Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พุทธวจน "สมถะ วิปัสสะนา"

Description: พุทธวจน "สมถะ วิปัสสะนา"

Search

Read the Text Version

พุทธวจน

สารีบตุ ร ประการอ่นื ยงั มีอีก ิก พุ งึ พิ าร าดงั นี้วา่ เราเ ริญสมถะและวปิ ัสสนาแลว้ หรอื หนอ สารีบุตร ถา้ ิก ุพิ าร าอยู่ รู้อยา่ งน้วี า่ เ า ั ม ดเ ิ สมถะและวิปสั สนาเล ิก นนั า ามเ ิ สมถะและวิปัสสนา สารบี ุตร แต่ถา้ ิก พุ ิ าร าอยู่ รอู้ ยา่ งนวี้ ่า เ าเ ิ สมถะและวิปสั สนาแลว ิก นนั ดว ป แิ ละป า มท าม ก า นก ล มทั หลา เน ทั กลา วนั และกลา คนเถดิ -บาลี อุปริ. ม. ๑๔/๕๓๙/๘๕๐.

ิก ุท้ังหลาย ก็ รรมเหลา่ ไหนเลา่ เปน็ รร พงึ ทา� ใหเ้ รญิ ดว้ ยปญั ญาอันย่ิง คา� ตอบ พึงมวี า่ สมถะ ด้วย วิปัสสนา รรมทัง้ หลายเหลา่ นี้แล ชอื่ วา่ เปน็ รรม อันบุคคลพงึ ท�าให ด้วยปัญญาอนั ย่ิง. ...บคุ คลนน้ั เมอ่ื เ รญิ อรยิ อั ังคิกมรรคอย่อู สตปิ ั าน สมั มปั ป าน อิท ิบาท อินทรยี ์ พละ โพช งค์ ชอ่ื ว่ายอ่ มถึงควา บุคคลน้นั ย่อมมี รรมทงั้ สองอยา่ งน้ี ค สมถะและวปิ ัสสนา เคี คก -บาลี อุ . . ๑๔/๕๒๔/ ๒๙.



พทุ ธวจน ว ธ เปดธรรมทถ่ี ูกปด ๑๕ ปฏิบัติ สมถะ วิปสั สนา พุทธวจน น รว่ มกนั มงุ่ มน่ั ศกึ ษา ปฏบิ ตั ิ เผยแผค่ า� ของตถาคต

พุทธวจน ฉบบั ๑๕ ปฏบิ ตั ิสมถะวิปัสสน� ข้อมูลธรรมะนี้ จัดทำ�เพื่อประโยชน์ท�งก�รศึกษ�สู่ส�ธ�รณชน เป็นธรรมท�น ลขิ สิทธ์ใิ นตน้ ฉบับน้ีไดร้ ับการสงวนไว้ ในการจะจัดทำาหรอื เผยแผ่ โปรดใช้ความละเอียดรอบคอบ เพ่อื รักษาความถูกตอ้ งของข้อมูล ให้ขออนญุ าตเปน็ ลายลักษณ์อกั ษร และปรกึ ษาด้านขอ้ มูลในการจดั ทำาเพื่อความสะดวกและประหยดั ติดต่อไดท้ ่ี มลู นธิ พิ ุทธโฆษณ์ โทรศัพท์ ๐๘ ๒๒๒๒ ๕๗๙๐-๙๔ มลู นิธพิ ุทธวจน โทรศพั ท์ ๐๘ ๑๔๕๗ ๒๓๕๒ คุณศรชา โทรศพั ท์ ๐๘ ๑๕๑๓ ๑๖๑๑ คณุ อารวี รรณ โทรศพั ท์ ๐๘ ๕๐๕๘ ๖๘๘๘ ปที ่ีพมิ พ์ ๒๕๖๓ ศลิ ปกรรม ณรงคเ์ ดช เจริญปาละ, จักษ์ บรรเจิดถาวร, อภชิ ญ์ บุศยศิริ วริ ัช ดลเฉลมิ ศักดิ์, ปรญิ ญา ปฐวินทรานนท์ จัดท�ำ โดย มลู นธิ พิ ทุ ธโฆษณ์ (เวบ็ ไซต์ www.buddhakos.org)

คำ�อนุโมทน� ขออนุโมทนากับคณะงานธัมมะ ผู้จัดทำาหนังสือ พุทธวจน ฉบับ ปฏิบัติสมถะวิปัสสนา ท่ีมีความตั้งใจและ มีเจตนาอันเป็นกุศลในการเผยแผ่คำาสอนของตถาคต อรหันตสัมมาสัมพุทธะทอ่ี อกจากพระโอษฐข์ องพระองคเ์ อง ในการรวบรวมคาำ สอนของตถาคต อนั เกย่ี วขอ้ งกบั การปฏบิ ตั ติ น ในการออกจากทกุ ข์ ด้วยเหตุอันดีที่ได้กระทำามาแล้วน้ี ขอจงเป็นเหตุ ปัจจัยให้ผู้มีส่วนร่วมในการทำาหนังสือ และผู้ที่ได้อ่าน ไดศ้ กึ ษา ไดน้ าำ ไปปฏบิ ตั ิ พงึ สาำ เรจ็ สมหวงั พบความเจรญิ รุ่งเรืองของชีิวิตได้จริงในทางโลก และได้ดวงตาเห็นธรรม สาำ เรจ็ ผลยงั นพิ พาน สมดงั ความปรารถนา ตามเหตปุ จั จยั ท่ีไดส้ ร้างมาอยา่ งดแี ล้วด้วยเทอญ. ขออนุโมทนา ภิกขคุ ึกฤทธิ์ โสตถฺ ิผโล

คำ�นำ� เพราะวา่ สงสารนีก้ าำ หนดทีส่ ดุ เบือ้ งตน้ เบือ้ งปลาย ไม่ได้ เหล่าสัตว์ผู้มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็น เคร่ืองผูก จึงได้ท่องเท่ียวไปมาอยู่ ตลอดกาลยืดยาวนาน ถงึ เพยี งน้ี นา้ำ ตาทห่ี ลั่งไหลออกของพวกเธอ ผู้ท่องเทีย่ วไปมา ครำ่าครวญร้องไห้อยู่ เพราะประสบสิ่งท่ีไม่พอใจ เพราะ พลัดพรากจากส่ิงท่ีพอใจ โดยกาลนานนี้แหละมากกว่า สว่ นนาำ้ ในมหาสมทุ รทงั้ ๔ ไมม่ ากกวา่ เลย เพราะไมร่ ถู้ งึ ไมแ่ ทงตลอดซง่ึ อรยิ สจั ทง้ั ส่ี เราทง้ั หลาย จึงเป็นผู้ถูกหย่ังเอาแล้ว โดยชาติชรามรณะโสกะปริเทวะ ทุกขะโทมนัสอุปายาสท้งั หลาย เป็นผ้มู ีความเกิด ความแก่ ความเจบ็ ไข้ ความตาย ความโศก ความเศรา้ หมองโดยรอบดา้ น เป็นธรรมดาอยู่แล้ว ก็ยังมัวหลงแสวงหาสิ่งท่ีมีความเกิด ความแก่ ความเจบ็ ไข้ ความตาย ความโศก ความเศรา้ หมอง โดยรอบด้านเป็นธรรมดาอย่นู ัน่ เอง พุทธวจน ฉบับ ปฏิบัติสมถะวิปัสสนา จึงเป็นการ รวบรวมตถาคตภาษิต ในขอ้ ปฏบิ ัตอิ นั เป็นมชั ฌมิ าปฏิปทา เพอ่ื เขา้ ถงึ ความดบั สนทิ ของชาติ ชรามรณะ โสกะปรเิ ทวะ ทกุ ขะ โทมนัสอุปายาสะท้งั หลาย ท่ตี ถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ

ศาสดาผเู้ อน็ ดู แสวงหาประโยชนเ์ กอ้ื กลู อาศยั ความเอน็ ดแู ลว้ ไดแ้ สดงแกส่ าวกทั้งหลาย น่ีแหละ ทางเพื่อความหมดจดแห่งทัสสนะ ทางอ่ืน มไิ ดม้ ี เธอทงั้ หลาย จงเดนิ ตามทางนน้ั อนั เปน็ ทหี่ ลงแหง่ มาร เธอทง้ั หลาย เดนิ ตามทางนนั้ แลว้ จกั กระทาำ ทส่ี ดุ แหง่ ทกุ ขไ์ ด้ ประตูนครแห่งความไม่ตาย ตถาคตเปิดโล่งไว้แล้ว เพ่ือสัตว์ทั้งหลายเข้าถึงถิ่นอันเกษม … สัตว์เหล่าใด มโี สตประสาท สัตว์เหลา่ น้ัน จงปลงศรทั ธาลงไปเถดิ … … ความเพียร เป็นกิจอันเธอท้ังหลายพึงกระทำา ตถาคตท้ังหลายเปน็ เพยี งผบู้ อก ผู้มงุ่ ปฏบิ ตั ิแล้ว ย่อมพน้ จากเครอื่ งผกู แหง่ มาร … นั่น โคนไม้ น่ัน เรือนว่าง พวกเธอจงเพียรเผา กเิ ลส อยา่ ไดป้ ระมาท อยา่ เปน็ ผทู้ ต่ี อ้ งรอ้ นใจ ในภายหลงั เลย. คณะงานธมั มะ วัดนาป่าพง

อักษรย่อ เพือ่ ความสะดวกแก่ผทู้ ยี่ ังไมเ่ ข้าใจเรอื่ งอกั ษรยอ่ ท่ใี ช้หมายแทนชอ่ื คมั ภีร์ ซ่งึ มีอยโู่ ดยมาก มห�ว.ิ ว.ิ มห�วิ งั ค์ วนิ ัยป ก. ิกขฺ ุน.ี วิ. ิกขนุ ีวิ งั ค์ วินยั ป ก. มห�. ว.ิ มห�วรรค วินัยป ก. จลุ ฺล. วิ. จุลวรรค วินยั ป ก. ปริว�ร. วิ. ปริว�รวรรค วินยั ป ก. สี. ที. สลี ขนั ธวรรค ที นกิ �ย. มห�. ท.ี มห�วรรค ที นิก�ย. ป�. ท.ี ป� ิกวรรค ที นกิ �ย. มู. ม. มลู ปณณ�สก์ มชั มิ นกิ �ย. ม. ม. มชั ิมปณณ�สก์ มัช ิมนิก�ย. อปุ ร.ิ ม. อปุ ริปณณ�สก์ มัช ิมนิก�ย. สค�ถ. สำ. สค�ถวรรค สงั ยตุ ตนกิ �ย. นิท�น. ส.ำ นิท�นวรรค สังยุตตนกิ �ย. ขนฺธ. ส.ำ ขันธว�รวรรค สังยตุ ตนิก�ย. ส �. ส.ำ ส �ยตนวรรค สังยตุ ตนิก�ย. มห�ว�ร. ส.ำ มห�ว�รวรรค สงั ยตุ ตนกิ �ย. เอก. อ.ำ เอกนิบ�ต อังคตุ ตรนกิ �ย. ทุก. อำ. ทกุ นิบ�ต องั คุตตรนกิ �ย. ตกิ . อำ. ติกนิบ�ต องั คุตตรนิก�ย. จตกุ กฺ . อำ. จตุกกนบิ �ต อังคตุ ตรนกิ �ย.

ป ฺจก. อ.ำ ปญจกนิบ�ต อังคตุ ตรนิก�ย. ฉกกฺ . อ.ำ ฉักกนบิ �ต องั คตุ ตรนิก�ย. สตตฺ ก. อำ. สัตตกนิบ�ต องั คุตตรนกิ �ย อ ก. อ.ำ อั กนบิ �ต อังคุตตรนกิ �ย. นวก. อ.ำ นวกนิบ�ต อังคุตตรนิก�ย. ทสก. อ.ำ ทสกนบิ �ต องั คุตตรนิก�ย. เอก�ทสก. อ.ำ เอก�ทสกนิบ�ต อังคตุ ตรนกิ �ย. ข.ุ ขุ. ขุททกป� ะ ขุททกนกิ �ย. ธ. ขุ. ธรรมบท ขุททกนิก�ย. อุ. ขุ. อทุ �น ขทุ ทกนิก�ย. อิติวุ. ข.ุ อิตวิ ุตตกะ ขทุ ทกนิก�ย. สตุ ตฺ . ขุ. สุตตนบิ �ต ขทุ ทกนกิ �ย. วิม�น. ขุ. วิม�นวัตถุ ขุททกนิก�ย. เปต. ขุ. เปตวตั ถุ ขทุ ทกนกิ �ย. เถร. ขุ. เถรค�ถ� ขุททกนกิ �ย. เถร.ี ข.ุ เถรคี �ถ� ขทุ ทกนิก�ย. ช�. ขุ. ช�ดก ขุททกนิก�ย. มห�นิ. ข.ุ มห�นทิ เทส ขุททกนกิ �ย. จู นิ. ข.ุ จู นิทเทส ขุททกนิก�ย. ป สิ ม.ฺ ขุ. ป สิ มั ิท�มรรค ขุททกนกิ �ย. อปท. ขุ. อปท�น ขทุ ทกนกิ �ย. พทุ ฺธว. ข.ุ พุทธวงส์ ขทุ ทกนกิ �ย. จริย�. ข.ุ จริย�ป ก ขทุ ทกนกิ �ย. อ า ๑๔/๑๗๑/๒๔๕ อา า ก บบ า ล ๑๔ า ๑๗๑ อที ๒๔๕

ส�รบัญ 1 คว�มส�ำ คัญของ สมถะ วิปสั สน� ๓ ๔ ๑. ธรรมที่เปน็ สว่ นแหง่ วชิ ชา ๘ ๒. เจริญสมถะและวิปสั สนา ยอ่ มแทงตลอดซึง่ ธาตเุ ปน็ อเนก ๑๓ ๓. สมถะและวิปัสสนา ต้องเป็นธรรมท่เี คียงค่กู ันไป ๔. ธรรมท่ีควรกำาหนดร,ู้ ควรละ, ๑๔ ควรทำาให้เจรญิ , ควรทำาให้แจ้ง (นยั ท่ี ๑) ๑๘ ๕. ธรรมทีค่ วรกำาหนดรู้, ควรละ, ๒๐ ๒๑ ควรทำาใหเ้ จริญ, ควรทำาใหแ้ จ้ง (นยั ที่ ๒) ๒๒ ๖. เพราะไม่รู้อริยสัจ จึงต้องทอ่ งเทยี่ วไปในสงั สารวัฏ ๒๕ ๗. เจรญิ สมาธิแลว้ จกั รูไ้ ด้ตามเปน็ จรงิ (นัยท่ี ๑) ๒๗ ๘. เจริญสมาธแิ ล้ว จกั รู้ไดต้ ามเปน็ จริง (นัยที่ ๒) ๙. เจรญิ สมาธิแล้ว จกั รู้ได้ตามเปน็ จริง (นยั ท่ี ๓) ๓๐ ๑๐. เจรญิ สมาธิ ได้ชื่อว่ากำาลงั โน้มเอยี ไปสู่นิพพาน ๓๑ ๑๑. เจรญิ สมาธิ ได้ความอยู่เปน็ สขุ ในปจั จบุ ัน ๓๒ และท่ีสุดแม้แต่ความสน้ิ อาสวะ ๓๕ ๑๒. อานสิ งสข์ องการหลกี เรน้ (นยั ท่ี ๑) ๑๓. อานสิ งส์ของการหลีกเรน้ (นัยท่ี ๒) ๓๖ ๑๔. ตถาคตตรัสให้ “พ่งึ ตน พึ่งธรรม” ๓๖ ๓๙ ทำ�คว�มเข้�ใจ ก่อนลงมอื ปฏิบัติ ๑๕. การแสวงหา ๒ แบบ - การแสวงหาทไ่ี มป่ ระเสรฐิ - การแสวงหาทป่ี ระเสรฐิ

๑๖. โอกาสในการเกิดเป็นมนุษย์น้นั ยาก ๔๑ ๑๗. สมัยเพือ่ การอยปู่ ระพฤตพิ รหมจรรย์ ๔๔ ๑๘. สิ่งที่ใครๆ ในโลกไมไ่ ดต้ ามปรารถนา ๔๘ ๑๙. สิ่งที่ควรพิจารณาเนอื งๆ ๕๓ ๒๐. เพราะแตกสลาย จงึ ได้ชื่อว่า “โลก” ๖๐ ๒๑. เปน็ ทุกข์เพราะตดิ อยู่ในอายตนะ ๖๒ ๒๒. ความเพลินในอายตนะ เทา่ กบั เพลินอยใู่ นทุกข์ ๖๔ ๒๓. ความไมเ่ พลนิ ในอายตนะ คือความหลดุ พน้ จากทกุ ข์ ๖๖ ๒๔. ฉนั ทะ เปน็ มลู เหตแุ ห่งทุกข์ ๖๘ ๒๕. ทงิ้ เสียน่ันแหละกลับจะเปน็ ประโยชน์ ๗๑ ๒๖. ความเรา่ ร้อนเพราะกามตณั หา ๗๓ ๒๗. สง่ิ ทงั้ ปวงที่ตอ้ งรจู้ กั เพ่ือความสิ้นทุกข์ (นัยที่ ๑) ๗๕ ๒๘. สงิ่ ทั้งปวงท่ตี อ้ งรจู้ กั เพื่อความสน้ิ ทกุ ข์ (นัยที่ ๒) ๗๙ ๒๙. สง่ิ ท้ังปวงที่ตอ้ งรูจ้ กั เพอ่ื ความส้นิ ทกุ ข์ (นยั ที่ ๓) ๘๓ ๓๐. ธรรมทลี่ ะได้ดว้ ยกาย ละได้ด้วยวาจา ๘๔ ๙๐ และไมอ่ าจละไดด้ ้วยกายหรือวาจา ๑๐๐ ๓๑. ปัจจยั แหง่ ทุกข์ และความดบั แห่งทุกข์โดยอเนกปรยิ าย ๑๐๔ ๓๒. เหตุใหไ้ ด้ปญั ญา อันเปน็ เบ้ืองต้นแห่งพรหมจรรย์ ๑๐๙ ๓๓. ทางให้ถงึ ความหลดุ พน้ หา้ ทาง ๑๑๔ ๓๔. ทศั นะตา่ งกนั แต่หลดุ พน้ เหมอื นกนั ๑๑๖ ๓๕. ลาำ ดบั การปฏิบตั ิเพือ่ อรหตั ตผล ๑๑๘ ๓๖. อานิสงสข์ องธรรม ๔ ประการ ๑๒๑ ๓๗. ธรรมยอ่ มไหลไปสูธ่ รรม ๑๒๒ ๓๘. ความไม่ประมาท เปน็ ยอดแหง่ กศุ ลธรรม ๑๒๓ ๓๙. ลักษณะของผู้ไม่ประมาท (นยั ที่ ๑) ๔๐. ลกั ษณะของผู้ไม่ประมาท (นัยที่ ๒)

ท�ำ คว�มเข้�ใจเกีย่ วกับ อรยิ มรรคมอี งค์ ๘ 1๒๕ ๔๑. กระทาำ ใหม้ ากซ่งึ อริยมรรคมีองค์ ๘ ย่อมน้อมไปส่นู ิพพาน ๑๒๖ ๔๒. อริยมรรคมีองค์ ๘ เปน็ ทางสายกลาง ๑๒๘ อนั เปน็ เหตใุ ห้เกิดจักษแุ ละญาณเพ่ือนพิ พาน ๔๓. ปรารภโพชฌงคแ์ ล้ว มรรคก็เป็นอันปรารภด้วย ๑๒๙ ๔๔. ปรารภสติปัฏฐานแล้ว มรรคกเ็ ปน็ อนั ปรารภด้วย ๑๓๑ ๔๕. ความถึงพรอ้ มดว้ ยศลี เป็นเบ้อื งตน้ ๑๓๓ เพือ่ ความเกดิ ข้นึ แหง่ อรยิ มรรคมีองค์ ๘ ๔๖. หนทางมอี ยู่ เมอ่ื ปฏบิ ตั ติ ามแลว้ จะรไู้ ดเ้ อง (หลกั การเลอื กคร)ู ๑๓๔ ท�ำ คว�มเข้�ใจเก่ียวกบั ขนั ธ์ ๕ 14๓ ๔๗. ความหมายของคำาว่า “รปู ” ๑๔๔ ๔๘. อุปมาแห่งรปู ๑๔๕ ๔๙. มหาภตู ๔ และรปู อาศยั ๑๔๖ ๕๐. รายละเอียดของธาตุส่ี ๑๔๗ ๕๑. อสั สาทะและอาทนี วะของรปู ๑๕๐ ๕๒. อรยิ มรรคมอี งค์ ๘ คือข้อปฏิบัติ ใหถ้ งึ ความดบั แหง่ รปู ๑๕๑ ๕๓. ความหมายของคำาวา่ “เวทนา” ๑๕๓ ๕๔. อุปมาแห่งเวทนา ๑๕๔ ๕๕. หลักที่ควรรูเ้ กีย่ วกับ เวทนา ๑๕๕ ๕๖. เวทนา เป็นทางมาแหง่ อนุสัย ๑๕๗ ๕๗. เวทนามธี รรมดาไมเ่ ทย่ี ง ๑๕๙ ๕๘. อาการเกดิ ดบั แห่งเวทนา ๑๖๑ ๕๙. เวทนา ๑๐๘ (นัยท่ี ๑) ๑๖๓ ๖๐. เวทนา ๑๐๘ (นัยท่ี ๒) ๑๖๕ ๖๑. อนิ ทรยี ์ ๕ - เวทนา ๓ ๑๖๗

๖๒. เวทนาใดๆ ต่างประมวลลงใน “ทกุ ข์” ๑๖๙ ๖๓. ความเป็นทกุ ข์สามลกั ษณะ ๑๗๐ ๖๔. อสั สาทะและอาทีนวะของเวทนา ๑๗๑ ๖๕. อริยมรรคมอี งค์ ๘ คือขอ้ ปฏบิ ตั ิ ให้ถึงความดบั แห่งเวทนา ๑๗๒ ๖๖. ความหมายของคำาว่า “สัญญา” ๑๗๔ ๖๗. อปุ มาแห่งสญั ญา ๑๗๕ ๖๘. หลกั ทีค่ วรรู้เกีย่ วกับสัญญา ๑๗๖ ๖๙. อสั สาทะและอาทีนวะของสัญญา ๑๗๘ ๗๐. อรยิ มรรคมีองค์ ๘ คือข้อปฏบิ ัติ ให้ถงึ ความดับแห่งสญั ญา ๑๗๙ ๗๑. ความหมายของคำาว่า “สงั ขาร” ๑๘๑ ๗๒. อปุ มาแห่งสงั ขาร ๑๘๒ ๗๓. อสั สาทะและอาทนี วะของสังขาร ๑๘๓ ๗๔. อรยิ มรรคมอี งค์ ๘ คอื ขอ้ ปฏิบัติ ใหถ้ งึ ความดับแหง่ สงั ขาร ๑๘๔ ๗๕. ความหมายของคำาวา่ “วญิ ญาณ” ๑๘๖ ๗๖. อุปมาแห่งวิญญาณ ๑๘๗ ๗๗. ปจั จัยแห่งการเกดิ ขน้ึ ของวญิ ญาณ ๑๘๘ ๗๘. ที่ต้งั อาศัยของวิญญาณ ๑๙๑ ๗๙. วิญญาณ ไม่ใช่ส่ิงทท่ี อ่ งเทีย่ ว ๑๙๔ ๘๐. วิญญาณ ไมเ่ ทย่ี ง ๒๐๑ ๘๑. วญิ ญาณ เปน็ ส่งิ ทเี่ กดิ ดบั ๒๐๔ ๘๒. อสั สาทะและอาทนี วะของวิญญาณ ๒๐๖ ๘๓. อริยมรรคมีองค์ ๘ คือข้อปฏิบตั ิ ใหถ้ ึงความดับแห่งวิญญาณ ๒๐๗ ๘๔. ความลบั ของขันธ์ ๕ ๒๐๙ ๘๕. สัญโญชนแ์ ละที่ต้งั แห่งสัญโญชน์ ๒๑๒ ๘๖. ทกุ ขเ์ กิด เพราะเห็นสัญโญชนิยธรรม ๒๑๔ โดยความเปน็ อสั สาทะ (นัยที่ ๑)

๘๗. ทกุ ขด์ ับ เพราะเห็นสัญโญชนยิ ธรรม ๒๑๗ โดยความเป็นอาทนี วะ (นยั ที่ ๑) ๒๑๙ ๒๒๑ ๘๘. ทกุ ข์เกดิ เพราะเห็นสัญโญชนยิ ธรรม ๒๒๓ โดยความเป็นอัสสาทะ (นยั ที่ ๒) ๒๒๕ ๒๒๖ ๘๙. ทุกขด์ บั เพราะเห็นสัญโญชนยิ ธรรม ๒๒๗ โดยความเป็นอาทีนวะ (นัยที่ ๒) ๒๓๐ ๒๓๒ ๙๐. อปุ าทานและท่ตี ง้ั แหง่ อุปาทาน ๒๓๔ ๙๑. อปุ าทานกบั อปุ าทานขนั ธ์ มิใช่อันเดยี วกัน ๒๓๗ ๙๒. รากเง่าแหง่ อปุ าทานขนั ธ์ ๒๓๘ ๙๓. ขันธ์ ๕ และอปุ าทานขนั ธ์ ๕ ๒๔๑ ๙๔. ทุกข์เกดิ เพราะเห็นอปุ าทานยิ ธรรม โดยความเป็นอัสสาทะ ๒๔๓ ๙๕. ทุกขด์ ับ เพราะเหน็ อุปาทานิยธรรม โดยความเป็นอาทีนวะ ๒๔๗ ๙๖. เพลินในขนั ธ์ ๕ เท่ากบั เพลนิ ในทกุ ข์ ๒๕๑ ๒๕๒ ไมเ่ พลินในขนั ธ์ ๕ เทา่ กับพน้ ไปจากทกุ ข์ ๒๕๔ ๙๗. ต้องละฉนั ทราคะในขันธ์ ๕ ๒๕๖ ๙๘. วญิ ญาณไม่เทย่ี ง ๒๕๘ ๙๙. ลักษณะความเป็นอนตั ตา ๒๕๙ ๑๐๐. ขนั ธ์ ๕ ไม่เทย่ี ง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ๑๐๑. ความเกิดขน้ึ และความดับไปของขันธ์ ๕ ๑๐๒. ขันธ์ ๕ คอื มาร (นยั ที่ ๑) ๑๐๓. ขนั ธ์ ๕ คอื มาร (นยั ท่ี ๒) ๑๐๔. รอบรซู้ ง่ึ สกั กายะ ๑๐๕. เหตเุ กดิ แห่งสักกายทฏิ ฐิ ๑๐๖. สิง่ ทีย่ ดึ ถอื (นัยที่ ๑) ๑๐๗. สิง่ ทย่ี ึดถือ (นยั ท่ี ๒)

๑๐๘. ความหมายของอวิชชา-วชิ ชา (นัยที่ ๑) ๒๖๒ ๑๐๙. ความหมายของอวิชชา-วชิ ชา (นยั ท่ี ๒) ๒๖๔ ๑๑๐. ความหมายของอวชิ ชา-วิชชา (นยั ที่ ๓) ๒๖๖ ขอ้ แนะนำ� ในก�รปร�รภคว�มเพยี ร ๒๖9 ๑๑๑. ความเพียรสามารถทำาไดใ้ นทุกอริ ยิ าบถ ๒๗๐ ๑๑๒. ลกั ษณะของผู้เกยี จครา้ น ๒๗๒ ๑๑๓. ที่ตงั้ แห่งความเกยี จคร้าน ๒๗๔ ๑๑๔. ทีต่ งั้ แหง่ การปรารภความเพียร ๒๗๗ ๑๑๕. เพยี รละอกุศลแขง่ กบั ความตาย ๒๘๑ ๑๑๖. ทำาความเพียรแขง่ กบั อนาคตภยั (นยั ที่ ๑) ๒๘๔ ๑๑๗. ทาำ ความเพียรแข่งกบั อนาคตภยั (นัยที่ ๒) ๒๘๙ ๑๑๘. สมยั ที่ไมส่ มควร และทีส่ มควรกระทำาความเพยี ร ๒๙๔ ๑๑๙. ทาำ อยา่ งไร ความเพยี รพยายามจงึ มีผล ๒๙๗ ๑๒๐. ส่ิงท่ีควรเสพ-ไมค่ วรเสพ ๓๐๐ ๑๒๑. หลกั การเลือกสถานท่ีและบุคคล ที่ควรเสพ และไมค่ วรเสพ ๓๐๓ ๑๒๒. เคร่อื งผูกพนั จิต ๕ อยา่ ง ๓๐๙ ๑๒๓. อุปกเิ ลสแห่งจิต ๓๑๖ ๑๒๔. มนสิการโดยไม่แยบคาย นวิ รณ์ ๕ ยอ่ มเกดิ ๓๑๙ ๑๒๕. เจรญิ สมาธใิ หไ้ ด้ ๓๒๐ อยา่ งนอ้ ยวนั ละ ๓ ครั้ง ๓๒๒ ๑๒๖. ลกั ษณะของผ้ทู งี่ า่ ยต่อการเขา้ สมาธิ ๓๒๓ ๑๒๗. เจรญิ สมาธแิ มเ้ พยี งชัว่ ลดั นว้ิ มอื ชือ่ วา่ ไม่เหนิ หา่ งจากฌาน ๓๒๔ ๑๒๘. ธรรมเปน็ อุปการะเฉพาะแก่ อานาปานสติภาวนา (นัยท่ี ๑) ๓๒๕ ๑๒๙. ธรรมเปน็ อุปการะเฉพาะแก่ อานาปานสตภิ าวนา (นัยที่ ๒) ๓๒๗ ๑๓๐. ธรรมเปน็ อุปการะเฉพาะแก่ อานาปานสตภิ าวนา (นยั ที่ ๓)

๑๓๑. ผูต้ ามประกอบในธรรมเปน็ เครือ่ งต่ืน ๓๒๘ ๑๓๒. ตอ้ งปรารภความเพียรแตพ่ อดี ๓๒๙ ๑๓๓. ความหมายของทางสายกลาง (นัยท่ี ๑) ๓๓๑ ๑๓๔. ความหมายของทางสายกลาง (นยั ที่ ๒) ๓๓๒ ๑๓๕. ความหมายของทางสายกลาง (นัยท่ี ๓) ๓๓๕ ๑๓๖. อานสิ งส์ของกายคตาสติ (นัยท่ี ๑) ๓๓๗ ๑๓๗. อานสิ งส์ของกายคตาสติ (นยั ที่ ๒) ๓๔๑ ๑๓๘. ลกั ษณะของผ้ตู ้งั จติ ในกายคตาสติ ๓๔๗ ๑๓๙. ลักษณะของผไู้ ม่ตั้งจิตในกายคตาสติ ๓๔๙ ๑๔๐. ให้ตง้ั จติ ในกายคตาสติ เสมือนบรุ ษุ ผู้ถอื ภาชนะน้ำามนั ๓๕๑ ๑๔๑. ทสี่ าำ หรบั เท่ยี วไป ของนกั ปฏิบัติ ๓๕๔ ๑๔๒. การเจรญิ สตปิ ฏั ฐานของคนฉลาด ๓๕๕ ๑๔๓. อานิสงสข์ องการเดนิ จงกรม ๓๖๐ ๑๔๔. การอยูป่ ่าเหมาะกบั ภกิ ษุบางรูป ๓๖๑ ๑๔๕. ลักษณะของบุคคลสีป่ ระเภท ๓๖๔ ๑๔๖. ไมต่ ้องร้อนใจ หากยงั ไมป่ ระสบผล ๓๖๖ ๑๔๗. สน้ิ กเิ ลสก็แล้วกนั ไมต่ ้องรวู้ ่าส้ินไปเท่าไร ๓๖๘ ๑๔๘. หากประพฤติถูกตอ้ ง จะหวงั ผลหรอื ไมห่ วังผล ยอ่ มไดร้ บั ผล ๓๖๙ ๑๔๙. บทอธษิ ฐานจติ เพอื่ ทำาความเพยี ร ๓๗๒ ตัวอย่�ง วธิ ีก�รปฏิบตั ิ ๓7๕ ๑๕๐. สมาธิทกุ ระดับ สามารถอาศัยเพอ่ื สนิ้ อาสวะได้ ๓๗๖ ๑๕๑. อานาปานสติ ๓๘๓ ๑๕๒. เจริญอานาปานสติ เป็นเหตใุ หส้ ติปฏั ฐาน ๔ ๓๘๗ ๓๙๘ โพชฌงค์ ๗ วิชชาและวมิ ุตติบรบิ ูรณ์ ๓๙๙ ๑๕๓. สัญญา ๑๐ ประการ ๔๐๖ ๑๕๔. ลกั ษณะของสัญญา ๑๐ ประการ ๑๕๕. อานสิ งสแ์ หง่ การภาวนาแบบตา่ งๆ

๑๕๖. ปฏิปทาทีเ่ ปน็ สปั ปายะแก่การบรรลนุ พิ พาน (นยั ท่ี ๑) ๔๐๗ ๑๕๗. ปฏิปทาท่เี ป็นสัปปายะแกก่ ารบรรลุนพิ พาน (นัยที่ ๒) ๔๐๘ ๑๕๘. ปฏิปทาท่ีเป็นสปั ปายะแกก่ ารบรรลุนพิ พาน (นัยท่ี ๓) ๔๐๙ ๑๕๙. ปฏิปทาทีเ่ ป็นสัปปายะแก่การบรรลุนิพพาน (นัยที่ ๔) ๔๑๐ ๑๖๐. ธรรมโดยย่อ เพือ่ การหลุดพน้ (นัยท่ี ๑) ๔๑๒ ๑๖๑. ธรรมโดยยอ่ เพื่อการหลดุ พ้น (นยั ท่ี ๒) ๔๑๔ ๑๖๒. ขอ้ ปฏิบตั ิสำาหรบั ผูผ้ า่ นราตรนี าน ๔๑๕ ๑๖๓. ขอ้ ปฏบิ ตั ิเพอ่ื บรรลุมรรคผล ของคนเจ็บไข้ ๔๑๙ ๑๖๔. ขอ้ ปฏบิ ตั เิ พอ่ื บรรลมุ รรคผล ของบคุ คลทว่ั ไป (นยั ท่ี ๑) ๔๒๐ ๑๖๕. ขอ้ ปฏบิ ตั เิ พอ่ื บรรลมุ รรคผล ของบคุ คลทว่ั ไป (นยั ท่ี ๒) ๔๒๑ ๑๖๖. ธรรมอยา่ งหนง่ึ เพอ่ื ละอวชิ ชา (นยั ท่ี ๑) ๔๒๕ ๑๖๗. ธรรมอยา่ งหนง่ึ เพอ่ื ละอวชิ ชา (นยั ท่ี ๒) ๔๒๖ ๑๖๘. ยอ่ มยบุ ยอ่ มไมก่ อ่ ยอ่ มขวา้ งทง้ิ ยอ่ มไมถ่ อื เอา ๔๒๘ ๑๖๙. การดบั เหตแุ หง่ สขุ และทกุ ขภ์ ายใน ๔๓๕ ๑๗๐. ความดบั ทกุ ขม์ ี เพราะความดบั แหง่ นนั ทิ ๔๓๗ ๑๗๑. สน้ิ นนั ทิ สน้ิ ราคะ จติ หลดุ พน้ (นยั ท่ี ๑) ๔๓๘ ๑๗๒. สน้ิ นนั ทิ สน้ิ ราคะ จติ หลดุ พน้ (นยั ท่ี ๒) ๔๓๙ ๑๗๓. เหน็ ตามความเปน็ จรงิ จงึ หลดุ พน้ ๔๔๐ ๑๗๔. การเหน็ ชนดิ ทล่ี ะมจิ ฉาทฏิ ฐไิ ด้ ๔๔๒ ๑๗๕. การเหน็ ชนดิ ทล่ี ะสกั กายทฏิ ฐไิ ด้ ๔๔๔ ๑๗๖. การเหน็ ชนดิ ละอตั ตานทุ ฏิ ฐไิ ด้ ๔๔๕ ๑๗๗. การเหน็ เพอ่ื ความหลดุ พน้ (นยั ท่ี ๑) ๔๔๖ ๑๗๘. การเหน็ เพอ่ื ความหลดุ พน้ (นยั ท่ี ๒) ๔๕๑ ๑๗๙. ลกั ษณะของผปู้ ฏบิ ตั ธิ รรมสมควรแกธ่ รรม ๔๕๓ ๑๘๐. ธรรมทส่ี มควรแกผ่ ปู้ ฏบิ ตั ธิ รรมสมควรแกธ่ รรม (นยั ท่ี ๑) ๔๕๕ ๑๘๑. ธรรมทส่ี มควรแกผ่ ปู้ ฏบิ ตั ธิ รรมสมควรแกธ่ รรม (นยั ท่ี ๒) ๔๕๖ ๑๘๒. ธรรมอนั สมควรแกก่ ลุ บตุ รผบู้ วชดว้ ยศรทั ธา ๔๕๗

ก�รแกป้ ัญห� และข้อควรระวงั ขณะปฏบิ ัติ 4๕9 ๑๘๓. เขา้ ใจนวิ รณ์ ๕ ๔๖๐ ๑๘๔. อาหารของนวิ รณ์ ๕ ๔๖๒ ๑๘๕. อาหารของอวชิ ชา ๔๖๖ ๑๘๖. อาหารของวชิ ชาและวมิ ตุ ติ ๔๗๑ ๑๘๗. อาหารของภวตณั หา ๔๗๕ ๑๘๘. ทเ่ี กดิ แหง่ อปุ ธิ ๔๗๙ ๑๘๙. วธิ แี กค้ วามงว่ ง ๔๘๙ ๑๙๐. เครอ่ื งกน้ั จติ จากกามคณุ ในอดตี ๔๙๑ ๑๙๑. วธิ กี าำ จดั อกศุ ลวติ ก ๕ ประการ ๔๙๓ ๑๙๒. เมอ่ื ตรกึ ถงึ อารมณใ์ ดมาก จติ ยอ่ มนอ้ มไปโดยอาการอยา่ งนน้ั ๕๐๐ ๑๙๓. วธิ แี กค้ วามหดหู่ และความฟงุ้ ซา่ นแหง่ จติ ๕๐๘ ๑๙๔. เหตใุ หส้ มาธเิ คลอ่ื น ๕๑๒ ๑๙๕. การทาำ สมาธมิ เี คลด็ ลบั เหมอื นโคปนี ภเู ขาทล่ี าดชนั ๕๒๑ ๑๙๖. ประโยชนข์ องการระลกึ ถงึ สง่ิ ทต่ี นเองเลอ่ื มใส ๕๒๖ ๑๙๗. ขอ้ ควรระวงั ในการเจรญิ สตปิ ฏั ฐานส่ี ๕๒๘ ๑๙๘. ภกิ ษอุ าชาไนย-ภกิ ษกุ ระจอก ๕๓๓ ๑๙๙. ลกั ษณะของการอยอู่ ยา่ งมตี ณั หาเปน็ เพอ่ื น ๕๓๗ ๒๐๐. ทอ่ นไมท้ ล่ี อยออกไปไดถ้ งึ ทะเล ๕๔๐ ๒๐๑. เครอ่ื งกดี ขวางการละสญั โญชน์ ๕๔๓ ๒๐๒. ไมม่ ผี อู้ ยาก ไมม่ ผี ยู้ ดึ มน่ั ๕๔๕ วิธวี ัดคว�มก�้ วหน�้ ของก�รปฏิบตั ิ ๕๕1 ๒๐๓. ความสามารถในการทง้ิ อารมณไ์ ดเ้ รว็ ๕๕๒ ๒๐๔. ความสามารถในการละ ๕๕๗ ๒๐๕. แวน่ สอ่ งความเปน็ พระโสดาบนั ๕๖๙

๒๐๖. ธรรม ๗ ประการ ของผตู้ ง้ั อยใู่ นโสดาปตั ตผิ ล ๕๗๑ ๒๐๗. ฐานะทเ่ี ปน็ ไปไมไ่ ดข้ องโสดาบนั (นยั ท่ี ๑) ๕๗๖ ๒๐๘. ฐานะทเ่ี ปน็ ไปไมไ่ ดข้ องโสดาบนั (นยั ท่ี ๒) ๕๗๗ ๒๐๙. ฐานะทเ่ี ปน็ ไปไมไ่ ดข้ องโสดาบนั (นยั ท่ี ๓) ๕๗๙ ๒๑๐. ฐานะทเ่ี ปน็ ไปไมไ่ ดข้ องโสดาบนั (นยั ท่ี ๔) ๕๘๐ ๒๑๑. ความหมายของคาำ วา่ เสขะ ๕๘๒ ๒๑๒. ผเู้ ปน็ เสขะ-อเสขะ ๕๘๓ ๒๑๓. เหตใุ หเ้ ปน็ คนดรุ า้ ย หรอื คนสงบเสงย่ี ม ๕๘๖ ๒๑๔. ธรรมเปน็ เครอ่ื งอยขู่ องพระอรยิ ะ ๕๘๘ ปัจจัยที่สง่ ผลต่อ คว�มเร็วในก�รบรรลุธรรม ๕9๕ ๒๑๕. ปฏปิ ทาการบรรลมุ รรคผล ๔ แบบ ๕๙๖ - แบบปฏบิ ตั ลิ าำ บาก รไู้ ดช้ า้ ๕๙๖ - แบบปฏบิ ตั ลิ าำ บาก รไ็ู ดเ้ รว็ ๕๙๗ - แบบปฏบิ ตั สิ บาย รไู้ ดช้ า้ ๕๙๘ - แบบปฏบิ ตั สิ บาย รไู้ ดเ้ รว็ ๕๙๙ ๖๐๐ ๒๑๖. อนิ ทรยี ์ ๖ ๖๐๑ ๒๑๗. อนิ ทรยี ์ ๕ (นยั ท่ี ๑) ๖๐๓ ๒๑๘. อนิ ทรยี ์ ๕ (นยั ท่ี ๒) ๖๐๖ ๒๑๙. อนิ ทรยี ์ ๕ (นยั ท่ี ๓) ๖๐๘ ๒๒๐. อนิ ทรยี ์ ๕ กบั พละ ๕ ๖๑๐ ๒๒๑. ปจั จยั ตอ่ ความลดหลน่ั ของความเปน็ อรยิ บคุ คล (นยั ท่ี ๑) ๖๑๔ ๒๒๒. ปจั จยั ตอ่ ความลดหลน่ั ของความเปน็ อรยิ บคุ คล (นยั ท่ี ๒) ๖๑๗ ๒๒๓. สกิ ขา ๓ ๖๑๙ ๒๒๔. ลกั ษณะของผเู้ ปน็ ธรรมกถกึ ๖๒๑ ๒๒๕. การวางจติ เมอ่ื ถกู เบยี ดเบยี นทางวาจา



ความสำคัญของ สมถะ วิปสั สนา



พทุ ธวจน-หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ ูกปิด : ปฏบิ ัติ สมถะ วิปสั สนา ธรรมทเ่ี ป็นสว่ นแห่งวชิ ช� 01 -บาลี ทกุ . อ.ํ ๒๐/๗๗-๗ /๒๗๕-๒๗ . ภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๒ อย่างเหล่านี้เป็นไปใน ส่วนแห่งวิชชา ธรรม ๒ อย่างอะไรเล่า คือ สมถะและ วปิ สั สน�. ภกิ ษทุ งั้ หลาย สมถะทอี่ บรมแลว้ ยอ่ มไดป้ ระโยชน์ อะไร (สมถะท่ีอบรมแล้ว) ย่อมอบรมจิต จิตท่ีอบรมแล้ว ยอ่ มไดป้ ระโยชน์อะไร (จติ ทอ่ี บรมแลว้ ) ย่อมละร�คะได้. ภิกษุทั้งหลาย วิปัสสน�ที่อบรมแล้ว ย่อมได้ ประโยชน์อะไร (วิปัสสนาท่ีอบรมแล้ว) ย่อมอบรมปัญญ� ปญั ญาทอ่ี บรมแลว้ ยอ่ มไดป้ ระโยชนอ์ ะไร (ปญั ญาทอ่ี บรมแลว้ ) ย่อมละอวชิ ช�ได.้ ภิกษุท้ังหลาย จิตที่เศร้าหมองด้วยราคะ ย่อมไม่ หลุดพ้น หรือปัญญาที่เศรา้ หมองด้วยอวิชชา ยอ่ มไมเ่ จริญ ด้วยอาการอยา่ งน้ีแล. ภิกษุทั้งหลาย เพร�ะสำ�รอกร�คะได้ จึงชื่อว่� เจโตวมิ ตุ ติ เพร�ะส�ำ รอกอวชิ ช�ได้ จงึ ชอ่ื ว�่ ปญั ญ�วมิ ตุ ต.ิ ๓

พทุ ธวจน-หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี กู ปดิ : ปฏิบตั ิ สมถะ วิปสั สนา เจริญสมถะและวิปสั สน� 0๒ ยอ่ มแทงตลอดซ่ึงธ�ตุเป็นอเนก -บาลี . . ๑๓/๒๕๗-๒ ๑/๒ ๐-๒ . ขา้ แตพ่ ระองค์ผู้เจริญ ผลที่กำาหนดไวเ้ ทา่ ใด ท่ีบุคคลพงึ บรรลุ ดว้ ยญาณของพระเสขะ ดว้ ยวชิ ชาของพระเสขะ ผลนน้ั ทง้ั หมดขา้ พระองคไ์ ด้ บรรลแุ ลว้ ขอพระผมู้ พี ระภาคทรงแสดงธรรมทย่ี ง่ิ ขน้ึ ไปแกข่ า้ พระองคเ์ ถดิ . วัจฉะ ถ้าเช่นนั้น เธอจงเจริญธรรมท้ังสอง คือ สมถะและวิปัสสนาให้ย่ิงขึ้นไปเถิด วัจฉะ ธรรมท้ังสอง คือ สมถะและวิปัสสน�นี้ เมื่อเธอเจริญให้ยิ่งขึ้นไปแล้ว จกั เปน็ ไปเพ่ือแทงตลอดซงึ่ ธ�ตเุ ปน็ อเนก. (๑) วัจฉะ เธอนน้ั เพียงหวงั ว่า เราพงึ บรรลุอทิ ธวิ ิธี หลายประการ คือ คนเดียวเปน็ หลายคนกไ็ ด้ หลายคนเปน็ คนเดียวก็ได้ ทำาให้ปรากฏก็ได้ ทำาให้หายไปก็ได้ ทะลุฝา กำาแพงภูเขาไปได้ไม่ติดขัดดุจไปในท่ีว่างก็ได้ ผุดขึ้นดำาลง แม้ในแผ่นดินเหมือนในน้ำาก็ได้ เดินบนน้ำาไม่แตกเหมือน เดินบนแผ่นดินก็ได้ เหาะไปในอากาศเหมือนนกก็ได้ ลบู คลาำ พระจันทร์พระอาทติ ย์ ซ่ึงมฤี ทธิม์ ีอานภุ าพมากด้วย ฝ่ามือก็ได้ ใช้อำานาจทางกายไปตลอดพรหมโลกก็ได้ ดังนี้ ในอทิ ธวิ ธิ นี นั้ ๆ นน่ั แหละ เธอกจ็ กั ถงึ คว�มส�ม�รถท�ำ ได้ จนเปน็ สักขพี ย�น ในขณะท่อี �ยตนะยงั มีอย.ู่ ๔

เปิดธรรมทีถ่ กู ปิด : ปฏบิ ัติ สมถะ วิปัสสนา (๒) วัจฉะ เธอน้ันเพียงหวังว่า เราพึงฟังเสียง ทงั้ สองคอื เสยี งทพิ ยแ์ ละเสยี งของมนษุ ย์ ทงั้ ทไ่ี กลและทใ่ี กล้ ด้วยทิพยโสตธาตุอันบริสุทธ์ิ ล่วงโสตธาตุของมนุษย์ดังนี้ ในทพิ ยโสตธ�ตนุ น้ั ๆ นนั่ แหละ เธอกจ็ กั ถงึ คว�มส�ม�รถ ทำ�ไดจ้ นเป็นสกั ขีพย�น ในขณะทอ่ี �ยตนะยงั มอี ย.ู่ (๓) วัจฉะ เธอน้ันเพียงหวังว่า เราพึงกำาหนดรู้ใจ ของสตั วอ์ นื่ ของบคุ คลอน่ื ดว้ ย คอื จติ มรี าคะ พงึ รวู้ า่ จติ มรี าคะ หรอื จติ ปราศจากราคะ พงึ รวู้ า่ จติ ปราศจากราคะ จติ มโี ทสะ พงึ รวู้ า่ จติ มโี ทสะ หรอื จติ ปราศจากโทสะ พงึ รวู้ า่ จติ ปราศจาก โทสะ จติ มโี มหะ พงึ รวู้ า่ จติ มโี มหะ หรอื จติ ปราศจากโมหะ พึงรู้ว่าจิตปราศจากโมหะ จิตหดหู่ พึงรู้ว่าจิตหดหู่ หรือ จิตฟุ้งซ่าน พึงรู้ว่าจิตฟุ้งซ่าน จิตถึงซึ่งคุณอันใหญ่ พึงรู้ว่า จิตถึงซ่ึงคุณอันใหญ่ หรือจิตไม่ถึงซึ่งคุณอันใหญ่ พึงรู้ว่า จติ ไมถ่ งึ ซง่ึ คณุ อนั ใหญ่ จติ มจี ติ อน่ื ยง่ิ กวา่ พงึ รวู้ า่ จติ มจี ติ อน่ื ยง่ิ กวา่ หรอื จติ ไมม่ จี ติ อน่ื ยง่ิ กวา่ พงึ รวู้ า่ จติ ไมม่ จี ติ อน่ื ยง่ิ กวา่ จติ เปน็ สมาธิ พงึ รวู้ า่ จติ เปน็ สมาธิ หรอื จติ ไมเ่ ปน็ สมาธิ พงึ รวู้ า่ จติ ไมเ่ ปน็ สมาธิ จติ หลดุ พน้ พงึ รวู้ า่ จติ หลดุ พน้ หรอื จติ ไม่ หลดุ พน้ พงึ รวู้ า่ จติ ไมห่ ลดุ พน้ ดงั น้ี ในเจโตปรยิ ญ�ณนนั้ ๆ นน่ั แหละ เธอกจ็ กั ถงึ คว�มส�ม�รถท�ำ ไดจ้ นเปน็ สกั ขพี ย�น ในขณะทอ่ี �ยตนะยงั มอี ย.ู่ ๕

พุทธวจน-หมวดธรรม (๔) วจั ฉะ เธอนน้ั เพยี งหวงั วา่ เราพงึ ระลกึ ชาตกิ อ่ น ไดเ้ ปน็ อนั มาก คอื พงึ ระลกึ ไดช้ าตหิ นงึ่ บา้ ง สองชาตบิ า้ ง สามชาตบิ า้ ง สชี่ าตบิ า้ ง หา้ ชาตบิ า้ ง สบิ ชาตบิ า้ ง ยส่ี บิ ชาตบิ า้ ง สามสิบชาติบ้าง ส่ีสิบชาติบ้าง ห้าสิบชาติบ้าง ร้อยชาติบ้าง พนั ชาติบ้าง แสนชาติบา้ ง ตลอดสงั วฏั ฏกปั เปน็ อนั มากบ้าง ตลอดววิ ฏั ฏกปั เปน็ อนั มากบา้ ง ตลอดสงั วฏั ฏววิ ฏั ฏกปั เปน็ อนั มากบา้ ง วา่ ในภพโนน้ เรามชี อ่ื อย่างน้ัน มโี คตรอยา่ งนน้ั มีผิวพรรณอย่างน้ัน มีอาหารอย่างน้ัน เสวยสุขเสวยทุกข์ อยา่ งนน้ั มกี าำ หนดอายเุ พยี งเทา่ นน้ั ครนั้ จตุ จิ ากภพนนั้ แลว้ ได้ไปเกิดในภพโน้น แม้ในภพน้ัน เราก็ได้มีชื่ออย่างน้ัน มีโคตรอย่างนั้น มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างน้ัน เสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้นๆ มีกำาหนดอายุเพียงเท่าน้ัน คร้ันจุติจากภพน้ันแล้ว ได้มาเกิดในภพน้ี เราพึงระลึก ชาติก่อนได้เป็นอันมาก พร้อมทั้งอาการ พร้อมท้ังอุเทศ ด้วยอาการอย่างน้ี ดังนี้ ในบุพเพนิว�ส�นุสติญ�ณนั้นๆ นนั่ แหละ เธอกจ็ กั ถงึ คว�มส�ม�รถท�ำ ไดจ้ นเปน็ สกั ขพี ย�น ในขณะท่ีอ�ยตนะยงั มอี ย.ู่ (๕) วัจฉะ เธอน้ันเพียงหวังว่า เราพึงเห็นหมู่สัตว์ ทกี่ าำ ลงั จตุ ิ กาำ ลงั อปุ บตั ิ เลว ประณตี มผี วิ พรรณดี มผี วิ พรรณ ๖

เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปดิ : ปฏิบตั ิ สมถะ วิปัสสนา ทราม ไดด้ ี ตกยาก ดว้ ยทพิ ยจกั ษอุ นั บรสิ ทุ ธ์ิ ลว่ งจกั ษขุ องมนษุ ย์ พงึ รชู้ ดั ซง่ึ หมสู่ ตั วผ์ เู้ ปน็ ไปตามกรรมวา่ สตั วเ์ หลา่ นป้ี ระกอบ ด้วยกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ติเตียนพระอริยะ เป็น มจิ ฉาทฏิ ฐิ ยดึ ถอื การกระทาำ ดว้ ยอาำ นาจมจิ ฉาทฏิ ฐิ เบอื้ งหนา้ แตก่ ารตายเพราะการทาำ ลายแหง่ กาย ยอ่ มเขา้ ถงึ อบาย ทคุ ติ วนิ บิ าต นรก สว่ นสตั วเ์ หลา่ นป้ี ระกอบดว้ ยกายสจุ รติ วจสี จุ รติ มโนสุจริต ไม่ติเตียนพระอริยะ เป็นสัมมาทิฏฐิ ยึดถือการ กระทำาด้วยอำานาจสัมมาทิฏฐิ เบื้องหน้าแต่การตายเพราะ การทาำ ลายแหง่ กาย ยอ่ มเขา้ ถงึ สคุ ตโิ ลกสวรรค์ ดงั น้ี เราพงึ เหน็ หมสู่ ตั วท์ กี่ าำ ลงั จตุ ิ กาำ ลงั อปุ บตั ิ เลว ประณตี มผี วิ พรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์ พึงรู้ชัดซ่ึงหมู่สัตว์ผู้เป็นไปตามกรรม ดว้ ยอาการอยา่ งนี้ ดงั นี้ ในจตุ ปู ป�ตญ�ณนนั้ ๆ นนั่ แหละ เธอกจ็ กั ถงึ คว�มส�ม�รถท�ำ ไดจ้ นเปน็ สกั ขพี ย�น ในขณะท่ี อ�ยตนะยงั มอี ย.ู่ (๖) วัจฉะ เธอน้ันเพียงหวังว่า เราพึงทำาให้แจ้งซึ่ง เจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะอาสวะ ท้งั หลายส้นิ ไป ด้วยปัญญาอันย่งิ ในปัจจุบันเข้าถึงอยู่ ดังนี้ ในอ�สวักขยญ�ณน้ันๆ นั่นแหละ เธอก็จักถึงคว�ม ส�ม�รถท�ำ ไดจ้ นเปน็ สกั ขพี ย�น ในขณะทอ่ี �ยตนะยงั มอี ย.ู่ ๗

พทุ ธวจน-หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถกู ปดิ : ปฏบิ ัติ สมถะ วปิ ัสสนา สมถะและวปิ ัสสน� 0๓ ตอ้ งเป็นธรรมทีเ่ คยี งคกู่ นั ไป -บาลี กุ ก. อ.ํ ๒๑/๑๒๑ ๑๒๔/๙๓-๙๔. ภกิ ษทุ งั้ หลาย บคุ คล ๔ จาำ พวกน้ี มปี รากฏอยใู่ นโลก ๔ จาำ พวกเป็นอย่างไร คอื (๑) บคุ คลบางคนในโลกน้ี มปี กตไิ ดค้ วามสงบแหง่ ใจ ในภายใน (เจโตสมถะ) แตไ่ ม่ไดค้ วามเหน็ แจง้ ในธรรม ดว้ ย ปัญญาอันยิง่ (อธิปญั ญาธมั มวิปัสสนา). (๒) บคุ คลบางคนในโลกนี้ มปี กตไิ ดค้ วามเหน็ แจง้ ในธรรมดว้ ยปญั ญาอนั ยง่ิ แตไ่ มไ่ ดค้ วามสงบแหง่ ใจในภายใน. (๓) บคุ คลบางคนในโลกน้ี มปี กตไิ มไ่ ดค้ วามสงบแหง่ ใจในภายใน ทง้ั ไมไ่ ดค้ วามเหน็ แจง้ ในธรรมดว้ ยปญั ญาอนั ยง่ิ . (๔) บคุ คลบางคนในโลกน้ี มปี กตไิ ดค้ วามสงบแหง่ ใจ ในภายใน ทั้งได้ความเห็นแจง้ ในธรรมด้วยปญั ญาอันยง่ิ . ภิกษทุ ัง้ หลาย ในบุคคลเหลา่ นน้ั (๑) บุคคลผู้มีปกติได้ความสงบแห่งใจในภายใน แต่ไม่ไดค้ วามเห็นแจง้ ในธรรมด้วยปญั ญาอันย่ิง บุคคลนั้น พงึ ตง้ั อยใู่ นคว�มสงบแหง่ ใจในภ�ยใน แลว้ กระท�ำ คว�มเพยี ร ในคว�มเห็นแจ้งในธรรมด้วยปัญญ�อันย่ิง สมัยต่อมา ๘

เปิดธรรมทถี่ ูกปิด : ปฏิบัติ สมถะ วปิ สั สนา เขาย่อมเป็นผู้มีปกติได้ท้ังความสงบแห่งใจในภายใน และ ไดท้ ้งั ความเห็นแจง้ ในธรรมดว้ ยปัญญาอันยิง่ . (๒) บุคคลผู้มีปกติได้ความเห็นแจ้งในธรรมด้วย ปญั ญาอนั ยงิ่ แตไ่ มไ่ ดค้ วามสงบแหง่ ใจในภายใน บคุ คลนน้ั พึงตั้งอยู่ในคว�มเห็นแจ้งในธรรมด้วยปัญญ�อันยิ่ง แล้วกระทำ�คว�มเพียรในคว�มสงบแห่งใจในภ�ยใน สมยั ตอ่ มา เขายอ่ มเปน็ ผมู้ ปี กตไิ ดท้ ง้ั ความเหน็ แจง้ ในธรรม ดว้ ยปญั ญาอนั ยง่ิ และได้ทั้งความสงบแหง่ ใจในภายใน. (๓) บุคคลผู้มีปกติไม่ได้ความสงบแห่งใจใน ภายใน ท้ังไม่ได้ความเห็นแจ้งในธรรมด้วยปัญญาอันย่ิง บคุ คลนนั้ พงึ กระท�ำ ฉนั ทะ คว�มพย�ย�ม คว�มอตุ ส�หะ คว�มขะมักเขม้น คว�มไม่ย่อท้อ สติและสัมปชัญญะ ให้มีประม�ณยิ่ง เพื่อให้ได้กุศลธรรมเหล่�นั้น ภิกษุ ทั้งหลาย เปรียบเหมือนบุคคลผู้มีเส้ือผ้าถูกไฟไหม้ หรือ มีศีรษะถูกไฟไหม้ เขาพึงกระทำาฉันทะ ความพยายาม ความอุตสาหะ ความขะมักเขม้น ความไม่ย่อท้อ สติ และสัมปชัญญะ ให้มีประมาณย่ิง เพื่อดับไฟท่ีผ้าหรือ ท่ีศีรษะ ฉันใด บุคคลน้ันก็พึงทำาฉันทะ ความพยายาม ความอุตสาหะ ความขะมักเขม้น ความไม่ย่อท้อ สติและ ๙

พุทธวจน-หมวดธรรม สัมปชัญญะ ให้มีประมาณยิ่ง เพื่อให้ได้กุศลธรรมเหล่าน้ัน ก็ฉันน้นั เหมือนกัน สมัยต่อมา เขาย่อมเป็นผ้มู ีปกติ ได้ท้งั ความสงบแหง่ ใจในภายใน และไดท้ ง้ั ความเห็นแจง้ ในธรรม ดว้ ยปญั ญาอนั ย่งิ . (๔) ภิกษุท้ังหลาย บุคคลผู้มีปกติได้ท้ังความสงบ แห่งใจในภายใน และได้ท้ังความเห็นแจ้งในธรรมด้วย ปญั ญาอนั ยงิ่ บคุ คลนนั้ พงึ ตง้ั อยใู่ นกศุ ลธรรมเหล�่ นน้ั แหละ แล้วกระทำ�คว�มเพียรให้ย่ิงข้ึน เพื่อคว�มสิ้นไปแห่ง อ�สวะท้งั หล�ย... ภิกษุทั้งหลาย ในบุคคลเหล่านัน้ (๑) บุคคลผู้มีปกติได้ความสงบแห่งใจในภายใน แตไ่ มไ่ ดค้ วามเหน็ แจง้ ในธรรมดว้ ยปญั ญาอนั ยง่ิ พงึ เข�้ ไปห� บคุ คลผมู้ ปี กตไิ ดค้ ว�มเหน็ แจง้ ในธรรมดว้ ยปญั ญ�อนั ยง่ิ แล้วถ�มอย่�งนี้ว่� ท่�นผู้มีอ�ยุ พึงเห็นสังข�รอย่�งไร พึงพิจ�รณ�สังข�รอย่�งไร พึงเห็นแจ้งสังข�รอย่�งไร ผถู้ กู ถามนนั้ ยอ่ มตอบเขาตามทตี่ นเหน็ แลว้ ตามทตี่ นรแู้ ลว้ วา่ ทา่ นผมู้ อี ายุ พงึ เหน็ สงั ขารอยา่ งน้ี พงึ พจิ ารณาสงั ขารอยา่ งนี้ พึงเห็นแจ้งสังขารอย่างนี้ สมัยต่อมา เขาย่อมเป็นผู้มีปกติ ได้ท้ังความสงบแห่งใจในภายใน และได้ท้ังความเห็นแจ้ง ในธรรมด้วยปญั ญาอันย่งิ . ๑๐

เปิดธรรมทถี่ กู ปดิ : ปฏบิ ัติ สมถะ วปิ สั สนา (๒) ภกิ ษทุ งั้ หลาย บคุ คลผมู้ ปี กตไิ ดค้ วามเหน็ แจง้ ในธรรมดว้ ยปญั ญาอนั ยง่ิ แตไ่ มไ่ ดค้ วามสงบแหง่ ใจในภายใน พงึ เข�้ ไปห�บคุ คลผมู้ ปี กตไิ ดค้ ว�มสงบแหง่ ใจในภ�ยใน แล้วถ�มอย่�งนี้ว่� ท่�นผู้มีอ�ยุ พึงตั้งจิตไว้อย่�งไร พึงน้อมจิตไปอย่�งไร พึงทำ�จิตมีอ�รมณ์เดียวให้เกิดข้ึน ไดอ้ ย�่ งไร พงึ ชกั จงู จติ ใหเ้ ปน็ สม�ธไิ ดอ้ ย�่ งไร ผถู้ กู ถามนนั้ ย่อมตอบเขาตามท่ตี นเห็นแลว้ ตามทีต่ นรู้แล้ววา่ พงึ ตั้งจติ ไว้อย่างนี้ พึงน้อมจิตไปอย่างนี้ พึงทำาจิตมีอารมณ์เดียวให้ เกดิ ขน้ึ อยา่ งนี้ พงึ ชกั จงู จติ ใหเ้ ปน็ สมาธไิ ดอ้ ยา่ งนี้ สมยั ตอ่ มา เขายอ่ มเปน็ ผมู้ ปี กตไิ ดท้ ง้ั ความเหน็ แจง้ ในธรรมดว้ ยปญั ญา อันยงิ่ และไดท้ ั้งความสงบแหง่ ใจในภายใน. (๓) ภิกษุท้ังหลาย บุคคลผู้มีปกติไม่ได้ความสงบ แหง่ ใจในภายใน ทงั้ ไมไ่ ดค้ วามเหน็ แจง้ ในธรรมดว้ ยปญั ญา อนั ยง่ิ พงึ เข�้ ไปห�บคุ คลผมู้ ปี กตไิ ดท้ ง้ั คว�มสงบแหง่ ใจใน ภ�ยใน และไดท้ ง้ั คว�มเหน็ แจง้ ในธรรมดว้ ยปญั ญ�อนั ยง่ิ แล้วถ�มอย่�งนี้ว่� ท่�นผู้มีอ�ยุ พึงต้ังจิตไว้อย่�งไร พึงน้อมจิตไปอย่�งไร พึงทำ�จิตมีอ�รมณ์เดียวให้เกิดขึ้น ได้อย่�งไร พึงชักจูงจิตให้เป็นสม�ธิได้อย่�งไร พึงเห็น สงั ข�รนน้ั อย�่ งไร พงึ พจิ �รณ�สงั ข�รอย�่ งไร พงึ เหน็ แจง้ ๑๑

พุทธวจน-หมวดธรรม สงั ข�รอย�่ งไร ผถู้ กู ถามนน้ั ยอ่ มตอบเขาตามทต่ี นเหน็ แลว้ ตามท่ีตนรู้แล้วว่า พึงตั้งจิตไว้อย่างนี้ พึงน้อมจิตไปอย่างนี้ พงึ ทาำ จติ มอี ารมณเ์ ดยี วใหเ้ กดิ ขนึ้ อยา่ งนี้ พงึ ชกั จงู จติ ใหเ้ ปน็ สมาธิได้อย่างน้ี พึงเห็นสังขารอย่างน้ี พึงพิจารณาสังขาร อย่างน้ี พึงเห็นแจ้งสังขารอย่างนี้ สมัยต่อมา เขาย่อมเป็น ผู้มีปกติได้ท้ังความสงบแห่งใจในภายใน และได้ท้ังความ เห็นแจ้งในธรรมด้วยปัญญาอนั ยงิ่ . (๔) ภกิ ษทุ ง้ั หลาย บคุ คลผมู้ ปี กตไิ ดค้ วามสงบแหง่ ใจ ในภายใน และไดท้ ง้ั ความเหน็ แจง้ ในธรรมดว้ ยปญั ญาอนั ยง่ิ บคุ คลนน้ั พงึ ตง้ั อยใู่ นกศุ ลธรรมเหล�่ นนั้ แหละ แลว้ กระท�ำ คว�มเพยี รใหย้ ง่ิ ขน้ึ เพอื่ คว�มสน้ิ ไปแหง่ อ�สวะทง้ั หล�ย. ภกิ ษทุ งั้ หลาย บคุ คล ๔ จาำ พวกเหลา่ นแี้ ล มปี รากฏ อยใู่ นโลก. ๑๒

พุทธวจน-หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ ูกปิด : ปฏิบตั ิ สมถะ วิปสั สนา ธรรมทค่ี วรก�ำ หนดร,ู้ ควรละ, 04ควรท�ำ ใหเ้ จรญิ , ควรท�ำ ใหแ้ จง้ (นยั ท่ี 1) -บาลี กุ ก. อ.ํ ๒๑/๓๓๓-๓๓๔/๒๕๔. ภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๔ ประการเหลา่ น้ี ๔ ประการ เปน็ อยา่ งไร คอื ธรรมทร่ี ยู้ ง่ิ ดว้ ยปญั ญ�แลว้ พงึ ก�ำ หนดรู้ กม็ ี ธรรมทร่ี ยู้ ง่ิ ดว้ ยปญั ญ�แลว้ พงึ ละเสยี กม็ ี ธรรมทร่ี ยู้ ง่ิ ดว้ ย ปญั ญ�แลว้ พงึ ท�ำ ใหเ้ จรญิ กม็ ี ธรรมทร่ี ยู้ ง่ิ ดว้ ยปญั ญ�แลว้ พงึ ท�ำ ใหแ้ จง้ กม็ .ี ภิกษุท้ังหลาย ก็ธรรมที่รู้ย่ิงด้วยปัญญาแล้วพึง กาำ หนดรเู้ ปน็ อยา่ งไร คอื อปุ �ท�นขนั ธ์ ๕ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย นเ้ี ราเรียกวา่ ธรรมทร่ี ยู้ ิ่งดว้ ยปญั ญาแลว้ พึงก�ำ หนดร.ู้ ก็ธรรมที่รู้ย่ิงด้วยปัญญาแล้ว พึงละเสียเป็นอย่างไร คือ อวิชช�และภวตัณห� ภิกษุทั้งหลาย น้ีเราเรียกว่า ธรรมทีร่ ู้ยง่ิ ด้วยปญั ญาแลว้ พึงละเสยี . ก็ธรรมท่ีรู้ยิ่งด้วยปัญญาแล้ว พึงทำาให้เจริญเป็น อย่างไร คือ สมถะและวิปัสสน� ภิกษุทั้งหลาย น้ีเรา เรียกว่า ธรรมท่รี ้ยู ่งิ ดว้ ยปญั ญาแลว้ พึงท�ำ ให้เจริญ. กธ็ รรมทร่ี ยู้ ง่ิ ดว้ ยปญั ญาแลว้ พงึ ทาำ ใหแ้ จง้ เปน็ อยา่ งไร คือ วิชช�และวิมุตติ ภิกษุทั้งหลาย นี้เราเรียกว่า ธรรม ทรี่ ยู้ ิง่ ดว้ ยปัญญาแลว้ พงึ ทำ�ใหแ้ จง้ . ภกิ ษุทง้ั หลาย เหล่านแี้ ลธรรม ๔ ประการ. ๑๓

พุทธวจน-หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี กู ปิด : ปฏบิ ัติ สมถะ วปิ สั สนา ธรรมทคี่ วรก�ำ หนดร,ู้ ควรละ, 0๕ควรท�ำ ใหเ้ จรญิ , ควรท�ำ ใหแ้ จง้ (นยั ท่ี ๒) -บาลี อุ . . ๑๔/๕๒๓-๕๒ / ๒ - ๓๑. ภิกษุทั้งหลาย ส่วนบุคคลเม่ือรู้เม่ือเห็นจักษุ ตาม ความเป็นจริง เมื่อรู้เมื่อเห็นรูป ตามความเป็นจริง เมื่อรู้ เม่ือเห็นจักษุวิญญ�ณ ตามความเป็นจริง เม่ือรู้เมื่อเห็น จกั ษสุ มั ผสั ตามความเปน็ จรงิ เมอ่ื รเู้ มอ่ื เหน็ เวทน�ทเ่ี กดิ ขน้ึ เพร�ะจักษุสัมผัสเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม อันเป็น ทุกข์ก็ตาม มิใช่ทุกข์มิใช่สุขก็ตาม ตามความเป็นจริง เขาย่อมไม่กำ�หนัดในจักษุ ไม่กำาหนัดในรูป ไม่กำาหนัด ในจักษุวิญญาณ ไม่กำาหนัดในจักษุสัมผัส ไม่กำาหนัดใน เวทนาทเ่ี กดิ ขนึ้ เพราะจกั ษสุ มั ผสั เปน็ ปจั จยั อนั เปน็ สขุ กต็ าม เป็นทุกข์ก็ตาม มิใช่ทุกข์มิใช่สุขก็ตาม เม่ือบุคคลนั้น ไมก่ าำ หนดั แลว้ ไมต่ ดิ พนั แลว้ ไมล่ มุ่ หลงแลว้ มปี กตเิ หน็ โทษอยู่ อุป�ท�นขันธ์ ๕ ย่อมถึงซึ่งคว�มไม่ก่อเกิดต่อไป และตัณห�อันเป็นเครื่องนำ�ไปสู่ภพใหม่ อนั ประกอบดว้ ย ความกาำ หนดั ดว้ ยอาำ นาจความเพลนิ มปี กตเิ พลดิ เพลนิ อยา่ งยง่ิ ในอารมณ์น้ันๆ เขาย่อมละเสียได้ คว�มกระวนกระว�ย แม้ท�งก�ย เขาย่อมละเสียได้ คว�มกระวนกระว�ย ๑๔

เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปดิ : ปฏบิ ตั ิ สมถะ วปิ สั สนา แม้ท�งจิต เขาย่อมละเสียได้ คว�มแผดเผ�แม้ท�งก�ย เขายอ่ มละเสยี ได้ คว�มแผดเผ�แมท้ �งจติ เขายอ่ มละเสยี ได้ คว�มเร�่ รอ้ น แมท้ �งก�ย เขายอ่ มละเสยี ได้ คว�มเร�่ รอ้ น แมท้ �งจติ เขายอ่ มละเสยี ได้ บคุ คลนน้ั ยอ่ มเสวยซง่ึ คว�มสขุ อนั เปน็ ไปท�งก�ยด้วย ซ่ึงความสขุ อนั เป็นไปท�งจิตดว้ ย. เมื่อบุคคลเป็นเช่นน้ันแล้ว ทิฏฐิของเข� ย่อมเป็น สัมม�ทิฏฐิ คว�มดำ�ริของเข� ย่อมเป็นสัมม�สังกัปปะ คว�มพย�ย�มของเข� ยอ่ มเปน็ สมั ม�ว�ย�มะ สตขิ องเข� ย่อมเป็นสัมม�สติ สม�ธิของเข� ย่อมเป็นสัมม�สม�ธิ ส่วนก�ยกรรม วจกี รรม และอ�ชวี ะของเข� ยอ่ มบรสิ ทุ ธิ์ อยู่ก่อนแล้วนั่นเทียว ด้วยอาการอย่างน้ี เป็นอันว่า อริยอัฏฐังคิกมรรคของเข�นั้น ย่อมถึงซึ่งคว�มเจริญ บรบิ รู ณ.์ เมอ่ื เขาทาำ อรยิ อฏั ฐงั คกิ มรรค ใหเ้ จรญิ อยดู่ ว้ ยอาการ อย่างนี้ สติปัฏฐ�นท้ัง ๔ ย่อมถึงซ่ึงความเจริญบริบูรณ์ สมั มปั ปธ�นทง้ั ๔ ยอ่ มถงึ ซงึ่ ความเจรญิ บรบิ รู ณ์ อทิ ธบิ �ท ทง้ั ๔ ยอ่ มถึงซึ่งความเจรญิ บริบูรณ์ อนิ ทรยี ์ท้ัง ๕ ยอ่ มถงึ ซึ่งความเจริญบริบูรณ์ พละทั้ง ๕ ย่อมถึงซ่ึงความเจริญ บริบูรณ์ โพชฌงค์ท้ัง ๗ ย่อมถึงซ่ึงความเจริญบริบูรณ์ ๑๕

พทุ ธวจน-หมวดธรรม ธรรมทั้งสอง คือ สมถะและวิปัสสน� ของเขาน้ัน ย่อม เป็นธรรมเคียงคู่กันไป เขาช่ือว่า ย่อมกำ�หนดรู้ซึ่งธรรม ท้ังหลายท่ีควรกำาหนดรู้ด้วยปัญญาอันย่ิง ย่อมละด้วย ปัญญ�อันย่ิง ซ่ึงธรรมทั้งหลายอันบุคคลพึงละด้วยปัญญา อนั ยงิ่ ยอ่ มท�ำ ใหเ้ จรญิ ดว้ ยปญั ญ�อนั ยง่ิ ซง่ึ ธรรมทง้ั หลาย อันบุคคลพึงทำาให้เจริญด้วยปัญญาอันย่ิง ย่อมทำ�ให้แจ้ง ด้วยปัญญ�อันย่ิง ซึ่งธรรมท้ังหลายอันบุคคลพึงทำาให้แจ้ง ด้วยปัญญาอนั ยิง่ . ภิกษุท้ังหลาย ก็ธรรมท่ีควรกำาหนดรู้ด้วยปัญญา อันย่ิงเป็นอย่างไร กล่าวคือ อุปาทานขันธ์ทั้ง ๕ ได้แก่ อปุ �ท�นขนั ธค์ อื รปู อปุ �ท�นขนั ธค์ อื เวทน� อปุ �ท�นขนั ธ์ คือสัญญ� อุป�ท�นขันธ์คือสังข�ร อุป�ท�นขันธ์คือ วิญญ�ณ เหล่�นี้ช่ือว่� ธรรมที่ควรกำ�หนดรู้ด้วยปัญญ� อันยง่ิ . ภิกษุท้ังหลาย ก็ธรรมที่ควรละด้วยปัญญาอันยิ่ง เปน็ อยา่ งไร กล่าวคือ อวิชช�และภวตัณห� เหล�่ นี้ชื่อว�่ ธรรมทีค่ วรละด้วยปัญญ�อนั ยิ่ง. ๑๖

เปดิ ธรรมทถี่ ูกปดิ : ปฏบิ ตั ิ สมถะ วิปสั สนา ภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมท่ีควรทำาให้เจริญด้วยปัญญา อันยิ่งเป็นอย่างไร กล่าวคือ สมถะและวิปัสสน� เหล่�นี้ ชอื่ ว่� ธรรมทีค่ วรเจรญิ ดว้ ยปญั ญ�อันย่งิ . ภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมที่ควรทำ�ให้แจ้งด้วยปัญญา อันยิ่งเป็นอย่างไร กล่าวคือ วิชช�และวิมุตติ เหล่�น้ี ชอื่ ว่� ธรรมท่ีควรท�ำ ให้แจ้งด้วยปญั ญ�อนั ย่ิง. (ในกรณีแห่งหมวด โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และ มนะ ก็มี ข้อความที่ตรสั ไว้อย่างเดยี วกนั พงึ ขยายความเอาเองให้เตม็ ตามนั้น). ๑๗

พทุ ธวจน-หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ ูกปิด : ปฏิบัติ สมถะ วิปสั สนา เพร�ะไม่รอู้ ริยสัจ 0๖ จึงตอ้ งทอ่ งเที่ยวไปในสังส�รวฏั -บาลี กุ ก. อ.ํ ๒๑/๑/๑, บาลี า า . .ํ ๑๙/๕๔๑/๑ ๙ . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เพร�ะไมร่ ตู้ �มล�ำ ดบั เพร�ะไมแ่ ทง ตลอดซึ่งอริยสัจทั้ง 4 เราและพวกเธอทั้งหลาย จึงได้ ท่องเท่ียวไปแล้วในสังส�รวัฏ ตลอดก�ลยืดย�วน�น ถงึ เพยี งน.้ี ภิกษุทั้งหลาย ก็อริยสัจท้ัง ๔ เป็นอย่างไร คือ ทุกขอริยสัจ ทุกขสมุทยอริยสัจ (เหตุให้เกิดทุกข์) ทุกขนิโรธ อริยสัจ (ความดับไม่เหลือของทุกข์) ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา อริยสัจ (ทางดำาเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์) ท่ีเมื่อไม่รู้ ตามลำาดับและไม่แทงตลอดแล้ว เราและพวกเธอท้ังหลาย จึงได้ท่องเท่ียวไปแล้ว ในสังสารวัฏตลอดกาลยืดยาวนาน ถึงเพยี งนี.้ ภิกษุท้ังหลาย เม่ือทุกขอริยสัจ อันเราและพวกเธอ ทง้ั หลาย รู้ตามลำาดับและแทงตลอดแล้ว เมือ่ ทกุ ขสมุทย- อริยสัจ อันเราและพวกเธอท้ังหลาย รู้ตามลำาดับและแทง ตลอดแลว้ เมอ่ื ทกุ ขนโิ รธอรยิ สจั อนั เราและพวกเธอทง้ั หลาย รตู้ ามลาำ ดบั และแทงตลอดแลว้ เมอ่ื ทกุ ขนโิ รธคามนิ ปี ฏปิ ทา- ๑๘

เปิดธรรมทถ่ี ูกปิด : ปฏิบตั ิ สมถะ วปิ สั สนา อริยสัจ อันเราและพวกเธอทั้งหลาย รู้ตามลำาดับและแทง ตลอดแล้ว ตัณหาในภพก็ถูกถอนข้ึนได้ ตัณหาที่จะนำาไปสู่ ภพใหมก่ ็ส้ินไป บดั นี้ ภพใหมไ่ ม่มอี กี ตอ่ ไป. (สูตรอื่นได้ตรัสเหตุที่ทำาให้ ต้องท่องเท่ียวไปในสังสารวัฏ เพราะไมร่ ู้อริยธรรมสีป่ ระการ ดงั ต่อไปนี้ ) ภิกษุท้ังหลาย เพราะไม่รู้ตามลำาดับ เพราะไม่แทง ตลอดซงึ่ ธรรม 4 ประก�ร เร�และพวกเธอทง้ั หล�ย จงึ ได้ ท่องเท่ียวไปแล้วในสังส�รวัฏ ตลอดก�ลยืดย�วน�น ถึงเพยี งน้ี. ภิกษุท้ังหลาย ธรรม ๔ ประการเป็นอย่างไร คือ ศลี ทเ่ี ปน็ อรยิ ะ สม�ธทิ เ่ี ปน็ อรยิ ะ ปญั ญ�ทเ่ี ปน็ อรยิ ะ และ วมิ ตุ ตทิ เ่ี ปน็ อรยิ ะ ทเ่ี มอ่ื ไมร่ ตู้ �มล�ำ ดบั และไมแ่ ทงตลอดแลว้ เราและพวกเธอทงั้ หลาย จงึ ไดท้ อ่ งเทยี่ วไปแลว้ ในสงั สารวฏั ตลอดกาลยดื ยาวนานถึงเพยี งนี.้ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เมอื่ ศลี ทเี่ ปน็ อรยิ ะ สมาธทิ เี่ ปน็ อรยิ ะ ปัญญาท่ีเป็นอริยะ และวิมุตติท่ีเป็นอริยะ อันเราและ พวกเธอทั้งหลาย รู้ตามลำาดับและแทงตลอดแล้ว ตัณหา ในภพก็ถูกถอนข้ึนได้ ตัณหาที่จะนำาไปสู่ภพใหม่ก็สิ้นไป บัดน้ี ภพใหมไ่ มม่ อี กี ตอ่ ไป. ๑๙

พทุ ธวจน-หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ ูกปดิ : ปฏิบัติ สมถะ วปิ สั สนา เจริญสม�ธิแล้ว จกั รูไ้ ด้ต�มเปน็ จรงิ 07 (นัยที่ 1) -บาลี า า . .ํ ๑๙/๕๒๐/๑ ๕๔. ภิกษุทั้งหลาย เธอท้ังหลาย จงเจริญสม�ธิเถิด ภิกษุผู้มีจิตต้ังม่ันแล้ว ย่อมรู้ได้ต�มคว�มเป็นจริง ก็ภิกษุย่อมรู้อะไรได้ตามความเป็นจริง คือ ย่อมรู้ได้ตาม ความเปน็ จรงิ วา่ นที้ กุ ข์ นท้ี กุ ขสมทุ ยั (เหตใุ หเ้ กดิ ขน้ึ แหง่ ทกุ ข)์ น้ีทุกขนิโรธ (ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์) น้ีทุกขนิโรธคามินี- ปฏิปทา (ทางดาำ เนนิ ให้ถึงความดบั ไม่เหลอื แห่งทุกข)์ . ภกิ ษทุ งั้ หลาย เธอทงั้ หลาย จงเจรญิ สมาธเิ ถดิ ภกิ ษุ ผมู้ จี ิตเป็นสมาธแิ ลว้ ยอ่ มร้ไู ดต้ ามความเป็นจริง. ภิกษุท้ังหลาย เพราะเหตุน้ันแหละ เธอทั้งหลาย พึงกระทำาความเพียรเพื่อรู้ตามความเป็นจริงว่า น้ีทุกข์ น้ีทุกขสมุทัย นที้ กุ ขนิโรธ นท้ี กุ ขนิโรธคามนิ ปี ฏิปทา. ๒๐

พุทธวจน-หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปิด : ปฏบิ ตั ิ สมถะ วปิ ัสสนา เจรญิ สม�ธิแล้ว จักรไู้ ดต้ �มเป็นจรงิ 0๘ (นยั ท่ี ๒) -บาลี า. .ํ ๑ /๑ ๑/๒๔๙. ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลาย จงเจริญสมาธิเถิด ภกิ ษผุ มู้ จี ติ ตง้ั มน่ั แลว้ สง่ิ ทง้ั ปวงยอ่ มปรากฏตามความเปน็ จรงิ กอ็ ะไรเลา่ ย่อมปรากฏตามความเป็นจรงิ คือ จักษุ ย่อมปรากฏตามความเป็นจรงิ ว่า ไม่เทย่ี ง รูป ยอ่ มปรากฏตามความเป็นจริงว่า ไม่เทย่ี ง จักษุวิญญ�ณ ย่อมปรากฏตามความเป็นจริงว่า ไมเ่ ท่ยี ง จักษุสัมผัส ย่อมปรากฏตามความเป็นจริงว่า ไม่เท่ียง แม้สุขเวทน� ทุกขเวทน� หรืออทุกขมสุขเวทน� ทเี่ กดิ ขน้ึ เพราะจกั ษสุ มั ผสั เปน็ ปจั จยั ยอ่ มปรากฏตามความ เป็นจรงิ ว่า ไม่เท่ียง. (ในกรณีแห่งหมวด โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และ มนะ ก็มี ข้อความทต่ี รสั ไว้อยา่ งเดยี วกนั พึงขยายความเอาเองให้เตม็ ตามน้นั ). ภิกษุทั้งหลาย เธอท้ังหล�ย จงเจริญสม�ธิเถิด เพร�ะเมื่อภิกษุมีจิตตั้งมั่นแล้ว ส่ิงท้ังปวงย่อมปร�กฏ ต�มคว�มเป็นจริง. ๒๑

พทุ ธวจน-หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ กู ปิด : ปฏิบตั ิ สมถะ วิปัสสนา เจริญสม�ธแิ ลว้ จักร้ไู ดต้ �มเป็นจรงิ 09 (นยั ท่ี ๓) -บาลี . .ํ ๑๗/๑ -๒๐/๒๗-๒๙. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เธอทง้ั หล�ย จงเจรญิ สม�ธเิ ถดิ ภกิ ษุ ผ้มู จี ิตตัง้ ม่นั แล้ว ย่อมรูช้ ัดต�มเป็นจรงิ กภ็ ิกษยุ อ่ มรชู้ ดั ตามเป็นจริงซ่งึ อะไร คือ ย่อมร้ชู ัดต�มคว�มเป็นจริงซ่งึ คว�มเกดิ และคว�มดบั แหง่ รปู ยอ่ มรชู้ ดั ตามความเปน็ จรงิ ซ่งึ ความเกิดและความดับแห่งเวทน� ย่อมร้ชู ัดตามความ เปน็ จรงิ ซง่ึ ความเกดิ และความดบั แหง่ สญั ญ� ยอ่ มรชู้ ดั ตาม ความเปน็ จรงิ ซง่ึ ความเกดิ และความดบั แหง่ สงั ข�ร ยอ่ มรชู้ ดั ตามความเปน็ จรงิ ซง่ึ ความเกดิ และความดบั แหง่ วญิ ญ�ณ. ภิกษุท้ังหลาย ก็อะไรเป็นคว�มเกิดแห่งรูป ... แห่งเวทนา ...แห่งสัญญา ...แห่งสังขาร ...แห่งวิญญาณ ภิกษุท้ังหลาย บุคคลบางคนในกรณีนี้ ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำาถึง ย่อมดื่มดำ่าอยู่ ก็บุคคลย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำาถึง ย่อมดื่มด่ำาอยู่ ซ่ึงอะไร ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพรำ่�ถึง ย่อมดื่มดำ่�อยู่ซ่ึงรูป เม่ือเขาเพลิดเพลิน พราำ่ ถงึ ดม่ื ดาำ่ อยซู่ ง่ึ รปู ความเพลนิ กเ็ กดิ ขน้ึ ความเพลนิ ใด ในรปู ความเพลนิ นน้ั เปน็ อปุ าทาน เพราะอปุ าทานของเขานน้ั ๒๒

เปิดธรรมทถี่ กู ปิด : ปฏบิ ัติ สมถะ วปิ ัสสนา เปน็ ปจั จยั จงึ มภี พ เพราะภพเปน็ ปจั จยั จงึ มชี าติ เพราะชาติ เปน็ ปจั จยั ชรามรณะ โสกะปรเิ ทวะ ทกุ ขะโทมนสั อปุ ายาสะ ทั้งหลายจึงเกิดขึ้นครบถ้วน ความเกิดข้ึนแห่งกองทุกข์ ท้งั ส้นิ นี้ ย่อมมีด้วยอาการอยา่ งน.้ี (ในกรณขี อง การเกดิ ขน้ึ แหง่ เวทนา แหง่ สญั ญา แหง่ สงั ขาร และ แหง่ วญิ ญาณ กม็ ขี อ้ ความทตี่ รสั อยา่ งเดยี วกนั เปลย่ี นแตช่ อื่ ขนั ธ์ เทา่ นน้ั ). ภิกษุท้ังหลาย นี้เป็นความเกิดแห่งรูป ความเกิด แห่งเวทนา ความเกิดแห่งสัญญา ความเกิดแห่งสังขาร และความเกดิ แหง่ วิญญาณ. ภิกษุทั้งหลาย ก็อะไรเป็นคว�มดับแห่งรูป ... แห่งเวทนา ...แห่งสัญญา ...แห่งสังขาร ...แห่งวิญญาณ ภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในกรณีนี้ ย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พรำ่าถึง ย่อมไม่ด่ืมด่ำาอยู่ ก็บุคคลย่อมไม่ เพลิดเพลิน ย่อมไม่พราำ่ ถงึ ย่อมไมด่ ม่ื ดำ่าอยซู่ ึ่งอะไร ย่อม ไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พรำ่�ถึง ย่อมไม่ด่ืมดำ่�อยู่ซึ่งรูป เม่ือเขาไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำาถึง ไม่ด่ืมดำ่าอยู่ซ่ึงรูป ความ เพลินในรูปย่อมดับ เพราะมีความดับแห่งความเพลิน จงึ มีความดับแห่งอุปาทาน เพราะมีความดับแห่งอปุ าทาน จงึ มคี วามดบั แหง่ ภพ เพราะมคี วามดบั แหง่ ภพ จงึ มคี วาม ๒๓

พุทธวจน-หมวดธรรม ดับแห่งชาติ เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะ ทุกขะโทมนัสอุปายาสะท้ังหลายจึงดับส้ิน ความดบั ลงแหง่ กองทุกขท์ ัง้ สิน้ น้ี ย่อมมดี ว้ ยอาการอยา่ งนี.้ (ในกรณีของ การดับแห่งเวทนา แห่งสัญญา แห่งสังขาร และ แหง่ วญิ ญาณ กม็ ขี อ้ ความทตี่ รสั อยา่ งเดยี วกนั เปลย่ี นแตช่ อ่ื ขนั ธ์ เทา่ นน้ั ). ภิกษุท้ังหลาย น้ีเป็นความดับแห่งรูป ความดับ แห่งเวทนา ความดับแห่งสัญญา ความดับแห่งสังขาร และความดับแหง่ วิญญาณ. ๒๔

พทุ ธวจน-หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี ูกปิด : ปฏิบัติ สมถะ วปิ ัสสนา เจรญิ สม�ธิ ได้ช่ือว�่ กำ�ลงั โน้มเอยี ง 10 ไปส่นู พิ พ�น -บาลี า า . .ํ ๑๙/๓๙๒-๓๙๓/๑๓๐๑-๑๓๐๒. ภิกษุท้ังหลาย เปรียบเหมือนแม่น้ำาคงคา ไหลไป สู่ทศิ ปราจนี หลงั่ ไปสทู่ ิศปราจนี บา่ ไปสู่ทิศปราจีน ฉันใด. ภิกษุเจริญ กระทำาให้มาก ซึ่งฌานท้ัง ๔ ย่อมเป็น ผู้น้อมไปสู่นิพพาน โน้มไปสู่นิพพาน โอนไปสู่นิพพาน ก็ฉันนั้นเหมอื นกัน. ภิกษุท้ังหลาย ก็ภิกษุเจริญ กระทำาให้มากซึ่งฌาน ทง้ั ๔ อยา่ งไร ยอ่ มเปน็ ผนู้ อ้ มไปสนู่ พิ พาน โนม้ ไปสนู่ พิ พาน โอนไปสนู่ พิ พาน. ภิกษุท้ังหลาย ภิกษุในกรณีน้ี สงัดแล้วจากกาม และจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึง ปฐมฌ�น อันมีวิตก วจิ าร มีปตี แิ ละสขุ อนั เกดิ จากวิเวกแลว้ แลอยู่ เพราะความ ท่ีวิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง ทุติยฌ�น เป็นเครื่อง ผอ่ งใสใจในภายใน ให้สมาธเิ ป็นธรรมอนั เอกผุดมขี ึ้น ไม่มี วิตก ไม่มีวิจาร มแี ต่ปีติและสุข อนั เกดิ จากสมาธิแลว้ แลอยู่ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยกาย ๒๕

พทุ ธวจน-หมวดธรรม ชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้น้ันว่า เปน็ ผอู้ ยอู่ เุ บกขา มสี ติ อยเู่ ปน็ สขุ เขา้ ถงึ ตตยิ ฌ�น แลว้ แลอยู่ เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะความ ดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสท้ังสองในกาลก่อน เข้าถึง จตุตถฌ�น อันไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็น ธรรมชาตบิ รสิ ุทธิเ์ พราะอุเบกขา แล้วแลอยู.่ ภิกษุท้ังหลาย ภิกษุเจริญ กระทำ�ให้ม�กซึ่งฌ�น ท้ัง 4 อย่�งนี้แล ย่อมเป็นผู้น้อมไปสู่นิพพ�น โน้มไปสู่ นพิ พ�น โอนไปสนู่ ิพพ�น. ๒๖

พทุ ธวจน-หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี กู ปิด : ปฏบิ ตั ิ สมถะ วิปสั สนา เจรญิ สม�ธิ ไดค้ ว�มอยเู่ ปน็ สขุ ในปจั จบุ นั 11และท่ีสุดแม้แต่คว�มส้นิ อ�สวะ -บาลี กุ ก. อ.ํ ๒๑/๕๗-๕ /๔๑. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย สมาธภิ าวนา ๔ ประการน้ี ๔ ประการ เปน็ อยา่ งไร คอื (๑) สมาธภิ าวนาอนั บคุ คลเจรญิ แลว้ กระทาำ ใหม้ ากแลว้ ยอ่ มเปน็ ไปเพอ่ื อยเู่ ปน็ สขุ ในปจั จบุ นั (ทฏิ ฺ ธมมฺ สขุ วหิ าร) มอี ยู่ (๒) สมาธภิ าวนาอนั บคุ คลเจรญิ แลว้ กระทาำ ใหม้ ากแลว้ ยอ่ มเปน็ ไปเพอ่ื ไดเ้ ฉพ�ะซง่ึ ญ�ณทสั สนะ ( าณทสสฺ นปฏลิ าภ) มอี ยู่ (๓) สมาธภิ าวนาอนั บคุ คลเจรญิ แลว้ กระทาำ ใหม้ ากแลว้ ย่อมเปน็ ไปเพ่ือสตสิ ัมปชญั ญะ (สติสมปฺ ช ฺ ) มีอยู่ (๔) สมาธภิ าวนาอนั บคุ คลเจรญิ แลว้ กระทาำ ใหม้ ากแลว้ ยอ่ มเป็นไปเพ่อื คว�มส้ินอ�สวะ (อาสวกฺขย) มอี ยู่. ภิกษุท้ังหลาย ก็สมาธิภาวนาอันบุคคลเจริญแล้ว กระทาำ ใหม้ ากแลว้ ยอ่ มเปน็ ไปเพอ่ื อยเู่ ปน็ สขุ ในปจั จบุ นั เปน็ อย่างไร ภิกษุท้ังหลาย ภิกษุในกรณีน้ี สงัดแล้วจากกาม และจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึง ปฐมฌ�น อันมีวิตก วจิ าร มีปตี ิและสุข อันเกิดจากวิเวกแลว้ แลอยู่ เพราะความ ที่วิตกวิจารท้ังสองระงับลง เข้าถึง ทุติยฌ�น เป็นเคร่ือง ผอ่ งใสใจในภายใน ใหส้ มาธิเปน็ ธรรมอนั เอกผดุ มีขึ้น ไม่มี ๒๗

พทุ ธวจน-หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปิด : สมถะ วปิ ัสสนา วติ ก ไมม่ วี จิ าร มีแต่ปตี แิ ละสุข อนั เกิดจากสมาธแิ ล้วแลอยู่ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มสี ตแิ ละสมั ปชญั ญะ และยอ่ มเสวยความสขุ ดว้ ยกาย ชนดิ ท่ี พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้น้ันว่า เป็นผู้อยู่ อเุ บกขา มสี ติ อยเู่ ปน็ สขุ เขา้ ถงึ ตตยิ ฌ�น แลว้ แลอยู่ เพราะ ละสขุ เสยี ได้ และเพราะละทกุ ขเ์ สยี ได้ เพราะความดบั ไปแหง่ โสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึง จตุตถฌ�น อันไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความท่ีสติเป็นธรรมชาติบริสุทธ์ิ เพราะอเุ บกขา แลว้ แลอยู่ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย นคี้ อื สม�ธภิ �วน� อันบุคคลเจริญแล้ว กระทำ�ให้ม�กแล้ว ย่อมเป็นไปเพ่ือ คว�มอยู่เป็นสขุ ในปจั จุบัน. ภิกษุท้ังหลาย ก็สมาธิภาวนาอันบุคคลเจริญแล้ว กระทาำ ใหม้ ากแลว้ ยอ่ มเปน็ ไปเพอื่ ไดเ้ ฉพาะซง่ึ ญาณทสั สนะ เปน็ อยา่ งไร ภิกษุในกรณีน้ี ยอ่ มกระทำาไว้ในใจซงึ่ อาโลก- สัญญา อธิษฐานทิวาสัญญา ว่ากลางคืนฉันใด กลางวันก็ ฉันนั้น กลางวันฉันใด กลางคืนก็ฉันน้ัน เธอมีใจอันสงัด ปราศจากเครื่องรัดรึง อบรมจิตให้มีความสว่างอยู่ ภิกษุ ท้ังหลาย น้ีคือสม�ธิภ�วน� อันบุคคลเจริญแล้ว กระทำ� ใหม้ �กแลว้ ย่อมเปน็ ไปเพอ่ื ได้ญ�ณทัสสนะ. ภิกษุทั้งหลาย ก็สมาธิภาวนาอันบุคคลเจริญแล้ว กระทำาให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพ่ือสติสัมปชัญญะเป็น ๒๘