บทท่ี 12 รายงานการวจิ ยั ในการวิจัยใด ๆ การดาเนินการในขน้ั สดุ ทา้ ย คือ การเขยี นรายงานการวิจัย เพื่อนาเสนอหรอื เผยแพร่ผลการวจิ ัยที่ผู้วจิ ยั ได้ศกึ ษาค้นคว้า ต่อผบู้ ังคับบญั ชา/หนว่ ยงานต้นสังกัด/สถาบันการศกึ ษา (กรณีนาเสนอเพื่อขอจบหลกั สตู รของนักศกึ ษาปรญิ ญาโท/เอก)/หน่วยงานทใ่ี หท้ ุนสนับสนุนการวิจยั หรอื บคุ คลท่ีใหค้ วามสนใจในประเดน็ /หวั ขอ้ ดังกลา่ วได้นาไปใช้ให้เกิดประโยชนต์ ่อไป ความหมายของรายงานการวิจัย การรายงานผลการวิจยั เป็นการรายงานกจิ กรรมทไี่ ดก้ ระทา และผลที่เกดิ ขึน้ จากกจิ กรรม อาทิ ผลการทบทวนวรรณกรรม กรอบแนวคิด สมมุติฐาน การเกบ็ รวบรวมข้อมูล การวเิ คราะห์ข้อมลู การสรุปผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ(สชุ าติ ประสิทธริ์ ฐั สนิ ธ์,2542 :53) รายงานการวิจัย เป็นเอกสารเรอื่ งราวท่ีได้เรียบเรยี งข้นึ จากการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล อยา่ งละเอียดแลว้ นามาเขียนเรยี บเรียงไวอ้ ยา่ งมรี ะบบ ระเบียบแบบแผนตามสากลนิยม (บุญธรรม กจิ ปรีดาบริสุทธ,์ิ 2540 : 20) รายงานการวิจยั เปน็ เอกสารทางวิชาการที่ผูว้ ิจยั ไดเ้ รยี บเรียงขึ้นจากการศึกษา คน้ ควา้ ในประเดน็ ใดประเดน็ หนึ่ง โดยทมี่ วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อนาเสนอปัญหาของการวิจยั กรอบความคดิ ในการวจิ ยั วิธกี ารดาเนนิ การวจิ ยั และขอ้ คน้ พบในการดาเนินการวิจยั (กฤติยา วงศ์ก้อม,2545 : 197) รายงานการวิจยั เปน็ เอกสารที่นาเสนอกจิ กรรม ประเด็นการวิจัย สรุปผลการวจิ ยั และ ขอ้ เสนอแนะเพื่อเผยแพร่ต่อสาธารณชน ดงั น้นั จะต้องมีเทคนคิ ในการเขียนรายงานท่ีถูกต้อง การใช้ ภาษาเขยี นทีส่ ละสลวย รูปแบบรายงานการวจิ ยั และมคี วามน่าเชือ่ ถอื (สนิ พนั ธพุ์ ินิจ,2547 : 394) สรปุ ไดว้ า่ รายงานการวิจยั เป็นเอกสารเชงิ วิชาการที่ผูว้ จิ ัยไดจ้ ัดทาขน้ึ ภายหลงั ได้ดาเนนิ การ การวิจัยเสร็จสิน้ แลว้ เพอ่ื นาเสนอผลการวิจัยให้แกบ่ ุคคลที่สนใจ ผใู้ ห้การสนบั สนุนทนุ /หนว่ ยงานตน้ สงั กดั หรือบคุ คลท่ีต้องการใชป้ ระโยชน์ได้รบั ทราบ และศึกษาข้อเสนอแนะรวมทงั้ สามารถนา ผลงานวิจยั ไปใช้ประโยชนไ์ ด้ ความสาคัญของรายงานการวิจยั ในการเขยี นรายงานการวจิ ัยใด ๆ มีความสาคญั ดังนี้(กฤติยา วงศ์กอ้ ม,2545 : 197) 1. เป็นเอกสารทางวชิ าการท่ีก่อใหเ้ กดิ การขยายขอบเขตองค์ความรู้ โดยท่ีในศาสตร์ใด ๆ ทถี่ า้ มีการดาเนนิ การวิจยั อยา่ งต่อเน่ือง และหลากหลาย จะทาใหข้ ้อสงสัยท่เี กิดขึน้ ไดร้ บั การอธิบาย ชี้แจงให้เกิดความชดั เจนมากยิง่ ขึน้ 2. ก่อให้เกิดการพฒั นาวชิ าชีพ/ศาสตร์ให้มีมาตรฐานทีส่ งู ข้ึน เน่ืองจากมกี ารศกึ ษาคน้ คว้า แล้วไดม้ ีการจดบนั ทึกขอ้ มลู ไวใ้ หบ้ คุ คลในวิชาชพี /ศาสตร์รุ่นต่อไปไดม้ ีการศึกษา ค้นควา้ เพม่ิ เติมให้มี ความสมบรู ณ์มากยิ่งขน้ึ
หน้าที่ 394 บทที่ 12 รายงานการวจิ ยั 3. เป็นส่อื กลางระหวา่ งผ้วู จิ ัยกับผู้ทีส่ นใจในประเดน็ เดียวกันได้รับทราบ และแลกเปล่ียน ความคิดเหน็ เพือ่ รว่ มกนั ในการพฒั นาวชิ าชีพ/ศาสตร์น้นั ๆใหม้ คี วามเจริญก้าวหน้าตอ่ ไป องคป์ ระกอบของการเขยี นรายงานการวิจยั ในการเขียนรายงานการวจิ ยั โดยทวั่ ๆ ไปจะมี องค์ประกอบของการเขยี น ดงั นี้ (สิน พนั ธ์ุพนิ ิจ,2547 : 369-371) 1. องคป์ ระกอบตอนตน้ ทเี่ ป็นสว่ นนาของรายงานการวจิ ัยโดยทจี่ ะเร่มิ ตน้ ต้ังแตป่ กนอก ถงึ สารบัญตา่ ง ๆ ท่ีมีองค์ประกอบย่อย ๆ ดังน้ี 1.1 ปกนอก(เป็นกระดาษปกแขง็ ) ทีเ่ ป็นชอ่ื เร่ืองงานวจิ ัยท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (ถา้ ช่อื เร่ืองมีความยาวมากให้จดั เปน็ ลักษณะของรูปสามเหลี่ยมหน้าจ่ัว) ชื่อผวู้ จิ ัย(ไม่ต้องระบคุ า นาหน้าช่อื ยกเวน้ ยศ ฐานนั ดรศักด์ิ คานาหน้าชอ่ื นักบวชในศาสนาอนื่ ) แหล่งทุนอุดหนุน(ถา้ มี) ปีทพ่ี ิมพ์ และหมายเลขมาตรฐานหนงั สือ(ISBN)และหน่วยงาน/สถาบันการศึกษา 1.2 ปกใน มีลกั ษณะเชน่ เดียวกบั ปกนอกแตจ่ ะมรี ายละเอียดเพ่ิมเติม อาทิ รายชือ่ คณะผวู้ จิ ยั ทุกท่าน ฯลฯและใชก้ ระดาษธรรมดาเหมือนด้านในเนื้อหา 1.3 กติ ติกรรมประกาศ หรือประกาศคณุ ูปการ ทเ่ี ปน็ ข้อความท่เี ขยี นข้นึ เพื่อแสดง ความขอบคณุ หรือขอบพระคุณผทู้ มี่ สี ่วนในการให้ความอนุเคราะห์ช่วยเหลอื ในการดาเนินงานวจิ ยั จนกระทัง่ การวจิ ัยบรรลุผลสาเรจ็ ท่จี ะตอ้ งมีการจดบนั ทึกเพือ่ เปน็ เกยี รติ ทีจ่ ะบอกกลา่ วให้แก่บคุ คล ทัว่ ไปไดร้ บั ทราบโดยทั่วไป โดยส่วนมากจะพบในงานวทิ ยานิพนธ์ ทมี่ ีวธิ กี ารเขียนท่ีแตกตา่ งกนั แต่มี เน้อื หาสาระทเ่ี รยี งลาดบั ดังนี้ 13.1 หน่วยงาน องคก์ ร หรือสถาบันทเี่ กี่ยวขอ้ งทั้งในด้านการใหท้ ุนการศึกษาต่อ ทุนอุดหนุนการวิจัย หรือการอนุญาตให้ผู้วิจยั ไดเ้ ก็บรวบรวมข้อมูลในหน่วยงานน้นั ๆ 13.2 บคุ คล เปน็ ผทู้ ่ีให้ความชว่ ยเหลอื โดยตรง อาทิ ทป่ี รกึ ษางานวจิ ยั ผูท้ รงคณุ วุฒิ ผ้ใู ห้ข้อมลู ผวู้ ิเคราะห์ข้อมลู ฯลฯ และถ้าเป็นงานวิทยานิพนธ์จะมกี ารขอบคุณอาจารย์ท่ีปรกึ ษา คณะกรรมการสอบ ผู้เชีย่ วชาญ ผบู้ ังคับบัญชา ผู้ใหข้ ้อมูล ฯลฯ 1.4 บทคดั ยอ่ (Abstract) เปน็ เนือ้ หาสาระโดยยอ่ ของสรปุ ผลการวิจยั ในภาพรวมท่ีได้ ผ่านการพิจารณากลนั่ กรองมาเปน็ อยา่ งดีแลว้ โดยนาเสนอจดุ เดน่ ของผลการวิจยั ในเน้ือทที่ จ่ี ากัดได้ อยา่ งชัดเจนและมีประโยชน์สาหรับผ้บู ริหารหรอื ผ้สู นใจท่ีมเี วลาจากดั ในการศึกษาโดยไม่ต้องอ่าน รายงานการวจิ ัยฉบับสมบรู ณ์ประมาณ 125 คา หรือนอ้ ยกว่า(Kidder and Others,1986 : 445 ; อัญญานี คล้ายสบุ รรณ์ และพงษศ์ กั ด์ิ รักษาเพชร, 2546: 132-138) ทม่ี ีรายละเอียดดังน้ี 1.4.1 วตั ถุประสงคข์ องบทคัดย่อ มีดงั น้ี 1.4.1.1 ใหผ้ ู้สนใจได้รับทราบประเด็นท่ีสาคัญเพ่อื นาไปใชป้ ระโยชน์ หรือ เป็นแรงจงู ใจในการกระตุ้นให้เกิดความต้องการในการศึกษารายงานการวจิ ัยฉบับสมบูรณ์ 1.4.1.2 เป็นการประหยดั เวลาของผู้สนใจที่มีเวลาจากัดในการศกึ ษารายงาน วิจยั ฉบบั สมบรู ณใ์ นประเด็นที่เกีย่ วขอ้ งอย่างละเอยี ด
ระเบยี บวธิ กี ารวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หนา้ ที่ 395 1.4.1.3 ชว่ ยเหลอื ผ้วู ิจัย นกั วิชาการทม่ี งี านค่อนขา้ งมากไดส้ ืบคน้ เอกสาร บทความทางวชิ าการ หรอื ส่ือสิ่งพิมพท์ ี่จะนามาใช้ในการพัฒนางานของตนเองได้อย่างสะดวก รวดเร็ว 1.4.2 องค์ประกอบของบทคัดย่อ มดี ังนี้ 1.4.2.1 ประเด็นปญั หาการวจิ ัย : ทาไมต้องแก้ปัญหานี้ หรือท่านต้องการ เพม่ิ เติมเกย่ี วกับการปฏบิ ัติ ทฤษฏี ฯลฯ 1.4.1.2. วธิ ีการ/กระบวนการ : ท่านไดผ้ ลการวิจยั โดยมีวิธีการหรอื กระบวนการอยา่ งไร 1.4.1.3. ผลการวิจัย/ข้อคน้ พบ :ผลการวจิ ยั ท่สี มบูรณ์ และส่ิงทีท่ ่านเรียนรู้ คือ อะไร 1.4.1.4 การสรปุ ผลและการนาไปใช้ : ท่านนาผลการวิจยั ของทา่ นไปใช้ อยา่ งไร โดยเฉพาะในการแก้ปญั หาที่เกดิ ข้นึ 1.4.3 ลกั ษณะของบทคดั ย่อทีด่ ี มีดงั นี้ 1.4.3.1. เน้ือหาถกู ต้องตามเอกสารต้นฉบบั 1.4.3.2 ใชภ้ าษางา่ ย ๆ สัน้ กะทัดรัด และชัดเจน 1.4.3.3 เนื้อหามีความเปน็ เอกภาพ และตอ่ เนื่อง 1.4.3.4 โครงสรา้ งการเรยี งลาดับเน้ือหาและเวลาทสี่ อดคล้องกับเอกสารตน้ ฉบบั 1.4.3.5 ผู้ท่ีศึกษาสามารถทาความเข้าใจได้ 1.4.4 ภาษาทีใ่ ช้ในบทคัดยอ่ มีดังนี้ 1.4.4.1 ใชภ้ าษาทีส่ ้นั ๆ กะทดั รัด ไม่ใช้คาหรือกล่มุ คาที่มีความซ้าซ้อนกนั 1.4.4.2. ความถกู ตอ้ งของการใช้ภาษาในการสื่อความหมาย และการใช้ ประโยคที่มโี ครงสรา้ งถูกตอ้ งตามหลักไวยากรณ์ 1.4.4.3 ความชัดเจน เป็นการใช้คา และประโยคทช่ี ัดเจนที่ไม่ต้องแปล ความหมาย หรือหลีกเล่ียงการใชค้ าที่มคี วามหมายขัดแยง้ กัน 1.4.4.4 ความคงทใี่ นการใช้คาที่มีความหมายเดียวกันโดยตลอด ไมส่ ลับไปมา ที่จะก่อให้ผู้ศึกษาเกิดความสับสน 1.4.4.5 เรม่ิ ต้นบทคดั ย่อดว้ ยประโยคทเ่ี นน้ หวั ขอ้ ที่สาคัญของเอกสาร 1.4.4.6 พยายามใช้คา วลี เช่ือมโยงความคิดที่อยู่ในประโยคเดียวกัน หรือ ยอ่ หน้าตา่ ง ๆ เพื่อใหเ้ กดิ ความเป็นเอกภาพ 1.4.4.7 หลีกเลีย่ งข้อความ คาย่อ หรือสญั ลกั ษณท์ ี่ไม่แพร่หลาย ถา้ จาเปน็ จะต้องใชต้ ้องมีคาอธิบายให้ชัดเจนในครงั้ แรกทแี่ สดงขอ้ ความ คาย่อ หรอื สญั ลักษณน์ นั้ ๆ 1.4.4.8 หลีกเล่ยี งการใช้รูปประโยคทเี่ ปน็ ชือ่ เรอื่ งมาเขยี นในบทคัดย่อ และ การใชป้ ระโยคจากเอกสารต้นฉบบั มากเกนิ ไป 1.4.4.9 เขียนนาเสนอประเดน็ ทตี่ ้องการอย่างชัดเจน ไม่สับสนวกวน จนกระทัง่ ผ้สู นใจศกึ ษาเกดิ ความสับสนในการศึกษาทาความเข้าใจ
หนา้ ท่ี 396 บทท่ี 12 รายงานการวจิ ยั 1.4.5 เทคนิคการเขยี นบทคดั ย่อ มีดงั น้ี 1.4.5.1 อา่ นเอกสารต้นฉบบั มากกวา่ หน่งึ ครั้งเพ่อื พิจารณาสาระสาคญั ของ เนอ้ื หา 1.4.5.2 บนั ทกึ สาระสาคญั โดยพจิ ารณาจากชื่อเร่อื ง หวั ข้อใหญ่ หวั ข้อยอ่ ย คา นา สารบัญ และบทสรุปเพ่ือใชเ้ ปน็ เป็นแนวทางการเขียน 1.4.5.3 เรียบเรยี งเนื้อหาสาระสาคญั ฉบับร่างจากการจดบันทึกโดยใชถ้ ้อยคา ของตนเองทศี่ กึ ษาแล้วเกดิ ความเข้าใจ 1.4.5.4 ตรวจสอบบทคัดย่อฉบบั รา่ งกับเอกสารต้นฉบบั เพ่ือพิจารณา ความครบถว้ นประเดน็ สาระที่สาคัญ การใช้ภาษา และการแกไ้ ขคาทถ่ี กู -ผดิ ตามหลักไวยากรณ์ และ เคร่อื งหมายวรรคตอน 1.4.5.5 จัดพิมพบ์ ทคดั ย่อฉบบั จริงเพื่อตรวจสอบความผิดพลาดท่เี กิดจาก การพมิ พ์ 1.4.6 สงิ่ ควรคานงึ ในการเขยี นบทคัดย่อ มดี งั น้ี 1.4.6.1 ใช้ประโยคทแ่ี สดงถึงส่ิงทีท่ ่านได้ดาเนินการแลว้ หรอื ระบสุ ิง่ ที่ท่านเปน็ ผปู้ ฏบิ ตั ิ(Active)มากกว่าท่านไดร้ ับการปฏิบัติ(Passive) 1.4.6.2 ใชป้ ระโยคสน้ั ๆ แตม่ ใี จความสาคัญท่ีครอบคลุมเนอื้ หาสาระทีน่ าเสนอ 1.4.6.3 ใชป้ ระโยคทส่ี มบูรณ.์ ไม่ omit articles หรอื ใชค้ าสนั้ ๆ เพอ่ื ให้ประหยดั เนือ้ ท.่ี 1.4.6.4 หลกี เลย่ี งการใช้ศัพท์เชงิ วิชาการท่ีรเู้ ฉพาะบุคคลในศาสตร์นน้ั ๆ ควรใช้ การอธบิ ายรายละเอยี ด 1.4.6.5 สาหรับการวิจยั ทางวิทยาศาสตร์ ควรใช้ชือ่ วิทยาศาสตรม์ ากกว่าช่อื ใน ท้องถน่ิ 1.4.6.6 ใชค้ าเดยี วกนั กับในรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ 1.4.6.7 ไม่คดั ลอกขอ้ ความสาคัญจากรายงานวิจัยฉบบั สมบูรณ์ 1.5 สารบัญเนอ้ื หา เปน็ รายการของเน้อื หาสาระในประเด็นทงั้ หมดที่ได้นาเสนอใน รายงานการวิจัย 1.6 สารบัญตาราง/บัญชตี าราง เป็นรายการของตารางทัง้ หมดทน่ี าเสนอในรายงาน การวจิ ัยทีอ่ าจจะเป็นตารางในเนื้อหาสาระ หรือตารางในการนาเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู หรือ ในภาคผนวก 1.7 สารบัญภาพประกอบ/ภาพ เป็นรายการของภาพประกอบทั้งหมดที่นาเสนอใน รายงานการวิจยั ท่ีอาจจะเป็นภาพประกอบในเนอ้ื หาสาระ หรือในเป็นภาพประกอบในการนาเสนอผล การวิเคราะห์ข้อมลู หรือในภาคผนวก 1.8 หน้าอนมุ ัติ เปน็ หนา้ ของเอกสารทจ่ี ัดทาขนึ้ เฉพาะงานวทิ ยานพิ นธ์/ปรญิ ญานิพนธ์ท่ี เป็นหลกั ฐานในการพจิ ารณาผลการจบหลกั สตู รของคณะกรรมการวทิ ยานิพนธ์และสถาบนั การศกึ ษา จะเรยี งลาดบั อยู่หลังปกใน
ระเบยี บวธิ กี ารวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หน้าท่ี 397 2. องค์ประกอบสว่ นเนอื้ เรอ่ื ง เป็นส่วนของเนื้อหาสาระของรายงานการวจิ ัยท่ีทวั่ ๆ ไป จะมดี งั น้ี 2.1 บทท่ี 1 บทนา ประกอบดว้ ย(ให้ดูรายละเอียดประกอบในบทที่ 7โครงการวจิ ัย) 2.1.1 ความเปน็ มาและความสาคัญของปญั หา เปน็ การบรรยายที่มาของประเด็น ปัญหาการวจิ ัย ทาไมต้องทาวิจัยในประเดน็ นี้ ประเด็นปญั หาการวจิ ยั ทีช่ ัดเจน หรือวธิ กี ารท่ีใช้ แก้ปญั หา (ถ้ามี) แล้วเมือ่ ดาเนนิ การวิจัยจนกระทั่งสาเร็จแล้วคาดวา่ จะไดป้ ระโยชน์อย่างไร สมคิดพรมจยุ้ (2545 : 21)ได้นาเสนอหลักการในการเขียนความเป็นมาและความสาคัญ ดงั นี้ 1) เขยี นใหต้ รงประเดน็ วา่ ปญั หา คืออะไร มีความสาคญั อยา่ งไร 2) นาทฤษฏ/ี แนวคิดของนักวิชาการในศาสตรน์ ้ัน ๆ มาใชส้ นับสนุน 3) ควรมีการอา้ งอิงวา่ ปญั หาท่ศี ึกษา มหี ลกั ฐานทีบ่ ่งช้ีวา่ มคี วามสาคัญ 4) เขยี นใหเ้ ขา้ ใจง่ายโดยใชภ้ าษาทีง่ า่ ย ๆ ตอ่ เนื่องมีความสัมพนั ธ์กัน 5) ในสว่ นสุดท้าย จะเขยี นสรุปใหเ้ ชอ่ื มโยงกบั วัตถปุ ระสงค์ ดังตัวอย่าง “ดังนั้น ผู้วจิ ยั จึงมคี วามสนใจท่จี ะทาการศึกษา..............................” กรมการศกึ ษานอกโรงเรียน(2538 : 34) ได้ระบขุ ้อเสนอแนะสาหรับการระบคุ วามสาคญั ของ ปญั หาการวจิ ัย ดงั น้ี 1) การระบุความเป็นมาและสภาพของปญั หาที่เป็นอยใู่ นปัจจบุ นั โดยมีเหตุผลหรอื หลักฐาน ประกอบท่แี สดงใหเ้ หน็ ความสาคญั 2) แสดงใหเ้ ห็นว่าในประเดน็ ปัญหาที่จะวจิ ยั ยงั ต้องการแสวงหาคาตอบที่เฉพาะเจาะจง 3) ในกรณีทเ่ี ป็นประเดน็ ปัญหาการวจิ ยั ที่เคยมีการดาเนินการและควรระบเุ หตุผลการ เปลี่ยนแปลงตามกาลเวลาที่ควรจะไดท้ าการวจิ ยั เพ่มิ เติมเพ่ือให้องคค์ วามรทู้ ไ่ี ด้จากการค้นพบที่จะ สามารถนามาใช้ไดใ้ นปัจจุบนั 4) ถ้าประเด็นการวจิ ยั ยงั ขาดความชัดเจนควรแสดงใหเ้ ห็นวา่ งานวิจยั ทจี่ ะดาเนินการจะช่วย เสรมิ ความรใู้ นประเดน็ นี้ให้สมบูรณ์ 2.1.2 วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั เป็นการเขียนประโยคบอกเลา่ แสดงความสัมพนั ธ์ ระหวา่ งตวั แปรหรอื ปรากฏการณ์ทต่ี ้องการศกึ ษา ท่มี คี วามสอดคล้องกับประเดน็ ปญั หาการวิจัย/ คาถามการวจิ ยั ที่อาจจะเป็นจุดประสงคย์ ่อย ๆ หลาย ๆ จุดประสงค์ หรอื มจี ุดประสงค์หลกั แลว้ จงึ กาหนดจดุ ประสงค์ย่อย ๆ สชุ าติ ประสทิ ธริ์ ัฐสินธ(ุ์ 2546 : 35-36)และสิน พนั ธ์ุพนิ ิจ(2547 : 74) ได้นาเสนอ หลักการในการกาหนดประเด็นหรือวตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั ดงั นี้ 1) กาหนดวตั ถปุ ระสงค์การวิจยั ใหส้ อดคล้องกบั สมมุตฐิ านและประเด็นท่จี ะวจิ ยั 2) ความชัดเจนของประเดน็ เป็นการวิเคราะห์ประเด็นหัวขอ้ หลกั เปน็ ประเดน็ ยอ่ ย ๆ หลายประเด็นเพ่อื ให้เกดิ ความชดั เจนมากขนึ้
