หนา้ ท่ี 38 บทที่ 2 กระบวนการวิจัยและการวิเคราะหป์ ัญหาการวจิ ยั อุดมการณห์ รือแนวคดิ ความอยากร้อู ยากเหน็ ปรากฎการณ์ ความคดิ รวบยอดเชงิ ทฤษฎี ประชากรท่จี ะศกึ ษา การกาหนดปญั หา กาหนดสมมตุ ฐิ าน ตวั แปรทจี่ ะศกึ ษา เทคนคิ การส่มุ ตวั อย่าง ตัวแปรท่จี ะวัด กลมุ่ ตวั อยา่ งท่ีจะศกึ ษา ดัชนีและระดบั ขอ้ มลู สถติ ิเชงิ บรรยาย เครื่องมือที่ใช้ สถิตเิ ชิงอ้างองิ การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ขอ้ มูล การจดั ระบบข้อมลู การวเิ คราะห์ข้อมลู การแปลผลการวิเคราะหข์ ้อมลู การเขยี นรายงานผลการวจิ ยั ภาพท่ี 2.4 กระบวนการการวิจยั ของจมุ พล สวสั ดิยากร
ระเบยี บวิธกี ารวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หนา้ ที่ 39 พรุน(Punch,1998:42) ไดน้ าเสนอกระบวนการวิจยั 2 ขน้ั ตอน คือ ขน้ั ท่ี 1 ขัน้ กอ่ นหา ความจรงิ เชงิ ประจักษ์ ทเ่ี รม่ิ ต้นจากปญั หาการวจิ ยั และกาหนดสมมุติฐานการวิจยั และข้ันท่ี 2 ข้ันการหาความจริงเชงิ ประจักษ์ ท่มี ีการออกแบบการวจิ ัย การเก็บรวบรวมข้อมลู การวเิ คราะห์ข้อมูล การแปลความหมายและสรุปผล จนกระทง่ั การเขยี นรายงานการวิจัย ดังแสดงในภาพที่ 2.5 เอกสารและงานวิจยั ท่ีเกีย่ วข้อง สาขาวิชาที่วจิ ัย ปัญหาการวจิ ัย ปรากฏการณ์ สมมติฐาน ทฤษฏี ขน้ั กอ่ นการหา ขอ้ มูลทจี่ ะใช้ทดสอบ ความจรงิ เชิงประจกั ษ์ Pre-empirical Stage สมมุตฐิ าน การออกแบบการวิจัย ข้นั การหา การเก็บรวบรวมข้อมูล ความจรงิ เชิงประจักษ์ Empirical Stage การวเิ คราะห์ข้อมลู การแปลความและการสรปุ ผล การเขียนรายงาน ภาพท่ี 2.5 กระบวนการวิจยั ตามแนวคดิ ของพรนุ
หนา้ ท่ี 40 บทท่ี 2 กระบวนการวิจยั และการวิเคราะห์ปัญหาการวิจยั นงลกั ษณ์ วิรัชชยั (2543 : 7) ไดน้ าเสนอวงจรการวจิ ัย ดังแสดงในภาพที่ 2.6 ทฤษฎี หลักการ ผลงานวิจัย การให้ข้อเสนอแนะ รูปแบบ/สมมตุ ิฐานการวจิ ยั การอภปิ รายผล สรุปผล ปัญหาการวจิ ยั การออกแบบการวจิ ัย จุดวิกฤตที่ 1 จดุ วิกฤตท่ี 2 การแปลความหมาย/อ้างอิง การสมุ่ กลุม่ ตัวอย่าง การวเิ คราะหข์ ้อมลู การสรา้ งเคร่อื งมอื การรวบรวมข้อมูล ภาพท่ี 2.6 วงจรขน้ั ตอนการวจิ ัยของนงลกั ษณ์ วริ ัชชัย จากภาพท่ี 2.6 สามารถอธบิ ายไดว้ า่ เส้นท่ีลากผา่ นแนวนอนจะแบ่งกระบวนการวิจัย ออกเปน็ 2 สว่ น คอื ส่วนบนเป็นการดาเนนิ การเกยี่ วกับทฤษฏี หลกั การทีเ่ ปน็ นามธรรม และส่วนล่าง เป็นส่วนท่ีเกี่ยวกบั กล่มุ ตัวอย่าง การรวบรวมขอ้ มลู และการวิเคราะห/์ แปลความหมายท่ีเป็นรปู ธรรม โดยทจ่ี ดุ วกิ ฤตท่ี 1 เป็นการนิยามเชิงปฏิบัติการให้สอดคล้องกบั นิยามทฤษฏีเพ่อื ใหก้ ารสร้างเคร่อื งมือ ให้มีประสิทธภิ าพ การสมุ่ ตวั อยา่ งให้เป็นตวั แทนที่ดีของประชากรจะต้องกาหนดขนาดตัวอย่างและ เลอื กใช้วิธกี ารสุ่มทเ่ี หมาะสม การเก็บรวบรวมทีม่ ีการวางแผนที่จะได้ข้อมูล และเลือกสถิตทิ ใี่ ช้ วเิ คราะห์ข้อมลู ให้เหมาะสม และจดุ วิกฤตท่ี 2 เปน็ ความสามารถในการวิเคราะห์และแปลความหมาย ของผลการวิเคราะห์ที่จะสรุปอ้างองิ ผลการวจิ ัยจากกลุม่ ตัวอยา่ งสปู่ ระชากรได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ สชุ าติ ประสิทธิ์รฐั สินธ(์ุ 2546 : 15) ไดส้ รุปความสมั พนั ธ์ของข้ันตอนในการดาเนนิ การวจิ ัย ท่ี มคี วามสมั พนั ธ์และเชอ่ื มโยงกัน ดงั แสดงในภาพท่ี 2.7
ระเบียบวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หนา้ ที่ 41 กาหนดหัวข้อ ทบทวน ตพี ิมพร์ ายงาน กาหนด วรรณกรรม เผยแพร่ ประเด็น กรอบ แนวความคดิ รา่ งรายงาน ปรับปรงุ การวจิ ัย ออกแบบ สมมุตฐิ าน รายงาน วิจยั สุ่ม วิเคราะห์ สรา้ งและพฒั นา ตัวอย่าง กาหนด ข้อมูล จดั ระเบยี บขอ้ มลู เครอ่ื งมือ ประชากร กาหนดวธิ ีการ เก็บรวบรวมขอ้ มลู ภาพท่ี 2.7 ความสมั พันธข์ องขน้ั ตอนในการดาเนนิ การวจิ ัย ทม่ี ีความสัมพันธแ์ ละเชือ่ มโยงกัน จากแนวคิดเกีย่ วกบั กระบวนการวิจยั ที่ได้ศกึ ษาข้างต้น ผเู้ ขยี นไดส้ ังเคราะห์กระบวนการวิจยั แลว้ ไดน้ ามากาหนดเปน็ กระบวนการวิจยั เพอื่ ใช้อธบิ ายรายละเอียดของกระบวนการวิจัย ดงั แสดงใน ภาพท่ี 2.8
หนา้ ท่ี 42 บทท่ี 2 กระบวนการวิจัยและการวเิ คราะหป์ ัญหาการวิจยั ประเด็นปญั หาเดิม กาหนดประเด็นปญั หาการวิจัย ประเดน็ ปัญหาใหม่ ๆ ศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ัยท่ีเก่ียวขอ้ ง การอนุมาน Deduction สงั เคราะห์ สรา้ ง/พัฒนากรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั กาหนดสมมุตฐิ านในการวจิ ยั ออกแบบการวจิ ัย การสุม่ ตวั อย่าง การวัด การวิเคราะห์ การอปุ มาน คา่ ตวั แปร ข้อมูล Induction เกบ็ รวบรวมข้อมูล โดยใชว้ ธิ ีการท่ีหลากหลาย วิเคราะห์ข้อมูล/แปลความหมายขอ้ มลู สรปุ ผลและเขียนรายงานการวิจัย เผยแพร่ผลการวจิ ัย ภาพท่ี 2.8 กระบวนการวิจัยทส่ี งั เคราะห์ขนึ้
ระเบียบวิธกี ารวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หนา้ ท่ี 43 จากภาพที่ 2.8 สามารถอธิบายในกระบวนการวิจัย ไดด้ ังน้ี 1) กาหนดปญั หาการวิจยั เป็นขัน้ ตอนของการวิเคราะหป์ ัญหาทเี่ กิดข้ึนเพ่ือศึกษาหาคาตอบ หรอื แนวทางในการการแก้ไข โดยที่ผู้วิจยั จะต้องมีความชดั เจนในปัญหานนั้ ๆ ว่ามที ม่ี าและ สภาพปัญหาเปน็ อยา่ งไร มีอะไรเป็นสาเหตุของการเกิดปญั หา และคาดการณ์ว่าน่าจะมแี นวทางแก้ไข อยา่ งไร แล้วจงึ นามากาหนดเป็นประเด็นปญั หา/คาถามการวจิ ยั ท่ตี อ้ งการศกึ ษาใหช้ ดั เจน ดงั น้ัน ผู้วจิ ยั จะตอ้ งมีความรู้เกย่ี วกับแหล่งท่ีมาของปัญหา กระบวนการวิเคราะหป์ ัญหา การคัดเลอื กและ กาหนดปัญหาที่ดี รวมท้งั การกาหนดชื่อปญั หาของการวิจัยท่ศี ึกษาอย่างถูกต้อง ชัดเจน 2) การศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ท่เี กย่ี วขอ้ ง เป็นขน้ั ตอนของการศกึ ษาเอกสารที่เกีย่ วข้อง เพ่ือศกึ ษาแนวคดิ หลักการและทฤษฏที น่ี ามาใช้ในการแก้ปญั หา และการศึกษาผลการวิจยั ทเี่ กย่ี วขอ้ ง วา่ ปญั หาการวิจยั ในลักษณะเดียวกันน้ีไดม้ ีการวิจัยแลว้ โดยใชแ้ นวคิด ทฤษฎีอะไร มีรายละเอียดอะไร ในลักษณะใด และผลการวิจยั เปน็ อยา่ งไร เพ่ือนามากาหนดจดุ มงุ่ หมายและ สมมุตฐิ านทีช่ ัดเจน หรือศึกษาแนวทางการวจิ ยั เพื่อหลีกเลี่ยงความซ้าซ้อน หรือนาผลวิจัยไปอา้ งอิง ความสอดคล้องหรือขดั แย้ง ดังนน้ั ผวู้ ิจยั จาเป็นจะต้องมีความสามารถในการศึกษาคน้ ควา้ เอกสารและ งานวิจัยที่เกย่ี วข้องจากแหล่งขอ้ มูลต่าง ๆ คัดเลอื กเอกสาร อ่านและการจดบนั ทึก รวมทัง้ สรุปประเด็นจากเอกสารและงานวิจยั ท่เี ก่ยี วข้องในลกั ษณะของการสงั เคราะห์ประเด็นท่ีนามา ใช้อ้างอิงเพื่อนาเสนอใหผ้ ู้ท่ีศึกษามีแนวคดิ ในภาพรวม 3) การกาหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย เปน็ ข้นั ตอนท่นี าปัญหาท่ีกาหนดไว้ ประเด็นสาระ หรือทฤษฏี แนวคิด หลักการตา่ ง ๆ ที่ได้จากการศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ยี วข้องมาสังเคราะห์ เป็นแนวทางในการดาเนนิ การวจิ ยั ของตนเองว่าจะมีการดาเนินการอย่างไร โดยแสดงในลักษณะของ กรอบแนวคิดทฤษฏี(Theoretical Framework) ทแี่ สดงความสมั พนั ธ์ระหว่างปัญหาการวิจัย และทฤษฏีที่ทาใหไ้ ดต้ ัวแปรที่จะศึกษาและควบคุม และกรอบความคิดรวบยอด(Conceptual Framework) ทแ่ี สดงโครงสร้างความสมั พันธร์ ะหว่างตัวแปรทศี่ ึกษาและตัวแปรสอดแทรก จะได้ รบั ทราบข้อดี-ข้อบกพรอ่ งของการวางแผนแบบการวิจยั ทจ่ี ะนามาใช้ประโยชนใ์ นงานวิจัยของตนเอง รวมท้งั การได้สมมุติฐานการวิจยั ทีส่ มเหตุสมผล ทีส่ อดคล้องกับคาถามการวิจัยทสี่ ามารถตรวจสอบได้ และมีอานาจในการใชพ้ ยากรณส์ งู ดังน้นั ผ้วู ิจัยจะต้องมคี วามสามารถใน การสังเคราะหเ์ พื่อเชือ่ มโยงความสัมพนั ธ์ระหว่างตวั แปรแลว้ นามาเขยี นรูปแบบหรือแผนภาพ แสดงกรอบแนวคดิ ในการวิจัย 4) การกาหนดสมมุตฐิ าน เปน็ ข้ันตอนของการคาดคะเนผลการวิจยั ทจี่ ะเกดิ ขนึ้ ในการหา คาตอบของการวิจยั หรือแนวทางการแก้ไขปญั หาว่าจะเปน็ อยา่ งไร โดยใช้ประเดน็ สาระทีไ่ ดจ้ ากการ สงั เคราะหเ์ อกสารและงานวจิ ัยท่เี กย่ี วข้อง ดังนัน้ ผวู้ จิ ัยจะต้องมีความสามารถในการกาหนด สมมตุ ฐิ าน ลักษณะของสมมุติฐานทีด่ ี เพ่อื ทีจ่ ะนามากาหนดสมมตุ ิฐานในการวิจัยไดอ้ ย่างถูกต้อง และ ชดั เจน
หนา้ ที่ 44 บทที่ 2 กระบวนการวจิ ัยและการวเิ คราะห์ปัญหาการวิจยั 5) การออกแบบการวจิ ยั เปน็ ขัน้ ตอนของการวางแผน หรอื กาหนดแนวทางใน การดาเนินการวจิ ัย เพ่ือให้ได้มาซ่งึ คาตอบหรือแนวทางการแก้ไขปัญหาการวิจัยทถี่ กู ต้อง และ นา่ เชอ่ื ถอื ได้ โดยคานึงถึงหลักการของการออกแบบการวจิ ยั “แมก็ มนิ คอน(Max Min Con Principles)” โดยทสี่ ามารถจาแนกการออกแบบการวิจัย เป็น 3 ลกั ษณะ ดังนี้ (1) การออกแบบการสุ่มตัวอยา่ ง เป็นขน้ั ตอนของการศึกษาลกั ษณะของประชากร ที่ศกึ ษา และและเลือกใช้วิธีการส่มุ ตวั อย่างที่ถูกต้อง เพอ่ื นามาใช้ในการกาหนดกลุม่ ตัวอย่าง ทเี่ ปน็ ตวั แทนทด่ี ี และได้จานวนทม่ี ากเพียงพอ ที่จะได้คาตอบของการวิจยั ทีจ่ ะสามารถ สรปุ ผลการวจิ ัยไดอ้ ยา่ งเท่ียงตรงและมีความเช่อื มน่ั และสามารถใช้ผลสรปุ ในการอ้างอิงขอ้ มูล จากกลุ่มตวั อยา่ งไปสู่ประชากรได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ (2) การออกแบบวัดตัวแปร เป็นขนั้ ตอนของการศึกษาลักษณะของตัวแปรทจี่ ะตอ้ ง เกบ็ รวบรวมข้อมูลวา่ มอี ะไรบ้าง เพื่อท่ีจะได้นามากาหนดเครอ่ื งมือท่ีใช้ การวางแผนในการสรา้ งและ พฒั นาเคร่ืองมือท่ีมคี ณุ ภาพตามลกั ษณะของเครอ่ื งมือ และเลือกใช้วธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ที่ชดั เจน เพอื่ ให้ได้ข้อมูลจากตวั แปรทตี่ อ้ งการศึกษาอย่างถูกตอ้ ง สมบรู ณแ์ ละชดั เจน (3) การออกแบบการวิเคราะหข์ ้อมูล เป็นข้นั ตอนของการวางแผนวา่ มีข้อมูลอะไรที่ได้จาก การเกบ็ รวบรวมข้อมลู เพื่อที่ผู้วิจัยจะได้นามาพิจารณากาหนดวิธกี ารวิเคราะห์ หรือเลือกใช้สถติ ิที่ เหมาะสมในการใชว้ ิเคราะหข์ ้อมูลและเลือกโปรแกรมสาเร็จรูปท่ชี ่วยในการวเิ คราะห์ข้อมลู ได้อย่าง ถกู ต้อง และเหมาะสม เพื่อให้ได้คาตอบของการวิจยั ท่ีสอดคล้องกับวตั ถุประสงค์ของการวจิ ัยใน ครัง้ นั้น ๆอยา่ งแทจ้ รงิ 6) การเก็บรวบรวมข้อมลู เปน็ ขน้ั ตอนของการปฏิบัติการตามแบบแผนการวิจัยท่ีกาหนดไว้ ในการนาเครื่องมือท่สี ร้างและพฒั นาขึน้ ไปใช้เกบ็ รวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตวั อยา่ งที่ไดก้ าหนดไว้แลว้ อย่างครบถว้ นดว้ ยวธิ กี ารเกบ็ รวบรวมข้อมูลท่หี ลากหลาย เพ่ือนาขอ้ มูลดงั กล่าวมาจัดกระทาและ วเิ คราะห์เพ่ือตอบปัญหาของการวิจัย 7) การวเิ คราะห์และแปลผลข้อมลู เป็นขนั้ ตอนของการจดั กระทาข้อมลู ที่เก็บรวบรวมได้มา โดยผวู้ จิ ยั จะดาเนินการตรวจสอบความถูกต้อง ชดั เจน ก่อนทเ่ี ข้าส่กู ระบวนการวิเคราะหข์ อ้ มลู ตาม วธิ ีการและหาค่าสถิตทิ เ่ี หมาะสมตามท่ีกาหนดไว้ หลังจากน้ันจึงนาขอ้ มูลทไี่ ดจ้ าก การวเิ คราะหข์ ้อมูล มาสรุปผลและแปลความหมายของผลการวเิ คราะห์ทส่ี อดคล้องกบั วัตถุประสงค์และสมมุติฐานของ การวิจัยที่กาหนดว่าเป็นอย่างไร 8) การสรปุ ผลและการเขียนรายงานการวจิ ยั เป็นขนั้ ตอนการสรปุ ผลการดาเนนิ การวจิ ยั อย่างย่อเพื่อแสดงวัตถุประสงค์ของการวจิ ัย และผลการวิจัยทีไ่ ด้รับว่าเปน็ อย่างไรสอดคล้องกับ วตั ถุประสงคห์ รือไม่ รวมท้งั มีการนาผลการวิจัยทไี่ ด้มาอภิปรายผลว่าสาเหตขุ องความสอดคลอ้ ง หรือไมส่ อดคล้องวา่ เป็นเพราะเหตุใด โดยใช้หลกั การจากทฤษฎี แนวคิด หลกั การ และผลการวิจัย จากงานวิจัยท่เี กี่ยวข้องจากการศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ ก่ียวข้องมาใช้ แลว้ จึงเขยี นรายงาน การวจิ ยั ฉบบั สมบรู ณต์ ามรูปแบบการเขียนรายงานแตล่ ะประเภท โดยเน้นการใชภ้ าษาเขียน ท่ีถูกต้อง ชัดเจน และสามารถอ่านแลว้ ทาความเข้าใจได้ง่าย
ระเบียบวธิ กี ารวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หนา้ ที่ 45 9) การเผยแพร่ผลงานการวิจัย เปน็ ข้นั ตอนที่ผู้วิจยั ได้นาผลการวจิ ยั ท่ีได้รบั เผยแพร่ตอ่ สาธารณชนท้ังในลักษณะของเอกสารรายงานการวจิ ัย หรอื การนาเสนอผลการวิจยั ต่อท่ปี ระชมุ ตา่ ง ๆ เพ่ือก่อใหเ้ กดิ กระบวนการวพิ ากษ์วจิ ารณ์ทเ่ี ป็นกระบวนการท่ีใช้ในการกลัน่ กรอง ทอ่ี าจจะก่อใหเ้ กดิ คาถามการวิจยั ใหม่ ๆ ในการนาไปกาหนดประเดน็ การศกึ ษาต่อไปอย่างตอ่ เน่ือง 3. วิธกี ารวางแผนการวจิ ัย วธิ ีการวางแผนการวจิ ัย เปน็ การกาหนดขนั้ ตอนที่จะต้องดาเนินการให้อย่างถูกต้อง ชดั เจน เพอ่ื ใหง้ านวจิ ยั เกดิ ประสิทธผิ ลและมปี ระสทิ ธภิ าพมากที่สดุ โดยสามารถจาแนกขั้นตอน วธิ กี ารวางแผนการวิจัย ได้ดงั น(้ี นงลักษณ์ วริ ัชชัย,2543: 121) 3.1 การกาหนดปัญหาการวจิ ยั คาถามการวิจยั และวัตถุประสงค์ของการวิจยั เป็นขั้นตอน ของการพิจารณาปญั หาการวจิ ยั จะต้องมคี วามชัดเจนท่ีแสดงความสัมพนั ธ์ระหวา่ งตวั แปร ใช้ภาษา งา่ ย ๆ และสามารถหาคาตอบได้ เปน็ ปญั หาที่มคี วามสาคัญ และให้ประโยชน์ในการนาไปใช้ และ ผูว้ จิ ยั มีความรู้ความสามารถอยา่ งเพียงพอทจ่ี ะดาเนนิ การวิจยั ได้รวมทั้งการกาหนดคาถามการวิจยั และวัตถปุ ระสงคท์ สี่ อดคล้องกับปัญหาที่มีขอบเขต และมีความชัดเจนทจี่ ะใช้เป็นแนวทางการวจิ ัยได้ 3.2 การศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กย่ี วข้อง เป็นข้ันตอนของการศึกษาเอกสารและ งานวจิ ยั ทเี่ กี่ยวข้องเพ่ือพฒั นากรอบความคดิ ทฤษฏที ี่แสดงความสมั พันธ์ระหวา่ งปัญหาการวจิ ัยและ ทฤษฏีที่ทาให้ได้ตัวแปรทจี่ ะศึกษาและควบคุมและกรอบความคิดรวบยอดท่ีแสดงโครงสร้าง ความสัมพนั ธ์ระหว่างตวั แปรทศี่ กึ ษาและตวั แปรสอดแทรก จะได้ทราบข้อดี-ขอ้ บกพรอ่ งของ การวางแผนการวิจยั ทจี่ ะนามาใชป้ ระโยชน์ในงานวิจยั ของตนเอง รวมทงั้ การไดส้ มมตุ ิฐานการวิจัย ท่สี มเหตสุ มผล ที่สอดคล้องกับคาถามการวจิ ัยทส่ี ามารถตรวจสอบได้ และมอี านาจในการใช้ พยากรณ์สงู 3.3 การกาหนดข้อมลู และแหลง่ ข้อมลู เปน็ ขน้ั ตอนในการกาหนดตัวแปรที่ศึกษามี อะไรบา้ ง จัดประเภทของตัวแปรวา่ เป็นตัวแปรสาเหตุ ตัวแปรผล ตัวแปรแทรกซอ้ นหรือตัวแปร สอดแทรกตามกรอบแนวคดิ ความคิดรวบยอดท่ีต้องนามากาหนดเป็นคานยิ ามเชิงปฏบิ ัติการที่ สามารถวดั และสังเกตไดอ้ ย่างชดั เจน และหาวิธกี ารควบคมุ ตัวแปรแทรกซ้อนให้ได้มากท่ีสุด และ มีการกาหนดกลมุ่ ตัวอยา่ งทเ่ี ป็นตวั แทนที่ดีจากประชากรด้วยการเลอื กใช้ “วธิ กี ารสมุ่ ”ทีเ่ หมาะสม กับตัวแปรทจี่ ะศึกษา เพื่อให้ได้ผลการวิจยั ทม่ี คี วามเท่ยี งตรงทง้ั ภายในและภายนอก 3.4 การกาหนดเครื่องมือและวธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมลู เปน็ ขั้นตอนในการกาหนด รายละเอยี ดเน้ือหาสาระ วิธกี ารสรา้ งและการหาคุณภาพของเคร่ืองมือ และกาหนดรายละเอยี ด ขนั้ ตอนของการเก็บรวบรวมข้อมูลตามประเภทของการวิจัย อาทิ การวจิ ัยเชงิ ทดลองจะต้องกาหนด วธิ กี ารดาเนนิ การทดลอง การจดั กระทาตัวแปรสาเหตุ และการวดั ตวั แปรผลให้ชดั เจน เป็นตน้ 3.5 การกาหนดวธิ กี ารวิเคราะหข์ ้อมูลและสรปุ ผลการวิจยั เป็นขั้นตอนการวางแผน การวเิ คราะห์ข้อมูลที่ได้รบั วา่ จะดาเนินการอยา่ งไร ใชส้ ถิติอะไรท่เี หมาะสมกับข้อมลู ทดสอบ สมมตุ ิฐานอยา่ งไร และผลการวเิ คราะห์ข้อมูลสามารถใชต้ อบปญั หาการวจิ ัยได้หรอื ไม่
