Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระเบียบวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์

ระเบียบวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2020-07-05 11:21:48

Description: ระเบียบวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์
ผู้เขียน รศ.ดร.สมชาย วรกิจเกษมสกุล
ตุลาคม 2554

*
สมชาย วรกิจเกษมสกุล. (๒๕๕๔). ระเบียบวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. อุดรธานี : อักษรศิลป์การพิมพ์.

Keywords: ระเบียบวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์,สมชาย วรกิจเกษมสกุล

Search

Read the Text Version

 ระเบยี บวิธกี ารวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หน้าที่ 89 3.2 ใชเ้ ชอ่ื มโยงระหวา่ งลักษณะความสัมพันธข์ องตวั แปร กบั สมมุตฐิ านการวจิ ัย ท่ีผู้วิจัย ไดค้ าดคะเนคาตอบของปัญหาการวจิ ยั ทจี่ ะเกดิ ข้นึ แล้วดาเนนิ การเกบ็ รวบรวมข้อมูลแลว้ นามาวเิ คราะห์ เพอ่ื ใช้ทดสอบว่าสมมุติฐานนน้ั เปน็ จริงหรอื ไม่ 3.3 เชอื่ มโยงกบั สถิติในการวเิ คราะห์ ท่จี ะต้องระบรุ ะดับการวดั ของข้อมูลแตล่ ะตัวว่า อยใู่ นระดบั ใด หรอื จานวนตวั แปรว่ามีก่ตี วั เพื่อท่ีจะสามารถนามาเลอื กใช้สถิติในการวิเคราะหข์ ้อมลู ไดอ้ ย่างถกู ต้อง และเหมาะสม การวิจยั เปน็ กระบวนการศกึ ษาคณุ ลกั ษณะของตวั แปรหรอื ความสมั พนั ธข์ องตัวแปร ดังน้ันผูว้ ิจยั จะต้องรูว้ ่าตัวแปร คืออะไร ธรรมชาตขิ องตัวแปรแตถ่ ้าผู้วจิ ัยไม่สามารถระบตุ วั แปรได้อย่างชดั เจน หรือ ครอบคลุม ทาให้ผลการวจิ ยั อาจเปน็ “ขอ้ ความรู้ที่ไมน่ ่าเช่ือถือ”(สมหวงั พิธิยานวุ ัฒน์,2535 : 110) 4. ประเภทของตัวแปร ในการวจิ ัย ผู้วิจัยได้จาแนกประเภทของตวั แปรตามเกณฑ์ที่กาหนด ดังน้ี 4.1 จาแนกตามสภาพการณ์ทเี่ กดิ ข้ึน/ความสัมพนั ธ์ จาแนกได้ 4 ลักษณะ ดังนี้ 4.1.1 ตวั แปรอิสระ/ตัวแปรตน้ (Independent Variables)หรือตวั แปรจัดกระทา (Treatment Variables) เปน็ ตัวแปรท่ีผวู้ ิจัยตอ้ งการจะศึกษาและกาหนดขนึ้ ตามหลักการของเหตผุ ล ที่ไดศ้ ึกษาจากแหลง่ ข้อมลู ต่าง ๆ ทคี่ าดคะเนวา่ น่าจะเป็นตัวแปรท่เี ป็นสาเหตุท่กี ่อให้เกิดผลการวิจยั ท่ีหลากหลายเพื่อใช้ตอบปัญหาการวิจยั นั้น ๆ ทเี่ ปน็ ตวั แปรท่มี อี ยตู่ ามธรรมชาติ(ตวั แปรอสิ ระ/ ตวั แปรตน้ ) หรอื เป็นตวั แปรที่ผวู้ จิ ยั ไดจ้ ดั กระทาข้นึ ท่ีใชเ้ ปน็ เงอื่ นไขท่จี ะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหรือ ผลลพั ธท์ ี่ผวู้ จิ ัยตอ้ งการ 4.1.2 ตวั แปรตามหรอื ตวั แปรผล (Dependent Variables) เป็นตัวแปรทีผ่ ู้วิจัยต้องการ จะศกึ ษาผลที่เกิดขนึ้ และจะมคี ่าแปรเปล่ียนไปตามตัวแปรอสิ ระ/ตัวแปรต้นหรือตวั แปรจดั กระทา ทผ่ี ูว้ จิ ัยกาหนด หรอื เปน็ คาตอบหรอื ผลลพั ธ์ของปญั หาการวิจยั ทีผ่ วู้ จิ ยั ต้องการอย่างแทจ้ รงิ ทผ่ี ู้วจิ ัย จาเปน็ ตอ้ งมีการศึกษาคน้ คว้าเปน็ อยา่ งดีก่อนที่จะกาหนดว่าตัวแปรใดเป็นตวั แปรเหตหุ รือตัวแปรผล 4.1.3 ตวั แปรแทรกซ้อน(Extraneous Variables) เป็นตัวแปรท่ผี วู้ ิจยั ไมต่ ้องการท่ีจะ ศึกษาและมักจะเกดิ ข้นึ ในระหวา่ งการวจิ ยั และส่งผลใหเ้ กดิ ความคลาดเคล่ือนในการวจิ ัยเสมอ ๆ แตเ่ ป็น ตวั แปรทผ่ี ้วู จิ ยั สามารถกาจัดหรือควบคุมไมใ่ ห้ส่งผลต่อการวิจยั ไดโ้ ดยการกาจดั ออกจากการทดลอง หรอื วางแผนการทดลองเพ่ือควบคุม หรอื อาจนาเขา้ มาเป็นตัวแปรหนึ่งที่ผ้วู จิ ยั ตอ้ งการศึกษาดว้ ยกไ็ ด้ หรอื อาจจะใช้วิธกี ารทางสถิติในการควบคุมตวั แปรดังกล่าวกไ็ ด้ อาทิ เพศ หรอื อายุของกลมุ่ ตัวอย่าง เปน็ ต้น ดังแสดงในภาพท่ี 4.2

หน้าที่ 90  บทท่ี 4 ตัวแปรและสมมตุ ฐิ าน XY Z ภาพที่ 4.2 ตวั แปรแทรกซ้อน 4.1.4 ตวั แปรสอดแทรก(Intervention Variables) เป็นตวั แปรที่ผวู้ ิจยั ไมต่ ้องการศึกษา แตจ่ ะเกิดขนึ้ ในระหวา่ งการวิจัย และส่งผลใหเ้ กิดความคลาดเคลื่อนในการวจิ ยั เช่นเดยี วกนั และ เป็นตัวแปรที่ผู้วิจัยไมส่ ามารถกาจดั ออก/ควบคมุ จากการวจิ ัยได้เหมือนกบั ตวั แปรแทรกซ้อน อาทิ ความสนใจ แรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธ์ิ หรอื ความวติ กกังวล เปน็ ตน้ ดงั แสดงในภาพที่ 4.3 X1 Z1 X2 Y X1, X2, X3เป็นตัวแปรสาเหตุ Y เป็นตวั แปรผล Z2 X3 Z1 ,Z2 เป็นตวั แปรสอดแทรก ภาพที่ 4.3 ตัวแปรสอดแทรก โดยสรปุ ความสัมพนั ธ์ของตัวแปรที่จาแนกตามสภาพการณ์เกดิ ขน้ึ /ความสัมพันธ์ ดงั แสดงในภาพท่ี 4.4 ตัวแปรต้น ตวั แปรที่ตอ้ งการศึกษา ตวั แปรแทรกซ้อน ตัวแปรไมต่ อ้ งการศึกษา ตัวแปรตาม แต่ควบคุมได้ ตัวแปรสอดแทรก ตัวแปรท่ีไมต่ ้องการศกึ ษา และควบคมุ ไมไ่ ด้ ภาพท่ี 4.4 ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งตัวแปร

 ระเบยี บวธิ กี ารวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หนา้ ที่ 91 ธีระวฒุ ิ เอกะกลุ (2544 : 48)ไดน้ าเสนอลกั ษณะที่แตกต่างกันระหวา่ งตัวแปรต้นกบั ตวั แปรตาม ดังน้ี 1) ตัวแปรอสิ ระเป็นตวั แปรท่ีมมี าก่อน และตัวแปรตามเปน็ ตวั แปรทีม่ าภายหลัง 2) ตวั แปรอสิ ระเปน็ ตัวแปรเหตุ และตัวแปรตามเปน็ ตัวแปรผล 3) ตัวแปรอสิ ระเปน็ ตวั แปรจดั กระทา และตวั แปรอิสระเป็นตวั แปรทว่ี ดั และสงั เกตได้ 4) ตวั แปรอิสระเปน็ ตัวกระตุ้น และตวั แปรตามเป็นตัวแปรตอบสนอง 5) ตวั แปรอสิ ระเป็นตัวแปรทานาย และตัวแปรตามเปน็ ตัวแปรท่ีถูกทานาย 4.2 จาแนกตามลักษณะของข้อมูล จาแนกได้ 2 ลักษณะ ดงั นี้(สมหวัง พิธยิ านุวัฒน,์ 2535 : 104) 4.2.1 ตัวแปรเชิงปรมิ าณ(Quantitative Variables) เปน็ ตัวแปรทแ่ี สดงค่าของข้อมูล แตล่ ะหน่วยเป็นจานวน/หรือตัวเลขทีส่ ามารถนามาใชแ้ สดงการเปรียบเทยี บมากน้อย(ตัวแปรอนั ดบั : Rank Variables)หรือดาเนนิ การดว้ ยวธิ ีการทางคณติ ศาสตร์ได้(บวก ลบ คณู และหาร)(ตัวแปรจานวน :Scale Variable) อาทิ อายุ น้าหนกั รายได้ และผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น เป็นต้น 4.2.2 ตัวแปรเชิงลกั ษณะ(Qualitative Variables) เปน็ ตวั แปรที่แสดงค่าของข้อมูลเป็น คณุ ลกั ษณะท่ีจาแนกตามประเภทหรอื ใช้บรรยายสง่ิ ท่เี กิดขึ้น โดยท่สี ามารถระบุความแตกต่างได้ แตจ่ ะไมส่ ามารถนามาดาเนนิ การทางคณิตศาสตร์ได้ อาทิ เพศ การนับถือศาสนา อาชีพ หรือการดาเนิน กิจกรรมของกลุม่ เป็นต้น 4.3 จาแนกตามความต่อเน่ืองของข้อมูล จาแนกได้ 2 ลักษณะ ดังนี้ 4.3.1 ตัวแปรตอ่ เนอ่ื ง (Continuous Variables) เป็นตัวแปรท่สี ามารถวัดค่าได้ต่อเนอื่ ง ภายในช่วงใดช่วงหนึง่ ที่แสดงความมากหรือน้อยของค่าตัวแปร และสามารถนามาดาเนินการดว้ ย วธิ ีการทางคณิตศาสตร์โดยหาค่าเฉลย่ี ทเ่ี ป็นจานวนทศนิยมได้อย่างมีความหมาย อาทิ อายุ ความยาว น้าหนัก หรอื รายได้ เปน็ ตน้ 4.3.2 ตัวแปรไม่ตอ่ เนอื่ ง (Discrete Variables) เปน็ ตวั แปรท่ีไม่สามารถวัดคา่ ได้ อยา่ งต่อเนือ่ งที่แสดงสัญลักษณ์การจาแนกกลุ่มของสมาชกิ ท่ีมคี ณุ ลักษณะเดยี วกนั เทา่ น้ัน อาทิ เพศ โดยทเี่ พศชาย แทนด้วยตวั เลข “1” และเพศหญิง แทนดว้ ยตวั เลข “2” แตต่ วั เลข “2” ในท่ีนี้ ไม่ไดแ้ สดงความหมายในเชงิ เปรียบเทียบวา่ เป็นตัวเลขท่มี ีค่ามากกว่าตัวเลข “1” 4.4 จาแนกตามประเภทของความรู้ จาแนกได้ 2 ลักษณะ ดังนี้ 4.1 ตัวแปรความคดิ รวบยอด(Concept Variable) เปน็ ตัวแปรที่มคี วามหมายของ คณุ ลกั ษณะหรือปรากฏการณ์ท่ีบุคคลทว่ั ไปรบั รู้ได้อยา่ งชัดเจนและมคี วามสอดคล้องกัน 4.2 ตัวแปรสมมตุ ฐิ าน(Hypothesis Variables) เปน็ ตวั แปรที่มีความหมายเฉพาะบุคคล หรือกลุ่มบุคคลทร่ี บั รู้รว่ มกนั เปน็ รายกรณี อาทิ บคุ ลิกภาพ ความวิตกกังวล เปน็ ตน้ ทใ่ี นบางคร้ัง เรียกตวั แปรนวี้ า่ “ตัวแปรโครงสร้าง(Construct Variable)”

หน้าท่ี 92  บทท่ี 4 ตัวแปรและสมมตุ ิฐาน 4.5 จาแนกตามจานวนตวั แปร จาแนกได้ 2 ลักษณะ ดังนี้ 4.5.1 ตวั แปรทวภิ าค(Dichotomous Variable) เป็นตวั แปรทีม่ คี ่าแตกตา่ งกันเพยี ง สองค่า อาทิ เพศชาย-หญงิ การปฏิบตั ิ-ไมป่ ฏิบัติ เท็จ-จรงิ เป็นต้น 4.5.2 ตวั แปรพหภุ าค(Polytomous Variable) เปน็ ตัวแปรทีม่ คี า่ แตกตา่ งกนั มากกว่า สองค่า อาทิ ศาสนา(พุทธ-คริสต์-ฮนิ ด)ู เชือ้ ชาต(ิ ไทย-จนี -อิสลาม) เปน็ ต้น 4.6 จาแนกตามความเป็นไปไดใ้ นการกาหนด จาแนกได้ 2 ลกั ษณะ ดงั นี้(สมหวัง พิธิยานุวฒั น์, 2535 : 109) 4.6.1 ตัวแปรท่ีกาหนดได้(Active Variable) เป็นตวั แปรท่ีสามารถกาหนดให้แตล่ ะกล่มุ ที่ศกึ ษาได้ อาทิ การปฏิบัติสมาธ/ิ สภาพแวดลอ้ ม ฯลฯ 4.6.2 ตวั แปรท่ไี มส่ ามารถกาหนดได(้ Attribute Variable) เป็นตวั แปรท่ไี ม่สามารถ กาหนดใหแ้ ต่ละกลมุ่ ทศี่ ึกษาได้ อาทิ ระดับเชาว์ปัญญา เพศ ความถนดั ฯลฯ 5. กฎเกณฑ์ของการสรปุ ความสัมพนั ธ์เชิงสาเหตรุ ะหว่างตัวแปร 2 ตวั ในการสรุปความสมั พันธเ์ ชิงสาเหตุระหวา่ งตวั แปร 2 ตวั มีเงือ่ นไขในการพจิ ารณา 3 ประการ ดงั นี้(Rosenthal, and Rosnow, 1991อา้ งอิงใน นงลกั ษณ์ วริ ัชชัย,2543 :256 ) 5.1 กฎการแปรผนั ร่วม(Covariate Rule) ระบุว่าตวั แปรสาเหตุและตวั แปรผลจะต้องมี การแปรผนั รว่ มกนั 5.2 กฎการเกิดก่อน(Temperal Rule)ระบวุ ่าตัวแปรท่ีเป็นสาเหตจุ ะเกดิ ข้นึ ก่อน และตวั แปร ผลจะเกิดขน้ึ ภายหลงั โดยไดร้ ับอิทธิพลจากตวั แปรสาเหตุ 5.3 กฎของความตรงภายใน(Internal-validity Rule) ระบวุ า่ ตวั แปรท่เี ป็นผลต้องได้รับผล จากตวั แปรสาเหตเุ พยี งตัวเดยี วเทา่ น้ัน 6. ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งตัวแปร 6.1. ประเภทของความสัมพันธ์ ความสมั พันธ์ระหวา่ งตัวแปรที่เกิดขึ้นในการวิจยั ใด ๆ จาแนกได้ 3 ประเภท ดังนี้ (สชุ าติ ประสิทธิ์รัฐสนิ ธุ์,2546 : 67-68) 6.1.1 ความสัมพันธแ์ บบสมมาตร (Symmetical Relationship) เปน็ ความสมั พันธท์ ่ี เท่าเทยี มกันท่ีไม่สามารถระบุได้วา่ ตัวแปรใดเป็นเหตุ หรือเป็นผล หรือเปน็ ตวั แปรตน้ หรือตาม เพียงแต่ทราบว่าตวั แปรท้งั สองมคี วามสมั พันธก์ นั เท่านั้น 6.1.2 ความสัมพนั ธแ์ บบอสมมาตร(Asymmetical Relationship) เป็นความสมั พันธ์ ระหวา่ งตวั แปรทเี่ ปน็ แบบทางเดยี วในลักษณะของตัวแปรหนง่ึ เป็นเหตแุ ละอกี ตัวแปรหน่ึงจะเปน็ ผล กลา่ วคือ ตัวแปรหน่งึ จะเป็นตัวแปรตน้ ที่สง่ ผลใหเ้ กิดตัวแปรตามอีกตัวหนงึ่

 ระเบยี บวธิ กี ารวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หน้าที่ 93 6.1.3 ความสมั พนั ธแ์ บบสง่ ผลตอ่ กนั และกนั (Reciprocal Relationship) เป็น ความสมั พันธร์ ะหว่างตวั แปรทเ่ี ปน็ แบบสองทาง ในลักษณะของการเปน็ เหตแุ ละผลซงึ่ กันและกัน โดยทไ่ี ม่ทราบอย่างชดั เจนว่าตวั แปรใดเป็นตัวแปรตน้ หรอื ตัวแปรใดเป็นตัวแปรตาม โดยที่ความสัมพันธข์ องตัวแปรทัง้ 3 ประเภท แสดงได้ดงั ภาพที่ 4.5(สชุ าติ ประสิทธ์ิรัฐสนิ ธุ,์ 2546 : 67-68) A BA BA B ความสมั พนั ธ์ ความสมั พนั ธ์ ความสัมพันธ์ แบบสมมาตร แบบอสมมาตร แบบสง่ ผลตอ่ กนั และกนั ภาพท่ี 4.5 ประเภทความสมั พนั ธ์ของตัวแปร 6.2 จานวนและลกั ษณะของความสมั พนั ธ์ ในงานวจิ ยั ใด ๆ จะมีตวั แปรท่ีเข้ามาเกีย่ วข้องไมเ่ ทา่ กันและมีลกั ษณะความสัมพนั ธ์ ทแี่ ตกต่างกัน ซึง่ การไดท้ ราบจานวนตวั แปรและลักษณะความสัมพนั ธ์ทเ่ี กดิ ขึน้ จะทาให้ผู้วจิ ัยได้ มองเห็นภาพรวมของตัวแปรทช่ี ดั เจนท่จี ะสามารถนาไปพิจารณาแนวทางในการวัด และเลือกสถติ ทิ ีใ่ ช้ วิเคราะหข์ ้อมลู ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและเหมาะสมมากขึ้น ซ่ึงมรี ายละเอยี ด ดังนี้(พชิ ิต ฤทธจ์ิ รูญ, 2543 : 97-99) 6.2.1 ความสัมพันธร์ ะหวา่ งตวั แปรต้น 1 ตัวและตัวแปรตาม 1 ตัว เป็นความสมั พนั ธ์ ทีต่ วั แปรต้น 1 ตัวส่งผลตอ่ ตวั แปรตามท่ีเกดิ ขึ้นเพยี ง 1 ตัว ดังแสดงในภาพที่ 4.6(พชิ ติ ฤทธ์ิจรญู , 2543 : 97) AB ภาพที่ 4.6 ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งตวั แปรต้น 1 ตวั กบั ตวั แปรตาม 1ตัว

หน้าท่ี 94  บทท่ี 4 ตัวแปรและสมมุตฐิ าน 6.2.2 ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งตัวแปรต้น 1 ตวั และตัวแปรตามหลายตัว เป็นความสัมพนั ธ์ ทม่ี ตี ัวแปรต้นเพยี ง 1 ตวั แต่ส่งผลใหเ้ กิดตัวแปรตามหลายตัว ดังแสดงในภาพที่ 4.7(พิชิต ฤทธ์จิ รูญ, 2543 : 98) B1 A B2 B3 ภาพที่ 4.7 ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งตวั แปรต้น 1 ตวั กับตัวแปรตามหลายตัว 6.2.3 ความสมั พันธร์ ะหว่างตัวแปรต้นหลายตัวที่ส่งผลต่อตัวแปรตามตัวเดยี ว เป็น ความสมั พันธท์ ่ีมตี วั แปรต้นหลายตัวสง่ ผลตอ่ ตัวแปรตามเพียงตัวเดียว ดังแสดงในภาพที่ 4.8 (พชิ ิต ฤทธิ์จรูญ, 2543 : 98) A1 A2 B1 A3 ภาพท่ี 4.8 ความสัมพันธร์ ะหวา่ งตัวแปรต้นหลายตวั กบั ตัวแปรตามตัวเดียว

 ระเบียบวิธกี ารวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หนา้ ท่ี 95 6.2.4 ความสมั พันธ์ระหว่างตัวแปรตน้ หลายตวั ที่ส่งผลตอ่ ตัวแปรตามหลายตัว เปน็ ความสมั พนั ธท์ ่ีตัวแปรตน้ หลายตัวสง่ ผลตอ่ ตัวแปรตามหลายตัวเช่นเดียวกนั ดงั แสดงในภาพท่ี 4.9 ( พชิ ิต ฤทธจ์ิ รูญ, 2543 : 99) A1 B1 A2 B2 A3 B3 ภาพที่ 4.9 ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งตัวแปรต้นหลายตัวกับตัวแปรตามหลายตัว 6.3 ลักษณะของความสัมพันธร์ ะหวา่ งตวั แปร ในความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ไดจ้ าแนกลักษณะของความสัมพนั ธ์ ดังนี้ 6.1 ความสมั พันธ์ในเชิงบวก(Positive Relationship) เปน็ ความสัมพนั ธใ์ นลกั ษณะ ทีส่ อดคล้องกนั คอื ค่าของตัวแปรหน่ึงเพม่ิ ข้ึนอีกตวั แปรหน่ึงกจ็ ะเพิม่ ขนึ้ ด้วย หรือถา้ ตัวแปรหนง่ึ ลดลงอีก ตัวแปรหนึ่งกจ็ ะลดลงดว้ ย และเม่ือนาค่าของตัวแปรท้งั สองไปหาสัมประสิทธิส์ หสัมพันธจ์ ะได้คา่ ออกมา เป็นจานวนจรงิ บวก และถ้านาไปเขยี นกราฟความสมั พนั ธ์ระหว่างตวั แปรจะได้กราฟดังแสดงใน ภาพที่ 4.10 y x ภาพที่ 4.10 ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งตัวแปรในเชงิ บวก

หนา้ ท่ี 96  บทที่ 4 ตัวแปรและสมมุตฐิ าน 6.2 ความสมั พันธใ์ นเชงิ ลบ(Negative Relationship) เปน็ ความสมั พนั ธ์ในลกั ษณะ ทีข่ ัดแย้งกนั คือ ค่าของตวั แปรหนึง่ เพม่ิ ขนึ้ แต่อกี ตัวแปรหนึ่งก็จะลดลง และเม่ือนาค่าของตวั แปรท้ังสอง ไปหาสัมประสิทธส์ิ หสัมพันธ์จะได้ค่าออกมาเป็นจานวนจรงิ ลบ และถ้านาไปเขียนกราฟความสัมพันธ์ ระหวา่ งตัวแปรจะไดก้ ราฟดงั แสดงในภาพที่ 4.11 y x ภาพท่ี 4.11 ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งตวั แปรในเชิงลบ 6.3 ความสมั พันธ์เป็นศนู ย์(Zero Relationship) เปน็ ความสมั พนั ธ์ในลกั ษณะที่ ไมเ่ กย่ี วข้องกนั คือ ค่าของตัวแปรหนง่ึ เพมิ่ ขน้ึ หรอื ลดลงไม่เกย่ี วขอ้ งกับเพิม่ ขนึ้ หรือลดลงตัวแปรหน่งึ และ เมือ่ นาคา่ ของตวั แปรท้ังสองไปหาสมั ประสิทธิ์สหสัมพนั ธจ์ ะได้คา่ ออกมาเป็นศูนยแ์ ละถ้านาไปเขียนกราฟ ความสมั พันธ์ระหว่างตวั แปรจะได้กราฟดังแสดงในภาพท่ี 4.12 y x ภาพที่ 4.12 ความสมั พันธร์ ะหว่างตัวแปรเปน็ ศนู ย์

 ระเบยี บวิธกี ารวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หนา้ ท่ี 97 7. การกาหนดความหมายของตัวแปร 7.1 การกาหนดความหมายของตัวแปร การกาหนดความหมายของตัวแปร เป็นการใช้ข้อความ/ถอ้ ยคาอธบิ ายความหมายของ ตวั แปรในการดาเนินการวิจัยทม่ี ีลกั ษณะเปน็ นามธรรมให้อยใู่ นลักษณะของรูปธรรม(เชงิ ปฏิบัตกิ าร) ทผี่ ูว้ ิจยั หรือบคุ คลท่ีสนใจและศกึ ษางานวจิ ัยจะสามารถจะทาความเข้าใจรว่ มกนั ได้อยา่ งถูกตอ้ ง และ ชัดเจน และจะต้องเปน็ ตวั แปรทีส่ ามารถวดั และสงั เกตคา่ ได้ ดังแสดงการกาหนดความหมายของตัวแปรในภาพที่ 4.13( สุวิมล ตรกิ านันท์, 2543 : 103) ทฤษฏี หลกั การ ลกั ษณะ/พฤตกิ รรม แนวคดิ และ ทแ่ี สดงออก ผลงานวิจัย ตัวแปรเชิง การนยิ าม การนยิ าม โครงสร้าง ตวั แปรเชงิ ทฤษฏี ตัวแปรเชงิ ปฏิบตั ิการ ไมส่ ามารถระบุ สามารถระบุ สามารถระบุ รปู รา่ งทช่ี ัดเจน รปู ร่างทช่ี ัดเจน รปู รา่ งท่ชี ดั เจน แต่ยังไมส่ ามารถวัด ทีส่ ามารถวดั และ และสงั เกตได้ สงั เกตได้ ภาพที่ 4.13 การนิยามตัวแปรเชิงโครงสรา้ งเป็นนยิ ามเชงิ ปฏบิ ตั ิการ

หน้าท่ี 98  บทท่ี 4 ตัวแปรและสมมุตฐิ าน 7.2 ประเภทของการกาหนดความหมายของตวั แปร ในการนยิ ามตวั แปรในงานวจิ ยั ใด ๆ จาแนกประเภทของการนยิ ามเป็น 2 ประเภท ดังนี้ (Kerlinger, 1979 : 41-42 ; ปารชิ าต สถาปิตานนท,์ 2546 : 103) 7.2.1 การกาหนดความหมายเชงิ โครงสรา้ ง(Constructional Definition) หรอื การกาหนดเชงิ ทฤษฏี (Theorical Definition ) หรอื การกาหนดเชิงความคดิ รวบยอด(Conceptual Definition )เป็นการกาหนดความหมายโดยใช้ภาษาเชิงวิชาการตามพจนานุกรม ท่แี สดงองคป์ ระกอบ หรือโครงสร้างทีม่ ีความเปน็ นามธรรมค่อนข้างสงู ไม่ชดั เจนและในบางคร้ังอาจจะไมส่ ามารถดาเนนิ การวดั และสงั เกตได้ตามวตั ถปุ ระสงค์ 7.2.2 การกาหนดความหมายเชิงปฏบิ ัติการ(Operational Definition) เป็นการกาหนด ความหมายท่ีเฉพาะเจาะจงในลกั ษณะรูปธรรมทชี่ ดั เจนทสี่ ามารถดาเนนิ การ/ปฏิบตั ไิ ด้ และสามารถ วดั และสงั เกตคา่ ได้ โดยใชเ้ ครื่องมือท่ีสร้างและพัฒนาขึ้นระบุตวั บ่งชีไ้ วอ้ ย่างชดั เจนเพ่ือการออกแบบ การวัด มลี กั ษณะใกลเ้ คยี งกับการเขียนจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม โดยทใี่ นการกาหนดความหมาย จะประกอบดว้ ย ดังนี้ 7.2.2.1 คุณลกั ษณะ หรอื องค์ประกอบของตัวแปรน้นั ๆ 7.2.2.2 พฤติกรรมทแ่ี สดงออกภายใตส้ ภาวการณห์ รือเง่ือนไขท่ีไดก้ าหนดขนึ้ อยา่ งเหมาะสม 7.2.2.3 สถานการณ์หรอื ส่งิ เรา้ ทีเ่ ป็นเง่ือนไขหรือสภาวการณท์ ่เี หมาะสมทจ่ี ะกระตนุ้ ใหเ้ กิดพฤตกิ รรมที่แสดงออกที่จะสามารถวัดและสังเกตได้ 7.2.2.4 เกณฑ์ท่ีใชใ้ นการพิจารณา ว่า พฤติกรรมท่ีแสดงออกมีความหมายอย่างไร สอดคลอ้ งกบั จดุ มุ่งหมายหรือไม่ อยา่ งไร นงลกั ษณ์ วริ ชั ชยั (2543 : 162-165) ไดจ้ าแนกประเภทของคานยิ ามของตวั แปรท่ีคล้ายกนั ดังนี้ 1) คานิยามเชงิ องคป์ ระกอบ(Constitutive Definition) เปน็ การให้ความหมายของความคดิ รวบยอดใหม่จากความคิดรวบยอดเดิมทแ่ี สดงลักษณะเฉพาะส่วนท่เี ป็นองค์ประกอบ หรอื โครงสรา้ ง ทใ่ี ชเ้ ชอ่ื มโยงตวั แปรตามทฤษฎีกบั ตัวแปรในการวจิ ยั 2) คานยิ ามเชงิ ปฏบิ ัติการ(Operational Definition) เป็นการใหค้ วามหมายทีร่ ะบุกิจกรรมหรือ วิธีการท่ีจะใช้ในการสงั เกตหรือวดั ตวั แปรน้นั ๆ โดยการเชอื่ มโยงตวั แปรในการวิจยั กบั การปฏิบตั ิ ในการสงั เกตหรือการวัดตัวแปรน้ัน ๆ ในการกาหนดคานยิ ามเชงิ ปฏิบตั ิการท่ดี ใี ด ๆก็ตามไม่สามารถทจี่ ะทาให้เกิดความครบถ้วน ในตัวแปรเชงิ โครงสร้างได้ แต่ในการกาหนดน้ันจาเป็นจะต้องมีความรอบคอบเนื่องจากคานิยามเชิง ปฏบิ ัตกิ ารจะเป็นการเชอ่ื มโยงระหวา่ งทฤษฎีและการปฏบิ ัติ ดังน้นั ถา้ กาหนดคานยิ ามเชิงปฏิบตั ิการท่ี ไม่ถูกตอ้ งย่อมมีผลกระทบต่อความเท่ยี งตรงและความเชอ่ื มั่นของการวิจัยน้ัน ๆ

 ระเบียบวธิ กี ารวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หนา้ ท่ี 99 7.3 หลกั การของการกาหนดคานิยามเชิงปฏิบัติการ ปาริชาต สถาปิตานนท์(2546 : 107-108) และบญุ ใจ ศรสี ถติ ยน์ รากูล(2547 : 61)ได้ นาเสนอหลักการของการกาหนดคานิยามเชิงปฏบิ ตั ิการ ดงั น้ี 7.3.1. การกาหนดคานิยามเชิงปฏบิ ัตกิ าร(Operational Definition) ตอ้ งกาหนดข้นึ บนพืน้ ฐานของคานยิ ามเชงิ มโนทัศน์ของตัวแปรนั้น ๆ ดงั นั้นเม่ือจะกาหนดคานยิ ามเชิงปฏบิ ตั กิ าร ควรศึกษาแนวคดิ หรอื ทฤษฏเี ก่ียวกับตัวแปรนัน้ ๆให้ชดั เจน เพราะถา้ คานยิ ามเชงิ ปฏิบัติการมี ความสอดคล้องกบั คานยิ ามเชิงมโนทัศนแ์ ล้วจะทาให้เกิดความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ท่ีสามารถ แสดงความสมั พันธร์ ะหวา่ งคานยิ ามเชิงมโนทศั น์ คานยิ ามเชงิ ปฏิบัตกิ าร และเคร่ืองมือที่ใช้ใน การวจิ ัย ดังแสดงในภาพที่ 4.14(บุญใจ ศรีสถติ ย์นรากูล(2547 : 61) คานิยามเชงิ มโนทัศน์ คานยิ ามเชิงปฏบิ ตั กิ าร เคร่ืองมือทใี่ ชใ้ นการวิจัย ภาพท่ี 4.14 ความสัมพันธร์ ะหวา่ งคานยิ ามเชงิ มโนทัศน์ คานยิ ามเชิงปฏบิ ัติการ และเคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย 7.3.2 การกาหนดคานยิ ามเชิงปฏบิ ัตกิ ารของตัวแปรตอ้ งคานึงถึงขอบเขตของการวจิ ยั และมีความสอดคล้องกับประชากรของการวิจัย 7.3.3 การกาหนดคานิยามเชิงปฏิบตั กิ ารของตวั แปรทีน่ ามาใชส้ ร้างเคร่ืองมือ เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู จะต้องกาหนดในลักษณะพฤติกรรม/การแสดงออกทสี่ ามารถวัดและสังเกต ได้อย่างชดั เจน 7.3.4 การกาหนดคานิยามเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารของตัวแปรในการทดลอง จะต้องกาหนด ในลกั ษณะทสี่ ามารถนามาดาเนินการทดลองได้อย่างเป็นรูปธรรม พิชิต ฤทธิจ์ รูญ(2544 :101-105)ระบวุ า่ การนยิ ามเชิงปฏบิ ัตกิ าร ผวู้ ิจัยสามารถนยิ ามได้ 3 ลักษณะ ดงั น้ี 1) นยิ ามโดยการกาหนดเง่ือนไขทจ่ี ะเปน็ สาเหตใุ นการนาไปสปู่ รากฏการณ์ หรือสิง่ ท่ตี ้องการให้ นิยาม 2) นยิ ามโดยการสร้างพฤติกรรม เพ่ือระบลุ ักษณะของคุณสมบัตทิ ่ีสามารถเคลื่อนไหวได้ หรือ คุณสมบตั ิท่ีคงท่ี 3) นยิ ามในเชงิ รปู ธรรมของส่ิงทว่ี ัด และระบวุ ิธกี ารเก็บรวบรวมขอ้ มูล

หนา้ ท่ี 100  บทที่ 4 ตัวแปรและสมมุติฐาน สวุ ิมล ตรกิ านันท(์ 2543 : 102)ได้นาเสนอปัญหาในการนิยามเชิงปฏิบตั ิการ ดงั นี้ 1) การนยิ ามความหมายของตวั แปรในลกั ษณะของรปู ธรรม(ทว่ี ัดได้)ได้หลากหลายมติ ิ 2) ตวั แปรทีน่ ยิ ามมลี ักษณะทห่ี ลากหลาย(Nebulous Concept)ไมใ่ ชโ่ ครงสรา้ งเดยี่ ว (Single Concept) ดงั นน้ั ผวู้ จิ ยั จะตอ้ งนิยามความหมายตัวแปรใหช้ ดั เจน 8. วธิ กี ารกาหนดตัวแปร การกาหนดตัวแปรในการวิจยั มีวิธกี ารทีใ่ ชเ้ ปน็ แนวทางการปฏบิ ัติ ดังน้ี 8.1 ใช้แนวคิด หลกั การ ทฤษฎี หรอื งานวจิ ยั ท่เี ก่ยี วขอ้ ง เป็นวธิ กี ารใหค้ วามหมายของตวั แปร จากข้อมลู ที่ไดจ้ ากการศึกษาเอกสารแนวคดิ หลกั การ ทฤษฎี หรืองานวจิ ัยของผู้วิจยั ทศี่ ึกษาแล้วมา วเิ คราะห์และอธิบายตัวแปรท่ีนามาศึกษาในงานวจิ ัยของตนเอง 8.2 ใช้ขอ้ เทจ็ จริงทีไ่ ด้จากการเก็บรวบรวมข้อมลู เบื้องต้น เปน็ วิธกี ารให้ความหมายของ ตวั แปรทใ่ี หม่ ๆ ไม่มีผู้วิจัยคนใดได้ศึกษามาก่อน และไมส่ ามารถใช้แนวคิด หลักการ หรือทฤษฎีใด ๆ อธิบายได้ โดยมีขน้ั ตอนการดาเนนิ การ ดังน้ี 8.2.1 เลือกกลุ่มตัวอย่างที่คาดว่าจะเป็นกลุ่มที่มีคุณลกั ษณะ หรือมีความรเู้ กีย่ วกบั คุณลักษณะนั้น ๆ 8.2.2 กาหนดคณุ ลกั ษณะนน้ั โดยการเก็บรวบรวมข้อมลู จากกลมุ่ ตัวอยา่ ง 8.2.3 นาขอ้ มลู ทเ่ี ก็บรวบรวมมาวเิ คราะห์เพอื่ หาองคป์ ระกอบทีส่ าคญั ของคุณลกั ษณะ นั้น ๆ เพื่อนามาใชก้ าหนดความหมายของตัวแปรทช่ี ดั เจนต่อไป สมหวัง พิธิยานวุ ัฒน์(2541 : 64-65)ได้นาเสนอแนวปฏบิ ัติในการกาหนดตัวแปรเพื่อการวัด ในการวจิ ัย ดงั น้ี 1) เลือกและกาหนดปญั หาการวิจัยอย่างชดั เจนโดยการกาหนดขอบเขต แล้วใชค้ วามคดิ เชิงระบบ และผลการศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกีย่ วข้องเป็นแนวทางในการกาหนดตวั แปร ในการวจิ ยั 2) เกณฑ์ในการพจิ ารณาคดั เลอื กตัวแปร (1) ตวั แปรที่สาคัญจะสอดคล้อง(Relevancy)กับปัญหาการวจิ ยั ที่สนใจศึกษา (2) กาหนดตวั แปรหลักที่ไมม่ ากเกนิ ไปแตจ่ ะต้องครอบคลุม(Coverage)ปญั หาการวิจยั มฉิ ะนัน้ จะเกิดปัญหาในการวัดค่าตัวแปร (3) พิจารณาว่าตวั แปรที่กาหนดสามารถวดั ได้อย่างถกู ต้อง(Measurable) 3) ตัวแปรแทรกซอ้ น(Extraneous Variables)ท่ีจะต้องกาจัดมีอะไรบ้าง และจะดาเนินการ อยา่ งไร 4) ให้คานิยามเชิงปฏิบัตกิ าร(Operational Definition)แก่ตวั แปรว่า จะดาเนนิ การอย่างไร และจะวดั ค่าตวั แปรทีต่ ้องการได้อยา่ งไร

 ระเบียบวิธีการวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หน้าท่ี 101 5) กาหนดวธิ ีการวดั ทีเ่ หมาะสม มีดงั นี้ (1) จากการทดลองทมี่ ีการจัดกระทา/สร้างสถานการณ์แลว้ พิจารณาผลจากการทดสอบ การสังเกต การสมั ภาษณ์ หรือการสอบถามที่สอดคล้องกบั สภาพของปัญหาการวิจยั และธรรมชาติ ของตวั แปรทตี่ ้องการวดั (2) จากสภาพธรรมชาติ ท่ีไม่ไดม้ กี ารจัดกระทาหรือเปน็ ธรรมชาติ จะพจิ ารณาผลโดยใช้ การทดสอบ การสงั เกต การสัมภาษณ์ หรือการสอบถามทสี่ อดคล้องกับสภาพของปญั หาการวจิ ยั และ ธรรมชาติของตัวแปรที่ตอ้ งการวดั ในสถานการณ์ทเี่ ปน็ ธรรมชาติ ศิรชิ ัย กาญจนวาส(ี 2541:38) ไดน้ าเสนอความสัมพันธ์ระหว่างการกาหนดปัญหาการวจิ ัย และตวั แปรว่า ในการวิจยั ใด ๆ การวิเคราะหป์ ญั หาของการวิจยั จะเชื่อมโยงกับสมมตุ ฐิ านทไ่ี ดจ้ ากทฤษฏี ที่เกี่ยวข้องหรอื ความรูท้ ่ีมีอยู่ทจ่ี ะทาให้ได้ตวั แปรที่ชดั เจนจากการคัดเลือกตัวแปรทั้งหมดทต่ี ้องการวัดหรือ ทตี่ ้องการจะควบคมุ ในการวิจัย ดังแสดงในภาพท่ี 4.15( ศิรชิ ยั กาญจนวาสี,2541:38) หวั ข้อของการวจิ ัย ประเดน็ ปญั หาของการวจิ ยั ทฤษฏที เ่ี กยี่ วข้อง สมมตุ ิฐาน ความรทู้ มี่ อี ยู่ ตัวแปร การคัดเลือก การควบคุม การวดั ภาพท่ี 4.15 ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งการกาหนดปัญหาการวิจัย และตัวแปร

หนา้ ที่ 102  บทท่ี 4 ตวั แปรและสมมตุ ิฐาน 9. ประเดน็ ท่ีควรพจิ ารณาในการวดั ตัวแปร ในการวดั ตวั แปรมีประเด็นท่ีควรพจิ ารณาในการดาเนนิ การ ดงั นี้(ปาริชาต สถาปิตานนท,์ 2546 : 161-162) 9.1 ระดบั การวดั ของข้อมลู เนือ่ งจากระดับการวัดของขอ้ มูลจะช่วยใหส้ ามารถเลือกใช้สถติ ิ ทเ่ี หมาะสมในการวิเคราะห์ข้อมลู ดงั นนั้ จะต้องพิจารณาลว่ งหน้าว่าข้อมูลอยู่ในระดับใด ถงึ แม้ว่าจะ สามารถเปลี่ยนแปลงระดับการวดั ของข้อมลู จากระดบั สูงกว่ามาสู่ระดบั ท่ีต่ากว่า แต่กไ็ มส่ ามารถแปลงจาก ระดับการวดั ตา่ เป็นระดับมาตรการวัดสงู ได้ หรอื ในกรณีกาหนดระดับการวดั ของข้อมลู ให้อย่ใู นระดับสูง เพือ่ เลือกใช้สถติ ิทม่ี ีอานาจการทดสอบสงู แตจ่ ะเสียเวลาในการสรา้ งเคร่ืองมือท่ีค่อนข้างยุ่งยากและ ซับซ้อนกว่า 9.2 มุมมองในการวัดตวั แปร ในการศึกษาตัวแปรใด ๆ จะต้องพจิ ารณาวา่ ตัวแปรทตี่ ้องการ ศกึ ษามคี ุณลักษณะท่ีชดั เจนหรือมีมุมมองก่ดี า้ น เพื่อกาหนดข้อคาถามที่เหมาะสมกบั การวัดคา่ ตัวแปรนน้ั มีหลักในการพิจารณา ดังนี้ 9.2.1 มตี ัวแปรที่ชดั เจนจานวนหนง่ึ ทมี่ ีมุมมองเดียวจะใชค้ าถามเพยี งคาถามเดียว อาทิ เพศ ระดับการศึกษา ระดับรายได้ เปน็ ตน้ 9.2.2 มตี ัวแปรทม่ี ีความซับซ้อน ท่ีมีมุมมองหลายคุณลกั ษณะทีไ่ ม่สามารถวัด คา่ ตวั แปรไดโ้ ดยตรงจะต้องใช้การวัดทางอ้อม เพื่อใหไ้ ดค้ าตอบทถ่ี ูกต้อง ชัดเจนและสอดคล้องกับ กรอบแนวคิดทฤษฏีทนี่ ามาใชม้ ากทส่ี ดุ ท่ีอาจจะเปน็ การกาหนดประเด็นคาถามหลายประเดน็ ท่วี ดั เพยี งตัวแปรเดยี ว หรอื การกาหนดประเดน็ หลายประเดน็ ที่วดั ตวั แปรเดียวแตใ่ นแต่ละประเด็นยังมีมุมมอง ยอ่ ย ๆ ที่ต้องกาหนดดว้ ย 10. การควบคมุ ตวั แปร ในการวิจัยใด ๆ จาเปน็ จะตอ้ งมกี ารควบคมุ ตัวแปรเพ่อื ใหไ้ ดผ้ ลการวจิ ัยที่เกดิ ขึ้นจากตัวแปร ทตี่ ้องการศึกษาเทา่ น้ัน ดังน้นั จะตอ้ งมีวธิ ีการในการควบคมุ ตวั แปรในการวิจัย ดงั น้ี(ศิริชยั กาญจนวาส.ี 2541:48-51)

 ระเบียบวธิ กี ารวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หน้าท่ี 103 10.1 วธิ ีควบคมุ ตัวแปรแทรกซอ้ นทเ่ี ป็นปัจจยั ภายในของกลุ่มตัวอยา่ ง 10.1.1 การจัดกระทาแบบสมุ่ (Randomization)เป็นการสุ่มตวั อย่างจากประชากรมาใช้ ในการวิจยั ทใี่ ช้หลกั การความนา่ จะเป็น ดงั แสดงในภาพที่ 4.16(ศริ ชิ ัย กาญจนวาส,ี 2541:48) สุม่ กลุ่มที่ 1 ตัวแปรตน้ ตัวแปรตาม ประชากร กลมุ่ ตัวอย่าง X1 Y1 สุ่ม X2 Y2 สมุ่ กลุ่มท่ี 2 ภาพท่ี 4.16 การจดั กระทาแบบส่มุ การนาตวั แปรควบคุม(ระดับ)มาเปน็ ตวั แปรอสิ ระ/ต้นท่ีศกึ ษาเพ่ือเปรียบเทยี บระหว่างระดับของ ตัวแปร ดังแสดงในภาพที่ 4.17( ศริ ิชยั กาญจนวาสี, 2541:49) ประชากร กลมุ่ ตัวอย่าง ระดบั ที่ 1 ตวั แปรต้น ตัวแปรตาม ระดบั ที่ 1(A) ระดบั ท่ี 2 สุ่ม ระดบั ที่ 1 สมุ่ ระดับที่ 3 X1 Y1 ระดับ ท่ี 2(B) ระดับท่ี 2 ระดบั ท่ี 1 X2 Y2 ระดับ ที่ 3(C) ระดบั ที่ 3 ระดับท่ี 2 ระดบั ที่ 3 ภาพท่ี 4.17 การนาตัวแปรควบคุม(ระดับ)มาเป็นตวั แปรที่ศึกษา

หน้าที่ 104  บทที่ 4 ตวั แปรและสมมตุ ฐิ าน 10.1.3 การทาให้ตัวแปรควบคมุ คงท่ี ดงั แสดงในภาพท่ี 4.18(ศิริชยั กาญจนวาส,ี 2541:49) กลุ่มตวั อย่าง ตวั แปรตน้ ตวั แปรตาม ประชากร สมุ่ ระดับท่ี 2 X1 Y1 ระดบั ที่ 1(A) สุม่ ระดับที่ 2 X2 Y2 ระดับ ท่ี 2(B) ระดับ ที่ 3(C) ระดับที่ 2 ภาพท่ี 4.18 ทาใหต้ วั แปรควบคุมคงท่ี 10.1.4 การปรบั คา่ ทางสถติ ิเปน็ การใช้สถติ ใิ นการควบคุม อาทิ ใชก้ ารวเิ คราะห์ความแปรปรวน ร่วม(Analysis of Covariance : ANCOVA)ในการเปรยี บเทยี บผลหลังการทดลองระหว่างกลุม่ ทดลอง กบั กลมุ่ ควบคมุ เปน็ ต้นดังแสดงในภาพท่ี 4.19(ศริ ชิ ัย กาญจนวาส,ี 2541:50) ตวั แปรควบคุม ตัวแปรตาม(เดิม) ตวั แปรอิสระที่ศึกษา ตัวแปรตาม(ปรับใหม)่ (ขจดั อิทธพิ ลของ ตวั แปรควบคุม) ภาพท่ี 4.19 การปรบั คา่ ทางสถติ ิ 10.1.5 การตัดทิ้ง(Elimination) เปน็ การดาเนนิ การวจิ ัยโดยใช้วิธกี ารเลือกศึกษาเฉพาะตัวแปร ในบางลักษณะหรือระดับใดระดบั หน่ึงของตัวแปรนน้ั ๆ อาทิ ในการวิจยั พบวา่ เพศมีผลต่อตัวแปร ท่ศี ึกษา ดังน้ันผวู้ จิ ยั อาจเลอื กศึกษาเฉพาะเพศหญิง หรือเพศชายเทา่ นัน้

 ระเบียบวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หนา้ ท่ี 105 10.2 วธิ คี วบคมุ ตัวแปรแทรกซอ้ นจากผ้ทู ดลองและกลุ่มตวั อยา่ ง มี ดังน้ี (บุญใจ ศรีสถติ นรากรู , 2547 : 111) 10.2.1 การดาเนินการวิจัยโดยมีผู้วิจยั เป็นผู้ร่วมทดลองหลายคน เพ่ือขจดั ความลาเอยี ง ที่เกิดขน้ึ จากผู้วจิ ยั คนใดคนหนึ่ง ท่ีจะต้องมีการจดั เตรยี ม/ชแี้ จงทีมงานผวู้ จิ ัยให้มีความเขา้ ใจในเทคนิคการ เกบ็ รวบรวมข้อมูล/การใช้เคร่ืองมือและการแปลความ/ตคี วามของพฤตกิ รรมทีต่ ้องการได้สอดคล้องกัน และจะต้องมีการจดั ทาคู่มือการปฏิบตั ทิ ่ใี ช้สาหรับเปน็ แนวทางในการปฏบิ ัติทีช่ ัดเจน และมี ความสอดคล้องกันทุกข้ันตอน 10.2.2 การดาเนินการวิจยั โดยไมใ่ หก้ ลุม่ ตวั อย่างรับทราบรายละเอียดในการวิจัยวา่ เปน็ กลุ่มทดลองหรือกล่มุ ควบคมุ เพื่อลดหรือขจัดการแสดงพฤติกรรมในลักษณะท่ีไม่เป็นไป ตามธรรมชาติ 10.2.3 การดาเนินการวิจยั โดยที่ไม่ให้กลมุ่ ตัวอย่างไดร้ ับทราบรายละเอียดเกี่ยวกบั ตวั แปรทต่ี อ้ งการศึกษา เพอ่ื ช่วยป้องกนั การมีอคติในการให้ข้อมูลท่ีเกดิ จากความรสู้ กึ หรือการรบั รู้ ทแี่ ทจ้ ริง สมมตุ ิฐาน ในการดาเนนิ การวจิ ัยนัน้ การคาดคะเนผลท่ีจะเกิดข้ึนไว้ลว่ งหนา้ หลงั จากทผ่ี ้วู ิจัยได้ทบทวน เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กีย่ วข้องแลว้ จะช่วยให้ผวู้ ิจยั ได้มแี นวทางทีช่ ัดเจนมากขนึ้ ในการดาเนินการวจิ ัย อยา่ งเป็นขนั้ ตอนเพื่อจะไดค้ าตอบของปัญหาการวิจัยท่ถี ูกต้อง และเชื่อมนั่ ได้ 1. ความหมายของสมมตุ ฐิ าน ในการให้ความหมายของสมมุตฐิ าน ไดม้ ีนักวิชาการไดใ้ ห้ความหมาย ดงั น้ี สมมุติฐาน หมายถงึ ข้อคิดเห็นหรือถ้อยแถลงท่ีใช้เปน็ มูลฐานแหง่ การหาเหตผุ ล การทดลอง หรือ การวิจยั (ราชบณั ฑิตยสถาน,2546 :1127) สมมุติฐาน เป็นคาตอบท่ีคาดคะเนไว้ลว่ งหนา้ โดยใชเ้ หตุผลทยี่ งั ไมผ่ า่ นการตรวจสอบ โดยกาหนดในลักษณะของความสัมพันธ์ท่ีคาดวา่ จะเปน็ ไปได้ระหว่างตวั แปร ทีใ่ ช้ในการอธบิ าย คาดคะเน ปรากฏการณ์ทเี่ กิดข้ึนที่จะต้องสามารถทาการทดสอบได(้ Gay and Diehl, 1992 :72) สมมุตฐิ าน เป็นคาตอบเบื้องต้นทท่ี าหนา้ ท่เี ป็นสะพานเช่ือมโยงระหวา่ งขอ้ สรุป/องค์ความรทู้ ี่มีอยู่ กบั ข้อเท็จจรงิ เชงิ ประจกั ษ์ ที่ก่อให้เกดิ การพัฒนาองค์ความร(ู้ Nachmias and Nachmias,1987 : 65) สมมุตฐิ าน เปน็ การกาหนดข้อเสนอท่ีระบุคาอธิบายหรอื คาตอบของปัญหาการวิจยั ที่ใชเ้ ป็น แนวทางในการคน้ หาหรือพิสูจน์ขอ้ เท็จจริงได้อยา่ งเปน็ ระบบ และถกู ตอ้ งสอดคล้องกับวัตถปุ ระสงค์ของ การวิจยั (เทยี นฉาย กีระนันทน์,2544 : 67)

หน้าที่ 106  บทท่ี 4 ตัวแปรและสมมุตฐิ าน สมมตุ ิฐาน เป็นขอ้ ความท่ีคาดคะเนหรือสนั นษิ ฐานเกีย่ วกบั ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งตวั แปร มีความสมั พันธ์เกีย่ วข้องกนั อย่างไร หรอื เปน็ ความคดิ รวบยอดท่ตี ้องการทดสอบวา่ เปน็ จริงหรือไม่ (สุชาติ ประสิทธิร์ ัฐสินธุ์,2546 : 96) สมมตุ ฐิ าน หมายถึง คาตอบที่ไดจ้ ากการคาดคะเนล่วงหนา้ โดยใชห้ ลักของเหตุและผลที่ได้จาก ความรเู้ ก่ียวกับทฤษฏี จินตนาการและประสบการณข์ องผู้วจิ ัย ที่ระบคุ วามสมั พันธร์ ะหวา่ งตัวแปร 2 ตวั ในการพรรณนา อธบิ ายหรือพยากรณ์ โดยจะตอ้ งกาหนดในลักษณะท่สี ามารถเกบ็ รวบรวมข้อมูลของ ตวั แปรมาทดสอบสมมตุ ฐิ านได(้ Kerlinger.1986 :17-18 ; Thomas and Nelson,1996 : 56-57) โดยทีส่ มมุติฐานท่ีกาหนดขน้ึ นั้นไม่จาเป็นวา่ จะตอ้ งเป็นจริงเสมอไป(บุญเรียง ขจรศิลป.์ 2539 : 21) สรปุ ไดว้ ่าสมมตุ ิฐาน เปน็ การคาดคะเนปรากฏการณ์/ผลลัพธ์ทอี่ าจจะเกิดขึ้นในการตอบปัญหา การวจิ ัยน้ัน ๆ โดยท่ีสมมตุ ฐิ านอาจจะเกดิ ขนึ้ หรือไมเ่ กิดขึ้นก็ได้ และเปน็ การคาดคะเนที่เกิดขึน้ หลงั จากที่ ผวู้ ิจัยไดศ้ ึกษาเอกสารและงานวิจัยทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั งานวิจยั น้ัน ๆ แลว้ มาเปน็ อย่างดี และในการวจิ ยั บางเรอื่ งอาจจะไม่มกี ารกาหนดสมมตุ ฐิ านก็ได้ แต่ไมใ่ ชว่ ่างานวจิ ยั นน้ั ๆ จะไม่มีสมมุติฐานเพียงแต่ผวู้ จิ ยั อาจยังไม่มคี วามมัน่ ใจเพียงพอในการกาหนดสมมตุ ฐิ านนนั้ ๆ หรอื ในบางคร้ังอาจจะตอ้ งมกี ารปรบั เปลย่ี น สมมุตฐิ านเมือ่ ไดด้ าเนินการวิจยั ผ่านไปแลว้ ช่วงเวลาหนึ่งเนื่องจากผวู้ จิ ัยได้พบเง่ือนไขท่ีอาจทาให้ ผลการวิจยั ที่เกิดขึน้ นั้นเปลี่ยนแปลง 2. ประเภทของสมมตุ ิฐาน ในการวจิ ัย ใด ๆ ผู้วจิ ัยได้กาหนดประเภทของสมมุติฐานออกเปน็ 2 ประเภท ดงั น้ี 2.1 สมมุติฐานทางการวิจยั (Research Hypothesis)เปน็ ขอ้ ความหรอื ประโยคทผี่ ู้วิจยั ได้ คาดคะเนปรากฏการณห์ รือผลลัพธ์ทเ่ี กิดขึ้นในลักษณะของความสมั พนั ธ์ระหว่างตวั แปร 2 ตัว ตาม จดุ มุ่งหมายของการวิจยั ภายหลังจากได้ศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี ก่ยี วข้องแล้วนามาเป็นฐานความรู้ ทผี่ ู้วจิ ยั อาจจะคาดคะเนได้ถูกตอ้ งหรือคลาดเคล่ือนก็ได้ ดงั นนั้ ผู้วิจัยจะตอ้ งนาสมมุติฐานไปทดสอบ โดยการแปลงใหเ้ ปน็ สมมุตฐิ านทางการวจิ ัยให้เป็นสมมุตฐิ านทางสถิติโดยใช้ข้อมลู เชงิ ประจักษ์ ทเี่ กบ็ รวบรวมมาและวิธีการทางสถติ ติ อ่ ไป และในงานวจิ ยั ทมี่ ีตัวแปรทศ่ี ึกษาเพียงตัวแปรเดยี ว (สภาพท่ีเกิดขึ้น หรอื คณุ ลกั ษณะ) ก็อาจจะไม่จาเป็นต้องระบุสมมุตฐิ านการวิจัยไว้ เพราะไมจ่ าเป็น ตอ้ งมีการทดสอบความสมั พันธใ์ ด ๆ แตถ่ ้าผู้วจิ ัยกาหนดไว้อาจจะทาใหเ้ กดิ ความลาเอียงใน การดาเนินการเกบ็ รวบรวมข้อมูลของผู้วจิ ัยดว้ ย ดังตวั อย่างสมมตุ ฐิ านการวิจยั ดงั น้ี นกั ศกึ ษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณติ ศาสตรโ์ ดยใช้ทักษะการส่ือสารแนวความคิด คณติ ศาสตร์หลังเรียนสูงกว่ากอ่ นเรยี น นกั ศึกษามผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนวิชาคณิตศาสตรโ์ ดยใช้ทกั ษะการส่ือสารแนวความคิด คณิตศาสตร์หลังเรยี นและก่อนเรียนแตกตา่ งกัน ความคิดเหน็ เก่ียวกบั แนวทางการดาเนนิ การปฏริ ูปการศึกษาในโรงเรยี นของผู้บรหิ าร โรงเรียนและครูผสู้ อนแตกต่างกัน

 ระเบียบวิธกี ารวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หนา้ ท่ี 107 2.2 สมมตุ ิฐานทางสถิติ(Statistics Hypothesis) เปน็ สญั ลกั ษณ์หรือโครงสรา้ งทาง คณติ ศาสตร์ทก่ี าหนดแทนสมมุตฐิ านการวิจัยเพื่อนามาทดสอบสมมุติฐานดว้ ยวิธกี ารทางสถติ ติ ่อไป โดยการนาคณุ ลักษณะของประชากร (คา่ พารามเิ ตอร์)มาเขียนเปรยี บเทยี บกนั โดยท่ีสมมุติฐานทางสถิติ จาแนกเปน็ 2 ลักษณะ ดังน้ี 2.2.1 สมมุตฐิ านกลาง(Null hypothesis : H0) เป็นสมมตุ ฐิ านท่กี าหนดในลกั ษณะของ การแสดงความสัมพนั ธท์ ่ีเทา่ กนั หรือความไมแ่ ตกต่างของคา่ พารามิเตอร์ทีต่ ้องการเปรียบเทียบ ทีเ่ ปน็ เปา้ หมายในการทดสอบสมมุติฐานวา่ จะยอมรับหรอื ปฏิเสธ อาทิ H0 : 1 =2 หรอื H0 : = 0 หรอื H0 : i =j ไมม่ ีคใู่ ดที่แตกต่างกัน เปน็ ต้น 2.2.2 สมมตุ ฐิ านทางเลือก(Alternative hypothesis : H1) เปน็ สมมตุ ฐิ านท่ีกาหนด ในลกั ษณะของการแสดงความสมั พนั ธ์ท่ีไมเ่ ทา่ กันหรอื ความแตกตา่ งของคา่ พารามิเตอร์ท่ตี อ้ งการ เปรยี บเทยี บ เป็นเปา้ หมายรองในกรณีทผ่ี ลการทดสอบสมมุตฐิ านโดยปฏเิ สธสมมุตฐิ านกลางแลว้ จะตอ้ งสรุปผลการทดสอบโดยพจิ ารณาจากสมมุตฐิ านทางเลอื กท่ีกาหนดไว้ ซ่งึ สมมตุ ฐิ านทางเลอื ก จาแนกเปน็ 2 ลกั ษณะย่อย ๆ ดงั น้ี(พชิ ิต ฤทธจ์ิ รญู ,2543 : 104-108) 2.2.2.1 สมมตุ ิฐานแบบมีทิศทาง(Directional Hypothesis) เป็นสมมุติฐานที่ กาหนดความสัมพนั ธ์ของตัวแปรในทศิ ทางใดทิศทางหน่ึงอย่างชัดเจน จากความม่ันใจที่มีในเหตแุ ละผลที่ ไดจ้ ากการศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ ก่ียวข้อง โดยจะสามารถระบุตัวแปรไดว้ า่ “มากกว่าหรือสงู กวา่ ” หรือ “น้อยกว่าหรือตา่ กว่า”หรอื เรยี กอีกช่อื หนึ่งว่า “สมมุติฐานแบบหางเดียว(One-tailed)” อาทิ H1 : 1 > 2 หรือ H1 : < 0 เปน็ ต้น ซ่ึงเปน็ สมมุติฐานที่มีอานาจในการทดสอบมากกวา่ สมมตุ ิฐาน แบบไม่มที ศิ ทางในระดบั นยั สาคัญทางสถติ ทิ ่เี ท่ากัน(โอกาสจะปฏิเสธสมมตุ ิฐานหลักมากกว่า) 2.2.2.2 สมมตุ ิฐานแบบไม่มีทิศทาง(Non-Directional Hypothesis) เป็น สมมตุ ฐิ านที่กาหนดความสมั พันธข์ องตวั แปรโดยไม่ได้ระบุทศิ ทางของความสมั พันธ์อย่างชดั เจน เน่อื งจาก ไม่มสี ่ิงทีบ่ ง่ ชี้จากการศึกษาว่ามีแนวโน้มของตวั แปรจะเป็นอย่างไรอย่างชดั เจน แต่จะกาหนดสมมตุ ิฐาน ในลักษณะของ “ความไม่เทา่ กนั /ความแตกต่าง” หรือเรียกอีกช่อื หน่ึงว่า “สมมตุ ฐิ านแบบสองหาง (Two-Tailed)” อาทิ H1 : 1  2 หรือ H1 :  0 เป็นตน้ ทแ่ี สดงความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสมมตุ ิฐานการวจิ ัยกับสมมตุ ฐิ านทางสถติ ิ ดังแสดงในภาพท่ี 4.20 สมมตุ ิฐานการวิจัย สมมตุ ิฐานทางสถิติ สมมตุ ิฐานทางเลือก สมมตุ ฐิ านหลกั H1 : A  B H1 : A  B ภาพที่ 4.20 ความสัมพันธ์ระหว่างสมมุติฐานการวิจยั กับสมมุตฐิ านทางสถิติ

หนา้ ที่ 108  บทที่ 4 ตัวแปรและสมมตุ ิฐาน 3. หลักการกาหนดสมมตุ ิฐาน ในการกาหนดสมมุติฐานการวิจยั ใด ๆ จะกาหนดในลักษณะแบบมที ิศทางหรือไมม่ ีทิศทาง จะขนึ้ อยู่กบั ผลจากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยทเ่ี กยี่ วข้องของผวู้ จิ ยั ว่าจะสังเคราะห์ข้อมูลแลว้ ไดข้ ้อสรปุ ของแนวโน้มท่ีเกิดข้ึนจะเป็นอย่างไร หรอื เกิดความมน่ั ใจของผลทนี่ ่าจะเกิดขึ้น จงึ ได้นามา กาหนดเป็นสมมติฐานการวิจัย เพือ่ ดาเนนิ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลมาตรวจสอบดว้ ยวธิ กี ารทางสถติ ิ มดี ังนี้ 3.1 จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยทเ่ี กีย่ วขอ้ งที่มีเหตผุ ลสนับสนุนอยา่ งเพยี งพอให้ ระบุสมมุตฐิ านแบบมีทิศทางแต่ถา้ ยงั ไมแ่ น่ใจใหร้ ะบสุ มมตุ ฐิ านแบบไม่มที ิศทาง 3.2 ระดบั มาตรวัดของตัวแปร ถ้าตัวแปรอยู่ในระดบั มาตรวัดอนั ตรภาค(Interval Scale) หรอื ระดับอตั ราสว่ น(Ratio)ในการหาสหสัมพันธข์ องเพยี ร์สันให้ระบสุ มมตุ ิฐานแบบมีทิศทาง แต่ถ้าเป็นตัวแปรในระดับนามบญั ญัต(ิ Nominal Scale) หรอื เรียงอนั ดับ(Ordinal Scale)ทีใ่ ชก้ ารทดสอบ ไครส์ แควร์(  2 )ใหร้ ะบสุ มมตุ ฐิ านแบบไม่มีทศิ ทาง 4. ความสาคญั ของสมมุตฐิ าน จากประเดน็ ท่วี า่ “สมมตุ ฐิ านไม่จาเปน็ สาหรบั การวจิ ัย” เพราะจะทาให้เกิดข้อจากัดทางความคิด ในการวจิ ัยทไ่ี ดร้ บั การระบขุ อบเขตโดยสมมตุ ิฐาน แต่ไดม้ ีคาอธิบายเกี่ยวกับประเดน็ น้ีว่า สมมุตฐิ านเป็น เครอ่ื งมือที่ใช้เพ่ือใหบ้ รรลคุ วามรูท้ ถี่ กู ตอ้ งโดยการหาเหตผุ ลท่อี าจเปน็ ไปได้ โดยที่ผูว้ จิ ัยอาจจะมี ความสงสัยในเหตุผลที่เป็นไปไดว้ ่าเป็นประเดน็ ใดทจี่ ะตอ้ งใชข้ ้อมูลเชงิ ประจักษ์ใชท้ ดสอบเพอ่ื อธิบาย โดยขอ้ มลู นนั้ ๆ จะต้องระบขุ อบเขตท่จี ะทดสอบอย่างชัดเจนมฉิ ะน้นั ผู้วิจยั กจ็ ะไม่สามารถหาข้อมูลมา ทดสอบได้อยา่ งเพยี งพอ ในการวิจยั ใด ๆ จาเปน็ ต้องมีการกาหนดสมมตุ ฐิ านไม่วา่ จะเป็นการวจิ ัยเชงิ ปรมิ าณหรือ การวจิ ัยเชงิ คณุ ภาพ ดงั น้ี(สชุ าติ ประสทิ ธิร์ ฐั สินธ,ุ์ 2546 : 100-101 ; Kerlinger,1986 :18) 4.1 การวจิ ยั เชิงปรมิ าณ เนอ่ื งจากการวจิ ัยเชิงปริมาณจะต้องมกี ารศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ ก่ยี วข้องในการกาหนดเป็นกรอบแนวคิดในการวิจัยที่แสดงความสัมพนั ธ์ระหวา่ งตัวแปรทเ่ี ปน็ ขอ้ สมมุตฐิ านเบอ้ื งตน้ ที่จะตอ้ งดาเนนิ การพิสูจน์และตรวจสอบโดยใช้ขอ้ มลู เชิงประจกั ษ์ โดยใชส้ มมุติฐาน เป็นแนวทางทใ่ี ช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การใช้เครอ่ื งมือ การวิเคราะห์ขอ้ มูลและการตีความหมายของ ข้อมลู ดังน้นั การกาหนดสมมุติฐานจะตอ้ งมกี าหนดอย่างชัดเจน เพ่อื ท่จี ะให้การวิจัยสามารถดาเนนิ การได้ อย่างมีประสิทธภิ าพ ในการวจิ ัยเชิงปริมาณน้นั การกาหนดสมมตุ ิฐานการวจิ ัยเป็นส่ิงทีม่ ีความสาคัญเนื่องจาก โดยส่วนมากจะเป็นการศึกษาเกย่ี วกับความสมั พันธร์ ะหว่างตวั แปรที่ไดจ้ ากการศกึ ษาเอกสารและงานวิจัย ที่เกย่ี วข้อง ยกเว้นในกรณีที่งานวิจยั นั้นมเี พียงตัวแปรเดยี ว เพอื่ ต้องการศึกษาสภาพท่เี ป็นอยวู่ า่ มีปรมิ าณ มากน้อยเพยี งใด อยา่ งไร ไมม่ ีตัวแปรอสิ ระ ไม่มตี วั แปรตาม ไมไ่ ด้ศึกษาความสัมพันธ์ระหวา่ งตวั แปร จึงไม่จาเปน็ ต้องกาหนดสมมตุ ิฐานกไ็ ด้เพราะไม่มปี ระโยชนใ์ นการนาไปทดสอบ แต่อาจก่อใหเ้ กดิ ความมีอคติในการดาเนินการเก็บรวบรวมขอ้ มูล

 ระเบยี บวิธกี ารวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หนา้ ที่ 109 4. 2 การวจิ ยั เชงิ คุณภาพ เป็นการวิจยั ทตี่ ้องมีการเก็บข้อมูลอยา่ งละเอยี ด ลึกซึ้ง จึงไม่ตอ้ งการ ให้มีกรอบแนวคิดหรือสมมุติฐานมาเปน็ กรอบ/ข้อจากัดในกาหนดแนวทางในการเกบ็ ขอ้ มูลหรอื เบี่ยงเบน ความสนใจในประเดน็ ท่เี กย่ี วข้องอน่ื ๆ แต่ก็คงไมส่ ามารถปฏิเสธได้วา่ ในการวจิ ัยเชิงคุณภาพ ใด ๆ ไดม้ ี การกาหนดแนวความคิดไวก้ ว้าง ๆ กอ่ นทจ่ี ะดาเนนิ การวิจัยแต่อาจยังไม่สามารถทจ่ี ะระบุได้อยา่ งชดั เจน จนกระทัง่ ผู้วิจยั ได้ศกึ ษาข้อมูลไประยะหน่ึงแล้วอาจจะได้มีการกาหนดกรอบแนวคดิ เฉพาะประเด็นท่ี ตอ้ งการศึกษารายละเอียดให้ประเด็นนน้ั ๆ มีความชัดเจนเพมิ่ มากข้นึ ก็ได้ กฤตยิ า วงศ์กอ้ ม(2545 : 66-67) และสุวรรณา ธรุ โชติ(2541 : 56) ไดส้ รปุ ความสาคัญของ สมมุตฐิ าน ดงั นี้ 1) สมมตุ ิฐานเปน็ การชีใ้ ห้เห็นปญั หาการวิจยั ที่ชัดเจน เนอื่ งจากผวู้ จิ ัยต้องศึกษาเอกสารและ งานวจิ ยั ทีเ่ กยี่ วข้องเพื่อกาหนดสมมุติฐาน ดงั นั้นกระบวนการกาหนดสมมตุ ิฐาน จงึ เป็นส่วนหนงึ่ ทีท่ าใหป้ ญั หาการวจิ ัยชดั เจนขน้ึ 2) สมมตุ ิฐานเป็นตวั บง่ ช้ีการออกแบบการวิจัยต้งั แต่การสมุ่ กล่มุ ตวั อย่าง การออกแบบเครือ่ งมือ วัดเกบ็ รวบรวมข้อมลู (วดั ตัวแปร) และการออกแบบการวิเคราะห์ข้อมลู ทีจ่ ะสามารถนา ขอ้ มลู มาใชต้ อบปัญหาการวจิ ัยได้อย่างชดั เจน 3) สมมตุ ิฐานช่วยอธบิ ายปรากฏการณ์ เน่ืองจากสมมตุ ิฐานเปน็ การแสดงความสมั พนั ธ์ ของตัวแปรตั้งแต่ 2 ตวั แปรทเี่ ปน็ ข้อเท็จจรงิ ดังนั้นสมมตุ ิฐานจึงเปน็ เคร่ืองมือทมี่ ีประสทิ ธภิ าพ ในการอธิบายปรากฏการณ์/ขยายความรใู้ นสาขาวิชาทีเ่ กยี่ วขอ้ ง 4) สมมตุ ฐิ านช่วยกาหนดขอบเขตของผลการวจิ ยั วา่ จะสอดคล้อง(ยอมรบั ) หรอื ขดั แย้ง(ปฏเิ สธ) สมมุตฐิ าน และช่วยทาใหข้ อบเขตในการตคี วามหมายของขอ้ คน้ พบอย่างชดั เจน และ มีความหมายมากย่งิ ขึ้น 5) ประหยดั เวลา แรงงาน และงบประมาณ เพราะสมมุตฐิ านท่ชี ัดเจนจะทาใหเ้ กิดความชดั เจน ในการดาเนินการทมี่ ีการวางแผนไว้ล่วงหน้าในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ท่ีต้องการนามาทดสอบสมมตุ ฐิ าน เท่านน้ั 5. กระบวนการกาหนดสมมตุ ิฐาน เปรอื่ ง กมุ ุท และนคิ ม ทาแดง(2537 :5 อ้างอิงมาจาก Graziano, 1989 :155) ไดน้ าเสนอ กระบวนการกาหนดสมมุตฐิ านวา่ ในการวจิ ัยจะเรมิ่ ตน้ จากแนวความคดิ เบื้องตน้ ท่ีจะต้องใช้ การสงั เกต/การสารวจเบ้อื งต้น(วธิ ีอปุ มาน)และการศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง(วธิ ีอนมุ าน) ที่ก่อให้เกิดสภาพปัญหา หรอื ขอ้ ขัดแยง้ ท่เี กดิ ข้ึน/คานยิ ามเชิงปฏิบัตกิ าร แล้วจะนาไปสู่การกาหนด สมมุติฐานในการวจิ ัยเพ่อื นาไปทดสอบ/ตรวจสอบโดยใช้ข้อมลู เชิงประจักษ์ ดงั แสดงในภาพท่ี 4.21 (เปรือ่ ง กุมทุ และนิคม ทาแดง,2537 :5 อ้างองิ มาจาก Graziano, 1989 :155)

หน้าที่ 110  บทที่ 4 ตัวแปรและสมมุติฐาน การสงั เกตและ แนวความคดิ เรม่ิ ต้น เอกสารและงานวิจยั ที่ การสารวจเบอ้ื งตน้ วิธีอปุ มาน วธิ อี นุมาน เกีย่ วข้อง สภาพปัญหา คานยิ าม หรอื ขอ้ ขดั แยง้ เชิงปฏบิ ัติการ สมมตุ ิฐานการวจิ ยั ภาพที่ 4.21 กระบวนการกาหนดสมมตุ ิฐาน ชิดชนก เชงิ เชาว์(2539 : 48-49) ไดน้ าเสนอกระบวนการสร้างสมมตุ ิฐาน มีดงั น้ี 1) สมมตุ ิฐานจากวธิ ีการอปุ มาน(Inductive Hypothesis) เป็นการกาหนดสมมุติฐานจาก ข้อสงั เกตท่ีได้จากการเก็บรวบรวมเบือ้ งตน้ แล้วนามาพจิ ารณาหาความสมั พันธ/์ เชือ่ มโยงโดยการศกึ ษา ค้นควา้ ทฤษฏีหรืองานวิจัยท่ีเก่ยี วข้องเพ่ือใชอ้ ธิบายปรากฏการณ์ แต่ผวู้ จิ ัยจะต้องระมดั ระวังใน การนาไปใชอ้ ธิบายเนอื่ งจากสมมตุ ิฐานท่ีได้จะมคี วามเฉพาะเจาะจงค่อนขา้ งสงู 2) สมมตุ ิฐานจากวิธีอนมุ าน(Deductive Hypothesis) เปน็ การกาหนดสมมตุ ฐิ านจากทฤษฏี ท่มี ีอยู่แลว้ ตามหลักตรรกศาสตรท์ ี่ถูกต้อง เพือ่ นาสมมุตฐิ านไปตรวจสอบความเชื่อมัน่ ใหม่อีกคร้ังโดยใช้ ข้อมูลเชงิ ประจักษ์ในปจั จุบนั แตผ่ วู้ จิ ยั จะต้องระมัดระวังความคลาดเคล่ือนจากการอนมุ านสมมติฐาน จากทฤษฏีว่าถูกต้องหรือไม่ มิฉะนน้ั จะผลสรุปท่ีได้ใหม่อาจก่อให้เกิดความเข้าใจท่ขี ดั แย้งกับความรเู้ ดิมที่ ถกู ต้องอยู่แล้ว 6. ลักษณะของสมมตุ ฐิ านที่ดี ในการวจิ ัยใด ๆ ลักษณะของสมมตุ ิฐานที่ดี มีดังน้ี(สวสั ด์ิ ประทมุ ราช,2541 : 21; บุญใจ ศีรสถติ ย์นรากูล,2547 : 70-71 ; Brog and Gall, 1989 : 68-69) 6.1 การกาหนดสมมตุ ิฐานการวิจัยจะตอ้ งกาหนดใหม้ ีความสอดคล้องกบั ปัญหาการวจิ ยั และ วัตถุประสงค์การวิจยั และอธิบายปรากฏการณ์ท่เี กิดข้นึ ได้อย่างชดั เจน โดยการจาแนกเปน็ ข้อ ๆ เรยี งลาดบั ใหส้ อดคล้องกบั ปัญหาและวตั ถุประสงค์การวจิ ัย

 ระเบียบวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หนา้ ที่ 111 6.2 การกาหนดสมมุติฐานทสี่ ามารถทดสอบได้ท้งั ในปัจจบุ นั และอนาคต ทขี่ ึน้ อยู่กับ ความชัดเจนของตวั แปรทีจ่ ะต้องสามารถวดั ไดแ้ ละสังเกตได้อย่างชดั เจน 6.3 การกาหนดสมมุติฐานจะต้องคานึงถึงความถูกต้องตามแนวคิด ทฤษฏีทางวิชาการ และ มผี ลงานวจิ ยั ทีน่ า่ เชื่อถือรองรับ ดงั นั้นในการกาหนดสมมตุ ิฐานการวิจยั ควรจะดาเนนิ การภายหลังจาก การศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่เี ก่ียวข้องทค่ี ่อนข้างสมบูรณ์แล้ว 6.4 การกาหนดสมมุติฐานการวจิ ัยจะตอ้ งระบุความสมั พนั ธ์ระหวา่ งตัวแปรที่ศกึ ษาต้ังแต่ 2 ตวั ขึน้ ไป ที่จาแนกไดด้ งั นี้ 6.4.1 การกาหนดสมมุตฐิ านอย่างง่าย (Simple Hypothesis)เปน็ การกาหนดสมมตุ ฐิ าน ทร่ี ะบคุ วามสัมพนั ธ์ระหวา่ งตัวแปร 2 ตวั (ตวั แปรต้นและตัวแปรตาม)ในลกั ษณะส่งผลโดยตรง ดงั แสดงใน ภาพที่ 4.22 ตวั แปร X ตัวแปร Y ภาพท่ี 4.22 การกาหนดสมมุตฐิ านอยา่ งงา่ ย 6.4.2 การกาหนดสมมุตฐิ านแบบซับซ้อน(Complex Hypothesis) เปน็ การกาหนด สมมตุ ฐิ านท่ีแสดงความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งตัวแปรตง้ั แต่ 2 ตัวข้ึนไปทสี่ ่งผลซง่ึ กนั และกนั ดงั แสดง ในภาพท่ี 4.23 ตัวแปร X1 ตวั แปร Y1 ตัวแปรX2 ตวั แปร Y2 ตวั แปร X3 ภาพท่ี 4.23 การกาหนดสมมุติฐานแบบซับซ้อน 6.5 การกาหนดสมมตุ ฐิ านเป็นประโยคข้อความบอกเลา่ ที่ใชภ้ าษางา่ ย ๆ มีความชดั เจน ในการทาความเข้าใจ 6.6. การกาหนดสมมุติฐานและระดบั นัยสาคัญจะตอ้ งกาหนดก่อนการดาเนินการทดสอบ สมมตุ ฐิ าน ไมใ่ ช่ระบุภายหลงั จากการวเิ คราะห์ข้อมูลเพอื่ ให้ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ในการทดสอบ สมมุติฐานมีนยั สาคญั ทางสถติ ิ

หน้าท่ี 112  บทท่ี 4 ตวั แปรและสมมุตฐิ าน บญุ เรยี ง ขจรศลิ ป์(2539 : 21-22) ได้นาเสนอลกั ษณะของสมมตุ ฐิ านท่ีดี มดี ังน้ี 1) ระบใุ นลักษณะของความสัมพันธร์ ะหว่างตวั แปรท่ีศกึ ษา โดยพจิ ารณาจากวัตถุประสงค์ การวจิ ยั และมีความเป็นไปได้ 2) การกาหนดทศิ ทางของสมมตุ ฐิ าน จะต้องมหี ลักฐานและข้อมลู ทีส่ มเหตุสมผลใน การอา้ งองิ ไม่ใชก่ าหนดโดยการคดิ ขน้ึ เองตามจินตนาการเพียงอย่างเดยี ว 3) สามารถเก็บรวบรวมขอ้ มูลเพ่ือทดสอบสมมุตฐิ านได้ 4) ใช้ภาษาทเี่ ข้าใจง่าย มีความเฉพาะเจาะจง นงลักษณ์ วิรชั ชัย(2543 : 410) ได้สรุปลกั ษณะของสมมุติฐานทด่ี จี ะต้องมีทฤษฏีและงานวจิ ัย รองรบั มีความชัดเจน สอดคลอ้ งกบั ปญั หาและวัตถุประสงค์ของการวิจยั รวมทง้ั สามารถทดสอบได้และ เปน็ สมมตุ ิฐานทม่ี ีทศิ ทาง 7. แหลง่ ที่มาของสมมุตฐิ าน ในการกาหนดสมมุตฐิ านใด ๆ จะมีแหลง่ ท่ีมาของสมมุตฐิ าน ดงั นี้(เทยี นฉาย กรี ะนนั ทน,์ 2544: 71-73) 7.1 จากทฤษฏี และแนวคดิ ทเี่ ป็นที่ยอมรบั ในศาสตรแ์ ตล่ ะสาขาวชิ าในลกั ษณะของ การอนมุ านที่นามาขยายความ ปรบั ปรงุ หรอื ดัดแปลง ในการกาหนดเปน็ กรอบแนวคิดการวจิ ยั และ สมมุติฐานเพ่ือตรวจสอบความถกู ต้องและความสอดคล้องของทฤษฏกี ับข้อมลู ท่เี ก็บรวบรวมได้ 7.2 จากผลงานวจิ ัยท่ีไดศ้ ึกษาวจิ ยั แล้ว แตผ่ ู้วจิ ยั มขี ้อสงสยั วา่ สมมตุ ฐิ านท่ีกาหนดขน้ึ นั้น มีความเปน็ จรงิ ความเหมาะสมในสถานการณ์ใหม่ ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ งใหม่ ชว่ งเวลาใหม่ และ เง่ือนไข หรอื ไม่ อย่างไร ที่เป็นการวจิ ัยทดสอบซา้ เพ่ือใช้ตรวจสอบความถูกต้องของสมมตุ ฐิ านเดมิ หรือ อาจได้รบั ผลการวิจัยทแ่ี ตกต่างจากผลการวจิ ยั เดมิ 7.3 จากผลการเปรียบเทียบแนวคิด ทฤษฏี(Analogy)กบั แนวคดิ ทฤษฏขี องศาสตร์ใน ต่างสาขาวชิ าท่ีมีลกั ษณะคลา้ ยกนั 7.4 จากวฒั นธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณี วถิ ีชีวติ และสภาวะทางสังคม ท่เี ป็นความเช่อื ขน้ั พ้นื ฐาน ท่ีอาจจะได้รับแนวคิดใหม่ ๆ มาใช้ในการแก้ไขเพิ่มเตมิ หรือขยายความเชอ่ื และแนวปฏิบตั ทิ าง สงั คมทสี่ อดคล้องกับสภาพในปัจจุบนั 7.5 จากขอ้ สงสัยท่ีเกดิ ขึน้ ตามสามัญสานึก หรอื เชงิ ทฤษฏีของผู้วจิ ยั ทีม่ ีประสบการณ์มาก ในประเดน็ น้ัน ๆ แล้วพยายามทจี่ ะแสวงหาคาตอบเพ่ืออธิบายวา่ เพราะเหตุใด ทาไม อย่างไร 7.6 จากความคดิ ทเี่ กิดขึ้นอยา่ งรวดเร็วในระหว่างการเกดิ พฤติกรรมหรือปรากฏการณ์น้ัน ๆ ของผวู้ จิ ัยที่มีความชานาญในศาสตร์น้นั ๆ และมปี ระสบการณใ์ นการวจิ ัยมาก

 ระเบียบวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หนา้ ที่ 113 8. สง่ิ ที่พงึ ระวงั ในการกาหนดสมมตุ ฐิ าน ในการกาหนดสมมุตฐิ าน มีสิง่ ทีพ่ งึ ระวังในการกาหนดสมมุตฐิ านในงานวจิ ัย ดังนี้ (เทยี นฉาย กีระนันทน์,2544 : 69-70) 8.1 ในการวจิ ยั ใด ๆ สมมุตฐิ านเปน็ ประเดน็ ที่จะต้องกาหนดใหม้ คี วามชัดเจน เนอื่ งจาก สมมุตฐิ านจะเปน็ แนวทางในการเกบ็ รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลให้มีความสอดคล้องกับ วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั ยกเว้นงานวิจัยท่เี ปน็ การศึกษาข้อมูลพ้ืนฐานท่ีอาจจะไม่จาเป็นต้องมี การกาหนดสมมุติฐานเนื่องจากสมมุตฐิ านอาจจะเป็นกรอบกาหนดแนวความคดิ ท่ชี ดั เจน ทาให้ ไมไ่ ดร้ บั ข้อมลู อนื่ ๆ ท่ีมีความสาคญั ในการนามาศึกษา หรือเป็นประเดน็ การวิจัยใหม่ท่ยี ังไมม่ ี ทฤษฏีใด ๆ ท่ีสามารถให้คาอธบิ าย หรอื ผลการวจิ ัยทมี่ าใช้สนับสนนุ อย่างเพียงพอ 8.2 ในการกาหนดสมมตุ ิฐานเปน็ ส่งิ ทจี่ ะต้องกาหนดก่อนการดาเนินการวจิ ัยเกบ็ รวบรวม ข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมลู ไม่ใชเ่ ปน็ การกาหนดสมมุติฐานให้สอดคล้องกบั ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล ท่ไี ด้ ดงั จะพิจารณาได้จากผลการวิจัยทโ่ี ดยสว่ นมากจะมีความสอดคล้องกับสมมตุ ิฐานที่กาหนดมากกวา่ ความขัดแย้ง ทาให้ไมเ่ กิดผลการวจิ ัยท่อี าจจะนามาใช้อธิบายการใช้ทฤษฏที ี่ไม่สอดคล้องกับข้อมูลหรอื ตัว แปรทีก่ าหนดขึน้ หรอื ใช้เปน็ แนวทางในการพฒั นาทฤษฏใี หม่ ๆ 8.3 ในการกาหนดสมมุติฐานในงานวิจัยเร่ืองหนึง่ ๆ อาจจะกาหนดเพียง 1 สมมุติฐาน หรือหลายสมมตุ ิฐานยอ่ ยท่ีผู้วิจัยจะตอ้ งพิจารณาดว้ ยความรอบคอบในความเพียงพอ หรือความสาคัญ ของสมมตุ ฐิ านที่ใช้วา่ มีความเก่ยี วข้องกบั ประเดน็ ทจี่ ะวิจัยอยา่ งแทจ้ ริงเพราะมิฉะน้ันจะทาให้การวิจัย ครง้ั นั้น ๆ ขาดจดุ เดน่ ของประเด็นทีน่ า่ สนใจ 8.4 ในการกาหนดสมมตุ ิฐานจากทฤษฏที ี่นามาใช้อธบิ ายพฤติกรรมหรือปรากฏการณใ์ น สังคมใด ๆ ผู้วิจัยจะต้องมีความระมัดระวงั ในความสอดคล้อง/อิทธิพล ของสภาพของสงั คม วฒั นธรรม ประเพณี ฯลฯ มฉิ ะนน้ั อาจจะกอ่ ใหเ้ กิดความคลาดเคลื่อนในมมุ มองทีส่ าคัญประเด็นสาคัญของสังคม นั้น ๆ ท่ีจะนามาใชอ้ ธบิ ายได้อย่างชดั เจนโดยการทดสอบด้วยวิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์ แซค(Sax,1979 อ้างอิงใน สวัสด์ิ ประทมุ ราช,2541)ได้ให้ข้อเสนอแนะในการกาหนดสมมตุ ิฐาน ดงั น้ี 1) ควรได้กาหนดสมมตุ ิฐานภายหลังจากศกึ ษาเอกสารและงานวิจยั ทเี่ กี่ยวข้องอยา่ งรอบคอบ และควรนาเสนอหรืออ้างอิงเอกสารหรอื งานวจิ ัยเพื่อรองรับสมมุตฐิ านโดยสรปุ 2) ควรกาหนดสมมุตฐิ านการวจิ ยั ในลกั ษณะของประโยคบอกเล่า 3) ควรกาหนดสมมตุ ฐิ านการวิจยั ในลกั ษณะของสมมุตฐิ านมีทิศทางท่ีแสดงความแตกต่างของตวั แปรท่ีชดั เจน 4) ตัวแปรทรี่ ะบุในสมมตุ ฐิ านจะตอ้ งกาหนดคานยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ/เชงิ ปฏิบตั ิการท่ชี ัดเจน ท่จี ะสามารถนาไปทดสอบสมมตุ ฐิ านได้

หนา้ ท่ี 114  บทท่ี 4 ตัวแปรและสมมุตฐิ าน 9. เกณฑ์การพจิ ารณาคัดเลือกสมมตุ ฐิ าน ในการพิจารณาคัดเลอื กสมมุตฐิ านในการวจิ ัยใด ๆ มเี กณฑใ์ นการพิจารณา ดังน้ี (สวัสดิ์ ประทุมราช,2541 :32-34) 9.1 ความเป็นไปได้ เปน็ การพจิ ารณาสมมุติฐานโดยใช้หลักตรรกะ อาทิ ตัวแปร 2 ตวั จะเปน็ สาเหตุซงึ่ กันและกันไม่ได้ ถ้าตวั แปรท้งั 2 ตัวไม่สัมพันธ์กัน หรือ ตวั แปร A เป็นสาเหตขุ องตัวแปร B ได้ก็ ต่อเมื่อตวั แปร A เกดิ ขน้ึ ก่อนตัวแปร B หรืออย่างน้อยต้องเกดิ ขึ้นพรอ้ มกนั 9.2 สามารถทดสอบได้ เป็นการพิจารณาจากตัวแปรท่ีกาหนดในสมมุตฐิ านวา่ สามารถนามา นิยามเชงิ ปฏิบัติการ(วดั ได้/สังเกต)ได้หรือไม่ แต่ถา้ ไมส่ ามารถให้คานิยามได้(อาทิ ค่านิยม สมรรถภาพ) ก็จะไม่สามารถนาไปเก็บรวบรวมขอ้ มลู เชิงประจกั ษ์ทไี่ ด้จากการวัดและการสงั เกตได้ 9.3 มขี อบเขตท่ีครอบคลุมตวั แปรท่ีหลากหลาย เปน็ การพจิ ารณาจากการใช้อธบิ าย ข้อเทจ็ จริงในปรากฏการณ์ได้อยา่ งครบถ้วนโดยปราศจากข้อขดั แย้ง 9.4 คุณสมบัตขิ องสมมติฐานทีไ่ มจ่ รงิ เปน็ ประโยชนท์ ่ไี ด้รบั จากการขดั แยง้ กบั สมมตุ ิฐาน ทกี่ าหนดไวอ้ ยา่ งหลากหลาย เพราะการท่ีไดท้ ราบว่าสมมุติฐานใดทีไ่ ม่ถูกต้องนน้ั ย่อมจะนาไปสู่ การกาหนดสมมตุ ฐิ านทถี่ ูกต้องตอ่ ไป 9.5 ระดบั การอธิบาย เป็นการพจิ ารณาจากระดับความสัมพันธ์กับขอ้ เท็จจรงิ ทฤษฎแี ละกฎ ดังนี้ 9.5.1 สมมุติฐานกบั ข้อเท็จจริง สมมตุ ิฐานเป็นประเดน็ ที่กาหนดไวเ้ บ้อื งต้น โดยที่ สมมุติฐานจะเป็นจริงกต็ อ่ เมื่อได้ข้อเท็จจรงิ ที่เปน็ ข้อมลู เชิงประจักษ์มายืนยัน และอาจจะมี การเปลีย่ นแปลงเมื่อสถานการณ์เปล่ียนไป ดงั นน้ั สมมตุ ิฐานที่กาหนดจากข้อเท็จจริงจงึ มีความเชือ่ ถือได้ น้อยที่สุด 9.5.2 สมมตุ ิฐานกับทฤษฏี ในทฤษฏใี ด ๆ หนึง่ ทฤษฏี จะประกอบด้วยหลาย ๆ สมมุติฐานทเี่ ชอื่ มโยงกันในการอธบิ ายปรากฏการณ์หนึง่ ๆ แสดงวา่ ทฤษฏีจะสามารถใช้อธบิ าย ปรากฏการณ์ได้อย่างกว้างขวางมากกว่าสมมุติฐาน ดังน้นั สมมุติฐานท่ีกาหนดจากทฤษฎีจึงมี ความนา่ เช่อื ถือมากกว่าสมมุติฐานทกี่ าหนดจากขอ้ เท็จจรงิ 9.5.3 สมมตุ ฐิ านกับกฎ ในกฎหนึง่ ๆ อาจจะสรา้ งมาจากสมมุติฐาน/ทฤษฏที ่ี หลากหลายทส่ี ามารถใชอ้ ธิบายปรากฏการณ์ได้อย่างกวา้ งขวางและเป็นทีย่ อมรบั โดยทว่ั ไป และกฎจะเป็น สง่ิ ท่ใี ช้ยืนยนั ความถูกต้องได้ชัดเจนมากกว่าสมมตุ ฐิ านและทฤษฏี ดังนัน้ สมมุตฐิ านทก่ี าหนด จากกฎจะมคี วามเชอ่ื ถอื มากท่ีสดุ

 ระเบียบวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หนา้ ที่ 115 10. รปู แบบการกาหนดสมมุติฐาน ในการกาหนดสมมุตฐิ านมีรูปแบบการกาหนด ดงั นี้(กฤตยิ า วงศ์ก้อม,2545) 10.1 รูปแบบที่ 1 เป็นการกาหนดสมมตุ ฐิ าน เปน็ ข้อ/ประเด็นเดยี่ ว ๆ ทผี่ วู้ ิจยั จะสามารถ นาไปทดสอบสมมตุ ิฐานได้ทลี ะข้อ/ประเดน็ ดังตัวอย่าง สมมตุ ิฐาน 1. ...................................................................... 2. ...................................................................... 3. ...................................................................... 10.2 รปู แบบที่ 2 เป็นการกาหนดสมมตุ ิฐานเป็นประเด็นหลกั แล้วมีสมมตุ ฐิ านในประเด็น ย่อย ๆ ทจ่ี ะต้องนาไปทดสอบสมมุติฐานให้ครบถ้วนแลว้ จงึ เช่ือมโยงผลมาสผู่ ลการทดสอบ สมมุตฐิ านหลกั ดงั ตวั อย่าง สมมุติฐาน 1. ...................................................................... 1.1 ............................................................... 1.2................................................................ 2. ...................................................................... 2.1.................................................................. 2.2.................................................................. 10.3 รปู แบบท่ี 3 เปน็ การกาหนดสมมุตฐิ าน โดยมีการสรุปเอกสารและงานวิจัยท่เี กยี่ วข้อง ให้พิจารณาแล้วจงึ กาหนดเป็นสมมตุ ิฐานการวิจยั ทีต่ ้องการนาไปทดสอบหรือเปน็ แนวทางในการศึกษา จากการศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง พบวา่ ................................................................... ............................................................................................................................. ...................................... ดังนนั้ ผวู้ จิ ยั จงึ ไดก้ าหนดสมมุตฐิ านการวิจยั คร้ังน้ี ดังน้ี 1.................................................................................. 2..................................................................................

หน้าท่ี 116  บทท่ี 4 ตวั แปรและสมมตุ ิฐาน การทดสอบสมมุติฐาน 1. ความหมายของการทดสอบสมมตุ ฐิ าน การทดสอบสมมตุ ิฐาน เปน็ การดาเนนิ การ “ทดสอบความเป็นจริงของขอ้ สงสัยกับข้อมลู เชิง ประจกั ษ์”เทา่ น้นั ไมใ่ ช่ “พสิ จู น์”เนอื่ งจากการทดสอบสมมุตฐิ านเปน็ เพียงเปน็ การตรวจสอบ/ทบทวน เพอ่ื ความแนน่ อนวา่ ยอมรบั หรือปฏเิ สธสมมตุ ิฐานเท่าน้นั (สุภาพ วาดเขยี น,2523 : 15) ดังทพ่ี จนานุกรม ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน(2546:792)ได้ระบวุ า่ การทดสอบสมมุตฐิ าน เป็นการดาเนินการ “ทดสอบ” เทา่ น้ัน ไมใ่ ช่ “พิสจู น์”เน่อื งจากการทดสอบสมมุติฐานเปน็ เพียงเป็นการสอบทบทวนเพื่อความแน่นอน มใิ ช่เป็นการชแี้ จงให้รู้เหตรุ ผู้ ล หรือการแสดงใหเ้ หน็ จริงหรือการทดสอบสมมตุ ฐิ านเป็นเพียง การดาเนินการท่ีจะยอมรบั หรือปฏเิ สธสมมตุ ฐิ านเท่านน้ั การทดสอบสมมตุ ฐิ าน เป็นการนาข้อมูลทเี่ กบ็ รวบรวมได้มาวเิ คราะห์ดว้ ยวธิ ีการทางสถิติ ที่เหมาะสมเพื่อใชพ้ จิ ารณาวา่ สมมตุ ฐิ านทีผ่ ู้วิจยั ได้กาหนดก่อนทีจ่ ะดาเนนิ การวิจัยมีความถกู ต้องหรือไม่ อยา่ งไร โดยกาหนดเปา้ หมายการทดสอบสมมตุ ิฐานทางสถิติทส่ี มมตุ ิฐานที่เป็นกลางเทา่ นั้นว่า จะยอมรับหรือปฏเิ สธ ซง่ึ ถ้าผู้วจิ ัยยอมรบั สมมุตฐิ านทีเ่ ป็นกลาง(H0)แล้วกแ็ สดงว่าจะปฏเิ สธสมมุตฐิ าน ทางเลอื ก(H1)แต่ถา้ ผวู้ ิจยั ปฏเิ สธสมมตุ ฐิ านท่ีเปน็ กลางแล้วกแ็ สดงว่าจะยอมรบั สมมุติฐานทางเลือก นนั้ ๆ ทอ่ี าจจะต้องมีการดาเนนิ การด้วยวิธกี ารทางสถติ ติ ่อไปในกรณีท่ีมีการเปรียบเทยี บมากกวา่ 2 ประเดน็ /กลุ่ม และสาเหตทุ ี่เปา้ หมายของการทดสอบสมมุตฐิ านทางสถติ ิท่สี มมตุ ฐิ านท่ีเป็นกลาง คือ ในการศึกษาคน้ ควา้ เอกสารและงานวิจัยที่เกย่ี วข้อง เพ่ือตรวจสอบขอ้ มูลเบ้ืองตน้ วา่ เป็นอย่างไร ถา้ ผลการทดสอบพบว่าตัวแปรทศ่ี กึ ษานั้นไม่แตกตา่ งกัน หรือเทา่ กัน (H0 )ก็ไม่จาเป็นจะตอ้ งดาเนินการ การวิจยั เน่อื งจากไม่มขี ้อสงสัยท่เี กิดขนึ้ เพราะวา่ การศกึ ษาหรอื การจดั กระทาตวั แปรตน้ นน้ั ไม่ส่งผล ให้เกดิ ต่อตวั แปรตามทแ่ี ตกต่างกนั ได้ เทียนฉาย กรี ะนันทน์(2544 : 8-9) ไดน้ าเสนอความหมายของ “การทดสอบสมมตุ ิฐาน” ดงั น้ี 1) เปน็ การตรวจสอบองค์ประกอบท่ีแสดงความเปน็ เหตุและผลซ่ึงกนั และกัน มีความสัมพนั ธ์ กันจริงหรอื ไม่ และเปน็ ไปในทศิ ทางใด 2) เปน็ การตรวจสอบองค์ประกอบที่แสดงความเปน็ เหตทุ ่ีเกิดข้นึ ก่อนผลหรอื ไม่ หรอื มิฉะน้นั องคป์ ระกอบทง้ั 2 อาจจะเปน็ ท้ังเหตุและผลในเวลาเดียวกัน 3) เป็นการตรวจสอบองคป์ ระกอบที่เป็นเหตุนั้นวา่ เป็นเหตทุ ีแ่ ท้จริงหรือไม่ หรืออาจจะเป็น เพยี งความสัมพันธล์ วง(Spurious) ท่เี กดิ ขึ้นกอ่ ใหเ้ กิดความคลาดเคล่ือนในการสรปุ ผล 4) เป็นการตรวจสอบองค์ประกอบท่ีเปน็ เหตใุ ด ๆ วา่ มเี พยี ง 1 องคป์ ระกอบ หรือมีหลาย ๆ องคป์ ระกอบทร่ี ว่ มกันเปน็ เหตกุ ่อให้เกิดผลอย่างเดียวกัน 5) ความเป็นเหตุและเป็นผลทีศ่ ึกษา อยูภ่ ายใต้เงื่อนไขใด ๆ หรือไม่ และเงอื่ นไขเหล่านน้ั มรี ายละเอยี ดอย่างไร

 ระเบยี บวิธกี ารวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หนา้ ที่ 117 2. ประเภทของการทดสอบสมมุติฐาน การทดสอบสมมุติฐานจาแนกประเภทได้ดังน้ี 2.1 การทดสอบสมมุติฐานแบบมีทิศทาง(Directional)หรอื แบบหางเดียว(One-tailed Test) เป็นการทดสอบสมมตุ ิฐานท่ีพิจารณาความแตกตา่ งที่มากกวา่ หรอื น้อยกวา่ ประเดน็ ใดประเด็นหนึ่ง โดยพิจารณาจากสมมตุ ฐิ านทางเลอื ก(H1)ทจี่ ะระบคุ า่ พารามเิ ตอรข์ องกลุม่ หนง่ึ มากกว่าหรอื นอ้ ยกวา่ อกี กลุ่มหนงึ่ อาทิ H1: µ1> µ 2, H1 : µ1< µ , H1: เป็นต้น ท่สี ามารถแสดงการทดสอบ 2  2   2 1 2 นัยสาคัญทางสถิติทีร่ ะดับ.05 ดงั แสดงการทดสอบสมมตุ ิฐานแบบมีทศิ ทางในภาพท่ี 4.24 เขตยอมรบั H0 เขตปฏเิ สธ H0 เขตยอมรับ H0 สมมตุ ิฐาน .05 .05 สมมตุ ิฐาน H0 : µ1= µ 2 H0 : µ1= µ 2 H1 : µ1> µ 2 H1 : µ1< µ 2 ภาพท่ี 4.24 การทดสอบสมมุตฐิ านแบบทางเดียวหรอื หางเดยี วท่ีระดับนยั สาคัญทางสถติ ิที่.05 2.2 การทดสอบสมมุติฐานแบบไม่มที ศิ ทาง(Non-directional) หรือแบบสองหาง(Two-tailed Test)เปน็ การทดสอบสมมุติฐานท่ีพิจารณาความแตกต่างท่ีไม่เทา่ กันเทา่ นั้น โดยพิจารณาจากสมมตุ ิฐาน ทางเลอื ก(H1)ทจี่ ะระบุค่าพารามิเตอร์ของกลุ่มหนึ่งท่แี ตกต่างหรอื ไมเ่ ท่ากันกบั อกี กลุ่มหน่งึ อาทิ H1: µ1  µ 2, H1: เป็นต้น ที่สามารถแสดงการทดสอบนัยสาคัญทางสถิติทร่ี ะดับ.05  2   2 1 2 ดงั แสดงการทดสอบสมมุตฐิ านแบบไม่มีทศิ ทางในภาพที่ 4.25

หน้าที่ 118  บทที่ 4 ตัวแปรและสมมุตฐิ าน เขตปฏเิ สธ H0 เขตยอมรับ H0 เขตปฏเิ สธ H0 0.25 .025 สมมุตฐิ าน .025 H0 : µ1= µ 2 H1 : µ1  µ 2 ภาพท่ี 4.25 การทดสอบสมมุตฐิ านแบบสองทางหรือสองหางทร่ี ะดับนยั สาคญั ทางสถิติท่ี.05 ศิรชิ ยั กาญจนวาสี,ทววี ฒั น์ ปติ ยานนท์ และ ดิเรก ศรีสโุ ข(2537: 22)และสวสั ด์ิ ประทุมราช (2541 :28-32) ไดน้ าเสนอกระบวนการทดสอบสมมตุ ิฐาน ดังแสดงในภาพที่ 4.26 วิธีการทใี่ ช้ ในการทดสอบ ผลท่ีได้รบั ในการทดสอบ ภาพที่ 4.26 กระบวนการทดสอบสมมุติฐาน จากภาพที่ 4.26 สามารถอธิบายกระบวนการทดสอบสมมุตฐิ าน ดังนี้ 1) พจิ ารณาผลท่ีจะเกิดขึน้ ตามมา ถา้ สมมตุ ิฐานเป็นจริง โดยใชข้ อ้ มูลเชงิ ประจกั ษ์ หรือ สิ่งทค่ี าดว่านา่ จะเกี่ยวข้องกันเพื่อใช้ตรวจสอบว่าสมมตฐิ านเป็นจรงิ หรือไม่ แลว้ นาผลจากการทดสอบ ไปพจิ ารณาว่าจะยอมรบั หรือปฏเิ สธสมมุติฐาน 2) เลือกวธิ กี ารทใ่ี ชท้ ดสอบท่เี หมาะสมดว้ ยความระมัดระวัง เพอ่ื ใหผ้ ลที่ได้น่าเช่อื ถือ หรือ เป็นการเพิ่มคณุ ค่าของงานวิจัย โดยมสี ิง่ ทค่ี วรคานงึ ดงั น้ี (1) ชนิดหรือจานวนขอ้ มูลท่ีเกบ็ รวบรวมมานั้นถูกต้อง เหมาะสม หรอื เพยี งพอท่จี ะทดสอบ สมมุติฐานหรอื ไม่

 ระเบยี บวธิ กี ารวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หนา้ ที่ 119 (2) รูปแบบของการเก็บรวบรวมขอ้ มลู จะทาให้สามารถใช้วธิ กี ารทางสถิตทิ จี่ ะใช้ในการตอบ ปัญหาการวิจัยที่กาหนดขึ้นได้หรือไม่ (3) ผลทีไ่ ดจ้ ากการทดสอบสมมุติฐานสามารถใช้สรุปอา้ องอิงข้อมลู จากกลุม่ ตัวอย่าง สูป่ ระชากรไดห้ รือไม่ 3) การยนื ยนั สมมุติฐาน เปน็ การพิจารณาจากผลการทดสอบวา่ จะสรุปผลวา่ จะระบวุ ่าสมมุติฐาน ท่ีกาหนดได้รบั การยนื ยนั หรือไม่ ซึ่งสมมตุ ิฐานที่กาหนดขึน้ ไม่จาเป็นจะต้องได้รับ การยนื ยันเสมอไป และการไม่ได้รบั การยืนยันก็มิได้หมายความวา่ การวจิ ยั ครงั้ นนั้ ล้มเหลว ทอี่ าจจะมีประโยชน์ท่เี ป็นจุดเริ่มตน้ ในการแสวงหาคาตอบท่ีถกู ต้องควรเป็นอยา่ งไร 3. ความคลาดเคล่ือนในการทดสอบสมมุตฐิ าน ในการทดสอบสมมุติฐานในการวิจยั มกั จะเกดิ ความคลาดเคลอื่ นในการวจิ ัยเสมอ ๆ ถ้าผู้วิจยั ขาดความระมดั ระวงั ทัง้ ในการศกึ ษาคน้ คว้าเอกสารและงานวิจัยท่เี ก่ียวข้องทน่ี ามากาหนดเปน็ สมมตุ ิฐาน การวจิ ยั /สมมุตฐิ านทางสถิติ หรอื ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจยั ท่ีขาดการวางแผนการวจิ ยั ทดี่ ี หรอื การเลอื กใช้สถติ ิที่ไมเ่ หมาะสมในการทดสอบสมมตุ ิฐาน ท่ีจาแนกเป็นความคลาดเคลื่อนในการทดสอบ สมมตุ ฐิ าน 2 ลักษณะ ดงั นี้ 3.1 ความคลาดเคลื่อนประเภทท่ี 1 (Type One Error -  Error) เป็นความคลาดเคลอื่ นใน การทดสอบสมมุตฐิ านท่ีปฏเิ สธสมมตุ ฐิ านทั้ง ๆ ท่สี มมุตฐิ านนั้นเป็นจริง 3.2 ความคลาดเคลื่อนประเภทท่ี 2 (Type Two Error -  Error) เป็นความคลาดเคลื่อนใน การทดสอบสมมุติฐานท่ียอมรับสมมุติฐานนน้ั ท้ัง ๆ ทสี่ มมุติฐานนัน้ เป็นเทจ็ ดงั แสดงความคลาดเคลื่อนในการทดสอบสมมุติฐานได้ดงั ตารางท่ี 4.2( ศิรชิ ยั กาญจนวาส,ี ทวีวฒั น์ ปิตยานนท์ และ ดเิ รก ศรสี โุ ข,2537: 49-50) ตารางท่ี 4.2 ความคลาดเคล่ือนในการทดสอบสมมุติฐาน ผลการทดสอบ H0 เปน็ จรงิ H0 เป็นเท็จ ปฏเิ สธ H0 ความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 อานาจการทดสอบ (1 ) Type I error( ) ตดั สินใจถูกต้อง ยอมรับ H0 ระดบั ความเช่ือมัน่ (1) ความคลาดเคล่ือนแบบที่ 2 ตัดสนิ ใจถูกต้อง Type II error(  )

หนา้ ท่ี 120  บทที่ 4 ตวั แปรและสมมุตฐิ าน ในการทดสอบสมมตุ ิฐานใด ๆ การทดสอบสมมตุ ิฐานอาจไม่จาเปน็ ต้องได้รับการยนื ยนั เสมอไป และไมไ่ ด้หมายความว่าการวิจัยครงั้ นน้ั ๆ ประสบความลม้ เหลว แต่อาจจะพิจารณาไดว้ า่ เป็นการคน้ พบ ข้อความรใู้ หม่ท่ีอาจจะมีความเข้าใจท่ีคลาดเคลื่อน ท่เี ป็นประโยชนท์ ีจ่ ะนาไปสู่การกาหนดสมมตุ ิฐานใหม่ เพ่ือศึกษาค้นควา้ ต่อไปวา่ คาตอบที่ถูกต้องจะเป็นอยา่ งไร(ศิรชิ ยั กาญจนวาสี,ทวีวัฒน์ ปติ ยานนท์ และ ดิเรก ศรสี ุโข. 2537: 23) 4. ปัจจยั ท่ีมีผลต่อความคลาดเคลอ่ื นในการทดสอบสมมตุ ิฐาน ในการทดสอบสมมตุ ิฐานใด ๆ มปี ัจจยั ทีม่ ีผลตอ่ ความคลาดเคล่อื นในการทดสอบสมมตุ ฐิ าน ดงั น้ี (Kirk,1995 :59-64;Black,1999 : 395-396 ; Gersten,Baker and Lloyd,2000:9) 4.1ระดบั นยั สาคญั /ขอบเขตวิกฤต(Level of Significance : ) ระดับความมีนัยสาคัญ/ขอบเขตวกิ ฤต เปน็ คา่ ของความน่าจะเป็นที่กาหนดขน้ึ เพอ่ื นาไป เปรยี บเทยี บกับความน่าจะเป็นท่ผี ลท่ไี ด้รบั ตามข้อมลู จากกลมุ่ ตวั อยา่ งจะเกดิ ขนึ้ เพื่อจะยอมรบั หรอื ปฏเิ สธสมมุติฐานหลัก โดยจะปฏิเสธสมมติฐานหลักก็ต่อเม่ือความน่าจะเปน็ ของผลที่ไดร้ ับจะน้อยกว่า หรือเท่ากับระดับนัยสาคัญท่ีกาหนดไว้ หรือจะยอมรบั สมมุติฐานหลกั กต็ ่อเมื่อความนา่ จะเป็นของ ผลท่ีไดร้ บั จะมากกวา่ ระดบั นัยสาคญั ท่ีกาหนดไว้ ในการทดสอบสมมุตฐิ านหน่งึ ๆ อาจจะยอมรับ ระดับนยั สาคัญหนง่ึ และจะปฏเิ สธท่ีอกี ระดบั นยั สาคญั หน่ึงกไ็ ด้ ดังน้นั ระดบั นยั สาคัญเป็นสิง่ ท่จี ะต้องระบุ ไว้ด้วยเสมอในการทดสอบความมีนัยสาคัญ และระดับนัยสาคัญที่กาหนดทางสังคมศาสตร์ โดยสว่ นมากจะอยู่ทรี่ ะดับ.05 หรอื ระดบั .01 4.2 ขนาดของกลุ่มตวั อยา่ ง(Sample Size) การกาหนดกลุ่มตัวอยา่ งที่มขี นาดใหญ่จะสง่ ผลให้ความคลาดเคล่ือนมาตรฐานจะลดลง(ตาม สูตร Sx  S.D. )และจะทาให้ความคลาดเคลือ่ นแบบที่ 1 ลดลง(โอกาสปฏิเสธสมมุตฐิ านหลักเพมิ่ ข้ึน) n แตถ่ ้าใช้กลุ่มตวั อย่างขนาดเล็กจะทาใหเ้ พ่ิมโอกาสในการเกิดความคลาดเคลอื่ นแบบที่ 2 4.3 การส่มุ ตวั อย่าง(Sampling) การสุ่มตวั อยา่ งที่ปราศจากความลาเอียงโดยใช้หลกั การสุ่มของความนา่ จะเปน็ ทาให้ได้ กลุ่มตวั อยา่ งทีเ่ ปน็ ตวั แทนที่ดีของประชากรจะทาใหโ้ อกาสเกดิ ความคลาดเคลื่อนประเภทท่ี 1 ลดลง และ เพ่มิ อานาจการทดสอบทางสถติ ิดว้ ย 4.4 ความคลา้ ยคลึงของกลุ่มตวั อยา่ ง (Homogeneity of Sample) ความคล้ายคลงึ ของกลุ่มตวั อย่างที่ได้จากการสุ่มทาให้กลุ่มตวั อย่างมีความแปรปรวนลดลง จะสง่ ผลให้ความคลาดเคล่ือนแบบที่ 1 จะลดลงด้วย 4.5 ความแปรปรวนของข้อมูล (Data Variability) ข้อมลู ท่ีมีความแปรปรวนน้อยทาใหโ้ อกาสปฏเิ สธสมมตุ ฐิ านหลักจะมากกวา่ ขอ้ มูลทม่ี ี ความแปรปรวนมาก ทาใหโ้ อกาสเกิดความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 จะลดลง ซึง่ การเลือกใชเ้ คร่อื งมือใน การวจิ ัยทมี่ ีความเช่ือมั่นจะทาให้ความแปรปรวนของข้อมลู ลดลง

 ระเบยี บวิธีการวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หน้าที่ 121 4.6 ขนาดความแตกต่างของคะแนนตัวแปร ขอ้ มลู ทไี่ ด้จาการใชแ้ บบแผนการวิจยั ในหลักการเพ่มิ ความแปรปรวนที่มรี ะบบให้มีคา่ สูงสดุ (Maximization)ทาให้ได้ผลการทดลองท่ีแตกตา่ งกัน จะทาใหค้ วามคลาดเคลือ่ นแบบที่ 1 จะลดลงและ อานาจการทดสอบทางสถิติจะเพิ่มขึน้ 4.7 เคร่ืองมือทใี่ ชใ้ นการวิจยั (Instrument) การใชเ้ ครื่องมือที่มคี วามเที่ยงตรงและความเชือ่ มัน่ สูงจะทาให้ความแปรปรวนของ ความคลาดเคล่ือนลดลง ดงั นั้นโอกาสทีจ่ ะเกิดความคลาดเคลอ่ื นแบบที่ 1 ก็จะลดลงและอานาจ การทดสอบทางสถิตจิ ะเพมิ่ ข้ึน 4.8 ระดับมาตรวดั ของตวั แปร(Level of Measurement) ถ้าตวั แปรมคี า่ ท่ีต่อเนื่อง และขอ้ มูลมกี ารแจกแจงแบบปกติ สามารถเลือกใช้สถติ ิพาราเมตริก ที่เป็นสถิติท่ีมีอานาจทดสอบสูงกวา่ การใช้สถิตนิ อนพาราเมตริก ทาให้อานาจการทดสอบทางสถติ เิ พม่ิ ข้นึ 4.9 การควบคุมตวั แปรแทรกซอ้ นโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนรว่ ม ในการวิจัยท่ไี ม่สามารถออกแบบแผนการวจิ ัยทคี่ วบคมุ ตัวแปรแทรกซอ้ นได้ จาเป็นจะตอ้ ง ใชก้ ารวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม(ANCOVA)ทเี่ ป็นวธิ กี ารควบคุมตวั แปรแทรกซ้อนดว้ ยวิธีการ ทางสถติ ิจะทาให้การทดสอบมีอานาจการทดสอบเพ่ิมขน้ึ 5. ค่าความนา่ จะเปน็ ในการทดสอบสมมตุ ฐิ านทางสถติ ิ ในการทดสอบสมมตุ ิฐานทางสถติ ิ มคี ่าความนา่ จะเปน็ ทจ่ี ะตอ้ งพิจารณาเพ่ือสรุปผล การทดสอบสมมตุ ฐิ าน ดังนี้(นงลักษณ์ วิรัชชยั , 2543 : 236-237) 5.1 คา่ แอลฟา หรือระดบั นัยสาคัญทางสถิติ(Level of Significance : ) เป็นการกาหนด ล่วงหนา้ ในขอบเขตความคลาดเคลื่อน(แบบท่ี 1)ทผี่ ้วู ิจยั ยอมใหเ้ กดิ ขึน้ ในการทดสอบสมมตุ ิฐานใน แต่ละครง้ั หรือแสดงพ้ืนท่วี ิกฤต(Critical Region) หรอื เขตปฏเิ สธ(Reject Region) ในการทดสอบ สมมตุ ฐิ านถ้าพบว่าผลการทดสอบตกอยู่ในเขตวกิ ฤติ จะสรปุ ผลได้ว่า การทดสอบสมมตุ ฐิ านคร้งั นัน้ มีนยั สาคญั ทางสถิตติ ามระดบั ทก่ี าหนด โดยทีจ่ ะปฏิเสธสมมตุ ฐิ านหลกั (H0)และยอมรบั สมมตุ ฐิ าน ทางเลือก(H1) แตถ่ ้าผลการทดสอบตกอยู่นอกเขตวกิ ฤติ จะสรุปผลไดว้ ่า การทดสอบสมมตุ ิฐานคร้งั นนั้ ไม่ มนี ยั สาคัญ โดยทจ่ี ะยอมรับสมมุติฐานหลัก(H0)และปฏเิ สธสมมุตฐิ านทางเลือก(H1) ในการวิจัยทาง สงั คมศาสตร์นิยมกาหนดระดับนยั สาคญั ทางสถิติให้เทา่ กับ .01(1%) หรือ .05 (5%)(Polit and Hungler,1987 : 400) แต่ถา้ เป็นการวจิ ัยเพ่ือตรวจสอบข้อเทจ็ จรงิ ทท่ี าไวแ้ ลว้ จานวนมากในอดีต หรอื ศกึ ษาประสทิ ธภิ าพของส่ิงใหม่ ๆ จะกาหนดเป็น.001 หรือ.0001 จะใหผ้ ลการทดสอบที่แนน่ อนมากกว่า 5.2 ค่าเบตา้ และอานาจของการทดสอบ() เปน็ คา่ ความนา่ จะเป็นที่มาค่าทผี่ กผนั กับค่า แอลฟา กลา่ วคอื ถ้าค่าแอลฟามากขน้ึ จะทาให้คา่ เบตา้ ลดลง หรือถ้าค่าแอลฟาลดลงจะทาให้คา่ เบต้า เพิ่มขน้ึ และเป็นการกาหนดระดบั ความเสี่ยงของการทดสอบสมมุตฐิ านท่ีผวู้ ิจยั ยอมให้เกิด ความคลาดเคลื่อนในการทดสอบสมมตุ ฐิ านท่ี 2 มากหรือน้อยเพยี งใด

หนา้ ท่ี 122  บทท่ี 4 ตวั แปรและสมมุติฐาน 5.3 ค่าพี (P-value) เป็นค่าความน่าจะเป็นทเ่ี ป็นตวั แปรเชิงส่มุ ทีแ่ สดงระดับความสอดคล้อง ของข้อมลู จากกลุ่มตัวอยา่ งกับสมมุติฐานหลักภายหลังการทดสอบสมมุติฐาน ถา้ คา่ พีมีค่าน้อยมากจะทา ใหป้ ฏเิ สธสมมตุ ฐิ านหลัก การรายงานคา่ พีจะทาให้สามารถพิจารณาความชดั เจนที่ถูกต้องว่าขอ้ มูลจาก กลมุ่ ตวั อย่างสอดคล้องกับสมมติฐานหลัก( H0 )มากหรือน้อยเพียงใด อาทิ ค่าแอลฟา( )กาหนดเทา่ กบั .05 แตภ่ ายหลังการทดสอบพบว่ามีนยั สาคญั ทางสถิตทิ ่ี .002 ถ้ารายงานโดยใชค้ า่ แอลฟาตอ้ งระบวุ ่าเปน็ การทดสอบท่ีมนี ยั สาคัญที่ .05 แตถ่ า้ เป็นการรายงานโดยใช้ค่าพี(P-Value) สามารถสรุปไดว้ ่า ผลการ ทดสอบสมมุตฐิ านมคี า่ พี เทา่ กับ.002 หรอื P< .01ได้ ในการเขียนรายงานการวิจัย จะมกี ารรายงานค่านยั สาคัญของสมมตุ ฐิ านทท่ี ดสอบ ดงั นี้ (บุญใจ ศรสี ถิตนรางกรู ,2547 : 87-88) 1) รายงานคา่ นยั สาคัญตามระดบั นยั สาคัญ( ) ที่ไดร้ ะบุกอ่ นการทดสอบสมมุติฐาน เพียงอย่างเดยี ว 2) รายงานคา่ นัยสาคญั ตามระดับนยั สาคัญ( )และค่าพี(P-Value)ท่ีได้จากผลลพั ธจ์ าก โปรแกรม 3) รายงานค่านัยสาคัญตามระดับนัยสาคัญ( )และค่าพ(ี P-Value)ทเ่ี ป็นคา่ จานวนเต็ม (Round P-Value : P-Value<.01 หรือ .05 เป็นต้น) 4) รายงานคา่ พี(P-Value)ทไี่ ด้จากผลลพั ธจ์ ากโปรแกรมเพยี งอย่างเดยี ว 5) รายงานคา่ พี(P-Value)ทีเ่ ป็นคา่ จานวนเตม็ เพยี งอยา่ งเดยี ว 6.ข้นั ตอนในการทดสอบสมมุติฐาน ในการทดสอบสมมุตฐิ านมขี นั้ ตอนในการดาเนินการทดสอบ ดังนี้(บุญใจ ศรีสถิตนรางกูร, 2547 : 74-76) 6.1 ขัน้ ตอนที่ 1 กาหนดสมมตุ ฐิ านหลัก(H0)และสมมตฐิ านทางเลอื ก(H1) โดยท่ีสมมตุ ฐิ าน ทางเลือกจะต้องระบวุ า่ เป็นสมมตุ ิฐานแบบมีทศิ ทางหรอื ไม่มที ิศทาง ถึงแมว้ า่ โอกาสของการทดสอบ สมมตฐิ านแบบมีทิศทางจะปฏิเสธสมมุติฐานหลกั ได้มากกว่าสมมตุ ฐิ านแบบไม่มีทิศทาง แต่ใน การกาหนดสมมตุ ฐิ านแบบมีทิศทางนัน้ จะต้องมีการศึกษาเอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กย่ี วข้องให้มี ความชัดเจนของตวั แปรที่ศึกษาวา่ มีความสมั พนั ธใ์ นลักษณะเชงิ บวกหรอื เชงิ ลบ เพราะมิฉะนนั้ แล้วการทดสอบสมมุติฐานอาจจะไดผ้ ลการทดสอบสมมุติฐานทีไ่ ม่มนี ัยสาคญั 6.2 ขัน้ ตอนที่ 2 กาหนดระดบั นยั สาคัญ(Level of Significance :) เปน็ การกาหนด ความน่าจะเป็นของการปฏิเสธสมมตุ ฐิ านหลักท่เี ป็นจรงิ หรือความนา่ จะเปน็ ของการเกดิ ความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 โดยท่ีการกาหนดระดบั นัยสาคัญโดยทั่วไปจะมี 3 ระดับ ได้แก่ .001,.01 และ .05 ท่ีข้ึนกบั สมมตุ ฐิ านในการทดสอบหรือปัญหาการวิจยั โดยทกี่ ารวิจัยทางสงั คมศาสตร์ หรอื

 ระเบยี บวิธกี ารวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หนา้ ที่ 123 ที่มีผลกระทบท่ีไม่สาคัญในการนาผลไปใชอ้ าจจะกาหนดเป็น.05 หรือ.01(Pilot and Hungler, 1986 :400) แตถ่ า้ เปน็ การวจิ ัยทมี่ ีผลกระทบทร่ี ้ายแรงที่อาจจะเก่ียวข้องกบั ชีวติ ของมนุษย์ท่ีจาเปน็ จะตอ้ งมกี ารกาหนดระดับนัยสาคญั ที่ .001 หรือตา่ กวา่ น้ี เพื่อให้มคี วามแนใ่ จในผลการทดสอบสมมุติฐาน ทีเ่ กดิ ขน้ึ อย่างแท้จรงิ 6.3 ข้ันตอนที่ 3 เลือกใช้สถติ ิที่เหมาะสมสาหรบั การทดสอบสมมุติฐานที่จะต้องคานึงถงึ ข้อตกลงเบือ้ งต้นของการใช้สถติ แิ ตล่ ะประเภทที่มีความเหมาะสมกบั ข้อมลู ท่ตี ้องการทดสอบ 6.4 ขนั้ ตอนที่ 4 คานวณหาคา่ สถิตติ ามทกี่ าหนดจากข้อมลู ทเ่ี ก็บรวบรวมได้อย่างครบถ้วน ซึ่งในปจั จุบนั ได้มกี ารพัฒนาโปรแกรมสาเร็จรูปอยา่ งหลากหลายทน่ี ามาใช้เพ่ือชว่ ยคานวณค่าสถติ ิเหลา่ น้ี แตจ่ ะต้องระมดั ระวงั ในศกึ ษาและทาความเข้าในรายละเอยี ดและเง่ือนไขของโปรแกรมแตล่ ะโปรแกรม ท่ีนามาใช้ อาทิ โปรแกรมสถิติสาเร็จรปู เพือ่ การวเิ คราะหข์ ้อมลู ทางสังคมศาสตรส์ าหรบั วินโดว์ SPSS for Windows) ,โปรแกรม Microsolf Excel เป็นต้น 6.5 ขนั้ ตอนท่ี 5 นาค่าทไ่ี ด้จากการคานวณมาเปรยี บเทยี บกับค่าวกิ ฤตในตารางคา่ วิกฤตขิ อง สถิตแิ ต่ละประเภทตามระดบั นยั สาคญั ท่กี าหนดไว้ แตถ่ ้าคานวณด้วยโปรแกรมสาเร็จรปู SPSS for Windowsไม่ต้องนามาเปิดตารางเปรียบเทียบค่าวิกฤต เน่ืองจากโปรแกรมจะแสดงค่าพี(p-value) หรอื ค่านยั สาคัญทางสถติ ิไว้ใหส้ าหรบั แปลความหมาย แตจ่ ะต้องพิจาณาวา่ เป็นการทดสอบสมมุตฐิ าน แบบหางเดียวหรอื สองหาง เพราะในโปรแกรมSPSS จะเปน็ การทดสอบแบบสองหาง ดงั น้ันถา้ จะให้เปน็ การทดสอบแบบหางเดยี วจะตอ้ งนาค่าพหี รือค่านยั สาคัญทางสถติ มิ าหารดว้ ย 2 6.6 ขนั้ ตอนท่ี 6 สรุปผลการทดสอบสมมุตฐิ าน ในการสรุปผลการทดสอบสมมุตฐิ านมเี งื่อนไข ในพิจารณา ดังนี้ 6.6.1 จากการเปรียบเทยี บค่าสถิติกบั ตารางคา่ วกิ ฤต มีเง่อื นไข ดงั น้ี 6.6.1.1 ถ้าคา่ สถิตมิ คี ่ามากกวา่ คา่ วิกฤต แสดงค่าจะอย่ใู นขอบเขตวิกฤตทเ่ี ปน็ ขอบเขตของการปฏิเสธสมมุตฐิ านหลกั ทีห่ มายความวา่ การทดสอบสมมุติฐานมีนัยสาคัญ 6.6.1.2 ถา้ คา่ สถิตมิ ีค่าน้อยกวา่ ค่าวกิ ฤต แสดงค่าจะอยนู่ อกขอบเขตวิกฤตที่เปน็ ขอบเขตของการยอมรบั สมมุติฐานหลกั ที่หมายความว่า การทดสอบสมมุติฐานไม่มีนยั สาคัญ 6.6.2 จากการวิเคราะหโ์ ดยใช้ข้อมูลสาเรจ็ รปู ใหพ้ ิจารณาทคี่ ่าพี หรอื ค่าระดบั นัยสาคญั ที่ไดเ้ ปรยี บเทียบกบั ระดบั นัยสาคัญท่ีได้กาหนดไว้ มเี ง่อื นไขดงั น้ี 6.6.2.1 ถ้าค่าพีหรือค่าระดับนยั สาคญั น้อยกว่าคา่ ระดบั นยั สาคัญที่กาหนดไว้ หมายความว่า การทดสอบสมมุตฐิ านมนี ัยสาคญั ทางสถิติท่ีกาหนด 6.6.2.2 ถา้ คา่ พหี รอื ค่าระดับนยั สาคัญมากกวา่ ค่าระดบั นยั สาคญั ทก่ี าหนดไว้ หมายความว่า การทดสอบสมมุติฐานไม่มนี ัยสาคัญ

หนา้ ท่ี 124  บทที่ 4 ตัวแปรและสมมตุ ิฐาน 7. ขั้นตอน/วิธกี ารท่หี ลากหลายในการทดสอบสมมุติฐานทางสถติ ิ ในการทดสอบสมมุติฐานทางสถติ จิ ะมหี ลายวิธกี าร แต่ในที่น้ีจะนาเสนอการทดสอบสมมุติฐาน ทางสถติ ิ ดังนี้(นงลกั ษณ์ วิรัชชัย,2543 : 237-241) 7.1 แนวทางการทดสอบนัยสาคญั ของฟิชเชอร์ เป็นการเปรยี บเทียบความแตกต่างของ ประชากรตงั้ แต่ 2 กลุ่ม ท่ีไม่กาหนดสมมตุ ฐิ านตวั เลอื กอยา่ งชัดเจน โดยใชค้ ่าแอลฟา่ และคา่ พีเป็นเกณฑ์ ในการสรุปผลการทดสอบสมมตุ ฐิ านที่จะไม่เน้นความสาคัญของค่าเบตา้ ท่ีมขี ัน้ ตอนดงั นี้ 7.1.1 กาหนดสมมตุ ฐิ านหลกั และสมมุติฐานทางเลือก 7.1.2 เลือกใชส้ ถิติในการทดสอบสมมตุ ฐิ าน 7.1.3 ระบกุ ารแจกแจงของกลมุ่ ตัวอย่าง 7.1.4 กาหนดระดับนัยสาคญั ทางสถิติของการทดสอบสมมตุ ฐิ าน/คา่ แอลฟา่ 7.1.5 ระบุจานวนของกลุม่ ตัวอย่าง 7.1.6 คานวณค่าสถิติ 7.1.7 หาคา่ พี(p-value) 7.1.8 สรุปผลการทดสอบสมมุตฐิ านจากค่าพี และค่าแอลฟา่ 7.2 แนวทางการทดสอบสมมุติฐานของนีย์แมนและเพยี ร์สนั เป็นการเปรยี บเทียบ ความแตกตา่ งของประชากรต้ังแต่ 2 กลุ่ม โดยใชค้ า่ แอลฟ่าในการหาขอบเขตของการปฏิเสธเป็นเกณฑใ์ น การสรปุ ผลการทดสอบสมมตุ ิฐาน ไม่เน้นความสาคญั ของค่าเบตา้ และค่าพี มขี ้ันตอนดงั น้ี 7.2.1 กาหนดสมมตุ ฐิ านหลักและสมมุติฐานทางเลือก 7.2.2 เลือกใช้สถิตใิ นการทดสอบสมมตฐิ าน 7.2.3 ระบกุ ารแจกแจงของกลมุ่ ตวั อย่าง 7.2.4 กาหนดระดบั นัยสาคญั ทางสถิติของการทดสอบสมมุติฐาน/ค่าแอลฟ่า 7.2.5 หาขอบเขตของการปฏิเสธสมมตุ ิฐานหลัก 7.2.6 ระบจุ านวนของกลุม่ ตวั อย่าง 7.2.7 คานวณค่าสถิติ 7.2.8 สรปุ ผลการทดสอบสมมุติฐานจากค่าแอลฟา่ 7.3 แนวทางการทดสอบสมมุติฐานของโคเฮนและฮวิ เบอรต์ ้ี เป็นแนวทางการแกไ้ ขจุดอ่อน ของการทดสอบสมมติฐานของฟิชเชอร์ และของนยี ์แมนและเพยี ร์สันท่ีมจี ุดอ่อน 3 ประการ คอื 1) การใช้ค่าแอลฟ่าในการกาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างอย่างเดยี วไม่เพยี งพอแตจ่ ะต้องใช้คา่ เบตา้ ประกอบการพจิ ารณาด้วยเนอ่ื งจากกลุ่มตวั อย่างจะแปรผันตามคา่ เบต้าดว้ ย 2) การไมก่ าหนดสมมตุ ฐิ าน ทางเลือกทาใหผ้ ลการทดสอบสมมตุ ิฐานทางสถิตไิ ม่ตอบปญั หาการวิจัย และ 3) การไม่หาค่าพี ท่ีจะชว่ ย ทาให้การสรุปผลการวิจยั มีความสมบูรณ์ เพราะคา่ พีจะช่วยระบคุ วามสอดคล้องของข้อมูลจาก

 ระเบยี บวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หน้าท่ี 125 กล่มุ ตวั อย่างกับสมมุตฐิ านหลักได้ชัดเจนมากขึน้ ดังนัน้ โคเฮนและฮวิ เบอร์ต้ีได้นาเสนอแนวทางใน การทดสอบสมมุติฐานทีผ่ สมผสานแนวคิดเดิมแต่กาหนดให้ใชค้ ่าแอลฟ่า คา่ เบต้าและค่าพีใน การดาเนินการทดสอบสมมติฐาน ทีม่ ีขั้นตอนดงั น้ี 7.3.1 การกาหนดสมมติฐานหลักและสมมติฐานทางเลือก 7.3.2 การเลอื กใชส้ ถิตทิ ี่ใชใ้ นการทดสอบ 7.3.3 ระบกุ ารแจกแจงค่าสถติ ิของกลุ่มตวั อย่าง 7.3.4 กาหนดระดับนัยสาคัญทางสถิติของการทดสอบสมมตุ ิฐาน/ค่าแอลฟ่า 7.3.5 ระบขุ นาดความสมั พนั ธ์(ค่าอตี า้ สแควร์ : 2)ระหว่างตวั แปรสาเหตุกับตัวแปรผล วา่ ตวั แปรสาเหตจุ ะอธิบายความแปรปรวนในตวั แปรผลเป็นร้อยละ 10 7.3.6 การคานวณหาขนาดของกลุ่มตัวอย่างจากค่าแอลฟ่า คา่ เบต้า และคา่ อีตา้ สแควร์ โดยใชต้ ารางของโคเฮน 7.3.7 การคาควณค่าสถติ ิทีใ่ ช้ทดสอบจากขอ้ มูลกลุ่มตัวอย่าง 7.3.8 คานวณค่าพี 7.3.9 เปน็ การคานวณหาคา่ อีต้าสแควรท์ ี่แทจ้ ริงจากข้อมลู กลมุ่ ตวั อย่าง 7.3.10 สรุปผลการทดสอบสมมติฐานทางสถติ ิ โดยใชค้ ่าพีและคา่ อตี า้ สแควร์ประกอบ การพจิ ารณาตดั สนิ ดงั แสดงการเปรยี บเทียบการทดสอบสมมุตฐิ านของพชิ เชอร์ ,นยี ์แมนและเพียรส์ นั และโคเฮน และฮิวเบอร์ตี้ ไดด้ ังตารางที่ 4.3 ตารางท่ี 4.3 เปรียบเทียบขั้นตอนการทดสอบสมมุติฐานของพชิ เชอร์ ,นียแ์ มนและเพยี ร์สัน และโคเฮนและฮวิ เบอรต์ ี้ ฟิชเชอร์ นียแ์ มนและเพียรส์ ัน โคเฮนและฮวิ เบอรต์ ี้ 1. กาหนดสมมุตฐิ านหลักและ 1. กาหนดสมมุตฐิ านหลักและ 1. การกาหนดสมมติฐานหลกั และ สมมติฐานทางเลอื ก สมมตุ ฐิ านทางเลอื ก สมมตุ ฐิ านทางเลือก 2. การเลือกใช้สถิตทิ ่ใี ช้ใน การทดสอบ 2. เลอื กใชส้ ถิตใิ นการทดสอบ 2. เลอื กใช้สถิติในการทดสอบ 3. ระบุการแจกแจงคา่ สถิติของ กลมุ่ ตัวอยา่ ง สมมตุ ิฐาน สมมตฐิ าน 4. กาหนดระดบั นยั สาคญั ทางสถติ ิของ การทดสอบสมมตุ ิฐาน/คา่ แอลฟา่ 3. ระบกุ ารแจกแจงของ 3. ระบุการแจกแจงของกลมุ่ ตัวอยา่ ง กลุ่มตัวอยา่ ง 4. กาหนดระดบั นยั สาคัญทางสถติ ิ 4. กาหนดระดบั นัยสาคัญ ของการทดสอบสมมตุ ิฐาน/ ทางสถติ ขิ องการทดสอบ คา่ แอลฟ่า ทม่ี า : นงลกั ษณ์ วริ ชั ชยั ,2543 : 237-241

หน้าท่ี 126  บทท่ี 4 ตัวแปรและสมมุตฐิ าน ตารางที่ 4.3(ต่อ) ฟิชเชอร์ นยี ์แมนและเพียร์สนั โคเฮนและฮวิ เบอร์ต้ี สมมตุ ิฐาน/ค่าแอลฟ่า 5. หาขอบเขตของการปฏิเสธ 5. ระบขุ นาดความสมั พันธ(์ ค่า 5.ระบจุ านวนของกลุ่มตัวอยา่ ง สมมตุ ฐิ านหลกั อตี า้ สแควร์ : 2)ระหวา่ ง 6.คานวณคา่ สถิติ 6. ระบจุ านวนของกล่มุ ตัวอยา่ ง ตวั แปรสาเหตกุ ับตวั แปรผลวา่ 7. ค่าพ(ี p-value) 7. คานวณค่าสถติ ิ ตัวแปรสาเหตจุ ะอธบิ าย 8. สรปุ ผลการทดสอบ 8. สรุปผลการทดสอบสมมตุ ฐิ าน ความแปรปรวนในตวั แปรผล สมมตุ ิฐานจากค่าพี และ จากค่าแอลฟา่ เปน็ ร้อยละ 10 ค่าแอลฟา่ 6. การคานวณหาขนาดของ กลุ่มตัวอย่างจากคา่ แอลฟ่า ค่าเบต้า และค่าอตี า้ สแควร์ โดยใช้ตารางของโคเฮน 7. การคาควณค่าสถิติทใี่ ช้ ทดสอบจากขอ้ มลู กลมุ่ ตวั อยา่ ง 8. คานวณคา่ พี 9. เปน็ การคานวณหาคา่ อตี ้า สแควรท์ ่แี ท้จรงิ จากขอ้ มลู กลุ่มตัวอย่าง 10. สรปุ ผลการทดสอบสมมตฐิ านทาง สถติ ิ โดยใชค้ า่ พีและค่าอตี ้า สแควรป์ ระกอบการพจิ ารณาตดั สนิ ทมี่ า : นงลักษณ์ วิรัชชยั ,2543 : 237-241 8. การดาเนินการในกรณที ผ่ี ลการทดสอบสมมติฐานไมม่ นี ยั สาคญั ในการดาเนินการในกรณที ี่ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่าไม่มนี ัยสาคญั ผวู้ จิ ยั จะต้องคน้ หา สาเหตวุ ่าเป็นเพราะเหตใุ ด มีดังน้ี(Kerlinger,1986:144) 8.1 พิจารณาการใชท้ ฤษฏแี ละกาหนดสมมุตฐิ านในการวจิ ยั ทไ่ี ม่ถูกตอ้ ง ทเ่ี น่อื งจากผ้วู จิ ยั ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่ไม่ครอบคลมุ หรือไม่นา่ เช่ือถือ 8.2 กาหนดวิธีการวจิ ัยที่ไมเ่ หมาะสมหรอื ไม่ถกู ต้อง อาทิ เลือกใชว้ ิธีการสุม่ ตัวอย่างที่ ไม่เหมาะสมกบั ประเด็นการวิจยั หรือแบบแผนการวจิ ยั ท่ีไม่ชดั เจน เปน็ ตน้ 8.3 ใช้เคร่ืองมือในการวจิ ัยท่ีไม่มคี ุณภาพในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล อาทิ เคร่ืองมือไม่มี ความเท่ียงตรง หรือความเชื่อม่ัน เปน็ ตน้ 8.4 ความคลาดเคลื่อนในการวิเคราะห์ข้อมูล จาแนกได้ดงั นี้ 8.4.1 เลือกใช้สถิตทิ ม่ี ีอานาจการทดสอบต่า(ลกั ษณะข้อมลู ท่ีไมส่ อดคลอ้ งกบั สถิติ แบบพาราเมตรกิ หรือนอนพาราเมตรกิ )ทาใหเ้ กดิ ความคลาดเคล่ือนแบบท่ี 2()

 ระเบยี บวิธกี ารวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หน้าที่ 127 8.4.2 เลือกใชส้ ถิติที่ไมส่ อดคลอ้ งกบั ข้อตกลงเบ้อื งตน้ ของการใช้สถิติแตล่ ะประเภท อาทิ การทดสอบคา่ ที จะต้องเป็นตัวแปรที่เป็นข้อมลู ที่มคี า่ ตอ่ เน่ือง ขอ้ มูลแจกแจงแบบปกติ จึงจะให้ ผลการทดสอบสมมุติฐานมปี ระสิทธิภาพ เปน็ ตน้ 8.4.3 เลือกใชส้ ถิติทซี่ ้าในการทดสอบสมมุติฐานหลาย ๆ คร้งั แทนทจี่ ะใชส้ ถติ ิทวี่ ิเคราะห์ เพียงคร้งั เดียว ก่อใหเ้ กดิ ความคลาดเคล่ือนแบบสะสม/เพ่ิมข้นึ ท่เี ปน็ ความคลาดเคลือ่ นแบบที่ 1 8.4.5 ความคลาดเคล่ือนท่เี กิดจากการลงรหัสขอ้ มลู เพ่ือคานวณด้วยเคร่ืองคานวณหรอื ใช้โปรแกรมสาเรจ็ รูปทไ่ี มถ่ ูกต้อง 8.4.6 การจดั กระทาส่ิงทดลอง(Treatment)ให้แกก่ ลุ่มตัวอยา่ งที่ไมเ่ ป็นมาตรฐานเดียวกัน กอ่ ใหเ้ กดิ ความไม่เทา่ เทียมกันในการทดลอง 8.4.7 ความไม่คงท่ีของสภาพการทดลองที่มกี ารเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อมทาง กายภาพ หรอื การสญู หายของกลมุ่ ตวั อย่างในระหว่างการทดลอง เป็นต้น ผลการทดสอบสมมตฐิ านไม่มีนัยสาคัญในกรณีทีเ่ กดิ ความคลาดเคลอื่ นในการวิเคราะห์ข้อมูล/ลง รหสั คลาดเคลอ่ื นสามารถแกไ้ ขให้ถูกต้องได้ แต่ถ้าทฤษฏแี ละสมมุตฐิ านไม่ถูกต้อง กลุ่มตวั อย่าง ไมเ่ ป็นตวั แทนทีด่ ขี องประชากร ฯลฯ ผวู้ จิ ัยไม่สามารถแกไ้ ขได้ แตจ่ ะต้องนาข้อมลู หรือข้อสังเกตทพ่ี บใน ระหว่างการวจิ ัยไปใช้ประกอบการอภิปรายผล 9. ปัจจัยทม่ี ีผลทาให้การทดสอบสมมตุ ิฐานมนี ัยสาคัญ ในการทดสอบสมมตุ ิฐานมปี ัจจยั ที่มีอทิ ธิพลต่อการมนี ยั สาคัญในการทดสอบ ดังน้ี (บุญใจ ศรีสถิตนรางกูร,2547 : 85-86) 9.1 ขนาดของกลมุ่ ตวั อย่าง ในการวิจยั ถา้ กลมุ่ ตวั อยา่ งมขี นาดที่ใหญก่ ว่าจะทาใหป้ ฏิเสธ สมมตุ ฐิ านหลักได้มากกวา่ กลุ่มตัวอยา่ งท่ีมขี นาดเลก็ เน่อื งจากกลุ่มตัวอย่างมีขนาดใหญ่จะทาให้ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานลดลงส่งผลใหค้ ่าทีจากการคานวณเพิม่ ข้ึน หรือกลุม่ ตัวอยา่ งขนาดใหญ่จะมีองศา ของความเปน็ อิสระมากข้ึนทาใหค้ ่าวกฤตของค่าทลี ดลงขอบเขตวกิ ฤตเพ่มิ ข้นึ ดงั น้นั โอกาสการ ปฏเิ สธสมมตุ ิฐานหลกั จะมากขึ้นด้วย 9.2 ความแปรปรวนของขอ้ มูล ข้อมูลท่ีมคี วามแปรปรวนนอ้ ยจะทาให้คา่ ทีจากการคานวณมี ค่ามากกวา่ ค่าทที ี่มีความแปรปรวนมาก ดงั นั้นถ้าข้อมูลมีความแปรปรวนน้อยโอกาสของการปฏเิ สธ สมมตุ ิฐานหลักจะมากกว่าขอ้ มลู ทีม่ คี วามแปรปรวนมากกว่า

หน้าท่ี 128  บทท่ี 4 ตัวแปรและสมมตุ ฐิ าน สาระสาคัญบทที่ 4 ตัวแปรและสมมตุ ิฐาน ในการเรียนรู้บทนี้มสี าระสาคัญ ดังนี้ 1. ตวั แปร หมายถึง ประเดน็ /คุณลักษณะท่ีผ้วู ิจยั ต้องการจะศกึ ษา ทใี่ นการศึกษางานวจิ ยั ใด ๆ ตัวแปรจะมคี า่ ท่สี ามารถแปรเปลี่ยนค่าได้ตามสถานการณห์ รอื เงอื่ นไขทีก่ าหนดขึน้ ท่ีจะได้จากหลกั การ ของเหตุผลทผี่ ้วู ิจยั ได้ศึกษา ทบทวนจากเอกสารและงานวิจยั ที่เกีย่ วข้อง โดยท่ัวไปในการวิจัยจาแนกเป็น ตัวแปรอิสระ/ตวั แปรตน้ ตวั แปรตามหรือตัวแปรผล ตวั แปรแทรกซ้อนและ ตัวแปรสอดแทรก 2. การกาหนดความหมายของตัวแปร เป็นการใช้ข้อความ/ถ้อยคาอธบิ ายความหมายของ ตัวแปรในการดาเนินการวิจัยท่มี ีลกั ษณะเป็นนามธรรมให้อยใู่ นลักษณะของรูปธรรม(เชงิ ปฏบิ ัติการ) ทสี่ ามารถจะทาความเข้าใจร่วมกันได้อยา่ งถูกต้อง และชัดเจน และจะต้องเปน็ ตัวแปรทสี่ ามารถวดั และ สังเกตค่าได้ จาแนกประเภทเปน็ การกาหนดความหมายเชิงโครงสร้าง(การกาหนดความหมายโดยใช้ ภาษาเชิงวิชาการตามพจนานุกรม ที่อาจจะไมส่ ามารถดาเนินการวัดและสังเกตได้ตามวตั ถุประสงค์) และ การกาหนดความหมายเชิงปฏิบตั ิการ(การกาหนดความหมายท่เี ฉพาะเจาะจงในลักษณะรูปธรรมที่ชดั เจน ทส่ี ามารถดาเนนิ การ/ปฏิบตั ิได้ และสามารถวัดและสงั เกตคา่ ได้) 3. วิธีการกาหนดตัวแปร มแี นวทางการปฏบิ ตั ิ 1) เลือกและกาหนดปัญหาการวจิ ยั อย่างชดั เจน 2) การพจิ ารณาคัดเลือกตัวแปร(ความสอดคลอ้ ง ความครอบคลมุ และวดั ได้อย่างถกู ต้อง) 3) ตัวแปร แทรกซ้อนที่จะตอ้ งกาจัดมีอะไรบา้ ง และจะดาเนนิ การอย่างไร4) ให้คานิยามเชิงปฏิบตั ิการและจะวัด คา่ ตัวแปรทีต่ ้องการได้อย่างไร 5) กาหนดวิธกี ารวดั ที่เหมาะสมสถานการณ์(จากการทดลอง/จาก สภาพธรรมชาติ) 4. วธิ ีควบคมุ ตัวแปรแทรกซ้อนที่เปน็ ปัจจัยภายในของกลมุ่ ตวั อย่าง มีดงั นี้ 1) การจดั กระทาแบบ สมุ่ 2)การนาตัวแปรควบคมุ (ระดับ)มาเป็นตัวแปรอิสระ/ตน้ ทีศ่ กึ ษา 3) การทาให้ตัวแปรควบคมุ คงที่ 4) การปรับคา่ ทางสถิติเป็นการใช้สถติ ิในการควบคุม และ 5) การตัดท้ิง 5. สมมตุ ฐิ าน เปน็ การคาดคะเนปรากฏการณ์/ผลลัพธ์ท่ีอาจจะเกิดขึ้นในการตอบปัญหา การวจิ ยั น้ัน ๆ โดยที่สมมุตฐิ านอาจจะเกดิ ขน้ึ หรือไม่เกดิ ขน้ึ ก็ได้ และเป็นการคาดคะเนทเ่ี กิดข้ึนหลังจากที่ ผ้วู จิ ยั ไดศ้ กึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ กย่ี วข้องกบั งานวจิ ัยน้ัน ๆ แลว้ มาเป็นอย่างดี 6. ความสาคัญของสมมุตฐิ าน มีดังน้ี1) เป็นการระบุใหเ้ หน็ ปัญหาการวิจัยทชี่ ดั เจน 2) สมมตุ ฐิ านเป็นตวั บ่งชีก้ ารออกแบบการวจิ ัย 3) อธบิ ายปรากฏการณ์ ขยายความรู้ในสาขาวชิ า ท่เี กยี่ วข้อง 4) กาหนดขอบเขตของผลการวิจัย 5) ประหยัดเวลา แรงงาน และงบประมาณ 7. ลักษณะของสมมตุ ิฐานท่ีดี มดี ังนี1้ ) มีความสอดคล้องกับปญั หาการวิจัย และวัตถปุ ระสงคก์ าร วิจยั และอธบิ ายปรากฏการณท์ เ่ี กิดขึน้ ได้อย่างชัดเจน 2) ทดสอบได้ทง้ั ในปจั จบุ ันและอนาคต 3) ถูกต้องตามแนวคิด ทฤษฏีทางวชิ าการ และมผี ลงานวิจยั ทีน่ ่าเช่อื ถือรองรบั 4) ระบุความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรทศี่ ึกษา 5) เป็นประโยคข้อความบอกเลา่ ท่ีใช้ภาษาง่าย ๆ มคี วามชัดเจน และ และ6) ควรกาหนดก่อนการดาเนินการทดสอบสมมตุ ิฐาน

 ระเบยี บวธิ กี ารวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หนา้ ที่ 129 8. การทดสอบสมมตุ ิฐาน เป็นการนาข้อมลู ทีเ่ ก็บรวบรวมไดม้ าวเิ คราะหด์ ว้ ยวิธกี ารทางสถติ ิ ทีเ่ หมาะสมเพื่อใช้พจิ ารณาวา่ สมมุตฐิ านที่ผวู้ จิ ัยได้กาหนดก่อนที่จะดาเนนิ การวิจัยมีความถูกต้องหรอื ไม่ อย่างไร โดยกาหนดเป้าหมายการทดสอบสมมตุ ิฐานทางสถิตทิ ่ีสมมุตฐิ านทเ่ี ป็นกลางเท่านน้ั วา่ จะยอมรับ หรือปฏิเสธ 9. กระบวนการทดสอบสมมุตฐิ าน ดังนี้ 1) พิจารณาผลที่จะเกิดข้ึนตามมาว่าจะยอมรับหรือ ปฏเิ สธสมมุติฐาน 2) เลือกวิธกี ารท่ีใช้ทดสอบท่เี หมาะสมด้วยความระมัดระวงั 3) การยืนยนั สมมุตฐิ าน เปน็ การพจิ ารณาจากผลการทดสอบวา่ จะสรปุ ผลวา่ จะระบวุ ่าสมมุตฐิ านท่ีกาหนดได้รบั การยนื ยนั หรอื ไม่ 10. ปัจจัยทีม่ ีผลตอ่ ความคลาดเคลอื่ นในการทดสอบสมมตุ ิฐาน มดี ังนี้1)ระดับนัยสาคญั /ขอบเขต วิกฤต 2)ขนาดของกลุ่มตวั อย่าง 3) การสุม่ ตวั อย่าง 4) ความคลา้ ยคลึงของกล่มุ ตัวอยา่ ง 5) ความแปรปรวนของขอ้ มลู 6) ขนาดความแตกต่างของคะแนนตวั แปร 7)เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการวจิ ัย 8)ระดับมาตรวัดของตวั แปร และ9) ควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนโดยใชก้ ารวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม 11.ขัน้ ตอนในการทดสอบสมมุตฐิ าน มดี งั น้ี 1) กาหนดสมมตุ ิฐาน 2) กาหนดระดบั นยั สาคญั 3) เลอื กใชส้ ถิติท่ีเหมาะสม 4) หาค่าสถิตติ ามท่กี าหนดจากขอ้ มลู ท่ีเกบ็ รวบรวมได้อย่างครบถว้ น 5) นาค่าที่ได้มาเปรียบเทยี บกับคา่ วกิ ฤตในตารางค่าวกิ ฤติและ 6) สรปุ ผลการทดสอบสมมุติฐาน

หนา้ ที่ 130  บทท่ี 4 ตัวแปรและสมมตุ ฐิ าน คาถามปฏบิ ตั กิ ารบทท่ี 4 ตัวแปรและสมมตุ ิฐาน คาช้ีแจง ให้ตอบคาถามจากประเด็นคาถามท่ีกาหนดให้อย่างถกู ต้อง และชัดเจน 1. “ตวั แปร” มีความสาคัญอย่างไรต่อการวจิ ยั 2. ลักษณะทส่ี าคัญของ “ตวั แปร”มอี ะไรบ้าง 3. กาหนดชอ่ื ปญั หาการวิจัยแล้วให้ระบุตัวแปรวา่ เป็นตัวแปรประเภทใด 4. เพราะเหตใุ ด ตัวแปรอสิ ระและตัวแปรตามจึงเป็นตัวแปรทสี่ าคัญในการวิจัย 5. เกณฑ์ในการพจิ ารณา “คานยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ” ท่จี ะตอ้ งนามากาหนดความหมายในการวิจยั มอี ะไรบ้าง 6. เพราะเหตุใด ในการดาเนินการวิจยั จึงต้องมี “การนยิ ามคาศัพทเ์ ฉพาะ” 7. ให้ท่านได้เขยี นอธบิ ายความหมายเชิงปฏิบัติการในคาสาคญั ท่กี าหนดให้ 7.1 ความพึงพอใจ 7.2 ภาวะผนู้ าทางการเรยี นการสอน 7.3 ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น 7.4 สมรรถภาพ 8. เพราะเหตใุ ด ในการวิจัยจึงต้องมีตัวแปร 9. ถา้ ผ้วู ิจัยต้องการกาหนดสมมุติฐานทดี่ มี ีคุณภาพ ควรจะต้องปฏบิ ัติอย่างไร เพราะเหตุใด 10. นกั วจิ ยั ใช้ประโยชน์จากการกาหนดสมมุตฐิ าน อยา่ งไร 11. เพราะเหตุใดในการวจิ ยั บางเร่ืองจงึ ไม่จาเปน็ ตอ้ งกาหนดสมมุติฐาน 12. ทา่ นมีเหตผุ ลอยา่ งไรในการกาหนดสมมตุ ฐิ านการวจิ ยั แบบมีทศิ ทาง หรอื ไม่มที ิศทาง 13. นยิ ามเชิงปฏิบัติการ คืออะไร เพราะเหตุใดในการวิจัยจึงตอ้ งให้คานิยามในลกั ษณะน้ี 14. ในการดาเนนิ การวิจยั ท่านจะกาหนดสมมุตฐิ านการวจิ ัยเม่ือไร เพราะเหตุใด 15. แนวทางปฏิบตั ิที่จะช่วยใหก้ าหนดสมมุติฐานการวจิ ัยท่ีมีคณุ ภาพ มีอะไรบ่าง อย่างไร 16. ในการกาหนดสมมุตฐิ านการวิจยั โดยสว่ นมากจะประสบปญั หาใด 17. ให้ท่านศกึ ษางานวจิ ัย 1 เร่อื ง แล้วพิจารณาว่าสมมตุ ิฐานท่ีกาหนดในงานวจิ ัยน้ัน ๆ เป็น อย่างไร ถกู ต้อง และเหมาะสมหรอื ไม่ อยา่ งไร

บทที่ 5 การออกแบบการวจิ ัย “การออกแบบการวจิ ยั เปน็ กลยทุ ธท์ ีต่ ้องใช้วิจารณญาณ ในการวจิ ัย เพอื่ ให้การวิจยั มี “ความสอดคลอ้ ง” ดงั นั้นการออกแบบการวิจยั จึงไม่ใชก่ ารเลือก แบบการวิจยั ให้ “เหมาะสม”เทา่ น้นั ” Wiersma,2000 :104 ในการปฏิบัตงิ านใด ๆ ให้บรรลุความสาเร็จตามจดุ ประสงค์ทก่ี าหนดไวไ้ ด้อย่างมี ประสิทธภิ าพนน้ั ในการดาเนินการจาเป็นจะต้องมี “การวางแผน”ไว้ล่วงหนา้ ว่า การปฏบิ ตั ิ งานนั้น ๆ มคี วามมุ่งหมายอะไร จะดาเนินการอยา่ งไร มบี ุคคลใดบ้างทเ่ี ก่ียวข้อง จะใช้ วสั ดุอปุ กรณ์อะไร และใช้งบประมาณดาเนินการเทา่ ไรจากแหลง่ งบประมาณใด เป็นตน้ และในกรณขี องการวจิ ัยก็เชน่ เดยี วกันทจ่ี าเปน็ จะตอ้ งมกี ารดาเนินการในลักษณะเชน่ เดียวกนั ท่ีเรียกวา่ “การออกแบบการวิจัย” เพื่อให้การวจิ ัยนัน้ ๆ สามารถทด่ี าเนนิ การในการแสวงหา ข้อมลู /สารสนเทศอยา่ งเป็นระบบ เพื่อนามาใชต้ อบปัญหาในการวิจยั ได้อยา่ งถูกต้อง ชัดเจน และมีประสทิ ธภิ าพต่อไป การออกแบบการวิจัย 1. แบบการวิจยั /การออกแบบการวจิ ัย นักวจิ ยั /นกั วิชาการได้นาเสนอความหมายของแบบการวิจยั และการออกแบบการวิจยั ดังนี้ แบบการวิจยั เป็น แผน โครงสร้าง หรือยทุ ธวธิ ีสาหรบั การศึกษาค้นควา้ เพื่อให้ได้คาตอบของ ปัญหาการวจิ ยั และควบคมุ ความแปรปรวนท่ีเกิดข้นึ ซงึ่ แผน เป็นโครงรา่ งทแี่ สดงแนวทางและ ข้ันตอนการดาเนินการวจิ ยั ในภาพรวม, โครงสร้าง เปน็ รูปแบบของความสัมพนั ธ์ระหวา่ งตัวแปร หรือ กรอบแนวความคิดในการวจิ ัย(Conceptual Framework) และยุทธวธิ ี เปน็ วิธกี ารท่ีเลือกใชเ้ พ่ือให้ ไดค้ าตอบของปัญหาการวจิ ัย ไดแ้ ก่ การเก็บรวบรวมข้อมูล หรือการวิเคราะหข์ ้อมูล เปน็ ต้น (Kerlinger, 1986 : 300 ;Wiesma,2000:81) แบบการวจิ ยั หมายถงึ แผนงานที่แสดงวธิ ีการอย่างมีระบบ มขี นั้ ตอนในการแสวงหา ข้อเท็จจรงิ เพอ่ื ให้ได้คาตอบของปัญหาการวิจัยทม่ี ีความเที่ยงตรงและนา่ เช่ือถือ(นงลกั ษณ์ วิรัชชัย, 2543 : 118) การออกแบบการวจิ ยั (Research Design) หมายถึง การวางแผนและการจดั การ โครงการวจิ ยั ตัง้ แต่การกาหนดปัญหาการวจิ ัยจนกระทงั่ การเขียนรายงานและการเผยแพร่ โดย เกยี่ วขอ้ งกับแนวคดิ 4 ประการ ได้แก่ 1)กลยทุ ธก์ ารวจิ ยั 2)กรอบแนวคิด 3)ข้อมลู และ4)เครอื่ งมือ วิธีการเกบ็ รวบรวมและการวิเคราะหข์ ้อมูล(Punch, 1998 : 66)

หน้าที่ 132  บทที่ 5 การออกแบบการวจิ ัย การออกแบบการวิจัย หมายถึง การจากัดขอบเขตและวางรูปแบบการวิจยั ให้ไดค้ าตอบท่ี เหมาะสมกบั ปญั หาการวิจยั ผลจากการออกแบบการวจิ ัยจะทาให้ได้ตวั แบบการวิจยั ทเี่ ปรียบเสมือน พมิ พเ์ ขียวของการวจิ ยั (สมหวงั พธิ ยิ านุวัฒน์, 2530 : 51) การออกแบบการวิจยั เปน็ การกาหนดรูปแบบ ขอบเขตและแนวทางการวิจยั เพื่อใหไ้ ด้ คาตอบหรือข้อความรูต้ ามปญั หาการวิจัยทีก่ าหนดไว(้ ศริ ิชัย กาญจนวาสี, 2538 : 8) การออกแบบการวิจยั เปน็ การกาหนด 1)กิจกรรมและรายละเอยี ดของกิจกรรมทผี่ ู้วจิ ยั จะดาเนินการตงั้ แตเ่ ร่ิมต้นจนกระทั่งสิ้นสดุ การวิจัย อาทิ การเตรียมการ การกาหนดสมมตุ ฐิ าน การกาหนดตัวแปร หรือการวิเคราะห์ข้อมลู เป็นต้น และ 2) วธิ กี ารและแนวทางท่ีจะทาให้ ได้ข้อมูลจากประชากรหรือกลุ่มตัวอย่างที่ต้องการศึกษา(สชุ าติ ประสิทธริ์ ัฐสนิ ธุ์, 2546 : 145) การออกแบบการวจิ ยั เป็นการกาหนดโครงสรา้ ง/กรอบการวิจัยทมี่ ีความครอบคลุมตั้งแต่ การกาหนดปญั หาการวจิ ยั การกาหนดตัวแปร การเก็บรวบรวมขอ้ มลู การวิเคราะห์ขอ้ มูล หรือ การสรุปผล(การทาพมิ พเ์ ขียวการวจิ ยั ) (ผ่องพรรณ ตรยั มงคลกลู ,2543 : 24) สรปุ ไดว้ า่ การออกแบบการวจิ ัย เป็นกระบวนการทีใ่ ชใ้ นการวางแผนการดาเนินการวิจัย ทมี่ รี ะบบ และมีข้นั ตอนเพ่ือให้ได้มาซง่ึ ข้อมลู /สารสนเทศที่ต้องการนามาใช้ในการตอบปัญหา การวิจยั ตามจุดประสงค์/สมมุตฐิ านของการวิจัยทกี่ าหนดไว้ได้อย่างถกู ต้อง ชดั เจน รวดเร็วและ มคี วามนา่ เชื่อถอื ทเี่ ปรียบเสมอื นพมิ พ์เขียวของผ้วู จิ ัยในการกาหนดโครงสรา้ ง แผนการปฏิบตั ิ การวิจัยหรอื ยุทธวิธีเพ่อื ใชใ้ นการตรวจสอบการดาเนินการวิจยั ว่าเปน็ ไปตามเวลาทก่ี าหนดไว้ หรือไม่ วา่ ก่อนท่จี ะปฏิบตั กิ ารดาเนนิ การวิจยั อาทิ ในแต่ละข้นั ตอนจะมกี ารดาเนินการอยา่ งไร, มีบุคคลใดท่เี กี่ยวข้อง, ใชว้ สั ดอุ ุปกรณ์อะไร, ใช้สถานทด่ี าเนินการ เวลาเร่ิมตน้ หรือสน้ิ สดุ การดาเนนิ การเมือ่ ไร มีรูปแบบการทดลองอยา่ งไร, จะเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลอย่างไร และวิเคราะหข์ ้อมลู และนาเสนอข้อมูลอยา่ งไร เป็นต้น และหลงั จากการดาเนินการวิจัยเสร็จสิ้นแลว้ จะเขยี นรายงาน การวจิ ัย อภปิ รายผล และให้ขอ้ เสนอแนะในการวจิ ยั อย่างไร 2. จดุ มงุ่ หมายของการออกแบบการวจิ ยั ในการออกแบบการวจิ ยั ในการดาเนินการวจิ ัย มจี ดุ มงุ่ หมาย 2 ประการ ดงั น้ี (Kerlinger, 1986 : 279 ; สมหวงั พิธิยานุวฒั น์, 2530 :53-56 ; นงลักษณ์ วริ ชั ชัย, 2543 : 119) 2.1 เพอ่ื ให้ไดค้ าตอบของปญั หาการวจิ ยั ท่ถี ูกตอ้ ง ชดั เจน และมีความเทีย่ งตรงน่าเชอ่ื ถือ โดยการสร้างกรอบแนวคดิ การวจิ ยั ท่รี ะบุความสมั พันธ์ระหวา่ งตัวแปรท่ศี กึ ษา เพ่ือนาไปใชเ้ ปน็ แนวทางในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู หรอื การวเิ คราะห์ขอ้ มลู 2.2 เพือ่ ควบคมุ ความแปรปรวนของตวั แปรการวิจัยท่ีศึกษา โดยใชแ้ นวทาง 3 ประการ ดงั น้ี 1) ศกึ ษาให้มีความครอบคลมุ ขอบเขตของปัญหาการวิจัยให้มากทสี่ ดุ 2) ควบคุมอทิ ธพิ ล ของตัวแปรที่ไม่อยใู่ นขอบเขตของการวิจยั แต่จะมีผลกระทบต่อผลการวจิ ัยให้ได้มากที่สุด และ 3) การลดความคลาดเคล่อื นที่จะเกดิ ขน้ึ ในการวจิ ัยให้เกดิ ขึ้นน้อยทสี่ ดุ

 ระเบยี บวิธีการวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าที่ 133 สนิ พันธุ์พนิ ิจ(2547 : 87-88) ไดน้ าเสนอการออกแบบการวจิ ยั มีความม่งุ หมาย ดังน้ี 1) เพื่อใหไ้ ดค้ าตอบของปัญหาการวิจัยทีถ่ ูกตอ้ ง ในการออกแบบการวิจัยตามแนวคิด ทฤษฏี จะทาให้ได้แบบแผนการวจิ ยั ท่ีดาเนนิ การตามวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ จะทาให้ไดผ้ ลการวจิ ยั ทม่ี ี ความเท่ยี งตรง มีความเชื่อม่นั และชดั เจน 2) เพื่อควบคุมความแปรปรวนของตัวแปร วธิ ีการทาความแปรปรวนของตวั แปรท่ศี ึกษา มีคา่ สูง ลดความคลาดเคล่ือนให้เหลือน้อยและความแปรปรวนโดยการสมุ่ และควบคุมตัวแปร แทรกซ้อนโดยใช้แบบแผนการวิจัยทเี่ หมาะสม 3) เพ่อื ให้ได้การวดั ตวั แปรถูกต้อง ถา้ ในการออกแบบการวิจัยไดก้ าหนดตวั แปรแลว้ กาหนด คานิยามเชงิ ทฤษฎี คานิยามเชิงปฏิบตั ิการ และกาหนดสถิติที่เหมาะสมในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู จะทา ใหก้ ารวัดตวั แปรแต่ละประเภทได้อย่างถูกต้อง ลดความแปรปรวนและความคลาดเคล่อื นได้ 4) เพอ่ื ใหก้ ารดาเนนิ การวิจยั เปน็ ระบบ การออกแบบการวจิ ัยจะต้องระบุข้ันตอนใน การดาเนนิ การทีช่ ัดเจน ต่อเน่ือง เพ่ือสะดวกต่อการติดตาม ตรวจสอบความก้าวหน้าและปญั หา อุปสรรคที่เกดิ ขึน้ ได้อย่างชดั เจน และถกู ต้อง 5) เพ่ือความประหยัด ในการวางแผนการใชง้ บประมาณ แรงงานและกาหนดเวลา ควรกาหนดอยา่ งเหมาะสม มเี หตุผล จะทาใหก้ ารดาเนินการวิจัยสามารถดาเนินการไปอยา่ งรวดเรว็ และมีประสิทธิภาพ 3. ความแปรปรวนในการวจิ ยั เชงิ ปริมาณ ในการวจิ ัยเชิงปรมิ าณจาแนกตัวแปร เปน็ 3 ประเภท ได้แก่ ประเภทท่ี 1 ตัวแปรตาม (Dependent Variable) เป็นตวั แปรหลักทสี่ นใจศึกษา ประเภทที่ 2 ตวั แปรต้น(Independent Variable)หรือเป็นตวั แปรที่เปน็ สาเหตุหรือตวั แปรจดั กระทาทีส่ นใจศึกษา ว่ามีอิทธพิ ลต่อ ตัวแปรตาม และมงุ่ ศึกษาวา่ มีขนาดของอิทธิพลมากนอ้ ยเพียงใด และประเภทที่ 3 เป็นตัวแปร แทรกซ้อน(Extraneous Variable)ทีเ่ ปน็ ตัวแปรทม่ี ีความสัมพนั ธก์ บั ตวั แปรตาม แต่ไมต่ ้องการ/ ไมส่ นใจที่จะศึกษาดังนัน้ จะต้องควบคุมหรอื กาจัดอิทธิพลเพอื่ ให้ได้ผลการวจิ ยั ที่มคี วามเท่ยี งตรง โดยทคี่ วามสัมพนั ธข์ องตัวแปรท้ัง 3 ประเภทแสดงได้ในลักษณะของความแปรปรวน (Variance) มีดังน(้ี นงลกั ษณ์ วริ ชั ชยั ,2543:9-11) 3.1 ความแปรปรวนอยา่ งมรี ะบบ(Systematic Variance) หรอื ความแปรปรวนรว่ ม (Covariance) หรอื ความแปรปรวนทีอ่ ธบิ ายได้(Explained Variance) หรอื ความแปรปรวนจาก ผลการทดลอง (Experimental Variance) เปน็ ความสมั พันธร์ ะหวา่ งตวั แปรต้นและตวั แปรตาม ท่ตี อ้ งการศึกษา 3.2 ความแปรปรวนจากตวั แปรแทรกซ้อน(Extraneous Variance) เปน็ ความสัมพนั ธ์ ระหว่างตวั แปรตามและตวั แปรแทรกซ้อนทป่ี นเปื้อน(Confound)กบั ความแปรปรวนอย่างมี ระบบ ท่เี ป็นความแปรปรวนที่ต้องการจะขจัดออกจากการวจิ ยั

หน้าที่ 134  บทท่ี 5 การออกแบบการวจิ ัย 3.3 ความแปรปรวนจากความคลาดเคล่ือน(Error Variance) เปน็ ความแปรปรวน ท่ไี มส่ ามารถอธิบายไดด้ ว้ ยตวั แปรในการวิจัย ท่อี าจจะเกิดข้ึนจากสาเหตุตา่ ง ๆ อาทิ ความแตกต่าง ระหว่างกลมุ่ ตัวอย่าง ความคลาดเคล่ือนในการวดั หรือความลาเอียงในการทดลอง เปน็ ต้น สามารถแสดงความสมั พันธ์ของความแปรปรวนของตวั แปรได้ดังแสดงในภาพที่ 5.1 (นงลกั ษณ์ วิรชั ชัย,2543:9) ความแปรปรวนตัวแปรแทรกซอ้ น ความแปรปรวนจากตวั แปรแทรกซอ้ น (Extraneous Variance) ความแปรปรวนตัวแปรตน้ ความแปรปรวนตัวแปรตาม ความแปรปรวนอยา่ งมีระบบ ความแปรปรวนจากความคลาดเคล่ือน (Systematic Variance) (Error Variance) ภาพที่ 5.1 ความสัมพนั ธ์ของความแปรปรวนของตัวแปร 4. หลกั การในการควบคุมความแปรปรวนในการวจิ ัย ความแปรปรวนในการวจิ ยั เป็นส่ิงทเี่ กดิ ขน้ึ เสมอ ๆ ดังนนั้ ผ้วู จิ ัยจะต้องกาหนดขอบเขต การวิจัยให้มีความครอบคลมุ ท้งั ตวั แปรต้นและตัวแปรตามและปัญหาการวิจยั ใหม้ ากที่สุด และ จะต้องควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนท่ีไมอ่ ยู่ในขอบเขตการวจิ ัยแตส่ ่งผลกระทบต่อการวิจัย และ ต้องลดความคลาดเคลื่อนในการวิจัยใหน้ ้อยทส่ี ดุ ท่เี ป็นหลักการในการควบคุมความแปรปรวน ในการวิจัยที่เรียกวา่ “หลักการของแมกซ์ –มนิ -คอน(Max-Min-Con. Principle)”ทมี่ รี ายละเอยี ด ดังนี(้ นงลกั ษณ์ วริ ชั ชัย, 2533 : 11-14 ; Kerlinger, 1986 :284-290) 4.1 การเพิ่มความแปรปรวนท่มี รี ะบบใหม้ ีค่าสูงสุด(Maximization of Systematic Variance) เปน็ การจัดกระทาตัวแปรต้นให้ความแตกตา่ งกันมากทส่ี ดุ และไม่มีความสัมพนั ธ์กันเอง (Multicolinearity) หรือการสุม่ ตัวอยา่ งท่เี ป็นตัวแทนทีด่ ีของประชากรท่ศี ึกษา จะทาให้ไดค้ า่ ของ ตัวแปรตามทเี่ ป็นจริง หรือเป็นกาหนดกรอบความคดิ ทีแ่ สดงตัวแปรตน้ ทงั้ หมดทเ่ี กยี่ วข้องตามทฤษฏี แตไ่ ม่มคี วามเกี่ยวขอ้ งกันเอง เพื่อให้เกิดความแปรปรวนอย่างมีระบบมากท่สี ดุ 4.2 การลดความคลาดเคลื่อนใหเ้ หลือน้อยท่ีสุด(Minimization of Error Variance) มีวธิ ีการดังนี้ 4.2.1 การทาใหเ้ ครอื่ งมอื การวิจัยใหม้ ีความเช่ือม่ันสงู ขึน้

 ระเบียบวิธีการวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หน้าท่ี 135 4.2.2 การลดความคลาดเคลอื่ นทเ่ี กดิ จากการดาเนินการวจิ ยั ใหน้ อ้ ยท่สี ุด อาทิ ความคลาดเคล่ือนจากการสุ่มตัวอย่าง ความคลาดเคลื่อนในการวัด ความลาเอยี งในการทดลอง ขอ้ มลู ที่สูญหายที่ไมไ่ ด้เกิดจาการสมุ่ หรือความคลาดเคล่ือนในการวิเคราะหข์ ้อมูล(การลงรหัส / การใชส้ ถติ ทิ ่ีไม่เหมาะสม) เป็นตน้ 4.3 การควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนให้มีค่าคงที่(Control of Extraneous Variables) เปน็ ยุทธวิธที สี่ าคญั ในการกาหนดแบบการวิจยั จะทาให้ผลการวิจัยท่ีไดน้ ้ันแสดงความสัมพนั ธร์ ะหว่าง ตัวแปรตน้ และตัวแปรตามทแี่ ท้จรงิ อย่างชัดเจน มีวิธกี าร ดังน้ี (Wiersma,2000:88) 4.3.3.1 กระบวนการสุ่ม(Randomization) เปน็ กระบวนการท่ปี ระกอบดว้ ยการสุ่ม 3 ขน้ั ตอน ดังนี้ 1) การสมุ่ กลมุ่ ตวั อยา่ ง(Random Sampling) เปน็ การใชว้ ธิ ีการสุ่ม เพื่อให้ ได้กลุม่ ตวั อยา่ งตามทตี่ ้องการอย่างครบถ้วน อาทิ การส่มุ อย่างงา่ ย การสมุ่ อยา่ งมีระบบ การสมุ่ แบบกลุม่ การสุ่มแบบแบง่ ช้ัน หรอื สุ่มแบบหลายขนั้ ตอน เป็นตน้ 2) การสุ่มกล่มุ ตัวอย่างเขา้ กลุ่ม(Random Assignment) เปน็ การสมุ่ กลมุ่ ตวั อยา่ งทีไ่ ด้จากการสุ่มกลมุ่ ตวั อย่างเขา้ กลมุ่ ตามข้อ 1) ทไ่ี ดก้ าหนดไว้ 3) การสมุ่ กล่มุ ทดลองแบบสุ่ม(Random Treatment) เปน็ การสมุ่ กลมุ่ ตวั อย่างท่ดี าเนนิ การตามข้อ 2) แล้วว่ากลุม่ ใดจะเป็นกลุ่มควบคมุ หรอื กลุ่มทดลอง 4.3.3.2 การจับคู(่ Matching) เปน็ การควบคมุ ตัวแปรแทรกซ้อนโดยนาตัวแปรแทรก ซอ้ นมาใชเ้ ปน็ เกณฑ์ในการจบั คู่ระหวา่ งกลุ่มตัวอยา่ ง เพื่อสุ่มกล่มุ ตวั อยา่ งเข้ากลุ่มท่ีมี ความเทา่ เทียมกัน แต่วิธกี ารนี้จะสามารถควบคมุ ตัวแปรแทรกซ้อนได้เพียง 2-3 ตวั เทา่ นนั้ และ เมอ่ื ใช้วธิ ีการนแี้ ล้วจะต้องใชว้ ิธีการทางสถติ ิในข้อ 4.2.3.4 ดาเนนิ การวเิ คราะห์ข้อมลู ด้วย 4.3.3.3 การกาจัดตัวแปรแทรกซ้อน(Elimination) เปน็ วธิ ีการการขจดั ตัวแปร แทรกซ้อนออกจากการวิจัยโดยเดด็ ขาด ทาให้ได้ผลการวจิ ัยไมค่ รอบคลมุ ตวั แปรตามทฤษฏี หรอื ตามความตอ้ งการในการนาไปใช้ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ 4.3.3.4 การนาตวั แปรแทรกซ้อนเป็นตวั แปรที่ศึกษาแล้วใช้วธิ ีการทางสถติ ิ ในการควบคุม(Statistical Control) เปน็ วธิ กี ารใชว้ ธิ ีการทางสถติ ิที่เหมาะสมเพ่ือควบคมุ ตัวแปร แทรกซ้อนในการวิจยั อาทิ การวิเคราะหค์ วามแปรปรวนรว่ ม(Analysis of Covariance : ANCOVA) การวิเคราะห์ถดถอยพหุ(Multiple Regression Analysis) หรอื การวเิ คราะห์ความแปรปรวน แบบหลายทาง เปน็ ต้น 5. ลักษณะของแบบการวิจยั ทดี่ ี ลักษณะของแบบการวจิ ัยที่ดีทน่ี ามาใชใ้ นการวจิ ัยท่มี ีประสิทธิภาพ ควรไดพ้ จิ ารณาจาก ลักษณะ 4 ประการ ดงั นี้ (Wiersma, 2000 : 94-95) 5.1 ปราศจากความมีอคติ(Freedom from Bias) การออกแบบการวิจัยจะต้องทาให้ ข้อมูลท่ีไดแ้ ละการวิเคราะห์ข้อมูลมีความคลาดเคลอื่ นน้อยทีส่ ุด มคี วามเท่ียงตรง มคี วามเช่อื มั่น และ สามารถนาผลการวเิ คราะหไ์ ปใชต้ อบปัญหาการวิจัยได้อย่างชดั เจน

หนา้ ท่ี 136  บทท่ี 5 การออกแบบการวจิ ยั 5.2 ปราศจากความสบั สน(Freedom of Confounding)การออกแบบการวจิ ัยจะต้องชว่ ย ขจดั ตัวแปรแทรกซอ้ นทีจ่ ะเป็นสาเหตุใหเ้ กิดความแปรปรวนในตวั แปรตามเพราะมฉิ ะนั้นจะทาให้ ไม่สามารถจาแนกไดว้ า่ ตัวแปรใดเป็นสาเหตทุ ีก่ ่อให้เกิดความแปรปรวนในตัวแปรตาม 5.3 สามารถควบคมุ ตัวแปรแทรกซ้อนได้(Control of Extraneous Variables ) การออกแบบการวจิ ยั จะต้องสามารถควบคุมตวั แปรแทรกซอ้ นโดยการทาให้เปน็ ตวั คงที่หรอื กาจัด ออกจากจากสถานการณ์ โดยให้เหลือเพยี งแต่ผลการวจิ ยั ทเ่ี นอ่ื งมาจากตวั แปรอสิ ระท่ีมอี ิทธพิ ลตอ่ ตัว แปรตามเทา่ น้นั 5.4 มีการเลือกใช้สถิติทีถ่ ูกตอ้ งในการทดสอบสมมตุ ฐิ าน(Statistical Precision for Testing Hypothesis) การออกแบบการวจิ ัยที่ดจี ะต้องเลือกใชส้ ถติ ิทใ่ี ชใ้ นการทดสอบสมมตุ ฐิ าน ทีถ่ กู ต้องและเหมาะสมกับตวั แปรท่ีศกึ ษา เบร(ิ Beri.1989 :65) ไดน้ าเสนอลักษณะของการออกแบบการวิจยั ทด่ี ี มีประสิทธภิ าพ ในการวจิ ัยทมี่ ีลักษณะ ดงั น้ี 1) เป็นแนวทางการหาคาตอบของปัญหาการวจิ ยั ได้อยา่ งแทจ้ ริง 2) สามารถควบคุมตวั แปรทั้งตัวแปรสาเหตทุ ่ตี ้องการศึกษา และตัวแปรท่ไี ม่ต้องการศกึ ษา โดยใช้การสมุ่ ตัวอยา่ ง(Random Sampling) การสุ่มกล่มุ ตวั อยา่ ง(Random Assignment) และการ ส่มุ การจดั กระทาให้แก่กลมุ่ ตัวอยา่ ง(Random Treatment) 3) ควบคมุ ให้เกิดความเท่ียงตรงภายในท่ีผลการวิจัยได้มาจากตัวแปรสาเหตุเทา่ น้ัน และ ความเทยี่ งตรงภายนอก ท่จี ะสามารถใช้ผลการวจิ ัยสรุปอ้างองิ ไปสปู่ ระชากรได้ 6. ประเภทของการออกแบบการวจิ ยั ในการออกแบบการวจิ ยั ทใ่ี ช้ในการวิจัย จาแนกเป็น 3 ประเภท ดงั นี้(พิชิต ฤทธิจ์ รญู , 2544 :149-150) 6.1 การออกแบบการวัดค่าตัวแปร(Measurement Design) เปน็ การกาหนดวิธกี ารวัดคา่ หรอื การสร้างและพฒั นาเคร่ืองมอื ที่ใช้วดั ค่าตวั แปร โดยมลี าดับขัน้ ตอนในการดาเนนิ การ ดงั นี้ 6.1.1 กาหนดวตั ถปุ ระสงค์ของการวดั คา่ ตวั แปร 6.1.2 กาหนดโครงสรา้ ง และคานิยามของคา่ ตวั แปรแต่ละตวั ที่ตอ้ งการวดั ให้ ชัดเจน 6.1.3 กาหนดระดับการวัดของข้อมลู และ สรา้ งและพฒั นาเครื่องมือทใ่ี ชว้ ัด ค่าตัวแปร 6.1.4 ตรวจสอบคณุ ภาพทจี่ าเปน็ ต้องมีของเคร่ืองมือท่ใี ช้วดั ค่าตัวแปร ได้แก่ ความเทย่ี งตรง (Validity) และความเช่อื ม่นั (Reliability) 6.1.5 กาหนดวิธกี ารและขนั้ ตอนการเก็บรวบรวมข้อมลู ให้ชัดเจน 6.1.6 กาหนดรปู แบบ วิธีวดั ค่าตวั แปร หรอื การควบคุมตัวแปรเกิน โดยวิธกี ารสุ่ม, การนามาเปน็ ตวั แปรท่ศี ึกษา,การจัดสถานการณ์ให้คงท่ี หรือการควบคมุ ดว้ ยวธิ กี ารทางสถติ ิ

 ระเบยี บวิธีการวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หนา้ ที่ 137 6.2 การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง (Random Sampling Assignment ) เปน็ การดาเนินการ เพื่อให้ได้กล่มุ ตัวอย่างท่เี ปน็ ตัวแทนท่ีดีของประชากรในการนามาศึกษา โดยมขี น้ั ตอนใน การดาเนินการ ดังนี้ 6.2.1 กาหนดวิธีการสุ่มตัวอยา่ ง เป็นการกาหนดขอบเขตและเลือกวธิ ีการส่มุ กลุ่มตวั อยา่ งท่จี ะทาให้ไดก้ ล่มุ ตวั อย่างท่ีเปน็ ตวั แทนที่ดีของประชากรท่ีศึกษา ท่ีอาจจะใช้วิธีการสมุ่ โดยใชค้ วามนา่ จะเปน็ ท่ีใหโ้ อกาสแก่ทุก ๆ หน่วยของประชากรมีโอกาสทจ่ี ะไดร้ ับการสุม่ เปน็ กลมุ่ ตัวอย่าง หรือถา้ มขี ้อจากัดบางประการในการวจิ ัยอาจจะมกี ารเลือกใชว้ ธิ ีการสุ่ม(Sampling) หรือการเลอื ก(Selection)กลุม่ ทเ่ี ฉพาะเจาะจงมาศึกษา โดยไมใ่ ชห้ ลักการของความนา่ จะเปน็ กไ็ ด้ 6.2.2 กาหนดขนาดของกลมุ่ ตวั อย่างท่ีเหมาะสม เป็นการกาหนดขนาด/จานวนของ กลมุ่ ตวั อย่างจากประชากรอย่างเหมาะสม และมีความเปน็ ไปได้โดยการใชส้ ตู รการคานวณ หรือตารางเลขสุ่ม 6.3 การออกแบบการวิเคราะหข์ ้อมูล เป็นการวางแผนในการดาเนินการกับข้อมูลอย่างเป็น ระบบ เพื่อทีจ่ ะได้ใช้ในการตอบปญั หาการวิจัยตามจุดมงุ่ หมายของการวิจยั ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพมี ดงั น้ี 6.3.1 การเลอื กใชส้ ถิติเชงิ บรรยาย(Descriptive Statistics)เปน็ การเลอื กใชส้ ถติ ิใน การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ท่เี หมาะสมกับระดับของข้อมลู และสอดคล้องกบั จุดมุ่งหมายของการวจิ ยั เพอ่ื ให้ ไดผ้ ลการวจิ ัยในการบรรยายลักษณะต่าง ๆ ที่ศึกษาได้อยา่ งถกู ต้อง ชดั เจน และน่าเชื่อถือ หรือ กล่าวไดว้ ่าผลการวิจยั มีความเที่ยงตรงภายใน(Internal Validity) 6.3.2 การเลือกใช้สถติ เชิงอา้ งอิง(Inferential Statistics) เปน็ การเลือกใชส้ ถิติใน การวเิ คราะห์ทเ่ี หมาะสมกับข้อตกลงเบื้องต้น(Basic Assumption) และสอดคล้องกับจุดมงุ่ หมายของ การวิจยั เพือ่ ให้ได้ผลการวจิ ยั ทีถ่ กู ต้อง ชดั เจน นา่ เชื่อถอื และสามารถใชผ้ ลการวจิ ยั ในการสรปุ อา้ งอิงผลการวิจัย(Generalization)จากกลุ่มตวั อย่างไปยังประชากรได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ หรอื กล่าวได้วา่ ผลการวจิ ยั มีความเทีย่ งตรงภายนอก(External Validity) 7.วธิ กี ารวางแผนแบบการวิจยั วธิ ีการวางแผนแบบการวจิ ัย เป็นการกาหนดขัน้ ตอนทจ่ี ะต้องดาเนนิ การใหอ้ ยา่ งถูกต้อง ชดั เจน เพ่อื ให้งานวิจยั เกิดประสิทธผิ ลและมปี ระสทิ ธิภาพมากทสี่ ุด ซงึ่ จาแนกข้นั ตอนวิธีการวางแผน แบบการวจิ ยั ได้ดังน้(ี นงลกั ษณ์ วิรชั ชัย,2543 : 121-125) 7.1 การกาหนดปญั หาการวจิ ัย คาถามการวิจัย และวัตถุประสงคข์ องการวจิ ัย เป็น ขัน้ ตอนของการพจิ ารณาปัญหาการวิจยั ทจี่ ะต้องมีความชัดเจนที่แสดงความสัมพันธร์ ะหวา่ งตวั แปร ใชภ้ าษางา่ ย ๆ และสามารถหาคาตอบได้ เปน็ ปญั หาทมี่ ีความสาคญั และให้ประโยชนใ์ นการนาไปใช้ และผู้วจิ ัยมีความรู้ความสามารถอย่างเพยี งพอท่จี ะดาเนินการวิจยั ได้รวมท้ังการกาหนดคาถาม การวจิ ัย และวัตถปุ ระสงคท์ ่สี อดคล้องกับปัญหาท่มี ีขอบเขต และมคี วามชัดเจนทีจ่ ะใช้เปน็ แนวทางการวิจยั ได้

หน้าที่ 138  บทท่ี 5 การออกแบบการวิจัย 7.2 การศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ยี วข้อง เปน็ ขั้นตอนของการศกึ ษาเอกสารและ งานวิจยั ท่ีเกีย่ วข้องเพ่ือพัฒนากรอบความคิดทฤษฏี(Theoretical Framework) ท่แี สดงความสัมพนั ธ์ ระหว่างปัญหาการวิจยั และทฤษฏีทที่ าให้ไดต้ วั แปรที่จะศกึ ษาและควบคุมและกรอบความคิดรวบยอด (Conceptual Framework) ที่แสดงโครงสร้างความสมั พนั ธร์ ะหว่างตัวแปรท่ศี กึ ษาและตัวแปร สอดแทรก จะไดร้ บั ทราบข้อดี-ขอ้ บกพรอ่ งของการวางแผนแบบการวจิ ัยทีจ่ ะนามาใช้ประโยชน์ใน งานวจิ ัยของตนเอง รวมท้งั การไดส้ มมุติฐานการวจิ ัยท่ีสมเหตสุ มผล ทส่ี อดคล้องกบั คาถามการวจิ ัยท่ี สามารถตรวจสอบได้ และมีอานาจในการใช้พยากรณส์ งู 7.3 การกาหนดขอ้ มูล และแหลง่ ข้อมลู เป็นข้ันตอนในการกาหนดตัวแปรทีศ่ ึกษามี อะไรบา้ ง จัดประเภทของตวั แปรว่าเปน็ ตัวแปรสาเหตุ ตวั แปรผล ตวั แปรแทรกซอ้ นหรือตวั แปร สอดแทรกตามกรอบแนวคดิ ความคดิ รวบยอด ท่ตี ้องนามากาหนดเป็นคานยิ ามเชิงปฏบิ ตั ิการ ทสี่ ามารถวดั และสังเกตได้อย่างชดั เจน และหาวิธีการควบคมุ ตวั แปรแทรกซ้อนใหไ้ ด้มากท่ีสดุ และ มีการกาหนดกลุ่มตวั อย่างท่เี ป็นตวั แทนท่ดี ีจากประชากรด้วยการเลอื กใช้ “วิธีการสมุ่ ”ท่ีเหมาะสมกบั ตวั แปรทจ่ี ะศึกษา เพื่อให้ได้ผลการวจิ ยั ท่ีมคี วามเท่ียงตรงทั้งภายในและภายนอก 7.4 การกาหนดเครอื่ งมือและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นข้นั ตอนในการกาหนด รายละเอยี ดเนื้อหาสาระ วธิ กี ารสรา้ งและการหาคณุ ภาพของเครื่องมือ และกาหนดรายละเอียด ขนั้ ตอนของการเก็บรวบรวมข้อมลู ตามประเภทของการวจิ ยั อาทิ การวิจยั เชงิ ทดลองจะต้องกาหนด วิธีการดาเนนิ การทดลอง การจัดกระทาตัวแปรสาเหตุ และการวดั ตวั แปรผลใหช้ ดั เจน เป็นต้น 7.5 การกาหนดวธิ ีการวเิ คราะหข์ ้อมูลและสรุปผลการวิจัย เปน็ ข้นั ตอนการวางแผน การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ทไ่ี ด้รับวา่ จะดาเนินการอย่างไร ใช้สถติ ิอะไรทีเ่ หมาะสมกบั ข้อมลู ทดสอบ สมมตุ ฐิ านอย่างไร และผลการวเิ คราะห์ข้อมูลสามารถใช้ตอบปัญหาการวิจยั ได้หรือไม่ 8. ความเทีย่ งตรงของการออกแบบการวจิ ัย ในการออกแบบการวจิ ัย ผู้วจิ ยั มจี ุดมุ่งหมายเพื่อให้ไดผ้ ลการวจิ ยั ที่ถกู ต้อง ชดั เจน มคี วามเทย่ี งตรง และความเช่ือมนั่ ให้มากทส่ี ดุ โดยที่ความเทีย่ งตรงทเ่ี กดิ ข้นึ ในการออกแบบ การวจิ ัยจาแนกได้ 2 ลกั ษณะ ดังน้ี 8.1. ความเทย่ี งตรงภายใน 8.1.1 ความหมายของความเทีย่ งตรงภายใน ความเทีย่ งตรงภายใน(Internal Validity) เป็นลักษณะของการวจิ ัยท่ีจะสามารถ ตอบปญั หา/สรปุ ผลการวจิ ัยไดอ้ ย่างถูกต้อง ชดั เจน และน่าเชื่อถือวา่ ผลทเ่ี กิดขนึ้ กับตัวแปรตามน้นั มีสาเหตเุ น่อื งมาจากตัวแปรอิสระหรือตัวแปรจดั กระทาเท่านน้ั โดยเนน้ การดาเนนิ การวจิ ัยทม่ี ี ความครอบคลมุ ในประเดน็ ดังนี้ 1) การทดสอบสมมตุ ฐิ าน 2) การควบคุมตัวแปรภายนอกทไ่ี มต่ อ้ งการ 3) ความเท่ยี งตรงและความเชื่อม่ันของข้อมลู ที่เก็บรวบรวม