หนา้ ท่ี 398 บทที่ 12 รายงานการวิจยั 3) ความไมซ่ า้ ซ้อนของประเด็นการวิจัย เป็นการพจิ ารณาทบทวนว่าประเด็น ย่อย ๆ ทีก่ าหนดน้ันใช้ตวั แปรและข้อมลู ชดุ เดยี วกนั หรอื ไม่ ถ้าเป็นตัวแปรหรือขอ้ มูลชดุ เดยี วกัน ควรจะยุบรวมใหเ้ ป็นประเดน็ เดียวกัน 4) ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเดน็ เปน็ การพจิ ารณาความสัมพันธข์ องประเด็น ย่อย ๆ ท่กี าหนดควรมีการเรียงลาดบั ประเดน็ ตามความสาคญั หรือความสมั พนั ธ์ทจี่ ะนาไปสู่ การได้คาตอบการวจิ ยั ในภาพรวม 5) การเขยี นวัตถปุ ระสงคก์ ารวิจัยให้ชดั เจนโดยใช้หลกั การ SMART คอื มี ความเฉพาะเจาะจง(Specific) , สามารถวัดได/้ เกบ็ ข้อมูลได(้ Measurable),สามารถดาเนินการให้ สาเร็จ(Attainable) , สอดคล้องกบั สภาพทีเ่ ป็นจรงิ (Realistic) และแสดงชว่ งเวลาทชี่ ัดเจน (Time-bound) 6) การเขียนวตั ถุประสงค์จะขึ้นต้นด้วยคาว่า “เพ่ือ” และเขียนด้วยภาษาที่เขา้ ใจ ง่าย กระทัดรดั 2.1.3 สมมุตฐิ านการวิจยั เปน็ ขอ้ ความที่ระบุการคาดคะเนคาตอบของประเด็น ปัญหาการวจิ ยั ไว้ลว่ งหนา้ ที่ไดจ้ ากการศกึ ษาแนวคดิ ทฤษฏี และงานวจิ ัยที่เกีย่ วข้องอย่างมากมาย และมีความสอดคลอ้ งกับวัตถุประสงค์ของการวจิ ยั ซง่ึ ในสมมติฐานการวิจยั จะมีท้ังสอดคลอ้ งและไม่ สอดคลอ้ ง แตโ่ ดยสว่ นมากจะสอดคล้องกับสมมุติฐานเนอื่ งจากผู้วิจยั ได้มกี ารศึกษาค้นควา้ มาเปน็ อย่างดแี ล้ว แต่การไมส่ อดคล้องก็มิไดห้ มายถึงว่างานวจิ ยั นั้นล้มเหลวแตอ่ าจเกิดข้นึ เนือ่ งจาก มีการดาเนินการวิจยั ที่คลาดเคลือ่ นก็ได้ทผี่ ้วู จิ ัยจะต้องระบุสาเหตุของความไมส่ อดคล้อง อย่างชดั เจนที่อาจมีประโยชนต์ อ่ การพฒั นาทฤษฏกี ็ได้ 2.1.4 ขอบเขตของการวจิ ัย เปน็ การกาหนดสาระความครอบคลุมครบถ้วนของ การวจิ ยั ในประเดน็ ท่เี ก่ียวกับประชากร ตวั แปรท่ศี ึกษา เนื้อหาสาระ และระยะเวลาในการวิจัย จะดาเนนิ การภายหลงั ไดก้ รอบแนวคิดการวจิ ัย ดงั น้ี 2.1.4.1 ประชากร/กลมุ่ ตัวอย่าง ให้ระบุวา่ ประชากร/กลุ่มตวั อยา่ งใน การวจิ ัยครัง้ น้ี คอื กลุ่มใด มลี ักษณะอย่างไร มีจานวนเท่าไรใช้วิธีการสมุ่ อยา่ งไร 2.14.2 ตวั แปรท่ศี ึกษา ให้ระบุตัวแปรอิสระ/ต้นทีเ่ ปน็ สาเหตขุ อง การเปลี่ยนแปลง และตวั แปรตาม/ผลที่เปน็ ผลจากการเปลี่ยนแปลงของตวั แปรอสิ ระ/ต้น ว่าประกอบด้วยตวั แปรย่อยอะไรบา้ ง อย่างไร 2.1.4.3 เนอ้ื หาสาระ ในการวิจยั เชงิ สารวจจะใช้ตัวแปรตาม/ผล เป็น เนอ้ื หาสาระในการกาหนดเนื้อหาสาระในเคร่อื งมือการวิจยั แตถ่ า้ เปน็ การวจิ ัยเชงิ ทดลองท่เี กยี่ วกบั การศกึ ษาอาจจะต้องกาหนดเนอื้ หาสาระของรายวิชาเพอื่ จัดทาเคร่ืองมือในการวิจัย(แผนการจดั การเรียนรหู้ รอื แบบทดสอบ/แบบสอบถาม/แบบสังเกต/แบบสัมภาษณ)์ 2.1.4.4 ระยะเวลาท่ีทาการวิจัย ให้ระบุช่วงเวลาทด่ี าเนนิ การวิจยั ตงั้ แต่ เร่ิมตน้ จนกระท่งั เสรจ็ ส้ินด้วยการเขียนรายงานการวิจยั
ระเบยี บวธิ กี ารวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หนา้ ที่ 399 2.1.5 ขอ้ ตกลงเบ้อื งตน้ (ถ้ามี) เป็นส่วนทีแ่ ตกต่างกันระหว่างกรอบแนวคิดการวจิ ยั และสภาพที่เป็นจริงตามทฤษฏีทไ่ี ม่สามารถแสดง/ไม่สามารถพิสจู น์ได้มคี วามสอดคล้องแต่มี ความสาคญั หรอื เปน็ การกาหนดเง่อื นไขเกีย่ วกบั การวิจัย และผลการวิจยั ทไี่ ดร้ ับจะต้องเป็นท่ียอมรบั ได้ที่อยูบ่ นหลกั การของเหตแุ ละผลเชงิ ประจกั ษ์อยา่ งชัดเจน มีวธิ กี ารเขยี นดงั นี้ (ธรี ะวฒุ ิ เอกะกุล,2544 : 101-103) 2.1.5.1 ข้อตกลงเกี่ยวกบั ลักษณะของตัวแปร อาทิ ตัวแปรท่ีศกึ ษาสามารถ วัดและสังเกตโดยใชเ้ คร่ืองมือท่ีสร้างและพัฒนาหรอื ที่กาหนด หรือตัวแปรใดจะส่งผลหรือไม่สง่ ผลต่อ ตัวแปรใด เปน็ ต้น 2.1.5.2 ข้อตกลงเกย่ี วกบั การจัดกระทาข้อมูล ท่ีเปน็ ขอ้ ตกลงเบื้องต้นที่ ระบเุ ป็นเงื่อนไขในการใชส้ ถติ ิสาหรับการวิจยั 2.1.5.3 ข้อตกลงเกยี่ วกับกลุม่ ตัวอยา่ ง โดยระบุวามกลุม่ ตวั อยา่ งมีลกั ษณะบาง ประการที่คล้ายคลงึ กนั หรอื กล่มุ ตัวอยา่ งท่ใี ช้เปน็ ตวั แทนของประชากรท่กี าหนดได้ 2.1.6 ข้อจากดั ของการวจิ ัย(ถา้ มี) เปน็ การระบปุ ัญหาท่อี าจจะเกิดขึน้ และมี ผลกระทบต่อผลการวิจัยทไ่ี ม่สามารถควบคุมได้ หรือเปน็ การวจิ ัยเฉพาะกรณีทีไ่ มส่ ามารถนา ผลการวจิ ัยไปสรปุ อา้ งองิ สู่ประชากรทวั่ ๆ ไป 2.1.7 นิยามศัพท์เฉพาะ เป็นการกาหนดความหมายเพ่ือใหเ้ กดิ การสอื่ ความหมาย ท่สี อดคล้องกันระหว่างผ้วู ิจยั กบั ผู้สนใจที่อาจได้จากแนวคิด ทฤษฏหี รืองานวจิ ยั ทเ่ี กี่ยวข้องแต่มี ลักษณะทเี่ ฉพาะเจาะจงในงานวจิ ัยแตล่ ะเร่อื ง โดยเฉพาะตัวแปรท่มี งุ่ ศึกษาจะต้องกาหนดนิยามใน ลักษณะของนยิ ามศัพทเ์ ชงิ ปฏิบัติการท่สี ามารถวัด และสังเกตได้ โดยมรี ายละเอยี ดที่ต้องศึกษา ดังนี้ 2.1.7.1 ประเภทของคานยิ ามศัพท์ ในการพจิ ารณาประเภทของคานิยามศัพทส์ ามารถจาแนกได้ดังนี้ 1) คานิยามศพั ทเ์ ชิงความคิดรวบยอดหรือเชงิ ทฤษฏี (Conceptual/Theoretical Definition)หมายถงึ ข้อความทีใ่ ช้ในการอธบิ าย ความหมาย คุณลกั ษณะ และคุณสมบตั ิของความคดิ รวบยอด ทฤษฏหี รอื ตัวแปร เพื่อใหบ้ ุคคลเกดิ ความเขา้ ใจท่ี สอดคลอ้ งหรอื ไปในทิศทางเดียวกัน ทอี่ าจใชว้ ิธีการเปรยี บเทียบกบั ความคิดรวบยอด ทฤษฏหี รือ ตวั แปรอ่ืน ๆ ท่ีมีคณุ สมบตั ิใกลเ้ คียงกัน 2) คานยิ ามศัพท์เชงิ ปฏิบตั กิ าร(Operational Definition) หมายถึง ข้อความทรี่ ะบุเกณฑส์ าหรบั การพจิ ารณา สงั เกต หรือวดั คุณลักษณะของความคิดรวบยอด ทฤษฏี หรอื ตัวแปรได้อยา่ งเป็นรูปธรรมทีช่ ดั เจน เพื่อให้เกดิ ความเข้าใจท่ีสอดคล้องและเป็นไปในทศิ ทาง เดียวกัน เพื่อให้เกดิ ความเขา้ ใจที่ชัดเจนเกย่ี วกบั คานยิ ามศัพท์ มีกรณตี ัวอยา่ งของคานิยามศพั ท์ใน กรณี “ขนมเค้ก” ให้พิจารณาดังน้ี (Frey,Botan,Friendman, and Kreps,1991 อา้ งอิงใน ปารชิ าต สถาปิตานนท์.2546:104)
หน้าที่ 400 บทที่ 12 รายงานการวิจยั คุณสามารถอธิบาย“ขนมเค้ก” ได้อย่างไร หากบคุ คลใดทส่ี ามารถอธบิ ายได้ว่า “ขนมเค้ก คอื อาหารหวานที่มีลักษณะเปน็ แป้งฟู ๆ ทเี่ ป็นชน้ั ๆ และมีส่วนผสมหลักคอื แป้ง ไข่ นา้ ตาล เนย ผงฟู นา้ และสารปรุงรสและกล่ิน ” แสดงวา่ ไดใ้ ห้คานยิ ามศัพท์เชงิ ความคิดรวบยอดหรือเชงิ ทฤษฎี แต่ถ้าบุคคลใดอธบิ ายได้ว่า “ขนมเค้ก เปน็ อาหารหวานที่ปรุงแต่งโดยการนาแป้ง ไข่ นา้ ตาล เนย ผงฟู น้า และสารปรุงรสและกลนิ่ มาผสมและตเี ขา้ ดว้ ยกัน แลว้ นาไปเขา้ อบ ในเตาที่อณุ หภมู ิไม่ต่ากว่า 350 องศาเซนเซยี ส ใชเ้ วลาประมาณ 30 นาที ” แสดงวา่ ให้ คานิยามศพั ท์เชิงปฏบิ ัตกิ ารแล้ว สรุปไดว้ ่า การกาหนดคานยิ ามศัพท์เชงิ ความคดิ รวบยอด หรือเชงิ ทฤษฎี เปน็ การอธบิ าย องคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ท่ีเกีย่ วกับความคดิ รวบยอด หรือทฤษฎี แตถ่ า้ เปน็ การกาหนดคาศัพท์ เชงิ ปฏบิ ัติการ จะต้องเพ่มิ “กจิ กรรม” หรือ “การกระทา” ทีเ่ ก่ยี วข้องกับความคิดรวบยอด หรือทฤษฎีนัน้ ๆ 2.1.7.2 แนวทางในการกาหนดคานยิ ามศัพท์ ในการกาหนดคานิยามศพั ท์เฉพาะควรมแี นวทาง ดังน้ี 1) ศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยท่เี กี่ยวข้อง เปน็ การศึกษาจาก เอกสารตารา บทความ พจนานกุ รม ทฤษฏี หรืองานวจิ ัยท่ีเกย่ี วขอ้ ง ว่าไดม้ กี ารกาหนดคานิยามศัพท์ อย่างไรบ้าง แล้วทาความเขา้ ใจให้ชดั เจน 2) กาหนดคานิยามศัพท์ โดยมีข้ันตอนดาเนินการดังนี้ (1) คัดลอกข้อความจากเอกสารตารา บทความ พจนานุกรม ทฤษฏี หรอื งานวิจยั ทเี่ กย่ี วข้อง (2) เรยี บเรียงข้อความประกอบกบั ความคดิ /ความเข้าใจของ ตนเอง โดยพยายามผสมผสานใหเ้ กดิ ความสมบูรณ์ ถูกต้อง 3) ในการระบุคานิยามศัพทเ์ ชงิ ปฏบิ ตั กิ ารทมี่ ีความซับซ้อนใน เชงิ โครงสรา้ งทีไ่ มส่ ามารถสงั เกต วดั และประเมนิ คา่ ไดโ้ ดยตรง จะต้องแสวงหาคานยิ ามศัพท์เฉพาะท่ี จาแนกเป็นประเดน็ ยอ่ ย ๆมาใชอ้ ธบิ าย 2.1.7.3 ขอ้ ควรคานึงในการกาหนดคานยิ ามศัพท์ ในการกาหนดคานิยามศัพท์ ควรได้คานงึ ถงึ ประเดน็ ต่อไปนี้ 1) กาหนดคานิยามศัพทเ์ ชงิ ปฏิบัติการให้มีความใกลเ้ คียงกบั คา นิยามศพั ทเ์ ชงิ ความคดิ รวบยอดหรือเชงิ ทฤษฏมี ากท่สี ดุ เพื่อไม่ให้เกิดความหมายท่คี ลาดเคลอ่ื น 2) กาหนดคานิยามศัพท์ จากกรอบแนวคิด และการศกึ ษาทฤษฏี และงานวจิ ัยทเี่ ก่ียวข้อง โดยระบุเกณฑใ์ นการสังเกต วัดและประเมินค่าตัวแปรได้อยา่ งชัดเจน 3) กาหนดคานยิ ามศัพท์ท่ีมีความเชอื่ มโยงกบั เครอ่ื งมือในการวิจัย เนอื่ งจากคานยิ ามศพั ทจ์ ะเป็นแนวทางในการพัฒนาเครื่องมือในการวจิ ัย ท่จี ะใช้วดั ตวั แปรทีร่ ะบุไว้ใน คานยิ ามศัพทเ์ ฉพาะทจี่ ะต้องสามารถสงั เกต วัดและประเมินค่าตัวแปรได้
ระเบียบวธิ กี ารวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หน้าที่ 401 2.1.7.4 ประโยชนข์ องการนิยามศพั ทเ์ ฉพาะ(ธรี ะวุฒิ เอกะกุล,2544 : 102-103) 1) ทาให้ผู้วจิ ัยและผู้สนใจศกึ ษาเขา้ ใจความหมายของคา หรอื ลักษณะตวั แปรทสี่ อดคล้องกัน 2) ทาใหพ้ ิจารณาปัญหาการวิจยั ได้ชัดเจนมากยง่ิ ขึ้น 3) ทาให้มองเห็นแนวทางในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เพอ่ื นาข้อมลู มาสรุปผลการวจิ ยั 4) เปน็ แนวทางในการสร้างและพัฒนาเครื่องมือวิจยั ทใี่ ช้ในการ เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ตามลักษณะของตวั แปรท่ศี ึกษา 5) ชว่ ยใหส้ ะดวกและประหยัดเวลาในการเขยี นรายงานการวิจยั เน่ืองจากสามารถใช้คาศัพท์ที่นยิ ามทดแทนข้อความทย่ี าว ๆ ได้ 2.1.8 ประโยชน์ทจ่ี ะไดร้ ับ เป็นประโยชนท์ จ่ี ะได้รับจากผลการวจิ ัยหลังจากส้นิ สุด/ ได้คาตอบปญั หาการวจิ ัยแลว้ (ใหศ้ กึ ษารายละเอียดประกอบในบทท่ี 7 โครงการวจิ ัย) 2.1.8.1 ประโยชนท์ เี่ กิดขึ้นเพ่อื ตนเองทาให้ผวู้ ิจยั ได้รบั ความรู้ใหม่ ๆ 2.1.8.2 ประโยชน์ทเี่ กิดข้นึ เพอ่ื หน่วยงานที่จะนาไปใช้แกป้ ัญหาที่เกดิ ขึ้น 2.1.8.3 ประโยชนท์ ่เี กดิ ขนึ้ เพ่ือแก้ปัญหาในสังคมโดยสว่ นรวมในดา้ นใด ด้านหนงึ่ 2.2 บทที่ 2 การศึกษาเอกสารและงานวิจยั ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง เป็นส่วนของการศึกษาเอกสาร และงานวจิ ัยที่เกีย่ วข้อง โดยมีการเรยี งลาดบั ความสาคญั ตามตวั แปรที่ศึกษาแล้วนามาสรปุ เป็น กรอบแนวความคิดเชงิ ทฤษฏี แลว้ จึงนามากาหนดเป็นกรอบแนวคดิ การวิจัย 2.3 บทท่ี 3 วิธกี ารดาเนินการวจิ ัย ประกอบด้วย 2.3.1 ประชากรและกล่มุ ตวั อย่าง ให้ระบจุ านวนประชากรเหมือนกบั บทท่ี 1 แต่จะต้องเพมิ่ เตมิ ว่าจะศึกษาจากประชากรหรือกลุ่มตวั อย่าง ถ้าในการวจิ ยั ศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง จะต้องระบรุ ายละเอียดของวิธีการส่มุ ตวั อยา่ ง ขน้ั ตอนการสมุ่ และขนาดกลุ่มตวั อย่าง 2.3.2 แบบแผนของการวิจัย เปน็ การระบแุ บบแผนการวจิ ยั ทใี่ ช้ในการดาเนินการวจิ ยั ของการวิจัยแตล่ ะประเภท อาทิ ใช้แบบแผนการศกึ ษาแนวโน้มของการวจิ ัยเชิงสารวจ หรือการใช้ แบบแผนการทดลองแบบกลุ่มเดยี วทดสอบกอ่ นและหลังการทดลองของการวิจัยเชงิ ทดลอง เป็นต้น 2.3.3 เคร่ืองมือในการวจิ ยั เปน็ การระบุเครื่องมือท่ีใช้ในการวจิ ัยทจ่ี าแนกดังนี้ 2.3.3.1 เครือ่ งมือท่ีใช้ในการทดลองที่ใช้กระตนุ้ ใหเ้ กิดพฤติกรรมนน้ั ๆ อาทิ แผนการจัดการเรียนรู้ ส่ือนวัตกรรม ฯลฯ ที่จะตอ้ งระบลุ กั ษณะ เน้ือหาสาระ การสรา้ งและพัฒนา วิธกี ารใช้ และแสดงดัชนคี ณุ ภาพของเคร่ืองมือนัน้ ๆ อยา่ งชัดเจน รวมทงั้ ถ้าไดน้ าเคร่ืองมือของผู้อ่นื มาใชห้ รอื ปรบั ปรงุ แกไ้ ขจะต้องมกี ารอา้ งอิง ขออนุญาตเจา้ ของเคร่ืองมือและตรวจสอบคุณภาพของ เครอ่ื งมอื น้ัน ๆ ด้วย
หน้าที่ 402 บทที่ 12 รายงานการวจิ ยั 2.3.3.2 เคร่ืองมอื ที่ใช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เพ่ือนามาวิเคราะห์ข้อมูล อาทิ แบบทดสอบ แบบสอบถาม แบบสมั ภาษณ์ แบบสังเกต ฯลฯ ทีจ่ ะต้องระบลุ ักษณะ เนื้อหาสาระ จานวนข้อ การสรา้ งและพฒั นา วิธกี ารใช้ และแสดงดชั นคี ุณภาพของเครื่องมอื นนั้ ๆ อย่างชดั เจน รวมทั้งถา้ ได้นาเคร่ืองมือของผู้อื่นมาใชจ้ ะต้องอา้ งอิง ขออนุญาตเจา้ ของเคร่ืองมือและตรวจสอบ คณุ ภาพของเคร่ืองมือนนั้ ๆ 2.3.4 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู เป็นการกาหนดวธิ ีการในการดาเนินการเกบ็ รวบรวม ข้อมูลว่าใชว้ ิธกี ารใด มีข้ันตอน/แผนการอยา่ งไรท่ีจะทาใหไ้ ดร้ ับขอ้ มลู อยา่ งครบถ้วนมากทส่ี ดุ เพ่อื ใหผ้ ลการวิเคราะห์ขอ้ มลู มีความสอดคล้องกบั วัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั ท่ีกาหนดไว้ 2.3.5 การวเิ คราะห์ข้อมลู เปน็ การจดั ประเภท จัดระเบียบ จดั กระทาหรือคานวณ และการสรุปย่อข้อมูล เพื่อให้ได้คาตอบของปัญหาการวิจยั ท่ตี อ้ งการ ซง่ึ เป้าหมายทส่ี าคัญของ การวเิ คราะห์ข้อมลู คือ การสรุปรวมขอ้ มลู ให้พรอ้ มทจี่ ะแปลความหมาย เพื่อตอบปัญหา การวจิ ยั (นงลักษณ์ วิรชั ชยั ,2543 :257) 2.4 บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล เปน็ การนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู /ข้อเท็จจรงิ ทเี่ ปน็ ลกั ษณะของการบรรยายเป็นขอ้ ความ ตารางนาเสนอข้อมลู ตารางนาเสนอประกอบ การบรรยาย หรือแผนภาพ เพือ่ ใชแ้ สดงคาตอบของปัญหาการวจิ ัยตามลาดับที่กาหนดไว้ใน วตั ถุประสงค์หรือสมมุตฐิ านการวิจัย ทจี่ ะมกี ารบรรยายในการนาเสนอผลการวเิ คราะหใ์ นภาพรวม ก่อนท่ีจะนาเสนอผลการวิเคราะหใ์ นแต่ละสว่ นยอ่ ย ๆ ท่ีมีรายละเอียดชดั เจนทม่ี กี ารดาเนนิ การ ดังน้ี (นงลกั ษณ์ วริ ชั ชัย,2543 : 226-227) 2.4.1 อา่ นค่าสถิตทิ ไี่ ด้จากการวเิ คราะห์ โดยการบรรยายให้รายละเอยี ดข้อมลู จาก คา่ สถติ ทิ ่ีได้อย่างชัดเจนและครบถ้วน 2.4.2 ใหค้ วามหมายค่าสถิตทิ ไี่ ด้ และสรปุ ผลการทดสอบสมมตุ ิฐานว่าสอดคล้องหรอื ขดั แยง้ กับสมมตุ ิฐานการวจิ ยั ที่กาหนดไว้ รวมทง้ั การสรปุ อ้างอิงขอ้ มูลจากกลมุ่ ตวั อย่างสู่ประชากร 2.4.3 สรปุ ความหมายของผลการวเิ คราะห์โดยใช้สมมุติฐานการวจิ ยั เปน็ แนวทาง เพ่อื ใหผ้ ลการวจิ ัยสามารถใช้ตอบคาถามการวจิ ัยได้ 2.4.4 เปรยี บเทยี บผลการวเิ คราะหเ์ พ่ือใช้ตอบคาถามการวิจยั แต่ละตอนว่ามี ความสอดคล้องหรือขดั แย้งกันอย่างไร รวมทั้งให้การอธิบายความถกู ตอ้ งของผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ตามพืน้ ฐานข้อตกลงเบือ้ งตน้ ของการใช้สถิติแต่ละประเภท พิชิต ฤทธจ์ิ รญู (2543 : 284 -285) ได้นาเสนอแนวทางการนาเสนอผลการวเิ คราะห์ ดงั น้ี 1) นาเสนอโดยเรียงลาดับตามวตั ถุประสงคข์ องการวิจยั หรอื สมมตุ ฐิ านการวิจยั และ ตอ้ งนาเสนอผลการวิเคราะหภ์ ายใตข้ อบเขตท่ีคน้ พบเทา่ นั้น ไมน่ าความคดิ เห็นส่วนตวั และขอ้ เทจ็ จริง มาปะปนกนั 2) นาเสนอในลักษณะท่ีสอื่ ความหมายให้ผู้ศึกษาได้เข้าใจง่าย ในรูปของตาราง แผนภมู ิ แผนภาพ หรือกราฟ ประกอบคาบรรยายโดยใชภ้ าษาท่ีงา่ ย และควรใชก้ ารแปลผลระดับแปลความ ทางสถิติ ไม่ควรใชก้ ารตีความหรอื ขยายความ
ระเบยี บวธิ ีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หนา้ ที่ 403 3) ควรนาเสนอใหเ้ หน็ ภาพรวมของบทเปน็ ตอน ๆ ตามวัตถุประสงคข์ องการวจิ ยั ก่อนแลว้ จึงนาเสนอรายละเอียดของแตล่ ะตอนต่อไป 2.5 บทท่ี 5 สรุปผลการวิจยั อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ทีม่ ีรายละเอียดดงั นี้ 2.5.1 สรุปผลการวจิ ยั เปน็ การสรปุ ย่อเนื้อหาสาระต้ังแตบ่ ทท่ี 1 –บทที่ 4 ของ รายงานการวิจัยท่ีอาจจะระบุความสาคัญของการวิจยั วตั ถุประสงค์ วิธีการดาเนินการวจิ ยั และ ผลการวิจยั อย่างยอ่ ๆ ในลักษณะของการบรรยายเป็นขอ้ ความ 2.5.2 การอภปิ รายผลการวจิ ัย เป็นการประเมินและขยายความของผลการวจิ ัยที่ได้ เพือ่ ยนื ยนั ใหผ้ ้ทู ่สี นใจศึกษาไดท้ ราบว่า ผลการวจิ ัยท่ีได้เป็นจริง มีคณุ ค่า ถูกต้องและน่าเช่ือถือ โดยแสดงให้เห็นว่าผลการวิจยั มคี วามสอดคลอ้ งกบั สมมุติฐานข้อเทจ็ จรงิ ทไี่ ด้พบแลว้ ผลงานวจิ ยั แนวคดิ ทฤษฏี และขนบธรรมเนยี มประเพณี หรือไม่ อยา่ งไร ถา้ มีความขัดแยง้ จะตอ้ งอธบิ ายเหตุผล และหาข้อมูลเพิ่มเตมิ ท่ใี ช้ช้ีแจงความเปน็ ไปได้ของผลท่ีขัดแยง้ นัน้ (บุญธรรม กิจปรดี าบรสิ ุทธิ์.2541 : 263) มรี ายละเอยี ดทีค่ วรทาความเขา้ ใจดงั นี้ 2.5.2.1 ประเดน็ ในการอภปิ รายผลการวจิ ยั มดี ังนี้(สุวิมล วอ่ งวานชิ และ นงลกั ษณ์ วริ ชั ชยั ,2546 : 129-130) 1) การระบุความสอดคล้องและความขดั แย้งระหวา่ งผลการวิจยั กับสมมุตฐิ าน 2) การให้เหตุผลตามหลกั วชิ าว่าเพราะเหตุใดจงึ ทาใหผ้ ลการวจิ ัยท่ี ได้ ขัดแยง้ กับสมมุตฐิ าน และกาหนดประเด็นปัญหาการวจิ ัยทคี่ วรแก้ไขปรบั ปรงุ หรือศึกษาวิจยั ตอ่ ไป 3) การใหค้ าอธิบายเชื่อมโยงความสอดคลอ้ งหรือความขัดแย้ง ระหวา่ งผลการวิจัยในแตล่ ะตอน หรือผลการวเิ คราะห์ข้อมูลกบั ผลการวิเคราะหจ์ ากงานวิจัยในอดตี ที่ ไดศ้ ึกษาในสว่ นของการศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ กยี่ วข้อง 4) การระบคุ วามเก่ยี วข้องผลการวิเคราะห์ กับแนวคิด ทฤษฏี หรอื ตามสภาพจริง พร้อมทง้ั กาหนดประเดน็ ทีจ่ ะนาไปขยายองค์ความรูต้ ามแนวคดิ และทฤษฏี และ การนาไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ิตจริง 2.5.2.2 ขน้ั ตอนในการอภปิ รายผล(ปารชิ าต สถาปติ านนท์.2546:274-275) 1) การเชื่อมโยงประเดน็ ปัญหา สมมตุ ิฐาน กบั ผลการวิจัย ผูว้ จิ ยั จะตอ้ งจาแนกประเดน็ ในการนาเสนอทลี ะประเด็นโดยเรมิ่ ตน้ จากปัญหาการวจิ ัย สมมุติฐานการวจิ ัย และผลการวิจยั ทต่ี อบปัญหาการวจิ ยั ประเดน็ นนั้ ๆ วา่ ปฏเิ สธหรือยอมรบั สมมุตฐิ านท่ีกาหนดไว้ 2) การเชื่อมโยงผลการวิจัยกับงานวจิ ยั อ่ืน ๆ เป็นการนา ผลงานวิจยั ของตนเองไปเทยี บเคยี งกบั ผลงานวจิ ัยของผ้วู ิจยั อื่นท่มี ีประเดน็ ปัญหาทีค่ ล้ายคลึงกัน โดย ระบุให้เหน็ ความสอดคล้องหรือความแตกตา่ งตลอดจนระบเุ หตุผลว่าเหตุผลที่ทาใหผ้ ลการวิจยั สอดคล้องหรอื แตกตา่ งว่าเป็นเพราะสาเหตุใด
หนา้ ที่ 404 บทท่ี 12 รายงานการวิจัย 3) การเชื่อมโยงผลการวจิ ัยกับทฤษฏี เน่ืองจากในการวจิ ัยจะต้อง กาหนดกรอบแนวคิดทฤษฏี หรอื สมมุติฐาน เพื่อดาเนนิ การวิจัย ดงั นัน้ ผลการวิจยั ทีไ่ ดร้ ับจะเปน็ ผลทเี่ กยี่ วเนือ่ งกับทฤษฏที น่ี ามาใช้ และการทดสอบสมมุติฐาน ดงั นนั้ ในการอภิปรายผลส่วนท่เี ก่ยี วกับ ทฤษฏี จาแนกออกเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้ (1) กรณีท่ผี ลการวิจัยเปน็ ไปตามสมมุติฐานที่กาหนดไว้ หมายความวา่ ผลการวจิ ยั เป็นสิง่ ท่ีเปน็ หลักฐานตรวจสอบว่าการใชท้ ฤษฏใี นประเดน็ ปัญหาการวิจัยมี ความถกู ตอ้ ง มีความเช่อื ม่ัน โดยในการอภิปรายจะกล่าวถึงความสมั พนั ธ์หรือความสอดคลอ้ งทเี่ กิดข้ึน ระหว่างผลการวิจยั ของตนเองกับทฤษฎีอยา่ งชดั เจน หรืออธิบายประเดน็ ต่าง ๆ ประกอบทใี่ ช้ หลักการของเหตผุ ล (2) กรณีท่ีผลการวจิ ัยไมเ่ ปน็ ไปตามสมมตุ ฐิ านทกี่ าหนดไว้ เป็น ประเด็นทผี่ ู้วจิ ัยจะต้องตีความ ค้นหาหลักการทจ่ี ะมาใชอ้ ธิบาย โดยเฉพาะสาเหตุทท่ี าให้ผลการวิจยั ไมเ่ ปน็ ไปตามสมมตุ ฐิ าน อาทิ ทฤษฏที ่ีใช้ไดม้ กี ารนาไปใช้ศึกษาก่อนหรือไม่ ในสภาพแวดล้อมใด และ คน้ พบจดุ แข็งและจดุ อ่อนอะไรบ้าง แต่ถ้ายังไม่สามารถระบุสาเหตไุ ดใ้ ห้พจิ ารณาข้อจากดั ทเ่ี กดิ จาก งานวจิ ยั ของตนเอง โดยเฉพาะปจั จยั ที่มีอิทธพิ ลต่อความเที่ยงตรงภายใน อาทิ อิทธพิ ลของ ตัวแปรแทรกท่ีไมส่ ามารถควบคุมได้ การสุ่มตัวอย่างที่ลาเอียงการใชว้ ธิ ีการและเครื่องมือในการวจิ ยั ไมเ่ หมาะสม หรอื มรี ะยะเวลาทจ่ี ากดั เป็นตน้ และอาจจะต้องระบุท้ายการอภปิ รายผลการวจิ ยั วา่ จะต้องมกี ารศกึ ษาในประเด็นดงั กลา่ วอีก เพื่อศกึ ษาการปรับเปลย่ี นแนวคิด และทฤษฎีที่นามาสรา้ ง เป็นกรอบแนวคดิ หรอื ขยายศักยภาพของทฤษฏที ใี่ ช้ในการอธบิ ายปรากฏการณต์ า่ ง ๆ ได้อย่าง ครอบคลุม 2.5.2.3 ขอ้ ควรคานึงในการอภิปรายผลการวิจัย(ปารชิ าต สถาปิตานนท.์ 2546:276-277) 1) ความแตกต่างระหวา่ งการใช้แนวคิด ทฤษฏีในการอภปิ รายผล และการศึกษาเอกสารและงานวิจยั ทเี่ กย่ี วข้อง กลา่ วคือ การศกึ ษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวขอ้ ง จะเริ่มต้นจากกรอบแนวคิดกว้าง ๆ อาทิ ปัญหาการวจิ ยั แนวคดิ ทฤษฏี ที่จะนาไปสู่คาถามการวจิ ัย หรือสมมุตฐิ านการวจิ ัย แต่ถา้ เปน็ การอภปิ รายผลจะเร่ิมตน้ จากผลการวจิ ยั ทีละประเดน็ ปัญหา การวจิ ัย/สมมุตฐิ านทีจ่ ะนาไปสู่การเช่อื มโยงผลการวจิ ยั ไปสู่งานวิจัยและทฤษฎีทเี่ ก่ยี วข้อง ดงั ภาพท่ี 12.1 กวา้ ง /ทั่ว ๆ ไป 2myj;wx การศึกษาเอกสารและ การอภิปราย งานวจิ ัยทเี่ ก่ียวข้อง ผลการวจิ ัย แคบๆ /เฉพาะเจาะจง ภาพท่ี 21m2.y1j;กwาxรอภปิ รายผลการวจิ ยั
ระเบยี บวิธีการวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หน้าที่ 405 2) หลกั การในการอภปิ รายผล หลักการทสี่ าคัญในการอภิปราย ผลการวจิ ยั คือ ผลการวิจัยทไ่ี ด้รบั แล้วนากรอบแนวคิดทฤษฏี หรอื งานวิจยั ทีเ่ กย่ี วข้องมาใช้เปน็ องคป์ ระกอบหรอื หลักฐานสนับสนนุ ผลการวิจัย 3) ภาษาท่ีใชใ้ นการนาเสนอผลและอภปิ รายผลการวจิ ัย จะต้อง เลือกใช้คาในการนาเสนอในลักษณะของ “การทดสอบสมมุตฐิ าน” ไมใ่ ช่ “การพสิ ูจน์” โดยเลอื กใช้ คาเหล่าน้ี อาทิผลการวจิ ยั เรอ่ื งนีส้ นบั สนนุ แนวคิดท่ีวา่ ....,การวิจยั ครง้ั นี้ยืนยนั สมมตุ ฐิ านท่ีวา่ ......., ดูเหมือนว่า ,อาจจะเกิดจาก …….หรือมีแนวโน้มทีจ่ ะเกิดจาก.......เป็นตน้ 2.5.3 ขอ้ เสนอแนะ เปน็ สว่ นของการใหค้ าแนะนาโดยพิจารณาจากผลการวจิ ัย ท่ตี นเองไดด้ าเนนิ การวจิ ยั จาแนกได้ดงั นี้ (ปาริชาต สถาปติ านนท.์ 2546:278-279) 2.5.3.1 ขอ้ เสนอแนะสาหรับการนาผลการวิจัยไปใช้ เปน็ การให้คาแนะนา ทเ่ี ชอื่ มโยงระหวา่ งประเด็นที่ศกึ ษากบั สภาพที่เป็นจรงิ หรือระหวา่ งผลการวิจัย กับประโยชน์ ที่จะไดร้ บั จากการวิจัย มีดงั น้ี 1) การใช้ในการปฏิบตั ิ เปน็ การนาผลการวจิ ัยทีไ่ ด้ไปขยายผลใน เชิงปฏิบัตทิ กี่ าหนดแนวทางการกระทาท่ีเปน็ รูปธรรมท่ชี ดั เจน อาทิ ใครจะทาอะไร หรอื ดาเนนิ การ อะไร อย่างไร เปน็ ตน้ 2) การใชใ้ นเชงิ วิชาการ เป็นการนาเสนอข้อแนะนาทเ่ี ปน็ ประโยชน์ ตอ่ การพฒั นาเชงิ วิชาการ อาทิ ศักยภาพของตัวแปรที่ใช้ หรอื การใชแ้ นวคดิ ในการอธบิ าย ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในสงั คม เปน็ ต้น 2.5.3.2 ข้อเสนอแนะสาหรบั การวิจัยต่อไป 1) เสนอแนะประเด็นปัญหาการวจิ ยั หรอื สมมตุ ฐิ านการวิจยั 2) เสนอแนะในเชงิ พัฒนาการใช้ระเบยี บวิธีการวิจัยทีเ่ หมาะสม อาทิ เปลี่ยนตัวแปร/กลุ่มตวั อย่าง หรอื สภาพแวดลอ้ ม ทใ่ี หม้ ีความเหมาะสมและนาผลไปใชไ้ ด้ กว้างขวางยง่ิ ข้นึ หรือการทาวจิ ยั ซา้ เพื่อตรวจสอบผลท่ีได้ เปน็ ต้น 3) เสนอแนะในการปรับเปลย่ี นระเบียบวิธวี ิจัยทห่ี ลากหลาย อาทิ ปรับเปลี่ยนจากการวจิ ยั เชงิ ปรมิ าณเปน็ การวจิ ัยเชิงคณุ ภาพ หรือการวิจัยแบบระยะส้ัน(Cross Section) เปน็ การวจิ ัยแบบระยะยาว (Longitudinal)เปน็ ตน้ บุญธรรม กจิ ปรีดาบริสทุ ธิ์(2541 : 264)ไดเ้ สนอหลักการเขียนขอ้ เสนอแนะ ดังน้ี 1) จะต้องเป็นเนื้อหาสาระ/ประเด็นที่ไดจ้ ากผลการวจิ ัย ไม่ใชเ่ ปน็ การแสดงข้อคิดเห็นหรือใช้ สามญั สานกึ ของผวู้ ิจยั 2) เป็นประเดน็ ใหม่ ๆ ท่ีไม่ซา้ ซ้อนกบั ประเด็นทมี่ ผี นู้ าเสนอแลว้ มิฉะน้นั จะต้องระบุใหเ้ ห็น ความสาคัญของการนาเสนอ 3) จะต้องเป็นประเด็นที่สามารถนาไปปฏบิ ตั ิได้ ท่ไี ดผ้ ่านการพจิ ารณาในข้อจากดั ของ ตา่ ง ๆ อยา่ งรอบคอบแล้ว 4) จะตอ้ งมีรายละเอียดของเนือ้ หาสาระและประเดน็ ท่ีนาเสนออยา่ งพอเพยี งท่จี ะสามารถ นาไปขยายผลในการศึกษาได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
หนา้ ท่ี 406 บทที่ 12 รายงานการวจิ ยั 3. องค์ประกอบสว่ นท้าย เป็นเอกสารที่อยู่ในส่วนท้ายของรายงานการวจิ ยั มดี ังน้ี 3.1 บรรณานุกรม เป็นรายการของเอกสารและงานวิจัยท่เี กย่ี วข้องที่ผู้วจิ ยั ได้ศกึ ษาค้นคว้า แลว้ นามาใช้อา้ งองิ ในรายงานการวิจัยของตนเอง มิใชน่ ามาวิธกี ารมาใช้เท่าน้นั (คมู่ ือการเขียน วทิ ยานพิ นธ์/ปรญิ ญานิพนธ์) ที่จะเปน็ แหลง่ ขอ้ มลู สาหรบั การตรวจสอบถกู ต้องของการศึกษาคน้ ควา้ หรือใช้เปน็ แนวทางในการสืบคน้ ข้อมูลทตี่ ้องการต่อไป 3.2 ภาคผนวก เปน็ สว่ นที่ใช้เพ่ิมเตมิ จากในสว่ นท่ี 2 เพ่ือให้รายงานการวิจัยมี ความสมบูรณ์เพิ่มมากขึ้น ดังนนั้ เอกสารที่นามาใส่ในภาคผนวกจะตอ้ งเป็นเอกสารทจ่ี ะช่วยสง่ เสริม ใหร้ ายงานการวิจัยมีคุณค่าเพ่ิมมากขน้ึ อาทิ เครอื่ งมือในการวิจยั ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ทส่ี าคัญ หรือ รายชื่อผเู้ ชย่ี วชาญเป็นต้น 3.3 ประวัตขิ องผวู้ จิ ยั เปน็ เอกสารท่ีแสดงรายละเอยี ดเกี่ยวกบั ผวู้ จิ ยั อาทิ ช่ือ-ช่อื สกุล การศึกษา ความเชย่ี วชาญ สถานที่ทางาน หรือเกยี รติประวัตทิ ีเ่ คยไดร้ บั เปน็ ตน้ 3.4 ดชั น(ี ถ้ามี) เป็นคาสาคัญ(Key Word)ท่ีระบุไว้ เพื่อให้ง่ายและสะดวกในการสบื ค้น ในสว่ นทเี่ ก่ยี วขอ้ งของผสู้ นใจ ดงั แสดงสว่ นประกอบของรายงานการวิจยั ในภาพท่ี 12.2
ระเบียบวิธกี ารวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หน้าท่ี 407 สว่ นประกอบของรายงานการวจิ ัย ส่วนประกอบตอนต้น ส่วนประกอบเนื้อหา ส่วนประกอบตอนท้าย ประกอบดว้ ย ประกอบด้วย ประกอบด้วย 1. ปกหนา้ บทท่ี 1 บทนา 1. บรรณานกุ รม 2. ปกใน 1.1 ความเป็นมาและ 2. ภาคผนวก 3. บทคัดยอ่ ความสาคญั ของปัญหา 1.2 วัตถุประสงคข์ อง 2.1 ตัวอยา่ งเคร่อื งมือ 4. กิตตกิ รรมประกาศ การวจิ ยั ในการวิจยั 5. สารบญั 1.3 สมมุติฐานของการวจิ ยั 1.4 ขอบเขตของการวิจัย 2.2 ตวั อย่างผลการ 6. สารบัญตาราง 1.5 ข้อตกลงเบ้ืองต้น(ถา้ มี) วิเคราะหข์ ้อมูล 7. สารบญั ภาพ 1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ 1.7 ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ ับ 2.3 รายชื่อทีป่ รกึ ษา/ บทที่ 2 เอกสารและ ผทู้ รงคุณวฒุ ใิ นการ งานวจิ ัยทเี่ ก่ียวข้อง ตรวจสอบคุณภาพของ 2.1 แนวคิด ทฤษฏที ่ี เกยี่ วข้อง เครื่องมอื 2.2 งานวิจยั ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ฯลฯ บทท่ี 3 วิธกี ารดาเนินการ วิจัย บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล 5. สรุปผล อภปิ รายผลและ ข้อเสนอแนะ ภาพท่ี 12.2 ส่วนประกอบของรายงานการวจิ ัย
หน้าที่ 408 บทที่ 12 รายงานการวิจยั กระบวนการเขียนรายงานการวิจัย ในกระบวนการเขยี นรายงานการวจิ ยั ไดจ้ าแนกการดาเนนิ การเป็น 3 ขั้นตอน ดงั น้ี 1. การเตรียมการเขียนรายงานการวิจัย มปี ระเด็นท่ีควรพจิ ารณา ดังนี้(Dixon and Others, 1987 : 215-216) 1.1 กาหนดประเภทของผูศ้ กึ ษา อาทิ ผู้บริหาร นกั วจิ ยั หรือนกั วชิ าการ เพอื่ จะได้ นาเสนอผลการวิจัยให้เหมาะสม และการได้รบั ข้อมูลย้อนกลบั จากกลุ่มผ้ศู ึกษา 1.2 กาหนดประเภทของรายงาน อาทิ รายงานตอ่ ผูใ้ ห้การสนับสนุนทุน ผบู้ รหิ าร หรอื การเผยแพร่ในวารสารการวิจัย 1.3 จัดเตรียมข้อมลู /เอกสารและงานวิจยั ท่เี ก่ียวข้อง ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล หรือ สรุปผลการวจิ ยั 1.4 เลอื กวธิ ีการนาเสนอในแต่ละประเดน็ ตามวัตถุประสงคข์ องการวจิ ยั ได้แก่ ข้อความ ตาราง กราฟ แผนภูมิ หรอื การผสมผสานระหวา่ งวิธีการ 1.5 เขียนโครงการวจิ ัยตามรูปแบบ และองค์ประกอบท่เี ปน็ มาตรฐานหรอื กาหนดขึ้นของ แต่ละหน่วยงานทีใ่ ห้ทุนอดุ หนุนในลกั ษณะของงานทจ่ี ะปฏิบตั ใิ นอนาคต 2. ข้ันลงมอื เขยี นรายงานการวจิ ยั ใหถ้ ูกตอ้ ง และครบถว้ นตามรูปแบบ และองค์ประกอบ ในลักษณะของงานวจิ ยั ทไ่ี ดป้ ฏิบัตแิ ล้ว(ให้ศึกษาจากหัวข้อเรื่ององคป์ ระกอบของการเขยี นรายงาน การวจิ ยั ) 3. ขนั้ หลงั การเขยี นรายงานการวิจัย หลงั จากการเขยี นรายงานการวจิ ัยเสรจ็ ส้นิ แล้ว ผวู้ ิจยั ควรได้ดาเนนิ การ ดังนี้ 3.1 นารายงานการวจิ ยั ท่ีเขยี นเสร็จแล้วส่งพมิ พ์ตน้ ฉบับใหเ้ สรจ็ 3.2 ตรวจสอบ/พิสูจน์ความถูกต้องของรายงานฉบับทเ่ี ขียนและรายงานฉบับท่ีพิมพ์ เสรจ็ แล้วในประเด็น ดงั น้ี(วนั ชัย ศิริชนะ และไพจิตร ปญุ ญพันธ์,2531 : 151) 3.2.1 การใชภ้ าษา คาศัพท์ การสะกดคา ความสม่าเสมอของการใช้คา การใช้ ตัวอักษรภาษาอังกฤษพิมพ์ใหญ่/เลก็ 3.2.2 การเวน้ วรรค ระยะห่างระหวา่ งบรรทัด ประเภทและขนาดของตวั อักษรที่พิมพ์ 3.2.3 การย่อหนา้ ในแตล่ ะย่อหน้าเนือ้ หาต้องไมม่ ากหรือน้อยเกินไป มคี วามสมบรู ณ์และการใชภ้ าษเชอื่ มโยงท่เี หมาะสม 3.2.4 ตาแหน่งของการแสดงภาพ ตาราง แผนภมู ิ หรือกราฟ 3.2.5 รูปแบบการพิมพ์/ระยะย่อหน้าท่ีกาหนดในลักษณะเดียวกันตามรูปแบบ มาตรฐาน 3.3 การตรวจรายงานการวจิ ยั ฉบับสมบรู ณ์ครงั้ สดุ ท้าย แล้วจัดพิมพ์และเยบ็ เลม่ ตาม จานวนทตี่ ้องการ และถ้าต้องการเผยแพร่ในวารสารจะตอ้ งมีการจัดเตรียมเนื้อหาและรปู แบบของ รายงานตามหลักเกณฑ์ของหน่วยงานน้นั ๆ