หน้าที่ 46 บทท่ี 2 กระบวนการวจิ ยั และการวิเคราะหป์ ัญหาการวิจัย ปัญหาการวจิ ัย 1. เหตุผลในการดาเนินการวิจยั ในการวิจยั ใด ๆ มเี หตุผลที่ผู้วิจัยจะตอ้ งดาเนินการวิจยั ดังนี้(ภัทรา นคิ มานนท์,2544 : 7-9) 1.1 การวจิ ยั เพือ่ แก้ไขปัญหาทเ่ี กิดขนึ้ ในการดาเนนิ การใด ๆ จะมปี ญั หาเกดิ ข้ึน อยู่เสมอ ๆ ที่ทาให้การดาเนินงานไมเ่ ปน็ ไปตามปกติท่ีควรจะเปน็ ดงั นน้ั จาเปน็ ต้องแสวงหาวธิ ีการ แก้ไขปญั หาใหห้ มดสน้ิ ไป โดยใชก้ ารวจิ ยั เพอื่ หาสาเหตแุ ละแนวทางการแกไ้ ขที่ถูกต้อง และชัดเจน ทแ่ี สดงเหตผุ ลการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาไดด้ ังแสดงในภาพท่ี 2.9 การดาเนินการปกติ ปัญหา แกป้ ัญหาอย่างไร ภาพท่ี 2.9 การวิจัยเพือ่ แก้ไขปญั หาที่เกดิ ขน้ึ 1.2 การวิจัยเพ่อื ป้องกนั ปัญหา ในการดาเนินการบางกรณี อาจจะมปี ัญหาท่ีเกดิ ขึ้นแล้ว ในอดตี ดังน้ันจะต้องมีแนวทางปฏิบัติอยา่ งไรจงึ จะไม่กอ่ ให้เกดิ ปัญหาเชน่ นั้นอีกในปจั จุบัน ท่ีแสดงเหตผุ ลการวิจัยเพ่ือป้องกนั ปัญหาไมใ่ ห้เกดิ ข้นึ อกี ดงั แสดงในภาพท่ี 2.10 การดาเนินการปกติ ปญั หา ทาใหเ้ ป็นปกติ ภาพท่ี 2.10 การวิจยั เพื่อปอ้ งกนั ปญั หาท่เี กดิ ข้ึน ไดอ้ ยา่ งไร 1.3 การวิจัยเพอื่ พัฒนาการปฏบิ ตั ใิ หด้ ขี ้ึน ในการดาเนินการทด่ี ีแล้ว แต่ต้องการ ให้เกดิ การพฒั นาท่ีดยี ่งิ ขึ้นอกี ดงั นัน้ จาเปน็ ทีจ่ ะต้องมกี ารศึกษาค้นคว้าความรู้ความก้าวหน้า ทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยใี หม่ ๆ มาเพิ่มเตมิ ในการดาเนินการอยูเ่ สมอ ๆ ท่ีแสดง เหตุผลการวิจัยเพอ่ื พฒั นาการปฏบิ ัติทีด่ ขี ึ้น ดังแสดงในภาพที่ 2.11 การพฒั นา ทาใหพ้ ฒั นา การดาเนนิ การปกติ ได้อย่างไร ภาพท่ี 2.11 การวจิ ยั เพื่อพัฒนาการปฏิบตั ิ
ระเบยี บวิธกี ารวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าที่ 47 ปารชิ าติ สถาปิตานนท(์ 2546: 18) ได้นาเสนอแนวทางการได้มาของประเด็นปัญหาการวิจัย ดงั นี้ 1) “ขอ้ สงสัย” หรอื “คาถาม” ทีเ่ กิดจากการปฏบิ ัติภารกจิ ในสาขาวชิ าท่ีเก่ยี วขอ้ ง และ ไมส่ ามารถคน้ หาคาตอบไดจ้ ากแหลง่ ข้อมลู ใด ๆ หรือไม่เช่ือมั่นในคาตอบที่มอี ยู่ หรือตอ้ งการ ดาเนินการทดสอบคาตอบทม่ี ีอยู่ใหแ้ น่ชัดลงไป เพ่ือใหเ้ กดิ ความชัดเจน 2) “ข้อสงสัย” หรอื “คาถาม” ท่เี กิดจากการศึกษา ค้นคว้าแนวคิดหรอื ทฤษฏที สี่ นใจ แล้วตอ้ งการทดสอบแนวคดิ หรือทฤษฏีดงั กล่าว หรอื ต้องการพัฒนาองค์ความรู้ทเ่ี กยี่ วข้องกบั แนวคดิ หรือทฤษฏดี งั กล่าวใหช้ ัดเจนยิง่ ขึน้ 3) “โจทย์” หรอื “ประเด็นคาถาม” ทผี่ เู้ ชี่ยวชาญ ผูร้ ู้ หรือผ้ทู ี่มปี ระสบการณ์ในการวิจัย ในสาขาวิชาดังกลา่ วไดน้ าเสนอในวาระการประชมุ ตา่ ง ๆ 4) “โจทย์” หรือ “ประเด็นคาถาม” ทแี่ หล่งทุนมคี วามสนใจ และตอ้ งการแสวงหาข้อมูล ในเรอื่ งดังกลา่ วให้ชดั เจนยงิ่ ขึ้น 2. ความหมายของปญั หาการวิจัย ปัญหา(Problem) คือ อปุ สรรค หรอื ข้อขัดขอ้ งใด ๆ ที่เกิดขน้ึ ในการดาเนนิ การแลว้ ไมส่ ามารถบรรลวุ ัตถุประสงค์ตามทไ่ี ด้กาหนดไว้ ปญั หาการวิจัย(Research Question) เป็นขอ้ สงสัยท่ีเกิดขึ้นจากความอยากรู้อยากเหน็ ใน ข้อเท็จจรงิ หรือข้อสงสัยท่ีเปน็ จดุ เริม่ ตน้ ท่กี ่อให้การศึกษา ค้นคว้า เพอ่ื ใหไ้ ด้ความร้คู วามจริงที่ จะหาคาตอบหรือแกป้ ญั หาให้ถกู ต้อง(สมคิด พรมจุ้ย,2545 :3) ปญั หาการวจิ ัย หมายถงึ คาถาม หรือโจทย์วิจัยทผี่ วู้ ิจยั ไดก้ าหนดข้นึ เพื่อแสวงหาคาตอบ ที่เชือ่ ถือได้ โดยใช้กระบวนการทม่ี ีระบบระเบยี บ(ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกูล,2543 : 43) ปัญหาการวจิ ยั หมายถงึ ประเดน็ คาถามหลกั ที่มีการระบุอยา่ งเปน็ ทางการ และใชเ้ ป็น แนวทางในการชนี้ าทศิ ทางและแนวทางการดาเนินการวิจัยท่ีมีองค์ประกอบของคาถามการวจิ ัย ประกอบด้วย ประเดน็ การวิจัย/ตวั แปร ประชากรในการวิจยั และสภาพแวดล้อม/สถานการณ์ ในการวจิ ยั (ปารชิ าต สถาปิตานนท์.2546:109) ปญั หาการวิจัย มลี ักษณะท่แี ตกต่างจากปญั หาท่ัว ๆ ไป 2 ประการ คือ(นงลักษณ์ วิรัชชยั , 2543 : 53) 1) ปัญหาการวิจยั จะเขยี นในรูปคาถามที่แสดงความสัมพนั ธ์ระหว่างปรากฏการณ์และ ตวั แปรต้น 2) ปัญหาการวิจยั จะตอ้ งแสดงใหช้ ดั เจนวา่ สามารถหาคาตอบไดด้ ้วยวิธกี ารเชิงประจักษ์ สรุปได้วา่ ปญั หาการวิจยั หมายถึง ประเด็นทีก่ ่อใหเ้ กิดความสงสัย มคี วามต้องการทีจ่ ะทราบ คาตอบ และได้พจิ ารณาวา่ มีแนวทางในการแสวงหาคาตอบท่ีเปน็ ระบบและมีขัน้ ตอนที่ชดั เจน ซึ่ง ปัญหาการวิจัยจะมีจานวนมากอันเนื่องจาก 1) ตัวแปรมจี านวนมากและเปล่ยี นแปลงตามเวลา/ สถานที่อยูเ่ สมอ ๆ 2) การแสวงหาคาตอบของการวจิ ยั ยังไมค่ รบถ้วน สมบรู ณ์ และ 3) มกี ารเปลย่ี นแปลงแนวคิด หลักการและทฤษฎีทจ่ี ะต้องไดร้ บั การตรวจสอบ พิสูจนค์ วามถูกต้อง ด้วยวธิ ีการท่เี ปน็ ระบบและชดั เจน
หน้าท่ี 48 บทท่ี 2 กระบวนการวจิ ยั และการวเิ คราะหป์ ัญหาการวิจยั 3. องค์ประกอบของปัญหาการวิจยั ในปัญหาการวิจัยใด ๆ จะประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบ ดังนี้ 3.1 ปรากฏการณ์ หรอื เหตุการณ์ทเ่ี กิดข้นึ ท้ังทีเ่ ปน็ ในธรรมชาตแิ ละไม่เป็นธรรมชาติ ที่ผวู้ จิ ัยใหค้ วามสนใจ สังเกต และพจิ ารณาเปน็ กรณพี เิ ศษ 3.2 แนวคดิ เก่ียวกับปรากฏการณแ์ ละเหตุการณ์ เน่ืองจากแนวคิดที่ใชอ้ ธบิ าย ปรากฏการณ์หรือเหตุการณท์ ี่เกดิ ขน้ึ ยงั ไม่ชัดเจนเพียงพอ จึงต้องการแสวงหาคาอธบิ ายที่มี ความชัดเจน และมีรายละเอยี ดที่ครอบคลมุ มากยง่ิ ขน้ึ 3.3 ความอยากรู้อยากเหน็ เป็นธรรมชาติของมนุษย์ท่มี ีความอยากรู้อยากเห็นใน ปรากฏการณ์หรือเหตกุ ารณท์ ่ีเกิดขน้ึ และไดน้ ามาพิจารณาไตรต่ รองเพื่อแสวงหาคาอธิบาย ด้วยการวิจัย ดังแสดงองค์ประกอบของปัญหาการวิจยั ได้ดังภาพท่ี 2.12 ปรากฎการณ/์ พฤติกรรม ปญั หา การวิจัย ความอยากรู้อยากเห็น แนวคดิ /ทฤษฎที เี่ กยี่ วขอ้ ง ภาพที่ 2.12 องค์ประกอบของปญั หาการวิจัย 4. ลักษณะของปัญหาการวิจัยทีด่ ี จากการสงั เคราะหล์ กั ษณะของปัญหาการวจิ ยั ที่ดี จะมลี กั ษณะ ดงั นี้ (นงลักษณ์ วริ ชั ชยั , 2543 : 53-54 ; Fraenkel and Wallen,1996 : 26-27) 4.1 ปัญหาการวิจยั ตอ้ งแสดงความสัมพันธ์ระหวา่ งตัวแปรตั้งแตส่ องตวั แปรขึน้ ไป 4.2 ขอบเขตของปัญหาการวิจัยตอ้ งมีความเป็นไปไดส้ าหรบั ที่จะหาคาตอบดว้ ยวธิ กี าร เชิงประจักษ์ตามกาลังทรัพยากรและความสามารถของผวู้ จิ ัย 4.3 การทาวิจยั เพื่อตอบปัญหาการวจิ ัยเป็นไปตามหลักจรยิ ธรรมท่ีไมก่ ระทบกระเทอื น หรอื ทาความเดือดร้อนใหผ้ ู้อื่น 4.4 ปญั หาวจิ ัยมคี วามสาคัญเป็นประโยชนต์ อ่ สังคม และช่วยเสริมสรา้ งองคค์ วามรู้ ท่กี ่อให้เกิดความก้าวหนา้ ทางวิชาการ
ระเบยี บวิธกี ารวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หนา้ ที่ 49 4.5 กรณปี ัญหาวิจัยทม่ี ผี ้วู จิ ัยอื่นทาไวแ้ ลว้ ผูว้ จิ ัยตอ้ งมคี วามมัน่ ใจว่ามีความจาเปน็ ที่ต้อง ทาวจิ ัยนนั้ อีก อาทิ มีคาตอบที่เป็นข้อขดั แย้งหรือ ยงั ไมม่ ีข้อสรุปสุดท้าย(No Ultimate Conclusion) เป็นต้น 4.6 ปญั หาการวิจัยควรมีความคิดริเร่มิ สร้างสรรค์ ทีผ่ ูว้ จิ ัยจะตอ้ งแสดงได้วา่ การตอบ ปัญหาการวิจัยดงั กล่าวยงั ไม่มีผู้วจิ ยั คนใดได้ทามาก่อน อาธง สุทธาศาสน์(2527 : 38-39) ไดน้ าเสนอลกั ษณะของปัญหาการวจิ ัยเพ่ือให้เกดิ ความชดั เจนมากขึ้น ดงั นี้ 1) ปัญหาการวิจยั ควรกาหนดในลักษณะของคาถามมากกวา่ ประโยคบอกเลา่ เพราะ ตรงประเดน็ และชดั เจนมากกวา่ 2) ปัญหาการวจิ ยั ตอ้ งไม่กาหนดให้กว้างเกินไปเพราะจะทาให้เกิดความคลมุ เครือในการ เกบ็ รวบรวมข้อมลู และวเิ คราะห์ข้อมูล แตก่ ็ไม่ควรจะกาหนดใหแ้ คบเกินไปเพราะจะทาให้ขาดความ น่าสนใจ และการสรุปอ้างองิ 3) ปัญหาการวจิ ยั ควรกาหนดกรอบแนวคดิ การวจิ ัยให้ชดั เจน เพราะจะช่วยให้ได้รับ คาตอบการวิจยั ตามที่ต้องการอยา่ งแท้จริง 4) ปญั หาการวจิ ัยควรเปน็ ปัญหาท่ีมีความหมายและเช่ือมโยงกบั ทฤษฏี/การปฏบิ ัตทิ ี่มีอยู่ จะทาให้เป็นการวจิ ัยทีม่ ีประโยชน์และมคี ุณค่า 5) ปัญหาการวิจยั ควรจะองิ จากข้อเท็จจริงท่ีพิสูจนด์ ้วยวิธีการทางวทิ ยาศาสตร์ได้โดย ไมอ่ ้างอิงกับคา่ นิยม 6) ปญั หาการวจิ ัยจะมีเพียงประเด็นเดยี วหรอื หลายประเด็นก็ได้ แต่ถา้ มีหลายประเด็น ควรมีความเกีย่ วข้องกบั การได้คาตอบที่สามารถตอบปัญหาการวจิ ยั ในภาพรวมได้ 5. หลกั เกณฑ์ในการเลือก/กาหนดปัญหาการวิจัย ในการเลือกปญั หาการวจิ ัย ใด ๆ นอกจากที่ผ้วู จิ ยั จะได้พิจารณาจากลกั ษณะของปญั หา การวจิ ยั ทดี่ แี ล้ว ควรจะได้พจิ ารณาโดยคานงึ ถึงหลักเกณฑ์ในการเลือกปัญหาการวิจัย ดงั นี้ 5.1 มีความสนใจ กลา่ วคือ ในการเลือกปัญหาการวิจยั ใด ๆ นัน้ ผู้วจิ ยั ควรได้เลอื กปญั หา การวจิ ยั ตามความสนใจของตนเอง เนอ่ื งจากจะไดเ้ กิดแรงจูงใจทจี่ ะพยายามแสวงหาคาตอบ หรือดาเนนิ การวิจยั ให้ประสบความสาเร็จได้ 5.2 มคี วามเป็นเอกลกั ษณ์ กลา่ วคอื ผู้วิจยั ควรได้พจิ ารณาปญั หานั้น ๆว่า เปน็ ปญั หา ท่ีใหมท่ ี่ตนเองได้จากการศึกษาค้นคว้าและไม่ซ้าซ้อนกับปัญหาการวิจยั เดิมท่มี ผี ู้ทาไว้แลว้ หรอื ไม่เปน็ ปญั หาท่ีเกิดจากสามัญสานึกของผวู้ จิ ยั 5.3 มีความรู้ความสามารถ กลา่ วคอื ผวู้ ิจัยควรไดพ้ จิ ารณาความเหมาะสมของปัญหา การวิจยั กบั ระดับความร้คู วามสามารถของตนเองท่ีมีอยู่ วา่ จะสามารถแสวงหาข้อมูลเพื่อใช้ ตอบปญั หาการวจิ ัยได้หรอื ไม่ ดว้ ยวิธกี ารใด อย่างไร 5.4 มีทรัพยากรที่ใช้ในการวิจยั เพียงพอ กล่าวคือ ผู้วิจัยจะต้องพจิ ารณาวา่ ตนเองจะมีหรอื จัดหางบประมาณ แรงงาน และมีเวลาท่ีใชใ้ นการดาเนินการวิจัยต้งั แตเ่ ร่ิมต้นจนกระท่ังสิ้นสุด อย่างเพยี งพอหรือไม่
หนา้ ท่ี 50 บทที่ 2 กระบวนการวิจัยและการวิเคราะห์ปญั หาการวจิ ยั 5.5 มคี ุณค่า กล่าวคือ ในการเลือกปญั หาการวิจัย ผู้วจิ ัยจะตอ้ งพจิ ารณาคณุ คา่ ของความรู้ ความจรงิ ใหม่ ๆ ท่ีไดจ้ ากการตอบปัญหาในการวจิ ยั หรอื สามารถนาผลการวิจยั ไปใชใ้ น การแก้ปัญหาได้อยา่ งหลากหลายหรอื ไม่ 6.6 มสี ภาพแวดลอ้ มทีเ่ หมาะสม กลา่ วคือ ผูว้ ิจัยจะต้องพิจารณาความร่วมมือ ของบุคคล ทเ่ี ก่ียวข้องเมื่อต้องการความชว่ ยเหลือ หรือแหล่งข้อมลู /ระบบการสบื คน้ ทจ่ี ะใช้ศกึ ษาค้นคว้าขอ้ มูล ใหเ้ กดิ ความชัดเจนในการตอบปัญหาการวจิ ยั อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 6. ขัน้ ตอนในการวิเคราะห์ปัญหาการวจิ ัย ในการวิเคราะห์ปญั หาการวจิ ัย มีขน้ั ตอนในการดาเนินการ ดงั น้ี(อนันต์ ศรโี สภา,2521 : ) 6.1 รวบรวมข้อเท็จจริงท่ีคาดวา่ นา่ จะเกยี่ วข้องกบั ประเด็นปญั หา 6.2 สังเกตวา่ ขอ้ เท็จจริงมคี วามเกย่ี วขอ้ งกบั ประเด็นปญั หา หรือไม่ 6.3 ศกึ ษาความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งข้อเท็จจรงิ วา่ มีอะไรบา้ งที่เป็นสาเหตทุ ่สี าคัญของประเดน็ ปญั หา 6.4 กาหนดคาถามการวจิ ยั /สมมุตฐิ านเพ่ือแสวงหาคาตอบของการวิจัย 6.5 กาหนดความสัมพันธ์ระหวา่ งคาอธบิ ายทีจ่ ะเป็นประเด็นท่สี าคญั ของประเดน็ ปญั หา 6.6 กาหนดความสมั พนั ธ์ระหว่างความจรงิ และคาอธบิ าย 6.7 มีข้อตกลงเบ้ืองตน้ อะไรท่เี กย่ี วข้องกบั ประเดน็ ปญั หา ดงั แสดงขน้ั ตอนในการวิเคราะห์ปญั หาการวิจยั ในภาพท่ี 2.13
ระเบยี บวิธีการวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าที่ 51 สถานการณ์ทีเ่ ปน็ ปัญหา การรวบรวมข้อเทจ็ จริงเบ้ืองต้น ขอ้ เท็จจรงิ ความสมั พนั ธ์ คาอธบิ าย 1...................... 1...................... 2...................... 2...................... 3..................... 3..................... 4.................... 4.................... สว่ นท่ีไมเ่ กี่ยวข้องกบั สถานการณ์ท่ีเปน็ ปัญหา ส่วนทเี่ กีย่ วขอ้ งกับสถานการณท์ ี่เปน็ ปัญหา ข้อเทจ็ จรงิ ท่ี ข้อเท็จจรงิ ท่ี คาอธิบายที่ ข้อเทจ็ จรงิ ท่ี ตรวจสอบแล้ว ไมส่ ามารถ ไม่สามารถ ตรวจสอบแลว้ ตรวจสอบแลว้ ตรวจสอบแล้ว ภาพที่ 2.13 ข้ันตอนการวิเคราะหป์ ญั หา ขอ้ ความทเี่ ป็นปญั หา ภาพท่ี 2.13 ข้ันตอนในการวเิ คราะห์ปัญหาการวจิ ยั
หน้าท่ี 52 บทท่ี 2 กระบวนการวิจัยและการวเิ คราะห์ปัญหาการวิจยั 7. ความสมั พนั ธ์ขององคป์ ระกอบในการกาหนดปัญหาการวจิ ัย ไวร์มา(Wiersma,2000 : 44) ไดน้ าเสนอความสัมพันธ์ขององค์ประกอบในการกาหนดปัญหา การวิจัย ดังแสดงในภาพที่ 2.14 ทฤษฏที ีเ่ กี่ยวข้อง ปญั หาการวิจัย องค์ความรู้ สมมุติฐาน ตวั แปร สถานการณ์ คานยิ ามเชิงปฏิบตั ิการ ภาพที่ 2.14 ความสัมพันธข์ ององคป์ ระกอบในการกาหนดปัญหาการวจิ ยั จากภาพที่ 2.14 สามารถอธิบายไดว้ า่ ในการกาหนดประเด็นปัญหาการวจิ ยั จะต้องได้มา จากการศึกษาคน้ คว้าองค์ความรู้(Body of Knowledge) หรอื ทฤษฏที ่ีเกี่ยวข้อง แล้วจงึ นามา กาหนดสมมตุ ฐิ าน เพอื่ ใหเ้ กดิ ความชัดเจนในการพิจารณาแนวทางในการดาเนนิ การวิจยั โดยทใ่ี นการกาหนดสมมตุ ฐิ านจะตอ้ งแสดงความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งตวั แปรในการวิจัยที่ชัดเจน เพ่อื ใช้ควบคุมตวั แปรแทรกซ้อนหรือตวั แปรสอดแทรกทเี่ กิดขึ้น รวมท้ังการกาหนดคานิยาม เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารท่จี ะใช้ในการอธบิ ายความหมายของตัวแปร หรือสถานการณใ์ นการดาเนินงาน ในการวจิ ัยท่มี ีความสอดคล้องกนั เทียนฉาย กรี ะนันทน์(2544 : 31)ได้นาเสนอแนวคดิ ของแหลง่ ทมี่ าปัญหาการวิจยั ดงั น้ี 1) จากพฤติกรรมหรือปรากฏการณท์ ี่เกดิ ขึน้ แลว้ ผูว้ ิจยั เกดิ ข้อสงสัยทัง้ ในลกั ษณะของ นามธรรมหรือรปู ธรรมที่ไดจ้ ากการพิจารณาและรับรพู้ ฤตกิ รรมหรือปรากฏการณน์ ั้น ๆ ทีเ่ ป็นแนวคิด เริม่ ตน้ ของปัญหาการวิจัย 2) ข้อสงสัยหรือแนวคิดเร่ิมต้นของปัญหา ท่ีผวู้ ิจัยสามารถหาคาอธบิ ายไดอ้ ย่างชดั เจนแลว้ กจ็ ะไม่เป็นปัญหาอกี แต่ถ้าคาอธิบายน้นั ยังไมช่ ดั เจน มีความคลุมเครือ และไม่แน่ใจ ฯลฯ แสดงวา่ ผวู้ ิจัยจะต้องมีการดาเนนิ การศึกษาคน้ ควา้ แสวงหาคาอธบิ ายในขอ้ สงสัยหรือแนวคิดเริ่มตน้ ของ ปัญหาต่อไป 3) ความอยากรู้อยากเห็นของผู้วิจัย จะเปน็ ส่ิงเรา้ ทสี่ าคญั ในการกระตนุ้ ให้ผู้วจิ ยั ได้มี ความกระตอื รือร้นในการดาเนนิ การศกึ ษา คน้ คว้า เพอื่ แสวงหาคาตอบของประเดน็ ปัญหาที่ ตนเองสนใจอย่างต่อเนอ่ื งตลอดเวลา
