Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระเบียบวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์

ระเบียบวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2020-07-05 11:21:48

Description: ระเบียบวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์
ผู้เขียน รศ.ดร.สมชาย วรกิจเกษมสกุล
ตุลาคม 2554

*
สมชาย วรกิจเกษมสกุล. (๒๕๕๔). ระเบียบวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. อุดรธานี : อักษรศิลป์การพิมพ์.

Keywords: ระเบียบวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์,สมชาย วรกิจเกษมสกุล

Search

Read the Text Version

 ระเบียบวธิ กี ารวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หนา้ ที่ 139 8.1.2 องค์ประกอบท่ีมผี ลต่อความเทยี่ งตรงภายใน(Cambell and Stanley,1969 อา้ งถึงใน ผ่องพรรณ ตรยั มงคลกูล,2543 : 39-40) 8.1.2.1 เหตกุ ารณ์พร้อง/ประวัตใิ นอดตี (History) เปน็ เหตุการณ์ที่เกิดข้นึ ระหวา่ งการทดลองโดยไม่ไดจ้ ัดกระทาหรือจงใจให้เกิดขนึ้ แตม่ ผี ลต่อประเดน็ ทศี่ ึกษาทาให้เกิด ความไม่แน่ใจว่าผลทเ่ี กดิ ข้นึ นั้นเกิดจากตวั แปรทต่ี ้องการหรือเหตกุ ารณพ์ ร้องท่เี กดิ ข้นึ ทาให้ผลสรุป การวิจยั ขาดความเท่ยี งตรงภายใน โดยมแี นวทางแกไ้ ข คอื พยายามจดั ให้กลุ่มตัวอย่างอยู่ในสภาพท่ี เปน็ ปกตใิ หม้ ากท่สี ุด 8.1.2.2 วุฒภิ าวะ(Maturation) เป็นความพร้อมในการเปลย่ี นแปลงของ กลมุ่ ตวั อยา่ งทางธรรมชาติท้ังทางด้านร่างกายและจติ ใจท่ีเกดิ ขึน้ ระหว่างการทดลองมากกว่าเกดิ ขน้ึ จากสถานการณจ์ าลองแล้วส่งผลตอ่ ตวั แปรทตี่ ้องการศกึ ษา จะทาให้ผลสรุปการวิจยั ขาด ความเท่ยี งตรงภายใน โดยมแี นวทางการแก้ไข คือ ใชเ้ วลาชว่ งสน้ั ๆ ในการทดลองหรือใช้ กลุม่ ตวั อยา่ งทมี่ วี ุฒิภาวะทีใ่ กลเ้ คียงกัน 8.1.2.3 การทดสอบ(Testing) เป็นผลจากการทดสอบทใ่ี ชม้ ากกว่า1 คร้ัง ในการทดสอบทาให้กลมุ่ ตัวอย่างเกิดความคุ้นเคย การจดจา หรอื ไปหาเรยี นรเู้ พิม่ เติม ท่ีจะ ส่งผลตอ่ การทดสอบครั้งตอ่ ไปท่จี ะปฏบิ ัติได้มากขน้ึ โดยมีแนวทางการแก้ไข คอื ใช้การทดสอบ เพียงคร้ังเดยี ว หรือใชเ้ คร่ืองมือในการทดสอบท่ีคู่ขนานกนั ท่ใี ชก้ ารวดั ผลทเ่ี กิดขน้ึ เดียวกัน แตต่ ่างฉบบั กนั 8.1.2.4 เครอื่ งมือในการวิจัย(Instrument) การใชเ้ ครอ่ื งมอื ท่ีมีคุณภาพจะทา ใหไ้ ด้รับข้อมลู ที่มีคุณภาพ แต่ถา้ ใช้เครื่องมือท่ีไมม่ ีคณุ ภาพแล้วอาจจะได้รับข้อมูลท่ีมี ความคลาดเคล่ือนทจี่ ะสามารถนามาเปรียบเทียบกันได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ และในการใช้เคร่อื งมือ ของผู้เกบ็ ข้อมลู ท่ีไม่มีความเป็นมาตรฐานเดยี วกันจะทาให้เกิดความคลาดเคล่ือนในการวัด ทาให้ ผลสรุปการวิจัยขาดความเทีย่ งตรงภายใน โดยมีแนวทางการแกไ้ ข คอื ใช้เครอ่ื งมอื เดยี วกัน เวลาเดียวกัน และมีการเกบ็ รวบรวมข้อมูลด้วยวิธกี ารทีเ่ ปน็ มาตรฐานเดยี วกนั 8.1.2.5 การถดถอยทางสถิต(ิ Statistical Regression) เปน็ ผลทเ่ี กิดจากข้อมลู จากกล่มุ ตวั อย่างที่มีคณุ ลักษณะของตัวแปรทสี่ งู มาก(Ceiling Effect) หรือตา่ มาก(Floor Effect) กล่าวคือ ในการนาข้อมูลมาวิเคราะหจ์ ากกลมุ่ ท่ีมีคุณลกั ษณะของตวั แปรทต่ี ้องการสูงมาก จะพบว่ามี คุณลักษณะของตวั แปรจะมีค่าลดลง แตถ่ า้ กลมุ่ ท่ีมีคุณลักษณะของตวั แปรท่ตี อ้ งการตา่ จะพบวา่ มี คณุ ลกั ษณะของตัวแปรจะมีค่าเพม่ิ ขน้ึ โดยมีแนวทางการแกไ้ ข คือ ไมค่ วรเลือกกลุ่มตวั อยา่ งท่มี ี ลกั ษณะเฉพาะเจาะจงมาศึกษาเปรียบเทียบกัน 8.1.2.6 การสมุ่ กลมุ่ ตวั อยา่ งเข้ากลุ่มควบคมุ และกลมุ่ ทดลอง(Random Assignment)เปน็ ความแตกต่างของกล่มุ ต้ังแต่ก่อนการทดลอง ดังน้ันถา้ หลงั การทดลองพบว่า มคี วามแตกต่างกันด้วยจะทาให้ผลสรปุ การวิจยั ขาดความเท่ียงตรงภายใน มีแนวทางการแกไ้ ข คือ ใชก้ ระบวนการสมุ่ กลุม่ ตวั อยา่ ง และการสมุ่ เขา้ กลมุ่ ทดลองและกลมุ่ ควบคุม หรือการจับคู่ตัวอยา่ ง ในการทดลอง

หนา้ ท่ี 140  บทที่ 5 การออกแบบการวจิ ยั 8.1.2.7 การสญู หายของกลุม่ ตวั อย่าง(Experiment Mortality) เป็น การสูญหายของกลมุ่ ตวั อยา่ งในระหวา่ งการทดลองแบบระยะยาว (Longitudinal) หรอื แบบอนุกรม เวลา(Time-series) ดังน้นั จะต้องพจิ ารณาว่ากลุ่มตัวอย่างทีส่ ญู หายไปมีผลกระทบต่อผลการทดลอง หรือไม่ ถา้ มผี ลกระทบจะทาใหผ้ ลสรปุ ของการวจิ ัยขาดความเทีย่ งตรงภายใน โดยมแี นวทางการแก้ไข คอื ใช้เวลาการทดลองที่ส้นั ๆ หรอื ใช้การเสริมแรงเพ่ือกระตนุ้ ให้กลุม่ ตัวอย่างมีความสนใจท่จี ะอยู่ รว่ มกิจกรรมจนกระท่ังเสรจ็ ส้ินการทดลอง 8.1.2.8 อทิ ธิพลร่วมระหวา่ งปัจจยั อ่นื ๆ กับการส่มุ ตวั อยา่ ง เปน็ การพิจารณา อทิ ธิพลที่ร่วมกนั ระหว่างเหตุการณ์พรอ้ งหรือวฒุ ภิ าวะหรือเครอื่ งมอื ฯลฯ กับการสมุ่ ตัวอย่างลาเอียง ทีจ่ ะส่งผลรว่ มกนั ต่อผลการทดลอง ทาให้ผลสรปุ การวิจยั ขาดความเท่ยี งตรงภายใน มีแนวทางการ แก้ไข คอื พยายามลดอิทธิพลของตวั แปรท่อี าจเกดิ ปฏสิ ัมพันธ์กับการคัดเลือก อาทิ ประสบการณท์ ่ี ผ่านมา วฒุ ิภาวะ โดยมีการกาหนดช่วงระยะเวลาทีเ่ หมาะสม หรอื แยกกลุม่ ทดลองจากเหตุการณ์ พเิ ศษทีเ่ กดิ ขึน้ 8.1.2.9 ความคลมุ เครอื ในทศิ ทางของความสัมพันธ์เชงิ เหตุผลของตวั แปร ที่เกิดขนึ้ เน่ืองจากการขาดความชดั เจนในการศึกษาแนวคดิ หรอื ทฤษฏที ่ชี ดั เจนในการตรวจสอบ ความเป็นเหตุผลระหว่างตวั แปร 8.1.2.10 การสับสนของสิ่งทดลอง(Diffusion of Treatment) เป็นความสบั สน ของสิ่งทดลองที่จัดกระทาให้แก่กลุ่มทดลองหรือกลมุ่ ควบคุมที่ระบวุ า่ แตกต่างกันแต่ในการดาเนนิ การ จะได้รับสิ่งทดลองที่เทา่ เทียมกนั และพบว่าสองกลุ่มมคี วามแตกตา่ งกัน แต่ไม่ได้เกิดจากสิง่ ทดลอง อย่างแทจ้ ริง ทาใหผ้ ลสรุปการวิจัยขาดความเทยี่ งตรงภายใน 8.1.2.11 การตอบสนองของกลุ่มควบคุม เป็นความพยายามของกลุ่มควบคุม ที่ต้องการได้รับสงิ่ ทดลองเหมือนกบั กลุ่มทดลอง จงึ เกดิ ความรู้สึกและมีความพยามที่จะทาให้ตนเองมี ความเทา่ เทยี มกบั กลมุ่ ทดลอง ทาใหก้ ารทดสอบสมมุตฐิ านไม่มนี ยั สาคัญ 8.1.2.12 การตอบสนองของกลุม่ ตวั อย่างในกลมุ่ ทดลอง ที่ไมส่ อดคล้องกับ พฤติกรรมท่ีแท้จริง หรอื จงใจใหข้ อ้ มูลทีไ่ ม่สอดคล้องกับความรูส้ ึกท่แี ท้จริง 8.1.3 ความเทย่ี งตรงที่สง่ ผลต่อความเทย่ี งตรงภายใน(ผอ่ งพรรณ ตรยั มงคลกลู , 2543 :26-27 อ้างองิ มาจาก Goodwin,1995) 8.1.3.1 ความเที่ยงตรงเชิงโครงสรา้ ง(Construct Validity) เป็น ความสอดคล้องระหวา่ งแนวคิดระดับนามธรรมสู่การวดั ในระดบั รปู ธรรม โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ใน ข้นั ตอนการนยิ ามเชิงปฏบิ ัติการของตัวแปรทจี่ ะสะท้อนแนวคดิ ระดบั นามธรรมของการวิจัยได้ สอดคล้องตามท่ีควรจะเป็นมากที่สุด ถา้ การให้คานยิ ามท่ีแตกต่างกนั ในตัวแปรเดยี วกันในการวจิ ยั ทม่ี ี รูปแบบเหมือนกันจะให้ผลการวจิ ยั ทแี่ ตกตา่ งกนั ดังนน้ั จาเปน็ จะต้องมกี ารตรวจสอบโดยใช้แนวคิด ทฤษฏี และงานวจิ ัยทเ่ี ก่ียวข้องทจ่ี ะชว่ ยใหต้ ัวแปรมคี วามชัดเจนมากขนึ้ 8.1.3.2 ความเทีย่ งตรงของเครื่องมือวัด(Instrument Validity) เป็น คณุ ภาพของวิธกี ารและเคร่ืองมอื วดั ท่ีจะต้องมีความสอดคล้องกบั ความเท่ยี งตรงเชิงโครงสร้างว่า “สง่ิ ทีว่ ดั ตรงตามท่ีได้กาหนดความหมายหรือไม่”

 ระเบยี บวิธกี ารวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หน้าท่ี 141 8.1.3.3 ความเทย่ี งตรงเชงิ สถิติ(Statistical Conclusion Validity) เป็น คณุ ภาพของการเลือกใช้สถิตเิ พ่ือจัดกระทาและวิเคราะห์ขอ้ มลู ทีถ่ กู ต้อง และข้อมูลมีลักษณะท่ี สอดคล้องกบั ข้อตกลงเบอ้ื งต้นของสถิตนิ น้ั ๆ ทใ่ี นการเลอื กใช้สถติ ิ อาจจะก่อใหเ้ กดิ ความคลาด เคลอ่ื นที่มวี ัตถุประสงค์ หรอื ขาดประสบการณ์ อาทิ จงใจเลือกวิเคราะหห์ รอื นาเสนอผลเฉพาะจุดท่ี สอดคล้องกับสมมุติฐานเทา่ น้ัน หรือ การบิดเบือนข้อมลู หรือผลการวเิ คราะห์ หรือการวเิ คราะห์ แบบลองถูกลองผิดจนกระทง่ั ได้ผลการวเิ คราะหท์ ี่สอดคล้องกบั สมมตุ ิฐาน เปน็ ต้น 8.2 ความเทีย่ งตรงภายนอก 8.2.1 ความหมายของความเที่ยงตรงภายนอก ความเท่ียงตรงภายนอก(External Validity) หมายถงึ ลักษณะของการวจิ ยั ที่ สามารถสรุปอา้ งอิง ผลการวิจัยจากกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาไปสปู่ ระชากรได้ได้อยา่ งถูกต้อง ชัดเจน และนา่ เชอื่ ถือ หมายความวา่ ในการวิจยั คร้ังน้ี ถ้าจะนาไปดาเนินการกับประชากรแลว้ ผลการวจิ ัยก็ ไมแ่ ตกตา่ งจากผลการวจิ ัยทีไ่ ดร้ ับจากการศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างเช่นเดียวกนั (Polit and Hulger,1987:195) 8.2.2 ประเภทของความเทีย่ งตรงภายนอก การจาแนกประเภทของความเท่ียงตรงภายนอกเป็นการจาแนกเพื่อใช้ตอบคาถาม /การวจิ ัย ศกึ ษาคน้ คว้า มีดงั น้ี(ผอ่ งพรรณ ตรยั มงคลกูล และ สุภาพ ฉัตราภรณ,์ 2543:27) 8.2.2.1 ความเทีย่ งตรงเชงิ ประชากร(Population Validity)เปน็ การตอบ คาถามวา่ “ผลการวจิ ัยจะสามารถนาไปใช้กบั ประชากรใด ๆ ไดด้ ี หรือได้มากนอ้ ยเพียงใด”ทอี่ าจจะ เนอ่ื งจากความแตกตา่ งระหวา่ งประชากรเป้าหมายกบั ประชากรในการทดลอง หรือความเหมาะสม ของการจัดกระทาตัวแปรตอ่ ประชากรทเี่ ฉพาะเจาะจง 8.2.2.2 ความเท่ียงตรงเชิงสภาพการณ์(Ecological Validity) เป็น การตอบคาถามวา่ “ผลการวิจยั จะสามารถนาไปใช้ไดใ้ นสถานการณใ์ ด และเม่ือใช้ในสถานการณ์ใด ๆ ณ เวลาท่ีแตกตา่ งกนั จะก่อใหเ้ กดิ ข้อจากดั อย่างไร”ซง่ึ ผลการวิจยั ที่ดีอาจเนื่องมากจากอิทธิพลของ บรรยากาศการทดลอง ความแปลกใหม่ ผูด้ าเนนิ การทดลอง หรือการทดสอบก่อนเรยี น ฯลฯ ทใ่ี นการนาไปใช้จรงิ อาจไม่มอี ิทธิพลเหล่านี้ 8.2.3 ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อความเท่ยี งตรงภายนอก มดี งั น(้ี Cambell and Stanley,1969 : 5-6) 8.2.3.1 อิทธิพลร่วมกนั ระหว่างการสุ่มกล่มุ ตวั อย่างและส่ิงทดลอง เปน็ อิทธพิ ลท่ี เกดิ จากการใชก้ ล่มุ ตัวอยา่ งที่คาดว่าจะมีส่วนทาให้สิง่ ทดลองมปี ระสทิ ธิภาพทาให้ ขาดความเป็นตัวแทนทด่ี จี ากประชากร อาทิ อาสาสมัคร เป็นตน้ 8.2.3.2 อทิ ธพิ ลรว่ มกันระหวา่ งแหลง่ ทดลองและสิ่งทดลอง เป็นอิทธิพลที่เกดิ จาก การใช้แหล่งทดลองทมี่ ีความสะดวกสบายหรอื ให้ความรว่ มมือในการจัดสิ่งทดลองแก่ กลุ่มตัวอย่างทไี่ มม่ ีโอกาสได้กล่มุ ตัวอยา่ งทเี่ ป็นตวั แทนของประชากรอย่างแท้จรงิ

หน้าที่ 142  บทท่ี 5 การออกแบบการวิจัย 8.2.3.3 อทิ ธิพลรว่ มกนั ระหว่างการทดสอบและสง่ิ ทดลอง เปน็ อิทธิพลที่เกิดจาก การทดสอบก่อนใหส้ ่ิงทดลองทกี่ ล่มุ ตัวอยา่ งแลว้ กลมุ่ ตัวอย่างได้ศึกษาเพิ่มเตมิ ลว่ งหน้าก่อนให้ สิ่งทดลอง ทาให้ไม่แนใ่ จวา่ เป็นผลท่เี กิดจากประสิทธภิ าพของสิ่งทดลองหรือไม่ เนอื่ งจาก ความแตกตา่ งของกลุม่ ตัวอย่างจากประชากรท่กี าหนด 8.2.3.4 อทิ ธพิ ลรว่ มกนั ระหว่างเหตุการณ์พร้องและสิง่ ทดลอง เปน็ อทิ ธิพล ท่ีเกดิ จากเหตกุ ารณท์ ีเ่ กดิ ขึ้นทาใหก้ ลุ่มตวั อย่างมีความสนใจหรือตน่ื ตัวทจี่ ะรบั สงิ่ ทดลอง ทาให้ ผลทีเ่ กิดจากส่ิงทดลองมปี ระสิทธภิ าพมากข้ึนกวา่ ปกติ 8.2.3.5 ปฏิกิรยิ าของกล่มุ ตวั อย่างทีม่ ตี ่อการทดลอง เป็นผลที่เกดิ ข้นึ จากการท่ี กลุ่มตวั อย่างรูต้ วั ว่าตนเองไดร้ ับสงิ่ ทดลอง จงึ แสดงปฏิกริ ยิ าทตี่ อบสนองมากกวา่ สภาพปกติ ท่ีไมเ่ ปน็ ไปตามธรรมชาติ 8. 2.3.6 การได้รบั ส่งิ ทดลองทีห่ ลากหลาย เนอ่ื งจากกล่มุ ตัวอย่างจะเป็น กลุ่มตัวอยา่ งที่เฉพาะเจาะจงทนี่ ามาทดลอง ทาให้มีความแตกตา่ งจากประชากรทวั่ ไป และ จะสามารถสรุปอา้ งองิ ไปสปู่ ระชากรท่มี ลี ักษณะเฉพาะท่สี อดคลอ้ งกันเทา่ น้นั สรุปได้วา่ ความเทยี่ งตรงภายในและความเทยี่ งตรงภายนอกมกั จะแปรผันแบบผกพนั กลา่ วคอื งานวจิ ัยที่มกี ารควบคุมสูงส่งผลใหม้ คี วามเท่ยี งตรงภายในสงู จะสามารถนาไปใช้ได้เฉพาะ สถานการณ์ และเฉพาะกลมุ่ ทไ่ี มส่ อดคล้องกบั ความเทยี่ งตรงภายนอกที่สามารถนาไปใช้ได้ใน สถานการณ์ทั่วไป 9.ประเภทของการออกแบบการทดลอง ในการออกแบบการทดลอง มีองคป์ ระกอบทสี่ าคญั ในการนามาพิจารณา 2 ประการ ได้แก่ กระบวนการสุ่ม (Randomization) และการจดั กล่มุ ควบคุม (Control Group) เพ่อื ใชจ้ าแนก ประเภทของการออกแบบการทดลอง เป็น 3 ประเภท ดังน้ี (Cambell and Stanley,1969 : 8-15 ; Burns and Grove,1997 : 274-290 ; ธีระวุฒิ เอกะกุล, 2544 : 69-75 ; ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกูล, 2543 : 43-52 ) 9.1 แบบการทดลองเบือ้ งต้น(Pre-Experimental Designs) เปน็ การออกแบบการทดลอง ทไ่ี ม่มีกระบวนการสุ่ม และไม่มีกลุ่มควบคุม หมายถึง ในการทดลองจะมกี ลุ่มตัวอย่างเพยี งกลมุ่ เดียว คือ กลมุ่ ทดลอง และสมาชกิ ของกล่มุ ทดลองไม่ได้มาจากกระบวนการสุม่ ไม่สามารถอธิบาย ความสัมพันธ์เชิงเหตผุ ล มีแบบแผนการทดลองแบบไม่ทดลอง ดังนี้ 9.1.1 การศึกษาแบบกลุ่มเดยี ววดั ผลหลังทดลอง One –Shot Case Design (Cambell and Stanley,1969 ) XO เม่อื X เป็น ตวั แปรสาเหตทุ ่ีจัดกระทา(Treatment) O เป็น ตัวแปรผลท่ีไดจ้ ากการทดสอบหลงั ทดลอง ภาพท่ี 5.2 การศึกษาแบบกลุม่ เดยี ว One –Shot Case Design

 ระเบียบวธิ กี ารวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หน้าท่ี 143 ลกั ษณะการทดลอง 1) เปน็ การศึกษาเพยี ง 1 กลมุ่ 1 ตวั แปรสาเหตุ ท่ีไมม่ ีกลุม่ ควบคุม 2) มกี ารวัด และการสงั เกตผลท่ีเกดิ ข้นึ เพยี ง 1 ครั้ง ท่ีเป็นการทดสอบหลังเรียน (Posttest) ข้อดขี องแบบแผน 1) เนื่องจากไม่มกี ารทดสอบกอ่ นทดลองสง่ ให้ไมม่ ีผลกระทบต่อตวั แปรตาม ที่เกดิ จากการทดสอบก่อนเรียน 2) มกี ารควบคุมตวั แปรแทรกซอ้ นไดน้ ้อย มีปัญหาเกี่ยวกับความเทีย่ งตรงภายนอก ขอ้ จากดั ของแบบแผน 1) ขาดข้อมลู ในการเปรยี บเทียบผลทเ่ี กิดขน้ึ (1) จากการเปรียบเทียบกบั ตนเองเพื่อพิจารณาการเปล่ยี นแปลงหรือพัฒนาการ (2) จากการเปรียบเทยี บกบั กลุ่มอื่นเพ่ือพจิ ารณาความแตกตา่ งระหวา่ งกลมุ่ 2) ปัญหาความเท่ยี งตรงภายใน (1) เป็นปัญหาที่เกดิ ขึ้นจากเหตุการณ์พร้อง(History) ที่ไม่สามารถอธิบายได้ (2) เปน็ ปญั หาทเ่ี กดิ จากการเปล่ยี นแปลงวุฒภิ าวะของผู้ให้ขอ้ มูล โดยเฉพาะ การทดลองท่ใี ชร้ ะยะเวลายาวนาน (3) เปน็ ปญั หาท่เี กิดจากการสุ่มกล่มุ ตัวอยา่ งเป็นกลมุ่ ทดลอง (4) การสูญหายของผู้ใหข้ ้อมลู ในระหวา่ งการทดลอง โดยเฉพาะผใู้ หข้ ้อมลู ที่สาคญั (Key Person) จะมผี ลกระทบต่อผลการวจิ ัยอย่างชัดเจน แนวการวเิ คราะห์ข้อมูล เปน็ การบรรยายผลการวิจัยจากการทดสอบหลงั เรียนเท่าน้ันท่อี าจจะเปรยี บเทียบ กับเกณฑ์ที่กาหนดให้ และผลการวจิ ัยเกดิ ข้ึนจากการจดั กระทาหรือไม่กไ็ มส่ ามารถอธบิ ายได้ อยา่ งชดั เจน การนาแบบแผนไปใช้ 1) ใช้ตรวจสอบประสทิ ธิภาพของสื่อนวัตกรรมท่ีไดผ้ ลิตข้นึ ว่ามีประสิทธภิ าพตาม เกณฑ์ท่กี าหนดหรือไม่ 2) ใช้ในการวจิ ัยเชงิ ประเมนิ ผลโครงการ ที่จะต้องใช้ความระมัดระวัง ความละเอียดรอบคอบในการพิจารณาผลสรปุ เพ่ือนาไปใช้ในการตัดสนิ ใจ

หน้าที่ 144  บทที่ 5 การออกแบบการวจิ ยั 9.1.2 แบบแผนการทดลองแบบกลุ่มเดยี วทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรยี น(One- Group Pretest-Posttest Design) (Cambell and Stanley,1969) Opretest X Oposttest เม่ือ X เป็นตัวแปรสาเหตทุ ่จี ดั กระทา Opretest เปน็ ผลการทดสอบก่อนทดลอง Oposttest เป็นผลการทดสอบหลังทดลอง ภาพที่ 5.3 แบบแผนการทดลองแบบกลุ่มเดียวทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรียน ลกั ษณะการทดลอง 1) เป็นการศึกษาเพียง 1 กลุ่ม มตี วั แปรสาเหตุ 1 ตัว และไมม่ ีกลุ่มควบคุม 2) มีการทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรยี นทใ่ี ช้เคร่ืองมือฉบับเดยี วกนั /ค่ขู นานเพ่ือใช้ เปรียบเทียบผลท่เี กดิ ข้ึน ขอ้ ดขี องแบบแผน มคี วามเทย่ี งตรงภายในทีด่ ีข้นึ กวา่ แบบท่ี 1(การศึกษาแบบกลุ่มเดยี ว) เนอื่ งจากจะมี การเปรยี บเทียบผลก่อนและหลงั ทดลองเพื่อพจิ ารณาพฒั นาการท่เี กดิ ข้นึ ทาใหป้ ญั หาที่เกดิ จาก การสมุ่ กลมุ่ ตัวอยา่ ง และวฒุ ภิ าวะของผ้ใู ห้ข้อมูลไดด้ ีขน้ึ เพราะใชก้ ารเปรยี บเทียบกบั พ้นื ฐานเดิม ข้อจากัดของแบบแผน 1) อิทธิพลของการทดสอบก่อนเรียนท่จี ะส่งผลต่อความเท่ียงตรงภายในและ ภายนอก 2) ปญั หาความเทย่ี งตรงภายใน (1) เหตุการณ์พร้อง (2) วฒุ ภิ าวะ (3) อิทธิพลของการทดลอง (4) อิทธพิ ลของเครอ่ื งมือวดั (5) อทิ ธิพลระหว่างการคัดเลอื กและองคป์ ระกอบอน่ื ๆ 3) ปญั หาความเทย่ี งตรงภายนอก (1) ปฏิสมั พันธข์ องการทดสอบและตวั แปร (2) ปฏิสมั พันธ์ระหว่างความลาเอียงในการสมุ่ และตัวแปร แนวการวิเคราะห์ขอ้ มลู เป็นการวเิ คราะห์ขอ้ มลู เพื่อเปรยี บเทยี บผลก่อนและหลงั การทดลองท่ีได้มาจาก กลุม่ ตัวอยา่ งกลุ่มเดยี วกัน ที่เปน็ ข้อมลู ทีไ่ มเ่ ปน็ อิสระจากกัน ดังนั้นในการทดสอบสมมุติฐานระหว่าง ค่าเฉลย่ี จึงใช้สถิติการทดสอบค่าทแี บบไม่อิสระ(t-test for Dependent)

 ระเบียบวิธกี ารวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หนา้ ท่ี 145 การนาไปใช้ในการทดลอง เปน็ การวจิ ัยเชิงพฒั นา/เชงิ ประเมนิ เพื่อเปรียบเทียบผลทีไ่ ดร้ ับกอ่ นและหลงั การทดลอง ดงั นั้นผูว้ ิจัยจะต้องใช้ความละเอียด รอบคอบในการสรุปผล เพราะเป็นแบบแผนที่ยงั ขาดความเที่ยงตรงภายในค่อนข้างสงู 9.1.3 แบบแผนการเปรยี บเทียบกลุ่มแบบคงท่ี(Static Group Comparison Design) (Cambell and Stanley,1969) X Oexp Ocon ความไม่เทา่ เทยี มใน การสุ่มตัวอยา่ ง เมือ่ X เป็นตวั แปรสาเหตทุ ่จี ัดกระทา(Treatment) Oexp เปน็ ผลการทดสอบหลงั ทดลองของกลุ่มทดลอง Ocon เป็นผลการทดสอบหลงั ทดลองของกลุ่มควบคุม ------------- เป็นความไมเ่ ทา่ เทยี มกนั กับโอกาสในการสุม่ เข้ากลุ่ม ภาพท่ี 5.4 แบบแผนการเปรียบเทียบกลุ่มแบบคงที่ ลักษณะการศึกษา 1) เป็นการเปรยี บเทยี บของกลมุ่ 2 กลุม่ หรือมากกวา่ ท่ีเปน็ ระหวา่ งกล่มุ ทดลอง ดว้ ยกัน หรอื ระหว่างกลมุ่ ทดลองกบั กลมุ่ ควบคุม 2) เปน็ การศึกษาเปรียบเทยี บผลระหว่างกลุ่มทดลองและกลุม่ ควบคุมทจี่ ดั ไว้แล้ว 3) มกี ารทดสอบหลังการทดลองเพียงคร้งั เดยี วเท่าน้นั ข้อดขี องแบบแผน การเปรียบเทียบข้อมลู ระหวา่ งกลุ่มทาใหค้ วามเทยี่ งตรงภายในดีขึ้น เน่อื งจาก 1) มสี ถานการณ์ที่ใกล้เคยี งกันทาให้มีเหตุการณ์พร้องที่ไดร้ ับคลา้ ยคลึงกัน 2)ไม่มีอิทธิพลของการทดสอบกอ่ นการทดลอง 3) การถดถอยของข้อมูลจาก 2 กลุ่มตวั อยา่ งทม่ี ีความคล้ายคลึงกนั ขอ้ จากัดของแบบแผน 1) ปญั หาเกี่ยวกบั ความเท่ียงตรงภายใน ดังนี้ (1) การสมุ่ ตวั อยา่ งที่เกดิ ข้นึ เนื่องจากมคี วามแตกต่างกนั ในระหวา่ งกลุ่มอยู่ แลว้ และไม่มีข้อมูลพนื้ ฐานก่อนการทดลองเป็นตัวเปรียบเทียบ (2) วุฒภิ าวะของกลมุ่ ตวั อยา่ งทั้ง 2 กลมุ่ มีอัตราการเปล่ียนแปลงที่แตกต่างกนั ทาให้มผี ลตอ่ ผลหลังการทดลองที่แตกตา่ งกนั

หนา้ ที่ 146  บทที่ 5 การออกแบบการวิจัย (3) การสูญหายของตวั อยา่ งระหวา่ งการทดลองทาใหผ้ ลการทดลองที่นามา เปรยี บเทยี บไม่สามารถอธบิ ายได้อย่างชดั เจน 2) ปัญหาจากความเที่ยงตรงภายนอกท่ีเกิดจากการมีปฏสิ มั พันธร์ ะหวา่ งความ ลาเอียงในการสมุ่ กบั ตวั แปรที่ศกึ ษา แนวการวเิ คราะห์ข้อมลู เปน็ การเปรียบเทียบผลการทดสอบหลงั การทดลอง โดยใช้สถิติดงั น้ี 1) ใช้การทดสอบค่าที แบบสองกลุ่มอิสระจากกนั (t-test for Independent) 2) ใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวน(Analysis of Variance)ในกรณีทเ่ี ปรียบเทยี บ ผลมากกวา่ 2 กลุม่ การนาแบบแผนการทดลองไปใช้ 1) ใชใ้ นกรณีท่กี ลุ่มตวั อย่างได้มีการจัดกลุ่มไว้แลว้ 2) ควรพจิ ารณาตวั แปรแทรกซอ้ นท่ีเกดิ ขน้ึ เพ่ือนามาใช้ศึกษาในการอธิบายผลการ ทดลองได้ชัดเจนมากขนึ้ 9.2 แบบการทดลองจรงิ (True-Experimental Designs) เป็นการออกแบบการทดลองทมี่ ี ท้งั กระบวนการสุ่ม และมกี ลมุ่ ควบคุม หมายถึง ในการทดลองจะมีกลมุ่ ตวั อยา่ งสองกลมุ่ คือ กลมุ่ ทดลอง และกลุ่มควบคุม และสมาชิกของทั้งสองกลุม่ ได้มาจากกระบวนการส่มุ จากประชากร เข้าสกู่ ลมุ่ ตวั อย่าง และมีการสุ่มกลุ่มตวั อยา่ งเขา้ สกู่ ลุ่มทดลองและกลมุ่ ควบคุม มแี บบแผน การทดลองแบบทดลอง ดงั นี้ 9.2.1 แบบแผนการทดลองก่อนเรยี นและหลงั เรียนแบบมีกลุม่ ควบคุม(Pretest- Posttest Control Group Design) (Cambell and Stanley,1969) R Opretest1 X Oposttest2 R Opretest3 Oposttest4 เมือ่ X เป็นตวั แปรสาเหตุทจี่ ัดกระทา(Treatment) Opretest1 เป็นผลการทดสอบก่อนทดลองของกล่มุ ทดลอง Oposttest2 เปน็ ผลการทดสอบหลังทดลองของกล่มุ ทดลอง Opretest3 เปน็ ผลการทดสอบก่อนทดลองของกลมุ่ ควบคุม Oposttest4 เป็นผลการทดสอบหลงั ทดลองของกลมุ่ ควบคุม R เป็นการส่มุ ตัวอยา่ งอย่างสมบรู ณ์ ภาพท่ี 5.5 แบบแผนการทดลองก่อนเรยี นและหลังเรียนแบบมีกลุ่มควบคุม

 ระเบยี บวธิ กี ารวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หนา้ ท่ี 147 ลักษณะการทดลอง 1) เป็นการทดลองแบบ 2 กลุ่มหรอื มากกวา่ ระหวา่ งกลมุ่ ทดลองด้วยกัน หรือ ระหวา่ งกลุ่มทดลองกบั กลมุ่ ควบคมุ 2) มกี ารสุ่มตัวอย่าง(Random Assigment) 3) มีการทดสอบกอ่ นทดลองและหลงั ทดลองทุกกลุม่ ข้อดขี องแบบแผน 1) ควบคุมอิทธพิ ลแทรกซอ้ นดว้ ยการสุม่ กลุม่ ตวั อยา่ ง(Random Assignment) 2) มกี ารเปรียบเทยี บข้อมลู ท้ังภายในกลมุ่ โดยใชผ้ ลก่อนทดลองและหลงั การทดลองในแตล่ ะกลุ่มและระหว่างกลุ่ม โดยใชผ้ ลหลงั การทดลองของกลมุ่ มาเปรียบเทียบกนั ขอ้ จากัดของแบบแผน ผลการวจิ ัยจะสามารถนาไปอ้างองิ ใชใ้ นสถานการณ์ที่ไม่มีการทดสอบก่อนทดลองได้ หรอื ไม่ และจะไดผ้ ลเหมือนการทดลองตามแบบแผนหรือไม่ แนวการวิเคราะห์ 1) ใชก้ ารวิเคราะหค์ วามแปรปรวนร่วม(ANCOVA)เปรียบเทียบผลการทดสอบ หลังการทดลอง โดยใชผ้ ลการทดสอบก่อนการทดลองเป็นตัวแปรร่วม(Covariate) จะใช้วธิ กี ารนี้ เม่ือผลการทดสอบก่อนการทดลองมคี วามแตกต่างกนั แตเ่ นื่องจากการสมุ่ กลุ่มตวั อย่าง(Random Assignment)จะทาให้เกดิ ความเทา่ เทียมกันแลว้ ดังนน้ั จึงมีการใชว้ ิธกี ารนค้ี อ่ นข้างน้อย 2) ใช้ผลการทดสอบก่อนทดลองช่วยอธบิ ายผลการทดลอง ดงั น้ี (1) เปรยี บเทยี บผลการทดสอบก่อนการทดลอง เพ่อื พิจารณาความแตกต่าง กอ่ นการทดลอง โดยใชก้ ารทดสอบค่าทีแบบอิสระ(t-test for Independent) หรอื การวิเคราะห์ ความแปรปรวน(ANOVA) (2) เปรียบเทยี บผลการทดสอบหลงั ทดลองระหวา่ งกลุ่ม เพือ่ พจิ ารณา ความแตกต่างของผลหลังการทดลอง โดยใช้การทดสอบค่าทีแบบอสิ ระ หรือการวิเคราะห์ ความแปรปรวน (3) สรปุ ผลการทดลองโดยใช้ผลจากการทดสอบก่อนการทดลอง(ข้อ1) เพ่อื ใช้อธิบายผลการทดสอบหลงั การทดลอง(ข้อ 2) การนาแบบแผนการทดลองไปใช้ นาไปใช้ในการทดลองทางการศึกษาได้ดี แตเ่ ป็นการดาเนินการทดลองท่ี ไม่ยืดหยุน่ กล่าวคือ การสุ่มกลุ่มตัวอยา่ งสามารถทาไดจ้ ริงหรือไม่ และการทดสอบก่อนเรยี นทาให้ เสยี เวลาและไม่ไดผ้ ลจริงหรอื ไม่

หนา้ ท่ี 148  บทท่ี 5 การออกแบบการวิจัย 9.2.2 แบบแผนการทดลองการทดสอบหลงั การทดลองแบบมีกล่มุ ควบคมุ (Posttest –Only Control Group Design) RX Oposttest1 R Oposttest2 เมอื่ X เป็นตัวแปรสาเหตุทีจ่ ัดกระทา(Treatment) Oposttest1 เป็นผลการทดสอบหลังทดลองของกล่มุ ทดลอง Oposttest2 เปน็ ผลการทดสอบหลังทดลองของกลุ่มควบคุม R เปน็ การสมุ่ ตัวอยา่ ง ภาพที่ 5.6 แบบแผนการทดลองการทดสอบหลังการทดลองแบบมีกลุม่ ควบคมุ ลักษณะการทดลอง 1) เปน็ การทดลองแบบ 2 กลุ่มหรือมากกว่าระหวา่ งกลมุ่ ทดลองดว้ ยกัน หรือระหวา่ งกลุ่มทดลองกบั กลุม่ ควบคุม 2) มกี ารสุ่มตวั อย่าง 3) มกี ารทดสอบเฉพาะหลังทดลอง(Posttest) ข้อดีของแบบแผน มีความเท่ยี งตรงภายในใกล้เคียงกับแบบแผนการทดลองก่อนเรยี นและหลงั เรียนแบบมีกลุ่มควบคุม แตจ่ ะมคี วามเที่ยงตรงภายนอกทีด่ ีกวา่ เพราะไม่มปี ญั หาอิทธิพลของการ ทดสอบก่อนการทดลอง ขอ้ จากัดของแบบแผน อาจจะมีปัญหาการสญู หายของตวั อยา่ งในระหวา่ งการทดลอง เนอื่ งจากไม่ มขี อ้ มูลพ้ืนฐานจากการทดสอบกอ่ นทดลองทาให้ไมม่ ีข้อมูลการสูญหายเกิดข้นึ หรือไม่ แนวการวิเคราะห์ขอ้ มูล เปรยี บเทียบผลการทดสอบหลังการทดลองโดยใช้การทดสอบที(t-test) หรอื การวเิ คราะห์ความแปรปรวน(ANOVA) การนาแบบแผนการทดลองไปใช้ เป็นแบบแผนการทดลองทีเ่ หมาะสมสาหรับผลการทดลองท่เี ป็น ด้านจิตพสิ ัย(Affective Domain) เนอื่ งจากมีความเที่ยงตรงภายในและภายนอกสงู ถา้ ผู้วิจัยสามารถ ใช้การส่มุ กลมุ่ ตัวอยา่ งได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

 ระเบยี บวิธกี ารวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หนา้ ที่ 149 9.3 แบบการทดลองกง่ึ ทดลอง(Quasi-Experimental Designs) เปน็ การออกแบบ การทดลองทไี่ ม่มีกระบวนการสุ่ม แตม่ ีกลุ่มควบคมุ เพ่ือเปรยี บเทยี บ หมายถงึ ในการทดลองจะมี กลมุ่ ตัวอยา่ งสองกลุ่ม คือ กลมุ่ ทดลอง และกลุ่มควบคมุ แตส่ มาชิกของทั้งสองกลุ่มไม่ได้มาจาก กระบวนการสุม่ มีวธิ กี ารควบคมุ อิทธพิ ลแทรกดีกวา่ แบบการทดลองเบ้ืองต้น และมคี วามยดื หยนุ่ มากกว่าแบบการทดลองจริง มแี บบแผนการทดลองแบบกึ่งทดลองทน่ี ามาใช้ในการวจิ ัยทาง พฤติกรรมศาสตร์คอ่ นข้างมาก มดี งั นี้ 9.3.1 แบบแผนการทดลองกลุ่มควบคมุ ที่ไมเ่ ท่าเทยี มกนั (Non-equivalent Control Group Design ) (Cambell and Stanley,1969) Opretest1 X Oposttest2 Oposttest4 ความไมเ่ ทา่ เทียมกนั ในการสุ่ม Opretest3 เม่ือ X เปน็ ตัวแปรสาเหตทุ จี่ ัดกระทา Opretest1 เปน็ ผลการทดสอบก่อนทดลองของกลมุ่ ทดลอง Oposttest2 เป็นผลการทดสอบหลังทดลองของกลมุ่ ทดลอง Opretest3 เปน็ ผลการทดสอบกอ่ นทดลองของกลุ่มควบคุม Oposttest4 เปน็ ผลการทดสอบหลังทดลองของกลุม่ ควบคุม ------------ เป็นความไม่เท่าเทียมกนั ในการส่มุ กลมุ่ ตัวอยา่ ง ภาพท่ี 5.7 Non-equivalent Control Group design ลักษณะการทดลอง 1) เป็นการเปรียบเทียบผลการทดลองระหว่างกลุ่มทดลอง หรือระหวา่ ง กลุ่มทดลองกบั กลุ่มควบคุม 2) ไมม่ ีการสุ่มตวั อย่างเนื่องจากมกี ารจดั กลุ่มไว้แลว้ 3) มกี ารทดสอบก่อนและหลังการทดลอง ขอ้ ดีของแบบแผน 1) เปน็ แบบแผนท่เี ป็นธรรมชาตทิ มี่ ีความเที่ยงตรงภายนอกเมือ่ เปรียบเทียบกับแบบแผนการทดลองจริง เน่ืองจากมกี ารจัดกระทาตัวแปรสาเหตเุ พยี งประการเดยี ว 2) การทดสอบก่อนทดลองทาให้สามารถนาวิธกี ารทางสถิตมิ าใช้อธบิ าย หรอื ควบคุมตัวแปรแทรกซ้อน ท่ีเปน็ การการทดแทนการสุม่ กลุ่มตวั อย่างไดบ้ างส่วน 3) เมือ่ เปรียบเทยี บกบั แบบแผนการเปรยี บเทียบกลุ่มแบบคงที(่ Static Group Comparison Design) ทม่ี ีลักษณะการทดลองท่ีคลา้ ยกันจะมีความเท่ยี งตรงภายในดีกวา่

หนา้ ที่ 150  บทที่ 5 การออกแบบการวิจยั เนือ่ งจากการมีการทดสอบก่อนการทดลองทาให้การสรปุ การทดลองนา่ เชอ่ื ถือมากขน้ึ และเปน็ การอธิบายปญั หาการเลือก(Selection)ทสี่ ่งผลต่อความเท่ียงตรงภายใน ข้อจากัดของแบบแผน 1) อทิ ธิพลของการทดสอบก่อนทดลองท่ีเป็นข้อจากัดของแบบแผนการ ทดลองทุกแบบที่มกี ารทดสอบกอ่ นการทดลอง 2) ปฏสิ มั พันธ์ระหว่างการสุ่มตัวอยา่ งและวุฒิภาวะ แนวการวเิ คราะหข์ อ้ มูล 1) เปรยี บเทียบผลการทดสอบหลงั การทดลองโดยใช้การวเิ คราะห์ ความแปรปรวนรว่ ม(ANCOVA) ทีม่ ผี ลการทดสอบก่อนทดลองเปน็ ตัวแปรปรวนร่วม 2) เปรยี บเทียบความแตกต่างของผลการทดสอบหลังเรียนระหวา่ งกลุ่ม โดยใช้ผลการทดสอบก่อนการทดลอง มาอธบิ ายข้อสรุป อาทิ ผลการทดสอบหลักการทดลองระหวา่ ง กลุ่มพบว่ามีความแตกตา่ งโดยทพ่ี จิ ารณาจากผลการทดสอบกอ่ นการทดลองไม่แตกตา่ งกัน จะสรุปได้ วา่ ตัวแปรท่จี ดั กระทาให้ผลท่ีแตกตา่ งกัน โดยใชก้ ารทดสบค่าที หรอื การวเิ คราะห์ความแปรปรวน การนาแบบแผนการทดลองไปใช้ นาไปใช้ได้ดีในกรณที ่ไี ม่สามารถทาสมุ่ ตัวอยา่ งเขา้ กล่มุ (Random Assignment) อาทิ การวิจยั ในชัน้ เรียนท่ีใช้ห้องเรยี นเป็นกลมุ่ การทดลอง เป็นต้น 9.3.2 แบบแผนการทดลองแบบอนุกรมเวลา(Time Series Design) (Cambell and Stanley,1969) O1 O2 O3 X O4 O5 O6 เมอื่ X เปน็ ตัวแปรสาเหตทุ ี่จัดกระทา(Treatment) O1,O2,O3เปน็ ผลการทดสอบก่อนทดลองครั้งท่ี 1,2,3 O4,O5,O6เป็นผลการทดสอบหลงั ทดลองคร้ังท่ี 4,5,6 ภาพที่ 5.8 แบบแผนการทดลองแบบอนกุ รมเวลา ลกั ษณะการทดลอง 1) ทดลองกับกลุ่มตัวอย่างเพียงกลุ่มเดยี ว หรือบคุ คลคนเดียว 2) มกี ารวัดซ้า(Repeated Measure)เปน็ ระยะ ๆ ทัง้ กอ่ นและหลังการทดลอง 3) เป็นการศึกษาระยะยาว(Longitudinal) ขอ้ ดีของแบบแผน เปน็ แบบแผนการวิจยั ท่ีพยายามขจดั อิทธิพลร่วมระหว่างการสมุ่ และวุฒภิ าวะ เพ่ือใหเ้ กดิ ความเที่ยงตรงภายใน

 ระเบยี บวิธกี ารวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หน้าท่ี 151 ขอ้ จากดั ของแบบแผน 1) มีปญั หาเกย่ี วกบั เหตกุ ารณ์พรอ้ งท่เี กิดขึ้นในระหว่างการทดลองทจ่ี ะใชเ้ วลานาน เพอ่ื วัดซ้า 2) มปี ญั หาเกยี่ วกับผลการทดสอบก่อนการทดลองและการทดสอบหลังการทดลอง ทีช่ ดั เจน ผลการวิจัยมขี อ้ จากัดในการนาไปใช้ในสถานการณท์ ไี่ มม่ กี ารทดสอบก่อนและหลัง การทดลอง ทเี่ ป็นการวดั ซา้ แนวการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ใชก้ ารวเิ คราะห์การถดถอยในการเปรยี บเทียบความแตกตา่ งระหวา่ งผลการทดสอบ ก่อนและหลังการทดลอง การนาแบบแผนไปใช้ นาไปใช้ในการทดลองเกยี่ วกับจติ วิทยาของบคุ คล อาทิ การทดลองปรับพฤติกรรมที่ ไมพ่ ึงประสงค์ หรอื การทดลองเพ่ือส่งเสริมพฤตกิ รรมที่พึงประสงค์ เป็นตน้ 9.3.3 แบบแผนการทดลองแบบอนุกรมเวลาและมีกลุ่มควบคุม(Multiple Time Series Design)(ผอ่ งพรรณ ตรัยมงคลกลู ,2543 : 52) กล่มุ ทดลอง O1 O2 O3 X O4 O5 O6 กลมุ่ ควบคุม O6 O1 O2 O3 O4 O5 เมื่อ X เปน็ ตัวแปรสาเหตุท่จี ัดกระทา(Treatment) O1,O2,O3เปน็ ผลการทดสอบกอ่ นทดลองครงั้ ท่ี 1,2,3 O4,O5,O6เปน็ ผลการทดสอบหลงั ทดลองคร้ังที่ 4,5,6 ภาพท่ี 5.9 แบบแผนการทดลองแบบอนุกรมเวลาและมีกลมุ่ ควบคุม ลักษณะการทดลอง 1) ทดลองกลุ่มตวั อยา่ งต้ังแต่ 2 กลมุ่ มีท้งั กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม 2) มกี ารทดสอบซ้าเป็นระยะท้ังก่อนและหลังการทดลองกล่มุ ทดลองและกลุ่ม ควบคุม 3) เปน็ การศึกษาระยะยาว(Longitudinal) ขอ้ ดีของแบบแผน มกี ลมุ่ ควบคุมสาหรบั การเปรียบเทียบความแตกต่างทีเ่ กดิ ขึ้น ขอ้ จากัดของแบบแผน 1) มปี ญั หาเกยี่ วกับเหตกุ ารณ์พรอ้ งท่ีอาจเกดิ ขนึ้ ในระหว่างการทดลองทจี่ ะใช้ เวลานานเพอ่ื ทดสอบซา้ แตไ่ ดแ้ กไ้ ขโดยมกี ลุ่มควบคุมทีไ่ ด้รับเหตุการณ์พร้องอยา่ งเท่าเทียมกนั เพอ่ื ใช้ ในการเปรียบเทยี บ

หนา้ ท่ี 152  บทที่ 5 การออกแบบการวจิ ยั 2) มปี ญั หาเกี่ยวกบั ผลการทดสอบก่อนการทดลองและการทดสอบหลงั การทดลอง ทชี่ ัดเจน ผลการวจิ ยั มขี ้อจากัดในการนาไปใชใ้ นสถานการณท์ ีไ่ ม่มีการทดสอบก่อนและหลงั การ ทดลองที่เปน็ การทดลองซ้า บุญใจ ศรีสถติ ย์นรากูร(2547 :119) ไดน้ าเสนอหลกั การจาแนกแบบแผนการวจิ ยั ระหว่างการวจิ ยั แบบไม่ทดลอง แบบก่งึ ทดลอง และแบบเชิงทดลอง ดังแสดงในภาพท่ี 5.10 (บุญใจ ศรีสถติ ยน์ รากูร,2547 :119) จดั กระทาสง่ิ ทดลองให้ กลุม่ ตัวอย่าง ใช่ ไมใ่ ช่ ควบคุมสิ่งทดลอง ศึกษาความสมั พันธ์ อย่างเขม้ งวด ระหวา่ งตัวแปร ใช่ ไมใ่ ช่ ใช่ ไม่ใช่ มีการสมุ่ ตวั อย่างเข้ากลุ่ม แบบก่งึ ทดลอง กลุ่มตัวอยา่ ง 1 กลุ่ม แบบบรรยาย ไมใ่ ช่ ใช่ ไมใ่ ช่ ใช่ ไม่ใช่ สมุ่ ตวั อยา่ งจาก แบบความสมั พันธ์ ประชากร ใช่ แบบทดลอง ภาพที่ 5.10 หลักการจาแนกแบบแผนการวิจยั ในการวิจยั ทดลองเบื้องตน้ กึง่ ทดลองและทดลองจริง 10. การประยุกต์ใช้แบบแผนการทดลอง ในสถานการณข์ องการทดลองโดยทั่วไปที่มแี บบแผนที่ไมส่ อดคล้องกับแบบแผนท่ีกาหนดขน้ึ ในการทดลอง ดงั นนั้ ในการดาเนนิ การทดลองผู้วจิ ยั อาจจะตอ้ งมีการปรับเปลีย่ นแบบแผนการทดลอง ให้สามารถดาเนินการได้ง่ายข้ึน ดงั ทแ่ี มคคาเช(McCracken, 1989 อ้างองิ ใน ผ่องพรรณ ตรยั มงคล กลู ,2543 : 61 ) ได้นาเสนอแบบแผนการทดลองก่ึงทดลองเพื่อประยกุ ต์ใช้ ดงั ตวั อยา่ งที่ 5.1 ตวั อย่างท่ี 5.1 จาก แบบแผนการทดลอง กลุ่มเดียวสอบก่อนและหลัง(One Group Pretest-Posttest Design) ทม่ี อี ิทธพิ ลของการทดสอบก่อนทดลอง ทาใหส้ รุปผลการทดลอง ไม่ชัดเจน มแี บบแผนการทดลอง ดังแสดงในภาพท่ี 5.11(ผ่องพรรณ ตรยั มงคลกูล,2543 : 61)

 ระเบยี บวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าท่ี 153 Opretest X Oposttest เมื่อ X เป็นตัวแปรสาเหตุท่จี ัดกระทา(Treatment) Opretest เปน็ ผลการทดสอบก่อนทดลอง Oposttest เป็นผลการทดสอบหลงั ทดลอง ภาพท่ี 5.11 แบบแผนการทดลอง กลมุ่ เดียวสอบก่อนและหลงั โดยไดม้ กี ารปรับเปล่ียนใหเ้ ป็นแบบกลุ่มเดียวสอบก่อน 2 คร้ังและสอบหลงั 2 ครั้ง โดยการเปรยี บเทียบการทดสอบก่อนทดลองคร้งั ท่ี 1 และครง้ั ที่ 2วา่ จะมีอทิ ธิพลของการทดสอบก่อน หรอื ไม่ ส่วนการทดสอบหลังการทดลองคร้งั ที่ 2 เป็นการทดสอบความคงทนของผลการทดลอง (Dooley,1995 : 193) ดงั แสดงในภาพท่ี 5.12(ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกูล,2543 : 61) Opretest1 Opretest2 X Oposttest1 Oposttest2 เมอ่ื X เปน็ ตัวแปรสาเหตุที่จัดกระทา(Treatment) Opretest1 , Opretest2 เปน็ ผลการทดสอบก่อนทดลองครง้ั ที่ 1 และ 2 Oposttest1, Oposttest2 เปน็ ผลการทดสอบหลงั ทดลอง คร้ังที่ 1 และ 2 ภาพท่ี 5.12 แบบกลุ่มเดยี วสอบก่อน 2 คร้ังและสอบหลงั 2ครงั้ 11. ข้อควรคานึงในการออกแบบการวจิ ัย ในการออกแบบการวิจัยมีขอ้ ควรคานงึ สาหรบั ผู้วจิ ยั ดังน้ี(ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกูล ,2543 : 28-30) 11.1 ในการวเิ คราะหเ์ ชงิ ปรมิ าณจะใช้ตวั เลขในการตอบคาถามมากกว่าความละเอียด/ วจิ ารณญาณ ในการออกแบบการวิจยั ที่ควบคมุ คณุ ภาพของขอ้ มูลท่ีได้มาก่อให้เกิดตัวเลขท่ีเชอื่ ถือ ไม่ได้ แม้ว่าจะเลือกใช้สถิตทิ ี่ดีเพยี งใดในการวิเคราะหข์ ้อมูลก็ตาม 11.2 การเลอื กใชแ้ บบการวจิ ัยทดี่ ี ต้องมีทง้ั ความแกร่ง และความยืดหยนุ่ โดย การปรบั รูปแบบดั้งเดมิ ใหเ้ หมาะสมกับการวิจัยนน้ั ๆทม่ี ีคณุ ภาพตามหลกั การทดลองแต่อาจหย่อนใน ความแกรง่ ท่ผี ู้วิจยั ตอ้ งทดแทนด้วยวิธีการตา่ ง ๆ ทีช่ ว่ ยใหก้ ารวจิ ัยแกร่งขนึ้ 11.3 มจี ริยธรรมในการวิจัย ควรเปิดเผยขอ้ มลู ข้อเท็จจริงเฉพาะทจ่ี าเป็นของ การดาเนนิ การวิจยั เพอ่ื ให้ผ้วู ิจัยทสี่ นใจได้ศึกษาเพ่ือประโยชน์ในการนาไปวิจัยซา้ หรือขยายขอบเขต การวิจัยใหก้ วา้ งขวางมากยง่ิ ข้ึน

หน้าที่ 154  บทท่ี 5 การออกแบบการวจิ ยั สาระสาคญั บทท่ี 5 การออกแบบการวจิ ัย ในการเรียนรู้บทนี้มีสาระสาคัญ ดงั นี้ 1. การออกแบบการวจิ ยั เป็นกระบวนการท่ีใช้ในการวางแผนการดาเนนิ การวิจัยที่มรี ะบบ และมีขั้นตอนเพ่อื ให้ได้มาซ่ึงข้อมลู /สารสนเทศทีต่ อ้ งการนามาใช้ในการตอบปญั หาการวจิ ัยตาม จดุ ประสงค์/สมมุติฐานของการวิจยั ท่ีกาหนดไว้ได้อยา่ งถูกต้อง ชัดเจน รวดเรว็ และมีความนา่ เชื่อถือ ที่เปรยี บเสมอื นพิมพเ์ ขยี วของผวู้ ิจยั ในการกาหนดโครงสร้าง แผนการปฏิบตั กิ ารวิจยั หรือยุทธวธิ เี พื่อ ใชใ้ นการตรวจสอบการดาเนินการวิจยั ทีก่ าหนดไว้ 2. จุดม่งุ หมายของการออกแบบการวิจยั ในการดาเนนิ การวจิ ัย มีจดุ มุ่งหมาย 2 ประการ ดงั น้ี 1) เพื่อใหไ้ ดค้ าตอบของปญั หาการวจิ ยั ทถี่ กู ตอ้ ง ชัดเจน และมคี วามเท่ียงตรงน่าเชอ่ื ถือ 2) เพ่ือ ควบคุมความแปรปรวนของตัวแปรการวจิ ัยท่ีศึกษา(ศึกษาใหม้ ีความครอบคลมุ ขอบเขตของปญั หา การวิจัยให้มากทสี่ ุด ควบคมุ อิทธิพลของตวั แปรที่ไม่อยู่ในขอบเขตของการวิจัยแต่จะมผี ลกระทบต่อ ผลการวจิ ยั ใหไ้ ดม้ ากทีส่ ดุ และ ลดความคลาดเคล่อื นทีจ่ ะเกิดขน้ึ ในการวิจยั ให้เกิดข้ึนนอ้ ยท่ีสดุ ) 3. หลักการในการควบคมุ ความแปรปรวนในการวิจัยทเ่ี รียกว่า “หลักการของแมกซ์– มนิ – คอน” มดี งั นี้ 1) การเพ่ิมความแปรปรวนท่ีมรี ะบบให้มีค่าสูงสุด 2) การลดความคลาดเคลอ่ื นให้ เหลอื น้อยทส่ี ดุ 3) การควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนให้มคี ่าคงที่(ใชก้ ระบวนการส่มุ การจับคู่ การกาจดั ตวั แปรแทรกซ้อน หรอื การนาตวั แปรแทรกซ้อนเป็นตัวแปรท่ีศึกษาแล้วใช้วิธกี ารทางสถิติใน การควบคมุ ) 4. ลกั ษณะของแบบการวิจัยท่ีดี มีดงั นี้ 1) ปราศจากความมีอคติ 2) ปราศจากความสับสน 3)สามารถควบคุมตวั แปรแทรกซอ้ นไดแ้ ละ 4) มกี ารเลือกใช้สถิตทิ ถี่ กู ต้องในการทดสอบสมมุติฐาน 5. ความเทีย่ งตรงภายใน เป็นลักษณะของการวจิ ัยทีจ่ ะสามารถตอบปญั หา/สรปุ ผลการวิจัย ได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และน่าเชอื่ ถอื วา่ ผลทเ่ี กิดขนึ้ กับตวั แปรตามน้ัน มีสาเหตุเนือ่ งมาจากตวั แปร อสิ ระหรือตวั แปรจดั กระทาเท่านัน้ โดยมีองคป์ ระกอบที่สง่ ผลต่อความเทย่ี งตรงภายใน ดังนี้ 1) เหตุการณ์พร้อง/ประวัติในอดีต 2) วฒุ ภิ าวะ 3) การทดสอบ 4) เคร่ืองมือในการวิจัย 5) การถดถอยทางสถิติ 6) การสมุ่ กลมุ่ ตัวอยา่ งเข้ากลมุ่ ควบคมุ และกลุ่มทดลอง 7) การสูญหายของ กลมุ่ ตัวอย่าง และ8) อทิ ธพิ ลร่วมระหวา่ งปัจจัยอ่นื ๆ 6. ความเทีย่ งตรงภายนอก เป็นลักษณะของการวจิ ัยทีส่ ามารถสรุปอา้ งอิงผลการวจิ ยั จาก กลมุ่ ตัวอย่างทศี่ ึกษาไปสู่ประชากรไดไ้ ด้อยา่ งถกู ตอ้ ง ชดั เจน และนา่ เช่อื ถือ โดยมปี จั จยั ที่มผี ลต่อ ความเท่ียงตรงภายนอก ดังนี้ 1)อิทธพิ ลร่วมกนั ระหวา่ งการสมุ่ กลมุ่ ตัวอยา่ งและสง่ิ ทดลอง 2) อิทธิพลร่วมกันระหวา่ งแหล่งทดลองและส่ิงทดลอง 3) อิทธพิ ลร่วมกันระหว่างการทดสอบและ ส่ิงทดลอง 4) อทิ ธิพลร่วมกนั ระหว่างเหตกุ ารณพ์ ร้องและสิง่ ทดลอง 5) ปฏกิ ริ ยิ าของกลุ่มตวั อยา่ ง ท่มี ตี อ่ การทดลอง และ 6) การไดร้ ับส่งิ ทดลองทีห่ ลากหลาย

 ระเบยี บวิธกี ารวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หน้าที่ 155 7.ประเภทของการออกแบบการทดลอง มดี ังนี้ 1) แบบการทดลองเบื้องต้นเปน็ การออกแบบการทดลองที่ไม่มีกระบวนการส่มุ และไม่มีกลุ่มควบคุม อาทิ การศึกษาแบบกลมุ่ เดียว วัดผลหลังทดลอง การทดลองแบบกล่มุ เดยี วทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรียนหรอื การเปรยี บเทียบ กล่มุ แบบคงที่ 2)แบบการทดลองจริง เป็นการออกแบบการทดลองที่มที ั้งกระบวนการสุม่ และ มกี ลุ่มควบคุม อาทิ การทดลองก่อนเรยี นและหลังเรยี นแบบมีกล่มุ ควบคุม การทดลองการทดสอบ หลงั การทดลองแบบมีกลมุ่ ควบคมุ และ 3) แบบการทดลองกึ่งทดลอง เปน็ การออกแบบการทดลองที่ ไมม่ ีกระบวนการส่มุ แต่มีกลุ่มควบคมุ เพ่อื เปรยี บเทยี บ อาทิ การทดลองกลุ่มควบคมุ ที่ไม่เท่าเทียมกนั การทดลองแบบอนกุ รมเวลา และ การทดลองแบบอนุกรมเวลาและมีกล่มุ ควบคุม เป็นต้น

หนา้ ที่ 156  บทท่ี 5 การออกแบบการวจิ ัย คาถามปฏิบัติการบทที่ 5 การออกแบบการวิจยั คาช้แี จง ใหท้ า่ นตอบคาถามจากประเด็นคาถามที่กาหนดให้ 1. เพราะเหตุใด ในการดาเนินการวจิ ัยจงึ ตอ้ งมี “การออกแบบการวจิ ัย” 2. หลกั การในการออกแบบการวจิ ยั มอี ะไรบา้ ง อยา่ งไร 3. การวิจัยมี“ความเที่ยงตรงภายใน” หมายถงึ การวิจัยที่มลี กั ษณะอยา่ งไร 4. การวิจัยมี“ความเท่ียงตรงภายใน” หมายถึง การวิจยั ที่มลี ักษณะอย่างไร 5. นกั วิจัยควรจะดาเนนิ การอยา่ งไร เพ่ือให้การวจิ ยั มีความเทีย่ งตรงภายใน หรอื ความเทย่ี งตรงภายนอก 6. “การออกแบบการวจิ ยั เชงิ ทดลอง” หมายถึงอะไร มีอะไรบ้าง อยา่ งไร 7. มคี วามจาเปน็ หรอื ไม่ อย่างไรทีก่ ารออกแบบการวจิ ัยจะมเี ฉพาะในการวิจัยเชิงทดลอง 8. ขั้นตอนในการดาเนนิ การออกแบบการวิจยั ท่มี ีประสทิ ธภิ าพ เป็นอย่างไร 9. ในการดาเนินการวิจัยมวี ธิ ีการทจ่ี ะควบคุมตวั แปรทีไ่ ม่ต้องการจะศึกษาได้อยา่ งไร 10. จากช่ือเร่อื งการวจิ ัยทก่ี าหนดให้ท่านจะมีการออกแบบการวิจยั อย่างไร 10.1 การพฒั นาบทเรยี นสาเร็จรปู รายวชิ าใดรายวชิ าหนง่ึ 10.2 การศกึ ษาและเปรยี บเทียบผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น 10.3 การศึกษาภาวะผ้นู าทางการเรยี นการสอนของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา 10.4 การเปรียบเทยี บความคดิ เห็นต่อการบริหารงานวิชาการของผบู้ รหิ าร สถานศึกษา 11. ให้ทา่ นไดศ้ ึกษางานวจิ ัย 1 เรือ่ ง แล้วให้ศึกษาและพจิ ารณาวา่ ในงานวิจัยน้นั มี การออกแบบการวจิ ยั อย่างไร

บทที่ 6 การสมุ่ ตัวอยา่ ง ในการดาเนินการวิจัยใด ๆ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู จากประชากรท่จี ะนามาวิเคราะหข์ อ้ มูล เพอื่ ตอบปัญหาการวจิ ยั ไดผ้ ลสรปุ การวจิ ยั ท่ีดีทีส่ ุด แตเ่ น่ืองจากข้อจากดั บางประการในการวจิ ัย อาทิ ระยะเวลา แรงงาน หรืองบประมาณ ฯลฯ ทผ่ี ู้วจิ ยั จาเป็นจะตอ้ งเกบ็ รวบรวมข้อมูลจากกล่มุ ตวั อย่าง มาวิเคราะห์ ดังนน้ั ผู้วจิ ยั จะต้องมีความร้คู วามเขา้ ใจเก่ียวกับประชากร และกล่มุ ตวั อย่าง รวมท้ัง วิธกี ารสมุ่ กลมุ่ ตัวอย่างเพื่อให้ได้กลุ่มตวั อย่างทเ่ี ปน็ ตัวแทนทด่ี ี มคี วามครอบคลุมลกั ษณะของ ประชากรเพื่อที่ผลสรุปการวจิ ัยจะมีความเท่ียงตรงภายในและมคี วามเทยี่ งตรงภายนอก ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. ความหมายของประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง ประชากร หมายถึง จานวนท้ังหมดของหน่วยซึ่งมีคณุ สมบัตบิ างอย่างทผ่ี ู้วิจยั สนใจศกึ ษาและ มปี รากฏอยูใ่ นช่วงเวลานั้น ๆ(Sedlack and Stanley,1992 : 104) ประชากร หมายถึง คน สตั ว์ และสิ่งของต่าง ๆ ท่ีมคี ุณสมบัตติ ามท่ีผ้วู ิจัยกาหนดและสนใจ ศึกษาตามเง่ือนไข 1)งานวจิ ัยเกยี่ วกบั เรอ่ื งอะไร 2)หน่วยในการวิเคราะห์ขอ้ มูล คอื อะไร และ ผูว้ ิจยั กาหนดขอบเขตของการวิจัยกวา้ งขวางเพยี งใด มีความครอบคลุมเพือ่ นาไปใชอ้ ้างอิงเพยี งใด (ปาริชาต สถาปิตานนท.์ 2546:128) กลมุ่ ตวั อยา่ ง(Sample) หมายถงึ สมาชกิ กล่มุ ย่อย ๆ ของประชากรทตี่ ้องการศึกษา ท่นี ามา เป็นตวั แทนเพื่อศึกษาคณุ ลักษณะของประชากรแลว้ นาผลจากการศึกษาคณุ ลักษณะของกลุม่ ตวั อย่าง (Statistic)ไปใช้อ้างอิงคุณลักษณะของประชากรได้(Parameter)(ปารชิ าต สถาปิตานนท์.2546:130) กลมุ่ ตวั อย่าง เปน็ กลมุ่ ของสง่ิ ตา่ ง ๆ ทเี่ ปน็ ส่วนหนง่ึ ของประชากรที่ศึกษา เพ่ือนาข้อสรุปไป อา้ งองิ สูป่ ระชากรทั้งหมด โดยทีก่ ลมุ่ ตัวอย่างจะมีคณุ ลักษณะ หรอื สะท้อนภาพของประชากรทัง้ หมด ได้(บุญธรรม จิตอนันต์,2540 : 64) กลุ่มตัวอย่าง(Sample) หมายถงึ บางหน่วยของประชากรที่นามาศกึ ษาแทนประชากร เป้าหมายในงานวจิ ัยน้นั ๆ อันเน่อื งจากมขี ้อจากดั ในการดาเนนิ การวิจยั แตจ่ ะต้องมีความเป็น ตวั แทนท่ีดี และมีขนาดทเี่ หมาะสม 2. ประเภทของประชากร 2.1 จาแนกตามขอบเขตของประชากร มีดังนี้ 2.1.1 ประชากรแบบจากัด(Finite Population) หมายถงึ ทุก ๆ หน่วยของส่งิ ท่ี ตอ้ งการศึกษา ที่สามารถระบุขอบเขตหรอื นับจานวนทั้งหมดได้อย่างครบถ้วน อาทิ จานวนผู้เรียนใน ระดบั มัธยมศึกษาในประเทศไทยปี พ.ศ.2547 , จานวนรถยนต์ในจงั หวดั อดุ รธานี ปี พ.ศ.2548 เปน็ ต้น

หน้าที่ 158  บทท่ี 6 การส่มุ ตัวอยา่ ง 2.1.2 ประชากรแบบไม่จากัด(Infinite Population) หมายถึง ทุก ๆ หนว่ ยของ สิ่งท่ตี อ้ งการศึกษา แต่ไม่สามารถที่จะระบขุ อบเขตหรอื จานวนไดอ้ ยา่ งครบถ้วน อาทิ จานวนปลาใน แมน่ ้า หรอื จานวนตน้ ไมใ้ นประเทศไทย เป็นตน้ 2.2 จาแนกตามลักษณะของประชากร มีดงั นี้(พิชติ ฤทธจิ์ รญู ,2544 :118) 2.2.1. มีลักษณะเปน็ เอกพันธ์ (Homogeneity) หมายถึง ประชากรในทุก ๆ หนว่ ย มคี ณุ ลักษณะ/โครงสร้างที่คล้ายคลึงกัน 2.2.2 มีลกั ษณะเปน็ ววิ ธิ พนั ธ์ (Heterogeneity)หมายถงึ ประชากรในแตล่ ะหน่วย มคี ุณลักษณะและโครงสรา้ งท่ีแตกตา่ งกนั 3. เหตุผลท่ีจาเปน็ จะตอ้ งวจิ ัย/ศกึ ษาจากกลุ่มตวั อย่างแทนประชากร ในการศึกษา/วิจัยข้อมูลจากกลุม่ ตัวอยา่ งแทนประชากร มีเหตุผลดังนี้(Bailey,1987: 83-84) 3.1 มีความถูกต้อง แมน่ ยา มากข้นึ 3.2 จากพจิ ารณาประชากรแลว้ พบวา่ ไมส่ ามารถดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลได้ ครอบคลุมอาทิ ระยะทางทีห่ ่างไกล/อนั ตราย มเี วลาทีจ่ ากัด เป็นตน้ 3.3 ประหยดั เวลาในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เพ่อื นามาสรปุ ผลได้รวดเรว็ มากขึ้น หรอื ประหยดั การใช้งบประมาณในการเกบ็ รวบรวมข้อมูลที่มคี ่อนขา้ งจากดั 3.4 เนื่องจากการใช้กลุ่มตัวอยา่ งจะมจี านวนน้อยกวา่ ประชากร ทาให้มเี วลาท่จี ะศึกษา และเก็บข้อมูลทม่ี รี ายละเอียดได้ชดั เจนมากขน้ึ 3.5 นาผลการวเิ คราะหม์ าใชป้ ระโยชนไ์ ดส้ อดคล้องกบั เหตกุ ารณ์ 3.6 สามารถสรุปผลอา้ งอิงไปสปู่ ระชากรได้ 4. ข้อจากดั ของการศกึ ษา/วิจัยที่ศกึ ษาจากประชากร ในการศึกษา/วจิ ยั ที่ศกึ ษาข้อมูลจากประชากรมขี ้อจากัด ดงั น(้ี สนิ พนั ธุ์พินจิ , 2547 : 114) 4.1 ใชร้ ะยะเวลานานในการเก็บรวบรวมข้อมลู 4.2 ใช้งบประมาณ คา่ ใชจ้ ่ายจานวนมากในดารออกเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 4.3 ใชแ้ รงงานคนจานวนมาก 4.4 ไดข้ ้อมูลที่มีความคลาดเคลือ่ นเนื่องจากมีจานวนมาก 4.5 เป็นขอ้ มูลทีไ่ ม่ลกึ ซงึ้ และไม่ชดั เจน เนื่องจากมีประชากรจานวนมากแต่มเี วลาที่ จากัด 4.6 ผลการวิจยั ไมส่ อดคลอ้ งกับสถานการณ์ที่เปล่ยี นแปลง ทจ่ี ะสามารถนาผลไปใช้ ประโยชนไ์ ด้ 5. ความสมั พันธร์ ะหว่างกลมุ่ ตวั อยา่ งและประชากร นงลกั ษณ์ วิรชั ชัย(2543 : 127-128) ไดน้ าเสนอความสัมพันธ์ระหว่างกลุม่ ตวั อย่างและ ประชากร ดังน้ี ประชากรทวั่ ไป(General or Real Populations)หมายถึง ประชากรทง้ั หมดทีม่ ีขนาดใหญ่ จานวนสมาชกิ มมี ากจนกระทั่งนบั ไม่ได้

 ระเบียบวธิ ีการวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าท่ี 159 ประชากรตามสมมตุ ฐิ าน(Hypothesis Populations) หมายถึง กลมุ่ ย่อยของประชากรท่ัวไป ทจี่ ากดั ขอบเขตตามแนวคิด ทฤษฏที ่ีนามากาหนดเป็นสมมตุ ฐิ าน หรอื ตามความสนใจของผู้วิจัย ประชากรเฉพาะการวิจยั (Incumbent Populations)หมายถงึ กลมุ่ ประชากรขนาดเลก็ ท่ี เปน็ สว่ นหนึ่งของประชากรตามสมมตุ ิฐานทเ่ี ป็นประชากรในการวจิ ยั ทไ่ี ดม้ าเนือ่ งจากข้อจากดั เก่ียวกบั กาลังคน และทรัพยากรที่ใชใ้ นการวิจัย กลุ่มตัวอย่าง(Sample) หมายถึง กล่มุ ย่อยของประชากรเฉพาะการวิจยั ที่มีความเปน็ ตวั แทนทด่ี ี หรอื มีลักษณะท่คี ล้ายคลึงกบั ประชากร และมีปริมาณทมี่ ากเพยี งพอเพ่อื ประโยชนใ์ น การอ้างอิงข้อมูลจากกลุ่มตวั อย่างสู่ประชากร ดงั แสดงความสัมพันธ์ระหวา่ งประชากรท่ัวไป ประชากรตามสมมตุ ฐิ าน ประชากรเฉพาะ การวิจัย และกล่มุ ตวั อย่าง ดังแสดงในภาพท่ี 6.1(นงลักษณ์ วิรัชชยั ,2543 : 127) ประชากรทว่ั ไป ประชากรตามสมมุตฐิ าน ประชากรในการวจิ ยั กลุม่ ตวั อย่าง ภาพท่ี 6.1 ความสมั พันธ์ระหวา่ งประชากรท่วั ไป ประชากรตามสมมุตฐิ าน ประชากรเฉพาะการวจิ ยั และกลมุ่ ตวั อยา่ ง การสมุ่ ตัวอย่าง 1. ความหมายของการสุ่มตวั อยา่ ง กรอบในการสุม่ ตัวอยา่ ง(Sampling Frame) หมายถงึ เอกสาร หรือบัญชรี ายช่อื ของ ประชากรท่ตี ้องการศึกษา ท่เี ปน็ เกณฑ์ในการจาแนกประชากรในการวจิ ัยออกจากประชากรโดยท่ัวไป (ปาริชาต สถาปิตานนท์.2546: 129) การสุม่ (Sampling) หมายถึง กระบวนการเลือก “ตัวอย่าง” จาก “ประชากร”เพ่อื ให้ กลุ่มตวั อย่างเป็นตวั แทนของประชากรในการให้ข้อมลู และสามารถใชข้ ้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง เปน็ ข้อมูลอา้ งอิงสปู่ ระชากรได้อยา่ งสมเหตุสมผลเพอื่ ใหไ้ ด้ขอ้ มลู ที่มีความเทย่ี งตรงภายนอกทีส่ งู ขึ้น (ปาริชาต สถาปิตานนท์.2546:131) สรปุ ไดว้ า่ การสุ่มตัวอย่าง หมายถงึ วิธีการได้มาของกลุม่ ตัวอยา่ งจากประชากรที่มคี วามเปน็ ตัวแทนที่ดี โดยในการดาเนินการสมุ่ กลมุ่ ตวั อย่างจะมีวธิ กี ารสมุ่ ที่หลากหลายทนี่ ามาใช้ สอดคล้องกบั คณุ ลักษณะของประชากร

หน้าท่ี 160  บทที่ 6 การส่มุ ตวั อยา่ ง 2. กระบวนการสุม่ กระบวนการสมุ่ (Randomization)เปน็ การใหโ้ อกาสแก่สมาชกิ แต่ละหนว่ ยของประชากรมี ความน่าจะเป็นอย่างเท่าเทยี มกันในการสมุ่ มาเปน็ กลุ่มตัวอย่าง เพื่อให้ผลการวจิ ยั สามารถสรปุ อ้างอิง ไปส่ปู ระชากรได้ จาแนกไดด้ ังน(้ี สังเคราะห์จากGersten,Baker and Lloyd,2000:9-10 ; Gay,1996 :357;นงลกั ษณ์ วริ ชั ชัย,2543 : 156) 2.1 การสุ่มจาแนกกลุม่ (Random Assignment) เปน็ การสุ่มหน่วยทดลองให้อยู่ใน กลมุ่ ทดลองให้เข้าอยูใ่ นกลุม่ ต่าง ๆ ตามแผนการทดลอง เพื่อขจัดอทิ ธพิ ลแทรกท่ีเป็นผลจาก ความแตกต่างของผ้เู ข้ารับการทดลองท่ีเป็นวิธกี ารควบคมุ ความเทยี่ งตรงภายใน โดยใชเ้ ฉพาะ แบบแผนการทดลองแบบทดลองเทา่ นน้ั 2.2การสุม่ สิ่งทดลอง(Treatment Random) เปน็ การสุม่ การจัดกระทา(ตวั แปรตน้ )ใหก้ ับ กลุม่ ในการทดลองว่ากล่มุ ใดจะได้การจดั กระทาแบบใด เพ่ือลดอิทธิพลในความลาเอยี งของผูว้ ิจัย 2.3 การส่มุ ตัวอย่าง(Random Sampling) เปน็ การสมุ่ กลุ่มตวั อยา่ งจากประชากรสาหรบั การทดลอง เพ่ือชว่ ยเสริมความเทย่ี งตรงภายนอกของการทดลอง ท่จี ะทาไดค้ ่อนขา้ งยากเน่ืองจาก ในบางกรณีไดม้ ีการจดั กลมุ่ ไว้ลว่ งหนา้ แลว้ ดังแสดงกระบวนการการสมุ่ ในภาพที่ 6.2(Gersten,Baker and Lloyd,2000:9) Treatment Random Random Assignment Random Sampling   Treatment 1   Treatment 2     ประชากร กลมุ่ ตัวอยา่ ง แบบแผนการทดลอง การจัดกระทา   ภาพที่ 6.2 กระบวนการสุ่ม  3. ประเภทของการสุ่มกล่มุ ตัวอยา่ ง ในการสมุ่ ตวั อย่าง จาแนกประเภทของการสุ่ม ดังนี้ 3.1 การส่มุ กลุ่มตวั อย่างทใี่ ชค้ วามน่าจะเปน็ (Probability Sampling)เปน็ การสุม่ กล่มุ ตวั อยา่ งทส่ี มาชกิ ทุก ๆ หน่วยของประชากรมีโอกาสอย่างเท่าเทยี มกนั ท่ีจะเปน็ ตัวแทนที่ดี ทเ่ี ปน็ กลมุ่ ตัวอย่างในการวิจยั โดยข้อมูลท่รี วบรวมแล้วนามาทดสอบนยั สาคัญทางสถิตทิ ่ีใชส้ ถิติ เชิงอ้างอิงแลว้ ผลการวจิ ัยสามารถอ้างองิ ไปสู่ประชากรของการวิจัยได้ มีวธิ กี ารสุ่ม ดังน้ี (Nachmias and, Nachmias ,1993 : 177-185 )

 ระเบียบวิธกี ารวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หน้าที่ 161 3.1.1. การส่มุ กลุ่มตัวอยา่ งอยา่ งง่าย การสุ่มกลุ่มตวั อยา่ งอย่างงา่ ย(Simple Random Sampling) เปน็ การส่มุ ที่สมาชิก ทุกหน่วยของประชากรที่มจี านวนไมม่ ากนักแต่มโี อกาสอย่างเทา่ เทยี มกัน และเปน็ อิสระจากกันทจี่ ะ ได้เปน็ กลมุ่ ตวั อย่าง เหมาะสมสาหรับใชก้ บั ประชากรทม่ี ีสภาพคล้ายคลงึ กนั จาแนกเปน็ ดงั นี้ 3.1.1.1 การสุ่มกลมุ่ ตัวอย่างโดยวธิ ีจบั สลาก(Lottery) เปน็ การสมุ่ ตัวอย่าง จากประชากรท่มี จี านวนน้อย ๆ และตอ้ งการจานวนตัวอย่างน้อย ๆ(Koul,1984 : 108) มีขัน้ ตอน การดาเนินการ ดังนี้ 1) กาหนดหมายเลขประจาตัวให้แกส่ มาชิกทุกหนว่ ยในประชากร 2) นาหมายเลขประจาตัวของสมาชิกมาจดั ทาเปน็ ฉลาก 3) จบั ฉลากข้นึ มาทลี ะหมายเลขจนกระทั่งครบจานวนกลมุ่ ตัวอย่าง ทตี่ อ้ งการ โดยฉลากทจี่ ับมาแลว้ จะต้องนาใส่คืนเพ่ือให้จานวนประชากรท่ีส่มุ มจี านวนเท่าเดมิ สง่ ผล ใหเ้ กิดความเท่าเทยี มกันในการได้รับการสุ่มเป็นกลมุ่ ตวั อย่าง แต่ในกรณีท่ไี ม่ใสค่ นื จะทาให้กล่มุ ตวั อย่างมโี อกาสมากขึ้นในการสมุ่ 3.1.1.2 การสมุ่ กลุ่มตัวอยา่ งโดยวิธีใช้ตารางเลขส่มุ (Table of Random Numbers) เป็นการสุม่ ตัวอย่างทม่ี ขี นาดใหญ่โดยใช้ตารางเลขสุ่มทีก่ าหนดขึน้ จากคอมพิวเตอร์ท่ี ไม่ต้องจดั ทาสลาก มีขัน้ ตอนการดาเนินการ ดังน้ี 1) กาหนดหมายเลขประจาตวั ให้แก่สมาชกิ ทุกหน่วยในประชากร โดยใหค้ านงึ ถึงจานวนของกลุ่มตวั อย่างที่ได้ ดังน้ี ประชากร 100 คน ใหก้ าหนดหมายเลข 001-100 ประชากร 500 คน ให้กาหนดหมายเลข 001-500 ประชากร 1,000 คน ให้กาหนดหมายเลข 001-1,000 เป็นตน้ 2) ส่มุ กล่มุ ตวั อยา่ งโดยใชต้ ารางเลขสมุ่ ทส่ี อดคลอ้ งกบั จานวน ประชากร(ประชากรมีจานวนเต็มสิบใชเ้ ลข 2 หลัก,เตม็ รอ้ ยใช้เลข 3 หลกั เป็นต้น) โดยเรมิ่ อ่านจาก แถวที่ 1 หรือแถวไหนท่ีอาจได้จากการสมุ่ และจะอา่ นตามแนวนอนหรอื แนวตั้งกไ็ ด้ ตามเลขหลัก จนกระท่ังครบจานวนตวั อย่างทตี่ ้องการ ซง่ึ หมายเลขท่ีไดจ้ ากตารางจะเปน็ หมายเลขทไี่ ด้กาหนด ให้แก่ประชากรแล้ว แตถ่ า้ ได้หมายเลขที่มีค่ามากกว่าจานวนประชากรจะต้องอ่านข้ามไปยังหมายเลข ต่อไป ดงั ตัวอย่างที่ 6.1 ตัวอย่างที่ 6.1 การสมุ่ กลุ่มตัวอยา่ งทีใ่ ชต้ ารางเลขส่มุ ดังน้ี จากประชากร 90 คน ตอ้ งการกลมุ่ ตวั อย่างจานวน 20 คนโดยใช้ตารางเลขสุ่มมวี ธิ กี ารอา่ น ตารางเลขสุ่ม ดังน้ี เริม่ ตน้ การอ่านหมายเลขท่แี ถวท1่ี (ไดจ้ ากการสุ่ม)โดยอ่านตามแนวนอน(ครั้งละ 2 หลกั เนือ่ งจากประชากรเปน็ จานวนเต็มสบิ ) จะไดห้ มายเลขของประชากรท่เี ป็นกลุม่ ตัวอยา่ ง ดังนี้ 59 39 15 80 30 52 09 88 27 18 87 02 48 28 48 04 19 09 65 74 90 46 จะพบว่า มหี มายเลขที่ซา้ กนั 2 ตวั คือ 09 กบั 48 ที่จะต้องอ่านหลายเลขถดั ไปใหค้ รบจานวนกลมุ่ ตัวอยา่ ง ทตี่ อ้ งการ

หน้าท่ี 162  บทที่ 6 การสุ่มตัวอย่าง ขอ้ สงั เกตของการสุม่ ตัวอย่างอย่างงา่ ย(นงลักษณ์ วริ ชั ชัย,2543 : 139) 1) เป็นวธิ ีการทีน่ ามาใชค้ อ่ นขา้ งมาก เนื่องจากมีวธิ ีการที่ไมซ่ บั ซ้อน และ การประมาณค่าความคลาดเคลอื่ นทาได้งา่ ย ไมต่ อ้ งใชส้ ูตรปรบั แก้เม่ือใชก้ ารสุ่มดว้ ยวิธีการอนื่ 2) สาเหตทุ ีจ่ ะไม่นาวิธกี ารสุ่มตัวอยา่ งอย่างงา่ ยมาใช้ มดี งั นี้ (1) ถา้ ประชากรมีจานวนสมาชิกมากจะทาให้การเตรยี มรายละเอียดที่ถูกต้อง คอ่ นข้างยาก จะต้องใชเ้ วลามาก แรงงานและงบประมาณสูง หรืออาจมีการเปลีย่ นแปลงสมาชกิ ระหวา่ งการเตรยี มการทาใหไ้ ด้รายชอ่ื สมาชิกที่ไม่ถูกต้อง (2) ลักษณะของประชากรมลี ักษณะเปน็ ววิ ธิ พนั ธ์ เพราะจะทาให้ไมไ่ ด้ กลุ่มตวั อย่างทม่ี คี วามครอบคลมุ หรือเป็นตวั แทนที่ดีของประชากร 3.1.2 การสุ่มกล่มุ ตัวอยา่ งอยา่ งเป็นระบบ การส่มุ กลมุ่ ตัวอย่างอยา่ งเปน็ ระบบ(Systematic Random Sampling) เปน็ การสุ่ม ตัวอย่างทีใ่ ชก้ ับประชากรทม่ี ีจานวนมาก และรายช่ือของสมาชิกไดเ้ รียงลาดับตามตวั อักษรหรือวิธีการ ทีห่ ลากหลาย ยกเว้นการเรยี งลาดบั บนพน้ื ฐานของคา่ ตวั แปรทีศ่ กึ ษาเพราะจะได้กลุม่ ตัวอยา่ ง ทแ่ี ตกตา่ งกันอยา่ งชัดเจนและไมเ่ ปน็ ตวั แทนที่ดขี องประชากร มขี น้ั ตอนการดาเนนิ การ ดงั น้ี 3.1.2.1 กาหนดกรอบประชากร/หมายเลขประจาตวั ให้แก่สมาชิกทุกหน่วยใน ประชากร 3.1.2.2 หาอัตราสว่ น( k )ระหว่างประชากร( N )และกลุ่มตวั อย่าง ( n ) จาก สตู ร k  N อาทิ มีประชากร 100 คน ต้องการกลมุ่ ตวั อย่าง 5 คน จะได้อัตราสว่ น n เทา่ กับ k  100  20หมายความว่า จานวนประชากรทุก ๆ 20 คน จะได้รบั การส่มุ เปน็ กลมุ่ ตัวอย่าง 5 1 คน 3.1.2.3 สุม่ ตวั อย่างเพื่อกาหนดสมาชกิ คนแรก(R)ของกลุ่มตัวอยา่ งโดยใช้ วธิ กี ารส่มุ อย่างง่ายจากสมาชิกหมายเลข 1-20 มา 1 หมายเลข (สมมตุ ิวา่ ไดห้ มายเลข 5) 3.1.2.4 หมายเลขของสมาชกิ คนต่อไปจะถกู กาหนดอย่างเปน็ ระบบโดย การรวมอัตราส่วนท่ีได้จากขอ้ 2.2กับหมายเลขสมาชิกเริม่ ต้นท่ขี อ้ 2.3 (R, R+k,R+2k,R+3k,…,R+nk) ดงั นัน้ สมาชิกที่มีหมายเลข 5,25(5+20),45(25+20),65(45+20),85(65+20) จะเปน็ กล่มุ ตัวอยา่ ง ขอ้ สังเกตของการสุ่มตวั อยา่ งแบบมีระบบ(นงลักษณ์ วริ ชั ชัย,2543 : 148) 1) เป็นวธิ กี ารสมุ่ ทใี่ ชไ้ ดง้ ่าย เพยี งแตม่ รี ายชือ่ ของประชากรท่ีเรียงลาดบั แบบส่มุ จะทาให้ได้กลุ่มตวั อย่างทมี่ ลี กั ษณะใกล้เคยี งกบั การสมุ่ อย่างงา่ ย 2) การเรยี งลาดบั รายชอ่ื ของประชากรเปน็ การเรยี งอย่างเปน็ ระบบ มากกวา่ การสุ่ม และถา้ กลุ่มย่อยของประชากรมีการเรียงลาดบั ในลกั ษณะเดยี วกนั ทาให้การสุ่มสมาชิก ทเ่ี ปน็ ตัวแทนของกลมุ่ ย่อยเพ่ือเปน็ กลุ่มตวั อย่างจะมีความซ้าซอ้ นไมเ่ ป็นกลุ่มตัวอยา่ งสุ่มที่มี ความครบถ้วนตามคณุ ลักษณะของประชากร ทาให้การประมาณคา่ พารามเิ ตอรห์ รอื การทดสอบ สมมุตฐิ านไม่สามารถดาเนนิ การได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ

 ระเบยี บวธิ กี ารวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หน้าที่ 163 3.1.3 การสมุ่ กลุม่ ตวั อย่างแบบชั้นภมู ิ การสมุ่ กล่มุ ตัวอย่างแบบชั้นภมู (ิ Stratified Random Sampling) เป็นการสุ่ม ตัวอย่างจากประชากรที่มีจานวนมากและมีความแตกตา่ งกันระหว่างหนว่ ยสุ่มท่สี ามารถจาแนก ออกเปน็ ชนั้ ภูมิ(Stratum) เพือ่ ใหข้ ้อมลู ท่ีไดม้ ีความครบถ้วนและครอบคลุม จะต้องดาเนินการสุม่ กลมุ่ ตวั อย่างจากชั้นภูมิ มขี ้นั ตอนการดาเนินการ ดงั น้ี 3.1.3.1 ศึกษาลักษณะของประชากรทีจ่ ะศกึ ษาอยา่ งละเอยี ดวา่ คุณลกั ษณะใดทจี่ ะส่งผลต่อตัวแปรทีจ่ ะศึกษาตัวแปรใดบ้าง และคุณลักษณะนน้ั ๆ สามารถทีจ่ าแนก ออกเปน็ กลุ่มย่อยไดห้ รือไม่ อาทิ เพศ ระดับการศึกษา อาชีพ เป็นต้น 3.1.3.2 จาแนกประชากรออกเป็นชัน้ ภมู ติ ามคุณลักษณะของกลุ่มยอ่ ยโดย กาหนดให้สมาชกิ ในแตล่ ะกลุ่มยอ่ ยมีความคล้ายคลึงกันให้มากท่สี ุด และใหม้ ีความแตกต่างระหว่าง กลมุ่ ยอ่ ยแต่ละกลมุ่ ใหม้ ากทสี่ ุดเชน่ เดียวกัน(ไม่ควรมจี านวนชนั้ มากเกินไปเพราะจะต้องใช้ กลุ่มตัวอย่างจานวนมาก มฉิ ะนั้นจะทาใหล้ ักษณะที่ศกึ ษามีความถูกต้อง เชอ่ื ถือได้น้อย) 3.1.3.3 ส่มุ ตวั อย่างจากกลมุ่ ย่อยแต่ละกลมุ่ เพื่อเป็นสมาชกิ ของกลมุ่ ตัวอย่าง ท่ีจะศึกษาตามสัดสว่ น(Proportional Allocation) กลา่ วคือ ชัน้ ใดมปี ระชากรมากควรไดร้ บั การสุ่ม ตัวอย่างเปน็ ตัวแทนท่มี ากกวา่ แตถ่ า้ กลมุ่ ตัวอย่างแต่ละกลุ่มมีจานวนท่แี ตกต่างกันมากควรคานงึ ถึง เหตุผลเพื่อให้ได้จานวนทเ่ี หมาะสมและมีความครอบคลมุ ลักษณะประชากรที่ไม่จาเป็นต้องใชส้ ัดส่วน กไ็ ด้(Disproportional Allocation)(อาธง สุทธาศาสน,์ 2527: 120-121) แสดงการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบชน้ั ภมู ิ ดังแสดงในภาพที่ 6.3 ประชากร กล่มุ ตัวอย่าง ชน้ั ภูมทิ ่ี 1  การส่มุ ประชากร    ตามสดั สว่ น    จาแนก ชน้ั ภมู ทิ ่ี 2    ช้ันภมู ิ   ชนั้ ภูมทิ ี่ 3  เหมอื นกันภายในกลมุ่ เดียวกัน แตแ่ ตกต่างกนั ระหว่างกลุม่ ภาพท่ี 6.3 การสุ่มกลมุ่ ตวั อย่างแบบชัน้ ภมู ิ

หนา้ ที่ 164  บทที่ 6 การสุ่มตัวอย่าง ข้อสังเกตของการสุ่มตวั อย่างแบบชั้นภมู (ิ นงลักษณ์ วิรัชชยั ,2543 : 139) 1) ได้กล่มุ ตวั อย่างทีม่ คี ุณลกั ษณะทค่ี รอบคลุมทุกลกั ษณะของประชากร อยา่ งเป็นระบบ และช่วยลดความคลาดเคลือ่ นแต่ไมต่ ้องลดขนาดของกล่มุ ตวั อยา่ งเหมือนวิธีการสุม่ อยา่ งงา่ ยทาใหก้ ารทดสอบทางสถิตมิ ีประสิทธิภาพสงู ข้ึน 2) ถา้ จานวนตวั แปรท่ีใช้มีมากเกนิ ไปจะทาให้มจี านวนช้ันทม่ี ากและยุ่งยากใน การแบง่ ชนั้ หรือทาให้สมาชกิ ของแตล่ ะชน้ั อาจมจี านวนน้อยไม่เพียงพอ และจะต้องเสยี เวลาและ ใช้คา่ ใช้จ่ายสงู 3) ในการประมาณคา่ ความคลาดเคลือ่ นจะต้องใชส้ ูตรการปรบั แกส้ ดั สว่ นของ กลุ่มตัวอย่างท่คี ่อนขา้ งซบั ซ้อน 3.1.4 การสมุ่ กลุ่มตัวอยา่ งแบบกลุม่ การสุ่มกลุ่มตวั อย่างแบบกลุ่ม(Cluster Random Sampling) เป็นการสมุ่ กลุ่ม ตวั อย่างจากประชากรท่ีกระจัดกระจายก่อใหเ้ กดิ ความยุ่งยากในการจัดทากรอบของประชากร หรือ เปน็ ประชากรท่ีมีการรวมกล่มุ อยูแ่ ล้วตามธรรมชาติ(ตามสภาพภูมศิ าสตร/์ ชัน้ เรียน)(Gall,Brog and Gall,1996 : 227)โดยมลี กั ษณะในภาพรวมของแตล่ ะกลุม่ ที่คลา้ ยคลงึ กนั แตภ่ ายในกลุ่มจะมี ความแตกต่างหรอื ความหลากหลายอย่างครบถว้ น เพ่ือให้ความคลาดเคล่ือนในการประมาณ ค่าพารามเิ ตอร์ของประชากรลดลง มีข้นั ตอนการดาเนนิ การ ดงั น้ี 3.1.4.1 ศึกษาลักษณะเบื้องตน้ ของประชากรแลว้ จาแนกประชากรออกเป็น กลมุ่ ยอ่ ยโดยที่เน้นความแตกต่างภายในกลุ่มทแี่ ตกต่างกนั คลา้ ยประชากร แตจ่ ะมีความคล้ายคลงึ กนั ระหว่างกลมุ่ ตัวอย่าง 3.1.4.2. สมุ่ กลมุ่ ตวั อย่างแบบกลุม่ โดยการจับฉลากท่ีระบุชอ่ื กลุ่มตัวอยา่ งแล้ว ระบุจานวนกลุม่ ตัวอย่าง ดังแสดงตวั อย่างการส่มุ กล่มุ ตัวอย่างแบบกลุ่มในภาพท่ี 6.4   จาแนกกลมุ่ ย่อย ต่างกันภายในกลุ่มแตค่ ลา้ ยคลึงกนั ระหว่างกลุ่ม    การส่มุ กลุ่มตัวอยา่ งอยา่ งง่ายกลมุ่ ใดกลุ่มหนง่ึ  ภาพที่ 6.4 การสุ่มกลมุ่ ตวั อย่างแบบกล่มุ

 ระเบยี บวิธกี ารวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หน้าที่ 165 ข้อสังเกตของการสมุ่ ตัวอย่างแบบแบง่ กลมุ่ มีดงั นี้(นงลกั ษณ์ วริ ัชชยั ,2543 : 146-147) 1) ประหยัดเวลา แรงงานและงบประมาณในการเตรียมการและดาเนินการ 2) ประสทิ ธภิ าพของกลุ่มตัวอยา่ งมปี ระสิทธิภาพต่า เน่ืองจากภายในกลุ่ม แต่ละกลุ่มทแ่ี บง่ กลุ่มยงั มีความเป็นเอกพนั ธค์ ่อนขา้ งสูงจะทาใหค้ วามคลาดเคลอื่ นมาตรฐาน มคี า่ สงู มากข้นึ และจะต้องใช้สตู รการปรบั แก้ทีจ่ ะทาให้ได้ค่าประมาณพารามิเตอรท์ ่ีสูงขึ้น และการทดสอบสมมุตฐิ านมปี ระสทิ ธภิ าพมากข้นึ 3.1.5 การสุม่ แบบหลายข้ันตอน การสมุ่ แบบหลายขั้นตอน(Multi-stage Sampling) เป็นการสุ่มตัวอยา่ งที่ มหี ลายขนั้ ตอน มลี กั ษณะคลา้ ย ๆ กบั การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่มทีม่ ีหลายขน้ั ตอนตั้งแต่เร่ิมตน้ กลุ่มใหญท่ ส่ี ดุ จนกระทั่งสิน้ สดุ ทก่ี ล่มุ ตัวอย่างทตี่ ้องการตามความเหมาะสม ดงั นนั้ การสุ่ม แบบหลายขัน้ ตอนในบางคร้งั นกั วชิ าการจงึ เรียกวา่ การสุม่ ตัวอย่างแบบกลุ่มหลายชั้น(Multi-stage Cluster Sampling)(May,1997 :18) หรือเป็นการสมุ่ ตวั อย่างท่ีใชห้ ลากกลายวธิ กี ารในการสมุ่ เพื่อให้ ไดก้ ลมุ่ ตวั อยา่ งท่เี ป็นตัวแทนของประชากรที่ซบั ซ้อนและมีความสอดคล้องกับความต้องการภายใต้ เง่ือนไขท่ีจากัด ดังแสดงตัวอย่างการส่มุ แบบหลายขนั้ ตอน ดงั ภาพที่ 6.5 ประชากรของนกั เรียนใน โรงเรยี นแหง่ หนึง่ การสุ่มแบบกลมุ่ ช้นั ป. 1 ชน้ั ป. 4 ชนั้ ป. 6 ช้นั ป. 1/1 ช้ัน ป. 1/4 ชน้ั ป. 4/2 การส่มุ แบบกลมุ่ 4คน 5คน 5คน ชนั้ ป. 6/1 ช้นั ป. 6/3 การสุ่มอย่างงา่ ย 5คน 5คน ภาพที่ 6.5 การสุ่มกลุ่มตวั อย่างแบบหลายข้ันตอน 3.2 การสมุ่ กลุม่ ตวั อยา่ งท่ไี ม่ใช้ความน่าจะเป็น(Non-probability Sampling) เป็น การสุ่มกล่มุ ตัวอย่างที่ไม่ใช้หลกั การของความน่าจะเปน็ ท่อี าจจะเกดิ เนื่องจากเป็นการวจิ ัยทศ่ี ึกษา จากกลุ่มที่เฉพาะเจาะจงหรือมีคณุ ลักษณะทสี่ อดคล้องกบั ประเดน็ หรือเง่อื นไขที่กาหนดไว้ หรือ เนื่องจากสถานการณ์ท่ีแตกต่างกันไป จงึ จาเปน็ ตอ้ งมกี ารสุ่มดว้ ยวิธีการน้ี ในบางครัง้ เรียกการสุ่ม ประเภทนว้ี ่า “การคัดเลือก(Selection)” จาแนกได้ ดังนี้

หนา้ ท่ี 166  บทท่ี 6 การสมุ่ ตวั อยา่ ง 3.2.1 วธิ กี ารคัดเลือกแบบมีจุดประสงค์/เฉพาะเจาะจง(Purposive Selection) เปน็ การคัดเลอื กกล่มุ ตวั อยา่ งท่ีมีลักษณะเฉพาะเจาะจงตามหลักการของเหตุผลโดยให้มี ความสอดคล้องกับปัญหาการวิจัย/จดุ ประสงคน์ นั้ ๆ แตจ่ ะตอ้ งมีการวางแผน กาหนดขนาด กลุม่ ตวั อย่าง และการเลือกกล่มุ ตัวอยา่ งที่ด/ี เป็นตวั แทนปราศจากความลาเอียง แต่ผลการวิจยั จะ ไมส่ ามารถสรุปอา้ งอิงไปสปู่ ระชากรโดยท่วั ไปได้ อาทิ การศึกษาวธิ ีการเรยี นร่วมของเดก็ พิเศษกับ เดก็ ปกติในสถานศึกษา ดังน้นั กลมุ่ ตวั อย่างท่นี ามาศึกษาจะศกึ ษาเฉพาะเจาะจงในสถานศึกษาท่มี ี การเรยี นร่วมของเดก็ พเิ ศษกับเด็กปกตเิ ทา่ นนั้ เป็นตน้ หรือการคัดเลือกผเู้ ชี่ยวชาญในการใช้เทคนิค เดลฟายท่จี ะตอ้ งมเี กณฑ์พิจารณาอยา่ งชดั เจน มิฉะนนั้ ผลสรปุ ทีไ่ ด้อาจจะไม่น่าเช่ือถือ ฯลฯ 3.2.2 วิธกี ารคดั เลอื กแบบกาหนดโควต้า(Quota Selection) เป็น การคดั เลือกกลุ่มตวั อย่างโดยการกาหนดสดั สว่ นของจานวนกลุม่ ตวั อย่างแตล่ ะกล่มุ ตามคณุ ลักษณะที่ กาหนดไว้ล่วงหน้าอยา่ งชัดเจน แล้วเลอื กตัวอยา่ งทีม่ ีลักษณะดงั กลา่ วให้ครบตามจานวนที่กาหนดให้ เทา่ น้ันเชน่ เดยี วกับการเลือกแบบบังเอิญ อาทิ กาหนดสดั สว่ นของนกั ศกึ ษาทเ่ี ปน็ กลุ่มตัวอยา่ งให้ ข้อมลู จาแนกตามชนั้ ปี เปน็ ปที ี่ 1 : ปที ี่ 2 : ปที ี่ 3 : ปที ่ี 4 ดังน้ี 35 : 30 : 20 :15 เป็นตน้ 3.2.3 วิธีการคดั เลอื กแบบบังเอิญ(Accidental Selection) เป็นการคดั เลอื ก กลุ่มตวั อยา่ งโดยบังเอญิ พบหรอื ไมเ่ ฉพาะเจาะจง แต่กลุ่มตัวอย่างมีลกั ษณะเบอื้ งตน้ บางประการ ทส่ี อดคล้องกับลักษณะของกล่มุ ตัวอยา่ งที่กาหนดไว้ หรือเลอื กบุคคลทีอ่ ยู่ใกล้ชดิ หาได้ง่ายที่สุดเป็น ตัวอยา่ งเพื่อใหป้ ระหยัดเวลา แรงงาน และงบประมาณ(Bailey.1987 : 93) อาทิ การสารวจเหตุผล การมาโรงเรยี นแตเ่ ชา้ ของนักศึกษาที่มาโรงเรียน 20 คนแรก เป็นตน้ ท่จี ะเป็นเพียงข้อค้นพบเบื้องตน้ ท่จี ะใช้เป็นแนวทางในการศกึ ษา/วิจยั ตอ่ ไป โดยทีเ่ คอรงิ เจอร(์ Kerlinger,1973:129) ได้ให้ ขอ้ เสนอแนะว่า “ถ้าสามารถเลือกใชว้ ิธกี ารสมุ่ แบบอื่นไดก้ ็ไมค่ วรใชก้ ารสุ่มแบบนี้เน่ืองจาก ไม่ทราบจานวนประชากรท่ีแทจ้ รงิ ” 3.2.4 วธิ ีการคดั เลอื กแบบลูกโซ(่ Snowball Selection)เป็นการคัดเลอื ก กลมุ่ ตัวอยา่ งท่มี ีคุณสมบัติท่ตี ้องการแลว้ โดยใชก้ ารแนะนาของกลุ่มตัวอย่างทีร่ ะบุกล่มุ ตัวอย่างทีม่ ี ลกั ษณะท่ีใกลเ้ คียงกับตนเองสาหรับเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ได้อย่างครบถว้ นและเพียงพอจึงจะยุติ การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 3.2.5 วธิ กี ารคดั เลือกแบบตามสะดวก(Convenience Selection) เปน็ การเลือก กลุ่มตวั อย่างทหี่ าหรอื พบได้ง่าย อาทิ กลุ่มตวั อย่างจากการตอบแบบสอบถามท่ลี งโฆษณาใน หนงั สือพมิ พ/์ นติ ยสาร เปน็ ต้น 3.2.6 วธิ ีการคดั เลอื กแบบอาสาสมัคร(Voluntary Selection) เป็นการคัดเลอื ก กลุ่มตะวอยา่ งจากสมาชกิ ท่ีอาสาเขา้ มามีส่วนร่วมเปน็ หน่วยตวั อย่างดว้ ยความเต็มใจท่ีมีเหตุผล แตกตา่ งกัน อาทิ ต้องการไดร้ ับสง่ิ ตอบแทน/ความเต็มใจ เปน็ ต้น ข้อสังเกตการสุ่มกลมุ่ ตวั อยา่ งโดยไมใ่ ช้ความน่าจะเปน็ จะมีข้อสังเกตใน การนามาใช้ในการวิจยั ดงั น(้ี บญุ เรยี ง ขจรศิลป์,2539 ; นงลกั ษณ์ วิรัชชยั ,2543 : 151: 49 ) 1) ในการสรุปผลการวจิ ัยจะทาไดเ้ ฉพาะกลุ่มตัวอย่างแต่จะอา้ งอิงผลการวจิ ยั จาก กลุ่มตวั อยา่ งไปสู่ประชากรทาไดย้ าก นอกจากกลุ่มตัวอย่างจะมลี กั ษณะทีส่ อดคลอ้ งกบั ประชากรเป็น

 ระเบยี บวิธกี ารวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าท่ี 167 อย่างมาก โดยการเปรียบเทียบลกั ษณะของกลุ่มตวั อยา่ งท่ีคล้ายคลงึ กบั ประชากร แต่ปัญหาทสี่ าคัญ ในการเปรียบเทียบ คือ ขาดข้อมูลเก่ียวกบั ลักษณะของประชากร และต้องใช้ข้อมลู จากการวจิ ยั ของ ผ้อู น่ื ทที่ าให้ไม่สามารถยนื ยันความเป็นตวั แทนที่ดีของประชากรได้ 2) การได้มาของกลมุ่ ตวั อย่างจะขึน้ กับการพจิ ารณาของผู้วิจัยและองคป์ ระกอบ ทไี่ มส่ ามารถควบคุมได้ และไมม่ ีวธิ ีการทจ่ี ะทราบความคลาดเคล่ือนที่เกดิ จากการสมุ่ นี้ได้ สุวมิ ล ว่องวาณชิ และนงลกั ษณ์ วิรัชชัย(2546 : 122 ) ได้สรปุ วธิ กี ารสุ่มตัวอยา่ งแบบใช้และ ไมใ่ ชค้ วามนา่ จะเป็นและเงื่อนไขในการใช้ ดงั แสดงในตารางท่ี 6.1(สุวมิ ล วอ่ งวาณิช และ นงลักษณ์ วิรัชชยั ,2546 : 122) ตารางที่ 6.1 วธิ กี ารสุม่ ตัวอยา่ งแบบใช้และไม่ใช้ความน่าจะเปน็ และเง่ือนไขการใช้ วธิ ีกาหนดกลมุ่ ตัวอย่างแบบใชค้ วามน่าจะเป็น วิธีกาหนดกลุม่ ตัวอยา่ ง เงือ่ นไขการใช้ 1. การสุ่มอยา่ งง่าย กลุ่มตัวอยา่ งขนาดเลก็ ไม่เกนิ 1,000 คน ประชากรมีความเป็นเอกพันธ์ 2. การส่มุ แบบแบ่งช้ัน กลุม่ ตัวอย่างขนาดใหญ่ หนว่ ยตัวอยา่ งมีลกั ษณะ แตกต่างกันตามตวั แปรตาม 3. การสุ่มแบบแบง่ กลุ่ม กลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ หน่วยตวั อย่างมีลกั ษณะ แตกต่างกนั ตามภมู ิศาสตร์ 4. การส่มุ แบบเปน็ ระบบ มีรายชอ่ื ประชากรท้งั หมด 5. การสมุ่ แบบหลายขั้นตอน กลมุ่ ตวั อย่างขนาดใหญ่ ,มีการสมุ่ ตวั อย่างหลาย ระดบั โดยท่ีแต่ละช้นั ใช้วิธกี ารแบบสมุ่ วธิ กี าหนดกลุ่มตัวอย่างแบบไม่ใชค้ วามน่าจะเป็น วิธกี าหนดกลมุ่ ตัวอย่าง เงอื่ นไขการใช้ 1. การเลอื กแบบมีจดุ ประสงค์ กลมุ่ ตัวอยา่ งขนาดเลก็ และต้องการผูใ้ หข้ ้อมลู สาคญั 2. การเลือกแบบมโี ค้วตา้ กลุ่มตัวอย่างขนาดเล็ก และทราบคณุ ลกั ษณะของ กลุ่มตัวอย่างแตล่ ะกลุ่ม รวมท้ังจานวนท่ีต้องการ 3. การเลือกแบบลกู โซ่ กลุ่มตวั อย่างขนาดเลก็ ไมม่ ีข้อมูลเกย่ี วกับ ประชากรแตใ่ ช้ความรู้และประสบการณ์ของ กลมุ่ ตวั อย่างชว่ ยแนะนาผูท้ จี่ ะเป็นหน่วยตัวอย่าง ต่อไป 4. การเลือกแบบบงั เอิญ กลุ่มตัวอย่างขนาดเลก็ และมีเง่อื นไขตามทีผ่ ูว้ จิ ยั กาหนด

หนา้ ท่ี 168  บทที่ 6 การสมุ่ ตัวอย่าง 4. หลักการในการส่มุ กลุ่มตวั อย่าง ในการสมุ่ กลุ่มตัวอยา่ งเพ่อื ให้ได้กล่มุ ตัวอยา่ งทเี่ ป็นตัวแทนที่ดขี องประชากรในการนามา ศกึ ษาเพื่อให้การวจิ ยั มีความเท่ยี งตรงและความเชอ่ื มั่น มีหลักการในการปฏบิ ัติดงั นี้ 4.1 หน่วยกลมุ่ ตวั อยา่ งจะต้องได้รับการสมุ่ /เลอื กอย่างมีระเบียบแบบแผนและสอดคลอ้ ง กบั วตั ถปุ ระสงค์การวิจยั ที่ได้กาหนดไว้อยา่ งชัดเจน 4.2 หนว่ ยกลมุ่ ตัวอยา่ งจะไดร้ บั การระบุและกาหนดความหมายไดอ้ ยา่ งถูกต้อง และ ชัดเจน 4.3 หนว่ ยกลุ่มตวั อย่างแต่ละหน่วยจะตอ้ งเปน็ อิสระซึ่งกันและกนั และหน่ึงหนว่ ย ตัวอย่างจะมโี อกาสได้รับการสุ่มเขา้ สูก่ ระบวนการวิจัยเพียงครัง้ เดียว 4.4 หนว่ ยกลุ่มตวั อย่างใดทไ่ี ด้รับการสุม่ /เลอื กแลว้ จะไม่สามารถสบั เปล่ียนกบั ผูอ้ ่ืนให้ แทนตนเองได้ และใช้หนว่ ยกลมุ่ ตัวอย่างเดียวตลอดงานวิจัยเสรจ็ สน้ิ 4.5 ใช้เทคนิควธิ ีการสมุ่ กลมุ่ ตัวอยา่ งที่ถูกต้องและเหมาะสมกับการได้ขอ้ มลู ในงานวจิ ัย อยา่ งถูกต้อง ครอบคลุมและครบถ้วน 5. การกาหนดขนาดของกลุ่มตัวอยา่ ง ในการวิจยั ใด ๆ ทีจ่ ะต้องศึกษาจากกลุ่มตวั อยา่ งนนั้ โดยท่ีกล่มุ ตัวอย่างทีน่ ามาศึกษา จะตอ้ งมคี วามเป็นตวั แทนทีด่ ีของประชากรที่มขี นาดที่เหมาะสม เพื่อให้ไดผ้ ลการวิจัยที่มี ความเทย่ี งตรงและความเชอื่ มน่ั มแี นวทางในการปฏบิ ัติ ดังนี้ 5.1 สิง่ ท่ีนามาพจิ ารณาในการกาหนดขนาดของกลุ่มตัวอยา่ ง มีดังน้ี การกาหนดขนาดตวั อย่างที่เหมาะสมจะต้องคานงึ ถึงสิ่งทเ่ี กยี่ วข้องหลายประการเพอื่ ให้ ได้จานวนของกล่มุ ตวั อยา่ งมาใช้ในการตอบปญั หาการวิจยั ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ มีดังนี้ 5.1.1 ขนาดของประชากรท่ีศึกษา วา่ มีขอบเขตเพียงใดหรือจานวนเทา่ ไรท่ีจะ นามาใชใ้ นการกาหนดขนาดของกล่มุ ตัวอยา่ ง 5.1.2 ความคลาดเคล่อื นทย่ี อมรบั ได้ หรอื ระดับความเชื่อมนั่ ของกลมุ่ ตัวอยา่ ง ทีเ่ ปน็ ส่วนท่ีมคี วามสัมพนั ธ์ซึ่งกนั และกัน กลา่ วคือ ถา้ ในการสุ่มตวั อย่างยอมรับความคลาดเคลื่อน .05(5 % ) แล้วกลมุ่ ตัวอยา่ งจะมรี ะดับความเช่ือมนั่ ที่ .95(95 %) เป็นต้น 5.1.3 ข้อตกลงเบื้องตน้ ของสถิตทิ ี่ใช้ ในการเลือกใชส้ ถติ ิเพื่อเปรยี บเทียบ ความแตกตา่ งของผลการวจิ ยั จะมีการนาจานวนกลุม่ ตวั อย่างมาพิจารณาตามข้อตกลงเบ้ืองต้นของ สถติ ิแตล่ ะประเภทเพอ่ื ให้เกดิ ความแม่นยา และความถกู ต้องของการใช้สถติ ิแตล่ ะประเภทดว้ ย 5.1.4 วิธกี ารเก็บรวบรวมขอ้ มลู ท่ีแตกต่างกัน จะทาให้กล่มุ ตวั อย่างทใ่ี ชม้ ี ขนาดที่แตกต่างกนั ดงั น้ี 5.1.4.1 การใช้แบบสอบถามทางไปรษณยี ์ เปน็ การเกบ็ รวบรวมข้อมูลที่มี การส่งคืนกลบั ของแบบสอบถามค่อนขา้ งน้อย ดงั น้นั อาจจะต้องมีการสง่ แบบสอบถามให้มี จานวนมากกวา่ จานวนกลมุ่ ตัวอยา่ งท่ตี ้องการเพ่ือใหไ้ ด้แบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างที่ได้รบั กลับคนื มาตามที่กาหนดไว้

 ระเบยี บวธิ กี ารวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หน้าที่ 169 5.1.4.2 การสมั ภาษณ/์ การสงั เกต เปน็ การเก็บรวบรวมขอ้ มูลทต่ี ้องใช้ เวลานานในการเก็บรวบรวมข้อมลู ของแตล่ ะบคุ คล ดังน้นั จานวนกลุ่มตัวอย่างจะตอ้ งพิจารณาตาม ความเหมาะสม ท่ีจะได้รบั ขอ้ มลู อยา่ งเพยี งพอท่จี ะตอบปัญหาการวิจัยได้อย่างครบถว้ นและชัดเจน 5.1.5 ประเภทของการวจิ ยั ที่แตกต่างกัน มีผลทาใหก้ ลมุ่ ตัวอย่างทีใ่ ช้มีขนาด แตกต่างกัน อาทิ การวิจัยเชิงปรมิ าณ จะต้องใช้กล่มุ ตวั อย่างท่มี ีขนาดใหญ่ แต่ถ้าเปน็ การวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพแลว้ กลุ่มตัวอย่างไมจ่ าเป็นตอ้ งมีขนาดใหญ่ก็ได้ เพยี งแต่คานงึ ถึงความเพยี งพอของข้อมลู เทา่ นนั้ 5.1.6 งบประมาณทใ่ี ช้ เนื่องจากจานวนกลุ่มตัวอย่างจะมีความสมั พนั ธ์กบั งบประมาณทใี่ ช้ กลา่ วคือ ถา้ จานวนกลมุ่ ตวั อย่างจานวนมาก ก็จาเป็นต้องใช้งบประมาณที่มากข้นึ เพราะจะทาใหผ้ ลการวิจัยมคี วามเทยี่ งตรงและน่าเชอื่ ถือมากข้ึนในการใช้สถิติอนมุ านวิเคราะหข์ ้อมลู (ต้องใช้วธิ ีการสุม่ ทดี่ ี และมีประสทิ ธภิ าพ) 5.2 การคานวณขนาดของกลุ่มตวั อย่าง มวี ิธีการในการคานวณเพ่ือใหไ้ ด้กลุ่มตัวอยา่ ง จากประชากรดว้ ยวธิ กี าร ดงั นี้ 5.2.1 การใชส้ ูตรคานวณขนาดของกลุ่มตวั อยา่ ง 5.2.1.1 เมื่อทราบจานวนของประชากร(Cochran,1997:76) ใชส้ ูตร Nz 2 σ 2 x n  NE2  z 2 σ 2 x โดยที่ n เปน็ ขนาดของกลุม่ ตัวอยา่ ง N เปน็ ขนาดของประชากร E เปน็ ความคลาดเคล่ือนท่ียอมรบั ได้ σ 2 เป็นความแปรปรวนของประชากร x z เป็นคา่ z จากตาราง ท่ีระดับความเช่ือมนั่ ที่กาหนด เมอื่ α  .05 หรือมีระดับความเชอ่ื มั่น 95 % มีคา่ z  1.96 เมื่อ α  .01 หรือมรี ะดบั ความเช่อื มั่น 99 % มคี ่า z  2.58 5.2.1.2 การกาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง กรณีทราบความแปรปรวน และความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของประชากร จะใช้สตู ร(Courtney,1991:19-20) N  S2 1 S2X เมอื่ N เปน็ จานวนกลุ่มตวั อย่าง S2 เป็นความแปรปรวน S2X เปน็ ความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน

หน้าที่ 170  บทท่ี 6 การสมุ่ ตัวอยา่ ง ตัวอยา่ ง ที่ 6.2 สมมุติวา่ ในการวิจัยเชิงสารวจเรอื่ งหนง่ึ พบว่ามีความแปรปรวนเทา่ กบั 0.50 และมคี วามคลาดเคล่ือนมาตรฐานเท่ากับ 0.018 จานวนกลุ่มตัวอยา่ งจะเทา่ กบั เท่าไร วธิ ีทา จากสูตร N  S2 1 S2X แทนคา่ N  0.50 1  1544.2  1544 (0.018) 2 จานวนกลุ่มตัวอยา่ งจะเทา่ กบั 1544 5.2.1.3 การกาหนดขนาดของกลุม่ ตัวอย่างท่ที ราบจานวนประชากร ท่ชี ัดเจน คานวณได้ตามสตู ร(Yamane,1973 : 1088) n  N 1 Ne2 เมื่อ n เป็นขนาดของกลุ่มตวั อย่าง N เป็นขนาดของประชากร e เป็นความคลาดเคลอ่ื นของการประมาณคา่ (0.05 หรือ0.01) ตัวอยา่ งท่ี 6.3 สมมตุ ิวา่ ในการวจิ ัยเชงิ สารวจเรอ่ื งหนึ่งมีประชากรท่ตี ้องการศึกษาท้ังหมด 3,000 คน และกาหนดให้มีความคลาดเคลอื่ น 5 % ขนาดของกล่มุ ตัวอยา่ งท่จี ะใช้ในการวิจยั เรอื่ งนี้ จะมขี นาดเท่าไร วธิ ที า จากสูตรการกาหนดขนาดตวั อย่าง n  N 1 Ne2 แทนคา่ n  3,000  352.94  353 1  3000Z 0.05)2 แสดงวา่ จานวนกลมุ่ ตวั อย่างจะเท่ากบั 353 5.2.1.4 การกาหนดขนาดของกลมุ่ ตัวอย่างกรณีท่ีไม่ทราบจานวนประชากร (เพ็ญแข แสงแก้ว, 2541 : 54) n  Z2PQ e2 เมื่อ n เป็นจานวนตัวอย่าง Z เป็นคะแนนมาตรฐานตามระดับความเช่อื มัน่ P เป็นสัดสว่ นของลกั ษณะท่ีสนใจในประชากร Q เปน็ สัดส่วนของลกั ษณะทไ่ี ม่สนใจในประชากรเทา่ กับ 1 P e เปน็ ความคลาดเคล่ือนของการประมาณค่า

 ระเบยี บวิธีการวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หน้าท่ี 171 5.2.2 การกาหนดขนาดของกล่มุ ตวั อย่างโดยการใชร้ ้อยละของประชากร ในการกาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง ผวู้ ิจยั อาจจะใชเ้ กณฑใ์ นการพิจารณาเป็น ร้อยละของประชากรที่ต้องการศกึ ษา ดังนี้ 5.2.2.1 จานวนประชากรเป็นจานวนหลักร้อย ใช้จานวนกลุ่มตัวอยา่ งร้อยละ 25 5.2.2.2จานวนประชากรเปน็ จานวนหลกั พัน ใช้จานวนกลุม่ ตวั อยา่ งร้อยละ 10 5.2.2.3 จานวนประชากรเป็นจานวนหลักหมื่น ใช้จานวนกลมุ่ ตัวอยา่ งร้อยละ 5 5.2.2.4 จานวนประชากรเปน็ จานวนหลกั แสน ใช้จานวนกล่มุ ตวั อยา่ งร้อยละ 1 5.2.3 การกาหนดขนาดของกลุ่มตวั อยา่ งโดยการใช้ตารางสาเรจ็ รูป ในการกาหนดขนาดของกลุ่มตวั อย่างท่ีไดง้ ่ายและรวดเรว็ กวา่ วิธีการอ่ืน คือ การใชต้ ารางสาเร็จรูปท่ีกาหนดขนึ้ อย่างหลากหลาย แต่ตารางสาเรจ็ รูปที่นามาใช้กันอย่างแพรห่ ลาย มีดังนี้ 5.2.3.1 ตารางการสมุ่ ตัวอยา่ งของยามาเน ดงั ตารางที่ 6.2 และ 6.3(Yamane, 1973)

หน้าที่ 172  บทที่ 6 การส่มุ ตัวอย่าง ตารางที่ 6.2 ขนาดของกลุ่มตัวอยา่ งทีร่ ะดับความเชื่อมัน่ 95 %(Z=1.96) เม่อื ความคลาดเคลอื่ น(E) เปน็ 1%,2%,3%,4%,5% และ 10 % จานวนประชากร ขนาดของกลมุ่ ตัวอยา่ งในแต่ละความคลาดเคลื่อน  1%  2%  3%  4%  5%  10% 500 1,000 b b b b 222 83 1,500 b b b 385 286 91 2,000 b b 638 441 316 94 2,500 b b 714 476 333 95 3,000 b 1,250 769 500 345 96 3,500 b 1,364 811 517 353 97 4,000 b 1,458 843 530 359 97 4,500 b 1,538 870 541 364 98 5,000 b 1,067 891 549 367 98 6,000 b 1,667 909 556 370 98 7,000 b 1,765 938 566 375 98 8,000 b 1,842 959 574 378 99 9,000 b 1,905 976 580 381 99 10,000 b 1,957 989 584 383 99 15,000 5,000 2,000 1,000 588 385 99 20,000 6,000 2,143 1,034 600 390 99 25,000 6,667 2,222 1,053 606 392 100 50,000 7,143 2,273 1,064 610 394 100 100,000 8,333 2,381 1,087 617 397 100 9,091 2,439 1,099 621 398 100  10,000 2,500 1,111 625 400 100 หมายเหตุ b เป็นขนาดของประชากรไม่เหมาะสมทีจ่ ะคาดคะเนวา่ เป็นการแจกแจงปกติ จึงไมส่ ามารถใชส้ ตู รคานวณหาขนาดของกลุ่มตวั อยา่ งได้

 ระเบยี บวธิ ีการวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หนา้ ที่ 173 ตารางท่ี 6.3 ขนาดของกลุ่มตวั อยา่ งทีร่ ะดับความเช่ือม่ัน 99 %(Z=2.58) เมอ่ื ความคลาดเคลอื่ น(E) เปน็ 1%,2%,3%,4%และ 5 % จานวนประชากร ขนาดของกล่มุ ตัวอยา่ งในแตล่ ะความคลาดเคลื่อน  1%  2%  3%  4%  5% 500 1,000 bbbb b 1,500 bbbb 474 2,000 b b b 726 563 2,500 b b b 826 621 3,000 b b b 900 662 3,500 b b 1,364 958 692 4,000 b b 1,456 1,003 716 4,500 b b 1,539 1,041 735 5,000 b b 1,607 1,071 750 6,000 b b 1,667 1,098 763 7,000 b 2,903 1,765 1,139 783 8,000 b 3,119 1,842 1,171 798 9,000 b 3,303 1,905 1,196 809 10,000 b 3,462 1,957 1,216 818 15,000 b 3,600 2,000 1,233 826 20,000 b 4,091 2,143 1,286 849 25,000 b 4,390 2,222 1,314 861 50,000 11,842 4,592 2,273 1,331 869 100,000 15,517 5,056 2,381 1,368 884 18,367 5,325 2,439 1,387 892  22,500 5,625 2,500 1,406 900 หมายเหตุ b เปน็ ขนาดของประชากรไม่เหมาะสมทจี่ ะคาดคะเนว่าเป็นการแจกแจงปกติ จงึ ไมส่ ามารถใช้สตู รคานวณหาขนาดของกลุ่มตัวอยา่ งได้

หน้าที่ 174  บทท่ี 6 การส่มุ ตวั อย่าง จากการศึกษาตารางการสมุ่ ตวั อยา่ งของยามาเน่ มีข้อสังเกตคอื ความสมั พนั ธร์ ะหว่าง ความคลาดเคล่ือนทเ่ี กดิ ขนึ้ หรือระดบั ความเช่ือมนั่ กบั ขนาดของกลุม่ ตัวอย่างจะแปรผนั แบบผกผนั กัน และในการวิจัยบางกรณีทป่ี ระชากรมีจานวนไมถ่ งึ 500 คนก็ไม่สามารถใชต้ ารางการสุ่มตัวอย่างน้ีได้ แตไ่ ด้มนี ักวิจัยได้นาตารางการสุ่มของยามาเนมาดดั แปลงใช้ในการคดิ คานวณขนาดของกลุ่มตัวอยา่ ง โดยประมาณ โดยคดิ เปน็ ร้อยละ ดงั แสดงในตารางที่ 6.4 ตารางท่ี 6.4 การสมุ่ ของยามาเนดดั แปลงใช้ในการคิดคานวณขนาด ของกลุ่มตวั อยา่ งโดยประมาณ โดยใช้รอ้ ยละ ประชากร กลุ่มตวั อย่าง 100-200 80% 300-400 60% 500-700 45% 1,000-1,500 30% 2,000-2,500 20% 3,000-4,000 15% 5,000-6,000 8% 7,000-10,000 6% 15,000-20,000 3% 30,000-50,000 2% 70,000 ข้ึนไป 0.6 % 5.2.3.2 ตารางการสมุ่ ตวั อย่างของเครซ่ี และมอรแ์ กน(Krejcie and Morgan,1970 : 607-610 ) ได้นาเสนอตารางการสุม่ ตัวอย่างสาเรจ็ รูปท่ีมปี ระชากรขนาดเลก็ โดยมี ระดับความเช่ือม่ัน 95 %(.95) หรอื มคี วามคลาดเคล่ือนทเี่ กิดขึน้ 5 %(.05) ดังแสดงในตารางท่ี 6.5 (Krejcie and Morgan,1970 : 607-610 )

 ระเบียบวธิ กี ารวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หนา้ ท่ี 175 ตารางท่ี 6.5 ขนาดของกลุม่ ตัวอยา่ งของเครซี่ และมอรแ์ กน ทีร่ ะดับความเช่ือม่ัน 95 % หรอื มคี วามคลาดเคลื่อนท่เี กดิ ขึน้ 5 % ประชากร กล่มุ ตัวอยา่ ง ประชากร กลุม่ ตวั อยา่ ง ประชากร กลมุ่ ตวั อยา่ ง ประชากร กลุ่ม ตวั อย่าง 10 160 113 500 217 2,800 338 10 14 170 118 550 226 3,000 341 15 19 180 123 600 234 3,500 347 20 24 190 127 650 242 4,000 350 25 28 200 132 700 248 4,500 354 30 32 210 135 750 254 5,000 357 35 36 220 140 800 260 6,000 361 40 40 230 144 850 265 7,000 364 45 44 240 148 900 269 8,000 367 50 48 250 152 950 274 9,000 368 55 52 260 155 1,000 278 10,000 370 60 56 270 159 1,100 285 15,000 375 65 59 280 162 1,200 291 20,000 377 70 63 290 165 1,300 296 30,000 379 75 66 300 169 1,400 301 40,000 380 80 70 320 175 1,500 306 50,000 381 85 73 340 181 1,600 310 75,000 382 90 76 360 186 1,700 313 100,0000 384 95 80 380 191 1,800 317 100 86 400 196 1,900 320 110 92 420 201 2,000 322 120 97 440 205 2,200 328 130 103 460 210 2,400 331 140 108 480 214 2,600 335 150

หนา้ ท่ี 176  บทท่ี 6 การสมุ่ ตัวอย่าง 5.2.4 การกาหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้กฎแหง่ ความชัดเจน การกาหนดขนาดตัวอย่างโดยใชก้ ฎแหง่ ความชัดเจน(Rule of Tumb)เป็น การกาหนด ขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยคานงึ ถึงขนาดของประชากรในลกั ษณะของอตั ราสว่ นท่ี คิดเปน็ ร้อยละ ดังน(้ี Neuman,1991:221) 5.2.4.1ประชากรนอ้ ยกวา่ 1,000 คนใช้อตั ราสว่ นการสมุ่ กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 30 5.2.4.2 ประชากรเท่ากบั 10,000 คนใช้อัตราสว่ นการสมุ่ กลมุ่ ตัวอยา่ ง รอ้ ยละ 10 5.2.4.3 ประชากรเทา่ กบั 150,000 คนใช้อัตราสว่ นการส่มุ กลมุ่ ตัวอยา่ ง รอ้ ยละ 1 5.2.4.4 ประชากรมากกว่า 10,000,000 คนใช้อัตราส่วนการสุ่มกล่มุ ตัวอย่าง รอ้ ยละ 0.025 5.2.5 สวุ ิมล ตรกิ านนั ท(์ 2542 : 157)ได้นาเสนอขนาดของกลุ่มตัวอย่าง(คิดเปน็ ร้อยละ)ท่ีพิจารณาจากจานวนประชากร ดังแสดงในตารางที่ 6.6 ตารางท่ี 6.6 ขนาดของกลมุ่ ตัวอยา่ งที่พจิ ารณาจากจานวนประชากร(คดิ เปน็ รอ้ ยละ) ขนาดประชากร(N) ขนาดกลมุ่ ตัวอย่าง(n) 100 - 300 50 500 - 700 40 1,000 - 1,500 25 2,000 - 2,500 15 3,000 - 5,000 10 6,000 - 10,000 5 15,000 - 20,000 2.5 30,000 - 50,000 1 70,000 ข้ึนไป 0.5

 ระเบียบวิธกี ารวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หนา้ ท่ี 177 6. องค์ประกอบในการกาหนดขนาดของกลมุ่ ตวั อยา่ ง ในการกาหนดขนาดของกลมุ่ ควรพจิ ารณาจากองคป์ ระกอบดงั แสดงในภาพที่ 6.6 (Gall ,Brog and Gall,1996 : 206-207) สถิติวิเคราะห์ขอ้ มลู ลักษณะประชากร ประเภทการวิจัย ระดบั นยั สาคญั ขนาดของกลุ่มตวั อยา่ ง ประเภทสมมตุ ิฐาน ขนาดอิทธพิ ล ทรัพยากรสนบั สนนุ อานาจการทดสอบ ภาพที่ 6.6 องคป์ ระกอบในการกาหนดขนาดของกลุ่มตวั อย่าง จากภาพที่ 6.6 สามารถอธบิ ายรายละเอยี ดขององคป์ ระกอบในการกาหนดขนาดของกลุ่ม ตัวอย่าง ดงั น้ี 6.1 ลักษณะของประชากร ที่จาแนกเป็นประชากรทม่ี ลี ักษณะคล้ายคลงึ กันเป็นเอกพนั ธ์ ไม่จาเปน็ ต้องใชข้ นาดของกลุ่มตัวอยา่ งเท่ากบั ประชากรท่ีมีลกั ษณะแตกต่างกนั ทเ่ี ป็นวิวธิ พนั ธ์จะต้อง ใช้กลุ่มตวั อย่างที่มีขนาดใหญ่เพอื่ ให้มีลักษณะท่ีครอบคลุมลักษณะของประชากร 6.2 สถติ ิวเิ คราะหข์ ้อมลู ในการกาหนดกลมุ่ ตัวอย่างจะต้องพจิ ารณาจากสถติ ทิ ่ีนามาใช้ โดยพิจารณาจากขอ้ กาหนดเบอ้ื งตน้ หรอื จานวนและลกั ษณะของตัวแปรทีน่ ามาวิเคราะห์ถา้ มจี านวน ตัวแปรมาก/หลากหลายควรกาหนดกล่มุ ตัวอย่างที่มีขนาดใหญ่ 6.3 ประเภทของการวจิ ัย ถา้ เปน็ การวิจัยแบบไม่ทดลองจะมีกลุ่มตวั อยา่ งขนาดใหญ่กว่า กึง่ ทดลองและกลุ่มทดลองที่แท้จรงิ ตามลาดบั แต่ถ้าเป็นการวิจยั เชิงคณุ ภาพจะศึกษาจาก กลุ่มตวั อยา่ งทีม่ ขี นาดเล็กโดยทีข่ นาดของกลมุ่ ตวั อย่างข้นึ กับความเพยี งพอของข้อมลู ท่ีใชต้ อบปัญหา การวจิ ยั ได้อย่างชดั เจน 6.4 ระดับนัยสาคัญ ถ้ากาหนดระดับนัยสาคญั .001,.01 และ.05 จะพบว่าขนาดของ กลุ่มตวั อย่างจะมีขนาดเรยี งลาดับจากขนาดท่มี ีจานวนมากไปหาขนาดทม่ี ีจานวนน้อยตามลาดบั ดังแสดงในภาพท่ี 6.7

หน้าท่ี 178  บทที่ 6 การสุม่ ตัวอยา่ ง        ระดบั นัยสาคัญ.01 ระดับนัยสาคัญ.05 ระดบั นัยสาคญั .001 ภาพท่ี 6.7 ความสัมพนั ธข์ องระดับนัยสาคัญกบั ขนาดของกลมุ่ ตวั อยา่ ง 6.5 ประเภทของสมมตุ ฐิ าน ถ้าเป็นการวจิ ยั ที่มสี มมุตฐิ านแบบสองหางหรือไม่มีทศิ ทาง ควรใชก้ ลุ่มตวั อย่างควรทมี่ ขี นาดใหญก่ วา่ การวิจยั ทีม่ ีสมมุติฐานแบบหางเดยี วหรือมีทิศทาง 6.6 ขนาดของอิทธิพลในกรณีทม่ี ีค่าอิทธพิ ลเล็กขนาดกล่มุ ตัวอยา่ งจะต้องมีขนาดใหญ่ แต่ถา้ มีขนาดอทิ ธิพลใหญ่อาจมขี นาดตวั อย่างไมจ่ าเป็น เพ่ือเพ่มิ อานาจในการทดสอบทางสถติ ิ 6.7 อานาจการทดสอบทางสถิติ จะขึ้นอยู่กับความเป็นตัวแทนทดี่ ีของกลุม่ ตัวอยา่ งจาก ประชากร โดยพิจารณาจากความครอบคลมุ คุณลักษณะและจานวนทเี่ หมาะสมและเพยี งพอ 6.8 พิจารณาจากทรัพยากรที่สนบั สนุนในการวจิ ยั ไดแ้ ก่ งบประมาณ กาลงั คนที่ใชใ้ น การเกบ็ รวบรวมข้อมูล บุญเรียง ขจรศิลป์(2539 :70-72) ได้ระบุว่า ในการวจิ ยั ใด ๆ มีองค์ประกอบท่ใี ชพ้ ิจารณา ในการกาหนดขนาดของกลุ่มตัวอยา่ ง ดังน้ี 1) ผลการวจิ ยั ที่ได้ตอ้ งการสรุปอา้ งอิงสู่ประชากรในระดบั ใด เพ่ือที่จะได้กาหนดขนาด ของกลุ่มตัวอย่างให้มีความครอบคลมุ ทกุ ๆ คุณลักษณะของประชากร 2) การวิจยั ตอ้ งการรายละเอยี ดของข้อมลู มากหรอื น้อยเพียงใด แต่ถา้ กาหนดกลุม่ ตวั อยา่ งมาก ๆ แลว้ ไมท่ าใหไ้ ด้ขอ้ มลู ที่มีความหลากหลายก็ไมจ่ าเป็นจะต้องกาหนดให้มากเพราะจะ ส้นิ เปลอื งงบประมาณ แรงงานและเวลา 3) ถา้ การวิจัยมีตัวแปรแทรกซ้อนหรือตัวแปรสอดแทรกหลายตัวที่ไมส่ ามารถควบคุมได้ ควรจะได้กาหนดขนาดของกลุ่มตัวอยา่ งให้มจี านวนมาก ๆ 4) เม่ือแบ่งกลุ่มตวั อย่างเป็นกล่มุ ยอ่ ย ๆ แล้วจานวนกลมุ่ ตวั อยา่ งในกลุ่มยอ่ ยบางกลุ่ม อาจจะน้อยเกินไปควรจะเพ่ิมขนาดของกลุม่ ตวั อยา่ ง 5) ถา้ ในการวิจยั ใด ๆ ประชากรมลี ักษณะของตวั แปรที่ตอ้ งการศกึ ษาทหี่ ลากหลาย ควรจะตอ้ งกาหนดให้กลุม่ ตัวอย่างมีขนาดใหญ่ เพื่อที่จะได้มคี วามครอบคลุมในคุณลกั ษณะเหลา่ นัน้ อยา่ งครบถว้ น แตถ่ า้ ประชากรมีความคล้ายคลงึ กนั ให้กาหนดกลุม่ ตวั อย่างที่ไมต่ ้องมขี นาดใหญ่ กไ็ ด้

 ระเบียบวธิ กี ารวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หนา้ ท่ี 179 7. กลุม่ ตวั อยา่ งทเ่ี ปน็ ตวั แทนท่ีดี กลุ่มตวั อยา่ งที่เปน็ ตวั แทนทด่ี ี(Representation) หมายถึง กลุ่มตัวอย่างท่ีมีคณุ ลักษณะ อย่างครบถ้วน/คล้ายคลงึ /สอดคลอ้ งกบั ลักษณะของประชากรทไ่ี ด้จากการส่มุ ตัวอย่างทีไ่ ม่มีอคตแิ ละ มีจานวนมากเพียงพอ(ตามสตู รการคดิ คานวณ หรอื ตารางสาเร็จรปู ในการหาจานวนของ กลุ่มตวั อย่าง)ท่จี ะสามารถใชท้ ดสอบความเช่อื ม่ันทางสถติ ิเพ่ือนาไปอ้างอิงสูป่ ระชากรได้อยา่ ง เท่ียงตรง และน่าเช่ือถือ และมีผวู้ จิ ัยบางทา่ นไดร้ ะบุวา่ “การวิจัยจากกลมุ่ ตัวอย่างทีด่ ีท่ีสุด คือ การ วิจัยจากประชากรนนั่ เอง”(Kerlinger,1986 :110-112) ขนาดของกลมุ่ ตวั อย่างทีเ่ หมาะสมสาหรบั การวิจัยข้นึ อยู่กับระดับความถูกต้องของการวจิ ยั และจานวนตัวแปรในการวจิ ยั กลา่ วคือ ถ้าต้องการให้การวิจัยมคี วามถูกตอ้ งมากและคลาดเคลอื่ น นอ้ ยต้องใชก้ ลุ่มตัวอย่างที่มขี นาดใหญ่ และถ้าประชากรมลี ักษณะทหี่ ลากหลายจะต้องใช้ กลุ่มตวั อยา่ งทม่ี ีขนาดใหญ่กวา่ กลมุ่ ตัวอย่างทีป่ ระชากรมีลักษณะใกลเ้ คยี งกัน และถ้าการวิจยั มี ตวั แปรจานวนหลายตัวจะต้องใชก้ ลุม่ ตวั อยา่ งมากกวา่ การวจิ ัยท่ีมีจานวนตวั แปรน้อยกว่า (Kerlinger,1986 :117-119 ; Neuman,1991:221 ) นภิ า ศรีไพโรจน์(2531: 71-72) ได้ระบลุ กั ษณะของกล่มุ ตวั อย่างทีด่ ี มดี งั น้ี 1) มขี นาดท่เี หมาะสม/เพียงพอ(Adequacy) เปน็ กลมุ่ ตัวอยา่ งทีม่ ีขนาดที่ไม่มากหรือ น้อยเกินไปสอดคล้องกับขนาดของประชากร และมคี วามเพยี งพอที่จะสามารถนาไปทดสอบ สมมตุ ฐิ านแลว้ สรุปอา้ งองิ ผลของกลมุ่ ตัวอย่างส่ปู ระชากรได้ 2) มลี กั ษณะทส่ี อดคลอ้ งกบั การวิจัย เป็นกลุม่ ตวั อย่างท่ีสอดคล้องกับลักษณะท่รี ะบุไว้ใน ขอ้ ตกลงเบอื้ งต้นหรือวัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั 3) มีความเป็นตวั แทนที่ดี(Representativeness) เปน็ กล่มุ ตัวอยา่ งท่มี ลี ักษณะท่สี าคัญ ในภาพรวมคลา้ ยคลงึ กบั ลกั ษณะของประชากร 4) ได้มาจากวิธีการสุ่มที่เหมาะสม เปน็ กลุ่มตัวอยา่ งทไ่ี ด้จากวิธีการส่มุ ทเ่ี หมาะสม/ สอดคล้องกบั ข้อมลู ทต่ี อ้ งการเก็บรวบรวม 8. ความสัมพันธร์ ะหว่างขนาดของกลุ่มตวั อย่างกบั ความคลาดเคลอ่ื นท่ีเกิดขน้ึ ในการวจิ ัยใด ๆ ขนาดของกลุ่มตัวอยา่ งกับความคลาดเคลื่อนมคี วามแปรผันโดยผกผนั ซง่ึ กนั และกัน กล่าวคือ กล่มุ ตัวอย่างขนาดเล็กจะมคี วามคลาดเคลอ่ื นสงู แต่ถา้ กลุ่มตวั อย่าง มีขนาดใหญ่ขึน้ จะทาใหม้ ีความคลาดเคล่ือนลดลงเพราะกลุ่มตัวอยา่ งท่ีมีขนาดใหญจ่ ะทาให้ได้ข้อมลู จากกลุม่ ตัวอย่างที่มคี วามเปน็ ตวั แทนของประชากรมากขึ้น(Gall ,Brog and Gall,1996 ::229) ทแ่ี สดงความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งขนาดของกลุม่ ตัวอยา่ งและความคลาดเคล่ือนทเ่ี กดิ ขึน้ ดังแสดงใน ภาพท่ี 6.8(Kerlinger,1973:127)

หน้าที่ 180  บทที่ 6 การสมุ่ ตวั อยา่ ง ความคลาดเคลอ่ื น มาก นอ้ ย ขนาดของกลมุ่ ตวั อย่าง เล็ก ใหญ่ ภาพท่ี 6.8 ความสัมพันธร์ ะหว่างขนาดของกลุ่มตัวอย่างกบั ความคลาดเคล่ือน 9. การอ้างอิงข้อมูลจากกล่มุ ตัวอยา่ งสู่ประชากร ในการอ้างอิงข้อมลู จากกลุ่มตัวอยา่ งสู่ประชากร จาแนกเป็น ข้นั ตอนดงั นี้ (นงลักษณ์ วริ ชั ชยั ,2543 : 128) 9.1 การสรปุ อ้างอิงผลการวิจัยจากกลุ่มตวั อยา่ งไปสู่ประชากรเฉพาะการวิจยั ท่ีใช้แนวคดิ และหลกั การของการใช้สถติ ิเชิงอา้ งอิง(Inferential Statistics)ในการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนน้ั จะตอ้ งมี การเลือกใช้สถิติเชงิ อา้ งองิ ทีถ่ ูกต้อง ท่ีจะทาใหเ้ กดิ ความเทยี่ งตรงและความเชอื่ มนั่ ในการวิจัย 9.2 การสรปุ อ้างอิงจากประชากรเฉพาะการวจิ ัย ไปส่ปู ระชากรตามสมมุตฐิ าน และ ประชากรท่ัวไป จะเกีย่ วข้องกับการกาหนดและนิยามประชากรเฉพาะการวิจัย และการสุ่มตวั อย่าง ที่เปน็ ตวั แทนท่ดี ี และมีขนาดที่เหมาะสม/เพียงพอ 10. ประเด็นทค่ี วรพิจารณาในการเลอื กใชว้ ิธีการสมุ่ กลมุ่ ตัวอย่าง ในการเลือกใชว้ ธิ ีการส่มุ กลุม่ ตัวอย่าง มีข้อที่ควรพจิ ารณา ดงั นี้ 10.1 ใหศ้ กึ ษาลักษณะของประชากรว่ามคี วามแตกต่างใดที่จะส่งผลตอ่ ตัวแปรตามหรือไม่ ถา้ ไม่มใี ห้เลือกใช้วธิ ีการสุ่มอย่างงา่ ย หรอื การสุ่มอย่างมีระบบ แตถ่ ้าพบวา่ มีลักษณะของความ แตกต่างท่สี ง่ ผลต่อตัวแปรตามอย่างชัดเจน และสามารถแบ่งประชากรออกเปน็ ช้นั ภูมทิ ี่ในช้ันภมู ิ เดยี วกันเหมอื นกนั แตต่ ่างชน้ั ภมู แิ ตกต่างกันใหใ้ ช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งช้นั ภูมิ(Stratified Random Sampling) และถา้ ประชากรมีลกั ษณะการรวมกลมุ่ ย่อย ๆ ซึง่ ในกลุ่มมีความแตกตา่ งกันแต่ ระหว่างกล่มุ มีความคลา้ ยคลงึ กนั สามารถท่ีจะเลือกกล่มุ ตวั อยา่ งใดมาเป็นตัวแทนในการศึกษากจ็ ะ ใหผ้ ลการศกึ ษาท่ีเหมือนกนั ก็ใหเ้ ลอื กใช้การสมุ่ แบบกลุ่ม(Custer Random Sampling) 10.2 ในการศึกษาปญั หาการวิจยั ท่ีคลา้ ยคลงึ กนั อาจจะต้องเลือกใช้วิธีการสมุ่ ท่ีแตกต่างกัน โดยที่ผวู้ จิ ัยจะตอ้ งศึกษาประชากรในการวจิ ยั เร่อื งน้นั ๆ ก่อนทกุ ครั้งท่จี ะเลือกใช้วธิ กี ารสมุ่ เพื่อผลการวจิ ัยที่ถูกต้องและเหมาะสมกบั สถานการณ์ของปัญหาการวจิ ัยนั้น ๆ

 ระเบียบวิธกี ารวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หนา้ ท่ี 181 วเิ ชียร เกตสุ ิงห(์ 2534 อ้างอิงใน พิชิต ฤทธ์จิ รญู ,2544 :134) ไดน้ าเสนอข้อเสนอแนะสาหรบั การเลอื กใชว้ ธิ ีการการสุม่ ตัวอย่าง ดังน้ี 1) ถ้าสมาชกิ ทุกหน่วยของประชากรมลี ักษณะที่คล้ายคลึงกนั และไม่สามารถจัดเปน็ กลมุ่ ได้ ควรใชว้ ิธีการสุ่มอย่างง่าย หรอื ถ้าสมุ่ อยา่ งงา่ ยแลว้ เกิดความยุง่ ยากในการเกบ็ ขอ้ มลู อาจใชก้ ารสมุ่ แบบเปน็ ระบบ แต่ถ้าไมส่ ามารถระบแุ หล่งท่ีอยู่ของประชากรไดช้ ดั เจนก็อาจจะใช้ วิธกี ารสมุ่ แบบบังเอิญ 2) ถ้าสมาชิกทกุ หนว่ ยของประชากรมีลักษณะแตกตา่ งกันโดยท่ีสามารถจาแนกเปน็ กลุ่มทีเ่ หมือนกัน และความแตกต่างน้นั จะสง่ ผลตอ่ การวิจยั ควรเลือกใช้การสุ่มแบบแบ่งชนั้ หรือ ถา้ ตอ้ งการใหจ้ านวนกลุ่มตัวอย่างมีสัดส่วนตามประชากรก็อาจใชว้ ธิ กี ารส่มุ แบบโค้วตา้ 3) ถ้าสมาชกิ ทุกหนว่ ยของประชากรมีลักษณะที่สามารถแบ่งเป็นกลุ่ม โดยทีแ่ ตล่ ะกลมุ่ มลี ักษณะของกลมุ่ ท่ีคล้ายคลึงกัน แต่ภายในกลุ่มมคี วามหลากหลาย จะใชก้ ารสมุ่ แบบแบ่งกลุ่ม 4) ในการสุ่มตัวอย่างถ้ามขี ้อจากัดไม่สามารถสุ่มได้สะดวก หรอื ส่มุ แล้วคาดวา่ ไมส่ ามารถ เก็บข้อมลู ได้ หรือไม่มีพื้นฐานเกย่ี วกบั ลักษณะของประชากร หรือมคี วามสนใจเปน็ รายกรณี ควรใชว้ ธิ กี ารเลือกตัวอย่างแบบเจาะจงหรอื แบบบังเอญิ 5) ถ้าประชากรมขี นาดใหญ่สามารถแบ่งกลุม่ ไดห้ ลายชั้น และตอ้ งการให้กลุ่มตวั อย่าง มกี ารกระจายอยา่ งทั่วถึงควรใชก้ ารสมุ่ แบบหลายข้นั ตอน 11. เกณฑ์ท่ดี ใี นการสมุ่ ตวั อย่าง คิช(Kish,1965 อา้ งองิ ใน วรรณรัตน์ สุประเสรฐิ ,2544 : 210) ได้กาหนดเกณฑ์ท่ีดสี าหรับ การสมุ่ ตัวอย่างไว้ 4 ประการ ดังนี้ 11.1 บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย กล่าวคอื การสมุ่ ตัวอยา่ งจะตอ้ งใหม้ ีความสอดคล้อง กบั วัตถุประสงค์ของการวิจยั นั้น ๆ เพ่อื ทาใหข้ ้อมลู ที่ได้จากกลมุ่ ตวั อย่างสามารถนามาวิเคราะหใ์ ช้ ตอบปัญหาตามวตั ถุประสงค์ไดอ้ ย่างถูกต้อง ชัดเจน และครบถ้วน 11.2 วัดคา่ ของตัวแปรได้ กล่าวคอื การสุ่มตัวอยา่ งจะต้องได้กล่มุ ตวั อย่างท่ีสามารถให้ ขอ้ มูลตามวตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั หรอื ระบุค่าความคลาดเคลือ่ นที่เกดิ จากการสุ่มตัวอย่าง เพื่อนาไปใช้ประกอบการใช้สถติ เิ ชิงอา้ งองิ ทีจ่ ะสรุปผลอ้างอิงไปสูป่ ระชากรได้ 11.3 นาไปปฏิบตั ไิ ด้ กล่าวคอื การสุม่ ตัวอยา่ งทีไ่ ด้กาหนดไวแ้ ล้ว สามารถที่จะนาไปปฏบิ ตั ิ ในสถานการณจ์ รงิ ได้อย่างถูกต้อง และครบถ้วน และมีแนวทางการแกป้ ัญหาทอ่ี าจจะเกิดข้นึ จาก การสมุ่ ตัวอย่าง 11.4 ประหยัดงบประมาณ กลา่ วคอื ในการกาหนดการสุ่มตวั อย่างจะต้องคานึงถึง การดาเนนิ การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ทีจ่ ะสามารถดาเนินการโดยประหยดั ทัง้ เวลา แรงงานและ งบประมาณ 12. ประโยชน์ของศึกษาจากกลมุ่ ตัวอย่างแทนประชากร ในการส่มุ กลุ่มตวั อยา่ ง เพอื่ ศึกษาแทนประชากรมปี ระโยชน์ ดังนี้(ฺBailey.1987 :83-84) 12.1 ประหยัดงบประมาณ แรงงานและเวลา ทใี่ ชใ้ นการวิจยั ทศี่ กึ ษาจากกลุ่มตัวอยา่ งทีม่ ี จานวนนอ้ ยกวา่ ประชากร

หน้าท่ี 182  บทท่ี 6 การส่มุ ตัวอย่าง 12.2 สะดวกและรวดเรว็ ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ท่ีมีการระบุกลมุ่ ตัวอยา่ งที่ชดั เจนใน การใหข้ ้อมลู มากกว่าประชากร และในการนาเสนอผลการวิจยั 12.3 มคี วามเทยี่ งตรง และความเชื่อมั่น เน่ืองจากมกี ลุม่ ตวั อยา่ งทนี่ ้อยทาให้มเี วลาเก็บ รวบรวมรายละเอยี ดของขอ้ มูลได้อย่างครบถว้ นและชัดเจน 12.4 ได้รบั ความร่วมมือและใหข้ ้อมูลท่ีถูกต้องจากผู้ใหข้ ้อมลู 12.5 ได้ขอ้ มูลทีล่ ึกซ้ึง และมคี วามคลาดเคลอ่ื นน้อยเน่ืองจากมีเวลามากขนึ้ 12.6 สามารถใช้ผลการวจิ ยั ได้สอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ที่เปลยี่ นแปลง 12.7 สามารถสรปุ อา้ งอิงข้อมูลสูป่ ระชากรได้ 13. สาเหตุความคลาดเคล่ือนในการส่มุ ตวั อย่าง ในการสุม่ ตัวอย่าง จะมีความคลาดเคล่ือนเกิดขนึ้ เนื่องมาจากสาเหตุ ดงั น(้ี สนิ พนั ธุ์พนิ ิจ. 2547 : 139). 13.1 การสุ่มตวั อย่างโดยเนน้ ความสะดวก และหากล่มุ ตวั อย่างได้ง่าย 13.2 ไม่ใช้วธิ กี ารส่มุ ตัวอยา่ งทเี่ หมาะสมกับลักษณะของประชากรทาใหไ้ ด้ กลมุ่ ตวั อยา่ งทไ่ี มเ่ ปน็ ตวั แทนท่ดี ี จะมีผลในการสรปุ อ้างองิ จากกล่มุ ตวั อย่างสปู่ ระชากร 13.3 ใชว้ ธิ ีการสมุ่ ตัวอย่างท่ีไมส่ อดคล้องกับวัตถปุ ระสงคก์ ารวจิ ยั 13.4 ไมก่ าหนดคานิยามของวธิ กี ารสมุ่ ตวั อย่างแบบบังเอญิ หรอื ตามความสะดวก อย่างชัดเจน ทาให้มีตวั อยา่ งท่มี ลี ักษณะอ่ืนปะปนมาดว้ ย 13.5 ขาดความชดั เจน/ความรอบคอบในวธิ ีการสมุ่ ตวั อยา่ งก่อนทีจ่ ะสุ่มตวั อยา่ ง อาทิ กาหนดกรอบของประชากร เป็นตน้ กอล,บอร์ก และกอล(Gall,Brog and Gall. 1996 : 241) ไดน้ าเสนอความคลาดเคล่ือนที่ เกิดขึ้นในการสุม่ ตัวอย่าง ดงั น้ี 1) การนาบคุ คลที่เฉพาะเจาะจง/บงั เอิญเข้าไปมสี ่วนรว่ มในการศึกษาเนอ่ื งจาก ไม่สามารถท่จี ะหาบคุ คลอ่นื โดยการสุ่มตวั อย่างได้ 2) ไม่เพมิ่ หรือขยายขอบเขตของกลมุ่ ตัวอยา่ งให้มากขึ้น ที่จะสามารถนาผลการศึกษาไป อา้ งอิงสปู่ ระชากรได้อย่างกวา้ งขวางเพ่ิมขึ้น 3) เลอื กใชก้ ารสมุ่ อย่างงา่ ย แทนการสุ่มแบบแบง่ ชนั้ หรือแบบแบง่ กลุม่ ท่ีมี ความเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจยั มากกว่า 4) ไมบ่ รรยายรายละเอยี ดของกลุ่มตัวอย่างท่ีได้จากการสุ่มตามสะดวกให้มีรายละเอียด ทช่ี ดั เจนท่จี ะใช้พจิ ารณาความเปน็ ตวั แทนของประชากร 5) สมุ่ ตวั อย่างใหม้ ีขนาดใหญม่ าก ๆ เพอื่ ใหเ้ กิดอานาจการทดสอบทางสถิติทจ่ี ะปฏิเสธ สมมุตฐิ านหลกั 6) ขาดการพจิ ารณาอย่างละเอยี ด รอบคอบ ในการเลอื กใชก้ ารสุ่มตวั อย่างทีม่ ี อยา่ งหลากหลายวธิ ีการในการวจิ ัยเชงิ คุณภาพ 7) ความคลาดเคลอ่ื นที่เกดิ จากการเลอื กกล่มุ ตัวอยา่ งที่อาสาสมัครและไม่อาสาสมคั ร เขา้ กลมุ่ ตวั อยา่ งท่ีมคี วามแตกต่างทีม่ ีอทิ ธิพลต่อผลการวจิ ัย

 ระเบยี บวธิ กี ารวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าท่ี 183 14. ขั้นตอนการสุ่มตัวอยา่ ง ในการสุ่มตัวอย่างมีขัน้ ตอนในการดาเนนิ การ ดังน้(ี บญุ รียง ขจรศลิ ป,์ 2539 : 47-48) 14.1 กาหนดกรอบของประชากร(Sample Fram)อย่างชดั เจนว่าคอื ใคร และศึกษา คุณลกั ษณะของประชากรว่าสอดคล้องกับคุณลกั ษณะของกลุ่มตวั อยา่ งท่ีต้องการศึกษาหรือไม่ 14.2 กาหนดหนว่ ยของการสุม่ ทีเ่ ปน็ หน่วยทผ่ี วู้ ิจัยใช้เป็นหลกั ในการสมุ่ พร้อมจดั ทา บัญชรี ายชือ่ ของหนว่ ยสุ่มทั้งหมด 14.3 กาหนดขนาดของกลมุ่ ตวั อย่าง โดยพิจารณาจากขนาด ธรรมชาตปิ ระชากร ลกั ษณะของเคร่ืองมือในการวิจัย ระดับของความมนี ยั สาคัญ ฯลฯ 14.4 กาหนดวิธีการสุ่มตวั อยา่ งใหส้ อดคล้องกับธรรมชาตขิ องประชากร ลักษณะของ ข้อมูล และจุดมุ่งหมายในการใช้ข้อมลู 14.5 วางแผนการสุ่มตัวอยา่ ง และดาเนนิ การส่มุ ตัวอย่างตามแผนเพอื่ ใหไ้ ด้กลมุ่ ตัวอย่างทจี่ ะนามาศึกษาอย่างเหมาะสม 15. ประเดน็ ที่ควรพิจารณาในการกาหนดขนาดของกลมุ่ ตัวอยา่ งให้มีความเชื่อมั่นและเกิด ความคลาดเคลื่อนน้อยท่ีสดุ 15.1 ลักษณะของการวจิ ยั จาแนกได้ดังน้ี 15.1.1 การวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพท่ใี ช้กลุ่มตวั อยา่ งขนาดเลก็ เนื่องจากจะต้องใช้เวลาใน การเก็บรวบรวมข้อมลู แบบเจาะลกึ ท่จี ะได้ข้อมลู ท่ีใหม่ ๆ มากกว่าการนาข้อมลู มาเปรยี บเทียบกนั ใน เชงิ ปริมาณ ประเด็นท่ีควรคานงึ ถงึ คือความเป็นตวั แทนของประชากร เพื่อท่จี ะสามารถนาข้อมูล ไปอ้างองิ ถึงประชากรได้มากทสี่ ุด 15.1.2 การวิจัยเชงิ สารวจ หรอื การวจิ ัยเชิงสหสมั พันธ์ เปน็ การวิจัยทีจ่ าเปน็ ต้องใช้ กลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ เพื่อใหม้ ีความเปน็ ตวั แทนและจานวนท่มี ากเพียงพอทจ่ี ะสามารถนาข้อมูลมา เปรยี บเทยี บกนั ในเชงิ ปริมาณโดยใช้สถติ ิ โดยใช้อยา่ งนอ้ ยร้อยละ 10 ของประชากรหรือกลุ่มละ 30 คน เป็นอยา่ งต่า (Gay,1996 : 142) 15.1.3 การวิจัยเชงิ ทดลองควรใช้กลุ่มตวั อย่างกลุ่มละ 30 คนขน้ึ ไปที่จะทาให้ การแจกแจงส่มุ ของค่าเฉลีย่ เข้าใกลโ้ คง้ ปกติ(Kerlinger,1986 :119 )หรือถา้ เปน็ การทดลองเพยี ง 2 กลมุ่ กลมุ่ ตัวอยา่ งไม่ควรน้อยกว่า 15 คนต่อกลุ่ม(Wierma,2000 :296) 15.2 คณุ ลักษณะของประชากร ถา้ ประชากรมีความเป็นเอกพันธ์มาก มีความแปรปรวน น้อยจะใช้กลมุ่ ตัวอย่างขนาดเล็กก็ได้ แต่ถ้าประชากรมีลักษณะววิ ธิ พนั ธ์ มีความแปรปรวนมากจะตอ้ ง ใช้กลุ่มตวั อยา่ งทีม่ ีขนาดใหญ่เพื่อให้ได้กลมุ่ ตวั อย่างที่มลี กั ษณะครอบคลุมทกุ ลักษณะของประชากร 15.3 การใชส้ ถิติในการวิเคราะห์ข้อมลู ในการใช้สถติ ิบางประเภทได้ระบุจานวน กลุ่มตวั อยา่ งข้ันต่าไว้ แต่ในบางชนิดถ้ามกี ลุ่มตัวอยา่ งขนาดเลก็ จะทาให้เกิดความคลาดเคลื่อนใน การทดสอบสมมตุ ฐิ านค่อนข้างสงู

หนา้ ท่ี 184  บทท่ี 6 การส่มุ ตัวอย่าง วเิ ชียร เกตุสงิ ห(์ 2534 อ้างองิ ใน พิชติ ฤทธจิ์ รูญ,2544 :134)ไดน้ าเสนอวา่ ในการส่มุ ตัวอย่าง มขี อ้ เสนอแนะในการปฏิบตั ิ ดังน้ี 1) ถา้ สมาชกิ ทกุ หน่วยของประชากรมลี ักษณะท่ีคล้ายคลงึ กัน และไมส่ ามารถจดั เป็นกล่มุ ควรใช้วธิ กี ารสุ่มอย่างงา่ ย หรือถ้าสมุ่ อยา่ งง่ายแล้วเกิดความย่งุ ยากในการเก็บข้อมูล อาจใชก้ ารสุม่ แบบเป็นระบบ แต่ถ้าไมส่ ามารถระบุแหลง่ ท่ีอยู่ของประชากรไดช้ ดั เจนก็อาจจะใชว้ ธิ ีการสมุ่ แบบ บังเอญิ 2) ถ้าสมาชิกทุกหน่วยของประชากรมีลักษณะแตกต่างกันโดยสามารถจาแนกเป็นกลุ่มท่ี เหมือนกัน และความแตกต่างนั้นจะส่งผลตอ่ การวจิ ยั ควรเลือกใช้การสุ่มแบบแบ่งชน้ั หรอื ถา้ ต้องการใหจ้ านวนกลุ่มตัวอย่างมสี ัดส่วนตามประชากรก็อาจใชว้ ธิ กี ารสุม่ แบบโค้วต้า 3) ถ้าสมาชิกทกุ หนว่ ยของประชากรมีลักษณะท่ีสามารถแบง่ เป็นกลุ่ม โดยท่แี ตล่ ะกลุม่ มีลักษณะของกลมุ่ ที่คลา้ ยคลึงกัน แตภ่ ายในกลุ่มมีความหลากหลาย จะใชก้ ารสุ่มแบบแบง่ กลมุ่ 4) ในการสมุ่ ตัวอยา่ งถา้ มีข้อจากดั ไมส่ ามารถสุ่มได้สะดวก หรอื สมุ่ แลว้ คาดวา่ ไม่สามารถ เก็บข้อมลู ได้ หรือไม่มีพื้นฐานเก่ยี วกบั ลกั ษณะของประชากร หรือมคี วามสนใจเปน็ รายกรณี ควรใช้ วธิ กี ารเลอื กตวั อย่างแบบเจาะจงหรอื แบบบังเอิญ 5) ถา้ ประชากรมีขนาดใหญส่ ามารถแบ่งกล่มุ ไดห้ ลายชน้ั และต้องการให้กลมุ่ ตัวอยา่ ง มีการกระจายอย่างทั่วถึงควรใช้การสุ่มแบบหลายขน้ั ตอน สาระสาคญั บทที่ 6 การสุ่มตัวอย่าง ในการเรียนรู้บทนี้มีสาระสาคัญ ดังนี้ 1. ประชากร หมายถงึ คน สัตว์ และส่ิงของต่าง ๆ ท่มี ีคุณสมบัติตามทผ่ี ู้วจิ ัยกาหนดและ สนใจศกึ ษาตามเง่ือนไข 1)งานวิจยั เกย่ี วกับเรอื่ งอะไร 2)หนว่ ยในการวิเคราะห์ข้อมูล คืออะไร และ ผ้วู ิจัยกาหนดขอบเขตของการวิจัยกว้างขวางเพียงใด มคี วามครอบคลุมเพอ่ื นาไปใช้อ้างอิงขอ้ มลู เพยี งใด 2. กลมุ่ ตัวอย่าง หมายถึง สมาชิกกล่มุ ย่อย ๆ ของประชากรทต่ี ้องการศึกษา ทน่ี ามา เป็นตวั แทนเพ่ือศึกษาคณุ ลักษณะของประชากรแล้วนาผลจากการศึกษาคุณลักษณะของ กล่มุ ตวั อยา่ งไปใช้อ้างอิงคณุ ลักษณะของประชากรได้ทม่ี ีความเปน็ ตวั แทนท่ีดี และมีขนาด ทเ่ี หมาะสม 3. เหตผุ ลที่จาเปน็ จะตอ้ งวิจัย/ศกึ ษาจากกลุ่มตัวอย่างแทนประชากร มีดังนี้ 1)มคี วามถกู ต้อง แมน่ ยา มากขน้ึ 2) จากการพิจารณาประชากรแล้วพบว่าไม่สามารถดาเนินการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ได้ ครอบคลุม3) ประหยัดเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมลู 4)มีเวลาทจ่ี ะศึกษาและเก็บข้อมลู ท่ีมี รายละเอยี ดได้ชัดเจนมากข้นึ 5) นาผลการวเิ คราะหม์ าใช้ประโยชนไ์ ด้สอดคล้องกับเหตกุ ารณ์ และ 6) สามารถสรุปผลอา้ งองิ ไปสู่ประชากรได้ 4. การส่มุ ตวั อย่าง เปน็ วธิ กี ารไดม้ าของกลุ่มตวั อย่างจากประชากรทม่ี ีความเป็นตัวแทนท่ีดี โดยในการดาเนินการส่มุ กลุ่มตัวอยา่ งจะมวี ธิ กี ารสุ่มท่ีหลากหลายท่ีนามาใช้ สอดคลอ้ งกับคณุ ลกั ษณะ ของ.ประชากร มีการสุม่ ดงั น้ี 1)การส่มุ จาแนกกลมุ่ 2)การสุม่ สงิ่ ทดลอง และ3) การสุ่มตวั อยา่ ง

 ระเบยี บวิธกี ารวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หนา้ ท่ี 185 5. การสมุ่ ตวั อยา่ ง จาแนกประเภทไดด้ ังนี้ 1) การสุ่มกลมุ่ ตัวอยา่ งท่ีใชค้ วามน่าจะเป็นเป็น การสุม่ กลมุ่ ตัวอยา่ งทสี่ มาชิกทกุ ๆ หนว่ ยของประชากรมโี อกาสอยา่ งเทา่ เทียมกนั จะเป็นตวั แทนทดี่ ี ไดแ้ ก่ การส่มุ กล่มุ ตัวอยา่ งอย่างง่าย การสุ่มกลมุ่ ตัวอย่างอย่างเป็นระบบการสุ่มกลุ่มตวั อย่างแบบชน้ั ภมู ิ การส่มุ กลมุ่ ตวั อยา่ งแบบกลมุ่ และการสมุ่ แบบหลายข้ันตอน เปน็ ต้น 2) การสมุ่ กลุ่มตัวอย่างท่ีไม่ ใชค้ วามนา่ จะเปน็ เปน็ การสมุ่ กลุ่มตวั อยา่ งท่ไี ม่ใชห้ ลักการของความน่าจะเป็น ที่อาจจะเกิดเน่อื งจาก เปน็ การวจิ ยั ทศ่ี กึ ษาจากกลุ่มทีเ่ ฉพาะเจาะจงหรอื มีคุณลกั ษณะท่ีสอดคล้องกบั ประเด็นหรอื เง่ือนไขท่ี กาหนดไว้ ได้แก่ วิธีการคดั เลือกแบบมีจุดประสงค/์ เฉพาะเจาะจง วธิ กี ารคัดเลือกแบบกาหนดโค้วตา้ วิธีการคดั เลือกแบบบังเอิญ วิธีการคดั เลอื กแบบลกู โซ่ วิธกี ารคัดเลอื ก แบบตามสะดวกและวิธีการ คัดเลือกแบบอาสาสมคั ร เปน็ ต้น 6. ในการสมุ่ กลมุ่ ตวั อยา่ ง มหี ลักการในการปฏิบัติดังน้ี 1) หนว่ ยกลุ่มตวั อย่างจะต้องไดร้ ับ การสุม่ /เลือกอย่างมรี ะเบยี บแบบแผนและสอดคล้องกบั วัตถุประสงคก์ ารวจิ ัย 2) หนว่ ยกลุ่มตวั อยา่ ง จะไดร้ บั การระบุและกาหนดความหมายได้อย่างถูกตอ้ ง และชัดเจน 3) หน่วยกลุ่มตัวอย่าง แต่ละหน่วยจะต้องเปน็ อสิ ระซ่งึ กันและกัน และหน่ึงหน่วยตวั อยา่ งจะมโี อกาสไดร้ ับการสมุ่ เข้าสู่ กระบวนการวจิ ัยเพยี งคร้ังเดียว 4) หน่วยกลุ่มตัวอยา่ งใดท่ีได้รบั การสุ่ม/เลอื กแล้วจะไม่สามารถ สับเปลี่ยนกบั ผู้อน่ื ใหแ้ ทนตนเองได้ และใชห้ นว่ ยกลมุ่ ตัวอย่างเดยี วตลอดงานวจิ ัยเสรจ็ สน้ิ และ 5) ใชเ้ ทคนิควิธกี ารสมุ่ กลุม่ ตัวอย่างที่ถูกต้องและเหมาะสมกับการได้ขอ้ มูลในงานวิจัยอย่างถกู ต้อง ครอบคลุมและครบถว้ น 7. ในการวิจัยที่จะต้องศึกษาจากกลมุ่ ตวั อย่างน้ันจะตอ้ งมคี วามเป็นตัวแทนที่ดีของ ประชากรที่มีขนาดทีเ่ หมาะสม เพอื่ ให้ได้ผลการวจิ ยั ท่ีมคี วามเที่ยงตรงและความเชื่อม่ัน มแี นวทางใน การปฏบิ ัติ ดังนี้ 1) ส่งิ ท่ีนามาพิจารณาในการกาหนดขนาดของกล่มุ ตวั อย่าง ไดแ้ ก่ ขนาดของ ประชากรท่ีศกึ ษา ความคลาดเคลือ่ นที่ยอมรบั ได้ หรือระดับความเชอื่ มัน่ ของกลุ่มตัวอย่าง ขอ้ ตกลง เบ้ืองต้นของสถิตทิ ใ่ี ช้ วิธีการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ทแ่ี ตกตา่ งกัน ประเภทของการวจิ ัยที่แตกต่างกนั และงบประมาณที่ใช้ 2) การคานวณขนาดของกลุ่มตัวอยา่ ง มีวิธกี ารในการคานวณเพ่ือให้ได้ กล่มุ ตวั อยา่ งจากประชากรด้วยวธิ กี าร ดังนี้ ใช้สูตรคานวณขนาดของกลมุ่ ตวั อย่าง ใช้ร้อยละของ ประชากร ใช้ตารางสาเรจ็ รปู ใช้กฎแหง่ ความชดั เจน เปน็ ต้น 8. กลุม่ ตวั อยา่ งทเ่ี ปน็ ตวั แทนทีด่ ี เปน็ กล่มุ ตัวอย่างทม่ี ีคุณลักษณะอย่างครบถว้ นหรือ คลา้ ยคลงึ หรอื สอดคล้องกับลักษณะของประชากรที่ได้จากการส่มุ ตัวอย่างที่ไม่มีอคตแิ ละมจี านวนมาก เพียงพอที่ขึ้นอยู่กบั ขนาดของกลมุ่ ตวั อยา่ งทเ่ี หมาะสมสาหรับการวจิ ัยขนึ้ อยู่กับระดับความถูกต้องของ การวิจัยและจานวนตัวแปรในการวิจัย 9. เกณฑ์ท่ีดีในการสุ่มตวั อยา่ ง มดี งั นี1้ ) บรรลวุ ัตถุประสงค์ของการวจิ ัย 2) วดั คา่ ของ ตัวแปรได้ 3) นาไปปฏิบัติได้ 4) ประหยดั งบประมาณ เวลา และแรงงาน 10. ข้นั ตอนการสมุ่ ตัวอย่างมีขัน้ ตอนในการดาเนินการ ดังน้ี 1) กาหนดกรอบของประชากร 2) กาหนดหนว่ ยของการสมุ่ ท่ีเปน็ หนว่ ยท่ีผูว้ ิจยั ใช้ 3) กาหนดขนาดของกลุ่มตัวอยา่ ง 4) กาหนด วิธีการสุม่ ตวั อยา่ งใหส้ อดคล้องกับธรรมชาตขิ องประชากร ลกั ษณะของข้อมลู และจุดมุ่งหมายใน การใช้ข้อมลู และ5) วางแผนการสมุ่ ตัวอย่าง และดาเนนิ การสุ่มตัวอย่างตามแผน

หนา้ ที่ 186  บทท่ี 6 การสมุ่ ตัวอย่าง คาถามเชงิ ปฏิบัตกิ ารบทท่ี 6 การสมุ่ ตัวอยา่ ง คาชี้แจง ใหต้ อบคาถามจากประเด็นคาถามที่กาหนดให้อย่างถกู ต้อง และชดั เจน 1. ในการดาเนินการวิจัย เพื่อใหไ้ ด้กลมุ่ ตวั อย่างท่ดี ี ควรจะปฏิบัติอย่างไร 2. ใหท้ า่ นได้อธิบายคาท่ีกาหนดให้ 2.1 ประชากร 2.2 กลุ่มตัวอย่าง 2.3 การสุ่ม 2.4 กลุม่ ตวั อย่างท่เี ป็นเอกพันธ/์ วิวิธพนั ธ์ 2.5 กรอบการสมุ่ 3. วเิ คราะห์ข้อดีและข้อจากัดระหวา่ งการศกึ ษาจากกลุ่มตัวอยา่ งแทนประชากร 4. ทา่ นมีเกณฑใ์ นการพจิ ารณาลักษณะของกล่มุ ตัวอย่างท่ดี จี ากประชากรอย่างไร 5. ท่านมหี ลักเกณฑ์เลือกใช้ “การสุม่ ตัวอย่างแบบใช้-ไมใ่ ช้ความน่าจะเป็น” อย่างไร 6. ให้อธบิ ายวธิ กี ารสุ่มตัวอยา่ ง พอสังเขป 6.1 การสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย 6.2 การสมุ่ ตัวอยา่ งแบบมีระบบ 6.3 การสุ่มตัวอยา่ งแบบแบ่งช้ัน 6.4 การสุ่มตัวอย่างแบบแบง่ กลมุ่ 6.5 การส่มุ ตวั อย่างแบบหลายขั้นตอน 7. ให้ทา่ นระบวุ ธิ ีการสุม่ จากสถานการณ์ท่ีกาหนดให้ 7.1 บรษิ ทั A แจกสนิ ค้าทดลองทีห่ ้างสรรพสินค้าแหง่ หนึ่ง 7.2 การทดลองรสชาตขิ องอาหารทีผ่ ู้จาหน่ายสนิ ค้าจดั เตรียมไว้ 7.3 การสอบถามความคดิ เหน็ เกีย่ วกบั การให้บรกิ ารของนักศึกษาแตล่ ะสาขาวิชา 7.4 การจับฉลากเพ่ือมอบของขวัญให้แก่เด็ก ๆ ในวนั ปีใหม่ 7.5 การคดั เลือกตวั แทนนักศกึ ษาจากรายช่อื ท่บี ันทึกข้อมูลในคอมพิวเตอร์ 7.6 การสัมภาษณผ์ ู้บรหิ ารสงู สดุ ของบริษัททเ่ี ปน็ สตรี 7.7 การสงั เกตพฤตกิ รรมการแตง่ กายของนักศึกษา ภาคปกติ 7.8 การสอบถามความคิดเห็นเกยี่ วกับธรรมภบิ าลของอาจารยใ์ นสถาบนั การศึกษา 8. ให้ทา่ นศกึ ษางานวิจยั 1 เร่ือง แล้วพจิ ารณาวา่ มีวธิ ีการสุ่มอยา่ งไร มีความถูกต้อง และ เหมาะสมหรือไม่ และถ้าใหท้ ่านได้เปล่ยี นแปลงการสุ่ม ท่านจะดาเนนิ การอยา่ งไร

บทท่ี 7 โครงการวิจยั “เมอื่ จะศกึ ษาเรือ่ งใดก็ให้พยายามจับเค้าโครงเร่ืองของเรื่องนนั้ ใหไ้ ดก้ ่อนแลว้ จงึ พยายามมองลงไปในสว่ นละเอยี ดทลี ะส่วนใหเ้ หน็ ชดั โดยถว้ นถ่ี เมอ่ื ร้วู ่านามาคดิ พิจารณาให้เห็นประเดน็ ใหเ้ ห็นส่วนทเ่ี ป็นเหตุ ส่วนทีเ่ ปน็ ผลให้เห็นสาคัญความเกาะเกย่ี วต่อเนื่องแห่งเหตุและผลน้ัน ๆ ไป จนตลอดใหเ้ ขา้ ใจโดยชดั เจน แน่นอน ” พระบรมราโชวาทในพธิ พี ระราชทานปรญิ ญาบัตรแก่ มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ 26 มิถุนายน 2523. ในการวิจัยใด ๆ ก่อนท่ผี วู้ จิ ยั จะลงมือดาเนนิ การวิจัยได้อยา่ งมีประสิทธิภาพนน้ั ผู้วจิ ัยจาเป็น จะตอ้ งมกี ารกาหนดโครงการวจิ ัยท่แี สดงการวางแผนในการดาเนนิ การวิจัย ทม่ี ีลาดับขนั้ ตอน ขอบเขต จดุ มงุ่ หมาย วธิ ีการดาเนนิ การวิจัย งบประมาณ และกาหนดการดาเนนิ การ เพื่อใชเ้ ปน็ แนวทางใน การดาเนนิ การวจิ ยั ท่ีใหผ้ ้วู จิ ัยจะตอ้ งปฏิบัติตามและสามารถชแี้ จงใหผ้ ทู้ เ่ี กี่ยวข้องไดร้ ับทราบรายละเอยี ด หรือตรวจสอบความถูกต้อง และใช้เปน็ ขอ้ มลู ในการติดตาม/ประเมนิ ผลการดาเนินการวิจัยตาม กาหนดการในโครงการวจิ ัยนั้น ๆ โครงการวิจยั 1. ความหมายของโครงการวจิ ยั โครงการวิจยั (Research Proposal) เปน็ เอกสารการวิจัยทจ่ี ัดทาขน้ึ เพื่อกาหนดขอบเขตและ ลกั ษณะของปญั หาท่ีชัดเจน โดยการเขียนบรรยายโครงสรา้ งการวัดและการตรวจสอบให้ผทู้ เ่ี ก่ยี วข้อง ได้เข้าใจในประเด็นทจี่ ะดาเนินการวิจยั และจะทาใหก้ ารวิจัยมีจดุ ม่งุ หมายที่ชดั เจนมากข้ึน (วริ ัช วรรณรัตน,์ 2529 : 33) โครงการวิจัยหมายถึง แผนการดาเนินการวจิ ัยทไ่ี ด้กาหนดแนวทางไว้ล่วงหนา้ กอ่ นทจ่ี ะ ดาเนนิ การวจิ ยั ทจ่ี ะชว่ ยชีท้ ศิ ทางและข้นั ตอนการวจิ ัยต้งั แต่เริ่มตน้ การวจิ ยั จนกระทัง่ สน้ิ สุด (ฉตั รนภา พรหมมา.2532 :1) หรอื เปน็ ผลของการวางแผนการวจิ ัยทเี่ ปรียบเสมือนพมิ พ์เขยี ว ระบุทศิ ทางและขน้ั ตอนในการดาเนินการวจิ ัย เพื่อใหบ้ รรลวุ ัตถุประสงค์ของการวจิ ยั ท่กี าหนดไว้ และช่วยในการตดิ ตามประเมินผลการดาเนนิ งานในแตล่ ะข้ันตอน(อนนั ต์ ศรีโสภา,2527 : 216; วรรณรตั น์ องึ้ สุประเสรฐิ ,2544 : 337)

หน้าท่ี 188  บทท่ี 7 โครงการวิจยั โครงการวจิ ัย หมายถึง รายงานที่จัดทาขน้ึ ก่อนเร่ิมตน้ การ ดาเนินการวิจยั โดยมวี ตั ถุประสงค์ เพือ่ อธิบายวัตถุประสงค์ ความสาคญั ขอบเขต กรอบแนวคิด ทฤษฏี งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และระเบยี บ วิธีการวิจัยทใี่ ช้ นาเสนอตอ่ คณะกรรมการ ผเู้ ชี่ยวชาญ หรือผ้สู นใจได้พจิ ารณา แลกเปล่ียนความคิดเหน็ และให้ข้อเสนอแนะทเ่ี ป็นประโยชน์ต่อการวิจยั ท่เี หมาะสม และชัดเจน(ปารชิ าต สถาปิตานนท.์ 2546 : 281) โครงการวิจยั มคี วามหมายใน 2 ลักษณะ คือ 1) เปน็ กรอบแนวคดิ ในการดาเนนิ การวจิ ยั ท่ี กาหนดไวล้ ว่ งหนา้ เปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษรในลักษณะโครงการหรือแผนปฏบิ ตั ิการวจิ ัย 2)เป็นเอกสาร ทผ่ี ู้วิจัยจดั ทาขน้ึ อย่างเป็นระบบ เพือ่ แสดงรายละเอียดเก่ยี วกับแนวทางในการดาเนนิ การวจิ ยั ให้ บรรลุผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ของการวิจยั (พิชติ ฤทธ์จิ รูญ,2544:209-210) โครงการวิจัยเปน็ เอกสารท่นี าเสนอแผนงาน โครงสร้างความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งตวั แปรโครงสรา้ ง ยุทธวิธี และคณุ คา่ ของงานวิจัยทผ่ี ้วู ิจยั ได้กาหนดไว้ลว่ งหน้ากอ่ นทจ่ี ะลงมือทาวจิ ยั ทีเ่ ป็นผลจาก การสังเคราะห์ความคิดทีจ่ ะทาวิจยั มาเรยี บเรยี งเปน็ ข้อเขียนทีม่ ีความชดั เจน กะทัดรัด (นงลักษณ์ วริ ัชชัย. 2543 : 393) สรุปไดว้ า่ โครงการวิจยั เป็นเอกสารทีน่ าเสนอเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรตามประเด็นการวิจยั เพอื่ ให้ผู้วิจัย/คณะผวู้ ิจัยมีความเข้าใจท่ีสอดคล้องกัน ท่จี ะทาใหก้ ารดาเนนิ การวิจยั เป็นไปตามขั้นตอน ทไี่ ดว้ างแผนและบรรลจุ ุดประสงค์ทีก่ าหนดไว้ ทเี่ ปรยี บเสมือนพิมพเ์ ขยี วของแบบบา้ นท่ีเป็นต้นแบบใน การสร้างบ้าน 2. วัตถุประสงคข์ องโครงการวิจัย ในการกาหนดโครงการวิจัยมีวัตถปุ ระสงคใ์ นการนาเสนอ ดงั น(ี้ นงลกั ษณ์ วิรัชชัย. 2543 : 393 ; สมคดิ พรมจุ้ย,2545 :3 ; สนิ พันธุ์พนิ ิจ,2547 : 337) 2.1 เพอ่ื ใช้เป็นแนวทางในการดาเนินการตามโครงการงานวิจัยตามที่กาหนดวัตถุประสงค์ การวิจัย และขอบเขตของการวิจยั /กระบวนการวจิ ยั ในภาพรวมตง้ั แตเ่ ร่ิมต้นจนกระทัง่ สิ้นสดุ ได้ อย่างชดั เจน 2.2 เพื่อใชเ้ ป็นเครื่องมือท่ชี ว่ ยเหลอื ในการติดตามและประเมนิ ผลความก้าวหนา้ ของ การดาเนินการตามโครงการวิจยั และให้ผู้วจิ ยั ได้ใช้ตรวจสอบการดาเนนิ การตามโครงการวิจยั ด้วยตนเอง 2.3 เพื่อเป็นข้อมูลสาหรับหนว่ ยงาน ผเู้ ชยี่ วชาญ หรอื ทป่ี รึกษางานวิจัยได้พจิ ารณาให้ ขอ้ เสนอแนะเพื่อใชใ้ นการปรับปรงุ แก้ไขใหง้ านวิจัยมีคณุ ภาพท่ดี ีขึ้น และในกรณีทเี่ ปน็ นักศึกษา ในระดับบัณฑิตศกึ ษาที่ต้องทาวจิ ยั เปน็ สว่ นหนึ่งของการศกึ ษากต็ ้องจัดทาโครงการวิจัยเพอื่ นาเสนอต่อ คณะกรรมการหลกั สูตรน้ัน ๆ ได้พจิ ารณาอนุมัติในการดาเนินการวิจัยในเรือ่ งนั้น ๆ 2.4 เพอื่ ใชเ้ ป็นหลกั ฐานท่แี สดงวา่ งานวิจยั นั้นมคี วามใหม่ไม่ซา้ ซ้อน มรี ะเบียบวธิ ีการวจิ ยั ที่ดี มขี อบเขตทช่ี ดั เจน มีความครอบคลุมประเด็น คุณคา่ มคี วามเปน็ ไปได้ และสามารถนาไปใช้ประโยชน์ ไดใ้ นการพิจารณาใหด้ าเนนิ การและสนบั สนนุ ใหท้ นุ อดุ หนุนการวิจัยต่อไป