ระเบียบวธิ กี ารวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หน้าท่ี 409 การอา้ งอิง การอ้างองิ เป็นการอ้างอิงท่ีมาของข้อความ/ประโยคท่สี าคัญ ดงั นี้(สมพร พุฒตาลเบ็ทซ์, 2546) 1. วสั ดุอ้างองิ ที่เป็นภาษาไทยใหใ้ ช้ทงั้ ช่อื และนามสกลุ ผแู้ ต่ง สว่ นภาษาต่างประเทศใหใ้ ช้ เฉพาะนามสกุล ตวั อย่าง (วนดิ า บารงุ ไทย,2544 : 9) (Dees,2000 :6) หรือ (Dees,2000 :6-10) 2. วสั ดอุ า้ งอิงท่ีมีผแู้ ตง่ มากกว่า 1 คน ให้เขียนดงั นี้ 2.1 ผแู้ ต่ง 2 คน ตวั อย่าง (สจั จะ จรสั รงุ่ รวีวร และสมพร จิวรสกลุ , 2542 : 30) (Ehrlieh and Murphy, 1995 : 27-30) 2.2 ผู้แต่ง 3 คน ตัวอย่าง (พชิ ญา พิทักษไ์ พรวนั ,เมธี เผ่าบญุ มี และสุธี เผา่ บญุ ม,ี 2539 : 1-9) (Kramer,Leggetts and Mead, 1995 : 9) 2.3 ผู้แต่งมากกว่า 3 คน ตวั อย่าง (วัลลภ สวสั ดวิ ลั ลภ และ คณะ , 2545 : 145) (Sadorra et.al.,1991 : 9-11) 3. วัสดอุ ้างองิ ทจ่ี ัดพิมพ์ในช่ือของหนว่ ยงาน ให้ใชช้ ื่อหนว่ ยงานในระดบั สงู เป็นผูแ้ ต่ง เชน่ ระดับกรม หากไม่ปรากฏช่อื หนว่ ยงานระดบั กรมหรือเป็นหนว่ ยงานท่ีไม่ใชส่ ่วนราชการใหใ้ ช้ ช่ือหน่วยงานทีป่ รากฏในวัสดุอ้างองิ น้นั ๆ เป็นชื่อผู้แต่ง ตวั อยา่ ง (มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี,2545 : 21) (กรมการปกครอง, 2543 : 9) 4. วัสดอุ า้ งองิ ทไี่ ม่ปรากฏช่อื ผูแ้ ต่ง ใหใ้ ช้ชื่อเร่อื งของหนังสือในตาแหนง่ ชือ่ ผู้แตง่ ตัวอยา่ ง (การเลย้ี งลกู , 2539 : 5-8) 5. วัสดอุ า้ งองิ ท่เี ป็นหนงั สือแปลใหใ้ สช่ อ่ื ผแู้ ต่งเป็นภาษาไทย ตวั อยา่ ง (เช็กสปยี ร,์ 2498 : 200)
หน้าที่ 410 บทที่ 12 รายงานการวจิ ัย 6. วสั ดุอ้างอิงภาษาไทยท่ีไมป่ รากฏปีทีพ่ มิ พ์ ให้ใช้อกั ษรยอ่ ม.ป.ป. ซงึ่ ยอ่ มาจากคาวา่ ไม่ปรากฏปีที่พิมพ์ แต่ถ้าเป็นภาษาต่างประเทศให้ใช้ n.d. ทยี่ ่อมาจาก nodate ตัวอยา่ ง (นคร พนั ธณ์ รงค์,ม.ป.ป : 23) ( Naresaun University,n.d. : 20) 7. วัสดอุ า้ งอิงภาษาไทยท่ีไมม่ ีเลขหนา้ ใหใ้ ชค้ าวา่ ไม่มีเลขหน้า และใชค้ าวา่ unpaged ในภาษาต่างประเทศ ตวั อย่าง (มหาวิทยาลัยนเรศวร,2544 : ไมม่ เี ลขหน้า) ( Thompson et.al.,1988 : unpaged) 8. การอ้างองิ บทความในวารสาร ใหล้ งรายการดงั นี้ (ผู้เขียนบทความ,ปีท่ีพิมพ์ : หน้า) ตวั อย่าง (ชาญชยั รตั นวิบลู ย์, 2544 : 2) (Bywater,1998 :223) 9. การอา้ งองิ จากบทความ หรอื คอลัมภใ์ นหนงั สือพิมพใ์ หล้ งรายการดังนี้ (ผูเ้ ขียน บทความ,วัน-เดือน-ปที ่พี มิ พ์ : หนา้ ) ตัวอย่าง (ลม เปลีย่ นทิศ, 3 กนั ยายน 2544 : 5) (Clewley, August 31,2001 :2) 10. การอ้างองิ จากฐานข้อมลู สาเรจ็ รปู อาทิ ซดี รี อม(CD-Rom)ดังน้ี (ผแู้ ต่ง,ปีทจี่ ดั ทา : ประเภทของฐานข้อมลู ) ตวั อยา่ ง (Bower,1997 : CD-Rom) 11. การอ้างอิงจากเครือข่ายอนิ เทอร์เนต็ อาทิ เว็บไซด์(Web site) ฐานข้อมลู ออนไลน์ (Online) ดังน้ี (ผูแ้ ต่ง,ปที จี่ ัดทา : ประเภทสือ่ สิ่งพิมพ์ออนไลน์) ตวั อยา่ ง (จริ วัฒน์ พริ ะสนั ต์ และวนดิ า บารงุ ไทย, 2543 : เวบ็ ไซด)์ (Meyer,1992 : Online) 12. การอ้างอิงจากการสมั ภาษณ์ใหล้ งรายการ ดังน้ี (ชื่อผูใ้ ห้สัมภาษณ,์ วนั -เดอื น-ปี ท่สี มั ภาษณ์) ตัวอย่าง (สุจนิ ต์ จินายน, 7 กนั ยายน 2543)
ระเบยี บวิธกี ารวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หนา้ ที่ 411 บรรณานุกรม หรอื เอกสารอ้างองิ บรรณานุกรม หมายถึง รายการหนงั สือตารา วารสาร สอ่ื สิ่งพมิ พ์ สอื่ ทศั นูปกรณ์ ระบบ เครือข่ายอนิ เทอรเ์ นต็ ฐานข้อมูล หรอื ไปรษณียอ์ ีเล็กทรอนิค รวมทง้ั การสมั ภาษณบ์ ุคคลที่นามาใช้ เป็นขอ้ มลู ในงานวิจัย แตจ่ ะไมร่ วมเอกสารที่ได้ศึกษาเพ่ือนาวิธีการมาใชใ้ นการดาเนนิ การแตไ่ ม่ได้ อา้ งในงานวจิ ัย การทีง่ านวจิ ยั มบี รรณานกุ รมทถี่ ูกต้อง สมบูรณจ์ ะชว่ ยทาใหผ้ ลการวจิ ยั มีความ น่าเชื่อถอื ใช้เป็นแหล่งข้อมลู ในการศกึ ษาค้นควา้ เพ่ิมเตมิ เปน็ การให้เกยี รติแกผ่ เู้ ขยี น/ผู้จดั ทา และ ช่วยปอ้ งกนั การละเมดิ ลิขสิทธิท์ างปัญญาท่จี ะมกี ารฟ้องร้องกนั ถ้าหากไม่นามาอา้ งองิ ใหถ้ ูกตอ้ ง (สิน พันธพุ์ ินจิ ,2547 : 384-385) 1. แนวทางการปฏบิ ัตใิ นการเขยี นบรรณานุกรม ในการเขียนบรรณานกุ รมมแี นวทางการปฏิบตั ิ ดังนี้ 1.1 ถ้ามีบรรณานกุ รมทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ให้เขยี นบรรณานกุ รม เอกสารอ้างองิ ทีเ่ ปน็ ภาษาไทยเรียงตามลาดบั พยญั ชนะ ก-ฮ หรอื สระ แล้วจึงเขยี นบรรณานุกรม เอกสารอา้ งองิ ท่เี ป็นภาษาอังกฤษท่ีเรยี งลาดับตามพยัญชนะภาษาองั กฤษ A-Z 1.2 บรรณานกุ รมเอกสารอา้ งองิ ภาษาไทยจะระบชุ ื่อ-ชือ่ สกุล ราชทนิ นามหรือฐานันดร ศักดห์ิ ลงั ชอื่ สกุล ยกเว้นสมณะศักดข์ิ องพระสงฆ์ สาหรบั ยศตารวจ ทหารและพลเรือนไม่จาเปน็ ตอ้ งใส่ แตบ่ รรณานกุ รมเอกสารอา้ งอิงภาษาอังกฤษใหเ้ ขียนชื่อ-ช่อื สกุล โดยข้นึ ต้นด้วย ช่ือสกลุ แล้วตามด้วยชอ่ื ที่ 1 และชอ่ื ที่ 2 1.3 สาหรบั ช่อื ผเู้ ขยี นที่ระบุเปน็ องคก์ ร สถาบันการศกึ ษา หรอื หน่วยงาน ให้เขยี นชื่อ ฐานะนาหน้าแล้วระบุช่ือองค์กร อาทิ มหาวิทยาลัยราชภัฏอดุ รธานี สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา มธั ยมศกึ ษาอุดรธานี เป็นต้น 1.4 สาหรบั การอา้ งองิ ผูเ้ ขยี นคนเดียวแต่เขียนหนังสอื หลายเล่ม ใหเ้ รยี งตามลาดับตาม พยญั ชนะในช่ือเรื่อง หรือบางกรณีอาจเรียงลาดบั ตามปี พ.ศ.ท่ีเขยี น(2548,2547,2546 ตามลาดับ) โดยท่รี ะบชุ ื่อ-ชอ่ื สกลุ ของผเู้ ขียนเล่มแรกเท่าน้นั สาหรับเล่มตอ่ ไปใหใ้ ช้เส้นตรงขนาด 1.8 ซม. แล้วตามด้วยจุดมหัพภาค(.) และในการพมิ พ์บรรทัดท่ี 2 ของแต่ละเล่ม จะเริ่มพิมพ์ท่ีตวั อักษร ตัวที่ 9 ของบรรทัดแรก 1.5 ชือ่ หนังสือตารา วารสาร ควรกาหนดให้มีความแตกต่างเพอ่ื เป็นจดุ เนน้ อาทิ ขีดเสน้ ใต/้ ตวั หนาหรอื ตัวเอน เปน็ ต้น 2. รูปแบบการเขยี นบรรณานุกรม ในการเขยี นบรรณานุกรมในงานวจิ ยั โดยทัว่ ๆ ไปจะมี 2 ลักษณะ ดังนี้(สิน พนั ธุพ์ นิ จิ , 2547 : 386-390) 2.1 แบบชอ่ื -ช่ือสกลุ แล้วตามด้วยปี พ.ศ.ที่พมิ พ์ มดี ังนี้ ชื่อ-ชื่อสกุล//ปีทีพ่ ิมพ์//ชอื่ หนังสือ//คร้งั ท่พี ิมพ์(ต้ังแต่คร้ังที่ 2)//เมอื ง//สานักพิมพ์. (/ หมายถงึ เคาะวรรค1 ตัวอักษร)
หนา้ ที่ 412 บทที่ 12 รายงานการวิจัย 2.2 แบบช่อื -ชอ่ื สุกลแล้วตามด้วยชอ่ื หนงั สอื /บทความ มีดังนี้ ชื่อ-ชื่อสกลุ //ชอ่ื หนงั สือ-บทความ//ครั้งที่พิมพ(์ ตง้ั แตค่ ร้งั ที2่ )//เมือง//สานักพมิ พ์// ปที ี่พิมพ.์ (/ หมายถึง เคาะวรรค1 ตัวอักษร) 3. การเขียนบรรณานุกรมแบบช่ือ-ช่ือสกุ ลแล้วตามด้วยชื่อหนงั สอื /บทความ (สิน พนั ธ์พินิต,2547 :386-390) ในการเขียนบรรณานุกรมแบบชือ่ -ชอ่ื สุกลแลว้ ตามดว้ ยช่ือหนังสอื /บทความ มรี ายละเอียด ดังนี้ 3.1 หนงั สือ ที่จาแนกตามจานวนผเู้ ขยี น มีดงั น้ี 3.1.1 ผู้เขยี น 1 คน มีดงั น้ี เสนีย์ ปราโมช,ม.ร.ว. เจา้ พระยาธรรมศักดม์ิ นตรี Kerlinger,N.F. 3.1.2 ผเู้ ขียน 2 คน ใหร้ ะบชุ ือ่ -ชื่อสกุลทั้ง 2 คนแล้วเช่ือมด้วยคาวา่ “และหรอื and” อาทิ ลว้ น สายยศ และอังคณา สายยศ. Isac,S. and Michael,B.W. 3.1.3 ผู้เขียน 3 คน ใหร้ ะบุช่อื -ช่ือสกุลท้ัง 3 คน โดยคนท่ี 1 และ 2 ใชก้ ารเว้น วรรค และหนา้ คนท่ี 3 ให้ใส่คาว่า “และ” อาทิ 3.1.4 ผู้เขียนเปน็ คณะผ้เู ขยี น ใหร้ ะบชุ ื่อ-ชอื่ สกุล ทเี่ ปน็ หวั หนา้ คณะ แลว้ ตาม ดว้ ยคาว่า และ “คณะ” หรือ “คนอ่ืน ๆ” หรอื “and Others” อาทิ นภาภรณ์ จันทรศพั ท์ และคณะ. Gall,M.D. and Others. 3.2 หนงั สือแปล ให้ใช้ชอื่ -ชอ่ื สกลุ ผเู้ ขยี น แต่ช่อื -ชอ่ื สกุลผู้แปลจะนาไปใส่หลงั ชื่อ หนงั สือ อาทิ 3.3 หนงั สือท่จี ัดพมิ พ์ในโอกาสพิเศษ ใหใ้ ชเ้ หมือนหนงั สอื ท่วั ไป แต่ตอนทา้ ยควรระบุ โอกาสพเิ ศษทีจ่ ัด 4. บทความในหนงั สอื เปน็ บทความท่ีมกี ารรวบรวมเพ่ือนาเสนอในลกั ษณะของหนังสือ ตาราท่ัวไป การอา้ งอิงในบรรณานุกรม จะประกอบดว้ ย ชื่อ-ชื่อสกลุ ผู้เขียน// “ชือ่ บทความ”// ชอื่ หนงั สือ// เลขท่ีหนา้ //เมอื งที่พิมพ์:สานักพิมพ์//ปที พ่ี มิ พ์. อาทิ 5. บทความในวารสาร เป็นบทความที่ผู้เขียนไดน้ าเสนอในวารสารทจี่ ัดทาโดยองค์กร หนว่ ยงาน หรือสถาบนั การศึกษาเพ่ือเผยแพรผ่ ลงานของบุคคลากรภายใน หรือผ้ทู สี่ นใจท่ัวไป การอา้ งองิ ในบรรณานุกรมจะประกอบดว้ ย ชื่อ-ชื่อสกุลผูเ้ ขียน// “ช่ือบทความ”//ชื่อวารสาร//ปที ี่ (วนั เดอื น ปี)//เลขหนา้ ท่ีปรากฏบทความ. อาทิ 6. บทความในหนงั สอื พมิ พ์ เป็นบทความทเี่ ขียนข้ึนแลว้ นาเสนอในหนังสอื พมิ พ์รายวัน ราย สัปดาห์ การอา้ งอิงในบรรณานุกรม จะประกอบด้วย ชือ่ -ชอ่ื สกุลผูเ้ ขียน// “ช่ือบทความ”//ช่อื หนังสือพิมพ/์ /วัน เดือน ปี//เลขหนา้ ทป่ี รากฏบทความ อาทิ
ระเบยี บวธิ ีการวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หน้าท่ี 413 7. บทความในสารานุกรม เปน็ บทความท่ีไดร้ วบรวมประเด็นท่ีนา่ สนใจจากแหลง่ ตา่ ง ๆ แลว้ จดั ทาเปน็ รูปเลม่ ที่มสี าระท่หี ลากหลาย การอา้ งอิงในบรรณานุกรม จะประกอบดว้ ย ชอื่ -ชอื่ สกุลผเู้ ขยี น// “ชอื่ บทความ”//ชอ่ื สารานุกรม//เลม่ ท่ีหรอื ปที ่ี(ปที ี่พมิ พ์)//เลขหน้าทป่ี รากฏ บทความ อาทิ 8. จุลสาร เปน็ เอกสารทีจ่ ดั ทาขึน้ ไมไ่ ด้ตพี มิ พเ์ ผยแพร่โดยทว่ั ไป การอ้างอิงในบรรณานุกรม เหมอื นหนงั สือทว่ั ไปแตช่ อื่ หนังสอื จะอยูใ่ น “” อาทิ 9. เอกสารการประชุมสัมมนา เอกสารทจี่ ดั พมิ พเ์ ปน็ รูปเล่ม โดยที่บทความในเลม่ เป็น บทความทร่ี วบรวมหรอื เขยี นขึ้นเฉพาะ ใหใ้ ช้การอ้างองิ ในบรรณานุกรมลักษณะเดียวกับการอา้ ง บทความในหนงั สือ แต่ถ้าใช้ท้ังเลม่ ให้ใช้อ้างอิงลักษณะเดียวกับหนงั สอื ทัว่ ไป โดยในตอนท้าย จะมวี งเล็บระบุรายละเอียดของการประชุมสมั มนา 10. วิทยานิพนธ์/ปริญญานิพนธ์ เปน็ เอการทจ่ี ัดทาข้ึนเพื่อใชป้ ระกอบการพจิ ารณาจบ การศึกษาในระดับปรญิ ญาโท/ปริญญาเอก การอ้างองิ ในบรรณานกุ รม จะประกอบด้วย ชือ่ -ชอื่ สกุล ผเู้ ขยี นวิทยานิพนธห์ รอื ปริญญานพิ นธ/์ /ชอื่ วิทยานิพนธ์หรอื ปรญิ ญานิพนธ/์ /ระดบั ปรญิ ญา//ชือ่ ภาควชิ าหรอื คณะ//มหาวทิ ยาลัย//ปีที่พิมพ์. อาทิ 11. การสัมภาษณ์ เป็นการอา้ งองิ ข้อมลู ท่ีไดจ้ ากการสมั ภาษณบ์ คุ คลท่ีสาคัญ/มี ความเช่ียวชาญ/บุคคลเฉพาะกรณี การอา้ งอิงในบรรณานกุ รม จะประกอบดว้ ย ชอ่ื -ช่ือสกลุ ผใู้ ห้สมั ภาษณ์//ตาแหน่ง(ถ้ามี)//วนั เดอื น ปี ท่ใี ห้สมั ภาษณ์ อาทิ 12. การอ้างอิงเอกสารต่อจากผูท้ ี่อ้างอิงแล้ว มีดงั นี้ 12.1 การใหค้ วามสาคัญแก่เอกสารตน้ ฉบับ ให้ใช้การอ้างอิงเหมือนหนงั สือท่วั ไปแล้ว ตอ่ ด้วย “อ้างถงึ ใน(Cited by)”นาหน้าเอกสารที่ใชอ้ ้างองิ อาทิ 12.2 การให้ความสาคัญแกเ่ อกสารที่ศึกษา ใหเ้ รมิ่ ต้นด้วยเอกสารท่ีศกึ ษาแลว้ ต่อดว้ ย “อ้างจาก(Citing)”แล้วตามด้วยการอ้างอิงเอกสารตน้ ฉบับ 13. โสตทศั นปู กรณ์ การอ้างอิงในบรรณานกุ รม จะประกอบดว้ ย ชื่อผูจ้ ัดทา//ช่ือเรื่อง (ลักษณะของโสตทัศนปู กรณ์)//สถานที่//หน่วยงานทผ่ี ลติ //วัน เดือน ปี ท่ผี ลิต อาทิ 14. เอกสารอเี ล็กทรอนิค จาแนกไดด้ งั น้ี 14.1 บทความจากเอกสารอเี ลก็ ทรอนิค การอ้างอิงในบรรณานกุ รม จะประกอบดว้ ย ชื่อ-ช่อื สกลุ ผเู้ ขียน// “ช่ือบทความ”//ชอื่ วารสาร[online] เล่มท่ี(ปที ี่พิมพ์)//Available: แหลง่ สืบค้น ข้อมลู //วันเดือนปีท่สี บื ค้น อาทิ 14.2 เอกสารอีเล็กทรอนคิ การอ้างองิ ในบรรณานุกรม จะประกอบดว้ ย ช่ือ-ช่ือสกุล ผ้เู ขียน//ชอื่ หนังสือ//เมอื งที่พิมพ์ : สถานทีพ่ ิมพ/์ /วนั เดือน ปีทพี่ ิมพ์ //Available: แหลง่ สืบคน้ ขอ้ มลู //วันเดือนปีที่สบื คน้ อาทิ 14.3 เนื้อหาสาระโดยสรปุ /บทคัดย่อทีไ่ ด้จากการสบื คน้ จากฐานข้อมลู ในระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ การอา้ งอิงในบรรณานกุ รม จะใชเ้ หมอื นกบั วทิ ยานิพนธ์ แตช่ อื่ เรื่อง วทิ ยานพิ นธจ์ ะมีเครอ่ื งหมาย “” และหลังช่ือเรื่องวิทยานิพนธ์จะมี[ออนไลน์(online)] และทา้ ยสดุ จะระบุแหล่งฐานขอ้ มลู และวัน เดอื น ปี ท่สี บื คน้
หน้าที่ 414 บทท่ี 12 รายงานการวจิ ัย 14.4 เนอื้ หาสาระโดยสรปุ ทไ่ี ด้จากซีดีรอม(CD-ROM)จะใช้เหมือนกับการสืบค้น จากฐานขอ้ มลู แตห่ ลงั ชื่อเร่ืองทส่ี ืบคน้ จะมี[ซดี ีรอม หรือ CD-ROM]และทา้ ยสุดจะระบุแหล่ง ฐานขอ้ มลู และวนั เดือน ปี ท่ีสืบค้น 14.5 ไปรษณีย์อีเล็กทรอนคิ (e-mail)การอ้างอิงในบรรณานกุ รม จะประกอบด้วย ชอ่ื -ชื่อสกลุ ผเู้ ขยี น(ระบุe-mailต้นทาง) // “ชื่อเอกสารทสี่ ง่ ”//e-mail to ชอื่ -ชอื่ สกุลผู้รบั (ระบุ e-mail ปลายทาง)// วัน เดอื น ปี ที่จดั ส่ง. หลักการในการเขียนรายงานการวิจัย ในการเขยี นรายงานการวจิ ยั มีประเด็นทผ่ี ู้วจิ ัยตอ้ งใชเ้ ป็นหลกั การ ดงั นี้(สิน พันธพ์ุ นิ ิจ, 2547 : 374-375 ; บุญธรรม กิจปรดี าบริสทุ ธ,ิ์ 2541 : 266) 1. ความถกู ต้อง (Accuracy)เปน็ การเขียนรายงานตามขอ้ เทจ็ จริงข้อมูลโดยปราศจาก ความมอี คติ และไม่บิดเบอื นข้อมลู ที่คน้ พบ 2. ความกะทดั รัด(Concis) เป็นการเขียนรายงานการวจิ ยั ที่สน้ั ๆ ได้ใจความตรงประเด็น ไมใ่ ช้คาฟุม่ เฟือย ไม่ใช้คาปฏเิ สธซอ้ นปฏเิ สธ ที่จะทาให้ผสู้ นในที่ศึกษาเกดิ ความสับสน หรือ คลาดเคล่ือนทาให้การวจิ ัยมีคุณภาพที่ด้อยลง 3. ความชัดเจน(Clarity) เป็นการเขยี นรายงานใหเ้ กิดความชัดเจน โดยใชป้ ระโยคงา่ ย ๆ ถูกหลักไวยากรณ์ เว้นวรรคตอนและใช้สญั ลักษณ์ใหถ้ กู ตอ้ ง ใช้ภาษาท่มี ีความหมายเดยี ว ถา้ จาเป็นจะต้องใช้ตวั ย่อใหใ้ ช้ตัวยอ่ ที่เป็นทางการหรือรับรูโ้ ดยทั่วไปโดยจะต้องมชี ื่อเตม็ แลว้ ใช้ วงลบระบุตัวยอ่ มากอ่ น การเน้นข้อความท่ตี ้องการให้เกิดความชัดเจน และเรียงลาดับย่อหนา้ ตามเนอ้ื หาที่ตอ่ เนือ่ งกนั แต่ไมต่ ้องขน้ึ ตอ้ นย่อหนา้ ด้วยคาว่า “และ” “หรือ” 4. ความสอดคล้อง(Consistency) เปน็ การใชค้ าศัพท์ให้เหมอื นกันทงั้ ฉบบั เพ่ือป้องกนั ความเขา้ ใจที่สับสนวา่ ผเู้ ขยี นรายงานการวิจยั มีความหมายในคาดงั กลา่ วเหมือนกันหรอื แตกตา่ งกัน อาทิ มโนทัศน์ หรือ ความคดิ รวยยอดท่มี าจากภาษาองั กฤษว่า “Concept” 5. การเน้นความสาคญั เปน็ การกาหนดประเดน็ ทส่ี าคญั ในการนาเสนอ อภิปราย และ มีรายละเอยี ดของประเดน็ นั้น ๆ อยา่ งชัดเจน 6. ความต่อเน่ือง จะต้องเรียงลาดบั ขอ้ มลู ท่มี ีความเก่ียวพนั ธก์ นั อยใู่ นกลุ่มเดยี วกัน และ ต่างกลุ่มจะต้องเรียงลาดับตามความสาคญั ของความเก่ียวข้องกับการวจิ ยั แต่จะต้องมกี ารเชอ่ื มโยงให้ มีความต่อเนือ่ งซึ่งกนั และกัน 7. การใชภ้ าษาทถ่ี ูกตอ้ ง เปน็ การใช้ภาษาของตนเองในการนาเสนอทช่ี ดั เจนไม่ใช้ภาษาท่ีผสม กนั อย่างสบั สน(ภาษาไทย/ภาษาตา่ งประเทศ) หรอื การภาษาท่ใี ชท้ บั ศัพท์กบั ตา่ งประเทศ อาทิ เปอรเ์ ซน็ ต์ ควรใชค้ าวา่ ร้อยละ เป็นต้น