ระเบยี บวิธีการวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หน้าท่ี 53 8. ประเภทคาถามการวิจัย ในการกาหนดคาถามการวจิ ัยไดจ้ าแนกประเภทของคาถามการวจิ ัย ดงั น้ี(Salwan and Stacks.1996 อ้างอิงใน ปาริชาต สถาปิตานนท.์ 2546:111-116) 8.1 คาถามการวิจยั ตามลกั ษณะของข้อมูลที่คาดหวัง มีดังนี้ 8.1.1 คาถามเกี่ยวกับขอ้ เท็จจริง(Question of Fact) เป็นคาถามทม่ี ่งุ เน้นการ บรรยายปรากฏการณต์ ามสภาพความเป็นจริงทส่ี ามารถสงั เกต พสิ ูจน์และค้นหา โดยการอธิบาย ความสมั พนั ธ์เชื่อมโยงระหวา่ งตัวแปร ดังนั้นการค้นพบความสัมพนั ธร์ ะหว่างตวั แปรจะทาให้ สามารถอธิบาย ทานายและควบคมุ ปรากฏการณ์ได้ 8.1.2 คาถามเก่ยี วกบั คณุ คา่ (Question of Value) เปน็ คาถามทมี่ ุง่ เน้นการหา คาตอบผา่ นทางอตั วิสยั ของผ้ใู ห้ขอ้ มูล โดยใหผ้ ู้ให้ข้อมูลแตล่ ะคนไดน้ าเสนอมุมมองของตนเอง หรอื ประเมนิ เพื่อพจิ ารณาตัดสนิ เก่ียวกับความถูกตอ้ ง ความเหมาะสมของปรากฏการณ์หน่ึง ๆ 8.1.3 คาถามเก่ียวกับนโยบาย(Question of Policy)เป็นคาถามท่ีมุ่งเน้นการหา คาตอบเพ่ือนาไปสู่การปฏบิ ัตเิ ชิงนโยบาย อาทิ การแสวงหาข้อกาหนด เงอ่ื นไข หรือกฎเกณฑ์ที่ เหมาะสมสาหรบั ควบคมุ และส่งเสรมิ ความประพฤติ เปน็ ต้น แต่เนือ่ งจากนโยบายเป็นประเดน็ ที่มี ความซบั ซ้อนจาเปน็ จะตอ้ งใช้วธิ ีการท่หี ลากหลายเพื่อหาคาตอบมาใช้ประกอบการพจิ ารณาตัดสินใจ 8.2 คาถามการวิจัยตามแนวทางในการนาเสนอข้อมลู มดี งั นี้ 8.2.1 คาถามการวจิ ัยเชงิ บรรยาย ม่งุ หาคาตอบ เพ่ือบรรยาย เก่ยี วกับตวั แปรที่ ศึกษาของประชากรหรือกลุ่มตัวอยา่ ง เพ่ือให้เกิดความเขา้ ใจอยา่ งลึกซ้ึง 8.2.2 คาถามการวจิ ยั เชงิ ทานาย มุ่งเนน้ การหาคาตอบเพ่ืออธบิ ายองคป์ ระกอบทมี่ ี อทิ ธพิ ลต่อตัวแปรที่ศกึ ษา หรอื ความสมั พันธร์ ะหวา่ งตวั แปร เพ่ือนามาอธิบาย หรือคาดคะเน ผลทเ่ี กดิ ขนึ้ ไดอ้ ย่างแม่นยามากข้ึน หรือควบคุมปรากฏการณท์ เ่ี กดิ ขึ้นให้เป็นไปในแนวทาง ท่พี งึ ประสงค์ได้ 8.3 คาถามการวจิ ยั ตามแนวทางในการกาหนดคาถาม มดี งั น้ี 8.3.1 คาถามการวจิ ัยในลักษณะคาถามปลายปิด เปน็ คาถามการวจิ ัยท่กี าหนดขึ้น โดยมกี ารกาหนดสมมตุ ฐิ านไว้ลว่ งหนา้ แล้ว คาตอบทตี่ ้องการเพยี งแต่ยืนยันว่า “ใช่หรือไม่” เนื่องจาก ประเด็นปัญหาการวจิ ยั ดงั กล่าวได้ดาเนนิ การศึกษาค้นควา้ อยา่ งละเอียดแล้วจงึ นามากาหนดเปน็ สมมตุ ิฐาน 8.3.2 คาถามการวิจยั ปลายปดิ เป็นการกาหนดคาถามที่ไม่ได้กาหนดสมมุตฐิ านไว้ ล่วงหน้า โดยสว่ นมากจะกาหนดในลกั ษณะของคาถาม “ ใคร” “อะไร” “เมือ่ ไร” “ทไี่ หน” และ “อยา่ งไร” โดยให้ความเปน็ อิสระแกผ่ ูใ้ ห้ข้อมูลในการตอบคาถามทก่ี าหนดขนึ้
หน้าที่ 54 บทที่ 2 กระบวนการวจิ ัยและการวเิ คราะห์ปญั หาการวจิ ยั 9. หลกั การเขียนคาถามวิจัย ในการเขยี นคาถามการวจิ ัยมีหลกั การเขยี นคาถามการวจิ ัย ดังน้ี(บญุ ใจ ศรี สถติ ย์นรากูล, 2547 : 25) 9.1คาถามการวิจยั จะต้องมีความสอดคล้องและครอบคลุมปัญหาการวิจยั 9.2 ถา้ คาถามการวิจยั ของประเด็นการวจิ ยั มีหลายข้อ ใหจ้ าแนกเป็นข้อ ๆ โดยเรยี งลาดับ ตามการศกึ ษาหาคาตอบ 9.3 คาถามการวิจยั ควรเขียนเป็นประโยคคาถาม 9.4 คาถามการวิจัยควรเขียนโดยใช้ข้อความท่ีสน้ั ชัดเจน ใช้ภาษาท่งี า่ ย ๆ อา่ นแลว้ เข้าใจ 10. ส่ิงทค่ี วรคานึงในการกาหนดชอื่ ปญั หาการวิจัย ในการกาหนดชื่อปญั หาการวจิ ัย มีส่งิ ทีค่ วรคานงึ ดงั นี้(สวุ ิมล ตรกิ านนั ท,์ 2543 : 20-22) 10.1 ควรกาหนดชอ่ื เรอ่ื งที่เป็นกลาง ไม่มีคา/ประโยคชน้ี า ทีก่ อ่ ให้เกิดความลาเอยี งใน การศกึ ษาที่จะส่งผลให้ไดร้ ับข้อมูลทคี่ ลาดเคลอื่ นจากความเปน็ จริง 10.2 ควรกาหนดขอบเขตของการวิจัยทชี่ ดั เจน อาทิ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง โครงสรา้ งเนือ้ หาที่ศึกษา ตัวแปรทศี่ กึ ษา หรือระยะเวลาที่ศึกษา เป็นตน้ 10.3 ควรระวงั การใช้คาแทนตัวแปรท่กี ่อให้เกดิ ความคลาดเคลอื่ นจากประเดน็ ทต่ี ้องการ อาทิ ความรู้ ความคดิ เหน็ หรือความรสู้ ึก เปน็ ตน้ 10.4 ควรระวงั การใช้คาที่อาจส่อื ความหมายใหเ้ กิดความเขา้ ใจที่คลาดเคลื่อน ดังนี้ 10.4.1 การสารวจ มวี ตั ถปุ ระสงค์เพ่ือทราบประเดน็ ทตี่ ้องการศึกษามอี ะไรบ้าง ดงั แสดงในภาพที่ 2.15 ภาพท่ี 2.15 การวจิ ัยเพื่อสารวจวา่ “มีอะไรบา้ ง” 10.4.2 การศึกษา มวี ตั ถุประสงคเ์ พ่ือทราบประเด็นทตี่ อ้ งการศึกษาแตล่ ะประเด็น วา่ มอี ะไรบา้ ง และมีรายละเอียดในแต่ละประเดน็ เป็นอย่างไร ดงั แสดงในภาพท่ี 2.16 ภาพที่ 2.16 การวจิ ยั เพอื่ ศกึ ษาวา่ “มีอะไรบ้าง และเปน็ อย่างไร”
ระเบยี บวธิ ีการวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หนา้ ที่ 55 10.4.3 การพฒั นา มีวตั ถุประสงค์เพ่ือเปลี่ยนแปลง ปรับปรุงประเด็น/วิธกี ารให้ เกิดพัฒนาการตามทตี่ ้องการ ดงั แสดงในภาพท่ี 2.17 ภาพท่ี 2.17 การวจิ ยั เพอ่ื พัฒนา “เปล่ยี นแปลง ปรบั ปรงุ ให้เกดิ พฒั นาการ” 10.4.4 การวิจัยและพฒั นา มีวตั ถุประสงคเ์ พื่อค้นหาประเด็นที่ต้องการแล้วนา ประเดน็ /วิธีการมาพจิ ารณาเปล่ยี นแปลง ปรบั ปรงุ ให้เกดิ พัฒนาการตามท่ีตอ้ งการ ดงั แสดง ในภาพที่ 2.18 การวิจัย การพฒั นา ภาพท่ี 2.18 การวิจยั เพอื่ วจิ ัยและพฒั นา “มอี ะไรบา้ ง อยา่ งไร และ จะไดเ้ ปล่ยี นแปลง ปรับปรงุ ให้เกิดพฒั นาการ” เทยี นฉาย กีระนนั ทน(์ 2544 : 36) ไดน้ าเสนอข้อสงั เกตในการการกาหนดชื่อเรื่องปัญหา การวิจยั ดังนี้ 1) ควรกาหนดช่ือเรื่องให้มคี วามสอดคล้องกบั เป้าหมายและจุดประสงคข์ องการวจิ ยั นน้ั ๆ 2) ควรระบุสว่ นทเี่ ป็นสาระสาคัญของประเด็นท่จี ะทาวจิ ยั เท่านน้ั 3) สว่ นมากจะกาหนดชอื่ เรื่องดว้ ยคานาม อาทิ “การ” หรอื “ความ” มากกวา่ ใช้ คากริยา คุณศัพท์ บุพบท สนั ธาน วเิ ชยี ร เกตสุ งิ ห์ (2541 : 6) ได้เสนอหลกั เกณฑ์ในการกาหนดช่ือเรอ่ื ง ดังน้ี 1) ควรระบุตวั แปรสาคญั ท่เี ปน็ ตวั แปรหลัก เพื่อให้ทราบว่าการวจิ ัยคร้ังนจ้ี ะวจิ ยั เกยี่ วกบั เรอ่ื งอะไร 2) ระบกุ ลุม่ เป้าหมาย/ประชากรทเ่ี ปน็ แหล่งข้อมูล เพ่ือใหท้ ราบว่าจะเกบ็ ข้อมูลที่ไหน หรอื กล่มุ เปา้ หมาย/ประชากรมลี กั ษณะอยา่ งไร
หนา้ ท่ี 56 บทที่ 2 กระบวนการวจิ ัยและการวเิ คราะห์ปญั หาการวจิ ัย 3) ควรระบวุ ิธกี ารวจิ ัยวา่ เปน็ การวิจยั ประเภทใด 11. ปญั หาในการกาหนดปญั หาการวจิ ัย ในการกาหนดปญั หาการวจิ ยั มกั จะมีปัญหาท่ผี ูว้ ิจยั จะต้องระมัดระวัง ดงั นี้ (เทยี นฉาย กรี ะนนั ทน์ ,2544 : 33) 11.1 ความรูเ้ กยี่ วกับทฤษฏี(Theoretical Reference) กลา่ วคอื ผวู้ จิ ยั จะต้องเป็นบคุ คลท่ี มีความรู้เก่ยี วกับทฤษฏีในประเดน็ ทตี่ ้องการศึกษาค้นคว้าเป็นอย่างดี หรือจะต้องมีการศึกษาค้นควา้ ใหม้ คี วามชัดเจนในทฤษฏีท่ีนามาใช้อย่างเพียงพอก่อนทจี่ ะกาหนดปัญหาการวจิ ัย 11.2 ความร้เู ก่ยี วกับข้อเท็จจรงิ เชงิ ประจักษ์ (Empirical Reference) กล่าวคือ ผ้วู จิ ัย จะตอ้ งศกึ ษาเบ้ืองตน้ เก่ียวกับขอ้ เท็จจริงท่ตี อ้ งการโดยให้มีความเช่ือมโยง/สอดคลอ้ งกบั ความรทู้ ี่ เก่ยี วกบั ทฤษฏีที่จะทาให้ได้ข้อเทจ็ จรงิ ทจ่ี ะนามาใช้ตอบปัญหาการวิจยั ตอ่ ไป 12. แนวทางการประเมินปัญหาการวจิ ยั ในการกาหนดปญั หาการวจิ ัย จะตอ้ งมีการประเมนิ ค่าวา่ เป็นประเด็นท่สี มควรทีจ่ ะดาเนินการ วจิ ัยหรอื ไม่ ดงั นัน้ จะต้องมกี ารประเมินปญั หาการวจิ ยั ทมี่ แี นวทางการประเมนิ ดงั น้ี (เทยี นฉาย กีระนันทน,์ 2544 : 34-35) 12.1 ธรรมชาติและความต้องการในการแกป้ ัญหา กลา่ วคอื ในบางปญั หาการวิจยั ท่ีมี ปัญหายอ่ ย ๆหลายประเด็นท่ีมีความต่อเนือ่ งกัน จาเป็นจะตอ้ งใชค้ าตอบของปัญหาการวิจยั หนง่ึ นาไปใชก้ าหนดเปน็ แนวทางในการหาคาตอบของปญั หาการวจิ ัยอีกปญั หาหนึง่ หรอื ในบางปญั หาที่มี ความตอ้ งการได้รับวธิ ีการแก้ปัญหาทร่ี วดเรว็ ทจี่ ะนาไปใช้ มิฉะน้นั อาจจะก่อใหเ้ กิด ความเสยี หายได้ ดังนนั้ ผวู้ ิจัยจะต้องดาเนนิ การวิจัยในปัญหาการวจิ ัยดงั กล่าวใหเ้ สร็จสนิ้ ก่อน 12.2 ขอบเขตของปัญหาการวจิ ัย โดยทีผ่ ู้วิจัยจะตอ้ งพจิ ารณาในรายละเอียดของขอบเขต ในทกุ ประเด็นของปญั หาการวิจัยทีเ่ ก่ียวข้องวา่ จะมีอะไรบ้าง เป็นอยา่ งไร เพ่ือทีจ่ ะได้มกี ารจดั เตรยี มความพรอ้ มไว้ล่วงหน้า ทาใหไ้ ม่เกดิ ปญั หาในระหวา่ งทีจ่ ะดาเนนิ การวิจัย 12.3 ขอ้ มลู ที่ต้องการ เป็นการพจิ ารณาของผูว้ จิ ยั วา่ ในปัญหาการวจิ ัยทีก่ าหนดขน้ึ จะต้อง ใช้ข้อมูลอะไรบ้าง ได้มาจากแหล่งมูลใด ใชข้ ้อมลู ปฐมภูมหิ รอื ข้อมูลทตุ ยิ ภูมิ หรือแหล่งศึกษาคน้ ควา้ ขอ้ มูลเพื่อสนับสนุนหรืออา้ งอิงอย่ทู ่ีใด ฯลฯ 12.4 ประโยชนท์ ีจ่ ะไดร้ ับ เปน็ การพิจารณาของผู้วิจัยในประเด็นของประโยชนท์ จ่ี ะได้รบั จากการวิจยั เม่ือการวจิ ัยดาเนินการเสรจ็ ส้ินแล้ว ทง้ั ในประโยชนเ์ ชงิ วิชาการทีจ่ ะได้เพิ่มพูน องค์ความร้ใู นศาสตร์น้นั ๆ และประโยชนใ์ นการนาผลการวิจยั ไปประยุกต์ใชใ้ นการแกป้ ัญหาที่ เกดิ ขน้ึ ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ 12.5 ความรคู้ วามเขา้ ใจของผวู้ จิ ัย เป็นการพิจารณาของผูว้ ิจัยว่าตนเองมคี วามรู้ ความเขา้ ใจในปัญหาการวิจัยนนั้ มากน้อยเพยี งใด ท้ังในความรเู้ ชงิ ทฤษฏี และความรเู้ กยี่ วกบั ข้อมูล ทต่ี อ้ งการ ทจี่ ะนาไปสคู่ วามสาเรจ็ ของการวิจยั ในประเด็นน้ัน ๆ 12.6 ทรัพยากรที่ต้องใช้ในการวจิ ยั เปน็ การพจิ ารณาการใชท้ รพั ยากรในการวจิ ยั มี อะไรบ้าง มากนอ้ ยเพียงใด ได้มาจากแหล่งใด มีข้อจากัดอะไรในการใช้ทรพั ยากร เพ่ือตัดสินใจในการ กาหนดขอบเขตของปัญหาการวจิ ัยทส่ี ามารถดาเนนิ การวิจยั ไดโ้ ดยไมส่ ่งผลกระทบต่อผลการวจิ ยั
ระเบยี บวิธกี ารวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าท่ี 57 สาระสาคญั บทที่ 2 กระบวนการวิจัยและการวิเคราะห์ปัญหาการวจิ ยั ในการเรยี นรบู้ ทน้ีมสี าระสาคัญ ดังนี้ 1. กระบวนการวิจัย มขี น้ั ตอนการดาเนินการ ดังน้ี 1) กาหนดปัญหาการวิจยั 2) การศึกษา เอกสารและงานวจิ ยั ที่เกยี่ วข้อง 3) การกาหนดกรอบแนวคดิ ในการวิจยั 4) การกาหนดสมมตุ ิฐาน 5) การออกแบบการวจิ ัย ( การออกแบบการสุ่มตวั อยา่ ง, การออกแบบวดั ตวั แปร และ การออกแบบ การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ) 6) การเก็บรวบรวมขอ้ มลู 7) การวเิ คราะห์และแปลผลข้อมลู 8) การสรปุ ผลและ การเขยี นรายงานการวจิ ัย และ9) การเผยแพรผ่ ลงานการวจิ ยั 2. เหตุผลทจี่ าเปน็ ตอ้ งมีการดาเนนิ การวจิ ัยท่จี าแนกตามปัญหา มีดังนี้ 1) การวิจยั เพือ่ แกไ้ ข ปญั หาที่เกดิ ข้ึน 2) การวิจัยเพื่อปอ้ งกันปัญหา และ 3) การวจิ ัยเพือ่ พัฒนาการปฏิบัติให้ดขี ึ้น 3. ปัญหาการวิจยั เป็นประเดน็ ที่ก่อให้เกิดความสงสัย มีความตอ้ งการท่จี ะทราบคาตอบ และได้พจิ ารณาวา่ มแี นวทางในการแสวงหาคาตอบทเี่ ปน็ ระบบและมีข้ันตอนทช่ี ัดเจน ซงึ่ ปญั หา การวจิ ัยจะมจี านวนมากอนั เนื่องจาก 1) ตวั แปรมจี านวนมากและเปลี่ยนแปลงตามเวลา/สถานที่อยู่ เสมอ ๆ 2) การแสวงหาคาตอบของการวิจยั ยังไม่ครบถว้ น สมบูรณ์ และ3) มกี ารเปลยี่ นแปลง แนวคดิ หลกั การและทฤษฎีที่จะตอ้ งไดร้ บั การตรวจสอบ พิสจู นค์ วามถกู ต้องดว้ ยวธิ กี ารที่เปน็ ระบบ และชัดเจน 4. ลักษณะของปญั หาการวิจัยทด่ี ี จะมีลกั ษณะ ดังน้ี 1) แสดงความสัมพนั ธ์ระหว่างตัวแปร ตง้ั แต่สองตัวแปรขึน้ ไป 2) ขอบเขตของปัญหาการวิจยั ต้องมคี วามเป็นไปได้สาหรับท่จี ะหาคาตอบด้วย วธิ กี ารเชิงประจักษ์ 3) เป็นไปตามหลกั จริยธรรมทไ่ี มก่ ระทบกระเทือนหรือทาความเดือดรอ้ นให้ผู้อน่ื 4) มคี วามสาคัญเปน็ ประโยชน์ต่อสงั คม และช่วยเสรมิ สร้างองค์ความรู้ 5) กรณปี ญั หาวิจัย ทมี่ ผี ้วู จิ ยั อ่ืนทาไว้แล้ว ผู้วจิ ยั ตอ้ งมีความมน่ั ใจวา่ มีความจาเป็นทีต่ ้องทาวิจยั นั้นอีก 6) มคี วามคดิ ริเร่มิ สร้างสรรค์ 5. การวิเคราะห์ปญั หาการวจิ ัย มขี ั้นตอนในการดาเนนิ การ ดังนี้ 1) รวบรวมขอ้ เทจ็ จรงิ 2) สังเกตว่าข้อเท็จจริงมีความเก่ียวข้องกบั ประเด็นปัญหา หรือไม่ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ขอ้ เท็จจริง 4) กาหนดคาถามการวจิ ยั /สมมตุ ฐิ าน 5) กาหนดความสมั พนั ธร์ ะหว่างคาอธบิ ายทจ่ี ะ เปน็ ประเดน็ ทีส่ าคญั ของประเดน็ ปัญหา 6) กาหนดความสัมพันธร์ ะหว่างความจรงิ และคาอธบิ าย และ7) มีขอ้ ตกลงเบ้ืองต้นอะไรทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั ประเดน็ ปญั หา
หนา้ ที่ 58 บทที่ 2 กระบวนการวิจยั และการวิเคราะหป์ ญั หาการวิจัย คาถามเชิงปฏบิ ตั ิการบทที่ 2 กระบวนการวิจัยและการวิเคราะห์ปญั หาการวิจัย คาช้ีแจง ให้ตอบคาถามจากประเดน็ คาถามท่ีกาหนดให้อยา่ งชดั เจน 1. กระบวนการวิจยั คืออะไร 2. ถา้ ท่านจะดาเนนิ การวจิ ยั เรื่องใดเรอ่ื งหนึ่งท่านจะกาหนดกระบวนการวิจัยตัง้ แตเ่ ริ่มต้น จนกระทงั่ การวิจัยสาเร็จได้อย่างไร 3. เพราะเหตุใด “ในการดาเนินการวิจยั ” จึงมจี ุดเร่ิมต้นทีป่ ญั หาการวจิ ยั 4. ท่านจะทราบได้อย่างไรว่าปญั หาการวจิ ัยท่ีท่านกาหนดมคี วามเหมาะสมที่จะดาเนินการ การวจิ ยั ได้ 5. ปญั หาทน่ี ักวจิ ยั มักจะพบเสมอ ๆ ในการกาหนดปัญหาการวิจยั มากทีส่ ดุ คือปญั หาใด และ ท่านมีแนวทางการแกป้ ญั หาที่เกิดข้นึ อย่างไร 6. ใหท้ า่ นระบุวธิ ีการท่ีจะชว่ ยใหท้ า่ นได้ “ปัญหาการวจิ ัย” ทีถ่ กู ต้อง 7. เพราะเหตใุ ด นักวจิ ัยจงึ ระบุว่าการกาหนดปัญหาการวิจยั เป็นข้ันตอนของการวิจัยทย่ี ากท่ีสดุ 8. ในการกาหนดช่ือปัญหาการวจิ ัยมีองคป์ ระกอบใดบา้ ง เพราะเหตใุ ด 9. ท่านจะไดป้ ัญหาการวิจัยจากแหลง่ ใด เพราะเหตุใด 10. ให้ทา่ นไดเ้ ปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างปัญหาท่วั ๆ ไป กับปญั หาการวจิ ยั วา่ มอี ะไรบา้ ง อยา่ งไร 11. ใหท้ ่านได้ระบปุ ญั หาการวิจยั พรอ้ มทง้ั รายละเอียดของสภาพปัญหาท่เี กดิ ข้นึ วา่ เปน็ อย่างไร ทไ่ี ด้จากประสบการณ์ของทา่ นหรอื จากการศึกษาคน้ คว้าเอกสารและงานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง 12. ทา่ นมเี กณฑอ์ ย่างไรในการพิจารณาวา่ ปญั หาการวจิ ยั น้นั ๆ อยู่ในเกณฑด์ ี 13. ใหท้ ่านได้กาหนดแผนปฏิบตั กิ ารในการดาเนนิ การวิจัยทีแ่ สดงความสมั พันธ์ระหวา่ ง การดาเนนิ การวิจยั และระยะเวลาทใี่ ช้ 14. ให้ท่านไดศ้ กึ ษาชอ่ื ปัญหาการวจิ ยั มา 5 เรอ่ื ง แล้ววิเคราะห์วา่ ช่ือเร่ืองดังกลา่ วสอดคล้อง กับหลกั การในการกาหนดชอื่ เรือ่ งทดี่ ี หรอื ไม่ อยา่ งไร 15. เพราะเหตุใด ในการวจิ ยั จึงต้องกาหนด “วัตถุประสงค์ของการวจิ ัย”ใหม้ ีความชดั เจน 16. ให้ท่านได้ศึกษาวตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย 1 เรื่องแลว้ วเิ คราะหต์ ามหลักเกณฑใ์ น การกาหนดวัตถุประสงค์การวิจัยทด่ี ีว่าเป็นอย่างไร
บทที่ 3 การทบทวนเอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ กี่ยวขอ้ ง Re + View Review ทบทวน แนวคดิ /มุมมอง การทบทวนแนวคิด/มมุ มอง ในการวจิ ยั ใด ๆ นน้ั การทบทวนเอกสารและงานวจิ ยั ท่เี กี่ยวข้องจะเปน็ ขนั้ ตอนก่อน-หลงั จากผู้วจิ ยั ไดก้ าหนดปัญหาของการวจิ ยั อยา่ งชดั เจนแล้ว ทจี่ าเปน็ จะต้องมีการศึกษา แนวคดิ ทฤษฏี หรอื กฎเกณฑ์วา่ จะใชแ้ นวทาง/ระเบียบวิธีการใดในการศึกษาปัญหาหรอื วธิ ีการแก้ไขปัญหาการวิจัยน้ัน ๆ รวมทั้งมกี ารศกึ ษางานวจิ ัยทเ่ี กีย่ วข้องทง้ั ในและตา่ งประเทศแลว้ ว่าไดม้ ีการศกึ ษาปญั หาการวิจัยดงั กล่าว หรอื ไม่ ดาเนนิ การวจิ ยั อยา่ งไร และผลลัพธ์ของการวจิ ัยทไ่ี ด้รบั เป็นอย่างไร เพ่ือใช้เปน็ แนวทางเบือ้ งตน้ ใน การดาเนินการการวจิ ยั ,การกาหนดสมมตุ ฐิ าน/ตัวแปร,การออกแบบการวจิ ยั หรอื การสร้าง กรอบแนวความคิด เปน็ ต้น เอกสารและงานวจิ ยั ท่เี กี่ยวข้อง 1. ความหมายของเอกสารและงานวจิ ัยที่เกี่ยวขอ้ ง เอกสาร หมายถงึ แหลง่ ท่ีมาของข้อมูลและข่าวสารต่าง ๆ ได้แก่ หนงั สอื สงิ่ พมิ พ์ และบันทกึ หรือ ข้อความใด ๆ ทใ่ี ชเ้ ป็นหลกั ฐานอ้างองิ รวมทง้ั แผนภมู ิประเภทต่าง ๆ อาทิ กราฟ ภาพวาด ภาพระบายสี แผนท่ี ตลอดจนสัญลักษณห์ รือเครื่องแบบแสดงความนึกคิดของมนษุ ย์ทย่ี ังมีเหลืออยู่ อาทิ หลกั ศิลาจารกึ ศิลปะ โบราณวัตถุ เหรียญ อนุสาวรยี ์ และสถาปัตยกรรม เป็นต้น(Best,1986 : 107) เอกสารและงานวิจยั หมายถงึ เอกสาร/ผลงานวชิ าการท่ีมีการจดั ทา หรือจดั พมิ พเ์ ผยแพร่ใน ลกั ษณะสอ่ื ส่ิงพิมพ์ อาทิ หนงั สอื ตารา วารสาร สารานุกรม หนงั สือพิมพ์ วทิ ยานิพนธ์ และรายงาน การวิจยั จดหมายเหตุ และรายงานประจาปี เป็นตน้ หรือมีการบนั ทึกในลกั ษณะของส่ือทศั นปู กรณ์ อาทิ เทปบนั ทกึ เสยี ง วีดีทัศน์ วีซดี ี และดีวีดี เปน็ ต้น หรอื มีการบนั ทกึ ในลกั ษณะของเอกสาร อีเลก็ ทรอนิค อาทิ ฐานข้อมลู ซีดรี อม เครื่องขา่ ยคอมพวิ เตอร์ E-book หรือ E-research เปน็ ต้น (Neauman, 1997 :67)
หน้าท่ี 60 บทที่ 3 การทบทวนเอกสารและงานวจิ ยั ท่เี กย่ี วข้อง การศึกษาเอกสารและงานวิจัยทเ่ี ก่ยี วข้อง(Review of Literature)หมายถงึ การศึกษาค้นคว้า และสังเคราะห์ผลงานทางวชิ าการทีเ่ ก่ยี วกับประเด็นที่จะทาวิจัยเพ่อื ช้ใี ห้เห็นสถานภาพขององค์ความรู้ เก่ยี วกับแนวความคดิ ระเบยี บวิธกี ารวิจยั กอ่ นทจี่ ะลงมือทาวิจยั (สชุ าติ ประสิทธ์ิรฐั สนิ ธ์ุ,2546 : 33) สรปุ ไดว้ า่ การศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ที่เกยี่ วข้อง เปน็ การศึกษาหรือตรวจสอบทฤษฏแี ละ งานวจิ ัยท่เี กี่ยวข้องกบั ประเด็นในการวจิ ัย โดยท่ผี ู้วิจัยจะตอ้ งดาเนนิ การสรุปข้อคน้ พบของนักวจิ ยั / นักวชิ าการท่ไี ด้ศึกษาวิจยั ในประเดน็ ทีใ่ กลเ้ คียง/คลา้ ยคลงึ อย่างเปน็ ระบบแล้วนามากาหนด/พฒั นา ประเด็นคาถามหรือกาหนดสมมุติฐานในการวิจัยใหม้ คี วามชดั เจนมากยงิ่ ขึน้ 2. ความสาคัญของการศึกษาเอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง ในการวจิ ยั ใด ๆ การศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ กยี่ วข้อง มคี วามสาคญั ต่อการวจิ ัย คือ การได้รบั ข้อมูล หรือข้อสนเทศท่เี ก่ียวกับเน้ือหาสาระ ทฤษฏี หลักการ ประเดน็ สมมุติฐาน แนวคดิ แนวทางในการดาเนนิ การวิจัย การวเิ คราะห์ข้อมลู สถิติท่ีใช้ หรอื ข้อเสนอแนะจากการวิจยั ฯลฯ ทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ ่อผูว้ จิ ยั ในการนามาใชใ้ นการวางแผนและดาเนนิ การวิจยั ของตนเองให้ไดผ้ ลการวจิ ัย ที่มคี ณุ ภาพ และน่าเช่อื ถือมากย่งิ ขน้ึ (Ethride,1995 : 116) ซึ่งได้มีนักวิชาการจาแนกความสาคญั ของ การศกึ ษาเอกสารและงานวิจัย ดงั น้ี (สมคดิ พรมจยุ้ ,2545 : 39-40; กฤตยิ า วงศก์ ้อม,2545 : 56-57; ลว้ น สายยศ และอังคณา สายยศ, 2528 : 34-35) 2.1 ใหผ้ ู้วจิ ยั ทราบวา่ งานวจิ ยั ท่ีใกล้เคียงกับเร่ืองทต่ี นเองจะดาเนนิ การวจิ ัยนั้น มีบุคคลใด ไดศ้ ึกษาไว้ และผลการวจิ ยั เป็นอย่างไร 2.2 ให้ผวู้ ิจยั ได้รับความรู้ทช่ี ดั เจนยิ่งเกี่ยวกบั นยิ าม สมมุติฐาน ขอบเขตของการวจิ ยั แนวคดิ ทฤษฎีของเร่ืองท่ีเปน็ ปัญหาการวจิ ัย ทจ่ี ะทาให้ผู้วจิ ัยพิจารณาปญั หาได้ชัดเจนมากย่ิงขน้ึ 2.3 ทาใหผ้ ู้วิจัยคน้ พบกระบวนการเรียนรู้ วธิ กี ารแก้ปญั หาในสภาพต่าง ๆ ทีจ่ ะใชเ้ ปน็ แนวทางใหผ้ วู้ ิจัยสามารถแก้ปัญหาขัดข้องทตี่ นเองอาจจะประสบในโอกาสต่อไป 2.4 ให้ผวู้ จิ ัยได้ทราบความกา้ วหน้าของผลการวจิ ยั ทเี่ ก่ยี วข้องกบั ปัญหาการวจิ ัยของตน ทจ่ี ะช่วยใหผ้ ู้วจิ ยั มองเห็นการวจิ ัยของตนวา่ มสี ่วนเก่ยี วข้องกับการวิจยั อื่น ๆ อยา่ งไร มใี ครทาวิจยั มาก่อน มากน้อยเพียงไร ใช้วิธกี ารคน้ คว้าหาคาตอบด้วยวธิ ีการใด และเปน็ วธิ ที ก่ี า้ วหน้าเพยี งใดถ้าหากปัญหาน้ัน ได้มีการวจิ ัยจนกระทั่งได้คาตอบเปน็ ท่ยี ุติแนน่ อนแล้ว ผูว้ จิ ัยก็จะไดเ้ ลอื กหวั ข้อวจิ ัยใหม่ต่อไป 2.5 ให้ผู้วิจยั ไดท้ ราบข้อมลู เก่ียวกบั รูปแบบการวจิ ยั เครื่องมือและวิธกี ารเกบ็ รวบรวมข้อมลู ตลอดจนวิธกี ารวเิ คราะห์ขอ้ มูลของงานวิจัยท่ีทาไว้แล้วในเร่ืองที่เกยี่ วข้องน้ัน ซ่ึงความรู้ทีไ่ ด้รับสามารถ นามาแก้ไขปรบั ปรุงงานของตนไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 2.6 ให้ผ้วู จิ ัยสามารถประเมินความพยายามของตนโดยเปรยี บเทียบกับความพยายามของ ผู้วิจยั อืน่ ๆ ในประเด็นการวจิ ยั ทใ่ี กล้เคียงกันนี้ 2.7 กาหนดแนวทางในการเขยี นรายงานการวจิ ัย และประเมนิ ประเด็นปัญหาการวิจยั วา่ มีคุณค่ามากหรอื น้อยเพียงไรทัง้ ในประเดน็ การสร้างองค์ความร้ใู หม่ หรอื คณุ ค่าทางเศรษฐกิจ เป็นต้น
ระเบยี บวธิ ีการวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หน้าที่ 61 3. วตั ถุประสงค์ของการศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ ก่ียวข้อง ในการวจิ ัยใด ๆ วัตถปุ ระสงค์ของการศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่เี ก่ยี วข้อง คือ การสรา้ ง ความมนั่ ใจให้แก่ผวู้ ิจยั และผูศ้ ึกษางานวิจัยว่าผู้วจิ ยั มคี วามรู้รอบร้ใู นประเด็นการวจิ ยั และมีความรู้ ทเ่ี พียงพอจะทาการวจิ ัยได้อย่างมคี ณุ ภาพ และเป็นส่วนทน่ี ามาพจิ ารณาว่าประเดน็ การวิจยั และ ขอ้ คน้ พบชว่ ยเสรมิ สร้างความร้ทู างวิชาการ และเป็นประโยชนใ์ นการนาไปใช้เพื่อพัฒนาหรือไม่ และมคี วามเหมาะสมทจ่ี ะดาเนินการวจิ ัยหรอื ไม(่ Neuman.1997 : 68-69 ; นงลกั ษณ์ วริ ัชชยั , 2543 : 55-57 ; บุญใจ ศรี สถติ ย์นรากลู ,2547 : 33)โดยมีวัตถปุ ระสงค์ท่สี าคญั ในการศกึ ษาเอกสาร และงานวจิ ัยทเ่ี ก่ียวข้อง ดังนี้ 3.1 เพื่อให้ทราบสภาพทเ่ี ป็นปัญหาทางสังคมโดยทว่ั ไปในประเดน็ ทส่ี นใจทาใหไ้ ด้ข้อมูล ในการนามาเขยี นความเปน็ มาและความสาคญั ของปญั หาการวิจัยไดอ้ ยา่ งชดั เจน 3.2 เพือ่ ให้เกดิ ความชัดเจนในการกาหนดปัญหาการวิจยั เป็นการศึกษาเพื่อใหไ้ ด้ขอ้ มูลว่า ประเด็นท่ีสนใจจะทาการวิจัยนั้นมีบคุ คลใดได้ทาวจิ ยั ไปแล้วบา้ ง ผลเปน็ อย่างไรมีความครอบคลุม ในประเด็นนัน้ ๆ หรอื ไม่ ยงั มีประเดน็ ยอ่ ย ๆ ประเดน็ ใดท่ยี ังไม่ไดว้ ิจัยและมีคณุ คา่ ทีจ่ ะวิจยั หรือไม่ ทจ่ี ะทาใหไ้ ด้ขอ้ มลู ในการนามากาหนดคาถามการวิจัยได้อย่างเหมาะสม ไมซ่ ้าซอ้ น รับทราบความสาคญั ของประเด็นที่ต้องการวจิ ัย และความเชอ่ื มโยงของงานวิจัยตนเองกับงานวิจัยในอดีต 3.3 เพ่อื ให้พัฒนากรอบความคิดในการวิจยั และสมมุตฐิ านการวจิ ัย ในการนาเสนอ กรอบแนวคิดเบ้ืองตน้ อาจมกี ารนาเสนอในลักษณะกรอบแนวคดิ ท่ีกวา้ ง ๆ ดงั นั้นจะตอ้ งศกึ ษา เอกสารและงานวิจยั ท่ีเกย่ี วข้องเพ่ือกาหนดตัวแปรทต่ี ้องการศกึ ษาในลักษณะของคานยิ าม เชงิ ปฏิบตั กิ ารและสมมุตฐิ านการวิจัยที่มพี ื้นฐานทฤษฎี และงานวิจัยอา้ งอิงความถูกต้องและชัดเจน 3.4 เพ่อื ให้มีข้อมลู ใช้พจิ ารณาตัดสนิ ใจเลอื กวิธีดาเนนิ การ เปน็ การศึกษาแบบแผนของ การวิจยั วา่ แตล่ ะข้นั ตอนมีจดุ เดน่ หรอื จุดบกพรอ่ งทต่ี ้องปรับปรงุ แก้ไขอยา่ งไร เพ่อื ให้สามารถเลอื ก ใช้แบบแผนการวจิ ัยในการดาเนนิ การวิจยั ใหมไ่ ด้อยา่ งมีคุณภาพและมาตรฐานสูงกว่างานวิจัยในอดีต 3.5 เพอ่ื ใหน้ าไปอภิปรายผลการวิจยั และทราบประโยชน์ที่ได้จากการวิจัย เป็นการนาสาระ ที่ได้จากการศึกษาเอกสารและงานวิจยั ทเี่ ก่ียวขอ้ งมาสงั เคราะห์ เพ่ือนาไปใชใ้ นการอภิปรายผลว่าแตกตา่ ง หรือสอดคล้องกับกรอบแนวคิด ปฏเิ สธหรอื ยอมรับสมมตุ ิฐานท่ีกาหนดขึ้น ตอบคาถามของประเด็นการ วจิ ยั หรอื ไม่ และจะทาใหก้ ารวิจยั ของตนจะเกดิ ประโยชนท์ ้งั ด้านวิชาการและการนาไปใชไ้ ด้อยา่ งไร ทแี่ สดงความสมั พันธร์ ะหวา่ งทฤษฎี การวิจัย และ เอกสารหรืองานวจิ ัยท่ีเกยี่ วข้อง ดงั แสดง ในภาพท่ี 3.1 (ปารชิ าต สถาปติ านนท์,2546:89)
หนา้ ท่ี 62 บทที่ 3 การทบทวนเอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ กย่ี วข้อง ประยกุ ตใ์ ช้ เอกสาร ขอ้ สรปุ อนมุ าน การยนื ยนั ทฤษฏี การศกึ ษา การพัฒนาทฤษฏี อปุ มาน Deduction Induction หลักฐาน งานวิจัย สมมตุ ิฐาน ภาพท่ี 3.1 ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งทฤษฎี สมมุตฐิ าน งานวิจัย และ เอกสารหรืองานวจิ ยั ที่เก่ียวข้อง 4. แหล่งศกึ ษาคน้ ควา้ เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วข้อง ในการศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ กีย่ วข้องใด ๆ นน้ั หอ้ งสมดุ หรอื สานกั วิทยบริการ ของหนว่ ยงานตา่ ง ๆ จะเป็นแหลง่ ข้อมลู ท่ีตอบสนองต่อความตอ้ งการในการสบื คน้ ของผวู้ ิจยั ท่ีอาจจะอยใู่ นลักษณะของส่ือเอกสารสิ่งพมิ พ์ หรือการบนั ทึกขอ้ มูลในรูปสือ่ ต่าง ๆ ท่ีใชเ้ ทคโนโลยี ทใ่ี ชก้ ารสืบคน้ ด้วยคอมพวิ เตอร์หรอื ทางอินเตอรเ์ น็ต โดยมีรายละเอียดของแหล่งข้อมูลที่ใชใ้ น การศึกษา ดังน(ี้ Wiersma,2000 :51-63 ; Neuman,1997 : 70-74 ; สมพร พฒุ ตาลเบ็ทซ,์ 2546 : 5-23) 4.1 หนังสือ หรือตารา (Textbook) เปน็ เอกสารปฐมภมู ิท่ีมเี นือ้ หาสาระทเี่ กยี่ วกับทฤษฏี หลักการ หรือแนวคิด ฯลฯ ท่ีเปน็ ทย่ี อมรบั ของบุคคลโดยทว่ั ไปในการนาไปใช้หรือนาไปกลา่ วอา้ งองิ ใน การดาเนนิ การได้ ดงั น้ันบุคคลทีเ่ ขียนหนังสือควรเปน็ บคุ คลท่นี ่าเชอ่ื ถือ/มชี ่อื เสียงท่ีเปน็ ทย่ี อมรับ ในศาสตรส์ าขาวิชานน้ั ๆ จาแนกออกเป็นหนังสือและตาราภายในประเทศ และตา่ งประเทศ 4.2 รายงานการวิจยั รายงานการศึกษา หรอื วทิ ยานพิ นธ์ หรือปริญญานพิ นธ์ เปน็ เอกสาร ท่ีบุคคลหรือคณะบคุ คลไดจ้ ดั ทาขึ้นเพื่อมวี ตั ถปุ ระสงคใ์ นการศึกษาค้นควา้ ในเรื่องใดเร่อื งหน่ึง ที่แตกตา่ งกัน กล่าวคือ นักศึกษาในระดับบณั ฑติ ศึกษาจะจัดทาขนึ้ เพ่อื นาเสนอต่อสถาบันการศกึ ษาใน การใช้พจิ ารณาประกอบการจบหลกั สตู รนัน้ ๆ หรือบุคคลท่ัวไปจดั ทาข้ึนเพื่อตอบสนองความตอ้ งการ ของตนเองในการแสวงหาความรู้ หรอื ความต้องการของหน่วยงานที่ตนเองสังกดั เปน็ ตน้ 4.3 บทคดั ยอ่ งานวจิ ยั /วิทยานพิ นธ์ (Abstracts) เป็นเอกสารทห่ี นว่ ยงาน หรอื สถาบนั ทาง การศกึ ษาจัดทาขึน้ เพ่ือรวบรวมบทคดั ย่องานวจิ ัยของหนว่ ยงานหรือนักศกึ ษาในสถาบันจัดพมิ พเ์ ปน็
ระเบยี บวิธีการวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หนา้ ที่ 63 ฉบบั รวมเลม่ ในการสง่ ไปทห่ี น่วยงานหรือสถาบนั การศึกษาอื่น ๆ ในการเผยแพรผ่ ลงาน หรอื อาจมี การบนั ทึกในสอื่ คอมพิวเตอร์ในลกั ษณะของฐานข้อมลู เพือ่ ใหบ้ รกิ ารสืบคน้ ข้อมลู ทางอินเตอร์เน็ต อาทิ บทคดั ย่องานวทิ ยานิพนธ์ของจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย,บทคัดยอ่ งานปริญญานิพนธข์ องมหาวทิ ยาลัย ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ หรอื Dissertation Abstracts International (ทเี่ ปน็ แหล่งเกบ็ รวบรวมงาน วิทยานพิ นธร์ ะดบั ปรญิ ญาเอกของมหาวิทยาลัยและสถาบนั การศกึ ษาในสหรฐั อเมริกาและประเทศใน ทวีปยุโรป) เปน็ ต้น 4.4 วารสาร (Journal) เป็นเอกสารที่หน่วยงาน หรือองคก์ รในศาสตรส์ าขาวชิ านน้ั ๆ ได้ รวบรวมงานวจิ ัย หรอื บทความทางวชิ าการท่เี ก่ยี วกบั ศาสตรข์ องตนเอง หรอื ท่นี า่ สนใจเพื่อเผยแพร่ ตามกาหนดระยะเวลาทีแ่ นน่ อน ต่อเน่ืองและสมา่ เสมอ อาทิ วารสารวดั ผลการศึกษา, วารสารการวิจยั ทางการศกึ ษา, ขา่ วสารการวิจยั การศึกษา ,American Educational Research Journal หรอื Journal of Educational Research เปน็ ต้น 4.5 สารานกุ รม,พจนานกุ รม, ศพั ทานุกรม นามานุกรม และปทานุกรม เป็นเอกสารที่ รวบรวมสาระต่าง ๆหรอื คาศัพท์ท่ีใชอ้ ธิบายความหมายของศพั ท์ทางการศึกษา หรอื ทางการวิจัย หรือ อนื่ ๆ เพ่ือใหผ้ วู้ จิ ัยได้ศกึ ษาและทาความเขา้ ใจในสาระ/คาศัพท์ที่พบในเอกสารและงานวจิ ยั ท่ี เก่ียวข้องได้ถูกต้องชัดเจนมากขน้ึ อาทิ สารานุกรมศกึ ษาศาสตร์ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมไทย-องั กฤษ,ศัพทานกุ รมเกี่ยวกบั การวิจยั หรอื ปทานกุ รมเกี่ยวกับการศกึ ษา เปน็ ต้น 4.6 รายงานประจาปี(Yearbook) เป็นเอกสารทจ่ี ัดทาข้นึ โดย หนว่ ยงาน องคก์ ร สมาคม ฯลฯ เพื่อรวบรวมข้อมลู หรอื สารสนเทศเก่ยี วกับความก้าวหน้าของวิทยาการหรือผลการปฏิบัติงานท่ี เกิดขน้ึ ในรอบปีทผี่ ่านมา เพ่ือเผยแพรใ่ ห้บุคคลทเี่ กยี่ วขอ้ ง หรือสนใจได้รับทราบ อาทิ สถิติข้อมูลของ หน่วยงานตา่ ง ๆ เป็นต้น 4.7 คมู่ อื (Handbook) เป็นเอกสารท่จี ดั ทาขนึ้ โดยหน่วยงานหรือองค์กรโดยการรวบรวมหรือ สงั เคราะหง์ านวจิ ยั หรือบทความทางวชิ าการของผู้ทรงคณุ วุฒใิ นศาสตร์นั้น ๆ เพ่ือไดน้ าเสนอ ความก้าวหน้า หรอื ขอบเขตขององค์ความรูท้ ีเ่ พม่ิ ขน้ึ ต่อบคุ คลในศาสตร์เดียวกันหรือผ้ทู ีเ่ ก่ียวขอ้ ง ไดศ้ ึกษาคน้ คว้า 4.8 การสืบค้นจากฐานข้อมลู ต่าง ๆ เป็นข้อมลู /สารสนเทศท่ีบันทึกดว้ ยคอมพิวเตอรแ์ ละ ไดเ้ ก็บรวบรวมไว้ในฐานขอ้ มูลของหน่วยงานหรือองคก์ รต่าง ๆ เพือ่ ให้บริการ หรือเผยแพรข่ อ้ มูลให้ บุคคลที่เกยี่ วขอ้ ง/สนใจไดม้ าสบื คน้ ขอ้ มลู ในการนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ อาทิ ฐานขอ้ มูล วิทยานิพนธ์ไทย ,ฐานขอ้ มลู DAO(Dissertation Abstracts International On Disc) หรือฐานขอ้ มูล ERIC (Educational Resource Information Center)เป็นตน้ 4.9 หนังสือพมิ พ(์ Newspaper) เป็นส่อื สิ่งพิมพ์ทีม่ ีกาหนดออกเปน็ วาระท่ีแนน่ อนและ ตอ่ เนื่องทีม่ งุ่ ใหข้ ่าวสารและเหตกุ ารณ์ที่น่าสนใจท่ีเกิดข้ึนในชีวิตประจาวันดา้ นต่าง ๆ อย่างรวดเรว็ 4.10 เอกสารประกอบการประชมุ อบรมสัมมนา เป็นเอกสารท่ีใช้ประกอบและอา้ งอิง การประชุม อบรมสัมมนาที่หน่วยงานต่าง ๆ จดั ขน้ึ ซ่งึ จะได้รบั จากการเขา้ ร่วมประชุม/อบรมสมั มนา
หนา้ ท่ี 64 บทท่ี 3 การทบทวนเอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กยี่ วข้อง 5. หลักเกณฑ์ในการคัดเลอื กเอกสารและงานวิจัยทเี่ กี่ยวขอ้ ง ในการคัดเลือกเอกสารและงานวิจยั ท่เี กยี่ วขอ้ งท่นี ามาใช้อ้างองิ ข้อมูลในงานวจิ ยั ท่นี ่าเชอ่ื ถอื มหี ลักเกณฑ์ในการพิจารณา จาแนกได้ดังนี้ 5.1 หลักเกณฑ์ในการคดั เลือกเอกสาร มีดังน้ี ลว้ น สายยศ และองั คณา สายยศ(2528:37)ไดน้ าเสนอหลักเกณฑใ์ นการคดั เลอื กเอกสารและ งานวจิ ัยท่ศี ึกษา ค้นคว้า ดังนี้ 5.1.1 พิจารณาคาสาคัญจากชอ่ื เรื่องวา่ มคี วามเกยี่ วข้องหรือใกลเ้ คียงกับหวั ข้อ/ประเดน็ ในการวิจัยมากน้อยเพียงใด 5.1.2 พิจารณาความใหม่/เป็นปจั จุบนั โดยพิจารณาจากปี พ.ศ. หรือ ค.ศ.ของการพมิ พ์ ถ้ามากกวา่ 10 ปีไม่ควรจะนามาอา้ งอิง ยกเว้นเอกสารที่เป็นทฤษฏีทเี่ ปน็ จรงิ จะนามาใช้ได้ 5.1.3 พจิ ารณาระบบการอา้ งอิงของการเขยี นเอกสารว่าน่าเชื่อถอื หรือไม่ และสามารถ นาไปเป็นแนวทางในการศกึ ษาเพิม่ เติมไดห้ รือไม่ 5.2 หลักเกณฑใ์ นการคดั เลือกงานวิจยั มดี ังนี้ 5.2.1 พิจารณาจากช่ือเร่ืองงานวิจยั ว่าเก่ียวข้องหรือใกลเ้ คยี งกับงานวจิ ยั เร่ืองท่ีจะ ดาเนินการมากน้อยเพยี งไร 5.2.2 พจิ ารณาจากประชากรและกลุ่มตวั อย่าง และตวั แปรทีศ่ ึกษาว่าเหมาะสม และ มสี ภาพใกล้เคียงกบั ประเด็นท่ีศกึ ษามากน้อยเพียงไร 5.2.3 พิจารณาระเบียบวธิ กี ารศกึ ษาและผลการวิจัยว่ามีความถูกต้อง นา่ เช่ือถือเพยี งใด 5.2.4 พจิ ารณาปี พ.ศ. และ ค.ศ.ที่ดาเนินการวิจยั วา่ เป็นปจั จุบันเพียงใด 5.2.5 พิจารณาว่าวารสารท่ีพมิ พ์งานวิจยั เพื่อเผยแพร่มคี วามน่าเชอื่ ถือและเป็นที่ ยอมรับของนักวิชาการในศาสตรน์ ้นั ๆ 5.2.6 ถ้าเป็นงานวทิ ยานพิ นธห์ รือปรญิ ญานิพนธ์ก็ใหพ้ จิ ารณาระดับการศึกษาของ ผนู้ าเสนอ หรอื ชอื่ เสียงของสถาบันนน้ั ๆ 5.2.7 ถ้าเปน็ งานวจิ ยั ทไ่ี ด้รบั ทนุ อุดหนุนการวจิ ยั จะเป็นสง่ิ ทส่ี นบั สนนุ ความน่าเช่อื ถอื ของงานวจิ ยั และผวู้ ิจัย 6. เกณฑ์ในการพจิ ารณาคุณค่าของเอกสาร หลักเกณฑ์สาหรับพจิ ารณาคุณคา่ ของเอกสารอ้างอิงที่ศึกษาคน้ คว้าเพ่ือเขยี นรายงาน ภาคนพิ นธแ์ ละปรญิ ญานพิ นธ์ ดงั น้ี(เทยี นฉาย กีระนันท,์ 2544 :95-96) 6.1 ใหค้ วามรู้ทถ่ี ูกต้องเชื่อถือได้ ไม่ผดิ พลาดบกพร่อง ที่อาจพิจารณาจากขอ้ ความทีเ่ ก่ียวกับ ประเดน็ ทีต่ นเองมีความรู้อยูแ่ ลว้ ถ้าปรากฏวา่ มีความคลาดเคล่อื น อาจสันนิษฐานได้วา่ ตอนอื่น ๆ อาจจะ ไม่ถูกต้องได้อกี
ระเบยี บวธิ ีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หนา้ ที่ 65 6.2 ใหค้ วามรู้ใหม่ท่สี อดคล้องกับเหตุการณ์ จะตอ้ งคดั เลือกศึกษาค้นควา้ จากเอกสาร ทจ่ี ัดพิมพใ์ หม่ ๆ เพื่อให้ได้ความรใู้ หม่ แต่มิได้หมายความว่าหนงั สือใหม่จะดเี สมอไป และ หนงั สอื เก่าจะล้าสมยั เสมอไป ดงั นนั้ จะต้องมีการพิจารณาใหร้ อบคอบก่อนนามาศกึ ษารายละเอยี ด 6.3 มีเนื้อหาสาระท่ีสอดคล้องกับประเด็นการวิจัยท่ีต้องการ อาจจะพจิ ารณาจากคานา สารบัญ ช่อื เร่อื ง ให้มีความสอดคล้องมากท่สี ดุ 6.4 ภาพประกอบ ตาราง กราฟหรือแผนภูมิ ควรจะมีความถูกต้อง ชดั เจน และเพยี งพอ 6.5 ใชภ้ าษาเขยี นทอี่ ่านแล้วเข้าใจง่าย ชัดเจน สมเหตสุ มผล มกี ารอ้างอิง และมบี รรณานุกรม ท่จี ะใช้ตรวจสอบได้ และเปน็ แหล่งที่ใชใ้ นการสืบค้นค้นคว้าตอ่ ไป 6.6 ให้พจิ ารณาวา่ ผู้เขยี นเป็นบคุ คลทีม่ ีความเชยี่ วชาญและประสบการณ์ในเร่ืองนัน้ ๆ เป็นอยา่ งดหี รือไม่ ถา้ เป็นแสดงว่าเป็นเอกสารท่ีมีคุณค่าแก่การศกึ ษาคน้ ควา้ 6.7 สานักพมิ พ์ที่พมิ พเ์ อกสารควรจะเปน็ สานกั พมิ พท์ ่นี ่าเชื่อถอื มีชอ่ื เสียงท่ีได้รับ การยอมรับจากนักวิชาการทัว่ ไป 7. ขัน้ ตอนการศึกษาเอกสารและงานวิจยั ที่เกยี่ วข้อง ในการศึกษาเอกสารและงานวิจยั ที่เก่ยี วขอ้ ง มีขั้นตอนการศึกษา ดังนี้ (นงลักษณ์ วริ ชั ชยั , 2543 : 58-60) 7.1 กาหนดวตั ถปุ ระสงค์/ประเดน็ ของการศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยที่เก่ียวข้องใหช้ ดั เจนว่า เพ่ืออะไร และรู้ขอบเขตของการศึกษาวา่ จะใช้เอกสารและงานวิจัยจานวนมากน้อยเพยี งใด และมี ความลึกซึง้ ในระดับใด 7.2 การค้นหาและคัดเลือกเอกสาร เป็นการค้นหาเอกสารและงานวจิ ยั ที่เก่ียวขอ้ งกับประเดน็ ที่กว้าง ๆ จากตารา วารสารหรือบทความในแต่ละสาขาวชิ าแล้วจึงสืบค้นเจาะลกึ จากบรรณานุกรม ในแตล่ ะประเดน็ หรือใช้ดัชนีทเี่ ป็นคาสาคัญในการสืบค้นจากแหล่งการศกึ ษา หรือสบื ค้นจาก การให้บริการสบื คน้ ข้อมูลดว้ ยระบบอนิ เทอร์เน็ต หลังจากนนั้ จึงนามาอ่านและพจิ ารณาว่าเกี่ยวขอ้ ง จรงิ หรือไม่ โดยใช้วัตถปุ ระสงค์ทีก่ าหนดไว้เปน็ เกณฑใ์ นการพิจารณา ถ้าไมเ่ กีย่ วข้องให้ตัดออก โดยทไี่ มต่ ้องเสียดาย 7.3 ศกึ ษาเอกสารและงานวิจยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งท่ีไดร้ ับการคดั เลือกอย่างละเอียดพรอ้ มทั้งวเิ คราะห์ เนื้อหาสาระท่ีไดจ้ ากการอ่านโดยใช้หลักการ “ใคร ทาอะไร เมอ่ื ไร ท่ีไหน ทาไม และและผลลพั ธเ์ ป็น อย่างไร”รวมทั้งเอกสารนั้นมใี จความสาคัญอยา่ งไร หรือดาเนินการวิจัยโดยมีระเบยี บวิธีอยา่ งไร และได้ ผลสรุปเป็นอยา่ งไร 7.4 จดบนั ทกึ ข้อมลู จากการศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยท่เี กีย่ วข้องลงในบตั รจดบนั ทึกข้อมูล ทจ่ี ัดทาขึน้ มีขนาด 5x8 น้วิ และควรจดั แยกประเดน็ ท่ีสาคัญโดยใชบ้ ัตรแต่ละใบ เพื่อให้เกิดความสะดวก ในการเรยี งข้อมลู หรือการสังเคราะหข์ ้อมลู ที่เก่ยี วข้องกันเขา้ ด้วยกนั ได้ง่าย
หนา้ ที่ 66 บทท่ี 3 การทบทวนเอกสารและงานวิจัยทเ่ี กยี่ วข้อง 7.5 การสงั เคราะห์ข้อมลู จากการศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กีย่ วข้อง โดยการจาแนก ประเดน็ แลว้ นามาบูรณาการสาระเพื่อให้เกิดกรอบความคิดการวจิ ยั และได้รบั ข้อมลู ในภาพรวม ของการวจิ ยั ในอดีตที่สอดคล้องหรอื ขดั แย้งกนั 7.6 เขียนรายงานผลการสังเคราะห์เอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ กีย่ วข้อง โดยมีการดาเนินการดงั น้ี (Wiersma,1991 : 365-366 ; Neuman,1997 : 103-116) 7.6.1 กาหนดโครงร่าง ของการเขยี นที่สอดคลอ้ งกับจดุ มงุ่ หมายของการศึกษา เอกสารและงานวจิ ัยท่ีเก่ยี วข้อง 7.6.2 เขยี นรายงานฉบับรา่ ง(First Draft) โดยกาหนดเป็นยอ่ หน้าที่แตล่ ะย่อหนา้ จะ เร่มิ ด้วยประโยคสาคัญแล้วตามดว้ ยคาอธิบาย ตวั อย่าง ข้อความขยายและจบด้วยประโยคสรปุ หรอื ประโยคที่เชอ่ื มโยงกับเน้ือหาในยอ่ หนา้ ตอ่ ไป โดยใช้ภาษาท่ีงา่ ย ๆ ชัดเจน ไม่ใชศ้ ัพท์วิชาการที่เกิน ความจาเปน็ และควรมกี ารสรุปประเด็นที่สาคญั ในหวั ข้อแต่ละหวั ขอ้ 7.6.3 ปรบั ปรงุ รายงานฉบับร่าง โดยการอา่ นทบทวนหลาย ๆ ครง้ั และอาจมเี อกสาร และงานวิจัยเพ่ิมเติมควรจะนามาสอดแทรก และปรบั ปรุงไดต้ ลอดระยะเวลาทด่ี าเนนิ การวจิ ัย 7.6.4 จดั ทารายงานผลการสังเคราะห์ฉบบั จริงหลงั จากท่ีได้ตรวจสอบรายงานฉบบั รา่ ง จนกระท่ังมีความสมบูรณ์ ดังแสดงขน้ั ตอนของการศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ กยี่ วข้อง ในภาพท่ี 3.2 (นงลักษณ์ วริ ัชชัย, 2543 : 58)
ระเบียบวธิ ีการวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หนา้ ท่ี 67 กาหนดวตั ถปุ ระสงค์การศกึ ษา เอกสารและงานวิจัยทเ่ี ก่ยี วข้อง การค้นหาและคดั เลือก การศกึ ษาเอกสารและงานวิจัยที่ คัดเลือกอยา่ งมหี ลกั การ จดบันทึกข้อมลู ใน บตั รจดบนั ทกึ แต่ละใบ การสังเคราะห์เน้ือหาสาระ เพ่ือสร้างกรอบแนวคดิ การกาหนดลาดบั ในการนาเสนอ ผลการศกึ ษา ภาพที่ 3.2 ขน้ั ตอนของการศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ท่เี กี่ยวขอ้ ง 8. การสืบคน้ เอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ กี่ยวขอ้ งดว้ ยคอมพิวเตอร์ 8.1 ในการสืบค้น และคดั เลอื กเอกสารและงานวิจยั ท่เี ก่ียวขอ้ ง เป็นการสืบค้นรายละเอียด ข้อมูลเบื้องตน้ ทห่ี รือสบื คน้ ด้วยเคร่อื งคอมพวิ เตอร์ มีข้นั ตอนดังนี้(Neuman,1997:95) 8.1.1 กาหนดคาสาคัญ(Key Words)เพื่อใช้สืบค้นจากประเดน็ ปัญหาการวจิ ัยอยา่ ง หลากหลายและกวา้ งขวาง 8.1.2 การเลอื กวธิ ีการสบื ค้นโดยใช้ Search Engine ตา่ ง ๆ อาทิ Google.com หรอื Yahoo.com ฯลฯ ในการสืบค้นข้อมลู จากแหลง่ ฐานขอ้ มูลตา่ ง ๆ 8.1.3 การดาเนนิ การสืบคน้ โดยใชค้ าสาคญั เป็นคาสบื คน้ ทจ่ี ะเร่ิมต้นจากเอกสาร ใหม่ ๆ แลว้ สบื ค้นยอ้ นหลงั จนกระทั่งพิจารณาว่าได้ข้อมูลเพียงพอแล้วจึงหยดุ การสบื ค้น และควรจะ กาหนดปีของเอกสารและงานวิจยั ท่ีตอ้ งการใหช้ ดั เจน เพื่อให้ได้เอกสารและงานวิจยั ทมี่ คี วามทันสมยั สอดคล้องกบั สถานการณ์ในปัจจุบัน
หน้าที่ 68 บทท่ี 3 การทบทวนเอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ กย่ี วข้อง 8.2 ข้อดีและข้อจากดั ของการสบื ค้นข้อมลู โดยใชค้ อมพวิ เตอร์ทางระบบอนิ เทอรเ์ น็ต มดี ังนี้ (ชัยเลศิ พชิ ติ พรชยั ,2544 : 61-63) 8.2.1 ขอ้ ดขี องการสืบคน้ ข้อมลู ด้วยคอมพวิ เตอร์ มดี งั นี้ 8.2.1.1 ขอบเขตของข้อมูลมีความหลากหลาย กว้างขวาง ไร้พรมแดน 8.2.1.2 ข้อมูลมีความทนั สมัย เน่ืองจากผู้สร้างข้อมลู สามารถพฒั นา ปรบั ปรงุ และแกไ้ ขได้ง่าย ตลอดเวลา 8.2.1.3 สะดวกในการสืบค้นทไ่ี ม่มีข้อจากดั ของเวลาและสถานที่ 8.2.1.4 สบื ค้นได้ง่ายและสะดวกโดยใช้ Search Engine 8.2.1.5 การได้ข้อมลู ใชเ้ วลาน้อยกว่าวธิ ีการอ่นื ๆ 8.2.1.6 ประหยัดเวลาและทรพั ยากร 8.2.1.7 เปน็ ห้องสมดุ ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก 8.2.1.8 นาข้อมูลไปจัดหมวดหม/ู่ ทาฐานข้อมลู และจดั การตอ่ ไปไดง้ ่าย 8.2.1.9 สง่ เสรมิ การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองและการเรียนรตู้ ลอดชวี ิต 8.2.2 ขอ้ จากดั ของการสืบค้นขอ้ มูลด้วยคอมพิวเตอร์ มดี ังนี้ 8.2.2.1 เน่ืองจากข้อมูลในอินเทอร์เน็ตมีความครอบคลุม กวา้ งขวาง ดงั น้ัน ถา้ ผูต้ ้องการข้อมลู ขาดทกั ษะการสืบค้นดว้ ยคอมพิวเตอรจ์ ะเสียเวลา และไดร้ ับข้อมลู จานวนมาก ท่ีอาจจะไมส่ อดคล้องกับความต้องการ 8.2.2.2 การอา้ งองิ ข้อมูลจะต้องใช้ความระมัดระวังเนื่องจากข้อมลู ที่สบื คน้ ในบางครั้งจะมีการปรบั ปรงุ แก้ไขท่ีค่อนขา้ งรวดเร็ว 8.2.2.3 จะต้องใช้วิจารณญาณและดุลยพินิจของผใู้ ชข้ ้อมลู ในการพจิ ารณา ความเทย่ี งตรงและความเชือ่ ถือได้ของข้อมลู เนื่องจากบคุ คลใด ๆท่ีมคี วามสามารถในการจดั ทา ก็สามารถเผยแพร่ข้อมูลได้ 8.2.2.4 จะต้องเสียค่าใชจ้ ่ายสาหรบั วัสดุอปุ กรณค์ อมพวิ เตอรท์ ี่มีคุณภาพ ในการสบื คน้ ข้อมูล หรือคา่ บริการในระบบอินเทอร์เนต็
ระเบยี บวธิ ีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หนา้ ที่ 69 9. หลักการของการประเมนิ คุณภาพรายงานสังเคราะหเ์ อกสารและงานวจิ ัยท่เี กยี่ วข้อง ในการประเมินคุณภาพรายงานสงั เคราะหเ์ อกสารและงานวิจยั ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง มีหลกั การพิจารณา ดงั น้ี(นงลักษณ์ วริ ัชชัย,2543 : 228-230) 9.1 ความสอดคล้องของเน้ือหาสาระในรายงานกบั จุดมุ่งหมายในการศกึ ษาเอกสารและ งานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้องท่จี ะชว่ ยใหผ้ วู้ ิจัยสามารถ1)กาหนดปัญหาการวิจยั ไดอ้ ย่างชัดเจน 2)ระบุความสาคัญ ของปญั หาการวิจัย 3)สร้างกรอบความคิดในการวิจยั 4)กาหนดแบบแผนการวิจัยและวิธีดาเนินการวิจยั 5)อภปิ รายผลการวิจยั ได้เป็นอย่างดี จะเปน็ ดัชนที ่บี ่งช้ีความมคี ณุ ภาพของรายงาน 9.2 ความสมบรู ณ์ และถูกตอ้ งของเน้ือหาสาระในรายงานสงั เคราะหเ์ อกสารและงานวิจยั ทีเ่ ก่ยี วข้อง เป็นการตรวจสอบว่ารายงานมีความเทีย่ งตรง ครบถว้ นในองคค์ วามรู้ท่ผี วู้ ิจยั จะทาวิจัยจาก การประเมินของผูป้ ระเมนิ ท่มี ีความรคู้ วามสามารถในองค์ความรู้น้นั ๆ อย่างแทจ้ ริง 9.3 ความเหมาะสมของวธิ ีการนาเสนอรายงาน เปน็ การตรวจสอบว่ามีลาดบั ข้นั ตอน รูปแบบการนาเสนอท่คี รบถ้วนในเนือ้ หาสาระ ในลักษณะท่ีต่อเนอื่ งและภาษาที่ง่าย สนั้ แตช่ ดั เจน ในการส่ือความหมายที่ถูกต้องมีการอา้ งองิ และเขียนบรรณานกุ รมที่ถูกต้องตามหลกั การ 9.4 การใชป้ ระโยชน์จากรายงานสงั เคราะหเ์ อกสารและงานวจิ ัยท่เี กี่ยวขอ้ ง เป็น การตรวจสอบว่ารายงานมเี นื้อหาสาระที่เก่ียวข้องกับงานวจิ ยั อย่างมเี หตุผล ทผ่ี ูว้ ิจัยจะสามารถนา ไปใช้ในการวิจยั ได้อยา่ งแทจ้ ริง 10. การอา่ นเอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ในการอ่านเอกสารและงานวิจัยท่เี กย่ี วข้อง เพื่อให้ได้ประเด็น/สาระสาคญั ทีส่ อดคล้องกับ ความตอ้ งการนั้น ผู้วจิ ัยจะต้องมีความระมดั ระวัง/มจี ุดประสงค์ในการอา่ นท่ีชัดเจน ซึ่งในการอ่าน มีวิธกี ารที่มปี ระสิทธิภาพเพื่อตอบสนองความต้องการดงั กล่าว ดังน้ี(Fraenkel and Wallen,1993 : 69-70) 10.1 การอ่านเพอ่ื คัดเลือกเอกสารและงานวิจยั ท่เี กยี่ วขอ้ งเบือ้ งต้น เป็นการอ่านอย่างคร่าว ๆ ในการคดั เลือกเอกสารและงานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้องกอ่ นท่ีจะนาไปศึกษา ค้นคว้า อยา่ งจริงจัง เพื่อให้ได้ ประเด็น/สาระสาคัญ อาทิ การอา่ นบทนา, สารบัญ, บทคดั ยอ่ หรอื บทสรปุ เป็นตน้ 10.2 การอ่านเพ่อื ประเมนิ คณุ ภาพและการเก็บความ เป็นการอ่านในเชิงวเิ คราะห์ทจี่ ะตอ้ งทา ความเขา้ ใจ เพือ่ นามาสรปุ หรือยอ่ ความให้ไดป้ ระเด็น/สาระที่ต้องการใช้ โดยมลี กั ษณะของการอ่าน ที่สาคัญ ดงั น้ี 10.2.1 การอ่านเพ่ือเกบ็ ใจความสาคญั (Main Idea) เปน็ การอ่านเพ่ือให้ได้ใจความสาคัญ ของเร่ืองท่ีอา่ นในการทาความเขา้ ใจ โดยมีวิธีการดงั น้ี 10. 2.1.1 พจิ ารณาจากชือ่ เร่ืองของเอกสารหรอื งานวจิ ยั ท่เี กยี่ วข้องท่ีจะส่อื ความหมายของสาระสาคญั ท่ีอยใู่ นรายละเอียดได้อย่างชดั เจน
หน้าท่ี 70 บทท่ี 3 การทบทวนเอกสารและงานวิจยั ที่เกีย่ วข้อง 10.2.1.2 พจิ ารณาจากโครงร่างของเอกสารและงานวจิ ัยที่เกี่ยวข้อง อาทิ สารบัญ หรือหัวข้อในแตล่ ะบท 10.2.1.3 พจิ ารณาจากบทนาหรือบทสรุปของเอกสารทจ่ี ะมปี ระโยคสาคญั ระบอุ ยู่หรือในบทคดั ย่อของงานวิจยั ท่ีจะมีการสรปุ ประเด็นทค่ี ้นพบ หรือประเดน็ ที่เกี่ยวขอ้ ง 10.2.1.4 ศกึ ษาในสว่ นที่ได้ระบุประโยคท่ีชนี้ าความคดิ อาทิ โดยสรปุ กล่าวโดยยอ่ หรือจากเหตุผลทก่ี ลา่ วมาจะเหน็ ได้ว่า เป็นต้น 10.2.2 การอ่านเพือ่ เก็บรายละเอยี ด(Details) เปน็ การอ่านในรายละเอยี ดที่ได้นาเสนอ เพือ่ ใชข้ ยายหรอื สนับสนนุ ใจความสาคญั ให้เกิดความชดั เจนมากย่งิ ขึน้ อาทิ ยกตวั อย่าง ขัน้ ตอน ระบเุ หตุผล หรอื การบรรยายความ ฯลฯ 10.2.3 การอา่ นเพ่ือศึกษาการจัดระเบียบความคิด(Organization of Ideas) เป็นการ อ่านเพื่อทาความเข้าใจเน้ือหาสาระทสี่ อดแทรกในข้อความทีผ่ เู้ ขียนต้องการสื่อความหมายใหม้ ี ความชดั เจนในการนามาใชม้ ากย่ิงข้ึน 10.2.4 การอ่านระหว่างบรรทัด(Read between the line) เป็นการอ่านเพื่อทา ความเขา้ ใจอยา่ งลึกซงึ้ ดว้ ยตนเอง ซ่งึ ในบางครัง้ ผู้อ่านอาจจะตอ้ งใชก้ ารตคี วามหมายจากประโยค ศัพท์ หรอื คาทผ่ี ้เู ขยี นใช้ด้วยความมั่นใจ ไม่แนใ่ จ หรือไมช่ ัดเจนแทรกในเนื้อหาสาระนน้ั ๆ อาทิ อย่างแนน่ อน, ท้งั หมด, นาน ๆ ครง้ั ,เกือบจะ,ไมแ่ นใ่ จ ฯลฯ 11. การจดบันทึกเอกสารและงานวิจยั ทเ่ี กีย่ วข้อง ในการจดบนั ทึกเอกสารและงานวจิ ัยทเี่ ก่ยี วขอ้ งนั้น เป็นการจดบนั ทึกสาระสาคัญของเน้ือหา ท่ไี ดม้ าเพื่อใช้สงั เคราะห์ในส่วนทเ่ี ก่ยี วข้องกันให้มีความเชื่อมโยงซง่ึ กนั และกัน ดงั นน้ั จงึ ผู้วิจัยสว่ นมาก นิยมจดบนั ทึกลงในบัตรบันทึกที่เป็นกระดาษจดบันทึกขนาด 5x8 น้วิ ,4x 6 นวิ้ หรืออน่ื ๆ ทจ่ี ะสามารถนาประเดน็ ท่ีจดบนั ทึกเหลา่ นัน้ มาเรียงลาดบั หัวข้อ/เน้ือหาไดใ้ หม่ตามความตอ้ งการ มีประเด็นที่ควรปฏิบัติ ดังน้ี(Wiersma.2000 : 67-79 ) 11.1 ในบัตรบันทกึ แตล่ ะใบ ควรจดบนั ทกึ สาระสาคญั อย่างย่อ ๆ หรือประเดน็ เพยี ง 1 ประเด็นเท่าน้นั เพื่อความสะดวกในการนาไปเรยี งลาดับ 11.2 การจดบันทกึ รายงานการวิจยั /วทิ ยานิพนธ/์ ปริญญานพิ นธ์ ควรมีรายละเอียด ดงั น้ี 11.2.1 ชือ่ เรอ่ื งงานวิจัย 11.2.2 ทีม่ า/ความสาคัญ/ปัญหาการวิจยั อย่างย่อ ๆ และวตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั
ระเบยี บวธิ ีการวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หนา้ ท่ี 71 11.2.3 วิธกี ารดาเนินการวิจัย 11.2.3.1 ตัวแปรท่ีศกึ ษา 11.2.3.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 11.2.3.3 กรอบความคดิ ในการวจิ ัย/สมมุตฐิ าน 11.2.3.4 การออกแบบการวจิ ยั 11.2.3.5 เครือ่ งมือท่ีใช้ในการวจิ ัย/วธิ ีสรา้ งและพฒั นา 11.2.3.6 การเก็บรวบรวมข้อมูล 11.2.3.7 การวิเคราะหข์ ้อมลู /สถิติทใี่ ช้ 11.2.4 สรุปผล และข้อเสนอแนะ 11.3 จดบนั ทกึ ชื่อเรื่อง/สาระสาคญั /ประเดน็ ท่ีมุมขวาของบตั รบนั ทึกเพื่อความสะดวก ในการนาไปเรียงลาดับ/จัดหมวดหมู่ในการสังเคราะห์ 11.4 ด้านหลังของบัตรบนั ทกึ แตล่ ะใบ ควรได้จดบนั ทึกขอ้ มลู ทจ่ี ะนาไปจัดทาบรรณานุกรม อย่างครบถ้วน เพ่ือท่จี ะได้ไมเ่ สียเวลามาค้นคว้าข้อมูลใหม่เม่ือต้องการใช้ข้อมลู น้ัน ๆ อาทิ ชอ่ื /ชอื่ เรอ่ื ง เอกสาร/วารสาร/งานวิจัย ช่อื ผู้เขียน สถานท(่ี จงั หวดั ) สานักพิมพ์ ครงั้ /ปีทีพ่ ิมพ์ เลขหน้าท่ขี ้อความ ปรากฏอยู่ เป็นตน้ 11.5 วธิ ีการจดบันทกึ 11.5.1 การคดั ลอกข้อความ กรณีที่เป็นข้อความท่สี าคัญ และต้องการนาไปใช้ ทั้งข้อความให้คัดลอกทุกตัวอักษร หรือถ่ายสาเนาเอกสารต้นฉบับแนบตดิ บตั รจดบนั ทกึ น้ัน ๆ ไวด้ ว้ ย 11.5.2 การยอ่ ข้อความ ตามหลักการของการย่อความ 11.5.3 การถอดความ โดยการอ่านทาความเข้าใจแล้วใช้สานวนของผวู้ ิจัยใน การจดบนั ทึก 11.5.4 การบันทึกแบบวพิ ากษ์ เป็นการจดบนั ทึกขอ้ ความทศี่ ึกษาโดยแสดงความ คดิ เห็นของผวู้ จิ ัยประกอบไวด้ ้วย 11.5.5 การบันทกึ ขอ้ คาถามทเี่ กดิ ข้ึนระหวา่ งการอ่าน เพื่อใชเ้ ป็นข้อมูลในการศึกษา ขอ้ มลู เพิ่มเติมในประเดน็ ท่ีเกิดคาถาม 11.6 ควรจดบันทึกเอกสารอ้างอิงในบรรณานุกรมหรือท้ายบทความ เพ่อื ใชเ้ ปน็ ข้อมูล ในการสบื ค้นประเด็นท่นี ่าสนใจ หรอื ทย่ี งั ไมช่ ัดเจน
หนา้ ที่ 72 บทที่ 3 การทบทวนเอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ ก่ยี วข้อง 12. การนาเสนอเอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกีย่ วข้อง ในการนาเสนอเอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกย่ี วขอ้ ง เพื่อให้งานวิจัยมคี วามถูกต้อง ชดั เจนและสมบรู ณ์ มีหลักการในการนาเสนอ ดงั น้ี(ธรี ะวุฒิ เอกะกลุ , 2544 : 46) 12.1 ก่อนทีจ่ ะนาเสนอเอกสารและงานวจิ ัยทเี่ กี่ยวข้อง ควรจะมีบทนาที่ได้ระบขุ อบเขตของ สาระสาคัญของเอกสารและงานวจิ ัยทเี่ ก่ยี วขอ้ งว่ามหี วั ข้ออะไรบ้าง 12.2 ควรจะนาเสนอสาระสาคัญของกรอบแนวคิด หลักการ ทฤษฏีของเอกสารหรือ งานวิจัยนนั้ ๆ ทจี่ ะนามาใช้ในงานวจิ ัยท่ีจะดาเนินการเทา่ น้ัน 12.3 ควรนาเสนอในลักษณะของการสังเคราะห์ข้อความ ท่แี สดงความสอดคล้องหรือ ความขดั แย้ง/สาเหตแุ ละผลท่ีเกิดข้นึ โดยใชส้ านวน/ถ้อยคาการเขยี นของผ้วู จิ ัยเอง ไม่ใชเ่ ป็นการนา ข้อความต่าง ๆ มาเชื่อมต่อกันเท่าน้นั 12.4 ในแตล่ ะตอนของเอกสาร/งานวิจัยทีน่ ามาอ้างอิง ควรมกี ารสรุปประเด็น/สาระสาคัญ ทีเ่ ก่ยี วข้องหรือไดม้ ีการนามาใชใ้ นสว่ นใดของงานวิจยั ทีก่ าลงั จะดาเนนิ การ 12.5 ภาษาท่ใี ช้ตอ้ งเปน็ ภาษาเชงิ วชิ าการทถี่ ูกต้องทง้ั ดา้ นไวยากรณ์ การสะกด และอ่ืน ๆ ทม่ี ีการเรียบเรียงโดยใชป้ ระโยคสน้ั ๆ สื่อความหมายได้อย่างชดั เจน 12.6 มกี ารอ้างอิงแหลง่ ข้อมูลในขอ้ มลู ทก่ี ลา่ วอา้ งองิ อยา่ งถูกต้อง ครบถว้ น และชดั เจน 12.7 หลังจากศกึ ษาเอกสารและงานวิจยั ทเ่ี กีย่ วขอ้ งแล้วผู้วิจยั ควรได้สรปุ กรอบแนวคิด การวิจยั ในงานวิจยั ท่ีจะดาเนินการเพื่อใหเ้ หน็ ภาพของความสัมพันธร์ ะหวา่ งตัวแปรทศี่ ึกษาได้ อย่างชัดเจน 12.8 หลังจากเสร็จส้นิ การนาเสนอเอกสารและงานวจิ ยั ที่เก่ยี วข้องแล้วให้ทงิ้ ไว้ 1 สปั ดาห์ เพ่ือให้ลมื เลือนข้อมูลจากการจดจา แล้วให้นากลับมาศึกษาใหมเ่ พื่อทบทวนและปรบั ปรุงแกไ้ ขใหส้ ามารถ สือ่ ความหมายตามที่ต้องการ และเพ่ิมเติมขอ้ มูลให้มคี วามสมบูรณ์มากขนึ้ 13. หลักการเรยี บเรยี งเอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ยี วข้อง ในการเรียบเรยี งเอกสารและงานวิจัยที่เก่ยี วข้อง มีหลกั การทค่ี วรนาไปเป็นแนวทางปฏิบัติ ดังน้ี (บุญใจ ศรี สถิตยน์ รากูล,2547 : 38-40) 13.1 ระบุเหตุผลเพือ่ ใช้อธบิ ายในการเลือกแนวคดิ ทฤษฏีของตวั แปรนน้ั ๆ มาศกึ ษา อยา่ งชดั เจนและมเี หตผุ ลว่าไดม้ าจากแนวคิด/ทฤษฎเี ดยี ว หรอื จากการสังเคราะหม์ าจากหลากหลาย แนวคิด/ทฤษฏี 13.2 นาเน้ือหาสาระที่ได้จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยทเี่ ก่ียวขอ้ งมาเขียนในลกั ษณะ ของวิเคราะห์และสงั เคราะห์เน้ือหาให้มีความสอดคล้องสมั พันธ์กัน 13.3 เน้ือหาสาระท่ีนามาเรียบเรยี งจะต้องมีความทันสมัย ถูกตอ้ งตามหลักวชิ าการ เชือ่ ถอื ได้ และตอ้ งมีความเก่ียวข้องประเดน็ ในการวิจัยอยา่ งชัดเจน
ระเบียบวธิ ีการวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หนา้ ท่ี 73 13.4 เน้อื หาสาระจะต้องมีสาระทีส่ าคญั และนามาเขยี นเรียบเรยี งอย่างเป็นลาดับ 13.5 เนือ้ หาสาระแต่ละตอน/ยอ่ หน้ามคี วามเช่ือมโยงกัน 13.6 ใชส้ านวนภาษาท่ถี ูกต้องตามหลักภาษาไทย มคี วามคงเส้นคงวา กระชับอา่ นแลว้ เข้าใจงา่ ย ไม่ใช้ภาษาถ่นิ หรือภาษาพูด ไม่คาย่อหรอื อักษรย่อทีไ่ ม่แพร่หลาย และเขียนอ้างองิ ให้ถกู ต้อง ตามข้อกาหนดของหน่วยงานทใ่ี ห้ทนุ วิจยั หรอื หลักการสากลที่ใช้โดยท่ัวไป 14. ประโยชน์ของการศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ กีย่ วข้อง โทมสั และบลเู บเกอร(์ Thomas and Dale,2000)ไดร้ ะบุประโยชน์ในการทบทวนเอกสารและ งานวิจัยทีเ่ กยี่ วข้องมีดังน้ี 14.1 ทาให้เกดิ แนวความคิดในการกาหนดปัญหาในการทาวิจยั 14.2 ช่วยเห็นภาพรวมของจุดเดน่ -จุดบกพร่องของงานวจิ ยั ฉบับอ่นื ๆ ทเี่ ปน็ ข้อมลู ท่ีศึกษา เพ่อื ไมใ่ หเ้ กดิ ข้ึนในงานวจิ ัย 14.3 ได้แนวคดิ ทฤษฏี ทีจ่ ะนามาใช้ ทดสอบหรือพัฒนาในการวิจยั 14.4 ได้เรียนรู้วธิ ีการดาเนินการวิจัยทจี่ ะนามาใชเ้ ปน็ แนวทางในการวิจยั 14.5 ได้เรยี นรเู้ ทคนคิ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู และการสร้างหรือพัฒนาเครื่องมือที่ใชใ้ น การวิจัย 14.6 ได้เรยี นรูเ้ ก่ียวกบั ข้อมูล เพอ่ื ใช้กาหนดแนวทางในการวิเคราะห์ 14.7 ได้เรียนรูใ้ นการออกแบบการนาเสนอตาราง แผนภาพและกราฟตา่ ง ๆ 14.8 ไดเ้ รยี นร้กู ารแปลความหมายของข้อมูลทั้งจากผลการวิเคราะหจ์ ากโปรแกรม/ตาราง ท่นี าเสนอ เป็นตน้ 14.9 ไดเ้ รียนร้วู ิธีการเขยี นรายงานการวจิ ยั ที่เสร็จสิ้นสมบรู ณ์ทีจ่ ะนามาใชเ้ ปน็ แนวทางได้ นแู มน (Neuman,1997 :89)ไดร้ ะบปุ ระโยชน์ของการศึกษาเอกสารและงานวิจยั ท่ีเก่ยี วขอ้ ง ดังนี้ 1) เพ่ือแสดงความรู้ในองค์ความร้ทู ี่เกี่ยวข้อง ทจี่ ะส่งผลให้งานวจิ ัยที่ดาเนนิ การมีพน้ื ฐาน รองรับทีด่ ีและสรา้ งความนา่ เชื่อถอื จากผู้ท่ีสนใจ 2) เพื่อแสดงทิศทางและแนวโน้มของการวิจยั ท่ีผา่ นมา และเชื่อมโยงงานวจิ ัยทก่ี าลงั ดาเนินการ กบั งานวิจยั ท่ผี ่านมา 3) เพ่ือผสมผสานและสรุปองคค์ วามรทู้ งั้ ในประเดน็ ที่สอดคลอ้ งและขัดแยง้ กัน 4) เพ่อื เรยี นรู้จากเอกสารและงานวจิ ัยท่ผี ่านมา ท่จี ะเป็นการก่อเกิดความคิดและแง่มมุ ใหม่ ๆ หรอื หลีกเลย่ี งข้อผิดพลาดที่อาจจะเกิดขนึ้ โดยไมจ่ าเป็น
หน้าที่ 74 บทท่ี 3 การทบทวนเอกสารและงานวิจยั ทเ่ี กี่ยวข้อง บุญใจ ศรสี ถติ ย์นรากลู (2547 : 38) ได้ระบปุ ระโยชน์ของการศึกษาเอกสารและงานวจิ ัย ทเ่ี กี่ยวข้องทมี่ ีตอ่ การดาเนินการวจิ ยั (กาหนดปญั หาการวิจัย/กรอบแนวคิด ตวั แปร สมมุติฐาน เครือ่ งมือ การสุม่ ตวั อย่าง การวางแผน การออกแบบการวจิ ยั การเก็บรวบรวมขอ้ มูล และการอภิปรายผล เป็นตน้ ดังแสดงในภาพที่ 3.3(บุญใจ ศรสี ถติ ยน์ รากูล,2547 : 38) ปญั หาการวิจยั กรอบแนวคิด เคร่ืองมือ ตัวแปร การศึกษาเอกสารและ การเก็บรวบรวม สมมติฐาน งานวิจัยท่ีเกยี่ วข้อง ขอ้ มลู การวเิ คราะห์ขอ้ มลู การสมุ่ ตวั อยา่ ง แบบแผนการวจิ ยั การอภปิ รายผล ภาพที่ 3.3 ประโยชน์ของการศกึ ษาเอกสารและงานวิจัยทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 15. แนวทางการปฏิบัติในการทบทวนเอกสารและงานวจิ ยั ท่เี ก่ียวข้อง ในการทบทวนเอกสารและงานวจิ ยั ท่เี กี่ยวขอ้ ง เพอ่ื ทางานวิจัย มีแนวทางทคี่ วรและ ไม่ควรปฏบิ ัติ ดังน้(ี Hart,1998 : 219) 15.1 แนวทางท่ีควรปฏิบตั ิในการทบทวนเอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ กย่ี วข้อง มีดงั น้ี 15.1.1 อภิปรายประเดน็ ของเอกสารและงานวิจยั ท่เี กีย่ วขอ้ งทต่ี อ้ งการทบทวนให้ เกิดความชดั เจน 15.1.2 ความทันสมัยของเอกสารและงานวจิ ัยท่ีเก่ียวข้อง โดยให้พิจารณาปีที่พิมพ์/ เน้อื หาสาระ ภายในเลม่ เป็นตน้ ยกเว้นทฤษฏี แนวคิด หรือหลักการ ที่เป็นจริงและในปัจจบุ นั ยงั ไม่มี บุคคลใดเสนอข้ึนมาใหม่ 15.1.3 ตรวจสอบรายละเอยี ดของข้อมูลให้ครบถ้วนตามที่ตอ้ งการใช้ 15.1.4 ใชแ้ นวคิดตนเอง แตจ่ ะต้องมีความคิดรวบยอดที่ไมแ่ ตกตา่ งจากเอกสารและ งานวจิ ัยที่เกีย่ วข้อง 15.1.5 ประเมนิ และวเิ คราะห์ความถกู ต้องและสมบูรณ์เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวข้อง
ระเบียบวิธีการวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หนา้ ท่ี 75 15.1.6 ในบางกรณีอาจจะต้องมีการสาเนาเอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง เพื่อความสมบูรณ์ ถกู ต้องของข้อมูลทีน่ ามาใช้ 15.1.7 มีความตงั้ ใจในการทบทวน วิเคราะห์ และประเมินข้อมูลจากเอกสารและ งานวิจยั ท่เี กย่ี วข้องอยา่ งแทจ้ ริง 15.1.8 มรี ะบบการจดบันทกึ ทดี่ ีมปี ระสิทธิภาพเพอื่ ทาใหไ้ ด้รบั ข้อมลู ท่ีถูกต้อง ครบถ้วน 15.1.9 ระบคุ วามนา่ สนใจของประเดน็ ท่จี ะนามาใช้ หรือจะนามาใช้ในส่วนใดของ เอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ กยี่ วข้อง 15.2 แนวทางที่ไม่ควรปฏิบัติในการทบทวนเอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ กยี่ วข้อง มีดังนี้ 15.2.1 ไม่ควรนาเสนอผลการทบทวนเอกสารและงานวจิ ัยในประเด็นทสี่ าคัญโดยไม่มี การอา้ งองิ แหลง่ ทม่ี าท่ีชดั เจน 15.2.2 ไมค่ วรใชเ้ ฉพาะเอกสารและงานวจิ ัยที่คอ่ นข้างล้าสมยั เนื่องจากตนเองไมค่ น้ พบ ฉบบั ใหม่ ๆ 15.2.3 ในการอ้างอิงขอ้ มลู มขี ้อบกพร่องในการสะกดชอื่ ผู้แต่ง/ชอื่ เอกสารหรือปที ี่พมิ พ์ ท่จี ะต้องระมดั ระวงั 15.2.4 ใช้แนวคดิ ของตนเองเพ่ือแสดงความร้สู ึก หรือแนวคิดที่ไม่มีการกาหนด ความหมายทช่ี ดั เจน 15.2.5 ใชภ้ าษาหรอื คาศัพท์ทางวิชาการท่ีบุคคลโดยทัว่ ไปอาจไมเ่ ข้าใจความหมาย ในประเดน็ ท่ีตอ้ งการนาเสนอ 15.2.6 ใช้เอกสารและงานวิจยั ทีศ่ ึกษาจากการจดบนั ทกึ โดยไม่มกี ารพิจารณาทบทวน กอ่ นใช้จริงอาจจะก่อให้เกดิ ความคลาดเคลื่อน 15.2.7 การจดบนั ทกึ รายละเอียดบางสว่ นที่อาจไมค่ รอบคลมุ ข้อเท็จจริงทบ่ี คุ คลนั้น ๆ ตอ้ งการนาเสนอ 16. แนวคาถามสาหรับการศึกษาเอกสารและงานวิจยั ทีเ่ ก่ียวขอ้ ง ในการศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยท่เี กี่ยวข้อง จะตอ้ งศึกษาหนังสอื ตารา บทความ หรืองานวิจัย อยา่ งมีวตั ถุประสงค์ เพ่ือแสวงหาขอ้ สรุปเก่ยี วกบั ประเดน็ ปัญหาการวจิ ัย โดยกาหนดคาถามเพื่อหา คาตอบ ดังน้ี(ปาริชาต สถาปิตานนท์, 2546:92-93) 16.1 ในปจั จบุ ันการศกึ ษาคน้ คว้าท่ีเกี่ยวกบั ประเด็นปัญหาการวจิ ัยที่สนใจเป็นอย่างไร มีความลึกซึ้งมากน้อยเพียงใด 16.2 มแี นวคดิ หรือทฤษฏีอะไรบา้ ง ที่นา่ จะเก่ียวข้องกับประเด็นปัญหาการวิจัย 16.3 มรี ายละเอยี ดของแนวคดิ หรือทฤษฏีอย่างไร อธบิ ายเร่อื งอะไร ในสภาพแวดลอ้ มใด และสามารถนามากาหนดเป็นกรอบแนวคิดการวิจัยในประเด็นปญั หาการวิจยั ทีส่ นใจได้หรือไม่
หน้าที่ 76 บทที่ 3 การทบทวนเอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กีย่ วข้อง 16.4 แนวคิด หรือทฤษฏที ี่คาดวา่ จะนามาใชม้ ีจดุ ดี-จุดบกพร่องอย่างไรบ้าง 16.5 มเี กณฑ์อย่างไรทจ่ี ะประเมนิ ประเด็นปัญหาการวจิ ัยท่ีผูว้ ิจัยสนใจ 16.6 มีงานวิจัยเกย่ี วกับประเดน็ ปญั หาการวิจยั หรอื ไม่ 16.6.1 กรณีมีการวจิ ยั ประเด็นปญั หาการวจิ ัยแลว้ 16.6.1.1 มีการกาหนดประเดน็ ปัญหาอยา่ งไร 16.6.1.2 ใชแ้ นวคิด ทฤษฏีอะไรเปน็ กรอบแนวคิดการวจิ ัย 16.6.1.3 ใชร้ ะเบียบวธิ ีการวจิ ัย และมขี น้ั ตอนในการดาเนนิ การวจิ ัยอยา่ งไร 16.6.1.4 สรปุ ผลการวิจัย เป็นอย่างไร 16.6.1.5 ความนา่ เช่อื ถือของผลการวจิ ัย เปน็ อย่างไร 16.6.1.6 มีประเดน็ ปัญหาอะไรที่งานวจิ ยั นั้น ๆ ไมส่ ามารถให้คาตอบ หรอื ให้ขอ้ เสนอแนะเพ่ือทาวจิ ัยต่อไป 16.6.2 กรณที ี่ยงั ไม่เคยมีการศกึ ษาประเด็นปัญหาการวจิ ยั นี้ 16.6.2.1 มงี านวจิ ยั ใดบา้ งที่ไดศ้ ึกษาประเด็นปัญหาการวจิ ัยทีใ่ กลเ้ คียงกนั 16.6.2.2 ประเด็นปญั หาการวจิ ัยมรี ายละเอยี ดอย่างไร 16.6.2.3 ประเด็นปญั หาการวจิ ยั มคี วามใกล้เคียง หรือเชอ่ื มโยงกับประเด็น ปัญหาทผ่ี ู้วจิ ัยสนใจมากน้อยเพยี งใด 16.6.2.4 มีรายละเอยี ดแนวคิด หรอื ทฤษฏีอะไรทใ่ี ชเ้ ปน็ กรอบแนวคิดการ วิจัย 16.6.2.5 ใช้ระเบยี บวิธกี ารวิจัย และมีขั้นตอนในการดาเนนิ การวิจัยอย่างไร 16.6.2.6 สรุปผลการวิจยั เปน็ อยา่ งไร 16.6.2.7 ความนา่ เชื่อถือของผลการวิจยั เป็นอยา่ งไร 16.6.2.8 มปี ระเดน็ ปญั หาอะไรที่งานวจิ ยั นัน้ ๆ ไม่สามารถให้คาตอบ หรอื ให้ขอ้ เสนอแนะเพื่อทาวจิ ัยต่อไป 16.7 ผลของการศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกยี่ วข้องช่วยทาให้ประเด็นปัญหาการวจิ ัยมี ความชัดเจนเพิม่ มากขึน้ หรอื ไม่ อย่างไร หรอื ทาใหผ้ ู้วิจัยเกิดประเดน็ ปัญหาการวิจยั ที่สงสยั และตอ้ งการ แสวงหาคาตอบหรือไม่
ระเบียบวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าที่ 77 17.หลกั การของการประเมินคณุ ภาพรายงานสังเคราะหเ์ อกสารและงานวจิ ยั ท่ีเก่ียวข้อง ในการเขยี นรายงานสงั เคราะหเ์ อกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกย่ี วข้อง มหี ลักการในการประเมินคุณภาพ ดงั น้ี(นงลักษณ์ วริ ัชชยั ,2543 : 428-429) 17.1 ความสอดคล้องของเน้อื หาสาระในรายงานกับจุดมุ่งหมายในการศกึ ษาเอกสารและ งานวจิ ยั ทเ่ี กี่ยวข้องทีจ่ ะชว่ ยให้ผวู้ ิจัยไดส้ ามารถ1)กาหนดปัญหาการวิจัยได้อย่างชดั เจน 2)ระบุความสาคญั ของปญั หาการวจิ ัย 3)สร้างกรอบความคดิ ในการวิจัย 4)กาหนดแบบแผนการวจิ ยั และวิธีดาเนินการวิจยั 5)อภปิ รายผลการวิจัยได้เป็นอย่างดี จะเปน็ ดัชนที บ่ี ง่ ช้ีความมีคณุ ภาพของรายงานการวิจัย 17.2 ความสมบูรณ์ และถูกต้องของเนือ้ หาสาระในรายงานสงั เคราะหเ์ อกสารและงานวิจยั ที่ เกีย่ วข้อง เป็นการตรวจสอบว่ารายงานมคี วามเท่ยี งตรง ครบถ้วนในองค์ความรทู้ ี่ผูว้ ิจยั จะทาวิจัยจาก การประเมินของผู้ประเมินทมี่ ีความรคู้ วามสามารถในองค์ความรู้นน้ั ๆ อยา่ งแท้จริง 17.3 ความเหมาะสมของวธิ ีการนาเสนอรายงาน เปน็ การตรวจสอบว่ามีลาดบั ข้ันตอน รูปแบบ การนาเสนอท่ีครบถ้วนในเนื้อหาสาระ ในลักษณะท่ีต่อเนื่องและภาษาที่ง่าย สัน้ แต่ชดั เจน ในการสอื่ ความหมายท่ีถกู ตอ้ งมีการอา้ งองิ และเขยี นบรรณานุกรมที่ถูกต้องตามหลกั การ 17.4 การใช้ประโยชน์จากรายงานสงั เคราะห์เอกสารและงานวิจยั ที่เก่ยี วข้อง เป็นการ ตรวจสอบว่ารายงานมเี นือ้ หาสาระที่เก่ยี วข้องกบั งานวจิ ยั อยา่ งมีเหตุผลท่จี ะสามารถนาไปใช้ในการวิจยั ได้ อยา่ งแท้จรงิ กรอบแนวคิดในการวจิ ัย ในการสรา้ งกรอบแนวคิดในการวิจยั เป็นขัน้ ตอนทเ่ี กิดขน้ึ หลังจากผู้วิจัยได้ปญั หาการวิจัย และ ศึกษาเอกสารและงานวิจยั ทเี่ ก่ียวข้องแลว้ ผ้วู จิ ัยจะตอ้ งสังเคราะห์ผลการศึกษาใหเ้ ปน็ กรอบแนวคิดหรือ รปู แบบจาลองท่ีแสดงความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งตัวแปรทศี่ ึกษา โดยใชแ้ นวคดิ หลักการ ทฤษฏี กฎ หรอื ขอ้ สรุป ฯลฯ เพื่อที่ผู้วิจัยจะได้นาแนวคิดหรอื รูปแบบจาลองไปตรวจสอบกบั ข้อมูลเชิงประจักษ์ว่า มคี วามสอดคลอ้ งกันหรอื ไม่ อย่างไร ทม่ี ีรายละเอยี ด ดังนี้ 1. ความหมายของกรอบแนวคดิ แนวคดิ รวบยอด(Concept) เป็นข้อสรุปที่บุคคลใชอ้ ธิบายปรากฏการณท์ ่สี งั เกตเหน็ โดยตรง หรือ รับรูโ้ ดยออ้ มผา่ นการถ่ายทอด บอกเล่า หรือการอธบิ ายจากผ้อู ่นื (ปารชิ าต สถาปติ านนท,์ 2546 : 95) กรอบแนวคิดการวิจัย(Conceptual Framework) เปน็ รูปแบบทีแ่ สดงความสมั พนั ธต์ ามทฤษฎี ระหวา่ งตัวแปรทผี่ ้วู ิจยั ศกึ ษา ท่ไี ด้มาจากการศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ ก่ยี วข้อง เพอื่ ให้เปน็ ภาพจาลอง หรือตัวแทนของปรากฏการณ์ท่ีเกดิ ขึ้นจริงตามธรรมชาติ(สุวิมล ว่องวานิช และ นงลกั ษณ์ วิรชั ชัย, 2546 : 170)
หนา้ ที่ 78 บทท่ี 3 การทบทวนเอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี ก่ียวข้อง กรอบแนวคิดในการวจิ ยั หมายถงึ ขอบเขตของเนื้อหาสาระ/แนวความคิดของผ้วู จิ ยั ที่ ประกอบดว้ ยตวั แปรอะไรบ้าง(การวิจยั เชิงพรรณนา) และการระบุความสัมพันธร์ ะหว่างตัวแปร (การวิจัยเชิงอธบิ าย)ทจี่ ะใช้อธิบายการเกิดข้นึ หรือการเปลยี่ นแปลงเชงิ สาเหตุและผลของปรากฏการณ์ ทตี่ ้องการศึกษา หรือเพ่ือปอ้ งกนั ความคลาดเคลอื่ นในการพิจารณาการศึกษาในประเด็นหลักเดยี วกัน แต่จะมีประเดน็ ย่อย ๆ ในมมุ มองท่ีแตกต่างกันกไ็ ด้ หรือใช้เปน็ แนวทางในการกาหนดสมมุตฐิ านของ ปรากฏการณ์ท่เี กดิ ขึน้ ซงึ่ ในการกาหนดกรอบแนวคิดในการวิจยั จะต้องได้มาจากการศึกษาทฤษฏี ทเ่ี ก่ียวข้องวา่ มแี นวทางท่ีจะอธิบายปรากฏการณ์ในประเด็นการวิจยั อยา่ งไร หรือมีจุดใดทที่ ฤษฏี ยงั ไมส่ ามารถอธิบายได้อย่างชัดเจน ครบถว้ น รวมทง้ั หลังจากได้ข้อคน้ พบในการวจิ ัย ยงั จะสามารถ อธบิ ายข้อค้นพบน้ัน ๆ โดยใช้ทฤษฏที ่ีศกึ ษาอีกดว้ ย ดังนัน้ จะพบวา่ การกาหนดกรอบแนวคิดใน การวิจัยท่ีดี จะต้องกาหนดขึ้นหลงั จากทผ่ี วู้ จิ ัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยทเ่ี กีย่ วข้องที่ค่อนขา้ ง ทจ่ี ะครบถ้วน สมบูรณแ์ ลว้ (สชุ าติ ประสทิ ธิ์รฐั สนิ ธ,์ุ 2546 : 56-58) กรอบแนวคิดการวจิ ัย หมายถึง ความคดิ รวบยอดทแ่ี สดงความสัมพนั ธ์ของความคดิ รวบยอดของ ปรากฏการณ์หรือตวั แปรอย่างชัดเจน และอธบิ ายไดด้ ว้ ยเหตผุ ลเชิงวิชาการ(บญุ ใจ ศรี สถิตย์นรากูล, 2547 : 38) กรอบแนวคิดการวจิ ัย หมายถึง แนวคิดหรือแบบจาลองท่ีแสดงความสัมพนั ธ์เช่ือมโยงระหว่าง ตวั แปรทีม่ งุ่ ศึกษา โดยไดจ้ ากการสงั เคราะหแ์ นวคดิ ทฤษฏี หรอื งานวจิ ยั ทเ่ี ก่ียวข้องเพ่อื ให้เกิดภาพรวม ของการวจิ ยั ท่ีจะนาไปตรวจสอบกับขอ้ มลู เชงิ ประจกั ษว์ ่ามีความสอดคล้องกนั หรือไม่ อย่างไร (พชิ ติ ฤทธิจ์ รญู ,2544 :73) สรปุ ได้วา่ กรอบแนวคิดการวิจัย เป็นแนวคิดหรือรปู แบบจาลองท่ไี ดส้ รา้ งและพฒั นาใช้ใน การแสดงความสัมพันธร์ ะหวา่ งตัวแปรท่ีศกึ ษาในการวจิ ยั ครั้งน้นั ๆ โดยมแี นวคดิ หลักการ ทฤษฏี กฎ หรือ ผลการวิจยั ฯลฯ เพอ่ื ทผี่ ู้วจิ ัยจะไดน้ าไปศกึ ษาและใช้ตรวจสอบข้อมลู กับข้อมลู เชงิ ประจกั ษ์ว่า มีความสอดคล้องกันหรือไม่ อย่างไร 2.หลักการในการสร้างกรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั ในการสร้างกรอบแนวคิดในการวิจยั มหี ลกั การทีค่ วรนาไปเป็นแนวปฏบิ ัติ ดังนี้ (สชุ าติ ประสิทธิร์ ฐั สินธ์ุ,2546 : 63-64) 2.1 ความตรงตอ่ ประเด็นของการวจิ ยั เปน็ การพจิ ารณาจากเนอ้ื หาสาระของตวั แปร และ ระเบยี บวิธีการท่ีใช้ในการศึกษาทีส่ อดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจัยในประเดน็ นั้น ๆ หรือ ผูว้ จิ ยั จะตอ้ งสังเคราะห์กรอบแนวคิดท่มี ีอยูแ่ ล้วให้เปน็ กรอบแนวคิดใหมท่ ่ีจะสามารถใช้ตอบคาถาม ในประเดน็ การวิจัยไดถ้ ูกต้อง ชัดเจนและแมน่ ยา 2.2 ความงา่ ยและไม่ซับซ้อน เป็นกรอบแนวความคดิ ทเ่ี ลือกใชท้ ฤษฏีที่งา่ ยท่ีสุดในการอธิบาย ปรากฏการณ์ ท่จี ะสามารถศึกษาและทาความเขา้ ใจได้อยา่ งง่าย ๆ โดยพจิ ารณาได้จากจานวนของ ตวั แปรและรปู แบบความสมั พันธร์ ะหวา่ งตัวแปรเหลา่ น้ัน
ระเบยี บวธิ ีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าท่ี 79 2.3 ความสอดคล้องกับความสนใจ เป็นกรอบแนวความคิดทีก่ าหนดตวั แปรและรูปแบบ ความสัมพนั ธข์ องตัวแปรที่ผู้วิจัยสนใจและต้องการจะศึกษาทีจ่ ะก่อให้เกดิ แรงจงู ใจท่ีจะทาให้ การศกึ ษามีความสาเรจ็ มากยิ่งขนึ้ 2.4 ความมปี ระโยชน์ ในการกาหนดกรอบแนวคดิ ควรพิจารณาประโยชน์ท่จี ะไดร้ ับจาก การกาหนดตัวแปรที่ต้องการศกึ ษาวา่ จะสามารถนาไปใช้ประโยชนใ์ นประเด็นใดทัง้ ในเชิงวชิ าการ และการนาไปใช้ พิชติ ฤทธจ์ิ รูญ(2544 :74)ได้นาเสนอหลักการในการกาหนดกรอบแนวคิดการวิจัย ดงั นี้ 1) กาหนดแนวคดิ ทฤษฏีที่มีสาระสอดคล้องกบั ประเด็นปัญหาการวิจยั หรือตัวแปรที่ มงุ่ ศกึ ษาใหม้ ากทสี่ ดุ 2) กาหนดกรอบแนวคิดมคี วามชดั เจนเกี่ยวกบั ตวั แปรที่มุ่งศึกษาที่จาแนกเป็นตวั แปรตน้ และตัว แปรตาม และมคี วามสมั พันธ์ในเชงิ เส้นตรงทง่ี า่ ย ๆ ไม่ซับซ้อน 3) กาหนดกรอบแนวคดิ ทม่ี ปี ระโยชน์ทีแ่ สดงความสัมพันธ์ของตัวแปรทจ่ี ะสามารถใชเ้ ป็น แนวทางในการดาเนนิ การวจิ ัยไดอ้ ยา่ งถกู ต้องและมีประสทิ ธิภาพที่จะทาใหไ้ ดผ้ ลการวิจยั ท่ีถกู ต้อง ชัดเจน และมีความเชื่อมั่น 4) ใชแ้ สดงภาพรวมของการวิจัย โดยการแสดงความสัมพนั ธ์ของตวั แปรทั้งหมดทจ่ี ะใช้ ในการวจิ ยั ครงั้ นี้ 3. รปู แบบของการนาเสนอกรอบแนวคิดการวิจยั ในการนาเสนอกรอบแนวคดิ การวิจัย สามารถนาเสนอได้ในหลายรปู แบบ ดงั น้ี (ศิรชิ ยั กาญจนวาส,ี 2545 : 46 ) 3.1 กรอบแนวคดิ เชงิ พรรณนา เปน็ การแสดงกรอบแนวคิดโดยการพรรณนาเปน็ ข้อความ ทีร่ ะบุ 1) ตวั แปรทมี่ งุ่ ศกึ ษาในคร้งั นี้มตี วั แปรอะไรบ้าง 2) ตวั แปรนม้ี คี วามสัมพันธ์กันอย่างไร และ 3)มีทฤษฏแี ละงานวิจัยท่เี ก่ยี วขอ้ งอะไรบา้ งในการสนับสนุน ซึ่งในการนาเสนอกรอบแนวคิดในลักษณะน้ี ถา้ มีหลายตัวแปรจะทาให้มีความยาวในการพรรณนาท่ีอาจจะก่อใหเ้ กิดความสับสนและไม่ชดั เจนใน การทาความเขา้ ใจ 3.2 กรอบแนวคดิ แบบจาลองหรอื ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ เปน็ การใช้สญั ลกั ษณ์ทาง คณติ ศาสตร์ในการแสดงแนวคิด ทฤษฏี หรือความสัมพันธ์ระหวา่ งตัวแปรตน้ ตวั เดยี วกับตวั แปรตาม หรือ ตัวแปรตน้ หลายตวั กบั ตัวแปรตามในรูปแบบของสมการ ทาใหง้ ่ายตอ่ การวเิ คราะห์หา ความสมั พันธร์ ะหวา่ งตัวแปรทีม่ ีความชัดเจน อาทิ y = f(x) หรือ y = f(x1,x2,x3,…,x n) เป็นต้น 3.3 กรอบแนวคิดแบบแผนภาพ เป็นการใชแ้ ผนภาพท่แี สดงแนวคดิ ทฤษฏี หรือความสัมพันธ์ ระหว่างตวั แปรทมี่ ีความเช่อื มโยงซงึ่ กนั และกันเพือ่ ใหเ้ กิดภาพในการพิจารณาทชี่ ดั เจนมากข้นึ ดังแสดงใน ภาพท่ี 3.4(ศิริชัย กาญจนวาสี,2545 : 46)
หนา้ ที่ 80 บทที่ 3 การทบทวนเอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ กีย่ วข้อง ตวั แปรต้น/อิสระ ตัวแปรตาม/ผล 1..................... 1..................... 2..................... 2..................... 3..................... 3..................... ภาพที่ 3.4 กรอบแนวคดิ แบบแผนภาพ 3.4 กรอบแนวคิดแบบแบบผสมผสาน เปน็ การนาเสนอกรอบแนวคิดทใ่ี ชร้ ูปแบบมากกวา่ 1 รูปแบบเพ่ือเพ่ิมความชัดเจนของการนาเสนอกรอบแนวคดิ ใหม้ ากย่งิ ขึน้ ดงั แสดงความสมั พันธ์ระหว่างทฤษฏแี ละกรอบแนวคิดดงั แสดงในภาพท่ี 3.5 ( ศิรชิ ยั กาญจนวาสี,2545 : 46) เชงิ พรรณนา ทฤษฏี กรอบแนวคิด แผนภาพ แบบผสมผสาน เชงิ คณติ ศาสตร์ ภาพที่ 3.5 ความสัมพันธท์ ฤษฎีและกรอบแนวคิดลักษณะตา่ ง ๆ 4. แหล่งข้อมูลของกรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย ในการสร้างกรอบแนวคิดการวจิ ยั มแี หล่งขอ้ มูลที่ควรศกึ ษา ดังน(ี้ สชุ าติ ประสทิ ธริ์ ฐั สินธ,์ุ 2546 : 79-81) 4.1 ผลงานวจิ ัยท่เี กีย่ วข้อง เปน็ การศึกษาผลการวิจยั ที่มีคุณภาพ ถูกต้อง น่าเชอื่ ถือ ว่า ในการวจิ ยั แต่ละเร่ืองมีการศึกษาตัวแปรอะไรบ้างในประเด็นที่คล้ายคลึงกับประเดน็ ที่ผู้วิจยั สนใจ และ ความสาคญั /ข้อคน้ พบของตวั แปรที่ศกึ ษาเปน็ อย่างไร เพ่ือทผ่ี ู้วจิ ัยจะไดน้ ามากาหนดเป็นตวั แปร ทม่ี งุ่ ศึกษาในกรอบแนวความคิดของตนเองใหเ้ กิดความถกู ต้อง ครบถ้วน และสมบรู ณ์ในงานวจิ ยั ของ ตนเองให้มากท่ีสดุ ดังนั้นในการศึกษาผลงานวจิ ยั ท่เี กี่ยวข้องผู้วจิ ัยจะต้องศึกษางานวจิ ัยที่เกี่ยวข้อง ใหม้ ากที่สดุ เท่าทจ่ี ะดาเนนิ การได้ ทแี่ สดงความรอบรู้ของผู้วิจยั ในประเด็นน้ัน ๆ
ระเบียบวธิ ีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หน้าท่ี 81 4.2 ทฤษฏที ี่เกี่ยวข้อง เปน็ การศกึ ษาทฤษฏีที่คาดวา่ น่าจะมีสว่ นเก่ยี วข้องกบั ตวั แปรท่ตี ้องการ ศึกษาทัง้ หมดจะทาให้ได้ความชัดเจน/ความถูกต้องของตวั แปรเพิ่มขึ้น และความสัมพันธ์ระหวา่ ง ตัวแปรกับปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในเชิงสาเหตแุ ละผลที่มีพนื้ ฐานจากทฤษฏีส่งผลให้งานวจิ ัยที่ศกึ ษา มคี วามชัดเจนและมเี หตุผลท่ีนา่ เช่อื ถือมากขนึ้ ด้วย 4.3 แนวคิดของผู้วจิ ัย เป็นการนาเสนอกรอบแนวคิดของตัวแปรหรอื ความสมั พนั ธข์ อง ตวั แปรกบั ปรากฏการณ์ที่ได้จากประสบการณ์การเรยี นร้หู รอื การทางานของผูว้ จิ ยั แล้วนามาสังเคราะห์ เป็นกรอบแนวคิดในการวิจยั ท่ีตอ้ งการศึกษา ดังแสดงความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งกรอบแนวคิดการวิจัยกับการศึกษาเอกสารและงานวจิ ัย ท่ีเก่ยี วข้อง ในภาพท่ี 3.6(สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสนิ ธ์ุ,2546 : 79) การศึกษาเอกสารและ กรอบแนวคิดจาก งานวิจัยทเ่ี ก่ียวข้อง การศกึ ษาเอกสารและ งานวิจยั ทเี่ กี่ยวข้อง กรอบแนวคิด ของผวู้ ิจัย กรอบแนวคิดในการวิจยั การศกึ ษาเอกสารและ งานวิจยั ท่ีเกยี่ วข้อง ภาพท่ี 3.6 ความสมั พันธร์ ะหว่างกรอบแนวคิดการวิจัยกับการศกึ ษา เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง 5.ประโยชนข์ องกรอบแนวคิดการวจิ ัย ในการกาหนดกรอบแนวคิดการวิจัย มีประโยชนต์ อ่ การวิจัย ดังน(้ี พชิ ติ ฤทธ์จิ รญู ,2544 :74) 5.1 ทราบวา่ ตวั แปรทม่ี งุ่ ศึกษามกี ี่ตัวแปร และมีตัวแปรอะไรบ้างที่มงุ่ ศกึ ษา และตัวแปร ทีเ่ กี่ยวข้อง 5.2 กาหนดแบบการวิจยั ทเ่ี หมาะสมกับตวั แปรท่มี ุ่งศึกษา และควบคมุ ตัวแปรท่ีไมเ่ กีย่ วขอ้ ง จะทาให้การวจิ ัยมคี วามเทยี่ งตรงภายในเพิ่มขึน้ 5.3 เปน็ แนวทางในการวางแผนในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ของตัวแปรที่ตอ้ งการได้เหมาะสมกบั ลกั ษณะของตัวแปรและชว่ งเวลา
หน้าท่ี 82 บทที่ 3 การทบทวนเอกสารและงานวจิ ยั ท่เี กยี่ วข้อง 5.4 พจิ ารณาภาพรวมของความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งตวั แปรว่ามีความสัมพันธ์กนั อย่างไร ทาให้ การเลอื กสถิติทน่ี ามาใช้การวิจัยมคี วามเหมาะสมและสอดคล้องกับวตั ถุประสงค์ของการวจิ ยั 5.5 ใช้ในการอภปิ รายความสมั พันธร์ ะหวา่ งตัวแปรได้อยา่ งมเี หตุผล สชุ าติ ประสทิ ธริ์ ฐั สนิ ธ์ุ(2546 : 83-85)ไดร้ ะบุประโยชน์ของกรอบแนวคิดในการวิจยั ดังนี้ 1) การกาหนดแบบแผนการวิจยั เนือ่ งจากกรอบแนวคิดในการวจิ ัยจะแสดงตัวแปรและ รปู แบบความสัมพันธข์ องตัวแปรทาให้สามารถนามาใช้เปน็ ข้อมลู ในการกาหนดแบบแผนการวจิ ยั ในการดาเนินการวิจัยให้บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2) การเก็บรวบรวมข้อมูล เนือ่ งจากกรอบแนวคดิ ในการวิจยั จะแสดงตวั แปรและรูปแบบ ความสมั พนั ธข์ องตัวแปรทาใหม้ ีแนวทางในการเกบ็ รวบรวมข้อมูลจากตัวแปรแตล่ ะตัวที่กาหนดไว้ และสามารถเลือกใช้วิธกี ารเก็บรวบรวมขอ้ มูลทเี่ หมาะสมกับขอ้ มลู ท่ตี ้องการไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ชดั เจนและ สมบรู ณ์ 3) การวเิ คราะหข์ ้อมลู เน่ืองจากกรอบแนวคิดในการวจิ ยั จะแสดงตวั แปรและรปู แบบ ความสมั พนั ธ์ของตัวแปรทาใหส้ ามารถพิจารณาเลอื กวิธีการวเิ คราะหข์ ้อมลู หรอื การใชส้ ถติ ทิ เ่ี หมาะสม ในการวิเคราะหข์ ้อมูล เพื่อให้ไดค้ าตอบของการวิจัยไดส้ อดคลอ้ งกับวัตถุประสงคข์ องการวจิ ัยมากท่ีสุด 4) การตีความหมาย เปน็ การนาผลการวิจัยทไี่ ดม้ าพิจารณาเปรียบเทียบกบั กรอบแนวคิด ท่ีกาหนดไวว้ ่ามคี วามสอดคล้องหรือขดั แย้งกันอย่างไร เพอ่ื จะแสวงหาเหตุผลมาประกอบ การพิจารณาให้งานวจิ ยั น้นั ๆ เกิดความสมบูรณ์มากย่ิงข้นึ 6.ข้อบกพร่องของการกาหนดกรอบแนวความคิด ในการกาหนดกรอบแนวคดิ การวิจยั มักจะพบข้อบกพร่องในการกาหนด ดังน้ี (เทยี นฉาย กรี ะนนั ทน,์ 2544 : 60-62) 6.1 กาหนดความหมายของแนวความคิดในเชิงปฏบิ ตั ิท่ีไม่ชดั เจน(นิยามเชงิ ปฏิบตั กิ ารของ ตัวแปรไมช่ ดั เจน)และขาดความเชือ่ มโยงระหว่างนิยามเชิงทฤษฏีกับนยิ ามเชงิ ปฏบิ ตั ิ 6.2 กาหนดจากการศึกษาทฤษฏี หรอื ผลงานวจิ ัยทีเ่ ก่ียวข้องอย่างไมเ่ พียงพอทจี่ ะแสดง ความเปน็ เหตุและผลระหวา่ งตวั แปรท่ีมุง่ ศึกษา 6.3 กาหนดอยา่ งไม่รอบคอบในการพจิ ารณาตัวแปรที่เกีย่ วขอ้ งอ่นื ๆ ท่อี าจจะมีอิทธิพลตอ่ ตัวแปรทมี่ ุ่งศึกษา หรือไม่ไดน้ าตัวแปรที่สาคญั มากาหนดเป็นตวั แปรท่ีมุ่งศึกษา 6.4 กาหนดโดยใช้สามญั สานกึ /ประสบการณข์ องผวู้ ิจัยที่ไมม่ ีการอา้ งอิงเชิงทฤษฏีและ เชงิ ประจักษ์ ยกเว้นวา่ ผู้วิจัยมีความแน่ใจว่าตนเองมีความรู้ความเขา้ ใจ และประสบการณ์ ทม่ี ากเพียงพอ และได้รบั การยอมรบั จากบคุ คลในศาสตร์น้ัน ๆ
ระเบียบวิธกี ารวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หน้าที่ 83 สาระสาคัญบทท่ี 3 การทบทวนเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ยี วขอ้ ง ในบทน้ีมเี น้ือหาสาระสาคญั ท่ีสรปุ ได้ดังนี้ 1. การศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กย่ี วข้อง เป็นการศึกษาหรือตรวจสอบทฤษฏีและงานวิจัยท่ี เกี่ยวข้องกบั ประเด็นในการวิจัย โดยท่ผี ู้วิจยั จะดาเนินการสังเคราะหผ์ ลงานทางวชิ าการทเี่ ก่ยี วกับประเดน็ ท่ีจะทาวิจยั เพ่ือระบุให้เหน็ สถานภาพขององค์ความรู้เกี่ยวกับแนวความคิด ระเบียบวิธกี ารวจิ ัยสรปุ ข้อ ค้นพบในประเดน็ ท่ีใกล้เคยี งอยา่ งเปน็ ระบบแล้วนามาพฒั นาประเด็นคาถามหรือกาหนดสมมุตฐิ านในการ วิจัยใหช้ ัดเจนมากยิ่งข้ึน 2. ความสาคญั ของการศกึ ษาเอกสารและงานวิจยั ทเี่ กี่ยวข้อง มดี ังนี้ 1) ทราบว่างานวิจัยท่ี ใกลเ้ คียงกบั เรื่องท่ีตนเองจะดาเนินการวจิ ัยนนั้ มีบุคคลใดไดศ้ ึกษาไว้ และผลการวจิ ัยเป็นอย่างไร 2) ได้รบั ความรทู้ ชี่ ดั เจนยิ่งเกี่ยวกับนิยาม สมมุตฐิ าน ขอบเขตของการวิจัย แนวคิดทฤษฎี 3) ค้นพบ กระบวนการเรยี นรู้ วิธีการแก้ปญั หา 4) ได้ทราบความกา้ วหน้าของผลการวจิ ยั ท่ีเกยี่ วข้องกบั ปญั หา การวจิ ยั 5) ไดท้ ราบข้อมลู เก่ียวกบั รูปแบบการวจิ ัย เครื่องมอื และวิธกี ารเก็บรวบรวมข้อมูล 6) ประเมินความพยายามของตนโดยเปรียบเทียบกบั ความพยายามของผวู้ จิ ัยอ่นื ๆ และ7) กาหนด แนวทางในการเขยี นรายงานการวจิ ยั และประเมนิ ประเด็นปญั หาการวจิ ัย 3. แหล่งศึกษาคน้ คว้าเอกสารและงานวิจัยทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง มดี งั นี้ 1) หนังสือ หรอื ตารา 2) รายงาน การวจิ ัย รายงานการศึกษา หรอื วทิ ยานิพนธ์ หรือปริญญานิพนธ์ 3) บทคัดย่องานวจิ ยั /วทิ ยานิพนธ์ 4) วารสารทางวิชาการ 5) สารานกุ รม,พจนานุกรม, ศพั ทานุกรม นามานุกรม และปทานกุ รม 6) รายงานประจาปี 7) คมู่ ือ 8) การสบื คน้ จากฐานข้อมลู 9) หนงั สอื พมิ พ์และ10) เอกสารประกอบ การประชุม อบรมสมั มนา 4. เกณฑ์ในการพิจารณาคุณค่าของเอกสาร มีดังน้ี 1) ให้ความรู้ทถ่ี ูกตอ้ งเชือ่ ถือได้ 2) ให้ความรู้ ใหม่ทันต่อเหตกุ ารณ์ 3) มีเน้ือหาสาระท่ีสอดคล้องกบั ประเดน็ การวจิ ัย 4) มภี าพประกอบ ตาราง กราฟ หรอื แผนภูมิ 5) ใชภ้ าษาเขียนท่อี ่านแลว้ เข้าใจงา่ ย ชัดเจน สมเหตสุ มผล มกี ารอ้างองิ 6) ผเู้ ขียนเปน็ บคุ คลทม่ี ีความเชีย่ วชาญและประสบการณ์ในเร่ืองน้นั ๆ และ 7) สานกั พิมพ์ท่ีพิมพ์เอกสารควรจะเป็น สานักพิมพ์ทนี่ ่าเชื่อถือ 5. ข้ันตอนการศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ กี่ยวข้อง มดี ังน้ี 1) กาหนดวัตถุประสงค์/ประเด็นของ การศึกษาเอกสารและงานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้องให้ชดั เจน 2) การคน้ หาและคดั เลือกเอกสาร 3) ศกึ ษาเอกสาร และงานวจิ ัยทเี่ กยี่ วขอ้ งทไ่ี ด้รับการคดั เลือกอยา่ งละเอยี ด 4) จดบันทึกข้อมลู จากการศกึ ษาใน แบบจดบนั ทึกข้อมูลที่ 5) การสังเคราะห์ข้อมูล 6) เขยี นรายงานผลการสังเคราะห์(กาหนดโครงร่าง เขยี นรายงานฉบับร่าง ปรบั ปรุงรายงานฉบับรา่ ง จัดทารายงานผลการสงั เคราะหฉ์ บบั จริง )
หนา้ ที่ 84 บทท่ี 3 การทบทวนเอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วข้อง 7. กรอบแนวคิดการวิจยั เปน็ แนวคิดหรือรูปแบบจาลองท่ีไดส้ ร้างและพัฒนาใชใ้ นการแสดง ความสมั พันธร์ ะหว่างตัวแปรที่ศกึ ษาในการวิจัยครัง้ นัน้ ๆ โดยมีแนวคดิ หลักการ ทฤษฏี กฎ หรือ ผลการวิจยั ฯลฯ เพือ่ ทผ่ี ู้วจิ ยั จะได้นาไปศึกษาและใชต้ รวจสอบข้อมูลกับขอ้ มลู เชงิ ประจักษว์ ่า มีความสอดคล้องกนั หรอื ไม่ อย่างไร 8.ประโยชนข์ องกรอบแนวคดิ การวจิ ัย มดี ังน้ี 1) ทราบว่าตัวแปรที่ม่งุ ศึกษามีกี่ตัวแปร และ มีตวั แปรอะไรบา้ งทม่ี ่งุ ศกึ ษา และตวั แปรทเ่ี กี่ยวข้อง 2) กาหนดแบบการวิจัยท่เี หมาะสมกบั ตัวแปร 3) เปน็ แนวทางในการวางแผนในการเก็บรวบรวมข้อมลู 4) เลือกสถติ ทิ น่ี ามาใช้การวจิ ยั มีความเหมาะสม และสอดคลอ้ งกับวัตถุประสงค์ของการวิจัยและ 5)ใชใ้ นการอภปิ รายความสัมพนั ธ์ระหวา่ งตัวแปรได้ อยา่ งมีเหตุผล 9. ขอ้ บกพร่องในการกาหนดกรอบแนวความคิดของผวู้ จิ ัย ทม่ี ักจะพบมีดังนี้1) กาหนด ความหมายของแนวความคิดในเชิงปฏบิ ัติท่ไี มช่ ดั เจนและขาดความเช่ือมโยงระหว่างนิยามเชิงทฤษฏีกบั นยิ ามเชิงปฏบิ ัติ 2)กาหนดจากการศึกษาทฤษฏี หรือผลงานวจิ ัยที่เกย่ี วขอ้ งอยา่ งไมเ่ พยี งพอ 3) กาหนด อย่างไม่รอบคอบในการพิจารณาตัวแปรทเี่ ก่ียวข้องอนื่ ๆ ท่ีอาจจะมอี ิทธิพลต่อตวั แปรทม่ี ุ่งศกึ ษา หรอื ไมไ่ ด้นาตัวแปรท่ีสาคัญมากาหนดเป็นตัวแปรที่มงุ่ ศึกษา และ4) กาหนดโดยใชส้ ามัญสานกึ /ประสบการณ์ ของผวู้ ิจยั ทีไ่ ม่มีการอ้างองิ เชงิ ทฤษฏแี ละเชงิ ประจักษ์
ระเบยี บวธิ ีการวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หนา้ ที่ 85 คาถามปฏิบตั ิการบทที่ 3 การทบทวนเอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ ก่ียวข้อง คาชี้แจง ให้ตอบคาถามจากประเดน็ คาถามที่กาหนดให้อย่างถกู ต้อง ชดั เจน 1. เอกสารและงานวจิ ัยท่เี กี่ยวข้อง คืออะไร มีความสาคัญอย่างไรต่อ “การวิจัย” 2. หลักการในการศึกษาเอกสารและงานวิจยั ที่เก่ยี วข้อง มอี ะไรบา้ ง 3. นกั วิจัยควรจะศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ กี่ยวขอ้ งเมอื่ ไร อยา่ งไร 4. ถา้ ทา่ นเปน็ ผู้วจิ ัย ท่านมขี ้ันตอนในการศึกษาเอกสารและงานวิจยั ท่เี กี่ยวขอ้ งอย่างไร (เขยี นตามความเข้าใจของทา่ น) 5. ส่งิ ท่สี าคญั ทนี่ กั วิจัยจะได้รับจากการศึกษาเอกสารละงานวิจยั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง คอื อะไร อยา่ งไร 6. แหล่งของการศึกษา คน้ ควา้ เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องท่จี ะชว่ ยให้นกั วิจัยไดร้ บั ประโยชน์มากท่ีสดุ คือแหล่งใด เพราะเหตุใด 7. ท่านมเี หตผุ ลหรอื เกณฑ์พิจารณาอย่างไรในการคัดเลือกเอกสารและงานวจิ ัยท่เี กยี่ วข้อง 8. ทา่ นจะมีวธิ ีการอยา่ งไร เพ่ือใหก้ ารศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ัยท่ีเก่ียวขอ้ งมปี ระโยชนต์ ่อ การวิจยั มากทส่ี ดุ 9. ให้ท่านได้ศึกษางานวจิ ยั 1 เรื่อง แล้วให้พิจารณาเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวขอ้ งว่ามี ความถกู ต้อง ครบถว้ น และสอดคล้องกับการดาเนินการวจิ ยั ในประเด็นนั้น ๆ หรือไม่ อย่างไร 10. กรอบแนวคิดการวิจัย คืออะไร มอี ะไรบา้ ง 11. กรอบแนวคดิ การวจิ ัย มีความสาคญั อยา่ งไรต่อการวจิ ัย ในการวิจยั แตล่ ะคร้ังจาเป็นต้อง มีหรอื ไม่ 12. นักวิจยั จะไดร้ ับกรอบแนวคดิ การวจิ ยั มาจากไหน อยา่ งไร และจะกาหนดขน้ึ ในข้นั ตอนใด ของการดาเนนิ การวิจยั 13. ในการวจิ ัยเชงิ คุณภาพจาเป็นตอ้ งมีกรอบแนวคิดการวจิ ัยหรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด 14. วธิ กี าร ทจี่ ะให้ได้กรอบแนวคดิ การวิจยั ท่มี คี ุณภาพ มีแนวทางปฏิบตั ิอย่างไร 15. การนาเสนอเอกสารและงานวิจยั ทเ่ี ก่ยี วข้องทมี่ ีประสิทธิภาพ ควรจะต้องปฏบิ ตั ิอยา่ งไร 16. ให้ท่านศกึ ษางานวิจยั 1 เรือ่ ง แลว้ ใหพ้ ิจารณาวา่ มกี ารกาหนดแนวคิดการวจิ ยั หรือไม่ อยา่ งไร แตถ่ า้ ไม่กาหนดอยา่ งชัดเจนใหท้ า่ นได้กาหนดกรอบแนวคิดการวิจยั ในงานวิจยั เร่อื งนนั้ ๆ ว่า เป็นอย่างไร
บทท่ี 4 ตัวแปรและสมมตฐิ าน ในการดาเนินการวิจยั ใด ๆ จะตอ้ งกาหนดตวั แปรทจี่ ะศกึ ษา แต่ในการวิจยั จะพบว่าจะมี ทั้งตวั แปรที่ผ้วู จิ ัยต้องการศึกษาและไมต่ ้องการทจี่ ะศึกษาเข้ามาเกย่ี วข้องอยู่เสมอ ๆ ดงั นน้ั เพ่ือใหไ้ ด้ ผลการวจิ ัยทีไ่ ดม้ ีความถูกต้อง ชัดเจนตามจดุ ม่งุ หมายของการวจิ ัย ผวู้ จิ ัยจะตอ้ งศึกษาเพ่ือทาความเข้าใจ เก่ยี วกับตวั แปรว่ามีอะไรบ้าง มีลกั ษณะอย่างไร หรือมวี ิธีการทจี่ ะควบคุมหรือขจดั ตวั แปรท่ไี ม่ต้องการ อย่างไรทีจ่ ะทาให้ผลการวิจยั เกดิ ขึน้ ตามวัตถุประสงคก์ ารวิจยั ท่ีกาหนดไว้อย่างแท้จรงิ รวมทั้งการนา ตัวแปรทีต่ อ้ งการศึกษาไปกาหนด/คาดคะเนเปน็ สมมุตฐิ านในการวิจัยเพื่อนาไปทดสอบสมมตุ ฐิ านว่า ผลการวิจยั นน้ั จะเป็นไปตามท่ตี อ้ งการหรือไม่ อยา่ งไร ตวั แปร 1. ความหมายของตวั แปร มนี กั วิชาการได้ให้ความหมายของ “ตัวแปร” ดงั น้ี ตวั แปร หมายถงึ คุณลกั ษณะ/ข้อมลู ที่แตกต่างกันของส่ิงของ หรือปรากฏการณห์ รือพฤตกิ รรมท่ี ผู้วิจยั สนใจจะศึกษา(Wiersma,2000 :25) ตัวแปร หมายถงึ ส่ิงที่โดยสภาพท่วั ไปแลว้ สามารถแปรคา่ ได(้ สมหวัง พธิ ิยานุวัฒน์,2535 : 102) ตัวแปร เป็นสญั ลักษณท์ ี่กาหนดขึ้นให้มีค่าทแี่ ตกตา่ งกันต้งั แต่ 2 คา่ ขนึ้ ไป ตามขอบเขต ที่กาหนด ถา้ สญั ลักษณ์ใดมีคา่ เดยี วจะเรียกว่า ตัวคงที่(Constant)(นงลักษณ์ วริ ชั ชยั ,2543 : 162) ตัวแปร หมายถึง แนวคิดทเ่ี กี่ยวข้องกบั ประเดน็ ปัญหาการวจิ ัยท่ีตอ้ งการคาตอบ และ มีความหลากหลายในเชิงคณุ ลกั ษณะหรือเชงิ ปริมาณ(ปารชิ าต สถาปติ านนท,์ 2546:97) ตวั แปร หมายถงึ คุณลกั ษณะหรือคุณสมบัตขิ องหนว่ ยหรือปรากฏการณ์ทผ่ี ้วู ิจัยสนใจจะศึกษา ซึ่งจะเปลยี่ นแปลงหรือเปลยี่ นค่าไดต้ ามหน่วยหรอื ปรากฏการณ์นั้น ๆ โดยที่สามารถวดั และสังเกตได้ (สุวรรณา ธุรโชติ,2541 : 60) สรุปได้ว่า ตวั แปร หมายถึง ประเดน็ /คุณลกั ษณะทผ่ี วู้ จิ ัยต้องการจะศกึ ษา ทใี่ นการศึกษา งานวจิ ัยใด ๆ ตัวแปรจะมีค่าทส่ี ามารถแปรเปลย่ี นค่าไดต้ ามสถานการณ์หรือเง่ือนไขท่ีกาหนดข้ึน ทจี่ ะไดจ้ ากหลักการของเหตุผลท่ีผู้วจิ ัยได้ศกึ ษา ทบทวนจากเอกสารและงานวจิ ัยท่ีเก่ียวข้อง 2. ลกั ษณะของตัวแปร ปารชิ าต สถาปติ านนท(์ 2546 : 97) ไดน้ าเสนอลักษณะของตวั แปร มีดงั น้ี 2.1 เป็นสิ่งท่ีสามารถระบุองค์ประกอบ ประเภท หรือชนิดทหี่ ลากหลายได้ ไม่ใช่สิ่งท่ีมี เพียงอย่างใดอย่างหนงึ่ เท่านน้ั
หนา้ ที่ 88 บทที่ 4 ตัวแปรและสมมตุ ฐิ าน 2.2 คานิยามท่ีใหค้ วามหมายของตวั แปร จะเปน็ การให้ความหมายทีจ่ ะสามารถใชอ้ ธิบาย คณุ ลกั ษณะท่ีจะสามารถสังเกต วัด และประเมินคา่ ได้อย่างชัดเจน และเปน็ รูปธรรม โดยท่ียวุ ดี ฦาชา และคณะ( 2532 :42) ได้นาเสนอลกั ษณะของตวั แปรต้น/อสิ ระ และตัวแปรตาม/ผลในเชิงเปรียบเทียบ ดงั แสดงในตารางท่ี 4.1(ยุวดี ฦาชา และคณะ, 2532 :42) ตารางท่ี 4.1 การเปรยี บเทยี บลักษณะของลกั ษณะของตัวแปรต้น/อสิ ระ และตวั แปรตาม/ผล ลักษณะ ตวั แปรตน้ /อสิ ระ ตวั แปรตาม/ผล 1.ความเปน็ เหตุเปน็ ผล เปน็ เหตุ เป็นผล 2.การจัดกระทา จดั กระทาได้ เกิดขน้ึ เอง จดั กระทาไม่ได้ 3.การพยากรณ์ ตัวพยากรณ์ 4.การกระตนุ้ ตวั กระตนุ้ ตัวถูกพยากรณ์ 5.การเกิดกอ่ น-หลงั ตวั ตอบสนอง 6.ความคงทน เกิดก่อน คงทนกว่า เกิดหลงั เปลย่ี นแปลงงา่ ยกว่า 3. ความสาคญั ของตวั แปร ในการดาเนนิ การวจิ ยั ใด ๆ ตวั แปรเป็นองค์ประกอบท่ีมีความสาคญั ต่อการวิจยั ดงั น้ี (พิชติ ฤทธจิ์ รูญ,2544 :88-89) 3.1 ใช้เช่อื มโยงระหวา่ งการกาหนดตวั แปรท่ีสามารถวัดและสังเกตไดก้ ับแนวคิดและทฤษฏีท่ี เกยี่ วขอ้ งท่ีมคี วามเปน็ นามธรรมสูง(วดั และสังเกตไดย้ าก) ดังภาพที่ 4.1 แนวคดิ ทฤษฏี ลักษณะนามธรรม ทเี่ กย่ี วข้อง ลกั ษณะรปู ธรรม การวดั ตวั แปร ตัวแปรที่ศึกษา การนิยามตวั แปร ภาพที่ 4.1 ความสัมพันธ์ระหวา่ งแนวคดิ ทฤษฏี ตวั แปรที่ศึกษา และการนยิ ามตัวแปร ท่ีมา : พชิ ติ ฤทธจ์ิ รูญ,2544 :88-89
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 453
Pages: