Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระเบียบวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์

ระเบียบวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2020-07-05 11:21:48

Description: ระเบียบวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์
ผู้เขียน รศ.ดร.สมชาย วรกิจเกษมสกุล
ตุลาคม 2554

*
สมชาย วรกิจเกษมสกุล. (๒๕๕๔). ระเบียบวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. อุดรธานี : อักษรศิลป์การพิมพ์.

Keywords: ระเบียบวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์,สมชาย วรกิจเกษมสกุล

Search

Read the Text Version

 ระเบียบวิธกี ารวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หน้าที่ 189 2.5 เพ่อื ช่วยให้การใช้ทรัพยากรเปน็ ไปอยา่ งประหยดั คมุ้ ค่าเพราะไดผ้ ่านการพิจารณา วางแผนจากผวู้ จิ ยั แล้ววา่ จะใชอ้ ะไรบ้าง อยา่ งไร 2.6 เพื่อช่วยในการบริหารเวลาที่มปี ระสิทธภิ าพ เพราะผู้วจิ ัยได้มีการวางแผน การดาเนนิ การกิจกรรมในโครงการวจิ ัยอยา่ งเป็นข้ันตอน ระบบไวล้ ว่ งหนา้ แลว้ 3. ลักษณะของโครงการวิจยั ท่ดี ี โครงการวจิ ัยทด่ี จี ะต้องมลี กั ษณะตามหลักการ Seven C’s ดงั นี้(นงลกั ษณ์ วิรชั ชัย. 2543 : 395 ; ภทั รา นิคมานนท,์ 2544 : 219) 3.1 ความถูกต้อง(Correctness)โครงการวจิ ยั ท่ีดีจะต้องมเี นื้อหาสาระที่ถูกต้อง แมน่ ยา โดยมหี ลักฐานและข้อเท็จจรงิ ทสี่ ามารถใช้อ้างอิงได้ 3.2 ความมเี หตผุ ล(Cogency)โครงการวจิ ยั ท่ีดจี ะตอ้ งแสดงเหตผุ ลทีน่ ่าเชือ่ ถือตามทฤษฏี หรอื หลกั ตรรกะ 3.3 ความชัดเจน(Clarity)โครงการวิจยั ท่ดี จี ะต้องมกี ารใชภ้ าษาท่มี คี วามชัดเจน ไมก่ ากวม ท่ีจะต้องมีการตคี วาม หรือคาดคะเนความหมายของขอ้ ความนนั้ ๆ 3.4 ความสมบูรณ์(Completeness)โครงการวิจยั ทดี่ จี ะต้องมเี น้ือหาสาระสาคัญท่ีครบถ้วน ตามขนั้ ตอนกระบวนการวิจยั และครอบคลมุ แนวคิด ทฤษฏที ่ีเกย่ี วข้อง 3.5 กะทัดรัด(Concise)โครงการวจิ ัยทีด่ ีควรใชภ้ าษาท่ีง่าย ๆ สน้ั กะทัดรัด ทีส่ ามารถ สอื่ ความหมายแลว้ สามารถทาความเข้าใจได้อยา่ งรวดเร็ว 3.6 ความสม่าเสมอ(Consistency)โครงการวจิ ยั ทดี่ ีตอ้ งมคี วามสมา่ เสมอในการใช้คา หรอื ขอ้ ความ/ประโยคในลักษณะเดยี วกันทง้ั ฉบบั 3.7 ความสมั พันธ์ุเช่ือมโยง(Correspondence)โครงการวิจยั ท่ีดจี ะต้องมีการจัดระเบียบ และหัวขอ้ ที่นาเสนอจะต้องมีความเช่อื มโยงในเชิงเหตุผลอย่างต่อเนื่อง 4. ความสาคญั ของโครงการวจิ ัย ในการนาเสนอโครงการวิจยั มคี วามสาคัญ ดังน(้ี วิรัช วรรณรตั น์,2529 : 33) 4.1 ชว่ ยใหผ้ ู้วิจัยมีกรอบความคิดทช่ี ดั เจนเกีย่ วกับประเดน็ ท่ีจะดาเนินการวิจยั มากข้ึน เพราะไดเ้ ขียนบรรยายและอธิบาย รวมทงั้ กาหนดขอบเขตของปญั หาไวล้ ่วงหน้าแล้ว 4.2 ชว่ ยใหผ้ ู้วิจยั ไดแ้ นวทางในการดาเนนิ การวิจยั ในการกาหนดจดุ มุ่งหมาย สมมุติฐาน ประชากรและกล่มุ ตัวอย่าง นิยามศัพท์เฉพาะ ประโยชน์ท่ีจะไดร้ บั จากการวิจัย การสร้างและพัฒนา เคร่อื งมือที่ใช้ในการวจิ ัย การเกบ็ รวบรวมข้อมลู การวเิ คราะหข์ ้อมลู และการเลือกใชส้ ถิติทีเ่ หมาะสม สาหรับวเิ คราะห์ข้อมูล 4.3 ชว่ ยให้ผวู้ จิ ัยได้พจิ ารณาดว้ ยความรอบคอบ ที่จะเปน็ ใช้แนวทางแสวงหาวิธีการควบคมุ และแนวทางการแกไ้ ขข้อบกพร่องให้การดาเนนิ การวิจัยน้ัน ๆ ได้คาตอบการวจิ ยั ท่ีมีความเทย่ี งตรง และความเชื่อม่ันมากย่ิงขึน้

หน้าที่ 190  บทท่ี 7 โครงการวจิ ยั 4.4 ชว่ ยใหผ้ ้วู จิ ยั ได้ประเมินคณุ คา่ ของงานวิจัยทจ่ี ะดาเนนิ การวา่ มีความถูกต้อง ชดั เจน และมคี วามพร้อมทีจ่ ะดาเนินการเพยี งใด ทงั้ ในด้านเวลา แรงงาน และงบประมาณทจ่ี ะใช้ 5. เทคนิคการเขียนโครงการวิจยั สิน พนั ธพ์ ินจิ (2547 : 338-339) ได้นาเสนอเทคนคิ ในการเขยี นโครงการวิจัย เพื่อให้มีความเป็น มาตรฐาน และนา่ สนใจ ดังน้ี 5.1 การเขยี นโครงการวิจัยจะตอ้ งมคี วามสอดคล้องและครอบคลุมกบั คาชี้แจง/หลักเกณฑ์ ทีก่ าหนดใหใ้ นแต่ละกรณี/หน่วยงานอย่างครบถว้ น 5.2 การกาหนดชือ่ เรื่องจะต้องสนั้ กะทดั รัด แสดงความสัมพนั ธ์ระหว่างตัวแปร หรือประเด็น ทีต่ ้องการศึกษาอยา่ งครบถว้ น รวมท้งั การระบุประเภทของการวิจยั สาขาที่ทาวจิ ยั และช่ือนกั วิจยั หรือ คณะผู้วิจัยให้ชดั เจน 5.3 การเขยี นความเป็นมาและความสาคัญของปญั หาการวจิ ัยให้หนกั แน่น มีเหตุผลสนับสนนุ ทส่ี ามารถดึงดดู ความสนใจของผู้ศึกษาหรือผพู้ จิ ารณาให้คล้อยตามวา่ ถ้าไม่ดาเนินการวจิ ัยแล้วจะเกดิ ผลเสียอยา่ งไร และถ้าดาเนินการวิจยั แล้วจะเกิดประโยชนอ์ ยา่ งไรบ้าง แลว้ สรปุ เชื่อมโยงใหส้ อดคล้องกบั วตั ถุประสงค์การวจิ ัยท่ีกาหนดเป็นประเด็น 5.4 การเขียนวตั ถุประสงค์การวจิ ัยใหช้ ัดเจนโดยใชห้ ลักการ SMART คอื มคี วามเฉพาะเจาะจง (Specific) , สามารถวัดได/้ เก็บขอ้ มูลได้(Measurable),สามารถดาเนนิ การใหส้ าเร็จ(Attainable) , สอดคลอ้ งกับสภาพที่เป็นจรงิ (Realistic) และแสดงช่วงเวลาทช่ี ดั เจน(Time-bound) 5.5 การกาหนดกรอบแนวคดิ การวจิ ยั ที่ชัดเจน ทมี่ หี ลักการแนวคดิ ทฤษฏมี าสนบั สนุน โดยจะต้องระบุตัวแปรที่ศึกษา (ตัวแปรตน้ /ตวั แปรตาม) หรอื วิธกี ารศกึ ษาใหช้ ัดเจน ในลักษณะของ การบรรยายความ หรอื รูปแบบท่ีแสดงแนวคิดท่ีเป็นรูปธรรม 5.6 การกาหนดระเบียบวิธีการวิจยั ที่ถกู ต้อง อาทิ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เครอื่ งมือทใี่ ช้ใน การวิจัย แบบแผนการวจิ ยั การเก็บรวบรวมขอ้ มูล และการวิเคราะหข์ ้อมลู และสถิติทใี่ ช้ ที่จะต้อง มคี วามถูกต้อง เหมาะสม และมคี วามสอดคล้องกันในทุก ๆ ประเด็นที่กาหนดในโครงการวจิ ัยทแี่ สดง ความมีปัญญาของผู้วจิ ยั 5.7 การใช้ภาษาไทยให้มคี วามถูกต้องเหมาะสม ชัดเจน กะทัดรดั และไมก่ ากวม ซึ่งจะทาให้ การนาเสนอโครงการวจิ ัยนั้น ๆ มคี วามน่าสนใจ และนา่ เชอ่ื ถอื มากยิง่ ขึ้น 6. องค์ความรู้ทตี่ อ้ งใชใ้ นการเขยี นโครงการวจิ ยั ในการเขียนเคา้ โครงการวจิ ยั ให้มีประสทิ ธิภาพ และนา่ สนใจนน้ั ผู้วิจยั จาเป็นจะต้องมีความรู้ ดงั น้(ี สมคิด พรมจยุ้ , 2545 :3) 6.1 ความรใู้ นเนื้อหาสาระที่จะทาวิจัยเป็นอย่างดี อาทิ สังคม เศรษฐกจิ การเมือง การปกครอง การบริหาร สภาพแวดล้อม การศึกษา วิธสี อน เป็นต้น

 ระเบียบวธิ กี ารวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าท่ี 191 6.2 ความรใู้ นวธิ ีการวจิ ยั ได้แก่ กระบวนการวิจัย ขนั้ ตอนการวิจัย การกาหนดตัวแปร การออกแบบวิจัย การสร้างและพัฒนาเคร่อื งมือ การเก็บรวบรวมและวเิ คราะห์ข้อมลู การเลือกใชส้ ถติ ิ ท่ถี กู ต้องและเหมาะสม การเขยี นรายงาน และการนาเสนอผลสรปุ การวิจยั 7. องค์ประกอบของโครงการวิจัย ในการนาเสนอโครงการวิจัยจะมีรายละเอยี ดของเนอ้ื หาสาระในโครงการวิจยั ดงั น้ี 7.1 ช่ือโครงการวิจัย(Research Topic)เป็นข้อความท่ีกาหนดใหผ้ ู้สนใจได้รับทราบประเด็น ปญั หาการวิจยั และลักษณะสาคัญของงานวิจัยในลกั ษณะของความหรือวลี ไมค่ วรสัน้ หรือยาวเกินไป และควรมีความชดั เจนในตัวแปร ประชากร แบบแผนการวิจัยและขอบเขตการวจิ ยั (นงลักษณ์ วริ ัชชัย, 2543 :399) 7.2 ความเปน็ มาและความสาคญั ของโครงการวจิ ยั เป็นการเขยี นความเรยี งทม่ี คี วามต่อเนอื่ ง ในการระบุความเป็นมา/ความสาคัญของประเดน็ ปัญหา เหตผุ ลวา่ ทาไมต้องศึกษาประเด็นปญั หานี้ หรือจะแกป้ ัญหาทรี่ ะบุโดยใช้วธิ ีการแกป้ ัญหา/แนวทางอะไร(ถ้าม)ี และอาจจะสรุปประเด็นสาคัญใน ยอ่ หนา้ สุดทา้ ยดว้ ย “คาถามการวจิ ัย”ท่ีเป็นภาพรวมของการวิจยั ในครัง้ นี้ ในลักษณะของภาพกวา้ ง ของปญั หาทัว่ ๆ ไปสูป่ ระเด็นปัญหาเฉพาะเจาะจงที่ต้องการวจิ ยั ที่แสดงไดด้ ังภาพที่ 7.1 นามธรรม สภาพสังคมทั่ว ๆ ไปหรอื ทเ่ี กี่ยวกบั ประเด็นการวิจัย ท่ีมา/ประเดน็ ปญั หาในภาพรวม ประเดน็ ปัญหาทเ่ี ฉพาะเจาะจง คาถามการวิจยั รูปธรรม ภาพท่ี 7.1 ลักษณะการเขยี นความเปน็ มาและความสาคญั ของปัญหาการวจิ ัย 7.3 วตั ถุประสงคข์ องการวิจัย เปน็ การระบุความตอ้ งการหรอื เป้าหมายของการวจิ ยั ท่ีกาหนด ในลักษณะของประโยคบอกเล่าที่ชดั เจน สอดคลอ้ ง/ครอบคลุมกับประเดน็ การวิจยั เรยี งลาดับตาม ความสาคัญ(วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั /วตั ถปุ ระสงค์รอง) และมีความเป็นไปไดใ้ นขอบเขตท่เี หมาะสม โดยกาหนดคาขึน้ ตน้ ประโยค ดังนี้ เพ่ือบรรยาย เพื่อศึกษา เพือ่ สารวจ เพ่ือเปรียบเทยี บ เพ่ือศึกษา

หน้าที่ 192  บทท่ี 7 โครงการวจิ ยั ความสัมพันธ์ เพ่ือวิเคราะห์ เพ่อื สังเคราะห์ เพ่ือประเมิน/ตรวจสอบ เพอื่ สร้าง เพ่ือพัฒนา และ เพ่อื ตรวจสอบความเทย่ี งตรง โดยมหี ลักการในการพิจารณาปรับปรงุ วตั ถปุ ระสงค์ ดังนี้ (นงลักษณ์ วิรัชชัย,2543 : 412) 7.3.1 เขยี นวตั ถปุ ระสงคม์ ีลักษณะเปา้ หมายการวิจัยไมใ่ ช่วิธกี าร 7.3.2 วตั ถุประสงค์ต้องสอดคลอ้ งกับชื่อเร่ือง 7.3.3 วตั ถุประสงคท์ ั้งหมดนาไปส่กู ารตอบปญั หาการวจิ ยั 7.3.4 ไม่ใช้คาฟมุ่ เฟอื ย 7.3.5 มคี วามชัดเจน ไมก่ ากวม 7.4 สมมตุ ิฐานการวจิ ัย เปน็ การกาหนดข้อความท่ีคาดคะเนคาตอบของประเด็นการวจิ ยั อยา่ งมเี หตุผลท่ีได้แนวคิด หลกั การ และทฤษฎี จากการศึกษา ค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง ที่จะสามารถนามาใช้เปน็ แนวทางของการดาเนินการวจิ ัย การวิเคราะห์ข้อมลู และการเลือกใช้สถติ ิ ทเ่ี หมาะสม โดยมหี ลักการในการพิจารณาปรบั ปรงุ วตั ถปุ ระสงค์ ดงั น้(ี นงลักษณ์ วิรชั ชยั ,2543 : 412) 7.4.1 มีความสอดคล้องกบั ปญั หาการวิจยั 7.4.2 มที ฤษฏีและงานวจิ ยั สนบั สนนุ 7.4.3 แสดงทิศทางความสมั พันธ์ระหวา่ งตัวแปรหรือความเกย่ี วข้องระหว่างประเด็น 7.4.4 ไมม่ คี าท่แี สดงความคิดเหน็ หรอื คุณค่า 7.4.5 มีความสม่าเสมอในการใชค้ า 7.5 ขอบเขตของการวจิ ัย เปน็ การกาหนดขอบเขตของการวจิ ยั เกี่ยวกับประชากรและ กล่มุ ตวั อย่าง เน้ือหาท่ีใช้ในการวิจัย ตวั แปรที่ศึกษา ระยะเวลา หรอื อน่ื ๆ ท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือให้ การดาเนินการวจิ ยั ในครงั้ นัน้ ๆ มีความชดั เจนในประเด็นท่ีต้องการศกึ ษามากย่ิงข้ึน โดยมีประเด็น ทค่ี วรระบุในขอบเขตของการวิจัย ดังนี้ 7.5.1 ตวั แปรทศี่ ึกษา เปน็ การระบวุ า่ ในการวิจยั ครัง้ นี้จะศึกษาในเร่ืองใด ประเด็นใด ทีน่ ิยมกาหนดเป็น 2 ตัวแปร ดังนี้ 7.5.1.1 ตวั แปรต้น/อิสระ(Independent Variables) ท่เี ป็นตัวแปรสาเหตุ หรอื ตัวแปรท่ที าใหเ้ กดิ การเปล่ียนแปลงในอีกตวั แปรหน่ึง และเปน็ สง่ิ ทปี่ รับเปลยี่ นไม่ได้ อาทิ เพศ สถานภาพ หรือตาแหนง่ เป็นต้น 7.5.1.2 ตัวแปรตาม(Dependent Variables) เปน็ ตวั แปรผลทเี่ กิดข้ึนเน่ืองจาก การเปล่ียนแปลงของตัวแปรต้น/อิสระ อาทิ เจตคติ ความคิดเห็น หรอื พฤตกิ รรม เปน็ ต้น 7.5.2 ประชากร หรอื กลมุ่ ตวั อยา่ ง เปน็ กลมุ่ ทีผ่ ูว้ จิ ยั สนใจจะศกึ ษา/เก็บรวบรวมข้อมลู ที่อาจจะเป็นสิง่ มชี ีวิตหรอื สิง่ ไมม่ ชี วี ิต โดยจะตอ้ งระบใุ ห้ชดั เจนวา่ เปน็ ใคร อยทู่ ี่ไหน มีจานวนเทา่ ไร และ ใช้วธิ ีการสุม่ กลมุ่ ตวั อย่างได้อยา่ งไร

 ระเบยี บวิธกี ารวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หน้าที่ 193 7.5.3 ระยะเวลา เปน็ การระบรุ ะยะเวลาในการดาเนนิ การวจิ ัยท่ชี ดั เจนเพ่ือประสิทธภิ าพ ในการใชอ้ า้ งอิงข้อมลู 7.6 นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ เป็นการกาหนดความหมายของตัวแปรทจ่ี ะศึกษา หรือคาศพั ท์ ที่ใหม่ ๆ เพ่ือเป็นการสอื่ ความหมายใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจท่ีสอดคลอ้ งกันในแนวทางเดยี วกันระหว่าง ผวู้ จิ ยั และผ้ทู ี่สนใจ/เกีย่ วขอ้ ง โดยที่นยิ ามศัพท์เฉพาะควรมีลักษณะ ดังนี้ 7.6.1 กาหนดความหมายในลักษณะของตัวแปรเชิงปฏบิ ตั กิ ารท่รี ะบุความหมาย หรอื องค์ประกอบโครงสร้างท่ชี ดั เจน รวมทง้ั ระบุวธิ กี ารวัดและสงั เกตทใี่ ช้ 7.6.2 กาหนดความหมาย อย่างมเี หตุผล หรอื มหี ลักฐานทใ่ี ชอ้ ้างองิ ได้จากการศึกษา ค้นควา้ เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง หรือการกาหนดขึน้ ด้วยตนเองที่ผ่านการศึกษา หรือได้รบั คาปรกึ ษาจากผู้เช่ยี วชาญในศาสตร์นัน้ ๆ 7.6.3 กาหนดความหมายทใ่ี ชข้ ้อความทชี่ ดั เจน ไม่คลุมเครือ มคี วามหมายเฉพาะเจาะจง ที่สามารถระบุขอบเขตได้อย่างแนน่ อน 7.7 ประโยชน์ทจี่ ะได้รบั เป็นประเด็นทผ่ี ู้วิจยั เขยี นบรรยายความสาคญั หรือคณุ คา่ ของ การวจิ ยั ในลักษณะเชิงวิชาการของการสร้างองคค์ วามรแู้ ละทดสอบทฤษฏีอย่างไร หรือในเชิงปฏบิ ตั ิ ท่เี ปน็ การนาผลการวิจัยไปใชป้ ระโยชน์ในการแก้ปญั หากบั กลุ่มใด ในลกั ษณะใด โดยมีหลกั การ ดงั นี้ 7.7.1 เป็นประเดน็ ย่อย ๆ ทเี่ รยี งลาดบั ตามความสาคัญจากมากท่สี ุดไปหานอ้ ยท่สี ุด 7.7.2 กาหนดใหส้ อดคล้องกับคาถาม/วตั ถุประสงค์ของการวจิ ัย 7.7.3 ระมัดระวังจะเกิดความสับสนกบั วัตถุประสงค์ในการวจิ ยั ทีม่ กั จะเริ่มต้นดว้ ย “เพื่อ” แตค่ วรเขยี นในลกั ษณะท่ีเปน็ ประโยชน์ทผ่ี วู้ ิจยั ไดพ้ ิจารณาแลว้ วา่ จะไดร้ บั จากการวจิ ัยจรงิ ๆ ดงั นี้ 7.7.3.1 ประโยชน์ที่เกิดข้นึ เพื่อตนเองทาใหผ้ ู้วิจยั ไดร้ ับความรู้ใหม่ ๆ 7.7.3.2 ประโยชน์ทเ่ี กดิ ขน้ึ เพ่ือหน่วยงาน 7.7.3.3 ประโยชนท์ เ่ี กดิ ขึ้นเพื่อสงั คมโดยส่วนรวม 7.7.4 ไม่เขียนเกินจริงและหลีกเล่ยี งความซ้าซอ้ น 7.8 เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวขอ้ ง เป็นการนาเสนอผลศึกษาค้นควา้ เอกสารและงานวิจยั ในส่วนท่เี กีย่ วข้องกับแนวคิด หลักการ ทฤษฏี หรอื งานวจิ ัยทด่ี าเนินการในลักษณะเดียวกันหรอื ศึกษา ตัวแปรคลา้ ยคลงึ กัน เพอื่ นามาใช้เปน็ แนวทางในการกาหนดจดุ มงุ่ หมาย สมมุตฐิ านการวิจัย ขอบเขต การวิจยั หรอื วิธกี ารดาเนินการวิจัยที่ชัดเจน ฯลฯ หรอื เน้นให้เห็นความสาคัญของการวจิ ยั และ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างปัญหาการวิจัยกบั ตวั แปรท่ศี ึกษา โดยท่มี เี นอ้ื หาที่เหมาะสม ดังนี้ 7.8.1 เนอ้ื หาเชงิ ทฤษฏี หรอื งานวจิ ยั ที่เกี่ยวข้องทจ่ี ะนาไปสู่คาตอบปัญหาการวิจัยหรอื การกาหนดสมมตุ ฐิ านได้อยา่ งชดั เจน

หน้าท่ี 194  บทที่ 7 โครงการวิจยั 7.8.2 เนอื้ หาในภาพรวม และระบปุ ระเด็นทีจ่ ะทาวิจยั อย่ทู ี่ส่วนใด หรอื มีความเกี่ยวพัน/ซา้ ซ้อน กบั งานวจิ ยั ที่มมี าแลว้ หรอื ไม่ หรือมีลักษณะเดน่ ที่แตกตา่ งจากงานวิจัยที่คล้ายกันอยา่ งไร 7.8.3 เนื้อหาทไ่ี ดม้ กี ารสังเคราะหส์ รุปเปน็ กรอบแนวคิดการวิจัยหรือแบบจาลองทแี่ สดง โครงสรา้ งความสมั พันธร์ ะหว่างตัวแปร 7.8.4 เนอื้ หาทีแ่ สดงแนวคดิ ของผูว้ ิจยั ในการคัดเลือกประเด็นดงั กลา่ วมาเป็นประเด็น การวิจัย และประเด็นนนั้ มขี นั้ ตอนการดาเนนิ การวจิ ยั ท่ดี ีมีประสิทธภิ าพกว่าเดิมอย่างไร 7.8.5 เนอื้ หาทีแ่ สดงความรู้ความสามารถในเชงิ วชิ าการของผู้วจิ ยั ทไี่ ด้คัดเลือกงานวิจัย และเอกสารทีม่ ีความเทย่ี งตรงและความเชื่อถือได้สงู และมีการอ้างองิ ขอ้ มูลตามหลกั วชิ าการ 7.9 ระเบยี บวธิ กี ารวิจัย/วิธกี ารดาเนนิ การวิจัย จาแนกได้ดงั น้ี 7.9.1 แบบแผนการวจิ ยั ระบวุ ่าในการวจิ ยั คร้ังนี้เป็นการวิจัยประเภทใด ถ้าเปน็ การวิจัยเชิงทดลองใช้แบบแผนการทดลองแบบใด 7.9.2 ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง ระบลุ กั ษณะ/คณุ สมบัต/ิ ขนาดของประชากรทชี่ ัดเจน เพ่ือท่จี ะได้ระบุจานวนของกลุ่มตัวอย่างและวธิ กี ารสุ่มตวั อย่างที่ใช้ 7.9.3 ลกั ษณะข้อมลู การให้ความหมายของตัวแปร เปน็ การอธิบายว่าข้อมูลมลี ักษณะ อย่างไร และนาไปนยิ ามเชงิ ปฏบิ ัติการได้อยา่ งไร 7.9.4 เครอื่ งมอื ทใ่ี ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู และขั้นตอนการเกบ็ รวบรวมข้อมูล เปน็ การระบปุ ระเภทของเครื่องมือที่ใช้ ข้นั ตอนการสร้างและพฒั นาเครอ่ื งมือแตล่ ะประเภท และ วธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล 7.9.5 การวิเคราะหข์ ้อมูลและสถติ ิที่ใช้ เปน็ การนาเสนอว่าจะนาข้อมลู ท่ไี ด้มา ดาเนนิ การอย่างไร และจะใช้สถิตใิ ดในการวเิ คราะห์ขอ้ มูลเชิงปรมิ าณและวธิ ีการวิเคราะห์ใด ๆ ใน การวเิ คราะห์ข้อมลู เชิงคุณภาพ 7.10. ระยะเวลาการวจิ ยั และแผนการดาเนนิ การวจิ ัย เปน็ การวางแผนการดาเนนิ การวิจัยว่า ในแตล่ ะขนั้ ตอนจะดาเนนิ การเมื่อไร และใช้เวลาดาเนนิ การประมาณเทา่ ไร ท่ใี ชเ้ ป็นกรอบเวลาใน การปฏบิ ัติงานของผู้วิจยั และคณะ และใชเ้ ปน็ แนวทางในการตดิ ตามผลการวจิ ัยของทป่ี รึกษางานวจิ ยั ดังแสดงตัวอยา่ งแผนปฏิบัติการดาเนินการวิจัย(12 เดือน)ในตารางท่ี 7.1

การดาเนินการ  ระเบียบวธิ กี ารวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หน้าท่ี 195 1. ศกึ ษาเอกสารและ ตารางที่ 7.1 แผนปฏบิ ัติการดาเนินการวจิ ยั งานวิจัยท่ีเกีย่ วขอ้ ง 2. นาเสนอ ปี พ.ศ........................ โครงการวิจัย ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 3. สรา้ งและพัฒนา เครื่องมือในการวิจัย 4. เก็บรวบรวมขอ้ มลู 5. วเิ คราะหข์ อ้ มลู 6. เขียนรายงานการ วจิ ยั 7.11 งบประมาณท่ีใชใ้ นการวจิ ยั เป็นการนาเสนองบประมาณสาหรบั การดาเนนิ การวจิ ัย ทมี่ ีความต้องการขอรบั ทนุ สนับสนุนการวจิ ยั จากหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทจ่ี ะต้องมีการกาหนดรายละเอียดของ ของงบประมาณที่ถกู ต้อง และชดั เจนตามหมวดเงิน อาทิ หมวดค่าตอบแทน หมวดค่าใช้สอย หมวดค่าวัสดุ หมวดค่าครภุ ัณฑ์ หรอื หมวดคา่ ใชจ้ ่ายอนื่ ๆ เปน็ ต้น เพอ่ื ใหห้ นว่ ยงานได้ใช้ประกอบ การพจิ ารณาอนุมตั ิงบประมาณหรอื เงินทุนสนบั สนุน 7.12. ผ้วู จิ ยั และคณะผู้วจิ ยั เป็นการระบรุ ายละเอยี ดเกย่ี วกบั คณุ วุฒิ อาชพี หนว่ ยงานทีส่ ังกดั หมายเลขโทรศัพท์ ประสบการณใ์ นการทางานวจิ ยั ผลงานท่ไี ดร้ ับการตีพิมพ์และเผยแพร่ และงานวิจัยที่ กาลงั ดาเนนิ การอยูใ่ นปัจจุบัน และในกรณที ีม่ ีท่ีปรึกษางานวจิ ัยควรระบุรายละเอียดใหช้ ัดเจนด้วย 7.13. หนังสืออา้ งอิง หรอื บรรณานกุ รม ควรมีการระบุแหล่งท่ีมาของเอกสาร ชอ่ื เอกสาร สง่ิ พมิ พ์และหลกั ฐานทใี่ ชป้ ระกอบการศึกษาค้นคว้าในการเขียนโครงการวจิ ยั โดยใชร้ ูปแบบที่ เปน็ มาตรฐานสากล 8. ขั้นตอนการเขยี นโครงการวิจยั ในการเขยี นโครงการวิจยั มีขั้นตอนในการเขียน ดังนี้(นงลักษณ์ วิรชั ชยั ,2543 : 396-397) 8.1 การกาหนดโครงการ(Outline) โดยท่ผี ู้วิจยั จะต้องศึกษารายละเอยี ดของการกาหนด โครงการวจิ ยั ของหน่วยงาน องคก์ ร หรือสถาบนั การศึกษาน้ัน ๆ ให้มีความเข้าใจที่ชดั เจนแล้ว จงึ เขียนโครงการอย่างคร่าว ๆ ตามข้อกาหนดน้ัน

หน้าท่ี 196  บทท่ี 7 โครงการวจิ ยั 8.2 การเตรียมเนอื้ หาสาระ ผ้วู ิจยั จะตอ้ งศึกษาคน้ ควา้ เอกสารและงานวิจยั ท่เี กย่ี วข้องว่ามี แนวคิด ทฤษฏีอะไรบ้างตามที่ได้กาหนดในเค้าโครง แลว้ ใหผ้ ู้วิจยั ได้จดบนั ทกึ ข้อมูลลงในบัตรจดบนั ทึก ขนาด 5x 8 นว้ิ ที่จดั เตรยี มไว้ในการจดบันทึก ท่มี ีความสะดวกในการเรียงลาดับ สลบั ท่ี ค้นหาเพ่ิมเตมิ และใชเ้ ป็นข้อมูลในการจดั ทาบรรณานุกรมท่ีถูกต้องในข้ันตอนการเขยี นรายงานการวจิ ยั ฉบบั สมบูรณ์ 8.3 การเขียนรา่ งโครงการวิจัย เป็นการนาเน้ือหาสาระท่ีไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ มาแล้วในบางสว่ นมา เรยี บเรยี งตามโครงการที่กาหนดไว้แล้ว โดยมุ่งเน้นทีเ่ นือ้ หาสาระสาคญั ของตัวแปรทม่ี งุ่ ศึกษาอย่างชดั เจน มีความต่อเนือ่ งเชื่อมโยงกัน และจะต้องมีความระมดั ระวงั ในการอ้างอิงขอ้ มูล ตาราง แผนภมู ิทีน่ ามาใชใ้ ห้ มคี วามถูกต้อง และชัดเจน 8.4 การปรบั ปรุงการใช้ภาษา เปน็ การพิจารณาการใช้ภาษาที่งา่ ย ๆ ส้นั ชัดเจน อา่ นแลว้ ทา ความเขา้ ใจไดง้ า่ ยไมต่ ้องแปลความ ตีความ และหลกี เลี่ยงการใช้คาสันธานท่ีเช่อื มโยงข้อความหรือ ประเด็นสาคัญที่ไมส่ ่ือความหมายหรือก่อใหเ้ กิดความสับสนในการนามาใช้ อาทิ “และ” “หรือ” “แต่” เปน็ ตน้ 8.5 การตรวจสอบความถูกตอ้ งข้ันสดุ ทา้ ย เป็นการพจิ ารณารา่ งเค้าโครงงานวจิ ัยอีกครง้ั หนง่ึ หลงั จากเสรจ็ สิน้ การเขียนแล้วท้งิ ไวป้ ระมาณ 4-5 วัน ด้วยตนเอง เพ่ือน หรอื ผ้เู ชี่ยวชาญเพือ่ นา ความคลาดเคลื่อนที่พบวา่ จะตอ้ งปรับปรงุ แก้ไขรา่ งเค้าโครงงานวจิ ัยใหม้ คี วามถกู ต้องและสมบูรณ์กอ่ น นาเสนอต่อผู้ท่ีเก่ยี วข้องเพื่อพิจารณาตอ่ ไป ดงั แสดงตวั อยา่ งของแบบฟอร์มการนาเสนอโครงการวจิ ยั ของสานกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แห่งชาติ ดงั น(ี้ กองวิเคราะห์โครงการและการประเมินผล สานกั งานคณะกรรมการวิจัยแหง่ ชาต,ิ 2548 : 32-34)  ระเบียบวิธีการวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หนา้ ที่ 197

สานักงานคณะกรรมการวิจัยแหง่ ชาติ แบบ ว-1 ด (ฉบับปรบั ปรุงปี พ.ศ.2548) แบบเสนอโครงการวจิ ัย(research projectl) ประกอบการเสนอของบประมาณ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2550 ตามมติคณะรฐั มนตรี สว่ น ก. : ลักษณะข้อเสนอการวิจัยเบอื้ งต้น โครงการวจิ ัยใหมท่ ่ีมีระยะเวลาวจิ ยั สิน้ สดุ ในปีงบประมาณทเี่ สนอขอ โครงการวจิ ัยตอ่ เนื่องระยะเวลา.....ปี ปนี ี้เป็นปีที่ .....รหัสโครงงานงานวจิ ยั ............... โปรดระบคุ วามสอดคล้องของข้อเสนอการวิจัยเบอื้ งตน้ กับประเดน็ ยุทธศาสตร์ของแผนการ บริหารราชการแผ่นดนิ พ.ศ.2548-2551 ซ่ึงประกอบด้วยยุทธศาสตร์ 9 ยุทธศาสตร์ (กรณุ าเรยี งลาดบั ความสอดคลอ้ งจากมากทีส่ ุดไปสู่น้อยทส่ี ุดโดยระบหุ มายเลข 1-9 ทั้งน้ี ถ้ามี ความสอดคล้องมากทส่ี ุดเป็นยุทธศาสตรห์ ลักใหร้ ะบุหมายเลข 1) ยุทธศาสตร์การขจดั ความยากจน ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาคนและสังคมทมี่ ีคุณภาพ ยุทธศาสตร์การปรบั โครงสรา้ งเศรษฐกิจใหส้ มดุลและแขง่ ขันได้ ยทุ ธศาสตรก์ ารบรหิ ารจัดการทรพั ยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดล้อม ยทุ ธศาสตร์การตา่ งประเทศและเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ ยุทธศาสตร์การพฒั นากฎหมายและสง่ เสรมิ การบรหิ ารกจิ การบา้ นเมอื งที่ดี ยุทธศาสตร์การส่งเสริมประชาธปิ ไตยและกระบวนประชาสงั คม ยุทธศาสตร์การรกั ษาความมั่นคงของรัฐ ยทุ ธศาสตร์การรองรบั การเปลี่ยนแปลงและพลวัตโลก อื่น ๆ โปรดระบุ....................................................................... ส่วน ข : องคป์ ระกอบในการจดั ทาขอ้ เสนอการวิจัยเบื้องต้น 1. ช่อื โครงการวจิ ยั 2. หนว่ ยงานหลักท่ีรับผิดชอบงานวจิ ัย และสถานทีต่ ง้ั พร้อมท้ังช่ือหนว่ ยงานและ ลักษณะของการร่วมงานวจิ ัยกับหน่วยงานอื่น(ถา้ มี) 3. คณะผู้วิจยั บทบาทของนักวิจยั แตล่ ะคนในการทาวจิ ยั และสดั ส่วนท่ที าการวจิ ยั (%) 4. ประเภทของการวจิ ัย 5. สาขาวิชาและกลุ่มวชิ าทีท่ าการวจิ ัย

หน้าท่ี 198  บทที่ 7 โครงการวิจัย 6. คาสาคญั (keywords)ของโครงการวจิ ัย 7. ความสาคัญ และที่มาของปัญหาที่ทาการวิจัย 8. วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการวิจัย 9. ขอบเขตของโครงการวิจยั 10. ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะไดร้ ับ และหนว่ ยงานท่นี าผลการวิจยั ไปใช้ประโยชน์ 11. การทบทวนวรรณกรรม/สารสนเทศ(Information)ทีเ่ กีย่ วข้อง 12. ทฤษฎี สมมุตฐิ าน หรือกรอบแนวคิดของโครงการวจิ ยั 13. เอกสารอ้างอิงของโครงการวจิ ัย 14. วธิ กี ารดาเนนิ การวจิ ัย และสถานที่ทาการทดลองเกบ็ รวบรวมข้อมลู 15. ระยะเวลาทาการวิจยั และแผนการดาเนนิ งานตลอดโครงการวิจยั (ให้ระบุขนั้ ตอน อย่างละเอยี ด) 16. แผนการถา่ ยทอดเทคโนโลยหี รอื ผลการวจิ ัยสกู่ ลุ่มเป้าหมาย 17. ปจั จัยท่เี ออื้ ต่อการวิจยั (อุปกรณก์ ารวจิ ัย ,โครงสร้างพ้ืนฐานฯลฯ) 17.1 ทม่ี ีอย่แู ล้ว 17.2 ทต่ี ้องการเพมิ่ เตมิ 18. งบประมาณของโครงการวิจัย 18.1 รายละเอียดงบประมาณการวจิ ยั จาแนกตามงบประเภทตา่ ง ๆ [ปงี บประมาณท่ีเสนอขอ] 18.2 รายละเอยี ดงบประมาณการวจิ ยั จาแนกตามงบประเภทต่าง ๆที่เสนอขอใน แต่ละปี [กรณีเป็นโครงการวจิ ยั ตอ่ เน่ือง] 18.3 งบประมาณการวิจยั ทไี่ ด้รบั จดั สรรในแต่ละปีท่ีผา่ นมา(กรณเี ป็นโครงการวจิ ยั ที่ต่อเน่ืองที่ไดร้ ับอนุมตั ใิ ห้ทาการวจิ ยั แล้ว) 19. ผลสาเรจ็ และความคุ้มค่าของการวจิ ัยท่คี าดวา่ จะได้รบั และหน่วยงานที่จะนา ผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ 20. โครงการวจิ ัยตอ่ เน่ืองปที ่ี 2 ข้นึ ไป 20.1 คารับรองจากหวั หนา้ โครงการวิจยั วา่ โครงการวิจยั ได้รบั การจดั สรร งบประมาณจริงในปีงบประมาณทีผ่ ่านมา 20.2 โปรดระบวุ า่ โครงการวจิ ยั นี้อยรู่ ะหวา่ งเสนอของบประมาณจากแหล่งทนุ อน่ื หรอื เป็นการวิจยั ต่อยอดจากโครงการวิจัยอ่นื (ถ้าม)ี 20.3 รายงานความกา้ วหนา้ ของโครงการวจิ ัย 21. คาช้แี จงอืน่ ๆ (ถา้ มี)

 ระเบยี บวิธีการวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หนา้ ที่ 199 ส่วน ค : ประวตั ิคณะผู้วิจัย 1. ชอื่ -นามสกลุ (ภาษาไทย) นาย นาง นางสาว ยศ ชอื่ -นามสกลุ (ภาษาองั กฤษ) Mr, Mrs, Miss 2. เลขหมายบัตรประจาตัวประชาชน 3. ตาแหน่งปจั จุบัน 4. หน่วยงานที่อย่ทู ส่ี ามารถติดต่อได้สะดวก พรอ้ มมายเลขโทรศัพท์ โทรสารและ e-mail 5. ประวตั กิ ารศึกษา 6. สาขาวชิ าการท่มี คี วามชานาญพเิ ศษ(แตกตา่ งจากวุฒกิ ารศกึ ษา) ระบุสาขาวิชาการ 7. ประสบการณท์ ่ีเก่ยี วข้องกับการบรหิ ารงานวจิ ยั ท้งั ภายในและภายนอกประเทศโดย ระบสุ ถานภาพในการทาวจิ ยั ว่าเปน็ ผูอ้ านวยการแผนงานวิจัย หวั หนา้ โครงการวจิ ยั หรอื ผ้รู ว่ มวิจัยใน แต่ละข้อเสนอการวจิ ยั 7.1 ผอู้ านวยการแผนงานวิจัย : ชอื่ แผนงานวจิ ยั 7.2 หัวหน้าโครงการวจิ ัย : ชือ่ โครงการวจิ ัย 7.3 งานวิจยั ท่ีทาเสร็จแลว้ : ชอ่ื ผลงานการวจิ ัย ปีท่ีพมิ พ์ิ การเผยแพร่และแหลง่ ทุน (อาจมากกว่า 1 เร่ือง) 7.4 งานวจิ ยั ท่กี าลังทา : ช่อื ข้อเสนอการวิจัย แหล่งทนุ และสถานภาพในการทา วจิ ัยวา่ ได้ทาการวิจัยลลุ ว่ งแล้วประมาณร้อยละเท่าไร การประเมนิ โครงการวิจยั 1. ความหมายของการประเมินโครงการวิจยั การประเมินโครงการวิจัย เป็นกระบวนการพจิ ารณาตดั สินว่าโครงการวิจยั มคี วามถูกต้อง สมบูรณแ์ ละมีคณุ ภาพเพียงใด ทีม่ ีหลักเกณฑใ์ นการพิจารณาท่ีเหมาะสมว่าโครงการวิจยั น้ันจะสามารถ นาไปดาเนินการไดต้ ามวัตถุประสงคข์ องการวิจยั 2. หลักการในการประเมนิ โครงการวจิ ัย ในการประเมนิ โครงการวจิ ัย มีหลกั การท่ีใช้ในการประเมิน ดงั น้ี 2.1 การประเมินความสมเหตุสมผลเชิงตรรกะ เป็นการประเมนิ โดยพิจารณาจากลาดับเหตุผล ความสัมพนั ธท์ ีเ่ กี่ยวเน่ือง ความสอดคล้องและความเปน็ เหตุและผลซึ่งกันและกัน โดยท่วั ไปจะมีกลมุ่ หัวขอ้ ทม่ี ีความสัมพนั ธก์ นั 2 ลักษณะ ดังน(ี้ เปร่ือง กุมุท และนิคม ทาแดง,2537. อา้ งองิ ใน สนิ พนั ธุพ์ ินิจ,2547 : 356-360)

หน้าที่ 200  บทที่ 7 โครงการวจิ ัย 2.1.1 กล่มุ ท่มี ีหวั ข้อที่มีความสัมพันธอ์ ย่างตอ่ เนื่องในลกั ษณะเปน็ องค์ความคิดใน ขอบข่ายเดียวกนั ดังนี้ 2.1.1.1 ความเปน็ มา กรอบความคิดเชงิ ทฤษฏี และประเด็นปัญหาการวิจัย 2.1.1.2 ความเปน็ มา ประเด็นปญั หา และความสาคัญของการวิจัย 2.1.1.3 วตั ถุประสงค์ ขอบเขตการวิจยั และนิยามศัพท์เฉพาะ 2.1.1.4 ระเบยี บวิธีวิจัย ทรัพยากร แผนการดาเนินการวจิ ัยและทรัพยากร 2.1.2 กลุ่มหัวข้อทีม่ ีความเป็นเหตุและผลซึ่งกนั และกนั มดี งั น้ี 2.1.2.1 ความเป็นมา เป็นเหตุ และความสาคญั เป็นผล 2.1.2.2 กรอบความคิดเชงิ ทฤษฏเี ป็นเหตุ และสมมตุ ฐิ านการวิจัย เป็นผล 2.1.2.3 ประเด็นปญั หาการวจิ ยั เป็นเหตุ และวตั ถปุ ระสงคก์ ารวิจยั เปน็ ผล 2.1.2.4 ระเบยี บวธิ วี ิจัยและแผนดาเนนิ การเป็นเหตุ และทรพั ยากรเปน็ ผล 2.2 การประเมินวธิ ีการปฏิบตั ิ การประเมินวิธีการปฏบิ ัติ เปน็ การตรวจสอบความครบถ้วน ความสมบรู ณ์ ความครอบคลุม และความเป็นไปไดข้ องการดาเนนิ โครงการ มดี งั น้ี 2.2.1 วัตถปุ ระสงค์การวิจยั กบั แผนการดาเนนิ การมคี วามสอดคลอ้ งกนั หรือไม่ และ มคี วามครอบคลุมหรือครบถ้วนมากน้อยเพียงใด 2.2.2 วธิ กี าร/เคร่ืองมือในการวิจยั มีความเหมาะสมท่ีจะใชไ้ ดจ้ ริงในสภาพแวดล้อม กล่มุ ตวั อยา่ ง หรือประชากรท่ีกาหนดไวห้ รอื ไม่ และมปี ระสิทธิภาพในการได้ข้อมูลท่ีต้องการ ตามวตั ถุประสงคก์ ารวิจยั มากนอ้ ยเพยี งใด 2.2.3 แผนการดาเนินการวิจยั มีการกาหนดชว่ งเวลา ระยะเวลาทีม่ ีความเปน็ ไปได้ใน การนาไปดาเนนิ การในสถานการณ์จรงิ ได้มากน้อยเพยี งใด โดยมแี บบการประเมินคุณภาพของโครงการงานวจิ ัย ดงั แสดงตวั อยา่ งในตารางที่ 7.2

 ระเบยี บวิธกี ารวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หนา้ ท่ี 201 ตารางที่ 7.2 ตัวอย่างแบบประเมนิ คุณภาพโครงการวิจัย โครงการวจิ ัย เรือ่ ง................................................................................ คาช้แี จง โปรดเขยี นเคร่อื งหมาย ลงในช่องระดับคุณภาพ และระบเุ หตุผลประกอบ(ถ้ามี)ของ โครงการวจิ ัยในประเดน็ ต่าง ๆ แล้วเขยี นระดับคุณภาพในช่องผลรวม ดงั น้ี 4 = ดีมาก 3 = ดี 2 = พอใช้ 1 = ควรปรบั ปรงุ ตอนท่ี 1 ส่วนวธิ กี ารวิจยั รายการประเมิน ระดบั คุณภาพ รวม เหตุผลประกอบ(ถา้ มี) 4321 1. ช่อื โครงการ 1.1 มคี วามชดั เจน กะทัดรัด 1.2 ครอบคลุมประเด็นปญั หา 1.3 ใชค้ าถูกตอ้ งตามสาขาวชิ า 2. ความสาคญั และที่มาของปัญหา 2.1 ประเดน็ ปญั หาชดั เจน 2.2 วิเคราะหป์ ญั หาได้สอดคล้อง ตามหลักการหรอื ทฤษฏี 2.3 แสดงใหเ้ หน็ ความสาคัญหรอื ความจาเป็นของการวิจัยใน การแกป้ ัญหาได้เหมาะสมและ สมเหตสุ มผล 3. แนวคิดทางทฤษฏีทใ่ี ชใ้ นการศึกษา 3.1 มกี ารศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฏี และงานวิจัยท่เี กย่ี วขอ้ งไดก้ ะทัดรัด และครอบคลุมเรื่องที่ทาวิจัย 3.2 แนวคิดและทฤษฏีมีความถูกต้อง ชัดเจน ที่มา : สนิ พนั ธ์พุ ินิจ,2547 : 356-360

หน้าท่ี 202  บทที่ 7 โครงการวจิ ยั ตารางท่ี 7.2 ตวั อย่างแบบประเมินคุณภาพโครงการวจิ ัย(ต่อ) รายการประเมิน ระดบั คณุ ภาพ รวม เหตุผลประกอบ(ถ้ามี) 4321 3.3 เสนอกรอบแนวคดิ การวจิ ัยได้ชดั เจน และสมเหตสุ มผล 4. วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย 4.1 มคี วามชดั เจนและสอดคล้องกบั ปญั หาท่ที าวิจัย 4.2 สามารถตอบคาถามได้อย่าง ครอบคลุมปัญหาท่ีทาการวิจยั 5. ระเบยี บวิธีการวิจัย (ขอบเขตและวธิ ดี าเนินงาน) 5.1 เลือกระเบยี บวธิ วี ิจัยได้เหมาะสมกบั การแก้ปัญหาหรอื ตอบคาถาม การวิจัย 5.2 กาหนดขอบเขตการวิจัยชดั เจน เหมาะสม และครอบคลุม วัตถปุ ระสงค์(พ้นื ท่ี ประชากร กลมุ่ ตัวอยา่ ง ตวั แปร และคานยิ าม) 5.3 ออกแบบและวางแผนการวิจัยได้ เหมาะสม สอดคล้องกบั ปัญหาและ วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั 5.4 ระบขุ ั้นตอนการศกึ ษาได้ชัดเจน สอดคล้องกับปัญหาการวิจยั 5.5 เคร่อื งมือและวธิ กี ารเกบ็ ข้อมูล ถกู ต้องเหมาะสมกับงานวิจัย 5.6 วเิ คราะหข์ ้อมลู โดยใชว้ ธิ กี ารหรอื สถติ ิท่ีถูกตอ้ งและเหมาะสมกบั ลกั ษณะงานวิจัย ท่มี า : สนิ พันธพ์ุ นิ จิ ,2547 : 356-360

 ระเบียบวิธีการวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หนา้ ที่ 203 ตารางท่ี 7.2 ตวั อย่างแบบประเมินคุณภาพโครงการวจิ ัย(ต่อ) รายการประเมิน ระดบั คณุ ภาพ รวม เหตผุ ลประกอบ(ถ้ามี) 4321 6. ผลทีค่ าดว่าจะได้รบั 6.1 สามารถนาไปใช้ประโยชนใ์ น ทางปฏบิ ตั ไิ ด้ 6.2 สอดคล้องกับสภาพปัญหาและ การพัฒนาตามสภาวการณใ์ น ปัจจบุ ัน 6.3 มปี ระโยชนห์ รอื มคี ุณคา่ ทางวชิ าการ. 7. บรรณานุกรม หรือเอกสารอา้ งองิ 7.1 เขยี นไดถ้ ูกต้องตามหลักสากล ทีย่ อมรบั ได้ 7.2 ครบถว้ นและตรงตามที่อ้างอิง ผลรวมสะสมตอนท่ี 1 8. แผนการดาเนนิ งานวจิ ยั /ระยะเวลา 8.1 ระยะเวลาสอดคลอ้ งเหมาะสมกับ โครงการวิจยั 8.2 มแี ผนการดาเนินงานชดั เจนเป็นไปตาม ขน้ั ตอนการวิจัย 9. งบประมาณ 9.1 มีความเหมาะสมกบั โครงการวิจัย 9.2 ระบุการใชจ้ ่ายได้ชดั เจน และ เหมาะสม 10. ความพร้อมในการวิจยั 10.1 ความรคู้ วามสามารถมี ความสอดคลอ้ งกบั งานทจ่ี ะวิจัย 10.2 วสั ดุอุปกรณ์และสถานท่ี เอ้อื อานวยในการทาวิจัย ผลรวมสะสมตอนที่ 2 ท่ีมา : สนิ พนั ธุ์พนิ จิ ,2547 : 356-360

หน้าท่ี 204  บทที่ 7 โครงการวิจัย สานกั งานคณะกรรมการการวิจยั แห่งชาติ ได้กาหนดเกณฑ์หรือประเด็นในการตรวจสอบ โครงการวจิ ัย ดังนี(้ เวชยันต์ เฮงสวุ นิช,2538 : 8-12) 1) ความสาคญั และประโยชนข์ องโครงการวจิ ยั 2) ความเหมาะสม และความเป็นไปได้ของโครงการวจิ ยั 3) ความซ้าซ้อน การประสานประโยชน์ ความเกีย่ วเนอื่ งและความสมั พันธก์ ับงานของ หนว่ ยงาน หรอื กับโครงการวจิ ยั อืน่ ๆ 4) ความสอดคล้องของโครงการวจิ ยั กบั นโยบายของรฐั บาลที่แถลงต่อรฐั สภา นโยบายและ แนวทางการวจิ ยั และพฒั นาของชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ มติคณะรัฐมนตรี นโยบาย และแผนของกระทรวง/ทบวง/กรมต่าง ๆ และหน้าท่ี/ความรับผดิ ชอบของหนว่ ยงาน วรญั ญา ภัทรสุข( 2545 : 65-66) ได้ระบปุ ระเด็นทีจ่ ะใช้พิจารณาตรวจสอบโครงการวจิ ัย มีดงั น้ี 1) หัวขอ้ มีความชัดเจนและกะทดั รัด 2) ปัญหาการวจิ ัยท่ชี ดั เจน 3) ขัอจากัดในการวจิ ัยที่ชดั เจน 4) สมมตุ ฐิ านการวจิ ัยทช่ี ดั เจน 5) สมมตุ ิฐานการวจิ ัยทมี่ ีข้อมลู /หลกั ฐานสนบั สนุน 6) กาหนดคานิยามศัพทเ์ ฉพาะของตวั แปรท่ชี ัดเจน 7) กาหนดประเดน็ ท่ศี ึกษาอยา่ งชดั เจน 8) กาหนดคาถามการวิจยั ชดั เจน 9) สมมตุ ฐิ าน/คาถามการวจิ ัยสามารถทดสอบและหาคาตอบได้ 10) ความสอดคล้องของงานวจิ ัยกับงานวิจัยท่เี ก่ยี วข้อง 11) ผลสรปุ ของการศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ ก่ียวข้องชดั เจน 12) วธิ กี ารดาเนินการทชี่ ัดเจน ถูกต้อง และเหมาะสม 13) กาหนดประชากรและกลุม่ ตวั อยา่ งท่ชี ดั เจน 14) มีวิธกี ารสุม่ ตัวอยา่ งที่ถูกต้อง และเหมาะสม 15) มีวธิ กี ารเก็บรวบรวมขอ้ มูลทช่ี ัดเจน 16) มีวิธกี ารเกบ็ รวบรวมข้อมลู ทเ่ี หมาะสมกบั คาตอบที่ต้องการ 17) มวี ิธีการวิเคราะหท์ ่ีถูกต้องและเหมาะสม 18) มกี ารเขียนเคร่ืองหมายวรรคตอนท่ถี ูกต้อง 19) มีการตรวจสอบคาผดิ และหลักไวยากรณ์ 20) มกี ารใชต้ ารางและภาพประกอบอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ

 ระเบียบวธิ ีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หน้าที่ 205 3. เกณฑ์การพิจารณาให้คะแนนโครงการวิจัย เกณฑ์การพิจารณาให้คะแนนโครงการวจิ ัย มดี ังนี้(นงลักษณ์ วริ ัชชยั ,2543 :453) 3.1 ปญั หาการวิจัย พจิ ารณา ดงั น้ี ให้ 1 คะแนน ในกรณีปัญหาการวจิ ยั เป็นปัญหาในสายงานผู้วจิ ัย ให้ 2 คะแนน ในกรณีปัญหาการวิจยั เป็นข้อขดั แยง้ ในเชิงวิชาการ และสอดคลอ้ งสาขา ผู้วจิ ยั ให้ 3 คะแนน ในกรณีปัญหาการวจิ ัยเปน็ ปญั หาทีส่ าคัญในสงั คม และสอดคล้องสาขาผวู้ จิ ยั ให้ 4 คะแนน ในกรณีปัญหาการวิจยั เปน็ การนาทฤษฏไี ปใช้พัฒนาหรือสรา้ งผลงานใหม่ และสอดคลอ้ งสาขาของผ้วู ิจยั ให้ 5 คะแนน ในกรณีปัญหาการวจิ ยั เป็นการสรา้ งทฤษฏีใหมแ่ ละพัฒนาผลงานใหมใ่ ห้ สังคม และสอดคล้องสาขาผ้วู ิจยั 3.2 กรอบความคิดการวิจยั พจิ ารณา ดงั นี้ ให้ 1 คะแนน ในกรณีกรอบความคดิ ในการวจิ ยั ไม่ซับซ้อนมงี านวจิ ยั รองรับ ให้ 2 คะแนน ในกรณีกรอบความคดิ ในการวิจยั งา่ ย ๆ ชดั เจนมีงานวิจยั และทฤษฏีรองรบั ให้ 3 คะแนน ในกรณีมีกรอบความคิดเชงิ ทฤษฏีและกรอบความคดิ การวิจัยที่ไม่ซบั ซ้อน ให้ 4 คะแนน ในกรณมี ีกรอบความคิดเชงิ ทฤษฏีและกรอบความคิดการวจิ ยั ท่ซี บั ซ้อน ให้ 5 คะแนน ในกรณกี รอบความคิดเชิงทฤษฏีและกรอบความคิดการวจิ ัยหลายกรอบ เพ่อื ตรวจสอบทฤษฏี และมีหลกั ฐานอา้ งอิงที่ทนั สมัย สมคดิ พรมจ้ยุ (2545) ไดน้ าเสนอเกณฑใ์ นการพจิ ารณาให้คะแนนประเดน็ ในโครงการวิจยั ดงั แสดงในตารางท่ี 7.3 ตารางที่ 7.3 เกณฑ์ในการพิจารณาให้คะแนนประเด็นในโครงการวิจยั ระดับ ความหมาย คาอธิบาย คุณภาพ ดมี าก เป็นแบบอย่างทีด่ ี ไม่มที ตี่ ิ 5 ดี เป็นแบบอย่างทดี่ ี มีขอ้ บกพร่องเล็กน้อย 4 ปานกลาง เป็นแบบอยา่ งท่ีไม่ดจี นเกินไป พอยอมรับได้ 3 ตา่ เปน็ แบบอยา่ งที่มีขอ้ บกพร่องมากแต่อย่ใู นวสิ ยั ที่จะแก้ไขได้ 2 ต่ามาก เปน็ แบบอยา่ งที่มีข้อบกพร่องมากและไม่อย่ใู นวสิ ยั ทีจ่ ะแก้ไขให้ 1 ดีได้

หน้าท่ี 206  บทท่ี 7 โครงการวจิ ยั 4. วธิ กี ารประเมนิ โครงการวจิ ัย วธิ กี ารประเมนิ โครงการวิจยั มดี ังน้(ี สิน พันธ์พนิ จิ ,2547 :361-366) 4.1 การประเมินตนเอง เป็นการประเมนิ โครงการวิจัยเบ้ืองต้นดว้ ยตนเอง ทมี งานวจิ ัย โดยการตรวจสอบเหตุผลของประเด็น/หวั ข้อ ความเหมาะสมในการปฏบิ ตั ิ การใชภ้ าษา/คาสาคญั เอกสารและงานวิจัยทเี่ ก่ียวข้อง 4.2 การประเมินโดยผู้เชย่ี วชาญ เปน็ การประเมินเพ่ือพจิ ารณาตดั สนิ ของคณะกรรมการที่เปน็ บุคคลทม่ี ีความเชยี่ วชาญ มปี ระสบการณ์ท่จี ะประเมินโครงการวิจยั ทกุ ๆ ประเด็นด้วยความละเอยี ด รอบคอบ แลว้ ใหค้ าวิจารณ์และข้อเสนอแนะในการแก้ไขโครงการวจิ ัยใหม้ ีความสมบรู ณ์มากย่ิงขึน้ แต่ จะตอ้ งระมดั ระวงั ในกรณีการสือ่ ความหมายโดยการเขยี น อาจก่อให้เกิดกรณีความเข้าใจทีไ่ ม่สอดคลอ้ ง กัน ผเู้ ชยี่ วชาญอาจใหค้ าแนะนาทไี่ มส่ อดคล้องกับวัตถปุ ระสงค์โครงการวจิ ยั ทีน่ าเสนอ ดังน้นั อาจจัดให้มี การช้แี จงเหตุผลเพ่ิมเตมิ โดยการนาเสนอและชี้แจงจากผวู้ จิ ยั 4.3 การประเมินโดยการสัมมา เปน็ การประเมนิ โดยการจัดสมั มนาโดยใหผ้ ู้วิจยั ได้นาเสนอแลว้ ผ้เู ชี่ยวชาญและผู้สนใจร่วมกนั วิจารณอ์ ยา่ งอิสระและกว้างขวาง เพ่ือทีผ่ ้วู ิจยั จะไดน้ าไปใช้เปน็ ข้อมูลในการ ปรับปรงุ และพฒั นาโครงการวิจยั โดยมขี น้ั ตอนการดาเนินการดังน้ี 4.3.1 ข้ันเตรียมการ มขี น้ั ตอนการดาเนินการ ดังน้ี 4.3.1.1 ทบทวนโครงการวจิ ยั ให้เกิดความชัดเจน แม่นยาในทุกองคป์ ระกอบ 4.3.1.2 สรปุ ยอ่ ประเดน็ ในการนาเสนอหรือประเดน็ ท่ีคาดวา่ จะได้รบั การซกั ถาม 4.3.1.3 เตรยี มส่อื ในการนาเสนอ อาทิ การนาเสนอโดยใช้โปรแกรมนาเสนอ ผลงาน 4.3.1.4 ซ้อมการนาเสนอเพ่ือใหผ้ ้วู ิจัยเกิดความมนั่ ใจ ตรวจสอบความเหมาะสม ของเวลา สื่อดว้ ยตนเอง หรือในสถานการณจ์ าลองที่มีเพ่ือน ๆ หรือคณะผวู้ ิจัยเป็นผ้รู ่วมสมั มนา 4.3.1.5 ประเมินผลเบ้อื งตน้ ดว้ ยตนเองหรอื ทีมงานผู้วจิ ัย 4.3.2 ข้ันนาเสนอมขี ้ันตอนการดาเนนิ การดังนี้ 4.3.2.1 แนะนาโครงการวจิ ยั /ทีมงานผ้วู จิ ัย 4.3.2.2 นาเสนอโครงการวิจัยในประเดน็ ทส่ี าคัญอย่างชัดเจนในเวลาทก่ี าหนด 4.3.2.3 ตอบคาถามดว้ ยความมั่นใจมสี มาธพิ ร้อมรับข้อเสนอแนะไปปรบั ปรงุ แก้ไขโครงการวิจัยให้สมเหตุสมผล 4.3.3 ขนั้ หลงั การนาเสนอ มีขัน้ ตอนการดาเนนิ การดังน้ี 4.3.3.1 แกไ้ ข ปรบั ปรงุ โครงการวิจัยตามข้อเสนอแนะ หากมขี ้อสงสัยให้ ประสานงานกบั ประธานท่ีพจิ ารณา แลว้ นาเสนอหรือพจิ ารณาดาเนินการตอ่ ผ้ทู เี่ กีย่ วข้อง/หนว่ ยงาน 4.3.3.2 ในกรณที โ่ี ครงการวิจัยไมไ่ ดร้ บั การพิจารณาแกไ้ ขปรับปรุง อาจจะตอ้ งนา โครงการวิจัยไปศึกษาเพิม่ เตมิ ให้เกดิ ความชดั เจนและสมบูรณม์ ากขึ้นเพื่อที่จะได้นาเสนอในโอกาส ต่อไป

 ระเบยี บวิธกี ารวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าท่ี 207 สาระสาคญั บทท่ี 7 โครงการวจิ ัย ในการเรียนรู้บทน้ีมสี าระสาคัญ ดงั น้ี 1. โครงการวิจยั เปน็ เอกสารการวจิ ยั ที่จัดทาขึน้ เพ่ือวางแผน กาหนดขอบเขตและลกั ษณะของ ปญั หาท่ชี ดั เจน กรอบแนวคดิ ทฤษฏี งานวจิ ยั ทีเ่ กย่ี วข้อง และระเบยี บวิธกี ารวิจยั ทีใ่ ช้ โดยการเขยี น บรรยายโครงสร้างการวดั และการตรวจสอบใหผ้ ทู้ ี่เกี่ยวขอ้ งหรือผู้ทสี่ นใจไดเ้ ขา้ ใจในประเดน็ ทีจ่ ะ ดาเนินการวิจัย และจะทาให้การวิจยั มจี ุดมงุ่ หมายทีช่ ดั เจนมากขึ้น 2. ในการกาหนดโครงการวจิ ยั มวี ัตถปุ ระสงค์ในการนาเสนอ ดังน้ี1) เพอื่ ใชเ้ ปน็ แนวทางใน การดาเนินการ 2) เพื่อใช้เปน็ เคร่ืองมอื ท่ีช่วยเหลอื ในการติดตามและประเมินผล 3) เพื่อเป็นขอ้ มูลสาหรับ หน่วยงาน ผู้เชย่ี วชาญ หรอื ทีป่ รึกษางานวิจัยไดพ้ จิ ารณาให้ข้อเสนอแนะ/ปรบั ปรงุ แก้ไข 4) เพ่ือใช้เปน็ หลกั ฐานท่แี สดงว่างานวจิ ยั นนั้ มคี วามใหม่ มีระเบยี บวธิ กี ารวิจยั ทีด่ ี มีขอบเขตที่ชดั เจน 5) เพื่อช่วยใหก้ ารใช้ทรัพยากรเปน็ ไปอยา่ งประหยัด คุ้มค่า และ 6) เพ่อื ช่วยในการบริหารเวลาที่มี ประสทิ ธภิ าพ 3.โครงการวิจัยที่ดีจะต้องมีลักษณะ ดังน้ี 1) ความถูกต้อง 2) ความมีเหตผุ ล 3) ความชัดเจน 4) ความสมบูรณ์ 5) กะทัดรดั 6) ความสม่าเสมอ และ 7) ความสมั พันธ์เุ ชอ่ื มโยง 4. ในการนาเสนอโครงการวิจัยจะมีรายละเอยี ดของเน้ือหาสาระในโครงการวิจยั ดังนี้ 1)ชื่อโครงการวิจยั 2) ความเป็นมาและความสาคญั ของการวจิ ยั 3) วัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย 4) สมมุติฐานการวิจยั 5) ขอบเขตของการวจิ ยั (ตวั แปรท่ีศึกษา ประชากร หรือกลุ่มตวั อย่าง ระยะเวลา) 6) นิยามศัพท์เฉพาะ 7) ประโยชนท์ ่ีจะได้รบั 8) เอกสารและงานวิจยั ที่เกย่ี วข้อง 9) ระเบยี บวิธีการวิจัย/ วิธีการดาเนินการวิจัย 10) ระยะเวลาการวิจัยและแผนการดาเนนิ การวิจัย 11) งบประมาณทใี่ ชใ้ น การวจิ ัย 12) ผู้วิจัยและคณะผวู้ ิจยั และ 13) หนังสอื อา้ งอิง หรอื บรรณานกุ รม 5. ในการเขยี นโครงการวิจยั มขี ั้นตอนในการเขยี น ดงั น้ี 1) การกาหนดโครงการ 2) การเตรยี ม เน้อื หาสาระ 3) การเขียนร่างโครงการวจิ ัย 4) การปรบั ปรงุ การใชภ้ าษา 5) การตรวจสอบความถูกต้อง ขั้นสุดท้าย 6. การประเมนิ โครงการวิจัย เปน็ กระบวนการพิจารณาตดั สินวา่ โครงการวิจยั มีความถูกต้อง สมบรู ณ์และมคี ณุ ภาพเพียงใด ทีม่ ีหลักเกณฑใ์ นการพจิ ารณาทเี่ หมาะสมว่าโครงการวิจัยนั้นจะสามารถ นาไปดาเนินการได้ตามวัตถุประสงค์ของการวจิ ัย มีหลักการทีใ่ ช้ในการประเมิน ดงั น้ี 1) การประเมิน ความสมเหตุสมผลเชิงตรรกะ 2) การประเมินวิธกี ารปฏิบัติ ทเี่ ปน็ การตรวจสอบความครบถว้ น ความสมบูรณ์ ความครอบคลุม และความเป็นไปไดข้ องการดาเนินโครงการ

หนา้ ที่ 208  บทท่ี 7 โครงการวจิ ยั 7. วิธีการประเมนิ โครงการวจิ ัย มดี ังน้ี 1) การประเมินตนเอง เปน็ การประเมินโครงการวิจัย เบื้องตน้ ดว้ ยตนเอง หรือทีมงานวิจยั 2) การประเมนิ โดยผเู้ ช่ียวชาญ เปน็ การประเมินเพื่อพจิ ารณาตดั สนิ ของคณะกรรมการทเี่ ป็นบุคคลทม่ี ีความเช่ียวชาญ มีประสบการณ์ 3) การประเมินโดยการสัมมา เป็นการ ประเมนิ โดยการจัดสัมมนาโดยให้ผู้วจิ ัยไดน้ าเสนอแลว้ ให้ผู้เชีย่ วชาญและผสู้ นใจร่วมกนั วิจารณอ์ ย่างอสิ ระ และกว้างขวาง จดุ สาคัญของขอ้ เสนอโครงการวิจัย คอื คาถามในการวจิ ัย โครงการวิจยั ต้องมคี าถามการวจิ ยั คาถามน้ันต้องชัดเจนและ มกี ารอ้างองิ ท่ีชัดเจน คาถามนัน้ จะต้องเปน็ คาถามใหม่ ซึ่งจะนาไปสู่ การตพี มิ พ์ในวารสารนานาชาตไิ ด้ จดุ ออ่ นทีพ่ บ คือ คาถามไม่ชัดเจน หรอื ไม่มีคาถาม/ไม่มีหลักฐานยืนยนั ว่าคาถามน้นั “ใหม่” เพียงพอที่ เมือ่ ทางานวจิ ัยแลว้ สามารถนาผลการวจิ ัยไปตพี ิมพ์ ในวารสารวิชาการนานาชาติได้ วจิ ารณ์ พานิช อ้างองิ ใน ชัยณรงค์ วงศ์ธรี ะทรพั ย์,2544 : 368

 ระเบียบวิธีการวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หนา้ ท่ี 209 คาถามเชิงปฏิบตั ิการบทที่ 7 โครงการวจิ ยั คาชี้แจง ใหต้ อบคาถามจากประเดน็ คาถามท่ีกาหนดให้อยา่ งถกู ต้อง ชดั เจน 1. เพราะเหตใุ ด ในการดาเนินการวิจัยจึงตอ้ งมีการเขยี นโครงการวจิ ยั 2. ทา่ นมหี ลักการในการเขียนโครงการวจิ ยั ท่มี ีคุณภาพอย่างไร 3. ให้ทา่ นระบุองคป์ ระกอบที่สาคญั ของโครงการวจิ ัยวา่ มีอะไรบา้ งอยา่ งไร 4. ให้ท่านศึกษางานวิจัย 1 เร่ืองแล้วนาประเดน็ สาคญั มาเขียนเป็นโครงการวจิ ัย 5. ใหท้ ่านไดก้ าหนดประเดน็ ปัญหาการวิจยั ทสี่ นใจ 1 เรอ่ื งแลว้ ให้เขยี นโครงการวิจยั เพ่อื นาเสนอ

บทที่ 8 เครื่องมอื วธิ กี ารท่ใี ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ในการวิจัยใด ๆ ที่ผวู้ ิจยั จะสามารถนาข้อมลู ท่ีเกบ็ รวบรวมไดม้ าใชต้ อบปัญหาการวจิ ยั ท่ีกาหนดไวไ้ ดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ และมีความสอดคล้องตามวตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั ได้ อย่างชดั เจนนัน้ ผ้วู จิ ยั จาเปน็ จะตอ้ งเข้าใจในข้ันตอนการเก็บรวบรวมขอ้ มูล เครื่องมือ หรอื วิธกี าร ท่ีใชใ้ นการเก็บรวบรวมที่มคี ุณภาพ โดยเรม่ิ ตน้ จากการทาความเขา้ ใจในธรรมชาตขิ องเคร่ืองมือหรอื วธิ ีการท่ีใช้ มีการศึกษาตัวแปรที่ต้องการศึกษาเพอ่ื นามาสร้างและพฒั นาเครื่องมือ/วิธีการให้มี ความสอดคล้องกับลักษณะหรอื ประเภทของข้อมูลทีต่ ้องการใช้ตอ่ ไป การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. ความหมายของการเก็บรวบรวมขอ้ มลู การเกบ็ รวบรวมข้อมลู เปน็ กระบวนการทม่ี ีระบบ ข้ันตอนในการดาเนนิ การของการวจิ ยั เพ่ือใหไ้ ด้ขอ้ มลู ท้งั เชงิ ปริมาณและเชิงคุณภาพจากแหล่งข้อมลู ท่กี าหนดไว้ ทจี่ ะนามาวเิ คราะห์ ในการตอบปญั หาการวิจยั ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ(Kerlinger,1986 :392) 2. ลักษณะสาคัญของการการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ลักษณะสาคญั ของการเก็บรวบรวมขอ้ มูลท่ีดีตอ่ การวจิ ัย มีดงั นี้ 2.1 จะต้องสนองตอบต่อวัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั อยา่ งครบถ้วน โดยหลังจากผ้วู จิ ยั วางแผนการเกบ็ รวบรวมข้อมูลเสร็จแลว้ ควรพิจารณาวา่ ขอ้ มลู ท่ีไดม้ คี วามครอบคลุมวตั ถปุ ระสงค์ ของการวิจยั หรือไม่ 2.2 จะต้องสนองตอบต่อการวจิ ัยตามกรอบแนวคิดการวิจยั และใช้ในการทดสอบ สมมุติฐานได้อยา่ งครบถว้ น 2.3 จะต้องมีการดาเนนิ การดว้ ยความระมัดระวัง รอบคอบในการเลือกใชเ้ คร่ืองมือใน การวจิ ยั เพ่ือให้ได้ข้อมูลตามสภาพความเปน็ จรงิ 3. การเตรียมการสาหรบั การเก็บรวบรวมขอ้ มูล ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ควรไดม้ กี ารเตรียมการสาหรบั การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ดงั น้ี (บุญธรรม จติ อนนั ต์,2540 : 91-92) 3.1 วธิ กี ารทใ่ี ช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลจะต้องดาเนนิ การตามแผนท่ีกาหนดไว้ โดยอาจใชเ้ ครือ่ งมือประเภทใดประเภทหนึง่ หรอื สองประเภท เพื่อให้ไดข้ ้อมลู ที่ถกู ต้อง ชดั เจน และ สมบรู ณม์ ากที่สดุ 3.2 ผู้เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ในการวจิ ัยใด ๆ เพื่อให้ไดข้ ้อมูลที่ดีผวู้ จิ ัยจะตอ้ งเก็บรวมรวม ขอ้ มูลดว้ ยตนเอง เนื่องจากเป็นผ้ทู ีว่ างแผน และรู้เรอื่ ง/ข้อมูลทจี่ ะเก็บรวบรวมได้ดที ่สี ดุ แต่ถ้าใน การวจิ ยั มผี ูช้ ่วยเกบ็ รวบรวมข้อมูล จะต้องให้คาแนะนา หรอื คาช้แี จงให้แก่ผ้เู กบ็ รวบรวมขอ้ มลู ได้ เขา้ ใจวิธกี ารและขอ้ มูลทต่ี ้องการเกบ็ รวบรวม เพื่อให้การเกบ็ รวบรวมข้อมลู มีความถกู ต้อง ครบถ้วน และปราศจากความลาเอยี ง

หนา้ ที่ 212  บทท่ี 8 เครือ่ งมือ วธิ ีการท่ใี ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู 3.3 ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู จะตอ้ งทราบว่าเป็นใคร จานวน เทา่ ไร อยู่ท่ไี หน ที่จะปรากฏในแผนการดาเนินการวจิ ัยที่จะต้องกาหนดใหช้ ัดเจนว่าจะเก็บรวบรวม ข้อมูลด้วยตนเอง หรอื จดั ส่งทางไปรษณีย์ หรอื ใช้ผชู้ ว่ ยผู้วิจยั 3.4 ลกั ษณะเฉพาะของผใู้ หข้ ้อมูล เปน็ ลักษณะของผใู้ ห้ข้อมลู ทีผ่ ู้วจิ ยั จะต้องรับทราบวา่ เป็นอยา่ งไร โดยเฉพาะเวลาท่ีจะใหแ้ กผ่ ้วู ิจัยในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล 3.5 กาหนดระยะเวลาในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู จะต้องทราบว่าจะเก็บขอ้ มูลในช่วงใดที่ สอดคลอ้ งกบั ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่างท่ีควรจะต้องมีการวางแผนดาเนนิ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลวา่ จะใช้เวลาในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู เท่าไร ใช้งบประมาณและแรงงานในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู มากน้อยเพยี งใด 3.6 จานวนข้อมลู ท่ีไดร้ ับคืนจากการเก็บรวบรวมขอ้ มูล โดยเฉพาะจากการจดั สง่ แบบสอบถามทางไปรษณีย์จะตอ้ งได้รับกลับคืนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของแบบสอบถาม ที่จดั ส่งท้งั หมด และถา้ รวมกับจานวนข้อมูลทเี่ ก็บรวบรวมดว้ ยตนเองจะมีการสญู หายของข้อมลู ไดไ้ มเ่ กนิ ร้อยละ 5 จึงจะเป็นข้อมูลท่ีเพียงพอและนา่ เช่ือถือที่จะนามาวิเคราะหส์ รปุ ผลการวิจยั 3.7 การตรวจสอบความเรยี บรอ้ ยของข้อมูลที่ไดจ้ ากการเกบ็ รวบรวมข้อมูล เม่อื ไดร้ บั ขอ้ มูลกลบั คนื แลว้ จะต้องตรวจสอบความสมบูรณ์ของข้อมูลว่ามีความครบถ้วนตามท่ีต้องการหรอื ไม่ ถา้ ตรวจสอบแล้วพบว่ามีการไมต่ อบในบางประเด็นอาจจะต้องมีการติดตามเปน็ การเฉพาะ รายบุคคลอย่างเร่งด่วน แต่ถา้ ไมส่ ามารถดาเนนิ การได้หรือพจิ ารณาแล้วว่ามคี วามไมส่ มบูรณ์ของ ข้อมูลให้นาข้อมลู ชดุ นัน้ ออกจากการวิเคราะหข์ ้อมลู 4. ขั้นตอนในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู จาแนกเปน็ ข้ันตอนดงั น้ี 4.1 กาหนดข้อมูลและตวั ชี้วดั เป็นการกาหนดว่าข้อมูลที่ต้องการมีอะไรบ้าง โดยการศึกษาและวิเคราะห์จากวตั ถุประสงคห์ รอื ปัญหาของการวจิ ยั ว่ามตี วั แปรอะไรบา้ งที่เป็น ตวั แปรอสิ ระ ตวั แปรตาม และตัวแปรที่เกยี่ วขอ้ ง และจะใช้อะไรเป็นตัวช้ีวัดจงึ จะได้ข้อมูล ที่สอดคล้องกับสภาพความเป็นจรงิ 4.2 กาหนดแหลง่ ข้อมูล เปน็ การกาหนดว่าแหล่งขอ้ มูลหรอื ผู้ให้ข้อมลู เปน็ ใคร อยู่ทไี่ หน มีขอบเขตเทา่ ไร ที่จะตอ้ งกาหนดใหช้ ัดเจน และเป็นแหลง่ ขอ้ มูลปฐมภมู หิ รือทุติยภมู ิ แลว้ จะตอ้ งพจิ ารณาวา่ แหลง่ ข้อมูลนนั้ ๆ สามารถท่จี ะให้ขอ้ มูลได้อย่างครบถว้ นหรือไม่ 4.3 กาหนดกลมุ่ ตวั อยา่ ง เป็นการเลือกใชว้ ธิ กี ารสมุ่ ตวั อย่างอย่างเหมาะสม และ ขนาดของกลุ่มตวั อยา่ งท่ีเหมาะสม 4.4 เลอื กวธิ กี ารเกบ็ รวบรวมข้อมลู จะตอ้ งเลอื กใช้วธิ กี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ทเ่ี หมาะสม (แหล่งข้อมลู /ขนาดกลมุ่ ตวั อยา่ ง/การวิเคราะห์ขอ้ มลู ) ประหยดั ได้ข้อมลู อย่างครบถว้ น มีมากเพียงพอและเป็นขอ้ มูลทเ่ี ชอ่ื ถือได้ 4.5 นาเครอื่ งมอื เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลไปทดลองใช้ เป็นการทดลองใช้เครอ่ื งมอื ทส่ี รา้ งข้ึน หรือนาของคนอ่ืนมาใชก้ บั กลุ่มตวั อย่างขนาดเล็ก เพ่อื นาข้อมลู มาวเิ คราะห์ตรวจสอบคุณภาพ ทจ่ี ะต้องปรับปรุงและแก้ไขให้อย่ใู นสภาพที่สามารถเก็บรวบรวมข้อมลู ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ

 ระเบียบวิธกี ารวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หนา้ ท่ี 213 4.6 ออกภาคสนาม เป็นการดาเนนิ การเก็บรวบรวมข้อมลู ตามแผนการและกาหนดการ ทจี่ ดั เตรยี มไวแ้ ละปรบั เปลี่ยนวธิ ีการตามสถานการณท์ เ่ี ปล่ียนแปลง เพอื่ ให้ได้รบั ขอ้ มูลกลบั คนื มา มากทีส่ ดุ 5. ปัจจัยทีเ่ กยี่ วข้องกับการพิจารณาเลอื กเครอ่ื งมือและวธิ ีการในการเก็บรวบรวมข้อมูล ในการพจิ ารณาเลอื กเคร่ืองมือและวธิ ีการในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลมปี จั จยั ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง ดังนี้ (ปารชิ าติ สถาปติ านนท์,2546 : 163-165) 5.1 ลกั ษณะของปญั หาการวิจยั ท่จี ะต้องชดั เจน ท่จี ะชว่ ยให้ทราบประเด็นสาคัญ กลุ่มเป้าหมายท่ีจะเป็นกฎเกณฑ์เบื้องต้นในการเลือกใชเ้ ครือ่ งมือและวธิ ีการในการเก็บรวบรวมข้อมลู เพ่อื ตอบปัญหาการวิจยั 5.2 กรอบแนวคิดทฤษฏที ่ีเก่ยี วข้อง จะช่วยให้เห็นแนวทางของการวจิ ัยในประเดน็ ใด ๆ ใน อดีตว่าใชร้ ะเบียบการวจิ ยั อย่างไรในการดาเนนิ การวดั ตวั แปรนน้ั ๆ 5.3 ระเบียบวธิ ีวจิ ัยทแ่ี ตล่ ะรปู แบบจะมีหลักการ ประเดน็ คาถามและแนวทางในการเก็บ รวบรวมข้อมูลอยู่แลว้ 5.4 หน่วยการวิเคราะห์ ไดแ้ ก่ บุคคล กล่มุ บุคคล วตั ถุ ทใี่ ชเ้ ปน็ “เปา้ หมาย” ใน การดาเนินการเกบ็ รวบรวมข้อมูลตามตัวแปรทก่ี าหนดตามเคร่อื งมอื และวธิ ีการท่ีสอดคล้องกับ หน่วยการวิเคราะห์ 5.5 ขนาดของกลุ่มตัวอยา่ ง เพ่อื พิจารณาการใชเ้ วลาและงบประมาณในการวจิ ยั 5.6 คุณสมบตั ิเฉพาะของกลุม่ ตวั อย่าง อาทิ กลุ่มตัวอย่างท่เี ป็นเด็กเลก็ จะต้องใชว้ ิธกี าร สัมภาษณ์ หรอื การสงั เกตแทนการใช้แบบสอบถาม เปน็ ต้น เคร่ืองมือ วิธกี ารท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล 1. ความหมายของเครื่องมือ วธิ ีการทใ่ี ช้เกบ็ รวบรวมข้อมูล เครอ่ื งมอื วธิ ีการทใี่ ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล หมายถึง สิ่งพมิ พ์ วัสดุอปุ กรณ์/วิธกี าร ท่ผี วู้ ิจัยไดน้ ามาใช้สาหรบั การเก็บรวบรวมข้อมลู จากกลุ่มตวั อย่าง หรอื ประชากรท่ีศึกษา เพ่อื นาข้อมลู มาวิเคราะห์ใช้ตอบปญั หาการวิจยั ได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน ซึ่งเครือ่ งมอื วิธีการท่ีใช้ในการวิจัยมี หลากหลาย ซงึ่ ผูว้ ิจัยจะต้องมีความเขา้ ใจและเลือกใชใ้ ห้เหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์ กลุม่ ตัวอย่าง และ การวิเคราะห์ขอ้ มูล 2. ความสาคัญของเครื่องมอื วธิ ีการท่ีใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ในการวจิ ยั ใด ๆ ผู้วิจัยจะตอ้ งเลือกใชเ้ คร่ืองมอื วิธีการท่ีใชเ้ ก็บรวบรวมขอ้ มูลทเี่ หมาะสม เพ่ือให้ได้ขอ้ มลู ทไี่ ด้มาตอบปัญหาการวจิ ัยได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และน่าเชอ่ื ถือ โดยท่ีเครื่องมือ ที่ใช้จะต้องมคี ุณภาพที่ดี มกี ระบวนการสร้างและการพฒั นาที่ถกู ต้องตามหลักเกณฑข์ องเครอ่ื งมือ แตล่ ะประเภทด้วย และวิธกี ารจะตอ้ งเลือกให้เหมาะสมกบั ลกั ษณะของข้อมูล และกลุ่มตัวอยา่ งท่ี ศกึ ษา

หนา้ ที่ 214  บทที่ 8 เครือ่ งมือ วิธกี ารทีใ่ ชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูล 3. ประเภทเครือ่ งมือ วธิ กี ารท่ีใช้เก็บรวบรวมข้อมูล 3.1 แบบทดสอบหรือการทดสอบ 3.1.1 ความหมายของการทดสอบ/แบบทดสอบ แบบทดสอบ(Test) เปน็ ข้อคาถาม หรือสถานการณ์ท่กี าหนดข้ึน เพื่อใชก้ ระตนุ้ หรือ เรง่ เรา้ ความสนใจใหผ้ ู้เรยี นได้แสดงพฤตกิ รรมต่าง ๆ ของตนเอง ตามที่กาหนดไวใ้ นจุดประสงค์ การเรยี นรู้ การทดสอบ(Testing) เป็นวิธีการวดั ชนิดหนง่ึ ที่มีการใชอ้ ยา่ งกวา้ งขวางโดยใช้ แบบทดสอบเป็นเคร่ืองมือวัด โดยท่กี ารทดสอบเป็นวธิ กี ารที่มีระบบสาหรับ “วดั พฤติกรรมของผเู้ รยี น และใหผ้ ลการวดั แสดงออกมาเป็นคะแนน”(บุญเชิด ภญิ โญพงษ์อนันต,์ 2545 :8) การทดสอบ เปน็ การนาเสนอสงิ่ เรา้ ชุดใดชดุ หนึ่งให้ผทู้ ่เี กี่ยวขอ้ งตอบสนองตามวธิ ีการ มาตรฐานท่ีกาหนดไว้ เพื่อนาผลการตอบสนองมากาหนดเป็นคะแนน ซ่ึงโดยท่ัวไปจะเป็นตัวเลขท่ี แสดงปริมาณบอกลักษณะของพฤติกรรม(เยาวดี วบิ ูลย์ศรี,2540 : 5) 3.1.2 ประเภทของแบบทดสอบ 3.1.2.1 จาแนกตามวธิ ีสรา้ ง สามารถจาแนกได้ 2 ประเภท ได้แก่ 1) แบบทดสอบท่สี รา้ งข้ึนเอง เปน็ แบบทดสอบที่ผู้วจิ ัยได้สรา้ งขึน้ ตาม จุดประสงค์ของการทดสอบครัง้ นนั้ ๆ โดยเร่ิมตน้ ต้ังแตก่ ารกาหนดจดุ ประสงคข์ องการทดสอบให้ ชัดเจน ดาเนนิ การสร้าง นาไปใหผ้ ้เู ช่ยี วชาญไดต้ รวจสอบ แกไ้ ข แลว้ นาไปทดลองใชเ้ พอื่ นาผล การทดสอบมาวเิ คราะห์คุณภาพของแบบทดสอบทีส่ ร้างขึ้นเพ่ือใช้ปรบั ปรุง แก้ไข จนกระทงั่ แน่ใจวา่ เปน็ แบบทดสอบทม่ี ีคุณภาพในเกณฑ์ท่ียอมรบั ได้จึงจะสามารถนาแบบทดสอบฉบับนน้ั ไปใชไ้ ด้ 2) แบบทดสอบมาตรฐาน(Standardize Test) เป็นแบบทดสอบทีม่ ี บคุ คลกลุ่มบุคคลท่ีมีความเช่ียวชาญในศาสตรน์ นั้ ๆ ไดส้ ร้างไว้แลว้ ซ่งึ แบบทดสอบฉบบั นั้น ๆ ไดผ้ ่าน กระบวนการการนาไปทดลองใช้หลายครัง้ และปรับปรุงแก้ไขคุณภาพจนกระทง่ั เปน็ ทย่ี อมรบั จาก นักวชิ าการศาสตรน์ ั้น ๆ โดยมรี ปู แบบท่เี ป็นมาตรฐานท้ังวิธกี ารทา การตรวจให้คะแนน(ความเปน็ ปรนยั ) และคา่ ปกตวิ ิสัย(Norm)หรือคา่ เฉล่ยี ของคะแนนของกลุ่มประชากรท่ีทาแบบทดสอบพร้อมกับ ระบคุ ่าของคณุ ลักษณะทจี่ าเป็นของแบบทดสอบได้แก่ ความเท่ียงตรง(Validity) และความเชือ่ มัน่ (Reliability) 3.1.2.2 จาแนกตามลักษณะในการนาไปใช้ สามารถจาแนกได้ ประเภท ได้แก่ 1) แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น(Achievement Test) เป็น แบบทดสอบท่ีใชว้ ัดความสามารถดา้ นสติปญั ญาในเน้ือหาวิชาวา่ ผู้เรียนมกี ารเรียนร้ทู บ่ี รรลจุ ดุ ประสงค์ ท่ีกาหนดไว้มากหรือนอ้ ยเพียงใด 2) แบบวัดความพรอ้ ม(Rediness Test) เป็นแบบทดสอบทใ่ี ชว้ ดั ความพร้อมของผู้เรียนว่ามีความพร้อมทจ่ี ะสามารถเรยี นรไู้ ดต้ ามจุดประสงคท์ ่ีกาหนดไว้หรอื ไม่ หรือมี ความพร้อมใดท่คี วรจะไดร้ บั การฝกึ ฝนเพม่ิ เติมก่อนเขา้ เรยี นรู้

 ระเบยี บวธิ กี ารวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าท่ี 215 3) แบบทดสอบวินิจฉยั (Diagnostic Test) เป็นแบบทดสอบที่ใชว้ ดั หรอื ตรวจสอบจดุ บกพร่องหรือจุดเด่นของผู้เรียนในแต่ละเนื้อหาวิชา เพื่อท่ีจะไดน้ าผลการทดสอบนน้ั มา ใชเ้ พอื่ แกไ้ ขจุดบกพร่องหรือเสริมจุดเด่นให้แก่ผูเ้ รยี นไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพมากขึ้น 4) แบบทดสอบเชาวน์ปญั ญา(Intellegence Test) เป็นแบบทดสอบ ที่ใชว้ ัดความสามารถด้านกระบวนการคิด หรอื ความสามารถในการแกป้ ญั หาในสถานการณใ์ หม่ ๆ โดยใชป้ ระสบการณเ์ ดิม อาทิ แบบทดสอบเชาวน์ปญั ญาของสแตนฟอรด์ -บิเนต์ หรอื แบบทดสอบ เชาวน์ปญั ญาของเวคส์เลอร์ เปน็ ต้น 5) แบบทดสอบวัดความถนัด (Aptitude Test) เป็นแบบทดสอบ วดั พฤตกิ รรมหรอื ความสามารถเฉพาะด้านของผเู้ รยี นท่จี ะเกิดข้ึนในอนาคต อาทิ แบบทดสอบ วัดความถนัดทางวิศวกรรม หรอื แบบทดสอบวัดความถนัดทางภาษา เปน็ ต้น 6) แบบสารวจบุคลกิ ภาพ(Personality Inventories) เป็นแบบทดสอบ ทใ่ี ชว้ ดั คุณลกั ษณะ ความต้องการ การปรับตัว หรอื ค่านิยมตา่ ง ๆ ของบุคคล 7) แบบสารวจความสนใจด้านอาชีพ(Vocational Interest Inventories) เป็นแบบทดสอบท่ีใช้สารวจความสนใจของบุคคลเกีย่ วกบั อาชีพ หรืองานอดเิ รกที่ ตนเองต้องการประกอบอาชีพหรอื ปฏิบัติ 3.1.3 หลักการในการสร้างแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน ในการสรา้ งแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนให้เปน็ แบบทดสอบทม่ี ีคุณภาพ ตามทต่ี ้องการ มหี ลักการทจ่ี ะนามาใชใ้ นการดาเนนิ การสรา้ ง ดังนี(้ Gronlund, 1993 : 8-11) 3.1.3.1 กาหนดจดุ ประสงค์การเรยี นรูท้ ่ีระบุพฤติกรรมทีช่ ดั เจน สามารถวัด และสังเกตได้ 3.1.3.2 สร้างแบบทดสอบให้มคี วามครอบคลมุ พฤตกิ รรมการเรียนรทู้ าง ดา้ นสติปัญญาทุกระดบั 3.1.3.3 สร้างแบบทดสอบทว่ี ดั พฤตกิ รรมหรือผลการเรยี นรูท้ เี่ ป็นตัวแทนของ กจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยกาหนดตวั ช้วี ัด และขอบเขต แลว้ เขียนข้อสอบตามตัวชีว้ ัดจากขอบเขต ท่ีกาหนดข้นึ 3.1.3.4 สรา้ งแบบทดสอบที่หลากหลายประเภท เพื่อใหเ้ หมาะสมและ สอดคล้องกบั พฤติกรรมการเรยี นรู้ 3.1.3.5 สร้างแบบทดสอบท่ีคานงึ ถงึ การใช้ประโยชน์จากผลการทดสอบไปใช้ อาทิ สร้างแบบทดสอบระหวา่ งเรียน(Formative Test) เพ่ือนาผลไปใช้ในการปรับปรุงการเรียน การสอน หรือสร้างแบบทดสอบหลังการเรยี น(Summative Test) เพ่อื นาผลไปใชใ้ นการตัดสนิ ผลการเรยี น 3.1.3.6 กาหนดเกณฑก์ ารให้คะแนนคาตอบท่ีมีความชดั เจน และมคี วามเชอ่ื ม่นั

หน้าที่ 216  บทท่ี 8 เครื่องมือ วิธีการทใี่ ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู 3.1.4 ขนั้ ตอนการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น ในการสรา้ งแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนท่ีมคี ุณภาพ มีขนั้ ตอนใน การดาเนนิ การดังน้ี(ศิรชิ ัย กาญจนวาส,ี 2544 :133) 3.1.4.1 กาหนดจดุ มงุ่ หมายของการทดสอบ(Specification of Purpose) ในการกาหนดจุดมุง่ หมายของการทดสอบจะไดม้ าจากสร้างตารางการวิเคราะหห์ ลักสตู ร ที่จาแนกให้ เหน็ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งองค์ประกอบย่อยทเี่ ก่ยี วข้องกัน ไดแ้ ก่ จุดมุ่งหมาย เนื้อหา กิจกรรม/ ประสบการณ์ และพฤติกรรมท่เี ป็นจุดหมายปลายทางของหลกั สตู รท่จี ะทาให้เหน็ ว่า สอนหรอื ทดสอบทาไม(จดุ มงุ่ หมายของการเรียนรูแ้ ละการทดสอบ) และสอนหรอื ทดสอบอะไร(เนื้อหาและ นา้ หนกั ความสาคัญ) และควรดาเนินการสอนหรือทดสอบอยา่ งไร(วธิ ีการสอน สื่อและเวลาท่ีใช้/ วิธกี ารสอบ รปู แบบของแบบทดสอบและเวลาทใี่ ช้) 3.1.4.2 ออกแบบการสรา้ งแบบทดสอบ(Test Design) เป็นการกาหนด รปู แบบ ขอบเขตเน้ือหาและแนวทางการสร้างและพัฒนาเพ่ือใหไ้ ด้ข้อสอบและแบบทดสอบท่มี ี คณุ ภาพ ที่มขี น้ั ตอนในการดาเนนิ การ ดงั นี้ 1) วางแผนการทดสอบ เปน็ การกาหนดของครูผูส้ อนวา่ ใน แตล่ ะภาคเรยี นจะมีการทดสอบอะไรบ้าง อย่างไร แตใ่ นหลกั สตู รการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พ.ศ.2544 กาหนดให้มีการทดสอบ 3 ลกั ษณะ ดังน้ี (1)การทดสอบก่อนเรยี น(Pretest) เปน็ การทดสอบ เพอ่ื ตรวจสอบความพรอ้ ม/ความรูพ้ ื้นฐานหรือจัดกล่มุ ผู้เรยี น (2) การทดสอบระหว่างเรยี นภาคเรยี น(Formative) เป็น การทดสอบเพื่อตรวจสอบความก้าวหน้า หรอื จุดบกพร่องทค่ี วรปรับปรงุ แก้ไข ทีจ่ าแนกเปน็ การทดสอบย่อย การทดสอบการปฏบิ ตั ิในระหว่างเรียน (3) การทดสอบสรุปผล(Summative) เป็นการทดสอบ เพ่อื สรุปผลหลงั จากเสร็จสิ้นการเรยี นการสอนในรายวิชาน้ัน ๆ 2) กาหนดรูปแบบของการทดสอบ เป็นการพิจารณาของการใช้ รูปแบบการทดสอบทเี่ หมาะสมกับสมรรถภาพและเน้ือหาในการทดสอบแตล่ ะครัง้ ท่ีจาแนกได้ดงั นี้ (1) แบบทดสอบอิงเกณฑ์ และแบบทดสอบอิงกล่มุ (2) แบบทดสอบแบบเขียนตอบ หรอื แบบทดสอบเน้น การปฏบิ ตั ิ (3) แบบทดสอบแบบอตั นัย และแบบทดสอบแบบปรนยั (4) แบบทดสอบแบบใชค้ วามเรว็ และแบบทดสอบใช้ สมรรถภาพสูงสดุ (5) แบบทดสอบเปน็ กลุ่มและแบบทดสอบเปน็ รายบุคคล

 ระเบียบวธิ ีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าที่ 217 3) การสรา้ งแผนผงั การทดสอบ เปน็ การสรา้ งแผนผังที่แสดง ความสมั พนั ธแ์ ละความสอดคลอ้ งระหวา่ งจดุ ประสงค์และการสร้างแบบทดสอบ ทาให้พิจารณา จดุ ประสงค์ น้าหนักความสาคัญ ความถข่ี องการทดสอบ และรปู แบบของการทดสอบ 4) สรา้ งแผนผังการทดสอบเปน็ ตารางที่สรา้ งเพื่อนาเสนอวา่ การทดสอบแต่ละคร้ังวา่ จะวัดเนอ้ื หาอะไร และมจี ุดประสงค์อะไรบ้างโดยระบุเน้ือหายอ่ ยในแต่ละ จดุ ประสงค์พร้อมท้งั กาหนดน้าหนักความสาคัญ หรือสัดสว่ นของขอ้ สอบทจ่ี ะต้องสรา้ งและพฒั นา 3.1.4.3 เขียนข้อสอบ เปน็ ข้ันตอนของการเขียนขอ้ สอบที่ครูผู้สอบต้องมี ความรู้ในเนื้อหาสาระเปน็ อย่างดแี ละมีทกั ษะในการเขียนข้อสอบ ท่ีมีการดาเนินการ ดงั น้ี 1) กาหนดลกั ษณะเฉพาะของข้อสอบ เป็นการกาหนด ลักษณะเฉพาะของข้อสอบตามจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ทช่ี ่วยใหป้ ระหยัดเวลาในการเขยี นข้อสอบ คร้งั ต่อไป หรอื ใช้เป็นแนวทางในการสร้างแบบทดสอบคขู่ นาน 2) กาหนดขอ้ สอบฉบบั รา่ ง เปน็ การเขียนข้อสอบตาม ลักษณะเฉพาะ และใหม้ ีจานวนขอ้ สอบตามสัดสว่ นทก่ี าหนดไว้ ทคี่ รูผู้สอนอาจจะสรา้ งข้อสอบทลี ะข้อ ในบตั รข้อสอบ(Item Card) ทีร่ ะบรุ ายละเอียดเกี่ยวกบั ข้อสอบข้อน้นั ผลการวเิ คราะห์คุณภาพของ ขอ้ สอบ หรือการนาไปใช้ และควรสรา้ งเกนิ จานวนท่ตี ้องการไว้ประมาณ 25 % เพ่อื สาหรบั การปรบั ปรุงแกไ้ ขหรอื ตัดออกขอ้ สอบข้อที่ไม่มีคุณภาพ 3) ทบทวนและตรวจสอบแบบทดสอบฉบับร่าง เป็นการทบทวน แบบทดสอบสอบฉบับร่างท่ีได้สร้างเสรจ็ แล้ว จาแนกได้ดงั น้ี (1) ทบทวนและตรวจสอบโดยตนเอง เปน็ การทบทวนและ ตรวจสอบแบบทดสอบฉบบั ร่างทีไ่ ด้สรา้ งแลว้ ท้ิงไวส้ ักระยะเวลาหนง่ึ ก่อนที่จะนามาตรวจสอบ ด้วยตนเองโดยคิดวา่ ตนเองเป็นผู้สอบ เพอ่ื ตรวจสอบความเทย่ี งตรงตามจดุ ประสงค์ สดั ส่วนของ ขอ้ สอบ ความซ้าซ้อน ความสมเหตุสมผลและความชดั เจนของภาษาท่ีใช้ (2) ทบทวนและตรวจสอบโดยผอู้ ่ืน เปน็ การนาไปให้ ผเู้ ชี่ยวชาญในศาสตร์น้นั ๆ ไดต้ รวจสอบความเทีย่ งตรงตามจุดประสงค์ ความซ้าซ้อน ความครอบคลมุ และความชดั เจนของคาถามและคาตอบท่ีกาหนดให้ (3) การปรับปรุงแก้ไขข้อสอบ เปน็ การนาข้อสอบทผ่ี า่ น การทบทวนและตรวจสอบมาปรบั ปรงุ แก้ไขตามคาแนะนา แลว้ รวบรวมขอ้ สอบจัดทาเป็น แบบทดสอบฉบับที่พรอ้ มจะนาไปทดลองใช้ โดยมคี าแนะนาในเรยี บเรยี งข้อสอบในแบบทดสอบ ทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ ดงั นี้

หน้าท่ี 218  บทท่ี 8 เครือ่ งมือ วธิ ีการทใ่ี ชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูล (3.1) ถา้ แบบทดสอบฉบบั เดียวกนั ประกอบด้วยข้อสอบ หลายประเภท ควรกาหนดให้เป็นส่วน ๆ โดยทสี่ ่วนเดียวกนั จะเปน็ ข้อสอบประเภทเดียวกนั เรยี งลาดับจากประเภทที่ตอบได้ง่ายไปสู่ประเภทที่มกี ารตอบซบั ซ้อน ดงั นี้ ข้อสอบแบบถูกผดิ ข้อสอบ แบบจบั คู่ ข้อสอบแบบตอบสั้น ๆ ข้อสอบแบบเลือกตอบ และข้อสอบแบบเขยี นตอบ ตามลาดบั (3.2) ในข้อสอบแตล่ ะตอน ควรเรียงลาดับข้อสอบตาม จุดประสงคจ์ ากง่ายไปสู่จดุ ประสงค์ท่ีซับซอ้ น อาทิ ความรู้ความจา ความเข้าใจ การนาไปใช้ การวเิ คราะห์ การสังเคราะห์และการประเมินค่า (3.3) ขอ้ สอบในแตล่ ะตอน ควรเรยี งลาดับตามความยากง่าย ของขอ้ สอบจากง่ายไปสู่ยาก 3.1.4.4 การทดลองใช้ และการวิเคราะหข์ ้อสอบ เป็นข้นั ตอนของการนา ขอ้ สอบทไี่ ด้รับการทบทวนและตรวจสอบ ปรบั ปรุงแกไ้ ขแล้วไปทดลองใชก้ บั กลุ่มตัวอย่างท่มี ีลักษณะ ใกล้เคียงกบั กลุม่ ผสู้ อบทจี่ ะนาแบบทดสอบไปใช้จรงิ อย่างน้อยจานวน 50 คน เพ่ือให้ได้ผล การวิเคราะห์ขอ้ สอบทน่ี ่าเชื่อถือ และในการคดั เลอื กกลุม่ ตัวอย่างตอ้ งระมัดระวังการรักษาความลบั ของแบบทดสอบและความเป็นตวั แทนของกลมุ่ ผสู้ อบท่ีต้องการนาไปใช้จริงและให้ไดผ้ ลลัพธ์ว่า กล่มุ ตัวอย่างมปี ฏกิ ิรยิ าอย่างไรต่อข้อสอบ และมีปัญหาอะไร ที่จะนามาวิเคราะห์เพ่อื คัดเลือกข้อสอบ ท่เี หมาะสมจดั ทาแบบทดสอบที่มีคุณภาพต่อไป โดยมีข้ันตอน ดงั นี้ 1) การวิเคราะหข์ ้อสอบ (Item Analysis) จาแนกเปน็ ดังน้ี (1) การวิเคราะห์ทางกายภาพ ที่เป็นข้อมลู และปัญหาของ ข้อสอบทางกายภาพของข้อสอบ อาทิ ความชัดเจนของคาช้แี จง คาถามและคาตอบ ความเหมาะสม ของการใช้ภาษา ความยาวของแบบทดสอบ ระยะเวลาที่กาหนดให้ และรูปแบบการพิมพ์ เปน็ ต้น (2) การวิเคราะห์เชิงปรมิ าณ เป็นการนาข้อมลู ที่ได้จาก การการตอบแบบทดสอบของกลุ่มตัวอย่างมาวิเคราะห์ข้อสอบเป็นรายข้อ เพื่อหาความยาก อานาจ จาแนก และประสิทธภิ าพของตัวลวง 2) การคัดเลอื กข้อสอบเพื่อจดั ทาแบบทดสอบ เปน็ การคัดเลือก ข้อสอบทีม่ ีคุณภาพ คอื มีความยากท่ีเหมาะสม(มีค่าประมาณ0.2-0.8) และมอี านาจจาแนกสงู (มคี า่ ต้ังแต่ 0.2จนกระทง่ั เขา้ ใกล้ 1.00) แตใ่ นบางครั้งในการคดั เลือกข้อสอบอาจเลอื กข้อสอบที่มี อานาจจาแนกไม่สูงมาก เพ่ือใหข้ ้อสอบท่คี ัดเลือกมีความครอบคลุมเน้ือหาทตี่ ้องการ เมื่อได้ข้อสอบ ครบถ้วนแลว้ จึงนามาจัดพมิ พ์เปน็ แบบทดสอบฉบบั สมบูรณ์ 3) การวเิ คราะหแ์ บบทดสอบท้งั ฉบบั เปน็ การนาข้อมูลของ ขอ้ สอบท่ไี ดร้ ับการคัดเลอื กเป็นแบบทดสอบมาคานวณค่าความเทย่ี งตรง และความเช่ือม่ันทีเ่ ปน็ ข้อมลู เบ้ืองตน้ ดงั น้ันจะต้องนาแบบทดสอบฉบับนี้ไปทดลองใชแ้ ล้วนาผลมาวิเคราะหแ์ ละรายงาน คา่ ทสี่ มบรู ณ์อกี ครง้ั หนึง่

 ระเบยี บวิธกี ารวิจยั ทางพฤตกิ รรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หน้าที่ 219 3.1.4.5 การนาแบบทดสอบไปใช้ เปน็ การจดั สภาพแวดล้อมและปจั จัยท้งั ทางกายภาพและ จติ วทิ ยาท่ีมีอิทธิพลต่อการแสดงความสามารถในการตอบคาถามของผสู้ อบ หรือ ผสู้ อบทุกคนจะตอ้ ง ได้ความยตุ ิธรรมอย่างเทา่ เทียมกันในการแสดงความสามารถจากการเรียนรตู้ ามท่ีแบบทดสอบ ต้องการวัดท่ีสภาพแวดล้อมและปจั จัยที่จะต้องควบคมุ มดี ังน้ี 1) คาช้แี จง เป็นคาชีแ้ จงสาหรบั ผ้สู อบและผู้ดาเนินการสอบ ท่ีจะกาหนดแนวทาง ทีช่ ดั เจนในการจัดห้องสอบ การแจกและเกบ็ แบบทดสอบ เวลาทใี่ ช้ และแนวทางการแก้ไขปัญหาที่ อาจจะเกดิ ขึ้นในระหวา่ งการทดสอบท่จี ะต้องปฏบิ ตั ิอยา่ งเคร่งครดั การตอบคาถามในแต่ละตอนลงใน แบบทดสอบหรือกระดาษคาตอบ พร้อมท้ังกาหนดเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนอย่างชัดเจน 2) กาหนดเวลาในการทดสอบ เป็นการกาหนดเวลาอยา่ งเหมาะสม ทจี่ าแนกตามประเภทของแบบทดสอบ ความซับซอ้ นของจุดประสงค์ ระดับอายุของผู้สอบ และ สัดสว่ นของจานวนคาบหรอื หนว่ ยกิตของวิชา เปน็ ตน้ 3) การปฏิบตั ิการทดสอบ ที่เป็นการจดั สภาพแวดลอ้ มท่เี หมาะสม ทัง้ ทางกายภาพและจติ วทิ ยาท่มี ีผลกระทบต่อการแสดงความร้คู วามสามารถของผู้สอบ 4) การตรวจให้คะแนน เปน็ การตรวจใหค้ ะแนนของข้อสอบท่ี สอดคลอ้ งกนั ระหวา่ งผตู้ รวจข้อสอบในการให้คะแนนข้อสอบแบบอตั นัย และถ้าเปน็ แบบทดสอบแบบ เลือกตอบทมี่ ีผู้สอบจานวนมากอาจจะใชเ้ ครื่องจักรในการตรวจ และที่สาคญั คือการใหค้ ะแนนจะต้อง มีความเปน็ ปรนยั ในการตรวจใหค้ ะแนน ทม่ี ีการดาเนินการ ดังน้ี (1) มีการจดบนั ทึกคาตอบทีช่ ัดเจนและสมบูรณ์ จาแนกได้ดงั น้ี (1.1) การบันทึกคาตอบของผู้สอบท่จี ะตอ้ งบันทึกคาตอบ อย่างชัดเจน และถา้ มีการแก้ไขจะต้องดาเนินการตามขนั้ ตอนทกี่ าหนดไว้ (1.2) การบันทกึ ผลการปฏิบตั ิของครูผูส้ อนท่เี ปน็ ผ้สู ังเกต จะตอ้ งบนั ทกึ ผลทนั ที และสมบรู ณ์ ไมค่ วรใชก้ ารจดจาแลว้ นามาบนั ทึกผลในภายหลัง (2) มีการเฉลยคาตอบท่ีถูกต้องสาหรับการตรวจใหค้ ะแนน เปน็ กาหนดคาเฉลยคาตอบไว้ล่วงหน้าและเป็นคาตอบทเ่ี ป็นที่ยอมรับของผู้ตรวจคาตอบทกุ คน (3) มีการระบเุ กณฑ์การให้คะแนนทชี่ ัดเจน โดยเฉพาะการตอบ แบบทดสอบแบบอัตนัยวา่ คาตอบควรจะครอบคลมุ ประเด็นใดบ้าง และมีนา้ หนักของคะแนนเทา่ ไรใน แตล่ ะประเดน็ แตจ่ ะไม่เปน็ ปัญหาสาหรบั การตอบแบบเลือกตอบ 3.1.4.6 การวเิ คราะห์แบบทดสอบ เปน็ การนาผลการทดสอบที่ได้จาก การนาไปใช้ เพ่ือทราบลกั ษณะเบือ้ งตน้ ของคะแนนสอบ และการวเิ คราะห์แบบทดสอบ เพอ่ื หาคณุ ภาพของแบบทดสอบในดา้ นความเทยี่ งตรงและความเชื่อมัน่ ดงั น้ี 1) การวเิ คราะหค์ ่าสถติ ิเบื้องต้นของแบบทดสอบ เปน็ การคานวณ ดงั น้ี

หนา้ ที่ 220  บทที่ 8 เครือ่ งมือ วธิ ีการทีใ่ ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล (1)คา่ เฉลี่ยและส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน เพ่ือทราบผลการสอบ ของผ้เู รียนในภาพรวมวา่ อยใู่ นระดบั ใด และมคี ะแนนที่ใกล้เคยี งกันมากน้อยเพียงใด (2) ศึกษาลักษณะและการแจกแจงของคะแนนสอบเพ่ือให้ได้ ขอ้ มูลท่ีมีประโยชนต์ ่อการแปลความหมายของคะแนน และการปรบั ปรงุ แบบทดสอบ 2) การวิเคราะห์แบบทดสอบ เป็นการนาข้อมลู การตอบท้งั ฉบับ ของผสู้ อบมาวิเคราะห์ว่าสามารถใช้วัดผลการเรียนรูต้ ามสิ่งทตี่ อ้ งการวัดหรอื ไม่ และผลของการวดั มี ความคงเส้นคงวาหรือไม่ ทีใ่ ช้สาหรบั ระบคุ วามคลาดเคล่อื นของการวดั ความนา่ เช่ือถอื ของและการ แปลผลของคะแนนสอบ 3.1.4.7 แก้ไข ปรับปรุงแบบทดสอบ เปน็ การนาแบบทดสอบไปใช้ หลาย ๆ ครั้งตามเง่ือนไขทก่ี าหนดไว้แลว้ วิเคราะห์ผลซ้า เพ่ือใช้เป็นข้อมูลยืนยนั วา่ เปน็ แบบทดสอบท่ี มคี ณุ ภาพ และอาจจะนาผลมาพฒั นาเปน็ เกณฑ์ปกติ เพอ่ื เปน็ บรรทัดฐานของการเปรยี บเทียบ ความหมายของคะแนน และอาจเก็บรวบรวมข้อสอบไวเ้ พื่อสรา้ งและพัฒนาเปน็ ธนาคารข้อสอบตอ่ ไป 3.2 แบบสอบถาม/การสอบถาม 3.2.1 ความหมายของแบบสอบถาม แบบสอบถาม (Questionnaire) เปน็ ชดุ ของคาถามที่ผู้วจิ ยั กาหนดขึ้นเพื่อใช้วัด คุณลกั ษณะ เจตคตหิ รือความคดิ เห็นของบุคคล โดยใช้ขอ้ คาถามเปน็ ตัวกระตุน้ หรือสิ่งเร้าให้ผใู้ ห้ ข้อมูลไดแ้ สดงการตอบสนองตามความร้สู ึกของตนเอง 3.2.2 ประเภทของแบบสอบถาม ในการวิจัยใด ๆ ไดจ้ าแนกแบบสอบถามตามลกั ษณะของชุดคาถาม เป็น 2 รูปแบบ ดังน้ี 3.2.2.1 แบบสอบถามปลายเปดิ (Open-Ended Form) เป็นแบบสอบถาม ทีก่ าหนดให้เพยี งข้อคาถามเท่านน้ั สาหรับคาตอบนนั้ จะเป็นหนา้ ทข่ี องผู้ใหข้ ้อมูลทจ่ี ะได้แสดง ความคิดเห็นของตนเองอย่างอิสระ และเป็นแบบสอบถามทต่ี อบยากและเสยี เวลาในการตอบ ซึ่งจะ เหน็ ได้จากสารวจแบบสอบถามใด ๆ ท่ีมีคาถามปลายเปิดด้วย จะคอ่ นข้างไม่ได้รบั คาตอบ หรอื ได้รบั กลบั คนื น้อยมาก แต่ถา้ เปน็ ในกรณีทจ่ี ะสอบถามเก่ยี วกับเจตคติ แรงจูงใจ หรือสาเหตุ ฯ กย็ งั จะมี การนามาใช้อยเู่ สมอ ๆ อาทิ 1) ทา่ นเลอื กประกอบอาชีพครู เพราะ..............หรอื ........................... 2) อาชพี ครูตามความคิดเห็นของท่าน......................................เปน็ ต้น ดงั ท่ี อาธง สุทธาศาสน์(2527 : 148-149) ไดน้ าเสนอข้อดีและข้อจากดั ของคาถาม แบบปลายเปดิ ดังนี้ 1) ข้อดขี องคาถามแบบปลายเปดิ (1) ไดร้ ับข้อมูลท่นี อกเหนือประเดน็ การคาดคะเน/การกาหนดของผวู้ ิจยั ทขี่ นึ้ อยู่กบั ความรู้และประสบการณข์ องผู้ใหข้ ้อมลู ที่มปี ระโยชน์ต่อการนามาวิเคราะหเ์ พ่ือสรุปผลและนาเสนอ

 ระเบยี บวิธกี ารวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หน้าท่ี 221 (2) ไดร้ ับข้อมลู ท่ีมรี ายละเอียด ชดั เจน ทีส่ อดคลอ้ งกับความตอ้ งการของผใู้ ช้ข้อมูล อย่างแท้จรงิ (3) ไดร้ ับขอ้ มลู ตามข้อเท็จจริงทอ่ี าจจะกาหนดไมเ่ พียงพอต่อการเลือกตอบ (4) ได้รับข้อมลู ท่ลี กึ ซ้ึงและซับซ้อน 2) ข้อจากัดของคาถามแบบปลายเปดิ (1) สรปุ ประเดน็ คาตอบจากข้อมลู ท่ีไดร้ ับค่อนข้างยงุ่ ยาก (2) การใช้สถิติเปรียบเทยี บระหว่างข้อมลู ท่ีได้รับทาไดย้ ากเน่อื งจากขอ้ มูลมี ความแตกต่างกนั (3) ใช้ไดด้ กี บั ผูใ้ ห้ข้อมูลท่ีมกี ารศึกษาในระดบั สูง และมีทักษะในการเขียน/ใช้ภาษา (4) กาหนดรหัสแทนคาตอบท่ีไดร้ ับค่อนข้างยาก มคี วามเป็นอัตนัยสงู (5) ใช้เวลาในการตอบค่อนขา้ งมาก เพราะต้องคดิ ไตรต่ รองคาตอบทส่ี อดคลอ้ งกับ ความรสู้ กึ ที่แท้จริง สง่ ผลใหไ้ ดร้ บั ข้อมลู กลับคืนมามากขึ้น 3.2.2.2 แบบสอบถามปลายปิด (Close-Ended Form) เปน็ แบบสอบถาม ทก่ี าหนดท้ังคาถามและตวั เลอื ก โดยให้ผตู้ อบไดเ้ ลือกคาตอบจากตัวเลอื กนนั้ ๆ และเป็น แบบสอบถามท่ีใช้เวลาในการสร้างค่อนข้างมากแตจ่ ะสะดวกสาหรบั ผตู้ อบ ซงึ่ ข้อมลู ท่ีได้จะสามารถ นาไปวิเคราะหไ์ ด้ง่าย และนาเสนอได้อยา่ งถูกต้อง ชดั เจน จาแนกเป็น 5 รปู แบบ ดังนี้ 1) แบบตรวจสอบรายการ(Checklist) เปน็ แบบสอบถามท่กี าหนดให้ ผูต้ อบเลอื ก 1 คาตอบ หรือหลายคาตอบจากตัวเลอื ก 2) แบบจดั ลาดับความสาคญั (Ordering Scale) เปน็ แบบสอบถามท่ี ใหผ้ ู้ตอบได้เรียงลาดบั ความสาคญั ของตวั เลือกที่กาหนดให้จากมากไปน้อย หรอื จากนอ้ ยไปมาก 3) แบบมาตราส่วนประมาณคา่ (Rating Scale) เปน็ แบบสอบถามที่ให้ ผูต้ อบประเมนิ /แสดงระดับความคดิ เห็นเก่ียวกบั ประเดน็ ท่กี าหนดให้ 4) แบบใชค้ วามแตกตา่ งแห่งความหมายทางภาษา(Semantic Differential Scale) เป็นแบบสอบถามทกี่ าหนดคาและคาทีต่ รงขา้ มกนั เปน็ คู่ ๆ แล้วให้ผู้ตอบได้ ประเมินตามความคดิ เหน็ 5) แบบสร้างสถานการณ์ (Situational Questionnaire) เป็น แบบสอบถามท่ีกาหนดสถานการณ์ แล้วให้ผูต้ อบได้พิจารณาเลอื กตอบตามความรู้สึก คุณธรรม หรอื จรยิ ธรรม ดังที่ อาธง สทุ ธาศาสน์(2527 : 148-149) ได้นาเสนอข้อดีและข้อจากัดของคาถาม แบบปลายปดิ ดังน้ี 1) ข้อดีของคาถามแบบปลายปิด (1) ได้รบั ข้อมูลท่มี ีลักษณะเดยี วกนั ทาใหง้ า่ ยต่อการสรุปผลและเปรยี บเทียบ (2) ผู้ใหข้ ้อมูลมีความสะดวก งา่ ยในการตอบคาถาม อาจเน่ืองจากคาตอบทีก่ าหนดให้ เลอื กทาใหข้ ้อคาถามมีความชัดเจน

หน้าที่ 222  บทที่ 8 เครือ่ งมือ วิธีการท่ใี ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล (3) ไดร้ ับข้อมลู ทค่ี รบถ้วน และสอดคล้องกบั วตั ถปุ ระสงค์/ประเด็นที่ตอ้ งการ (4) ได้รับคาตอบท่ีผ้ใู ห้ข้อมลู ไม่ต้องการตอบในลกั ษณะของการประมาณคา่ 2) ข้อจากดั ของคาถามแบบปลายปิด (1) ถา้ มคี าตอบ “ไม่ทราบ” เป็นตวั เลอื ก จะได้รับค่อนข้างมาก เน่ืองจากตอบได้งา่ ย (2) ไม่มีตวั เลือกทีส่ อดคล้องกับความเปน็ จรงิ ของผใู้ ห้ขอ้ มลู (3) ตวั เลอื กมากเกินไปอาจจะทาใหเ้ กดิ ความสบั สน (4) การให้ข้อมูลเดยี วกันอาจเกดิ เนื่องจากการเข้าใจในข้อคาถามท่ีแตกต่างกนั ก็ได้ (5) ความแตกต่างของการให้ขอ้ มลู เป็นไปตามเงอ่ื นไข/ตัวเลือกท่ีกาหนดให้เทา่ น้ัน (6) ขอ้ ผิดพลาดทีเ่ กดิ ขึน้ จากการลงรหสั ในการวเิ คราะห์ข้อมูลทค่ี ลาดเคล่ือน หรือ การเลือกข้อที่คลาดเคลื่อนจากทตี่ ้องการ 3.2.3 หลกั การในการสร้างและพัฒนาแบบสอบถาม ในการสร้างและพัฒนาแบบสอบถาม มีหลักการที่ควรพิจารณาดาเนินการ ดังนี้ (นิภา ศรีไพโรจน,์ 2531:95-97 ; วรรณรตั น์ องึ้ สปุ ระเสริฐ.2543 : 167-168) 3.2.3.1กาหนดขอบเขตของประเด็นท่ีต้องการอย่างชดั เจนว่าต้องการสอบถาม อะไรบ้าง ทีส่ อดคล้องกับปัญหาของการวจิ ยั /วัตถุประสงค์ของการวจิ ยั 3.2.3.2 สร้างและพัฒนาข้อคาถามทม่ี ีความเท่ียงตรง ความครอบคลุมและ ความสาคัญต่อประเดน็ ท่ตี ้องการเทา่ น้ัน ไม่ควรกาหนดข้อคาถามทมี่ จี านวนมากแต่ไมม่ ีประโยชน์ใน การตอบปัญหาการวจิ ยั และแบบสอบถามท่มี ีขอ้ คาถามจานวนมากและซ้าซ้อนกัน จะทาให้ผ้ใู ห้ ขอ้ มลู เกดิ ความเบ่อื หน่ายในการให้ข้อมลู 3.2.3.3 การจัดเรียงลาดับขอ้ คาถาม ควรจัดเรยี งลาดบั ใหม้ ีความต่อเน่ืองสัมพันธ์กนั จากคาถามท่งี ่ายสู่คาถามทีซ่ ับซอ้ นเพื่อย่ัวยุในการให้ข้อมูล จาแนกประเด็นท่ตี ้องการเป็นแต่ละ ประเดน็ ย่อย ๆทรี่ ะบุหวั ข้ออย่างชดั เจนเพ่อื ให้มีความชดั เจนในการใหข้ ้อมูล และข้อคาถามในประเดน็ ทสี่ าคญั ควรกาหนดเปน็ ข้อคาถามตอนตน้ ของแบบสอบถาม เพอ่ื ใหผ้ ใู้ หข้ ้อมูลได้ตอบด้วยความต้ังใจ ไมเ่ บื่อหน่าย ท่อี าจจะทาใหไ้ ด้รบั ผลการวิจัยที่คลาดเคลื่อน 3.2.3.4 การใชล้ กั ษณะของข้อคาถามท่ีดี ทม่ี ลี กั ษณะของการปฏบิ ตั ิและไม่ควรปฏิบัติ ดงั นี้ (สรชัย พิศาลบุตร,2544 : 35-36) 1) ควรใชข้ อ้ ความหรอื ประโยคส้นั ๆ กะทัดรัด และได้ใจความสาคัญ 2) ควรกาหนดข้อคาถามทมี่ ีความชดั เจน โดยมแี นวปฏิบตั ดิ งั น้ี (1) หลกี เลีย่ งขอ้ คาถามทีเ่ ป็นประโยคปฏิเสธเพราะอาจทาใหเ้ กิด ความสับสน แตถ่ า้ จะใชค้ วรเนน้ ใหเ้ ห็นคาปฏิเสธ และประโยคปฏิเสธซอ้ นปฏิเสธไม่ควรนามาใช้ (2) ควรขีดเส้นใตค้ า/ข้อความทส่ี าคัญต้องการเน้น เพือ่ ให้ผู้ใหข้ ้อมูล ไดพ้ จิ ารณาเป็นกรณีพเิ ศษ (3) ไม่ควรกาหนดคา/ขอ้ ความที่ผู้ให้ขอ้ มลู จะมีหลกั เกณฑใ์ น การพิจารณาใหข้ ้อมลู ท่ีไม่สอดคล้องกัน อาทิ บ่อย ๆ คร้ัง ,เสมอ ๆ ฯลฯ

 ระเบียบวธิ กี ารวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หนา้ ท่ี 223 3) ไม่ควรกาหนดข้อคาถามในลักษณะคาถามนาท่ีชีแ้ นะคาตอบ อาทิ ท่านมคี วามพึงพอใจ หรือทา่ นมคี วามต้องการ........ เป็นตน้ 4) ไมก่ าหนดขอ้ คาถามที่เปน็ เร่ืองส่วนตัวของผ้ใู ห้ข้อมลู ที่ต้องการปกปิด เป็นความลบั เพราะจะทาให้ไม่ได้รับข้อมลู ที่เปน็ จริง 5) ไมก่ าหนดขอ้ คาถามท่ีไดข้ ้อมูลจากการวธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมลู อืน่ ๆ อาทิ จากการสงั เกต หรือจากการวางแผนการกาหนดกลุ่มตัวอยา่ งที่ชดั เจน เป็นตน้ 6) กาหนดข้อคาถามท่ีมคี วามเหมาะสมกับกล่มุ ตวั อย่างโดยคานึงถึงวุฒิ ภาวะ ระดับการศกึ ษา/สติปัญญา และความสนใจ เป็นตน้ 7) กาหนดขอ้ คาถามทีแ่ ตล่ ะข้อจะมีประเด็นทต่ี อ้ งการเพยี งประเด็นเดยี ว เทา่ นัน้ 8) ถ้าเป็นข้อคาถามปลายปิด ควรกาหนดตัวเลือกให้มีความครบถ้วนตาม ประเด็นทตี่ ้องการ หรอื มิฉะนั้นจะตอ้ งมีการกาหนดตัวเลือก “ไม่แสดงความคิดเหน็ ” หรือ อืน่ ๆ ระบุ เป็นต้น 9) กาหนดตวั เลอื กที่สามารถระบุในเชงิ ปริมาณ และใชค้ า่ สถิติอธิบาย ขอ้ เทจ็ จรงิ ได้ 10) จานวนข้อคาถามไม่ควรมีมากเกนิ ไป เพราะทาใหผ้ ู้ให้ขอ้ มูลเกิด ความเบ่ือหนา่ ย หรือเมื่อยลา้ 3.2.4 รูปแบบของขอ้ คาถามในแบบสอบถาม ในแบบสอบถาม ใด ๆ จะมรี ูปแบบของข้อคาถาม ดงั นี้ (วรรณรัตน์ องึ้ สปุ ระเสรฐิ .2543 : 171-172) 3.2.4.1 ข้อคาถามแบบปลายเปดิ เป็นข้อคาถามท่ีกาหนดใหผ้ ตู้ อบแบบสอบโดยใช้ ความคิดเห็นอยา่ งอสิ ระ ทาให้ได้ข้อมูลท่ีลกึ ซงึ้ และสะท้อนความรู้สกึ ทแี่ ทจ้ ริง แต่จะต้องระมดั ระวงั ในการกาหนดข้อคาถามทชี่ ัดเจนท่ีส่อื ความหมายเดยี วกนั แก่ผู้ตอบแบบสอบถามทุกคน และการใช้ ภาษาในการตอบข้อคาถามของผ้ตู อบแบบสอบถามทต่ี า่ งกันทาให้การแปลความหมายจากคาตอบ อาจจะมคี วามคลาดเคลือ่ นเกิดขน้ึ และในการวิเคราะหแ์ ละสังเคราะหข์ ้อมูลทาได้คอ่ นขา้ งยากและใช้ เวลานานในการสรปุ ผล 3.2.4.2 ขอ้ คาถามแบบปลายปิด เปน็ ข้อคาถามท่ีกาหนดตวั เลอื กในแต่ละข้อคาถาม ที่กาหนดให้ผู้ตอบแบบสอบถามได้เลือกคาตอบท่ีสอดคลอ้ งกบั ความคิดเหน็ ของตนเอง จาแนกดงั นี้ 1) มาตรการวัดชว่ งเท่ากนั หรอื มาตราวัดทัศนคติของเทอร์สโตน (1) มาตรวัดช่วงเทา่ กัน(Method of Equal-appearing Intervals) หรอื มาตรการวัดของเทอรส์ โตน(Thurstone’s Scale) เปน็ มาตรการวดั ท่ีเนน้ คุณสมบัติของการวดั ให้ มคี วามเท่ากันโดยจาแนกชว่ งการวัดออกเปน็ 11 ชว่ ง โดยเริ่มจากนอ้ ยทส่ี ดุ ไปหามากที่สุด (Punch.1998 : 95) ดังแสดงตัวอยา่ งมาตรการวดั ในภาพท่ี 8.1

หน้าที่ 224  บทที่ 8 เครือ่ งมือ วธิ ีการท่ีใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู น้อยท่ีสดุ มากที่สุด 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 ภาพที่ 8.1 มาตรการวดั แบบเทอร์สโตน (2) สมมตุ ิฐานเบื้องต้นของมาตรการวดั ของเทอร์สโตน ในการกาหนดมาตรการวัดของเทอรส์ โตน มขี ้อสมมตุ ิฐานเบื้องตน้ ที่ ผทู้ ่ใี ชม้ าตราวัดนี้ควรทราบ มีดังนี้ (สวสั ดิ์ สคุ นธรงั ษี,2517 : 234 อ้างอิงใน บุญธรรม กจิ ปรดี าบรสิ ทุ ธิ,์ 2534 : 125) (2.1) เจตคติของบคุ คลในแต่ละเรอื่ ง เป็นช่วงของความชอบที่ ไมส่ ามารถจาแนกออกเปน็ ส่วน ๆ (2.2) ความคิดเห็นทแ่ี สดงออกเปน็ ดชั นที บี่ ง่ ช้ีระดบั เจตคตขิ อง บคุ คล (2.3) ความคดิ เหน็ ในแต่ละเร่อื งของบุคคล ชีไ้ ดว้ ่าบุคคลมี เจตคติในระดับชว่ งใดของความชอบ ฉะน้ันความคิดเหน็ น้จี ึงต้องกาหนดค่าได้ในระดับใดในชว่ งของ ความชอบ (2.4) ระดับเจตคติในชว่ งของความชอบ ไดแ้ ก่ ระดบั ในเกณฑ์ เฉลย่ี ของความคดิ เห็นที่แสดงออก ซง่ึ ความคดิ เหน็ ในแต่ละข้อของบุคคลเดียวกนั ย่อมมคี ่าในชว่ งของ ความชอบทีใ่ กล้เคียงกนั (3) ขั้นตอนการสร้างมาตรวัดเจตคติของเทอร์สโตน (3.1) กาหนดข้อความเก่ียวกับเจตคติที่ต้องการให้มากที่สุดจาก เอกสาร ผรู้ ว่ มงาน ผูท้ รงคุณวฒุ ิ หรือจากปรากฏการณท์ ั้งเชงิ บวกและเชงิ ลบ ทีม่ ีลักษณะ ดังนี้ (ลว้ น สายยศ และอังคณา สายยศ 2528 : 13) - เป็นข้อความทแ่ี สดงความคดิ เหน็ (มาก-นอ้ ย)ไม่ใช่ ข้อเทจ็ จริง(ถูก-ผิด) - เป็นข้อความทมี่ คี วามเกี่ยวข้องกับเจตคตทิ ่ีตอ้ งการ ศึกษา - เปน็ ข้อความท่ีแปลความหมายได้ลักษณะเดียว - เปน็ ข้อความทีง่ ่าย ๆ ไม่ซบั ซ้อน - เป็นขอ้ ความท่ีใชภ้ าษางา่ ย ๆ ส้ัน และชัดเจน - เปน็ ข้อความท่ีสมบูรณ์ และกาหนดความหมายทศั นคติ ต่อสิ่งใดสิง่ หนงึ่ โดยเฉพาะ - เปน็ ขอ้ ความที่มแี นวคดิ ท่ีสมบูรณเ์ พียงประการเดียว

 ระเบียบวิธีการวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หนา้ ท่ี 225 (3.2)จดั ทาโครงรา่ งแบบมาตรการวดั ทรี่ ะบุข้อความเพือ่ ให้ ผู้เชย่ี วชาญไดพ้ จิ ารณาความเกีย่ วข้องของข้อความท่ีกาหนดกบั ทศั นคติท่ีต้องการ และการกาหนด ตาแหน่งมาตรการวัด จากเกณฑท์ ่ีกาหนดให้ ดังนี้ เห็นด้วยอยา่ งยง่ิ ให้ 11 คะแนนและเรยี งลงมา ตามลาดบั ให้ 6 คะแนน เม่ือไมแ่ นใ่ จ และไมเ่ หน็ ด้วยจากน้อยไปมาก คือ 5,4,3,2,1 ตามลาดบั (3.3) การพิจารณาเบ้ืองต้นจากการพิจารณาของผเู้ ชย่ี วชาญ ให้ตัดขอ้ ความที่ไดค้ ะแนนน้อยออกก่อนท่ีจะดาเนินการขั้นต่อไป (3.4) การหาค่าทางสถติ ิตามความคดิ เห็นของรา่ งมาตรวัด โดยใชค้ ่ามธั ยฐาน และส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ (3.5) การเลอื กข้อความท่นี ามาใช้ มขี ้นั ตอน ดงั นี้ (เพ็ญแข แสงแก้ว. 2541 : 90) - เรียงข้อความตามค่ามธั ยฐานแตล่ ะข้อ และพิจารณา วา่ ขอ้ ความนัน้ มาจากชว่ งคะแนนใด(1-11) - ถา้ ขอ้ ใดมคี ่ามธั ยฐานเท่ากนั ให้เรยี งลาดับตามส่วน เบ่ียงเบนควอไทล์จากน้อยไปมาก - เลอื กใชข้ อ้ ความท่ีมีสว่ นเบ่ียงเบนควอไทลต์ ่า ๆ ท่ี แสดงวา่ ผเู้ ช่ยี วชาญมีความคดิ เห็นท่ีไมแ่ ตกตา่ งกนั (ส่วนเบย่ี งเบนควอไทลค์ วรต่ากว่า 1.67 แสดงวา่ มีการใช้ภาษาทช่ี ดั เจน และมีค่ามธั ยฐานทแ่ี ตกตา่ งกัน (ล้วน สายยศ และ องั คณา สายยศ 2528 : 155)โดยมเี กณฑก์ ารประเมนิ คา่ ระดบั ความคดิ เห็นตามมาตรการวัดเจตคติของเทอรส์ โตน มดี ังนี้ (เพญ็ แข แสงแก้ว,2541 : 49) คา่ มธั ยฐาน 1.00 - 3.00 แสดงว่า มเี จตคติท่ีไม่ดีอย่างยง่ิ คา่ มัธยฐาน 3.01 - 5.00 แสดงวา่ มีทเจตคติทไ่ี ม่ดี คา่ มธั ยฐาน 5.01 - 7.00 แสดงว่า มีเจตคติปานกลาง ค่ามัธยฐาน 7.01 - 9.00 แสดงว่า มีเจตคตทิ ่ดี ี คา่ มัธยฐาน 9.01 - 11.00 แสดงว่า มีเจตคติท่ีดีอย่างย่ิง 2) วิธีการประมาณค่ารวมตามวธิ กี ารของลิเครทิ ์ (1) วิธกี ารประมาณคา่ รวม(The Method of Summated Rating)ตามแนวคดิ ของ ลเิ คริท์ ทมี่ ีความเชื่อพนื้ ฐานวา่ “เชาว์ปัญญาของมนษุ ย์จะมีการแจกแจง แบบโค้งปกติ”โดยใชห้ นว่ ยความเบ่ยี งเบนมาตรฐานเปน็ เกณฑ์ในการวัดประมาณความเขม้ ของความ คิดเห็นท่ีมีต่อส่ิงตา่ ง ๆ สรุปได้ว่า การใช้หน่วยเบ่ยี งเบนมาตรฐานเปน็ เกณฑ์ในการวดั ท่ีมีความสมั พนั ธ์ กับการวดั ท่ใี ช้ 0 1 2 3 4(หรือ 1 2 3 4 5)เปน็ เกณฑ์ เทา่ กับ0.99(Neuman,1997 :159) จึงสรปุ วา่ วิธกี ารประมาณค่ารวมท่ีกาหนดสเกลเป็น 0 1 2 3 4 จะดีกว่าการใช้วธิ กี ารวิเคราะหห์ า คา่ ประจาข้อทซ่ี ับซ้อนของเทอร์สโตน ดังนี้

หนา้ ท่ี 226  บทท่ี 8 เคร่อื งมือ วธิ ีการที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู (1.1)ไมต่ อ้ งหากลมุ่ ที่พจิ ารณาตัดสนิ เพ่ือกาหนดค่าประจาขอ้ (1.2)ไมต่ ้องคานวณค่าประจาข้อ (1.3) มคี วามเชื่อมัน่ สงู กว่าในจานวนข้อท่เี ท่ากันกบั การใช้ วิธีการอื่น ๆ (1.4) ผลท่ไี ด้มีความเท่าเทียมกบั ผลทีไ่ ดจ้ ากวิธีการวัดคา่ ประจาข้อของเทอรส์ โตน แสดงลักษณะของวิธกี ารประมาณค่ารวมตามวธิ ีการของลิเคริท์ ดงั ภาพท่ี 8.2 (Noll,1989 : 35) มากที่สดุ ข้อความเชิงบวก 5 4 3 2 นอ้ ยทส่ี ดุ 1 1 2 345 เห็นดว้ ยอยา่ งยง่ิ เห็นด้วย ไม่เเนใ่ จ ไม่เหน็ ดว้ ย ไม่เหน็ ดว้ ยอยา่ งยงิ่ ขอ้ ความเชงิ ลบ น้อยทีส่ ุด มากที่สดุ ภาพที่ 8.2 วธิ กี ารประมาณค่ารวมตามวธิ กี ารของลเิ คริท์ (2) ขอ้ ตกลงเบื้องตน้ ของมาตรวัดตามวธิ กี ารของลเิ ครทิ ์ ในการใชม้ าตรวัดตามวธิ ีการของลิเครทิ ์ มขี ้อตกลงเบอ้ื งต้นที่ ควรพจิ ารณาดังน้(ี สวัสดิ์ สุคนธรังษี,2517 : 237 อา้ งอิงใน บุญธรรม กจิ ปรดี าบริสุทธ์ิ, 2534 : 130) (2.1) การตอบสนองต่อข้อความแต่ละข้อในมาตรวัดจะมี ลักษณะคงที่ แต่ทั้งนี้มไิ ดห้ มายความวา่ ลกั ษณะคงท่ขี องการตอบสนองในทุก ๆ ข้อความจะเป็น เสน้ ทับกนั (2.2) ผลรวมของลกั ษณะคงท่ขี องการตอบสนองต่อข้อความ ทง้ั หมดแตล่ ะข้อจะมีลักษณะเป็นเสน้ ตรง เพราะถงึ แม้นว่าลักษณะคงทใี่ นทุก ๆ ข้อความจะไม่เป็น เส้นทบั กัน แต่เมื่อนาคา่ คงทม่ี ารวมกนั แล้วจะทาใหส้ ว่ นทแ่ี ตกต่างจากเสน้ ตรงหักลบกนั ไป (2.3) ผลรวมของลกั ษณะคงทข่ี องการตอบสนองในข้อความ หนงึ่ ๆ จะมอี งคป์ ระกอบรว่ มกันอยู่หน่ึงตัว นั่นคือ ผลรวมน้ีแทนคา่ ลกั ษณะนสิ ยั ทว่ี ัดได้อยา่ งหนง่ึ เพียงอย่างเดียว จากข้อตกลงเบื้องตน้ ท้ัง 3 ประการ ลเิ คริท์นามาใชเ้ ปน็ หลักในการวดั เจตคตใิ นเร่ืองใด ๆ ด้วยการกาหนดข้อคาถามบุคคลหลาย ๆ ขอ้ แล้วนาผลการตอบ ทกุ ขอ้ รวมกันเป็นเจตคติของบุคคล ในเรือ่ งน้นั ๆ (3) องคป์ ระกอบของมาตรวัดตามวิธีการของลิเคริท์ จาแนกได้ ดงั น้ี(Neuman,1997 : 159)

 ระเบียบวธิ กี ารวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หน้าที่ 227 ในมาตรวดั ตามวธิ ีการของลิเคริท์ สามารถจาแนกองคป์ ระกอบได้ ดงั น้ี (3.1) สว่ นที่เปน็ สิง่ เร้า(Stimulus)/ ขอ้ คาถาม (3.2) ส่วนที่เปน็ การตอบสนอง(Response) ได้แก่ ระดับ ความคดิ เหน็ หรือความรู้สกึ (4) หลักการสรา้ งคาถามตามวธิ ีการประมาณค่ารวมตามวิธีการ ของลเิ คริท์ ในการสร้างคาถามตามวิธีการประมาณค่ารวมตามวิธีการของลเิ ครทิ ์ มขี ัน้ ตอน ดังน(้ี Mclver and Carmine,1981 : 23) (4.1) การจาแนกประเภทแนวคาถาม ทใ่ี นชดุ ของคาถามใด ๆ จะตอ้ งมจี านวนที่เท่า ๆ กัน ประมาณ 50-100 ข้อจาแนกเปน็ 2 ลกั ษณะ ดังนี้ (4.1.1) ประเภทที่เห็นด้วย หรือคลอ้ ยตาม (Favorable Statements) เป็นขอ้ ความท่ีกาหนดในเชงิ บวก/ทางทีด่ ี หรือสอดคลอ้ งกบั ความต้องการของสังคม อาทิ คุณธรรมเป็นเคร่ืองค้าจุนโลก ประเทศไทยควรมีการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย หรือการตอ่ ต้านนโยบายของรฐั บาลเปน็ ส่ิงท่ีไม่ควรกระทา เปน็ ตน้ (4.1.2) ประเภททไ่ี ม่เหน็ ด้วย หรือขดั แยง้ (Unfavorable Statements) เปน็ ข้อความที่กาหนดในเชงิ ลบ อาทิ ศาสนาเปน็ ส่ิงเสพติด ประเทศไทยควรใช้การปกครองแบบคอมมวิ นสิ ต์ หรือ การตอ่ ตา้ นนโยบายของรัฐบาลเป็นสิ่งท่ี ควรกระทา เป็นตน้ (4.2) การกาหนดน้าหนกั คะแนนของความคิดเหน็ จาแนก ออกเปน็ 5 ระดบั คือ เหน็ ด้วยอยา่ งยง่ิ เหน็ ดว้ ย เฉย ๆ ไมเ่ หน็ ด้วย และไมเ่ หน็ ด้วยอย่างย่งิ ท่ี จาแนกตามลักษณะของคาถามแบบเหน็ ด้วย และแบบไมเ่ ห็นด้วย ดังแสดงในตารางท่ี 8.1 ตารางที่ 8.1 น้าหนกั ของคะแนนจากความคิดเหน็ ในเชิงบวกและเชงิ ลบ ขอ้ ความเชงิ บวก ข้อความเชงิ ลบ ให้ 5 คะแนน หมายถงึ เห็นด้วยอยา่ งย่งิ ให้ 5 คะแนน หมายถึง ไมเ่ หน็ ดว้ ยอย่างยง่ิ 4 คะแนน หมายถึง เห็นด้วย 4 คะแนน หมายถึง ไม่เห็นด้วย 3 คะแนน หมายถึง ไม่เเนใ่ จ 3 คะแนน หมายถงึ ไม่เเน่ใจ 2 คะแนน หมายถึง ไมเ่ หน็ ดว้ ย 2 คะแนน หมายถงึ เหน็ ดว้ ย 1 คะแนน หมายถึง ไม่เหน็ ดว้ ยอย่างยงิ่ 1 คะแนน หมายถงึ เห็นดว้ ยอยา่ งยิ่ง ทีม่ า : บุญธรรม กจิ ปรดี าบรสิ ุทธ,ิ์ 2534 : 131

หน้าที่ 228  บทท่ี 8 เคร่อื งมือ วธิ ีการที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู (4.3) แนวการสรา้ งข้อความ หรือขอ้ คาถาม ควรปฏิบตั ิ ดงั น้ี (4.3.1) กาหนดเปน็ ขอ้ ความเชงิ ความคิดเห็นแต่ ไมค่ วรกาหนดเป็นข้อเทจ็ จรงิ เก่ียวกบั ประเดน็ ทต่ี ้องการ (4.3.2) กาหนดขอ้ ความทีม่ ีความชัดเจน สอดคล้องกบั ประเดน็ ทต่ี ้องการ และหลีกเล่ยี งข้อความประเภททีต่ ีความไดห้ ลายความหมาย (4.3.3) ควรกาหนดข้อความในประเด็นทคี่ าดวา่ จะมี ความคดิ เหน็ ที่แตกต่างกนั ท้ังเหน็ ดว้ ยและไม่เห็นด้วย (4.3.4) ควรกาหนดคาถามทั้งในแบบเหน็ ด้วยและ ไมเ่ หน็ ดว้ ยท่ีใกล้เคียงกันเพื่อให้ผใู้ ห้ข้อมูลแสดงความคิดเห็นทั้ง 2 แบบ (4.4) การกาหนดน้าหนักของการตอบเป็น 0 1 2 3 และ 4 หรอื 1 2 3 4 และ 5 จะใหผ้ ลทีเ่ ท่าเทยี มกบั วธิ กี ารอน่ื ๆ (4.5) การเลอื กข้อคาถาม เป็นการนาข้อคาถามท่กี าหนดไป ทดลองใช้กับกลมุ่ ตัวอย่างท่ตี ้องการ แล้วนาผลมาวเิ คราะห์เปน็ รายขอ้ เพ่ือหาคณุ ภาพรายข้อ ดงั น้ี (Mclver and Carmines,1981 : 24) (4.5.1) หาความสอดคล้องภายในตามเกณฑ์ดว้ ยคา่ ที (t-test)ระหว่างคา่ เฉลี่ยของกลมุ่ ท่ไี ด้คะแนนรวมสูง กบั กลุ่มท่ีได้คะแนนรวมต่าทลี ะข้อ ถ้าข้อใดที่ได้ ค่าทีเท่ากับหรือมากกว่า1.75 แสดงวา่ ขอ้ คาถามข้อนนั้ มีอานาจจาแนกทใี่ ช้ได(้ Edwards,1987 : 63) (4.5.2) หาสหสมั พนั ธ์ของเพียร์สนั ระหว่างคะแนน แต่ละข้อกับคะแนนเฉล่ียรวมทุกข้อ ท่เี ปน็ วธิ ีการใช้เกณฑ์คงทใ่ี ช้ชุดคาถาม ถ้าได้ค่าสหสัมพนั ธท์ มี่ ี คา่ สงู แสดงวา่ ข้อคาถามข้อน้ันมีความเชื่อม่นั สงู สามารถทจี่ ะนามาใช้ได้ (5) ข้นั ตอนการสร้างแบบวัดมาตรการวัดเจตคติของลเิ ครทิ ์ ในการสรา้ งแบบวัดมาตรการวัดเจตคตขิ องลเิ ครทิ ์ มขี ้ันตอนการสร้าง ดงั น้ี(ล้วน สายยศ และ องั คณา สายยศ ,2538 : 157) (5.1) กาหนดข้อความเกย่ี วกบั เจตคติทีต่ ้องการใหม้ ากทีส่ ดุ จาก เอกสาร ผูร้ ว่ มงานผูท้ รงคุณวุฒิ หรอื จากปรากฏการณท์ ั้งเชิงบวกและเชิงลบ ทีม่ คี วามชดั เจน หรอื ไม่ แปลความหมายที่กากวม และ หนง่ึ ข้อความควรมีเจตคตเิ ดยี ว เปน็ ต้น (5.2) การตรวจสอบข้อความ ท่กี าหนดขนึ้ ท่วี า่ สอดคล้องกับ เกณฑ์การพิจารณาหรือไม่ (5.3) การทดสอบข้อความโดยการนาไปใหผ้ เู้ ชี่ยวชาญได้ พิจารณาเพอ่ื แก้ไขปรบั ปรงุ แลว้ นาไปทดลองใช้กับกล่มุ ตวั อยา่ งท่ีมีลกั ษณะคลา้ ยคลงึ กับกล่มุ ตวั อยา่ ง ท่ีตอ้ งการนามาตรการวดั ไปใช้ แลว้ นาข้อมลู มาคานวณหาคา่ สถติ เิ พือ่ ใช้เป็นดชั นีบง่ ช้คี ุณภาพของ ขอ้ ความ ดงั น้ี

 ระเบียบวธิ กี ารวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หน้าท่ี 229 (5.3.1) คานวณหาค่าสัมประสทิ ธส์ิ หสัมพันธ์(r)ของ ขอ้ ความแต่ละขอ้ กบั คะแนนรวม แล้วนามาพจิ ารณาวา่ ถ้าข้อความใดมีคา่ สมั ประสทิ ธิส์ หสัมพันธ์สูง แสดงวา่ ข้อความนั้นเปน็ ข้อความที่ดี มคี วามเช่ือม่นั (5.3.2) คานวณหาค่าอานาจจาแนกของขอ้ ความ แตล่ ะข้อ โดยการทดสอบค่าทีและคัดเลือกขอ้ ความท่ีมีคา่ ที ตง้ั แต่ 1.75 ขึ้นไปทเี่ ปน็ ค่าที่มีอานาจ จาแนกอยู่ในเกณฑ์ดี(Edward.1987 :63) (6) ข้อจากัดในการใชม้ าตรการวัดของลิเครทิ ์ การใชม้ าตรการวดั ของลเิ ครทิ ์ มีข้อจากดั ทผ่ี วู้ จิ ยั ควรจะต้อง ระมัดระวงั มีดังนี้(บญุ ธรรม กิจปรดี าบริสุทธ์,ิ 2534 : 134-135) (6.1) ความรสู้ กึ ในเรอ่ื งของความเสี่ยง ท่ีผู้ใหข้ ้อมูลบางคน พยายามตอบเป็นกลาง เพื่อป้องกันความเสยี หายท่ีจะเกดิ ข้ึน (6.2) ความเข้าใจความหมายของภาษาทไี่ มส่ อดคล้องกัน (6.3) ขาดแรงจูงใจในการตอบ ทาใหใ้ ชก้ ารใส่เครื่องหมาย เพ่ือให้การให้ข้อมูลไดเ้ สร็จสิน้ (6.4) การยอมรบั ประเดน็ ทีใ่ ห้ขอ้ มลู ถ้าผใู้ ห้ขอ้ มูลเหน็ ดว้ ยกับ เรอ่ื งที่สอบถามกจ็ ะให้ข้อมลู ท่ีเปน็ จริงมากกวา่ ประเดน็ ทไี่ มย่ อมรบั (6.5) ปัญหาในเรื่องเวลาท่ตี อบ ถ้ามเี วลาท่ีจากัดทาให้ผใู้ ห้ ข้อมูลขาดความละเอยี ดรอบคอบในการให้ข้อมลู (6.6) ผใู้ ห้ข้อมลู มักจะมีความรู้สึกซอ่ นเรน้ และต้องการ แสดงออกเฉพาะลักษณะท่ดี ีของตนจึงพยายามปิดบงั ลักษณะทีบ่ กพร่องของบุคลกิ ภาพของตน ทาให้ เลือกคาตอบท่ไี ม่แสดงลักษณะท่ีแท้จริงของตนเอง (7) เกณฑ์การพจิ ารณาคะแนนเฉลี่ยของมาตรการวัดของลเิ คริท์ ในการพิจารณาตัดสนิ คะแนนเฉลีย่ ที่ไดร้ ับจากการให้ข้อมลู มีดงั น้ี (Best.1977 ) ช่วงคะแนนเฉลี่ ความหมาย 1.00 -1.79 หมายถงึ ระดับน้อยทส่ี ุด 1.80-2.59 หมายถึง ระดับนอ้ ย 2.60-3.39 หมายถึง ระดบั ปานกลาง 3.40-4.19 หมายถึง ระดบั มาก 4.20-5.00 หมายถงึ ระดับมากทส่ี ุด หรือพันธ์พินิจ(Punpinij.1990 :46) 1.00 - 1.50 หมายถงึ ระดับนอ้ ยท่ีสุด/ไม่เห็นดว้ ยอย่างย่งิ 1.51 - 2.50 หมายถึงระดับน้อย/ไม่เหน็ ด้วย 2.51 - 3.50 หมายถึงระดับปานกลาง/ไม่แน่ใจ 3.51 - 4.50 หมายถึงระดบั มาก/เหน็ ดว้ ย 4.51 - 5.00 หมายถึงระดบั มากทีส่ ดุ /เห็นด้วยอย่างยิง่

หน้าท่ี 230  บทท่ี 8 เครือ่ งมือ วิธีการทใี่ ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 3) มาตราวัดที่ใช้การจาแนกความหมายของคา (1) ความหมายมาตราวดั ทใ่ี ช้การจาแนกความหมายของคา มาตราวัดทใี่ ช้การจาแนกความหมายของคา(Semantic Differential Scale)ของออสกูดและคณะ(Osgood and Others)เป็นการสรา้ งคาถามวัดเจตคติ ความรสู้ กึ หรอื ความคดิ เหน็ ที่ใชค้ วามหมายของคาเปน็ สงิ่ เร้าประกอบกับความคดิ รวบยอดตา่ ง ๆ โดยแต่ละข้อ คาถามจะมีคาคุณศัพทท์ ี่มคี วามหมายตรงกันขา้ มเปน็ คู่ ๆกากับทางซ้ายและทางขวาของมาตรา ทก่ี าหนดไว้ 7 ระดับ ดงั แสดงในภาพที่ 8.3 (Kidder and Others, 1986 :216) ขาว ดา ขาว 3 2 1 0 1 2 3 ดา 123 4 56 7 ภาพที่ 8.3 มาตราวดั ที่ใชก้ ารจาแนกความหมายของคา (2) ลักษณะของการใชค้ าคณุ ศพั ท์ จาแนกเป็น 3 มิติ ดังนี้(Neuman, 1997 : 165) (2.1) มติ ิดา้ นการประเมินค่า(Evaluation Dimension) มี คาคณุ ศพั ท์ที่ใช้ ดังนี้ ดี-เลว,สขุ -ทกุ ข์,ยตุ ธิ รรม-ไม่ยุตธิ รรม,ฉลาด-โง่,สาเร็จ-ลม้ เหลว,ซอื่ สัตย์- ไมซ่ ่ือสัตย์,บวก-ลบ,หวาน-เปรยี้ ว,มคี ่า-ไร้ค่า,สวย-ขเ้ี หร่ ฯลฯ (2.2) มิติดา้ นศักยภาพ(Potential Dimension) มคี าคณุ ศัพท์ ทใ่ี ช้ ดังน้ี แขง็ แรง-อ่อนแอ,หนัก-เบา,แข็ง-นุ่ม,หนา-บาง,หยาบ-ละเอยี ด,ใหญ่-เล็ก เป็นต้น (2.3) มิตดิ ้านกิจกรรม(Activity Dimension) มคี าคุณศัพท์ทใ่ี ช้ ดงั น้ี เรว็ -ช้า,ร้อน-เย็น,คม-ท่ือ,ขยนั -ขีเ้ กยี จ,คลอ่ งแคลว่ -เฉอื่ ยชา,อึกทกึ -เงยี บ เป็นตน้ นอกจากนีแ้ นลลี(Nunnally)(ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ,2538 : 61)ได้ระบุคา ทีไ่ ม่อยใู่ น 3 องคป์ ระกอบดงั กล่าว ดงั นี้ เหมอื น-ไม่เหมือน,มีประโยชน์-ไมม่ ปี ระโยชน,์ ชัดเจน- ไมช่ ัดเจน,เขา้ ใจ-ไม่เข้าใจ,พยากรณ์ได้-พยากรณ์ไมไ่ ด้,ซับซ้อน-ไมซ่ ับซ้อน ฯลฯ (3) ลกั ษณะการใชม้ าตรการวัดที่ใช้การจาแนกความหมายของคา จาแนก เปน็ 3 รปู แบบ ดังนี้ (3.1) รปู แบบท่ี 1 ใช้คาคณุ ศัพท์หลาย ๆ ค่สู าหรับหน่ึงความคดิ รวบยอด ดงั นี้ (0) ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรต่อการเกิดสงคราม ดี เลวร้าย 321 0 12 3 เสรมิ สรา้ ง 2 1 0 1 2 3 ทาลาย 3

 ระเบยี บวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าท่ี 231 (3.2) รปู แบบที่ 2 ใช้คาคุณศัพทห์ น่ึงคู่สาหรับหน่ึงความคิดรวบยอด ดังน้ี (0) ทา่ นมีความคิดเหน็ อย่างไรตอ่ การศึกษา ดี 3 2 1 0 1 2 3 เลวรา้ ย (00) ทา่ นมีความคดิ เห็นอยา่ งไรต่อ พระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 กา้ วหนา้ 321 0 12 3 ถอยหลัง (3.3) รปู แบบที่ 3 ใชค้ าคณุ ศัพท์คเู่ ดียวสาหรบั หลาย ๆ ความคิดรวบยอด ดังน้ี ท่านมีความรูส้ ึกอย่างไรต่ออาชีพทก่ี าหนดให้ 1) ค้าขาย ชอบ 0 12 ไมช่ อบ 2) รบั ราชการ 3 21 3 3) รฐั วิสาหกจิ 4) รับจา้ ง 5) ประกอบอาชีพอิสระ (4) หลกั การในการสร้างมาตรการวดั ที่ใช้ในการจาแนกความหมายของคา ในการสร้างมาตรการวดั ท่ีใช้ในการจาแนกความหมายของคามหี ลกั การ ดงั นี(้ พิชติ ฤทธ์จิ รูญ,2544 :259) (4.1) กาหนดโครงสรา้ งของเจตคต/ิ ความรู้สกึ และความคดิ เหน็ (4.2) กาหนดข้อความในลักษณะความคดิ รวบยอดทม่ี ลี ักษณะดงั นี้ (4.2.1) มคี วามหมายเดียวไมค่ ลมุ เครือ (4.2.2) มีความแปรปรวนมากระหว่างผู้ให้ข้อมูล (4.2.3) มคี วามค้นุ เคย (4.2.4) เปน็ ความคดิ รวบยอดที่มีความครอบคลุม ความคิดรวบยอดในภาพรวม (ใหค้ รอบคลุมท้ัง 3 มติ ิ) (4.3)เลือกคาคุณศัพท์เป็นคทู่ ี่มีความหมายตรงกันขา้ ม (4.4)นามาสร้างเป็นมาตราวัดตามรปู แบบ

หนา้ ที่ 232  บทที่ 8 เครอื่ งมือ วธิ กี ารท่ใี ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล (5) ข้อแนะนาในการใช้มาตรการวัดทใ่ี ชก้ ารจาแนกความหมายของคา ในการใชม้ าตรการวดั ท่ีใชก้ ารจาแนกความหมายของคา มขี ้อแนะนา ท่คี วรปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี (5.1) นาไปใช้ได้ง่าย สร้างได้ไม่ยาก และเหมาะสมกับการใชท้ ัง้ กลุ่มและ รายบคุ คล (5.2) กาหนดคาชี้แจงการตอบโดยให้ผู้ให้ข้อมลู ใชค้ วามรู้สกึ ของตนเอง ทีเ่ กดิ คร้ังแรกในการพิจารณามากกว่าใช้การคดิ แบบใคร่ครวญท่ีมีกฎเกณฑ์ในการพิจารณาตดั สินใจ จากภายนอกมาเกี่ยวขอ้ ง (5.3) ควรมีตวั อยา่ งวธิ กี ารการตอบใหไ้ ด้พิจารณาก่อนที่จะให้ ผใู้ ห้ข้อมูลตอบด้วยตนเอง โดยเป็นการแนะนาวิธกี ารตอบ ไม่ใชแ่ นะนาคาตอบ (5.4) การกาหนดข้อคาถามในแต่ละชุดคาถามควรมปี ระมาณ 50 ข้อ เพื่อไม่ใหผ้ ูใ้ ห้ขอ้ มลู เกดิ ความเบอื่ หนา่ ยในการตอบ (5.5) การคดิ คะแนนสาหรบั คาตอบของแตล่ ะข้อให้กาหนดเปน็ คะแนน ตามลักษณะของคาคุณศัพท์ท่ีอาจเป็นเชิงบวกไปเชิงลบกาหนดเปน็ 3 2 1 0 -1 -2 -3 หรอื เชงิ ลบไป เชงิ บวกกาหนดเป็น -3 -2 -1 0 1 2 3 หรอื อาจกาหนดคะแนนเป็นจานวนเต็มจาก 1ถึง7 คะแนน (เชงิ ลบไปเชิงบวก)หรือ จาก 7 ถงึ 1(เชงิ บวกไปเชงิ ลบ) แล้วนาไปแปลความหมายของคะแนนโดยใช้ การรวมคะแนนทุกข้อทีว่ ัดเร่ืองเดยี วกันเข้าด้วยกันแลว้ หารดว้ ยจานวนขอ้ (6) เกณฑ์ในการพิจารณาคา่ เฉล่ยี มาตรการวดั ที่ใชก้ ารจาแนกความหมาย ของคา มีดงั น(้ี สนิ พันธ์ุพนิ ิจ,2547 : 161) (6.1) เกณฑ์ 7 ระดบั ตั้งแต่ 1 ถงึ 7 มดี งั น้ี 1.00 – 2.20 หมายถงึ อยใู่ นระดับน้อยทส่ี ดุ 2.21 – 3.40 หมายถึง อยใู่ นระดบั น้อย 3.41 – 4.60 หมายถึง อยู่ในระดับปานกลาง 4.61 – 5.80 หมายถงึ อยใู่ นระดบั มาก 5.81 – 7.00 หมายถึง อยู่ในระดบั มากท่สี ุด (6.2) เกณฑ์ 7 ระดบั ตงั้ แต่ -3 ถึง 3 มีดงั น้ี 1.00 – 1.50 หมายถึง อยใู่ นระดับน้อย 1.51 – 2.50 หมายถงึ อยู่ในระดบั ปานกลาง 2.51 – 3.00 หมายถงึ อยู่ในระดบั มาก 3.2.5 โครงสร้างของแบบสอบถาม ในการสร้างแบบสอบถามแต่ละฉบับ มีโครงสร้าง ดงั น้ี(นิภา ศรไี พโรจน,์ 2531:89-90 ; สิน พันธ์พุ ินิจ,2547 : 166 ) 3.2.5.1 คาช้แี จงในการตอบแบบสอบถาม เป็นส่วนทร่ี ะบุรายละเอยี ดเกย่ี วกบั จุดประสงค์การวิจัย คาอธิบายลักษณะของแบบสอบถาม คารับรองในการปกปดิ ขอ้ มลู ทไี่ ด้รบั วธิ ีการ ตอบแบบสอบถามพร้อมตัวอยา่ งการตอบ คากล่าวแสดงการขอบคุณ และลงท้ายด้วยช่ือ-ชือ่ สกลุ , ทอี่ ยู่ของผู้วจิ ัย

 ระเบยี บวิธีการวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าที่ 233 3.2.5.2 ข้อมูลส่วนบุคคล ทก่ี าหนดให้ตอบเป็นรายละเอยี ดส่วนบุคคลท่ีจะนามาใช้ เป็นตัวแปรอสิ ระ(Independent variables) ในการวิจยั หรอื นามาใช้เป็นข้อมูลเบ้อื งต้นในการ พิจารณาคุณลักษณะของผใู้ ห้ขอ้ มูลท่จี ะนาไปใช้ในการอภปิ รายผลต่อไป 3.2.5.3 ข้อคาถามเกยี่ วกบั ประเด็น/ความคดิ เห็นทตี่ ้องการ ที่อาจกาหนดเป็นข้อ คาถามปลายปิดท่ีให้ทาสัญลักษณใ์ นคาตอบของตนเอง หรือข้อคาถามปลายเปิดทเี่ ว้นชอ่ งว่างให้ ผใู้ ห้ขอ้ มูลเขียนคาตอบตามความคดิ เห็นอยา่ งอสิ ระ บญุ ธรรม กิจปรีดาบริสทุ ธิ์(2534 : 103-104) ไดน้ าเสนอแนวปฏิบัตใิ นการเรียงคาถามและ จัดรปู แบบของข้อคาถาม ดังน้ี 1) เรยี งลาดบั ข้อคาถามเป็นหมวดหมู่ หรอื เปน็ ตอนท่ี ตามตวั แปร 2) คาถามในแต่ละตอนควรเรียงลาดบั ดงั น้ี (1) เรยี งขอ้ คาถามท่ีเกยี่ วกบั เร่อื งทใ่ี กล้ ๆ ตวั ก่อนเรื่องที่อยู่ไกลตัว (2) เรียงข้อคาถามเรื่องทวั่ ๆ ไปก่อนคาถามทเ่ี ฉพาะเจาะจง (3) เรียงข้อคาถามจากง่าย ๆ ไปหายาก ๆ (4) เรียงขอ้ คาถามทีค่ ุ้นเคยมากไปสขู่ อ้ คาถามที่คุ้นเคยน้อย (5) เรียงข้อคาถามตามลาดบั เหตุการณ์จากอดตี ปัจจุบนั สู่อนาคต 3) ควรกาหนดหมายเลขของข้อคาถามตามลาดบั อย่างต่อเนื่องโดยไม่เริ่มต้นเมื่อเร่ิมตน้ ตอนใหม่ 4) กรณีเปน็ ข้อคาถามทมี่ ีตวั เลือก ตอ้ งเรียงข้อคาถามและคาตอบตามความสะดวกและ ความเคยชนิ ของผู้ให้ข้อมูล (จากซา้ ยไปขวา) 5) กาหนดรูปแบบการพิมพ์ เวน้ วรรค ถูกต้องตามอักขรวิธี และพิมพเ์ พียงหน้าเดยี ว 3.2.6 ขน้ั ตอนในการสร้างและพัฒนาแบบสอบถาม ในการสร้างและพัฒนาแบบสอบถาม มขี นั้ ตอนในการดาเนนิ การ ดังนี้(นภิ า ศรไี พโรจน์, 2531:90-91, บุญธรรม กจิ ปรีดาบริสุทธิ,์ 2534 : 95-96 ; เทียนฉาย กรี ะนนั ท์,2544 : 110-113) 3.2.6.1 ศกึ ษาคุณลักษณะหรือประเดน็ ทต่ี ้องการ ผู้วจิ ัยจะตอ้ งศึกษาคณุ ลกั ษณะหรอื ประเด็นที่ต้องการให้มีความเขา้ ใจทชี่ ัดเจน ถูกตอ้ ง จากเอกสารตารา หรือผลงานวจิ ยั ทเี่ ก่ียวข้อง ตลอดจนลักษณะ วิธกี ารสร้างแบบสอบถาม และการกาหนดคาถามทดี่ ี ทีจ่ ะใชเ้ ปน็ แนวทาง การสร้างแบบสอบถาม 3.2.6.2 กาหนดลักษณะของแบบสอบถามที่เหมาะสมกับคณุ ลักษณะหรือประเด็น ทตี่ ้องการ และลักษณะของกลุ่มตัวอยา่ งที่กาหนดให้ตอบ 3.2.6.3 จาแนกคณุ ลกั ษณะหรือประเดน็ ทตี่ ้องการออกเปน็ ประเดน็ ย่อย ๆ เพ่ือท่ีจะ ทาใหส้ ามารถกาหนดขอ้ คาถามได้งา่ ยข้นึ และมีความครอบคลุมมากขนึ้ 3.2.6.4 กาหนดคาชแี้ จงในการตอบแบบสอบถามที่ระบรุ ายละเอยี ดเก่ยี วกับ จุดประสงค์การวจิ ัย คาอธบิ ายลักษณะของแบบสอบถาม คารบั รองในการปกปดิ ข้อมลู ท่ไี ด้รับ วิธกี าร ตอบแบบสอบถามพร้อมตวั อย่างการตอบ คากล่าวแสดงการขอบคณุ และลงทา้ ยด้วยช่อื -ช่อื สกุล, ทอี่ ยูข่ องผวู้ จิ ัย

หนา้ ท่ี 234  บทท่ี 8 เครอื่ งมือ วิธีการทใ่ี ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล 3.2.6.5 การปรับปรุงแก้ไขรา่ งแบบสอบถาม หลังจากสร้างแบบสอบถามเสรจ็ แลว้ ผวู้ ิจยั ควรได้พจิ ารณาทบทวนขอ้ คาถามที่มีความเทย่ี งตรง ชัดเจน แลว้ นาเสนอต่อผูเ้ ชย่ี วชาญ เพ่อื พิจารณาตรวจสอบและใหข้ อ้ เสนอแนะในการปรบั ปรงุ แก้ไขให้แบบสอบถามมีความสมบรู ณ์ มากขน้ึ 3.2.6.6 นาแบบทดสอบไปทดลองใช้กบั กลมุ่ ตัวอยา่ งเพอื่ นามาวเิ คราะห์หาคุณภาพของ แบบสอบถาม โดยที่กลุม่ ตวั อย่างทที่ ดลองใช้จะต้องมลี กั ษณะท่ีคล้ายคลงึ กบั กลมุ่ ตัวอยา่ งที่ต้องการ เก็บรวบรวมข้อมูลจริง เพื่อตรวจสอบความเข้าใจในคาชแ้ี จง ความชดั เจนของคาถาม และคานวณหา ความเช่ือมน่ั และอานาจจาแนกของแบบสอบถาม 3.2.6.7 นาผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ท่ีได้รบั มาใช้พจิ ารณาปรับปรงุ แกไ้ ขแบบสอบถามให้มี ความถูกตอ้ งสมบรู ณ์และมคี ุณภาพทจ่ี ะทาให้ได้รับข้อมลู จากการใชแ้ บบสอบถามทนี่ า่ เช่ือถือ 3.2.6.8 จัดพมิ พแ์ บบสอบถามฉบับสมบรู ณ์ โดยตรวจสอบความถูกต้องของการจดั พมิ พ์ ตามตน้ ฉบบั ถูกต้องอักขระวธิ ีตามหลกั ไวยากรณ์ และมีความชัดเจนของตวั อักษรท่ีพิมพ์ 3.2.7 การตรวจและแก้ไขข้อคาถามเบอื้ งต้น ในการตรวจและแก้ไขข้อคาถามเบื้องตน้ เป็นการดาเนนิ การด้วยตนเองของผู้เขียน/สร้าง ข้อคาถาม หลังจากเขยี น/สร้างขอ้ คาถามเสร็จสิ้นแลว้ ทิ้งขอ้ คาถามไว้ 2-3 วัน แล้วจึงนามาตรวจสอบ โดยอา่ นขอ้ คาถามอยา่ งละเอียด แล้วพจิ ารณาตามแนวทางเบอ้ื งตน้ ดงั นี้ (บุญธรรม กิจปรีดาบรสิ ทุ ธ,ิ์ 2534 : 95-96) 3.2.7.1 เขา้ ใจคาถาม คาตอบนน้ั หรือไม่อย่างไร เข้าใจตรงกับที่ต้องการวดั หรอื ไม่ ถ้าอ่านไมเ่ ข้าใจ หรือเขา้ ใจไม่ตรงกบั ที่ต้องการวดั ควรแก้ไข ปรบั ปรงุ 3.2.7.2 คาตอบที่กาหนดให้มคี าถามท่ีถกู ต้องตามหลักวิชาหรอื ไม่ และมีเพยี งคาตอบ เดยี วหรือหลายคาตอบ คาตอบท่ีดีจะถูกต้องตามหลักวชิ า และมีคาตอบท่ีถูกต้องเพยี งคาตอบเดียว 3.2.7.3 คาตอบทกี่ าหนดให้ของคาถามนนั้ ครอบคลุมคาตอบทเี่ ป็นไปได้ไว้ครบถ้วนแล้ว หรอื ไม่ ถ้ายังไมค่ รบถว้ นกต็ อ้ งหาคาตอบมาเพ่มิ เติม 3.2.7.4 คาถามนจี้ าเป็นหรือไม่ ถ้ามีไว้จะใชป้ ระโยชน์อะไรได้ คาถามใดถ้าหาก ไมน่ าไปวเิ คราะห์ หรือไมเ่ อาไวใ้ ชอ้ ธิบายลกั ษณะของกลุ่มตัวอยา่ ง หรอื อภปิ รายผลการวจิ ัยท่ีได้ ควรจะตัดทิ้ง 3.2.7.5 คาถามนน้ั ครอบคลมุ เกนิ หน่ึงประเดน็ หรือไม่ ถา้ เกินควรปรบั ปรุงเป็นใช้ หลาย ๆ คาถามแทน แต่ถา้ มีความซา้ ซ้อนควรได้ตัดท้งิ 3.2.7.6 คาถามน้ันเมื่อใชแ้ ล้วจะได้คาตอบท่ีสอดคล้องกับความเปน็ จริงหรือไม่ ถ้าไม่แนใ่ จใหเ้ พ่ิมคาถามทใ่ี ช้ตรวจสอบการใหข้ ้อมูล 3.2.7.7 ภาษาทใ่ี ช้สื่อความหมายทกี่ วา้ งหรือแคบเกินไปหรอื ไม่ ควรแก้ไข ปรบั ปรุงให้มี ความหมายทชี่ ดั เจนและเฉพาะเจาะจง 3.2.7.8 มคี าถามใดทจี่ ะสอื่ ความหมายใหผ้ ใู้ หข้ ้อมลู เกิดความเข้าใจทค่ี ลาดเคลอ่ื น ไม่ชัดเจนควรมกี ารแก้ไข ปรบั ปรุง

 ระเบียบวธิ ีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าท่ี 235 3.2.7.9 ภาษาทม่ี ีการใช้คาแนะนา หรือคาทมี่ ีอทิ ธิพลในการใหข้ ้อมลู ในทิศทางท่ี คาดหวังหรอื ไม่ ถา้ มคี วรตัดออกหรือหลกี เลยี่ งใช้คาอน่ื แทน 3.2.7.10 คาตอบท่ีต้องการนั้น ควรใช้คาถามท่ีถามตรง ๆ หรือคาถามอ้อมจะได้ คาตอบทีเ่ ปน็ จริงมากกวา่ กนั 3.2.7.11 คาถามนนั้ ใช้ถามกลุ่มตวั อย่างจะได้คาตอบทนี่ า่ เชือ่ ถือได้เพยี งไร หากเช่ือถือ ไมไ่ ดค้ วรจะตัดทง้ิ หรือเลือกใชค้ าถามอืน่ ทจ่ี ะได้คาตอบท่ีน่าเช่ือถือมากกวา่ 3.2.8 แนวทางการสรา้ งแบบสอบถามเพ่ือขจัดปัจจยั ท่ีมอี ิทธิพลตอ่ การส่งคนื ของ แบบสอบถาม กอล, บอค และกอล(Gall Brog and Gall,1996:293) ได้นาเสนอแนวทางการสร้าง แบบสอบถามเพ่ือขจัดปัจจยั ที่มีอิทธิพลต่อการสง่ คนื ของแบบสอบถาม ดังน้ี 3.2.8.1 เขยี นคาชแ้ี จงในการตอบแบบสอบถามโดยใช้ภาษาทง่ี า่ ย สัน้ และชัดเจน 3.2.8.2 กาหนดจานวนข้อคาถามใหน้ อ้ ยท่สี ุดที่ครอบคลมุ ประเดน็ ทีต่ ้องการศึกษา 3.2.8.3 จดั ทารูปแบบ/รูปเล่ม/สีสนั แบบสอบถามให้น่าสนใจในการตอบ 3.2.8.4 กาหนดข้อคาถามทใ่ี ชภ้ าษาง่าย ๆ สั้นกะทัดรดั และตอบงา่ ย 3.2.8.5 หลกี เลีย่ งการใช้ศัพท์ทางวิชาการ ภาษาที่กากวม และคาที่จะก่อให้เกิด ความสบั สนแก่ผู้ใหข้ ้อมลู 3.2.8.6 เรยี งลาดบั ขอ้ คาถามที่ง่าย ๆ ไปไมซ่ บั ซ้อน ไปสู่ขอ้ คาถามท่ซี บั ซ้อน 3.2.8.7 หลีกเลีย่ งข้อคาถามในลักษณะปฏิเสธ หรือปฏิเสธซอ้ นปฏิเสธ เพอื่ ปอ้ งกัน การสบั สนในการตีความหมาย 3.2.8.8 หลีกเลย่ี งข้อคาถามท่ีมีหลายแนวคิดในขอ้ เดียวกนั 3.2.8.9 หลีกเล่ียงการใช้ข้อคาถามที่มีลกั ษณะชน้ี าการใหข้ ้อมลู 3.2.8.10. ขอ้ คาถามท่ีมีจานวนข้อมาก ไม่ควรเรียงลาดับข้อท่ีมคี วามสาคญั ไวต้ อนท้าย เน่ืองจากจะไดร้ ับความสนใจในการให้ข้อมลู น้อย 3.2.8.11 เรยี งลาดบั คาถามท่วั ๆ ไปกอ่ นข้อคาถามที่เฉพาะเจาะจง 3.2.8.12 เมอื่ กาหนดใหต้ อบข้อคาถามในประเด็นใหม่ควรทาเครื่องหมาย เพ่ือไม่ให้ เกิดความสับสนระหวา่ งประเดน็ 3.2.8.13 ระบุเหตุผลของการตอบแบบสอบถามหรือความสาคญั ในการให้ข้อมลู ของ ผ้ใู หข้ ้อมลู 3.2.8.14 ยกตวั อย่างวิธกี ารให้ข้อมลู เพื่อไมใ่ หผ้ ู้ให้ข้อมูลเกิดความสบั สน และถ้าใน ขอ้ คาถามใดมีจุดทีต่ อ้ งการเน้นควรทาสัญลักษณ์ใหช้ ดั เจน 3.2.8.15 กาหนดชื่อ-นามสกุล,ที่อย,ู่ เบอรโ์ ทรศพั ท์ ของผเู้ กบ็ รวบรวมข้อมลู ทา้ ย แบบสอบถามเพื่อให้ง่ายและสะดวกในการตดิ ต่อ

หนา้ ที่ 236  บทที่ 8 เคร่อื งมือ วิธีการทีใ่ ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู 3.2.9 ลกั ษณะของการเก็บรวบรวมข้อมลู โดยใช้แบบสอบถาม ในเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลโดยใช้แบบสอบถาม มลี ักษณะการดาเนินการ ดงั น้ี(นิภา ศรไี พโรจน์ ,2531:97) 3.2.9.1 การส่งแบบสอบถามทางไปรษณยี ์ให้แก่ผูใ้ หข้ ้อมลู หรอื หนว่ ยงานตน้ สงั กัด เพอื่ เก็บรวบรวมข้อมูลให้ เป็นวิธกี ารทส่ี ะดวก ประหยดั เวลาและคา่ ใชจ้ ่าย แต่จะประสบปัญหา เกยี่ วกับ1)การได้รับข้อมลู กลับคนื ท่คี ่อนข้างน้อยทาใหผ้ ลการวจิ ัยไมม่ ีคุณภาพและนาผลการวจิ ยั ไปใช้ อ้างองิ สปู่ ระชากรไม่มีประสทิ ธภิ าพ 2) ใชไ้ ด้กบั ผู้ใหข้ ้อมลู ที่อ่านออกเขียนไดเ้ ท่านนั้ และ 3)ผู้ใหข้ ้อมูล ทไี่ มเ่ หน็ ความสาคัญอาจจะตอบแบบสอบถามด้วยความไม่ต้ังใจ หรอื ให้ผอู้ ื่นตอบแทนตนเอง 3.2.9.2 การนาแบบสอบถามไปสอบถามด้วยตนเอง เป็นการนาแบบสอบถามไปให้ ผใู้ ห้ขอ้ มูลตอบด้วยตนเอง หรือตอบแบบเผชิญหนา้ ในลักษณะของการสัมภาษณ์ทผี่ ู้ให้ข้อมลู เพียง แต่ฟังคาถามจากผเู้ ก็บข้อมูลแล้วตอบคาถามเท่านน้ั เปน็ วิธีการท่ีจะได้รับข้อมลู ทส่ี มบูรณ์กวา่ วธิ ีแรก แต่จะเสยี คา่ ใชจ้ ่ายมาก และใช้เวลามาก สิน พันธพ์ุ ินิจ(2547:213)ได้นาเสนอการใชแ้ บบสอบถามมีกระบวนการใชแ้ บบสอบถาม ดงั แสดงในภาพท่ี 8.4( สนิ พนั ธ์ุพนิ จิ ,2547:213) การประสานงาน กระบวนการเก็บข้อมูล การติดตามแบบสอบถาม การจดั ส่งแบบสอบถาม ภาพท่ี 8.4 กระบวนการใช้แบบสอบถามเกบ็ ขอ้ มูล จากภาพที่ 8.4 สามารถอธิบายรายละเอยี ดของกระบวนการเก็บข้อมูล ดังน้ี 1) การประสานงาน เป็นการติดตอ่ ระหว่างผู้วิจยั กับผใู้ ห้ข้อมูล หนว่ ยงานของผู้ให้ข้อมูล และผทู้ เ่ี กี่ยวข้อง เพ่อื ให้เกดิ ความสะดวกในการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลไดอ้ ย่างง่าย รวดเร็วและ มปี ระสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ขน้ึ 2) การจดั สง่ แบบสอบถาม เป็นการจดั ส่งแบบสอบถามไป-ตอบ-กลับถึงผวู้ จิ ัยท่จี ะใช้ เวลาประมาณ 1 เดือน มแี นวทางการปฏบิ ัติ ดงั นี้ (1) ทาจดหมายนาส่งแบบสอบถาม เพอ่ื ระบุรายละเอยี ดเกย่ี วกับผูว้ ิจัย ปัญหาการวิจัย วัตถปุ ระสงค์ ความสาคญั การรกั ษาความลับของข้อมูล กาหนดและวธิ กี ารสง่ คืน และขอบพระคุณ ในความอนเุ คราะห์ตอบแบบสอบถาม รวมทั้งระบุความสาคญั ของผใู้ หข้ ้อมูลในการตอบแบบสอบถาม คร้ังน้ี

 ระเบยี บวธิ กี ารวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าท่ี 237 (2) จัดทาสาเนาจดหมายขออนุญาตของผวู้ จิ ยั จากหนว่ ยงานต้นสังกดั ของผ้ใู ห้ข้อมูลแนบ ไปกบั แบบสอบถามเพื่อแสดงว่าผูบ้ ริหารหนว่ ยงานได้อนุญาตแลว้ ผูใ้ ห้ข้อมลู จะได้ใหค้ วามร่วมมอื ใน การให้ข้อมลู มากย่ิงขึ้น (3) จดั เตรียมซองจดหมายในการส่งแบบสอบถามไปและซองเปล่าท่ีจ่าหน้าซองติดแสตมป์ เรียบร้อยสาหรบั สง่ กลับคนื ทางไปรษณยี ท์ ีร่ วดเร็วและประหยัดคา่ ใชจ้ ่าย (4) จดั ทารหสั แบบสอบถาม หมายเลข หรอื ทะเบียนของแบบสอบถามเพ่ือใหง้ ่าย และสะดวกในการตดิ ตามแล้วนาผลมาวเิ คราะห์ข้อมูล (5) จดั สง่ แบบสอบถามไปใหก้ ลุม่ ตัวอยา่ งหรือประชากรที่กาหนดไวแ้ ลว้ ให้เร็วทสี่ ุด โดยพิจารณาวัน-เวลาทเี่ หมาะสม 3) การติดตามแบบสอบถาม จากการศึกษาของงานวจิ ัยเก่ียวกับแบบสอบถามพบวา่ ถ้ามีการติดตามแบบสอบถามอยา่ งใกล้ชดิ จะทาใหผ้ ลของการตอบแบบสอบถามไดร้ ับคืนเพ่ิมข้นึ (Gall Brog and Gall,1996:303) โดยทีบ่ ุญธรรม จติ อนนั ต์ (2540 : 92)ไดร้ ะบวุ า่ การใช้จดหมาย ไปรษณียบัตร หรือโทรศัพท์ ในการติดตามจะได้ข้อมลู กลบั คนื ประมาณร้อยละ 75 3.2.10 ข้อดี-ขอ้ จากดั ของการใชแ้ บบสอบถาม ในการใชแ้ บบสอบถามเพ่ือเก็บรวบรวมขอ้ มูลมีข้อดีและข้อจากดั ดังแสดงในตารางที่ 8.2 (สนิ พนั ธพ์ุ ินิจ,2547:218,บุญธรรม กจิ ปรีดาบรสิ ุทธ,์ิ 2534 : 95-96) ตารางท่ี 8.2 เปรียบเทยี บข้อดี-ข้อจากดั ของการใช้แบบสอบถาม ขอ้ ดี ข้อจากดั 1. ประหยดั เวลา แรงงานและงบประมาณ 1. อัตราการได้รับคืนน้อย โดย 2. ศกึ ษาจากกลุม่ ตวั อย่างท่ีมีขนาดใหญ่ เฉพาะกลุม่ ทมี่ รี ะดับการศึกษาตา่ มีความครอบคลุมประชากร 2. ผใู้ หข้ อ้ มูลไม่เข้าใจข้อคาถาม 3. ออกแบบได้ดี งา่ ยและชดั เจนใน 3. ควบคมุ สภาพแวดลอ้ มในการตอบ การสรปุ ผล ไม่ได้ 4. ปกปดิ ความลับและคาตอบท่ีมผี ลตอ่ 4. ข้อมลู ที่ได้รบั ไมม่ นั่ ใจว่าเป็น ความรสู้ ึกของผใู้ ห้ข้อมูลได้ดี ผใู้ ห้ข้อมลู ทีแ่ ทจ้ รงิ 5. ไมเ่ กิดความลาเอยี งจากการใชค้ าถาม 5. ผ้ใู ห้ข้อมลู ไมส่ ามารถแก้ไขคาถาม 6. ผใู้ ห้ขอ้ มูลมีอิสระในการให้คาตอบ 7. ไม่จาเปน็ ตอ้ งมีการฝึกอบรมผชู้ ว่ ยวิจยั หรอื ความเขา้ ใจผดิ ไมไ่ ด้ 6. มีแรงจงู ใจในการให้ข้อมลู ตา่ ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 8. ได้ข้อมูลปฐมภมู ทิ เี่ ปน็ ขอ้ มูลทม่ี ี ความสาคญั

หนา้ ที่ 238  บทที่ 8 เครอ่ื งมือ วิธีการทีใ่ ชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมลู 3.3 การสัมภาษณ์/แบบสัมภาษณ์ 3.3.1 ความหมายของการสมั ภาษณ์ การสมั ภาษณ์เปน็ วิธกี ารเก็บรวบรวมข้อมลู โดยใชก้ ารสนทนา ซกั ถามและโตต้ อบ ระหวา่ งผู้เกบ็ ข้อมูลกับผูใ้ หข้ ้อมลู แบบเผชญิ หนา้ ทผี่ เู้ กบ็ ข้อมูลมีการสังเกตบุคลิกภาพ อากัปกริ ิยา ตลอดจนพฤติกรรมทางกาย และวาจาขณะทส่ี ัมภาษณใ์ นการพิจารณาประกอบการสรุปขอ้ มลู (นงลักษณ์ วิรัชชัย,2543 : 70) การสมั ภาษณ์ เปน็ การสนทนาอยา่ งมีจดุ มุง่ หมายระหวา่ งผู้สัมภาษณ์ (Interviewer)กบั ผู้ใหส้ ัมภาษณ์(Interviewee)ที่จะไดข้ ้อมูลตามวตั ถุประสงค์การวจิ ัย และขอ้ มลู จาก สภาวะแวดลอ้ มท่ีไดจ้ ากการสังเกตในการนามาใชเ้ ป็นข้อมลู ประกอบการพจิ ารณาเพื่อสรุปผลการวิจยั อาทิ กริ ยิ า การพูด ลักษณะนิสัย เจตคติ ปฏภิ าณไหวพรบิ ในการใหค้ าตอบ ฯลฯ(นภิ า ศรีไพโรจน,์ 2531:97)ที่ผู้วจิ ยั จะต้องมีการวางแผนและเตรียมการใหม้ ีความพร้อม สรุปไดว้ ่าการสมั ภาษณ์ เปน็ วิธกี ารเกบ็ รวบรวมข้อมูลโดยใชก้ ารสนทนาอย่างมี จุดประสงคร์ ะหว่างผ้สู ัมภาษณ์ และผใู้ ห้สัมภาษณ์ เพื่อใหไ้ ดค้ วามรูค้ วามจริงเกยี่ วกบั พฤติกรรม คณุ ลกั ษณะที่ต้องการ และในกรณีท่มี ีขอ้ สงสัยหรือคาถามใดไม่ชัดเจนก็สามารถถามซ้าหรอื ทา ความชดั เจนได้ทนั ที 3.3.2 ประเภทของการสมั ภาษณ์ 3.3.2.1 จาแนกตามแบบสัมภาษณ์ มีดงั นี้(นิภา ศรีไพโรจน์,2531:97-98 ; Kerlinger,1986 :481) 1) การสัมภาษณ์โดยใชแ้ บบสัมภาษณ์ท่ีมโี ครงสร้าง (Structured Interview) เป็นการสัมภาษณท์ ่ใี ชแ้ บบสมั ภาษณ์ทส่ี รา้ งขึ้นเพอื่ ใชเ้ ป็นกรอบของคาถามใน การสมั ภาษณ์ทเ่ี หมือนกันกบั ผ้ใู ห้สัมภาษณ์แตล่ ะคน/กลุ่ม หรือเป็นแบบใหเ้ ลือกตอบ เป็นวิธีการ ที่งา่ ยสาหรบั การนาผลท่ีได้มาวิเคราะห์ข้อมูลและเหมาะสมกบั ผ้สู มั ภาษณท์ ยี่ ังไม่มีประสบการณ์ มากเพยี งพอ แต่จะต้องระมัดระวังการมีตัวเลือกที่ไมส่ อดคลอ้ งกบั ตวั เลอื กที่กาหนดใหท้ าให้ จาเป็นตอ้ งตอบตามตวั เลือกท่ีกาหนดให้ ดงั น้นั อาจจาเปน็ ต้องมีการกาหนดตวั เลือกแบบปลายเปดิ อาทิ อ่นื ๆ ให้ระบ.ุ ........................................... เป็นต้น 2) การสัมภาษณ์แบบใช้แบบสมั ภาษณ์ที่ไม่มีโครงสร้าง (Non-Structured interview) เป็นการสัมภาษณ์ทใ่ี ชเ้ พียงประเดน็ /หวั ข้อเปน็ แนวทางในการต้งั คาถามโดยทผ่ี สู้ มั ภาษณ์สามารถเปล่ียนแปลงได้ตามสถานการณ์ ทาใหไ้ ดข้ ้อมลู ท่ีหลากหลาย และลกึ ซงึ้ ในการนามาพจิ ารณาประกอบการวิเคราะห์ข้อมูล แต่ผสู้ มั ภาษณ์จะตอ้ งเปน็ ผ้ทู ม่ี ี ประสบการณ์และความเชยี่ วชาญมากท้ังในการเกบ็ รวบรวมข้อมูลและการวเิ คราะหข์ ้อมูล 3.3.2.2 จาแนกตามระดับความยดื หยุ่น (Merriam,1998 :79) 1) การสมั ภาษณ์แบบมโี ครงสร้าง(Highly Structured) เปน็ การสัมภาษณ์ท่ีใช้แบบสมั ภาษณท์ ี่กาหนดประเดน็ คาถามไว้อย่างชดั เจนคล้าย ๆ กบั การใช้ แบบสอบถามเพียงแต่เป็นการซกั ถาม/สนทนาแทนการเขียนตอบ

 ระเบียบวธิ ีการวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หน้าที่ 239 2) การสมั ภาษณ์แบบกึง่ โครงสร้าง(Semi-structured) เป็น การสมั ภาษณ์ทีใ่ ชป้ ระเด็นคาถามที่มีกรอบกวา้ ง ๆ หรอื เป็นการใชค้ าถามปลายเปิดในการซักถาม 3) การสัมภาษณ์แบบไม่มโี ครงสรา้ ง(Unstructured) เปน็ การ สนทนาอย่างเปน็ ธรรมชาตติ ามสถานการณ์ท่ีเกดิ ขึ้นโดยใช้วจิ ารณญาณของผูส้ มั ภาษณ์ทจี่ ะต้องเป็น ผู้ทีม่ ีประสบการณ์สงู ในการสัมภาษณ์ 3.3.2.3 จาแนกตามจานวนคนท่ีใหส้ ัมภาษณ์ (ผ่องพรรณ ตรยั มงคลกลู , 2543 :172 ; Merriam,1998 :79 ; Van Dalen,1979 :159) 1) การสมั ภาษณเ์ ป็นรายบคุ คล (Individual Interview) เป็น การสัมภาษณ์ของผูส้ มั ภาษณ์ 1 คนตอ่ ผู้ให้สัมภาษณ์ 1 คน ที่เปน็ วธิ ีการสมั ภาษณ์โดยทวั่ ๆ ไป ที่มี หลักการ ดังน้ี (1) ผู้สมั ภาษณค์ วรหลกี เลย่ี งการโตแ้ ยง้ โดยไมพ่ ยายาม แสดงความคดิ เหน็ (2) ไมข่ ดั จงั หวะผู้ใหส้ มั ภาษณ์ เปน็ ผ้ฟู ังทีด่ ี หาวธิ ีการ เบี่ยงเบนท่ีเหมาะสมเพ่ือนาไปสู่เปา้ หมาย (3) หลกี เลย่ี งการชกั จงู ให้โดยใชค้ าพูด ท่าทาง (4) หลีกเล่ยี งคาถามซอ้ น คาถามนา หรอื คาถามทร่ี ะบเุ พยี ง ใช่-ไม่ใช่ ฯลฯ ซ่งึ การสัมภาษณ์รายบุคคล มขี ้อดี-ขอ้ จากัด ดังแสดงในตารางท่ี 8.3(สงั เคราะห์จาก ผอ่ งพรรณ ตรยั มงคลกลู ,2543 :172 ; Merriam,1998 :79 ; Van Dalen,1979 :159 ตารางท่ี 8.3 ข้อดี-ขอ้ จากัดของการสัมภาษณร์ ายบุคคล ข้อดี ข้อจากัด 1. มคี วามเป็นส่วนตวั 1. เสยี คา่ ใช้จา่ ยและแรงงานจานวนมาก 2. ซักถามได้อย่างลกึ ซึ้ง และผู้ให้ 2. ตอ้ งใชผ้ ู้สัมภาษณ์ท่ีมีความชานาญจึง สัมภาษณ์มีอิสระในการตอบ จะได้ขอ้ มลู ที่แท้จรงิ 3. ยดื หยุ่นและเปล่ียนแปลงได้ตาม 3. เกิดความลาเอียงจากผสู้ มั ภาษณ์ สถานการณ์ 4. เกิดความขัดแย้งทางความคิดระหว่าง 4. ใช้การสังเกตสภาพแวดล้อม และ ผู้สัมภาษณแ์ ละผู้ใหส้ ัมภาษณ์ พฤติกรรมของผ้ใู หส้ ัมภาษณ์ที่นามา 5. ความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา ประกอบการวิเคราะหข์ ้อมลู หรืออืน่ ๆ ท่ีอาจจะเป็นอปุ สรรคใน 5. ใช้ไดก้ ับบคุ คลโดยทัว่ ๆ ไป การสัมภาษณ์ 6. ไดข้ อ้ เทจ็ จริงบางอย่างท่ีซ่อนเรน้ จาก การซักถาม