทที่ ๓ การจัดและพันธกิจ ๑๓๗ บทที่ ๔ สัมพันธภาพของอนุศาสนาจารย์ ๑๔๓ บทท่ี ๕ งานในความรับผิดชอบของอนศุ าสนาจารย์ ๑๕๑ บทท่ี ๖ การปฏิสมั พันธก์ ับศาสนาอื่น ๑๕๒ บทท่ี ๗ สํานกึ แห่งอนุศาสนาจารย์ ๑๖๑ ตอนท่ี ๒ อนุศาสนาจารย์เหลา่ ทัพ ๑๗๒ บทท่ี ๘ ตาํ นานอนุศาสนาจารย์ทหารอากาศ บทท่ี ๙ ตํานานอนุศาสนาจารย์ทหารเรือ ๑๗๔ บทท่ี ๑๐ กองอนศุ าสนาจารย์ กรมเสมียนตรา ๑๗๖ สาํ นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม บทที่ ๑๑ กองอนศุ าสนาจารย์ กรมสารบรรณทหาร ๑๗๙ กองบญั ชาการกองทัพไทย ๑๘๖ บทท่ี ๑๒ ตํานานอนุศาสนาจารย์กรมราชทัณฑ์ ๑๙๐ บทท่ี ๑๓ ตาํ นานอนุศาสนาจารย์ กรมการศาสนา ๑๙๑ กระทรวงศึกษาธิการ ๒๓๑ บทท่ี ๑๔ ประวตั ิความเปน็ มาของอนุศาสนาจารยต์ ํารวจ ๒๗๘ ๓๒๑ ภาคท่ี ๒ อนศุ าสนาจารย์ทหารบก บทที่ ๑๕ ทาํ เนยี บอนุศาสนาจารยท์ หารบก บทท่ี ๑๖ เกียรตยิ ศ บทท่ี ๑๗ มลู นิธเิ ผยแผธ่ รรมะของอนุศาสนาจารย์ทหารบก บทท่ี ๑๘ อาจรยิ บูชา – อาจริยพจน์

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ข บทที่ ๑๙ บทความ ๓๘๐ ภาคที่ ๓ การจัดการความรู้ นวัตกรรม งานสรา้ งสรรค์และผลงาน อศจ.ทบ. ๔๕๑ บทท่ี ๒๐ การจดั การความรู้ ๔๕๒ บทที่ ๒๑ นวตั กรรม งานสรา้ งสรรค์ ๔๕๕ บทท่ี ๒๒ ผลงานของ อศจ.ทบ. ๔๕๗ ภาคผนวก ๔๖๐ ..................................

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ค มหาธีรราชาศิรวาทราชสดดุ ี ๑๐๐ ปี อนุศาสนาจารย์ไทย .ว...ส...นั ..ต...ด...ลิ ..ก...ฉ..นั...ท...์..๑...๔... คร้งั โลกลาํ เค็ญรณวิวาท ชนขาดสขุ ารมณ์ สงครามประเทศปฐมจม ทรุ กรรมิกากร จึง่ ฉัฐกษตั ริยมหา- วชิราวธุ าทร ทราบเหตวุ ินิจฉยปกรณ์ มนะนึกคะเนการณ์ ทรงเห็นสถานรณวิชิต วิธิสิทธิ์ชเยนทร์ศานต์ ส่งโยธิยทุ ธชิตชาญ ณ สมรภมู า มีหนึง่ นศุ าสนนจุ ร อดิสรณ์สุหรรษา รบั ราชประสงค์พระวชิรา- วธุ โสตถิ์สนององค์ เมือ่ ศึกสงบ ธ สุมนสั อภิวฒั น์วิบูลวงศ์ กําเนิดนุศาสน์วิทิตยง ศตวรรษกาลยืน ยามนี้มนันตอนุศา- สนสรรพ์สิกล้นั กลืน ปีตานปุ ีติกลพื้น มนโมทเภรี ยามยุทธภัฏคณสถิต พลกิตติโสภี ตราบน้ันนุศาสนวิถี จะกระเดือ่ งทหารไทย ขอสจั จวาจนนิยาม คุณงามพระทรงชยั อีกท้งั พระคณุ รตนตรัย กรเมตต์สโมธาน ชุมพรอมรพิมลฤทธิ์ สุประดิษฐบันดาล องค์ธีรราชประลุสราญ จิรกาลนิรันดร์..เทอญ ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพทุ ธเจ้า คณะอนุศาสนาจารย์ไทย ๑ มิถนุ ายน ๒๕๖๒ ''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''' พนั เอก(พิเศษ) ศรณั ยภมู ิ ผพู้ ึ่ง อดีตผ้อู าํ นวยการกองอนุศาสนาจารย์ กรมยทุ ธศึกษาทหารบก ร้อยกรองถวาย

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ง พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจา้ อย่หู ัว พระผู้พระราชทานกําเนดิ กิจการอนศุ าสนาจารยไ์ ทย (พ.ศ. ๒๔๖๒)

คํานยิ ม นายกรัฐมนตรี เน่อื งในโอกาสครบรอบ ๑๐๐ ปี แห่งการอนศุ าสนาจารย์ไทย ๑ มิถนุ ายน ๒๕๖๒ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ได้พระราชทานกิจการ อนุศาสนาจารย์ไทย เมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๔๖๒ เนื่องในโอกาสที่พระองค์ได้ทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ ใหก้ ระทรวงกลาโหม จัดส่งกองทหารอาสาไปช่วยราชสัมพันธมิตรในงานพระราชสงครามและ ทรงมพี ระราชปรารภวา่ “ควรจะมีราชบัณฑิตเป็นอนุศาสนาจารย์ออกไปกับกองทัพตาม โบราณราช ประเพณี เพราะทหารจากบ้านเมืองไปในคราวนี้ต้องไปอยู่ในถิ่นไกล ไม่ได้พบเห็นพระเหมือนเมื่ออยู่ บ้านเมอื งของตน จิตใจหา่ งเหนิ จากทางธรรม ถึงยามคะนองก็จะฮึกเหิมเกินไปเป็นเหตุ ให้เส่ือมเสีย ไม่มีใครคอยให้โอวาทตักเตือน ถึงคราวทุกข์ร้อนก็จะอาดูรระส่ําระสาย ไม่มีใครจะช่วย ปลดเปลื้อง บรรเทาให้ ดูเป็นการว้าเหว่น่าอนาถ ถ้ามีอนุศาสนาจารย์ออกไป จะได้คอยอนุศาสน์พรํ่าสอนและ ปลอบโยนปลดเปลื้องยามทุกข”์ กิจการอนุศาสนาจารย์ ได้น้อมนําพระบรมราชโองการและพระราชปรารภมาเป็น หลักในการพัฒนาสายงานอนุศาสนาจารย์ โดยปฏิบัติหน้าท่ีรับผิดชอบในการอํานวยการและ ดําเนินงานเก่ียวกับการศาสนา ให้คําแนะนําแก่ผู้บังคับบัญชาในปัญหาทั้งปวงท่ีเก่ียวกับการศาสนา และขวัญด้วยดีมาโดยตลอด ขวัญของทหารเป็นสิ่งสําคัญยิ่ง กองทัพแม้จะมีอาวุธพร้อมและทําการฝึกฝนทหารมา ดีเพียงใดกต็ าม แต่ถ้าขวัญทหารไม่ดเี สียแล้วกย็ ่อมจะเอาชนะข้าศึกศัตรูได้ยาก หน้าที่อนุศาสนาจารย์ ซง่ึ เกย่ี วข้องโดยตรงในเรือ่ งนี้จงึ เป็นหน้าท่ีสาํ คญั และมีเกียรติ ฉะน้นั ในโอกาสท่ีการอนุศาสนาจารยไ์ ทยครบรอบ ๑๐๐ ปี ขออานุภาพแห่งคุณพระ ศรีรัตนตรัย สิ่งศักดิ์สิทธิ์ในสากลโลกและพระบารมีแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จงดลบันดาล พระราชทานพรใหก้ ิจการอนุศาสนาจารย์มคี วามเจริญก้าวหน้าย่ิงๆ ขึน้ ไป









คํานยิ ม ผบู้ ัญชาการทหารบก กิจการอนุศาสนาจารย์เกิดข้ึนในเมืองไทยด้วยพระราชปรารภ ล้นเกล้าฯ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ในคราวที่จําเป็นต้องส่งทหารไปช่วย ฝ่ายสัมพันธมิตรทําสงครามท่ียุโรป ในมหายุทธสงครามคร้ังที่ ๑ เม่ือ พ.ศ. ๒๔๖๑ และหลังเสร็จ พระราชสงคราม ทรงเห็นว่ากิจการอนุศาสนาจารย์มีประโยชน์ในด้านบํารุงขวัญทหารเป็นอย่างดี จึงได้ทรงมีพระบรมราชโองการดํารัสเหนือเกล้าฯ ให้ต้ังกองอนุศาสนาจารย์ขึ้นในวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๔๖๒ กิจการอนศุ าสนาจารย์จึงถอื กาํ เนดิ ขึน้ ในประเทศไทย ตงั้ แตบ่ ัดน้ันเป็นตน้ มา พระราชปรีชาญาณของพระมหากษัตริย์ไทยเม่ือ ๑๐๐ ปี ที่ผ่านมา จึงเป็นเร่ืองท่ี น่าอัศจรรย์อยู่มิใช่น้อยท่ีหย่ังรู้อย่างถ่องแท้ในเรื่องชีวิตจิตใจของมนุษย์ เพราะสิ่งที่บั่นทอนจิตใจ คนเราใหม้ วั หมอง คือ ความคิดชัว่ ท่ีเรียกวา่ กิเลส และสิ่งท่ีจะต่อสู้กับกิเลสได้คือการสร้างพลังที่กล้า แกร่งใหเ้ กดิ ข้นึ ในจิตใจ นัน่ กค็ อื การตงั้ มัน่ อยูใ่ นหลกั ธรรมคาํ สอนของพระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ การที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๖ ทรงให้อนุศาสนาจารย์ เป็นผู้บํารุงขวัญกําลังพลของกองทัพเพื่อสร้างความแข็งแกร่งทางด้านจิตใจ ดังนั้น กองอนุศาสนาจารย์กรมยุทธศึกษาทหารบก จึงได้ช่ือว่าเป็นกองทัพธรรมนําพากองทัพไทยให้มุ่งไปสู่ ความเจรญิ ก้าวหนา้ ด้านคณุ ธรรมของกองทพั บก ในโอกาสครบรอบ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ขอให้กิจการอนุศาสนาจารย์ มีความเจริญก้าวหน้าย่ิงขึ้นไปและขอให้อนุศาสนาจารย์สมบูรณ์ด้วยพลังกาย พลังใจ และพลัง สติปัญญา เพื่อเป็นกําลังสําคัญในการปฏิบัติภารกิจด้านขวัญและกําลังใจก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ กองทัพและประเทศชาตติ ่อไป











อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๑ ภาคที่ ๑ หลักนยิ มวา่ ดว้ ยอนศุ าสนาจารย์ ทหารบก

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๒ ตอนท่ี ๑ กล่าวทัว่ ไป

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๓ บทท่ี ๑ ตาํ นานอนุศาสนาจารย์ทหารบก เริ่มความ (พระธรรมนเิ ทศทวยหาญ เรียบเรยี งแต่ พ.ศ. ๒๔๖๙) ตําแหน่งอนุศาสนาจารย์สําหรับกองทหารนั้น ว่าได้มีมาคราวหนึ่งแล้วในรัชกาล ที่ ๕ แต่ว่ามีเพียงเป็นตัวบุคคล ไม่ได้ตั้งข้ึนเป็นคณะเช่นกองหรือแผนกและไม่ได้บัญญัติ เรียกว่าอนุศาสนาจารย์อย่างเด๋ียวนี้ คงเรียกตามภาษาอังกฤษว่าแช๊ปลินหรือแช๊เปลน น้ันเอง ตามนิยมในยุคน้ัน ครั้นแล้วก็เลิกไป ไม่ได้มีติดต่อเป็นเช้ือสายถึงภายหลัง ตําแหน่งอนุศาสนาจารย์ท่ีเคยมีมาแต่ก่อน จึงขาดตอนอยู่เพียงนั้น ( อนุศาสนาจารย์ใน ยุคน้ัน คือ พระสารสาสน์พลขันธ์ (สมบุญ) ปรากฎว่าเม่ือคร้ังยังอุปสมบทอยู่ ได้เป็น ฐานานุกรมของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ฯ คร้ังยังทรงผนวชอยู่ ) ในที่นี้ จักกล่าวเฉพาะ แต่กองอนุศาสนาจารย์ที่ต้ังขึ้นใหม่ ซ่ึงสังกัดอยู่ในกรมยุทธศึกษาทหารบกเดี๋ยวน้ี ตามเหตุการณ์ท่ีมมี าโดยสังเขป อุบตั ิ ในพุทธศักราช ๒๔๖๑ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีท่ี ๖ พระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว เมื่อได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้กระทรวงกลาโหมจัดส่งกองทหารอาษา ไปช่วยราชสัมพันธมิตรในงานพระราชสงครามแล้ว ทรงพระราชปรารภว่ากองทหารท่ี โปรดเกล้า ฯ ให้ส่งไปแล้วน้ัน เป็นอันได้จัดดีทุกส่ิงสรรพ์ แต่ยังขาดส่ิงสําคัญอยู่อย่าง หนึ่ง คือ อนุศาสนาจารย์ท่ีจะเป็นผู้ปลุกใจทหาร หาได้จัดส่งไปด้วยไม่ (กระแสพระราช ปรารภน้ี ท่านเสนาบดีกระทรวงธรรมการ เชิญมาเล่าแก่เจ้าหน้าที่ผู้จะเป็นอนุศาสนาจารย์ออกไป ลงไว้ในน้ีเพียงสังเขป) จึงทรงเลือก อํามาตย์ตรี พระธรรมนิเทศทวยหาญ หัวหน้ากอง อนุศาสนาจารย์ในบัดน้ี ซึ่งในเวลานั้นเป็น รองอํามาตย์ตรี อยู่ อุดมศิลป์ รับราชการอยู่ใน กรมราชบัณฑิต กระทรวงธรรมการ (กระทรวงศึกษาธิการ) ให้เป็นอนุศาสนาจารย์ตามกอง ทหารออกไปยังประเทศยุโรป มีข้อความสังเขปแจ้งอยู่ในรายงานของเสนาบดีกระทรวง ธรรมการในเวลานน้ั อนั ส่งขน้ึ ทูลเกลา้ ฯ ถวาย หมายเลข ๑ ซึ่งลงไวใ้ นลําดับเรื่องน้ีแลว้ ในรายงานฉบับนั้น ท้าวความถึงพระราชปรารภว่า ควรจะมีราชบัณฑิต เป็นอนุศาสนาจารย์ออกไปกับกองทัพ ตามโบราณราชประเพณี ดังน้ัน จึงเห็นได้ว่าการ

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๔ ท่ีมีอนุศาสนาจารย์ออกไปคราวน้ัน คงเป็นตําแหน่งพิเศษของราชบัณฑิตในยามสงคราม โดยตรง คือเอาราชบัณฑิตไปเป็นอนุศาสนาจารย์เฉพาะคราวเท่าน้ัน หาใช่ตําแหน่ง ซ่ึ ง ป ร ะ จํ า อ ยู่ กั บ ร า ช ก า ร ท ห า ร อ ย่ า ง เ ด๋ี ย ว น้ี ไ ม่ แ ม้ ใ น ก า ร แ ต่ ง ก า ย เ ล่ า ทางกระทรวงกลาโหมก็คงให้ใช้อินทรธนูตามสังกัดเดิม ในรายงานฉบับน้ัน จึงมีว่าแต่ง เปน็ ราชบณั ฑิตตามหน้าที่ ดังน้ี ซ่ึงทําให้พิศวงอยู่ว่าแต่งอย่างไร คือ แต่งอย่างนายทหาร บก แต่ติดอินทรธนูกระทรวงธรรมการตามเดิมนั้นเอง และที่แต่งกายอย่างน้ีหาได้เริ่มไป แต่กรุงเทพมหานครไม่ เพราะเวลากระช้ัน เจ้าหน้าที่กระทรวงกลาโหมเกรงจะทําเครื่อง แต่งกายให้ไม่ทัน ได้ตกลงให้ไปทําในยุโรป เวลาเดินทางจึงแต่งอย่างพลเรือนไปตลอด การจัดส่งไปก็ดี การนําเบิกถวายบังคมลาก็ดี เป็นธุระของกระทรวงกลาโหมนํา เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทท่ีท่าวาสุกรี เมื่อวันที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๔๖๑ ในการเสด็จ พระราชดําเนินยังพระราชวังบางปอินโดยชลมารค เพื่อแปรพระราชฐาน อันเนอ่ื งจากทรงพระประชวรในระหว่างนน้ั คําว่า อนุศาสนาจารย์ เป็นพระราชมติท่ีทรงเร่ิมบัญญัติข้ึนในราชการคราวนั้น เป็นครั้งแรก ตามใจความแห่งหน้าที่ซ่ึงมีพระราชประสงค์ให้ปฏิบัติ เพราะเมื่อกองทหาร ออกไปแล้ว ทรงพระราชวิตกถึงทหารยิ่งนัก จะเห็นได้จากพระกระแสที่เสนาบดี กระทรวงธรรมการเชญิ มาช้แี จงให้เจ้าหน้าที่ฟัง และที่ จอมพลสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงพิศณุโลกประชานารถ เสนาธิการทหารบกตรัสเล่าแก่เสนาบดีกระทรวง ธรรมการ ในขณะท่ีพาตัวเจ้าหน้าที่ไปถวาย ด้วยว่าพระราชปรารภท่ีจะส่ง อนุศาสนาจารย์ออกไปน้ัน ได้ทรงมาเป็น ๒ ทาง คือ ทางหน่ึงให้เสนาบดีรับส่ังมา เพ่ือทําความติดต่อกับองค์จอมพลเสนาธิการทหารบก อีกทางหนึ่งได้รับสั่งตรงมายัง องค์เสนาธิการทหารบกทีเดียว เพื่อให้ทรงจัดส่งอนุศาสนาจารย์ออกไป ในพระราช ปรารภทงั้ ๒ ทางนี้ มีพระกระแสร่วมกันเปน็ ใจความวา่ “ทหารท่ีจากบ้านเมืองไปคราว น้ีต้องไปอยู่ในถ่ินไกล ไม่ได้พบเห็นพระเหมือนเมื่ออยู่ในบ้านเมืองของตน จิตใจจะ ห่างเหินจากทางธรรม ถึงยามคะนองก็จะฮึกเหิมเกินไป เป็นเหตุให้เสื่อมเสีย ไม่มีใคร จะคอยให้โอวาทตักเตือน ถึงคราวทุกข์ร้อนก็อาดูรระส่ําระสาย ไม่มีใครจะช่วยปลด เปล้ืองบันเทาให้ ดูเป็นการว้าเหว่น่าอนาถ ถ้ามีอนุศาสนาจารย์ออกไปจะได้คอย อนุศาสน์พรํ่าสอนและปลอบโยนปลดเปลื้องในยามทุกข์” ดังนี้เป็นต้น ซึ่งพระองค์ เสนาธกิ ารทหารบกรับส่ังรวมความว่า ให้อนุศาสนาจารย์ออกไปทหารจะได้ระลึกถึงพระ

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๕ เช่นนี้ จะเห็นได้ว่า ล้นเกล้าล้นกระหม่อมทรงเป็นห่วงถึงทหารของพระองค์เพียงไร และ ในข้อความท้ังน้ี เจ้าหน้าที่หาได้กล่าวลงไว้เท่าท่ีได้สดับตรับฟังคร้ังน้ันไม่ เป็นแต่ย่นย่อ จากข้อความท่ีได้ฟังอีกชั้นหนึ่งเพราะเป็นเจ้าหน้าท่ีอยู่แก่ตน ย่อมจําเป็นท่ีจะได้ทราบ จากผู้ใหญ่ของตนอย่างตระหนักถ่ีถ้วนอยู่เอง แต่ไม่ได้จดบันทึกไว้ ทั้งกาลก็ล่วงมานาน แล้ว จึงคงกล่าวแต่ใจความ ในข้อท่ีล้นเกล้าฯ ทรงคิดถึงทหารของพระองค์อย่างไร เท่าน้ัน ได้บันทึกไว้แต่พระราชดํารัสเหนือเกล้าฯ ท่ีตรัสส่ังเสียอนุศาสนาจารย์เมื่อถวาย บังคมลา ซ่ึงลงไว้ข้างท้าย หมายเลข ๒ น้ัน อันเป็นพยานแห่งข้อน้ีโดยตรง เวลานั้นพระ อาการกําลังซีด เน่ืองจากทรงพระประชวรท่ีกล่าวแล้วได้รับส่ังอย่างช้า ๆ ด้วยพระสุ รเสียงอันแหบเครือ มีพระกระแสทรงละห้อยแต่ชัดเจนทุกๆ องค์ท่ีรับส่ังซึ่งทําให้ผู้รับใส่ เกล้า ฯ นั้นใจต้ืน ด้วยอํานาจผัสสะในพระเดชพระคุณและความสงสารอันจับใจระคน กัน ได้บันทึกพระราชดํารัสน้ีลงในลําดับแห่งการน้ันทันทีและรายงานข้อความทั้งปวงน้ี ต่อท่านเสนาบดีของตน ท่านก็เห็นชอบด้วยที่ทําดังน้ี เพราะจะได้นําไปเล่าให้ทหารทาง โน้นฟัง จะได้ระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของล้นเกล้า ฯ แม้ผู้อยู่ในภายหลังไม่ได้เห็น พระอาการในคราวน้ันด้วยตนเอง เป็นแต่ได้อ่านที่บันทึกไว้อย่างเดียว ความรู้สึกจะไม่ เท่ากับได้อ่านพระอาการในครั้งนั้นประกอบด้วยก็ตาม ถึงอย่างนั้น เม่ือได้อ่าน พระราชดาํ รสั ตรัสส่งั เสียทบี่ ันทึกไวน้ แี้ ล้วกค็ งเห็นได้ว่าไม่ใช่อ่ืน เป็นเร่ืองทรงคิดถึงทหาร ท่ีไปนนั้ เอง เม่ืออนุศาสนาจารย์ไปถึงปารีสแล้ว หัวหน้าทูตทหารได้ทํารายงานบอกเข้ามา ยังกรมเสนาธิการทหารบก มีข้อความแจ้งอยู่ในสําเนาข้างท้ายหมายเลข ๓ แล้วและ หนา้ ทีข่ องอนศุ าสนาจารย์ ซ่ึงจอมพลเสนาธกิ ารทหารบก ทรงกําหนดไปยังกองทูตทหาร นั้นมีใจความเปน็ ๕ ข้อดังน้ี ๑. ใหท้ ําการอยู่ในกองทตู ทหาร ๒. ส่งตัวไปเยี่ยมเยือนทหารในที่ต่างๆ ซึ่งทหารแยกย้ายกันอยู่น้ันเนืองๆ เพื่อส่ังสอนตกั เตือนในพระพุทธศาสนา และทางจรรยาความประพฤติ ๓. ให้ถามสุขทุกข์กันอย่างใจจริง ทั้งคอยให้รับธุระต่างๆ ของทหาร เช่น จะส่ังมาถงึ ญาตขิ องตนในกรงุ สยาม หรือส่งเงนิ สง่ ของมาใหใ้ ห้รับธุระทุกอย่าง ๆ ๔. ทหารคนใดเจ็บไข้ ใหอ้ นุศาสนาจารยไ์ ปเยย่ี มปลอบโยนเอาใจ

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๖ ๕. ถ้ามีเหตุอันไม่พึงประสงค์ท่ีทหารคนใดถึงแก่ความตายลง ใหอ้ นุศาสนาจารยท์ ําพิธีเทศนาอา้ งพระธรรมตามแบบสังฆปฏิบัตใิ นขณะฝังศพ รวมความ ก็ทําหน้าที่อย่างที่พระควรทํา แต่พระของเราจะไปยุโรปมิได้ ขัดด้วย การแต่งกายและเหตุอ่ืนๆ จึงต้องใช้คฤหัสถ์ซ่ึงเป็นเปรียญ และเคยอุปสมบทอยู่ในเพศ สมณะได้เปน็ พระราชาคณะน้ันแทน การแต่งกาย ให้แต่งอย่างนายทหาร แต่ใช้อินทรธนูรองอํามาตย์ตรีกระทรวง ธรรมการ กบั เวน้ กระบี่ ในท่ีน้ี จะอธิบายถึงหน้าที่บางประการสักเล็กน้อย พอให้เห็นเป็นเค้าว่างาน จริงๆ ในเรื่องนม้ี ีอยอู่ ย่างไร และทรงมุ่งหมายอยา่ งไรบา้ ง จึงไดท้ รงวางหน้าที่ไว้ดังนี้ ในข้อ ๑ ซ่ึงว่าให้ทําการอยู่ในกองทูตทหารนั้น แม้ใจความจะบ่งอยู่ว่าย่อม แล้วแต่หัวหน้าทูตทหารจะให้ทําอะไร ซึ่งนอกออกไปจากท่ีทรงกําหนดไว้แล้วนั้นดังนี้ก็ จริง แต่ก็ทรงแนะกํากับไปด้วยในคราวนั้น ทรงมุ่งหมายเพื่อให้ช่วยในทางเอกสาร ฝ่าย ภาษาไทยโดยตรง ถึงอย่างน้ัน ผู้ใหญ่ท่ีโน่นก็ไม่กะงานอย่างอื่นให้ทําก่ีอย่างนัก ที่เป็น หน้าเป็นตานั้น นับได้ว่ามีอยู่อย่างเดียวคือ มอบให้เป็นเจ้าหน้าที่ตรวจจดหมายของ ทหารท่ีจะส่งเข้ามาถึงญาติมิตรในกรุงสยาม เพราะมีข้อความบางประการท่ีห้ามไว้อย่าง กวดขัน เพ่ือมิให้รั่วไหลออกนอกยุทธบริเวณของฝ่ายสัมพันธมิตรในเวลาน้ัน ด้วยเหตุน้ี จดหมายส่วนตัวของทหารทีไ่ ปในคราวนัน้ ทงั้ สน้ิ เม่ือจะส่งเข้ามาในน้ี จึงต้องผ่านกองทูต ทหารก่อน เพื่อให้เจ้าหน้าที่ได้ตรวจเร่ืองและตัดข้อความท่ีต้องห้ามออกเสียแล้วจึงกลับ ผนึกส่งเข้ามาได้ จดหมายท่ีว่านี้มีวันละมากมาย เพราะต่างคนก็ต้องการจะบอกข่าว สู่ญาติมิตรของตนด้วยกําลังความคิดถึง ในจดหมายฉบับหน่ึง ๆ จึงมีข้อความอย่าง ยืดยาว และต้องตรวจให้ได้ในวันหน่ึง ๆ ไม่ตํ่ากว่าสองร้อยฉบับ สําหรับเจ้าหน้าท่ี คนหนึ่งต้องตรวจให้ได้ไม่ตํ่ากว่าร้อยฉบับทุกวันไป ถ้าเป็นจดหมายอย่างยืดยาวมีประดัง กันหลายสิบฉบับ ตรวจจนหมดเวลาทํางานแล้วยังไม่เสร็จ ก็ต้องนําไปตรวจในเวลา กลางคืนให้เสร็จตามจํานวนที่กะไว้ เพ่ือให้ทันส่งเจ้าหน้าท่ีทางสถานทูตในเวลาเช้า แห่งวันรุ่งขึ้น ถึงว่าจดหมายท่ีต้องตรวจประจําวันมีมากก็จริง แต่ไม่ใช่งานหนักความคิด เป็นแต่งานที่ต้องใช้เวลากับความถ่ีถ้วนมากเท่าน้ัน งานในกองทูตทหารนอกจากนี้ เกือบจะกล่าวได้ว่า ผู้ใหญ่ทางโน้นไม่ได้กะให้ทําอะไร ตัวบุคคลจึงมีโอกาสได้ปฏิบัติ หน้าที่อย่างอนุศาสนาจารย์ได้เต็มที่ ข้อนี้แหละท่ีเป็นหัวต่อสําคัญนัก ของงาน

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๗ อนุศาสนาจารย์ คือ ถ้าตัวบุคคลทํางานได้เฉพาะอย่าง ก็ไม่เป็นท่ีนิยมและเป็นทางชวน ให้เห็นว่าหน้าที่อนุศาสนาจารย์ไม่สู้มีประโยชน์ไปด้วย ถ้าทํางานได้หลายอย่าง ก็เป็น ทางมาแห่งงานได้หลายอย่าง ซึ่งแล้วแต่จะมีมา งานเช่นนี้มีมากขึ้นเท่าใดงานที่เป็นรสของ อนุศาสนาจารย์แท้ๆ ก็อาจเสื่อมไปเท่านั้น เพราะบุคคลแบ่งภาคไม่ได้ ย่อมไม่สามารถที่ จะทําไดด้ ที ุกด้านไป และเม่ืองานท่ีเป็นรส ของอนศุ าสนาจารย์เส่ือมลงแล้ว ถึงจะทํางาน อ่ืนที่ปนเข้ามาได้ดีสักเพียงไรก็ป่วยการ เพราะงานอื่นย่อมมีเจ้าหน้าท่ีอ่ืนเป็นตัวต้ังอยู่ แล้ว ถ้าอนุศาสนาจารย์ไปทํางานเช่นน้ันประจําด้วย โดยไม่จําเป็น ย่อมเป็นการสํางานสํา บุคคลอย่างว่า จะได้ผลก็ต้องเป็นถี่เกินไปและห่างเกินเท่านั้น ไม่ใช่ได้อย่างพอเหมาะแก่ เหตุการณ์ และถ้างานท่ีเป็นตัวรส (ภารกิจ) ของอนุศาสนาจารย์จริงๆ เส่ือมลงแล้ว หน้าท่ขี องอนศุ าสนาจารย์ก็จะตอ้ งเลือนไปโดยลําดับ จนนับไม่ได้ว่าโดยตรงน้ันมีอย่างไร คร้ันเม่ือหน้าที่เลือนไปแล้ว ตัวบุคคลก็จําเลือนไปตามกัน จนอาจกลายเป็นไม่มี โดยนัยนี้ เอง เมื่อสาวเข้าไปโดยเทียบตํานานแล้ว จึงน่าสงสัยว่าอนุศาสนาจารย์ที่ว่ามีมาแล้วใน คราวหนึ่งน้ันได้สูญไปโดยความเลือนแห่งรสงานหรืออย่างไร ด้วยว่าหน้าที่ อนุศาสนาจารย์น้ัน เฉพาะตัวงานทีเดียวยังเห็นได้ง่าย แต่ประโยชน์ของงานเห็นยากนัก เพราะเป็นนามธรรมโดยมากไม่เป็นชิ้นเป็นก้อนให้เห็นได้อย่างรูปธรรม ย่ิงตัวบุคคลมี น้อยไปไม่พอแก่เหตุที่พึงมีด้วยแล้ว ก็ยิ่งเห็นประโยชน์ได้ช้ามาก เมื่อเห็นประโยชน์ได้ยาก และเน่ินช้าดังนี้แล้ว ก็ชวนให้ทําโน่นทําน่ีที่มีประโยชน์ทันตาเห็น ครั้นงานเช่นน้ีอากูลขึ้น หน้าที่ของอนุศาสนาจารย์แท้ๆ ก็ยากที่จะคงบริบูรณ์อยู่ จึงต้องเลือนไปตามงาน และ ถา้ ซํ้ามีตัวนอ้ ยอยู่ด้วยแล้ว ตา้ นทานงานหลายดา้ นไมไ่ หวกต็ อ้ งหมดเรว็ อยู่เอง ในข้อ ๓ ท่ีว่าให้ถามสุขทุกข์กันอย่างจริงใจนั้น คือ ไม่ใช่ ถามอย่างปราศรัยซ่ึง ถามแล้วก็แล้วไป เป็นการถามเพ่ือจะช่วยเหลือโดยส่วนเดียว และไม่หมายความว่า ให้อนุศาสนาจารย์เท่ียวถามสุขทุกข์ของทหารเร่ือยไปอย่างน้ัน อันไม่เป็นกิจจะลักษณะ และไม่สะดวก ในทางการงานจริงๆ น้ัน หมายเอาการรับปรับทุกข์ของทหารด้วยความ จริงใจ เม่ือมีใครมาปรับทุกข์ ก็พูดจาถ่ายถามด้วยพยายามจะช่วยเหลือปลดเปลื้องให้ จริงๆ ตามท่ีทําได้อย่างไร และเพียงไร กองทูตทหารของเราในปารีสจึงได้บอกประกาศ ไปยังกองทหารไทยทุกกอง ถึงความที่มีพระบรมราชโองการดํารัสให้จัดส่ง อนศุ าสนาจารย์ออกไป และอนศุ าสนาจารย์เปน็ เพื่อนทุกข์ของทหารท่ีไปทุกคน ถ้าใครมี ความทุกข์ร้อนในใจอย่างไร เมื่อไม่สามารถจะแก้ไขได้โดยประการอ่ืน ก็ให้ปรับทุกข์กับ

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๘ อนุศาสนาจารย์ได้ทั้งสิ้น ด้วยเหตุน้ีการปรับทุกข์ของทหาร จึงเป็นงานหนักอันหน่ึงใน คราวนั้น แม้ทหารท่ีไปจะไม่ได้พบอนุศาสนาจารย์ทั่วถึงกันก็ตาม แต่คนมากด้วยกัน ไป อยู่ในต่างถ่ินแดนของตน ในคราวท่ีสับสน ซึ่งผิดกันมากกับยามปกติ ท้ังบุคคลคนเดียว จะปรับทุกข์กี่ครั้งก็ได้ ผู้ที่อยู่ห่างไกล ส่งจดหมายเล่าความในใจมาปรับทุกข์ก็ได้ แล้วอนุศาสนาจารย์เขียนชี้แจงตอบไป เช่นน้ี การรับปรับทุกข์จักมีน้อยเร่ืองไม่ได้อยู่เอง และใช้เวลาอีกต่างหาก นอกจากเวลาทําการในกองทูตทหารเป็นเปิดโอกาสให้ทุกระยะ ไป งานน้ีจึงเพร่ือมาก แต่เป็นเหตุให้ได้ใช้อนุศาสนาจารย์มาก ได้พูดจาเฉพาะตัวในทาง ธรรมมากซึ่งมีทางได้เนื้อยิ่งกว่าท่ีผู้นั้นจะเข้าไปรวมฟังในคราวประชุม โดยเหตุว่าการ ปรับทุกข์ของทหารน้ันแม้ย่อมมีได้ต่างๆ ตามเร่ืองตามอารมณ์ของบุคคล จนกําหนด ไม่ได้ว่าจักเป็นเรื่องอย่างไรบ้างดังน้ีก็ตาม แต่การรับปรับทุกข์ของอนุศาสนาจารย์ ต้องให้เป็นไปโดยธรรมเสมอคือ มุ่งแก้เหตุในตัวของผู้ปรับทุกข์น้ันเองให้ยิ่งกว่าอย่างอื่น ไม่ใช่คอยแก้เหตุในภายนอกเป็นใหญ่ เพราะไม่มีที่สุดและหายุติในการนี้ได้ยาก จึงต้อง พยายามท่ีสุดเพ่ือให้ผู้ปรับทุกข์ได้รับประโยชน์ในทางธรรม ท้ังในโอกาสเช่นน้ัน เป็น คราวที่จะพูดกันได้เต็มท่ี และความทุกข์ร้อนทั้งมวลน้ันย่อมทับถมแก่ผู้เสียระเบียบ ในทางมากกว่าผอู้ ่ืน ทางธรรมเท่านั้น ย่อมเป็นระเบียบอย่างดีย่ิงของทางใจ และอย่างไร จึงชื่อว่ามีระเบียบในทางใจ เม่ือจําเป็นต้องทําท่ียากก็จําเป็นต้องยอมลําบาก เม่ือจําเป็นต้องยอมลําบากก็จําเป็นต้องอดทน เม่ือจําเป็นต้องอดทน ก็จําเป็นต้องทําใจ ให้แช่มอยู่กับความอดทนเข้าไปช่วยกันตามลําดับ ตัวอย่างดังน้ีเป็นต้นแหละ เรียกว่ามี ระเบียบในทางใจ ต้องโน้มน้าวผู้ปรับทุกข์ในทางนี้ จึงช่ือว่าเป็นไปโดยธรรม ไม่ใช่รับ ปรับทุกข์ด้วยวิธีพยักพเยิด ธรรมดาผู้ปรับทุกข์ ถ้าเดือดร้อนกับใครมามักจะอดเอาเรื่อง ของบุคคลนั้นๆ มาประมูลไม่ใคร่ได้ ซึ่งไม่เป็นแต่เล่าเร่ืองทุกข์ร้อนของตนเองตรงๆ ไปเช่นว่าเดือดร้อนมากับผู้บังคับบัญชา หรือเพ่ือนข้าราชการด้วยกัน ก็มักจะโพนทะนา ถึงบุคคลนั้นๆ อีกช้ันหนึ่ง ซ่ึงไม่เฉพาะแต่ปรับทุกข์ หรือถ้าไม่พูดเป็นเน้ือเป็นตัวก็ติเตียน การปกครองอย่างน้ันอย่างน้ี ถ้าผู้รับปรับทุกข์ได้พลอยเอออวยช่วยติเตียนส่งไปด้วย ก็มักจะเป็นท่ีพอใจของผู้ปรับทุกข์ อย่างนี้เรียกว่าพยักพเยิด ไม่ใช่เป็นไปโดยธรรม การรับปรับทุกข์ของอนุศาสนาจารย์ย่อมไม่ใช่ดังว่าน้ี ย่ิงถ้าความทุกข์ร้อนของผู้น้ัน เป็นเร่ืองที่จะต้องแก้ทางผู้บังคับบัญชาด้วยแล้ว ก็ย่ิงต้องระมัดระวังให้จงหนัก ถ้าเร่ือง นั้นจักเป็นไปในทางเสียปกครองแล้ว ก็มีสิ่งที่อนุศาสนาจารย์จะพึงทํา แต่ต้องชี้แจงแก่ผู้

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๙ ปรับทุกข์จนเข้าใจ ให้เห็นชดั ว่าเป็นไปไม่ได้ ใจจะได้ยอมอยู่ในเหตุผล ซึ่งเป็นการอยู่สงบ แก่ตนผู้นั้นเอง แต่ความจริงในเรื่องน้ี ยังมีอีกชนิดหน่ึง คือ ถ้าความเดือดร้อนน้ันๆ บังเกิดขึ้นเพราะความเข้าใจของผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชาไม่บรรจบเข้าหากัน อย่างที่เรียกว่าไม่พบกันครึ่งทางดังน้ีเป็นสาเหตุ ความเป็นไปพอดีในเร่ืองนั้นๆ จึงมีไม่ได้ และความเดือดร้อนก็เกิดข้ึน เม่ือมีคนกลางเข้าไปอีกคนหน่ึงช่วยสื่อสารให้ ความพอดีจะเกิดขึ้นได้ และความเดือดร้อนของผู้ปรับทุกข์จักสงบได้ เช่นนี้แล้ว อนุศาสนาจารย์ย่อมเป็นคนกลางช่วยเหลือได้ เพื่อสวัสดิภาพด้วยกันทั้งสองฝ่าย ใน หน้าท่ีข้อนี้ จึงได้ทรงมุ่งหมายให้อนุศาสนาจารย์พูดจาให้ โดยใจความก็คือเป็นคนกลาง ดังกล่าวมา และเหตุไรจึงต้องมีคนกลางพูดจาให้ ตามที่ได้ทราบอธิบายมาแต่คร้ังน้ันว่า เพราะปกติของทหาร มักสะทกสะท้าน ไม่สามารถจะยังถ้อยความให้บริบูรณ์ ความประสงค์ในอันจะกล่าวย่อมเสียไป หรือมิฉะนั้น เม่ือต้องพูดจากันมากเข้า ก็จะ กลายเป็นความต่อนัดต่อแนงแก่กันข้ึน ถ้ามีผู้สื่อสารให้ ย่อมเป็นการระงับข้อน้ีได้ จึงได้ ทรงมงุ่ หมายไวด้ งั น้ี ด้วยพระปรชี าญาณที่ทรงเห็นอกเหน็ ใจของทหารจรงิ ๆ งานอันน้ีอยู่ข้างยากมาก แต่ถ้าทําจริง ๆ และปฏิบัติให้ถูกต้องกับเร่ืองแล้ว ย่อม ระงับเหตุภายในได้มากทีเดียว เพราะความเดือดร้อนในใจ ย่อมเป็นเหมือนวัตถุระเบิดท่ี อัดอยู่ เมื่อไม่มีทางจะถ่ายถอนและทนไม่ไหว ก็ให้ผลร้ายได้ต่าง ๆ ย่ิงเป็นคราวขับขัน เช่นในราชการคร้ังนั้นด้วยแล้ว ความเดือดร้อนส่วนบุคคลก็ย่ิงมีทางเกิดได้มากมาย จึงเห็นได้ว่า การท่ีโปรดเกล้า ฯ ให้ส่งอนุศาสนาจารย์ออกไปคราวนั้น เป็นพระมหา กรุณาธิคุณอย่างล้นพ้น แต่ท้ังนี้ ต้องให้เป็นไปอย่างล้ีลับ แม้ถึงในเหตุการณ์ที่จะพูดจา ทางผู้บังคับบัญชาของทหารผู้ปรับทุกข์ ก็ต้องให้เป็นไปเฉพาะ เช่นเดียวกัน และเพราะ เหตุท่ีต้องทําโดยล้ีลับดังน้ีแหละ จึงเป็นงานท่ีมองเห็นได้ยาก แต่อยู่ในวิสัยของผู้ใหญ่ งานอันนี้จงึ ได้เปน็ ไปแล้วในคร้งั นั้นและตอ่ มา ในข้อ ๔ ที่วา่ ทหารคนใดเจ็บไข้ ใหอ้ นุศาสนาจารย์ ไปเยี่ยมปลอบโยน เอาใจนั้น ทหารท่ีไป มีป่วยประจําโรงพยาบาลอยู่เสมอต้ังแต่ไปจนกลับ ไม่มีวันว่างเว้นทหารป่วย อนศุ าสนาจารย์ จึงได้ถือเอาการไปโรงพยาบาล เป็นกิจวัตรอย่างหน่ึงซึ่งต้องทําเสมอ คือ ไปได้ในวันใด เป็นต้องไปวันนั้น คร้ันเม่ือไปเสมอ ๆ เช่นนี้แล้ว จักเยี่ยมเฉพาะแต่ทหาร ไทยด้วยกัน ก็ดูเป็นใจจืด จึงได้ไปเยี่ยมทหารฝร่ังด้วย เพราะทหารป่วยส่วนมากท่ีส่งเข้า ไปรกั ษาตวั ในปารสี นัน้ อยูโ่ รงพยาบาลเดียวกันกบั ทหารฝรัง่

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๑๐ กิจในการเย่ียมทหารเจ็บไข้ของอนุศาสนาจารย์น้ัน มิได้อยู่ที่ถามอาการกับตัว คนเจ็บว่าเป็นอย่างไร เพราะได้ทราบความจากนายแพทย์และผู้พยาบาลประจําตัวแล้ว กิจของอนุศาสนาจารย์อยู่ท่ีสอนคนเจ็บ ให้รู้จักจัดการในใจของตนเองในเวลาเช่นน้ัน อนั รวมความได้วา่ คนเจ็บน้นั ๆ ไดฟ้ ังไดร้ ู้และทําใจอย่างใดจึงเป็นประโยชน์ อย่างย่ิงของ ตนในเวลาน้ันได้ อนุศาสนาจารย์ก็เย่ียม และสอนอย่างน้ัน ท่ีควรจะรวมกันฟังได้ นายแพทย์ก็ให้มาประชุมแห่งเดียวกัน ที่มาไม่ได้ อนุศาสนาจารย์ก็ไปเยี่ยม และให้สติ เฉพาะคนเป็นเตียง ๆ ไป ท่ีเจ็บไข้อย่างเดียวกันและอยู่เคียงกัน อนุศาสนาจารย์ก็เข้าไป อยู่ในระหว่างแห่งเตียงท้ังสอง ให้คนเจ็บได้นอนฟังพร้อมกันไปทั้งสองคน ผลซึ่งได้ ในตอนน้ี ท่ีไม่เป็นแต่เพียงว่ากองทหารไทยจําเริญ ได้รับทํานุบํารุงอย่างประณีต จนถึงมี เจา้ หนา้ ทค่ี อยเยย่ี มและใหส้ ติในยามเจ็บไข้เป็นพิเศษอีกต่างหาก นอกจากท่ีมีแพทย์และ ผูพ้ ยาบาลประจาํ ให้ จะเฟน้ หาผลต่างๆ ที่ว่าทําดังนี้แล้วจะได้อะไรน้ัน ยากที่จะเห็นได้ แม้ตัวผู้ทําเองก็มิอาจยืนยัน นอกจากจะกล่าวไว้เพียงเป็นรายงานว่า ทหารป่วยท่ีกําลังกระสับกระส่ายด้วยทุกข์ เวทนานน้ั ได้รับเย่ียมฟังคําสอน จนหลับได้ ซึ่งเขาต่ืนข้ึนไม่ทราบว่าอนุศาสนาจารย์ถอย ออกไปเม่ือไร ดังน้ีก็มี แต่ถึงอย่างนั้น ก็เป็นคราวของร่างกายที่จะเป็นเช่นนั้นได้ ส่วน คราวที่เป็นไม่ได้น้ันมีอยู่ แม้จะสอนอย่างไรก็ไม่ไหว คงเป็นไปตามเรื่องท่ีร่างกายจะ เป็นอยูน่ ่นั เอง ยังมีกรณีอีกอย่างหนึ่ง ซึ่งเกิดเป็นงานจริงข้ึนคราวนั้น อันเนื่องมาแต่พระกรุณา คุณของสมเด็จพระมหาสมณะเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสเป็นเดิมเหตุ ความสวัสดี จึงมีแก่ทหารป่วยส่วนมากท่ีกล่าวแล้ว ประพฤติเหตุทางอนุศาสนาจารย์ทั้งหมด ที่เป็น สว่ นการบุคคลอยา่ งเดยี ว มิไดเ้ ก่ยี วกบั พระเกียรตคิ ณุ ของเจ้านายนั้น จะตัดทอนออกเสีย อย่างไร ถ้าไม่เสียข่าวในทางตํานานแล้วก็ทําได้ เพราะเป็นเรื่องทางเจ้าหน้าที่โดยเฉพาะ ไม่อัศจรรย์อะไร แต่ถ้าเป็นข้อความแสดงพระมหากรุณาธิคุณของล้นเกล้า และ พระเดชพระคุณของจอมพลเสนาธิการทหารบก ในราชการคราวนั้นแล้ว จักตัดทอน ออกเสีย ย่อมเป็นการไม่เฉลิมพระเกียรติคุณของเจ้านาย หาสมควรไม่ แม้ในข้อนี้ ก็เหมือนกัน ไม่กล่าวให้ปรากฏไม่เป็นแต่เสียข่าว ในทางตํานาน ย่อมเป็นการทิ้งพระคุณ ข้อนี้ท่ีมีแก่ทหารป่วยในคราวนั้นด้วย และถ้าไม่ทราบในที่น้ีแล้ว จักหาทางทราบท่ีอ่ืนได้ โดยยาก เพราะเป็นเร่ืองล้ลี ับชอบกลอยู่ จกั กล่าวไว้พอรักษาเรื่องทคี่ วรจะทราบ

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๑๑ ทหารไทยที่ป่วยส่วนมากน้ัน เมื่อได้ย้ายมาฝากไว้ที่โรงพยาบาลลุกเซมเบิก ในปารีส ซึ่งเป็นโรงพยาบาลสําหรับทหารอเมริกันในการสงครามคราวน้ัน คร้ังหนึ่ง ทหารเป็นไข้นิวโมเนียถึงแก่กรรมติด ๆ กันไป ทหารป่วยเป็นอันมากต่างใจฝ่อไปตามกัน ให้หวาดหว่ันต่อมรณภัยจนขวัญเสีย เห็นโรงพยาบาลเหมือนป่าช้า และเกิดโกลาหล ปั่นป่วนข้ึน ท่ีจะให้พ้นโรงพยาบาลนี้ไปเสียให้ได้ จึงรบเร้านายแพทย์ให้ส่งกลับยังกอง เดิมของตน ๆ แม้ยังไม่หายก็ขอไป นายแพทย์จักชี้แจงปลอบโยนสักเท่าไร หาฟังไม่ นายรอ้ ยเอก หลวงประสิทธสิ์ รรพแพทย์ (อุ๋ย สุนทรหุต) ผู้บังคับ หมวดพยาบาลของกอง ทหารที่ไป ซ่ึงในเวลาน้ันยังมิได้เรียกว่าหมวดเสนารักษ์ เป็นผู้ทํางานร่วมมือกันกับ อนุศาสนาจารย์ในการเยี่ยมทหารเจ็บไข้ ได้มาแจ้งเร่ืองนี้ ให้อนุศาสนาจารย์ฟังดังท่ี กล่าวมาแล้วนั้น และขอให้ช่วยระงับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นนี้กับชี้แจงว่า ได้ขอผัดทหารไว้ ให้สงบรออยู่ก่อน เพื่อจะมาขอให้แก้ไข จึงได้ปรึกษากันว่า ทางแก้ไขโดยตรงน้ันก็คือ พูดจาชี้แจงจนเข้าใจ แต่นายแพทย์ก็ได้ช่วยกันพูดแล้วเป็นหนักหนา อนุศาสนาจารย์จัก ไปช้ีแจงอีก เป็นการทําชํ้าในข้อที่ทหารไม่ฟังแล้ว ไม่น่าจะได้ประโยชน์ จึงเห็นอยู่ทางหน่ึงเท่านั้นท่ีควรจะทําได้ คือต้ังพิธีทําน้ํามนต์ประพรมให้ทหารเหล่าน้ัน เห็น วัตถุม่ิงขวัญท่ีจะประสิทธิ์ให้เป็นน้ํามนต์ขึ้นนั้น ก็ได้ประทานออกมาสําหรับมีพร้อม อยูแ่ ล้ว ขัดข้องอย่ขู ้อเดยี วเท่านัน้ คือ อนุศาสนาจารยเ์ ป็นฆราวาส ทหารจักไม่สนิทใจใน น้ํามนต์ที่ทําว่าศักดิ์สิทธ์ิก็ไม่เป็นประโยชน์อีก แต่ผู้บังคับหมวดพยาบาลยืนยันว่า ทหาร นับถือ เพราะมีความนับถือส่วนบุคคลมากอยู่แล้ว แม้ตนเองก็นับถือ ไม่มีความรังเกียจเลย การที่ฆราวาสทาํ นํา้ มนต์น้นั หาเป็นเร่ืองที่แปลกไม่ ในบ้านเมืองเราก็ทํากันถมไปจึงเป็น อันตกลงในการนี้ เมื่ออนุศาสนาจารย์จะไปนั้น ได้ถวายบังคมลาสมเด็จพระมหาสมณะเจ้าและ ทรงพระกรุณาโปรดให้ขึ้นเฝ้าบนตําหนักจันทร์เป็นพิเศษ ได้ประทานวัตถุเป็นม่ิงขวัญ ๓ อย่าง คือ เหรียญพระพุทธชินสีห์ เหรียญพระจตุราริยสัจ เหรียญมหาสมณุตตมาภิเษก และทรงสัง่ ไว้วา่ ถ้าถงึ คราวจาํ เปน็ ก็ให้นําวตั ถเุ หล่าน้ีออกทาํ นาํ้ มนตไ์ ด้ ทั้งทรงอธิบายไว้ ดว้ ยวา่ สลี พัตตปรามาสนัน้ ถ้ามุ่งเอาเมตตากรุณาเป็นท่ีตั้งแล้วยังเป็นกิจที่ควรทํา ไม่ควร จะเว้นเสียทีเดียว เหตุไรจึงได้ทรงอธิบายดังน้ี เพราะสีลพัตตปรามาสเป็นพิธีของโลกมา แต่โบราณกาลจนบัดนี้ ไม่ใช่ความดีในพระศาสนาท้ังเป็นปฏิปักษ์ต่อการทําความดีใน พระศาสนาด้วย ซ่ึงผู้ปฏิบัติธรรมชั้นสูงจะแตะต้องไม่ได้ทีเดียว แต่ถ้าทําด้วยอํานาจ

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๑๒ เมตตากรุณาเป็นใหญ่ ด้งท่ีพระสงฆ์สวดมนต์ทําน้ํามนต์นั้นเป็นต้นแล้ว ก็ไม่เป็นข้อที่ เสยี หาย จักอธิบายไว้ให้ละเอียด จะชักช้า จึงขอรวบรัดตัดตอนว่า เมื่อได้ตกลงกันดังนั้น แล้ว ถึงเวลากําหนด ก็อัญเชิญวัตถุม่ิงขวัญท้ัง ๓ นี้ไปยังโรงพยาบาลลุกเซมเบิก นายแพทย์ให้ทหารป่วยท่ีเดินได้มารวมกันในห้องทหารป่วยท่ีเดินไม่ได้ อนุศาสนาจารย์ ยืนอยู่ ณ ท่ามกลางชุมชนน้ันซ่ึงพากันเงียบกริบปราศจากเสียง ยกถ้วยน้ําข้ึนจบแล้ว ประคองไว้ในกระพุ่มมือตั้งสัตยาธิษฐานประกาศข้อความทําน้ํามนต์น้ันดังๆ ช้าๆ ให้ทุกคนได้ยินทุกคําอย่างกล่าวประกาศสัตยาธิษฐานที่ท่านทํากันมา ครั้นสําเร็จเป็นน้ํามนต์ ข้ึนแล้ว แทนท่ีจะประพรมตามห้องดังได้ตกลงกันไว้ก่อนน้ัน ทั้งนายแพทย์ทั้งทหารป่วย ต่างกลุม้ รมุ ขอน้ํามนต์น้ัน ดื่มบ้าง ลูบหน้าลูบศีรษะบ้าง จนไม่พอกันต้องเติมแล้วเติมเล่า เป็นหลายหน จึงได้ประพรมตามเตียงคนไข้จนทั่วห้อง เพ่ือขับอุปัทวะอย่างประนํ้ามนต์ ขึ้นเรือนใหม่ ความปั่นป่วนของทหารไทยในโรงพยาบาลลุกเซมเบิกก็สงบแต่นั้นมา จนถึงกลบั พระมหานคร อนุศาสนาจารย์ท่ีไปคราวนั้น ได้กลับมากับกองทูตทหารถึงกรุงเทพมหานคร ในวันที่ ๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๒ กระทรวงกลาโหม ได้ตั้งกองอนุศาสนาจารย์ขึ้นในเดือน นั้นทันที มีข้อความแจ้งอยู่ในสําเนาคําส่ังสําหรับทหารบกเรื่องตั้งกองอนุศาสนาจารย์ ซึ่งหมายเลข ๔ มีข้อปรารภแจ้งอยู่ในสําเนาคํากราบบังคมทูลขอพระราชทานพระบรม ราชานุญาต ซ่ึงหมายเลข ๕ และขอโอนตัวบุคคลจากกระทรวงธรรมการมาเป็นหัวหน้า กอง มีเหตุผลแจ้งอยู่ในสําเนาหนังสือขอโอนของกระทรวง ซ่ึงหมายเลข ๖ แล้ว กองอนุศาสนาจารย์ที่ตั้งข้ึนนี้ สังกัดอยู่ในกรมตําราทหารบก ซ่ึงเป็นกรมขึ้นของกรม เสนาธิการทหารบกในเวลานั้น มีข้อบังคับสําหรับทหารบกว่าด้วยกองอนุศาสนาจารย์ แจง้ อยู่ในสําเนาข้างท้ายน้ีตอนหมายเลข ๗ ซึ่งในท่ีนี้เรียกว่าข้อบังคับเดิม เพราะบัดน้ีไม่ ใช้แล้ว คํากราบบังคมทูลขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตต้ังกองอนุศาสนาจารย์ขึ้น ก็ดี คําขอโอนตัวบุคคลจากกระทรวงธรรมการ และข้อบังคับนั้นก็ดี จอมพล เสนาธิการ ทหารบกทรงร่างเองทั้งน้ัน สมุหนามแห่งงานส่วนใหญ่ของกรมตําราทหารบกแต่ก่อนนั้น เป็นกองบ้าง เป็นแผนกบ้าง ต่าง ๆ กัน เจ้าหน้าที่จึงได้บัญญัติให้เป็นแผนกเหมือนกัน หมด กองอนุศาสนาจารย์จึงเป็นแผนกในกรมน้ัน เรียกว่า แผนกอนุศาสนาจารย์ และ แผนกเหล่านั้นท่ีเรียกตามลําดับเลขก็มี คือ แผนกที่ ๑ แผนกท่ี ๒ เรียกตามใจความก็มี คือ แผนกอนุศาสนาจารย์ แผนกห้องสมุดกระทรวงกลาโหม ไม่เหมือนกันเช่นน้ี

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๑๓ เจ้าหน้าที่จึงได้เปลี่ยนบัญญัติอีกให้เรียกตามลําดับเลขเหมือนกันหมดต้ังแต่แผนกท่ี ๑ ถึงแผนกท่ี ๔ และแผนกอนุศาสนาจารย์เป็นแผนกที่ ๓ ในกรมนั้น ต่อมากรมตํารา ทหารบกได้ทําประมวญข้อบังคับสําหรับทหารบกขึ้น กระทรวงกลาโหมส่ังให้ใช้ประมวญ น้ัน และยกเลิกบรรดาข้อบังคับ สําหรับทหารบกซึ่งแยกอยู่ต่าง ๆ เสีย ข้อบังคับว่าด้วย กองอนุศาสนาจารย์ ซ่ึงตราขึ้นไว้แต่เดิมน้ัน จึงเป็นอันไม่ต้องใช้เพราะต้องแก้ความเดิม มาโดยลําดับ และในท่ีสุดได้มีในประมวญแล้ว แต่เพื่อให้ทราบความเดิมว่าเป็นมา อย่างไร จึงได้รักษาไว้ในเร่ืองน้ี ถึง พ.ศ. ๒๔๖๙ เลิกกรมตําราทหารบก และจําหน่าย แผนกในกรมนั้นไปไว้ในกรมน้ันๆ ตามเหมาะสมแก่งาน ส่วนแผนกที่ ๓ จําหน่ายมาไว้ใน กรมยุทธศึกษาทหารบก ยกมาแต่วันที่ ๕ ตุลาคม ศกนั้น ประจวบกับเป็นคราวที่กรมนี้ เริ่มเปลี่ยนสมุหนามของประเภทงานให้เรียกว่ากองเหมือนกันหมด แผนกท่ี ๓ ที่ยกมา จงึ เปน็ กองอนศุ าสนาจารย์ในกรมยทุ ธศึกษาทหารบก เรื่องนี้ ยังขาดข่าวในทางตํานานอยู่หลายประการ แต่เป็นเร่ืองที่เร่งรัดต้องทํา ด้วยเวลาจํากัดจึงเป็นยุติว่า กองอนุศาสนาจารย์ได้มีขึ้นในกรมยุทธศึกษาทหารบก ด้วยประการดังน้ี

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๑๔ เอกสารหมายเลข ๑ รายงานของเสนาบดีกระทรวงธรรมการ สง่ ข้ึนทูลเกล้าถวาย --------------------- หมายเลขที่ ๖/๑๘๖๕ ลงวนั ที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๔๖๑ ขอพระราชทานทลู เกล้าฯ ถวาย ขอเดชะฝา่ ละอองธุลพี ระบาทปกเกล้าปกกระหม่อม เนื่องจากพระราชปรารภว่า ในงานพระราชสงครามครั้งน้ี ซึ่งได้โปรดเกล้าฯ ให้ส่งกองทหารไปช่วยราชสัมพันธมิตรกระทําการสงครามแล้ว ควรจะมีราชบัณฑิตเป็น อนุศาสนาจารย์ออกไปกับกองทัพตามโบราณราชประเพณี ทรงพระราชดําริว่า รองอํามาตย์ ตรี อยู่ เปรียญ เดิมเป็นพระอมราภิรักขิต พระคณาจารย์เอก บัดน้ีรับราชการอยู่ในกรมราช บัณฑิตกระทรวงธรรมการ ควรสนองพระเดชพระคุณในตําแหน่งน้ีได้ จึงทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ มีพระราชดํารัสสั่งให้ข้าพระพุทธเจ้านําความไปกราบทูลสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงพิศณุโลกประชานารถ เสนาธิการทหารบก ข้าพระพุทธเจ้ารับพระบรมราช โองการใส่เกล้าฯ แล้วกลับไปถึงกรุงเทพฯ (เวลานั้นประทับอยู่ ณ หาดเจ้าสําราญ จังหวัด เพชรบุรี ท่านเสนาบดีไปเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท รับพระบรมราชโองการที่น่ัน) ได้รีบไปเฝ้า สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอฯ พระองค์ท่านทรงเห็นเป็นประโยชน์โดยอเนกประการ ทรงรับ จัดการท่ีจะส่ง รองอํามาตย์ตรี อยู่ เปรียญ ตามกองทหารออกไปยังประเทศยุโรป ส่วนการ แต่งกายนั้น ทรงเหน็ ว่าควรแตง่ เป็นราชบัณฑิตตามหนา้ ท่ีนนั้ เอง ข้าพระพุทธเจ้าได้แจ้งข้อพระราชประสงค์ให้รองอาํ มาตย์ตรี อยู่ เปรยี ญ ทราบเกลา้ ฯ แลว้ รองอํามาตยต์ รี อยู่ เปรยี ญ มคี วามยินดีเปน็ ลน้ เกล้าฯ และต้งั ใจสนองพระเดชพระคณุ เตม็ กําลงั ความสามารถ ข้าพระพทุ ธเจา้ ได้พาตัวไปเฝ้าพระเจ้าน้องยาเธอด้วยแล้ว รองอาํ มาตย์ตรี อยู่ เปรยี ญ พึ่งไดร้ ับพระราชทานยศชน้ั ขา้ ราชการสญั ญาบตั รเป็นชนั้ แรกเทา่ น้นั ท้งั นี้ จะควรประการใดแลว้ แต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ควรมิควรแลว้ แตจ่ ะทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจา้ (ลงนาม) เจา้ พระยาธรรมศกั ดม์ิ นตรี จางวางเอก เสนาบดกี ระทรวงธรรมการ

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๑๕ เอกสารหมายเลข ๒ สําเนาบนั ทึกพระราชดาํ รัสเหนอื เกลา้ ฯ ตรสั สั่งเสยี อนุศาสนาจารย์ เพอ่ื ถวายบังคมลาตามกองทหารออกไป ........................ “น่ีแน่ะ เจ้าเป็นผู้ที่ข้าได้เลือกแล้ว เพ่ือให้ไปเป็นผู้สอนทหาร ด้วยเห็น ว่า เจ้าเป็นผู้สามารถที่จะสั่งสอนทหารได้ ตามที่ข้าได้รู้จักชอบพอกับเจ้ามานานแล้ว เพราะฉะนั้น ขอให้เจ้าช่วยรับธุระของาข้า ไปสั่งสอนทหารทางโน้น ตามแบบอย่างท่ีข้า ได้เคยสอนมาแล้ว เจ้าก็คงจะได้เห็นแล้วไม่ใช่หรือ (กราบบังคมทูลสนอง) เออ น่ันแหละ ข้าขอฝากให้เจ้าช่วยสั่งสอนอย่างน้ันด้วย เข้าใจละนะ (รับด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมและ กราบถวายบงั คม)

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๑๖ เอกสารหมายเลข ๓ รายงานของหวั หน้าทูตทหาร .......................... ที่ ๘๙/๒๐๖ ทวี่ ่าการกองทูตทหาร กรุงปารสี วนั ท่ี ๙ ตุลาคม พระพุทธศักราช ๒๔๖๑ ข้าพระพุทธเจ้านายพลตรีพระยาพิไชยชาญฤทธ์ิ หัวหน้าทูตทหารขอ พระราชทานกราบบงั คมทูล จอมพล สมเดจ็ พระเจา้ น้องยาเธอ เจา้ ฟ้ากรมหลวงพศิ ณุโลก ประชานารถ เสนาธกิ ารทหารบก ทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท ลายพระหัตถ์ ที่ ๑๐/๒๑๓๙ ลงวันที่ ๒๖ กรกฎาคม ศกนี้ ความว่า มีพระบรมราช โองการดาํ รัส สัง่ ใหจ้ ัดสง่ รองอาํ มาตย์ตรี อยู่ อุดมศิลป์ กรมราชบัณฑิตกระทรวงธรรมการ ออกไปเป็นอนุศาสนาจารย์ (Aumonier) ประจํากองทหารซ่ึงไปราชการนอกพระราช อาณาเขต และโปรดเกล้าฯ ให้เข้ารับราชการอยู่ในกองทูตทหาร กับกําหนดหน้าท่ีให้ รองอํามาตย์ตรี อยู่ อุดมศิลป์ ปฏิบัติ มีข้อความหลายประการแจ้งอยู่ในลาย พระหตั ถ์ฉบับน้ันแล้ว รองอํามาตย์ตรี อยู่ อุดมศิลป์ ได้ไปถึงปารีสเม่ือ วันท่ี ๕ เดือนน้ี ด้วยความ สวัสดิภาพ ข้าพระพุทธเจ้าจะได้กําหนดหน้าที่ และบรรจุเข้ารับราชการตามพระราช ประสงค์ทกุ ประการ ควรมคิ วรแลว้ แต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ขา้ พระพทุ ธเจ้า นายพลตรี พระยาพไิ ชยชาญฤทธ์ิ หวั หน้าทูตทหาร

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๑๗ เอกสารหมายเลข ๔ สําเนา คาํ ส่ังสําหรับทหารบก เรือ่ ง ตงั้ กองอนุศาสนาจารย์ และบรรจุตาํ แหนง่ หัวหนา้ อนศุ าสนาจารย์ .............................. ที่ ๕๘/๔๐๙๗ ศาลาว่าการกลาโหม ในพระนคร วนั ท่ี ๒๗ พฤษภาคม พระพุทธศกั ราช ๒๔๖๒ มีพระบรมราชโองการดํารัสเหนือเกล้าฯ ให้ต้ังกองอนุศาสนาจารย์ข้ึน ในทหารบก มีหน้าที่ดงั ปรากฏในข้อบงั คบั สาํ หรบั ทหารบก ว่าดว้ ยกองอนุศาสนาจารยน์ ั้น ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ รองอํามาตย์ตรี อยู่ อุดมศิลป์ เป็นหัวหน้า อนศุ าสนาจารย์ และพระราชทานยศเล่ือนเปน็ รองอาํ มาตยเ์ อก เพราะฉะน้ัน ให้รองอํามาตย์เอก อยู่ อุดมศิลป์ เข้าประจํารับราชการตาม ตาํ แหน่ง รับเงนิ เดอื น ๑๓๕ บาท แตว่ นั ท่ี ๑ มิถุนายน ศกนี้ (ลงชือ่ ) จอมพล เจ้าพระยาบดนิ ทรเดชานชุ ติ เสนาบดีกระทรวงกลาโหม สําเนาคาํ ส่ังสาํ หรับทหารบกฉบับนตี้ รวจถูกตอ้ งกับฉบบั เดมิ แล้ว (ลงชือ่ ) นายพนั เอก พระยาสรุ เสนา ปลัดกรมเสนาธิการทการบก

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๑๘ เอกสารหมายเลข ๕ คํากราบบงั คมทลู พระกรุณา ขอพระราชทานพระบรมราชานญุ าต ต้งั กองอนศุ าสนาจารย์ข้ึนในกองทพั บก ............................... ที่ ๑๙/๓๐๘๐ (ส.ท.๑๒๔๔) ศาลาว่าการกลาโหม ในพระนคร วันที่ ๑๖ พฤษภาคม พระพุทธศกั ราช ๒๔๖๒ ขอเดชะฝา่ ละอองธลุ พี ระบาทปกเกลา้ ฯ ตามที่ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดส่ง รองอํามาตย์ตรี อยู่ อุดมศิลป์ ออกไปทําการในตําแหนง่ อนศุ าสนาจารย์สมทบกับกองทหาร ซึ่งไปราชการสงครามนอก พระราชอาณาเขตนั้น สังเกตว่าเป็นการมีประโยชน์ดีอย่างย่ิงในทางบํารุงนํ้าใจทหาร สมควรจัดต้ังกองอนุศาสนาจารย์ข้ึนเป็นกองประจําในกองทัพบก และสมควรให้รอง อํามาตย์ตรี อยู่ อุดมศิลป์ ได้รับราชการฉลองพระเดชพระคุณต่อไป ในตําแหน่งหัวหน้า อนุศาสนาจารย์ ถ้าทรงพระราชดําริเห็นชอบด้วยแล้ว ข้าพระพุทธเจ้าขอพระราชทาน พระบรมราชานุญาต ตั้งกองอนุศาสนาจารย์ขึ้นตั้งแต่วันท่ี ๑ มิถุนายน ศกน้ี และขอ พระราชทานให้ รองอํามาตย์ตรี อยู่ อุดมศิลป์ ได้เล่ือนยศขึ้นเป็นรองอํามาตย์เอก เพ่ือใหม้ ยี ศสงู พอสมควรแกต่ ําแหน่ง ควรมคิ วรสดุ แลว้ แตจ่ ะทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจา้ จอมพล (ลงนาม) เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชติ เสนาบดีกระทรวงกลาโหม ได้ทรงหมายเหตุไว้ในร่างว่า “เร่ืองนี้ ที่จริง ความทราบฝ่าละอองธุลีพระบาทแล้ว และทรงพระราชดําริ เหน็ ชอบดว้ ยแลว้ นเ่ี ป็นการกราบบงั คมทลู ตามระเบียบเทา่ น้นั ”

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๑๙ เอกสารหมายเลข ๖ จดหมายขอโอนตัวบคุ คลมาเป็นหวั หน้าอนุศาสนาจารย์ ................................ ท่ี ๗/๒๗๘๓ ศาลาว่าการกลาโหม ในพระนคร วันที่ ๙ พฤษภาคม พระพุทธศักราช ๒๔๖๒ เรยี น จางวางเอก เจา้ พระยาธรรมศกั ดิ์มนตรี เสนาบดีกระทรวงธรรมการทราบ ตามที่ รองอํามาตย์ตรี อยู่ อุดมศิลป์ ข้าราชการกรมราชบัณฑิต ได้ออกไปรับ ราชการในตําแหน่งอนุศาสนาจารย์ในกองทหาร ณ ทวีปยุโรป ตามกระแสพระบรมราช โองการน้ัน ทําให้รู้สึกว่าการมีอนุศาสนาจารย์สําหรับส่ังสอนและรับความปรับทุกข์ของ ทหารน้ัน เป็นประโยชน์ดีอย่างยิ่งแก่ราชการ สมควรจักให้มีกองอนุศาสนาจารย์ขึ้น ในกองทัพบกในกรุงสยาม จอมพล สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอฯ เสนาธิการทหารบก ได้ทรงนําความข้อนี้ขึ้นกราบบังคับทูลพระกรุณา และกราบทูลหารือในสมเด็จพระมหา สมณะ ก็ทรงพระดําริเห็นชอบด้วยท้ัง ๒ พระองค์ เพราะฉะนั้นข้าพเจ้าขอโอน รอง อํามาตย์ตรี อยู่ อุดมศิลป์ มารับราชการในกระทรวงกลาโหม แต่วันที่ ๑ มิถุนายน ศกน้ี เงินเดือนประจําเดือนพฤษภาคม ศกน้ี ขอให้กระทรวงธรรมการจ่ายอีกเดือน ๑ เงินเดือนประจําเดือนมถิ นุ ายน จะจา่ ยทางกระทรวงกลาโหม ในโอกาสนี้ ขอแสดงความนบั ถือย่างสงู (ลงนาม) จอมพล เจา้ พระยาบดินทรเดชานชุ ติ เสนาบดกี ระทรวงกลาโหม

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๒๐ เอกสารหมายเลข ๗ ข้อบังคบั เดิม ข้อบังคับสาํ หรับทหารบก วา่ ดว้ ยกองอนุศาสนาจารย์ ข้อ ๑ ให้มีกองอนุศาสนาจารย์อยู่ในกรมตําราทหารบก มีหัวหน้า อนุศาสนาจารย์เป็นประธาน เป็นตําแหน่งเทียบชั้นหัวหน้าแผนกในกรมตําราทหารบก ขึ้นตรงต่อเจ้ากรมตําราทหารบก และให้มีอนุศาสนาจารย์ประจําอีกตามที่จะหาบุคคลท่ี เหมาะสมได้ต่อไป ในเวลานยี้ งั ไมก่ ําหนดแน่วา่ ให้มีก่คี น ข้อ ๒ อนุศาสนาจารย์ทั้งปวง แต่งตัวอย่างนายทหารบกช้ันสัญญาบัตรชนิด ทหารราบ แต่ใช้อินทรธนูอย่างข้าราชการกลาโหมพลเรือน และไม่ใช้กระบ่ีกับท้ังให้มี ปลอกแขนกว้าง ๗ เซนติเมตร ทําด้วยสักหลาดสีเหลืองพันรอบแขนเส้ือเบื้องซ้าย ในตอนระหว่างไหล่กับขอ้ ศอก ขอ้ ๓ อนุศาสนาจารยม์ ีหน้าที่ปฏิบตั ิการ ดงั จะกลา่ วตอ่ ไปน้ี ๑. ช่วยราชการในกรมตําราทหารบก ตามแต่เจ้ากรมตําราทหารบก จะกาํ หนดให้ ๒. ตอ้ งไปเยยี่ มเยอื นทหารในกรมกองตา่ งๆ ท่ัวพระราชอาณาเขตเป็นคร้ัง คราว ตามท่ีจักได้วางแผนโดยละเอียดต่อไปว่าผู้ใดไปแห่งใดเมื่อใด เม่ือไปถึงที่ต้ังกรมใด แล้ว ต้องทําความตกลงกับผบู้ งั คับบญั ชาทหารในที่นั้น ให้ได้ทําการบรรยาย ในที่ประชุม ทหาร หรือถ้ามีทหารคนใดต้องการพบพูดจากับอนุศาสนาจารย์เฉพาะตัว ก็ต้องพบ พูดจาสนทนาด้วยจงทุกคนที่ได้แสดงความประสงค์เช่นน้ัน เมื่อยังไม่เสร็จกิจจะรีบ กลับมาเสยี ก่อนไม่ได้เป็นอันขาด ๓. ในการที่ไปเย่ียมทหารตามความที่ว่ามาแล้ว ในตอนหมายเลข ๒ นั้น อนุศาสนาจารย์ต้องกระทําตนให้ทหารนับถือและไว้วางใจ แล้วก็ชักจูงส่งเสริมให้ทหาร ต้ังม่ันอยู่ในความประพฤตอันดี มีจรรยาและมรรยาทอันงาม กับให้ผู้ซึ่งนับถือ พระพุทธศาสนาตามบรรพบุรุษของตนน้ัน มีความศรัทธาเชื่อมั่นยิ่งขึ้นในธรรมะของ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า แต่ไม่มีหน้าท่ีชักจูงให้ผู้'ซ่ึงนับถือลัทธิความเช่ือถืออย่างอื่น กลับมาถือพระพุทธศาสนาหามิได้ เพราะราชการมิได้ประสงค์จะบังคับน้ําใจผู้ใดในทาง ลัทธิความเชื่อ ท้ังถ้าทหารผู้ใดมีความทุกข์ร้อนอย่างใด และประสงค์จะปรับทุกข์กับ อนุศาสนาจารย์ ให้อนุศาสนาจารย์ฟังคําปรับทุกข์ พยายามปลดเปล้ืองความทุกข์ด้วย

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๒๑ โอวาทของตน หรือเม่ือเห็นว่าพ้นความสามารถที่ตนจะปลดเปลื้องได้แต่ผู้บังคับบัญชา ของทหารนา่ จะปลดเปลือ้ งได้ ก็ให้บอกเล่าชีแ้ จงแก่ผบู้ ังคบั บญั ชานัน้ ๆ ๔. เม่ือกลับจากไปเยี่ยมทหารครั้ง ๑ ต้องทํารายงานเสนอผู้บังคับบัญชา ตามลาํ ดับช้นั จนถงึ เสนาธิการทหารบก วา่ ไดท้ ําการอยา่ งไรบ้าง ๕. ต้องรักษาความรู้ในกิจการซึ่งตนได้รับบอกเล่าตามหน้าที่นั้น ไว้เป็น ความลบั เสมอ นามบุคคลซึง่ ได้ปรบั ทุกข์กับตนไมว่ ่าในเรื่องใด ๆ จะบอกเลา่ กบั ผใู้ ดไมไ่ ด้ ขอ้ ๔ หวั หนา้ อนุศาสนาจารย์ มีหนา้ ทเี่ ช่นเดยี วกับท่กี ลา่ วมาแลว้ ในข้อ ๒ กับท้ัง ต้องเป็นผู้ฝึกสอนอบรมอนุศาสนาจารย์ทั้งปวง ให้ปฏิบัติในหน้าที่ของตนให้ถูกต้อง เรียบร้อย และเป็นผู้ทําความเห็นเสนอเจ้ากรมตําราทหารบก เพื่อวางแผนว่า อนศุ าสนาจารยค์ นใดต้องไป ณ กรมทหารแหง่ ใด เม่ือใด ข้อ ๕ ผู้บังคับบัญชาทหารท้ังปวง ต้องเข้าใจชัดว่า อนุศาสนาจารย์นั้น เปน็ ผูช้ ่วยของตนในการอบรมทหารให้อยู่ในความประพฤติ และจรรยามารยาทอันดีงาม ช่วยปลดเปล้ืองความขัดข้องกังวลในใจของทหาร ช่วยสดับตรับฟังแล้วชี้แจงความทุกข์ รอ้ นของทหารให้ผู้บังคับบญั ชาทราบ ต้องอย่าให้เข้าใจไปว่าอนุศาสนาจารย์นั้น เป็นจาร บุรุษสําหรับไปสืบความบกพร่องในกรมกองทหารใต้บังคับบัญชาของตน ตรงกันข้าม ผู้บังคับบัญชาทหารต้องยึดถือโอกาสเม่ืออนุศาสนาจารย์ไปที่กรม สําหรับขอร้องให้ อนุศาสนาจารย์ช่วยตนในทางบํารุงน้ําใจทหาร เพราะฉะน้ัน ผู้บังคับบัญชาทหารมี หน้าทปี่ ฏิบตั ิ ดังตอ่ ไปน้ี ๑. เมื่ออนุศาสนาจารย์ไปถึงท่ีต้ังกองพลหรือกรมทหารกรมใด ให้ผู้บังคับบัญชากองพล หรือผู้บังคับการกรม กําหนดให้อนุศาสนาจารย์ได้แสดงคําส่ัง สอนแกท่ หารเป็นสว่ นรวม ๑ ครงั้ หรือหลายครั้งตามแตจ่ ะตกลงกนั ๒. ให้ประกาศแก่บรรดาทหารว่า ผู้ใดต้องการพบพูดจาสนทนากับ อนศุ าสนาจารยเ์ ฉพาะตวั กใ็ ห้บอกแกผ่ ู้บังคบั บัญชาของตน แล้วผู้บังคับบัญชาจัดการให้ ได้สนทนาสมประสงค์ ๓. เมอ่ื ผู้บงั คับบัญชาเห็นว่าทหารคนใด ไม่ว่านายหรือพลชวนจะบกพร่อง ในทางจรรยาความประพฤติ สมควรจะได้รับความส่ังสอนตักเตือนเป็นพิเศษ ก็ให้นําตัว ทหารผนู้ ัน้ มาให้อนุศาสนาจารยส์ งั่ สอนเฉพาะตัว

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๒๒ ข้อ ๖ ให้ใช้ข้อบังคับน้ี แต่วันท่ี ๑ มิถุนายน พระพุทธศักราช ๒๔๖๒ และให้ เสนาธิการทหารบก เป็นผรู้ กั ษาดแู ลให้การดําเนินการไปตามที่บญั ญัตไิ วน้ ้ี (ลงนาม) จอมพล เจา้ พระยาบดนิ ทรเดชานชุ ิต เสนาบดีกระทรวงกลาโหม ศาลาวา่ การกลาโหม ในพระนคร วันที่ ๒๗ พฤษภาคม พระพุทธศักราช ๒๔๖๒

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๒๓ เอกสารหมายเลข ๘ คาํ สงั่ กองทพั บก ท่ี ๔๑๖/๑๒๕๖๙ เรื่อง โอนกองอนศุ าสนาจารย์ ............................ ด้วยตามพระราชกฤษฎีกาการจัดวางระเบียบราชการกองทัพบก ใน กระทรวงกลาโหม พ.ศ. ๒๔๙๑ ได้กําหนดหน้าที่กรมสวัสดิการทหารบก ให้มีหน้าท่ี เก่ียวกับการส่งเสริมสวัสดิภาพของทหารและฌาปนกิจ ให้ใช้บังคับต้ังแต่วันถัดจากวัน ประกาศในราชกิจจานุเบกษา (๑๔ ก.ย. ๙๑) เป็นต้นไป เพ่ือปรับปรุงให้งานสอดคล้องกัน จึงให้โอนกิจการของกองอนุศาสนาจารย์ รร. นายร้อยพระจุลจอมเกล้า ไปขึ้นในบังคับบัญชากรมสวัสดิการทหารบก ตั้งแต่บัดน้ี เป็นต้นไป สง่ั ณ วนั ท่ี ๑๑ ตุลาคม ๒๔๙๑ (ลงชื่อ) พล.ท. ผ. ชณุ หะวัณ ผบ.ทบ.

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๒๔ เอกสารหมายเลข ๙ คําสั่งกองทัพบก ท่ี ๓๔๗/๒๔๖๓๓ เร่ือง การโอนบงั คับบัญชากองอนุศาสนาจารย์และฌาปนกิจ ............................... ด้วยกระทรวงกลาโหมได้มีคําสั่งกระทรวงกลาโหม (เฉพาะ) ท่ี ๖๙/๒๐๖๒๓ สง่ั ณ วนั ที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๔๙๙ ให้แก้ขอ้ บังคบั ทหาร ว่าด้วยกําหนดกําลังเจ้าหน้าที่ กองทัพบกในเวลาปกติ ๙๑ คือ ให้ยกเลิกอัตรา กองอนุศาสนาจารย์และฌาปนกิจ ในกรมสวัสดิการทหารบก (เฉพาะอัตราหัวหน้ากอง และแผนกอนุศาสนาจารย์) และให้ ต้งั อัตรากองอนศุ าสนาจารย์ขึ้นในกรมยทุ ธศกึ ษาทหารบก ฉะน้ัน จึงให้กรมสวัสดิการทหารบก โอนการบังคับบัญชากองอนุศาสนาจารย์ และฌาปนกิจ (เฉพาะอัตราหัวหน้ากอง และแผนกอนุศาสนาจารย์) ให้แก่ กรมยุทธ ศึกษาทหารบก เพื่อจัดตั้งเป็นกองอนุศาสนาจารย์ต่อไป ส่วนแผนกศึกษาและแผนก ฌาปนกจิ คงให้เป็นแผนกขึ้นตรงตอ่ กรมสวัสดกิ ารทหารบก ทัง้ นี้ ตงั้ แตบ่ ัดนี้เป็นตน้ ไป สั่ง ณ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๔๙๙ (ลงชื่อ) จอมพล ส. ธนะรัชต์ ผบ.ทบ.

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๒๕ ๑. ประวัตแิ ละวิวฒั นาการของอนุศาสนาจารย์ทหารบก ในปีพุทธศักราช ๒๔๖๑ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีท่ี ๖ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กระทรวงกลาโหมจัดส่งกอง ทหารอาสาไปช่วยราชสัมพันธมิตรในงานพระราชสงคราม ในสงครามโลกครั้งที่ ๑ ทรง พระราชปรารภว่า กองทหารท่ีโปรดเกล้าฯ ให้ส่งไปแล้วน้ันเป็นอันได้จัดดีทุกส่ิงสรรพ์ แต่ยังขาดสิ่งสําคัญส่ิงหนึ่ง คือ อนุศาสนาจารย์ที่จะเป็นผู้ปลุกใจทหาร หาได้จัดส่งไป ด้วยไม่ จึงทรงเลือก อํามาตย์ตรี พระธรรมนิเทศทวยหาญ ซึ่งในเวลาน้ันเป็น รองอํามาตย์ตรีอยู่ อุดมศิลป์ รับราชการอยู่ในกรมราชบัณฑิต กระทรวงธรรมการ ให้เป็นอนุศาสนาจารย์ตามกองทหารออกไปยังประเทศยุโรป โดยทรงมีพระราชปรารภ ว่า “ทหารท่ีจากบ้านเมืองไปคราวนี้ ต้องไปอยู่ในถิ่นไกล ไม่ได้พบเห็นพระเหมือนเมื่อ อยู่ในบ้านเมืองของตน จิตใจจะห่างเหินจากทางธรรม ถึงยามคะนองก็จะฮึกเหิมเกินไป เป็นเหตุให้เสื่อมเสีย ไม่มีใครจะคอยให้โอวาทตักเตือน ถึงคราวทุกข์ร้อน ก็จะอาดูร ระสํ่าระสาย ไม่มีใครจะช่วยปลดเปลื้องบรรเทาให้ ดูเป็นการว้าเหว่น่าอนาถ ถ้ามี อนุศาสนาจารย์ออกไปจะได้คอยอนุศาสน์พร่ําสอนและปลอบโยนปลดเปล้ืองในยาม ทกุ ข์” ทรงกาํ หนดหน้าท่ีใหอ้ นุศาสนาจารยป์ ฏบิ ัติในกองทหารดงั น้ี ๑. ใหท้ าํ การอยใู่ นกองทตู ทหาร ๒. ส่งตัวไปเยี่ยมเยียนทหารในท่ีต่างๆ ซึ่งทหารแยกย้ายกันอยู่น้ันเนืองๆ เพอ่ื ส่ังสอนตักเตือนในทางพระพุทธศาสนาและทางจรรยาความประพฤติ ๓. ให้ถามสุขทุกข์กันอย่างใจจริง ทั้งให้คอยรับธุระต่างๆ ของทหาร เช่น จะส่งมาถงึ ญาติของตนในกรุงสยาม หรือส่งเงนิ ส่งของมาให้ ให้รบั ธรุ ะทุกอยา่ ง ๔. ทหารคนใดเจ็บไข้ ใหอ้ นุศาสนาจารย์ไปเยยี่ มปลอบโยนเอาใจ ๕. ถ้ามีเหตุอันไม่พึงประสงค์ท่ีทหารคนใดถึงแก่ความตาย ให้ อนุศาสนาจารย์ทาํ พิธเี ทศนาอ้างพระธรรมตามแบบสังฆปฏิบตั ิในขณะฝังศพ การปฏิบัติภารกิจของอนุศาสนาจารย์ในการพระราชสงครามครั้งนั้น มีประโยชน์ดีอย่างย่ิงในทางบํารุงนํ้าใจทหาร พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงมีพระบรมราชโองการดํารัสเหนือเกล้าฯ ให้ต้ังกองอนุศาสนาจารย์ขึ้นในทหารบก

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๒๖ สังกัดอยู่ในแผนกที่ ๓ กรมตําราทหารบก ต้ังแต่ วันที่ ๑ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๖๒ มหี น้าทด่ี ังปรากฏในข้อบังคับสําหรบั ทหารบก ว่าดว้ ย กองอนุศาสนาจารยน์ ้นั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ รองอํามาตย์ตรี อยู่ อุดมศิลป์ เป็นหัวหน้า อนศุ าสนาจารย์และพระราชทานเลือ่ นยศเป็น รองอํามาตยเ์ อก พ.ศ.๒๔๖๙ ทางราชการได้ยุบกรมตําราทหารบก โอนแผนกท่ี ๓ กอง อนุศาสนาจารย์ไปสังกัดกรมยุทธศึกษาทหารบก เรียกว่า แผนกอนุศาสนาจารย์ พ.ศ.๒๔๘๘ ทางราชการยุบกรมยุทธศึกษาทหารบก เป็นโรงเรียนนายร้อย ทหารบก แผนกอนุศาสนาจารย์ ก็เป็นอันถูกยุบไปด้วย และมีอนุศาสนาจารย์กองทัพบก เหลืออยู่เพียง ๗ นายประจําอยู่โรงเรียนนายร้อยทหารบก ๒ นาย เรียกว่า อนุศาสนาจารย์โรงเรียนนายร้อยทหารบก ส่วนอีก ๕ นาย ไปประจําอยู่ท่ีมณฑล ทหารบกที่ ๑ - ๕ พ.ศ.๒๔๙๑ ทางราชการโอนกิจการอนุศาสนาจารย์ โรงเรียนนายร้อย พระจลุ จอมเกลา้ ไปขึน้ การบังคับบัญชาในแผนกท่ี ๓ กรมสวสั ดกิ ารทหารบก พ.ศ.๒๔๙๓ เกิดสงครามระหว่างประเทศเกาหลีเหนือและประเทศเกาหลีใต้ สหประชาชาติได้มีมติให้ส่งทหารไปช่วยประเทศเกาหลีใต้ทําการร่วมรบเพ่ือต่อสู้กับ ประเทศเกาหลีเหนือผู้รุกราน ประเทศไทยจึงได้จัดส่งกําลังทหารไปทําการร่วมรบกับ สหประชาชาติ เม่ือวันที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๔๙๓ และได้จัดส่งอนุศาสนาจารย์ผลัดเปลี่ยน กนั ไปปฏบิ ัตหิ น้าท่ี ณ ประเทศเกาหลี พ.ศ.๒๔๙๖ กองทัพบกได้ออกระเบียบกําหนดหน้าที่ส่วนราชการใน กองทัพบกใหม่ ให้กองอนุศาสนาจารย์ ได้รับการปรับปรุงข้ึนเป็นกอง เรียกว่า กองอนศุ าสนาจารยแ์ ละฌาปนกจิ กรมสวัสดิการทหารบก พ.ศ.๒๔๙๙ กระทรวงกลาโหม ให้ยกเลิกอัตรากองอนุศาสนาจารย์และ ฌาปนกิจ กรมสวัสดิการทหารบก และให้ต้ังกองอนุศาสนาจารย์ขึ้นในกรมยุทธศึกษา ทหารบก นบั ต้ังแต่น้ันเปน็ ตน้ มา กิจการอนุศาสนาจารย์ก็ได้รับการพัฒนาให้เจริญรุ่งเรือง มาตามลําดบั เพ่อื ตอบสนองภารกจิ ของกองทัพบก พ.ศ.๒๕๒๘ กองทัพบก ให้โอนกองอนุศาสนาจารย์ กรมยุทธศึกษา ทหารบก ไปข้ึนการบังคบั บัญชากับ กรมกจิ การพลเรือนทหารบก เป็นกองอนุศาสนาจารย์

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๒๗ กรมกิจการพลเรือนทหารบก เพื่อสนองงานด้านกิจการพลเรือนของกองทัพบกอีกส่วน หนง่ึ พ.ศ.๒๕๔๔ กองทัพบก ให้โอนกองอนุศาสนาจารย์ กรมกิจการพลเรือน ทหารบก กลับไปขึ้นการบังคบั บญั ชากบั กรมยุทธศึกษาทหารบก ตามเดิมจนถงึ ปัจจบุ ัน ๒. ข้อบงั คบั สําหรบั ทหารบก ว่าด้วยกองอนุศาสนาจารย์ ภารกิจของอนุศาสนาจารย์เม่ือได้ต้ังกองอนุศาสนาจารย์ขึ้นในกองทัพบก เป็นไปตามข้อบังคับสําหรับทหารบก ว่าด้วยกองอนุศาสนาจารย์ (ข้อบังคับเดิม) ประกาศเมือ่ วันท่ี ๒๗ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๖๒ โดยกระทรวงกลาโหม ดังนี้ ข้อ ๑ ให้มีกองอนุศาสนาจารย์อยู่ในกรมตําราทหารบก มีหัวหน้า อนุศาสนาจารย์เป็นประธาน เป็นตําแหน่งเทียบช้ันหัวหน้าแผนกในกรมตําราทหารบก ขึ้นตรงต่อเจ้ากรมตําราทหารบก และให้มีอนุศาสนาจารย์ประจําอีกตามท่ีจะหาบุคคลท่ี เหมาะสมไดต้ ่อไป ในเวลานย้ี ังไมก่ ําหนดแนว่ า่ ใหม้ ีกี่คน ข้อ ๒ อนุศาสนาจารย์ทั้งปวงแต่งตัวอย่างนายทหารบกชั้นสัญญาบัตรชนิด ทหารราบ แต่ใช้อินทรธนูอย่างข้าราชการกลาโหมพลเรือน และไม่ใช้กระบี่กับทั้งให้มี ปลอกแขนกวา้ ง ๗ เซนติเมตรทําดว้ ยสกั หลาดสีเหลืองพันรอบแขนเสอ้ื เบ้อื งซ้าย ในตอน ระหว่างไหลก่ ับขอ้ ศอก ขอ้ ๓ อนุศาสนาจารย์มหี นา้ ทีป่ ฏบิ ัติการดังจะกล่าวต่อไปน้ี ๑. ช่วยราชการในกรมตําราทหารบก ตามแต่เจ้ากรมตําราทหารบก จะกําหนดให้ ๒. ต้องไปเยี่ยมเยียนทหารในกรมกองต่างๆ ทั่วพระราชอาณาเขตเป็น ครง้ั คราว ตามท่ีจักได้วางแผนโดยละเอียดต่อไปว่าผู้ใดไปแห่งใดเม่ือใด เม่ือไปถึงที่ต้ังกรม ใดแล้ว ต้องทําความตกลง กับผู้บังคับบัญชาทหารในที่นั้น ให้ได้ทําการบรรยายในที่ ประชุมทหาร หรือถ้ามีทหารคนใดต้องการพบพูดจากับอนุศาสนาจารย์เฉพาะตัวก็ต้อง พบพูดจาสนทนาด้วยจงทุกคนท่ีได้แสดงความประสงค์เช่นน้ัน เมื่อยังไม่เสร็จกิจจะรีบ กลบั มาเสยี กอ่ นไม่ได้เปน็ อันขาด ๓. ในการท่ีไปเย่ียมทหารตามความท่ีว่ามาแล้วในตอนหมายเลข ๒ น้ัน อนุศาสนาจารย์ต้องกระทําตนให้ทหารนับถือและไว้วางใจ แล้วก็ชักจูงส่งเสริมให้

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๒๘ ทหารตั้งมั่นอยู่ในความประพฤติอันดี มีจรรยาและมรรยาทอันงาม กับให้ผู้ซ่ึงนับถือ พระพุทธศาสนาตามบรรพบุรุษของตนนั้น มีความศรัทธาเชื่อม่ันย่ิงขึ้นในธรรมะของ สมเดจ็ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า แต่ไม่มีหน้าท่ีชักจูงให้ผู้ซึ่งนับถือลัทธิความเช่ือถืออย่างอื่น กลับมานับถือพระพุทธศาสนาหามิได้ เพราะราชการมิได้ประสงค์จะบังคับนํ้าใจผู้ใด ในทางลทั ธิความเชอ่ื ทัง้ ถ้าทหารผู้ใดมีความทุกข์ร้อนอย่างใด และประสงค์จะปรับทุกข์ กับอนุศาสนาจารย์ ให้อนุศาสนาจารย์ฟังคําปรับทุกข์ พยายามปลดเปล้ืองความทุกข์ ด้วยโอวาทของตน หรือเม่ือเห็นว่าพ้นความสามารถที่ตนจะปลดเปล้ืองได้ แต่ผู้บังคับบัญชาของทหารนา่ จะปลดเปล้ืองได้ ก็ใหบ้ อกเล่าช้แี จงแก่ผ้บู งั คับบัญชานั้นๆ ๔. เมื่อกลับจากไปเยี่ยมทหารคร้ัง ๑ ต้องทํารายงานเสนอ ผู้บังคับบญั ชาตามลําดับช้นั จนถึงเสนาธิการทหารบก ว่าไดท้ ําการอย่างไรบ้าง ๕. ต้องรักษาความรู้ในกิจการซ่ึงตนได้รับบอกเล่าตามหน้าท่ีนั้นไว้เป็น ความลบั เสมอ นามบุคคลซ่งึ ไดป้ รับทุกขก์ บั ตนไมว่ า่ ในเร่ืองใดๆ จะบอกเล่ากบั ผู้ใดไม่ได้ ข้อ ๔ หัวหน้าอนุศาสนาจารย์ มีหน้าท่ีเช่นเดียวกับท่ีกล่าวมาแล้วในข้อ ๒ กับท้ังต้องเป็นผู้ฝึกสอนอบรมอนุศาสนาจารย์ทั้งปวงให้ปฏิบัติในหน้าท่ีของตนให้ถูกต้อง เรียบร้อย และเป็นผู้ทําความเห็นเสนอเจ้ากรมตําราทหารบก เพื่อวางแผนว่า อนุศาสนาจารย์คนใดตอ้ งไป ณ กรมทหารแห่งใดเมื่อใด ข้อ ๕ ผู้บังคับบัญชาทหารทั้งปวง ต้องเข้าใจชัดว่า อนุศาสนาจารย์น้ัน เป็นผู้ช่วยของตนในการอบรมทหารให้อยู่ในความประพฤติและจรรยามารยาทอันดีงาม ช่วยปลดเปล้ืองความขัดข้องกังวลในใจของทหาร ช่วยสดับตรับฟังแล้วชี้แจงความทุกข์ ร้อนของทหารให้ผู้บังคับบัญชาทราบ ต้องอย่าให้เข้าใจไปว่าอนุศาสนาจารย์นั้นเป็นจาร บุรุษ สําหรับไปสืบความบกพร่องในกรมกองทหารใต้บังคับบัญชาของตน ตรงกันข้าม ผู้บังคับบัญชาทหารต้องยึดถือโอกาสเม่ืออนุศาสนาจารย์ไปที่กรม สําหรับขอร้องให้ อนุศาสนาจารย์ช่วยตนในทางบํารุงนํ้าใจทหาร เพราะฉะนั้น ผู้บังคับบัญชาทหารมีหน้าท่ี ปฏบิ ตั ิ ดังต่อไปน้ี ๑. เม่ืออนุศาสนาจารย์ไปถึงที่ต้ังกองพลหรือกรมทหารกรมใด ให้ผู้บังคับบัญชากองพล หรือผู้บังคับการกรม กําหนดให้อนุศาสนาจารย์ได้แสดงคําสั่ง สอนแกท่ หารเปน็ ส่วนรวม ๑ ครัง้ หรือหลายครงั้ ตามแต่จะตกลงกัน

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๒๙ ๒. ให้ประกาศแก่บรรดาทหารว่า ผู้ใดต้องการพบพูดจาสนทนากับ อนุศาสนาจารยเ์ ฉพาะตวั กใ็ ห้บอกแกผ่ บู้ ังคับบัญชาของตน แล้วผู้บังคับบัญชาจัดการให้ ได้สนทนาสมประสงค์ ๓. เมื่อผู้บังคับบัญชาเห็นว่าทหารคนใด ไม่ว่าระดับใดจะบกพร่อง ในทางจรรยาความประพฤติ สมควรจะไดร้ บั ความสั่งสอนตกั เตอื นเปน็ พิเศษ ก็ให้นําตัว ทหารผนู้ ้นั มาให้อนุศาสนาจารยส์ ง่ั สอนเฉพาะตัว ข้อ ๖ ให้ใช้ข้อบังคับน้ี แต่วันที่ ๑ มิถุนายน พระพุทธศักราช ๒๔๖๒ และให้ เสนาธิการทหารบก เปน็ ผรู้ กั ษาดแู ลให้การดําเนินการไปตามทีบ่ ัญญตั ไิ วน้ ี้ ข้อบังคับน้ีแม้จะถูกยกเลิกไปแล้ว แต่ก็เป็นแนวทางในการดําเนินการด้าน กิจการอนุศาสนาจารย์ในปัจจุบัน โดยยึดมั่นและดํารงวัตถุประสงค์และเป้าหมายเดิมท่ี แทจ้ ริงของการพระราชทานกจิ การอนุศาสนาจารย์ไวใ้ นกองทพั บก ๓. ความมงุ่ หมายและความสําคญั ในการพัฒนาหลกั นิยม ก. หลักนิยมนี้ได้รวบรวมไว้ซ่ึงภารกิจ, สถานภาพ, หน้าที่ และคุณลักษณะ เฉพาะงานของอนุศาสนาจารย์ ตลอดถึงงานต่างๆ ท่ีอนุศาสนาจารย์จะต้องเข้าไป สัมพันธด์ ว้ ย ข. เร่ืองต่างๆ ที่บรรจุไว้ในหลักนิยมนี้ จะเป็นแนวปฏิบัติท่ีอนุศาสนาจารย์ สามารถนาํ ไปใชไ้ ด้ ทง้ั ในยามปกติ และยามสงคราม ค. หลักนิยมนี้ นอกจากจะเป็นแนวปฏิบัติสําหรับอนุศาสนาจารย์แล้ว จะต้องเผยแพร่ให้ ผู้บังคับหน่วยและฝ่ายอํานวยการอื่นทราบด้วย เพ่ือให้เกิดการ ประสานและมอบหมายภารกจิ ให้อนศุ าสนาจารย์ปฏิบตั ิได้อยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสมต่อไป

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๓๐ บทท่ี ๒ ภารกจิ ขีดความสามารถและขดี จาํ กดั ๑. ภารกจิ ภารกิจของอนุศาสนาจารย์ คือ นํากําลังพลเข้าหาธรรมะ นําธรรมะพัฒนา กําลังพล ดํารงสถานภาพเป็นตัวแทนของศาสนาในการสอนอบรมด้านศีลธรรม, จริยธรรม และวัฒนธรรมประเพณีอันดีงาม เป็นผู้นําทางด้านจิตวิญญาณของกําลังพล ทุกระดับ เป็นเจ้าหน้าที่พิธีการทางศาสนาท่ีอยู่ในเคร่ืองแบบ จึงมีหน้าท่ีให้การส่งเสริม กิจการทางด้านศาสนา ขวัญและกําลังใจ และกระตุ้นจิตสํานึกให้กําลังพลมีความ รับผิดชอบ, มีความซ่ือสัตย์ และมีความพร้อมที่จะเสียสละในการปฏิบัติตามภารกิจที่ ได้รบั มอบหมาย อย่างสุดความสามารถ เพื่อบําบัดทุกข์ บํารุงขวัญ สร้างสรรค์อุดมธรรม ของพระพุทธศาสนาแกก่ าํ ลังพล ๒. บทบาทและความรับผิดชอบ อนุศาสนาจารย์ ต้องสามารถปฏิบัติภารกิจในการเผยแผ่ธรรมะ การบําบัด ทุกข์ บํารุงขวัญ และสร้างสรรค์อุดมธรรมของพระพุทธศาสนาแก่กําลังพลได้ทั้งในเวลา ราชการและนอกเวลาราชการ ทง้ั ในท่ตี ้งั ปกติและในสนาม ภารกิจของอนศุ าสนาจารย์ในกองทัพบก ก. ให้คําปรึกษา ข้อเสนอแนะ แก่ผู้บังคับหน่วย และฝ่ายอํานวยการอ่ืน ในเร่ืองที่เกยี่ วขอ้ งกับศาสนา, วฒั นธรรมประเพณี ข. ส่งเสรมิ กาํ ลังพลใหม้ กี ารปฏบิ ัตศิ าสนกิจ ทั้งโดยสว่ นตัว และเป็นหนว่ ย ค. เสนอแนะ และกํากับการปฏิบตั ิพิธกี รรมต่าง ๆ ร่วมกับฝ่ายอํานวยการอืน่ ง. ดําเนินการให้มีการสอนอบรมในเร่ืองของศาสนา วัฒนธรรมประเพณี และนํากําลังพลปฏิบตั ิธรรมในโอกาสตา่ ง ๆ จ. หม่ันพบปะเยี่ยมเยียนกําลังพลผู้ป่วยเจ็บ, ผู้ถูกคุมขัง และผู้มีปัญหา เพือ่ ปลุกปลอบขวญั และให้กําลงั ใจ ท้งั ในยามปกติและยามสงคราม ฉ. ประสานให้ความร่วมมือกับวัด องค์กรทางศาสนา, สถานศึกษา และองคก์ รของชุมชนตา่ งๆ

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๓๑ ช. วางแผนใหม้ กี ารใช้ศาสนสถานของหนว่ ยท่ีมอี ยู่ให้เกิดประโยชน์ในด้าน การปลูกฝังคุณธรรมแกก่ ําลังพล ให้มากท่ีสดุ ซ. วางแผนให้ศาสนสถานเป็นจุดนัดพบของกําลังพลทุกระดับ พร้อมทั้ง ครอบครัว โดยอาศยั กิจกรรมทางด้านศาสนาและวัฒนธรรมประเพณี ญ. สามารถปฏิบัติการ และอํานวยการเก่ียวกับด้านศาสนา,ขวัญและ กําลงั ใจ ของกําลังพลในกองทัพบก รวมท้ังการอบรมด้านคุณธรรมจริยธรรม วัฒนธรรม ประเพณี และงานธรุ การต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ตามที่กําหนดไว้ในหมายเลขชํานาญการทาง ทหาร, การจัดและการกําหนดหน้าท่ีของบุคคลและส่วนราชการของกองทัพบก และ ระเบียบปฏบิ ัติต่างๆ ที่กองอนุศาสนาจารย์ กรมยทุ ธศกึ ษาทหารบก กําหนดข้นึ ๓. ขีดจํากดั การปฏบิ ตั ิหน้าท่ีของอนุศาสนาจารย์ ขึ้นอย่กู บั การสนบั สนนุ ของหน่วย

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๓๒ บทที่ ๓ การจดั และพันธกจิ ๑. กล่าวทวั่ ไป กองอนุศาสนาจารย์ กรมยุทธศึกษาทหารบก ในอัตราการจัดของกรมยุทธ ศึกษาทหารบก นน้ั เป็นการจัดหนว่ ยกาํ ลงั พลสายวทิ ยาการอนุศาสนาจารย์ อนุศาสนาจารย์ ในอัตราการจัดของหน่วยขึ้นตรงกองทัพบก และหน่วย รองเป็นการจัดกําลังพลสายวิทยาการอนุศาสนาจารย์ประจําหน่วย ปฏิบัติหน้าท่ีเป็น ฝา่ ยกจิ การพิเศษประจาํ ผบู้ งั คบั บัญชา ๒. การจัด กองอนศุ าสนาจารย์ กรมยุทธศกึ ษาทหารบก กองอนุศาสนาจารย์ กรมยุทธศึกษาทหารบก ประกอบด้วยส่วนบังคับ บัญชา, แผนก และ ฝ่าย ผังการจดั กองอนศุ าสนาจารย์ กรมยุทธศึกษาทหารบก สาํ นักงานประกันคณุ ภาพการศึกษา แผนกกําลงั พล แผนกวชิ าการและการศึกษา แผนกอบรม แผนกศาสนพิธี ฝา่ ยธุรการ อนศุ าสนาจารย์ กองทัพบก

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๓๓ อตั รากาํ ลังกองอนศุ าสนาจารย์ กรมยทุ ธศึกษาทหารบก ลาํ ดบั ตาํ แหน่ง อตั รา นายทหาร นายทหาร หมาย สัญญาบตั ร ประทวน เหตุ กอศจ.ยศ.ทบ. ๑ ผอ.กอศจ.ยศ.ทบ. พ.อ.(พ.) ๑ ๒ รอง ผอ.กอศจ.ยศ.ทบ. พ.อ. ๑ ๓ ประจํากอง กอศจ.ยศ.ทบ. พ.ต. ๑ ๔ ช่างเขียน จ.ส.อ. ๑ ๕ ชา่ งโสตทศั น์ จ.ส.อ. ๑ ๖ เสมยี น จ.ส.อ.(พ.) ๑ ๗ เสมยี น ส.อ. ๑ ปดิ บรรจุ แผนกกําลงั พล ๘ หน.กําลังพล กอศจ.ยศ.ทบ. พ.ท. ๑ ๙ ประจําแผนก ยศ.ทบ. พ.ต. ๑ ปดิ บรรจุ ๑๐ ประจําแผนก ยศ.ทบ. ร.อ. ๑ ปิดบรรจุ ๑๑ เสมียน จ.ส.อ. ๑ ๑๒ เสมยี น ส.อ. ๑ ปิดบรรจุ แผนกวิชาการและ พ.ท. การศึกษา ๑ ๑๓ หน.วชิ าการและการศึกษา ๑๔ อศจ.ยศ.ทบ. พ.ต. ๑ ๑๕ อศจ.ยศ.ทบ. พ.ต. ๑ ๑๖ อศจ.ยศ.ทบ. ร.อ. ๑ ๑๗ อศจ.ยศ.ทบ. ร.อ. ๑ ๑๘ เสมยี น จ.ส.อ. ๑ ๑๙ เสมียน ส.อ. ๑ ปดิ บรรจุ