Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาฟิสิกส์ 2

แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาฟิสิกส์ 2

Published by Tanapat Issarangkul Na Ayutthaya, 2020-12-15 04:30:16

Description: แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาฟิสิกส์ 2

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรยี นรู้ ฟสิ ิกส์ 2 (ว 31202) ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 หนว่ ยการเรียนรู้ งานและพลงั งาน โมเมนตัมและการชน สภาพสมดุล ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 นายธนพัฒนน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่ สานักบริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาฟิสกิ ส์ 2 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 1 แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ า ฟิสกิ ส์ 2 รหสั วิชา ว31202 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563 จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ้ชู ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ สำนักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ สำนักงานการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ปรบั ปรุงครัง้ สดุ ท้ายเมอื่ วันท่ี 1 เดอื น ตลุ าคม พ.ศ.2563 จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผ้ชู ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้รายวิชาฟิสิกส์ 2 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 2 บันทกึ ข้อความ สว่ นราชการ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ อำเภอแม่แจม่ จงั หวัดเชียงใหม่ ที่ - วนั ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2563 เรอ่ื ง ขออนมุ ตั ใิ ชแ้ ผนการจัดการเรยี นรู้ เรียน ผู้อำนวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ ตามที่ข้าพเจ้า นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานสอนในระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 รายวิชาเพิ่มเติม วิชาฟิสิกส์ 2 รหัสวิชา ว 31201 จำนวน 2 หนว่ ยกิต ในภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 ข้าพเจ้าจึงได้วิเคราะห์ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด คำอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวชิ า เพ่ือ จัดทำแผนการจดั การเรียนรู้ ซึ่งสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) ดังนั้นจึงขออนุมัติใช้แผนการ จดั การเรยี นรู้ดังกลา่ ว เพ่ือใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหเ้ กิดประสิทธิภาพสูงสุด และเพื่อพัฒนาคุณภาพ ผเู้ รียนให้บรรลุเปา้ หมายของหลักสูตรฯตอ่ ไป จงึ เรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ ลงชอ่ื ................................................................ (นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา) ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย ความเหน็ หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ความเห็นรองผู้อำนวยการ  อนมุ ตั ิ  ไมอ่ นุมัติ  อนมุ ัติ  ไม่อนมุ ัติ ลงชอื่ ............................................................ ลงชื่อ................................................................ (นางกมลชนก เทพบุ) (นายวิเศษ ฟองตา) หัวหน้ากลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รองผู้อำนวยการกลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ความเห็นผ้อู ำนวยการ  อนุมัติ  ไมอ่ นุมัติ ลงช่ือ................................................................ (นายอดิศร แดงเรือน) ผู้อำนวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่ จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ูช้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้รายวชิ าฟิสกิ ส์ 2 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 3 คำนำ แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาฟิสิกส์ 2 (ว32102) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นคู่มือ ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรายวิชาวิทยาศาสตร์เพิ่มเติม (ฟิสิกส์เพิ่มเติม) ประจำภาคเรียน ที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ของผูเ้ ขียน ทั้งนี้เพื่อให้บรรลผุ ลการเรยี นรู้ ตามสาระหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่ ตามหลักสูตรการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานพทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ซ่ึงประกอบด้วย 3 หนว่ ยการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ งานและพลงั งาน โมเมนตัมและการชน สภาพสมดลุ รวม 80 ชว่ั โมง ทงั้ น้ีผเู้ ขยี นได้ปรบั ใหส้ อดคล้องกับสภาพที่ แทจ้ รงิ และยืดหยนุ่ เวลาตามความเหมาะสม ผู้เขียนหวังเปน็ อย่างยง่ิ วา่ แผนการจดั การเรียนร้เู ล่มน้ีจะมีประโยชน์ตอ่ ครผู สู้ อนและผู้ที่ต้องการศึกษาเพื่อใช้ ในการเตรียมการจัดการเรียนรู้ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพมากข้ึน ลดเวลาในการเตรียมการการจัดการเรียนรู้ของครู และ ช่วยให้นักเรยี นเกดิ การเรียนรตู้ ามผลการเรียนร้อู ยา่ งมคี ุณภาพมากขึ้น อนึ่งแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ยังมีข้อผิดพลาด บกพร่องหลายประการ หากมีข้อเสนอแนะประการใด ผเู้ ขียนยินดที จี่ ะพิจารณาเสมอ และปรบั ปรงุ ให้ดีขึน้ ในโอกาสตอ่ ไป นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ครูผเู้ ขียนแผนการจดั การเรยี นรู้ จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้รายวชิ าฟิสิกส์ 2 ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 4 คำอธบิ ายรายวชิ า รายวิชา ฟสิ กิ ส์ 1 รหสั วชิ า ว 31202 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 เวลา 80 ชวั่ โมง จำนวน 2 หน่วยกติ คำอธบิ ายรายวิชา ศึกษางานของแรงคงตัวจากสมการและพื้นที่ใต้กราฟความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับตำแหน่ง กำลังเฉล่ีย พลังงานจลน์ พลังงานศักย์ พลังงานกล ความสัมพันธ์ระหว่างงานกับพลังงานจลน์ ความสัมพันธ์ระหว่างงานกับ พลังงานศักย์โน้มถ่วง ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของแรงที่ใช้ดึงสปริงกับระยะที่สปริงยืดออก ความสัมพันธ์ระหว่าง งานกับพลังงานศักย์ยืดหยุ่น ความสัมพันธ์ระหว่างงานของแรงลัพธ์และพลังงานจลน์ งานที่เกิดขึ้นจากแรงลัพธ์ กฎ การอนรุ กั ษ์พลงั งานกล ปรมิ าณต่าง ๆ ทเี่ ก่ียวข้องกับการเคล่ือนที่ของวัตถใุ นสถานการณต์ ่าง ๆ โดยใชก้ ฎการอนุรักษ์ พลังงานกล การทำงาน ประสิทธิภาพ การได้เปรียบเชิงกลของเครือ่ งกลอย่างง่ายบางชนดิ โดยใช้ความรู้เรื่องงานและ สมดุลกลในการพิจารณา โมเมนตัมของวัตถุ การดลจากสมการและพื้นที่ใต้กราฟความสัมพันธ์ระหว่างแรงลัพธ์กับ เวลา ความสัมพันธ์ระหว่างแรงดลกับโมเมนตัม ปริมาณตา่ ง ๆ ที่เกยี่ วกบั การชนของวตั ถุในหนึง่ มิติทง้ั แบบยืดหยุ่น ไม่ ยดื หยนุ่ การดีดตวั แยกจากกนั ในหนง่ึ มติ ิทเ่ี ป็นไปตามกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม สมดุลกลของวัตถุ โมเมนต์ และผลรวม ของโมเมนต์ทีม่ ีต่อการหมุน แรงคคู่ วบ ผลของแรงคู่ควบท่ีมีต่อสมดลุ ของวัตถุ แผนภาพของแรงที่กระทำต่อวัตถุอิสระ เมอื่ วตั ถอุ ย่ใู นสมดลุ กล สมดลุ ของแรงสามแรง สภาพการเคล่ือนที่ของวัตถเุ มื่อแรงท่ีกระทำต่อวตั ถผุ ่านศูนย์กลางมวล ของวตั ถุ และผลของศูนย์ถ่วงทม่ี ตี ่อเสถยี รภาพของวตั ถุ โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์ การอภิปราย การอธิบายและการสรุปผล เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตของตนเอง ตลอดจนมีจิตวิทยา ศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และค่านิยมท่ถี กู ต้อง ผลการเรยี นรู้ 1. วิเคราะห์และคำนวณงานของแรงคงตัวจากสมการและพืน้ ท่ีใต้กราฟความสัมพันธ์ระหวา่ งแรงกับตำแหนง่ รวมทั้ง อธิบายและคำนวณกำลังเฉล่ียได้ 2. อธิบายและคำนวณพลังงานจลน์ พลังงานศักย์ พลังงานกล ทดลองหาความสัมพันธ์ระหว่างงานกับพลังงานจลน์ ความสัมพันธ์ระหว่างงานกบั พลังงานศักยโ์ นม้ ถ่วงความสัมพันธร์ ะหว่างขนาดของแรงที่ใช้ดึงสปริงกับระยะที่สปริง ยืดออกและความสัมพันธ์ระหว่างงานกับพลังงานศักย์ยืดหยุ่น รวมทั้งอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง งานของแรง ลัพธแ์ ละพลงั งานจลน์ และคำนวณงานทเ่ี กดิ ขึน้ จากแรงลัพธ์ได้ จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาฟิสกิ ส์ 2 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 5 3. อธิบายกฎการอนุรักษ์พลังงานกล รวมทั้งวิเคราะห์ และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง กับการเคลื่อนที่ของ วัตถุในสถานการณ์ตา่ ง ๆ โดยใชก้ ฎการอนุรกั ษ์พลังงานกลได้ 4. อธิบายการทำงาน ประสิทธิภาพ และการได้เปรียบเชิงกลของเครื่องกลอย่างง่ายบางชนิด โดยใช้ความรู้เรื่องงาน และสมดุลกล รวมทัง้ คำนวณประสทิ ธิภาพและการได้เปรียบเชิงกลได้ 5. อธิบายและคำนวณโมเมนตัมของวัตถุและการดลจากสมการและพื้นที่ใต้กราฟความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับเวลา รวมท้งั อธิบายความสัมพนั ธ์ระหวา่ งแรงดลกบั โมเมนตมั ได้ 6. ทดลอง อธิบาย และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการชนของวัตถุในหนึ่งมิติทั้งแบบยืดหยุ่น ไม่ยืดหยุ่น และ การดีดตัวแยกจากกนั ในหนึง่ มิตซิ ่ึงเป็นไปตามกฎการอนุรักษ์โมเมนตัมได้ 7. อธิบายสมดุลกลของวัตถุ โมเมนต์ และผลรวม ของโมเมนต์ที่มีต่อการหมุน แรงคู่ควบและผลของแรงคูค่ วบทีม่ ีตอ่ สมดุลของวัตถุเขียนแผนภาพของแรงที่กระทำต่อวัตถุอิสระเมื่อวัตถุอยู่ในสมดุลกล และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ท่ี เก่ยี วขอ้ ง รวมทั้งทดลองและอธบิ ายสมดลุ ของแรงสามแรงได้ 8. สังเกตและอธบิ ายสภาพการเคลื่อนท่ีของวัตถุ เมือ่ แรงท่กี ระทำตอ่ วัตถุผา่ นศนู ยก์ ลางมวลของวตั ถุ และผลของศูนย์ ถว่ งทมี่ ีตอ่ เสถียรภาพของวตั ถุได้ รวมทั้งหมด 8 ผลการเรยี นรู้ จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครูผู้ชว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้รายวิชาฟิสิกส์ 2 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 6 ผลการเรยี นรู้และสาระการเรยี นรู้เพ่มิ เตมิ สาระฟสิ กิ ส์ สาระฟสิ กิ ส์ 1. เข้าใจธรรมชาติทางฟิสิกส์ ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลื่อนที่แนวตรง แรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน กฎความโน้มถ่วงสากล แรงเสียดทาน สมดุลกลของวัตถุ งานและกฎการอนรุ ักษ์พลังงานกล โมเมนตัมและกฎการ อนุรักษโ์ มเมนตมั การเคล่อื นทแ่ี นวโค้ง รวมทัง้ นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ชัน้ ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้เพิม่ เติม ม.4 1. สืบค้นและอธบิ ายการค้นหาความรู้ • ฟิสิกส์เป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งท่ีศึกษาเกี่ยวกับสสาร พลังงาน อันตร ทางฟิสิกส์ ประวัติความเป็นมา กริ ยิ าระหวา่ งสสารกับพลงั งาน และแรงพ้นื ฐานในธรรมชาติ รวมทั้งพัฒนาการของหลักการ • การค้นคว้าหาความรู้ทางฟิสิกส์ไดม้ าจากการสังเกต การทดลอง และเกบ็ และแนวคิดทางฟิสิกส์ที่มีผลต่อ รวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์ หรือจากการสรา้ งแบบจำลองทางความคดิ เพื่อ การแสวงหาความรู้ใหม่และการ สรุปเป็นทฤษฎี หลักการหรือกฎ ความรู้เหล่านี้สามารถนำไปใช้อธิบาย พฒั นาเทคโนโลยี ปรากฏการณ์ธรรมชาติ หรือทำนายสงิ่ ท่ีอาจจะเกดิ ขึ้นในอนาคต • ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของหลักการและแนวคิดทางฟิสิกส์เป็น พื้นฐานในการแสวงหาความรู้ใหม่เพิ่มเติม รวมถึงการพัฒนาและ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีก็มีส่วนในการค้นหาความรู้ใหม่ทาง วิทยาศาสตรด์ ว้ ย 2. วัดและรายงานผลการวัดปริมาณ • ความรู้ทางฟิสิกส์ส่วนหนึ่งได้จากการทดลอง ซึ่งเกี่ยวข้องกับกระบวนการวัด ทางฟิสิกส์ได้ถูกต้องเหมาะสม โดย ปริมาณทางฟิสิกส์ ซึ่งประกอบด้วยตวั เลข และหนว่ ยวัด นำความคลาดเคลื่อนในการวัดมา • ปริมาณทางฟิสิกส์สามารถวัดได้ด้วยเครื่องมือต่าง ๆ โดยตรงหรือ พิจารณาในการนำเสนอผล รวมทั้ง ทางอ้อม หน่วยที่ใช้ในการวัดปริมาณทางวิทยาศาสตร์ คือ ระบบหน่วย แสดงผลการทดลองในรูปของกราฟ ระหว่างชาติ เรยี กยอ่ ว่า ระบบเอสไอ วิเคราะห์และแปลความหมายจาก • ปริมาณทางฟิสิกส์ที่มีค่าน้อยกว่าหรือมากกว่า 1 มาก ๆ นิยมเขียนในรูป กราฟเส้นตรง ของสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ หรือเขียนโดยใช้คำนำหน้าหน่วยของระบบ เอสไอ การเขียนโดยใช้สัญกรณ์วิทยาศาสตร์เป็นการเขียนเพื่อแสดง จำนวนเลขนัยสำคัญทถ่ี ูกต้อง • การทดลองทางฟิสกิ ส์เก่ียวกบั การวัดปริมาณต่าง ๆ การบันทึกปริมาณท่ไี ด้ จากการวัดด้วยจำนวนเลขนัยสำคญั ที่เหมาะสมและค่าความคลาดเคลื่อน การวิเคราะหแ์ ละการแปลความหมายจากกราฟ เช่น การหาความชันจาก กราฟเสน้ ตรง จุดตดั แกน พ้ืนทใี่ ต้กราฟ เป็นต้น • การวัดปริมาณต่าง ๆ จะมีความคลาดเคลื่อนเสมอขึ้นอยู่กับเครื่องมือ วิธีการวัด และประสบการณ์ของผู้วัด ซึ่งค่าความคลาดเคลื่อนสามารถ แสดงในการรายงานผลท้ังในรปู แบบตัวเลขและกราฟ ม.4 • การวัดควรเลือกใชเ้ คร่ืองมอื วดั ใหเ้ หมาะสมกับสิง่ ทต่ี ้องการวดั เช่น การวัด ความยาวของวัตถุที่ตอ้ งการความละเอียดสงู อาจใช้เวอร์เนียร์แคลลิเปริ ส์ หรอื ไมโครมิเตอร์ จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครผู ูช้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้รายวชิ าฟิสิกส์ 2 ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 7 ชน้ั ผลการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้เพมิ่ เติม • ฟิสิกส์อาศัยคณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือในการศึกษาค้นคว้า และการ สอ่ื สาร 3. ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ • ปรมิ าณท่ีเกยี่ วกบั การเคล่ือนท่ี ไดแ้ ก่ ตำแหน่ง การกระจัด ความเร็ว และ ระหว่างตำแหน่ง ก ารกระจัด ความเรง่ โดยความเร็วและความเรง่ มีทัง้ ค่าเฉลี่ยและคา่ ขณะหน่ึง ซึ่งคิดใน ความเร็ว และความเร่งของการ ช่วงเวลาส้นั ๆ สำหรบั ปริมาณต่าง ๆ ทเ่ี กย่ี วข้องกับการเคลื่อนท่ีแนวตรงด้วย เคลื่อนที่ของวัตถุในแนวตรงที่มี ความเร่งคงตัวมคี วามสมั พนั ธต์ ามสมการ ความเร่งคงตวั จากกราฟและสมการ v = u + at รวมทั้งทดลองหาค่าความเร่งโน้ม ถ่วงของโลก และคำนวณปริมาณ u+v ตา่ ง ๆ ท่เี ก่ียวข้อง ∆x = ( 2 ) t ∆x = ut + 1 at2 2 v2 = u2 + 2a∆x • การอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุสามารถเขียนอยู่ในรูปกราฟตำแหน่งกับ เวลา กราฟความเร็วกับเวลา หรือกราฟความเร่งกับเวลา ความชันของ เส้นกราฟตำแหน่งกับเวลาเป็นความเร็ว ความชันของเส้นกราฟความเร็ว กับเวลาเป็นความเร่ง และพื้นที่ใต้เส้นกราฟความเร็วกับเวลาเป็นการ กระจัด ในกรณีที่ผู้สังเกตมีความเร็ว ความเร็วของวัตถุที่สังเกตได้เป็น ความเร็วที่เทียบกบั ผู้สงั เกต • การตกแบบเสรีเป็นตัวอย่างหนึ่งของการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติที่มีความเร่ง เท่ากับความเรง่ โนม้ ถว่ งของโลก 4. ทดลองและอธิบายการหาแรงลัพธ์ • แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์จึงมีทั้งขนาดและทิศทางกรณีที่มีแรงหลาย ๆ แรง ของแรงสองแรงทที่ ำมมุ ต่อกนั กระทำต่อวัตถสุ ามารถหาแรงลัพธ์ที่กระทำตอ่ วตั ถุโดยใช้วิธีเขยี นเวกเตอร์ ของแรงแบบหางต่อหวั วิธีสรา้ งรปู ส่เี หลีย่ มด้านขนานของแรงและวธิ คี ำนวณ 5. เขียนแผนภาพของแรงที่กระทำต่อ • สมบัตขิ องวัตถุท่ีตา้ นการเปลีย่ นสภาพการเคล่ือนท่ี เรียกวา่ ความเฉื่อย มวล วัตถุอิสระ ทดลองและอธิบายกฎ เปน็ ปรมิ าณที่บอกให้ทราบวา่ วัตถใุ ดมีความเฉ่อื ยมากหรอื น้อย การเคลื่อนที่ของนิวตันและการใช้ • การหาแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุสามารถเขียนเป็นแผนภาพของแรงท่ี กฎการเคล่ือนทีข่ องนิวตนั กับสภาพ กระทำต่อวตั ถอุ ิสระได้ การเคลอ่ื นที่ของวตั ถุ รวมท้งั คำนวณ • กรณีที่ไม่มีแรงภายนอกมากระทำ วัตถุจะไม่เปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ซึ่ง ปริมาณต่าง ๆ ท่ีเก่ยี วข้อง เปน็ ไปตามกฎการเคล่ือนทข่ี ้อท่ีหน่ึงของนิวตนั • กรณีที่มีแรงภายนอกมากระทำโดยแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุไม่เป็นศูนย์ ม.4 วัตถุจะมีความเร่ง โดยความเร่งมีทิศทางเดียวกับแรงลัพธ์ ความสัมพันธ์ ระหว่างแรงลัพธ์ มวลและความเรง่ เขยี นแทนไดด้ ้วยสมการ จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาฟิสิกส์ 2 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 8 ชนั้ ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้เพิ่มเตมิ n ∑ F⃑ i = m⃑a i=0 ตามกฎการเคลอ่ื นที่ข้อท่ีสองของนวิ ตนั • เมื่อวัตถุสองก้อนออกแรงกระทำต่อกัน แรงระหว่างวัตถุทั้งสองจะมีขนาด เท่ากัน แต่มีทิศทางตรงข้ามและกระทำต่อวัตถุคนละก้อน เรียกว่า แรงคู่ กิริยา-ปฏิกิริยา ซึ่งเป็นไปตามกฎการเคลื่อนที่ข้อที่สามของนิวตัน และ เกดิ ขึ้นไดท้ ั้งกรณที ีว่ ัตถทุ ้งั สองสัมผัสกันหรือไมส่ ัมผัสกนั ก็ได้ 6. อธิบายกฎความโน้มถ่วงสากลและ • แรงดึงดูดระหว่างมวลเป็นแรงที่มวลสองก้อนดึงดูดซึ่งกันและกันด้วย ผลของสนามโน้มถ่วงที่ทำให้วัตถุ แรงขนาดเท่ากันแต่ทิศทางตรงข้ามและเป็นไปตามกฎความโน้มถ่วงสากล มีน้ำหนัก รวมทั้งคำนวณปริมาณ เขียนแทนได้ด้วยสมการ ตา่ ง ๆ ท่ีเก่ียวขอ้ ง FG = G m1m2 R2 • รอบโลกมีสนามโน้มถ่วงทำให้เกิดแรงโน้มถ่วง ซ่ึงเป็นแรงดึงดูดของโลกท่ี กระทำต่อวัตถุ ทำให้วตั ถมุ ีน้ำหนกั 7. วิเคราะห์ อธิบาย และคำนวณแรง • แรงที่เกิดขึ้นที่ผิวสัมผัสระหว่างวัตถุสองก้อนในทิศทางตรงข้ามกับทศิ เสียดทานระหว่างผวิ สมั ผสั ของวัตถุ ทางการเคลื่อนที่ หรือแนวโน้มที่จะเคลื่อนที่ของวัตถุ เรียกว่า แรงเสียด คู่หนึ่ง ๆ ในกรณีที่วัตถุหยุดนิ่งและ ทานแรงเสยี ดทานระหว่างผิวสมั ผสั ค่หู น่ึง ๆ ขึ้นกบั สมั ประสิทธิ์ความเสียด วัตถุเคลื่อนที่ รวมทั้งทดลองหา ทาน และแรงปฏกิ ิรยิ าตงั้ ฉากระหว่างผวิ สัมผัสคูน่ นั้ ๆ สัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่าง • ขณะออกแรงพยายามแต่วัตถุยังคงอยู่นิ่งแรงเสียดทานมีขนาดเท่ากับ ผิวสัมผัสของวัตถุคู่หนึ่ง ๆ และนำ แรงพยายามที่กระทำต่อวัตถุนั้น และแรงเสียดทานมีค่ามากที่สุดเมื่อวัตถุ ความรู้เรื่องแรงเสียดทานไปใช้ใน เริ่มเคลื่อนที่ เรียกแรงเสียดทานนี้ว่า แรงเสียดทานสถิต แรงเสียดทานที่ ชวี ิตประจำวัน กระทำต่อวัตถุขณะกำลังเคลื่อนที่ เรียกว่า แรงเสียดทานจลน์ โดยแรง เสียดทานที่เกิดระหว่างผวิ สัมผัสของวตั ถุคู่หนึง่ ๆ คำนวณไดจ้ ากสมการ fs ≤ μsN fk = μkN • การเพิ่มหรือลดแรงเสียดทานมีผลต่อการเคลื่อนที่ของวัตถุ ซึ่งสามารถ นำไปใช้ในชีวติ ประจำวนั 8. อธิบายสมดุลกลของวัตถุ โมเมนต์ • สมดุลกลเป็นสภาพท่วี ัตถรุ ักษาสภาพการเคลือ่ นท่ีให้คงเดิม คือ หยดุ นง่ิ หรอื และผลรวม ของโมเมนต์ที่มีต่อการ เคลือ่ นที่ดว้ ยความเร็วคงตวั หรือหมนุ ด้วยความเรว็ เชิงมุมคงตัว หมุน แรงคู่ควบและผลของแรงคู่ • วัตถุจะสมดุลต่อการเลื่อนที่คือหยุดนิ่ง หรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว ควบที่มีต่อสมดุลของวัตถุเขียน เมอื่ แรงลพั ธ์ทก่ี ระทำต่อวตั ถุเป็นศูนย์ เขยี นแทนไดด้ ้วยสมการ แผนภาพของแรงที่กระทำต่อวัตถุ n ม.4 อิสระเมื่อวัตถุอยู่ในสมดุลกล และ ∑ ⃑Fi = 0 คำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง i=0 จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้รายวชิ าฟิสิกส์ 2 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 9 ชัน้ ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรูเ้ พ่ิมเติม รวมทั้งทดลองและอธิบายสมดุล • วัตถจุ ะสมดลุ ตอ่ การหมุนคอื ไม่หมนุ หรอื หมนุ ด้วยความเรว็ เชงิ มุมคงตวั เมอ่ื ของแรงสามแรง ผลรวมของโมเมนตท์ ก่ี ระทำตอ่ วตั ถุเปน็ ศูนย์ เขยี นแทนไดด้ ว้ ยสมการ n ∑ Mi = 0 i=0 โดยโมเมนต์คำนวณไดจ้ ากสมการ M = Fl 9. สังเกตและอธิบายสภาพการเคลื่อนที่ • เมื่อออกแรงกระทำต่อวัตถุที่วางบนพื้นที่ไม่มีแรงเสียดทาน ในแนวระดับ ถ้ำ ของวัตถุ เมื่อแรงที่กระทำต่อวัตถุ แนวแรงน้นั กระทำผา่ นศนู ย์กลางมวลของวตั ถุ วตั ถจุ ะเคลื่อนท่แี บบเลื่อนที่ ผา่ นศนู ยก์ ลางมวลของวตั ถุ และผล โดยไม่หมุน ของศูนย์ถ่วงที่มีต่อเสถียรภาพของ • วัตถุท่ีอยู่ในสนามโน้มถ่วงสม่ำเสมอ ศูนย์กลางมวลและศูนย์ถ่วงอยู่ที่ วตั ถุ ตำแหนง่ เดยี วกัน ศนู ย์ถว่ งของวัตถุมีผลตอ่ เสถียรภาพของวตั ถุ 10. วเิ คราะห์ และคำนวณงานของแรง • งานของแรงที่กระทำต่อวัตถุหาได้จากผลคูณของขนาดของแรงและ คงตัวจากสมการและพื้นทีใ่ ต้กราฟ ความสัมพนั ธร์ ะหว่างแรงกับ ขนาดของการกระจัดกับโคไซน์ของมุมระหว่างแรงกับ การกระจัด ตาม ตำแหน่ง รวมทั้งอธิบายและ คำนวณกำลงั เฉล่ีย สมการ W = F∆xcosθ หรือหางานได้จากพื้นที่ใต้กราฟระหว่างแรง 11. อธิบายและคำนวณพลังงานจลน์ ในแนวการเคลื่อนที่กับตำแหนง่ โดยแรงที่กระทำอาจเป็นแรงคงตัว หรือไม่ พลงั งานศักย์ พลงั งานกล ทดลอง หาความสมั พนั ธ์ระหว่างงานกับ คงตัวกไ็ ด้ พลังงานจลน์ ความสัมพันธร์ ะหว่าง งานกับพลังงานศักย์โน้มถ่วง • งานที่ทำไดใ้ นหนงึ่ หน่วยเวลา เรยี กว่า กำลงั เฉลีย่ ดังสมการ ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของ แรงที่ใช้ดึงสปริงกับระยะที่สปริง Pav = W ยืดออกและความสมั พนั ธร์ ะหว่าง ∆t งานกับพลังงานศักย์ยืดหยุ่น • พลังงานเปน็ ความสามารถในการทำงาน รวมทั้งอธิบายความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง งานของแรงลพั ธแ์ ละพลงั งานจลน์ • พลังงานจลน์เป็นพลังงานของวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่คำนวณได้จาก และคำนวณงานท่เี กดิ ขนึ้ จากแรง ลพั ธ์ สมการ Ek = 1 mv2 2 • พลังงานศักย์เป็นพลังงานที่เก่ียวข้องกับตำแหน่งหรือรูปร่างของวัตถุ แบ่ง ออกเป็นพลังงานศักย์โน้มถ่วง คำนวณได้จากสมการ Ep = mgh และ พลังงานศกั ย์ยดื หยุ่น คำนวณไดจ้ ากสมการ Eps = 1 kx2 2 • พลังงานกลเป็นผลรวมของพลังงานจลน์และพลังงานศักย์ ตามสมการ E = Ek + Ep • แรงทีท่ ำใหเ้ กดิ งานโดยงานของแรงนน้ั ไมข่ นึ้ กับเส้นทางการเคล่อื นท่ี เช่น แรงโน้มถว่ งและแรงสปริง เรยี กว่า แรงอนรุ กั ษ์ • งานและพลังงานมีความสัมพันธ์กันโดยงานของแรงลัพธ์เท่ากับพลังงาน จลน์ของวัตถุที่เปลี่ยนไป ตามทฤษฎีบทงาน-พลังงานจลน์ เขียนแทนได้ ดว้ ยสมการ W = ∆Ek จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผูช้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาฟิสกิ ส์ 2 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 4 10 ชัน้ ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรเู้ พม่ิ เติม ม.4 12. อธิบายกฎการอนุรักษ์พลังงานกล • ถ้างานที่เกิดขึ้นกับวัตถุเป็นงานเนื่องจากแรงอนุรักษ์เท่านั้น พลังงานกล รวมทั้งวิเคราะห์ และคำนวณ ของวัตถุจะคงตัว ซึ่งเป็นไปตามกฎการอนุรักษ์พลังงานกล โดยที่พลังงาน ปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง กับการ ศักย์อาจเปล่ียนเป็นพลังงานจลน์ เคลื่อนที่ของวัตถุในสถานการณ์ • กฎการอนุรักษ์พลังงานกลใช้วิเคราะห์การเคลื่อนที่ต่าง ๆ เช่น การ ต่าง ๆ โดยใช้กฎการอนุรักษ์ เคลอ่ื นทีข่ องวตั ถทุ ต่ี ดิ สปริง การเคลอื่ นท่ีภายใต้สนามโนม้ ถว่ งของโลก พลงั งานกล 13. อธิบายการทำงาน ประสิทธิภาพ • การทำงานของเครื่องกลอยา่ งงา่ ย ได้แก่ คาน รอก พนื้ เอียง ลม่ิ สกรู และ และการได้เปรียบเชิงกลของ ล้อกับเพลา ใช้หลักการของงานและสมดุลกลประกอบการพจิ ารณา เครื่องกลอย่างงา่ ยบางชนิด โดยใช้ ประสทิ ธภิ าพ และการไดเ้ ปรยี บเชิงกลของเคร่อื งกลอย่างง่าย ประสทิ ธภิ าพ ความรู้เรื่องงานและสมดุลกล คำนวณได้จากสมการ Efficiency = Wout × 100% การ รวมทั้งคำนวณประสิทธิภาพและ การไดเ้ ปรยี บเชงิ กล Win ได้เปรียบเชงิ กลคำนวณไดจ้ ากสมการ M. A. = Fout = sin Fin sin 14. อธบิ ายและคำนวณโมเมนตมั ของ • วัตถุที่เคลื่อนที่จะมีโมเมนตัมซึ่งเป็นปริมาณเวกเตอร์มีค่าเท่ากับผลคูณ วัตถุและการดลจากสมการและ ระหวา่ งมวลและความเร็วของวตั ถุ ดงั สมการ ⃑p = m⃑v พ้ืนทใี่ ตก้ ราฟความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง แรงกับเวลา รวมทั้งอธิบาย • เม่อื มแี รงลัพธก์ ระทำต่อวัตถุจะทำใหโ้ มเมนตัมของวัตถเุ ปลยี่ นไป โดยแรง ความสมั พนั ธร์ ะหว่างแรงดลกบั ลพั ธ์เท่ากับอัตราการเปลีย่ นโมเมนตัมของวตั ถุ โมเมนตมั • แรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุในเวลาสั้น ๆ เรียกว่า แรงดล โดยผลคูณของ แรงดลกับเวลา เรียกวา่ การดล ตามสมการ n I = (∑ F⃑ i) ∆t i=1 ซ่งึ การดลอาจหาได้จากพืน้ ทใี่ ต้กราฟระหว่างแรงดลกบั เวลา 15. ทดลอง อธิบาย และคำนวณปริมาณ • ในการชนกนั ของวัตถุและการดดี ตัวออกจากกนั ของวตั ถใุ นหน่ึงมติ ิ เม่ือไม่ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการชนของวัตถุใน มีแรงภายนอกมากระทำโมเมนตัมของระบบมีค่าคงตัวซ่ึงเป็นไปตามกฎการ หนึ่งมิติทั้งแบบยืดหยุ่น ไม่ยืดหยุน่ อนรุ กั ษ์โมเมนตัม และการดีดตัวแยกจากกันในหนึ่ง มิติซึ่งเป็นไปตามกฎการอนุรักษ์ • ในการชนกันของวัตถุ พลังงานจลน์ของระบบอาจคงตัว หรือไม่คงตัวก็ได้ โมเมนตมั การชนทพี่ ลงั งานจลน์ของระบบคงตัวเปน็ การชนแบบยดื หยุ่น ส่วนการชน ที่พลงั งานจลน์ของระบบไม่คงตวั เปน็ การชนแบบไม่ยืดหยุ่น 16. อธิบาย วิเคราะห์ และคำนวณ •การเคลื่อนที่แนวโค้งพาราโบลาภายใต้สนามโน้มถ่วง โดยไม่คิดแรงต้าน ปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ ของอากาศเปน็ การเคลอื่ นที่แบบโพรเจกไทล์ วัตถุมกี ารเปล่ียนตำแหน่งใน เคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ และ แนวดิ่งและแนวระดับพร้อมกัน และเป็นอิสระต่อกัน สำหรับการ ม.4 ทดลองการเคลื่อนที่แบบโพรเจก เคลื่อนที่ในแนวดิ่งเป็นการเคลื่อนที่ที่มีแรงโน้มถ่วงกระทำจงึ มีความเร็วไม่ ไทล์ คงตัว ปริมาณต่าง ๆ มีความสมั พนั ธต์ ามสมการ vy = uy + ayt จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้รายวิชาฟิสกิ ส์ 2 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 11 ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพ่มิ เตมิ ∆y = (uy+vy) t 2 ∆y = uyt + 1 ayt2 2 vy2 = uy2 + 2ay∆y ส่ วนการเคลื่อนที่ในแนวระดับไม่มีแรงกระทำจึงมีคว ามเร็วคงตัว ตำแหน่ง ความเรว็ และเวลา มีความสัมพันธ์ตามสมการ ∆x = uxt 17. ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ • วัตถุที่เคลื่อนที่เป็นวงกลมหรือส่วนของวงกลม เรียกว่า วัตถุนั้นมีการ ระหว่างแรงสู่ศูนย์กลาง รัศมีของ การเคลื่อนที่ อัตราเร็วเชิงเส้น เคลื่อนที่แบบวงกลม ซึ่งมีแรงลัพธ์ที่กระทำกับวัตถุในทิศเข้าสู่ศูนย์กลาง อัตราเร็วเชิงมุม และมวลของวัตถุ ในการเคลื่อนที่แบบวงกลมใน เรียกว่า แรงสู่ศูนย์กลาง ทำให้เกิดความเร่งสู่ศูนย์กลางที่มีขนาดสัมพันธ์กบั ระนาบระดับรวมทั้งคำนวณ ปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และ รัศมีของการเคลื่อนที่และอัตราเร็วเชิงเส้นของวัตถุ ซึ่งแรงสู่ศูนย์กลาง ประยุกต์ใช้ความรู้การเคลื่อนที่ แบบวงกลมในการอธบิ ายการโคจร คำนวณไดจ้ ากสมการ Fc = mv2 ของดาวเทียม r • นอกจากนี้ การเคล่ือนท่ีแบบวงกลมยังสามารถอธิบายไดด้ ว้ ยอัตราเร็วเชิงมุม ซึ่งมีความสัมพันธ์กับอัตราเร็วเชิงเส้นตามสมการ v = ωr และแรงสู่ ศูนย์กลางมีความสัมพันธ์กับอัตราเร็วเชิงมุม ตามสมการ Fc = mω2r จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผ้ชู ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้รายวิชาฟิสิกส์ 2 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 12 ผงั มโนทนั ์ รายวชิ า ฟิสกิ ส์ 2 รหสั วิชา ว31202 ระดับช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 ชือ่ หน่วยที่ 1 งานและพลงั งาน จำนวน 24 ชั่วโมง : 30 คะแนน รายวชิ าฟิสกิ ส์ 2 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 80 ช่ัวโมง ช่ือหนว่ ยที่ 2 โมเมนตมั และการชน ชื่อหนว่ ยที่ 3 สภาพสมดลุ จำนวน 26 ช่ัวโมง : 30 คะแนน จำนวน 30 ชว่ั โมง : 40 คะแนน จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้รายวชิ าฟิสกิ ส์ 2 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 13 โครงสรา้ งรายวิชา รายวชิ า ฟสิ กิ ส์ 2 รหัสวชิ า ว31202 หน่วยกติ 2.0 ระดบั ช้ัน มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 หนว่ ยการ กจิ กรรมการเรยี นรู้ จำนวน นำ้ หนกั คะแนน ชว่ั โมง (ในการประเมิน) เรียนรู้ท่ี (24) 30 1 งานและพลงั งาน 5 7 1. แรงและงาน 3 3 2. พลงั งาน 2 3 3. กฎการอนุรักษ์พลงั งานกล 1 (26) 30 4. การประยุกต์กฎการอนุรักษพ์ ลังงานกล 3 4 5. กำลัง 5 14 6. เครอ่ื งกล (30) 40 2 7. แหล่งพลังงานและการใชพ้ ลงั งาน 4 4 2 โมเมนตัมและการชน 5 3 1. โมเมนตัม 3 9 2. แรงและการเปล่ยี นโมเมนตัม 80 100 3. การดลและแรงดล 4. การชน 3 สภาพสมดุล 1. สภาพสมดุล 2. สมดุลต่อการเคลอ่ื นท่ี 3. สมดลุ ต่อการหมนุ 4. ศนู ยก์ ลางมวลและศนู ย์ถว่ ง 5. สมดุลของวัตถุ 6. เสถยี รภาพของวัตถุ 7. การนำหลักสมดุลไปประยุกต์ รวม จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครผู ู้ชว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาฟิสกิ ส์ 2 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 14 อธิบายโครงสร้างรายวชิ า ฟสิ ิกส์ ม.4 เล่ม 2 ลำดับ ชื่อหน่วยการ ผลการเรียนรู้ สาระสำคัญ เวลา เรียนรู้ (ชม.) 1. งานและ 1. วิเคราะห์ และคำนวณงานของแรงคงตัว เมื่อมีแรงคงตัวกระทำต่อวตั ถุให้เคลื่อนท่ีไดก้ าร 24 พลังงาน จากสมการและพื้นท่ีใต้กราฟความสัมพันธ์ กระจัดจะเกิดงานของแรงนั้น ซึ่งหาได้จากผลคูณ ระหว่างแรงกับตำแหน่ง รวมทั้งอธิบาย ระหวา่ งขนาดของแรงกับขนาดของการกระจัดและ และคำนวณกำลงั เฉลยี่ ได้ โคไซน์ของมุมระหว่างแรงกับการกระจัด หรือหา 2. อธิ บ า ย แ ล ะ ค ำ น ว ณ พ ลั ง ง า น จ ลน์ งานได้จากพ้ืนทีใ่ ต้กราฟระหว่างแรงกับการกระจัด พลังงานศักย์ พลังงานกล ทดลองหา โดยงานที่ทำได้ในหนึ่งหน่วยเวลา เรียกว่า กำลัง ความสัมพนั ธ์ระหว่างงานกับพลงั งานจลน์ เฉล่ยี ความสัมพันธ์ระหว่างงานกับพลังงาน พลังงานเป็นความสามารถในการทำงาน ศักย์โน้มถ่วงความสัมพันธ์ระหว่างขนาด พลังงานจลน์เป็นพลังงานของวัตถุที่กำลังเคลื่อนท่ี ของแรงที่ใช้ดึงสปริงกับระยะที่สปริงยืด พลังงานศักย์เป็นพลังงานที่เกี่ยวข้องกับตำแหน่ง ออกและความสัมพันธ์ ระหว่างงานกับ หรือรูปร่างของวัตถุ ซึ่งแบ่งออกเป็นพลังงานศักย์ พลังงานศักย์ยืดหยุ่น รวมทั้งอธิบาย โน้มถ่วง และพลังงานศกั ย์ยืดหยุ่น โดยพลังงานกล ความสัมพันธ์ระหว่างงานของแรงลัพธ์ เป็นผลรวมของพลังงานจลน์และพลังงานศักย์ ซึ่ง และพลังงานจลน์ และคำนวณงานท่ี งานและพลังงานมีความสัมพันธ์กันโดยงานของแรง เกดิ ขึน้ จากแรงลพั ธ์ได้ ลพั ธเ์ ท่ากับพลังงานจลน์ของวัตถุทเี่ ปลย่ี นไป 3. อธิบายกฎการอนุรักษ์พลั งงานกล พลังงานต่าง ๆ สามารถเปลี่ยนเป็นอีกพลังงาน รวมทั้งวิเคราะห์ และคำนวณปริมาณต่าง หนึ่งได้แต่ผลรวมของพลังงานยังคงเดิม ซึ่งเป็นไป ๆ ที่เกี่ยวข้อง กับการเคลื่อนที่ของวัตถุใน ตามกฎการอนุรักษ์พลังงาน โดยกฎการอนุรักษ์ สถานการณ์ต่าง ๆ โดยใช้กฎการอนุรักษ์ พลังงานกลใช้อธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุ เช่น พลังงานกลได้ การเคลื่อนที่ของวงกลมในระนาบดิ่ง การเคลื่อนที่ 4. อธิบายการทำงาน ประสิทธิภาพ และการ ของวัตถุที่ติดสปริง การเคลื่อนที่ภายใต้สนามโน้ม ได้เปรียบเชิงกลของเครื่องกลอย่างง่าย ถ่วงของโลก เปน็ ตน้ บางชนิด โดยใช้ความร้เู ร่ืองงานและสมดุล เครื่องกลเป็นอุปกรณ์ที่ช่วยให้การทำงาน กล รวมทั้งคำนวณประสิทธิภาพและการ สะดวกขึ้นหรือง่ายขึ้น หรือช่วยในการผ่อนแรง ได้เปรยี บเชิงกลได้ เครื่องกลที่จัดเป็นเครื่องกลอย่างง่าย ได้แก่ คาน รอก พื้นเอียง ลิ่ม สกรู และล้อกับเพลา โดยการ ทำงานใช้หลักการของงาน และสมดุลกล ประกอบการพิจารณาประสิทธิภาพและการ ได้เปรยี บเชิงกลของเคร่อื งกลอยา่ งงา่ ย จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ูช้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้รายวชิ าฟิสกิ ส์ 2 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 15 ลำดบั ชื่อหน่วยการ ผลการเรยี นรู้ สาระสำคัญ เวลา เรียนรู้ (ชม.) 2. โมเมนตัมและ 5. อธิบายและคำนวณโมเมนตมั ของวตั ถแุ ละ วัตถุที่เคลื่อนที่จะมีโมเมนตัมซึ่งเป็นปริมาณ 26 การชน การดลจากสมการและพื้นที่ใต้กราฟ เวกเตอร์มีค่าเท่ากับผลคูณระหว่างมวลกับ ความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับเวลา รวมท้ัง ความเร็วของวัตถุ เมื่อมีแรงลัพธ์กระทำต่อวัตถุจะ อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแรงดลกับ ทำให้โมเมนตัมเปลี่ยนไป โดยแรงลัพธ์ที่กระทำกับ โมเมนตัมได้ วัตถุเท่ากับอัตราการเปลี่ยนโมเมนตัมของวัตถุ แรง 6. ทดลอง อธิบาย และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ท่ี ลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุในเวลาสั้น ๆ เรียกว่า แรงดล เกี่ยวกับการชนของวัตถุในหนึง่ มิติท้ังแบบ โดยผลคูณของแรงดลกับเวลา เรียกว่า การดล ซึ่ง ยืดหยุ่น ไม่ยืดหยุ่น และการดีดตัวแยก การดลอาจหาได้จากพื้นที่ใต้กราฟระหว่าง แรง จากกันในหนึ่งมิติซึ่งเป็นไปตามกฎการ ดลกับเวลา เมื่อวัตถุชนกัน โมเมนตัมก่อนการชนของระบบ อนรุ กั ษโ์ มเมนตมั ได้ เท่ากับโมเมนตัมหลังการชนของระบบ เป็นไปตาม กฎการอนุรักษ์โมเมนตัม ซึ่งในการชนกันของวัตถุที่ พลังงานจลน์ของระบบมีค่าคงตัวเป็นการชนแบบ ยืดหยุ่น ส่วนการชนที่พลังงานจลน์ของระบบไม่คง ตัวเป็นการชนแบบไม่ยืดหยุ่น โดยกฎการอนุรักษ์ โมเมนตัมช่วยในการอธิบายการชนและการระเบดิ ของวัตถุ 3. สภาพสมดลุ 7. อธิบายสมดุลกลของวัตถุ โมเมนต์ และ สมดุลกลเป็นสภาพที่วัตถุรักษาสภาพการ 30 ผลรวม ของโมเมนตท์ ่มี ีตอ่ การหมุน แรงคู่ เคลื่อนที่ให้คงเดิมหรือหยุดนิ่ง (สมดุลสถิต) หรือ ควบและผลของแรงคู่ควบที่มีต่อสมดุล เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัวหรือหมุนด้วยความเร็ว ของวัตถุเขียนแผนภาพของแรงท่ีกระทำ เชิงมุมคงตัว (สมดุลจลน์) วัตถุที่สมดุลต่อการ ต่อวัตถุอิสระเมื่อวัตถุอยู่ในสมดุลกล เล่ือนทค่ี ือหยุดน่ิง หรือเคล่อื นท่ดี ว้ ยความเร็วคงตัว และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เมื่อแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุเป็นศูนย์ และวัตถุจะ รวมทั้งทดลองและอธิบายสมดุลของแรง สมดุลต่อการหมุนคือไม่หมุนหรือหมุนด้วย สามแรงได้ ความเร็วเชิงมุมคงตัวเมื่อผลรวมของโมเมนต์ท่ี 8. สังเกตและอธิบายสภาพการเคล่ือนที่ของ กระทำตอ่ วตั ถเุ ป็นศูนย์ วัตถุ เมื่อแรงที่กระทำต่อวัตถุผ่าน เมื่อมีแรงคู่ควบกระทำต่อวัตถุ แรงลัพธ์จะ ศูนย์กลางมวลของวัตถุ และผลของศูนย์ เท่ากับศูนย์ ทำให้วัตถุสมดุลต่อการเลื่อนที่แต่ไม่ ถว่ งทม่ี ีต่อเสถียรภาพของวัตถุได้ สมดลุ ต่อการหมุน การเขียนแผนภาพของแรงที่กระทำต่อวัตถุ อิสระสามารถนำมาใชใ้ นการพจิ ารณาแรงลัพธ์และ ผลรวมของโมเมนต์ที่กระทำต่อวัตถุเมื่อวัตถุอยู่ใน สมดุลกล จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาฟิสิกส์ 2 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 16 ลำดับ ชือ่ หน่วยการ ผลการเรียนรู้ สาระสำคญั เวลา เรยี นรู้ รวม (ชม.) เมื่อออกแรงกระทำต่อวัตถุที่วางบนพื้นที่ไม่มี แรงเสียดทานในแนวระดับ ถ้าแนวแรงนั้นกระทำ ผ่านศูนย์กลางมวลของวัตถุ วัตถุจะเคลื่อนที่แบบ เลอ่ื นทโ่ี ดยไม่หมนุ วัตถุที่อยู่ในสนามโน้มถ่วงสม่ำเสมอ ศูนย์กลาง มวลและศูนย์ถ่วงอยู่ที่ตำแหน่งเดียวกัน โดยศูนย์ ถ่วงของวัตถมุ ีผลต่อเสถียรภาพของวตั ถุ 80 จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผูช้ ่วย กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวชิ าฟิสิกส์ 2 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 17 โครงสรา้ งแผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ ม.4 เลม่ 2 เวลา 80 ชวั่ โมง แนวคิด/รูปแบบ หนว่ ยการ แผนการจดั การ การสอน/ ทกั ษะท่ีได้ การประเมนิ เวลา เรยี นรู้ เรียนรู้ วิธีการสอน/ (ชวั่ โมง) 5. งานและ แผนท่ี 1 แรงและ เทคนิค พลงั งาน งาน แบบสบื เสาะหา - ทกั ษะการ - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น 5 แผนที่ 2 พลงั งาน - สงั เกตการอภิปราย เร่ือง งาน 7 ความรู้ 5Es วิเคราะห์ ในทางฟสิ กิ ส์ (5Es - ทักษะการสื่อสาร - ตรวจผงั มโนทศั น์ เร่อื ง แรง Instructional - ทักษะการสงั เกต และงาน - ตรวจใบงานท่ี 5.1 เรือ่ ง แรง Model) - ทกั ษะการทำงาน และงาน รว่ มกัน - ตรวจใบงานที่ 5.2 เรือ่ ง งาน แบบสบื เสาะหา - ทักษะการ ของแรงที่ทำมุมกบั แนวการ ความรู้ 5Es วเิ คราะห์ เคล่อื นที่ (5Es - ตรวจใบงานที่ 5.3 เร่อื ง การ Instructional - ทักษะการสื่อสาร หางานจากพนื้ ทีใ่ ตก้ ราฟ Model) - ทักษะการสังเกต - ตรวจแบบฝึกหดั ที่ 1.1-1.3 - ทักษะการทำงาน เรื่อง แรงและงาน - ตรวจการทำแบบฝกึ หดั จาก ร่วมกนั Unit Question 5 เร่ือง แรง - ทักษะการคดิ อยา่ ง และงาน - สงั เกตการทำกจิ กรรมพลังงาน มีวิจารณญาณ จลน์ พลงั งานศักย์โน้มถว่ ง - ทกั ษะการนำ และพลังงานศักย์ยดื หยุ่น - ตรวจผังมโนทศั น์ เรอื่ ง ความรไู้ ปใช้ พลงั งาน - ตรวจแบบฝึกหัดที่ 2.1 เรือ่ ง พลังงาน - ตรวจใบงานทีท่ ่ี 5.4 แบบ บนั ทกึ กิจกรรมพลังงานจลน์ - ตรวจใบงานที่ 5.5 แบบบนั ทึก กิจกรรมพลงั งานศกั ยโ์ น้มถ่วง - ตรวจใบงานท่ี 5.6 แบบบนั ทกึ กจิ กรรมพลงั งานศักยย์ ืดหยุ่น จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครูผู้ชว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้รายวชิ าฟิสกิ ส์ 2 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 18 หน่วยการ แผนการจดั การ แนวคิด/รปู แบบ ทกั ษะที่ได้ การประเมนิ เวลา เรยี นรู้ เรียนรู้ การสอน/ (ชวั่ โมง) วิธกี ารสอน/ เทคนิค แผนท่ี 3 กฎการ แบบสบื เสาะหา - ทกั ษะการ - ตรวจการทำแบบฝกึ หดั จาก 3 อนรุ กั ษ์ ความรู้ 5Es วิเคราะห์ Unit Question 5 เรื่อง 3 พลังงานกล (5Es พลังงาน 2 Instructional - ทักษะการสอ่ื สาร Model) - ทกั ษะการสงั เกต - สังเกตการอภปิ ราย เรอ่ื ง กฎ - ทักษะการทำงาน การอนุรักษ์พลงั งานกล ร่วมกัน - ตรวจผงั มโนทศั น์ เรือ่ ง กฎการ - ทักษะการนำ อนรุ ักษพ์ ลงั งานกล ความรู้ไปใช้ - ตรวจใบงานที่ 5.7 เรอ่ื ง กฎ การอนุรักษ์พลงั งานกล แผนที่ 4 การ แบบสืบเสาะหา - ทกั ษะการ วเิ คราะห์ - ตรวจการทำแบบฝึกหดั จาก ประยกุ ต์ ความรู้ 5Es Unit Question 5 เรอื่ ง กฎ - ทักษะการส่อื สาร การอนุรักษพ์ ลังงานกล กฎการ (5Es - ทักษะการสังเกต - ทักษะการทำงาน - ตรวจแบบฝึกหดั ท่ี 3.1 เรือ่ ง กฎ อนุรกั ษ์ Instructional การอนุรักษพ์ ลังงานกล ร่วมกนั พลงั งานกล Model) - ทักษะการนำ - ตรวจการนำเสนอสถานการณ์ การเคล่ือนตามกฎการอนุรักษ์ ความรู้ไปใช้ พลังงานกลจากทีก่ ำหนดให้ แผนที่ 5 กำลัง แบบสบื เสาะหา - ทกั ษะการ - ตรวจผงั มโนทัศน์ เรื่อง การ ความรู้ 5Es วิเคราะห์ ประยกุ ต์กฎการอนรุ กั ษ์ พลังงานกล - ทกั ษะการสอ่ื สาร - ทักษะการสงั เกต - ตรวจใบงานที่ 5.8 เรอ่ื ง การ ประยกุ ต์กฎการอนรุ กั ษ์ พลังงานกล - ตรวจใบงานท่ี 5.9 เรอ่ื ง โจทย์ การประยุกต์กฎการอนุรักษ์ พลงั งานกล - ตรวจสอบแบบฝกึ หดั ที่ 4.1 เรอื่ ง การประยุกต์กฎการ อนุรกั ษพ์ ลงั งานกล - ตรวจผงั มโนทศั น์ เรือ่ ง กำลัง - ตรวจใบงานท่ี 5.10 เร่ือง กำลัง - ตรวจการทำแบบฝึกหดั จาก Unit Question 5 เรื่อง กำลัง จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาฟิสิกส์ 2 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 19 แนวคดิ /รปู แบบ หนว่ ยการ แผนการจดั การ การสอน/ ทักษะทไ่ี ด้ การประเมิน เวลา เรยี นรู้ เรยี นรู้ วิธกี ารสอน/ (ชัว่ โมง) 6. โมเมนตมั แผนที่ 6 เครอื่ งกล เทคนิค และการชน แผนที่ 7 แหลง่ (5Es - ทักษะการทำงาน - ตรวจแบบฝึกหดั ท่ี 5.1-5.2 พลงั งาน เรอ่ื ง กำลัง และการใช้ Instructional รว่ มกัน พลังงาน Model) - ทักษะการนำ แผนที่ 1 โมเมนตมั ความร้ไู ปใช้ แบบสืบเสาะหา - ทักษะการ - ตรวจการนำเสนอ เรื่อง 3 เครื่องกลอย่างง่าย 1 ความรู้ 5Es วิเคราะห์ - ตรวจผงั มโนทัศน์ เรอ่ื ง เคร่อื งกล (5Es - ทกั ษะการส่ือสาร - ตรวจใบงานที่ 5.11 เรอื่ ง Instructional - ทักษะการสังเกต เคร่อื งกล - ตรวจการทำแบบฝึกหดั จาก Model) - ทักษะการทำงาน Unit Question 5 เรื่อง ร่วมกนั เครอ่ื งกล - ตรวจแบบฝกึ หัดท่ี 6.1-6.3 - ทกั ษะการนำ เรอ่ื ง เครอื่ งกล - ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน ความรู้ไปใช้ - ตรวจผังมโนทัศน์ เร่ือง แหลง่ พลงั งานและการใชพ้ ลังงาน - ทักษะการคิดอยา่ ง - ตรวจใบงานท่ี 5.12 เรอ่ื ง แหล่งพลังงานและการใช้ มวี จิ ารณญาณ พลงั งาน แบบสืบเสาะหา - ทกั ษะการ ความรู้ 5Es วเิ คราะห์ (5Es - ทักษะการส่อื สาร Instructional - ทักษะการสังเกต Model) - ทักษะการทำงาน ร่วมกนั - ทกั ษะการนำ ความรไู้ ปใช้ แบบสืบเสาะหา - ทักษะการ - ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น 3 - ตรวจผังมโนทัศน์ เรอ่ื ง โม ความรู้ 5Es วิเคราะห์ เมนตัม (5Es - ทกั ษะการส่ือสาร - สังเกตการอภปิ ราย เรื่อง โม Instructional - ทกั ษะการสงั เกต เมนตมั - ตรวจใบงานท่ี 6.1 เร่ือง โม Model) - ทกั ษะการทำงาน เมนตัม ร่วมกนั - ตรวจใบงานท่ี 6.2 เร่อื ง โจทย์ - ทักษะการนำ โมเมนตัม - ตรวจแบบฝกึ หดั ที่ 1.1-1.3 ความร้ไู ปใช้ เรื่อง โมเมนตัม จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวชิ าฟิสกิ ส์ 2 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 20 หนว่ ยการ แผนการจดั การ แนวคิด/รปู แบบ ทักษะที่ได้ การประเมิน เวลา เรยี นรู้ เรียนรู้ การสอน/ (ชว่ั โมง) วิธกี ารสอน/ - ทักษะการ แผนท่ี 2 แรงและ เทคนคิ วิเคราะห์ - ตรวจการนำเสนอ เรอ่ื ง แรงและ 4 การเปลย่ี น การเปลยี่ นโมเมนตมั 5 โมเมนตมั แบบสืบเสาะหา - ทกั ษะการสื่อสาร 14 ความรู้ 5Es - ทักษะการสงั เกต - ตรวจผังมโนทศั น์ เรอ่ื ง แรง (5Es - ทักษะการทำงาน และการเปลยี่ นโมเมนตมั Instructional Model) รว่ มกนั - ตรวจใบงานท่ี 6.3 เร่อื ง แรง - ทักษะการนำ และการเปลย่ี นโมเมนตมั ความรู้ไปใช้ - ตรวจการทำแบบฝกึ หดั จาก Unit Question 6 เรื่อง แรง แผนท่ี 3 การดลและ แบบสืบเสาะหา - ทักษะการ และการเปลยี่ นโมเมนตมั แรงดล ความรู้ 5Es วิเคราะห์ (5Es - ตรวจแบบฝกึ หัดที่ 2.1 เร่อื ง Instructional - ทกั ษะการสอ่ื สาร แรงและการเปล่ียนโมเมนตมั Model) - ทักษะการสังเกต - ทักษะการทำงาน - ตรวจการนำเสนอสถานการณ์ ตามหลกั ของการดลและแรงดล ร่วมกนั - ทักษะการนำ - ตรวจผังมโนทัศน์ เร่อื ง การดล และแรงดล ความรไู้ ปใช้ - ตรวจใบงานท่ี 6.4 เร่อื ง โจทย์ แผนท่ี 4 การชน แบบสบื เสาะหา - ทักษะการ การดลและแรงดล ความรู้ 5Es วิเคราะห์ (5Es - ตรวจการทำแบบฝกึ หดั จาก Instructional - ทักษะการสอ่ื สาร Unit Question 6 เร่ือง การ Model) - ทักษะการสังเกต ดลและแรงดล - ทกั ษะการทำงาน - ตรวจแบบฝึกหดั ที่ 3.1-3.2 รว่ มกนั เรื่อง การดลและแรงดล - ทักษะการนำ - ตรวจแบบทดสอบหลังเรยี น ความร้ไู ปใช้ - สังเกตการทำกิจกรรมการชนกัน - ทักษะการคดิ อยา่ ง ของวตั ถุในแนวเส้นตรง มวี จิ ารณญาณ - สังเกตการทำกจิ กรรมการดีด ตัวแยกจากกนั ของวตั ถุในแนว เส้นตรง - ตรวจการนำเสนอผลงาน เร่อื ง การชน - ตรวจผงั มโนทศั น์ เรอ่ื ง การชน จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครผู ้ชู ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวชิ าฟิสกิ ส์ 2 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 21 หนว่ ยการ แผนการจดั การ แนวคดิ /รปู แบบ ทกั ษะทีไ่ ด้ การประเมิน เวลา เรยี นรู้ เรยี นรู้ การสอน/ (ชั่วโมง) วิธกี ารสอน/ 7. สภาพ เทคนคิ สมดลุ แผนที่ 1 สภาพ แบบสบื เสาะหา - ทกั ษะการ - ตรวจใบงานท่ี 6.5 แบบบันทกึ 2 สมดลุ ความรู้ 5Es วิเคราะห์ กจิ กรรมการชนกันของวัตถุใน 4 (5Es แนวเสน้ ตรง Instructional - ทักษะการสือ่ สาร Model) - ทักษะการสงั เกต - ตรวจใบงานท่ี 6.6 แบบบนั ทกึ - ทกั ษะการทำงาน กิจกรรมการดดี ตวั แยกจากกนั ของวัตถใุ นแนวเส้นตรง ร่วมกนั - ทกั ษะการนำ - ตรวจการทำแบบฝกึ หดั จาก Unit Question 6 เร่อื ง การ ความรไู้ ปใช้ ชน แผนท่ี 2 สมดลุ ต่อ แบบสืบเสาะหา - ทักษะการ - ตรวจแบบฝึกหดั ที่ 4.1-4.2 การเล่อื นที่ ความรู้ 5Es วเิ คราะห์ เร่อื ง การชน (5Es Instructional - ทักษะการสอ่ื สาร - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น Model) - ทกั ษะการสงั เกต - สังเกตการอภปิ ราย เรื่อง - ทกั ษะการทำงาน สภาพสมดลุ พร้อมยกตัวอย่าง รว่ มกัน สถานการณ์ - ทักษะการนำ - ตรวจผงั มโนทศั น์ เร่ือง สภาพ สมดลุ ความรไู้ ปใช้ - ตรวจใบงานที่ 7.1 เรอื่ ง สภาพ สมดลุ - ตรวจแบบฝกึ หัดท่ี 1.1 เรอ่ื ง สภาพสมดลุ - สงั เกตการทำกจิ กรรมสมดลุ ของแรงสามแรง - ตรวจการนำเสนอผังมโนทัศน์ เร่ือง สมดลุ ต่อการเล่อื นท่ี - ตรวจผังมโนทัศน์ เรอ่ื ง สมดลุ ตอ่ การเลือ่ นท่ี - ตรวจใบงานท่ี 7.2 แบบบันทึก กจิ กรรมสมดุลของแรงสามแรง - ตรวจการทำแบบฝกึ หดั จาก Unit Question 7 เร่ือง สมดลุ ต่อการเลอื่ นที่ จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครูผูช้ ว่ ย กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้รายวิชาฟิสกิ ส์ 2 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 22 หนว่ ยการ แผนการจัดการ แนวคิด/รปู แบบ ทกั ษะทไ่ี ด้ การประเมิน เวลา เรยี นรู้ เรยี นรู้ การสอน/ (ช่ัวโมง) วิธกี ารสอน/ แผนท่ี 3 สมดลุ ต่อ เทคนคิ การหมุน แบบสืบเสาะหา - ทักษะการ - ตรวจแบบฝึกหดั ที่ 2.1-2.2 เร่ือง 4 แผนที่ 4 ศูนย์กลาง ความรู้ 5Es วิเคราะห์ สมดุลต่อการเล่อื นที่ 5 มวลและ (5Es 3 ศูนยถ์ ่วง Instructional - ทกั ษะการสอื่ สาร - สงั เกตการอภิปราย เรือ่ ง Model) - ทักษะการสงั เกต โมเมนต์ แผนท่ี 5 สมดลุ ของ - ทกั ษะการทำงาน วัตถุ - ตรวจการนำเสนอผังมโนทศั น์ ร่วมกนั เรอื่ ง สมดุลตอ่ การหมุน - ทกั ษะการนำ - ตรวจผงั มโนทัศน์ เรื่อง สมดลุ ความรไู้ ปใช้ ตอ่ การหมุน - ทกั ษะการคดิ อยา่ ง - ตรวจใบงานที่ 7.3 เรอ่ื ง สมดลุ มีวจิ ารณญาณ ตอ่ การหมุน แบบสืบเสาะหา - ทกั ษะการ - ตรวจการทำแบบฝกึ หดั จาก ความรู้ 5Es วเิ คราะห์ Unit Question 7 เรือ่ ง สมดลุ (5Es ต่อการหมนุ Instructional - ทักษะการสือ่ สาร Model) - ทักษะการสงั เกต - ตรวจแบบฝกึ หดั ที่ 3.1 เรอ่ื ง - ทกั ษะการทำงาน สมดลุ ตอ่ การหมนุ ร่วมกัน - ตรวจการนำเสนอสถานการณ์ที่ - ทกั ษะการนำ เกยี่ วกับศนู ย์กลางมวลและศนู ย์ ถ่วง ความร้ไู ปใช้ - ตรวจผงั มโนทัศน์ เร่ือง แบบสืบเสาะหา - ทกั ษะการ ศนู ย์กลางมวลและศูนยถ์ ่วง ความรู้ 5Es วเิ คราะห์ (5Es - ตรวจใบงานท่ี 7.4 เร่อื ง Instructional - ทกั ษะการสื่อสาร ศนู ยก์ ลางมวลและศูนยถ์ ่วง Model) - ทักษะการสังเกต - ทักษะการทำงาน - ตรวจการทำแบบฝึกหดั จาก Unit Question 7 เร่ือง รว่ มกัน ศนู ย์กลางมวลและศูนย์ถว่ ง - ตรวจแบบฝึกหัดท่ี 4.1-4.2 เรอ่ื ง ศูนย์กลางมวลและศนู ยถ์ ว่ ง - สงั เกตการอภปิ ราย เร่ือง สมดลุ ของวตั ถุ - ตรวจผงั มโนทศั น์ เรอื่ ง สมดลุ ของวัตถุ - ตรวจใบงานท่ี 7.5 เรอื่ ง สมดลุ ของวตั ถุ จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวชิ าฟิสิกส์ 2 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 23 แนวคิด/รปู แบบ หน่วยการ แผนการจัดการ การสอน/ ทกั ษะท่ไี ด้ การประเมนิ เวลา เรยี นรู้ เรียนรู้ วิธกี ารสอน/ (ชั่วโมง) เทคนิค - ทักษะการนำ - ตรวจการทำแบบฝกึ หดั จาก Unit Question 7 เรอ่ื ง สมดุล ความรไู้ ปใช้ ของวตั ถุ แผนท่ี 6 เสถียรภาพ แบบสืบเสาะหา - ทกั ษะการ - ตรวจแบบฝกึ หัดที่ 5.1 เรอื่ ง 3 ของวตั ถุ ความรู้ 5Es วิเคราะห์ สมดลุ ของวัตถุ 9 (5Es Instructional - ทักษะการสือ่ สาร - ตรวจผลงานการนำเสนอ เร่ือง Model) - ทักษะการสังเกต เสถยี รภาพของวัตถุ - ทกั ษะการทำงาน - ตรวจผังมโนทัศน์ เรอ่ื ง ร่วมกนั เสถียรภาพของวตั ถุ - ทกั ษะการนำ - ตรวจใบงานที่ 7.6 เร่ือง ความรู้ไปใช้ เสถียรภาพของวัตถุ แผนท่ี 7 การนำ แบบสบื เสาะหา - ทักษะการ - ตรวจการทำแบบฝึกหดั จาก หลักสมดุล ความรู้ 5Es วเิ คราะห์ Unit Question 7 เรอ่ื ง ไปประยกุ ต์ (5Es เสถยี รภาพของวตั ถุ Instructional - ทกั ษะการส่อื สาร Model) - ทกั ษะการสงั เกต - ตรวจแบบฝึกหดั ท่ี 6.1 เร่อื ง - ทกั ษะการทำงาน เสถียรภาพของวัตถุ รว่ มกนั - ตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี น - ทกั ษะการนำ - ตรวจการนำเสนอผลงาน เร่ือง ความรู้ไปใช้ เคร่ืองกลที่นำหลกั สมดลุ ไป ประยุกตต์ ามที่กำหนด - ตรวจรายงาน เรื่อง การนำหลัก สมดลุ ไปประยกุ ต์ - ตรวจผังมโนทศั น์ เรอ่ื ง การนำ หลักการไปประยกุ ต์ - ตรวจใบงานท่ี 7.7 เรื่อง การนำ หลกั สมดลุ ไปประยุกต์ - ตรวจการทำแบบฝกึ หดั จาก Unit Question 7 เรอ่ื ง การ นำหลกั การไปประยกุ ต์ - ตรวจแบบฝกึ หดั ที่ 7.1 เรื่อง การนำหลกั สมดุลไปประยกุ ต์ จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้รายวชิ าฟิสกิ ส์ 2 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 24 Pedagogy สื่อการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์ ม.4 ผู้จัดทำได้ออกแบบการสอน (Instructional Design) อัน เป็นวิธีการจัดการเรียนรู้และเทคนิคการสอนที่เปี่ยมด้วยประสิทธิภาพและมีความหลากหลายให้กั บผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถบรรลุผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด รวมถึงสมรรถนะและคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ของผู้เรียนที่หลักสูตรกำหนดไว้ โดยครูสามารถนำไปใช้จัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ซึ่งในรายวิชานีไ้ ด้นำรปู แบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) มาใช้ ในการออกแบบการสอน ดงั น้ี รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ด้วยจุดประสงค์ของการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิด สร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะสำคัญในการค้นคว้าหา ความรู้ และมีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ ผู้จัดทำจึงได้เลือกใช้รปู แบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ซงึ่ เป็นข้ันตอนการเรยี นรทู้ ่มี งุ่ ให้ผู้เรียนได้ มีโอกาสสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผ่านกระบวนการคิดและการ ลงมอื ทำ โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตรเ์ ป็นเครื่องมือสำคัญ เพื่อการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และทักษะ การเรียนรแู้ หง่ ศตวรรษที่ 21 วธิ สี อน (Teaching Method) ผู้จัดทำเลือกใช้วิธีสอนที่หลากหลาย เช่น การทดลอง การสาธิต การอภิปรายกลุ่มย่อย เป็นต้น เพื่อส่งเสริม การเรยี นรรู้ ูปแบบการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ให้เกดิ ประสิทธิภาพมากท่สี ดุ ซง่ึ จะเนน้ ใชว้ ธิ ีสอนโดยใชก้ ารทดลองมากเปน็ พิเศษ เนื่องจากเปน็ วิธสี อนท่ีมุ่งพฒั นาใหผ้ ู้เรียนเกิดองค์ความรู้จาก ประสบการณ์ตรงโดย การคิดและการลงมือทำด้วยตนเอง อันจะช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้และเกิดทักษะทาง วิทยาศาสตรท์ คี่ งทน เทคนคิ การสอน (Teaching Technique) ผู้จัดทำเลือกใช้เทคนิคการสอนที่หลากหลายและเหมาะสมกับเรื่องที่เรียน เพื่อส่งเสริมวิธีสอนให้มี ประสิทธภิ าพมากขึ้น เชน่ การใช้คำถาม การเล่นเกม เพ่อื นช่วยเพื่อน เปน็ ตน้ ซ่งึ เทคนิคการสอนต่าง ๆ จะช่วยให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุขในขณะที่เรียนและสามารถปฏิบัติกิจกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทัง้ ไดพ้ ฒั นาทักษะในศตวรรษท่ี 21 อีกด้วย จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 25 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5 งานและพลงั งาน หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 งานและพลังงาน เวลา 24 ช่ัวโมง 1. ผลการเรยี นรู้ เข้าใจธรรมชาติทางฟิสิกส์ ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลื่อนท่ีแนวตรง แรงและกฎการเคลื่อนที่ของ นิวตัน กฎความโน้มถ่วงสากล แรงเสียดทาน สมดุลกลของวัตถุ งานและกฎการอนุรักษ์พลังงานกล โมเมนตัมและกฎการอนุรักษโ์ มเมนตมั การเคลอื่ นที่แนวโคง้ รวมท้ังนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ได้ 1. วิเคราะห์ และคำนวณงานของแรงคงตัวจากสมการและพื้นท่ีใต้กราฟความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับ ตำแหน่ง รวมท้ังอธิบายและคำนวณกำลังเฉล่ยี ได้ 2. อธิบายและคำนวณพลังงานจลน์ พลังงานศักย์ พลังงานกล ทดลองหาความสัมพันธ์ระหว่างงานกับ พลงั งานจลน์ ความสัมพันธร์ ะหว่างงานกับพลังงานศกั ย์โน้มถว่ ง ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของแรงทีใ่ ช้ ดึงสปริงกับระยะท่ีสปริงยืดออกและความสัมพันธ์ระหว่างงานกับพลังงานศักย์ยืดหยุ่น รวมทั้งอธิบาย ความสมั พันธร์ ะหว่างงานของแรงลพั ธแ์ ละพลงั งานจลน์ และคำนวณงานท่เี กิดขึ้นจากแรงลพั ธ์ได้ 3. อธิบายกฎการอนุรักษ์พลังงานกล รวมทั้งวิเคราะห์ และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการ เคล่อื นทข่ี องวัตถุในสถานการณต์ ่าง ๆ โดยใช้กฎการอนุรกั ษ์พลังงานกลได้ 4. อธิบายการทำงาน ประสิทธิภาพและการได้เปรียบเชิงกลของเคร่ืองกลอย่างง่ายบางชนิด โดยใช้ความรู้ เรื่องงานและสมดลุ กล รวมทง้ั คำนวณประสทิ ธิภาพและการได้เปรยี บเชงิ กลได้ 2. สาระการเรยี นรู้ 2.1 สาระการเรียนรู้เพมิ่ เตมิ 1) งานของแรงท่ีกระทำต่อวัตถุหาได้จากผลคูณของขนาดของแรงและขนาดของการกระจัดกับโคไซน์ของ มมุ ระหวา่ งแรงกบั การกระจัด ตามสมการ W = F∆xcosθ หรือหางานได้จากพนื้ ท่ีใต้กราฟระหวา่ งแรง ในแนวการเคลือ่ นท่กี บั ตำแหนง่ โดยแรงที่กระทำอาจเปน็ แรงคงตัว หรือไมค่ งตัวก็ได้ 2) งานทท่ี ำได้ในหนง่ึ หน่วยเวลา เรยี กว่า กำลงั เฉลี่ย ดงั สมการ Pav = W ∆t 3) พลงั งานเปน็ ความสามารถในการทำงาน 4) พลังงานจลนเ์ ป็นพลงั งานของวัตถุท่กี ำลงั เคลือ่ นท่ี คำนวณได้จากสมการ Ek = 1 mv2 2 5) พลังงานศักย์เป็นพลังงานที่เก่ียวข้องกับตำแหน่งหรือรูปร่างของวัตถุ แบ่งออกเป็นพลังงานศักย์โน้มถ่วง คำนวณได้จากสมการ Ep = mgh และพลงั งานศักย์ยดื หยุน่ คำนวณไดจ้ ากสมการ Eps = 1 kx2 2 6) พลงั งานกลเปน็ ผลรวมของพลงั งานจลน์และพลงั งานศักยต์ ามสมการ E = Ek + Ep จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครผู ู้ชว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 26 หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 5 งานและพลังงาน 7) แรงท่ที ำให้เกิดงานโดยงานของแรงน้ันไมข่ ึ้นกับเส้นทางการเคลื่อนท่ี เช่น แรงโน้มถว่ งและแรงสปริง เรยี กว่า แรงอนรุ กั ษ์ 8) งานและพลังงานมีความสัมพันธ์กัน โดยงานของแรงลัพธ์เท่ากับพลังงานจลน์ของวัตถุท่ีเปลี่ยนไป ตาม ทฤษฎีบทงาน-พลังงานจลน์ เขียนแทนได้ดว้ ยสมการ W = ∆Ek 9) ถ้างานที่เกิดข้ึนกับวัตถุเป็นงานเนื่องจากแรงอนุรักษ์เท่านั้น พลังงานกลของวัตถุจะคงตัว ซึ่งเป็นไปตาม กฎการอนุรักษ์พลังงานกล เขียนแทนได้ด้วยสมการ Ek + Ep = ค่าคงตัว โดยท่ีพลังงานศักย์อาจ เปลี่ยนเปน็ พลงั งานจลน์ 10) กฎการอนุรักษ์พลังงานกลใช้วิเคราะห์การเคลื่อนท่ีต่าง ๆ เช่น การเคลือ่ นท่ีของวัตถทุ ี่ตดิ สปริง การเคลื่อนท่ี ภายใต้สนามโนม้ ถว่ งของโลก 11) การทำงานของเคร่ืองกลอย่างง่าย ได้แก่ คาน รอก พื้นเอียง ล่ิม สกรู และล้อกับเพลา ใช้หลกั การของ งานและสมดุลกลประกอบการพิจารณาประสิทธิภาพ และการได้เปรียบเชิงกลของเคร่ืองกลอย่างง่าย ประสิทธิภาพคำนวณได้จากสมการ Efficiency = Wout × 100% การได้เปรียบเชิงกลคำนวณได้ Win จากสมการ M. A. = Fout = sin Fin sout 2.2 สาระการเรยี นรทู้ ้องถนิ่ (พิจารณาตามหลักสตู รสถานศึกษา) 3. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด งานในทางฟิสิกส์เกิดข้ึนเมื่อมีแรงกระทำต่อวัตถุแล้วทำให้วัตถุเคล่ือนที่ไปตามแนวแรง โดยงานหาได้จากผลคูณ ระหว่างแรงกบั การกระจัด และสามารถหาได้จากพืน้ ท่ีใต้กราฟของแรงทก่ี ระทำกบั การกระจดั ในแนวการเคลื่อนท่ี พลังงานจลน์ คือ พลังงานท่ีเกิดจากการเคลอ่ื นที่ของวัตถุเน่ืองจากอตั ราเร็วของวัตถุ พลงั งานศกั ย์ คอื พลังงานที่ สะสมในวัตถุ ประกอบด้วย พลังงานศักย์โน้มถ่วงท่ีเป็นพลังงานสะสมในวัตถุเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก และ พลังงานศักย์ยืดหยุ่นเป็นพลังงานที่สะสมในสปริงอันเน่ืองจากระยะยืดหรือหดของสปริงจากสภาพปกติ พลังงานต่าง ๆ ของวัตถุจะไม่สูญหาย แต่อาจเปล่ียนจากพลังงานหนึ่งเป็นอีกพลังงานหนึ่ง ซึ่งเป็นไปตามกฎการอนุรักษ์พลังงานกล สำหรับการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกลสามารถใช้ในการอธิบายการเคล่ือนที่แบบวงกลมในระนาบดิ่ง การ เคล่อื นที่ของวัตถทุ ีต่ ิดสปรงิ และการเคลือ่ นท่ภี ายใตส้ นามโนม้ ถ่วงของโลกได้ กำลงั คอื อัตราการทำงาน หรืองานท่ีทำไดใ้ นหนงึ่ หน่วยเวลา มีหน่วยเป็น วัตต์ ส่วนหน่วยท่ีนิยมใชอ้ ีกหน่วยหน่ึง คือ แรงมา้ ซึ่งมคี า่ เทา่ กับ 746 วตั ต์ เครื่องกลอย่างง่าย ได้แก่ คาน รอก พื้นเอียง ล้อกับเพลา ลิ่ม และสกรู การทำงานของเครื่องกลอย่างง่ายใช้ หลกั การของงาน การประดิษฐเ์ คร่อื งกลแต่ละประเภทนนั้ มกั คำนงึ ถงึ ความสะดวกสบายของผู้ใชง้ าน พลังงานเป็นปัจจัยสำคัญในการดำเนินชีวิตปัจจุบัน แหล่งพลังงานส่วนใหญ่เป็นเชื้อเพลิงฟอสซิล ซ่ึงอาจจะหมดใน อนาคตอันใกล้ จึงต้องใช้พลังงานอย่างประหยัด พลังงานมี 2 ประเภท คือ พลังงานที่ใช้แล้วหมดไป และพลังงาน หมุนเวยี นหรอื พลังงานทดแทน จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 27 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 5 งานและพลงั งาน 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนและคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการส่อื สาร 1. มวี ินยั 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 1) ทกั ษะการวเิ คราะห์ 3. ม่งุ ม่ันในการทำงาน 2) ทักษะการสังเกต 3) ทักษะการสอ่ื สาร 4) ทักษะการทำงานรว่ มกนั 5) ทักษะการนำความรู้ไปใช้ 6) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 3. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ 5. ชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) - ใบงานท่ี 5.1 เร่อื ง แรงและงาน - ใบงานที่ 5.2 เรอื่ ง งานของแรงท่ีทำมมุ กบั แนวการเคล่ือนท่ี - ใบงานท่ี 5.3 เรอ่ื ง การหางานจากพน้ื ที่ใตก้ ราฟ - ใบงานท่ี 5.4 แบบบนั ทึกกิจกรรมพลังงานจลน์ - ใบงานท่ี 5.5 แบบบันทึกกจิ กรรมพลังงานศกั ย์โนม้ ถ่วง - ใบงานที่ 5.6 แบบบนั ทึกกิจกรรมพลังงานศักย์ยดื หย่นุ - ใบงานที่ 5.7 เรือ่ ง กฎการอนุรักษ์พลงั งานกล - ใบงานท่ี 5.8 เรือ่ ง การประยกุ ตก์ ฎการอนรุ กั ษพ์ ลงั งานกล - ใบงานท่ี 5.9 เร่ือง โจทย์การประยกุ ต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล - ใบงานท่ี 5.10 เร่อื ง กำลัง - ใบงานท่ี 5.11 เรอ่ื ง เคร่ืองกล - ใบงานที่ 5.12 เรอื่ ง แหล่งพลงั งานและการใชพ้ ลงั งาน - ผงั มโนทศั น์ เรอ่ื ง แรงและงาน - ผังมโนทศั น์ เรื่อง พลังงาน - ผงั มโนทศั น์ เรื่อง กฎการอนุรักษ์พลังงาน - ผงั มโนทัศน์ เรื่อง การประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงาน - ผงั มโนทัศน์ เรอ่ื ง กำลงั - ผังมโนทศั น์ เรื่อง เครื่องกล - ผังมโนทศั น์ เรื่อง แหลง่ พลงั งานและการใชพ้ ลงั งาน จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผ้ชู ว่ ย กลุม่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 28 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 งานและพลังงาน 6. การวดั และการประเมินผล รายการวัด วธิ วี ัด เครื่องมอื เกณฑ์การประเมิน - ระดับคุณภาพ 2 6.1 การประเมนิ ช้นิ งาน/ - ตรวจผงั มโนทัศน์ เรื่อง - แบบประเมนิ ชน้ิ งาน/ ผา่ นเกณฑ์ ภาระงาน (รวบยอด) แรงและงาน ภาระงาน - ระดบั คุณภาพ 2 - ตรวจผังมโนทัศน์ เร่อื ง - แบบประเมนิ ชิน้ งาน/ ผ่านเกณฑ์ - ระดับคุณภาพ 2 พลังงาน ภาระงาน ผา่ นเกณฑ์ - ตรวจผงั มโนทัศน์ เรอ่ื ง - แบบประเมนิ ชิ้นงาน/ - ระดับคุณภาพ 2 กฎการอนรุ ักษ์พลงั งานกล ภาระงาน ผ่านเกณฑ์ - ตรวจผงั มโนทัศน์ เรือ่ ง - แบบประเมนิ ชิน้ งาน/ - ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ การประยุกต์กฎการ ภาระงาน - ระดับคุณภาพ 2 อนุรกั ษ์พลังงานกล ผา่ นเกณฑ์ - ตรวจผังมโนทศั น์ เรื่อง - แบบประเมินช้นิ งาน/ - ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ กำลงั ภาระงาน - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - ตรวจผังมโนทัศน์ เรอ่ื ง - แบบประเมนิ ชิ้นงาน/ - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ เครอ่ื งกล ภาระงาน - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ - ตรวจผงั มโนทัศน์ เรื่อง - แบบประเมินชน้ิ งาน/ - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ แหลง่ พลังงานและการใช้ ภาระงาน - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ พลังงาน 6.2 การประเมนิ ก่อนเรียน - แบบทดสอบกอ่ นเรยี น - ตรวจแบบทดสอบกอ่ น - แบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 เรยี น เร่อื ง งานและพลังงาน 6.3 การประเมนิ ระหวา่ งการ จดั กจิ กรรม 1) แรงและงาน - ตรวจใบงานที่ 5.1-5.3 - ใบงานท่ี 5.1-5.3 - ตรวจแบบฝึกหัดท่ี 1.1-1.3 - แบบฝกึ หัดท่ี 1.1-1.3 2) พลังงาน - ตรวจใบงานท่ี 5.4-5.6 - ใบงานที่ 5.4-5.6 - ตรวจแบบฝึกหัดท่ี 2.1 - แบบฝึกหัดที่ 2.1 3) กฎการอนุรักษ์พลงั งาน - ตรวจใบงานที่ 5.7 - ใบงานที่ 5.7 กล - ตรวจแบบฝึกหัดที่ 3.1 - แบบฝึกหดั ที่ 3.1 4) การประยุกตก์ ฎการ - ตรวจใบงานที่ 5.8-5.9 - ใบงานท่ี 5.8-5.9 จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครผู ู้ช่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 29 หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 5 งานและพลงั งาน รายการวดั วิธีวดั เครือ่ งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ อนรุ ักษ์พลงั งานกล - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 5) กำลงั - ตรวจแบบฝึกหัดท่ี 4.1 - แบบฝึกหดั ท่ี 4.1 - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 6) เครื่องกล - ตรวจใบงานท่ี 5.10 - ใบงานที่ 5.10 - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 7) แหลง่ พลงั งานและการ - ตรวจแบบฝกึ หัดที่ 5.1-5.2 - แบบฝึกหัดที่ 5.1-5.2 - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ใช้พลังงาน - ตรวจใบงานท่ี 5.11 - ใบงานที่ 5.11 8) การนำเสนอผลงาน - ตรวจแบบฝึกหัดที่ 6.1-6.3 - แบบฝกึ หดั ที่ 6.1-6.3 9) พฤติกรรมการทำงาน รายบุคคล - ตรวจใบงานที่ 5.12 - ใบงานที่ 5.12 10) พฤติกรรม - ประเมนิ การนำเสนอผลงาน - ผลงานที่นำเสนอ - ระดับคุณภาพ 2 การทำงานกลมุ่ ผา่ นเกณฑ์ 11) คุณลกั ษณะ อันพงึ ประสงค์ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2 6.4 การประเมินหลังเรียน การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ - แบบทดสอบหลังเรยี น หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 5 - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม - ระดบั คุณภาพ 2 เรอ่ื ง งานและพลงั งาน การทำงานกลุ่ม การทำงานกลุ่ม ผา่ นเกณฑ์ - สังเกตความมีวินัย - แบบประเมนิ คุณลักษณะ - ระดับคุณภาพ 2 ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมนั่ ใน อนั พึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ การทำงาน - ตรวจแบบทดสอบหลงั - แบบทดสอบหลงั เรียน - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ เรยี น 7. กจิ กรรมการเรยี นรู้ เวลา 5 ช่ัวโมง เวลา 7 ชั่วโมง • แผนฯ ท่ี 1 : แรงและงาน เวลา 3 ชวั่ โมง วิธสี อนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) เวลา 3 ชัว่ โมง • แผนฯ ที่ 2 : พลังงาน วิธีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) • แผนฯ ท่ี 3 : กฎการอนรุ ักษพ์ ลังงานกล วธิ สี อนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) • แผนฯ ที่ 4 : การประยกุ ต์กฎการอนรุ ักษ์พลงั งานกล วิธสี อนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ู้ช่วย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 30 หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 5 งานและพลังงาน • แผนฯ ที่ 5 : กำลงั เวลา 2 ชวั่ โมง วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) เวลา 3 ชว่ั โมง เวลา 1 ชวั่ โมง • แผนฯ ที่ 6 : เครอื่ งกล วิธสี อนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) • แผนฯ ท่ี 7 : แหลง่ พลังงานและการใชพ้ ลงั งาน วธิ ีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) 8. ส่ือ/แหล่งการเรยี นรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนงั สอื เรยี น รายวิชาเพม่ิ เตมิ ฟิสกิ ส์ ม.4 เล่ม 2 หนว่ ยการเรยี นท่ี 5 งานและพลงั งาน 2) ใบงานที่ 5.1 เรอ่ื ง แรงและงาน 3) ใบงานที่ 5.2 เรื่อง งานของแรงทที่ ำมุมกับแนวการเคลื่อนที่ 4) ใบงานท่ี 5.3 เร่ือง การหางานจากพ้ืนที่ใต้กราฟ 5) ใบงานท่ี 5.4 เร่อื ง กิจกรรมพลงั งานจลน์ 6) ใบงานที่ 5.5 เร่อื ง กิจกรรมพลงั งานศกั ยโ์ นม้ ถว่ ง 7) ใบงานท่ี 5.6 เร่อื ง กิจกรรมพลังงานศกั ยย์ ืดหย่นุ 8) ใบงานท่ี 5.7 เรอื่ ง กฎการอนุรักษพ์ ลังงานกล 9) ใบงานที่ 5.8 เร่อื ง การประยุกต์กฎการอนรุ กั ษ์พลังงานกล 10) ใบงานท่ี 5.9 เร่อื ง โจทยก์ ารประยกุ ต์กฎการอนุรักษ์พลงั งานกล 11) ใบงานที่ 5.10 เรื่อง กำลงั 12) ใบงานท่ี 5.11 เรื่อง เครื่องกล 13) ใบงานที่ 5.12 เร่ือง แหลง่ พลังงานและการใชพ้ ลงั งาน 14) แบบฝึกหดั รายวชิ าเพ่มิ เติม ฟิสกิ ส์ ม.4 เลม่ 2 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 5 งานและพลังงาน 15) PowerPoint เร่ือง งานและพลังงาน 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องเรยี น 2) หอ้ งสมุด 3) แหลง่ ขอ้ มูลสารสนเทศ จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 31 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 5 งานและพลงั งาน แบบทดสอบก่อนเรียน หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 5 คำช้ีแจง : ใหน้ กั เรยี นเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว (กำหนดให้ g = 10 m/s2 ) 1. งานสามารถหาไดจ้ ากความสัมพันธข์ ้อใด 6. นักกีฬาคนหนึ่งหนัก 750 นิวตัน ไต่เชือกที่อยู่สูงจากพ้ืน 5 1. ผลคณู ของแรงกับมวล เมตร ด้วยความเร็วคงที่ ในเวลา 25 วินาที จงหากำลังท่ี 2. ผลคณู ของแรงกบั การกระจัดตามแนวแรง นักกีฬาคนนใี้ ชใ้ นการไตเ่ ชอื ก 3. ผลคูณของมวลกบั การกระจดั ตามแนวแรง 1. 50 วัตต์ 2. 100 วัตต์ 4. ผลคณู ของแรงกับระยะทางท่ตี ัง้ ฉากกบั แรง 3. 150 วตั ต์ 4. 200 วตั ต์ 5. ผลคูณของมวลกับระยะทางทตี่ ง้ั ฉากกับแรง 5. 250 วัตต์ 2. ออกแรง 50 นิวตัน ยกโต๊ะเดินไปในแนวราบ 10 เมตร 7. รถคันหนึ่งถูกเข็นด้วยแรง 120 นิวตัน ทำให้วิ่งด้วย จงหางานทีเ่ กดิ ข้นึ อัตราเร็วคงที่ 5 เมตรต่อวินาที จงหากำลังท้ังหมดที่ใช้ 1. 0 จูล ในการเข็นรถคันนี้ 2. 10 จูล 1. 500 วัตต์ 2. 600 วัตต์ 3. 50 จูล 3. 700 วัตต์ 4. 800 วตั ต์ 4. 100 จูล 5. 900 วตั ต์ 5. 500 จูล 8. ข้อใดกล่าวผิดเก่ียวกับการได้เปรียบเชิงกล 3. ยางรดั ถุงขนม หรือถงุ แกง มีพลงั งานใดสะสมอยู่ 1. ถา้ คา่ มากกว่า 1 เครอื่ งกลผอ่ นแรง 1. พลงั งานจลน์ 2. ถ้าค่าเท่ากบั 1 เครือ่ งกลไมผ่ ่อนแรง 2. พลงั งานไฟฟา้ 3. ถ้าค่านอ้ ยกว่า 1 เครอ่ื งกลไมผ่ ่อนแรง 3. พลังงานเคมี 4. บง่ บอกว่าเครอื่ งกลนี้ผอ่ นแรงได้เทา่ ใด 4. พลงั งานศกั ย์โน้มถ่วง 5. อัตราสว่ นระหวา่ งแรงตา้ นทานตอ่ แรงพยายาม 5. พลังงานศกั ยย์ ดื หย่นุ 9. ข้อใดสรปุ ผดิ 4. ข้อใดตอ่ ไปนมี้ ีพลังงานศกั ยส์ ูงสุด 1. พลังงานมีหน่วยเหมอื นงาน 1. วัตถมุ วล 60 กโิ ลกรมั อยสู่ ูงจากพนื้ 20 เมตร 2. พลังงานทำใหเ้ กิดแรงกระทำต่อวตั ถใุ ห้เคลอ่ื นท่ี 2. วัตถมุ วล 70 กโิ ลกรมั อยู่สงู จากพน้ื 20 เมตร 3. กำลงั 1 แรงมา้ เท่ากับ 746 วัตต์ 3. วัตถมุ วล 80 กโิ ลกรมั อยสู่ งู จากพน้ื 15 เมตร 4. รา่ งกายของมนุษย์จะไมใ่ ชพ้ ลงั งานขณะนอนหลบั 4. วัตถมุ วล 90 กิโลกรมั อยู่สูงจากพน้ื 15 เมตร 5. ปริมาณพลังงานก่อนการเปลยี่ นรปู เทา่ กบั พลงั งานหลงั 5. วตั ถมุ วล 100 กโิ ลกรัม อยสู่ งู จากพ้ืน 10 เมตร การเปลย่ี นรปู 5. ขอ้ ใดกลา่ วถึงกำลังได้ไม่ถูกต้อง 10. ข้อใดเป็นวิธีประหยดั พลังงานไดด้ ที ส่ี ุด 1. กำลังมหี น่วยเป็นจูลต่อวินาที 1. นายขวญั ชัยเปดิ แอร์ท่อี ุณหภูมิ 25 C° 2. กำลังแปรผันตรงกับงานที่ทำได้ 2. นางสาวแกว้ ขวัญใชเ้ ครื่องซักผา้ ซกั ผา้ คร้งั ละมาก ๆ 3. กำลังไมม่ คี วามเกยี่ วขอ้ งกับความเรว็ 3. นายโทนปี่ ัน่ จกั รยานไปทำงานแทนรถยนต์ 4. กำลังคืออัตราการทำงานในหนึ่งหน่วยเวลา 4. นายนิกก้ีขบั รถยนตม์ าทำงานกับเพื่อน 2 คน เฉ5.ลยกำลังของเครอ่ื งยนตม์ กั ใช้หนว่ ยเป็นแรงม้า 5. นางสาวปยุ ฝา้ ยตม้ น้ำรอ้ นโดยใช้เตาไมโครเวฟ 1. 2 2. 1 3. 5 4. 2 5. 3 6. 3 7. 2 8. 5 9. 4 10. 3 จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผูช้ ว่ ย กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 32 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 5 งานและพลังงาน แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 คำช้แี จง : ให้นกั เรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว (กำหนดให้ g = 10 m/s2 ) 1. ข้อใดไม่เกิดงาน ตามหลักวิชาฟิสิกส์ 6. ส้มโอลูกหนึง่ มวล 1.5 กโิ ลกรมั อยูบ่ นตน้ สงู 2 เมตร จาก 1. ออกแรงดนั กลอ่ งให้ไถลไปตามพืน้ ห้อง พนื้ จะมพี ลังงานศักย์เทา่ ใด 2. ขับรถข้ึนเขาจนถึงจุดชมวิว 1. 30 จูล 2. 35 จลู 3. 40 จูล 3. แบกกระสอบข้าวสารเดินเขา้ ไปในห้องครวั 4. 45 จลู 5. 50 จูล 4. ฉดุ รถยนต์ข้ึนจากหลม่ ขึน้ มาบนพน้ื ราบ 7. เครื่องยนต์ไอพ่นสองเครื่องของเครื่องบินโดยสาร แต่ละ 5. ถอื ขวดนำ้ 1.5 ลิตร ข้นึ บนั ได 15 ขั้น เครื่องจะให้แรงขับเคล่ือนขนาด 179,040 นิวตัน จงหาว่า 2. ออกแรง 20 นวิ ตนั ผลกั กอ้ นหินหนกั 100 นิวตนั ปรากฏ ในขณะที่เคร่อื งบินกำลังบนิ ท่ีอตั ราเร็ว 250 เมตรต่อวินาที วา่ กอ้ นหนิ ไม่เคลื่อนที่ การออกแรงครัง้ น้เี กิดงานเท่าใด เคร่อื งยนต์แตล่ ะเคร่ืองจะใหก้ ำลังกี่แรงม้า 1. 0 จูล 2. 5 จูล 1. 30,000 แรงม้า 2. 40,000 แรงมา้ 3. 50 จูล 4. 200 จูล 3. 50,000 แรงม้า 4. 60,000 แรงม้า 5. 500 จูล 5. 70,000 แรงมา้ 3. พลังงานจลน์ของลูกปืนมวล 0.002 กิโลกรัม ขณะ 8. รถโดยสารจะต้องออกกำลังกี่วัตต์ในการขับเคลื่อนขึ้น เคลื่อนที่ออกจากลำกล้องปืนยาว 1 เมตร ด้วยอัตราเร็ว ไปส่งผู้โดยสารบนภูเขาซ่ึงเอียงทำมุม 30 องศา กับพื้น 500 เมตรต่อวนิ าทีมีคา่ ก่ีจูล ราบ ด้วยอัตราเร็วคงที่ 20 เมตรต่อวินาที หากรถ 1. 50 จูล 2. 100 จูล โดยสารคันนี้มีมวล 1,500 กิโลกรัม และไม่คิดแรง 3. 150 จูล 4. 200 จูล เสียดทาน 5. 250 จูล 1. 100,000 วัตต์ 2. 150,000 วัตต์ 4. วัตถุมวล 10 กิโลกรัม ถูกปล่อยจากตำแหน่งสูงจาก 3. 200,000 วัตต์ 4. 250,000 วัตต์ พ้ืนดิน 15 เมตร ลงไปในบ่อซ่ึงลึกลงไป 5 เมตร ขณะที่ 5. 300,000 วัตต์ วตั ถกุ ระทบกน้ บอ่ วัตถมุ ีพลงั งานจลน์เท่าใด 9. เค รื่องกลชนิด ห นึ่งมีป ระสิ ทธิภ าพ การใช้งาน 80 1. 500 จูล 2. 1,000 จูล เปอร์เซ็นต์ ยกวัตถุหนัก 500 นิวตัน ขึ้นไปวางบนหลังคา 3. 1,500 จูล 4. 2,000 จูล บ้านสงู 5 เมตร หากนำเคร่ืองกลชนดิ เดยี วกนั นไี้ ปยกกลอ่ ง 5. 2,500 จูล เหล็กหนกั 50 นิวตนั จะสามารถยกขึน้ ได้สงู สดุ กี่เมตร 5. การเปลย่ี นแปลงของพลังงานศักยเ์ กี่ยวข้องกบั สิง่ ใดมาก 1. 10 เมตร 2. 20 เมตร 3. 30 เมตร ท่ีสุด 4. 40 เมตร 5. 50 เมตร 1. ความเร็วในการเคลอ่ื นทีข่ องวัตถุ 10. ข้อใดเปน็ พลังงานทดแทนที่ใชเ้ ชื้อเพลิงน้อยทสี่ ดุ แตใ่ ห้ 2. เวลาทีใ่ ช้ในการเคลื่อนที่ของวัตถุ พลังงานความรอ้ นออกมามากทส่ี ดุ 3. ความเรง่ ในแนวตรงของวัตถุ 1. พลังงานลม 2. พลงั งานชีวมวล 4. อณุ หภูมิของวตั ถุ 3. พลังงานนิวเคลยี ร์ 4. พลงั งานแสงอาทิตย์ 5. ตำแหน่งของวตั ถุ 5. พลงั งานไฮโดรเจน เฉลย 1. 2 2. 1 3. 5 4. 2 5. 3 6. 3 7. 2 8. 5 9. 4 10. 3 จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 33 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 5 งานและพลงั งาน แบบประเมนิ การปฏบิ ตั ิกจิ กรรม แผนฯ ท่ี 2 คำชแ้ี จง : ให้ผู้สอนประเมนิ การปฏบิ ัติกิจกรรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงใน ชอ่ งทต่ี รงกับระดบั คะแนน ลำดับที่ รายการประเมิน 4 ระดบั คะแนน 1 รวม 32 1 การปฏบิ ัตกิ จิ กรรม 2 ความคล่องแคลว่ ในขณะปฏิบัติกิจกรรม 3 การนำเสนอ ลงช่ือ ................................................... ผ้ปู ระเมิน ............../................../............... จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ู้ชว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 34 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 5 งานและพลังงาน เกณฑก์ ารประเมนิ การปฏบิ ตั กิ ิจกรรม ประเดน็ ทป่ี ระเมิน 4 ระดบั คะแนน 1 1. การปฏิบตั ิ ทำกิจกรรมตามขัน้ ตอน ต้องให้ความชว่ ยเหลอื 32 อย่างมากในการทำ กิจกรรม และใช้อปุ กรณไ์ ด้อยา่ ง กิจกรรม และการใช้ ทำกจิ กรรมตามขั้นตอน ต้องให้ความชว่ ยเหลือ อปุ กรณ์ 2. ความคล่องแคล่ว ถูกตอ้ ง และใชอ้ ุปกรณไ์ ดอ้ ยา่ ง บา้ งในการทำกจิ กรรม ทำกจิ กรรมเสรจ็ ไม่ ในขณะปฏบิ ตั ิ ถูกตอ้ ง แต่อาจต้อง และการใช้อุปกรณ์ ทนั เวลา และทำ กจิ กรรม มคี วามคล่องแคลว่ ไดร้ บั คำแนะนำบา้ ง อปุ กรณเ์ สียหาย ในขณะทำกิจกรรมโดย มคี วามคลอ่ งแคล่ว ขาดความคลอ่ งแคลว่ 3. การบนั ทึก สรุป ไมต่ ้องได้รบั คำช้ีแนะ ในขณะทำกิจกรรมแต่ ในขณะทำกจิ กรรมจึง ตอ้ งให้ความช่วยเหลือ และนำเสนอผล และทำกิจกรรมเสรจ็ ตอ้ งไดร้ บั คำแนะนำบ้าง ทำกจิ กรรมเสรจ็ ไม่ อยา่ งมากในการบันทึก กจิ กรรม ทนั เวลา และทำกจิ กรรมเสรจ็ ทันเวลา สรุป และนำเสนอผล บันทกึ และสรุปผล ทันเวลา กิจกรรม กจิ กรรมไดถ้ ูกตอ้ ง บนั ทึกและสรุปผล ตอ้ งใหค้ ำแนะนำในการ รัดกุม นำเสนอผล กิจกรรมได้ถูกตอ้ ง บันทึก สรุป และ กิจกรรมเป็นขัน้ ตอน แตก่ ารนำเสนอผล นำเสนอผลกจิ กรรม ชดั เจน กจิ กรรมยังไมเ่ ปน็ ขัน้ ตอน เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ 11-12 ดมี าก 9-10 ดี 6-8 พอใช้ ตำ่ กวา่ 6 ปรบั ปรงุ จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 35 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 5 งานและพลังงาน แบบประเมินชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ท่ี 1-7 แบบประเมนิ ผลงานผงั มโนทศั น์ คำชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมนิ ผลงาน/ชน้ิ งานของนักเรยี นตามรายการที่กำหนด แล้วขดี ✓ลงในช่องที่ตรงกับระดับ คะแนน ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับคณุ ภาพ 4 3 21 1 ความสอดคล้องกบั จดุ ประสงค์ 2 ความถกู ตอ้ งของเน้ือหา 3 ความคดิ สรา้ งสรรค์ 4 ความตรงต่อเวลา รวม ลงชื่อ ................................................... ผปู้ ระเมนิ ............../................./................ จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครูผ้ชู ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 36 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 งานและพลังงาน เกณฑป์ ระเมนิ ผังมโนทัศน์ ประเด็นท่ีประเมิน 4 ระดบั คะแนน 1 32 ผลงานไม่สอดคลอ้ ง 1. ผลงานตรงกบั ผลงานสอดคล้องกบั ผลงานสอดคลอ้ งกบั ผลงานสอดคล้องกับ กบั จุดประสงค์ จดุ ประสงคเ์ ป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเดน็ เนื้อหาสาระของผลงาน จุดประสงค์ท่กี ำหนด จุดประสงค์ทกุ ประเดน็ เนอ้ื หาสาระของผลงาน เน้อื หาสาระของผลงาน ไมถ่ ูกต้องเป็นสว่ นใหญ่ ถูกตอ้ งเปน็ ส่วนใหญ่ ถกู ตอ้ งเป็นบางประเด็น ผลงานไมแ่ สดงแนวคิด 2. ผลงานมีความ เน้ือหาสาระของผลงาน ผลงานมีแนวคดิ แปลก ผลงานมคี วามนา่ สนใจ ใหม่ ใหม่แตย่ ังไมเ่ ป็นระบบ แต่ยังไมม่ แี นวคิด ถกู ตอ้ งสมบูรณ์ ถูกต้องครบถว้ น แปลกใหม่ 3. ผลงานมีความคดิ ผลงานแสดงออกถึง สรา้ งสรรค์ ความคดิ สร้างสรรค์ แปลกใหม่และเป็น ระบบ 4. ผลงานมีความเป็น ผลงานมีความเป็น ผลงานสว่ นใหญ่มคี วาม ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เปน็ ระเบียบแตย่ ังมี ระเบยี บแต่มีข้อบกพร่อง ระเบยี บและมีข้อ ความประณตี ข้อบกพรอ่ งเลก็ นอ้ ย บางสว่ น บกพรอ่ งมาก เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ 14–16 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตำ่ กวา่ 8 ปรบั ปรงุ จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 37 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 งานและพลงั งาน แบบประเมินการนำเสนอผลงาน คำชแ้ี จง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ✓ลงในชอ่ งทต่ี รงกับ ระดบั คะแนน ลำดับท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1 32 1 ความถกู ต้องของเนือ้ หา   2 ความคดิ สรา้ งสรรค์   3 วธิ ีการนำเสนอผลงาน   4 การนำไปใช้ประโยชน์   5 การตรงต่อเวลา   รวม ลงชอ่ื ................................................... ผู้ประเมิน ............/................./.................. เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมินสมบูรณ์ชดั เจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินเป็นส่วนใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมินบางส่วน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14–15 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตำ่ กว่า 8 ปรับปรงุ จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ู้ชว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 38 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 5 งานและพลงั งาน แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล คำชแี้ จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ✓ลงในช่องทต่ี รงกบั ระดบั คะแนน ลำดบั ที่ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 1 32 1 การแสดงความคิดเห็น   2 การยอมรบั ฟังความคดิ เหน็ ของผู้อ่ืน   3 การทำงานตามหนา้ ที่ทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย   4 ความมนี ้ำใจ   5 การตรงต่อเวลา   รวม ลงช่ือ ................................................... ผู้ประเมนิ ............/.................../................ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครงั้ ให้ 1 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบางครง้ั เกณฑก์ ารตดั สนิ คุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14–15 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ำกว่า 8 ปรับปรงุ จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 39 หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 5 งานและพลงั งาน แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม คำช้แี จง : ให้ผ้สู อนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในช่องท่ีตรงกบั ระดับคะแนน ลำดบั ที่ ชอื่ –สกลุ การแสดง การยอมรับ การทำงาน ความมีน้ำใจ การมี รวม ของนกั เรยี น ความคิดเห็น ฟงั คนอื่น ตามทไี่ ดร้ ับ สว่ นร่วมใน 15 มอบหมาย การปรับปรงุ คะแนน ผลงานกลมุ่ 321321321321321 ลงช่อื ................................................... ผูป้ ระเมิน ............./.................../............... เกณฑก์ ารให้คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบางคร้งั ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตำ่ กวา่ 8 ปรบั ปรงุ จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครูผู้ชว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 40 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 5 งานและพลงั งาน แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ คำช้แี จง : ให้ผู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขีด ✓ลงในชอ่ งที่ตรงกับ ระดับคะแนน คณุ ลักษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน อนั พึงประสงคด์ า้ น 321 1. รกั ชาติ ศาสน์ 1.1 ยนื ตรงเคารพธงชาติ และรอ้ งเพลงชาตไิ ด้ กษตั ริย์ 1.2 เขา้ ร่วมกจิ กรรมท่ีสร้างความสามัคคีปรองดอง และเป็นประโยชน์ต่อโรงเรยี น 1.3 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาท่ีตนนับถือ ปฏิบตั ิตามหลกั ศาสนา 1.4 เขา้ รว่ มกิจกรรมท่เี กย่ี วกบั สถาบันพระมหากษตั ริย์ตามทโี่ รงเรยี นจดั ขึน้ 2. ซื่อสัตย์ สุจริต 2.1 ให้ข้อมลู ที่ถกู ตอ้ งและเป็นจริง 2.2 ปฏิบัติในส่งิ ทีถ่ ูกต้อง 3. มีวินยั รบั ผดิ ชอบ 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บงั คับของครอบครัว มคี วามตรงต่อเวลาในการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตา่ ง ๆ ในชีวติ ประจำวัน 4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 รู้จกั ใช้เวลาว่างใหเ้ ปน็ ประโยชน์ และนำไปปฏิบัติได้ 4.2 รจู้ ักจดั สรรเวลาใหเ้ หมาะสม 4.3 เชอ่ื ฟังคำสง่ั สอนของบิดา-มารดา โดยไม่โตแ้ ย้ง 4.4 ตัง้ ใจเรียน 5. อยอู่ ย่างพอเพียง 5.1 ใชท้ รพั ยส์ ินและสิง่ ของของโรงเรยี นอย่างประหยัด 5.2 ใชอ้ ปุ กรณก์ ารเรียนอย่างประหยัดและรู้คณุ ค่า 5.3 ใช้จ่ายอยา่ งประหยัดและมีการเก็บออมเงนิ 6. มงุ่ มั่นในการ 6.1 มคี วามตั้งใจและพยายามในการทำงานท่ีได้รับมอบหมาย ทำงาน 6.2 มีความอดทนและไมท่ อ้ แทต้ อ่ อปุ สรรคเพ่ือให้งานสำเร็จ 7. รกั ความเป็นไทย 7.1 มีจติ สำนึกในการอนรุ กั ษว์ ัฒนธรรมและภมู ิปัญญาไทย 7.2 เหน็ คณุ คา่ และปฏิบตั ติ นตามวัฒนธรรมไทย 8. มีจติ สาธารณะ 8.1 รู้จักชว่ ยพอ่ แม่ ผูป้ กครอง และครทู ำงาน 8.2 รู้จักการดูแลรกั ษาทรัพยส์ มบัตแิ ละส่ิงแวดล้อมของหอ้ งเรียนและโรงเรยี น ลงชื่อ .................................................... ผ้ปู ระเมนิ ............/.................../................ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ 51–60 ดีมาก พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ัตชิ ดั เจนและสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน 41–50 ดี 30–40 พอใช้ พฤติกรรมที่ปฏิบตั ิชัดเจนและบอ่ ยครง้ั ให้ 2 คะแนน ต่ำกว่า 30 ปรับปรงุ พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางคร้ัง ให้ 1 คะแนน จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 2 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 41 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 งานและพลังงาน แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 1 เรื่อง แรงและงาน รายวิชา ฟิสิกส์ 2 รหัสวชิ า ว32102 เวลา 5 ช่ัวโมง หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 5 ชื่อหนว่ ยการเรียนรู้/บท งานและพลังงาน รวม 24 ชัว่ โมง กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรียนที่ 2 บูรณาการ  ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง  อาเซียน  STEM  PLC  สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น  มาตรฐานสากล  ขา้ มกลุ่มสาระ 1. ผลการเรียนรู้ 1. วเิ คราะห์ และคำนวณงานของแรงคงตวั จากสมการและพ้นื ทใี่ ตก้ ราฟความสัมพนั ธ์ระหว่างแรงกบั ตำแหน่ง รวมท้ังอธบิ ายและคำนวณกำลงั เฉลย่ี 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายของงานในทางฟิสิกส์ไดแ้ ละบอกความแตกต่างของงานบวกและงานลบได้ (K) 2. วเิ คราะหห์ างานจากพื้นท่ใี ต้กราฟความสมั พันธร์ ะหวา่ งแรงกบั ตำแหน่งได้ (K) 3. แสดงวธิ ีคำนวณหางานทเี่ กดิ ข้นึ จากการใช้แรงเคล่ือนวตั ถใุ นลกั ษณะต่าง ๆ จากสมการและจาก กราฟได้ (P) 4. รับผิดชอบต่อหนา้ ที่และงานที่ไดร้ ับมอบหมาย (A) 3. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรียนร้ทู อ้ งถ่นิ - งานของแรงท่ีกระทำต่อวัตถุหาได้จากผลคูณ พิจารณาตามหลกั สตู รของสถานศึกษา ของขนาดของแรงและขนาดของการกระจัดกับ โคไซน์ของมุมระหว่างแรงกับการกระจัด ตาม สมการ W = F∆xcosθ หรือหางานได้จาก พ้ืนที่ใต้กราฟระหว่างแรงในแนวการเคลื่อนท่ี กับตำแหน่ง โดยแรงท่ีกระทำอาจเป็นแรงคงตัว หรือไม่คงตัวกไ็ ด้ 4. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด งานในทางฟิสิกส์เกิดขึ้นเม่ือมีแรงกระทำต่อวัตถุแล้วทำให้วัตถุเคล่ือนท่ีไปตามแนวแรง โดยหางานได้ จากผลคูณระหว่างแรงกับการกระจัดในแนวแรง และสามารถหางานได้จากพื้นที่ใต้กราฟของแรงที่ กระทำกับการกระจัดในแนวการเคลื่อนท่ี จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 2 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 42 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 5 งานและพลงั งาน 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี นและคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการส่ือสาร 1. มวี นิ ยั 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝเ่ รียนรู้ 1) ทกั ษะการวเิ คราะห์ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน 2) ทักษะการสอ่ื สาร 3) ทกั ษะการสังเกต 4) ทกั ษะการทำงานร่วมกัน 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา 6. กิจกรรมการเรียนรู้  แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธกี ารสอน/เทคนคิ : สืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ช่วั โมงที่ 1 ขน้ั นำ กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครูแจ้งจดุ ประสงค์การเรยี นรใู้ หน้ กั เรียนทราบ 2. ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเป็นรายบุคคลก่อน เขา้ สู่กิจกรรม 3. ครูชักชวนนักเรียนพูดคุยโดยใช้คำถามว่า “นักเรียนเคยทำงานอะไรกันมาบ้าง” แล้วสุ่มนักเรียนให้ ยกตวั อย่างงานท่นี ักเรียนเคยทำ 4. ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยถามว่า “ในความเข้าใจของนักเรียน นักเรียนคิดว่าคำว่าแรง และงานหมายถงึ อะไร” และใหน้ ักเรยี นช่วยกันตอบคำถามปากเปล่าโดยไม่มีการเฉลยว่าถกู หรือผดิ 5. ครใู ห้นกั เรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรียน เพ่ือวิเคราะหน์ กั เรยี นเปน็ รายบุคคลกอ่ นเข้าสู่กิจกรรม 6. ครูถามคำถาม Big Question เพื่อนำเข้าสู่บทเรียน จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 2 หน้า 2 ว่า “นำ้ ทีถ่ ูกกักเก็บไว้ในเขือ่ นเกิดเปน็ กระแสไฟฟา้ ไดอ้ ยา่ งไร” ใหน้ ักเรยี นรว่ มกันหาคำตอบ (แนวตอบ: น้ำที่ถูกกักเก็บไว้จะมีพลังงานศักย์โน้มถ่วงเนื่องจากตำแหน่งที่สูงจากผิวโลก เม่ือมีการ ปล่อยน้ำลงมาจากเข่ือน น้ำท่ีมีความเร็วสูงจะผ่านเข้าท่อแล้วถ่ายทอดพลังงานจลน์เข้าสู่กังหันน้ำ โดยจะไปหมุนขับเคร่ืองกำเนิดไฟฟ้าอีกทอดหนึ่ง ซึ่งเป็นการเปลี่ยนรูปพลังงานจากพลังงานน้ำเป็น พลงั งานไฟฟา้ ) จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 2 ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 43 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 งานและพลงั งาน 7. ครูให้นักเรียนตั้งคำถามเก่ียวกับส่ิงที่ต้องการเรียนรู้เกี่ยวกับเร่ืองงานและพลังงาน แล้วบันทึกเป็น ขอบเขตและเป้าหมายที่ต้องการเรียนรู้ ลงในสมดุ เพอ่ื นำมาส่งครู (หมายเหตุ: ครูเรม่ิ ประเมนิ นกั เรยี น โดยใช้แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล) 8. ครูถามคำถาม Prior Knowledge จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 2 หน้า 3 เพ่ือ เป็นการตรวจสอบความรู้เดิมเก่ียวกับเรื่องแรงและงานของนักเรียนว่า “งานในวิชาฟิสิกส์มี ความสัมพันธ์กับปริมาณใดบ้าง” โดยทำข้อตกลงกับนักเรียนว่า เรียนหัวข้อนี้จบ นักเรยี นควรจะตอบ คำถามน้ไี ด้ (แนวตอบ: แรงทกี่ ระทำตอ่ วตั ถุกบั การกระจัดท่วี ตั ถเุ คลอ่ื นท่ไี ปตามแนวแรง) 9. ครแู จง้ ให้นักเรียนทราบวา่ จะไดศ้ กึ ษาเก่ยี วกับแรงและงาน ขนั้ สอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูเลือกนักเรียนให้ยกตัวอย่างกิจกรรมที่พบเห็นในชีวิตประจำวันและเป็นกิจกรรมท่ีนักเรียนคิดว่า เปน็ การทำงาน 2. ครูให้นักเรียนดูภาพเก่ียวกับกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวติ ประจำวันและต้ังคำถามว่า “นักเรียนคิดว่ากิจกรรม แตล่ ะอย่างมงี านเกิดข้นึ หรือไม่” เม่อื นกั เรยี นตอบ ใหค้ รเู ฉลยไปพร้อมกับใหเ้ หตผุ ล 3. ครูใหน้ กั เรยี นสรปุ วา่ ลักษณะกิจกรรมแบบใดบ้างท่ีทำให้เกิดงานและไม่เกิดงานตามความคดิ ของตนเอง 4. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน โดยให้แต่ละกลุ่มร่วมพูดคุยเกี่ยวกับการสรุปลักษณะ การเกดิ งาน แล้วเลือกตวั แทนกลุ่มเพ่ือออกมาอภิปรายหนา้ ชน้ั เรยี น (หมายเหต:ุ ครเู ร่ิมประเมนิ นกั เรียน โดยใช้แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม) ชัว่ โมงที่ 2 ขั้นสอน สำรวจคน้ หา (Explore) (ต่อ) 5. ครูให้สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาและหาความหมายของคำว่า “งานในทางฟิสิกส์” โดยครูคอย สังเกตการณ์และให้คำแนะเพ่ือให้นักเรียนลงข้อสรุปไปในทิศทางท่ีว่า งาน (Work) ในทางฟิสิกส์ หมายถึง ผลของการออกแรงกระทำต่อวัตถุแล้วทำให้วัตถุเคล่ือนท่ีไปตามแนวแรง โดยเป็นปริมาณ สเกลาร์ มหี น่วยเปน็ นวิ ตนั เมตร (N m) หรอื จูล (J) จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครูผ้ชู ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 2 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 44 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 5 งานและพลังงาน 6. ครูให้นักเรยี นดูภาพจาก PowerPoint เร่อื ง งาน หรือจากหนังสือเรียน รายวชิ าเพ่ิมเตมิ ฟิสกิ ส์ ม.4 เลม่ 2 หน้า 3 และชักชวนให้นกั เรยี นร่วมกันอภิปรายสมการท่ใี ช้ในการอธิบายงานท่ีเกิดจากการดัน วัตถดุ ้วยแรงคงตัว (W = F∆x) 7. ครูให้สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาตัวอย่างท่ี 5.1-5.2 จากหนังสอื เรียน รายวิชาเพ่ิมเตมิ ฟิสิกส์ ม.4 เลม่ 2 หน้า 4 โดยครูคอยสังเกตการณ์ และให้คำอธิบายเม่ือนักเรียนเกิดปัญหา 8. เมื่อแต่ละกลุ่มศึกษาตัวอย่างที่ 5.1-5.2 แล้ว ครูชักชวนให้สังเกตคำตอบในตัวอย่างที่ 5.1-5.2 ว่า เพราะเหตุใดจึงมีเครื่องหมายต่างกัน โดยคอยกระตุ้นให้นักเรียนสืบค้นหาคำตอบและช้ีนำให้ได้ คำตอบในแนวทางที่ว่า ถา้ กำหนดให้งานของแรง ⃑F มีเครือ่ งหมายบวก จะได้งานเป็นบวกเมอ่ื แรง F⃑ อยู่ในทิศเดียวกับทิศของการกระจัดและถ้ากำหนดให้งานของแรง F⃑ มีเครื่องหมาย เป็นลบ จะได้ งานเปน็ ลบ เม่ือแรง F⃑ อยใู่ นทิศตรงขา้ มกับทิศของการกระจัด อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ให้นักเรียนจับคู่ตามเลขท่ีของตนเอง เช่น เลขท่ี 1 จับคู่กับเลขที่ 2 จากนั้นครูแจกใบงานที่ 5.1 เร่ือง แรงและงาน ให้นักเรียนช่วยกันทำ 2. ครูสุ่มนักเรียนบางคู่ออกมาแสดงวิธีทำจากใบงานท่ี 5.1 เร่ือง แรงและงาน หน้าชั้นเรียน โดยที่ ครูสอบถามนักเรียนคู่อื่นว่ามีคำตอบแตกต่างจากสิ่งที่เพื่อนออกมาแสดงวิธีทำหรือไม่ ถ้า แตกต่างให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่าคำตอบควรจะเป็นไปในทิศทางใด (หมายเหตุ: ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม) 3. ครูให้นักเรียนแต่ละคู่รวบรวมส่งใบงานที่ 5.1 เรื่อง แรงและงาน ให้ครูตรวจสอบความถูกต้อง ชวั่ โมงท่ี 3 ขัน้ สอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครูคืนใบงานท่ี 5.1 เรื่อง แรงและงาน ที่ได้ทำในชั่วโมงที่แล้วให้นักเรยี นแต่ละคู่ และทบทวนเน้ือหา ท่ีได้ศึกษาไปในชั่วโมงท่ีแล้วอีกคร้ัง โดยเปิด PowerPoint เร่ือง งาน แล้วถามนักเรียนว่า สมการท่ี ใช้อธบิ ายงานในทางฟิสกิ สเ์ ปน็ อยา่ งไร 2. ครูใหน้ ักเรยี นดรู ปู แลว้ ถามคำถามว่าจากรปู เกิดงานข้ึนหรือไม่ เพราะอะไร รูปท่ี 1 รูปที่ 2 จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 2 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 45 หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 5 งานและพลงั งาน 3. ครูให้นักเรียนเข้ากลุ่มเดิมตามท่ีได้แบ่งในช่ัวโมงแรก แล้วให้ร่วมกันหาคำตอบ โดยครูคอย สงั เกตการณ์และให้คำปรึกษาเม่อื นักเรยี นเกดิ ปญั หา 4. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอคำตอบของกลุ่มตนเองพร้อมกับให้เหตุผล เมื่อนักเรียนทุก กลุ่มออกมานำเสนอครบแลว้ ถงึ จะเฉลยคำตอบ (แนวตอบ: รปู ท่ี 1 เกดิ งาน เพราะทศิ ทางของแรงและการกระจดั อยใู่ นแนวเดยี วกนั ) (แนวตอบ: รปู ท่ี 2 ไมเ่ กดิ งาน เพราะทศิ ทางของแรงและการกระจัดต้ังฉากกนั ) 5. ครูเปิด PowerPoint เรื่อง งานของแรงท่ีทำมุมกับแนวการเคล่ือนท่ี พร้อมอธิบายภาพ จากหนังสือ เรียน รายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 2 หน้า 5 ว่ามีเพียงแค่แรงในแกน x เท่านั้นที่มีผลต่อการ เคลื่อนท่ีของวัตถุ เพราะฉะนั้น ในกรณีของงานที่เกิดจากแรงท่ีทำมุมกับแนวการเคล่ือนท่ีจะหาได้ จากสมการ W = F∆x cos θ 6. ครูให้นักเรียนดู PowerPoint เก่ียวกับงานท่ีเกิดจากแรงท่ีทำมุมต่าง ๆ กับแนวการเคล่ือนท่ี ควบคู่ กบั หนังสอื เรยี น รายวชิ าเพ่มิ เตมิ ฟสิ ิกส์ ม.4 เลม่ 2 หนา้ 6 7. ครูให้นักเรียนร่วมกันพิจารณางานท่ีเกิดจากแรงที่ทำมุมต่าง ๆ กับแนวการเคลื่อนที่ โดยครูอธิบาย งานที่เกดิ ขึ้นในแตล่ ะทศิ ทาง 8. ครูอธบิ ายต่อว่า ถ้าแรงท่ีมากระทำตอ่ วัตถุมีมากกวา่ หนึ่งแรง งานรวมที่เกิดข้นึ กบั วัตถุใด ๆ สามารถ หาได้จาก ผลรวมของงานหรือผลคูณของแรงลัพธ์กับการกระจัดตามทิศทางของแรงลพั ธ์น้ัน ๆ จาก สมการ Wtot = ΣW = (ΣF)∆xcosθ 9. ครูให้นักเรียนกลับเข้ากลุ่มเดิม แล้วร่วมกันศึกษาตัวอย่างที่ 5.3 จากหนังสือเรียน รายวิชาเพ่ิมเติม ฟสิ ิกส์ ม.4 เล่ม 2 หน้า 7 โดยครูสังเกตการณแ์ ละอธิบายเม่อื นกั เรยี นเกดิ ปัญหา อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูให้นักเรียนจับคู่กับเพ่ือนโดยอิสระแล้วให้ร่วมกันทำใบงานท่ี 5.2 เร่ือง งานของแรงท่ีทำมุมกับ แนวการเคลอ่ื นท่ี และนำมาสง่ ครูเมอ่ื จบชวั่ โมง 2. ครูมอบหมายให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดท่ี 1.1 เรื่อง แรงและงาน จากแบบฝึกหัดฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 2 เปน็ การบ้าน แล้วนำมาสง่ ครูในชว่ั โมงตอ่ ไป ชว่ั โมงที่ 4 ขั้นสอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูสุ่มถามนักเรียนว่า ใบงานท่ี 5.2 เรื่อง งานของแรงท่ีทำมุมกับแนวการเคลือ่ นท่ี ที่ทำส่งครูมาแล้ว นั้นถูกต้องหรือไม่ โดยครแู จกใบงานท่ี 5.2 คนื ให้กับนักเรียน แล้วทบทวนความร้เู กีย่ วกับการหางาน ในชัว่ โมงท่ีแล้ว โดยเปดิ PowerPoint เร่ือง งานของแรงทีท่ ำมมุ กับแนวการเคลอ่ื นที่ จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 2 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 46 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 งานและพลังงาน 2. ครูเปิดประเด็นโดยใช้คำถามว่า หากเขียนกราฟระหวา่ งแรงกระทำและขนาดของการกระจัดที่อยใู่ น แนวเดียวกับการเคล่ือนท่ี พื้นที่ใต้กราฟจะมีค่าเท่ากับอะไร และสามารถหาค่านั้นได้อย่างไร โดยครู เปิด PowerPoint เร่ือง การหางานจากพ้นื ท่ีใต้กราฟ อธิบายควบคกู่ ับหนังสอื เรยี น รายวชิ าเพม่ิ เติม ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 2 หน้า 8-9 เกี่ยวกับการหางานว่า พื้นที่ใต้กราฟระหว่างแรงกระทำกับขนาดของ การกระจัดทอ่ี ยแู่ นวเดียวกับการเคลอ่ื นทมี่ คี ่าเท่ากับงานของแรงท่ีกระทำต่อวตั ถุ 1) การหางานจากพน้ื ทใี่ ตก้ ราฟเมื่อแรงกระทำมลี กั ษณะคงตัว W = Fx 2) การหางานจากพืน้ ที่ใต้กราฟเมือ่ แรงกระทำมลี กั ษณะไมค่ งตัว • แรงกระทำมลี กั ษณะเพ่ิมขึน้ อยา่ งสมำ่ เสมอ • แรงกระทำมีขนาดไม่คงตวั 1 W = 2 Fx xf W = ∫ Fdx xi 3. ครูให้นักเรียนศึกษาตัวอยา่ งที่ 5.4-5.6 จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม ฟิสกิ ส์ ม.4 เล่ม 2 หน้า 9-10 โดยครูคอยสังเกตการณ์ และอธบิ ายเมอื่ นกั เรียนเกิดปัญหา อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูให้นักเรยี นจับคกู่ ับเพื่อนโดยอสิ ระ แล้วใหร้ ว่ มกนั ทำใบงานท่ี 5.3 เรอ่ื ง การหางานจากพืน้ ที่ใต้กราฟ 2. ครูมอบหมายให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดท่ี 1.2-1.3 เร่ืองแรงและงาน จากแบบฝึกหัดฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 2 เปน็ การบ้าน แลว้ นำมาสง่ ครใู นชว่ั โมงตอ่ ไป ช่ัวโมงที่ 5 ขัน้ สรปุ ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครูนำอภิปรายสรุปเนื้อหาด้วยคำถามต่อไปนี้ โดยเปิด PowerPoint เร่ืองท่ีสอนไปแล้วควบคู่ไปด้วย แล้วให้นักเรยี นชว่ ยกันตอบ 1) งานในความหมายท่วั ไปและงานในทางฟสิ กิ ส์แตกต่างกันอยา่ งไร (แนวตอบ: สำหรับบุคคลทั่วไป งาน หมายถึง การประกอบอาชีพหรือการกระทำภารกิจต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน ส่วนงานในทางฟิสิกส์จะเกิดข้ึนก็ต่อเม่ือมีแรงมากระทำต่อวัตถุ แล้วทำให้วัตถุ มีการกระจดั โดยปริมาณงานทท่ี ำขน้ึ กบั แรงและการกระจดั ) จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครผู ้ชู ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 2 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 47 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 5 งานและพลงั งาน 2) ถ้ามีแรงมากระทำใหว้ ตั ถุเคลอื่ นที่ เราจะหางานได้จากสมการอะไร (แนวตอบ: ������ = ������∆������) 3) ถ้าแรงที่กระทำให้วัตถไุ ม่อยูใ่ นแนวเดียวกบั การเคล่ือนท่ีเราจะหางานไดจ้ ากสมการอะไร (แนวตอบ: ������ = ������∆������������������������������) 4) งานเปน็ บวกกับงานเปน็ ลบ มคี วามหมายวา่ อยา่ งไร (แนวตอบ: งานเป็นบวก หมายถึง งานของแรง ������ เมื่อแรง ������ อยู่ในทิศเดียวกับการเคล่ือนที่ สว่ นงานทเ่ี ป็นลบ หมายถึง งานของแรง ������ เม่อื แรง ������ อยู่ในทศิ ตรงขา้ มกบั การเคลอ่ื นที่) 5) ถ้ามีแรงหลายแรงมากระทำให้วตั ถุเคลื่อนที่ เราจะหางานได้อย่างไร (แนวตอบ: ������������������������ = ������������ = (������������)∆������) 6) เราสามารถหางานจากกราฟได้อยา่ งไร (แนวตอบ: สามารถหางานได้จากพ้ืนท่ีใต้กราฟระหว่างแรงในทิศเดียวกับการเคลื่อนที่ และขนาดของ การกระจัด) 2. ครูให้นักเรยี นทำสรปุ ผงั มโนทศั น์ (Concept Mapping) เรอ่ื ง แรงและงาน ลงในกระดาษ A4 (หมายเหตุ: ครเู รมิ่ ประเมนิ นักเรียน โดยใช้แบบประเมนิ ช้ินงาน/ภาระงาน) 3. ครสู มุ่ เลอื กนักเรยี นออกไปนำเสนอผังมโนทศั น์ของตนเองหนา้ ชั้นเรยี น (หมายเหตุ: ครเู ริม่ ประเมินนกั เรียน โดยใชแ้ บบประเมนิ การนำเสนอผลงาน) 4. ครูให้นักเรียนศึกษาและทำแบบฝึกหัด Unit question 5 จากหนังสือเรียน รายวิชาเพ่ิมเติม ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 2 หนา้ 44 ข้อ 11-14 ลงในสมุด ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครนู ำรปู ภาพเกย่ี วกบั กิจกรรมต่าง ๆ ในชวี ติ ประจำวันทใี่ ห้นักเรียนดตู งั้ แตช่ ั่วโมงแรกมาใหน้ ักเรยี นดู อกี คร้ัง แลว้ รว่ มกนั ตอบคำถามอีกครง้ั ว่ากิจกรรมใดท่ีเกดิ งานบา้ ง 2. ครใู หน้ กั เรียนตอบคำถาม Prior Knowledge ท่เี คยถามไว้ในชวั่ โมงแรกอีกครั้งว่า งานในทางฟสิ ิกส์ มีความสัมพันธ์กับปริมาณใดบา้ ง (แนวตอบ: แรงที่กระทำต่อวตั ถุกับการกระจัดทวี่ ตั ถุเคล่ือนท่ไี ปตามแนวแรง) 3. ครตู รวจสอบผลการทำแบบทดสอบก่อนเรยี น เพ่ือตรวจสอบความเขา้ ใจก่อนเรยี นของนักเรียน 4. ครตู รวจสอบผลจากการทำใบงานท่ี 5.1 เร่อื ง แรงและงาน 5. ใบงานที่ 5.2 เร่ือง งานของแรงทท่ี ำมุมกบั แนวการเคล่ือนที่ 6. ใบงานที่ 5.3 เรอ่ื ง การหางานจากพ้นื ท่ีใตก้ ราฟ 7. ครูตรวจแบบฝกึ หัดจาก Unit question 5 เร่ือง แรงและงาน ในสมุดประจำตัว 8. ครตู รวจสอบแบบฝกึ หดั ที่ 1.1-1.3 จากแบบฝกึ หัด รายวชิ าเพิ่มเติม ฟสิ กิ ส์ ม.4 เล่ม 2 จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครูผ้ชู ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 2 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 48 หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 5 งานและพลงั งาน 9. ครปู ระเมนิ ผล โดยการสงั เกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤติกรรมการทำงานรายบุคคล และการ ทำงานกลุ่ม 10. ครูวัดและประเมินผลจากชิน้ งานการสรุปเนือ้ หา เรื่องแรงและงาน ท่นี ักเรียนไดส้ ร้างขึน้ จากขน้ั ขยายความเขา้ ใจเป็นรายบุคคล 7. การวดั และประเมินผล รายการวดั วิธีวัด เครือ่ งมอื เกณฑ์การประเมิน 7.1 การประเมนิ ก่อน - แบบทดสอบก่อนเรียน - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ เรียน - ใบงานที่ 5.1 - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - ใบงานที่ 5.2 - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - แบบทดสอบก่อน - ตรวจแบบทดสอบกอ่ น - ใบงานท่ี 5.3 - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - แบบฝกึ หัด - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ เรยี น หน่วยการ เรียน - แบบประเมินการนำ ระดบั คุณภาพ 2 เสอนผลงาน ผ่านเกณฑ์ เรยี นรู้ท่ี 5 เรือ่ ง งานและพลงั งาน 7.2 การประเมินระหว่าง การจัดกิจกรรม 1) แรงและงาน - ตรวจใบงานท่ี 5.1 - ตรวจใบงานท่ี 5.2 - ตรวจใบงานท่ี 5.3 - ตรวจแบบฝกึ หัด 2) การนำเสนอ - ประเมนิ การนำเสนอ ผลงาน ผลงาน 3) พฤติกรรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ 2 การทำงานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์ ทำงานรายบคุ คล การทำงานรายบุคคล - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2 การทำงานกลุ่ม ผา่ นเกณฑ์ 4) พฤติกรรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบประเมนิ ระดับคุณภาพ 2 คุณลกั ษณะ ผา่ นเกณฑ์ ทำงานกลุ่ม การทำงานกลุ่ม อนั พึงประสงค์ 5) คณุ ลกั ษณะ - สงั เกตความมวี ินยั อนั พงึ ประสงค์ ใฝเ่ รยี นรู้ และม่งุ มน่ั ในการทำงาน จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 2 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 49 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 5 งานและพลังงาน 8. ส่ือ/แหล่งการเรยี นรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสอื เรียน รายวชิ าเพ่ิมเติม ฟิสกิ ส์ ม.4 เลม่ 2 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 5 งานและพลงั งาน 2) แบบฝึกหดั รายวิชาเพม่ิ เติม ฟสิ กิ ส์ ม.4 เล่ม 2 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5 งานและพลังงาน 3) ใบงานที่ 5.1 เรื่อง แรงและงาน 4) ใบงานที่ 5.2 เรื่อง งานของแรงท่ที ำมมุ กับแนวการเคลื่อนท่ี 5) ใบงานท่ี 5.3 เร่ือง การหางานจากพนื้ ทใ่ี ตก้ ราฟ 6) PowerPoint เร่อื ง งานและพลังงาน 8.2 แหลง่ การเรียนรู้ 1) ห้องเรียน 2) ห้องสมดุ 3) แหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook