Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ๐.รวมเล่มหนังสือ ๑๐๐ ปี การ อศจ.ไทย

๐.รวมเล่มหนังสือ ๑๐๐ ปี การ อศจ.ไทย

Description: ๐.รวมเล่มหนังสือ ๑๐๐ ปี การ อศจ.ไทย

Search

Read the Text Version

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๑๓๔ ชุมชนนอกหน่วยในกิจการด้านศาสนาและพิธีการทันทีท่ีมีการร้องขอจากหน่วยงานหรือ ชุมชนน้ันๆ ๓. งานพิธที ่ีอนศุ าสนาจารย์ปฏบิ ัติ ๓.๑ งานพิธขี องหน่วยทหาร ก. พธิ กี ระทาํ สตั ย์ปฏิญาณตนต่อธงชยั เฉลมิ พล ข. พธิ ีวนั สถาปนาหน่วย ค. พิธีในวนั สําคัญทางศาสนา ง. พิธสี งกรานต์ จ. พธิ แี สดงตนเป็นพุทธมามกะ ฉ. พธิ ไี หวค้ รู ช. พิธเี ปิด - ปดิ การศกึ ษา ซ. พิธีประดบั ยศ ฌ. พิธีขอขมาลาอปุ สมบท ญ. พธิ ไี หวพ้ ระสวดมนต์, ปฏบิ ตั ธิ รรม ฎ. พธิ ถี วายกฐิน, ผา้ ป่า, สังฆทาน ฏ. พธิ สี ักการะสง่ิ ศกั ดิส์ ทิ ธิ์ประจาํ หน่วย ฐ. พธิ อี าํ ลาชวี ิตราชการ ฑ. พิธีพทุ ธาภเิ ษก, พิธหี ล่อพระ ฒ. พธิ ีศพทหาร ณ. พธิ ีมงคลสมรส ๓.๒ งานพธิ ที วั่ ไป ก. การตัง้ ช่ือ ข. พิธที าํ บุญอายุ ค. พิธีทําบุญสะเดาะเคราะห์ ง. พิธีวางศิลาฤกษ,์ พิธียกเสาเอก จ. พิธีทาํ บญุ ฉลองยศ, ฉลองเครือ่ งราชอิสริยาภรณ์ ฉ. พิธเี ปดิ อาคารสํานกั งาน

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๑๓๕ ช. พธิ โี กนจกุ ซ. พธิ ีทําบญุ ตักบาตร ฌ. พธิ ผี กู พัทธสีมา ญ. พิธียกชอ่ ฟา้ ฎ. พิธฉี ลองพระพุทธรปู ฏ. พธิ ลี อยกระทง ------------------------

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๑๓๖ บทท่ี ๖ การปฏิสัมพนั ธก์ ับศาสนาอน่ื ๑. กล่าวทว่ั ไป รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ ไดบ้ ัญญตั หิ ลักการ เกย่ี วกับสทิ ธิและเสรีภาพในการนับถือศาสนาของชนชาวไทยไวใ้ นมาตรา ๓๘ ความวา่ “บุคคลยอ่ มมีเสรภี าพบรบิ ูรณใ์ นการถือศาสนา นิกายของศาสนา หรือลัทธินิยมในทาง ศาสนา และย่อมมีเสรภี าพในการปฏบิ ตั ิตามศาสนบญั ญตั หิ รือปฏบิ ัตพิ ิธกี รรมตามความ เชื่อถอื ของตนเมอื่ ไมเ่ ป็นปฏิปกั ษ์ต่อหน้าทขี่ องพลเมืองและไมเ่ ปน็ การขัดต่อความสงบ เรยี บร้อยหรอื ศลี ธรรมอนั ดขี องประชาชน ในการใช้เสรีภาพดังกล่าวตามวรรคหนึ่ง บุคคลย่อมได้รับความคุ้มครอง มิให้รัฐกระทําการใดๆ อันเป็นการรอนสิทธิหรือเสียประโยชน์อันควรมีควรได้เพราะเหตุ ท่ีถือศาสนา นิกายของศาสนา ลัทธินิยมในทางศาสนาหรือปฏิบัติตามศาสนบัญญัติหรือ ปฏบิ ตั พิ ธิ กี รรมตามความเชื่อถือ แตกตา่ งจากบุคคลอน่ื ” เสรีภาพในการเลือกนับถือศาสนาหรือความเช่ือ ในที่น้ีน้ันหมายรวมถึง เสรีภาพในการยึดมั่นศรัทธาหรือมีความเช่ือที่แตกต่างจากบุคคลอื่นในหลักการทาง ศาสนาหรือความเช่ือใดๆ หรือเสรีภาพท่ีจะไม่นับถือศาสนาใดๆ เสรีภาพในการนับถือ ศาสนาจําเป็นต้องมีเสรีภาพในการเลือกนับถือศาสนา สิทธิท่ีจะคงไว้ในความเชื่อถือ ศรัทธา จึงไม่มีบุคคลใดท่ีจะถูกบังคับให้เป็นท่ีเส่ือมเสียแก่เสรีภาพในการเลือกถือ ศาสนาด้วยมาตรการใดๆ หรือให้นับถือศาสนาใดศาสนาหนึ่งไม่ว่าโดยทางตรงหรือ ทางออ้ ม เสรีภาพในการนับถือศาสนาในประเทศไทย มีลักษณะเช่นเดียวกันกับ เสรีภาพในเร่ืองอ่ืนๆ ตามที่บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยได้บัญญัติ รับรองไว้ กล่าวคือ เสรีภาพในการนับถือศาสนา โดยเนื้อหาของการใช้เสรีภาพแล้วเป็น เสรีภาพที่สมบูรณ์และไม่อนุญาตให้มีการจํากัดใดๆ ได้เลย รัฐหรือหน่วยงานของรัฐไม่มี อาํ นาจแทรกแซงเสรภี าพในการถือศาสนา รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันได้บัญญัติขยายความหมายเสรีภาพในศาสนาใน รัฐธรรมนูญให้มีรายละเอียดชัดเจนข้ึน ส่งผลให้รัฐต้องอํานวยประโยชน์ให้บุคคลได้รับ

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๑๓๗ ประโยชน์สมดังสิทธิท่ีได้รับรองไว้ และหลักการอีกประการหน่ึงคือ การใช้เสรีภาพ จะต้องไม่เป็นปฏิปักษ์ต่อหน้าท่ีของพลเมือง และไม่เป็นการขัดต่อความสงบเรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชนด้วย หากมีการใช้เสรีภาพท่ี ไม่ชอบย่อมจะไม่ได้รับ ความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ นอกจากน้ีรัฐธรรมนูญยังได้วางหลักไว้ว่าบุคคล จะไม่ นับถือศาสนาใดๆ เลยก็ได้ รัฐจะบังคับให้ราษฎรนับถือศาสนาใดศาสนาหน่ึงก็ไม่ได้ และยังได้วางหลักประกันความเป็นธรรมต่อบุคคลที่จะไม่ถูกเลือกปฏิบัติอย่างได้เปรียบ หรือเสียเปรียบอันเนื่องมาจากความเช่ือทางศาสนาของตน โดยต้ังอยู่บนหลักการ พืน้ ฐานสองประการ คือ ประการแรก เสรีภาพในการนับถือศาสนาเป็นสิทธิธรรมชาติจะล่วงละเมิด ไม่ได้ และเป็นสิทธิศักด์สิ ิทธ์ขิ องมนษุ ย์ทกุ คนตอ้ งใหก้ ารรบั รองและคมุ้ ครอง ประการที่สอง เป็นหลักความจริงว่าเสรีภาพในศาสนาไม่มีใครจะใช้ เสรีภาพอยู่เหนือผู้อ่ืน ทุกคนมีสิทธิและหน้าที่เท่าเทียมกัน โดยรัฐจะต้องทําหน้าที่รักษา ผลประโยชน์ของสังคมโดยรวม ถึงต้องเข้ามาจัดระเบียบการใช้เสรีภาพในทางศาสนา ของประชาชนและป้องกันไม่ให้การใช้เสรีภาพของประชาชนคนหน่ึงกระทบกระเทือน ต่อเสรีภาพของผู้อื่น โดยรัฐจะไปจํากัดหรือแทรกแซงเสรีภาพในศาสนาของประชาชน จนเกินขอบเขตจากเง่ือนไขที่กําหนดไว้ไม่ได้ หากแต่จะต้องกําหนดไว้ให้ชัดเจน เน่ืองจากเรื่องสิทธิและเสรีภาพในการนับถือศาสนามีบทบาทสําคัญทางสังคม การจัด ระเบียบความสงบเรียบร้อยของประชาชนและการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ จึงเป็นสิ่งสําคัญ ท่ีรัฐจะช่วยให้เกิดความเข้าใจกันระหว่างศาสนา หากไม่ได้รับความใส่ใจจากภาครัฐแล้ว ปัญหาดังกล่าวอาจจะทําใหเ้ กิดขอ้ ขัดแย้งระหวา่ งศาสนาได้ กองทัพบกได้ตระหนักถึงสิทธิเสรีภาพในการนับถือศาสนาของกําลังพล และเปิดโอกาสให้กําลังพลท่ีนับถือศาสนาน้ันๆ ได้ปฏิบัติศาสนกิจตามหลักศาสนาของ ตนอย่างเท่าเทยี มเสมอกัน อนุศาสนาจารย์ มีหน้าท่ีโดยตรงในฐานะเป็นผู้ปฏิบัติการ อํานวยการ เก่ียวกับการศาสนา และให้คําแนะนําแก่ผู้บังคับบัญชา ในปัญหาท้ังปวงเกี่ยวกับศาสนา และขวัญ ซึ่งต้องปฏิบัติการเก่ียวกับการบริการทางศาสนา และวางโครงการให้ทหารมี โอกาสได้ปฏิบัติศาสนกิจ ท้ังนี้รวมท้ังการอํานวยการให้ทหารท่ีนับถือศาสนาต่างๆ ไดป้ ฏิบตั ศิ าสนกจิ ตามหลักศาสนาของตน

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๑๓๘ ๒. การปฏบิ ัติศาสนกิจประจาํ วนั ของทหารมุสลิม เนื่องด้วยประชาชนส่วนมากในจังหวัดชายแดนภาคใต้ นับถือศาสนา อิสลาม ผู้ที่เข้ามารับราชการทหาร สมควรได้รับการช่วยเหลือให้ได้ประกอบพิธีไหว้พระ สวดมนต์ประจําวัน ตามประเพณีนิยมในศาสนาของตน เพราะฉะน้ัน หน่วยใน กองทัพบก โดยเฉพาะหน่วยในจังหวัดชายแดนภาคใต้จึงได้จัดให้ทหารมุสลิมได้ปฏิบัติ ศาสนกิจประจําวันน้ัน โดยปฏิบัติตามคําส่ัง ทบ. (คําส่ังชี้แจง) ท่ี ๑๓/๘๑๗๓ เร่ือง การไหว้พระสวดมนตป์ ระจําวนั ของทหารมสุ ลิม ลง ๑๔ เม.ย. ๐๑ ดังนี้ ๒.๑ หน่วยใดมีทหารมุสลิมจํานวนมากก็ให้ทหารมุสลิมแยกไหว้พระสวด มนต์ประจําวันต่างหาก และเพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยและถูกต้องตามประเพณี ของศาสนาอสิ ลามใหป้ ฏบิ ตั ิดังนี้ ๒.๑.๑ จัดให้มีห้องทําละหมาดของทหารมุสลิม โดยกําหนดเอาห้องใด หอ้ งหน่งึ ในโรงท่ีอยูข่ องทหาร หรอื สถานท่ีตามสมควร และจัดใหม้ ลี ักษณะดังนี้ - สะอาดปราศจากส่งิ โสโครก - ไม่ประดิษฐานรปู เคารพใดๆ - ถ้าจะประดับด้วยภาพอักษรคติธรรมมุสลิมตามความ เหมาะสมก็ได้ - มีแผ่นป้ายบอกว่า “ ห้องละหมาดทหารมุสลิม ” ๒.๑.๒ เม่ือถึงเวลาไหว้พระสวดมนต์ของทหารประจําวัน ซ่ึงโดยปกติ เวลา ๒๐๓๐ ตรงกับเวลาละหมาดอิซาร์ของมุสลิม ให้บรรดาทหารมุสลิมเข้าไปทํา ละหมาด (ละหมาดอิซาร์) ในห้องละหมาดทหารอิสลาม แทนการไหว้พระสวดมนต์ตาม ระเบยี บการไหว้พระสวดมนต์ของทหารที่ปฏบิ ัตอิ ยูก่ อ่ น ๒.๑.๓ การไหว้พระสวดมนต์ประจําวันของทหารมุสลิม ให้กระทํา ตามลาํ ดบั ดงั นี้ - ทหารละหมาดตามลําพงั - กล่าวบทปลงใจ - รอ้ งเพลงชาติ - ร้องเพลงสรรเสริญพระบารมี ๒.๒ พิธีทาํ ละหมาด

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๑๓๙ พระบัญญัตขิ องศาสนาอิสลาม กําหนดให้มุสลิมทําละหมาดวันละ ๕ ครั้ง (อัส - ซอละฮ์) แต่ละครั้งต้องกระทําภายในเวลาท่ีกําหนดไว้ในพระคัมภีร์กุระอาน ละหมาด ๕ ครัง้ น้นั เฉพาะคร้ังสดุ ทา้ ยของวันเรยี กว่า ละหมาด อซิ าร์ กาํ หนดใหท้ ําใน ระหว่างเวลาต้ังแต่สิ้นแสงดวงอาทิตย์บนท้องฟ้า จนเห็นแสงทองจับขอบฟ้าในวันใหม่ โดยปกติแล้ว การทําละหมาดแต่ละครั้งใช้เวลาเพียงเล็กน้อย และทําตามลําพัง ณ ท่ีอยู่ ของตน ผทู้ าํ ยนื บ่ายหน้าไปทางทิศ กบิ ลัด คอื ทศิ ทตี่ ั้งวหิ าร กาบะห์ นครมกั กะห์ ประเทศ ซาอุดิอาระเบยี เมื่อมีสัญญาณให้ทหารมุสลิมประชุมไหว้พระสวดมนต์ประจําวัน ซึ่ง ตามปกติตรงกับเวลาละหมาดอิซาร์ของมุสลิมอยู่แล้ว ให้ทหารมุสลิมรีบเข้าประชุมใน หอ้ งละหมาดแลว้ ปฏบิ ัตดิ งั ต่อไปนี้ ๑. เมื่อเข้าไปในห้องละหมาดแล้ว ต้องสํารวมกิริยาวาจารําลึกถึงองค์ พระอัลเลาะห์ ทําละหมาดอิซาร์ตามลัทธิศาสนาของตนโดยต่างคนต่างทํา ผู้ใดทํา เสรจ็ แล้วใหร้ ออยกู่ ่อน จนกวา่ คนอนื่ จะทาํ ละหมาดเสรจ็ ๒. กล่าวบทปลงใจ ผู้เป็นหัวหน้าบอกทหารให้อยู่ในท่าตรงแล้วว่านํากล่าวบท ปลงใจ ท้ังหมดว่าตาม โดยใช้เสียงให้หนักแน่น แต่มิใช่ตะโกนด้วยความคะนอง การนํา ให้นาํ เปน็ บทๆ ดังนี้ “ ชาติของเรา, เป็นไทยอยู่ได้, จนถึงตัวเราคนหนึ่งนี้, เพราะบรรพบุรุษ ของเรา, เอาเลือด, เอาเนื้อ, เอาชีวิต, และความลําบากยากเข็ญเข้าแลกไว้, เราต้อง รกั ษาชาติ, เราตอ้ งบํารุงชาติ, เราต้องสละชีพเพ่ือชาติ ” ๓.ร้องเพลงชาติ ผเู้ ปน็ หวั หนา้ ร้องนํา ท้ังหมดร้องรับ แลว้ ร้องตอ่ ไปจนจบ ๔. ร้องเพลงสรรเสริญพระบารมี ผู้เป็นหัวหน้าร้องนํา ท้ังหมดร้องรับ แล้ว ร้องตอ่ ไปจนจบเม่อื จบเพลงสรรเสริญพระบารมแี ล้ว ผู้เปน็ หัวหนา้ บอกพกั และเลิกประชุม ๓. ข้อควรทราบสาํ หรับการติดต่อประสานงานกับมุสลมิ ๓.๑ พิธีทางศาสนา มุสลิมไม่พึงประสงค์ให้คนนอกศาสนาไปแตะต้อง พิธกี รรมของเขา พิธบี างอย่างถ้ามีคนนอกศาสนาเข้าไปในบริเวณพิธี ขณะกําลังทําพิธี จะทําให้พธิ ีเขาเสีย เรียกวา่ กรรมวบิ ตั ิ ๓.๒ การแต่งงาน (วะลีมะห์) ต้องทําตามพิธีทางศาสนาให้ถูกต้อง คนต่าง ศาสนาไปเป็นแขกในงานได้

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๑๔๐ ๓.๓ คัมภีร์อัล-กุระอาน มุสลิมท้ังเคารพทั้งกลัวเกรง ห้ามคนต่างศาสนาแตะ ต้องเป็นอันขาด แม้มุสลิมเองจะแตะต้องก็ต้องทําความสะอาดร่างกายก่อน ผู้ที่เคร่งแม้ เพียงได้ยินเสียงอ่านพระคัมภีร์ ถ้ากําลังเดินก็หยุดรําลึกก่อน การสาบานตัวต่อพระ คมั ภีร์ เป็นสง่ิ ที่มสุ ลิมกลัว และตอ้ งสตั ยซ์ อ่ื เมอื่ สาบานแลว้ ๓.๔ ท่าเคารพ (สุยูส) มุสลิมต้องทําต่อพระอัลเลาะห์แต่ผู้เดียว จะทําอย่าง นน้ั หรือทค่ี ล้ายๆ กบั ทา่ เคารพน้นั ต่อคนอ่ืน สงิ่ อืน่ หรือแมแ้ ต่ทาํ เล่นก็ไมไ่ ด้ ๓.๕ มัสยิด คือโรงสวด เป็นนิติบุคคลตามกฎหมาย คนต่างศาสนาจะเข้าไปก็ ได้ แต่ต้องอยใู่ น อาการเคารพ หา้ มสวมรองเท้าเข้าไป ๓.๖ วันศุกร์ เป็นวันพระของมุสลิม จะมีการชุมนุมตามมัสยิด ใช้เวลาทํา พิธีราว ๔๐ นาทีระหว่างเที่ยงวันถึงบ่าย ๒ โมง การประชุมดังกล่าวต้องมีคน ๔๐ คน จงึ จะครบองค์ ๓.๗ วันตรุษ มีปีละ ๒ ครั้ง คือ ตรุษรายอออกปอซอ ๓ วัน ในเดือนเชา วาล และตรุษรายอหะยี ๓ วัน ในเดือน ซุลฮิจญะห์ มุสลิมจําเป็นอย่างย่ิงต้องไป ชุมนุม ๓.๘ หญิงมุสลิม หญิงมุสลิมตั้งแต่อายุ ๙ ขวบ ข้ึนไป จะถูกห้ามมิให้อยู่ ปะปนกับผู้ชาย การล่วงเกินทางชู้สาวกับหญิงอิสลาม เป็นการเหยียบย่ําทําลายจิตใจ มสุ ลิม แม้เรอ่ื งหยาบโลนทางเมถนุ มุสลิมก็รังเกียจ ศาสนาเทา่ น้ันจะบังคับให้หญิงมุสลิมเปิดผ้าคลุมศีรษะ ผู้อื่นไม่ควรทํา การบังคบั ทง้ั โดยตรงและโดยอ้อม ๓.๙ สุกร - สุรา พระบัญญัติห้ามมิให้มุสลิม กิน หรือ แตะต้องสุกรและ สุราเปน็ อนั ขาดการบงั คับให้เขากนิ หรอื แตะตอ้ งยกย้ายส่งิ ท้ังสองนี้ไมค่ วรทาํ ๓.๑๐ พิธศี พ (การญะนาซะห์) เม่ือมุสลิมตายลง มีพธิ สี าํ คัญ ๔ ขอ้ คอื ๓.๑๐.๑ อาบนํ้าศพ ชําระศพให้สะอาด อาบนํ้าถูให้ทั่ว ๓ คร้ัง ๕ ครั้ง หรอื ๗ ครั้ง โดยเร่มิ ด้วยนํ้าใบพทุ รา จบลงด้วยน้ําผสมการบูร ๓.๑๐.๒ ตราสงั (กาฟั่น) หอ่ ศพดว้ ยด้วยผา้ ขาว ๓ ช้นั ให้ใชผ้ ้าราคาถกู มเี สือ้ ผ้าหนงึ่ ชุด ให้ศพนอนหงาย ๓.๑๐.๓ การสวดศพ มีการสวดนมัสการโดยญาติของผู้ตาย หรือ อหิ ม่าม แล้วแต่กรณี

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๑๔๑ ๓.๑๐.๔ การฝังศพ หลุมฝังศพต้องให้ลึก ป้องกันกลิ่นและสัตว์คุ้ย เขี่ยได้ ให้ศพนอนตะแคงขวา หันหน้าไปทางมักกะห์ แก้เชือกที่ผูกศพออกกาฟั่นออก ผูย้ กศพลงหลุมควรเป็นญาตผิ ู้ตาย ถ้าศพเป็นหญิงมีสามใี หส้ ามีเป็นผยู้ กศพ ๔. การปฏิบัติของอนุศาสนาจารย์ในการสนบั สนนุ กจิ กรรมของศาสนาอน่ื ๔.๑ อํานวยการให้ทหารที่นับถือศาสนาอื่นได้ปฏิบัติศาสนกิจตามหลัก ศาสนาของตน ๔.๒ จัดทําบัญชีทหารแยกตามศาสนา เพ่ือสะดวกในการให้คําแนะนํา การ นาํ ประกอบศาสนกิจ และการทําพิธกี รรมทางศาสนา ๔.๓ จัดทําบัญชีทหาร ระบุยศ ชื่อ นามสกุล ภูมิลําเนา ของทหารท่ีถือ ศาสนาส่วนน้อยและแยกตามนิกาย ท้ังนี้ เพื่อให้บริการทางศาสนาได้สะดวกใน ชวี ิตประจําวัน และแม้ในยามที่มีการสูญเสยี กําลงั พล ๔.๔ จัดทําบัญชี วัด สุเหร่า โรงสวด สุสาน โบสถ์ ศาสนสถาน และ บุคลากรสําคัญของแต่ละศาสนาในพื้นที่ใกล้บริเวณที่ตั้งหน่วย เพื่อประสานในการ กระทําพธิ ีกรรมทางศาสนาวัฒนธรรมประเพณี ๔.๕ เสนอความเห็นแก่ผู้บังคับหน่วย ผู้บังคับบัญชา ในเรื่องการอบรม จริยธรรม การอบรมจิตใจทหาร ขวัญกําลังใจ วัฒนธรรมประเพณี แก่ทหารท่ีนับถือ ศาสนาอ่ืน ตลอดจนให้ทหารได้มีโอกาสปฏิบัติศาสนกิจตามหลักศาสนาของตนและ ไดร้ ับการบาํ รุงรักษาขวัญตามสมควร ๔.๖ หาโอกาสพบปะเยี่ยมทหารทุกศาสนาท่ีออกปฏิบัติงานนอกที่ต้ัง ปลุกปลอบบํารุงขวัญและเสริมสร้างกําลังใจทหารป่วยเจ็บ หรือทหารท่ีได้รับความ กระทบกระเทือนทางจิตใจเน่ืองจากการครํ่าเคร่งในการปฏิบัติหน้าที่ ให้กลับมีจิตใจรุก รบ อาจหาญ มีพลงั ใจพรอ้ ม ๔.๗ ศึกษาคําสอน พิธีกรรม ของศาสนาต่างๆ ให้เข้าใจเพื่อสะดวกในการ ใหค้ าํ แนะนาํ การนาํ ปฏบิ ตั พิ ิธีกรรมทางศาสนาและประเพณี ๔.๘ ประสานกบั ผู้นาํ ศาสนาและผู้บังคับบญั ชาในกรณที หารเสยี ชีวติ ๔.๙ เป็นพิธีกรกํากับพิธีการให้ดําเนินไปด้วยความเรียบร้อย เช่น เป็นผอู้ า่ นหมายรับส่งั ,

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๑๔๒ อ่านสํานึกในพระมหากรณุ าธิคุณ, อ่านประวตั แิ ละคาํ ไว้อาลยั ทหารทเี่ สยี ชีวิต ฯลฯ ๔.๑๐ กรณีประกอบพิธีศพผู้เสียชีวิตในสนาม ณ วัดหรือศาสนสถานของ ศาสนาอ่ืนในพ้ืนที่การดําเนินการพิธีศพ ในการกล่าวสดุดีวีรกรรมขอให้เพิ่มการกล่าว ธรรมสังเวชทีเ่ ขยี นโดยอนุศาสนาจารยเ์ ขา้ ไปด้วย ๔.๑๑ ประสานกับบุคคลและองค์กรของศาสนาต่างๆ ในท้องถ่ิน เพ่ือสร้าง ความสัมพนั ธ์ และความรว่ มมือในการดาํ เนนิ การกจิ กรรมทางศาสนาให้เป็นไปด้วยความ เรยี บร้อยถกู ตอ้ ง และถือเปน็ การสร้างความสามัคคีของบุคคลในชาตอิ กี ด้วย

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๑๔๓ บทที่ ๗ สาํ นึกแห่งอนุศาสนาจารย์ ๑. สํานึกในการครองตน ครองคน ครองงาน อนุศาสนาจารย์ มีงานและภารกิจหลายอย่างท่ีจะต้องครุ่นคิดและดํารง ความสํานกึ ในใจ เฉพาะทส่ี าํ คัญๆ มดี งั ตอ่ ไปนี้ ๑.๑ ปัจจัยเวลา มีความสําคัญสําหรับการปฏิบัติภารกิจหน้าที่ของ อนศุ าสนาจารย์ ๑.๒ ต้องสามารถปฏิบัติภารกิจหน้าที่ในเวลาราชการ นอกเวลาราชการ ในวนั ราชการและวันหยดุ ราชการ งานท่ีเหมาะสมทจ่ี ะปฏบิ ัตินอกเวลาราชการได้ เชน่ ๑.๒.๑ การสอนอบรมพลทหาร ๑.๒.๒ การฝกึ ซอ้ มและการไหวพ้ ระสวดมนต์รว่ มกบั ทหาร ๑.๒.๓ การเยีย่ มพบปะครอบครวั ๑.๒.๔ การตดิ ตอ่ นิมนต์พระสงฆ์ ๑.๒.๕ การปฏบิ ัตพิ ธิ ขี องหน่วยและของกาํ ลงั พลเป็นครัง้ คราว ๑.๒.๖ การบนั ทกึ รายการวทิ ยุ (กรณีบนั ทกึ ด้วยเครือ่ งบนั ทึกของตนเอง) ๑.๒.๗ การคน้ ควา้ เตรียมการ ศกึ ษาฝกึ ฝนตนอยเู่ สมอ ๑.๒.๘ การวางแผนเพ่ือจะไปพบปะปรึกษาหารือกับผู้บังคับหน่วยของ กาํ ลังพลทม่ี ีปัญหา (ถา้ จําเปน็ ) เพอื่ ดําเนินการแก้ปญั หาร่วมกนั ๑.๒.๙ การวางแผนพิจารณาหาเหตุผลประกอบอื่นๆ ในการท่ีจะ แกป้ ญั หากาํ ลงั พลทมี่ ปี ญั หา ว่าควรจะดําเนินการอย่างไร เม่อื ใด ๑.๓ อนศุ าสนาจารย์พึงตระหนักวา่ ตนเปน็ มิตรกบั กําลังพลที่มีปัญหาได้ทุก ประเภท คอื เปน็ มิตรผู้แนะประโยชน์ โดยไมแ่ สดงอาการรงั เกียจดว้ ยประการใดๆ ๑.๔ กําลังพลบางนายคบกับคนอื่น เข้ากับผู้อ่ืนไม่ได้ มีแต่ผู้รังเกียจและ ตําหนิ แม้ผู้เช่นน้ี อนุศาสนาจารย์ต้องมีจิตเมตตา และมีกรุณาจิตตามหลักพรหมวิหาร ด้วยวิธีหาโอกาสพบปะเย่ียมเยียนเป็นการส่วนตัวท้ังที่บ้าน หรือสถานที่ตามความ เหมาะสม ดว้ ยวิธีการเช่นน้ี มีความเป็นไปไดท้ จี่ ะเปล่ียนแปลงพฤตกิ รรมกําลังพลผู้นั้นใน ทางบวก

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๑๔๔ ๑.๕ ต้องถือเป็นเร่ืองสําคัญที่จะรักษาความลับของกําลังพลและครอบครัว ซ่ึงมีปัญหา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเด็นที่ไม่ควรเปิดเผย ซ่ึงล่อแหลมที่จะก่อให้เกิด ความเส่อื มเสยี ๑.๖ อนุศาสนาจารย์ต้องฝึกฝนบําเพ็ญจิตภาวนาเป็นการส่วนตัวทุกวัน เพือ่ ดํารงเสถียรภาพ ความเป็นอนศุ าสนาจารย์และรักษาพลงั ใจในตนให้มคี วามม่นั คงหนักแนน่ ๑.๗ ต้องมีวินัยเป็นแบบอย่างของทหาร และมีความเคารพเช่ือฟัง อนุศาสนาจารย์ที่อาวุโสกว่า ตามสายการบังคับบัญชา และคณะกรรมการ อนุศาสนาจารยอ์ ย่างเคร่งครดั ๑.๘ ในกรณีไม่สามารถดํารงอยู่ในภาวะของอนุศาสนาจารย์ได้ ต้องมีความ ตระหนกั ในระบบ เกียรติยศด้วยตนเอง โดยการปฏิบัติต่อคําสัตย์ปฏิญาณที่ให้ไว้ต่อคณะอนุศาสนาจารย์ เป็นลายลักษณ์- อักษร ถ้าให้คณะกรรมการอนุศาสนาจารย์เป็นผู้ดําเนินการให้อาจเกิด ความเสียหายแก่อนศุ าสนาจารยผ์ ู้น้ัน ๑.๙ ต้องตระหนักอยู่เสมอว่า กําลังพลและครอบครัวภายในหน่วย มีทรรศนะต่ออนุศาสนาจารย์ว่าเป็นผู้เป็นแบบอย่างทางศีลธรรมจรรยา หาก อนุศาสนาจารย์ประพฤติบกพร่องในส่วนนี้ จะมีผลกระทบต่อการอบรมศีลธรรม วัฒนธรรม การปฏิบัติพิธี การให้คําแนะนําเป็นอย่างมาก คือมากกว่ากําลังพลอื่นๆ ที่ ปฏิบัติบกพร่องในเร่อื งเดยี วกนั และจะนําไปสู่การคลายศรัทธา ๑.๑๐ ต้องมีอัธยาศัยขยัน แสดงความกระตือรือร้นท่ีจะทํางานและมีความ เออื้ เฟ้อื ตอ่ งานอยเู่ สมอ เพราะการเกียจคร้านทําการงานเป็นอบายมุขข้อหน่ึงในจํานวน หลาย ๆ ขอ้ ๒. วินยั หรือจรรยาบรรณของอนศุ าสนาจารย์ อนุศาสนาจารย์ใหม่ทุกนาย เมื่อบรรจุเข้ารับราชการในตําแหน่ง อนุศาสนาจารย์แล้ว จะต้องเข้าสู่พิธีรับเข้าหมู่คณะของอนุศาสนาจารย์ทหารบก ใน คราวอบรมเพม่ิ เติมความรปู้ ระจาํ ปี สายวิทยาการ อศจ.ทบ. โดยมีพิธีการดงั นี้

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๑๔๕ เวลา ................ - ผู้รว่ มพธิ พี ร้อม - อศจ.ใหม่ เขา้ ประจาํ จุดสําหรบั ประกอบพิธี ................ - ผอ.กอศจ.ยศ.ทบ.เดนิ ทางถงึ ห้องประชุมพระพุทธสิงห์ชยั มงคล - หน.กําลงั พลฯ บอกแสดงความเคารพ - ผอ.กอศจ.ยศ.ทบ.จดุ ธูปเทียนบชู าพระรัตนตรัย, กราบพระ, เคารพธงชาติและพระบรมฉายาลกั ษณ์ นงั่ ณ ทร่ี ับรอง -หน.กําลงั พลฯ กล่าวรายงานเบิกตัว อศจ.ใหมก่ ระทําพิธีรบั เข้าหมคู่ ณะ และเรยี นเชิญ ผอ.กอศจ.ยศ.ทบ.ประกอบพิธีฯ -อศจ.ใหมเ่ ดนิ ขึน้ เวทที ลี ะนาย (หนั หน้าไปทาง ผอ.กอศจ.ยศ.ทบ.) จนครบ - คนหลังสดุ ส่งั ซ้ายหนั , สงั่ คกุ เข่า กราบ ๓ คร้ัง - ผนู้ าํ กล่าวคําบูชาพระรัตนตรยั ( อรหัง สมั มา สมั พทุ โธ ภควาฯ ) ท่เี หลือวา่ ตาม - อาราธนาศลี /กล่าวบท นะโม /สมาทานศีล (กลา่ วพร้อมกัน) - กลา่ วคําสตั ยป์ ฏิญาณ และวินยั อศจ. เปน็ วรรค ๆ เบือ้ งหน้า พระพทุ ธสงิ ห์ชยั งคล (จบแลว้ กราบ ๓ ครั้ง) - คนสดุ ท้ายสงั่ (ลกุ .....ขวา.. หัน) - เดินมามอบคาํ สตั ย์ปฏิญาณและวนิ ัย อศจ. ให้ ผอ.กอศจ.ยศ.ทบ. (โค้ง.../..ยืน../..กึ่งขวาหนั .../..ยืน่ แขนซา้ ยรบั ปลอกแขน../ ยนื ตรง /..รับนาํ้ มนต์มาด่ืม../คืนแกว้ ../สมั ผสั มือ/..โค้ง.) - เดินกลับไปกราบพระ เคารพธงชาติ พระบรมฉายาลักษณ์ (จนครบทุกคนแล้ว) - ผอ.กอศจ.ยศ.ทบ.ให้โอวาท จบแล้ว (หน.กาํ ลังพลส่งั “ตรง”) -เดินลงมายนื ดา้ นหน้าเวทีรับการแสดงความยนิ ดีจาก คณะ อศจ. - เสรจ็ พิธี

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๑๔๖ ๒.๑ คําสัตยป์ ฏญิ าณตนของอนุศาสนาจารย์ คําสัตย์ปฏิญาณ อศจ.ทบ. .................................. โดยหนงั สอื ฉบบั นี้ ขา้ พเจ้า..................................................... ขอให้คําสัตย์ปฏิญาณ/ ไว้ต่อหน้าพระพุทธสิงห์ชัยมงคล/ และคณะอนุศาสนาจารย์ กองทพั บก/ ดงั ต่อไปนี้ ข้อ ๑ / ข้าพเจ้า/ จักปฏิบัติตามคําส่ัง/ และโอวาท/ ของหัวหน้าอนุศาสนาจารย์/ ทุกประการโดยเครง่ ครัด/ ข้อ ๒ / ข้าพเจ้า/ จักปฏิบัติตาม/ กฎ/ ข้อบังคับ / คําสั่ง / ระเบียบ /และแบบ ธรรมเนียมของทางราชการ/ ทกุ ประการโดยเคร่งครดั / ขอ้ ๓ / ขา้ พเจา้ / จักปฏิบัติหนา้ ท่รี าชการ/ จนสุดความสามารถ/ ด้วยความเต็มใจ/ โดยไมเ่ ห็นแก่ความเหน่อื ยยากลําบาก/ แตป่ ระการใด ข้อ ๔ / ข้าพเจ้า/ จักไม่ประพฤติตน/ ให้เป็นท่ีรังเกียจของคณะ/ ด้วยประการใด ประการหนงึ่ / จักประพฤตติ น/ให้เหมาะสมกับฐานะ/ ทีเ่ ปน็ อนุศาสนาจารย์ทุกประการ / ข้อ ๕ / ถ้าข้าพเจ้า/ ไม่กระทําตามคําสัตย์ปฏิญาณ / ท่ีให้ไว้น้ี / หรือทําตนให้เป็น ที่รังเกียจของคณะ/ ด้วยประการใดประการหน่ึงก็ตาม / ข้าพเจ้าจักไม่เห็นแก่ตัว / จนทางราชการสั่งให้ออก / จกั ขอลาออกโดยดี / ดว้ ยตนเอง / ทีเดยี ว / คาํ สัตย์ปฏญิ าณนี้ / ใหไ้ ว้ / ณ วันที่ ...........เดอื น.................พ.ศ........... ลงชื่อ ......................................................... (..................................................) ผูใ้ หค้ าํ สัตย์ปฏิญาณ

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๑๔๗ ๒.๒ คาํ ปฏญิ ญาจรรยาบรรณอนุศาสนาจารยท์ หารบก คําปฏิญญาจรรยาบรรณอนศุ าสนาจารยท์ หารบก ....................................... ขา้ พเจา้ (ยศ,ช่อื -สกลุ ) ขอให้คําปฏิญญา/ ไว้ต่อหน้าพระพุทธสิงห์ชัยมงคล/ และพระบรมรูป/ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว/ องค์พระราชทาน/ กําเนิดกิจการ อนุศาสนาจารยก์ องทพั ไทย/ ดว้ ยการปฏบิ ัติตามจรรยาบรรณ ๑๓ ข้อ/ ดงั ตอ่ ไปน้ี ข้อ ๑ /อนุศาสนาจารย์/ ตอ้ งรักษาศลี ๕ เป็นนิตย์ ขอ้ ๒ /อนุศาสนาจารย/์ ต้องต้ังอยู่ในธรรมของสัตบุรษุ / และกุศลกรรมบถ ๑๐ ข้อ ๓ /อนุศาสนาจารย์/ ต้องมีภรรยาเพียงคนเดียว/ และต้องเล้ียงดูครอบครัวโดย ชอบธรรม ข้อ ๔ / อนุศาสนาจารย์/ ต้องไม่เข้าไปม่ัวสุมในสํานักหญิงแพศยา/ บ่อนการพนัน/ และสถานท่ีมกี ารเสพสงิ่ เสพติด ข้อ ๕ /อนุศาสนาจารย์/ ต้องงดเว้นการประกอบมิจฉาชีพ/ และรับประกอบกิจ/ อนั วิญญชู นพจิ ารณาแล้วตําหนติ ิเตยี นได้ ข้อ ๖ /อนุศาสนาจารย์/ เมื่อประสงค์จะร้องเรียน/ขอความเป็นธรรมจากผู้ใหญ่/ ต้องไม่ใช้บัตรสนเทห่ ์/หรอื เขยี นคําขอร้อง/ตลอดจนขอ้ ความโจมตผี ู้อน่ื ทางสือ่ ทกุ ชนดิ ข้อ ๗/ อนุศาสนาจารย์จะต้องไม่วิ่งเต้น/หรือร้องให้บุคคลภายนอกวงการ อนุศาสนาจารย์/จาํ ต้องโยกย้ายตน/ หรอื ยับยงั้ การโยกยา้ ยตน /ในเมื่อการกระทํานั้นขัด กับแผนการโยกย้าย/ ของสายวทิ ยาการอนุศาสนาจารย์ ข้อ ๘ /อนุศาสนาจารย์จะต้องงดเว้นเด็ดขาด/ จาการแสดงตัวว่าเป็นคนมักได้/ รํา่ รอ้ งขอบําเหนจ็ ความชอบ/จากผูใ้ หญเ่ พอ่ื ตนเอง ข้อ ๙/ อนศุ าสนาจารย/์ ไม่พงึ พกอาวุธ ขอ้ ๑๐/ อนุศาสนาจารย์/ ไมพ่ ึงเข้าเป็นสมาชกิ พรรคการเมอื งใด ข้อ ๑๑/ อนุศาสนาจารย์/ ไม่พึงรําวง/ เต้นรํา ร้องเพลงโชว์/ ต่อยมวย/ แต่งแฟนซี /และออกปรากฏตัวในฐานะผู้แสดงลเิ ก ละคร ข้อ ๑๒ / อนศุ าสนาจารย์/ พงึ ตระหนักในการแต่งกายใหส้ ุภาพ/ และ

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๑๔๘ ๑๒.๑ ในเวลาปฏิบัตริ าชการ/ แต่งเคร่อื งแบบให้ครบถ้วน ๑๒.๒ ไม่ไวผ้ มยาวหรอื ตดั ผมแบบคาวบอย ๑๒.๓ เมอื่ สวมเสื้อแขนยาว ต้องไม่พบั แขน ๑๒.๔ เครอ่ื งแต่งกายทุกส่วน ตอ้ งไม่ใช้สแี ละลวดลายที่ฉูดฉาด ข้อ ๑๓/ อนุศาสนาจารย์จะต้องไม่ประพฤติตน/ เป็นปฏิปักษ์ต่อคณะสงฆ์นิกายใด นิกายหนง่ึ /และเคารพเชิดชโู ดยสม่าํ เสมอกนั ดว้ ยอํานาจแหง่ คาํ ปฏิญญานี้ ขออานุภาพแหง่ คุณพระศรีรัตนตรัย/โปรดอํานวยพร ให้ข้าพเจ้า/ เจริญรุ่งเรืองในวิชาชีพอนุศาสนาจารย์/ การรับราชการและมีความสุข สวัสด/ี ตลอดกาลนานเทอญ ฯ ๓. ลกั ษณะการปฏิบัตงิ านของอนุศาสนาจารย์ ๓.๑ ปฏิบัติตามแผนงานท่ีทราบล่วงหน้า ท้ังในเวลาราชการและนอกเวลา ราชการ ๓.๒ ปฏิบัติงานตามกรณีและสถานการณ์ท่ีเกิดขึ้นโดยไม่มีแผนงานและไม่ ทราบลว่ งหน้าทง้ั ในวนั เวลาราชการและนอกวนั เวลาราชการ ๓.๓ ปฏิบัติงานภายนอกหน่วย เช่นการสอนอบรมและการปฏิบัติพิธีแก่ หน่วยท่ีไม่มีอนศุ าสนาจารย์ ๓.๔ ต้องปฏิบัติงานพิธีให้แก่ผู้บังคับบัญชาในส่วนบังคับบัญชาของ กองทพั บก ตามทส่ี ํานกั งานเลขานุการกองทัพบกประสานโดยตรง ๓.๕ ต้องปฏิบัติพิธีของอดีตผู้บังคับบัญชา และข้าราชการช้ันผู้ใหญ่ของ กองทพั บกทเ่ี กษยี ณอายุราชการแลว้ เป็นคร้ังคราวตามทีไ่ ด้รับการประสานโดยตรง ๓.๖ ต้องปฏิบัติงานให้ความร่วมมือแก่สถานศึกษา วัด องค์กรทางศาสนา และส่วนราชการ นอกกองทัพบกเป็นครั้งคราวตามท่ีได้รับการประสาน เช่น การร่วม อภิปรายธรรมะ การบรรยายธรรมะการปฏิบัติพิธี การเป็นกรรมการตัดสินกิจกรรมทาง ศาสนาวฒั นธรรมประเพณี ๓.๗ ต้องปฏิบัติงานทางธุรการท่ีเกี่ยวข้องกับงานเอกสาร วารสาร จุลสาร ทางจริยธรรมและการบันทกึ เทปรายการทางสถานีวิทยแุ ละโทรทัศน์ ท่ีเกีย่ วข้อง

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๑๔๙ ๓.๘ ต้องปฏิบัติงานให้คําแนะนําด้านขวัญกําลังใจและจริยธรรม การเยี่ยม พบปะครอบครวั ทหาร ทหารเจ็บปว่ ย การไหว้พระสวดมนต์ของทหารในเวลา ๒๐๓๐ ๓.๙ ต้องปฏิบัติงานในการกํากับหลักสูตรของกองทัพบกท่ีเกี่ยวกับ จริยธรรม ซึ่งเปิดทําการศึกษาในกรุงเทพมหานคร และต่างจังหวัด ต้องกํากับดูแลนอก วันราชการและนอกเวลาราชการ ๓.๑๐ ต้องส่งอนุศาสนาจารย์ไปบรรยายอบรมทางศีลธรรมวัฒนธรรมและ ปฏบิ ัติพธิ ี แก่หน่วยทไี่ ม่มอี นุศาสนาจารย์ ๓.๑๑ ต้องสอนในโรงเรียนเหล่าสายวิทยาการในวิชาการศาสนาและ ศีลธรรม ตามที่ได้รับการประสาน รวมท้ังการสอนในหลักสูตรที่กองอนุศาสนาจารย์ รับผดิ ชอบโดยตรง ๓.๑๒ ต้องบรรยายอบรมทางศีลธรรมแก่นักโทษในเรือนจําของฝ่ายพล เรือนที่พุทธสมาคม แหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ขอความชว่ ยเหลอื ๓.๑๓ ต้องสอนโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ตลอดห้วงเวลาของ หลกั สตู รในวันอาทิตย์ ๓.๑๔ ต้องบรรยายอบรมแก่พระนวกะ ตามที่ทางคณะสงฆ์ ขอความ รว่ มมือในห้วงเวลาเข้าพรรษา ๓.๑๕ อนุศาสนาจารย์ผู้ใหญ่และผู้ติดตาม ต้องออกตรวจกิจการ อนศุ าสนาจารย์ประจําปตี ามห้วงเวลาตลอดทง้ั ส่ีกองทัพภาค ๔. การปฏิบตั ภิ ารกจิ นอกเหนอื จากภารกิจหลักของอนุศาสนาจารย์ ด้วยเหตุผลและความจําเป็นในการปฏิบัติภารกิจของอนุศาสนาจารย์ กรม ยุทธศึกษา-ทหารบก จึงได้มีหนังสือขอความร่วมมือไปยังหน่วยต่างๆ ไม่ให้มอบหมาย ภารกิจท่ีนอกเหนือจากภารกิจหน้าท่ีของอนุศาสนาจารย์ ให้อนุศาสนาจารย์ปฏิบัติ (หนังสือ ยศ.ทบ. ท่ี ๒๕๐๓/๐๓ ลง ๒๙ ก.พ.๐๓) ซึ่งนอกจากภารกิจบางอย่างไม่ เหมาะสมกับภาวะอนุศาสนาจารย์แล้ว ยังเป็นสาเหตุหน่ึงท่ีทําให้อนุศาสนาจารย์ไม่มี เวลาเพียงพอที่จะปฏิบัติภารกิจหลักของตน เช่นการสอนบรรยายการพบปะเสนอแนะ ทางจริยธรรม การริเร่ิมงานทางสายวิทยาการ การแก้ปัญหารายบุคคลของกําลังพลท่ีมี ปัญหา การวางแผนป้องกันกําลังพลท่ีไม่มีปัญหาไม่ให้มีปัญหา เป็นต้น ให้เรียบร้อยได้

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๑๕๐ ทันเวลา ท้ังไม่มีเวลาที่จะค้นคว้าเตรียมการสําหรับการสอน การบรรยายของตนด้วย ภารกิจท่ีกรมยุทธศึกษาทหารบก ขอความร่วมมือไปยังหน่วยต่าง ๆ ไม่ให้มอบให้ อนศุ าสนาจารย์ปฏิบตั ิ คือ ๔.๑ การเปน็ ผู้จัดการโรงเรียนบุตร ทบ. ๔.๒ การเป็นผู้ควบคมุ รถนักเรียนและผ้โู ดยสาร ๔.๓ การเปน็ กรรมการจัดซื้อจัดขายส่ิงของ ๔.๔ การเป็นกรรมการประกวดราคา ๔.๕ การเปน็ กรรมการตรวจรบั สง่ิ ของประจําเดือน ๔.๖ การเปน็ กรรมการสอบสวนลงโทษผกู้ ระทําผิด ๔.๗ การเป็นเจา้ หนา้ ที่เหรัญญิกหรือผูเ้ กบ็ รักษาเงนิ อนึ่ง นอกจากภารกิจท่ีกรมยุทธศึกษาทหารบกได้ขอความร่วมมือดังกล่าว นั้นแล้ว ยงั มภี ารกจิ อ่ืน ๆ ทห่ี น่วยไมค่ วรมอบหมายใหอ้ นุศาสนาจารยป์ ฏบิ ัติ เช่น ๑) การเข้าเวรยาม ( ถ้ากรณีมีพิธีศพของข้าราชการ อศจ. จะละ ท้งิ เวรยามไมไ่ ด)้ ๒) การเข้าร่วมเป็นกรรมการตัดสินการแข่งขันที่มีการปฏิบัติ ต่อเนื่อง เช่น การเป็นกรรมการตัดสินการแข่งขันกีฬา ซ่ึงจะมีผลกระทบต่อการปฏิบัติ ภารกจิ โดยตรงของอนศุ าสนาจารย์

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๑๕๑ ตอนที่ ๒ อนุศาสนาจารยเ์ หลา่ ทัพ

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๑๕๒ บทที่ ๘ ตาํ นานอนุศาสนาจารยท์ หารอากาศ เร่ิมแรกอุบตั ิของอนุศาสนาจารยท์ หารอากาศ เม่ือกองทัพอากาศยังมีฐานะเป็นกรมอากาศยาน ยังมิได้มีอนุศาสนาจารย์บรรจุ เข้ารับราชการประจําตําแหน่ง ได้ขอไปยังแผนกอนุศาสนาจารย์ กรมตําราทหารบก ให้ ย้ายสับเปล่ียนหมุนเวียนกันมาปฏิบัติหน้าท่ีอนุศาสนาจารย์ท่ีกรมอากาศยานคราวละ ๑ นายบ้าง ๒ นายบ้าง เม่ืออยู่ได้ประจําครบ ๑ ปีบ้าง ๒ ปีบ้าง ก็มีการสับเปล่ียนกันครั้ง หน่ึง เปน็ เชน่ นี้เรื่อยมา อนุศาสนาจารย์กรมอากาศยาน ๑. อนุศาสนาจารย์ ทบ. คนแรกท่ีย้ายมาอยู่ประจําท่ีกรมอากาศยาน คือ รองอํามาตย์ตรี กถิน อัตถโยธิน ย้ายตามคําส่ัง ทบ.ท่ี ๗๖/๗๕๒๑ ลงวันที่ ๒๗ มิ.ย. ๒๔๖๖ ท่านรับราชการอยู่ท่ีกรมอากาศยานครบ ๒ ปี แล้วย้ายกลับไปอยู่ แผนกอนุศาสนาจารย์ กรมตําราทหารบก ตามคําส่ัง ทบ.ที่ ๑๓๖/๑๗๘๗๕ ลงวันท่ี ๒๑ พ.ย. ๒๔๖๘ ขณะท่ีทา่ นย้ายกลับนี้ ทา่ นไดเ้ ล่อื นยศเป็น รองอํามาตยโ์ ท แลว้ ๒. อนุศาสนาจารย์ที่ย้ายมาประจํากรมอากาศยานคนต่อไปคือ รองอํามาตย์ตรี ดรุน สทุ ธาชีพ ย้ายตามคาํ ส่ัง ทบ. ที่ ๑๓๖/๑๗๘๗๕ ลงวนั ท่ี ๒๑ พ.ย. ๒๔๖๘ ๓. และในปลายปี ๖๘ น้ัน ได้มีคําส่ังย้าย รองอํามาตย์ตรี กมล มโนชญากร ให้มารับราชการประจํากรมอากาศยาน ตามคําสั่ง ทบ.ท่ี ๒๑๑/๒๖๘๕๐ ลงวันที่ ๒๓ มี.ค. ๒๔๖๘ (ในปนี ีก้ รมอากาศยานมี อศจ. ๒ นาย) ๔. ตน้ ปี ๖๙ ได้มีคําสั่งย้าย รองอํามาตย์ตรี ดรุณ สุทธาชีพ จากกรมอากาศยาน ให้ไปเป็นอนุศาสนาจารย์ ประจํากองบินใหญ่ที่ ๑ โคกกระเทียม ตามคําสั่งของกรม อากาศยาน (คอ.) ที่ ๑๓/๔๕๘ ลงวันที่ ๒๙ เม.ย. ๖๙ (ปี ๖๙ นี้แผนกอนุศาสนาจารย์ ทหารบก ย้ายสังกัดจากกรมตําราทหารบก ไปข้ึนกรมยุทธศึกษาทหารบก มีชื่อย่อ เรยี กว่า ยศ. ๔) ๕. ต้นปี ๗๐ ได้มีคําสั่งย้าย รองอํามาตย์ตรี กมล มโนชญากร ไปรับราชการท่ี มณฑลพายัพ ตามคําสั่ง ทบ.ท่ี ๑๐๔/๘๔๕๖ ลงวันท่ี ๓๐ ก.ค. ๗๐ จึงย้าย

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๑๕๓ รองอํามาตย์โท เวียร พูลสวัสด์ิ มารับราชการในกรมอากาศยานแทน ตามคําส่ัง ทบ. ที่ ๑๑๔/๑๐๑๖๑ ลงวันท่ี ๒๓ ส.ค. ๗๐ ๖. ต้นปี ๗๑ ได้มีคําสั่งย้าย รองอํามาตย์ตรี โปร่ง พีรคัม จากกรมยุทธศึกษา ทหารบกมาเป็นอนุศาสนาจารย์กรมอากาศยาน และในคําส่ังอันเดียวกันนี้ให้ย้าย รองอํามาตย์โท ดรุณ สุทธาชีพ จากกองบินใหญ่ที่ ๑ โคกกระเทียม กลับไปอยู่แผนก อนุศาสนาจารย์ กรมยุทธศึกษาทหารบก ตามคําสั่ง ทบ. ที่ ๔๗/๒๒๕๔ ลงวันที่ ๙ พ.ค. ๗๑ เม่ือ รองอํามาตย์ตรี โปร่ง พีรคัม ได้ศึกษางานกับ รองอํามาตย์โท เวียร พูลสวัสด์ิ ท่ีกรมอากาศยานดีแล้ว จึงมีคําส่ังย้าย รองอํามาตย์โท เวียร พูลสวัสด์ิ จาก กรมอากาศยาน ให้ไปอยู่ประจํากองบินใหญ่ที่ ๑ โคกกระเทียม แทน รองอํามาตย์โท ดรณุ สทุ ธาชีพ ตามคําส่ังกรมอากาศยาน (คอ.) ที่ ๔๕/๑๔๔๗ ลงวันที่ ๒๒ ม.ิ ย. ๗๑ ๗. ปลายปี ๗๒ ได้มีคําสั่งย้าย รองอํามาตย์โท กถิน อัตถโยธิน จากกรมยุทธ ศึกษาทหารบก มารับราชการในกรมอากาศยาน ตามคําสั่ง ทบ. ที่ ๑๐๘/๗๘๙๔ ลง วันที่ ๒๕ พ.ย. ๗๒ และในคําสั่งเดียวกันนี้ ให้ย้าย รองอํามาตย์โท เวียร พูลสวัสด์ิ จากกองบิน ๑ กลับไปกรมยุทธศึกษาทหารบก และในปลายเดือนน้ันเอง กรมอากาศ ยานกไ็ ดอ้ อกคําส่งั ย้าย รองอํามาตย์ตรี โปร่ง พีรคัม จากกรมอากาศยานให้ไปประจํา อยูก่ องบนิ ใหญท่ ่ี ๑ โคกกระเทียม แทนรองอาํ มาตย์โท เวยี ร พลู สวสั ดิ์ ๘. ต้นปี ๗๓ ได้มีคําสั่งย้าย รองอํามาตย์โท จรูญ สุวรรณเนตร จากกรมยุทธ ศึกษาทหารบก มารับราชการในกรมอากาศยาน ตามคําสั่ง ทบ.ที่ ๔๑/๒๒๓๐ ลงวันที่ ๒๖ พ.ค. ๗๓ และในคําสั่งเดียวกันน้ี ให้ย้าย รองอํามาตย์ตรี โปร่ง พีรคัม จากกองบิน ใหญ่ท่ี ๑ กลับไปกรมยุทธศึกษาทหารบก ย้ายรองอํามาตย์เอก กถิน อัตถโยธิน จากกรมอากาศยาน ไปประจาํ อย่กู องบนิ ใหญ่ที่ ๑ แทนรองอํามาตยโ์ ท โปรง่ พรี คมั ๙. รองอํามาตย์โท จรูญ สุวรรณเนตร รับราชการอยู่ในกรมอากาศยานจนถึงปี ๒๔๗๕ จึงย้ายกลับไปกรมยุทธศึกษาทหารบก แล้วมีคําส่ังย้าย รองอํามาตย์โท เมฆ อําไพจริต มารับราชการในกรมอากาศยานตามรคําส่ัง ทบ.ท่ี ..........ลงวันท่ี ๓๐ ส.ค. ๗๕ ช่วงระยะเวลาตอนนี้ ได้มีเหตุการณ์สําคัญๆ เกิดขึ้น คือมีการปฏิวัติโดย คณะราษฎร์ ติดตามมาโดยการปราบกบฏ สงครามอินโดจีน และสงครามมหาเอเชีย บูรพา

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๑๕๔ หนา้ ที่ของ อศจ. กรมอากาศยาน หน้าที่ของอนุศาสนาจารย์ เม่ือมาประจําอยู่กรมอากาศยาน มีปรากฏอยู่ใน หนังสือประมวลขอ้ บังคบั สาํ หรับกรมอากาศยานภาค ๒ หน้า ๑๐ ดงั น้ี มาตรา ๔ หน้าที่ของอนุศาสนาจารย์ อนุศาสนาจารย์สําหรับกรมอากาศยาน มี หนา้ ทีโ่ ดยละเอยี ดดังต่อไปนคี้ อื ข้อ ๑ อบรมส่งเสริมให้บุคคลผู้ท่ีอยู่ในความคุ้มครองของกรมอากาศยานเป็น พลเมืองดี ท้ังให้ต้ังมั่นอยู่ในความประพฤติดี มีจรรยาและมารยาทอันงาม กับให้ผู้ซึ่งนับ ถือพระพุทธศาสนาตามบรรพบุรุษของตนน้ัน มีความศรัทธาเชื่อมั่นย่ิงขึ้นในธรรมของ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า แต่ไม่มีหน้าที่ชักจูงให้ผู้ที่นับถือลัทธิความเช่ืออย่างอ่ืน กลับมาถือพระพุทธศาสนา เพราะราชการมิได้ประสงค์จะบังคับน้ําใจผู้ใดในทางลัทธิ ความเชอื่ ข้อ ๒ ฟังคําปรับทุกข์ของบุคคลผู้มีความทุกข์ร้อนอย่างใดอย่างหน่ึงและมีความ ประสงค์จะปรับทุกข์ เม่ือได้ทราบความทุกข์ร้อนของผู้ใดแล้ว พยายามปลดเปลื้องความ ทุกข์ร้อนของผู้นั้นด้วยโอวาทของตนน่าจะปลดเปลื้อง ก็ให้บอกเล่าช้ีแจงแก่ผู้ใหญ่ผู้มี หนา้ ท่บี ังคับบัญชานั้น ๆ ต่อไป ข้อ ๓ ไปเย่ียมเยือนตามเรือนแถวต่างๆ ตามโอกาส เพื่อสนทนาปราศรัยไต่ถาม ความสุข ทุกข์ อันเป็นทางนําให้เกิดความชอบพอสนิทสนมแล้ว และถือโอกาสน้ีแนะนํา ในขอ้ ทคี่ วรแนะ ตกั เตือนในข้อทีค่ วรตักเตือน ตลอดถึงการช้แี จงในเรื่องสุขาภบิ าลด้วย ข้อ ๔ อบรมเด็กนักเรียนในโรงเรียนวัดดอนเมืองด้วยจรรยาอันดี เพื่อให้เป็น พลเมืองดีต่อไปในภายหน้า ในการน้ีควรหาโอกาสทําให้ได้ในสัปดาห์หนึ่งครั้งหรือสอง ครั้งเปน็ อย่างนอ้ ย ขอ้ ๕ ในเดือนหน่ึง ควรนาํ กองทหารต่างๆ ไหว้พระสวดมนต์ในเวลาสักครั้งหน่ึง เป็นอย่างน้อย นอกจากนี้ ก่อนแต่จะทําการไหว้พระสวดมนต์ก็ดี ภายหลังจากทําการ ไหว้พระสวดมนต์แล้วก็ดี ควรถือเอาโอกาสน้ันเพียงเล็กน้อยส่ังสอน ให้บังเกิดศรัทธา เลอื่ มใสในพระรตั นตรัยยง่ิ ขน้ึ ข้อ ๖ เมอ่ื มโี อกาสไปเยย่ี มตามกองบินต่างๆ ที่ต้ังอยู่ต่างตําบล เมื่อกลับจากการ ไปเยยี่ มครง้ั หนงึ่ แลว้ ตอ้ งทํารายงานเสนอผ้บู ังคับบญั ชาว่า ไดท้ าํ การอย่างไรบ้าง

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๑๕๕ ข้อ ๗ นอกจากหน้าท่ีอันเนื่องด้วยการอบรมดังแสดงมาน้ีแล้ว ยังมีกิจอย่างอื่น อกี อันเก่ียวกับเอกสารทีส่ าํ คญั ๆ ซ่งึ แลว้ แต่ผู้บงั คับบัญชาจะกําหนดให้ อนศุ าสนาจารย์ทหารอากาศในยคุ (สธ.ทอ. ๓) ๑๐ ในปี พ.ศ. ๒๔๘๑ ไดม้ ีการยกฐานะกรมอากาศยานขึ้นเป็นกองทัพอากาศใน ปีน้ัน ได้มีคําส่ังย้าย รองอํามาตย์โท ขุนเวียรวีรธรรม (เวียร พูลสวัสดิ์) จาก ยศ. ๔ คือ จากแผนกอนุศาสนาจารย์ กรมยุทธศึกษาทหารบก ซ่ึงเรียกช่ือย่อว่า ยศ. ๔ ให้มารับ ราชการในกองทัพอากาศ ข้ึนสังกัด สธ.ทอ. ๓ ตามคําส่ังทหารท่ี ๙๘/๕๘๑๐ ลงวันที่ ๖ ก.ค. ๘๑ จึงถือว่าอนุศาสนาจารย์ของกองทัพอากาศคนแรกคือ รองอํามาตย์โท ขุนเวียรวีรธรรม และเป็นที่น่าสังเกตว่าการจัดส่วนราชการของอนุศาสนาจารย์ครั้งแรก น้ัน ตรงกับการจัดส่วนราชการอนุศาสนาจารย์ของกองทัพอากาศอเมริกัน คือ จัดให้ อนุศาสนาจารย์ขึน้ กับสว่ นบญั ชาการ ๑๑. ในปี พ.ศ. ๒๔๘๔ ได้มีคําสั่งย้าย รองอํามาตย์โท ขุนสุทธธรรมประภาษ (ดรุณ สุทธาชีพ) จาก ยศ.๔ มาเป็นอนุศาสนาจารย์ประจํา สธ.ทอ. ๓ ตามคําสั่งทหาร ที่ ๔/๑๖๗ ลงวันท่ี ๔ ม.ค. ๘๔ (ยศครั้งสุดท้ายเมื่อครบเกษียณอายุราชการ เป็น นาวาอากาศเอก) ๑๒. นบั แตป่ ี ๘๒ เป็นตน้ มา ได้มคี ําส่งั ทหารให้เรยี กคาํ นําหน้าชอ่ื ว่า “มหา” ยกเว้นผู้ทไ่ี ด้รับยศหรือ บรรดาศักดิ์ เชน่ รองอํามาตย์โท ขนุ ..................ไมต่ ้องเรยี กคาํ หนา้ ชือ่ วา่ มหา ดงั นน้ั ชอื่ อนศุ าสนาจารย์ ต่อไปนจ้ี งึ มคี าํ นําหนา้ ช่อื วา่ มหา และ กองทพั อากาศได้ทาํ การสอบคัดเลอื กอนศุ าสนาจารย์แล้วบรรจเุ อง ไมข่ อจากกรมยทุ ธ ศกึ ษาทหารบกอยา่ งแตก่ อ่ น เริ่มตน้ จากมหาสุจรัส กววี ฒั นา (ตอ่ มามยี ศเป็นนาวา อากาศเอก) ยา้ ยมาจากกรมช่างอากาศมารบั ราชการใน สธ.ทอ. ๓ บรรจุเล่ือนชนั้ เปน็ อนุศาสนาจารย์ ตามคําส่ังทหารท่ี ๓๓๖/๒๔๐๐ ลงวนั ท่ี ๓๐ ก.ย. ๘๖ คร้ัน พ.ศ. ๒๔๘๙ ทา่ นได้ยา้ ยจากอนุศาสนาจารยไ์ ปประจําแผนกทะเบียนพลกองทพั อากาศ ตามคําส่งั ทอ.ท่ี ๖๕/๒๖๑๐ ลงวนั ท่ี ๑๕ มี.ค. ๘๙ ๑๓. มหาสม ประพนั ธโรจน์ ยา้ ยจากแผนกโยธาพาหนะ (ยพ.ทอ.) มารับ ราชการใน สธ.ทอ. ๓ ตามคาํ สงั่ ทอ.ท่ี ๔๒/๑๒๑ ลงวันท่ี ๑๖ ก.พ.๘๘ และเลื่อนช้นั

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๑๕๖ เปน็ ข้าราชการสญั ญาบัตรตามคําสั่งทหารท่ี ๑๗๔/๘๔๓๐ ลงวันท่ี ๒๑ ก.ค. ๘๘ (ถงึ แก่กรรมเมอ่ื ๓๐ ส.ค. ๐๗ ขณะถึงแกก่ รรมมียศเปน็ นาวาอากาศโท) ๑๔. มหาสละ มีลักษณะ (ยศคร้ังสุดท้ายเม่ือครบเกษียณอายุราชการ นาวา อากาศเอก) บรรจุเป็นข้าราชการใน สธ.ทอ. ๓ ตามคําส่ัง ทอ.ท่ี ๔๒/๑๒๑๑ แล้วเลื่อน เป็นข้าราชการสญั ญาบัตร ตามคําสัง่ ทหารที่ ๑๗๔/๘๔๓ ลงวันที่ ๒๑ ก.ค. ๘๘ ๑๕. มหาแยม้ ประพฒั น์ทอง (ยศคร้ังสุดทา้ ยเมื่อครบเกษยี ณอายุราชการ นาวา อากาศเอก) ย้ายจากอนศุ าสนาจารย์กองทัพบก มารับราชการใน สธ.ทอ. ๓ ตามคําสง่ั ทหารที่ ๙๒/๕๙๑๑ ลงวันท่ี ๒๐ เม.ย. ๘๙ ๑๖. รองอํามาตย์โท เมฆ อําไพจริต (ยศครั้งสดุ ทา้ ยเม่อื ครบเกษียณอายุราชการ นาวาอากาศเอก) กลับเข้ารบั ราชการเป็นอนุศาสนาจารย์ สธ.ทอ. ๓ ตามคําสั่งทหารที่ ๒๑๖/๑๕๒๑๐ ลงวนั ท่ี ๑๑ ต.ค. ๘๙ ยคุ กรมยุทธศกึ ษาทหารอากาศ ตามอัตรา ทอ. ๙๑ กองทัพอากาศได้ย้ายอัตราอนุศาสนาจารย์ซ่ึงเคยข้ึนกับ สธ.ทอ. ๓ อันเป็นส่วนบัญชาการ มาข้ึนกับกรมยุทธศึกษาทหารอากาศอันเป็นส่วน การศึกษา โดยเป็นแผนกอนุศาสนาจารย์ ต่อมาอัตรา ทอ. ๙๕ ได้ยกฐานะขึ้นเป็นกอง อนุศาสนาจารยม์ าจนถึงปจั จุบนั น้ี อนุศาสนาจารยไ์ ดร้ ับยศทหาร กระทรวงกลาโหม ได้ออกกฎกระทรวง พ.ศ. ๒๔๙๖ ออกตามความใน พระราชบัญญัติยศทหาร พ.ศ. ๒๔๗๙ ได้มีบทเฉพาะกาลแต่งต้ังยศทหารให้แก่ ข้าราชการกลาโหมพลเรือน ซึ่งเป็นข้าราชการมาก่อนวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๔๙๖ ท้ังหมด ในการน้ี อนุศาสนาจารย์กองทัพอากาศซึ่งเป็นข้าราชการกลาโหมพลเรือนมา แต่เดิม จึงได้รับคําสั่งให้เข้าโรงเรียนกลาโหมพลเรือนสัญญาบัตรร่วมกับข้าราชการ กลาโหมพลเรือนเหล่าอื่นๆ รับการฝึกอบรมวิชาทหารและวิชาอื่นๆ ประมาณ ๒ เดือน แล้วจึงให้รับการแต่งต้ังยศทหาร ตามคําสั่งกลาโหมที่ ๔๘/๖๐๕๕ ลงวันท่ี ๑๙ มี.ค. ๙๘ เรื่อง การแต่งต้ังยศข้าราชการกลาโหมพลเรือนเป็นนายทหารสัญญาบัตร มีผู้ได้รับ พระราชทานแตง่ ตั้งยศทหารในคร้ังนน้ั คอื

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๑๕๗ ๑. รองอาํ มาตยโ์ ท ขุนสทุ ธรรมประภาษ เปน็ ว่าที่นาวาอากาศเอก ๒. มหาแย้ม ประพัฒน์ทอง เปน็ ว่าทน่ี าวาอากาศโท ๓. รองอํามาตยโ์ ท เมฆ อําไพจริต เปน็ วา่ ที่นาวาอากาศตรี ๔. มหาสละ มีลักษณะ เปน็ ว่าทนี่ าวาอากาศตรี ๕. มหาบญุ มี จรุงคนธ์ เป็น ว่าที่เรืออากาศโท ๖. มหาภกั ดี พยงุ ผล เปน็ ว่าที่เรืออากาศโท ๗. มหากติ ตศิ ักด์ิ ฉิมบนั เทงิ เป็น ว่าที่เรอื อากาศตรี ๘. มหาสมัย สิงห์ศริ ิ เป็น ว่าทเี่ รืออากาศตรี สถานทีต่ ั้งหน่วยอนศุ าสนาจารย์ ปี ๘๑ ในยุคที่อนุศาสนาจารย์ทหารอากาศข้ึนอยู่กับ สธ.ทอ. ๓ น้ัน สถานที่ ทํางานอยู่ตึก บก.ทอ.(หลังเก่ารื้อแล้ว) เม่ือ ๘ ธ.ค. ๘๔ เกิดสงครามอินโดจีนต่อด้วย สงครามมหาเอเชียบูรพา ต่อมาในปี ๘๗ อนุศาสนาจารย์ได้รับคําสั่งให้อพยพหลบภัย สงคราม ย้ายสถานท่ีไปอยู่บนป่าสะแก ตําบลหลักส่ี จนถึง ๑๗ ส.ค. ๘๘ ญ่ีปุ่นยอมแพ้ สงครามยุติลง อนุศาสนาจารย์ได้รับคําสั่งให้กลับเข้าสู่ที่ตั้งกับ สธ.ทอ. ๓ อยู่ตึกอาคาร เหลือง (ต่อมาเป็นโรงเรียนนายเรืออากาศ และปัจจุบันเป็นกรมสวัสดิการทหารอากาศ) อัตรา ทอ. ๙๑ กองทัพอากาศได้แก้อัตราอนุศาสนาจารย์ให้มาขึ้นกรมยุทธศึกษาทหาร อากาศ จึงยา้ ยจากอาคารตึกเหลืองมาอยู่ที่อาคาร รร.ผบ.หมวด ปี ๙๖ ย้ายไปอยู่อาคาร พธ.ยศ.ทอ. (หลังเก่าท่ีร้ือไปแล้ว) ปี ๙๗ ย้ายไปอยู่อาคาร วทอ. (หลังเก่ารื้อไปแล้ว อยู่ คนละซึกกับฝ่ายกรเงิน) ปี ๐๙ ย้ายไปอยู่อาคารกองการศึกษา และปี ๑๓ ย้ายมาอยู่ อาคาร ยศ.ทอ. สร้างใหมใ่ นปัจจุบันนี้

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาทสนาํ าเนจาียรบยไ์ ทผยอ.กอศ.ยศ.ทอ. ๑๕๘ 1. รองอาํ มาตยโ์ ท ขุนเวียรวีรธรรม (พ.ศ.2481 - 2488) 2. น.อ. ขนุ สทุ ธธรรมประภาษ 3. น.อ. เมฆ อาํ ไพจรติ 4. น.อ. แย้ม ประพฒั นท์ อง (พ.ศ.2488 - 2499) (พ.ศ.2499 - 2505) (พ.ศ.2505 - 2513) 5. น.อ. สละ มลี กั ษณะ 6. น.อ. ภกั ดี พยงุ ผล 7. น.อ. กติ ตศิ กั ด์ิ ฉิมบรรเทงิ (พ.ศ.2513 - 2516) (พ.ศ.2516 - 2522) (พ.ศ.2522 - 2525)

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๑๕๙ 8. น.อ. สมยั สงิ หศ์ ิริ 9. น.อ. ธาํ รง อคั รพฒั น์ 10. น.อ. สนทิ รอดเงิน (พ.ศ.2525 - 2526) (พ.ศ.2526 - 2527) (พ.ศ.2527 - 2531) 11. น.อ. ทองสขุ จทัชบตุ ร 12. น.อ. ถวลิ อมิ่ ใจพงษ์ 13. น.อ. ปนาถ ประสาทอดศิ ักดิ์ (พ.ศ.2531 - 2533) (พ.ศ.2533 - 2536) (พ.ศ.2536 - 2537) 14. น.อ. โกวทิ ทวิชาตวรบตุ ร 15. น.อ. สงบ จารนยั 16. น.อ. ประทปี สาวาโย (พ.ศ.2537 - 2539) (พ.ศ.2540 - 2542) (พ.ศ.2539 - 2540)

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๑๖๐ 17. น.อ. เฉลา บญุ ประเสรฐิ 18. น.อ. เฉลยี ว สงั ฆมณี 19. น.อ.พลู ชยั บญุ ปก (พ.ศ.2542 - 2544) (พ.ศ.2546 - 2547) (พ.ศ.2544 - 2546) 20. น.อ. เกษม แกว้ วเิ ศษ 21. น.อ. สรุ นิ ทร์ คุ้มจน่ั 22. น.อ. จวน ทรงภมู ิ (พ.ศ.2547 - 2549) (พ.ศ.2549 - 2554) (พ.ศ.2554 - 2555) 23. น.อ. วันชัย บญุ ภกั ดี 2๔. น.อ. ปรชี า วรวชั รญาณ (พ.ศ.2555 – 2560) (พ.ศ.2560 – ปจั จบุ นั )

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๑๖๑ บทที่ ๙ ตาํ นานอนุศาสนาจารย์ทหารเรือ .......................... อนุศาสนาจารย์ทหารเรือเริ่มก่อกําเนิดข้ึนเม่ือวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๔๖๗ ในสมัย พล.ร.อ.สมเด็จพระเจ้านอ้ งยาเธอ เจา้ ฟ้ากรมหลวงนครราชสมี า ทรงเป็นผู้สําเร็จราชการ กระทรวงทหารเรอื มีประวตั คิ วามเปน็ มาดังนี้ จุดเร่ิมความคิดท่ีจะมีอนศุ าสนาจารยท์ หารเรอื เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๖ พล.ร.อ. สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวง นครราชสีมา (ชาวทหารเรือเรียกพระนามเป็นการภายในว่า “ทูลกระหม่อม อัษฎางค์”) ขณะทรงดํารงตําแหน่งผู้สําเร็จราชการกระทรวงทหารเรือ ได้เสด็จเมืองสิงคโปร์และ ปีนังเป็นทางราชการ โดยเรือหลวงพระท่ีนั่งจักรี ในขบวนเสด็จมีทั้งข้าราชการทหาร ข้าราชการพลเรอื นและข้าราชบรพิ ารในพระองค์ ในจํานวนข้าราชบริพารที่ตามเสด็จน้ัน มี นายวงศ์ เชาวนะกวี ด้วยผู้หนึ่งที่พระองค์ทรงรับสั่งให้ตามเสด็จอย่างใกล้ชิด นายวงศ์ เชาวนะกวี ผู้น้ีเคยบวชเป็นเปรียญ มีความรอบรู้ทางศาสนากว้างขวางและสามารถพูด ภาษามลายูใชก้ ารได้ ในระหว่างเดินทางค้างแรมอยู่ในเรือพระท่ีนั่งน้ัน ทูลกระหม่อมฯ จะทรงหา โอกาสช่วงเวลาที่ว่างจากราชการและภารกิจอื่น รับส่ังให้นายวงศ์ เชาวนะกวี แสดง ธรรมให้บรรดาผู้ที่อยู่ในเรือ ทั้งทหารและพลเรือนฟังเป็นประจํา และพระองค์ก็จะ ประทับฟังอยู่ด้วย ท้ังทรงพระเมตตาให้จัดของสมนาคุณซึ่งเปรียบเสมือนกัณฑ์เทศน์ ประทานทุกคร้ังท่ีมีการแสดงธรรม นายวงศ์ เชาวนะกวี ก็ทําหน้าที่ด้วยความสามารถ แสดงธรรมเป็นที่นิยมชมชอบของท่ีประชุมทุกคราว สําหรับทูลกระหม่อมฯ ก็ทรงเบิก บานและพอพระทัยในลีลาการแสดงธรรมมาก จึงทรงโปรดปราน นายวงศ์ เชาวนะกวี เปน็ พิเศษ จากความเบิกบานพระทัยในพระธรรมที่ทรงได้รับในระหว่างประทับค้างแรมอยู่ ในเรือพระที่นั่งในน่านทะเลนี่เอง ทําให้ทรงคิดถึงทหารเรือขณะปฏิบัติหน้าที่อยู่ในทะเล หลวงว่า ในยามที่ว่างจากภารกิจประจําวัน หากไม่มีอะไรเป็นที่เพลิดเพลินหรือเป็นท่ี ยึดเหนี่ยวทางใจแล้ว คงจะเหงาหงอยไม่น้อย เพราะมองไปทางไหนก็เห็นแต่น้ํากับ

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๑๖๒ ฟ้า ในยามเช่นนั้น หากจะได้มีผู้รู้ทางศาสนามาพูดคุยอะไรให้ฟังเป็นการเพิ่มพูน สติปัญญาหรือเป็นข้อคิดสะกิดใจก็คงจะคลายความเหงาหงอยลงได้ และคงจะ แก้ปัญหาอ่ืนๆ ได้อีกมาก ครนั้ แล้วกท็ รงเกบ็ ความนกึ คิดเชน่ นน้ั ไวใ้ นพระทัย ต่อมาในปี พ.ศ.๒๔๖๗ ในการประชุมปรึกษาข้อราชการของกระทรวงทหารเรือ คราวหนึ่งซ่ึงทลู กระหมอ่ มฯ ทรงเป็นประธานท่ีประชุม หลังจากได้ปรึกษาข้อราชการอื่น ๆ กันแล้ว ในตอนสุดท้ายทูลกระหม่อมฯ ได้ทรงยกเร่ืองอนุศาสนาจารย์ขึ้นหารือในที่ ประชมุ ว่า ทหารบกได้จดั ใหม้ อี นศุ าสนาจารย์ประจํากองทัพเพื่ออบรมจิตใจและบํารุง ขวัญทหารมาหลายปีแล้ว แต่ทหารเรือยังไม่มี ควรจะได้จัดให้มีขึ้นบ้าง เพื่อจะได้ทํา หน้าที่อบรมสั่งสอนทหารให้ยึดมั่นอยู่ในศีลธรรมจรรยา เพ่ิมพูนขวัญและกําลังใจให้ มีความเข้มแข็งในการปฏิบัติหน้าท่ี นอกจากน้ียังจะได้ช่วยปฏิบัติพิธีต่าง ๆ ทาง ศาสนาด้วย หากจะจัดให้มีอนุศาสนาจารย์ข้ึนได้ ก็จะเป็นประโยชน์แก่กองทัพมิใช่ นอ้ ย ท่ีประชมุ กระทรวงทหารเรอื ในคราวนัน้ ล้วนประกอบด้วยนายทหารผ้ใู หญ่ อาทิ พล.ร.ต. พระยาปรชี าชลยทุ ธ ผบู้ ัญชาการทหารเรอื พล.ร.ต. พระยาราชวังสัน เสนาธกิ ารทหารเรอื พล.ร.ต. พระยาศรยุทธเสนี เจ้ากรมสรรพาวธุ ทหารเรอื พล.ร.ต. พระยาฤทธิรุทธคํารณ เจ้ากรมอทู่ หารเรือ พล.ร.ต. พระยาหาญหลวงสมุทร เจา้ กรมชมุ พลทหารเรือ นอกจากน้ียังมีนายทหารผู้ใหญ่อ่ืนอีกหลายท่านได้ปรึกษาหารือกัน แล้วในที่สุดตกลงว่า กองทัพเรือควรมอี นศุ าสนาจารยไ์ ด้ คร้นั แลว้ ประธานทปี่ ระชุมคอื ทูลกระหม่อมฯ จึงทรง หารือต่อไปว่า เม่ือท่ีประชุมตกลงรับหลักการในเร่ืองน้ีแล้ว ก็ควรจะพิจารณาเลือกเฟ้น หาผู้สามารถท่ีจะมาเป็นอนุศาสนาจารย์ต่อไป พล.ร.ต.พระยาราชวังสัน เสนาธิการ ทหารเรอื ได้เสนอช่ือ นายวงศ์ เชาวนะกวี ต่อท่ีประชุมทันที ท่ีประชุมเห็นชอบตามชื่อท่ี เสนาธิการทหารเรือเสนอเป็นเอกฉันท์โดยไม่มีผู้ใดอภิปราย เพราะทุกท่านในที่ประชุม น้ันทราบกิตตศิ พั ท์ความสามารถของ นายวงศ์ เชาวนะกวี ดอี ย่แู ล้ว เม่ือเลิกประชมุ ทลู กระหมอ่ มฯ ก็เสด็จกลับพระตําหนักวังสวนกุหลาบ หลังเสด็จ กลับได้ไม่นานก็ได้มีรับสั่งให้หาตัวนายวงศ์ เชาวนะกวี เข้าเฝ้า คร้ันนายวงศ์ฯ เข้าเฝ้า แล้วทรงรับสั่งว่า “น่ี นายวงศ์ฯ เขาจะเอาแกเป็นอนุศาสนาจารย์ละนะ แกจะเอาไหม แกจะเป็นได้ไหม” นายวงศ์ฯ พอได้ฟังรับสั่งเช่นนั้น ก็ได้ทูลตอบไปอย่างแบ่งรับแบ่งสู้ว่า

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๑๖๓ เร่ืองนี้ข้าพระพุทธเจ้าขอนําไปคิดดูก่อนว่า จะมีความสามารถเป็นอนุศาสนาจารย์ได้ หรือไม่ เพราะเหตุว่างานอนุศาสนาจารย์เป็นงานละเอียดอ่อนต้องใช้สติปัญญามาก ทั้ง ความรู้ความสามารถของข้าพเจ้าก็ยังมีน้อย เกรงว่าจะรับสนองงานนี้ได้ไม่สมความมุ่ง หมายของทางราชการ คร้ันแล้วทูลกระหม่อมฯ ได้ทรงรับส่ังว่า “เอ้า ถ้าอย่างน้ัน แกลองนาํ เรอ่ื งน้ีไปคดิ ดูกอ่ น” ชว่ั เวลาไม่นาน นายวงศ์ เชาวนะกวี ก็ตกลงใจว่าจะลองใช้ความสามารถดู จึงได้ เข้าเฝ้ากราบทูลให้ทรงทราบถึงความตกลงใจที่จะรับเป็นอนุศาสนาจารย์ได้ เม่ือ ทูลกระหม่อมฯ ได้ทรงทราบความตกลงใจเช่นนั้น ก็ทรงพอพระทัยและรับส่ังว่า “ถ้าอย่างนั้น แกกลับไปร่างโครงการเอามาให้ดูอีกทีว่าควรจะดําเนินการอย่างไรต่อไป” หลังจากนั้น นายวงศ์ฯ ก็ได้ร่างโครงการอนุศาสนาจารย์พร้อมทั้งแผนปฏิบัติงาน ทูล เสนอเพ่ือทรงพิจารณา เมื่อได้ทอดพระเนตรร่างน้ันแล้วก็ทรงเห็นชอบ ได้ทรงบันทึกไว้ เปน็ หลกั ฐานว่า “ใหใ้ ชต้ ามน้”ี และลงพระนามวา่ “อษั ฎางค”์ เรมิ่ กิจการอนุศาสนาจารย์ทหารเรอื ครั้งแรก เม่ือกระทรวงทหารเรือ เห็นชอบในร่างโครงการอนุศาสนาจารย์ตามท่ีนายวงศ์ เชาวนะกวี เสนอนั้นแล้วก็ได้มีคําสั่งให้นายวงศ์ เชาวนะกวี เข้าทดลองปฏิบัติราชการอยู่ ก่อน ๑๕ วัน โดยให้นั่งทํางานอยู่ท่ีกระทรวงทหารเรือเป็นครั้งแรก กระทรวงทหารเรือ ในคร้ังนั้น ตั้งอยู่ระหว่างกรมอู่ทหารเรือและราชนาวิกสภาในปัจจุบัน ระหว่าง ๑๕ วันท่ี ทดลองปฏิบัติราชการอยู่น้ัน พล.ร.ต.พระยาปรีชาชลยุทธ ผู้บัญชาการทหารเรือให้อ่าน ข.ทร.(ข้อบังคับทหารเรือ) เมื่อนายวงศ์ เชาวนะกวี ทดลองปฏิบัติราชการครบ ๑๕ วัน แล้ว จึงมคี ําสง่ั บรรจุเปน็ อนุศาสนาจารย์ เม่ือวันท่ี ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๖๗ โดยให้ได้รับ เงินเดือนๆ ละ ๕๐ บาท จึงเป็นอันถือได้ว่าอนุศาสนาจารย์ทหารเรือได้ก่อกําเนิดข้ึนเมื่อ วันท่ี ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๖๗ อันเป็นวันที่กระทรวงทหารเรือมีคําสั่งบรรจุ นายวงศ์ เชาวนะกวี เป็นอนุศาสนาจารย์ นน่ั เอง การเรียกขานชื่ออนุศาสนาจารย์ในสมัยน้ัน ทางราชการกําหนดให้เรียก “มหา” นําหน้าช่ือตามภูมิความรู้ที่เปรียญ ไม่ใช้ “นาย” นําหน้าชื่อเหมือนข้าราชการพลเรือน อ่ืน แม้ในการลงนามในหนังสือราชการอนุศาสนาจารย์ก็ต้องใช้ “มหา”นําหน้าชื่อ เช่นเดียวกัน การใช้ “มหา” นําหน้าช่ืออนุศาสนาจารย์เพิ่งมาเลิกใช้เมื่อตอนท่ี

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๑๖๔ อนุศาสนาจารย์เปล่ียนสภาพจากข้าราชการพลเรือนมาเป็นข้าราชการทหาร โดยใช้ ยศ นําหน้าชื่อแทนเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๗ น่ีเอง แต่กระนั้นผู้ท่ีเคยเรียก “มหา”นําหน้าชื่อ อนศุ าสนาจารย์จนเคยชนิ แลว้ ก็คงเรยี กอนุศาสนาจารย์วา่ “มหา” ตดิ ปากอยู่นั่นเอง ฐานะอนศุ าสนาจารยใ์ นระยะเร่มิ ต้น กิจการอนุศาสนาจารย์ทหารเรือในระยะเริ่มต้น มีฐานะเป็นเพียง “อนุศาสนาจารย์” สังกัดอยู่ในกรมเสนาธิการทหารเรือ ยังไม่ได้ยกฐานะขึ้นเป็นแผนก หรือเป็นกองอย่างในปัจจุบัน และมีอนุศาสนาจารย์เพียงคนเดียวคือ มหาวงศ์ เชาวนะ กวี ด้วยปรีชาสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ของอนุศาสนาจารย์ทหารเรือคนแรก ความ นิยมเล่ือมใสในกิจการอนุศาสนาจารย์ได้แพร่หลายไปในหมู่ทหารเรืออย่างรวดเร็ว มี หน่วยต่างๆ ร้องขอรับบริการจากอนุศาสนาจารย์มากขึ้น อนุศาสนาจารย์คนเดียวจึงมี งานล้นมือ ต่อมาในปี พ.ศ.๒๔๖๙-๒๔๗๙ กองทัพเรือได้บรรจุอนุศาสนาจารย์เพิ่มให้อีก ๒ นาย จึงรวมเป็นมีอนุศาสนาจารย์ในช่วงนั้น ๓ นาย โดยมี รองอํามาตย์ตรี มหาวงศ์ เชาวนะกวี เป็นหัวหน้าอนุศาสนาจารย์ ยกฐานะอนศุ าสนาจารยข์ ึน้ เปน็ แผนกอนศุ าสนาจารย์ ในปี พ.ศ. ๒๔๘๖ กองทัพเรือได้มีการปรับปรุงจัดส่วนราชการในกองทัพข้ึนใหม่ โดยเฉพาะกรมยุทธศึกษาทหารเรือ ซ่ึงได้เคยต้ังขึ้นและได้มีคําสั่งยุบเลิกไปเม่ือ พ.ศ. ๒๔๖๙ เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจภายในประเทศทรุดโทรมหนัก รัฐบาลได้ตัด งบประมาณลง ได้กลับรื้อฟ้ืนตั้งขึ้นมาใหม่และได้โอนกิจการส่วนอนุศาสนาจารย์ ซ่ึงสังกัดอยู่ในกรมเสนาธิการทหารเรือ ไปขึ้นสังกัดอยู่ในกรมยุทธศึกษาทหารเรือ กับได้ ยกฐานะข้ึนเป็นแผนกเรียกว่า “แผนกอนุศาสนาจารย์” และได้มีคําส่ังแต่งต้ังให้ รองอํามาตย์โท มหาวงศ์ เชาวนะกวี เป็นหวั หน้าแผนก เม่ืออนุศาสนาจารย์ได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นแผนกและได้ย้ายสังกัดจากกรม เสนาธิการทหารเรือไปขนึ้ อยใู่ นกรมยุทธศึกษาทหารเรือแล้ว ก็ได้ย้ายท่ีทํางานไปอยู่ที่ตึก บวรวิไชยชาญ อันเป็นท่ีตั้งของกรมยุทธศึกษาทหารเรือในสมัยน้ัน ตึกบวรวิไชยชาญ ต้ังอยู่ในพระราชวังเดิม เนื่องจากเป็นตึกเก่าแก่ครั้งกรุงธนบุรีและชํารุดทรุดโทรมมาก

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๑๖๕ ไม่สามารถจะซ่อมบํารุงได้ ทางราชการจึงได้รื้อแล้วสร้างตึกกรมยุทธศึกษาทหารเรือข้ึน แทน กิจการอนุศาสนาจารย์ในยุคเป็นแผนกช่วงแรกน้ี เจริญก้าวหน้าข้ึน มีการขยาย งานกว้างขึ้นตามหนว่ ยท่ีขยายออกไป ในช่วงระยะนี้มเี รอ่ื งเกี่ยวข้องกับอนุศาสนาจารย์ท่ี ควรจะบันทึกไว้ในประวัติด้วยก็คือ ทางสํานักงานเลขานุการในพระองค์ได้ขอโอนตัว รองอํามาตย์โท มหาวงศ์ เชาวนะกวี หัวหน้าแผนกอนุศาสนาจารย์ไปรับราชการ ณ สํานักราชเลขานุการในพระองค์ ขาดจากตําแหน่งและอัตราเงินเดือนทางกองทัพเรือ ตั้งแต่วันที่ ๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๘๘ เมื่อหัวหน้าแผนกอนุศาสนาจารย์โอนไปแล้ว กองทัพเรือได้แต่งต้ังให้ รองอํามาตย์ตรี มหาเสง่ียม สุทธิสานนท์ เป็นหัวหน้าแผนกสืบ ต่อไป และได้บรรจอุ นศุ าสนาจารย์ใหม่แทนให้ ๑ นาย จํานวนอนุศาสนาจารย์ในยุคเป็น แผนกช่วงแรกก็คงมี ๓ นายตามเดมิ ต่อมากิจการอนุศาสนาจารย์ในยุคเป็นแผนกช่วงหลังได้ขยายมากขึ้น ตามความ เจริญของกองทัพท่ีพัฒนาออกไป เมื่อหน่วยขยายออกไป ภารกิจของอนุศาสนาจารย์ก็ ต้องขยายตาม อนุศาสนาจารย์นอกจากจะปฏิบัติงานในหน้าท่ีอันเป็นภารกิจโดยตรง แล้ว ยังได้รับแต่งต้ังให้เป็นครูสอนวิชาศีลธรรมและวิชาภาษาไทยในโรงเรียนต่างๆ ของ กองทัพเรือด้วย เช่นโรงเรียนเตรียมนายเรือ โรงเรียนนายเรือง โรงเรียนพันจ่า โรงเรียน จ่าพยาบาลเป็นต้น เมื่องานมีมากแต่อนุศาสนาจารย์มีน้อยงานจึงล้นมือ ทางราชการ เหน็ ความจําเปน็ ที่จะตอ้ งมอี นศุ าสนาเพิ่มข้ึน ในปี พ.ศ. ๒๔๘๙-๒๔๙๒ กองทัพเรือจึงได้ บรรจอุ นศุ าสนาจารยเ์ พิ่มให้อีก ๔ นาย จึงรวมเป็นมีอนุศาสนาจารย์ในยุคเป็นแผนกช่วง หลงั ๗ นาย ยกฐานะแผนกอนศุ าสนาจารย์เป็นกองอนศุ าสนาจารย์ ในปี พ.ศ. ๒๔๙๖ กองทัพเรือได้มีการปรับปรุงส่วนราชการในกรมยุทธศึกษา ทหารเรือใหม่ โดยยกฐานะหน่วยบางหน่วยให้สูงข้ึนตามลักษณะของปริมาณงานท่ี เพ่ิมขึ้น แผนกอนุศาสนาจารย์ เป็นหน่วยหนึ่งที่ได้รับการยกฐานะจากแผนกข้ึนเป็นกอง เรยี กว่า “กองอนุศาสนาจารย์” (คําส่ังกองทพั เรือท่ี ๖๑/๒๔๙๖) และในขณะเดียวกันได้ แต่งตั้งให้ รองอาํ มาตยต์ รี มหาเสงยี่ ม สุทธิสานนท์ เป็นหัวหนา้ กอง

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๑๖๖ กองอนุศาสนาจารย์ ซง่ึ ได้รับการยกฐานะจากแผนกข้ึนเป็นกองน้ัน มีหน้าที่และ ความรับผิดชอบตามท่ีระบุไว้ในระเบียบกรมยุทธศึกษาทหารเรือท่ี ๕๑ ว่าด้วยหน้าที่ กองบังคับการกรมยทุ ธศึกษาทหารเรอื ขอ้ ๑๓ ดังนี้ ข้อ ๑๓ กองอนุศาสนาจารย์ มีหัวหน้ากองเป็นผู้บังคับบัญชา มีหน้าท่ีเกี่ยวกับ กจิ การศาสนาและอบรมธรรม แบ่งงานออกเปน็ ๓ แผนก คอื ๑๓.๑ แผนกวจิ ัย ๑๓.๒ แผนกอบรมธรรม ๑๓.๓ แผนกพธิ ี ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๑๗ กองทัพเรือได้มีการปรับปรุงหน่วยงานภายใน กองทัพเรือใหม่อีกคร้ัง โดยกําหนดหน้าท่ีและความรับผิดขอบของหน่วยต่าง ๆ เป็น “อัตราเฉพาะกิจ” (คําสั่งกองทัพเรือท่ี ๗๕/๒๕๑๗) ในอัตราเฉพาะกิจของกรมยุทธ ศึกษาทหารเรือ ได้ระบุหน้าท่ีและความรับผิดชอบของกองอนุศาสนาจารย์ไว้ในข้อ ๔.๕ ดังน้ี ๔.๕ กองอนุศาสนาจารย์ มีหน้าที่ดําเนินการเก่ียวกับกิจการอนุศาสนาจารย์ของ กองทัพเรืออบรมและสอนศีลธรรม วฒั นธรรม แก่ทหารและบุคคลในกองทัพเรือ รวมทั้ง การดาํ เนนิ การพธิ ศี าสนา ในปัจจุบันได้แบง่ งานออกเป็น๔ แผนกคือ ๔.๕.๑ แผนกวิชาการ ๔.๕.๒ แผนกอบรมศีลธรรม ๔.๕.๓ แผนกศาสนพิธี ๔.๕.๔ แผนกจติ นิเทศ ในการปรับปรุงกําหนดอัตราเฉพาะกิจครั้งน้ี ได้กําหนดหน้าท่ีกอง อนุศาสนาจารย์กว้างขึ้น และเปลี่ยนช่ือแผนกวิจัยเป็นแผนกวิชาการ แผนกอบรมธรรม เป็นแผนกอบรมศีลธรรม แผนกพิธีเป็นแผนกศาสนพิธี อัตราเฉพาะกิจดังกล่าวน้ีให้เป็น หลกั ดาํ เนินกจิ การอนุศาสนาจารย์ กองอนุศาสนาจารย์ในระยะหลังน้ี มีงานกว้างขึ้นกว่าแต่ก่อนมาก กว้างข้ึนทั้ง งานอันเป็นหน้าท่ีโดยตรงภายในกองทัพ และงานสนับสนุนหน่วยนอกกองทัพ งานใน กองทัพนั้น มีหน่วยที่จะต้องให้การอบรมขยายเพิ่มข้ึน ท้ังหน่วยในส่วนกลางและส่วน ภูมิภาค งานสนับสนุนหน่วยนอกกองทัพน้ัน ได้มีหน่วยราชการ สถานศึกษา สมาคม

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๑๖๗ และวัดวาอาราม ได้ขอความสนับสนุนจากกองทัพเรือ โดยขออนุศาสนาจารย์ไปเป็น วิทยากรบรรยายให้ความรู้ทางศาสนาแก่ข้าราชการ นักเรียน นักศึกษา ประชาชน ผู้ต้องขังในเรือนจําและทัณฑสถานต่าง ๆ มากขึ้น กองอนุศาสนาจารย์ก็ให้ความ สนับสนุนบําเพ็ญประโยชน์แก่สังคมในด้านน้ีตลอดมา ด้วยเหตุที่กองอนุศาสนาจารย์มี ภารกิจและปริมาณงานมากข้ึน กองทัพเรือจึงได้บรรจุอนุศาสนาจารย์เพิ่มให้ตามความ จาํ เปน็ เรอื่ ยมา ในปจั จบุ ันกองอนศุ าสนาจารย์มีกําลังพลอนุศาสนาจารย์ปฏิบัติงานอยู่ใน ส่วนกลางจาํ นวน ๘ นาย ในสว่ นภูมภิ าคจาํ นวน ๑๘ นาย รวมเป็น ๒๖ นาย การสง่ อนศุ าสนาจารยไ์ ปประจาํ หนว่ ยภูมภิ าค หนว่ ยราชการของกองทพั เรอื ไดข้ ยายออกไปต้ังประจําอยู่ในภูมิภาคหลายหน่วย หน้าที่และอุดมการณ์ของอนุศาสนาจารย์คือ ทหารไปอยู่ถึงไหน อนุศาสนาจารย์ต้องไป ถึงนั่น ดังนั้นหากหน่วยใดไปตั้งประจําอยู่ในภูมิภาคเป็นการถาวรแล้ว และหน่วยนั้นมี กําลังพลมากพอสมควร กองอนุศาสนาจารย์ก็จะประสานงานกับหน่วย ดําเนินการตั้ง อัตราอนุศาสนาจารย์ประจําหน่วยข้ึน แล้วส่งอนุศาสนาจารย์ไปอยู่ประจําเพื่อจะได้มี โอกาสอยกู่ บั ทหารอยา่ งใกลช้ ิด การส่งอนุศาสนาจารยไ์ ปปฏบิ ตั ิราชการสนาม ในปัจจุบันหน่วยของกองทัพเรือ มีท้ังหน่วยเฉพาะกิจและหน่วยประจํา ได้ ออกไปต้ังปฏิบัติงานเพื่อความม่ันคงของชาติอยู่ในภูมิภาคในหลายพื้นที่ โดยเฉพาะใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต้ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีหน่วยปฏิบัติตามลํา น้ําโขง (นปข.) ตง้ั อยใู่ นเขตจงั หวัดเลย หนองคาย นครพนม อุบลราชธานี ในภาคใต้มีทั้ง หน่วยเฉพาะกิจและหน่วยประจํา ตั้งอยู่ในเขตจังหวัดนครศรีธรรมราช สงขลา พังงา นราธิวาส หน่วยต่างๆ เหล่าน้ี บางหน่วยปฏิบัติงานอยู่ในเขตพื้นท่ีทุรกันดารและเส่ียง ภัย ทหารท่ีอยู่ประจําหน่วยต้องมีขวัญดีและกําลังใจเข้มแข็ง กองอนุศาสนาจารย์มี หน้าที่โดยตรงในการส่งเสริมขวัญและกําลังใจทหาร จึงได้จัดส่งอนุศาสนาจารย์ หมุนเวียนออกไปอบรมจิตใจและเยี่ยมบํารุงขวัญทหารเป็นประจํา โดยไปร่วมกินร่วม นอนพักแรมอยู่กับหน่วยเหล่าน้ันเช่นเดียวกับทหารทั้งหลาย ซึ่งได้เริ่มปฏิบัติงานน้ีมา ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๑๙

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๑๖๘ การพฒั นากจิ การอนศุ าสนาจารย์ การทํางานของอนุศาสนาจารย์ทหารเรือในปัจจุบัน เราทํางานร่วมกันโดยถือ หลักทิฏฐิสามัญญตา กล่าวคือได้มีการประชุมอนุศาสนาจารย์ ท้ังอนุศาสนาจารย์ ส่วนกลางและอนุศาสนาจารย์ส่วนภูมิภาคเป็นประจํา เพื่อปรึกษาหารือกิจการ อนุศาสนาจารย์ร่วมกัน หากมีส่ิงใดบกพร่องที่ควรจะแก้ไข ก็ร่วมกันพิจารณาแก้ไข หาก มีส่ิงใดท่ีควรจะจัดทําและยังมิได้จัดทํา ก็เสนอแนะให้จัดทําหรือร่วมกันจัดทํา อนุศาสนาจารย์ทุกคนมีสิทธิเสนอความเห็นที่จะพัฒนากิจการอนุศาสนาจารย์ได้โดยไม่ จํากัดว่าจะเป็นอนุศาสนาจารย์ผู้ใหญ่หรือผู้น้อย หากมีความเห็นต่างกัน เราก็ถือเสียง ข้างมากเป็นหลักในการดําเนินงาน โดยนัยนี้กิจการอนุศาสนาจารย์ทหารเรือ จึงดําเนิน ไปอย่างราบร่ืนและเข้มแขง็ อายอุ นศุ าสนาจารย์ทหารเรือ กองทัพเรือเริ่มมีอนุศาสนาจารย์ประจํากองทัพเรือมาต้ังแต่ พ.ศ. ๒๔๖๗ จนถึง ปัจจบุ นั นบั เปน็ เวลาได้ ๙๕ ปี ถ้าเป็นอายคุ นก็เรยี กว่าย่างเข้าสู่วัยชรา ทุกสิ่งทุกอย่างไม่ ว่าจะเป็นดา้ นพละกําลัง ความคล่องแคลว่ วอ่ งไว หรอื ความสามารถในการงาน ล้วนมีแต่ ละลดน้อยถอยลง แต่อายุของอนุศาสนาจารย์ทหารเรือหาเป็นเช่นน้ันไม่วัย ๙๕ ปีของ เรากําลังอยู่ในช่วงวัยฉกรรจ์ กิจการอนุศาสนาจารย์ในทุกด้านไม่ว่าจะเป็นภารกิจ วชิ าการ หรอื การบรกิ ารแก่หนว่ ยในกองทัพ ล้วนกําลังก้าวหน้าเข้มแข็ง แม้เราจะมีกําลัง พลน้อย แตเ่ ราก็ทํางานกันดว้ ยวิญญาณอนุศาสนาจารย์อยา่ งแท้จริง ทาํ เนียบหัวหนา้ /ผู้อํานวยการ กองอนศุ าสนาจารยท์ หารเรือ นับตั้งแค่มีอนุศาสนาจารย์ในกองทัพเรือเป็นต้นมา มีหัวหน้าอนุศาสนาจารย์ เป็นผู้บังคับบัญชาและรับผิดชอบกิจการอนุศาสนาจารย์สืบต่อกันมาจวบปัจจุบัน จาํ นวน ๑๘ ท่าน มรี ายนามตามลาํ ดบั ดังนี้

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๑๖๙ ทาํ เนยี บ หวั หนา้ /ผอ.กอศ. รองอํามาตยโ์ ท มหาวงศ์ เชาวนะกวี (พ.ศ.2467 - 2488) 2. น.อ. เสงย่ี ม สุทธิสานนท์ ๓. น.ท. สวัสดิ์ พฒั น์เกดิ ผล 4. น.อ. บาํ รงุ จันทวานิช (พ.ศ.๒๔๘๙ – ๒๕๐๒) (พ.ศ. ๒๕๐๒ – ๒๕๐๗) (พ.ศ. ๒๕๐๗ – ๒๕๑๘) ๕. น.อ. นรษิ ฐ์ หรดิ ํารง ๖. น.อ. ออ่ น บุญญพนั ธ์ ๗. น.อ. วีระ วัฒนนริ ันดร (พ.ศ. ๒๕๑๘ – ๒๕๒๐) (พ.ศ. ๒๕๒๐ – ๒๕๒๒) (พ.ศ. ๒๕๒๒ – ๒๕๒๘)

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๑๗๐ ๘. น.อ. วุฒิ อ่อนสมกิจ ๙. น.อ. สมจติ รตั นจันทร์ ๑๐. น.อ. ธัญนพ ผิวเผอื ก (พ.ศ.2๕๒๘ – 2๕๓๐) (พ.ศ. ๒๕๓๐ – ๒๕๓๒) (พ.ศ. ๒๕๓๒ – ๒๕๓๗) ๑๑. น.อ. ปรีชา นันตาภวิ ัฒน์ ๑๒. น.อ. ทองใบ พน้ื ม่วง ๑๓. น.อ. สรุ จติ สงสกุล (พ.ศ. ๒๕๓๗ – ๒๕๓๙) (พ.ศ. ๒๕๓๙ – ๒๕๔๒) (พ.ศ. ๒๕๔๒ – ๒๕๔๖) ๑๔. น.อ. ทองย้อย แสงสินชัย ๑๕. น.อ. สุรจติ สงสกลุ ๑๖. น.อ. สุนทร กลับพิษ (พ.ศ. ๒๕๔๖ – ๒๕๔๘) (พ.ศ. ๒๕๔๘ – ๒๕๔๘) (พ.ศ. ๒๕๔๘ – ๒๕๔๙)

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๑๗๑ ๑๗. น.อ. สนุ ทร สนั ติธัช ๑๘. น.อ. มนูญ จันทร์นวล ๑๙. น.อ. ธรรมนูญ วิเศษสิงห์ (พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๕๗) (พ.ศ. ๒๕๕๗ – ปัจจุบัน) (พ.ศ.2๕๔๙ – 2๕๕๒)

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๑๗๒ บทท่ี ๑๐ กองอนุศาสนาจารย์ กรมเสมยี นตรา สาํ นกั งานปลดั กระทรวงกลาโหม ....................................... พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานกําเนิดกิจการอนุศาสนาจารย์กองทัพไทย เม่ือ วนั ท่ี ๒๙ มถิ ุนายน ๒๔๖๑ โดยมพี ระราชประสงคใ์ ห้อนุศาสนาจารย์ เป็นผู้อบรมสั่งสอน บํารุงขวัญและกําลังใจ แก่กําลังพลของกองทัพกิจการอนุศาสนาจารย์ จึงได้เจริญมาโดย ลําดับ ทัง้ กองทัพบก กองทพั เรอื กองทัพอากาศ และสํานกั งานปลดั กระทรวงกลาโหม ต่อมาได้มีคําสงั่ กระทรวงกลาโหม (เฉพาะ) ท่ี ๓๖/๓๓ ลงวนั ที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๓๓เรอื่ งแก้ไขอตั ราเจ้าหน้าท่กี ระทรวงกลาโหม (ส่วนกลาง) โดยเฉพาะกรม เสมยี นตรา ในขอ้ ๓ ระบุไวว้ า่ ขอบเขตรับผิดชอบและหนา้ ทสี่ าํ คญั คือ ฯลฯ ๓.๗ ดําเนนิ การเกี่ยวกับศาสนพิธีต่างๆ และอบรมศลี ธรรมแก่ ข้าราชการและลูกจา้ งของส่วนราชการ ในสํานักงานปลดั กระทรวงกลาโหมฯลฯ ตอน ๓ อัตรากาํ ลังพล ระบุไวว้ า่ ใหบ้ รรจุอนุศาสนาจารย์ พันเอก นาวา เอก นาวาอากาศเอก ผู้ชว่ ยอนศุ าสนาจารย์ พนั โท นาวาโท นาวาอากาศโท วันท่ี ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๓๓ บรรจุ พ.อ.เลอ่ื น สุนทรเศวต เป็น อนศุ าสนาจารย์ กรมเสมียนตราคนแรก (ขึ้นการบังคับบัญชากับสํานักงานผบู้ งั คับบัญชา) วนั ที่ ๓๐ สงิ หาคม ๒๕๓๔ ให้มีการอบรมศลี ธรรมและวฒั นธรรมข้ึนใน สป. เป็นครงั้ แรก ความเป็นมากองอนุศาสนาจารย์ กรมเสมยี นตรา สํานักงานปลดั กระทรวงกลาโหม คําส่ัง กรมเสมียนตรา (เฉพาะ) ท่ี ๑๗๑/๔๓ ลง ๗ ธันวาคม ๒๕๔๓ เร่ือง จัดต้ัง กองอนุศาสนาจารย์ กรมเสมียนตรา (อัตราทดลอง) โดยมี พ.อ.ไชยนาจ ญาติฉิมพลี นายทหารประจํากรมเสมียนตรา ปฏิบัติหน้าที่ ผู้อํานวยการกองอนุศาสนาจารย์ กรม เสมยี นตรา คําสั่ง สํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม (เฉพาะ) ท่ี ๒๖๘/๔๗ ลง ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๔๓ เรื่อง การจัดต้ังกองอนุศาสนาจารย์กรมเสมียนตรา (อัตราเพี่อพลาง)

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๑๗๓ มีหน้าท่ีดําเนินการเก่ียวกับกิจการอนุศาสนาจารย์ การศึกษา อบรมศีลธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม การพิธีทางศาสนา การตรวจแนะนํา การบํารุงขวัญ และการให้คําแนะนํา ทางศาสนาท้ังปวงให้แก่สวนราชการในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม แบ่งส่วน ราชการออกเปน็ ๓ แผนก คือ แผนกธรุ การ แผนกศาสนพธิ ี และแผนกอบรม อนมุ ัติ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงกลาโหม (ปลัดกระทรวงกลาโหม ผู้ใชอ้ าํ นาจฯ) เมอ่ื ๒๘ กันยายน ๒๕๔๙ จัดตั้งกองอนศุ าสนาจารย์ กรมเสมียนตรา เป็นอตั ราถาวร ให้ เปน็ หนว่ ยขนึ้ ตรง กรมเสมียนตรา เพ่ิมข้ึนอกี ๑ สว่ นราชการ ทาํ เนยี บ หัวหน้ากอง/ผอ.กอศจ.สม. ๑. พ.อ. เล่อื น สุนทรเศวต (พ.ศ.๒๕๓๓ – ๒๕๔๓) ๒. พ.อ. ไชยนาจ ญาติฉิมพลี ๓. พ.อ. เกรยี งไกร เทพนิมติ ร (พ.ศ.๒๕๔๓ – ๒๕๕๕) (พ.ศ.๒๕๕๕ – ปจั จบุ นั )

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๑๗๔ บทท่ี ๑๑ กองอนุศาสนาจารย์ กรมสารบรรณทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย ................................. พ.อ. สนทิ หนิ ไชยศรี หก.กอศจ.สบ.ทหาร เมื่อห้วงเดือน เมษายน ๒๕๖๑ พลเอก ธารไชยันต์ ศรีสุวรรณ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ในขณะนั้น มีดําริให้ บก.ทท. มีหน่วยงานท่ีรับผิดชอบงานด้าน การศึกษา อบรมศีลธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม การพิธีทางศาสนา การบํารุงขวัญ และการ ให้คําแนะนําทางศาสนาท้ังปวงแก่ส่วนราชการใน บก.ทท. จึงได้กรุณาส่ังการให้ พล.ท. สุพจน์ ธํามรงค์รัตน์ จก.สบ.ทหาร ในขณะน้ัน พิจารณาหาแนวทางในการจัดต้ัง กองอนศุ าสนาจารย์ข้ึน โดยใหเ้ ปน็ หน่วยข้นึ ตรงกรมสารบรรณทหาร การดําเนินการในเบื้องต้น สบ.ทหาร ได้จัดทํารายละเอียดโครงสร้าง การจัดและอัตรา ตามนโยบายเสนอที่ประชุมเมื่อ ๒๕ เม.ย. ๖๑ โดยใช้ลักษณะปรับ เกล่ียอัตรากําลังพลภายในส่วนราชการ บก.ทท. โดย ผบ.ทสส. ได้กรุณาอนุมัติ เม่ือ ๔ มิ.ย. ๖๑ โครงสร้าง กอศจ.สบ.ทหาร มีฐานะเป็นหน่วยข้ึนตรง สบ.ทหาร โดยมี การจัดเป็นแบบกลุ่มงานอัตรา กําลังพล จํานวน ๑๒ อัตรา ประกอบด้วย (พ.อ. (๑), พ.ท. (๑), พ.ต. (๒), ร.อ. (๔), จ.ส.อ. (๑), ส.อ. (๓)) โดยปรับเกล่ียอัตรากําลังพลภายใน ส่วนราชการ บก.ทท. และให้ สบ.ทหาร ออกคําสั่งทดลองปฏิบัติราชการ ตามคําส่ัง กองบัญชาการกองทัพไทย (เฉพาะ) ท่ี ๓๗๔/๖๑ เร่ือง การทดลองปฏิบัติราชการ กอศจ.สบ.ทหาร กองบญั ชาการกองทพั ไทย เม่อื ๗ ม.ิ ย. ๖๑ โดยมรี ายนามดังนี้

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๑๗๕ ๑. พ.ท. สนทิ หนิ ไชยศรี ๒. พ.ต. ราตรสี งัด มปี ัญญา ๓. พ.ต. รว่ ม มง่ั คลา้ ย ๔. ร.อ. เมธีวฒั น์ มาลาย ร.น. ๕. ร.ท. นริ ตุ ใจบุญ ๖. ร.ต.หญงิ รชั ดา เอ่ยี มวบิ ลู ย์ ๗. จ.ส.ต.หญงิ ปทุมวดี บุญส่ง ๘. นาย อคพล วินทะไชย ๙. นาย เวนชิ หารภมู ิ พล.อ. ประวิตร วงษ์สุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อนุมัติ โครงสร้าง กอศจ.สบ.ทหาร ตามคําส่ังกระทรวงกลาโหม (เฉพาะ) ที่ ๔๖/๖๒ เร่ือง แก้อตั รากองบญั ชาการกองทพั ไทย กองทัพไทย ลง ๕ ก.พ. ๖๒ พล.อ. ชัยชนะ นาคเกิด เสธ.ทหาร รับคําส่ัง ผบ.ทสส. อนุมัติแก้อัตรา กองบัญชาการกองทัพไทย ตามคําสั่งกองทัพไทย (เฉพาะ) ที่ ๕๕/๖๒ เรื่อง แก้อัตรา กองบัญชาการกองทัพไทย กองทัพไทย ลง ๒๒ ก.พ. ๖๒ คําสั่งกองบัญชาการกองทพั ไทย ที่ ๑๒๓/๒๕๖๒ เร่ือง ให้นายทหาร สญั ญาบัตรรบั ราชการ ลง ๒๙ มี.ค. ๖๒ ให้ พ.ท. สนิท หนิ ไชยศรี อศจ.รร.ตท.สปท. เป็น หก.กองอนศุ าสนาจารย์ สบ.ทหาร เปน็ คนแรก ............................

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๑๗๖ บทที่ ๑๒ ตํานานอนุศาสนาจารย์กรมราชทณั ฑ์ กรมราชทัณฑ์ กระทรวงมหาดไทย ได้พิจารณาปรับปรุงการแบ่งส่วนราชการ ใหม่ โดยเพิ่มแผนกอนุศาสนาจารย์ขึ้นอีกแผนกหน่ึง เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๗ แต่ยังไม่มี ผู้ดํารงตําแหน่งหัวหน้าแผนก คร้ันต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๙๘ กรมราชทัณฑ์ได้หารือไปยัง กองอนุศาสนาจารย์กองทัพบก เพ่ือให้ช่วยเลือกเฟ้นจัดหาอนุศาสนาจารย์กองทัพบก ผมู้ ีความรคู้ วามสามารถ มีคุณวุฒิเหมาะสมให้ เพ่ือแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งหัวหน้าแผนก อนุศาสนาจารย์กรมราชทัณฑ์ กองอนุศาสนาจารย์กองทัพบกจึงได้พิจารณาจัดส่ง ร.อ. วเิ ชาวน์ ทพิ ยมณฑล ให้ การบรหิ ารงานของอนศุ าสนาจารยก์ รมราชทัณฑ์ งานอนุศาสนาจารย์มีหน้าท่ีรับผิดชอบในการวางแผนงานอบรมศีลธรรมเพื่อ ฟนื้ ฟแู กไ้ ขจติ ใจผตู้ ้องขัง มงุ่ ปลูกฝงั ศีลธรรม จรรยา และวัฒนธรรม เพ่ือให้ผู้ต้องขังนําไป เปน็ แนวทางในการปฏิบัตกิ ลับตนเป็นพลเมอื งดี งานอบรมศลี ธรรมทจ่ี ดั ทาํ อย่ใู นยคุ ที่มีแผนกอนุศาสนาจารย์ มีดังน้ี ๑. จัดอบรมผู้ต้องขังเข้าใหม่ (แรกรับ) เพื่อให้ทราบระเบียบข้อบังคับให้รู้จัก ปรับตัวเข้ากับส่ิงแวดล้อมภายในเรือนจํา ให้รู้สิทธิและหน้าที่ ประโยชน์ที่จะได้รับเพ่ือ เปน็ การบํารุงขวัญและเปน็ ประโยชนแ์ กก่ ารปกครองเรอื นจํา ๒. ประชุมอบรมผู้ต้องขังเปน็ ประจาํ ทกุ วัน อย่างน้อยสัปดาห์ละ ๑ ครง้ั ๓. จัดอบรมผู้ต้องขังเป็นกลุ่มตามประเภทโทษ เช่น กลุ่มประทุษร้ายต่อชีวิต กลุ่มประทุษร้ายต่อทรัพย์ กลุ่มยาเสพติดให้โทษ กลุ่มวัยหนุ่ม เป็นต้น โดยจัดอบรมเป็น ประจําทุกวัน หรอื อย่างน้อยสัปดาห์ละ ๑ ครง้ั ๔. จัดอบรมผู้ต้องขังเป็นรายตัว สําหรับผู้ต้องขังท่ีมีปัญหาพิเศษ มีประวัติ นา่ สนใจ เพ่อื แก้ไขความประพฤตเิ ปน็ รายบคุ คลทกุ ๆ วนั ๕. ก่อนท่ีผู้ต้องขังจะพ้นโทษ โดยเหลือโทษจําอยู่ ๗ วัน จัดอบรมให้เข้าใจใน หน้าที่พลเมืองดี เบญจศีล เบญจธรรม ตลอดจนวัฒนธรรมและจารีตประเพณีอันดีงาม ของไทย เพื่อจะไดเ้ ป็นขอ้ ปฏบิ ตั เิ ม่ือใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับสังคมภายนอก

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารยไ์ ทย ๑๗๗ ๖. จัดนิมนตพ์ ระสงฆ์แสดงธรรมอบรม ประชมุ ผู้ต้องขังฟังธรรมโดยพร้อมเพรียง กนั ทกุ วนั เสาร์หรือวันอาทติ ย์ ๗. จัดให้ผู้ต้องขังฟังพระธรรมเทศนาทางวิทยุกระจายเสียงเป็นประจําทุก รายการ ๘. จัดนิมนต์พระหน่วยพัฒนาการทางจิต พระธรรมทูต พระธรรมจาริก เข้าอบรมผู้ตอ้ งขังตามโอกาส ๙. จัดให้ผู้ต้องขังเข้าอบรมธรรมศึกษาตรี โท เอก ตามหลักสูตรของคณะสงฆ์ และจัดสอบไลร่ บั ประกาศนียบัตรเปน็ ประจาํ ทกุ ปี ๑๐. จดั ประกอบพิธีทําบุญในเรือนจําและประชุมอบรมผู้ต้องขังในวันสําคัญของ ทางราชการและวนั สาํ คัญทางศาสนาทุกคร้งั ๑๑. จัดผู้ทรงคุณวุฒิของพุทธสมาคมทั้งในกรุงเทพมหานครและต่างจังหวัดเข้า อบรมผู้ต้องขังเป็นประจํา โดยเฉพาะการอบรมของผู้ทรงคุณวุฒิจากพุทธสมาคมแห่ง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์น้ัน งานอนุศาสนาจารย์จัดพาหนะรับ–ส่ง เปน็ ประจําตลอดมา ๑๒. จัดอนุศาสนาจารย์ ๓ เหลา่ ทพั เขา้ อบรมผูต้ อ้ งขงั เปน็ ประจําทกุ เดือน ๑๓. จดั ผทู้ รงคุณวฒุ ิท่ีเป็นนักเผยแผ่จริยธรรมอาสาสมัครเข้าอบรมผู้ต้องขังตาม โอกาส ๑๔. จัดให้อนุศาสนาจารย์กรมฯ หมุนเวียนกันออกไปอบรมผู้ต้องขังและ ประสานงานการอบรมตามเรือนจาํ และทณั ฑสถานเป็นประจํา เดือนละ ๒ คน ๑๕. จดั หาอปุ กรณก์ ารอบรมจิตใจ เช่น พระพุทธรูป โต๊ะหมู่บูชาพร้อมเครื่องตั้ง ธงชาติ พระบรมฉายาลักษณ์ หนังสือหลักสูตรและคู่มือธรรมศึกษา โต๊ะเรียนพร้อมเก้าอ้ี อุปกรณ์ทางการศึกษา โดยการขอตง้ั งบประมาณจดั ซือ้ เป็นปีๆ ไป ๑๖. จัดให้มีการอุปสมบทผู้พ้นโทษท่ีประสงค์จะอุปสมบทและขอความอุปการะ มายังกรมราชทณั ฑ์ โดยกรมฯ จะจดั หาเครือ่ งอัฐบรขิ ารให้ ๑๗. จัดให้มีผู้ทรงคุณวุฒิทางศาสนาอิสลาม เข้าอบรมผู้ต้องขังมุสลิมและเข้า ประกอบพิธที างศาสนาทุกวนั ศุกร์และวนั สาํ คญั ทางศาสนา ๑๘. จัดให้บาทหลวงหรือศาสนาจารย์เข้าอบรมผู้ต้องขังที่นับถือศาสนาคริสต์ และประกอบพิธที างศาสนาตามลัทธติ ามโอกาส

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๑๗๘ ๑๙. จัดทําสถิติผลการอบรมธรรมศึกษา สถิติผู้ต้องขังกระทําผิดต่อปูชนียวัตถุ ทางศาสนา สถิติผู้ผ่านการอบรมธรรมศึกษาแล้วพ้นโทษไป แล้วกลับมาต้องโทษซ้ําอีก เพอ่ื ดําเนินการให้การอบรมที่เหมาะสม ๒๐. จัดทําสถิติการที่บุคคลภายนอกบริจาคอาหารและส่ิงของแก่ผู้ต้องขัง จัดตอบขอบคุณ ประกาศอนุโมทนา และทําข่าวการบริจาคส่งไปโฆษณาทาง วิทยกุ ระจายเสยี งแห่งประเทศไทย ๒๑. รับบริจาคหนงั สอื ธรรมและสารคดีจากบุคคลภายนอกแล้วดําเนินการจัดส่ง ให้เรือนจํา เพ่อื ให้ผ้ตู ้องขังอา่ น ๒๒. ร่วมมือกับกรมการศาสนา จัดอบรมจริยธรรมนักเรียนตามที่กรมการ ศาสนาขอความร่วมมือมา ๒๓. ร่วมมือกับสํานักงานส่งเสริมเยาวชน กระทรวงศึกษาธิการ ดําเนินการ หาทางพฒั นาผ้ตู อ้ งขังวัยหนุ่ม(เยาวชน) ทางศลี ธรรมและจติ ใจ ๒๔.´เป็นเจ้าหน้าที่พิธีเก่ียวกับการกุศลของกรมฯ เสนอแนะวิธีดําเนินงานและ ขออนุมัติจ่ายเงนิ เพอื่ การกศุ ลนนั้ ๆ ข้าราชการกรมราชทณั ฑ์ซึ่งไดด้ าํ รงตาํ แหน่งหัวหน้าแผนกอนุศาสนาจารย์ ๑. ร.อ. วิเชาวน์ ทพิ ยมณฑล ป.ธ. ๖ พ.ศ. ๒๔๙๘-๒๕๐๕ ๒. นายอรุณ ฤทธิมตั พ.ศ. ๒๕๐๕-๒๕๐๖ ๓. นายพนม นาควเิ วก ป.ธ.๘ พ.ศ. ๒๕๐๖-๒๕๐๙ และ ๒๕๑๒ - ๑๕๑๓ ๔. นายไสว ภักดีพรหมมา ป.ธ.๙ รักษาการในตําแหน่งหัวหน้าแผนก อนุศาสนาจารย์ ระหว่าง พ.ศ. ๒๕๑๐-๒๕๑๑ และดํารงตําแหน่งหัวหน้าแผนก อนศุ าสนาจารย์ ระหว่าง พ.ศ. ๒๕๑๔-๒๕๒๑ ๕. นายมงคล พรพลทอง ป.ธ. ๙ ปฏิบัติหน้าที่หัวหน้างานอนุศาสนาจารย์ ตั้งแต่วนั ท่ี ๒๑ กนั ยายน ๒๕๒๑-๒๕๒๒

อนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารย์ไทย ๑๗๙ บทที่ ๑๓ ตํานานอนุศาสนาจารย์ กรมการศาสนา กระทรวงศกึ ษาธิการ ................................ เมื่อ พ.ศ.๒๔๘๕ สมัยคณะรัฐบาลโดยมีท่านจอมพล ป.พิบูลสงคราม ดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรี พ.ศ.๒๔๘๕ ได้พิจารณาเห็นว่าการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ให้แพร่หลายในด้านประชาชนนั้น เป็นความสําคัญและจําเป็นอย่างย่ิง เพราะ พระพทุ ธศาสนาเป็นศาสนาประจําชาตไิ ทยมานานแลว้ และประชาชนในทวีปเอเชียก็นับ ถอื เป็นส่วนมาก ท้ังเป็นศาสนาทีส่ มควรไดร้ บั การยกย่องสง่ เสรมิ ให้มากที่สุดเท่าท่ีเป็นอยู่ ณ บัดนี้ การเผยแผ่พระพุทธศาสนา ยังหาได้เป็นไปตามทางที่ควรดังกล่าวน้ันไม่ แม้ว่า พระสงฆ์มีหน้าที่เผยแผ่อยู่แล้ว แต่ก็อยู่ในกรอบแห่งสมณะสารูปและตามสมณะวิสัย การท่ีจะเผยแผ่ให้แพร่หลายโดยรวดเร็วท่ัวทิศทาง และให้ได้ผลตามความประสงค์น้ัน สมควรใช้อนุศาสนาจารย์ช่วยดําเนินการประสานงานทางฝ่ายฆราวาสและช่วยเหลือ คณะสงฆ์ ให้การเผยแผ่กว้างขวางออกไป กล่าวคือคณะสงฆ์ทําการเผยแผ่ตามกิจวัตร และตามสมณะวิสัย อนุศาสนาจารย์ทําการเผยแผ่ตามกําหนดหน้าท่ีและวิธีการท่ีจะพึง ทาํ ไดส้ ะดวกแกค่ ฤหัสถ์ดว้ ยกัน จึ ง ม อ บ น โ ย บ า ย น้ี ใ ห้ ก ร ม ก า ร ศ า ส น า พิ จ า ร ณ า ห า ท า ง เ ผ ย แ ผ่ พระพุทธศาสนาโดยใชอ้ นศุ าสนาจารยเ์ ป็นผู้ดําเนินการอีกทางหน่ึง กรมการศาสนาจึงได้ ประชุมเจ้าหน้าท่ีหารือกันจัดวางโครงการดําเนินการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ตลอดจน วางอัตรากําลงั และกําหนดเจ้าหน้าที่ในการน้ีพร้อมด้วยหลักการเผยแผ่โดยเรียบร้อย แต่ ยงั ไมส่ ําเร็จผล เพราะไม่มีงบประมาณ ต่อมาในปี ๒๔๘๖ ได้ติดต่อขอยืมอนุศาสนาจารย์จากกรมยุทธศึกษา ทหารบก กระทรวงกลาโหม มาดําเนนิ การไปพลางกอ่ น ๓ นาย คือ ๑. นายโปรง่ พีรคัม ๒. นายแย้ม ประพฒั นท์ อง ๓. นายแปลก สนธริ กั ษ์ โดยให้เขียนบทความรู้เกี่ยวกับจริยศึกษาบรรยายทางวิทยุกระจายเสียง เดือนละคร้ัง และส่งออกไปเผยแผ่ตามส่วนภูมิภาค เท่ากําลังที่มีและท่ีทําได้ ปรากฏผล

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๑๘๐ เป็นท่ีพึงพอใจแก่ประชาชนและนักเรียนเป็นอย่างยิ่ง ตามรายงานของครู อาจารย์ โรงเรยี นตา่ งๆ และของคณะกรรมการจังหวัดท่ีรายงานมาให้กรมการศาสนาทราบ ทั้งน้ี ก็เป็นท่ีประจักษ์อยู่แล้วว่า งานเผยแผ่นี้สําคัญและจําเป็นเพียงไร ถ้าจะขยายให้กว้าง กว่านี้ก็จะเกิดผลไพศาลตามนโยบาย แต่ได้จัดทําไปได้ไม่เท่าไร ก็ต้องระงับอีก เพราะ กระทรวงกลาโหมได้เรียกอนุศาสนาจารย์กลับคืนไปใช้ในราชการสนาม ๒ นาย คือ นาย โปร่ง พีรคัม และ นายแย้ม ประพัฒน์ทอง คงเหลืออยู่เพียงคนเดียว คือ นายแปลก สนธิรักษ์ ก็ทําไปตามกําลังเท่าที่จะทําได้ ตลอดปี ๒๔๘๕-๒๔๘๖ ไม่ได้ทําเต็มเม็ดเต็ม หนว่ ยตามโครงการ ในปี พ.ศ.๒๔๘๗ จึงได้งบประมาณมา งานนี้จึงจัดแบ่งส่วนราชการตาม พระราชกฤษฎีกา ตั้งแผนกอนุศาสนาจารย์ อยู่ในสํานักงานเลขานุการกรมการศาสนา ซึ่งมีอตั ราดังน้ี หวั หนา้ แผนก ๑ ประจําแผนก ๔ เสมียน ๑ รวม ๖ อัตรา ได้ปฏิบัติงาน ด้านการอบรมศีลธรรมวัฒนธรรมแก่ประชาชนและนักเรยี นตลอดมาเท่ากําลังทมี่ ีอยู่ ในปี พ.ศ.๒๔๙๕ กรมการศาสนาได้ดําเนินการติดต่อกับ ก.พ. ขอแบ่ง ส่วนราชการในกรมการศาสนา โดยขอให้ยกแผนกอนุศาสนาจารย์ข้ึนเป็นกอง ทาง ก.พ. อนุมัติให้ตั้งเป็นกองอนุศาสน์ แต่ไม่แบ่งแยกเป็นแผนกต่างๆ ดังท่ีเสนอไป คือให้มี หัวหน้ากอง และจะขอตั้งอนุศาสนาจารย์ โท ตรี และเสมียน เป็นอันว่ากองอนุศาสน์มี อัตรากําลังเจ้าหน้าท่ีปฏิบัติงานเพียง ๕ คนเท่านั้น ไม่เพียงพอแก่งานท่ีจําเป็นจะต้อง ปฏิบตั ใิ ห้กวา้ งขวางต่อไปอกี ครั้นต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๐๑ พ.ร.บ. ปรับปรุงกระทรวงทบวงกรม กรมการศาสนาได้รับโอนข้าราชการสภาวัฒนธรรมแห่งชาติ มาดํารงตําแหน่งในกอง อนุศาสน์ ดังนี้ หัวหน้ากอง ๑ อนุศาสนาจารย์โท ๒รวมกับข้าราชการที่มีอยู่แล้ว รวม ๘ อัตรา แต่ก็ยังไม่เป็นการเพียงพอท่ัวถึงสําหรับท่ีจะออกปฏิบัติงานให้ได้ผลตามนโยบาย ของรัฐบาล ดังน้ัน งานอบรมจําต้องทํากันไปเท่ากําลังที่พอจะทําได้ตลอดมาจนถึง ปัจจุบนั นี้ ๑. งานในหน้าทข่ี องกองอนุศาสน์ เนื่องจากกองอนุศาสน์ เป็นกองวิชาการ ที่นับว่าสําคัญมากของกรมการ ศาสนา เพราะมีหน้าที่เผยแผ่พระพุทธศาสนา และเผยแผ่กิจกรรมการพระศาสนา อบรมศีลธรรม จรรยา มารยาท วัฒนธรรม แก่ประชาชนท่ัวไป ทั้งในประเทศและ

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๑๘๑ ต่างประเทศ โดยเฉพาะอบรมศีลธรรม วัฒนธรรม มารยาทในการสังคมแก่เยาวชนชาย หญิงของชาติ ตามโรงเรียนต่างๆ ท่ัวราชอาณาจักร ให้นักเรียนมีความประพฤติดีงาม เพ่ือเป็นพลเมืองดีของประเทศไทยในอนาคต สมตามนโยบายการศึกษาของรัฐที่แถลง ไว้ แต่กองน้ีมิได้ตั้งเป็นแผนกๆ โดยถือว่า เป็นกองนโยบายในหน้าที่ดังกล่าว ซึ่งนโยบาย ของงานจําเป็นต้องผันแปรตามนโยบายของรัฐและเหตุการณ์ที่จะต้องปฏิบัติเฉพาะหน้า ท้ังๆ ที่หน้าท่ีต่างๆ อาจแบ่งเป็นแผนกได้ อนุศาสนาจารย์ ซ่ึงเป็นเจ้าหน้าท่ีของกองก็ ร่วมกันรับผิดชอบทุกคน มากน้อยตามตําแหน่งชั้นและอาวุโส โดยการปฏิบัติงานของ กองน้ี ส่วนใหญ่ต้องปฏิบัติเป็นทีมเวิร์ค มีหัวหน้ากองเป็นผู้บังคับบัญชา มี อนุศาสนาจารย์โทเป็นเสมือนหัวหน้าแผนกและผู้ช่วยหัวหน้ากอง ประกอบด้วย อนุศาสนาจารย์ ซึ่งล้วนเป็นผู้ทรงคุณวุฒิเชี่ยวชาญในการสั่งสอนอบรมศีลธรรม ทุกคน เปน็ ผู้รว่ มกันปฏบิ ตั ิ งานในหนา้ ทข่ี องกองอนศุ าสนจ์ าํ แนกได้ดังนี้ (๑) ปฏบิ ัติราชการตามนโยบายของกรมการศาสนา ก. เชิดชูทะนุบํารุงพระพุทธศาสนา ซ่ึงเป็นศาสนาสําคัญประจํา ชาติไทย ข. ปลูกฝงั อบรมประชาชนชาวไทย ให้มีจิตยึดม่ันในหลักธรรมแห่ง พทุ ธศาสนา ค. เผยแพร่พระพทุ ธศาสนาให้แผไ่ พศาล ฆ. จะอาศยั การศาสนา อบรมประชาชนใหม้ ีศลี ธรรมอนั ดีงาม ง. จะค้มุ ครองป้องกนั และรักษาเสถียรภาพของพระพุทธศาสนาให้ คงอยู่ดว้ ยดี (๒) งานห้องสมุดการศาสนา มีหน้าที่เก็บรวบรวมสรรพหนังสือท่ีเก่ียว ด้วยการศาสนาทวั่ ไป ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ กองอนุศาสน์จัดพิมพ์และท่ีกรมหาได้มาเก็บไว้เป็น ส่วนสัด เพื่อสะดวกแก่การค้นคว้าและจัดหาทุนพิมพ์หนังสือเผยแผ่พระพุทธศาสนาใน โอกาสอันสมควร เช่น วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา เป็นต้น แจกจ่ายประชาชนและ ห้องสมุดทั่วประเทศ พร้อมทั้งมีหน้าที่ให้คําช้ีแจงแนะนําข้อข้องใจเก่ียวกับพระศาสนา ศีลธรรม วัฒนธรรม แก่นักศึกษาและประชาชนที่มาติดต่อขอความเข้าใจทุกกรณี และมี

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ๑๘๒ หน้าที่สร้างรวบรวมภาพยนตร์ท่ีเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่างๆ ทางพระศาสนาและวัฒนธรรม ของกรมการศาสนาไวเ้ พ่ือเผยแผด่ ้วย ตามกาํ ลงั งบประมาณและความจําเปน็ (๓) งานค้นคว้าและเรียบเรียงหนังสือศาสนา มีหน้าที่ค้นคว้าในด้าน พระพุทธศาสนา และวัฒนธรรม ท้ังพระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา โยชนา คันถี และคัมภีร์สัททศาสตร์ต่างๆ ทั้งฉบับบาลีฉบับไทย และฉบับต่างประเทศ เพื่อให้ได้ หลักฐานทางธรรมะและเร่ืองราวท่ีเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาอย่างแน่นอนถูกต้อง ใช้เป็น แนวในการอบรมสั่งสอนของกอง และแก้ข้อข้องใจของประชาชนที่มักสอบถามมา เสมอๆ ผลของการค้นคว้าท่ีได้ ก็เรียบเรียงข้ึนเป็นตําราบ้าง เป็นบทความบ้าง เพ่ือกอง เก็บไวเ้ ป็นสมบัตขิ องราชการและพิมพ์เผยแผใ่ นโอกาสอันควร (๔) งานเผยแผ่ทางวิทยุกระจายเสียง มีหน้าที่เป็นกรรมการ วิทยุกระจายเสียง มีหน้าที่เป็นกรรมการวิทยุกระจายเสียง กระทรวงศึกษา กรม ประชาสัมพันธ์ จัดรายการวิทยุกระจายเสียง กระทรวงศึกษาธิการเป็นประจํา และ ประจําวันพระร่วมกับกรมประชาสัมพันธ์ ซึ่งต้องจัดกันเป็นเดือนๆ ทุกเดือน ประจํามา หลายปีแล้ว และมีหน้าท่ีเรียบเรียงบทความเร่ืองเกี่ยวกับจริยธรรม ศีลธรรม ไปบรรยาย ทางวิทยุกระจายเสียง กรมประชาสัมพันธ์ ตามวาระเป็นประจําทุกเดือน จัดหาเร่ืองท่ี เป็นของดีของไทย ในด้านศาสนาไปอภิปรายทางวิทยุกระจายเสียงของ กระทรวงศึกษาธิการ ในรายการของดีของเมืองไทย เป็นประจําทุกเดือนเช่นกัน และจัด บทความไปบรรยายในรายการธรรมรักษา ณ สถานีวิทยุศึกษา เป็นประจําทุกเดือน ใน บางโอกาสก็จัดแสดงละครเผยแผ่ศีลธรรมทางวิทยุแห่งประเทศไทย ตามบทท่ีจัดเรียบ เรียงข้ึนจากเค้าเรื่องในคัมภีร์ชาดก พร้อมท้ังเลือกสรรและประพันธ์บทวิทยุสุภาษิตา นุสรณ์ท่ีเห็นว่า เป็นคติเหมาะแก่เหตุการณ์ส่งไปบรรยายทางวิยุกระจายเสียงเป็นคราวๆ ไปด้วย (๕) งานอบรมประชาชนและเยาวชนของชาติ โดยปฏิบัติราชการตาม พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช ๒๔๘๔ ร่วมมือกับองค์การเผยแผ่ ทําการอบรม และเผยแผ่พระพุทธศาสนาแก่ประชาชน นักเรียน นักศึกษา โดยร่วมมือกับ กระทรวงศึกษาธิการ คือมีหน้าท่ีวางแนวและวิธีการ พร้อมทั้งปฏิบัติเองด้วยในการ อบรมศีลธรรมจรรยาแกน่ กั เรยี น ตามโรงเรียนต่างๆ ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ท้ังใน โรงเรยี นราษฎรแ์ ละโรงเรยี นรัฐบาล โรงเรียนอาชีวะ ท่ัวพระราชอาณาจักร โดยพยายาม

อนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ๑๘๓ ใช้หลักในการอบรม ให้เหมาะแก่กาละภาวะเหตุการณ์ของนักเรียนเป็นคราวๆ งานน้ี ต้องทําประจําตลอดท้ังปีในสมัยการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ โดยหัวหน้ากองได้ จดั แบ่งแยกอนุศาสนาจารย์หมุนเวียนกันไปปฏิบัติหน้าที่ตามท้องถ่ินต่างๆ วันละหลายๆ โรงเรียน นับเป็นงานที่หนักมากทั้งในด้านกําลังสมองและกําลังกาย เพราะต้องตระเวน ไปตามโรงเรียนต่างๆ ให้ครบตามกําหนดท่ีวางไว้เป็นตารางประจําวัน งานอบรม ประชาชนและเยาวชนของชาตนิ ี้ มีจดุ ประสงค์ คอื ก. อบรมให้มีความเข้าใจและศรัทธาซาบซึ้งในพระพุทธศาสนา ข. ให้รู้จักหลักธรรมของพระพุทธศาสนา ค. ให้รู้จักหน้าที่ของพุทธศาสนิกชนและปฏิบัติตามหลักธรรมใน พระศาสนา ฆ. ให้รู้จักหน้าที่ของพลเมือง ต้ังอยู่ในศีลธรรม วัฒนธรรม ง. ให้รู้จักรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ รักเกียรติ รักอิสรภาพ และพร้อมท่ีจะพลีชีพเพ่ือชาติ จ. ให้รู้จักประพฤตติ นเป็นพุทธมามกะ (๖) งานเผยแผ่ความรู้ มีหน้าที่ออกไปแสดงปาฐกถาเร่ืองเกี่ยวกับพระ ศาสนา ศีลธรรม วัฒนธรรม ในท่ีชุมนุมชน สมาคมและสโมสรท่ัวไปท่ีขอร้องและเชิญมา งานนี้สัมพันธ์อยู่กับงานค้นคว้าเรียบเรียงและงานห้องสมุดดังกล่าวแล้วข้างต้น ในการ ออกไปเผยแผ่น้ี ถ้าสมควรก็นําภาพยนตร์เรื่องพระพุทธศาสนาที่มีอยู่ออกไปฉาย ประกอบดว้ ย แม้ในท่ีบางแห่งเช่นในต่างประเทศเป็นต้น ที่ไม่สามารถจะไปได้ เน่ืองด้วย ไม่มีงบประมาณ เม่ือได้รับคําร้องขอ ก็จัดส่งบทความและภาพยนตร์ออกไปเผยแผ่ เหมอื นกัน เช่น ส่งบทความรู้เร่ืองพระพุทธศาสนาของไทยในประเทศพม่า ส่งเรื่องประวัติ พระพุทธศาสนาในประเทศไทย ให้ประเทศญป่ี ่นุ และสง่ ภาพยนตร์เร่ืองพระพุทธศาสนา และวฒั นธรรมไทย ไปฉายท่ีสงิ คโปร์ เป็นต้น (๗) งานอุปกรณ์แก่ราชการกองต่างๆ มีหน้าที่ช่วยราชการฉุกเฉินและ ท่ีสําคัญๆ ของกองต่างๆ ท้ังในด้านธุรการและวิชาการ เช่น จัดอนุศาสนาจารย์ช่วย กองสังฆการีทําหน้าที่ปฏิบัติพระสงฆ์ในงานพระราชพิธี และรัฐพิธีสําคัญๆ ซ่ึงต้องใช้ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติมากเป็นพิเศษ ช่วยประพันธ์คําร้อยกรองและคําประกาศในพิธีการ