Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ๐.รวมเล่มหนังสือ ๑๐๐ ปี การ อศจ.ไทย

๐.รวมเล่มหนังสือ ๑๐๐ ปี การ อศจ.ไทย

Description: ๐.รวมเล่มหนังสือ ๑๐๐ ปี การ อศจ.ไทย

Search

Read the Text Version

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๓๔ หมาย ลําดบั ตําแหน่ง อัตรา นายทหาร นายทหาร เหตุ สญั ญาบัตร ประทวน แผนกอบรม พ.อ. ๑ ๒๐ หน.อบรม กอศจ.ยศ.ทบ. พ.ท. ๒๑ อศจ.ยศ.ทบ. พ.ต. ๑ ๒๒ อศจ.ยศ.ทบ. พ.ต. ๒๓ อศจ.ยศ.ทบ. พ.ต. ๑ ๒๔ อศจ.ยศ.ทบ. ๑ ๑ ปิดบรรจุ ๒๕ อศจ.ยศ.ทบ. ร.อ. ๓ ปิดบรรจุ ๒ อัตรา ๒๖ เสมยี น จ.ส.อ. ๒๗ เสมยี น ส.อ. ๑ ๒๘ เสมยี น ส.อ. ๑ แผนกศาสนพธิ ี พ.ท. ๒๙ หน.ศาสนพิธี กอศจ.ยศ.ทบ. พ.ต. ๑ ปดิ บรรจุ ๓๐ อศจ.ยศ.ทบ. พ.ต. ๓๑ อศจ.ยศ.ทบ. จ.ส.อ. ๑ ๓๒ เสมยี น ส.อ. ๑ ปิดบรรจุ ๓๓ เสมยี น ๑ ปิดบรรจุ รวม ๑ ๑ ๒๒ ๑๓ ๓๕

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๓๕ ๓. การจดั อนศุ าสนาจารย์ หนว่ ยขึน้ ตรงกองทพั บกและหน่วยรอง ผงั การจดั อนศุ าสนาจารย์ หน่วยขึน้ ตรงกองทัพบกและหน่วยรอง อนุศาสนาจารย์ อนุศาสนาจารย์ อนุศาสนาจารย์ หน่วยระดับกองทพั ภาค หนว่ ยระดบั กองพล หน่วยระดับมณฑลทหารบก หรอื เทยี บเท่า หรือเทยี บเทา่ หรือเทยี บเท่า อนศุ าสนาจารย์ หน่วยระดับกรมหรอื เทียบเทา่

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๓๖ อัตรากําลงั อนุศาสนาจารยห์ นว่ ยข้ึนตรงกองทพั บกและหน่วยรอง ลาํ ดับ ตําแหนง่ อัตรา สญั ญาบัตร ประทวน หมายเหตุ ทภ.๑ พ.อ. ๑ ปิดบรรจุ ๑ อศจ.ทภ.๑ พ.ท. ๑ ๑ ๒ ผช.อศจ.ทภ.๑ จ.ส.อ. ๓ เสมยี น ปดิ บรรจุ พ.อ. ๑ ๑ ทภ.๒ พ.ท. ๑ ๔ อศจ.ทภ.๒ จ.ส.อ. ปิดบรรจุ ๕ ผช.อศจ.ทภ.๒ ๑ ๖ เสมยี น พ.อ. ๑ พ.ท. ๑ ปดิ บรรจุ ทภ.๓ จ.ส.อ. ๑ ๗ อศจ.ทภ.๓ ๘ ผช.อศจ.ทภ.๓ พ.อ. ๑ ๑ ๙ เสมียน พ.ท. ๑ จ.ส.อ. ทภ.๔ ๑๐ อศจ.ทภ.๔ พ.อ. ๑ ๑๑ ผช.อศจ.ทภ.๔ จ.ส.อ. ๑๒ เสมียน พ.อ. ๑ นสศ. พ.ท. ๑ ๑๓ อศจ.นสศ. พ.ท. ๑ ๑๔ เสมยี น รร.จปร. ๑๕ อศจ.รร.จปร. ๑๖ อศจ.รร.จปร. ๑๗ อศจ.รร.จปร.

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๓๗ ลาํ ดบั ตาํ แหนง่ อตั รา สัญญาบัตร ประทวน หมายเหตุ พล.๑ รอ. ๑๘ อศจ.พล.๑ รอ. พ.ท. ๑ ๑๙ เสมียน ส.อ. ๑ ๑ พล.ร.๒ รอ. ๑ ๑ ๒๐ อศจ.พล.ร.๒ รอ. พ.ท. ๑ ๑ ๑ ๒๑ เสมยี น ส.อ. ๑ ๑ พล.ร.๙ ๒๒ อศจ.พล.ร.๙ พ.ท. ๑ ๒๓ เสมยี น ส.อ. พล.ร.๓ ๒๔ อศจ.พล.ร.๓ พ.ท. ๑ ๒๕ เสมยี น ส.อ. พล.ร.๖ ๒๖ อศจ.พล.ร.๖ พ.ท. ๑ ๒๗ เสมยี น ส.อ. พล.ร.๔ ๒๘ อศจ.พล.ร.๔ พ.ท. ๑ ๒๙ เสมียน ส.อ. พล.ร.๗ ๓๐ อศจ.พล.ร.๗ พ.ท. ๑ ๓๑ เสมียน ส.อ. พล.ร.๕ ๓๒ อศจ.พล.ร.๕ พ.ท. ๑ ๓๓ เสมยี น ส.อ.

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๓๘ ลาํ ดบั ตําแหนง่ อัตรา สัญญาบัตร ประทวน หมายเหตุ พล.ร.๑๕ ๓๔ อศจ.พล.ร.๑๕ พ.ท. ๑ ๑ ๓๕ นายทหารการศาสนาฯ พ.ต. ๑ ๓๖ ผช.นายทหารการ ร.อ. ๑ ศาสนาฯ ๑ ๑ ๓๗ เสมียนนายทหารการ จ.ส.อ. ๑ ๑ ศาสนาฯ ๑ ๑ ๓๘ เสมยี นพิมพ์ดดี ส.อ. ๑ พล.ร.๑๑ ๑ ๓๙ อศจ.พล.ร.๑๑ พ.ท. ๑ ๔๐ เสมียน ส.อ. ๑ พล.ม.๑ ๑ ๑ ๔๑ อศจ.พล.ม.๑ พ.ท. ๔๒ เสมียน ส.อ. พล.ม.๒ รอ. ๔๓ อศจ.พล.ม.๒ รอ. พ.ท. ๔๔ เสมยี น ส.อ. พล.ม.๓ ๔๕ อศจ.พล.ม.๓ พ.ท. ๔๖ เสมียน ส.อ. พล.พัฒนา ๑ ๔๗ อศจ.พล.พฒั นา ๑ พ.ท. ๔๘ เสมยี น จ.ส.อ. ๔๙ เสมยี นพิมพด์ ีด ส.อ.

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๓๙ ลําดับ ตําแหน่ง อตั รา สญั ญาบตั ร ประทวน หมายเหตุ พล.พัฒนา ๒ ๕๐ อศจ.พล.พฒั นา ๒ พ.ท. ๑ ๕๑ เสมียน จ.ส.อ. ๑ ๑ ๕๒ เสมยี นพิมพ์ดีด ส.อ. ๑ พล.พัฒนา ๓ ๑ ๕๓ อศจ.พล.พฒั นา ๓ พ.ท. ๑ ๑ ๑ ๕๔ เสมยี น จ.ส.อ. ๑ ๕๕ เสมียนพมิ พด์ ดี ส.อ. ๑ พล.พฒั นา ๔ ๑ ๕๖ อศจ.พล.พัฒนา ๔ พ.ท. ๑ ๑ ๕๗ เสมยี น จ.ส.อ. ๕๘ เสมียนพิมพด์ ดี ส.อ. พล.ช. ๕๙ อศจ.พล.ช. พ.ท. ๑ ๖๐ เสมยี น ส.อ. พล.รพศ.๑ ๖๑ อศจ.พล.รพศ.๑ พ.ท. ๑ ๖๒ เสมยี น ส.อ. พล.ปตอ. ๖๓ อศจ.พล.ปตอ. พ.ท. ๑ ๖๔ เสมยี น ส.อ. พล.ป. ๖๕ อศจ.พล.ป. พ.ท. ๑ ๖๖ เสมยี น จ.ส.อ.

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๔๐ ลําดับ ตาํ แหนง่ อัตรา สญั ญาบตั ร ประทวน หมายเหตุ นรด. ๖๗ อศจ.นรด. พ.ท. ๑ ๖๘ อศจ.ศสร. พ.ท. ๑ บชร.๑ ๖๙ อศจ.บชร.๑ พ.ต. ๑ ๗๐ เสมยี น จ.ส.อ. ๑ ๑ บชร.๒ ๑ ๑ ๗๑ อศจ.บชร.๒ พ.ต. ๑ ๑ ๗๒ เสมยี น จ.ส.อ. ๑ บชร.๓ ๗๓ อศจ.บชร.๓ พ.ต. ๑ ๗๔ เสมียน จ.ส.อ. บชร.๔ ๗๕ อศจ.บชร.๔ พ.ต. ๑ ๗๖ เสมียน จ.ส.อ. มทบ.๑๑ ๗๗ อศจ.มทบ.๑๑ พ.ต. ๑ ๗๘ ผช.อศจ.มทบ.๑๑ ร.อ. ๑ ๗๙ เสมยี น จ.ส.อ. มทบ.๑๒ ๘๐ อศจ.มทบ.๑๒ พ.ต. ๑ ๘๑ ผช.อศจ.มทบ.๑๒ ร.อ. ๑ ๘๒ เสมยี น จ.ส.อ.

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๔๑ ลาํ ดับ ตาํ แหนง่ อัตรา สญั ญาบตั ร ประทวน หมายเหตุ มทบ.๑๓ ๘๓ อศจ.มทบ.๑๓ พ.ต. ๑ ๘๔ ผช.อศจ.มทบ.๑๓ ร.อ. ๑ ๘๕ เสมียน จ.ส.อ. ๑ ๑ มทบ.๑๔ ๑ ๑ ๘๖ อศจ.มทบ.๑๔ พ.ต. ๑ ๑ ๑ ๘๗ ผช.อศจ.มทบ.๑๔ ร.อ. ๑ ๘๘ เสมียน จ.ส.อ. มทบ.๑๕ ๘๙ อศจ.มทบ.๑๕ พ.ต. ๑ ๙๐ ผช.อศจ.มทบ.๑๕ ร.อ. ๑ ๙๑ เสมียน จ.ส.อ. มทบ.๑๖ ๙๒ อศจ.มทบ.๑๖ พ.ต. ๑ ๙๓ ผช.อศจ.มทบ.๑๖ ร.อ. ๑ ๙๔ เสมียน จ.ส.อ. มทบ.๑๗ ๙๕ อศจ.มทบ.๑๗ พ.ต. ๑ ๙๖ ผช.อศจ.มทบ.๑๗ ร.อ. ๑ ๙๗ เสมียน จ.ส.อ. มทบ.๑๘ ๙๘ อศจ.มทบ.๑๘ พ.ต. ๑ ๙๙ ผช.อศจ.มทบ.๑๘ ร.อ. ๑ ๑๐๐ เสมียน จ.ส.อ.

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๔๒ ลาํ ดับ ตําแหนง่ อัตรา สัญญาบัตร ประทวน หมายเหตุ มทบ.๑๙ ๑๐๑ อศจ.มทบ.๑๙ พ.ต. ๑ ๑๐๒ ผช.อศจ.มทบ.๑๙ ร.อ. ๑ ๑๐๓ เสมียน จ.ส.อ. ๑ ๑ มทบ.๒๑ ๑ ๑ ๑๐๔ อศจ.มทบ.๒๑ พ.ต. ๑ ปดิ บรรจุ ๑๐๕ ผช.อศจ.มทบ.๒๑ ร.อ. ๑ ๑ ๑๐๖ เสมียน จ.ส.อ. มทบ.๒๒ ๑๐๗ อศจ.มทบ.๒๒ พ.ต. ๑ ๑๐๘ ผช.อศจ.มทบ.๒๒ ร.อ. ๑ ๑๐๙ เสมยี น จ.ส.อ. มทบ.๒๓ ๑๑๐ อศจ.มทบ.๒๓ พ.ต. ๑ ๑๑๑ ผช.อศจ.มทบ.๒๓ ร.อ. ๑ ๑๑๒ เสมยี น จ.ส.อ. มทบ.๒๔ ๑๑๓ อศจ.มทบ.๒๔ พ.ต. ๑ ๑๑๔ ผช.อศจ.มทบ.๒๔ ร.อ. ๑ มทบ.๒๕ ๑๑๕ อศจ.มทบ.๒๕ พ.ต. ๑ ๑๑๖ ผช.อศจ.มทบ.๒๕ ร.อ. ๑ ๑๑๗ เสมยี น จ.ส.อ.

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๔๓ ลาํ ดบั ตําแหนง่ อตั รา สัญญาบัตร ประทวน หมายเหตุ มทบ.๒๖ พ.ต. ๑ ๑ ๑๑๘ อศจ.มทบ.๒๖ ร.อ. ๑ ๑ ๑๑๙ ผช.อศจ.มทบ.๒๖ จ.ส.อ. ๑ ๑๒๐ เสมยี น ๑ ๑ พ.ต. ๑ ๑ มทบ.๒๗ ร.อ. ๑ ๑๒๑ อศจ.มทบ.๒๗ จ.ส.อ. ๑ ๑๒๒ ผช.อศจ.มทบ.๒๗ ๑ ๑๒๓ เสมียน พ.ต. ร.อ. ๑ มทบ.๒๘ จ.ส.อ. ๑ ๑๒๔ อศจ.มทบ.๒๘ ๑๒๕ ผช.อศจ.มทบ.๒๘ พ.ต. ๑ ๑๒๖ เสมียน ร.อ. ๑ จ.ส.อ. มทบ.๒๙ ๑ ๑๒๗ อศจ.มทบ.๒๙ พ.ต. ๑ ๑๒๘ ผช.อศจ.มทบ.๒๙ ร.อ. ๑๒๙ เสมยี น จ.ส.อ. มทบ.๒๑๐ พ.ต. ๑๓๐ อศจ.มทบ.๒๑๐ ร.อ. ๑๓๑ ผช.อศจ.มทบ.๒๑๐ จ.ส.อ. ๑๓๒ เสมียน มทบ.๓๑ ๑๓๓ อศจ.มทบ.๓๑ ๑๓๔ ผช.อศจ.มทบ.๓๑ ๑๓๕ เสมียน

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๔๔ ลําดบั ตําแหน่ง อัตรา สญั ญาบตั ร ประทวน หมายเหตุ มทบ.๓๒ ๑๓๖ อศจ.มทบ.๓๒ พ.ต. ๑ ๑๓๗ ผช.อศจ.มทบ.๓๒ ร.อ. ๑ ๑๓๘ เสมยี น จ.ส.อ. ๑ ๑ มทบ.๓๓ ๑ ๑ ๑๓๙ อศจ.มทบ.๓๓ พ.ต. ๑ ๑ ๑ ๑๔๐ ผช.อศจ.มทบ.๓๓ ร.อ. ๑ ๑๔๑ เสมียน จ.ส.อ. มทบ.๓๔ ๑๔๒ อศจ.มทบ.๓๔ พ.ต. ๑ ๑๔๓ ผช.อศจ.มทบ.๓๔ ร.อ. ๑ ๑๔๔ เสมยี น จ.ส.อ. มทบ.๓๕ ๑๔๕ อศจ.มทบ.๓๕ พ.ต. ๑ ๑๔๖ ผช.อศจ.มทบ.๓๕ ร.อ. ๑ ๑๔๗ เสมยี น จ.ส.อ. มทบ.๓๖ ๑๔๘ อศจ.มทบ.๓๖ พ.ต. ๑ ๑๔๙ ผช.อศจ.มทบ.๓๖ ร.อ. ๑ ๑๕๐ เสมียน จ.ส.อ. มทบ.๓๗ ๑๕๑ อศจ.มทบ.๓๗ พ.ต. ๑ ๑๕๒ ผช.อศจ.มทบ.๓๗ ร.อ. ๑ ๑๕๓ เสมยี น จ.ส.อ.

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๔๕ ลาํ ดบั ตาํ แหน่ง อตั รา สัญญาบตั ร ประทวน หมายเหตุ มทบ.๓๘ พ.ต. ๑ ๑ ๑๕๔ อศจ.มทบ.๓๘ ร.อ. ๑ ๑ ๑๕๕ ผช.อศจ.มทบ.๓๘ จ.ส.อ. ๑ ๑๕๖ เสมยี น ๑ ๑ พ.ต. ๑ ๑ มทบ.๓๙ ร.อ. ๑ ๑๕๗ อศจ.มทบ.๓๙ จ.ส.อ. ๑ ๑๕๘ ผช.อศจ.มทบ.๓๙ ๑ ๑๕๙ เสมียน พ.ต. ร.อ. ๑ มทบ.๓๑๐ จ.ส.อ. ๑ ๑๖๐ อศจ.มทบ.๓๑๐ ๑๖๑ ผช.อศจ.มทบ.๓๑๐ พ.ต. ๑ ๑๖๒ เสมียน ร.อ. ๑ จ.ส.อ. มทบ.๔๑ ๑ ๑๖๓ อศจ.มทบ.๔๑ พ.ต. ๑ ๑๖๔ ผช.อศจ.มทบ.๔๑ ร.อ. ๑๖๕ เสมยี น จ.ส.อ. มทบ.๔๒ พ.ต. ๑๖๖ อศจ.มทบ.๔๒ ร.อ. ๑๖๗ ผช.อศจ.มทบ.๔๒ จ.ส.อ. ๑๖๘ เสมียน มทบ.๔๓ ๑๖๙ อศจ.มทบ.๔๓ ๑๗๐ ผช.อศจ.มทบ.๔๓ ๑๗๑ เสมียน

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๔๖ ลําดับ ตาํ แหนง่ อัตรา สัญญาบตั ร ประทวน หมายเหตุ มทบ.๔๔ ๑๗๒ อศจ.มทบ.๔๔ พ.ต. ๑ ๑๗๓ ผช.อศจ.มทบ.๔๔ ร.อ. ๑ ๑๗๔ เสมยี น จ.ส.อ. ๑ ๑ มทบ.๔๕ ๑ ๑๗๕ อศจ.มทบ.๔๕ พ.ต. ๑ ๑๗๖ ผช.อศจ.มทบ.๔๕ ร.อ. ๑ ๑๗๗ เสมยี น จ.ส.อ. มทบ.๔๖ ๑๗๘ อศจ.มทบ.๔๖ พ.ต. ๑ ๑๗๙ ผช.อศจ.มทบ.๔๖ ร.อ. ๑ ๑๘๐ เสมียน จ.ส.อ. กช. ๑๘๑ อศจ.กช. พ.ต. ๑ ๑๘๒ ผช.อศจ.กช. ร.อ. ๑ พธ.ทบ. ๑๘๓ อศจ.พธ.ทบ. พ.ต. ๑ กส.ทบ. ๑๘๔ อศจ.กส.ทบ. พ.ต. ๑ สส. ๑๘๕ อศจ.สส. พ.ต. ๑ ศสพ. ๑๘๖ อศจ.ศสพ. พ.ต. ๑ ศบบ. ๑๘๗ อศจ.ศบบ. พ.ต. ๑ ศร.

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๔๗ ลําดับ ตาํ แหน่ง อัตรา สญั ญาบตั ร ประทวน หมายเหตุ ๑๘๘ อศจ.ศร. พ.ต. ๑ ปิดบรรจุ ๑๘๙ ผช.อศจ.ศร. ร.อ. ๑ ๑ ปดิ บรรจุ ศม. พ.ต. ๑ ๑๙๐ อศจ.ศม. ร.อ. ๑ ปิดบรรจุ ๑๙๑ ผช.อศจ.ศม. ๑ พ.ต. ๑ ปิดบรรจุ ศป. ร.อ. ๑ ๑ ๑๙๒ อศจ.ศป. ๑ ๑๙๓ ผช.อศจ.ศป. พ.ต. ๑ ปดิ บรรจุ ร.อ. ๑ รร.กสร.ศสร. ๑ ๑๙๔ อศจ.รร.กสร.ศสร. พ.ต. ๑ ๑๙๕ ผช.อศจ.รร.กสร.ศสร. ๑ ร.อ. ๑ รร.นส.ทบ. จ.ส.อ. ๑ ๑๙๖ อศจ.รร.นส.ทบ. ร.อ. ทม.ร.๑ รอ. จ.ส.อ. ๑๙๗ อศจ.ร.๑ รอ. ๑๙๘ ผช.อศจ.ร.๑ รอ. ร.อ. จ.ส.อ. ทม.ร.๑๑ รอ. ๑๙๙ อศจ.ร.๑๑ รอ. ร.อ. ๒๐๐ ผช.อศจ.ร.๑๑ รอ. จ.ส.อ. ร.๓๑ รอ. ๒๐๑ อศจ.ร.๓๑ รอ. ๒๐๒ ผช.อศจ.ร.๓๑ รอ. ร.๒ รอ. ๒๐๓ อศจ.ร.๒ รอ. ๒๐๔ ผช.อศจ.ร.๒ รอ. ร.๑๒ ร.อ.

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๔๘ ลําดับ ตาํ แหน่ง อตั รา สญั ญาบตั ร ประทวน หมายเหตุ ๒๐๕ อศจ.ร.๑๒ รอ. ร.อ. ๑ ๒๐๖ ผช.อศจ.ร.๑๒ รอ. จ.ส.อ. ๑ ๑ ร.๒๑ รอ. ๑ ๑ ๒๐๗ อศจ.ร.๒๑ รอ. ร.อ. ๑ ๑ ๑ ๒๐๘ ผช.อศจ.ร.๒๑ รอ. จ.ส.อ. ๑ ๑ ร.๙ ๑ ๒๐๙ อศจ.ร.๙ ร.อ. ๑ ๒๑๐ ผช.อศจ.ร.๙ จ.ส.อ. ร.๑๙ ๒๑๑ อศจ.ร.๑๙ ร.อ. ๑ ๒๑๒ ผช.อศจ.ร.๑๙ จ.ส.อ. ร.๒๙ ๒๑๓ อศจ.ร.๒๙ ร.อ. ๑ ๒๑๔ ผช.อศจ.ร.๒๙ จ.ส.อ. ร.๓ ๒๑๕ อศจ.ร.๓ ร.อ. ๑ ๒๑๖ ผช.อศจ.ร.๓ จ.ส.อ. ร.๘ ๒๑๗ อศจ.ร.๘ ร.อ. ๑ ๒๑๘ ผช.อศจ.ร.๘ จ.ส.อ. ร.๑๓ ๒๑๙ อศจ.ร.๑๓ ร.อ. ๑ ๒๒๐ ผช.อศจ.ร.๑๓ จ.ส.อ. ร.๖ ๒๒๑ อศจ.ร.๖ ร.อ. ๑ ๒๒๒ ผช.อศจ.ร.๖ จ.ส.อ.

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๔๙ ลําดบั ตาํ แหนง่ อัตรา สัญญาบัตร ประทวน หมายเหตุ ร.๑๖ ร.อ. ๑ ๑ ๒๒๓ อศจ.ร.๑๖ จ.ส.อ. ๑ ๒๒๔ ผช.อศจ.ร.๑๖ ๑ ร.อ. ๑ ๑ ร.๒๓ จ.ส.อ. ๑ ๒๒๕ อศจ.ร.๒๓ ๑ ๒๒๖ ผช.อศจ.ร.๒๓ ร.อ. ๑ ๑ จ.ส.อ. ๑ ร.๔ ๒๒๗ อศจ.ร.๔ ร.อ. ๑ ๒๒๘ ผช.อศจ.ร.๔ จ.ส.อ. ร.๗ ร.อ. ๑ ๒๒๙ อศจ.ร.๗ จ.ส.อ. ๒๓๐ ผช.อศจ.ร.๗ ร.อ. ๑ ร.๑๗ จ.ส.อ. ๒๓๑ อศจ.ร.๑๗ ๒๓๒ ผช.อศจ.ร.๑๗ ร.อ. ๑ จ.ส.อ. ร.๑๔ ๒๓๓ อศจ.ร.๑๔ ร.อ. ๑ ๒๓๔ ผช.อศจ.ร.๑๔ จ.ส.อ. ร.๕ ร.อ. ๑ ๒๓๕ อศจ.ร.๕ ๒๓๖ ผช.อศจ.ร.๕ ร.๑๕ ๒๓๗ อศจ.ร.๑๕ ๒๓๘ ผช.อศจ.ร.๑๕ ร.๒๕ ๒๓๙ อศจ.ร.๒๕

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๕๐ ลาํ ดับ ตําแหนง่ อตั รา สัญญาบตั ร ประทวน หมายเหตุ ๒๔๐ ผช.อศจ.ร.๒๕ จ.ส.อ. ๑ ร.๑๕๑ ๑ ร.อ. ๑ ๑ ๒๔๑ อศจ.ร.๑๕๑ จ.ส.อ. ๑ ๒๔๒ ผช.อศจ.ร.๑๕๑ ๑ ร.อ. ๑ ๑ ร.๑๕๒ จ.ส.อ. ๑ ๒๔๓ อศจ.ร.๑๕๒ ๑ ๒๔๔ ผช.อศจ.ร.๑๕๒ ร.อ. ๑ ๑ จ.ส.อ. ร.๑๕๓ ๒๔๕ อศจ.ร.๑๕๓ ร.อ. ๑ ๒๔๖ ผช.อศจ.ร.๑๕๓ จ.ส.อ. ม.๑ รอ. ร.อ. ๑ ๒๔๗ อศจ.ม.๑ รอ. จ.ส.อ. ๒๔๘ ผช.อศจ.ม.๑ รอ. ร.อ. ๑ ม.๒ จ.ส.อ. ๒๔๙ อศจ.ม.๒ ๒๕๐ ผช.อศจ.ม.๒ ร.อ. ๑ จ.ส.อ. ม.๓ ๒๕๑ อศจ.ม.๓ ร.อ. ๑ ๒๕๒ ผช.อศจ.ม.๓ จ.ส.อ. ม.๔ รอ. ๒๕๓ อศจ.ม.๔ รอ. ๒๕๔ ผช.อศจ.ม.๔ รอ. ม.๕ รอ. ๒๕๕ อศจ.ม.๕ รอ. ๒๕๖ ผช.อศจ.ม.๕ รอ. ม.๖

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๕๑ ลําดบั ตําแหนง่ อตั รา สัญญาบตั ร ประทวน หมายเหตุ ๒๕๗ อศจ.ม.๖ ร.อ. ๑ ๑ ๒๕๘ ผช.อศจ.ม.๖ จ.ส.อ. ๑ ๑ ๑ ปตอ.๑ ร.อ. ๑ ๑ ๒๕๙ อศจ.ปตอ.๑ จ.ส.อ. ๑ ๑ ๒๖๐ ผช.อศจ.ปตอ.๑ ๑ ๑ ร.อ. ๑ ๑ ส.๑ ๑ ๑ ๒๖๑ อศจ.ส.๑ ร.อ. ๑ ๑ จ.ส.อ. กรม ทพ.๑๑ ๒๖๒ อศจ.กรม ทพ.๑๑ ร.อ. ๒๖๓ ผช.อศจ.กรม ทพ.๑๑ จ.ส.อ. กรม ทพ.๑๒ ร.อ. ๒๖๔ อศจ.กรม ทพ.๑๒ จ.ส.อ. ๒๖๕ ผช.อศจ.กรม ทพ.๑๒ ร.อ. กรม ทพ.๑๓ จ.ส.อ. ๒๖๖ อศจ.กรม ทพ.๑๓ ๒๖๗ ผช.อศจ.กรม ทพ.๑๓ ร.อ. จ.ส.อ. กรม ทพ.๑๔ ๒๖๘ อศจ.กรม ทพ.๑๔ ร.อ. ๒๖๙ ผช.อศจ.กรม ทพ.๑๔ จ.ส.อ. กรม ทพ.๒๑ ๒๗๐ อศจ.กรม ทพ.๒๑ ๒๗๑ ผช.อศจ.กรม ทพ.๒๑ กรม ทพ.๒๒ ๒๗๒ อศจ.จทบ.ช.ร. ๒๗๓ ผช.อศจ.กรม ทพ.๒๒ กรม ทพ.๒๓

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๕๒ ลําดับ ตําแหนง่ อตั รา สัญญาบตั ร ประทวน หมายเหตุ ๒๗๔ อศจ.กรม ทพ.๒๓ ร.อ. ๑ ๑ ๒๗๕ ผช.อศจ.กรม ทพ.๒๓ จ.ส.อ. ๑ ๑ ๑ ๑ กรม ทพ.๒๖ ร.อ. ๑ ๑ ๒๗๖ อศจ.กรม ทพ.๒๖ จ.ส.อ. ๑ ๑ ๒๗๗ ผช.อศจ.กรม ทพ.๒๖ ๑ ๑ ร.อ. ๑ ๑ กรม ทพ.๓๑ จ.ส.อ. ๑ ๑ ๒๗๘ อศจ.กรม ทพ.๓๑ ๑ ๑ ๒๗๙ ผช.อศจ.กรม ทพ.๓๑ ร.อ. จ.ส.อ. กรม ทพ.๓๒ ๒๘๐ อศจ.กรม ทพ.๓๒ ร.อ. ๒๘๑ ผช.อศจ.กรม ทพ.๓๒ จ.ส.อ. กรม ทพ.๓๓ ร.อ. ๒๘๒ อศจ.กรม ทพ.๓๓ จ.ส.อ. ๒๘๓ ผช.อศจ.กรม ทพ.๓๓ ร.อ. กรม ทพ.๓๔ จ.ส.อ. ๒๘๔ อศจ.กรม ทพ.๓๔ ๒๘๕ ผช.อศจ.กรม ทพ.๓๔ ร.อ. จ.ส.อ. กรม ทพ.๓๕ ๒๘๖ อศจ.กรม ทพ.๓๕ ร.อ. ๒๘๗ ผช.อศจ.กรม ทพ.๓๕ จ.ส.อ. กรม ทพ.๓๖ ๒๘๘ อศจ.กรม ทพ.๓๖ ๒๘๙ ผช.อศจ.กรม ทพ.๓๖ กรม ทพ.๔๑ ๒๙๐ อศจ.กรม ทพ.๔๑ ๒๙๑ ผช.อศจ.กรม ทพ.๔๑

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๕๓ ลาํ ดับ ตําแหน่ง อัตรา สัญญาบัตร ประทวน หมายเหตุ กรม ทพ.๔๒ ๒๙๒ อศจ.กรม ทพ.๔๒ ร.อ. ๑ ๒๙๓ ผช.อศจ.กรม ทพ.๔๒ จ.ส.อ. ๑ กรม ทพ.๔๓ ๒๙๔ อศจ.กรม ทพ.๔๓ ร.อ. ๑ ๒๙๕ ผช.อศจ.กรม ทพ.๔๓ จ.ส.อ. ๑ กรม ทพ.๔๔ ๒๙๖ อศจ.กรม ทพ.๔๔ ร.อ. ๑ ๒๙๗ ผช.อศจ.กรม ทพ.๔๔ จ.ส.อ. ๑ กรม ทพ.๔๕ ๒๙๘ อศจ.กรม ทพ.๔๕ ร.อ. ๑ ๒๙๙ ผช.อศจ.กรม ทพ.๔๕ จ.ส.อ. ๑ กรม ทพ.๔๖ ๓๐๐ อศจ.กรม ทพ.๔๖ ร.อ. ๑ ๓๐๑ ผช.อศจ.กรม ทพ.๔๖ จ.ส.อ. ๑ กรม ทพ.๔๗ ๓๐๒ อศจ.กรม ทพ.๔๗ ร.อ. ๑ ๓๐๓ ผช.อศจ.กรม ทพ.๔๗ จ.ส.อ. ๑ กรม ทพ.๔๘ ๓๐๔ อศจ.กรม ทพ.๔๘ ร.อ. ๑ ๓๐๕ ผช.อศจ.กรม ทพ.๔๘ จ.ส.อ. ๑ กรม ทพ.๔๙ ๓๐๖ อศจ.กรม ทพ.๔๙ ร.อ. ๑ ๓๐๗ ผช.อศจ.กรม ทพ.๔๙ จ.ส.อ. ๑ รวม ๑๘๓ ๑๒๔ ๓๐๗

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๕๔ ๔. ภารกิจตามหนา้ ทข่ี องอนศุ าสนาจารย์ ๔.๑ หน้าท่ีทั่วไป ปฏิบัติการหรืออํานวยการเกี่ยวกับการศาสนา และให้คําแนะนําแก่ ผู้บงั คับบัญชาในปญั หาทั้งปวงเก่ียวกับศาสนาและขวญั ๔.๒ หน้าท่เี ฉพาะ - ปฏิบัติการเกี่ยวกับการบริการทางศาสนา และวางโครงการให้ทหาร มโี อกาสได้ปฏิบัติศาสนกิจ - เยี่ยมเยียนผู้เจ็บป่วยและนกั โทษทหาร - ชว่ ยเหลือและประสานงานในการดาํ เนินการให้ทหารมีขวญั ดี - มีส่วนในการอบรมผู้คัดเลือกเข้ามาเป็นทหาร และทําการบรรยาย อบรมทหารเกยี่ วกบั ศาสนา - ติดต่อประสานงานกบั องคก์ ารสงเคราะห์ต่างๆ เช่นสภากาชาด หรอื วดั ในทอ้ งถ่ิน - รบั และแจกจ่ายเอกสารเก่ยี วกบั ศาสนา และรายงานการปฏบิ ตั ขิ องตน ๔.๓ ภารกจิ และหนา้ ทก่ี องอนศุ าสนาจารย์ ๔.๓.๑ ให้คําปรึกษาแก่เจ้ากรมยุทธศึกษาทหารบกและส่วน อํานวยการอ่ืนๆ ใน กรมยุทธศึกษาทหารบก ในเร่ืองเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม ขวัญ ทหาร และกจิ การอนุศาสนาจารย์ ๔.๓.๒ รว่ มมือในการวางแผนอบรมคณุ ลักษณะทหาร ๔.๓.๓ ดําเนินการเรื่องการกําลังพลและการฝึกฝนอนุศาสนาจารย์ให้ เป็นผมู้ ีคุณธรรมและสมรรถภาพเหมาะสมกับตาํ แหนง่ หน้าท่ี ๔.๓.๔ เสนอความเห็นในการดําเนินกิจการอนุศาสนาจารย์ต่อเจ้ากรม ยุทธศกึ ษา-ทหารบก ๔.๓.๕ วางแผนและกําหนดระเบียบปฏิบัติหน้าที่ของอนุศาสนาจารย์ ท้งั ในยามปกติ และ ยามสงคราม ๔.๓.๖ ดําเนินการตามนโยบายการปลูกฝังและสร้างเสริมอุดมการณ์ ทหารของกองทพั บก ในดา้ นการพฒั นาคณุ ธรรม

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๕๕ ๔.๓.๗ ติดต่อ/ร่วมมือกับส่วนราชการและผู้บังคับหน่วยในกองทัพบก ในเร่อื งท่เี กีย่ วกบั กิจการในหน้าทีอ่ นศุ าสนาจารย์ ๔.๓.๘ ควบคุมกิจการอนุศาสนาจารย์ และการปฏิบัติหน้าท่ีของ อนุศาสนาจารย์ประจําหน่วยในทางวทิ ยาการ ๔.๓.๙ ควบคุมดแู ลความประพฤติอนุศาสนาจารย์ ๔.๓.๑๐ อํานวยการอบรม และการสอนศีลธรรมวัฒนธรรมแก่ทหาร และบุคคลในสังกัดกองทัพบก ให้มีความประพฤติและอัธยาศัยดีงาม มีขวัญและกําลังใจ เข้มแขง็ มคี วามจงรักภักดตี อ่ ประเทศชาติ ศาสนา และพระมหากษตั รยิ ์ ๔.๓.๑๑ ดาํ เนินการในเรอื่ งการบํารุงรกั ษาขวญั และกําลังใจของทหาร ๔.๓.๑๒ ปฏิบตั พิ ธิ ที างศาสนาและการกุศลของกองทัพบก ๔ . ๓ . ๑ ๓ ดํ า เ นิ น ก า ร ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า กองอนศุ าสนาจารย์ กรมยทุ ธศึกษาทหารบก ๔.๔ ภารกจิ และหน้าท่ีผ้อู าํ นวยการกองอนศุ าสนาจารย์ ๔.๔.๑ ปกครองบังคับบัญชาอนุศาสนาจารย์และข้าราชการ ลูกจ้าง ในกองอนุศาสนาจารย์ ๔.๔.๒ เปน็ หวั หน้าสายวทิ ยาการอนุศาสนาจารยโ์ ดยตําแหนง่ ๔.๔.๓ เสนอความเห็นในการดําเนินกิจการอนุศาสนาจารย์แก่เจ้ากรม ยทุ ธศึกษาทหารบก ๔.๔.๔ วางแผน กําหนดนโยบายของอนุศาสนาจารย์ ทั้งยามปกติและ ยามสงคราม ๔.๔.๕ ควบคุม ดูแล ติดต่อ ประสานงาน ตลอดจนอํานวยการ เกย่ี วกับกิจการอนศุ าสนาจารยท์ งั้ ปวง ๔.๕ ภารกิจและหน้าท่ีรองผู้อาํ นวยการกองอนศุ าสนาจารย์ ๔.๕.๑ ปฏบิ ตั ิงานช่วยเหลอื ผู้อาํ นวยการในภารกจิ หนา้ ทีข่ องผูอ้ าํ นวยการ ๔.๕.๒ ชว่ ยกํากับดูแลนโยบายและงานที่ผูอ้ าํ นวยการกําหนดและส่ังการแล้ว ๔.๕.๓ ช่วยเร่งรัดติดตามงานที่ผู้อํานวยการได้สั่งการแล้ว เพ่ือให้ รวดเร็วและทันเวลา

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๕๖ ๔.๕.๔ ดูแลกวดขันความเรียบร้อย ความเป็นระเบียบของงานและ สถานทีภ่ ายใน กองอนุศาสนาจารย์ ๔.๕.๕ ทําการแทนผู้อาํ นวยการเมื่อผูอ้ าํ นวยการไมอ่ ยู่ ๔.๖ ภารกจิ และหน้าที่แผนกกําลังพล ๔.๖.๑ ดําเนินการเลื่อน ลด ปลด ย้าย การสอบบรรจุ การดําเนินการบรรจุอนุศาสนาจารยแ์ ละผู้ช่วยอนุศาสนาจารย์ ๔.๖.๒ ตรวจสอบ ควบคมุ จรรยาบรรณของอนศุ าสนาจารย์ ๔.๖.๓ วางแผนและจัดทําแผนการตรวจกิจการอนุศาสนาจารย์ ประจําปี ๔.๖.๔ ดําเนินการด้านขวัญและกําลังใจของอนุศาสนาจารย์ และ ผ้ชู ่วยอนศุ าสนาจารย์ ๔.๖.๕ ควบคุมกํากับดูแลและดําเนินการเกี่ยวกับเงินทุนสวัสดิการ อนุศาสนาจารย์ และทุนอื่นๆ ท่ีเกี่ยวกับการสงเคราะห์และสวัสดิการอนุศาสนาจารย์ ผชู้ ว่ ยอนุศาสนาจารย์ ๔.๖.๖ จัดทําทาํ เนยี บอนุศาสนาจารย์และผูช้ ่วยอนุศาสนาจารย์ ๔.๖.๗ ดําเนินการเร่ืองการฝึกอบรมอนุศาสนาจารย์และ ผชู้ ว่ ยอนุศาสนาจารย์ทบ่ี รรจุใหม่ ๔.๖.๘ ดําเนินการเรอื่ งระเบียบแบบธรรมเนียมอนศุ าสนาจารย์ ๔.๖.๙ ดําเนินการเรื่องการประชุมคณะกรรมการอนุศาสนาจารย์ การประชมุ สายวทิ ยาการอนศุ าสนาจารยป์ ระจาํ เดอื น ๔.๖.๑๐ อบรมศีลธรรมวัฒนธรรมทหาร ตามแผนการอบรมศีลธรรม วัฒนธรรมทหารประจาํ ปี ของกรมยุทธศกึ ษาทหารบก ตามทไ่ี ด้รับมอบหมาย ๔.๖.๑๑ สอนวิชาการศาสนาและศีลธรรมในหลักสูตรของโรงเรียน เหล่า สายวิทยาการ และหน่วยจัดการศกึ ษาของกองทพั บก ตามท่ีได้รับมอบหมาย ๔.๖.๑๒ รับผิดชอบการประกันคุณภาพการศึกษาของกอง อนศุ าสนาจารย์ กรมยทุ ธ-ศึกษาทหารบก ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย ๔.๖.๑๓ ปฏิบัติพิธีทางศาสนาให้กับหน่วยต่างๆ ในกองทัพบก และ หน่วยงานอนื่ ตามที่ไดร้ บั มอบหมาย

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๕๗ ๔.๖.๑๔ ประสานงานและให้การสนับสนุนแก่แผนกอ่ืน ในกอง อนศุ าสนาจารย์ ๔.๗ ภารกจิ และหน้าท่ีแผนกวิชาการและการศกึ ษา ๔. ๗.๑ ค้นคว้าวิทยาการอันเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่งาน อนุศาสนาจารย์ ๔.๗.๒ รวบรวมและเรียบเรียงตํารา รวมท้ังการสร้างอุปกรณ์การสอน อบรมในหนา้ ทอ่ี นุศาสนาจารย์ ๔.๗.๓ จัดทําหลักสูตรและตําราทางวิชาการศาสนาและศีลธรรม สําหรับสอนในโรงเรียนเหล่าสายวิทยาการทุกระดับ รวมท้ังหลักสูตรการปฐมนิเทศ นายทหารอนุศาสนาจารย์บรรจุใหม่, หลักสูตรนายทหารอนุศาสนาจารย์ช้ันต้น, หลักสูตรนายทหารอนุศาสนาจารย์ชั้นสูง, หลักสูตรการพัฒนาบุคลากรกองทัพบก, หลักสูตรการปฏิบัติธรรมในพรรษา, หลักสูตรการอบรมพิธีกรด้านศาสนาประเพณีและ วฒั นธรรมไทย และหลกั สูตรอ่นื ๆ ท่ีกองอนุศาสนาจารยเ์ กย่ี วขอ้ ง ๔.๗.๔ ดําเนินการเรื่องการเปิดการศึกษาหลักสูตร ตามข้อ ๔.๗.๓ เฉพาะท่ีเกี่ยวข้องกับกองอนุศาสนาจารย์ และกํากับดูแลให้เกิดความเรียบร้อย ทันเวลา ตามห้วงของหลักสูตร และเงื่อนไขทางด้านงบประมาณ และดําเนินการปรับปรุง สมรรถภาพของอนศุ าสนาจารย์ ๔.๗.๕ ดําเนินการการประกันคุณภาพการศึกษาของกอง อนศุ าสนาจารย์ กรมยุทธ-ศกึ ษาทหารบก ๔.๗.๖ ดําเนินการด้านงบประมาณทั้งส้ินของกองอนุศาสนาจารย์ เปน็ สว่ นรวม ๔.๗.๗ ตรวจการปฏิบัติงานของอนุศาสนาจารย์ประจําหน่วยในทาง วชิ าการ ทดสอบผลงานและจัดทาํ สถิติ ๔.๗.๘ รบั ผดิ ชอบการจดั ทําวารสารพุทธศาสตร์ ๔.๗.๙ รบั ผิดชอบห้องสมดุ กองอนศุ าสนาจารย์ ๔.๗.๑๐ รบั ผดิ ชอบจัดทาํ ปฏิทนิ งานและจดหมายเหตุ ๔.๗.๑๑ อบรมศีลธรรมวัฒนธรรมทหาร ตามแผนการอบรมศีลธรรม วัฒนธรรมทหารประจําปขี องกรมยทุ ธศึกษาทหารบก ตามที่ได้รบั มอบหมาย

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๕๘ ๔.๗.๑๒ สอนวิชาการศาสนาและศีลธรรมในหลักสูตรของโรงเรียน เหลา่ สายวิทยาการ และหน่วยจัดการศกึ ษาของกองทัพบก ตามท่ีได้รับมอบหมาย ๔.๗.๑๓ ปฏิบัติพิธีทางศาสนาให้กับหน่วยต่างๆ ในกองทัพบก และ หน่วยงานอ่ืน ตามทไ่ี ด้รับมอบหมาย ๔.๗.๑๔ ประสานงานและให้การสนบั สนุนแก่แผนกอืน่ ในกอง อนศุ าสนาจารย์ ๔.๘ ภารกจิ และหนา้ ท่ีแผนกอบรม ๔.๘.๑ วางแผน จัดทําโครงการ ประสานงาน กํากับดูแลการอบรม ศีลธรรมวัฒนธรรมทหาร และการรายงานผล ๔.๘.๒ วางแผนและดําเนินการตามนโยบายการปลูกฝังและสร้างเสริม อุดมการณ์ทหารของกองทพั บก ดา้ นการพัฒนาคุณธรรม และการรายงานผล ๔.๘.๓ ดําเนินการเรื่องการประชุมคณะอนุกรรมการปลูกฝังและสร้าง เสริมอุดมการณท์ หาร ดา้ นการพฒั นาคณุ ธรรม ๔.๘.๔ วิเคราะห์ วิจัย และประเมินผลการอบรมศีลธรรมวัฒนธรรม ทหาร และการปลกู ฝังและสร้างเสริมอุดมการณท์ หาร ด้านการพฒั นาคณุ ธรรม ๔.๘.๕ ดําเนินการและกํากับดูแล การปฏิบัติธรรมในหลักสูตรการ พัฒนาบุคลากรกองทัพบก ๔.๘.๖ ดําเนินการและกํากับดูแล การปฏิบัติธรรมโครงการปฏิบัติ ธรรมในพรรษา ๔.๘.๗ ดําเนินการและกํากับดูแล การปฏิบัติธรรมเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว และสมเด็จพระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ ีนาถ ๔.๘.๘ ดําเนินการและกํากับดูแล การจัดอนุศาสนาจารย์สอนวิชาการ ศาสนาและศลี ธรรม ในโรงเรยี นเหลา่ สายวิทยาการตามทไ่ี ดร้ ับการร้องขอ ๔.๘.๙ ดําเนินการและกํากับดูแลการจัดอนุศาสนาจารย์สอน บรรยาย อบรมในองค์การทางศาสนา หนว่ ยราชการและหน่วยงานเอกชนตามทไี่ ดร้ ับการร้องขอ ๔.๘.๑๐ ดาํ เนินการเรอ่ื งการเยี่ยมบํารงุ ขวัญทหารและครอบครวั ๔.๘.๑๑ ดําเนินการเร่ืองการอบรมทางศีลธรรม และการอบรมกรณี อ่ืนๆ เปน็ พิเศษตามนโยบายของผบู้ งั คับบญั ชา

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๕๙ ๔.๘.๑๒ รับผิดชอบการประกันคุณภาพการศึกษาของกอง อนศุ าสนาจารย์ กรมยุทธ-ศกึ ษาทหารบก ตามท่ไี ดร้ ับมอบหมาย ๔.๘.๑๓ ปฏิบัติพิธีทางศาสนาให้กับหน่วยต่างๆ ในกองทัพบก และ หนว่ ยงานอ่นื ตามท่ีได้รบั มอบหมาย ๔.๘.๑๔ ประสานและใหก้ ารสนับสนนุ แก่แผนกอื่น ในกอง อนศุ าสนาจารย์ ๔.๙ ภารกิจและหน้าทีแ่ ผนกศาสนพิธี ๔.๙.๑ ดําเนินงานทางด้านพิธแี ละการบริการทางศาสนพธิ ี ๔.๙.๒ รบั ผดิ ชอบศาสนสถานและอุปกรณ์ประกอบพธิ ี ๔.๙.๓ ให้คําแนะนําและกวดขันการปฏิบัติพิธีของอนุศาสนาจารย์ และผู้ช่วยอนศุ าสนาจารย์ทีบ่ รรจุใหม่ ๔.๙.๔ ดําเนินการประสานและนมิ นต์พระสงฆใ์ นพิธกี ารท่ีเกย่ี วข้อง ๔.๙.๕ รบั ผดิ ชอบจดั อนศุ าสนาจารย์ปฏิบัตพิ ิธี ๔.๙.๖ ดาํ เนินการดา้ นพธิ ีและการกุศลของกองทพั บกในสว่ นท่ี เกีย่ วข้อง ๔.๙.๗ ดําเนินการเรื่องการกุศลและพิธีของกองอนุศาสนาจารย์ และ ของกรมยทุ ธศกึ ษาทหารบก ๔.๙.๘ ปฏิบัติพิธีทางศาสนาให้กับหน่วยต่างๆ ใน ทบ. และหน่วยงาน อนื่ ตามทีไ่ ดร้ ับการรอ้ งขอ ๔.๙.๙ อบรมศีลธรรมวัฒนธรรมทหาร ตามแผนการอบรมศีลธรรม วัฒนธรรมทหารประจําปขี องกรมยุทธศึกษาทหารบก ตามทไ่ี ด้รบั มอบหมาย ๔.๙.๑๐ สอนวิชาการศาสนาและศีลธรรมในหลักสูตรของโรงเรียน เหล่า สายวิทยาการ และหนว่ ยจัดการศกึ ษาของกองทัพบก ตามท่ีได้รับมอบหมาย ๔.๙.๑๑ รับผิดชอบการประกันคุณภาพการศึกษาของกอง อนศุ าสนาจารย์ กรมยทุ ธศกึ ษาทหารบก ตามท่ีได้รับมอบหมาย ๔.๙.๑๒ ประสานงานและให้การสนับสนุนแก่แผนกอื่น ในกอง อนศุ าสนาจารย์

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๖๐ ๔.๑๐ ภารกจิ และหน้าทีฝ่ า่ ยธุรการ ๔.๑๐.๑ รับผิดชอบงานธุรการทั้งปวงของกองอนุศาสนาจารย์ ทไ่ี มไ่ ดอ้ ยใู่ นความรบั ผดิ ชอบของแผนกอืน่ ๔.๑๐.๒ ดูแลรับผดิ ชอบการจัดสาํ นักงานกองอนุศาสนาจารย์ ๔.๑๐.๓ รับผิดชอบการรับ - ส่งหนังสือ หรือเอกสารทางราชการ ตามระเบยี บงานสารบรรณ และกํากบั ดูแลให้ดาํ เนนิ การทนั ตามกาํ หนดเวลา ๔.๑๐.๔ จัดทําทะเบียน บัญชีคุมส่ิงอุปกรณ์ของกองอนุศาสนาจารย์ เป็นส่วนรวม ตลอดทงั้ การดําเนนิ การบาํ รงุ รกั ษาและซ่อมบํารงุ ๔.๑๐.๕ วางแผนฝึกอบรมเจ้าหน้าท่ีกองอนุศาสนาจารย์ในด้าน ระเบียบงานสารบรรณ ๔.๑๐.๖ ประสานงานและให้การสนับสนุนแก่แผนกอ่ืน ในกอง อนุศาสนาจารย์ ๔.๑๑ ภารกิจและหนา้ ทอี่ นศุ าสนาจารย์ประจาํ หนว่ ย ๔.๑๑.๑ อนศุ าสนาจารยห์ นว่ ยระดับกองทัพภาค ๔.๑๑.๑.๑ เสนอความคิดเห็นต่อแม่ทัพภาคและ ฝา่ ยอาํ นวยการในกิจการทีเ่ ก่ยี วกับขวญั กําลังใจและจรยิ ธรรมของทหาร ๔.๑๑.๑.๒ ชว่ ยเหลอื แมท่ พั ภาค และฝ่ายอํานวยการ ในการ นาํ เอาหนา้ ท่พี ลเมอื งดแี ละธรรมจรรยามาใช้ให้สอดคล้องกับชวี ิตในกรมกองทหาร ๔.๑๑.๑.๓ กํากับดูแลและประสานในเร่ืองเจ้าหน้าที่ และ การฝึกของอนุศาสนาจารย์ที่มาประจําในกองทัพภาค รวมทั้งแนะนําระเบียบวิธีการ อบรมใหเ้ ป็นไปในแนวทางเดียวกนั ๔.๑๑.๑.๔ ติดต่อประสานงานกับหน่วยเหนือและหน่วยรอง ตลอดท้ังองค์การศาสนาท่ัวไปเพ่ือส่งเสริมศาสนาและศีลธรรมในกองทัพ และประสาน พิธีการทางศาสนาในกองทัพภาค ๔.๑๑.๑.๕ ตรวจ สอดส่องดูแลการปฏิบัติหน้าท่ีของ อนศุ าสนาจารย์ในหนว่ ยข้ึนตรงของกองทัพภาค ๔.๑๑.๑.๖ สอดส่อง ดูแลอนุศาสนาจารย์หน่วยข้ึนตรง กองทัพภาคในดา้ นจรรยาบรรณ

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๖๑ ๔.๑๑.๒ อนศุ าสนาจารย์หนว่ ยระดับกองพล ๔.๑๑.๒.๑ ให้คําแนะนําแก่ผู้บัญชาการกองพล และ ฝา่ ยอาํ นวยการในกิจการต่างๆ ที่เกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม ขวัญ ๔.๑๑.๒.๒ ชว่ ยเหลอื ผบู้ ัญชาการกองพลและฝ่ายอาํ นวยการ ในการปลูกฝงั ศลี ธรรมวัฒนธรรมแกท่ หาร ๔.๑๑.๒.๓ กํากับดูแลและประสานในเร่ืองการฝึกฝน เจ้าหนา้ ที่ทเี่ ก่ียวกบั อนุศาสนาจารย์ท่มี าปฏบิ ตั ิงานในกองพล ๔.๑๑.๒.๔ ติดต่อประสานงานกับหน่วยหรือองค์การทาง ศาสนาอนื่ ๆ ท่จี ะชว่ ยส่งเสริมศีลธรรมวฒั นธรรมอันดงี ามแก่ทหาร และอํานวยการศาสน พิธใี นกองพล ๔.๑๑.๒.๕ ติดต่อประสานงานกับกองบัญชาการหน่วยเหนือ หนว่ ยข้างเคียง และกบั อนุศาสนาจารยภ์ ายในหน่วย ตลอดจนตา่ งเหลา่ ทพั ๔.๑๑.๒.๖ อํานวยการในด้านขวัญกําลังใจ และศาสนพิธีแก่ นักโทษเชลยศกึ พลเรอื นทีถ่ กู กกั กนั และบุคคลพลัดถ่ิน ๔.๑๑.๒.๗ ตรวจ สอดส่องดูแลการปฏิบัติหน้าท่ีของ อนศุ าสนาจารย์ในหน่วยขน้ึ ตรงกองพล ๔.๑๑.๒.๘ สอดส่องดูแลอนุศาสนาจารย์หน่วยข้ึนตรงกอง พลในดา้ นจรรยาบรรณ ๔.๑๑.๓ อนุศาสนาจารย์หน่วยระดับมณฑลทหารบกและจังหวัด ทหารบก ๔.๑๑.๓.๑ ให้คําปรึกษาและข้อเสนอแนะแก่ผู้บังคับบัญชา และฝา่ ยอาํ นวยการเกีย่ วกับกิจการอนศุ าสนาจารย์ ๔.๑๑.๓.๒ อํานวยการ กํากับการและปฏิบัติในเรื่อง พธิ กี รรมทางศาสนา ท้งั ปวงตลอดจนการอบรมศีลธรรมวฒั นธรรมทหาร ๔.๑๑.๓.๓ ดําเนินการเก่ียวกับกิจกรรมทางศาสนา เพ่ือให้ ทหารมขี วัญดอี ย่เู สมอ ๔.๑๑.๓.๔ ปฏิบัติงานตามระเบียบแบบธรรมเนียมที่สาย วิทยาการอนุศาสนาจารย์กําหนด

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๖๒ ๔.๑๑.๓.๕ ปฏิบัติงานทางด้านสังคมจิตวิทยาเพื่อสนับสนุน ภารกจิ ของหนว่ ยและผ้บู งั คบั บญั ชา ๔.๑๑.๓.๖ ปฏบิ ัติงานทางธรุ การที่เกย่ี วข้อง ๔.๑๑.๔ อนุศาสนาจารย์หนว่ ยระดับกรม ๔.๑๑.๔.๑ ควบคุมตรวจตราในเรื่องเกี่ยวกับการบํารุงขวัญ และกําลังใจแก่ทหาร ๔.๑๑.๔.๒ อํานวยการทางศาสนพธิ ีของหนว่ ย ๔.๑๑.๔.๓ อบรมศลี ธรรมวัฒนธรรมแก่ทหาร ๔.๑๑.๔.๔ ให้คําแนะนําทางพิธีและศาสนาแก่ญาติของ ทหารทถ่ี ึงแกก่ รรม รวมท้งั การสรา้ งขวญั กาํ ลงั ใจแก่ญาติทหาร ๔.๑๑.๔.๕ ประสานงานทางศาสนาวัฒนธรรมของหน่วย กับ องคก์ ารทางศาสนาทว่ั ไป ๔.๑๑.๔.๖ ตรวจตรา ประสานงาน ในเร่ืองการอบรม ศีลธรรมวัฒนธรรมแก่ทหาร ๔.๑๑.๔.๗ ปฏบิ ตั งิ านธุรการท่เี กี่ยวข้อง หน้าท่ีและภารกิจของอนุศาสนาจารย์ประจําหน่วยระดับต่างๆ ตามข้อ ๔.๑๑ มีความแตกต่างกันในรายละเอียดและส่วนย่อย แต่หน้าท่ีตาม ชกท.๕๓๑๐ ทั้ง หน้าที่ท่วั ไปและหน้าที่เฉพาะ ย่อมไมแ่ ตกตา่ งกัน ๔.๑๒ ภารกิจและหนา้ ทอ่ี นุศาสนาจารย์ในสนาม ๔.๑๒.๑ เสนอแนะแก่หน่วย ให้จัดชุดส่ิงอุปกรณ์บํารุงขวัญและสิ่ง อุปกรณ์ท่ีใช้ประกอบ การบรรยายอบรมจิตใจทหาร และเป็นสิ่งอุปกรณ์ท่ีมีความคล่องตัว ในการเคลื่อนย้ายไปกบั หนว่ ยตามกรณี ๔.๑๒.๒ ทําบัญชีทหารแยกตามศาสนา เพ่ือสะดวกในการให้ คาํ แนะนาํ การนาํ ประกอบศาสนกิจ และการทําพิธีกรรมทางศาสนา ๔.๑๒.๓ จัดทําบัญชีทหาร ระบุยศ ช่ือ นามสกุล ภูมิลําเนา ของ ทหารท่ีถือศาสนาส่วนน้อยและแยกตามนิกาย ทั้งนี้ เพ่ือให้บริการทางศาสนาได้สะดวก ในชวี ิตประจําวนั และแม้ในยามทีม่ ีการสูญเสียกําลังพล

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๖๓ ๔.๑๒.๔ จัดทําบัญชี วัด สุเหร่า โรงสวด สุสาน โบสถ์ ศาสนสถาน และบุคลากรสําคัญของแต่ละศาสนาในพื้นที่ใกล้บริเวณที่ตั้งหน่วย เพื่อประสานในการ กระทําพธิ กี รรมทางศาสนาวัฒนธรรมประเพณี เม่ือจําเป็น ๔.๑๒.๕ ประสานการปฏิบัติร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับฝ่ายกําลังพล ทางด้านงานปกติ การบํารุงขวัญ และพิธีกรรม และใกล้ชิดกับฝ่ายกิจการพลเรือน (ถ้ามี) ทางดา้ นสังคมจติ วิทยา ๔.๑๒.๖ เสนอความเห็นแก่ผู้บังคับหน่วย ผู้บังคับบัญชา ในเรื่องการ อบรมศีลธรรม การอบรมจิตใจทหาร ขวัญกําลังใจ วัฒนธรรมประเพณี ตลอดจนให้ ทหารไดม้ โี อกาสปฏบิ ตั ศิ าสนกิจและไดร้ ับการบํารุงรักษาขวญั ตามสมควร ๔.๑๒.๗ เอาใจใส่ดูแลศาสนสถานภายในหน่วยให้มีความน่าศรัทธา เลอ่ื มใส ๔.๑๒.๘ หาโอกาสพบปะเยี่ยมทหารท่ีออกปฏิบัติงานนอกท่ีต้ัง ปลุกปลอบบํารุงขวัญและเสริมสร้างกําลังใจทหารป่วยเจ็บ หรือทหารที่ได้รับความ กระทบกระเทือนทางจิตใจเน่ืองจากการครํ่าเคร่งในการปฏิบัติหน้าที่ ให้กลับมีจิตใจรุก รบ อาจหาญ มีพลังใจพรอ้ ม ๔.๑๒.๙ เข้าร่วมกิจกรรมบรรเทาสาธารณภัยกับฝ่ายพลเรือนหรือ หนว่ ยในพ้นื ที่ เช่น กรณีช่วยเหลือผปู้ ระสบอุทกภัย วาตภยั และอคั คภี ยั เปน็ ตน้ ๔.๑๒.๑๐ ดําเนินการร่วมกับนายทหารฝ่ายการศพ ในกรณีทหาร เสยี ชวี ติ ๔.๑๒.๑๑ แสวงหาความร่วมมือจากบุคคลและองค์กรในท้องถิ่น เก่ียวกับการบํารุงขวญั ทหาร ๔.๑๒.๑๒ ศึกษาคําสอน พิธีกรรม ของศาสนาต่างๆ ให้เข้าใจเพ่ือ สะดวกในการให้คาํ แนะนาํ การนําปฏบิ ัตพิ ิธีกรรมทางศาสนาและประเพณี ๔.๑๒.๑๓ สังเกต จดบันทึก ทําบัญชีทหารท่ีมีพฤติกรรมล่อแหลมใน ด้านวินัย ความเชื่อฟัง การหมกมุ่นในส่ิงอบายมุข การมีลักษณะเฉ่ือยชา และเข้าใกล้ชิด กบั ผมู้ ีปัญหาดงั กล่าว ๔.๑๒.๑๔ ไมเ่ ป็นผ้เู กยี จครา้ น ท้อแท้ ทอ้ ถอย และฝกึ พลังจิตของตน เสมอ

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๖๔ ๔.๑๒.๑๕ หาโอกาสพบปะสนทนากับผ้บู งั คับหน่วยและผู้บังคับบัญชา เสมอ เพอ่ื รับทราบ ปญั หา เพ่ือนําไปสกู่ ารปฏบิ ัตภิ ารกิจหนา้ ทอี่ นุศาสนาจารย์ ๔.๑๒.๑๖ ต้องตระหนักว่า ในสนามกระทําการอบรมเป็นกลุ่มก้อน ไดน้ อ้ ย แตก่ ระทําการพบปะเย่ยี มเยียนได้มาก ๔.๑๒.๑๗ ประสานให้เกิดความเข้าใจ ขวัญ จริยธรรม ของกําลังพล ในสนาม และครอบครวั ของกาํ ลังพลนนั้ ๆ ๔.๑๒.๑๘ กรณีประกอบพิธีศพผู้เสียชีวิตในสนาม ณ วัดหรือศาสน สถานของศาสนาอื่นในพ้ืนที่การดําเนินการพิธีศพ ในการกล่าวสดุดีวีรกรรมขอให้เพ่ิม การกล่าวธรรมสังเวชท่เี ขียนโดยอนุศาสนาจารย์เข้าไปด้วย ๔.๑๒.๑๙ พิธีสําคัญในทางพระพุทธศาสนา ท่ีปฏิบัติในหน่วยใน ที่ตั้งปกติ เช่น พิธีวิสาขบูชา เป็นต้น แม้ในสนามอนุศาสนาจารย์สามารถเสนอแนะ และปรึกษาผู้บังคับบัญชาให้จัดขึ้นได้ท้ังในวัดใกล้หน่วย และภายในหน่วย ทั้งนี้ ยอ่ มข้ึนอยกู่ บั สถานการณ์ ๕. การสอบบรรจุอนุศาสนาจารย์ ๕.๑ การสอบบรรจุอนุศาสนาจารย์ กองทัพบกได้จัดให้มีการสอบคัดเลือกบุคคลพลเรือน ทหารกองหนุน เพื่อบรรจุเข้ารับราชการเป็นนายทหารสัญญาบัตรเป็นส่วนรวม ปีละ ๑ คร้ัง ตั้งแต่ปี ๒๕๕๔ เป็นต้นมา โดยมอบให้กรมยุทธศึกษาทหารบกเป็นหน่วยดําเนินการ ทั้งนี้รวมถึง การสอบคัดเลือกบุคคลพลเรือน ทหารกองหนุน เพ่ือบรรจุเข้ารับราชการเป็นนายทหาร สัญญาบตั รสายงานอนุศาสนาจารย์ ตามจํานวนโควตาที่ได้รับอนุมัติจากกองทัพบกเป็น ปๆี ไป ๕.๒ คุณสมบัติของผู้สมัครสอบคัดเลือกบรรจุเข้ารับราชการในสายวิทยาการ อนศุ าสนาจารย์ ๕.๒.๑ เป็นผูเ้ คยอุปสมบทเปน็ พระภกิ ษุในพระพทุ ธศาสนา ๕.๒.๒ วทิ ยฐานะ ๕.๒.๒.๑ เปรียญธรรม ๙ ประโยค

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๖๕ ๕.๒.๒.๒ ปริญญาพทุ ธศาสตรบัณฑติ (พธ.บ.) และเปรียญธรรม ๔ ประโยคขน้ึ ไป ๕.๒.๒.๓ ปริญญาศาสนศาสตรบัณฑิต (ศน.บ.) และเปรียญ ธรรม ๔ ประโยคขนึ้ ไป ๕.๒.๓ มสี ัญชาตไิ ทย และบดิ ามารดามสี ัญชาตไิ ทยโดยกาํ เนดิ ๕.๒.๔ มีอายุต้ังแต่ ๒๕ ปีบริบูรณ์ ถึง ๓๕ ปีบริบูรณ์ นับตาม พระราชบัญญัติรบั ราชการทหาร ๕.๒.๕ ไม่เคยมีประวัติเสียหายท้ังในระหว่างเป็นพระภิกษุ และ ลาสกิ ขามาแล้ว ๕.๒.๖ มีรา่ งกายสมบูรณ์ ไม่มีโรคขัดตอ่ การรบั ราชการทหาร ๕.๒.๗ มคี ณุ สมบัตเิ หมาะสมที่จะเป็น อศจ. และไม่ขัดต่อข้อบังคับทหาร ว่าดว้ ยขา้ ราชการทหารกลาโหมพลเรอื น ท่ี ๓ /๔๖๒๘ ลง ๑๗ ม.ิ ย. ๘๒ ๕.๒.๘ ต้องเปน็ ผู้ผา่ นการตรวจ๒เ๔ล๘อื๒กทหารมาแลว้ ๕.๒.๙ ผู้ที่ผ่านการตรวจเลือกทหารแล้ว ถ้าผลการตรวจเลือกระบุว่า ไม่ได้ขนาด จะรับเฉพาะผู้ที่มีความสูงตั้งแต่ ๑๖๐ เซนติเมตรข้ึนไป และมีขนาดรอบอก ขณะหายใจออก ๗๖ เซนติเมตร ขณะหายใจเข้า ๗๙ เซนติเมตร แต่ถ้าผลการตรวจ เลือกระบวุ ่าเป็นคนจําพวกท่ี ๒ ไมร่ ับสมัคร ๕.๒.๑๐ มีความเลอ่ื มใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตย ไมม่ ปี ระวัติ บกพร่องทางศลี ธรรม มคี วามประพฤตไิ มเ่ ปน็ ทีร่ งั เกียจของสาธชุ น ๕.๒.๑๑ คุณสมบัตเิ ฉพาะบุคคลชาย ๕.๒.๑๑.๑ เป็นทหารกองเกิน อายุระหว่าง ๒๒ ปี ถึง ๒๙ ปี โดยไม่รับสมัครผู้ที่จะรับการตรวจเลือกเข้าเป็นทหารกองประจําการ และ/หรือผู้ท่ีขอ ผอ่ นผนั เขา้ รบั การตรวจเลือกเป็นทหารกองประจาํ การในปที ี่สมคั รสอบ ๕.๒.๑๑.๒ เปน็ ทหารกองหนุน อายุไมต่ ่าํ กวา่ ๑๘ ปี ถึง ๓๕ ปี ๕.๒.๑๑.๓ มีอวัยวะ รูปร่าง ลักษณะท่าทาง และขนาด ร่างกายเหมาะสมแก่การเป็นทหาร โดยต้องมีความสูงอย่างต่ํา ๑๖๐ ซม. รอบอก ๗๖/๗๙ ซม. โดยจะพิจารณาจากผลการวัดขนาดร่างกายท่ีระบุใน แบบ สด.๔๓ หรือ จากผลการวัดขนาดร่างกายในวันตรวจโรค

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๖๖ ๕.๒.๑๒ คุณสมบตั ิทว่ั ไป (คุณสมบัตเิ พ่มิ เตมิ ) ๕.๒.๑๒.๑ เป็นผู้มีคุณสมบัติครบถ้วนในการขอแต่งตั้งยศเป็น นายทหารสัญญาบัตร ตามข้อบังคับกระทรวงกลาโหม ว่าด้วยการแต่งต้ังยศทหาร พ.ศ. ๒๕๐๗ และฉบับทแี่ ก้ไขทุกฉบับ ๕.๒.๑๒.๒ เป็นผู้มีคุณสมบัติทั่วไปตามพระราชบัญญัติรับ ราชการทหาร พ.ศ.๒๔๙๗ ๕.๒.๑๒.๓ มีสัญชาติไทย และบิดามารดามีสัญชาติไทยโดย กําเนิด ๕.๒.๑๒.๔ ไม่เป็นโรคท่ีขัดต่อการบรรจุเข้าเป็นนายทหาร สัญญาบัตร ๕.๒.๑๒.๕ ไม่เป็นผู้บกพร่องในศีลธรรมไม่เป็นผู้ที่มีหน้ีสินล้น พ้นตัว หรอื เป็นบคุ คลล้มละลายตามคาํ พพิ ากษา ๕.๒.๑๒.๖ ไมอ่ ยู่ในสมณเพศ ๕.๒.๑๒.๗ ไม่เป็นผู้อยู่ในระหว่างเป็นจําเลยในคดีอาญา และ ไม่เคยต้องโทษจําคุกตามคําพิพากษาของศาลในคดีอาญายกเว้นแต่ความผิดฐาน ประมาทหรือลหโุ ทษ ๕.๒.๑๒.๘ ไม่เป็นผู้อยู่ในระหว่างพักราชการเน่ืองจากความผิด หรอื หนีราชการ ๕.๒.๑๒.๙ ไม่เป็นผู้เคยถูกปลดเพราะความผิดหรือถูกไล่ออก จากราชการ ๕.๒.๑๒.๑๐ ไม่เคยทุจริตในการสมัครสอบหรือการสอบ คดั เลือกเข้าเป็นนกั เรยี นทหารมากอ่ น ๕.๒.๑๒.๑๑ ไม่เป็นผู้เสพยาเสพติด หรือสารเคมีเสพติดให้โทษ หรือมปี ระวัตคิ ดอี าญาขอ้ หาเกีย่ วกบั ยาเสพติด ๕.๓ การสอบภาควชิ าการ (รอบแรก) วิชาที่สอบ ๕.๓.๑ วิชาพื้นฐาน ประกอบด้วย ภาษาอังกฤษ, ภาษาไทย และ ความรทู้ ัว่ ไป ๕.๓.๒ วิชาพื้นฐานพระพทุ ธศาสนา

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๖๗ ๕.๔ การสอบรอบที่สอง ๕.๔.๑ การตรวจโรค ๕.๔.๒ การทดสอบดา้ นจิตเวช ๕.๔.๓ การทดสอบสมรรถภาพร่างกาย ๕.๔.๔ การทดสอบภาควิชาเฉพาะตามคุณวฒุ ิ (เชงิ ลึก) ๕.๔.๕ การสอบสัมภาษณ์ (ปากเปล่า) ๖. งานในความรบั ผิดชอบของอนศุ าสนาจารย์ อนุศาสนาจารย์ มีความรับผิดชอบงานในด้านปฏิบัติการ และอํานวยการ เก่ียวกับด้านศาสนา ขวัญและกําลังใจของกําลังพลในกองทัพ รวมทั้งการอบรมด้าน คณุ ธรรมจริยธรรม วฒั นธรรมประเพณี และงานธุรการต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง ตามที่กําหนด ไว้ในหมายเลขชํานาญการทางทหาร, การจัดและการกําหนดหน้าที่ของบุคคลและส่วน ราชการของกรมยุทธศึกษาทหารบก และระเบียบปฏิบัติต่างๆ ที่กองอนุศาสนาจารย์ฯ กําหนดข้นึ ๗. การบรรจุอนศุ าสนาจารย์ในภารกจิ พเิ ศษ อนุศาสนาจารย์ อาจได้รับการบรรจุในตําแหน่งอื่นๆ เป็นการช่ัวคราว ซ่ึงตําแหน่งดังกล่าวนั้น ต้องไม่ขัดกับการดํารงตนอยู่ในภาวะอนุศาสนาจารย์โดยผู้บังคับ หน่วยจะเป็นผพู้ จิ ารณาในการบรรจุ

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๖๘ บทท่ี ๔ สัมพนั ธภาพของอนุศาสนาจารย์ ๑. ความเก่ียวข้องสัมพนั ธ์กบั ผ้บู งั คับหน่วย ก. อนุศาสนาจารย์ในฐานะฝ่ายอํานวยการพิเศษของผู้บังคับหน่วยจะต้องมี ความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับผู้บังคับหน่วย เพื่อเสนอแนะในเรื่องที่เกี่ยวกับศาสนา วัฒนธรรมประเพณี ตลอดจน ข้อปฏิบัติเพื่อเสริมสร้างขวัญและกําลังใจของกําลังพล และในฐานะผู้ใต้บังคับบัญชา อนุศาสนาจารย์จะต้องรับทราบแนวนโยบายของ ผู้บังคับบัญชา ตลอดจนคําช้ีแจงต่างๆ ท่ีเอ้ืออํานวยในการปฏิบัติหน้าท่ี แล้วนําไป ดาํ เนินการจนเกิดผลดีตอ่ หน่วยและกําลงั พลของหนว่ ยต่อไป ข. รส. ๑๐๑-๔ ได้กําหนดถึงความสัมพันธ์ของอนุศาสนาจารย์ ในฐานะ ฝ่ายอาํ นวยการตอ่ ผ้บู ังคับหนว่ ยรองในลักษณะ ดังนี้ “ หากปรากฏพบว่า คําสั่งของผู้บังคับบัญชาหน่วยเหนือ ก่อให้เกิดความ เข้าใจที่ผิดพลาดอนุศาสนาจารย์จะช่วยประสาน เสริมความเข้าใจแก่ผู้บังคับหน่วยรอง หรือฝ่ายอํานวยการของผู้บังคับบัญชา ในลักษณะให้ข้อมูลเพ่ิมเติมท่ีจําเป็นเพื่อช่วยให้ผู้ บังคบั หนว่ ยรอง เกิดความเขา้ ใจที่ถูกตอ้ งในความตอ้ งการของผูบ้ งั คับหนว่ ยเหนือ ” ๒. ความสมั พันธก์ ับฝา่ ยอาํ นวยการ หน้าท่ีของอนุศาสนาจารย์ ในฐานะที่เป็นฝ่ายอํานวยการพิเศษ จะต้อง ปรึกษาหารือกับฝ่ายอํานวยการอ่ืนๆ เพื่อรับทราบข้อมูลทางเทคนิค ข่าวสาร และ แนวทางปฏิบัติที่ได้วางไว้ ตลอดจนหาแนวทางให้ข้อคิดทางด้านศาสนา ความรู้สึก รับผิดชอบ และขวัญกําลังใจ ด้วยสัมพันธภาพฉันท์มิตร โดยจะไม่เข้าไปก้าวก่ายในเร่ือง ที่อยูใ่ นความรับผิดชอบของฝ่ายอํานวยการอืน่ ๓. ความสมั พนั ธ์กบั กําลังพลของหนว่ ย ก.อนุศาสนาจารย์ จะต้องอยู่ในฐานะท่ีกําลังพลทุกระดับ เข้าพบปะ ปรึกษาหารือขอรับคําแนะนําได้โดยง่าย โดยคงฐานะความเป็นผู้นําทางจิตวิญญาณ, การยอมรับฟังข้อคิดเห็น, ความอ่อนน้อมถ่อมตน, ความสงบเยือกเย็นหนักแน่นมั่นคง และเป็นทยี่ อมรบั ของกําลังพลในด้านความเสียสละ, ความซอื่ สัตย,์ ความอดทน

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๖๙ ข. อนุศาสนาจารย์ จะต้องหมั่นออกพบปะกําลังพลอยู่เสมอ ณ สถานท่ี ต่างๆ เช่น โรงเล้ียง,โรงนอน, ห้องฝึกฝน, ห้องพักผ่อน, พื้นที่ดําเนินการยุทธ ท้ังในยาม ปกติ และยามสงคราม ๔. ความสัมพนั ธก์ ับครอบครวั ของกาํ ลังพล อนุศาสนาจารย์ จะต้องหมั่นเยี่ยมเยียนครอบครัวของกําลังพลเพื่อให้การ ดูแลและให้คําปรึกษาหารือ, ส่งเสริมให้เข้าร่วมกิจกรรมทางด้านศาสนาวัฒนธรรม ประเพณี และชว่ ยแกป้ ญั หาทางด้านจิตใจ ๕. ความสัมพนั ธ์ระหว่างอนศุ าสนาจารย์ด้วยกันเอง ความสัมพันธ์ของอนุศาสนาจารย์ระหว่างกันและกัน จะต้องอยู่บนพื้นฐาน ในความเข้าใจซ่ึงกันและกัน, มีความเคารพกัน, อุทิศตนเพื่อส่วนรวม และปฏิบัติพิธี ต่างๆ อันก่อให้เกิดขวัญกําลังใจแก่กําลังพลและครอบครัว ตามความเหมาะสมแห่ง ความสมั พนั ธ์ในด้านต่างๆ คอื ก. ความสัมพนั ธใ์ นฐานะผู้ร่วมสายวิทยาการเดียวกัน จึงต้องมีความเคารพ กันตามลําดับอาวุโส เช่ือฟังและปฏิบัติตามระเบียบต่างๆ ที่สายวิทยาการกําหนดขึ้น เหมอื นๆ กนั ข. ความสัมพันธ์ในฐานะผู้มีจรรยาบรรณเดียวกัน ต้องประพฤติตนอยู่ใน จรรยาบรรณของอนุศาสนาจารย์อย่างเคร่งครัด ไม่ประพฤติตนให้เป็นที่รังเกียจของหมู่ คณะ ค. ความสัมพันธ์ในฐานะผู้มีบทบาทในการพัฒนาจิตรวมท้ังขวัญ กําลังใจ ของกําลังพลเช่นเดียวกัน จึงต้องมีความหนักแน่นในด้านความรู้เก่ียวกับศาสนา วัฒนธรรมประเพณี และปฏบิ ัติพธิ กี ารตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องเชน่ เดียวกนั แบบธรรมเนียมทางสังคม เป็นความจําเป็นท่ีอนุศาสนาจารย์จะต้องเรียนรู้แบบธรรมเนียมต่างๆ ของ สังคมและปฏิบัติตามแบบธรรมเนียมเหล่าน้ันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม เพราะแบบธรรม เนียมเหล่าน้ันมีความสัมพันธ์กับวินัยและขวัญกําลังใจของกําลังพลเป็นอย่างมาก อาทิ การแสดงความเคารพ, ความอ่อนน้อม, การให้เกียรติกันและกัน อนุศาสนาจารย์ซ่ึงมี บทบาทเก่ยี วกับศาสนาวฒั นธรรมประเพณที ัง้ ในสังคมทหาร, สังคมใกล้เคียงหน่วยทหาร

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๗๐ และสังคมทั่วไป จึงต้องเรียนรู้และปฏิบัติให้ถูกต้อง จนเป็นที่ยอมรับในฐานะที่เป็น ทหารที่ดีของกองทพั และเป็นพลเมอื งท่ีดีของชาติ ความสาํ คญั ในฐานะพทุ ธมามกะ ๑. สถานภาพอนุศาสนาจารยใ์ นกองทัพ ในกองทัพ อนุศาสนาจารย์จะเป็นผู้แทนของพระพุทธศาสนาที่มีความเช่ือมั่น ในหลักคําสอนของพระพุทธเจ้า เป็นผู้เคร่งครัดในการปฏิบัติต่อหลักคําสอนนั้นๆ รวมทั้ง สามารถปฏิบัติพิธีกรรมต่างๆ ได้อย่างถูกต้องท้ังในศาสนสถานประจําหน่วย, สถานที่ ที่กําหนดให้มีการจัดพิธีเป็นการเฉพาะกิจ และตามเคหสถานของกําลังพลและ ครอบครัว ๒. การปฏบิ ัตหิ น้าทีใ่ นฐานะพุทธมามกะ กองทัพบกได้กําหนดให้อนุศาสนาจารย์เป็นเจ้าหน้าที่หลักในพิธีการต่างๆ ทางพระพุทธศาสนา ดังน้ัน อนุศาสนาจารย์ จึงต้องเสนอแนวทางปฏิบัติที่ถูกต้องให้ กาํ ลังพลทราบ และรวบรวมข้นึ เพือ่ ใช้ในกองทพั อนศุ าสนาจารย์จะต้องนํากําลังพลให้มี ความใกล้ชิดและแนบแน่นกับพระพุทธศาสนา ด้วยการสอนอบรมหรือจัดกิจกรรม ต่างๆ เช่น การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ, การประกอบพิธีเวียนเทียนในวันสําคัญทาง พระพทุ ธศาสนา, การพฒั นาวัด เป็นต้น ๓. กิจกรรมทางด้านพิธกี รรมทางศาสนา ก. เพ่ือสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีต่อกองทัพ อนุศาสนาจารย์ ควรเข้าร่วมประชุมเก่ียวกับด้านจริยธรรม, วัฒนธรรมและประเพณีที่วัดหรือองค์กรการ กุศลต่างๆ จัดข้ึน และรวบรวมแนวทางท่ีได้จากการประชุมน้ันมาปฏิบัติในหน่วยเพื่อ ประโยชนแ์ กก่ าํ ลงั พลตอ่ ไป ข. เพื่อรักษาสภาพจิตใจให้ม่ันคงต่อภารกิจความศรัทธาท่ีมีต่อ พระพุทธศาสนา และ ความบรสิ ุทธ์ิแห่งจิตใจให้มากขึ้น อนุศาสนาจารย์จึงต้องหม่ันเข้า ร่วมปฏิบัติธรรมกับวัดหรือสถานท่ีปฏิบัติธรรมที่เหมาะสม โดยขออนุญาตจากผู้บังคับ หนว่ ยเปน็ คราวๆ ไป

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๗๑ ค. เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลทางศาสนา อนุศาสนาจารย์จะต้องหาโอกาสเข้า ร่วมกิจกรรมกับ อนุศาสนาจารย์ต่างเหล่าทัพและอนุศาสนาจารย์ของศาสนาอื่นด้วย แต่การเข้าร่วมกิจกรรมน้ันต้องไม่ละเมิดกฎแห่งการรักษาความปลอดภัย และความลับ ของทางราชการ ความสัมพนั ธ์กบั ชุมชน ๑. ความสัมพันธ์กับชุมชนและบคุ คลที่อยูใ่ นชุมชนนนั้ ๆ อนุศาสนาจารย์ ควรขออนุญาตผู้บังคับหน่วย เพื่อพบปะกับผู้แทนทุก ศาสนา และผู้นําชุมชนต่างๆ ในละแวกใกล้เคียง ความสัมพันธ์ท่ีแน่นแฟ้นดังกล่าวจะ ช่วยให้การดําเนินงานทางศาสนาของหน่วยประสบความสําเร็จ และยังช่วยให้การ พัฒนาความสัมพันธก์ บั ชุมชนเป็นไปอยา่ งดียิง่ อีกดว้ ย ชุมชนดงั กลา่ ว เชน่ ก. องค์การทหารผ่านศึกหรอื ทหารกองหนนุ ข. สมาคมผู้ปกครอง, สมาคมทางด้านวิชาชีพ, สมาคมทางด้านเกษตร อตุ สาหกรรม ค. หน่วยงานสวสั ดกิ ารและสังคมสงเคราะห์ ง. องค์การศาสนา, องค์การกุศลสาธารณะ เช่น พุทธสมาคม, สภายวุ พุทธิกสมาคม, สมาคมทางดา้ นการสงั คมสงเคราะห์ เป็นตน้ ๒. สาธารณสถาน การใชส้ อ่ื ในการสมั พันธ์กับชุมชนได้อย่างเหมาะสม จะก่อให้เกิดประโยชน์ ทั้งชุมชนและกองทัพเอง อนุศาสนาจารย์จึงควรส่งเสริมให้มีการจัดกิจกรรมต่างๆ ซ่ึงอยู่ ในความสนใจของชุมชนน้ันๆ เช่น การจัดนิทรรศการในวันสําคัญทางศาสนา หรือของ ชาติ โดยมีจุดมุ่งหมายเพ่ือประชาสัมพันธ์งานของกองทัพและของหน่วย เพื่อให้เกิด ภาพลกั ษณ์และความเข้าใจทด่ี ีตอ่ กันเป็นส่วนรวม

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๗๒ บทที่ ๕ งานในความรบั ผดิ ชอบของอนุศาสนาจารย์ ...................... การอบรมศลี ธรรมวฒั นธรรมทหาร ๑. ภารกิจและบทบาทอนุศาสนาจารย์ตามระเบียบกรมยุทธศึกษาทหารบก ว่าด้วยการ อบรมศีลธรรมวฒั นธรรมทหาร (ยามปกติ) พ.ศ. ๒๕๔๙ ตามระเบียบฯ ดังกลา่ ว กําหนดใหห้ นว่ ยและอนุศาสนาจารย์ปฏบิ ัติดงั นี้ ๑.๑ อนุศาสนาจารยต์ ้องให้การบรรยายอบรมแก่บคุ คล ดงั น้ี ๑.๑.๑ นายทหารสัญญาบัตร และขา้ ราชการกลาโหมพลเรอื นชน้ั สัญญาบัตร ๑.๑.๒ นายทหารประทวน ข้าราชการกลาโหมพลเรือนชั้นประทวน และลูกจา้ ง ๑.๑.๓ พลทหารกองประจําการ พลอาสาสมคั ร และอาสาสมัครทหารพราน ๑.๑.๔ ผตู้ อ้ งขงั ๑.๑.๕ ครอบครัว การจัดการอบรมแต่ละคร้ัง หน่วยสามารถจัดการอบรมแยกประเภท หรอื รวมการก็ได้ ตามความเหมาะสม ๑.๒ ใหห้ นว่ ยจดั การอบรมแก่บุคคล ตามข้อ ๑ อย่างนอ้ ยเดือนละ ๑ ครง้ั ๑.๓ การออกคําส่ังกําหนดการอบรมศลี ธรรมวฒั นธรรมทหาร ให้ทําเปน็ รายเดอื น ๑.๔ ในการจดั การอบรม ใหด้ าํ เนนิ การดังนี้ ๑.๔.๑ ประธานในที่ประชุมจุดธูปเทียน ณ ที่บูชาแล้วกราบพระรัตนตรัย ด้วยเบญจางคประดิษฐ์ ๓ คร้ัง เคารพธงชาติและพระบรมฉายาลักษณ์ เสร็จแล้วกลับมา ยืนประนมมอื ณ ท่ขี องประธาน ๑.๔.๒ อนุศาสนาจารย์ นํากล่าวคํานมัสการพระรัตนตรัย จบแล้วกราบ พระรัตนตรยั เคารพธงชาตแิ ละพระบรมฉายาลกั ษณ์ และดาํ เนินการอบรม ๑.๔.๓ เมื่ออนุศาสนาจารย์ทําการอบรมจบแล้ว นํากล่าวคําแผ่เมตตา กราบพระรัตนตรัย เคารพธงชาตแิ ละพระบรมฉายาลักษณ์ เสรจ็ แลว้ กลับที่เดมิ

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๗๓ ๑.๔.๔ ประธานฯ กราบพระรัตนตรัย เคารพธงชาติและพระบรมฉายา ลกั ษณ์ เป็นอนั เสร็จการอบรม ๑.๕ การปฏิบตั ิของผ้รู บั การอบรม ๑.๕.๑ ตลอดเวลานับต้ังแต่ประธานฯ เร่ิมจุดธูปเทียนและกราบ พระรัตนตรยั ใหผ้ ้รู ับการอบรมทั้งหมดยนื ประนมมอื ราํ ลกึ ถงึ คุณพระรตั นตรัย และให้ลด มือลงเม่อื ประธานฯ เคารพธงชาติ และพระบรมฉายาลกั ษณ์ ๑.๕.๒ ตลอดเวลานับตั้งแต่อนุศาสนาจารย์นํากล่าวคํานมัสการพระ รัตนตรัย และกราบพระรัตนตรัย ให้ผู้รับการอบรมทั้งหมดยืนประนมมือ ให้ลดมือลง เมอื่ อนุศาสนาจารย์เคารพธงชาตแิ ละพระบรมฉายาลักษณ์ ในกรณีการอบรมพลทหาร เม่ือจะเร่ิมการอบรม ให้อนุศาสนาจารย์ส่ัง พลทหาร คนใดคนหนึ่งในที่ประชุมน้ันเป็นผู้แทนจุดธูปเทียนและกราบพระรัตนตรัย เคารพธงชาตแิ ละพระบรมฉายาลกั ษณ์ ๑.๖ บทนมัสการพระรัตนตรัยและบทแผ่เมตตาให้ใช้ตาม ผนวก ตามระเบียบฯ ขา้ งตน้ ๑.๗ ทุกครั้งที่มีการอบรม ให้หน่วยรับการอบรมส่งยอดผู้เข้ารับการอบรมแก่ อนศุ าสนาจารย์ ๑.๘ ผทู้ าํ การอบรม ๑.๘.๑ อนุศาสนาจารย์ ๑.๘.๒ ผชู้ ว่ ยอนุศาสนาจารย์ ในกรณีอบรมพลทหาร ๑.๘.๓ พระสงฆ์ หรือผู้ทรงคุณวุฒิ การอบรมเป็นหน้าที่ของอนุศาสนาจารย์ แต่หาก อนุศาสนาจารย์เห็นเป็นการสมควรจะนิมนต์พระสงฆ์ หรือเชิญผู้ทรงคุณวุฒิทําการ อบรมแทนก็ได้ แต่ต้องได้รับความเห็นชอบจากผู้บังคับบัญชาและต้องอบรมเฉพาะเรื่อง ท่เี กย่ี วกับศีลธรรมและวฒั นธรรมเทา่ น้นั ๑.๙ ในที่ต้ังหน่วยทหารแห่งหนึ่ง ให้มีสถานท่ีอบรมไว้เป็นส่วนรวม ๑ แห่ง มี ความสงบและเหมาะสมที่จะใช้อบรมศีลธรรมทางศาสนา โดยจัดให้มีอุปกรณ์ท่ีจําเป็น ดังนี้

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๗๔ ๑.๙.๑ โต๊ะหมู่บูชาพร้อมด้วยพระพุทธรูป แจกัน เชิงเทียน กระถาง ธปู ธงชาติ และพระบรมฉายาลักษณ์ รวมเป็น ๑ ชดุ ขนาดพอเหมาะกับสถานท่ี ๑.๙.๒ แท่นสําหรับยืนบรรยาย และเคร่ืองอุปกรณ์การบรรยายตาม ความเหมาะสม ๑.๙.๓ เก้าอ้ี หรือม้านั่ง สาํ หรบั ผู้ฟังการบรรยาย ๑.๙.๔ อุปกรณ์อ่ืนๆ ตามความจาํ เปน็ สถานที่อบรมดังกล่าวและการจัดสถานที่อบรมอยู่ในความควบคุมของ หน่วยหรืออนุศาสนาจารย์ประจําหน่วย และหน่วยท่ีตั้งอยู่ในบริเวณเดียวกัน อาจให้ ผู้รับการอบรมไปรบั การอบรมในสถานท่เี ดยี วกันได้ ๑.๑๐ การปฏบิ ตั ใิ นกรณีพิเศษ ๑.๑๐.๑ เมื่อผู้บังคับบัญชาหน่วยใดเห็นว่าทหารคนใดมีความ ประพฤตินิสยั ใจคอเป็นไปในทางอาจก่อให้เกิดความเส่ือมเสียแก่ราชการ แก่ตนเอง และ ครอบครัวของบุคคลผู้นั้น หากอนุศาสนาจารย์ได้ช่วยแก้ปัญหาทางจิตใจให้แล้วจะเป็น ผลดี ให้ส่งตัวไปให้อนุศาสนาจารย์ ให้การแนะนําทางใจ เป็นรายบุคคล หรือส่ง อนุศาสนาจารย์ไปพบปะเย่ียมเยียน แล้วแต่ความเหมาะสม ในการให้คําแนะนําทางใจ นั้น เมื่ออนุศาสนาจารย์ได้ทราบความผิดพลาดหรือความบกพร่องใดๆ ของผู้รับ การ อบรมแลว้ จะตอ้ งรกั ษาไวเ้ ปน็ ความลับส่วนบคุ คล ๑.๑๐.๒ หากมีทหารหรือครอบครัวประสบเคราะห์กรรม ต้องโทษ เจ็บป่วยหรือเสียชีวิต อนุศาสนาจารย์ควรไปเย่ียมเยียนผู้น้ัน และกล่าวปลุก ปลอบบํารุงขวญั หรอื ใหค้ ําแนะนาํ ตามสมควร ในกรณีที่ทหารต้องประสบอุปัทวเหตุบาดเจ็บหรือเสียชีวิต หากมีอนุศาสนาจารย์อยู่ในท่ีไม่ห่างไกลเกินไป ผู้บังคับบัญชาของผู้ได้รับเคราะห์กรรมน้ัน ควรจะได้ติดต่อให้อนุศาสนาจารย์ทราบ เพ่ืออนุศาสนาจารย์จะได้ให้ความช่วยเหลือ ทางด้านขวัญและจิตใจ ในการเย่ียมเยียนเพ่ือบํารุงขวัญ และให้คําแนะนําดังกล่าว อนุศาสนาจารย์อาจส่งหนงั สอื ไปแทนตนก็ได้ ๑.๑๐.๓ เพื่อผลการอบรมทางจิตใจให้หน่วยอํานวยความ สะดวกแก่อนุศาสนาจารย์ทําการพบปะเย่ียมเยียนทหารได้ตลอดเวลา และหากทหาร ประสงค์จะพบปะกับอนุศาสนาจารย์ เป็นการส่วนตัว ก็ให้อํานวยความสะดวกด้วย

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๗๕ ผู้บังคับบัญชาพึงเข้าใจว่า อนุศาสนาจารย์คือผู้ท่ีจะให้ความช่วยเหลือแก่ตนในการ ปกครองทหาร มิใช่ผคู้ อยจับผิด ๑.๑๐.๔ บุคคลพลเรือนที่พํานักอยู่ในหน่วยทหาร หากผู้บังคับบัญชาหน่วยน้ัน เห็นเป็นการสมควรจะจัดให้ได้รับการอบรมจาก อนศุ าสนาจารยเ์ ป็นสว่ นรวม กส็ ามารถดําเนนิ การได้ ๑.๑๐.๕ การอบรมนายทหารสัญญาบัตร นายทหารประทวน พลทหาร ลูกจ้าง และบคุ คลอ่นื ๆ หากผู้บงั คบั บัญชาหน่วยน้ันประสงค์จะให้อนุศาสนาจารย์ ช่วยอบรมช้ีแจงในเรื่องใดเป็นกรณีพิเศษ สามารถให้อนุศาสนาจารย์รับพิจารณาอบรมได้ ถ้าไม่ผิดศลี ธรรม ๑.๑๑ การอบรมหมายถึง ๑.๑๑.๑ การบรรยาย ๑.๑๑.๒ การพบปะเยย่ี มเยยี น ๑.๑๑.๓ การแนะนํา ๑.๑๑.๔ การให้การศึกษา ๑.๑๒ การส่งยอดผเู้ ขา้ รบั ฟงั การบรรยาย ๑.๑๒.๑ หน่วยและส่วนราชการที่ส่งกําลังพลเข้าฟังการ บรรยายอบรม มอบให้ ผู้ควบคมุ ส่งยอดให้แกอ่ นศุ าสนาจารย์เมอื่ ไปถึงสถานทอี่ บรม ๑ . ๑ ๒ . ๒ ก า ร ส่ ง ย อ ด ใ ช้ ใ บ ส่ ง ย อ ด แ บ บ ใ บ ส่ ง ย อ ด ทบ.๓๔๑ - ๐๐๒ โดยลงยอดเต็ม และยอดรับการอบรมของกําลังพลที่เข้าฟังการ บรรยายอบรมด้วยทุกคร้ัง เพื่อสะดวกในการคิดเป็นร้อยละ เมื่อรายงานผู้บังคับบัญชา และหน่วยเหนอื ๑.๑๒.๓ ยอดเต็มของผู้เข้าฟังการบรรยายอบรม หมายถึงยอด กาํ ลังพลประจําวนั มไิ ด้หมายถงึ ยอดบรรจจุ รงิ ๑.๑๓ การบันทกึ เร่อื งท่ีอบรม ๑.๑๓.๑ อนุศาสนาจารย์ผู้อบรม ต้องบันทึกเรื่องที่อบรมแต่ละ ครัง้ และความเห็น ลงในสมุด ทบ.๓๔๑ - ๐๐๓ ด้วยทกุ ครั้ง ๑.๑๓.๒ กรณีท่ีเชิญวิทยากรภายนอกมาบรรยาย หรือนิมนต์ พระสงฆแ์ สดงธรรมหรือบรรยายจะขอให้วิทยากรและพระสงฆ์บันทึกเรื่องและความเห็น

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๗๖ ด้วยตนเอง หรืออนุศาสนาจารย์ จะบันทึกเร่ืองและความเห็นลงในสมุด ทบ.๓๔๑ - ๐๐๓ ให้ก็ได้ ๑.๑๔ การแสดงธรรม การบรรยายของพระสงฆ์ ๑.๑๔.๑ อนุศาสนาจารย์จะนําผู้ฟังการบรรยายอบรม รับศีล ก่อนการฟังบรรยายและให้รับพรเมื่อประธานได้ถวายเคร่ืองไทยธรรมแล้วก็ได้ หรือจะ ให้ฟงั การบรรยายโดยไม่รบั ศีลกไ็ ด้ขนึ้ อยู่กับสถานการณ์ท่ีเหมาะสม ๑.๑๔.๒ กรณีพระสงฆ์แสดงธรรมตามรูปแบบ จะต้องมีการรับศีล มีการอาราธนาธรรม ตามแบบของการแสดงธรรม ๒. ภารกิจและบทบาทอนุศาสนาจารย์ตามระเบียบ ยศ.ทบ. ว่าด้วยการอบรมศีลธรรม วัฒนธรรมทหาร (ยามสงคราม) พ.ศ. ๒๕๐๕ และบทบาทของหนว่ ยท่ีเก่ียวข้อง ๒.๑ ในทตี่ ้งั หนว่ ยนนั้ ๆ จดั ใหม้ สี ง่ิ อปุ กรณท์ เี่ ก่ียวข้องกับการอบรม คอื ๒.๑.๑ เต็นท์ ๒.๑.๒ พระพทุ ธรปู ขนาดหน้าตักไมเ่ ลก็ กว่า ๕ นิว้ ๒.๑.๓ ธงชาติและพระบรมฉายาลักษณ์ ๒.๑.๔ แจกนั ดอกไม้ เชิงเทียน กระถางธปู ๒.๒ ความมุง่ หมายในการอบรมยามสงคราม ๒.๒.๑ ให้ทหารมีนํ้าใจเสียสละ พร้อมที่จะทําการสู้รบเพ่ือรักษา ประเทศชาติ ศาสนาและพระมหากษตั ริย์ ๒.๒.๒ ให้ทหารมีขวัญดี เคร่งครัดในระเบียบวินัย เช่ือถือ เชื่อมั่น ในรัฐบาลและผ้บู ังคบั บัญชาของตน ๒.๒.๓ ให้ทหารมีศีลธรรมวัฒนธรรม สมานสามัคคีระหว่างหน่วย ระหวา่ งบคุ คลและระหว่างทหารกับประชาชน ๒.๒.๔ ให้ทหารมีความองอาจกล้าหาญ เสียสละและไม่ประมาทในการ ปฏบิ ัติหน้าท่ี ๒.๒.๕ ให้รู้จักปลูกความนยิ มทหารในหมูป่ ระชาชนในด้านจรยิ ธรรม ๒.๓ หนา้ ที่และบทบาทของกรมยทุ ธศึกษาทหารบก ๒.๓.๑ สนับสนุนหน่วยที่ไม่มีอนุศาสนาจารย์ให้ได้รับการอบรมศีลธรรม วฒั นธรรม

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๗๗ ๒.๓.๒ สอดส่อง ตรวจ ให้คําแนะนําแก่หน่วยในปัญหาเร่ืองขวัญ กาํ ลงั ใจและศลี ธรรม ๒.๓.๓ สรปุ รายงานของหนว่ ย เสนอกองทพั บกเปน็ ครงั้ คราว ๒.๔ หนา้ ทแี่ ละบทบาทหนว่ ยข้นึ ตรงกองทัพบกทีม่ อี นุศาสนาจารย์ ๒.๔.๑ จัดอนุศาสนาจารย์อบรมจิตใจทหาร นําประกอบพิธีทางศาสนา พบปะ เยีย่ มเยียน เปน็ รายหนว่ ย หรือเปน็ บุคคลตามแต่กรณี ๒.๔.๒ จัดให้มีการประชุมฟังการบรรยายอบรมจากอนุศาสนาจารย์ เป็นครง้ั คราว ๒.๔.๓ ถ้าเคลื่อนหน่วยเข้าไปใกล้หน่วยที่มีอนุศาสนาจารย์ประจํา ทํางานอยู่ ให้หาโอกาสพบปะกับผู้บังคับหน่วยและอนุศาสนาจารย์ของหน่วยน้ัน เพ่ือแสวงหาการบรกิ ารทางศาสนา, ศาสนสถานและทางจิตใจ ๒.๔.๔ ถ้าส่งทหารไปปฏิบัติการนอกที่ตั้ง ตั้งแต่ ๑ หมวดข้ึนไป ควรส่ง อนศุ าสนาจารย์ ของหนว่ ยไปเย่ยี มและให้การอบรม ๒.๔.๕ ให้ความช่วยเหลือหน่วยที่ไม่มีอนุศาสนาจารย์ซ่ึงอยู่ใกล้ ในด้าน การอบรมจิตใจทหาร ๒.๔.๖ มอบหมายใหอ้ นศุ าสนาจารย์ติดต่อกับพระสงฆ์ หรือหัวหน้างาน ทางศาสนา ประจําท้องถิน่ ๒.๔.๗ แจ้งผลการดําเนินการด้านขวัญกําลังใจของทหารมายัง กรมยุทธศึกษาทหารบก เป็นครั้งคราว ๒.๕ หนา้ ที่และบทบาทอนุศาสนาจารย์ในสนาม ๒.๕.๑ เสนอแนะแก่หน่วย ให้จัดชุดส่ิงอุปกรณ์บํารุงขวัญและส่ิงอุปกรณ์ ที่ใช้ประกอบ การบรรยายอบรมจิตใจทหาร และเป็นส่ิงอุปกรณ์ท่ีมีความคล่องตัวในการ เคลือ่ นยา้ ยไปกับหน่วยตามกรณี ๒.๕.๒ ทําบัญชีทหารแยกตามศาสนา เพื่อสะดวกในการให้คําแนะนํา การนาํ ประกอบศาสนกิจ และการทําพธิ กี รรมทางศาสนา ๒.๕.๓ จัดทําบัญชีทหาร ระบุยศ ชื่อ นามสกุล ภูมิลําเนา ของทหารที่ ถือศาสนา ส่วนน้อยและแยกตามนิกาย ท้ังน้ี เพื่อให้บริการทางศาสนาได้สะดวกใน ชวี ติ ประจาํ วัน และแมใ้ นยามท่มี ีการสญู เสียกําลงั พล

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๗๘ ๒.๕.๔ จัดทําบัญชี วัด สุเหร่า โรงสวด สุสาน โบสถ์ ศาสนสถาน และบุคลากรสําคัญของแต่ละศาสนาในพ้ืนท่ีใกล้บริเวณที่ต้ังหน่วย เพื่อประสานในการ กระทาํ พธิ ีกรรมทางศาสนาวัฒนธรรมประเพณี เมื่อจําเป็น ๒.๕.๕ ประสานการปฏิบตั ิร่วมมืออยา่ งใกลช้ ดิ กบั ฝา่ ยกาํ ลังพล ทางด้าน งานปกติ การบํารุงขวัญ และพิธีกรรม และใกล้ชิดกับฝ่ายกิจการพลเรือน (ถ้ามี) ทางด้านสงั คมจิตวทิ ยา ๒.๕.๖ เสนอความเห็นแก่ผู้บังคับหน่วย ผู้บังคับบัญชา ในเร่ืองการ อบรมศีลธรรม การอบรมจิตใจทหาร ขวัญกําลังใจ วัฒนธรรมประเพณี ตลอดจนให้ ทหารไดม้ ีโอกาสปฏิบัตศิ าสนกจิ และได้รับการบํารงุ รักษาขวญั ตามสมควร ๒.๕.๗ เอาใจใส่ดูแลศาสนสถานภายในหน่วยให้มีความน่าศรัทธา เล่อื มใส ๒.๕.๘ หาโอกาสพบปะเยี่ยมทหารท่ีออกปฏิบัติงานนอกที่ต้ัง ปลุกปลอบบํารุงขวัญและเสริมสร้างกําลังใจทหารป่วยเจ็บ หรือทหารท่ีได้รับความ กระทบกระเทือนทางจิตใจเน่ืองจากการครํ่าเคร่งในการปฏิบัติหน้าที่ ให้กลับมีจิตใจรุก รบ อาจหาญ มพี ลงั ใจพรอ้ ม ๒.๕.๙ เข้าร่วมกิจกรรมบรรเทาสาธารณภัยกับฝ่ายพลเรือนหรือหน่วย ในพน้ื ท่ี เช่น กรณชี ่วยเหลือผู้ประสบอทุ กภยั วาตภัย และอคั คภี ยั เป็นตน้ ๒.๕.๑๐ ดําเนินการรว่ มกับนายทหารฝา่ ยการศพ ในกรณีทหารเสียชวี ติ ๒.๕.๑๑ แสวงหาความร่วมมือจากบุคคลและองค์กรในท้องถิ่นเก่ียวกับ การบํารงุ ขวัญทหาร ๒.๕.๑๒ ศึกษาคําสอน พิธีกรรม ของศาสนาต่างๆ ให้เข้าใจเพ่ือสะดวก ในการใหค้ าํ แนะนําการนําปฏบิ ตั พิ ิธกี รรมทางศาสนาและประเพณี ๒.๕.๑๓ สังเกต จดบันทึก ทําบัญชีทหารที่มีพฤติกรรมล่อแหลมในด้าน วินัย ความเชื่อฟัง การหมกมุ่นในสิ่งอบายมุข การมีลักษณะเฉ่ือยชา และเข้าใกล้ชิดกับผู้ มีปญั หาดงั กลา่ ว ๒.๕.๑๔ ไม่เป็นผู้เกียจคร้าน ท้อแท้ ท้อถอย และฝึกพลังจิตของตน เสมอ

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๗๙ ๒.๕.๑๕ หาโอกาสพบปะสนทนากบั ผู้บงั คับหนว่ ยและผบู้ งั คบั บญั ชาเสมอ เพ่อื รับทราบ ปญั หา เพือ่ นําไปส่กู ารปฏบิ ตั ิภารกจิ หน้าทอ่ี นศุ าสนาจารย์ ๒.๕.๑๖ ต้องตระหนักว่า ในสนามกระทําการอบรมเป็นกลุ่มก้อนได้ น้อย แต่กระทําการพบปะเย่ยี มเยยี นไดม้ าก ๒.๕.๑๗ ประสานให้เกิดความเข้าใจ ขวัญ จริยธรรม ของกําลังพลใน สนาม และครอบครวั ของกาํ ลงั พลน้ันๆ ๒.๕.๑๘ กรณีประกอบพิธีศพผู้เสียชีวิตในสนาม ณ วัดหรือศาสน สถานของศาสนาอ่ืนในพ้ืนท่ีการดําเนินการพิธีศพ ในการกล่าวสดุดีวีรกรรมขอให้เพิ่ม การกล่าวธรรมสงั เวชท่ีเขยี นโดยอนศุ าสนาจารย์เข้าไปดว้ ย ๒.๕.๑๙ พิธีสําคัญในทางพระพุทธศาสนา ท่ีปฏิบัติในหน่วยในที่ต้ัง ปกติ เช่น พิธีวิสาขบูชา เป็นต้น แม้ในสนามอนุศาสนาจารย์สามารถเสนอแนะ และปรึกษาผู้บังคับบัญชาให้จัดข้ึนได้ท้ังในวัดใกล้หน่วย และภายในหน่วย ท้ังน้ี ย่อมขนึ้ อย่กู บั สถานการณ์ ๒.๖ หัวขอ้ ทคี่ วรใชอ้ บรมเน้นย้ําในสนาม ๒.๖.๑ วนิ ัยและความเชอ่ื ถอื ๒.๖.๒ ความสามัคคี ๒.๖.๓ ความเสยี สละ ๒.๖.๔ ความอดทน ๒.๖.๕ สังคหวัตถุ ๒.๖.๖ อบายมขุ ๒.๖.๗ พระรตั นตรัย ๒.๖.๘ วฒั นธรรมประเพณีในพื้นท่ี

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๘๐ การอบรมทางสอ่ื ๑. ส่อื ที่อนุศาสนาจารย์ใชใ้ นการอบรมปัจจุบัน ได้แก่ .- ๑.๑ เสียงทางสายของหนว่ ย ๑.๒ เคเบิลทีวี ๑.๓ สถานีวิทยุ ๑.๔ วิทยุ เทป ๑.๕ ภาพเขียน ภาพวาด แผน่ ชาร์ต ๑.๖ E-learning หรือ Social Network บทบาทในการดําเนินการอบรมด้วยการใช้สื่อ สามารถกระทําได้โดยปฏิบัติ ทุกวัน ทุกสัปดาห์ ทุกเดือน ตามวันท่ีกําหนด ในวันสําคัญท่ีเกี่ยวข้องทางด้านศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี ทเ่ี วียนมาถงึ และสามารถดาํ เนินรายการสด หรือบันทกึ รายการไว้ลว่ งหน้าก็ได้ ๒. ขอ้ ทอี่ นุศาสนาจารย์ ควรวางแผนปฏบิ ัติ ๒.๑ กลุ่มบุคคลเป้าหมายซึ่งมีหลายระดบั ๒.๒ เนอ้ื หาสาระของเร่อื ง และหมวดธรรมท่จี ะต้องบรรยาย ๒.๓ นโยบายของหนว่ ย และนโยบายของผบู้ ังคับบญั ชา ๒.๔ แต่ละเรื่องจะบรรยายครัง้ เดยี ว หรือจะแบ่งการบรรยายไปตามลาํ ดบั ๒.๕ จะบันทึกใหท้ ันเวลา และเตรยี มไว้ล่วงหน้าอยา่ งไร ๒.๖ วัตถปุ ระสงค์ของเร่อื งนน้ั เพอื่ อะไร เนน้ เร่อื งใด ๒.๗ ควรเป็นเรื่องใหม่ เรอื่ งใหญ่ และเป็นเร่อื งใกล้ตัว ๓. อุปกรณท์ ีส่ ายวทิ ยาการอนศุ าสนาจารย์ ใช้ในการเตรยี มข้อมูลและใช้ประกอบใน การอบรม การบรรยาย ได้แก่ ๓.๑ เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ ๓.๒ เคร่อื งฉายโปรเจคเตอร์ ๓.๓ จอภาพขนาดตามความเหมาะสม ๓.๔ กลอ้ งบนั ทกึ วีดโิ อ ๓.๕ กลอ้ งบนั ทกึ ภาพน่งิ

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๘๑ การกวดขันการอบรม โดยปกติการกวดขันการอบรมมิใช่กิจหน้าที่ของอนุศาสนาจารย์ แม้กระน้ัน ก็ปฏิเสธไม่ได้ ท่ีอนุศาสนาจารย์จะเคลื่อนไหวให้กําลังพลของหน่วยได้เข้ารับการอบรมใน ระดับท่ีน่าพอใจ ด้วยการประสาน การเข้าเย่ียมพบปะกับผู้บังคับบัญชาทุกระดับ และ กับหัวหน้าส่วนราชการนั้น และที่สําคัญก็คือ พยายามคิดค้นวิธีบรรยาย และเรื่องที่จะ บรรยายให้น่าสนใจมากขึ้น ตลอดท้ังสรรหาวิทยากรท่ีจะดึงดูดความสนใจมาบรรยาย เป็นครั้งคราว สรปุ บทบาทของอนุศาสนาจารย์ในส่วนนี้ ก็คอื ๑. ประสานกับผู้บงั คบั บัญชาทกุ ระดบั ชนั้ ๒. ตรวจสอบดูวนั ที่เหมาะสมสําหรับการอบรมในหน่วยน้นั ๆ ๓. คดิ ค้นวธิ ีบรรยายใหน้ ่าสนใจ ๔. สรา้ งแนวบรรยายและเร่ืองที่จะบรรยายให้น่าสนใจ ๕. บรรยายในเร่ืองที่อยู่ในความสนใจของหนว่ ย ๖. บรรยายในเรือ่ งท่ีสอดคล้องกับสถานการณท์ ี่กําลังพลสนใจ ๗. บรรยายในเร่ืองท่ีสอดคล้องกับนโยบายของผู้บังคับหน่วย, ผบู้ งั คับบญั ชาหน่วยเหนือ และผบู้ งั คับบัญชาหนว่ ยรอง ๘. แสวงหาสื่อการบรรยายไว้ประกอบการบรรยายของตน ๙. รับผิดชอบเสนอขออนุมัติจัดหาวิทยากรภายนอกที่สามารถมาบรรยาย เปน็ คร้ังคราว และดําเนนิ การประชาสมั พนั ธ์ ๑๐. ประสานกบั ฝา่ ยอํานวยการท่ีเกีย่ วข้อง เพื่อวางแผนการอบรมรว่ มกัน ๑๑. เสนอแนะผู้บังคับบัญชา เพ่ือกําหนดมาตรการในการจัดกําลังพลเข้า รับการอบรม และให้มีการกํากับดูแล ตามคําสั่งกองทัพบก (คําสั่งช้ีแจง) ที่ ๑๕๐/ ๒๒๒๙๐ เรื่องให้กวดขันการอบรมศีลธรรม ลง ๑๙ ต.ค. ๙๗ กองทัพบกเน้น ความสําคญั และบทบาทการจดั กาํ ลังพลให้เข้ารบั การอบรมให้มากไปท่ีผู้บังคับบัญชา ทกุ ระดบั และชแ้ี จงเหตผุ ลวา่ กองทัพบกมีความประสงค์อย่างแท้จริงท่ีจะให้นายทหาร นายสิบ พลทหาร นักเรียนทหาร ข้าราชการและคนงาน ตลอดถึงครอบครัว ได้รับการอบรมศีลธรรม จรรยามารยาทโดยสมาํ่ เสมอและท่ัวถึง

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๘๒ - หนว่ ยมักจะอ้างเหตุต่างๆ นานาในการท่ีจะไมน่ าํ กําลงั พลเขา้ รบั การ อบรม - บางหน่วยไม่พยายามหมุนเวยี นทหารเข้ารบั การอบรมให้ท่วั ถงึ เพียงแต่ จัดทหารจาํ นวนหนงึ่ ให้เข้ารบั การอบรมพอให้มยี อดส่งรายงานเท่านนั้ - บางหน่วยทหารเข้าประจําการเกือบปีแล้ว ยังไม่เคยได้รับการอบรมกม็ ี - บางหน่วยครอบครวั อยเู่ ป็นกลุ่มกอ้ น แต่ก็ไมจ่ ดั ใหม้ ีการอบรมครอบครวั - กองทัพบกถือว่าครอบครัวเป็นบุคคลกลุ่มหนึ่ง ท่ีอาจนําความดีงามหรือ ความเส่ือมมาสูส่ ามีหรือภรรยาของตน หรือของหน่วยได้ - ผู้บังคับบัญชาใกล้ชิดทหาร ไม่ทราบความประสงค์อันแท้จริงของทาง ราชการในเรือ่ งการอบรมศลี ธรรม - ผู้บงั คับบญั ชาชนั้ สงู ไม่สนใจตรวจผลการรับอบรมของหน่วยเทา่ ท่ีควร - ถ้าหน่วยใด หัวหน้าหน่วยเอาใจใส่ควบคุมการอบรมด้วยตนเอง หรือไป ตรวจขณะทหารรับการอบรมเปน็ คร้งั คราว การอบรมมักจะไดผ้ ลดี - หน่วยใด หวั หน้าหน่วยหาวิธีชักจูงผ้อู ยใู่ นปกครองให้สนใจรับการอบรม ก็ ยิ่งไดผ้ ลดเี ปน็ พเิ ศษ ตามคําสั่งในเรื่องเดียวกันนี้ กองทัพบก ได้แนะนําให้หัวหน้าหน่วยปฏิบัติ ดังน้ี - ผู้บังคับบัญชาทหารทุกชั้น พยายามนําทหารเข้ารับอบรมให้ท่ัวถึง ในกรณีที่ทหารติดราชการเวรยาม หรือจ่ายไปนอกกอง ก็ให้จัดผลัดหมุนเวียน ให้ ทหารได้รับการอบรมโดยทั่วถึงกันและจัดครอบครัวภายในหน่วยให้ได้รับอบรมโดยนัย เดียวกัน - การบรรยายธรรมทางสถานีวิทยุกระจายเสียงในเครือข่ายของกองทัพบก นับว่าไดผ้ ลดแี ละประชาชนทัว่ ไปกต็ ิดตามรบั ฟงั เป็นจํานวนมาก หน่วยที่มีสถานีวิทยุอยู่ ในความรับผิดชอบ ควรจัดให้อนุศาสนาจารย์ได้ทําหน้าที่บรรยายธรรมทางสถานีวิทยุ ของหน่วยนั้นๆ ด้วย เพ่ือให้เกิดประโยชน์ทางด้านการปลูกฝังอุดมการณ์ทหารด้านการ พัฒนาคุณธรรม ตามนโยบายการปลูกฝังและสร้างเสริมอุดมการณ์ทหาร ด้านการ พฒั นาคุณธรรมของกองทพั บก

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๘๓ - ผู้บังคับบัญชาท่ีรับรายงานเกี่ยวกับการอบรมของอนุศาสนาจารย์ ให้เพ่งเล็งถึงจํานวน ผู้เข้ารับอบรม ที่มีตัวจริงของแต่ละหน่วยด้วยว่ามีส่วนสัมพันธ์กัน กบั ยอดเดิมเพียงใดหรอื ไม่ แม้ว่าการกวดขันให้มีผู้เข้ารับการอบรม ไม่ใช่หน้าท่ีและบทบาทของ อนุศาสนาจารย์ก็จริงแต่อนุศาสนาจารย์ก็สามารถพิจารณาดําเนินการได้ เช่น เสนอแนะ ให้หน่วยดําเนินรายการบรรยายธรรมทางสถานทีวิทยุ หรือทางเสียงทางสายของหน่วย (ถ้ามี) หรือขออนุมัติต่อผู้บังคับหน่วย เพื่อดําเนินรายการ เสียงทางสายโดยอนุศาสนาจารย์ ของหน่วยเป็นผู้บรรยาย ในส่วนของกองอนุศาสนาจารย์ กรมยุทธศึกษาทหารบก ซ่ึงเป็น หัวหน้าเหล่าสายวิทยาการ ควรมีบทบาทในการเตรียมการเรื่องที่จะบรรยายธรรมทาง สถานีวิทยุให้มีสาระท่ีน่าสนใจ โดยทําแผนงานและโครงการไว้ล่วงหน้า เพื่อให้เกิดผลดี ต่อกําลังพลและครอบครัวของหน่วยและประชาชนทั่วไป ตามวัตถุประสงค์และ เปา้ หมายของกองทัพบก