ระเบยี บวธิ ีการวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หน้าที่ 415 การประเมินงานวิจยั 1. ความหมายของการประเมินงานวจิ ยั การประเมินงานวิจยั (Research Evaluation) เป็นการพจิ ารณารายงานการวิจยั ในประเด็น ต่าง ๆ เทยี บกบั เกณฑ์ แล้วนาผลมาพจิ ารณาคุณภาพของงานวิจัย และความร้คู วามสามารถของ ผวู้ จิ ยั ว่ามีความเหมาะสมหรือไม่(นงลักษณ์ วริ ัชชยั .2543 :446) การวจิ ารณ์งานวิจัย(Critical Coment of Research) การศึกษารายงานการวจิ ัยโดยใช้ วจิ ารณญาณเพ่ือให้ทราบจดุ แข็ง จุดอ่อน ความสาคัญ คณุ ค่าของงานวจิ ัย และข้อเสนอแนะ เพื่อการปรบั ปรงุ รายงานวจิ ยั และนาเสนอต่อผ้วู ิจยั ผ้เู กีย่ วข้อง หรอื ผสู้ นใจทว่ั ไปได้รับทราบ (นงลักษณ์ วริ ชั ชยั .2543 :446) 2. ลักษณะของการวิจัยทดี่ ี สนิ พนั ธพ์ุ นิ ิจ (2547:24-26) ไดน้ าเสนอลักษณะของการวจิ ัยท่ีดีมีประเดน็ ท่ตี ้องพจิ ารณา ดังน้ี 2.1 มคี วามสอดคล้อง มีวตั ถปุ ระสงค์ทส่ี อดคลอ้ งกบั ปัญหาการวิจัย/การแกป้ ญั หา ท่จี ะ สามารถนาผลการวจิ ัยไปใช้ประโยชน์ได้อยา่ งแทจ้ ริง 2.2 ความสมบรู ณ์ของการศกึ ษาเอกสารและงานวิจยั ท่ีเกีย่ วขอ้ ง ทีจ่ ะต้องมีการศึกษา อย่างสมบูรณ์ ครบถ้วน และครอบคลมุ ตัวแปรท่ตี ้องการศึกษา เพื่อนาไปกาหนดกรอบแนวคดิ การวจิ ัยและกาหนดสมมตฐิ านทถ่ี ูกต้องและสอดคลอ้ งกับสถานการณ์ของสังคม ตลอดจนเรยี งลาดบั เนือ้ หาอยา่ งเหมาะสม 2.3 ใชร้ ะเบยี บวิธกี ารวจิ ยั ท่ถี กู ต้อง ในการดาเนินการวจิ ยั จะตอ้ งมีการสุม่ ตัวอย่างที่ ถกู ต้องและมขี นาดพอเหมาะ ใช้เคร่อื งมือเกบ็ ข้อมูลที่มคี ุณภาพ การออกแบบแผนการทดลอง หรือการกาหนดระดับนัยสาคัญทางสถติ ิ 2.4 การวิเคราะห์ขอ้ มลู จะตอ้ งเลือกใชส้ ถติ ิในการวิเคราะหข์ ้อมลู ท่เี หมาะสม และ สอดคล้องกับข้อตกลงเบือ้ งต้นของสถิตแิ ต่ละประเภท 2.5 การนาเสนอข้อมูล จะต้องแปลผลจากผลการวิเคราะหอ์ ยา่ งมหี ลักเกณฑ์ ใชภ้ าษา นาเสนอทีง่ า่ ย ๆ หรือใชว้ ธิ กี ารนาเสนอทีน่ ่าสนใจโดยใช้แผนภมู ิ หรือภาพประกอบต่าง ๆ 2.6 ความเที่ยงตรง ในการวิจยั จะตอ้ งคานึงทั้งความเที่ยงตรงภายในและความเทยี่ งตรง ภายนอก ทผี่ ลการวิจัยที่ได้เป็นผลทเี่ กิดข้ึนอยา่ งแทจ้ ริงในการวจิ ัย และสามารถนาไปใช้สรุปอา้ งองิ ข้อมูลจากกลุ่มตัวอยา่ งส่ปู ระชากรได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ 2.7 ความเชื่อมั่น การวจิ ัยจะตอ้ งดาเนินการด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทม่ี ีเหตุ และผล มคี วามเป็นปรนยั ขจัดความลาเอียงจากความรู้สกึ สว่ นตวั และเน้นทก่ี ารทดสอบสมมุติฐาน มากกว่าการพิสูจนว์ ่าจริงหรอื เทจ็ 2.8 รูปแบบของรายงานการวจิ ยั เป็นการปฏบิ ตั ติ ามข้อกาหนดของรายงานการวิจยั ทีแ่ ตล่ ะหน่วยงานหรือองค์กรไดก้ าหนดรปู แบบไว้อย่างชดั เจน รวมทง้ั ความชดั เจน ถูกต้องของ เนอ้ื หาสาระ และรปู เล่มของรายงานการวิจัยทีถ่ ูกต้อง สวยงาม
หนา้ ที่ 416 บทที่ 12 รายงานการวจิ ัย 2.9 ขอบเขตของเวลา การวิจัยจะต้องดาเนินการให้เสร็จภายในเวลาที่กาหนด มฉิ ะน้ัน อาจมีความคลาดเคล่ือนจากสภาพเปน็ จริงเนอ่ื งจากการเปล่ียนแปลงของสงั คม หรือมนุษย์ท่มี ี การเปลยี่ นแปลงทัศนคติ หรือค่านิยมอยา่ งรวดเร็ว 3.ประเดน็ การประเมินและการวจิ ารณง์ านวจิ ยั ในการประเมนิ และการวิจารณง์ านวจิ ัยมีประเดน็ ทต่ี ้องพจิ ารณา ดังน้ี (นงลักษณ์ วิรชั ชยั . 2543 :450-451) 3.1 คุณค่า ประโยชน์ และความสาคญั ของการวจิ ัย เป็นการพิจารณาว่าปัญหาการวจิ ัย มีคณุ คา่ หรือไม่ ผลการวิจัยได้นาไปใช้ในเชงิ วิชาการ หรอื เชิงปฏิบัติ หรอื ในชวี ติ จริงมากหรอื น้อย เพียงใด หรือเปรยี บเทียบผลประโยชนท์ ไี่ ด้รับกบั ต้นทุนในการวิจยั ผลประโยชน์เปน็ ของกล่มุ ใด ระดับใด และงานวิจัยมคี วามสอดคล้องกบั สาขาหรอื วตั ถุประสงค์ของหน่วยงานมากน้อยเพยี งใด 3.2 ความเหมาะสมและความถูกต้องตามหลักการวจิ ัย 3.2.1 การตรวจสอบความเที่ยงตรงภายใน ท่ีพจิ ารณาวา่ งานวจิ ยั สามารถตอบ ปัญหาไดถ้ ูกต้องหรอื ไม่เพยี งใด โดยพิจารณาจากการออกแบบแผนการวิจยั การสมุ่ ตัวอย่าง การสรา้ ง เครอ่ื งมอื การวางแผนการเก็บรวบรวมข้อมลู การวเิ คราะหข์ ้อมูล และการดาเนินการเพ่อื ลด ความคลาดเคล่ือนในการวิจยั ที่อาจเกดิ ข้นึ จากปจั จัยทส่ี ่งผลตอ่ ความเทีย่ งตรงภายใน ได้แก่ เหตุการณ์ พรอ้ ง วุฒภิ าวะ การสอบซ้า ข้อบกพร่องของเครื่องมอื ความลาเอียงในการสุ่ม การถดถอย ตวั อยา่ งท่ี ขาดหาย และปฏิสัมพนั ธ์ระหว่างการสมุ่ กบั การขาดหายของตวั อยา่ งไดม้ ากน้อยเพียงใด 3.2.2 การตรวจสอบความเท่ียงตรงภายนอก ที่พิจารณาว่างานวิจัยสามารถสรปุ อ้างองิ ไปใชป้ ระโยชน์ หรือสามารถสรปุ อ้างอิงจากกลุ่มตัวอยา่ งสู่ประชากร หรอื สามารถอ้างองิ จาก ตวั แปรทีศ่ ึกษาไปสู่ความคดิ รวบยอดโดยทั่วไป และการนาไปอา้ งอิงตามทฤษฏี โดยพิจารณาจาก การกาหนดแบบแผนการวจิ ยั ท่ลี ดความคลาดเคลือ่ นทเ่ี กิดจากปจั จัยทมี่ ีอิทธิพลต่อความเท่ียงตรง ภายนอก ได้แก่ ปฎิสมั พนั ธร์ ะหวา่ งการสุ่มตวั อย่างกับการจดั กระทาในการทดลอง อทิ ธิพลจาก การจดั การทดลอง และการวัดตวั แปรที่ไม่สอดคล้องกับปัญหาการวิจัย 3.2.3 นอกจากจะตรวจสอบความเท่ยี งตรงภายในและความเทยี่ งตรงภายนอก แลว้ จะต้องตรวจสอบความสอดคล้อง ความเช่อื มโยง และความสมเหตุสมผลของเนอื้ หาสาระใน แตล่ ะตอนอีกดว้ ย 3.3 ความนา่ เชอ่ื ถอื ของผู้วิจัย และงานวิจัย 3.3.1 การประเมนิ ผวู้ จิ ยั เปน็ การพจิ ารณาจากเนื้อหาสาระในรายงานการวจิ ยั ทจ่ี ะสะทอ้ นศักยภาพของผวู้ จิ ยั ได้ ดงั น้ี 3.1.1.1 จากเอกสารและงานวจิ ัยท่ีเกยี่ วข้องทีน่ าเสนอจะแสดงความเป็น บคุ คลทม่ี ีความรอบร้ใู นประเดน็ ทที่ าวิจัยท้ังในดา้ นแนวคิด หลักการ ทฤษฏี และงานวจิ ัยทผี่ า่ นมาแลว้ มากน้อยเพยี งใด 3.1.1.2 จากวิธีการดาเนนิ การวจิ ัยหรอื นาเสนอผลงานวิจยั ทีส่ ะทอ้ นใหเ้ ห็น ศักยภาพด้านการวิจัย ทีใ่ นบางกรณีอาจจะต้องใช้การสงั เกต หรอื การสมั ภาษณ์ เพ่ือใหท้ ราบคุณภาพ และศักยภาพของผูว้ ิจยั
ระเบียบวธิ ีการวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หนา้ ท่ี 417 3.3.2 การประเมนิ จากรายงานเกี่ยวกบั ลักษณะการเขียน รปู แบบและคุณภาพของ การพิมพ์ ความน่าเช่อื ถือของสถานทพี่ ิมพ์ เปน็ ตน้ โดยที่นงลกั ษณ์ วิรชั ชยั (2543 :452-453) ไดน้ าเสนอแบบตรวจสอบรายการใน การประเมินคณุ ภาพงานวิจัย ดังตารางท่ี 12.1 ตารางท่ี 12.1 แบบตรวจสอบรายการในการประเมนิ คุณภาพงานวจิ ัย รายการประเมินงานวิจัย ผลการประเมนิ 54321 1. ความสาคญั ของปญั หาการวิจยั 2.ความสอดคล้องของปญั หาการวจิ ยั กับวตั ถปุ ระสงค์ 3. ขอบเขตการอา้ งอิงสปู่ ระชากรและความคดิ รวบยอด 4. ประโยชนข์ องการวจิ ยั ในเชงิ วิชาการและปฏิบัติ 5. ความทันสมัยและความถูกตอ้ งของเอกสารและ รายงานการวิจยั ทเ่ี ก่ียวข้อง 6. ความเหมาะสมและถูกตอ้ งของกรอบแนวคดิ 7. ความถกู ตอ้ งของสมมุตฐิ าน 8. ความเหมาะสมและความถกู ต้องของการสุม่ ตวั อยา่ ง 9. คุณภาพของเครอ่ื งมือที่ใช้ 10. ความถูกตอ้ งและชดั เจนของการวเิ คราะห์ข้อมลู 11. ความเหมาะสมในการอภิปรายผลการวิจยั 12. ความถกู ต้องในการเขยี นและนาเสนอรายงาน 13. ความเหมาะสมในรปู แบบการเขยี นรายงาน 14. ความนา่ เชื่อถอื ของรายงานจากลกั ษณะทวั่ ไป 15.คุณภาพของการวจิ ัยในภาพรวม ที่มา : นงลักษณ์ วิรัชชยั ,2543 :452-453 ดังมีตัวอย่างเกณฑ์ทใี่ ช้พจิ ารณาประเมินรายงานการวจิ ัย ดงั นี้ 1. ความสาคัญของปัญหาวิจยั มีรายละเอียดของเกณฑก์ ารพิจารณา ดังน้ี ให้ 1 เมอื่ ปัญหาวจิ ัยเป็นปัญหาในสายงานนักวิจยั ให้ 2 เม่ือปญั หาวิจัยเปน็ ขอ้ ขัดแย้งในเชิงวิชาการ และตรงสาขางานของนักวิจยั ให้ 3 เมือ่ ปญั หาการวิจยั เปน็ ปญั หาในสงั คม และตรงสาขาของนกั วจิ ัย ให้ 4 เมอื่ ปญั หาการวิจยั เปน็ การนาทฤษฏไี ปใช้พฒั นา หรอื สรา้ งผลงานใหม่ และ ตรงสาขา ให้ 5 เม่ือปัญหาการวิจัยเปน็ การสรา้ งทฤษฏีใหม่ และพัฒนาผลงานใหมใ่ ห้สงั คม ตรงสาขา
หนา้ ท่ี 418 บทท่ี 12 รายงานการวิจยั 2. ความเหมาะสมถูกต้องของกรอบแนวคิดการวิจยั มีรายละเอียดของเกณฑ์การพจิ ารณา ดังนี้ ให้ 1 เมื่อมีกรอบแนวคดิ การวจิ ัยทไ่ี มซ่ ับซ้อน มงี านวจิ ยั รองรบั แต่ไม่มีทฤษฏี ให้ 2 เมื่อมกี รอบแนวคดิ การวิจยั ง่าย แต่มีความชัดเจน มีทฤษฏแี ละงานวิจยั รองรบั ให้ 3 เมื่อมีกรอบแนวคิดเชงิ ทฤษฏี และกรอบแนวคิดการวิจยั ทไ่ี มซ่ ับซ้อน ให้ 4 เมือ่ มกี รอบแนวคิดเชงิ ทฤษฏี และกรอบแนวคิดการวจิ ัยทีซ่ ับซ้อน ให้ 5 เม่อื มกี รอบแนวคิดเชงิ ทฤษฏี และมีกรอบแนวคดิ การวิจัยหลายกรอบ เพื่อตรวจสอบทฤษฏี มหี ลักฐานอา้ งอิงทนั สมัย 4. หลกั การประเมินโครงการวิจยั ในการประเมินโครงการวจิ ัย มีหลักการทน่ี ามาพิจารณา ดังน้ี 4.1 การประเมินความสมเหตุสมผลเชงิ ตรรกะ เป็นการประเมนิ โดยพจิ ารณาจากลาดับ เหตผุ ล ความสัมพนั ธ์ท่ีเก่ียวเนอื่ ง ความสอดคล้องและความเป็นเหตแุ ละผลซึ่งกันและกัน โดยทั่วไป จะมีกล่มุ หวั ข้อท่ีมคี วามสมั พันธ์กัน 2 ลักษณะ ดงั นี้(เปรื่อง กมุ ทุ และนิคม ทาแดง,2537. อา้ งอิงใน สิน พนั ธ์พนิ จิ ,2547 : 356) 4.1.1 กลมุ่ ท่มี ีหวั ข้อท่ีมคี วามสัมพนั ธ์อยา่ งตอ่ เนื่องในลักษณะเป็นองคค์ วามคิดใน ขอบข่ายเดยี วกัน ดังนี้ 4.1.1.1 ความเป็นมา กรอบความคิดเชิงทฤษฏี และประเด็นปญั หาการวจิ ัย 4.1.1.2 ความเปน็ มา ประเดน็ ปญั หา และความสาคัญของการวิจยั 4.1.1.3 วตั ถปุ ระสงค์ ขอบเขตการวจิ ัย และนยิ ามศัพท์เฉพาะ 4.1.1.4 ระเบียบวิธวี ิจยั ทรัพยากร แผนการดาเนนิ การวิจยั และทรัพยากร 4.1.2 กลมุ่ หัวข้อท่มี ีความเป็นเหตแุ ละผลซึ่งกันและกัน มดี งั น้ี 4.1.2.1 ความเป็นมา เป็นเหตุ และความสาคญั เป็นผล 4.1.2.2 กรอบความคิดเชงิ ทฤษฏีเป็นเหตุ และสมมุติฐานการวิจัย เป็นผล 4.1.2.3 ประเดน็ ปญั หาการวิจัยเป็นเหตุ และวัตถุประสงคก์ ารวิจยั เปน็ ผล 4.1.2.4 ระเบียบวธิ ีวจิ ัยและแผนดาเนินการเป็นเหตุ และทรพั ยากรเปน็ ผล 4.2 การประเมนิ วธิ ีการปฏิบตั (ิ สนิ พนั ธพ์ นิ จิ ,2547 : 356-357) การประเมินวธิ กี ารปฏบิ ัติ เปน็ การตรวจสอบความครบถว้ น ความสมบูรณ์ ความครอบคลุม และความเป็นไปได้ของการดาเนินโครงการ มดี ังนี้ 4.2.1 วตั ถปุ ระสงค์การวจิ ยั กับแผนการดาเนนิ การมีความสอดคลอ้ งกันหรือไม่ และ มีความครอบคลมุ หรือครบถว้ นมากน้อยเพยี งใด 4.2.2 วธิ กี าร/เครื่องมือในการวจิ ัยมีความเหมาะสมท่จี ะใช้ไดจ้ รงิ ในสภาพแวดล้อม กลุ่มตวั อย่าง หรือประชากรที่กาหนดไวห้ รือไม่ และมปี ระสิทธภิ าพในการไดข้ ้อมลู ท่ีต้องการ ตามวตั ถุประสงคก์ ารวิจยั มากนอ้ ยเพียงใด 4.2.3 แผนการดาเนนิ การวิจัย มกี ารกาหนดชว่ งเวลา ระยะเวลาท่มี ีความเป็นไปได้ ในการนาไปดาเนนิ การในสถานการณ์จริงไดม้ ากน้อยเพียงใด
ระเบยี บวธิ ีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หนา้ ที่ 419 5. แนวทางการพจิ ารณาคุณภาพของงานวิจยั ฟาย และคณะไดน้ าเสนอแนวทางการพจิ ารณาคณุ ภาพของงานวิจัย ดงั น้ี(Frey,Botan, Friendman, and Kreps,1991 อ้างองิ มาจาก ปารชิ าต สถาปิตานนท.์ 2546:104) 5.1. บทนา มปี ระเดน็ ทีค่ วรพิจารณา ดังนี้ 5.1.1 ความชดั เจนของวตั ถุประสงค์การวจิ ัย 5.1.2 ความต้องการของผวู้ ิจยั ตามจุดม่งุ หมายของการวจิ ัย คืออะไร 5.1.3 ความสาคัญของการวจิ ยั ท่ีชดั เจนวา่ จะมปี ระโยชนต์ ่อใคร อยา่ งไร 5.2 แนวคดิ ทฤษฏี และงานวจิ ยั ท่เี กย่ี วข้อง มปี ระเดน็ ท่ีควรพจิ ารณา ดังน้ี 5.2.1 ใชก้ รอบแนวคิดทฤษฏใี ดในการดาเนนิ การวิจัยหรอื ไม่ 5.2.2 มกี รอบแนวคิดเชิงทฤษฏีท่ชี ดั เจนหรือไม่ 5.2.3 กรณีการแสวงหาหรอื พฒั นาทฤษฏี มแี นวทางการพัฒนากรอบแนวคดิ ที่ ชดั เจนหรือไม่ 5.2.4 มีการทบทวนแนวคิด ทฤษฏี และงานวจิ ยั ทเี่ กี่ยวข้องอย่างละเอยี ดชัดเจน หรือไม่ 5.2.5 มกี ารกาหนดและเช่ือมโยงความสัมพนั ธข์ องตวั แปรทชี่ ัดเจนจากการศึกษา งานวจิ ัยที่เกย่ี วข้องหรือไม่ 5.2.6 การเรียงลาดับเนื้อหาของแนวคิด ทฤษฏีและงานวจิ ยั ทเี่ กย่ี วข้องมคี วาม เหมาะสมและต่อเนอื่ งกันเพยี งใด 5.2.7 การทบทวน แนวคดิ ทฤษฏแี ละงานวจิ ัยท่ีเกี่ยวข้องนาไปส่กู ารทาใหม้ ี ความชดั เจนในประเด็นปญั หาการวิจยั หรอื ไม่ 5.3 คาถามการวิจัย/สมมุติฐาน มปี ระเดน็ ท่ีควรพจิ ารณา ดงั นี้ 5.3.1 คาถามการวจิ ยั ท่กี าหนดขน้ึ เปน็ ประเด็นท่ีมคี าตอบอยู่แลว้ หรอื ไม่ หรือมี ความจาเปน็ ท่ีจะตอ้ งดาเนินการหาคาตอบโยการดาเนินการวิจัยหรอื ไม่ 5.3.2 มหี ลกั การและเหตผุ ลทีจ่ ะนาไปสปู่ ระเดน็ ปัญหาการวิจยั ไดเ้ หมาะสมเพยี งใด 5.3.3 ในการกาหนดสมมุตฐิ านการวิจยั ได้แสดงความชดั เจนของความสมั พันธ์ ระหว่างตัวแปรทศ่ี ึกษาหรือไม่ 5.4 ระเบียบวธิ ีวิจัย มีประเดน็ ทีค่ วรพจิ ารณา ดงั น้ี 5.4.1 เงอ่ื นไขในการกาหนดประชากรและกลุ่มตวั อย่างมีความชัดเจนหรอื ไม่ และ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัยที่กาหนดไวห้ รอื ไม่ 5.4.2 กาหนดขนาดของกลมุ่ ตวั อย่างเพยี งพอ และกลุ่มตัวอยา่ งเป็นตวั แทนทด่ี ีของ ประชากรหรอื ไม่ 5.4.3 ระเบยี บวิธีวิจัยมีความเหมาะสมต่อประเด็นปัญหาการวจิ ยั เพยี งใด สามารถ เลือกใชร้ ะเบียบวธิ วี จิ ัยอืน่ ได้หรือไม่ 5.4.4 ระบุขั้นตอนในการดาเนินการวิจยั ไดอ้ ย่างละเอียดชัดเจนหรือไม่ 5.4.5 วิธกี ารและเคร่อื งมือในการวจิ ยั มีความเทย่ี งตรงเพียงใด
หน้าที่ 420 บทท่ี 12 รายงานการวจิ ัย 5.4.6 การดาเนินการก่อใหเ้ กดิ ความเช่อื มนั่ มากเพยี งใด และถา้ มีการนาไปวจิ ยั ซา้ หรอื วิจยั ในสภาพแวดล้อมท่ีแตกต่างกนั จะได้ผลทีใ่ กล้เคียงกันหรือไม่ อยา่ งไร 5.5 ผลการวจิ ยั มปี ระเด็นท่คี วรพิจารณา ดังน้ี 5.5.1 ผลการวิจัยสามารถตอบประเด็นปัญหาการวิจัย หรือทดสอบสมมุติฐาน การวจิ ัยได้หรือไม่ 5.5.2 การเลือกใชส้ ถติ ใิ นการวเิ คราะห์ข้อมลู มีความเหมาะสมมากหรือนอ้ ย เพยี งใด 5.5.3 การนาเสนอผลการวจิ ยั มีความชัดเจน และเหมาะสม อย่างไร และมี ความสอดคล้องกบั ประเดน็ ปัญหาการวจิ ัยและสมมตุ ิฐานการวจิ ัย หรือไม่ 5.6 การอภปิ รายผลการวจิ ยั มปี ระเดน็ ท่ีควรพิจารณา ดงั นี้ 5.6.1 ผลการวิจัยมคี วามเที่ยงตรงมากนอ้ ยเพยี งใด และใชห้ ลักของเหตผุ ลใน การสนับสนนุ ผลการวจิ ัยไดอ้ ย่างชัดเจนหรอื ไม่ 5.6.2 ไดร้ ะบปุ ระเดน็ ปญั หาจากการดาเนินการวิจยั หรอื ไม่ และประเด็น ดงั กล่าวมีผลอย่างไรต่อผลการวิจยั 5.6.3 ระบุการนาผลการวจิ ัยไปใชอ้ ยา่ งชัดเจนท้งั ในเชงิ ปฏิบตั แิ ละเชิงวชิ าการ 5.6.4 นาเสนอแนวทางของการวจิ ยั ในประเดน็ ปญั หาดังกลา่ วได้อย่างชดั เจน หรอื ไม่ 5.7 การอ้างอิง มีประเดน็ ทคี่ วรพิจารณา ดังน้ี 5.7.1 ศกึ ษาเอกสารและงานวิจัยทเ่ี กยี่ วข้องมากเพยี งพอทีจ่ ะใชเ้ ปน็ หลกั ฐานใน การสนบั สนนุ ผลการวิจยั หรือไม่ 5.7.2 เอกสารและงานวิจยั ทเ่ี ก่ียวข้องมีความทนั สมัยหรอื ไม่ 5.7.3 เอกสารและงานวิจัยทเ่ี กี่ยวข้องมีการอ้างอิงในบรรณานุกรมอย่างครบถ้วน หรือไม่ 5.7.4 การเขยี นบรรณานกุ รมดาเนนิ การตามรปู แบบที่กาหนดหรือไม่ และบุคคล อน่ื สามารถใช้สืบค้นข้อมลู ต่อได้หรือไม่ 5.7.5 บรรณานกุ รม สะทอ้ นให้เหน็ ภาพรวมของงานในสาขาวชิ าดงั กลา่ วหรอื ไม่ 5.7.6 การอ้างอิงขอ้ มูล เปน็ การอา้ งอิงจากแหล่งขอ้ มูลปฐมภมู หิ รือไม่ การเผยแพร่ผลการวจิ ัย จดุ มุง่ หมายทสี่ าคญั ของการวจิ ยั ประการสุดท้าย คือ จะตอ้ งมีการจดั เผยแพรผ่ ลการวจิ ัยให้ แพร่หลายมากทีส่ ุดเทา่ ทจ่ี ะดาเนนิ การได้ ใหผ้ ู้ที่เกย่ี วข้องและผูท้ ่สี นใจได้รับทราบทั้งในเชิงวิชาการ หรือการนาไปใชป้ ระโยชน์ในการแก้ปัญหา หรอื พัฒนาการปฏบิ ตั ิงานท่ีมีสถานการณ์ทคี่ ล้ายคลงึ กัน เพอื่ ใหเ้ กิดความคุ้มคา่ ในการสร้างสรรค์งานวิจัยทผ่ี ู้วิจยั ได้ทมุ่ เททั้งกาลังใจ กาลังกาย ทุนทรพั ย์และ เวลาในการดาเนินการ(สนิ พันธ์ุพนิ จิ ,2547 : 392-394)
ระเบยี บวธิ ีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หน้าที่ 421 การเผยแพร่ผลการวิจัย เปน็ กระบวนการดาเนินการเพ่ือให้แพร่กระจายผลการวิจัยท่ีไดร้ ับมี ไปส่สู าธารณชนในการรับทราบและนาไปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ มฉิ ะนั้นจะทาให้เกดิ ความสูญเปล่าใน การใชท้ รัพยากรท่ีไม่ก่อใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุดตามจุดมงุ่ หมายของการวจิ ยั ซ่งึ ในการเผยแพร่ ผลการวจิ ยั มีวิธกี ารในการเผยแพร่ ดงั นี้ 1. การเผยแพร่โดยผูว้ จิ ัยเปน็ สอ่ื เนื่องจากผู้วจิ ยั เป็นผ้ทู ดี่ าเนินการวิจัยด้วยตนเองตัง้ แต่ เรม่ิ ต้นจนกระทัง่ ส้ินสุดการวจิ ัย จะเป็นผทู้ ่มี ีความรู้ความเข้าใจในงานวจิ ยั น้นั ๆ มากทสี่ ดุ ดงั น้นั ในการนาเสนอผลการวิจัยผวู้ ิจัยจะทาให้การนาเสนอผลการวิจยั มีความนา่ สนใจ น่าติดตาม และ ผู้สนใจสามารถซกั ถามในประเด็นท่ีไม่ชัดเจนเพราะเป็นการสื่อสารแบบสองทาง ที่อาจจะดาเนินการ ไดด้ ังน้ี 1.1 การประชุมสัมมนา เป็นการจัดประชุมเพ่ือนาเสนอผลการวจิ ยั เพือ่ ใหผ้ ู้ท่สี นใจ ในงานวิจัยลกั ษณะหรอื สาขาวชิ านน้ั ๆ ไดเ้ ข้ารว่ มรับฟงั การนาเสนอผลการวจิ ยั ตามความสนใจ ที่อาจจะเปน็ การจดั ในระดบั องค์กร สถาบันการศึกษา หน่วยงานระดบั ท้องถ่ิน/ระดับชาติ หรอื ระดบั นานาชาติ ซ่ึงในการนาเสนอผลการวจิ ัยผ้วู ิจัยจะตอ้ งมีการจัดเตรยี มเอกสารสรปุ ผลการวิจัย ที่เป็นเอกสารทีใ่ ชป้ ระกอบการนาเสนอให้มีความพร้อม สมบูรณ์ และนาเสนอโดยใช้สื่อประกอบ ทนี่ ่าสนใจและตอบข้อซักถามของผ้สู นใจให้มีความชัดเจน 1.2 การจัดนทิ รรศการ เป็นการนาเสนอผลงานเข้ารว่ มในการจดั นทิ รรศการเพื่อแสดง ผลการวิจยั ที่อาจจะมีการดาเนินการไปพรอ้ ม ๆ กบั การประชุมสัมมนา ที่อาจจะมเี วลาท่ีจากดั ใน การใหด้ าเนินการนาเสนอเปน็ รายบคุ คล แต่จัดใหน้ าเสนอในลักษณะของการนาเสนอโดยใชแ้ ผนภมู ิ แผนภาพ หรือแบบจาลอง แล้วมีผวู้ จิ ยั หรอื ผูช้ ว่ ยผู้วจิ ยั อยใู่ นบรเิ วณนัน้ เพ่ือตอบข้อซักถามของ ผู้ท่สี นใจในงานวิจยั นนั้ ๆ 2. การเผยแพรโ่ ดยใชส้ ือ่ สิง่ พิมพ์เปน็ ส่อื เปน็ การกระจายผลการวิจัยท่ไี ปสู่สาธารณชนได้ อยา่ งกว้างขวาง มีความครอบคลุม และสามารถจัดเกบ็ ไวเ้ ป็นหลักฐานในการอา้ งอิงข้อมูลขององค์กร สถาบันการศึกษา หรือหน่วยงานตา่ ง ๆ ที่อาจจะมีสอื่ ที่ใชใ้ นการเผยแพร่ผลการวิจัย ดังน้ี 2.1 รายงานการวิจัยฉบับสมบรู ณ์ เป็นการจัดทารายงานการวิจัยฉบับสมบูรณท์ ี่ได้รับ การตรวจสอบจากผทู้ รงคุณวุฒิว่ามีคุณคา่ มปี ระโยชน์ และมคี วามถกู ต้อง สมบรู ณ์ท่ีจะนาเผยแพร่ ส่สู าธารณะชนได้ 2.2 รายงานการวจิ ัยฉบับยอ่ เปน็ เอกสารรายงานผลการวจิ ยั ฉบับย่อทจ่ี ดั ทาขึน้ เพอ่ื นาเสนอต่อผูบ้ ริหารหรอื ผู้สนใจทมี่ ีเวลาน้อยในการศึกษา ทอ่ี าจจะมเี น้อื หาประมาณ 1 ใน 3 หรอื 2 ใน 3 ของเน้ือหาท้งั หมด โดยการนาเสนอจะต้องมีการตรวจสอบเช่นเดยี วกับ รายงานการวิจยั ฉบบั สมบรู ณ์ 2.3 วารสารทางวชิ าการ เปน็ วารสารที่จดั ทาข้ึนจากหน่วยงานของสถาบันการศึกษาหรือ หน่วยงานท่เี กี่ยวข้อง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใชเ้ ป็นสื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการของบุคคลากรใน หน่วยงานของตนเอง หรอื ของบุคคลอ่ืน ๆ ท่ีนา่ สนใจ ใหผ้ ู้ทีเ่ กย่ี วข้องหรอื ผทู้ ่สี นใจไดศ้ ึกษาคน้ ควา้
หนา้ ที่ 422 บทที่ 12 รายงานการวจิ ัย และวารสารบางฉบบั อาจจะมีการจัดทาเป็นทง้ั ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพอ่ื เผยแพรใ่ นระดบั นานาชาติด้วย ซงึ่ ผลงานการวจิ ยั ท่ีไดร้ บั การคัดเลอื กเพื่อเผยแพร่จะต้องได้รบั การตรวจสอบว่ามี คุณภาพท่ีดี และสงวนสิทธทิ ่จี ะตรวจแก้ไขกล่นั กรองก่อนที่จะจัดพิมพเ์ ผยแพร่ โดยผู้วจิ ัยจะตอ้ ง จัดเตรยี มต้นฉบับตามแบบฟอร์มของวารสารทางวชิ าการฉบับนัน้ ๆ 2.4 รายงานการวจิ ยั ประจาปี เปน็ เอกสารท่ีแตล่ ะหนว่ ยงานได้จดั ทาขน้ึ เพ่ือใชร้ ายงาน ผลการวจิ ยั ประจาปีของหนว่ ยงานใหต้ ้นสังกัด หรือผู้ที่สนใจไดร้ บั ทราบข้อมูล โดยเฉพาะ สถาบนั การศึกษาทีจ่ ะมกี ารจัดทาเอกสารงานวิจยั ท่เี ปน็ บทคดั ย่องานวิทยานพิ นธ/์ ปริญญานพิ นธข์ อง นกั ศึกษาทง้ั ในระดบั ปรญิ ญาโทและปรญิ ญาเอก เพื่อใหส้ ามารถใช้ศึกษาคน้ คว้าได้อย่างสะดวก 2.5 หนงั สือพิมพ์ เป็นการนาเสนอผลการวิจยั ของหนงั สือพิมพ์ในส่วนของการนาเสนอ ข้อมลู ทางการศึกษาท่ีจะมที ั้งหนงั สอื พิมพ์รายวัน รายสัปดาห์ หรือรายปกั ษ์ ในลักษณะของ การสรุปยอ่ ที่นาเสนอเฉพาะประเด็นที่สาคัญเทา่ น้นั เน่ืองจากการนาเสนอทางหนังสอื พมิ พ์จะมี เน้อื ทส่ี าหรบั สว่ นนี้ค่อนข้างจากดั 3. การเผยแพร่โดยใชส้ อื่ อีเล็กทรอนิค เปน็ การนาเสนอผลการวจิ ัยผ่านส่ืออเี ลก็ ทรอนคิ ที่มี สมรรถภาพในการแพร่กระจายสู่สาธารณะชนไดอ้ ย่างกว้างขวาง และรวดเร็ว แต่อาจจะมีขอ้ จากดั ทีเ่ กิดขนึ้ ในการเผยแพร่เน่ืองจากสภาวะขาดแคลนเครื่องรับข้อมูลทผี่ า่ นส่ือประเภทนี้ ซึง่ สือ่ อเี ลก็ ทรอนิคที่ใชใ้ นการเผยแพร่ผลการวิจยั มีดังน้ี 3.1 วิทยุกระจายเสยี ง ที่เป็นการเผยแพร่ข้อมลู โดยใช้เสยี งเป็นส่ือได้อยา่ งกว้างขวางท่ีมีทั้ง สถานีวทิ ยทุ ้งั ในระดับประเทศ ระดับจงั หวดั หรอื ระดับชมุ ชน แต่มีข้อจากัดเกยี่ วกับการรับฟัง ทีไ่ มช่ ัดเจนเนื่องจากจะมีการรบกวนของคล่ืนความถที่ สี่ อดแทรกกัน หรืออาจไม่มีเวลารบั ฟงั เนื่องจาก มภี ารกจิ ท่ีจะต้องปฏบิ ตั ิในชว่ งเวลานั้น ๆ 3.2 โทรทศั น์ ท่ีเป็นการแพร่กระจายข้อมูลที่มีท้ังภาพและเสียงพร้อม ๆ กัน ชว่ ยให้เกดิ ความสนใจในการติดตาม แต่ยงั มขี ้อจากัดเกย่ี วกับความสนใจในการเผยแพรผ่ ่านสอื่ ประเภทน้ี เน่ืองจากมีการลงทนุ สงู ไมม่ ีผลกาไรตอบแทน ทาใหไ้ ม่มีหน่วยงานไหนท่จี ะใหก้ ารสนับสนุน อย่างแท้จรงิ และในบางพื้นที่เครือ่ งรบั โทรทัศน์ยังไมส่ ามารถรบั คลน่ื สัญญาณได้อย่างครบถว้ น 3.3 ระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ เป็นการเผยแพร่ผลการวจิ ยั โดยใชร้ ะบบเครอื ข่าย คอมพวิ เตอร์ทมี่ ีการเช่ือมโยงกันดว้ ยระบบอินเทอรเ์ นต็ และมกี ารสืบคน้ ผา่ นฐานข้อมูลขององคก์ ร สถาบันการศึกษา หรือหน่วยงานทั้งในและต่างประเทศได้อยา่ งกว้างขวาง แตข่ ้อจากดั ในการเผยแพร่ ผลการวจิ ยั ผ่านวธิ กี ารนี้ คอื ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มปี ระสิทธิภาพท่ใี ช้สบื คน้ และ ขาดการเชื่อมต่อฐานข้อมูลในระบบเครือข่ายซึ่งกันและกนั
ระเบยี บวิธีการวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หน้าท่ี 423 สาระสาคัญบทท่ี 12 รายงานการวจิ ยั ในการเรียนรู้บทนี้มสี าระสาคัญ ดังนี้ 1. รายงานการวจิ ัย เป็นเอกสารเชงิ วชิ าการที่ผวู้ ิจัยได้จดั ทาขึน้ ภายหลังได้ดาเนนิ การการวิจยั เสร็จสน้ิ แล้ว เพ่ือนาเสนอผลการวจิ ัยใหแ้ กบ่ ุคคลทส่ี นใจ ผู้ให้การสนับสนนุ ทนุ /หนว่ ยงาน ต้นสงั กัด หรอื บคุ คลทต่ี ้องการใช้ประโยชนไ์ ด้รับทราบ และศกึ ษาขอ้ เสนอแนะรวมทงั้ สามารถนา ผลงานวิจยั ไปใช้ประโยชน์ได้ 2. ในการเขยี นรายงานการวจิ ัยใด ๆ มคี วามสาคัญ ดังนี้ 1) เป็นเอกสารทางวิชาการท่ี ก่อให้เกดิ การขยายขอบเขตองคค์ วามรู้ 2) ก่อให้เกิดการพัฒนาวิชาชพี /ศาสตร์ให้มมี าตรฐาน ที่สูงขึน้ และ3) เป็นส่อื กลางระหว่างผ้วู ิจยั กับผ้ทู ี่สนใจในประเดน็ เดียวกัน 3. ในการเขยี นรายงานการวจิ ัยโดยทั่ว ๆ ไปจะมี องค์ประกอบของการเขยี น ดังนี้ 1) องคป์ ระกอบตอนต้น 2) องคป์ ระกอบสว่ นเน้ือเรอ่ื ง 3) องค์ประกอบส่วนทา้ ย 4. องคป์ ระกอบตอนตน้ ท่เี ป็นสว่ นนาของรายงานการวิจยั มีดงั น้ี ปกนอก(เป็นกระดาษ ปกแข็ง) ปกใน กิตตกิ รรมประกาศ หรือประกาศคุณูปการ บทคัดย่อ สารบญั เนอ้ื หา สารบัญตาราง/ บัญชีตาราง สารบญั ภาพประกอบ/ภาพ หนา้ อนมุ ัติ(มีเฉพาะวทิ ยานิพนธ์/ปริญญานพิ นธ์) 5. องคป์ ระกอบสว่ นเนื้อเร่อื ง มีดงั น้ี บทท่ี 1 บทนา( ความเปน็ มาและความสาคัญของ ปัญหา วัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย สมมตุ ิฐานการวจิ ัย(ถ้าม)ี ขอบเขตของการวจิ ัย ข้อตกลงเบือ้ งต้น (ถ้ามี) ข้อจากัดของการวิจยั (ถ้าม)ี และนยิ ามศัพท์เฉพาะ) บทที่ 2 การศกึ ษาเอกสารและงานวิจัย ทเ่ี กีย่ วข้อง บทท่ี 3 วิธีการดาเนินการวิจยั ( ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง แบบแผนของการวิจัย เคร่อื งมือในการวจิ ัย การเก็บรวบรวมขอ้ มูลและ การวิเคราะห์ข้อมลู ) บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู และบทท่ี 5 สรปุ ผลการวิจยั อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 6. องคป์ ระกอบสว่ นท้าย เป็นเอกสารท่ีอยู่ในสว่ นทา้ ยของรายงานการวจิ ยั มีดังน้ี บรรณานกุ รม ภาคผนวก(เคร่ืองมือในการวิจยั ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ท่ีสาคัญ หรอื รายชื่อ ผู้เชีย่ วชาญ) ประวตั ขิ องผู้วจิ ยั ดัชนี(ถา้ มี) ฯลฯ 7. ในกระบวนการเขียนรายงานการวิจัยได้จาแนกการดาเนินการเปน็ ขัน้ ตอน ดังน้ี 1) เตรยี มการเขียนรายงานการวิจัย 2) ลงมอื เขียนรายงานการวิจัย ใหถ้ ูกต้อง และครบถว้ นตาม รูปแบบ และองค์ประกอบในลักษณะของงานวจิ ยั ที่ไดป้ ฏบิ ัติแล้ว 3) หลงั การเขียนรายงานการวจิ ยั 8. การเตรยี มการเขยี นรายงานการวจิ ยั มกี ารดาเนนิ การ ดังนี้1) กาหนดประเภทของผู้ศึกษา 2) กาหนดประเภทของรายงาน 3)จดั เตรยี มข้อมลู /เอกสารและงานวิจยั ที่เกย่ี วข้อง ผลการวเิ คราะห์ ข้อมลู หรือสรปุ ผลการวจิ ยั 4) เลือกวิธกี ารนาเสนอในแตล่ ะประเด็นตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย 5) เขยี นโครงการวิจยั ตามรูปแบบ และองคป์ ระกอบที่เป็นมาตรฐาน 9. ขนั้ ลงมือเขยี นรายงานการวิจยั ใหถ้ ูกต้อง และครบถ้วนตามรปู แบบ และองค์ประกอบ ในลกั ษณะของงานวจิ ัยท่ีได้ปฏิบัตแิ ล้ว
หนา้ ที่ 424 บทท่ี 12 รายงานการวจิ ัย 10. ขนั้ หลังการเขียนรายงานการวิจยั มีการดาเนนิ การ ดงั น้ี 1) นารายงานการวิจัยที่เขียน เสร็จแล้วสง่ พิมพต์ ้นฉบับใหเ้ สรจ็ 2) ตรวจสอบ/พิสจู น์ความถูกต้องของรายงานฉบับทเ่ี ขยี นและ รายงานฉบบั ท่ีพิมพเ์ สร็จ 3) การตรวจรายงานการวิจัยฉบับสมบรู ณ์ครง้ั สุดท้าย แล้วจดั พิมพ์และ เยบ็ เลม่ ตามจานวนที่ต้องการ และถ้าต้องการเผยแพร่ในวารสารจะต้องมกี ารจัดเตรยี มเน้ือหาและ รปู แบบของรายงานตามหลักเกณฑ์ของหนว่ ยงานน้ัน ๆ 11. การประเมนิ งานวิจยั เป็นการพิจารณารายงานการวิจยั ในประเดน็ ต่าง ๆ เทยี บกบั เกณฑ์ แลว้ นาผลมาพิจารณาคุณภาพของงานวิจยั และความรคู้ วามสามารถของผู้วิจยั ว่ามคี วามเหมาะสม หรือไม่ หรือเพ่ือให้ทราบจดุ แข็ง จดุ อ่อน ความสาคัญ คณุ ค่าของงานวิจัย และข้อเสนอแนะ เพ่อื การปรับปรงุ รายงานวิจยั และนาเสนอต่อผวู้ จิ ยั ผู้เกยี่ วขอ้ ง หรือผู้สนใจทวั่ ไปได้รบั ทราบ 12. ในการประเมนิ และการวิจารณ์งานวจิ ัยมปี ระเด็นที่ต้องพจิ ารณา ดังน้ี 1) คุณค่า ประโยชน์ และความสาคญั ของการวิจัย 2) ความเหมาะสมและความถูกต้องตามหลกั การวจิ ัย ( การตรวจสอบความเที่ยงตรงภายใน และความเทยี่ งตรงภายนอก) 3) ความนา่ เช่ือถือของผูว้ จิ ยั และงานวิจัย 13. การเผยแพร่ผลการวิจัย เปน็ กระบวนการดาเนนิ การเพ่ือให้แพร่กระจายผลการวิจยั ทไี่ ดร้ บั มีไปสู่สาธารณชนในการรับทราบและนาไปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ มฉิ ะนั้นจะทาใหเ้ กิด ความสูญเปล่าในการใชท้ รพั ยากรทไ่ี มก่ ่อให้เกดิ ประโยชน์สงู สุดตามจดุ มงุ่ หมายของการวจิ ยั ซึ่งในการเผยแพร่ผลการวจิ ัยมีวิธีการในการเผยแพร่ ดังนี้ 1) การเผยแพรโ่ ดยผูว้ ิจยั เปน็ ส่อื โดยการประชุมสมั มนา หรือการจดั นทิ รรศการ 2) การเผยแพรโ่ ดยใชส้ ื่อสงิ่ พิมพเ์ ป็นส่ือ โดยนาเสนอรายงานการวิจัยฉบบั สมบรู ณ์ รายงานการวจิ ยั ฉบบั ยอ่ วารสารทางวชิ าการ รายงาน การวจิ ยั ประจาปี และหนงั สือพิมพ์ เปน็ ตน้ 3) การเผยแพรโ่ ดยใช้ส่อื อเี ล็กทรอนคิ โดยนาเสนอ ทางวทิ ยกุ ระจายเสียง โทรทัศน์ และ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
ระเบยี บวิธีการวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หนา้ ท่ี 425 คาถามเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารบทที่ 12 รายงานการวจิ ัย คาชี้แจง ให้ตอบคาถามจากประเด็นคาถามท่ีกาหนดให้อยา่ งถกู ต้องและชัดเจน 1. ในการประเมนิ การวจิ ัย ตอบสนองตอ่ วตั ถุประสงค์ใด 2. ใหท้ า่ นระบุเหตผุ ลว่า เพราะเหตุใดผลการวจิ ัยโดยสว่ นมากจึงไมไ่ ดน้ ามาใชป้ ระโยชน์ โดยเฉพาะงานวิจัยในลกั ษณะของวิทยานิพนธ์ 3. ถา้ ให้ท่านเปน็ ผูป้ ระเมนิ การวิจัย ทา่ นจะมีแนวทางการปฏิบัตเิ พ่อื ประเมินรายงาน การวิจยั อย่างไร 4. ใหท้ ่านได้ศึกษางานวิจัย 1 เรอ่ื ง แลว้ ให้ระบวุ า่ ท่านจะสามารถนาผลการวจิ ยั ไปใช้ ประโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งไร 5. ในการเขยี นรายงานการวิจัยมคี วามสาคัญอยา่ งไรต่อการวิจยั นัน้ ๆ 6. ถ้าท่านต้องการให้การเขียนรายงานการวจิ ยั ที่มีคณุ ภาพ ท่านมหี ลกั การในการเขียน รายงานการวจิ ัยอย่างไร 7. ให้ท่านได้ศึกษารายงานการวิจยั 1 เรือ่ ง แล้วใหท้ ่านได้สรุปสาระสาคญั ของแตล่ ะหัวข้อใน บทที่ 1 ถึงบทที่ 4 วา่ มีอะไรบ้าง อย่างไร 8. จากขอ้ ท่ี 7 ใหท้ า่ นไดพ้ จิ ารณาการประเมินรายงานการวจิ ัยฉบับดงั กล่าวว่ามี ความถูกตอ้ ง สมบรู ณต์ ามเกณฑ์การประเมนิ ที่ท่านใชอ้ ย่างไร
บรรณานุกรม ภาษาไทย กรมการการศึกษานอกโรงเรียน,คณะ. ชุดวิชาวจิ ยั ทางการศึกษานอกโรงเรียน : การเลือกปัญหา และการกาหนดปญั หาการวิจัย. กรุงเทพฯ : ประชาชน,2538. กองวเิ คราะหโ์ ครงการและการประเมินผล สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาต.ิ คมู่ อื การประเมินผล ข้อเสนอการวจิ ัยของหนว่ ยงานภาครฐั ท่ีเสนอของบประมาณประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2550 ตามมติคณะรฐั มนตรี. กรงุ เทพ : กองวิเคราะหโ์ ครงการและการประเมนิ ผล สานกั งาน คณะกรรมการวจิ ัยแห่งชาติ,2548. กฤติยา วงศ์ก้อม. ระเบียบวธิ ีวจิ ัยทางสังคมศาสตร.์ กรงุ เทพฯ : สานักพิมพส์ ถาบันราชภัฏสวนสนุ นั ทา, 2545. คณะกรรมการวิจัยแห่งชาต,ิ สานกั งาน. แบบฟอร์มเกย่ี วกับการประเมนิ ผลข้อเสนอการวิจัยของ ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจท่ีเสนอของบประมาณประจาปี 2547 ตามมติคณะรัฐมนตรี. กรุงเทพฯ : กองวเิ คราะหโ์ ครงการและประเมินผล สานักงานคณะกรรมการวิจัยแหง่ ชาติ,2547. จนั ทรานี สงวนนาม. ทฤษฏีและแนวปฏิบัติในการบรหิ ารสถานศึกษา. กรงุ เทพฯ : บุ๊ค พอยท,์ 2545. จุมพล สวสั ดยิ ากร. หลักและวธิ กี ารวิจัยทางสงั คมศาสตร.์ กรงุ เทพฯ : สุวรรณภูมิ,2520. ฉตั รนภา พรหมมา. “การเขยี นเคา้ โครงการวจิ ยั ”การวิจยั เพื่อพัฒนา. 28 : 1-7 , 2532. ชดิ ชนก เชงิ เชาว.์ วธิ ีวิจยั ทางการศึกษา. ปัตตานี : โครงการผลิตตารา มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร,์ 2539. ชัยณรงค์ วงศ์ธรี ะทรัพย.์ “ไต่บนั ไดการวจิ ัย”ในเส้นทางสูน่ ักวิจัยมืออาชพี . บรรณาธิการโดย สมเกยี รติ วัฒนศริ กิ ลุ ชัย และวรี วรรณ เลก็ สกุลไชย. กรุงเทพฯ : บรษิ ัทผลกึ ไทย จากดั ,2544. ชยั เลศิ พชิ ติ พรชัย. “การสืบค้นข้อมลู สารสนเทศทางอิเลกทรอนกิ ส์”ใน เสน้ ทางสูน่ กั วิจัยมืออาชพี . บรรณาธิการโดย สมเกยี รติ วฒั นศิริชัยกุล และวีระวรรณ เลก็ สกุลไชย. กรงุ เทพฯ : บริษทั ผลึกไทย จากัด,2544. ชูศรี วงศ์รัตนะ. เทคนิคการใช้สถติ ิเพอ่ื การวจิ ัย. พิมพ์ครงั้ ท่ี 9. กรุงเทพฯ : เทพนิมติ รการพิมพ์,2546. เทียนฉาย กีระนนั ท์. สงั คมศาสตร์วิจัย. พิมพ์ครัง้ ที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย, 2544. ธนัน อนุมานราชธน. การวิจยั เชิงปริมาณทางสังคมศาสตร.์ กรุงเทพฯ : หจก.เชียงใหมพ่ ิมพส์ วย, 2544. ธรี ะวฒุ ิ เอกะกุล. ระเบียบวธิ วี ิจยั ทางพฤตกิ รรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร.์ พิมพค์ ร้ังท่ี 2. อบุ ลราชธานี : วทิ ยาการพิมพ,์ 2544. นงพรรณ พริ ิยานพุ งศ.์ คมู่ ือวิจยั และพฒั นา. นนทบุรี : โครงการสวสั ดกิ ารวิชาการสถาบัน พระบรมราชชนก,2546.
หน้าท่ี 428 บรรณานุกรม นงลกั ษณ์ วิรัชชยั . พรมแดนความรู้ด้านการวิจยั และสถิติ. บรรณาธิการโดย เนาวรัตน์ พลายน้อย, ชยั ยันต์ ประดิษฐศิลป์ และจุฑามาศ ไชยรบ. ชลบุรี : วิทยาลยั การบรหิ ารรฐั กจิ มหาวิทยาลยั บรู พา,2543. นภิ า ศรีไพโรจน.์ หลักการวิจัยเบือ้ งต้น. พมิ พ์ครง้ั ที่ 2. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั ศึกษาพร จากัด, 2531. บญุ เรียง ขจรศลิ ป.์ วิธวี ิจัยทางการศึกษา. พมิ พค์ รงั้ ท่ี 4 กรุงเทพฯ: พีเอ็นการพิมพ์,2539. บญุ เชดิ ภิญโญอนนั ตพงษ.์ การประเมนิ การเรยี นรทู้ ่เี น้นผ้เู รียนเปน็ สาคัญ. แนวคิดและวธิ กี าร. กรุงเทพฯ : วฒั นาพานชิ , 2545 บญุ เชดิ ภิญโญอนนั ตพงษ.์ การวัดและประเมนิ ผลการศึกษา : ทฤษฏี และการประยกุ ต.์ กรุงเทพฯ : สานักพมิ พ์อักษรเจริญทัศน,์ มปป. บญุ ใจ ศีรสถติ ย์นรากลู . ระเบยี บวธิ กี ารวิจัยทางพยาบาลศาสตร.์ พมิ พ์คร้งั ที่ 3. กรุงเทพฯ : บรษิ ัทยแู อนดไ์ อ อินเตอรม์ เี ดยี จากัด,2547. บุญธรรม กิจปรดี าบรสิ ุทธ์.ิ การวิจัย การวัดและประเมินผล. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ ศรีอนนั ต์, 2533. บุญธรรม กิจปรีดาบรสิ ทุ ธิ์. คู่มอื การวิจัย การเขยี นรายงานการวิจัยและวิทยานิพนธ์. มปท.2540. บญุ ธรรม กจิ ปรดี าบริสทุ ธิ์. เทคนิคการสรา้ งเคร่อื งมือรวบรวมข้อมูลสาหรับการวจิ ยั . กรุงเทพฯ : B&B Publishing,2534. บุญธรรม กจิ ปรีดาบริสทุ ธ์ิ.“หลักการเขียนรายงานทางวิชาการ” ในรวมบทความทางวิธวี ิทยาการ วิจัย เลม่ 2. สมหวัง พิธิยานวุ ัฒน,์ บรรณาธกิ าร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แหง่ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย,2541. บญุ ธรรม จติ อนนั ต์. การวิจยั ทางสังคมศาสตร.์ พิมพ์ครงั้ ที่ 2. กรงุ เทพ ฯ : สานักพิมพ์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์,2540. เปรอื่ ง กมุ ุท และนิคม ทาแดง. “โครงการวทิ ยานพิ นธท์ างเทคโนโลยที างการส่อื สารการศึกษา” ประมวลสาระชุดวิทยานพิ นธ.์ บณั ฑติ ศึกษาสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ นนทบรุ ี :มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมธิราช, 2537 ปารชิ าติ สถาปติ านนท.์ ระเบียบวธิ ีวจิ ัยการสื่อสาร. พมิ พ์คร้งั ที่ 2. สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั , 2546. พระบรมราโชวาทในพธิ ีพระราชทานปรญิ ญาบัตรแกม่ หาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ. 26 มถิ นุ ายน 2523. พชิ ิต ฤทธจิ์ รูญ. ระเบยี บวธิ กี ารวจิ ัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภฏั พระนคร, 2544. พิศษิ ฐ ตัณฑวณิช. สถิตเิ พ่ืองานวิจัยทางการศึกษา. กรงุ เทพฯ : เธริ ์ดเวฟ เอ็ดดูเคชัน่ ,2543. เพ็ญแข แสงแกว้ . การวจิ ัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พม์ หาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร,์ 2541. ผอ่ งพรรณ ตรัยมงคลกูล. การวจิ ยั ในชน้ั เรยี น. . กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์,2543.
ระเบยี บวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หนา้ ที่ 429 ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกูล. “การวิจัยเชงิ ทดลองทางพฤติกรรมศาสตร์” ในการออกแบบวิจยั . บรรณาธิการโดย ผอ่ งพรรณ ตรยั มงคลกูล และสุภาพ ฉตั ราภรณ์. พิมพ์ครง้ั ท่ี 3. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร,์ 2543. ภัทรา นิคมานนท.์ การวจิ ัยทางการศึกษา และสังคมศาสตร์. กรงุ เทพฯ : อกั ษราพิพัฒน,์ 2544.. เยาวดี วิบลู ยศ์ รี. การวัดผล และการสร้างแบบสอบวดั ผลสัมฤทธ.์ิ พมิ พค์ ร้งั ท่ี 2. กรงุ เทพฯ : สานกั พมิ พ์จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ,2540. โยธิน แสวงด.ี “การสนทนากลุม่ ” ในรวมบทความทางวธิ ีวิทยาการวิจัย เล่ม 2. สมหวัง พธิ ยิ านวุ ฒั น,์ บรรณาธกิ าร. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์แหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ,2541. ยวุ ดี ฦาชา และคณะ.วิจยั ทางการพยาบาล.พิมพค์ รงั้ ท่ี 3. กรุงเทพฯ:วคิ ตอรี เพาเวอร์พ็อยด์จากดั , 2532. ราชบณั ฑติ ยสถาน. พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ : บรษิ ัทนานมี บคุ ส์พับลเิ คชัน่ จากดั ,2546. ล้วน สายยศ และองั คณา สายยศ. หลกั การวิจยั ทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : บรษิ ทั ศึกษาพร จากัด,2528. ล้วน สายยศ และองั คณา สายยศ. เทคนคิ การวิจัยทางการศกึ ษา. พมิ พ์ครัง้ ที่ 3. กรงุ เทพฯ : สานักพมิ พ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ, 2538. ล้วน สายยศ และองั คณา สายยศ. สถิติวทิ ยาทางการวจิ ัย. พิมพ์คร้งั ท่ี 3. กรงุ เทพฯ : สวุ ีริยาสาสน์, 2540. วรรณรตั น์ องึ้ สุประเสรฐิ . การวิจยั ทางการศึกษา. กรุงเทพฯ:คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏจันทร์เกษม 2544. วรญั ญา ภทั รสุข. ระเบียบวิธีวิจยั ทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , 2545. วนั ชัย เดชชนะ และไพจิตร ปุญญพนั ธ์. “การพิมพ์ และการพิสูจนอ์ กั ษร และการใช้หรือการอ้างอิง งานบคุ คลอ่นื ตามพระราชบญั ญัตลิ ขิ สทิ ธิ์ พ.ศ.2521” เอกสารชดุ ฝกึ อบรมการเปน็ บรรณาธิการ ชุดวชิ า. นนทบุรี : โรงพมิ พ์มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมมาธริ าช,2531. วิเชยี ร เกตุสิงห์. คมู่ ือการวิจัยเชิงปฏิบัติ. พิมพค์ รั้งท่ี 3. ไทยวัฒนาพานชิ จากัด,2541. วเิ ชยี ร เกตสุ ิงห.์ หลักการสร้างและวเิ คราะห์เครือ่ งมอื ท่ใี ช้ในการวิจยั . กรงุ เทพฯ : ไทยวฒั นาพานชิ , 2530. วิเชยี ร เกตุสิงห.์ คู่มือการวจิ ยั : การวิจยั เชิงปฏบิ ตั .ิ กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช,2541. วริ ชั วรรณรตั น.์ เอกสารประกอบการสอน วิธกี ารวจิ ัยทางพฤตกิ รรมและสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ : สานกั ทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ ประสานมิตร,2529. เวชยันต์ เฮงสวุ นชิ . เอกสารประกอบการบรรยายเรื่องหลกั การกาหนดโครงการวิจัยใหไ้ ดค้ ุณภาพ สมควรได้รับการสนับสนนุ . 2537.
หนา้ ที่ 430 บรรณานุกรม ศิริชัย กาญจนวาสี. “ตัวแปรสาหรบั การวิจัย : การคดั เลือก การวดั และการควบคุม” ในรวมบทความ ทางวิธวี ิทยาการวจิ ัย เลม่ 2. สมหวัง พิธยิ านุวัฒน,์ บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพแ์ ห่ง จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2541. ศิริชยั กาญจนวาส.ี “วิธวี ิทยาชน้ั สงู ด้านการวดั และประเมินผลการศกึ ษา,” วิทยาการวจิ ัย. 7(2) : 37-41,2538. ศิริชัย กาญจนวาสี. ทฤษฏีการทดสอบด้ังเดิม. พิมพ์ครง้ั ที่ 4. กรุงเทพฯ : โรงพิมพแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2544. ศริ ชิ ยั กาญจนวาสี. ทฤษฎกี ารประเมนิ .พิมพ์ครั้งท่ี 3.กรุงเทพฯ : สานกั พิมพแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย,2545 ศริ ิชัย กาญจนวาสี,ทววี ฒั น์ ปติ ยานนท์ และ ดิเรก ศรีสุโข.การเลอื กใชส้ ถิติทเี่ หมาะสมสาหรบั การวิจยั . กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, 2537. ศริ ิพงษ์ เศาภายน.การวจิ ยั ทางการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : บุ๊ค พอยท,์ 2546. สมคดิ พรมจยุ้ . การเขียนโครงการวจิ ยั : หลกั การและแนวปฏบิ ัติ. นนทบรุ ี : จตพุ รดไี ซน์, 2545. สมพร พฒุ ตาล เบท็ ซ.์ แนวทางการศึกษาคน้ ควา้ และเรียบเรยี งรายงานวิชาการ. กรงุ เทพฯ : บริษัท แอคทีฟ พร้นิ ท์ จากัด,2546. สมหวัง พธิ ยิ านวุ ัฒน์. “การกาหนดตัวแปรในการวิจัย”ในรวมบทความทางวธิ วี ทิ ยาการวิจัย เล่ม 2. สมหวงั พธิ ิยานุวฒั น์,บรรณาธิการ. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย,2541. สมหวัง พธิ ิยานุวัฒน.์ “การออกแบบการวิจัย” ใน การวจิ ยั ทางการศึกษา : หลักและวธิ กี ารสาหรับ นักวิจัย. พมิ พ์ครั้งท่ี 2. กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2530. สมหวงั พิธยิ านุวฒั น.์ “ความรพู้ ื้นฐานสาหรับการประเมินโครงการทางการศกึ ษา”ในรวมบทความ ทางการประเมนิ โครงการ. บรรณาธกิ ารโดย สมหวัง พธิ ิยานวุ ฒั น์.กรงุ เทพฯ : สานักพมิ พ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2535. สรชยั พศิ าลบุตร. วิธวี ิจัยเชิงปฏิบัต.ิ กรุงเทพฯ : วทิ ยพฒั น,์ 2544. สภาวิจัยแห่งชาต.ิ แนวทางการปฏบิ ตั ิจรรยาบรรณนกั วจิ ัย. เอกสารเผยแพร่เกีย่ วกับจรรยาบรรณ การวิจัย. กรงุ เทพฯ : สานกั งานคณะกรรมการการวจิ ัยแหง่ ชาต,ิ 2541. สวัสดิ์ ประทุมราช. “สมมตุ ฐิ านการวจิ ยั ” ในรวมบทความทางวิธีวิทยาการวิจัย เล่ม 2. สมหวงั พิธิยานวุ ัฒน์,บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2541. สนิ พนั ธพ์ุ นิ ิจ. เทคนคิ การวิจยั ทางสังคมศาสตร์. กรงุ เทพฯ : วทิ ยพฒั น์ 2547. สุชาติ โสมประยูร และ วรรณี โสมประยูร. เทคนิคและประสบการณ์งานวจิ ยั ทางการศกึ ษา. กรุงเทพฯ : สานักพมิ พ์ บริษทั พฒั นาคุณภาพวชิ าการ(พว.)จากดั ,2546. สุวิมล ตรกิ านันท.์ การใช้สถติ ิในงานวจิ ัยทางสังคมศาสตร์ : แนวทางสู่การปฏบิ ตั ิ. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ แหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ,2547.
ระเบยี บวิธีการวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าที่ 431 สวุ ิมล ตรกิ านันท.์ ระเบยี บวิธีการวิจยั ทางสังคมศาสตร์ :แนวทางสกู่ ารปฏบิ ตั .ิ พิมพ์คร้ังท่ี 2. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์แห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ,2543. สวุ มิ ล ว่องวานิช และนงลกั ษณ์ วริ ชั ชัย. แนวทางการให้คาปรึกษาวทิ ยานพิ นธ์. กรงุ เทพฯ : ศูนย์ตารา และเอกสารทางวชิ าการ คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย,2546. สุวรรณา ธุรโชต.ิ วิธีวิจัยทางสหกรณ.์ กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์,2541. สชุ าดา บวรกติ วิ งศ.์ สถิติประยกุ ต์ทางพฤติกรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ : สานกั พิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั ,2548. สชุ าติ ประสทิ ธิ์รัฐสนิ ธ.์ จริยธรรมทางวิชาการ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เฟอื่ งฟ้า,2542. สุชาติ ประสทิ ธริ์ ัฐสินธุ.์ ระเบยี บวิธีการวจิ ัยทางสงั คมศาสตร.์ พมิ พ์ครง้ั ท่ี 12. กรุงเทพฯ : สถาบนั บณั ฑิตพัฒนบรหิ ารศาสตร์,2546. สภุ าพ วาดเขียน. วธิ ีวิจัยและสถิตทิ างการวิจัยในศึกษาศาสตร.์ กรุงเทพ ฯ :ไทยวัฒนาพานชิ ,2523. พจนานกุ รมราชบัณฑติ ยสถาน 2546. สวุ รรณา ธุรโชต.ิ วธิ วี ิจัยทางสหกรณ์. กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์,2541. สุวิมล ตริกานนั ท.์ “ตัวแปร ตวั บง่ ช้ี และเกณฑใ์ นการประเมินผล” เทคนคิ การประเมนิ โครงการ. นนทบรุ ี : สานักการศึกษาต่อเนื่อง มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช,2542. อนนั ต์ ศรีโสภา. หลักการวิจัยเบ้อื งต้น. กรงุ เทพฯ : บริษทั สานักพมิ พ์วฒั นาพานชิ จากัด , 2521. อัญญานี คล้ายสุบรรณ์ และพงษ์ศกั ด์ิ รักษาเพชร. “การเขียนบทคัดย่องานวจิ ยั ” ในวารสารบณั ฑิต วิทยาลัยสถาบนั ราชภัฏกาญจนบรุ .ี ปีที่ 1 ฉบบั ท่ี 1 มถิ ุนายน –พฤศจิกายน 2546. อาธง สุทธาศาสน์. ปฏบิ ัติการวจิ ัยสังคมศาสตร.์ กรงุ เทพฯ : เจา้ พระยาการพิมพ์, 2527. อุทุมพร จามรมาน(ทองอุไทย). การทาวจิ ยั เชงิ สารวจ. กรงุ เทพฯ : หา้ งหนุ้ สว่ น ฟนั นีพ่ บั ลชิ ชิง่ , 2537. ภาษาต่างประเทศ Anderson,L.W. and R.B.Burns. Research in Classrooms.New York :Pergamon Press,1989. Babbie,E.R. The Practice of Social Research. 6th ed. California : Wadsworth Publishing Company,1992. Bailey,K.D. Methods of Social Research. 3rd ed. London:Collin Macmiilan Publisher,1987. Bell,J. Doing Your Research Project : A Guide for First-time Researchers in Education and Social Sciences. Buckingham,Philadephia :Open University Press,1993. Beri,G.C. Marketing Research. New Delhi : Tata McGraw-Hill Publishing Company Limited,1989. Best.J.W. Research in Education. New York : Prentice-Hall,Englewood Cliffs,1977. Best, John W. Research in Education. Englewood cliff, CA : Prentice –Hall,Inc., 1981.
หน้าท่ี 432 บรรณานุกรม Best, John W. Research in Education. New Jersey : Prentice Hall Tnc.,1986. Best John W. and Khan, Jame V. Research in Education. 8th.ed. Boston : Allyn & Bacon,1998. Black,T.P. Doing Quantitative Research in the Social Science : An Tntegrated Approach to Research Design,Measurement and Statistics. London : Sage,1999. Brog,W. and Gall,M.D. Education Research : An Introduction. New York : David Mckay,1971. Brog,W.R. and Gall M.D. Educational Research An Introduction. 5th ed. New York : Longman,1989. Brown,F.G. Principles of Educational and Psychological Testing. New York : Holt,Rinehart and Winston,1979. Burns,N. and Grove,S.K. The Practice of Nursing Research : Conduct Critique and Utilization. 3rd ed. Chicago : Rand Mcnally,1997. Cambell, D.T. and J.C.Stanley.Experimental and Quasi-Experimental Design for Research. Boston : Houghton Mifflin,1969. Cochran, W.G. Sample Techniques. 3rd ed. New York : Wiley,1997. Cohen,L.and Manion L. Research Methods in Education. 4th ed. London: Ratledge,1994. Courtney,E.Wayne. Sampling. Covellis.Oregon : Sandering Press,1991. Davis,L. “Instrument review : Getting the Most from your Panel of Experts,” Applied Nursing Research,5.104-107,1992. Dixon B. R. and Others. A Handbook of Social Science Research.New York :Oxford University Press,1987. Dooley,D. Social Research Methods. 3rd ed. New Jersey : Prentice-Hall,1995. Ebel,R.L. Essential of Educational Measurment. 3rd ed. New Jersey : Prentice-Hall, Inc., 1978. Ebel,R.L. and Frisbie,D.A. Essentials of Educational Measurement. New Jersey : Prentice Hall,Inc.,1986. Edward,A.L. Techniques of Attitude Scale Construction. New York : Appleton Century Crofts,Inc.,1987.
ระเบยี บวิธกี ารวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หนา้ ท่ี 433 Ethride,Don. Research Methodology in Applied Economics : Organizing,Planning and Conducting Economic Research. Ames,Iowa : Iowa State University Press 1995. Ferguson,G.A. and Takane,Y. Statistical Analysis in Psychology and Education. New York : McGraw-Hill International Edition,1989. Frankel,J.R. and N.E.Wallen. How to Design and Evaluate Research in Education.2nd ed. New York : Mcgraw-Hill,1993. Frankel,J.R. and N.E.Wallen. How to Design and Evaluate Research in Education.3rd ed. New York : Mcgraw-Hill,1996. Freund,J.E. and Walpole,R.E. Mathematical Statistics. London : Prentice Hall International,Inc.,1980. Gall M.D. &W.R.Brog and J.P.Gall. Education Research : An Introduction. 6th ed. NewYork : Longman Publisher,1996. Gay.L.R. Educational Research Competencies for Analysis and Application.4th ed. New York : McMillan Publishing Company,1992. Gay,L.R. Educational Research : Competencies for Analysis and Application. 6th ed. New Jersey : Prentice Hall,Inc.,1996. Gersten,R.,Baker,S., and Lloyd,J.W. “Designing High-quality Research in Speacial Education : Group Experimental Design,” Journal of Speacial Education,34(1), 2-18,2000. Glass,G.V. and Hopkins,K.D. Statistical Methods in Education and Psychology.2nd ed. New Jersey : Prentice Hall,1984. Gronlund,N.E. Measurment and Evaluation in Teaching. 3rd ed. New York : McMillan Publishing Co.,Inc.,1976. Gronlund,N. E. Measurment and Evaluatuion in Teaching. New York : McmMillan Publishing Company,1985. Gronlund,N.E.How to Make Achievement Tests and Assessment. 5th ed. Boston : Allyn and Bacon,1993. Guiford,J.P. and Benjamin ,F. Fundamental Statistics in Psychology and Education. McGraw-Hill Kogakusha,Ltd.,1978. Hart,C. Doing a Literature Review. Thousand Oaks,California : Sage Publications,1998. Huntberger,D.V. Element of Statistical Inference. 2nd ed. Boston : Allyn and Bacon, 1967.
หน้าท่ี 434 บรรณานกุ รม Issac,S and Michael,B.W. Handbook Research and Evaluation. 2nd ed. Callifornia : Edits Publishers,1982. Kerlinger,N.F.Foundations of Behavioral Research. Quezon City : Phoenix Press,Inc.,1973. Kerlinger,F.N. Behavioral Research : A Conceptual Approach.NewYork:Holt.Rinehart and Winston,1979. Kerlinger, N.F. Foundations of Behavioral Research. 3rd ed. New York : Holt Rinehard & Winston,Inc.,1986. Kidder,L.H. and Others. Research Methods in Social Relations. NewYork :CBS Publishing Ltd.,1986. Kirk,R.E. Experimental Design : Procedured for the behavioral sciences. 3rd ed. California : Brooks/Cole,1995 Kohout,F.J. Statistics for Social Scientists : A Coordinated Learning System. New York : John Wiley,1974. Koul,Lokesh. Methodology of Educational Research. New Delhi : Vani Education Book, 1984. Krejcie.R.V. & D.W.Morgan. “Determining Sample Size for Research Activities .”Education and Psychological Measurement.30(1970):607-610. Liebert,R.M. and L.L. Liebert . Science and Behavior : An Introduction Methods of Psychological Research. 4th ed. New Jersey : Prentice –Hall,1995. May,T. Social Research :Issue,Methods and Process. 2nd ed. Buckingham : Open University Press,1997. McBurney,D.H. Research Methods. 3rd ed. Califonia : Brooks/Cole,1994. Mclver, John P. and Carmines,Eward G. Unidimentional Scaling. London : Sage Publications,1981. Mehrens,W.A. and Lehmann,I.J. Measurement and Evaluationand Psychology. Japan : Holt,Rinehart and Winston,1984. Merriam,S.B. Qualitative Research and Case Study Applications in Education. California : Jossey-Bass,1998. Miller, L.E. Research Methods. Department of Agricultural Education,Ohio State University, Ohio.(Learning materials),1990. Milton, J.S. and Arnold, J.C. Introduction to Probability and Statistics. McGraw- Hill,Publishing Company,1990.
ระเบยี บวิธีการวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หนา้ ท่ี 435 Mutchnick, Robert J. and Berg, Bruce L. Research Method for the Social Science : Practice and Applications, London : Allyn and Bacon,1998. Nachmias,F.C. and Nachmias,D. Research Methods in Social Sciences. 4th ed. London: St.Martin Press Inc.,1993. Neuman,W.L. Social Research Methods : Qualitative and Quantitative Approaches. Boston : Allyn and Bacon,1991. Neuman,W.L. Social Research Method : Qualitative and Quantitative Approaches. 3rd ed. Boston : Allyn and Bacon,1997. Noll,A.N. Questionaire Design Attitude Measurement. New York : Basic Book Publisher Inc.,1989. OXFORD ADVANCE LEARNER’S DICTIONARY. 4th ed. OXFORD : Oxford University Press,1994. Polit,D.F. and Hungler,B.P. Nursing Research : Principle and Methods. 3rd ed. Philadelphia : Lippincott,1987. Punch,K.F. Introduction to social science Research :Quantitative and Qulitative Approach. London : SAGE Publications, 1998. Punpinij.S. “Role Performance of Sub-district Agricultural Extension Officers in Northeastern Thailand,” Doctoral Dissertation. Department of Agricultural Education and Rural Studies.University of the Philippines Los Banos,1990. Rosenthal,R. and Rosnow, R.L.Essentials of Behavioral research : Method and Data Analysis. New York : McGraw-hill,Inc., 1991. Rovinelli,R.J. and Hambleton,R.K. “On the Use Content Specialiats in the Assessment of Criterin Reference Test Item Validity,” Dutch Journal of Educational Research. 2,1977 : 49-60 Runyon,R.P and Harber,A. Fundamentals of Behavioral Statistics. 4th ed. Addison- Wesley Publishing Company,Inc.,1980. Sandy,Robert. Statistics for Bussiness and Economics. New York : McGraw-Hill International Edition,1990. Sedlack,R.G. and Stanley,J. Social Research : Theory and Methods. Boston : Allyn and Bacon,1992. Thomas,R.M and Dale L. B. Thesis and Dissertations : A Guide to Planing,Research and Writing.Westport .Connecticut : Bergin & Garvey,2000.
หน้าที่ 436 บรรณานุกรม Thomas,J.R and Nelson,J.K. Research Methods in Physical Activity. Illinois : Human Kinetics Books,1996. Van Dalen, Deobad B. Understanding Educational Research. New York, McGraw Hill,1979. Wainer H. and Braun,H.I. Test Validity. U.S.A. Lawrence Erlbaum Associates,Inc.,1988. Webster’s Ninth New Collegiate Dictionary. Springfield,Massachusette : Merrian- Webster,Inc.,1991. Wierma,W. Research Methods in Education : An Introduction.6th ed. Massschusetts : Allyn & Bacon A Simmon and Schuster Company,1995. Wiersma, William. Research Methods In Education. 7th ed.Boston : Allyn and Bacon,2000. Wiess, N.A. Introductory Statistics. Addison-Wesley Publishing Company,Inc.,1995. Wilkinson,J. “Direct Observation in G.M.Breakwell,S.Hammond,and C.Fife-Svhaw.” (eds)Research Methods in Psychology.California :SAGE Publications.1995. Yamanae,Taro. Statistics:An Introductory Analysis. 3rd ed. New York : Harper & Row Publishers,Inc.,1973
ระเบียบวิธกี ารวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หน้าท่ี 437 ตารางภาคผนวกท่ี 1 ตารางเลขสุ่มของSnedecor 00-04 05-09 10-14 15-19 20-24 25-29 30-34 35-39 40-44 45-49 00 54463 22662 65905 70639 79365 67382 29085 69831 47058 06186 01 15389 85205 18850 39226 42249 90669 96325 23248 60933 26927 02 85941 40756 82414 02015 13858 78030 16269 65978 01385 15345 03 61149 69440 11286 88218 58925 03638 52862 62733 33451 77455 04 05219 81619 10651 67079 92511 59888 84502 72095 83463 75577 05 41417 98326 87719 92294 46614 50948 64886 20002 97365 30976 06 28357 94070 20652 35774 16249 75019 21145 05217 47286 76305 07 17783 00015 10806 83091 91530 36466 39981 62481 49177 75779 08 40950 84820 29881 85966 62800 70326 84740 62660 77379 90279 09 82995 64157 66164 41180 10089 04157 78258 96488 88629 37231 10 96754 17676 55659 44105 47361 34833 86679 23930 53249 27083 11 34357 88040 53364 71726 45690 66334 60332 22554 90600 71113 12 06318 37403 49927 57715 50423 67372 63116 48888 21505 80182 13 62111 52820 07234 79931 89292 84767 85693 73947 22278 11551 14 47534 09243 67879 00544 23410 12740 02540 54440 32949 13491 15 98614 75993 84460 62846 59844 14922 48730 73443 48167 34770 16 24856 03648 44898 09351 98795 18644 19765 71058 90368 44104 17 96887 12479 80621 66223 86085 78285 02432 53342 42846 94771 18 90801 21472 42815 77408 37390 76766 52615 32141 30268 18106 19 55165 77312 83666 36028 28420 70319 81369 41943 47366 41067 20 75884 12952 84318 95108 72305 64620 91318 89872 45375 85436 21 16777 37116 58550 42958 21460 43910 01175 87894 81378 10620 22 46230 43877 80207 88877 89380 32992 91380 03164 98656 59337 23 42902 66892 46134 01432 94710 23474 20423 60137 60609 13119 24 81007 00333 39693 28039 10154 95425 39220 19774 31782 49037 25 68089 01122 51111 72373 06902 74373 96199 97017 41273 21546 26 20411 67081 89950 16944 93054 87687 96693 87236 77054 33848 27 58212 13160 06468 15718 82627 76999 05999 58680 96739 63700 28 70577 42866 24969 61210 76046 67699 42054 12696 93758 03283 29 94522 74358 71659 62038 79643 79169 44741 05437 39038 13163 30 42626 86819 85651 88678 17401 03252 99547 32404 17918 62880 31 16051 33763 57194 16752 54450 19031 58580 47629 54132 60631 32 08244 27647 33851 44705 94211 46716 11738 55784 95374 72655 33 59497 04392 09419 89964 51211 04894 72882 17805 21896 83864 34 97155 13428 42093 09985 58434 01412 69124 82171 59058 82859 35 98409 66162 95763 47420 20792 61527 20441 39435 11859 41567 36 45476 84882 65109 96597 25930 66790 65706 61203 53634 22557 37 89300 69700 50741 30329 11658 23166 05400 66669 48708 03887 38 50051 95137 91631 66315 91428 12275 24816 68091 71710 33258 ที่มา :อุทุมพร จามรมาน,2532 : 51
หนา้ ท่ี 438 ภาคผนวก .0005 ตารางภาคผนวกท่ี 2 การแจกแจงแบบที(t-distribution) .001 ระดบั นยั สาคญั สาหรับการทดสอบแบบทางเดยี ว 636.619 .10 .05 .025 .01 .005 31.598 df ระดบั นัยสาคญั สาหรับการทดสอบแบบสองทาง 12.941 .20 .10 .05 .02 .01 8.610 6.859 1 3.078 6.314 12.706 31.821 63.657 2 1.886 2.920 4.303 6.965 9.925 5.959 3 1.638 2.353 3.182 4.541 5.841 5.405 4 1.533 2.132 2.776 3.747 4.604 5.041 5 1.476 2.015 2.571 3.365 4.032 4.781 6 1.440 1.943 2.447 3.143 3.707 4.587 7 1.415 1.895 2.365 2.998 3.499 8 1.397 1.860 2.306 2.896 3.355 4.437 9 1.383 1.833 2.262 2.821 3.250 4.318 10 1.1372 1.812 2.228 2.764 3.169 4.221 11 1.1362 1.796 2.201 2.718 3.106 4.140 12 1.356 1.782 2.179 2.681 3.055 4.073 13 1.350 1.771 2.160 2.650 3.012 14 1.345 1.761 2.145 2.624 2.977 4.015 15 1.341 1.753 2.131 2.602 2.947 3.965 16 1.337 1.746 2.120 2.583 2.921 3.922 17 1.333 1.740 2.110 2.567 2.898 3.883 18 1.330 1.734 2.101 2.552 2.878 3.850 19 1.328 1.729 2.093 2.539 2.861 20 1.325 1.725 2.086 2.528 2.845 3.819 21 1.323 1.721 2.080 2.518 2.831 3.792 22 1.321 1.717 2.074 2.508 2.819 3.767 23 1.319 1.714 2.069 2.500 2.807 3.745 24 1.318 1.711 2.064 2.492 2.797 3.725 25 1.316 1.708 2.060 2.485 2.787 26 1.315 1.706 2.056 2.479 2.779 3.707 27 1.314 1.703 2.052 2.473 2.771 3.690 28 1.313 1.701 2.048 2.467 2.763 3.674 29 1.311 1.699 2.045 2.462 2.756 3.659 30 1.310 1.697 2.042 2.457 2.750 3.646 40 1.303 1.684 2.021 2.423 2.704 3.551 60 1.296 1.671 2.000 2.390 2.660 3.460 120 1.289 1.658 1.981 2.358 2.617 3.373 1.282 1.645 1.960 2.326 2.576 3.291
ระเบียบวธิ ีการวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หนา้ ท่ี 439 ตารางภาคผนวกท่ี 3 การแจกแจงแบบเอฟ(F-distribution)ที่ระดบั นยั สาคญั ทางสถิติ .10
หนา้ ท่ี 440 ภาคผนวก ตารางภาคผนวกที่ 4 การแจกแจงแบบเอฟ(F-distribution)ท่รี ะดบั นัยสาคญั ทางสถิติ .05
ระเบยี บวธิ กี ารวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หน้าท่ี 441 ตารางภาคผนวกท่ี 5 การแจกแจงแบบเอฟ(F-distribution)ทร่ี ะดับนยั สาคัญทางสถิติ .01
หนา้ ท่ี 442 ภาคผนวก .0005 ตารางภาคผนวกที่ 6 การแจกแจงไครส์ แควร(์ 2-distribution) .001 ระดบั นยั สาคญั สาหรับการทดสอบแบบทางเดยี ว 10.83 .10 .05 .025 .01 .005 13.82 df ระดบั นัยสาคญั สาหรับการทดสอบแบบสองทาง 16.27 .20 .10 .05 .02 .01 18.46 20.52 1 1.64 2.71 3.84 5.41 6.64 22.46 2 3.22 4.60 5.99 7.82 9.21 24.32 3 4.64 6.25 7.82 9.84 11.34 26.12 4 5.99 7.78 9.49 11.67 13.28 27.88 5 7.29 9.24 11.07 13.39 15.09 29.59 6 8.56 10.64 12.59 15.03 16.81 31.26 7 9.80 12.02 14.07 16.62 18.48 32.91 8 11.03 13.36 15.51 18.17 20.09 34.53 9 12.24 14.68 16.92 19.68 21.67 36.12 10 13.44 15.99 18.31 21.16 23.21 37.70 11 14.63 17.28 19.68 22.62 24.72 39.29 12 15.81 18.55 21.03 24.05 26.22 40.75 13 16.98 19.81 22.36 25.47 27.69 42.31 14 18.15 21.06 23.68 26.87 29.14 43.82 15 19.31 22.31 25.00 28.26 30.58 45.32 16 20.46 23.54 26.30 29.63 32.00 46.80 17 21.62 24.77 27.59 31.00 33.41 48.27 18 22.76 25.99 28.87 32.35 34.80 49.73 19 23.90 27.20 30.14 33.69 36.19 51.18 20 25.04 28.41 31.41 35.02 37.57 52.62 21 26.17 29.62 32.67 36.34 38.93 54.05 22 27.30 30.81 33.92 37.66 40.29 55.48 23 28.43 32.01 35.17 38.97 41.64 56.89 24 29.55 33.20 36.42 40.27 42.98 58.30 25 30.68 34.38 37.65 41.57 44.31 59.70 26 31.80 35.56 38.88 42.86 45.64 27 32.91 36.74 40.11 44.14 46.96 28 34.03 37.92 41.34 45.42 48.28 29 35.14 39.09 42.69 46.69 49.59 30 36.25 40.26 43.77 47.96 50.89
ระเบยี บวิธกี ารวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หน้าท่ี 443 ตารางภาคผนวกท่ี 6 การแจกแจงไคร์สแควร์(2-distribution)(ตอ่ ) .0005 ระดบั นยั สาคญั สาหรับการทดสอบแบบทางเดยี ว .001 .10 .05 .025 .01 .005 54.05 df ระดบั นยั สาคญั สาหรับการทดสอบแบบสองทาง 55.48 .20 .10 .05 .02 .01 56.89 58.30 26 31.80 35.56 38.88 42.86 45.64 59.70 27 32.91 36.74 40.11 44.14 46.96 62.49 28 34.03 37.92 41.34 45.42 48.28 65.25 29 35.14 39.09 42.69 46.69 49.59 67.99 30 36.25 40.26 43.77 47.96 50.89 70.70 32 38.47 42.59 46.19 50.49 53.49 73.40 34 40.68 44.90 48.60 53.00 56.06 78.75 36 42.88 47.21 51.00 55.49 58.62 84.04 38 45.08 49.51 53.38 57.97 61.16 89.27 40 47.27 51.81 55.76 60.44 63.69 94.46 44 51.64 56.37 60.48 65.34 68.71 99.61 48 55.99 60.91 65.17 70.20 73.68 52 60.33 65.42 69.83 75.02 78.62 56 64.66 69.92 74.47 79.62 83.51 60 68.97 74.40 79.08 84.58 88.38
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 453
Pages: